วันอังคารที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2558

จิตยอมรับสภาพความเป็นจริงในเมื่อจิตเห็นทุกข์คือจิตร้อน เพราะไฟโลภะ โทสะ โมหะ ผู้ปฏิบัติควรจะทำอย่างไร เราจะไล่ความร้อนของไฟโลภะ โทสะ โมหะ ให้หายไปอย่างนั้นหรือ เราไม่มีทางจะไปตั้งใจไล่ เพราะจิตของเราเกิดความชินชาต่อการปรุงกิเลส ให้เกิดไฟโลภะ โมหะ โทสะ แล้วถ้าไม่มีทางที่จะขับไล่ ไม่มีทางที่จะละ เราจะทำอย่างไร เราก็ทำสติกำหนดรู้ คือรู้ว่ามันเป็นไฟโลภะ โทสะ โมหะ รู้ว่าฤทธิ์ของโลภะ โทสะ โมหะ มันทำจิตให้ร้อน ให้ดูความร้อนที่มีอยู่ในจิต ดูความเย็นที่มีอยู่ในจิต จนกระทั่งจิตรู้ซึ้งเห็นจริงลงไป แล้วจิตยอมรับความเป็นจริงว่า ฤทธิ์ของโลภะ โทสะ โมหะนี้เป็นไฟเผาให้ร้อน มันร้อนอย่างนี้หนอ เมื่อจิตยอมรับความจริงแล้วก็เกิดความเข็ดหลาบในตัวของมันเอง ภายหลังมันก็จะไม่สร้างเหตุเดือดร้อนให้เกิดขึ้นมาอีก เปรียบเหมือนคนเรา ที่เราว่าถ่านไฟมันร้อน เมื่อมีใครนำถ่านไฟร้อนมาวางไว้ตรงหน้าเรา แล้วบอกกับเราว่า ดูซิ ถ่านไฟนี้มันสวย ดูซิมันเย็น แต่เรารู้แล้วว่าถ่านไฟนี้มันร้อน เราก็จะไม่ไปจับถ่านไฟนั้น ในทำนองเดียวกัน ในเมื่อจิตมันรู้ฤทธิ์ของโลภะ โทสะ โมหะ อย่างแท้จริงแล้ว ยอมรับสภาพความเป็นจริงแล้ว มันก็จะไม่ก่อเรื่องให้เกิด โลภะ โทสะ โมหะ ขึ้นมาอีก มีแต่ค่อยพิจารณาปลดเปลื้องโลภะ โทสะ โมหะ ของเก่าที่มีอยู่ให้ลดน้อยลง เบาบางลงไป การปฏิบัติธรรมสำคัญอยู่ที่การทำจิตให้มีสิ่งรู้ ทำสติให้มีสิ่งระลึก การภาวนาพุทโธก็ทำพุทโธให้เป็นสิ่งรู้ของจิต เป็นสิ่งระลึกของสติ การภาวนายุบหนอ-พองหนอ ก็ทำยุบหนอ-พองหนอให้เป็นสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ การภาวนาสัมมาอรหัง ก็ทำสัมมาอรหังเป็นสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ ทั้งหลายเหล่านี้ หรืออย่างอื่นๆก็ตาม ใครภาวนาแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ก็ต้องทำจิตให้เป็นวิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาเหมือนกัน

ใบไม้ในกำมือ“ดูกรภิกษุทั้งหลาย! จงดูกายอันเปื่อยเน่านี้เถิด มันอาดูรไม่สะอาด มีสิ่งสกปรกไหลเข้าไหลออกอยู่เสมอ ถึงกระนั้นก็ตาม มันยังเป็นที่พอใจปรารถนายิ่งนักของผู้ไม่รู้ความจริงข้อนี้ ภิกษุทั้งหลาย ร่างกายนี้ไม่นานนักหรอกคงจะนอนทับถมแผ่นดิน ร่างกายนี้เมื่อปราศจากวิญญาณครองแล้วก็ถูกทอดทิ้งเหมือนท่อนไม้ที่ไร้ค่าอันเขาทิ้งเสียแล้วโดยไม่ไยดี” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย! อันร่างกายนี้สะสมไว้แต่ของสกปรกโสโครก มีสิ่งปฏิกูลไหลออกจากทวารทั้งเก้า มีช่องหู ช่องจมูก เป็นต้น เป็นที่อาศัยแห่งสัตว์เล็ก สัตว์น้อย เป็นป่าช้าแห่งซากสัตว์นานาชนิด เป็นรังแห่งโรค เป็นที่เก็บปัสสาวะและอุจจาระ อุปมาเหมือนถุงหนังซึ่งบรรจุเอาสิ่งโสโครกต่าง ๆ เข้าไว้แล้วซึมออกมาเสมอ ๆ เจ้าของกายจึงต้องชำระล้างแม้เพียงวันเดียว หรือสองวัน กลิ่นเหม็นก็ปรากฏเป็นที่รังเกียจเป็นของน่าขยะแขยง” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย! ร่างกายนี้เป็นเหมือนเรือนซึ่งสร้างด้วยโครงกระดูก มีหนังและเลือดเป็นเครื่องฉาบทา ที่มองเห็นเปล่งปลั่งผุดผาดนั้น เป็นเพียงผิวหนังเท่านั้น เหมือนมองเห็นความงามแห่งหีบศพอันวิจิตรตระการตา ผู้ไม่รู้ก็ติดในหีบศพนั้น แต่ผู้รู้เมื่อทราบว่าเป็นหีบศพ แม้ภายนอกจะวิจิตรตระการตาเพียงไร ก็หาพอใจยินดีไม่ เพราะทราบว่าภายในแห่งหีบอันสวยงามนั้นมีสิ่งปฏิกูลพึงรังเกียจ” “บุคคลย่อมต้องพลัดพรากจากสิ่งที่รัก ที่พึงใจเป็นธรรมดา หลีกเลี่ยงไม่ได้ อานนท์เอย! ชีวิตนี้มีความพลัดพรากเป็นที่สุด สิ่งทั้งหลายมีความแตกไป ดับไป สลายไปเป็นธรรมดา จะปรารถนามิให้เป็นอย่างที่มันควรจะเป็นนั้นเป็นฐานะที่ไม่พึงหวังได้ ทุกสิ่งทุกอย่างดำเนินไป เคลื่อนไปสู่จุดสลายตัวอยู่ทุกขณะ”“ดูกรภิกษุทั้งหลาย! บัดนี้เป็นวาระสุดท้ายแห่งเราแล้ว เราขอเตือนเธอทั้งหลายให้จำมั่นไว้ว่าสิ่งทั้งปวงมีความเสื่อมและสิ้นไปเป็นธรรมดา เธอทั้งหลายจงอยู่ด้วยความไม่ประมาทเถิด”

วันจันทร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เรื่องของ บารมี เทศนาธรรมโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชโช เทศนาการฝึกจิตให้มีสมาธิที่ตั้งมั่นถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,

พระอริยะบุคคล พระอนาคามีผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้

ลืมตาไว้การที่เราคอยมีสติรู้ทันใจของเราเองเรื่อย­ๆเนี่ย นอกจากศีลแล้วสมาธิยังจะเกิดขึ้นได้ง่าย อย่างคนที่มาเรียนกับหลวงพ่อแต่เดิมรักษาศ­ีลไม่ได้เดี๋ยวนี้รักษาง่าย แต่เดิมทำสมาธิไม่ได้เดี๋ยวนี้ทำสมาธิง่าย­สมาธิไม่ใช่เรื่องยากอะไร จิตมันฟุ้งซ่านไป ฟุ้งไปในอารมณ์โน้นฟุ้งไปในอารมณ์นี้ ถ้าเรามีสติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน ความฟุ้งซ่านจะดับโดยอัตโนมัติ มันมีกฎของธรรมะข้อนึงก็คือ กิเลสกับกุศลเนี่ยจะไม่เกิดร่วมกัน สติเป็นตัวกุศลนะ เพราะนั้นถ้าเมื่อไหร่เรามีสติอยู่ จิตฟุ้งซ่านเรามีสติรู้ทันปั๊บ จิตสงบอัตโนมัติ งั้นวิธีที่เราจะทำจิตให้สงบเนี่ยไม่ใช่เร­ื่องยาก ถ้าเราไม่รู้วิธีแล้วมันก็ยาก เช่นเราอุตสาห์ไปนั่งสมาธินะ นั่งกันเป็นวันๆพุทโธไปหายใจไป ฝึกกันแรมปีนะกว่าจะค่อยๆสงบได้บ้าง บางทีสงบมากๆไปอีกซึมไปเลย ออกจากสมาธิมานะใจก็ซึมๆเซื่องๆ หรือเวลาอยู่ในสมาธิมีความสุขมาก ออกมากระทบอารมณ์ข้างนอกนะ ใจทนไม่ไหว มันคล้ายๆเรามีชีวิตอยู่แต่ในห้องปลอดเชื้­อ พอออกมาสู่อากาศข้างนอกโดนเชื้อโรคแป๊บเดี­ยวตายเลย เวลาติดอยู่ในสมาธินะใจสงบสบายมีความสุขนึ­กว่าไม่มีกิเลส พอออกมากระทบอารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกายใจเท­่านั้น กิเลสระเบิดเปรี้ยงปร้างเลย งั้นสมาธิอย่างนั้นไม่ค่อยได้เรื่องอะไรหร­อก

วันอาทิตย์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2558

พระอานนท์พระพุทธเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก

ละกามราคะกามฉันทะไปนิพพาน พระราชพรหมยาน หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุงเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก

ทำลายสติในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไปอยู่ในโลกของความคิดนั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะมันปรุงไม่เลิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป เหมือนเรานั่งสบายๆ นั่งเล่น นอนเล่น อยู่ในบ้านเรา เรามองออกไปทางประตู มองออกไปทางหน้าต่าง เห็นคนเดินผ่านหน้าบ้าน เนี่ยความรู้สึกทั้งหลาย ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศลทั้งหลาย เหมือนมันเดินผ่านหน้าบ้าน เราอยู่ในบ้าน สบายๆ ไม่เดือดร้อนอะไรกับใครเขา สิ่งที่ผ่านหน้าบ้านเรา บางทีก็เป็นของสวยของงาม บางทีก็เป็นของน่าเกลียดน่ากลัว เช่นหมาขี้เรื้อนวิ่งมา อะไรอย่างนี้ หมาบ้าวิ่งมาเนี่ย ผ่านหน้าบ้านไป อารมณ์ก็เหมือนกันนะ อารมณ์บางทีก็อารมณ์ที่ดี บางทีก็อารมณ์ที่เลว ผ่านมา แต่ว่าไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ที่ดีหรืออารมณ์ที่เลว นักปฏิบัติที่แท้จริงจะเหมือนคนที่นอนเล่นในบ้าน ไม่วิ่งตามไป ไม่ใช่เห็นสาวสวยเดินผ่านหน้าบ้าน ก็วิ่งตามเขาไปนะ เห็นหมาบ้าวิ่งมาก็วิ่งออกไปไล่ตีมัน จิตใจจะไม่ได้เป็นอย่างนั้น จิตใจจะแค่เป็นคนรู้คนดู แล้วก็สิ่งเหล่านั้นจะไม่แอบเข้าไปในบ้านเรา เหมือนผู้ร้ายไม่กล้าเข้าบ้าน เจ้าของบ้านยังตื่นอยู่ ใจเราตื่นขึ้นมานะ ผู้ร้ายคือกิเลสมันเข้ามาไม่ได้ แต่ถ้าใจเราหลับเมือไหร่นะ มันย่องเข้ามา ย่องเบา เบาจริงๆนะ ย่องเข้ามา ไม่ทันรู้สึกหรอก กว่าจะรู้สึกตัวก็คือ มันขึ้นมาขี่คอเรียบร้อยแล้วนะ ให้คอยรู้สึกนะ รู้สึก…

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช-ฝึกเจริญสติในชีวิตจริง

วันเสาร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2558

บุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดั­กไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แลกามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกบุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดั­กไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล

ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษเพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

ต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนิน30 ลิขิตฟ้า 70ต้องฝ่าฝัน ต้องสู้..ต้องสู้ถึงจะชนะ

สมมุติ วิมุติกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

วิธี การ ระงับ ข้อพิพาท วิวาทะ การทะเลาะ วิวาท การโต้เถียง และอธิกรณ์กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

วันศุกร์ที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ไม่ใช่ศาสนาไม่ใช่ลัทธิเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันจิตตื่น..หลวงพ่อปราโมทย์ : คำว่าจิตตื่นของหลวงพ่อหมายถึง จิตซึ่งรู้สึกตัวขึ้นมา รู้สึกกาย รู้สึกใจ ไม่หลงเพลิดเพลินอยู่ในโลกของความคิด ในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไปอยู่ในโลกของความคิดนั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะมันปรุงไม่เลิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป เหมือนเรานั่งสบายๆ นั่งเล่น นอนเล่น อยู่ในบ้านเรา เรามองออกไปทางประตู มองออกไปทางหน้าต่าง เห็นคนเดินผ่านหน้าบ้าน เนี่ยความรู้สึกทั้งหลาย ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศลทั้งหลาย เหมือนมันเดินผ่านหน้าบ้าน เราอยู่ในบ้าน สบายๆ ไม่เดือดร้อนอะไรกับใครเขา สิ่งที่ผ่านหน้าบ้านเรา บางทีก็เป็นของสวยของงาม บางทีก็เป็นของน่าเกลียดน่ากลัว เช่นหมาขี้เรื้อนวิ่งมา อะไรอย่างนี้ หมาบ้าวิ่งมาเนี่ย ผ่านหน้าบ้านไป อารมณ์ก็เหมือนกันนะ อารมณ์บางทีก็อารมณ์ที่ดี บางทีก็อารมณ์ที่เลว ผ่านมา แต่ว่าไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ที่ดีหรืออารมณ์ที่เลว นักปฏิบัติที่แท้จริงจะเหมือนคนที่นอนเล่นในบ้าน ไม่วิ่งตามไป ไม่ใช่เห็นสาวสวยเดินผ่านหน้าบ้าน ก็วิ่งตามเขาไปนะ เห็นหมาบ้าวิ่งมาก็วิ่งออกไปไล่ตีมัน จิตใจจะไม่ได้เป็นอย่างนั้น จิตใจจะแค่เป็นคนรู้คนดู แล้วก็สิ่งเหล่านั้นจะไม่แอบเข้าไปในบ้านเรา เหมือนผู้ร้ายไม่กล้าเข้าบ้าน เจ้าของบ้านยังตื่นอยู่ ใจเราตื่นขึ้นมานะ ผู้ร้ายคือกิเลสมันเข้ามาไม่ได้ แต่ถ้าใจเราหลับเมือไหร่นะ มันย่องเข้ามา ย่องเบา เบาจริงๆนะ ย่องเข้ามา ไม่ทันรู้สึกหรอก กว่าจะรู้สึกตัวก็คือ มันขึ้นมาขี่คอเรียบร้อยแล้วนะ ให้คอยรู้สึกนะ รู้สึก… หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช แสดงธรรมศาลาลุงชินครั้งที่ ๑๔ แสดงธรรมเมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ CD: แสดงธรรมที่ศาลาลุงชินครั้งที่ ๑๔ File: 500916 ระหว่างนาทีที่ ๑ วินาทีที่ ๕๔ ถึง นาทีที่ ๕ วินาทีที่ ๓๔

ไม่ใช่ศาสนาไม่ใช่ลัทธิเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันจิตตื่น..หลวงพ่อปราโมทย์ : คำว่าจิตตื่นของหลวงพ่อหมายถึง จิตซึ่งรู้สึกตัวขึ้นมา รู้สึกกาย รู้สึกใจ ไม่หลงเพลิดเพลินอยู่ในโลกของความคิด ในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไปอยู่ในโลกของความคิดนั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะมันปรุงไม่เลิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป เหมือนเรานั่งสบายๆ นั่งเล่น นอนเล่น อยู่ในบ้านเรา เรามองออกไปทางประตู มองออกไปทางหน้าต่าง เห็นคนเดินผ่านหน้าบ้าน เนี่ยความรู้สึกทั้งหลาย ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศลทั้งหลาย เหมือนมันเดินผ่านหน้าบ้าน เราอยู่ในบ้าน สบายๆ ไม่เดือดร้อนอะไรกับใครเขา สิ่งที่ผ่านหน้าบ้านเรา บางทีก็เป็นของสวยของงาม บางทีก็เป็นของน่าเกลียดน่ากลัว เช่นหมาขี้เรื้อนวิ่งมา อะไรอย่างนี้ หมาบ้าวิ่งมาเนี่ย ผ่านหน้าบ้านไป อารมณ์ก็เหมือนกันนะ อารมณ์บางทีก็อารมณ์ที่ดี บางทีก็อารมณ์ที่เลว ผ่านมา แต่ว่าไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ที่ดีหรืออารมณ์ที่เลว นักปฏิบัติที่แท้จริงจะเหมือนคนที่นอนเล่นในบ้าน ไม่วิ่งตามไป ไม่ใช่เห็นสาวสวยเดินผ่านหน้าบ้าน ก็วิ่งตามเขาไปนะ เห็นหมาบ้าวิ่งมาก็วิ่งออกไปไล่ตีมัน จิตใจจะไม่ได้เป็นอย่างนั้น จิตใจจะแค่เป็นคนรู้คนดู แล้วก็สิ่งเหล่านั้นจะไม่แอบเข้าไปในบ้านเรา เหมือนผู้ร้ายไม่กล้าเข้าบ้าน เจ้าของบ้านยังตื่นอยู่ ใจเราตื่นขึ้นมานะ ผู้ร้ายคือกิเลสมันเข้ามาไม่ได้ แต่ถ้าใจเราหลับเมือไหร่นะ มันย่องเข้ามา ย่องเบา เบาจริงๆนะ ย่องเข้ามา ไม่ทันรู้สึกหรอก กว่าจะรู้สึกตัวก็คือ มันขึ้นมาขี่คอเรียบร้อยแล้วนะ ให้คอยรู้สึกนะ รู้สึก… หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช แสดงธรรมศาลาลุงชินครั้งที่ ๑๔ แสดงธรรมเมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ CD: แสดงธรรมที่ศาลาลุงชินครั้งที่ ๑๔ File: 500916 ระหว่างนาทีที่ ๑ วินาทีที่ ๕๔ ถึง นาทีที่ ๕ วินาทีที่ ๓๔

ทำลายสติจิตตื่น..หลวงพ่อปราโมทย์ : คำว่าจิตตื่นของหลวงพ่อหมายถึง จิตซึ่งรู้สึกตัวขึ้นมา รู้สึกกาย รู้สึกใจ ไม่หลงเพลิดเพลินอยู่ในโลกของความคิด ในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไปอยู่ในโลกของความคิดนั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะมันปรุงไม่เลิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป เหมือนเรานั่งสบายๆ นั่งเล่น นอนเล่น อยู่ในบ้านเรา เรามองออกไปทางประตู มองออกไปทางหน้าต่าง เห็นคนเดินผ่านหน้าบ้าน เนี่ยความรู้สึกทั้งหลาย ความสุข ความทุกข์ กุศล อกุศลทั้งหลาย เหมือนมันเดินผ่านหน้าบ้าน เราอยู่ในบ้าน สบายๆ ไม่เดือดร้อนอะไรกับใครเขา สิ่งที่ผ่านหน้าบ้านเรา บางทีก็เป็นของสวยของงาม บางทีก็เป็นของน่าเกลียดน่ากลัว เช่นหมาขี้เรื้อนวิ่งมา อะไรอย่างนี้ หมาบ้าวิ่งมาเนี่ย ผ่านหน้าบ้านไป อารมณ์ก็เหมือนกันนะ อารมณ์บางทีก็อารมณ์ที่ดี บางทีก็อารมณ์ที่เลว ผ่านมา แต่ว่าไม่ว่าจะเป็นอารมณ์ที่ดีหรืออารมณ์ที่เลว นักปฏิบัติที่แท้จริงจะเหมือนคนที่นอนเล่นในบ้าน ไม่วิ่งตามไป ไม่ใช่เห็นสาวสวยเดินผ่านหน้าบ้าน ก็วิ่งตามเขาไปนะ เห็นหมาบ้าวิ่งมาก็วิ่งออกไปไล่ตีมัน จิตใจจะไม่ได้เป็นอย่างนั้น จิตใจจะแค่เป็นคนรู้คนดู แล้วก็สิ่งเหล่านั้นจะไม่แอบเข้าไปในบ้านเรา เหมือนผู้ร้ายไม่กล้าเข้าบ้าน เจ้าของบ้านยังตื่นอยู่ ใจเราตื่นขึ้นมานะ ผู้ร้ายคือกิเลสมันเข้ามาไม่ได้ แต่ถ้าใจเราหลับเมือไหร่นะ มันย่องเข้ามา ย่องเบา เบาจริงๆนะ ย่องเข้ามา ไม่ทันรู้สึกหรอก กว่าจะรู้สึกตัวก็คือ มันขึ้นมาขี่คอเรียบร้อยแล้วนะ ให้คอยรู้สึกนะ รู้สึก… หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช แสดงธรรมศาลาลุงชินครั้งที่ ๑๔ แสดงธรรมเมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๑๖ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐ CD: แสดงธรรมที่ศาลาลุงชินครั้งที่ ๑๔ File: 500916 ระหว่างนาทีที่ ๑ วินาทีที่ ๕๔ ถึง นาทีที่ ๕ วินาทีที่ ๓๔

เมื่อไหร่มันจะจบจะพอกันเสียทีจงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบโบราณ สมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน่นหนา มีค่ายคูประตูหอรบเสร็จ เพื่อป้องกันข้าศึกอันจะมาราวี นักรบที่ฉลาด เมื่อออกรบกับข้าศึกเห็นว่าจะสู้ข้าศึกไม้ได้แล้ว ก็ล่าทัพกลับสู่พระนคร แล้วรักษาพระนครเอาไว้ไม่ให้ข้าศึกเข้ามาทำลายได้ พร้อมกันนั้นก็สะสมรี้พลอาวุธและอาหารให้พร้อมเพรียง(คือ ทำสมาธิ ให้มั่นคงกล้าหาญ ) แล้วจึงออกรบข้าศึกอีกต่อไป (คือ มวลกิเลสทั้งปวง) สมาธิเป็นกำลังสำคัญมาก ถ้าไม่มีสมาธิแล้ววิปัสสนาจะเอากำลังมาจากไหน ปัญญาวิปัสสนามิใช่เป็นของจะพึงแต่งเอาได้เมื่อไร แต่เกิดจากสมาธิ ที่หัดได้ชำนิชำนาญมั่นคงดีแล้วต่างหาก ถึงผู้ได้สุกขวิปัสสกก็เถิด ถ้าไม่มีสมถะแล้วจะเอาวิปัสสนามาจากไหน เป็นแต่สมถะของท่านไม่คล่องเท่านั้น อย่างนี้พอฟังได้ ผู้ปฏิบัติทั้งหลาย เมื่อได้ทำสมาธิให้มั่นคงแน่นหนาดีแล้ว จนกระทั่งจะเข้าจะออกก็ได้ จะอยู่ให้นานๆ และพิจารณากายอันนี้ให้เป็นอสุภะ หรือเป็นธาตุก็ได้ พิจารณาคนในโลกนี้ทั้งหมดให้เป็นโครงกระดูกทั้งหมดก็ได้ หรือพิจารณาให้เห็นในโลกนี้ทั้งหมดว่างเป็นอัชฌัตตากาศ ว่างเปล่าไปหมดก็ได้ ฯลฯ จิตผู้มีสมาธิเต็มที่แล้ว ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน ย่อมเป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา แล้วก็มองเห็นกิเลสของตน ซึ่งเกิดจากจิตของตนได้ชัดเจนว่า กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง ความมัน เกิดจากสิ่งนี้ๆ และมัน ตั้งอยู่ ได้ด้วยอาการอย่างนี้ ๆ แล้วก็หาอุบาย ละ ด้วยอย่างนี้ ๆ เหมือนกับน้ำในสระที่ขุ่นมาเป็นร้อยๆ ปี เพิ่งมาใสสะอาดมองเห็นสิ่งสารพัดที่มีอยู่ก้นสระว่า แต่ก่อนแต่ไรเราไม่นึกไม่คิดเลยว่า ในก้นสระนี้มันจะมีของเหล่านี้ นั้น เรียกว่า วิปัสสนา คือ ความรู้ความเห็นตามสภาพจริง มันเป็นจริง อย่างไรก็เห็นตามความเป็นจริงอย่างนั้น ไม่วิปริตผิดแปลกจากความเป็นจริงของมัน สมถะ ก็ละกิเลสได้เหมือนกัน แต่ละได้เหมือนคนถางหญ้า ตัดแต่ต้นให้ขาด ไม่ขุดเอารากออกให้หมด รากมันย่อมมีเวลางอกขึ้นมาอีกในเมื่อฝนตกลงมา คือ เห็นโทษในอารมณ์ที่มันเกิดจากอายตนะนะหกเหมือนกัน แต่เมื่อเห็นโทษก็รีบเข้าหาความสงบ โดยไม่พิจารณาอารมณ์นั้นๆให้ถี่ถ้วนอย่างสมาธิ สรุปความแล้วเรียกว่า ชอบเอาแต่ความสงบอย่างเดียว ไม่อยากพิจารณาให้เนิ่นช้า เหมือนกับตัวแย้อาศัยรูเป็นเครื่องป้องกันภัยอันตราย เมื่อเห็นศัตรูมาก็วิ่งเข้ารูเสีย พ้นภัยอันตรายไประยะหนึ่งๆ ก็เท่านั้น ผู้ต้องการขุดรากเหง้าของกิเลสในตัว เมื่อกิเลสมันเกิดจากอายตนะทั้งหกในตัวของตน เช่น ตาเห็นรูป หูได้ฟังเสียงเป็นต้น เกิดผู้ผัสสะขึ้นให้ยินดีหรือยินร้าย ดีใจและเสียใจ เป็นต้น แล้วเข้าไปยึดเอามาเป็นอารมณ์ของตน ขุ่นมัวอยู่ในใจ จนเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อนดิ้นรน กินไม่ได้นอนไม่หลับ จนกระทั่งทำอัตตนิบาต ฆ่าคนตายก็มี เมื่อเห็นชัดอย่างนี้แล้ว พึงทำสมาธิ ให้มั่นคงเป็นหลักเสียก่อน แล้วจึงตั้งจิตพิจารณาเฉพาะในอารมณ์นั้น ๆ แต่สิ่งเดียว เช่น ตาเห็นรูปที่เป็น อิฏฐารมณ์ แล้วเกิดความยินดีพอใจขึ้น ก็ให้พิจารณาเฉพาะแต่ความยินดีพอใจนั้นว่า มันเกิดจากตาหรือเกิดจากรูปกันแน่ เมื่อพิจารณาถึงรูปก็เห็นว่า รูปมันเป็นแต่รูปธรรมต่างหาก มันจะดีหรือเลว มันไม่ได้มาชักชวนให้เราไปยินดี หรือยินร้าย หรือให้เราไปหลงรักหรือชัง มันเป็นแต่รูปเฉยๆ เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป มันดับไปตามสภาพของมันต่างหาก เมื่อพิจารณาตามตาผู้ไปเห็นรูปเล่า ตาผู้ส่งส่ายไปเห็นรูป พอกระทบเท่านั้นแสงสะท้อนกลับเข้ามาหาจักษุประสาทเข้า ก็เป็นรูปต่าง ๆนานาเกิดขึ้น ตาก็ไม่ได้ชักชวนไปให้ยินดียินร้าย หรือให้รักให้ชังอะไร ตามีหน้าที่ให้เห็น เห็นรูปแล้วก็ดับไป สิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์ และอนิฏฐารมณ์ หรืออายตนะอื่นๆ ก็ให้พิจารณาอย่างเดียวกันนี้ เมื่อเราพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะเห็นชัดว่า สิ่งทั้งปวงหมดในโลกนี้ มันจะเกิดกิเลสขึ้นก็เพราะอายตนะทั้งหกนี้เป็นต้นเหตุทั้งนั้น ถ้าเราพิจารณาและไม่หลงตามอายตนะทั้งหกนี้ กิเลสก็จะไม่เกิดขึ้นในตัวของเรา ตรงกันข้าม มันจะเกิดปัญญาก็เพราะมีอายตนะทั้งหกนี้ อายตนะทั้งหกนี้เป็นสื่อกลางของความดีและความชั่ว จะไปสุคติและทุคติก็เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ โลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียว จิต กับ ใจ ย่อมมีลักษณะอาการต่างกัน จิต ได้แก่ ผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง และสัญญา อารมณ์ต่างๆ ตลอดถึงไปยึดเอาสิ่งต่างๆ มาไว้ที่จิต จิตเมื่อเห็นโทษทุกข์ทั้งหลาย ที่ยึดเอากิเลสทั้งปวงมาไว้ที่จิตของตน แล้ว ยอมสละถอนจากอารมณ์และกิเลสทั้งปวงจากจิต จิต นั้นก็เป็น ใจ จิต กับ ใจ มีลักษณะอาการต่างกันอย่างนี้ ใจ คือ ผู้เป็นกลาง วางเฉย ไม่คิดนึกอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่รู้ตัวอยู่ว่าวางเฉย ใจเป็นธรรมชาติเป็นกลางแท้ กลางไม่มีอดีตอนาคต ไม่มีบุญหรือบาป ไม่ดีและไม่ชั่วนั้นเรียกว่า ใจ สิ่งทั้งปวงหมด ถ้าพูดถึงใจแล้ว จะต้องหมายเอาตรงใจกลางทั้งนั้น แม้แต่ใจของคนซึ่งเป็นนามธรรม ก็ต้องชี้เข้าไปที่ท่ามกลางอก แต่ใจแท้ไม่ทราบว่าอยู่ตรงไหน เราเอาความรู้สึกไปไว้ในกายส่วนใดส่วนหนึ่ง ลองดูซิ จะรู้สึกขึ้นในที่นั้น หรือเอาความรู้สึกนั้นไปไว้ภายนอกกาย เป็นต้น ว่า เอาไปไว้ที่เสาหรือที่ฝาผนังบ้าน ก็จะมีความรู้สึกอยู่ ณ ที่นั้น เป็นอันสรุปได้ว่า ใจแท้ คือ ความรู้สึกเฉยอยู่เป็นกลางๆ เมื่อมีความรู้สึกกลางๆ อยู่ ณ ที่ใด ใจก็อยู่ ณ ที่นั้น ที่ชาวบ้านเขาพูดกันว่า หัวใจๆ นั้น มิใช่ใจแท้ เป็นแต่หทัยวัตถุ เครื่องสูบฉีดเลือดให้ไปหล่อเลี้ยงสรีระร่างกาย เพื่อให้อยู่ได้ ถ้าไม่มีเครื่องสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงร่างกายแล้วกายอันนี้ก็จะอยู่ไม่ได้ ต้องตาย สมองก็เหมือนกัน จะคิดดีหรือไม่ดีก็เพราะสมองเป็นเครื่องใช้ของจิตใจ ระบบประสาทของสมองเป็นรูปธรรม เมื่อปัจจัยต่างๆ ของรูปธรรมขาดไป รูปธรรมย่อมอยู่ไม่ได้ต้องดับไป แต่จิตซึ่งเป็นนามธรรมนั้นในพุทธศาสนาท่านว่า ยังเหลืออยู่ เกิดได้อีก นาม ธรรมจะดับก็ต่อเมื่อปัญญาไปรู้เหตุ รู้ผลของนามธรรมนั้น ๆ แล้วถอนมูลเหตุของมันเสีย ศาสตร์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ทั้งหมดสอนกันไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งเรียนยิ่งสอนก็ยิ่งกว้างขวางออกไปทุกที มีพุทธศาสนาเท่านั้นที่สอนให้ถึงที่สุดได้ พุทธศาสนาสอนเบื้องต้นให้รู้จักกาย อันนี้ว่า มีสิ่งต่างๆประกอบกันเข้า จึงเรียกว่าสรีระร่างกาย ( คือ อาการสามสิบสอง) และมีหน้าที่อะไรบ้าง พร้อมกันนั้น ก็สอนให้เห็นเป็นของ อสุภะ เป็นของจริงไปในตัว สอนให้รู้จักโลกอันนี้ (คือ มนุษย์ )ที่ประกอบไปด้วย ทุกข์ ทั้งนั้น ผลที่สุดก็ต้องแตกดับไปตามธรรมดาของมัน ฉะนั้น เมื่อเราเกิดขึ้นมาได้ก้อนนี้แล้ว ถึงจะเป็นของไม่งามเต็มไปด้วย อสุภะ และประกอบไปด้วย ทุกข์ นานัปการก็ตาม แต่เราก็ได้มาพึ่งอาศัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พึงทำคุณงามความดีใช้หนี้โลกเสียก่อนจะตายไปจากโลกนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ จิต คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้น พระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ จิต ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วยจิตอย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา ) อายตนะทั้งหลายเป็นเครื่องวัด จิต ของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบ จิต ของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้วก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ใจ ที่เป็นกลางๆ ๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลกด้วยประการอย่างนี้ เราพากันมาสำรวมจิตกันเถิด จิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางที จิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมันออกจากหนึ่ง สิ่งอันหนึ่งทั้งนั้น เช่น การนับก็ตั้งต้นจากหนึ่งก่อน หนึ่งสองหนก็เป็นสอง หนึ่งสามหนก็เป็นสาม ดังนี้เป็นต้น หรือต้นหมากรากไม้ทั้งปวงก็ออกมาจากหนึ่งทั้งนั้น (คือ รากของมัน ) คนเราก็เหมือนกันเมื่อเกิดมาทีแรก ก็เกิดจากปฏิสนธิจิตดวงเดียวแท้ๆ เมื่อคลอดออกมาแล้วมีอายตนะ ขันธ์ห้า เครื่องใช้หลายอย่าง จิตก็ปรุงแต่งไปหลายอย่างหลายอัน จนนับจิตไม่ถ้วน ไม่ทราบว่าจิตมีกี่ดวง ยุ่งกันไปหมด จิตเดิมแท้เลยไม่เห็น ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงสอนให้ค้นหา จิต คือ ภาวนา พุทโธ เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียว จึงจะเห็นจิต การค้นหาจิตเราจะต้องทำภาวนาพุทโธ ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้นให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆ ก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้ จิต กับ ใจ มันต่างกัน จิต คือ ผู้คิด ผู้ส่งส่าย ผู้ปรุงแต่ง ใจ คือ ผู้รู้ตัว แล้วนิ่งเฉยไม่คิดไม่นึก เรียกว่าใจดังอธิบายมาข้างต้น เมื่อไม่อยากให้กิเลสมารบกวน จงอย่าคิดนึก ทำใจให้เป็นกลางๆ วางเฉยแล้วนิ่งอยู่ กิเลสทั้งปวงก็จะไม่มารบกวนอีกต่อไป

ดวงประทีปของโลกข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส กะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า มีอสรพิษ ๔ จำพวก ซึ่ง มีฤทธิ์เดชแรงกล้า ถ้ามีบุรุษรักชีวิต ผู้ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ ชน ทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน อสรพิษ ๔ จำพวกนี้ มีฤทธิ์เดชแรง กล้า ท่านพึงปลุกให้ลุกตามเวลา ให้อาบน้ำตามเวลา ให้กินอาหารตามเวลา ให้ เข้าสู่ที่อยู่ตามเวลา เวลาใดอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกนี้ ตัวใดตัวหนึ่งโกรธขึ้น เวลา นั้น ท่านก็จะพึงถึงความตาย หรือถึงทุกข์แทบปางตาย กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำ กิจนั้นเสีย ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกนั้น จึงหนีไปในที่อื่น ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีเพชฌฆาตผู้ เป็นข้าศึกอยู่ ๕ คน ได้ติดตามมาข้างหลังท่าน พบท่านในที่ใด ก็จะฆ่าท่านเสีย ในที่นั้น กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้นแล บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวก และกลัว เพชฌฆาตผู้เป็นข้าศึกทั้ง ๕ คนนั้น จึงหนีไปในที่อื่น ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขา อย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีเพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศ เงื้อดาบติดตาม มาข้างหลังท่าน พบท่านในที่ใด ก็จะตัดศีรษะของท่านเสียในที่นั้น กิจใดที่ท่าน ควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกซึ่งมีฤทธิ์เดชแรงกล้า กลัวเพชฌฆาตผู้เป็นข้าศึกทั้ง ๕ และกลัวเพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศ เงื้อดาบอยู่ จึงหนีไปในที่อื่น เขาพบบ้านร้างเข้า จึงเข้าไปสู่เรือนร้างว่างเปล่า หลังหนึ่ง ลูบคลำภาชนะว่างเปล่าชนิดหนึ่ง ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีโจรทั้งหลายคอยฆ่าชาวบ้าน เข้ามาสู่บ้านร้างนี้เสมอ กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ กลัวเพชฌฆาตทั้ง ๕ กลัว เพชฌฆาตคนที่ ๖ และกลัวโจรผู้คอยฆ่าชาวบ้าน จึงหนีไปในที่อื่น เขาไปพบ ห้วงน้ำใหญ่แห่งหนึ่ง ฝั่งข้างนี้น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย ฝั่งข้างโน้น เป็นที่เกษมปลอดภัย เรือแพ หรือสะพานที่จะข้ามไปฝั่งโน้นไม่มี ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นมีความคิดอย่างนี้ว่า ห้วงน้ำนี้ใหญ่นัก ฝั่งข้าง นี้เป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษมปลอดภัยเรือ แพ หรือสะพานที่จะข้ามไปฝั่งโน้นก็ไม่มี ผิฉะนั้น เราควรจะมัดหญ้ากิ่งไม้และ ใบไม้ ผูกเป็นแพ เกาะแพนั้น พยายามไปด้วยมือและด้วยเท้า ก็พึงถึงฝั่งโน้น ได้โดยความสวัสดี ครั้นแล้ว บุรุษนั้นทำตามความคิดของตน ก็ว่ายข้ามฟากถึง ฝั่งข้างโน้นแล้ว เป็นพราหมณ์ขึ้นบกไป ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้ออุปมานี้ เราสมมติขึ้นเพื่อจะให้รู้เนื้อความ โดยง่าย ในข้อนั้นมีเนื้อความดังนี้ คำว่า อสรพิษที่มีฤทธิ์แรงกล้าทั้ง ๔ จำพวก นั้น เป็นชื่อแห่งมหาภูตรูป ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม คำว่า เพชฌฆาตทั้ง ๕ คนที่เป็นข้าศึกนั้น เป็นชื่อแห่งอุปาทานขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ คำว่า เพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศเงื้อดาบอยู่นั้น เป็นชื่อแห่งนันทิราคะ คำว่า บ้านร้างนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายใน ๖ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้บัณฑิตผู้ฉลาด มีปัญญาใคร่ครวญ อายตนะภายใน ๖ นั้น ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็จะปรากฏว่าเป็นของ ว่าง เปล่า สูญทั้งนั้น ฯ คำว่า โจรผู้ฆ่าชาวบ้านนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายนอก ๖ ตาย่อม เดือดร้อนเพราะรูปเป็นที่พอใจและไม่พอใจ หูย่อมเดือดร้อน เพราะเสียงเป็นที่ พอใจและไม่พอใจ จมูกย่อมเดือดร้อนเพราะกลิ่นเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ลิ้น ย่อมเดือดร้อนเพราะรสเป็นที่พอใจและไม่พอใจ กายย่อมเดือดร้อนเพราะโผฏ- *ฐัพพะเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ใจย่อมเดือดร้อนเพราะธรรมารมณ์เป็นที่พอใจและ ไม่พอใจ คำว่า ห้วงน้ำใหญ่นั้น เป็นชื่อแห่งโอฆะทั้ง ๔ คือ กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ อวิชโชฆะ คำว่า ฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย นั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ คำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่ง วิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อ แห่งพระอรหันต์ ฯ จบสูตรที่ ๑

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เทศนาเรื่อง จิตยิ้มอเหตุกจิต ๓ จากหนังสือ "อตุโล ไม่มีใดเทียม" บันทึกโดย พระโพธินันทะมุนี (สมศักดิ์ ปฺณฑิโต) รวบรวมและเรียบเรียงโดย รศ. ดร.ปฐม นิคมานนท์ ขวา ค้นศัพท์ ๑. ปัญจทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ตาม อายตนะ หรือทวารทั้ง ๕ มีดังนี้ ตา ไปกระทบกับรูป เกิด จักขุวิญญาณ คือการเห็น จะห้ามไม่ให้ตาเห็นรูป ไม่ได้ หู ไปกระทบเสียง เกิด โสตวิญญาณ คือการได้ยิน จะห้ามไม่ให้หูได้ยินเสียง ไม่ได้ จมูก ไปกระทบกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ คือการได้กลิ่น จะห้ามไม่ให้จมูกรับกลิ่น ไม่ได้ ลิ้น ไปกระทบกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ คือการได้รส จะห้ามไม่ให้ลิ้นรับรู้รส ไม่ได้ กาย ไปกระทบกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ คือการสัมผัส จะห้ามไม่ให้ กายรับสัมผัส ไม่ได้ วิญญาณทั้ง ๕ อย่างนี้ เป็นกิริยาที่แฝงอยู่ในกายตามทวาร ทำหน้าที่รับรู้สิ่งต่างๆ ที่มากระทบ เป็นสภาวะแห่งธรรมชาติของมันเป็นอยู่เช่นนั้น ก็แต่ว่า เมื่อจิตอาศัยทวารทั้ง ๕ เพื่อเชื่อมต่อรับรู้เหตุการณ์ภายนอก ที่เข้ามากระทบ แล้วส่งไปยังสำนักงานจิตกลางเพื่อรับรู้ เราจะห้ามมิให้เกิดมีเป็นเช่นนั้น ย่อมกระทำไม่ได้ การป้องกันทุกข์ที่จะเกิดจากทวารทั้ง ๕ นั้น เราจะต้องสำรวมอินทรีย์ทั้ง ๕ ไม่เพลิดเพลินในอายตนะเหล่านั้น หากจำเป็นต้องอาศัยอายตนะทั้ง ๕ นั้น ประกอบการงานทางกาย ก็ควรจะกำหนดจิตให้ตั้งอยู่ในจิต เช่น เมื่อเห็นก็สักแต่ว่าเห็นไม่คิดปรุง, ได้ยินก็สักแต่ว่าได้ยิน ไม่คิดปรุง ดังนี้ เป็นต้น (ไม่คิดปรุงหมายความว่า ไม่ให้จิตเอนเอียงไปในความเห็นดีชั่ว) [ถืออุเบกขาไม่คิดนึกปรุงแต่งเอนเอียงเข้าไปแทรกแซงนั่นเอง - webmaster] ๒. มโนทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ที่มโนทวาร มีหน้าที่ผลิตความคิดนึกต่างๆ นานา คอยรับเหตุการณ์ภายในภายนอกมากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเอาไว้ จะห้ามจิตไม่ให้คิดในทุกๆ กรณีย่อมไม่ได้ ก็แต่ว่าเมื่อจิตคิดปรุงไปในเรื่องราวใดๆ ถึงวัตถุ สิ่งของ บุคคลอย่างไร ก็ให้กำหนดรู้ว่าจิตคิดถึงเรื่องเหล่านั้น ก็สักแต่ว่าความคิด ไม่ใช่สัตว์บุคคล เราเขา ไม่ยึดถือวิจารณ์ความคิดเหล่านั้น [ถืออุเบกขาเสียนั่นเอง-webmaster] ทำความเห็นให้เป็นปกติ ไม่ยึดถือความเห็นใดๆ[อุเบกขา - webmaster]ทั้งสิ้น จิตย่อมไม่ไหลตามกระแสอารมณ์เหล่านั้น ไม่เป็นทุกข์ ๓. หสิตุปบาท คือ กิริยาที่จิตยิ้มเอง โดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม หมายความว่าไม่อยากยิ้มมันก็ยิ้มของมันเอง กิริยาจิตอันนี้มีเฉพาะเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี สำหรับ อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ มีเท่ากันในพระอริยเจ้า และในสามัญชน นักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย เมื่อตั้งใจปฏิบัติตนออกจากกองทุกข์ควรพิจารณา อเหตุกจิต นี้ให้เข้าใจด้วย เพื่อความไม่ผิดพลาดในการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม อเหตุกจิต นี้ นักปฏิบัติทั้งหลายควรทำความเข้าใจให้ได้ เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะพยายามบังคับสังขารไปหมด ซึ่งเป็นอันตรายต่อการปฏิบัติธรรมมาก เพราะความไม่เข้าใจใน อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ นี้เอง อเหตุกจิต ข้อ ๓ เป็นกิริยาจิตที่ยิ้มเองโดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม เกิดในจิตของเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี เพราะกิริยาจิตนี้เป็นผลของการเจริญจิตจนอยู่เหนือมายาสังขารได้แล้ว จิตไม่ต้องติดข้องในโลกมายา เพราะความรู้เท่าทันเหตุปัจจัยแห่งการปรุงแต่งได้แล้ว เป็นอิสระด้วยตัวมันเอง

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เทศนาเรื่อง จิตยิ้มอเหตุกจิต ๓ จากหนังสือ "อตุโล ไม่มีใดเทียม" บันทึกโดย พระโพธินันทะมุนี (สมศักดิ์ ปฺณฑิโต) รวบรวมและเรียบเรียงโดย รศ. ดร.ปฐม นิคมานนท์ ขวา ค้นศัพท์ ๑. ปัญจทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ตาม อายตนะ หรือทวารทั้ง ๕ มีดังนี้ ตา ไปกระทบกับรูป เกิด จักขุวิญญาณ คือการเห็น จะห้ามไม่ให้ตาเห็นรูป ไม่ได้ หู ไปกระทบเสียง เกิด โสตวิญญาณ คือการได้ยิน จะห้ามไม่ให้หูได้ยินเสียง ไม่ได้ จมูก ไปกระทบกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ คือการได้กลิ่น จะห้ามไม่ให้จมูกรับกลิ่น ไม่ได้ ลิ้น ไปกระทบกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ คือการได้รส จะห้ามไม่ให้ลิ้นรับรู้รส ไม่ได้ กาย ไปกระทบกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ คือการสัมผัส จะห้ามไม่ให้ กายรับสัมผัส ไม่ได้ วิญญาณทั้ง ๕ อย่างนี้ เป็นกิริยาที่แฝงอยู่ในกายตามทวาร ทำหน้าที่รับรู้สิ่งต่างๆ ที่มากระทบ เป็นสภาวะแห่งธรรมชาติของมันเป็นอยู่เช่นนั้น ก็แต่ว่า เมื่อจิตอาศัยทวารทั้ง ๕ เพื่อเชื่อมต่อรับรู้เหตุการณ์ภายนอก ที่เข้ามากระทบ แล้วส่งไปยังสำนักงานจิตกลางเพื่อรับรู้ เราจะห้ามมิให้เกิดมีเป็นเช่นนั้น ย่อมกระทำไม่ได้ การป้องกันทุกข์ที่จะเกิดจากทวารทั้ง ๕ นั้น เราจะต้องสำรวมอินทรีย์ทั้ง ๕ ไม่เพลิดเพลินในอายตนะเหล่านั้น หากจำเป็นต้องอาศัยอายตนะทั้ง ๕ นั้น ประกอบการงานทางกาย ก็ควรจะกำหนดจิตให้ตั้งอยู่ในจิต เช่น เมื่อเห็นก็สักแต่ว่าเห็นไม่คิดปรุง, ได้ยินก็สักแต่ว่าได้ยิน ไม่คิดปรุง ดังนี้ เป็นต้น (ไม่คิดปรุงหมายความว่า ไม่ให้จิตเอนเอียงไปในความเห็นดีชั่ว) [ถืออุเบกขาไม่คิดนึกปรุงแต่งเอนเอียงเข้าไปแทรกแซงนั่นเอง - webmaster] ๒. มโนทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ที่มโนทวาร มีหน้าที่ผลิตความคิดนึกต่างๆ นานา คอยรับเหตุการณ์ภายในภายนอกมากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเอาไว้ จะห้ามจิตไม่ให้คิดในทุกๆ กรณีย่อมไม่ได้ ก็แต่ว่าเมื่อจิตคิดปรุงไปในเรื่องราวใดๆ ถึงวัตถุ สิ่งของ บุคคลอย่างไร ก็ให้กำหนดรู้ว่าจิตคิดถึงเรื่องเหล่านั้น ก็สักแต่ว่าความคิด ไม่ใช่สัตว์บุคคล เราเขา ไม่ยึดถือวิจารณ์ความคิดเหล่านั้น [ถืออุเบกขาเสียนั่นเอง-webmaster] ทำความเห็นให้เป็นปกติ ไม่ยึดถือความเห็นใดๆ[อุเบกขา - webmaster]ทั้งสิ้น จิตย่อมไม่ไหลตามกระแสอารมณ์เหล่านั้น ไม่เป็นทุกข์ ๓. หสิตุปบาท คือ กิริยาที่จิตยิ้มเอง โดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม หมายความว่าไม่อยากยิ้มมันก็ยิ้มของมันเอง กิริยาจิตอันนี้มีเฉพาะเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี สำหรับ อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ มีเท่ากันในพระอริยเจ้า และในสามัญชน นักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย เมื่อตั้งใจปฏิบัติตนออกจากกองทุกข์ควรพิจารณา อเหตุกจิต นี้ให้เข้าใจด้วย เพื่อความไม่ผิดพลาดในการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม อเหตุกจิต นี้ นักปฏิบัติทั้งหลายควรทำความเข้าใจให้ได้ เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะพยายามบังคับสังขารไปหมด ซึ่งเป็นอันตรายต่อการปฏิบัติธรรมมาก เพราะความไม่เข้าใจใน อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ นี้เอง อเหตุกจิต ข้อ ๓ เป็นกิริยาจิตที่ยิ้มเองโดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม เกิดในจิตของเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี เพราะกิริยาจิตนี้เป็นผลของการเจริญจิตจนอยู่เหนือมายาสังขารได้แล้ว จิตไม่ต้องติดข้องในโลกมายา เพราะความรู้เท่าทันเหตุปัจจัยแห่งการปรุงแต่งได้แล้ว เป็นอิสระด้วยตัวมันเอง

แล้วจะทำอย่างไรกันดีอเหตุกจิต ๓ จากหนังสือ "อตุโล ไม่มีใดเทียม" บันทึกโดย พระโพธินันทะมุนี (สมศักดิ์ ปฺณฑิโต) รวบรวมและเรียบเรียงโดย รศ. ดร.ปฐม นิคมานนท์ ขวา ค้นศัพท์ ๑. ปัญจทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ตาม อายตนะ หรือทวารทั้ง ๕ มีดังนี้ ตา ไปกระทบกับรูป เกิด จักขุวิญญาณ คือการเห็น จะห้ามไม่ให้ตาเห็นรูป ไม่ได้ หู ไปกระทบเสียง เกิด โสตวิญญาณ คือการได้ยิน จะห้ามไม่ให้หูได้ยินเสียง ไม่ได้ จมูก ไปกระทบกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ คือการได้กลิ่น จะห้ามไม่ให้จมูกรับกลิ่น ไม่ได้ ลิ้น ไปกระทบกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ คือการได้รส จะห้ามไม่ให้ลิ้นรับรู้รส ไม่ได้ กาย ไปกระทบกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ คือการสัมผัส จะห้ามไม่ให้ กายรับสัมผัส ไม่ได้ วิญญาณทั้ง ๕ อย่างนี้ เป็นกิริยาที่แฝงอยู่ในกายตามทวาร ทำหน้าที่รับรู้สิ่งต่างๆ ที่มากระทบ เป็นสภาวะแห่งธรรมชาติของมันเป็นอยู่เช่นนั้น ก็แต่ว่า เมื่อจิตอาศัยทวารทั้ง ๕ เพื่อเชื่อมต่อรับรู้เหตุการณ์ภายนอก ที่เข้ามากระทบ แล้วส่งไปยังสำนักงานจิตกลางเพื่อรับรู้ เราจะห้ามมิให้เกิดมีเป็นเช่นนั้น ย่อมกระทำไม่ได้ การป้องกันทุกข์ที่จะเกิดจากทวารทั้ง ๕ นั้น เราจะต้องสำรวมอินทรีย์ทั้ง ๕ ไม่เพลิดเพลินในอายตนะเหล่านั้น หากจำเป็นต้องอาศัยอายตนะทั้ง ๕ นั้น ประกอบการงานทางกาย ก็ควรจะกำหนดจิตให้ตั้งอยู่ในจิต เช่น เมื่อเห็นก็สักแต่ว่าเห็นไม่คิดปรุง, ได้ยินก็สักแต่ว่าได้ยิน ไม่คิดปรุง ดังนี้ เป็นต้น (ไม่คิดปรุงหมายความว่า ไม่ให้จิตเอนเอียงไปในความเห็นดีชั่ว) [ถืออุเบกขาไม่คิดนึกปรุงแต่งเอนเอียงเข้าไปแทรกแซงนั่นเอง - webmaster] ๒. มโนทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ที่มโนทวาร มีหน้าที่ผลิตความคิดนึกต่างๆ นานา คอยรับเหตุการณ์ภายในภายนอกมากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเอาไว้ จะห้ามจิตไม่ให้คิดในทุกๆ กรณีย่อมไม่ได้ ก็แต่ว่าเมื่อจิตคิดปรุงไปในเรื่องราวใดๆ ถึงวัตถุ สิ่งของ บุคคลอย่างไร ก็ให้กำหนดรู้ว่าจิตคิดถึงเรื่องเหล่านั้น ก็สักแต่ว่าความคิด ไม่ใช่สัตว์บุคคล เราเขา ไม่ยึดถือวิจารณ์ความคิดเหล่านั้น [ถืออุเบกขาเสียนั่นเอง-webmaster] ทำความเห็นให้เป็นปกติ ไม่ยึดถือความเห็นใดๆ[อุเบกขา - webmaster]ทั้งสิ้น จิตย่อมไม่ไหลตามกระแสอารมณ์เหล่านั้น ไม่เป็นทุกข์ ๓. หสิตุปบาท คือ กิริยาที่จิตยิ้มเอง โดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม หมายความว่าไม่อยากยิ้มมันก็ยิ้มของมันเอง กิริยาจิตอันนี้มีเฉพาะเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี สำหรับ อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ มีเท่ากันในพระอริยเจ้า และในสามัญชน นักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย เมื่อตั้งใจปฏิบัติตนออกจากกองทุกข์ควรพิจารณา อเหตุกจิต นี้ให้เข้าใจด้วย เพื่อความไม่ผิดพลาดในการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม อเหตุกจิต นี้ นักปฏิบัติทั้งหลายควรทำความเข้าใจให้ได้ เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะพยายามบังคับสังขารไปหมด ซึ่งเป็นอันตรายต่อการปฏิบัติธรรมมาก เพราะความไม่เข้าใจใน อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ นี้เอง อเหตุกจิต ข้อ ๓ เป็นกิริยาจิตที่ยิ้มเองโดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม เกิดในจิตของเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี เพราะกิริยาจิตนี้เป็นผลของการเจริญจิตจนอยู่เหนือมายาสังขารได้แล้ว จิตไม่ต้องติดข้องในโลกมายา เพราะความรู้เท่าทันเหตุปัจจัยแห่งการปรุงแต่งได้แล้ว เป็นอิสระด้วยตัวมันเอง

แล้วจะทำอย่างไรกันดีอเหตุกจิต ๓ จากหนังสือ "อตุโล ไม่มีใดเทียม" บันทึกโดย พระโพธินันทะมุนี (สมศักดิ์ ปฺณฑิโต) รวบรวมและเรียบเรียงโดย รศ. ดร.ปฐม นิคมานนท์ ขวา ค้นศัพท์ ๑. ปัญจทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ตาม อายตนะ หรือทวารทั้ง ๕ มีดังนี้ ตา ไปกระทบกับรูป เกิด จักขุวิญญาณ คือการเห็น จะห้ามไม่ให้ตาเห็นรูป ไม่ได้ หู ไปกระทบเสียง เกิด โสตวิญญาณ คือการได้ยิน จะห้ามไม่ให้หูได้ยินเสียง ไม่ได้ จมูก ไปกระทบกับกลิ่น เกิด ฆานวิญญาณ คือการได้กลิ่น จะห้ามไม่ให้จมูกรับกลิ่น ไม่ได้ ลิ้น ไปกระทบกับรส เกิด ชิวหาวิญญาณ คือการได้รส จะห้ามไม่ให้ลิ้นรับรู้รส ไม่ได้ กาย ไปกระทบกับโผฏฐัพพะ เกิด กายวิญญาณ คือการสัมผัส จะห้ามไม่ให้ กายรับสัมผัส ไม่ได้ วิญญาณทั้ง ๕ อย่างนี้ เป็นกิริยาที่แฝงอยู่ในกายตามทวาร ทำหน้าที่รับรู้สิ่งต่างๆ ที่มากระทบ เป็นสภาวะแห่งธรรมชาติของมันเป็นอยู่เช่นนั้น ก็แต่ว่า เมื่อจิตอาศัยทวารทั้ง ๕ เพื่อเชื่อมต่อรับรู้เหตุการณ์ภายนอก ที่เข้ามากระทบ แล้วส่งไปยังสำนักงานจิตกลางเพื่อรับรู้ เราจะห้ามมิให้เกิดมีเป็นเช่นนั้น ย่อมกระทำไม่ได้ การป้องกันทุกข์ที่จะเกิดจากทวารทั้ง ๕ นั้น เราจะต้องสำรวมอินทรีย์ทั้ง ๕ ไม่เพลิดเพลินในอายตนะเหล่านั้น หากจำเป็นต้องอาศัยอายตนะทั้ง ๕ นั้น ประกอบการงานทางกาย ก็ควรจะกำหนดจิตให้ตั้งอยู่ในจิต เช่น เมื่อเห็นก็สักแต่ว่าเห็นไม่คิดปรุง, ได้ยินก็สักแต่ว่าได้ยิน ไม่คิดปรุง ดังนี้ เป็นต้น (ไม่คิดปรุงหมายความว่า ไม่ให้จิตเอนเอียงไปในความเห็นดีชั่ว) [ถืออุเบกขาไม่คิดนึกปรุงแต่งเอนเอียงเข้าไปแทรกแซงนั่นเอง - webmaster] ๒. มโนทวาราวัชชนจิต คือ กิริยาจิตที่แฝงอยู่ที่มโนทวาร มีหน้าที่ผลิตความคิดนึกต่างๆ นานา คอยรับเหตุการณ์ภายในภายนอกมากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเอาไว้ จะห้ามจิตไม่ให้คิดในทุกๆ กรณีย่อมไม่ได้ ก็แต่ว่าเมื่อจิตคิดปรุงไปในเรื่องราวใดๆ ถึงวัตถุ สิ่งของ บุคคลอย่างไร ก็ให้กำหนดรู้ว่าจิตคิดถึงเรื่องเหล่านั้น ก็สักแต่ว่าความคิด ไม่ใช่สัตว์บุคคล เราเขา ไม่ยึดถือวิจารณ์ความคิดเหล่านั้น [ถืออุเบกขาเสียนั่นเอง-webmaster] ทำความเห็นให้เป็นปกติ ไม่ยึดถือความเห็นใดๆ[อุเบกขา - webmaster]ทั้งสิ้น จิตย่อมไม่ไหลตามกระแสอารมณ์เหล่านั้น ไม่เป็นทุกข์ ๓. หสิตุปบาท คือ กิริยาที่จิตยิ้มเอง โดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม หมายความว่าไม่อยากยิ้มมันก็ยิ้มของมันเอง กิริยาจิตอันนี้มีเฉพาะเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี สำหรับ อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ มีเท่ากันในพระอริยเจ้า และในสามัญชน นักปฏิบัติธรรมทั้งหลาย เมื่อตั้งใจปฏิบัติตนออกจากกองทุกข์ควรพิจารณา อเหตุกจิต นี้ให้เข้าใจด้วย เพื่อความไม่ผิดพลาดในการบำเพ็ญปฏิบัติธรรม อเหตุกจิต นี้ นักปฏิบัติทั้งหลายควรทำความเข้าใจให้ได้ เพราะถ้าไม่เช่นนั้นแล้ว เราจะพยายามบังคับสังขารไปหมด ซึ่งเป็นอันตรายต่อการปฏิบัติธรรมมาก เพราะความไม่เข้าใจใน อเหตุกจิต ข้อ ๑ และ ๒ นี้เอง อเหตุกจิต ข้อ ๓ เป็นกิริยาจิตที่ยิ้มเองโดยปราศจากเจตนาที่จะยิ้ม เกิดในจิตของเหล่าพระอริยเจ้าเท่านั้น ในสามัญชนไม่มี เพราะกิริยาจิตนี้เป็นผลของการเจริญจิตจนอยู่เหนือมายาสังขารได้แล้ว จิตไม่ต้องติดข้องในโลกมายา เพราะความรู้เท่าทันเหตุปัจจัยแห่งการปรุงแต่งได้แล้ว เป็นอิสระด้วยตัวมันเอง

ไม่ใช่ศาสนาไม่ใช่ลัทธิเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันจิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่งความปรุงแต่งจิตความอยากความกระหายทางจิต .... ก็เป็นไปได้ว่า แม้คุณจะฝันรู้ตัว (ตอนกำลังนอน) แต่พอตื่นขึ้นมาก็ลืมหมด .... ตนนั่นเหละเป็นที่พึงของตน ตถาคตเป็นเพียงผู้บอกทางเท่านั้นเรื่องของมันมีแค่รู้ว่าฝันให้ตื่นทันที.

ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟังวันที่ 25 มิถุนายน เวลา 8:36 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติส่งพลังงานออกมาเป็นมุมกว้างรอบทิศทาง โดยมีพลังงานส่วนที่มีทิศทางตรงกับโลก พบปริมาณจุดดับลดลงอย่างฉับพลันต่ำสุดในรอบ 3 สัปดาห์ และส่งรังสี X-ray ออกมาสูงสุดในระดับ M7 จากการคำนวนพบว่ามวลพลาสม่าจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 27 มิถุนายน เวลา 16 UT +/- 7 ชั่วโมง ในวันเดียวกันนี้ยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ คือมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวพฤหัส เป็นเส้นตรง สำหรับเหตุการณ์บนโลกในช่วงนี้พบพายุลูกใหม่ก่อตัวขึ้นบริเวณประเทศเวียดนาม http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/index.php… และพบแผ่นดินไหวมากกว่าปกติใกล้กับประเทศนิวซีแลนด์ ทุกท่านที่สนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาตินอกโลกในครั้งนี้ที่จะสัมพันธ์กับโลก โปรดติดตามสถานการณ์ต่อเนื่องได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 29 มิถุนายน ครับ ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้ - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์มุมมองจากโลกสำหรับเหตุการณ์ครั้งนี้ http://www.sidc.oma.be/cactus/out/CME0018/CME.html - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.gsfc.nasa.gov/IswaSystemWeb…/iSWACygnetStreamer… - รังสี X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก http://services.swpc.noaa.gov/images/goes-xray-flux.gif

ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟังวันที่ 25 มิถุนายน เวลา 8:36 UT เกิดปฏิกริยาดวงอาทิตย์มากกว่าปกติส่งพลังงานออกมาเป็นมุมกว้างรอบทิศทาง โดยมีพลังงานส่วนที่มีทิศทางตรงกับโลก พบปริมาณจุดดับลดลงอย่างฉับพลันต่ำสุดในรอบ 3 สัปดาห์ และส่งรังสี X-ray ออกมาสูงสุดในระดับ M7 จากการคำนวนพบว่ามวลพลาสม่าจะเดินทางมาถึงโลกในวันที่ 27 มิถุนายน เวลา 16 UT +/- 7 ชั่วโมง ในวันเดียวกันนี้ยังเป็นวันสำคัญทางดาราศาสตร์ คือมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวพฤหัส เป็นเส้นตรง สำหรับเหตุการณ์บนโลกในช่วงนี้พบพายุลูกใหม่ก่อตัวขึ้นบริเวณประเทศเวียดนาม http://hisz.rsoe.hu/alertmap/site/index.php… และพบแผ่นดินไหวมากกว่าปกติใกล้กับประเทศนิวซีแลนด์ ทุกท่านที่สนใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาตินอกโลกในครั้งนี้ที่จะสัมพันธ์กับโลก โปรดติดตามสถานการณ์ต่อเนื่องได้ตั้งแต่วันนี้ถึงวันที่ 29 มิถุนายน ครับ ข้อมูลเพิ่มเติมมีดังนี้ - ภาพถ่ายมุมกว้างที่ดวงอาทิตย์มุมมองจากโลกสำหรับเหตุการณ์ครั้งนี้ http://www.sidc.oma.be/cactus/out/CME0018/CME.html - โมเดลจำลองการแพร่กระจายของพลังงานจากดวงอาทิตย์ http://iswa.gsfc.nasa.gov/IswaSystemWeb…/iSWACygnetStreamer… - รังสี X-ray ที่วัดได้จากนอกโลก http://services.swpc.noaa.gov/images/goes-xray-flux.gif

วันพุธที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2558

แต่ว่าเบื้องต้น ก็ต้องบริกรรม จิตของเราให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม บริกรรมไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธเท่านั้นเอง ให้พุทโธน่ะฝังอยู่ในจิตในหัวใจ เราไปเขียนเล่นในนั้นก็ได้ ว่า พุทโธ พุทโธ พุทโธ เพื่อ ให้จิตเป็นผู้บริกรรม ให้จิตเป็นผู้ว่า ไม่ต้องว่าปากเปล่า สติของเราเป็นผู้ว่า ผู้ว่าพุทโธอยู่ตรงไหน ตั้งสติอยู่ตรงนั้น แล้วก็ผู้บริกรรม บริกรรมเรื่อยไป ลูกศิษย์ : ครับ ตอนนี้ ไปเข้ากับเรื่องที่หลวงปู่ อธิบายไว้รึเปล่า การที่เห็นแสง เห็นโอภาสเนี่ยก็ หลวงปู่ : อันนี้มันเป็น อยู่ในหลักสมาธิเนี่ยล่ะ) ลูกศิษย์ : อยู่ในหลักที่ว่าจิตส่งออกนอกเป็นสมุทัยใช่มั้ยครับ หลวงปู่ : มันจะเป็น จิตไปยึด ไปเที่ยว อยู่นั่นแหละ แล้วพาไปเห็น ไม่ว่าอะไรไม่มีที่สิ้นสุด ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : โอภาส อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง ไม่ต้องไปตัดที่อื่น ตัดที่จิต ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต เพ่งจิตเห็นจิต แล้วก็ตั้งสติให้มันเห็นจิต อะไรๆมันก็ขาดไปเอง ก็หมดเรื่องกันไป โอภาสนั้นก็หมด หมายความว่า ที่เราดู ไปเห็นตามมันน่ะ หมายความว่า เราไม่รู้เท่ามัน หมายความว่า เราหลงไป เราหลงไป เราไม่เข้าใจความเป็นจริง หลงไปตามมัน แล้วแต่มันจะสอน แล้วก็ ไปถือตามมันทั้งหมด สุดท้ายมันจะเป็นบ้าเราไปเขียนในนั้นก็ได้ว่า พุทโธ พุทโธ พุทโธ เพื่อ ให้จิตเป็นผู้บริกรรม ให...

แยกถอดรูปด้วยวิชามรรคเหตุต้องละผลต้องละใช้หนี้ก็หมดพ้นเหตุเกิดพ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้นก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปเบื้องหน้า

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

ธรรมะสอนใจพูดให้คิด

https://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่48โวลต์ ขับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า ปรับความเร็วได้ ราคาอุปกรณ์ ประมาณ 3000 บาท....ไม่รวมค่า...แบตเตอรี่และมอเตอร์...AEC Plus | ยอดขายรถอาเซียนตก ไทย-อินโดนีเซีย วูบ, กัมพูชาก้าวไกลผลิตรถยน...

รถยนต์ไฟฟ้าhttps://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่48โวลต์ ขับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า ปรับความเร็วได้ ราคาอุปกรณ์ ประมาณ 3000 บาท....ไม่รวมค่า...แบตเตอรี่และมอเตอร์...

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต มะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินากะตัง ปุญยังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. ตอบกลับ ·

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต มะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินากะตัง ปุญยังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. ตอบกลับ ·

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต มะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินากะตัง ปุญยังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. ตอบกลับ ·

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต มะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินากะตัง ปุญยังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. ตอบกลับ ·

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต มะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินากะตัง ปุญยังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. ตอบกลับ ·

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่อุกาสะ วันทามิ ภันเต สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะเม ภันเต มะยากะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง สามินากะตัง ปุญยังมัยหัง ทาตัพพัง สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. ตอบกลับ ·

หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต คติธรรมและโอวาทหลวงปู่

วันอังคารที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เค้กหนึ่งนาที One Minute Cake (เค้กอบด้วยไมโครเวฟ)

เมื่อไหร่มันจะจบจะพอกันเสียที"ถึงจิตไม่สงบก็ไม่ควรปล่อยให้มันออกไปไกล ใช้สติระลึกไปแต่ในกายนี้ ดูให้เห็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อสุภสัญญา หาสาระแก่นสารไม่ได้ เมื่อจิตมองเห็นชัดแล้ว จิตก็เกิดความสลดสังเวช เกิดนิพพิทา ความหน่าย คลายกําหนัด ย่อมตัดอุปาทานขันธ์ได้เช่นเดียวกัน" ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

สร้างอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในแอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้าเครื่องล้างจานปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

มอเตอร์ (ทำง่ายสุดๆ)https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 รถยนต์ไฟฟ้าใช้มอเตอร์สามเฟสและแบตเตอรี่ง่ายดีครับ TM 51 (ราคา ตัวละ 500 บาท)รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 48 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ TM 52 A ครับ TM 52 A จะทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 3- 5 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..3 แรงม้าครับ..บอร์ด MC3PHAC (ราคา บอร์ดละ 1000 บาท )ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...LINE ID:pornpimon1411 หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE 6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51 (TM 52 A จำหน่ายไปหมดแล้วครับ...ให้ใช้ PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้ได้ หนึ่งแรงม้า ต่อ 1 ตัวครับ ขนานกันได้ ตามขนานมอเตอร์ครับ )สำหรับสร้างเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส...

หน้าที่แรกของชาว ลัทธิที่พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่าผิดหลักกรรมมีอยู่ ๓ ลัทธิ ลัทธิที่ ๑ คือ ปุพเพกตวาท ลัทธิกรรมเก่า ลัทธิที่ ๒ คือ อิศวรนิรมิตวาท ลัทธิที่ถือว่าพระผู้เป็นเจ้าบันดาล หรือเทพเจ้าผู้ยิ่งใหญ่บันดาล ลัทธิที่ ๓ คือ อเหตุวาท ถือว่าความเป็นไปต่างๆ ไม่มีเหตุปัจจัย แล้วแต่โชคชะตา

พระ พุทธองค์ทรงแสดงโทษของกามแก่ โปตลิยคหบดี ณ นิคมชื่อ อาปณะของชาวอังคุตตราปะ ในแคว้นอังคุตตราปะ เช้าวันหนึ่งพระพุทธเจ้าเสด็จเข้าไปบิณฑบาตในอาปณนิคม เมื่อเสวยเสร็จแล้ว เสด็จประทับพักผ่อนที่ราวป่าแห่งหนึ่ง ประทับนั่งใต้ต้นไม้ ครั้งนั้น โปตลิยคหบดีถือร่ม สวมรองเท้าเดินเข้าไปในแนวป่านั้นเพื่อพักผ่อนเช่นเดียวกัน พระศาสดาทรงทักทายและทรงเชื้อเชิญให้นั่ง แต่ทรงเรียกเขาว่า คหบดี (ผู้มั่งคั่งหรือผู้ครองเรือน) “คหบดี ที่นั่งมีอยู่ ถ้าท่านประสงค์ก็ขอเชิญนั่งเถิด” ตรัสอย่างนี้ โปตลิยะไม่พอใจที่เรียกเขาว่า คหบดี พระศาสดาตรัสถึง 3 ครั้ง เขาจึงทูลว่าที่เรียกเขาว่าคหบดีนั้นไม่สมควร เพราะเขาเลิกการงานหมดแล้ว เลิกโวหารหมดแล้ว พระศาสดาตรัสว่า อาการ เพศ และเครื่องหมาย (เช่น การแต่งกาย ร่ม และรองเท้า) ของท่านล้วนเหมือนคหบดีทั้งสิ้น จึงเรียกท่านเช่นนั้น อนึ่งเล่าที่ท่านกล่าวว่าเลิกการงานทั้งปวงแล้ว ตัดโวหารทั้งปวงแล้วนั้นเป็นอย่างไร คหบดีทูลว่า ข้าพเจ้ามอบทรัพย์สินสมบัติทั้งปวงให้ลูกหมดสิ้นแล้ว เลิกว่ากล่าวสั่งสอนเขาโดยประการทั้งปวง ที่เรียกว่าเลิกการงานและเลิกโวหารหมดแล้ว พระพุทธองค์ตรัสว่า การเลิกโวหารของท่านเป็นอย่างหนึ่ง ส่วนการเลิกโวหารของในอริยวินัย (ธรรมเนียมของอริยเจ้า) เป็นอีกอย่างหนึ่งไม่เหมือนกัน คหบดีทูลขอให้ทรงแสดงการเลิกโวหารในอริยวินัย จึงทรงแสดงโดยย่อดังนี้ ๑. เลิกปาณาติบาต ๒. เลิกอทินนาทาน ๓. เลิกพูดเท็จ ๔. เลิกพูดส่อเสียด ๕. เลิกติดใจแม้ในของๆตน (คิทธิโลภะ) ๖. เลิกโกรธเลิกนินทา ๗. เลิกคับแค้นเพราะโกรธ ๘. เลิกดูหมิ่นผู้อื่น เมื่อเลิกได้อย่างนี้แล้ว ย่อมไม่ต้องร้อนใจเพราะกิเลสเหล่านั้น การที่จะต้องถูกติเตียนจากวิญญูชนก็ไม่มี ตนเองก็ไม่ต้องติเตียนตนเอง ไม่ต้องไปทุคติเมื่อสิ้นชีพแล้ว นี่คืออานิสงส์แห่งการเลิกปาณาติบาต เป็นต้น เพียงเท่านี้ยังไม่เรียกว่า การเลิกโวหารในวินัยของพระอริยะเสียทีเดียว คหบดีขอให้ทรงแสดงต่อไปว่า อย่างไรเรียกว่าเลิกโวหารอย่างเด็ดขาดในวินัยของพระอริยะ พระพุทธองค์ทรงแสดงให้เห็นโทษของกามว่า ๑. กามทั้งหลายไม่ทำให้บุคคลอิ่มในกามได้เลย เหมือนกระดูกสัตว์ที่ไม่มีเนื้อติดอยู่ เปื้อนเลือดอยู่เพียงเล็กน้อย ไม่ทำให้สุนัขตัวที่แทะกระดูกนั้นอิ่มได้ สุนัขนั้นเหนื่อยเปล่า กามทั้งหลายมีรสอร่อยน้อย มีโทษมาก มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก เมื่อเห็นโทษของกามอย่างนี้แล้ว ทำจิตใจให้วางเฉยในกาม ไม่ยึดมั่นในเหยื่อของโลก (คือกาม) (อฏฐิกงกลูปมา กามา) ๒. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนชิ้นเนื้อที่สัตว์แย่งกัน จิกตีกันเพื่อได้เนื้อชิ้นนั้น ถ้าไม่ปล่อยเสียมีหวังถูกตีจนตาย (มํสเปสูปมา กามา) ๓. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนคบเพลิงที่คนเดินถือทวนลม ย่อมทำให้ผู้ถือร้อน อาจไหม้มือพอง ถ้าไม่วางเสีย (ติณุกกูปมา กามา) ๔. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิงลึกท่วมหัวคน เต็มไปด้วยถ่านเพลิงอันร้อนแรง (องคารกาสูปมา กามา) ใครตกลงไปย่อมเดือดร้อนถึงตาย ๕. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนสิ่งที่เห็นในฝัน (สุปินกูปมา กามา) ๖. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนของที่ยืมเขามา (ยาจิตกูปมา กามา) เป็นของใช้ชั่วคราว ไม่นานต้องคืนเจ้าของไป ๗. กามทั้งหลายเปรียบเหมือนต้นไม้มีผลดก (รุกขผลูปมา กามา) ย่อมถูกทำลายถึงกับถูกโค่นต้นลงด้วยมือของบุรุษผู้โง่เขลา เห็นต้นไม้มีผลดกแต่ขึ้นต้นไม้ไม่เป็น ต้องการผลของมันจึงโค่นทั้งต้น ชายคนแรกที่ขึ้นกินอยู่บนต้นย่อมตกลงมาพร้อมด้วยการโค่นล้มของต้นไม้ อาจถึงตายหรือเจ็บปางตาย เมื่อเห็นโทษของกามอย่างนี้แล้ว ทำจิตให้วางเฉยในกาม ไม่ยึดมั่นในเหยื่อของโลกคือกาม เมื่อสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลแล้ว น้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะ ย่อมระลึกชาติได้บ้าง รู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลายบ้าง ย่อมได้เจโตวิมุติและปัญญาวิมุติอันยอดเยี่ยม หากิเลสมิได้ อย่างนี้แลเรียกว่าเป็นการเลิกโวหารโดยประการทั้งปวงในวินัยของพระอริยะ โปตลิยคหบดีเลื่อมใสในพระผู้มีพระภาค ทูลสรรเสริญว่า พระพุทธองค์เป็นสมณะที่น่าเคารพเลื่อมใสเป็นอย่างยิ่ง และขอปฏิญาณตนเป็นอุบาสกนับถือพระรัตนตรัยตลอดชีวิตเราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตนจากกามทั้งปวงเราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้ว

ง่ายกว่าที่คิดนะครับ.. https://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบวิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับTM52A

เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงง่ายกว่าที่คิดนะครับ.. https://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบ

เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงง่ายกว่าที่คิดนะครับ.. https://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบ

เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบการจำหน่ายไฟฟ้าในลักษณะขายปลีกอนุญาตให้เฉพาะการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้

เครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่การจำหน่ายไฟฟ้าในลักษณะขายปลีกอนุญาตให้เฉพาะการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบ นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กระทรวงพลังงานเตรียมประเมินผลดี ผลเสีย และผลกระทบของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะเข้ามาในไทย เพื่อรองรับทิศทางรถยนต์อนาคต รวมถึงการประเมินการใช้ไฟฟ้าว่าจะมากขึ้นเท่าไร พร้อมกันนี้จะต้องหารือกับการไฟฟ้าเพื่อกำหนดราคาจำหน่ายไฟฟ้าให้กับรถยนต์ไฟฟ้าอย่างชัดเจน โดยจะพยายามมุ่งเน้นให้รถยนต์ไฟฟ้าไปชาร์จไฟฟ้าในช่วงที่ประชาชนใช้ไฟฟ้าน้อยๆ โดยเฉพาะหลัง 21.00 น.ไปแล้ว แต่จะต้องกำหนดราคาจำหน่ายให้แตกต่างกันระหว่างชาร์จไฟฟ้าช่วงกลางวันกับช่วงค่ำ เพื่อจูงใจไม่ให้สร้างความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (พีค) เกิดขึ้นในรอบวันด้วย ในปี 2557 มีรถยนต์ไฟฟ้าที่นำมาใช้ในประเทศไทยแล้ว จำนวน 2,372 คัน ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับรถยนต์ส่วนบุคคลที่ใช้เบนซิน ที่มีอยู่ ประมาณ 4.4 ล้านคันและรถยนต์ที่ใช้ดีเซล 7.6 ล้านคัน

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่การจำหน่ายไฟฟ้าในลักษณะขายปลีกอนุญาตให้เฉพาะการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบ นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กระทรวงพลังงานเตรียมประเมินผลดี ผลเสีย และผลกระทบของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะเข้ามาในไทย เพื่อรองรับทิศทางรถยนต์อนาคต รวมถึงการประเมินการใช้ไฟฟ้าว่าจะมากขึ้นเท่าไร พร้อมกันนี้จะต้องหารือกับการไฟฟ้าเพื่อกำหนดราคาจำหน่ายไฟฟ้าให้กับรถยนต์ไฟฟ้าอย่างชัดเจน โดยจะพยายามมุ่งเน้นให้รถยนต์ไฟฟ้าไปชาร์จไฟฟ้าในช่วงที่ประชาชนใช้ไฟฟ้าน้อยๆ โดยเฉพาะหลัง 21.00 น.ไปแล้ว แต่จะต้องกำหนดราคาจำหน่ายให้แตกต่างกันระหว่างชาร์จไฟฟ้าช่วงกลางวันกับช่วงค่ำ เพื่อจูงใจไม่ให้สร้างความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (พีค) เกิดขึ้นในรอบวันด้วย ในปี 2557 มีรถยนต์ไฟฟ้าที่นำมาใช้ในประเทศไทยแล้ว จำนวน 2,372 คัน ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับรถยนต์ส่วนบุคคลที่ใช้เบนซิน ที่มีอยู่ ประมาณ 4.4 ล้านคันและรถยนต์ที่ใช้ดีเซล 7.6 ล้านคัน

มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าทำงานด้วยไฟฟ้า48โวลต์จากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่การจำหน่ายไฟฟ้าในลักษณะขายปลีกอนุญาตให้เฉพาะการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบ นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กระทรวงพลังงานเตรียมประเมินผลดี ผลเสีย และผลกระทบของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะเข้ามาในไทย เพื่อรองรับทิศทางรถยนต์อนาคต รวมถึงการประเมินการใช้ไฟฟ้าว่าจะมากขึ้นเท่าไร พร้อมกันนี้จะต้องหารือกับการไฟฟ้าเพื่อกำหนดราคาจำหน่ายไฟฟ้าให้กับรถยนต์ไฟฟ้าอย่างชัดเจน โดยจะพยายามมุ่งเน้นให้รถยนต์ไฟฟ้าไปชาร์จไฟฟ้าในช่วงที่ประชาชนใช้ไฟฟ้าน้อยๆ โดยเฉพาะหลัง 21.00 น.ไปแล้ว แต่จะต้องกำหนดราคาจำหน่ายให้แตกต่างกันระหว่างชาร์จไฟฟ้าช่วงกลางวันกับช่วงค่ำ เพื่อจูงใจไม่ให้สร้างความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (พีค) เกิดขึ้นในรอบวันด้วย ในปี 2557 มีรถยนต์ไฟฟ้าที่นำมาใช้ในประเทศไทยแล้ว จำนวน 2,372 คัน ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับรถยนต์ส่วนบุคคลที่ใช้เบนซิน ที่มีอยู่ ประมาณ 4.4 ล้านคันและรถยนต์ที่ใช้ดีเซล 7.6 ล้านคัน

มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าทำงานด้วยไฟฟ้า48โวลต์จากแบตเตอรี่ ตลาดรถยนต์ไทยกำลังถึงจุดเปลี่ยนสำคัญในอีกไม่กี่ปีข้างหน้า หลังสำนักงานส่งเสริมการลงทุน(บีโอไอ) เตรียมออกมาตรการสนับสนุนการผลิตรถยนต์ไฟฟ้า โดยรัฐบาลคาดว่าภายในปีนี้จะประกาศนโยบายสนับสนุนได้ การส่งเสริมผลิตรถยนต์ไฟฟ้าถือเป็นความพยายามการรักษาฐานการผลิตรถยนต์ในภูมิภาค หลังจากที่ก่อนหน้านั้นไทยมีจุดแข็งในเรื่องฐานการผลิตปิกอัพและอีโคคาร์ แต่การผลิตรถยนต์ใช้น้ำมันกำลังเผชิญกั การแข่งขันมากขึ้นจากหลายประเทศ นายณรงค์ชัย อัครเศรณี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพลังงาน กล่าวในงาน "Energy Forumครั้งที่ 3" เรื่อง"อนาคตยานยนต์ไฟฟ้ากับการพัฒนาพลังงาน ว่า กระทรวงพลังงานมีแนวทางส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์อย่างจริงจังในเมืองใหญ่ โดยคาดว่าทางสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) จะนำเสนอบอร์ดบีโอไอภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ เพื่อกำหนดเป็นนโยบายชักชวนให้มีการลงทุนตั้งโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ไฟฟ้าในประเทศ "คาดว่านโยบายที่เกี่ยวข้องทั้งหมด เกี่ยวกับรถยนต์ไฟฟ้าจะสามารถประกาศ ออกมาได้ภายในปีนี้ หลังจากนั้นเอกชนจะใช้ระยะเวลาประมาณ 2 ปีในการตั้งโรงงาน ซึ่งหากเป็นไปตามแผนที่วางเอาไว้ ในอีก 3 ปี จะเริ่มมีรถยนต์ไฟฟ้าออกสู่ตลาดในเชิงพาณิชย์" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า ในส่วนของกระทรวงพลังงานจะมีการปรับแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับน้ำมันและก๊าซ เพื่อให้สถานีบริการน้ำมันและก๊าซฯ โดยเฉพาะของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) สามารถที่จะตั้งจุดบริการเพื่อชาร์จไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ จากปัจจุบันที่การจำหน่ายไฟฟ้าในลักษณะขายปลีกอนุญาตให้เฉพาะการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเท่านั้น นอกจากนี้ ยังจะมีมาตรการอื่นๆ ที่จะจูงใจให้ผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายที่อยู่ในเมืองใหญ่ เช่น กรุงเทพมหานคร หันมาใช้รถยนต์ไฟฟ้าในการเดินทางประจำวันกันมากขึ้น "แนวทางการส่งเสริมจะทั่วไปจะเน้นรถยนต์ไฟฟ้าที่มีการผลิตในประเทศมากกว่ารถยนต์ไฟฟ้านำเข้า โดยจะพิจารณาทั้งในส่วนของอัตราค่าไฟฟ้าที่จะแข่งขันได้กับเชื้อเพลิงประเภทอื่นที่ใช้กันอยู่ปกติคือน้ำมันและก๊าซ รวมทั้งราคาของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะต้องไม่แพงกว่ารถยนต์ทั่วไปรวมทั้งการเพิ่มจุดที่จะให้บริการในการชารต์ไฟฟ้าที่ทั่วถึง" นายณรงค์ชัย กล่าวว่า การส่งเสริมให้มีการใช้รถยนต์ไฟฟ้าเป็นแนวโน้มที่เกิดขึ้นในเมืองใหญ่ทั่วโลก เพราะระยะการเดินทางจากบ้านถึงที่ทำงานไม่ไกล และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ดังนั้นกระทรวงพลังงานจึงต้องมีความพร้อมที่จะเตรียมมาตรการต่างๆ เอาไว้รองรับชงบอร์ดบีโอไอพิจารณาใน2เดือน นายโชคดี แก้วแสง รองเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) กล่าวว่า แนวทางการส่งเสริมของบีโอไอในส่วนของรถยนต์ไฟฟ้า เพื่อให้มีการลงทุนในการผลิตชิ้นส่วนรถยนต์ที่มีความสำคัญมากขึ้นจากที่เคยให้การส่งเสริมอยู่ เช่น ระบบมอเตอร์ ระบบแบตเตอรี่ เป็นต้น เพื่อไม่ต้องการที่จะให้เป็นเพียงการเข้ามาตั้งโรงงานประกอบเท่านั้น ขณะนี้กำลังอยู่ในระหว่างการบูรณาการนโยบายการส่งเสริมร่วมกับกระทรวงอุตสาหกรรมและกระทรวงพลังงานคาดว่าจะสามารถนำเข้าบอร์ดบีโอไอได้ภายใน 2 เดือนข้างหน้านี้ ทั้งนี้ ปัจจุบันมีบริษัทที่ได้รับการส่งเสริมลงทุนผลิตระบบปรับอากาศของรถยนต์ไฟฟ้าแล้ว 1 ราย โดยได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล 8 ปี เป็นสัดส่วนไม่เกิน 100% ของเงินลงทุนการยกเว้นอากรขาเข้าของเครื่องจักร และยกเว้นอากรขาเข้าวัตถุดิบและวัสดุจำเป็นสำหรับส่วนที่ผลิตเพื่อส่งออก สำหรับในส่วนของมาตรการภาษีของรถยนต์ไฟฟ้านั้น ทางกรมสรรพสามิตได้มีการกำหนดโครงสร้างอัตราภาษีที่เตรียมพร้อมเอาไว้แล้วและจะเริ่มใช้ในปี 2559 โดยรถยนต์ไฟฟ้าจะเสียภาษีอยู่ที่ 10% ในขณะที่รถยนต์อีโคคาร์ ซึ่งใช้เชื้อเพลิงน้ำมัน อัตราภาษีจะลดลงจากปัจจุบัน 17% เหลือ 14% และอีโคคาร์ที่ใช้น้ำมัน อี85 จะมีอัตราภาษีอยู่ที่ 12% ยอดใช้ทั่วโลกเพิ่มปีละ6ล้านคัน นายโชคดี กล่าวว่า ปัญหาเรื่องของการขาดแคลนพลังงานและภาวะโลกร้อนเป็นปัจจัยผลักดันให้มีการผลิตรถยนต์ที่ใช้พลังงานทดแทนโดยเฉพาะรถยนต์ไฟฟ้าซึ่งไม่มีไอเสียมากขึ้น โดยข้อมูลในปี2555 ทั่วโลกใช้รถยนต์ไฟฟ้าอยู่ประมาณ 180,000 คัน โดยสหรัฐมีการใช้สูงสุด 38% และญี่ปุ่น 24% และมีกาคาดการณ์ว่าในปี 2563 จะมียอดขายรถยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นถึง 6 ล้านคันต่อปี จากปี 2555 และจะมีรถยนต์ไฟฟ้าทั่วโลกประมาณ 20 ล้านคัน สำหรับในประเทศไทยมองว่าปัจจัยสำคัญต่อการลงทุนผลิตรถยนต์ไฟฟ้า คือ โครงสร้างพื้นฐานที่จะมารองรับการผลิตและการใช้ที่จะต้องจัดเตรียมให้พร้อม เช่น ปริมาณการผลิตไฟฟ้า สถานีให้บริการชาร์จไฟฟ้า เรื่องขนาดของตลาดในประเทศและส่งออกที่มากพอสำหรับการเข้ามาตั้งโรงงานผลิตในประเทศการพัฒนาเทคโนโลยีรถไฟฟ้า โดยเฉพาะแบตเตอรี่ให้มีประสิทธิภาพสูง ต้นทุนต่ำลง สามารถเดินทางได้ในระยะทางที่ไกลขึ้น และนโยบายของภาครัฐที่จะสนับสนุนให้เกิดการลงทุนเตรียมศึกษาผลกระทบ นายทวารัฐ สูตะบุตร รองปลัดกระทรวงพลังงาน กล่าวว่า ขณะนี้กระทรวงพลังงานเตรียมประเมินผลดี ผลเสีย และผลกระทบของรถยนต์ไฟฟ้าที่จะเข้ามาในไทย เพื่อรองรับทิศทางรถยนต์อนาคต รวมถึงการประเมินการใช้ไฟฟ้าว่าจะมากขึ้นเท่าไร พร้อมกันนี้จะต้องหารือกับการไฟฟ้าเพื่อกำหนดราคาจำหน่ายไฟฟ้าให้กับรถยนต์ไฟฟ้าอย่างชัดเจน โดยจะพยายามมุ่งเน้นให้รถยนต์ไฟฟ้าไปชาร์จไฟฟ้าในช่วงที่ประชาชนใช้ไฟฟ้าน้อยๆ โดยเฉพาะหลัง 21.00 น.ไปแล้ว แต่จะต้องกำหนดราคาจำหน่ายให้แตกต่างกันระหว่างชาร์จไฟฟ้าช่วงกลางวันกับช่วงค่ำ เพื่อจูงใจไม่ให้สร้างความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด (พีค) เกิดขึ้นในรอบวันด้วย ในปี 2557 มีรถยนต์ไฟฟ้าที่นำมาใช้ในประเทศไทยแล้ว จำนวน 2,372 คัน ซึ่งถือว่าน้อยมากเมื่อเทียบกับรถยนต์ส่วนบุคคลที่ใช้เบนซิน ที่มีอยู่ ประมาณ 4.4 ล้านคันและรถยนต์ที่ใช้ดีเซล 7.6 ล้านคัน

မနက္ခင္း ေမတၱာပို႔ ဓမၼေတး

မနက္ခင္း ေမတၱာပို႔ ဓမၼေတး

မနက္ခင္း ေမတၱာပို႔ ဓမၼေတး

ละ...กามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยานกามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง

วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2558

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องอารมณ์พระโสดาบัน อารมณ์พระโสดาบัน ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลาย สำหรับคืนนี้ก็มาเริ่มปฏิบัติเนื่องในโสดาปัตติผล หรือว่า ปฏิบัติเพื่อพระโสดาปัตติมรรค การเจริญพระกรรมฐานนี่ พระพุทธเจ้ามีความต้องการให้ผู้ปฏิบัติทุกท่านเข้าถึงพระอริยมรรค พระอริยผล ถ้าเราจะปฏิบัติกันอย่างเลื่อนลอยก็มีความสุขเหมือนกัน แต่มีความสุขไม่จริง ที่จะปฏิบัติให้มีความสุขจริงๆ ก็จะต้องมีจุดใดจุดหนึ่งเป็นเครื่องเข้าถึงจึงจะใช้ได้ ในอันดับแรกนี้ องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงต้องการผลอันดับต้น คือได้พระโสดาปัตติมรรคหรือพระโสดาปัตติผล หรือการที่เราเรียกกันว่า พระโสดาบัน ก่อนที่ท่านทั้งหลายจะศึกษาอย่างอื่น ก็โปรดทราบว่า สำหรับพระโสดาบันนี้ละสังโยชน์ได้ ๓ ประการ คือ:- ๑. สักกายทิฏฐิ ตัวนี้มีปัญญาเพียงเล็กน้อย เพียงแค่มีความรู้สึกว่าเราจะต้องตายเท่านั้น เป็นผู้ไม่ประมาทในชีวิต คิดอยู่เสมอว่าความตายเป็นธรรมดาของชีวิต เราไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงความตายให้พ้นได้ และความตายนี้ จะปรากฏกับเราเมื่อไรก็ไม่แน่นอนนัก และเชื่อว่า ตายเช้า ตายสาย ตายบ่าย ตายเที่ยง ตายกลางคืน ตายกลางวัน อย่างนี้ไม่มีความแน่นอน เพราะว่าความตายไม่มีนิมิต ความตายไม่มีเครื่องหมาย แต่ถึงอย่างไรก็ดี เราก็ไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงให้พ้นจากความตายไปได้ นี่สำหรับข้อแรกสักกายทิฏฐิ ที่เห็นว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ที่เรานิยมเรียกกันว่า ร่างกาย พระโสดาบันมีความรู้สึกว่ามีปัญญาเพียงเล็กน้อย รู้แค่ตายเท่านั้น ยังไม่สามารถจะจำแนกร่างกายว่าไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราได้ ความรู้สึกของพระโสดาบัน ยังมีความรู้สึกว่าร่างกายเป็นเรา เป็นของเรา ทรัพย์สินทั้งหลายยังเป็นเรา เป็นของเรา แต่ทว่ามีความรู้สึกว่า สิ่งทั้งหลายที่เป็นของเรานี้ทั้งหมด เมื่อเราตายแล้วเราก็ไม่มีสิทธ์ที่จะเข้ามาครอบครอง หรือถ้าว่าเรายังไม่ตาย สักวันหนึ่งข้างหน้ามันก็ต้องสลายตัวไป เนื่องในข้อว่า สักกายทิฏฐิ พระโสดาบันคิดได้เพียงเท่านี้ ยังไม่สามารถจะแยกกาย ทิ้งไปได้ทันทีทันใด องค์สมเด็จพระจอมไตรจึงกล่าวว่า พระโสดาบันมีปัญญาเล็กน้อย ในข้อที่ ๒ วิจิกิจฉา พระโสดาบันไม่สงสัยในคำสั่ง และคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คำว่า คำสั่ง ก็ได้แก่ ศีล คำสอน ก็ได้แก่ จริยาอันหนึ่งที่เราเรียกกันว่า ธรรมะ เป็นความประพฤติดีประพฤติชอบ ศีล พระพุทธเจ้าสั่งให้ละ หมายความว่า ละตามสิกขาบทที่กำหนดให้ไว้ คำสอนทรงแนะนำว่า จงทำอย่างนี้จะมีความสุขอีกทั้งคำสั่งก็ดี ทั้งคำสอนก็ดี พระโสดาบันก็มีความเชื่อมั่นในคุณพระรัตนตรัย คือ เชื่อพระพุทธเจ้า ในการเชื่อก็ใช้ปัญญาพิจารณาก่อน ไม่ใช่สักแต่ว่าเชื่อ นี่สำหรับสังโยชน์ข้อที่ ๓ สีลัพพตปรามาส เพราะอาศัยที่พระโสดาบันมีความเคารพในพระพุทธเจ้า มีความเคารพในพระธรรม มีความเคารพในพระสงฆ์ เมื่อพระพุทธเจ้าทรงแนะนำบรรดาพระสงฆ์ว่า จงนำธรรมะนี้ไปสอน พระสงฆ์ก็ไปสอน พระโสดาบันใช้ปัญญาเพียงเล็กน้อยมีความเข้าใจดี ยินยอมรับนับถือคำสั่งและคำสอนขององค์สมเด็จพระชินสีห์ ที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสมา แล้วพระสงฆ์นำมาแสดง อาศัยที่ศรัทธาในพระรัตนตรัยทั้ง ๓ ประการนี้ พระโสดาบันจึงเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ เป็นอันว่าพระโสดาบัน ถ้าเราจะไปพิจารณาจริงๆ ก็ไม่เห็นมีอะไรสำคัญ มีสภาวะเหมือนชาวบ้านชั้นดีนั่นเอง ทีนี้เราจะกล่าวถึง องค์ของพระโสดาบัน ท่านที่เป็นพระโสดาบันจริงๆ นั้น มีอารมณ์ใจ คำว่า " องค์ " นี่หมายความว่า อารมณ์ที่ฝังอยู่ในใจ อารมณ์ใจของพระโสดาบันจริงๆ ก็คือ ๑. มีความเคารพในพระพุทธเจ้า ๒. มีความเคารพในพระธรรม ๓. มีความเคารพในพระสงฆ์ ๔. มี ศีล ๕ บริสุทธ์ อันนี้ก็ตรงกับพระบาลี ที่องค์พระชินสีห์ตรัสว่า พระโสดาบันกับพระสกิทาคามี เป็นผู้มีอธิศีล สำหรับกิเลสส่วนอื่นจะเห็นได้ว่า พระโสดาบันยังมีกิเลสทุกอย่าง ตามที่เรากล่าวกันคือ:- โลภะ ความโลภ ราคะ ความรัก โทสะ ความโกรธ โมหะ ความหลง จะว่ารักก็รัก อยากรวยก็อยากรวย โกรธก็โกรธ หลงก็หลง แต่ไม่ลืมความตาย คำที่ว่าหลงก็เพราะว่า พระโสดาบันยังต้องการความร่ำรวยด้วยสัมมาอาชีวะ พระโสดาบันยังต้องการความสวยสดงดงาม ต้องการมีคู่ครอง อย่าง นางวิสาขามหาอุบาสิกา ก็ดี ภรรยาของพรานกุกกุฏมิตร ก็ดี ทั้งสองท่านนี้เป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี แต่ในที่สุด ท่านก็แต่งงานมีเครื่องประดับประดาสวยงาม เป็นอันว่ากิเลสที่เราต้องการกัน เนื่องจากการครองคู่ระหว่างเพศ พระโสดาบันยังมี และก็ยังมีครบถ้วน เพราะว่าอยู่ในขอบเขตของศีล ไม่ทำ กาเมสุมิจฉาจาร ไม่ละเมิดความรักของบุคคลอื่น ไม่ทำให้ผิดประเพณีหรือกฎหมายของบ้านเมือง และเป็นไปตามศีลทุกอย่าง คือรักอยู่ในคู่ผัวเมียตามปกติ นี่ขอบเขตของพระโสดาบันมีเท่านี้ มีความต้องการรวยด้วยสัมมาอาชีวะ พระโสดาบันยังประกอบอาชีพ แต่ไม่คดไม่โกง ไม่ยื้อไม่แย่งใครเท่านั้น หามาได้แม้จะร่ำรวยแสนจะร่ำรวยก็ได้มาด้วยความบริสุทธ์ ไม่คดไม่โกงเขา พระโสดาบันยังมีความโกรธ ไอ้โกรธน่ะโกรธได้ แต่ว่าพระโสดาบันยังไม่ฆ่าใคร เกรงว่าศีลจะขาด พระโสดาบันยังมีความหลง แต่หลงไม่เลยความตาย ยังมีความรู้สึกอยู่ว่าต้องการชีวิต ชีวิตของเรามีอยู่ ต้องการทำประโยชน์ให้เกิดขึ้น ยังไงๆ เราก็ตายแน่ การที่จะหลีกเลี่ยงให้พ้นจากความตายไม่สามารถจะหลีกเลี่ยงได้ เป็นอันว่าถ้าเราพิจารณากันจริงๆ ความเป็นพระโสดาบันนี่รู้สึกว่าไม่ยากเลย สำหรับในวันนี้ก็จะขอแนะนำบรรดาท่านพุทธบริษัท ให้พยายามใคร่ครวญถึงความตายเป็นสำคัญ เรื่องความตายนี่ก็ดี การควบคุมอารมณ์จิตให้ปราศจากความฟุ้งซ่านก็ดี ควรจะทำให้เป็นปกติ ถ้าวันใดถ้าเราเผลอจากการควบคุมอารมณ์จิต ให้ระงับจากความฟุ้งซ่านก็ดี ควรจะทำให้เป็นปกติ ถ้าวันใดเราเผลอจากการควบคุมอารมณ์จิต ให้ระงับจากความฟุ้งซ่านก็ดี วันใดถ้าเราเผลอไปลืมนึกถึงความตายก็ดี ก็จงประณามตนเองว่าเรานี้เลวเต็มทีแล้ว เพราะว่าองค์สมเด็จพระประทีปแก้วสอนตามความเป็นจริงทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าท่านทั้งหลายจะพิจารณาเห็นได้ว่า คนและสัตว์ทุกอย่าง ทั้งคนและสัตว์ที่เกิดมาตายให้เราดูเป็นตัวอย่างและในเรื่องความตายนี้ไม่จำเป็นต้องศึกษาละเอียด เห็นกันอยู่แล้วทุกคน เพราะว่าคนส่วนใหญ่ลืมคิดไปว่าตัวเองจะตาย เคยไปในงานศพชาวบ้าน แต่ไม่ได้เคยคิดว่าเราจะเป็นศพอย่างชาวบ้านที่เขาตายกัน นี่เราประมาทกันอย่างนี้ องค์สมเด็จพระชินสีห์จึงได้แนะนำว่า "จงนึกถึงความตายเป็นอารมณ์ อย่าประมาทในชีวิต คิดว่าเราจะไม่ตาย" นี่เป็นความคิดผิด เรื่องนึกถึงความตายเป็นอารมณ์นี่เป็นความดี เป็นปัจจัยสำคัญให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบันได้ง่าย จะยกตัวอย่างบุคคลที่มีความเคารพในองค์สมเด็จพระจอมไตร แล้วก็มีความเคารพในคำสั่งและคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระจอมไตรหรือพระพุทธเจ้าองค์เดียวกัน นั่นก็คือเปสการีธิดา เปสการีธิดานี่เคยอยู่เมืองอาฬวี วันหนึ่ง องค์สมเด็จพระชินสีห์ทรงเสด็จประทับสำราญอิริยาบถ อยู่ในพระคันธกุฎีมหาวิหาร ในตอนเช้าองค์สมเด็จพระพิชิตมารทรงเสด็จไปแต่พระองค์เดียว ไม่มีใครติดตาม เข้าสู่เขตเมืองอาฬวี องค์สมเด็จพระชินสีห์ถือตอไม้เป็นธรรมาสน์ที่ประทับ ประทับยับยั้งอยู่ตรงนั้น ชาวบ้านได้ฟังข่าวเข้าก็มาเฝ้าพระพุทธเจ้า นำภัตตาหารมาถวาย ขณะนั้นเปสการีธิดาคือลูกสาวนายช่างหูก (เปสการี แปลว่า ช่างหูก ธิดา แปลว่า ลูกสาว) ทราบข่าวก็ไปเฝ้าพระพุทธเจ้ากับเขาเหมือนกัน เมื่อเข้าไปแล้วถวายอาหารแก่องค์สมเด็จพระภควันต์เสร็จ หลังจากนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงเทศน์ ทรงเทศน์แบบสั้นๆ ว่า " ท่านทั้งหลายจงอย่าประมาทในชีวิต เพราะว่าชีวิตเป็นของไม่เที่ยง แต่ว่าความตายเป็นของเที่ยง ขอทุกท่านจงคิดไว้เสมอว่า อย่างไรก็ดีเราต้องตายแน่ สำหรับเวลากำหนดการตายของเราไม่มีแน่นอน เพราะความตายไม่มีนิมิตเครื่องหมาย ท่านทั้งหลายจงประกอบแต่ความดีเข้าไว้… ถ้าใครสร้างความชั่ว ตายแล้วจะไปอบายภูมิมีนรกเป็นต้น เกิดมาเป็นคนก็จะมีแต่ความเร่าร้อน มีแต่ความลำบาก แต่ถ้าคนใดสร้างความดี คิดถึงความตายไม่ประมาทในชีวิต คิดไว้เสมอว่าเราต้องตายแน่ จงอย่าคิดว่า วันพรุ่งนี้ หรือเดือนหน้า ปีหน้า เดือนโน้น เราจึงจะตาย คิดไว้เสมอว่าวันนี้เราอาจจะตาย แล้วก็สร้างความดีเข้าไว้ ความดีจะส่งผลให้ท่านมีความสุข ทั้งในปัจจุบันและสัมปรายภพ…" และเมื่อองค์สมเด็จพระนราสภพูดเท่านี้ องค์สมเด็จพระมหามุนี ก็เสด็จกลับ เมื่อพระพุทธเจ้าไปแล้ว เทศน์ที่พระพุทธเจ้าสอนก็ตามพระพุทธเจ้าไปด้วย คือไม่ตามชาวบ้านไปที่บ้าน ตามพระพุทธเจ้ากลับวิหาร คือชาวบ้านไม่สนใจ ทว่าสาวน้อยกลอยใจหรือเปสการีธิดา เธอสนใจในคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นเหตุ ทุกวันทุกคืน เธอนึกถึงวงหน้าขององค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ ว่ามีดวงหน้าสวยงามคล้ายดวงจันทร์ และพระสุรเสียงขององค์สมเด็จพระภควันต์ก็แจ่มใสไพเราะ ลีลาแห่งการแสดงพระธรรมเทศนาก็น่าฟังเป็นที่ชื่นใจ เธอจำไว้ได้เสมอว่าองค์สมเด็จพระบรมศาสดา พระองค์ทรงสอนว่า… ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง แต่ความตายเป็นของเที่ยง ท่านทั้งหลายจงอย่าประมาทในชีวิต จงคิดแต่สร้างความดีไว้เสมอ… แล้วเธอก็ทำความดีทุกอย่าง ตามที่บิดามารดาและองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำ การแนะนำในคราวนั้น ก็มีศีลห้าเป็นสำคัญ เธอนึกถึงพระพุทธเจ้าทุกวัน จัดเป็น พุทธานุสสติกรรมฐาน แบบที่เราภาวนาว่า พุทโธ เธอนึกถึงความตายเป็นอารมณ์ จัดเป็น มรณานุสสติกรรมฐาน เธอไม่ประมาทในการประกอบกรรมทำกุศล สร้างสิ่งที่เป็นมงคลไว้ตลอดชีวิต ที่ว่ามีสิทธ์เข้าถึงธรรม ไม่สงสัยในคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่ออารมณ์จิตของเธอดีอย่างนี้ มีอารมณ์ผ่องใส วันทั้งวันนึกถึงความตาย แต่ก็ไม่เศร้าหมอง คิดว่าเวลานี้แม่ของเราก็ตายไปแล้วเหลือแต่พ่อ สักวันหนึ่งพ่อก็ดี เราก็ดีจะต้องตาย แต่ก่อนที่เราจะตาย เราเป็นคนก็ควรจะเป็นคนดี เวลาเป็นผีควรจะเป็นผีดี คือผีที่มีความสุข ไม่ใช่ผีในอบายภูมิ เธอคิดอย่างนี้จนเป็นเอกัคคตารมณ์ ทุกวันนึกถึงความตาย ทุกวันนึกถึงวงพักตร์ขององค์สมเด็จพระจอมไตร ทุกวันคิดถึงพระสุรเสียงขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส ขึ้นใจจับใจจนเป็นเอกัคคตารมณ์ เวลานั้นวันที่พระพุทธเจ้าเทศน์ครั้งแรก เธอมีอายุได้ ๑๖ ปี ต่อมาเมื่อเธออายุย่างเข้า ๑๙ ปี องค์สมเด็จพระชินสีห์ทรงตรวจอุปนิสัยของสัตว์ในเวลาเช้ามืด เห็นนางตกในข่ายของญาณ ก็ตกใจว่านี่เรื่องอะไร ก็ทรงทราบด้วยอำนาจของญาณว่า ในสายวันนี้ กุลสตรีคนนี้ก็จะถึงแก่ความตายด้วยอุบัติเหตุ องค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์จึงได้พิจารณาว่า ถ้าเราไม่ช่วยเธอ เธอจะมีคติที่แน่นอนไหม องค์สมเด็จพระจอมไตรทรงทราบว่า ถ้าเราไม่ช่วยเธอ เธอมีคติไม่แน่นอน คำว่า " คติ " แปลว่า การไป แน่นอนหรือไม่แน่นอน ก็หมายความว่า ถ้าแน่นอนก็ไม่ไปทุคติ ไม่ไปเกิดเป็นสัตว์นรก ไปเกิดเป็นเปรต เป็นอสุรกาย เป็นสัตว์เดรัจฉาน ต้องเกิดเป็นคน หรือเป็นเทวดา หรือเป็นพรหม ไปนิพพานอย่างนี้ ชื่อว่ามีคติแน่นอน องค์สมเด็จพระชินวรจึงมาคิดว่า ถ้าเราจะช่วยเธอ เธอจะมีคติที่แน่นอนไหม ก็ทรงทราบว่าถ้าทรงช่วยจะมีคติแน่นอน และพิจารณาต่อไปว่าช่วยเธอยังไงจึงจะมีคติที่แน่นอน องค์สมเด็จพระชินวรก็ทรงทราบว่าถ้าเราถามปัญหาเธอ ๔ ข้อ เธอตอบเราให้สาธุการรับรอง พอจบคาถา ๔ ข้อ เธอก็จะได้บรรลุพระโสดาบัน การตายคราวนั้นของเธอก็จะไปสู่สวรรค์ชั้นดุสิต เป็นที่อยู่อันบรมสุข ฉะนั้นในตอนเช้า องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ชวนใคร ไปองค์เดียวไปนั่งอยู่ในที่เดิม หลังจากนั้นแล้วคนมาเฝ้า (ขอเล่าลัดๆ) ลูกสาวของนายช่างทำหูกทำงานเสร็จ ตัดสินใจมาเฝ้าพระพุทธเจ้าก่อน องค์สมเด็จพระชินวรจึงได้ทรงมองดูหน้าเธอ เมื่อสบตากัน เธอก็ทราบว่าองค์สมเด็จพระภควันต์ต้องการให้เข้าไปใกล้ เธอเข้าไปแล้ว องค์สมเด็จพระจอมไตรจึงได้ถามปัญหา ๔ ข้อว่า " เธอมาจากไหน…? " เธอตอบว่า " ไม่ทราบพระเจ้าข้า" พระองค์ทรงถามว่า "เธอจะไปไหน…?" เธอตอบว่า "ทราบพระเจ้าข้า" พระองค์ทรงถามว่า "เธอทราบหรือ…?" เธอก็ตอบว่า "ไม่ทราบพระเจ้าข้า" ปัญหา ๔ ข้อนี้ คือ:- ข้อที่หนึ่ง ทรงถามว่า "เธอมาจากไหน…?" เธอตอบว่า "อาศัยที่องค์สมเด็จพระจอมไตรถามว่า เมื่อก่อนจะเกิดมาแต่ไหน เธอไม่ทราบ" ข้อที่สอง ทรงถามว่า "เธอจะไปไหน…?" เธอตอบว่า "ตายแล้วไปไหน หม่อมฉันไม่ทราบ" ข้อที่สาม ท่านถามว่า "ไม่ทราบหรือ…?" เธอตอบว่า "ทราบว่ายังไงๆ ก็ตายแน่ พระเจ้าข้า" ข้อที่สี่ แล้วองค์พระพุทธเจ้าทรงถามว่า "เธอทราบหรือ…?" เธอก็ตอบว่า "ไม่ทราบ ก็เพราะว่าจะตาย เวลาเช้า เวลาสาย เวลาบ่าย เวลาเที่ยง ก็ไม่ทราบพระเจ้าข้า และไม่ทราบอาการตาย ยังไงๆ ก็ตายแน่" พระพุทธเจ้าก็รับรองด้วยสาธุการ จึงถามเพียงเท่านี้ ความมั่นใจของเธอทำให้เธอเป็นพระโสดาบัน แต่ความจริงในตอนต้นนั้น เธอเข้าถึงพระโสดาปัตติมรรคอยู่แล้ว คือหนึ่งนึกถึงความตายเป็นอารมณ์ ไม่ประมาทในชีวิต ในข้อว่า สักกายทิฏฐิ เธอเข้าถึงแล้วในเบื้องต้น ข้อที่ ๒ เธอนึกถึงองค์สมเด็จพระทศพลบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าอยู่ทุกวัน จัดว่าเป็นพุทธานุสสติกรรมฐาน ข้อที่ ๓ นึกถึงพระธรรมคำสั่งสอนที่องค์สมเด็จพระชินวรทรงสอนไว้เสมอว่า ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง แต่ความตายเป็นของเที่ยง เธอทั้งหลายจงอย่าประมาทในชีวิต ข้อที่ ๔ ธรรมใดที่องค์สมเด็จพระธรรมสามิสร มีศีล ๕ เป็นต้น ที่องค์สมเด็จพระทศพลทรงสอนไว้ เธอจำได้ทุกอย่าง และปฏิบัติทุกอย่าง อย่างนี้ถ้าจะกล่าวกันไป ก็ชื่อว่าเธอเป็นโสดาปัตติมรรคแล้ว แต่ว่าอารมณ์จิตยังไม่มั่นคง ต่อมา เมื่อองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงเสด็จมาสนับสนุนอีกวาระหนึ่ง เธอมีความมั่นคงในความรู้สึก จิตมีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย มั่นในความตาย คิดว่าเมื่อไหร่ก็เชิญ มันตายแน่ มั่นในศีลที่เธอรักษา แล้วก็มีศรัทธาในองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และในพระธรรมคำสั่งสอน อย่างนี้แหละบรรดาท่านทั้งหลาย องค์สมเด็จพระชินวรกล่าวว่า ท่านผู้นั้นเป็นพระโสดาบัน เป็นอันว่าท่านพุทธบริษัททุกท่าน กาลเวลาที่เราจะแนะนำกันวันนี้ ก็รู้สึกว่าจะหมดเวลาเสียแล้ว เท่าที่พูดมาแล้วนี้ทั้งหมด เป็นปฏิปทาที่เราจะปฏิบัติให้เข้าถึงความเป็นพระโสดาบัน ท่านทั้งหลายมีความรู้สึกว่ายากไหม ถ้ายากก็ค่อยๆ คิด ค่อยๆ ทำไป ดูตัวอย่าง เปสการีธิดา เป็นตัวอย่าง ว่าเขามีความรู้สึกอย่างไร ท่านจึงกล่าวว่าเธอเป็นพระโสดาบัน ย้อนหลังไปนิด เธอนึกถึงความตายเป็นอารมณ์ ไม่ประมาทในชีวิต แล้วกาลต่อไปเธอนึกถึงวงพักตร์ของพระจอมไตรบรมศาสดา คือ มีความเคารพในพระพุทธเจ้า นึกถึงพระพุทธเจ้าเป็นธรรมดา เป็นเอกัคคตารมณ์ อารมณ์ทรงตัว แล้วเธอก็ปฏิบัติตามกระแสพระสัทธรรมเทศนา ที่องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสั่งสอน มีปฏิบัติศีลอย่างเคร่งครัดเป็นต้น อย่างนี้องค์สมเด็จพระทศพลยอมรับนับถือว่าเธอเป็นพระโสดาบัน เข้าใจว่าท่านทั้งหลายผู้รับฟังคำสอนคงจะเห็นว่า คำสอนขององค์สมเด็จพระชินวรในตอนนี้เป็นของไม่หนัก แล้วก็เป็นของไม่ยากสำหรับบรรดาท่านพุทธบริษัท สำหรับวันนี้ก็หมดเวลาเสียแล้ว ขอบรรดาท่านพุทธบริษัทพยายามทรงอารมณ์ให้เป็นสมาธิ จะนั่งก็ได้ จะยืนก็ได้ จะเดินก็ได้ จะนอนก็ได้ ให้จิตใจทรงอารมณ์ตามคำสั่งและคำสอน ที่กล่าวมาแล้วตั้งแต่ต้นจนอวสาน ชอบใจตรงไหนทำตรงนั้นให้ทรงตัวและผลที่ท่านทั้งหลายจะพึงได้ นั่นก็คือ ความเป็นพระโสดาบัน และต่อจากนี้ไป ขอบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่าน พยายามทรงอารมณ์และตั้งไว้ในความดีตามอัธยาศัย จนกว่าจะได้เวลาที่ท่านจะได้พึงปรารถนา สวัสดี

ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันwww.dharmamag.com/.../776-2012-11-22-08-44-51 Translate this page Nov 22, 2012 - เราจะเห็นเลยว่าจิตที่รู้สึกตัวนี้ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่ไหลไปหลงไปขยับไปก็อยู่ชั่วคราว ... งั้นถ้าเราคอยเห็นจิตที่ไหลแว๊บ ๆ ๆ นะ รู้ไปเรื่อยๆนะ ได้ทั้งสตินะ วิธีฝึกให้จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู | Dhammada.net หลวงพ่อปราโมทย์ ... www.dhammada.net/2011/06/12/9803/ Translate this page Jun 12, 2011 - ... คอยรู้ทันจิตที่หนีไปคิดบ่อยๆน่ะ จิตไหลไปคิดแว้บ..รู้สึก แว้บ..รู้สึก แว้บ..รู้สึก ฝึกอย่างนี้เรื่อยๆ จิตมันจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ แต่มันจะเป็นผู้รู้อยู่ชั่วคราว ไม่นานหรอก ... ลมหายใจใหม่ ก้าวย่างใหม่ ให้รู้ทันการตื่นรู้ - Facebook https://th-th.facebook.com/permalink.php?story... - Translate this page จิตไหลไปแล้วรู้ทัน จิตไหลไปแล้วรู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นเป็นขณะ ... พอฝึกมากเข้าๆ ช่วงที่ไหลไปนี้จะสั้นลงๆ ช่วงที่รู้สึกนี้จะเร็วขึ้นๆ แต่รู้สึกก็ชั่วแว๊บเดียวเท่านั้นแหละ แต่เดิมนะไหล แว๊บ ... นิมิตและภวังค์ - ปฏิจจสมุปบาท www.nkgen.com/727.htm Translate this page ... เพราะอวิชชาเป็นเหตุ. นามนิมิต เป็นความคิดหรือความรู้ที่ผุดแสดงแวบปิ๊งขึ้นในใจ ..... เมื่อจิตท่องเที่ยวเลื่อนไหลไปจนอิ่มตัว กล่าวคือเมื่อรู้สึกตัวขึ้นมาบ้างแล้ว ... จิตตั้งมั่น | วิมุตติ... ธรรมะและการปฏิบัติธรรม www.dhamma.com/jittangman/ Translate this page คอยรู้ทันจิตที่หนีไปคิดบ่อยๆ จิตไหลไปคิดแวบ รู้สึก แวบ รู้สึก ฝึกอย่างนี้เรื่อยๆ จิตมันจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ แต่มันจะเป็นผู้รู้อยู่ชั่วคราว ไม่นาน รู้ได้ทีละขณะๆ จิตหลงไปคิดแล้วก็รู้ ... Bloggang.com : aston27 - คำถาม : ทำอย่างไร เมื่อใจตอกย้ำตัวเอง www.bloggang.com/mainblog.php?id...20... - Translate this page Sep 20, 2008 - น่าจะดีกว่านะครับ ที่คุณพยายามหัดมีสติ ด้วยการตามรู้จิตว่ากำลังตอกย้ำ อันนั้นเป็นจุดเริ่มที่ดี ... พอไหลไปคิดแว๊บ ก็จะรู้สึกตัว แว๊บ รู้สึก แว๊บ รู้สึก ถึงจุดนั้นจริงๆ ... ธรรมะใกล้ตัว ฉบับที่ ๐๒๕ พฤหัสบดีที่ ๒๐ กันยายาน ๒๕๕๐ dungtrin.com/mag/?25.pra Translate this page แว้บ...รู้สึกเลย แต่ว่าเบื้องต้น คนไหนถนัดจะเดินช้าหน่อย ก็ไม่เป็นไร แล้วแต่ความถนัด บางคนเดินช้าๆ ... ถ้าจิตไม่มีกำลังของสมาธิหนุนหลังนี่ จิตจะไหลเข้าไปรวมกับกาย ส่วนจิตนี่ดูง่าย ... ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดู ... Video for จิตไหลแว๊บรู้สึก▶ 35:37 www.youtube.com/watch?v=mPRJw0DVrr4 Oct 31, 2014 - Uploaded by Sompong Tungmepol เพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ ... แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น ..... จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 ...

ภาวะแห่งความตื่น'ปาฏิหาริย์แห่งการตื่น' จะเกิดขึ้นได้เมื่อเราตื่นจากฝัน ธรรมชาติแห่งพุทธภาวะ หมายถึง ธรรมชาติอันหนึ่ง ซึ่งทำสัตว์ให้เข้าถึงพุทธภาวะ ... "พุทธภาวะ" อันหมายถึงภาวะแห่งความรู้ ความตื่น ความเบิกบาน สิ่งที่เรียกว่า "ความรู้" ในที่นี้ ...จนเข้าถึงสภาวะพลังงานอันสูงสุด อันเป็นหนึ่งเดียว ของรูป-นาม เมื่อรูป นาม ดับสลาย เข้าสู่สภาวะพลังงานตื่นอันเป็นที่สุด อันเป็นปรมัตถปัญญา - ปัญญาวิมุตติ คือภาวะแห่งพุทธะ

สมมุติ วิมุติสมมุตินะ มุติตัวนี้ คือ มติ “สมมุติ” ก็คือ มติร่วมกัน ความเห็นร่วมกัน ความเข้าใจร่วมกัน ความรู้ร่วมกัน เช่น สมมุติร่วมกันขึ้นมาอย่างที่เรียกว่า ผู้หญิง ผู้ชาย เรียกหมา เรียกแมว เรียกคน สมมุติขึ้นมา มุติตัวนั้นแปลว่าความรู้ “วิมุตติ”นะ มุตติ แปลว่าหลุดพ้น คนละรากศัพท์กันนะ มติ กับมุตติ คนละรากศัพท์ เนี่ยบางทีเราก็มั่วๆเอา พ้นสมมุติก็ถึงวิมุตติ สมมุติพ้นไม่ได้นะ พ้นสมมุติล่ะบ้าเลย ยกตัวอย่าง ไม่รู้ว่านี่ผู้หญิง นี่ผู้ชาย ชักเพี้ยนแล้วใช่มั้ย พระอยู่กับสมมุติมั้ย ถ้าไม่มีสมมุตินะ ลูบหัวผู้หญิงก็ได้ ลูบหัวผู้ชายก็ได้ สมมุติไม่ได้มีเอาไว้พ้นนะ สมมุติมีเอาไว้เข้าใจ มีไว้ใช้สื่อสารกับคนอื่น ส่วนอารมณ์ปรมัตถ์หรือสภาวธรรมเนี่ย เราต้องเรียนรู้มัน เรียนรู้จนเห็นความจริงของสิ่งทั้งหลายทั้งปวง ซึ่งลึกลงไปแล้วมันก็คือ สภาวธรรม เนี่ยความคิดมันขึ้นมาปิดบัง เราสร้างสมมุติขึ้นมาปิดบัง ยกตัวอย่าง เราไม่เห็นว่าสิ่งที่เรียกว่าตัวเราจริงๆมันไม่มี มันเป็นขันธ์ ๕ ตัวขันธ์ ๕ ก็คือ จิต เจตสิก รูป นี่เอง ตัว ‘รูป’ ก็คือ ตัวรูปขันธ์ ‘เจตสิก’ ก็คือ เวทนา สัญญา สังขาร ตัว ‘จิต’ ก็คือตัววิญญาณ ในขันธ์ ๕ ก็คือ จิต เจตสิก รูป นั่นแหละ หน้าที่ของเราคือเรียนรู้สิ่งเหล่านี้ไปจนเห็นว่า จริงๆไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่คน ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา แต่บัญญัติขึ้นเป็นสัตว์ เป็นคน เป็นเรา เป็นเขา โดยสมมุติเอา นี่คนทั้งหลายเคยชินกับสมมุติ จนไม่เห็นความจริง เรามาเรียนเพื่อให้เห็นความจริง เรียนก็ต้องเรียนให้ถึงตัวสภาวะจริงๆ ไม่ใช่นั่งคิดเอานะ ว่าไม่มีสัตว์ ไม่มีคน ไม่มีเรา ไม่มีเขา บางทีก็คิดถึงนิพพาน นิพพานเป็นความว่าง ความว่างที่พวกเรารู้จัก ความว่างที่ไม่ใช่พระอริยะเห็นเนี่ยนะ เป็นความว่างที่ไม่ใช่ของจริงหรอก เป็นความว่างที่คู่กับความวุ่น



ทางบรรลุธรรม เมือ ศีล สติ สมาธิ ปัญญา แก่รอบ จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ ทางบรรลุธรรม เมื่ออริยมรรคเกิด อริยผลเกิด จิตจะสัมผัสพระนิพพาน (จบ) สังขารในปฏิจจสมุปบาท คือตัวเจตนา อานาปานสติ สรุปอานาปานสติ กรรมฐานสำหรับมหาบุรุษ ธรรมะที่ไม่เนิ่นช้า เจริญสมาธิ ทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ สักว่ารู้ สักว่าเห็นจิตสว่าง ทางบรรลุธรรม เมือ ศีล สติ สมาธิ ปัญญา แก่รอบ จิตจะเข้าฌานอัตโน...

ตะวันรุ่ง วีระพันธ์ จันทรนิภาตะวันรุ่ง

Sayardaw speach to Buddha Pa-tan Ta-yar-daws(9)Sayardaw speach to Buddha Pa-tan Ta-yar-daws(9)

Sayardaw speach to Buddha Pa-tan Ta-yar-daws(9)Sayardaw speach to Buddha Pa-tan Ta-yar-daws(9)

Sayardaw speach to Buddha Pa-tan Ta-yar-daws(9)

Sayardaw speach to Buddha Pa-tan Ta-yar-daws(9)

หลวงปู่ฝากไว้ เสียงจากพระราชวุฒาจารย์ หรือ หลวงปู่ดูลย์ อในประวัติชีวิตของท่าน ไม่เคยปรากฏว่าท่านให้ความยอมรับในสิ่งมหัศจรรย์ หรืออภินิหารใดๆ ทั้งสิ้นแม้ได้ฟังเรื่องเล่า และคำทัดทานจากชาวบ้านแถบนั้น ท่านก็ไม่ได้หวั่นไหว โดยวิสัยแห่งศิษย์พระตถาคตซึ่งไม่กลัวแม้กระทั่งความตาย หลวงปู่จึงต้องการไปพิสูจน์หาความจริงของความมหัศจรรย์ที่ ถ้ำผาบิ้ง แห่งนั้นหลวงปู่พาสามเณรไปพักปฏิบัติภาวนาที่ถ้ำผาบิ้งทันทีในวันนั้น โดยไม่ต้องเสียเวลารั้งรอหลวงปู่ได้สังเกตพิจารณาดูว่า สิ่งที่ชาวบ้านร่ำลือนั้นเป็นอะไรกันแน่ ในที่สุดท่านก็พบความจริง และเปิดเผยต่อชาวบ้าน ความจริงก็คือ เมื่อถึงเวลาโพล้เพล้จวนใกล้ค่ำ ค้างคาวที่อาศัยอยู่ในถ้ำนั้นจำนวนนับหมื่นนับแสนตัว ก็พากันบินพรั่งพรูเกาะกลุ่มชิงกันออกจากปากถ้ำ เพื่อออกไปหากิน ปรากฏเป็นกลุ่มควันดำฉวัดเฉวียนพวยพุ่งขึ้นสู่อากาศ บังเกิดเป็นกระแสลมกรรโชกหวีดหวิว เมื่อพัดพุ่งผ่านโกรกกรวยและร่องรูต่างๆ ตามผนังถ้ำ ทำให้เกิดเป็นเสียงสูงต่ำมีลีลา เสียงปีกค้างคาวกระทบกันคึกคักแหวกอากาศ ผสมผสานสอดคล้องกับเสียงที่สะท้อนจากผนังถ้ำ ดังกระหึ่มเป็นจังหวะจะโคนกึกก้องไปมา ราวกับเป็นเสียงดนตรีสวรรค์ ที่เหล่าเทพยดาพากันบรรเลงด้วยพิณพาทย์ระนาดกลองฉะนั้น กลุ่มค้างคาวเป็นหมื่นเป็นแสน ที่บินฉวัดเฉวียนพวยพุ่งออกจากถ้ำเป็นเส้นสายยักย้ายไปมา ก็ดูประหนึ่งมังกรเทพยดา หรือสัตว์วิเศษในเทพนิยายปรัมปราที่เล่าสืบๆ กันมา พุ่งเลื้อยหายไปในอากาศ ประจักษ์แก่สายตาชาวบ้านป่าที่ตะลึงมองอย่างขนลุกขนชัน ด้วยความหวาดหวั่นระย่อยำเกรง หลวงปู่ได้นำความจริงมาเปิดเผยให้ชาวบ้านฟัง จนเป็นที่หัวเราะขบขันของชาวบ้านแถบนั้น ความหวาดหวั่นเกรงกลัวในอาถรรพ์ของถ้ำผาบิ้ง ที่เชื่อถือกันมานาน ก็หมดไป

วิปัสสนูปกิเลสพาเข้าใจผิดว่าบรรลุธรรม และวิธีสังเกตุ โดยหลวงพ่อปราโมทย์

วันอาทิตย์ที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2558

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก

ท่อนไม้ลอยไหลสู่ทะเลได้ฉันใด จิตก็โน้มเอียงสู่นิพพานได้ฉันนั้นสัมมาทิฐิที่เยือกเย็น การปฏิบัตินี้มันตรงกันข้ามกับจิต ของเรา จิตของเราที่มี กิเลสตัณหาอยู่นั้นมันตรงกันข้ามกับความเป็นจริง ฉะนั้นการปฏิบัติจึงเป็นเรื่องยุ่งยากอยู่สักนิด บางทีสิ่งที่เราเข้าใจว่าผิดแต่มันถูก ก็มี สิ่งที่เราเข้าใจว่าถูกมันอาจจะผิดก็มี เพราะอะไร? เพราะจิตของเรามันมืดไม่รู้แจ้งตามเป็นจริงในสภาวะธรรมทั้งหลายนั้น จิตของเราเอาเป็นประมาณไม่ได้ เพราะจิตเราไม่รู้ตามความเป็นจริง จึงเอาเป็นประมาณไม่ได้ การฟังธรรมะอย่างวันนี้เหมือนกัน บางคนก็ไม่อยากจะรับฟังเลยบางคนก็อยากจะรับฟัง อย่างนี้ไม่ใช่วิสัยของนักปราชญ์ ถ้าเป็นนักปราชญ์แล้วฟังธรรมได้ทุกอย่าง จึงว่าความคิดของเรานั้นเอาเป็นประมาณไม่ได้ เดี๋ยวชอบอย่างนี้ เดี๋ยวไม่ชอบอย่างนั้น บางทีอย่างที่เรา ชอบใจมันผิดความจริงก็มี ไม่เป็นธรรมก็มี หรือบางทีสิ่งที่เราไม่ชอบใจนั้น มันเป็นแท้จริงก็มีบางทีก็เหมือนกับคนไม่ รู้เรื่อง ไม่รู้เรื่องอะไรทุกสิ่งทุกอย่างพอถูกคนโกหกเข้าก็เชื่อหมด เขาโกหกว่าอย่างนี้ถูก เราก็เชื่อเพราะเรามันโง่ เขาชี้สิ่งที่ถูกว่าผิดเราก็เชื่อเพราะอะไร? เพราะเรายังไม่เป็นตัวของตัว ไม่รู้ตามความเป็นจริงนั่นเอง เหมือนจิตของเราทุกวันนี้แหละ ถูกอารมณ์โกหกอยู่เรื่อย บางทีก็ชอบอย่างนั้น บางทีก็ไม่ชอบอย่างนี้ ถูกโกหกอยู่เรื่อย เพราะเราไม่รู้ตามความเป็นจริงของมัน มันก็โกหกอยู่เรื่อยๆ ถ้าหากว่าเราผู้ฟังธรรมก็ฟังธรรรม ไปเถิด ธรรมนั้นจะชอบใจเราหรือไม่ชอบใจ เราก็ควรฟัง คนที่ฟังธรรมอย่างนี้ได้ประโยชน์ เพราะว่าความจริงที่พระท่านเทศน์ให้ฟัง หรือครูบาอาจารย์ท่านสอนให้ฟังนั้น เราจะเชื่อก็ได้ ไม่เชื่อก็ไม่ได้ เราต้องอยู่ที่ครึ่งๆกลางๆนี้ ไม่ได้ประมาทว่าเชื่อหรือไม่เชื่อ เราก็ฟังของเราไป แล้วเอาไปพิจารณาให้มันเกิดเหตุผลในทางที่ชอบขึ้นมา นักปราชญ์ทั้งหลายไม่ควรเชื่อง่ายๆ ควรเอาไปพิจารณาตริตรองดูเหตุผลก่อนจึงค่อยเชื่อ แม้จะพูดความจริงให้ฟังก็อย่าเพิ่งเชื่อ เพราะอะไร? เพราะเรายังไม่รู้เท่าตามความเป็นจริงนั้นด้วยตนเอง พวกเราทุกคนก็เหมือนกัน รวมทั้งผมเคยปฏิบัติมาก่อนท่าน ก็เคยถูกโกหกมาแล้วว่าการปฏิบัติ นี้มันลำบากมากหลาย ทำไมมันจึงลำบากก็เพราะเราคิดไม่ถูกต้องนั่นเอง มันเป็นมิจฉาทิฐิ เราคิดไม่ถูก แต่ก่อนผมเคยอยู่กับพวกพระมาก ผมก็ไม่สบายรวนเรหนีไปตามป่าตามเขา หนีจากพวก จากเพื่อน เห็นไปว่าภิกษุสามเณรก็ไม่เหมือนใจเรา ปฏิบัติไม่เก่งเหมือนเรา มีความประมาท คนโน้นเป็นอย่างนี้ คนนี้เป็นอย่างนั้น ก็เป็นเหตุอย่างหนึ่งให้เราวุ่นวาย เป็นเหตุให้หนีไปเรื่อยๆไปอยู่องค์เดียวก็มี สององค์ก็มี ก็ไม่มีความสบาย ไปอยู่องค์เดียวก็ไม่สบายไปอยู่หลายองค์ก็ไม่สบาย ไปอยู่ที่เอกลาภมาก เยอะแยะก็ไม่สบาย ไปอยู่ที่เอกลาภไม่มากไม่น้อยก็ไม่สบาย ความไม่สบายนี้เราก็นึกว่ามันเป็นเพราะเพื่อน เป็นเพราะอารมณ์ เป็นเพราะที่อยู่ เป็นเพราะอาหาร เป็นเพราะอากาศ เป็นเพราะนั้น เป็นเพราะนี้ เราคิดว่ามันเป็นเช่นนั้น เราก็แสวงหาไปตามเรื่องของเราเรื่อยๆ แต่ก่อนเป็นพระธุดงค์ ธุดงค์ไปแล้วก็ไม่สบาย ภาวนาไป พิจารณาไป ทำอย่างไรจึงจะสบายหนอ พิจารณาอยู่อย่างนี้ อยู่มากคนก็ไม่สบาย อยู่อากาศเย็นก็ไม่สบาย อากาศร้อนก็ไม่สบาย เพราะอะไรหนอ ไม่เห็นเสียแล้ว ทำไมมัน จึงไม่สบาย? ก็เพราะมันเป็นมิจฉาทิฐิมีความเห็นผิด เพราะตัวเรานี้ยังยึดธรรมอันมีพิษอยู่นั่นเอง ไปอยู่ที่ไหนก็ไม่สบาย ว่าตรงนั้นไม่ดี ตรงนี้ไม่ดีอยู่เรื่อยไป มันไปให้โทษคนอื่นเขา มันไปให้โทษอากาศ มันไปให้โทษความร้อน มันไปให้โทษความเย็น มันไปให้โทษทุกสารพัดอย่าง เหมือนกับหมาบ้า หมาบ้ามันทันอะไรมันก็กัด เพราะมันเป็นบ้า เป็นเช่นนี้แหละ ฉะนั้น เมื่อพวกเราทั้งหลายปฏิบัติ จึงมีจิตกระสับ-กระส่ายอยู่เรื่อยไป วันนี้สบาย พรุ่งนี้ไม่สบาย มันก็เป็นของมันอยู่เช่นนี้เรื่อยไป ไม่ได้ความสบายไม่ได้ความสงบ มานึกถึงพระพุทธเจ้าท่านประทับอยู่ที่แห่งหนึ่ง ประชุมภิกษุสงฆ์ตอนบ่าย ตอนเย็นมาท่านเห็นหมาป่าตัวหนึ่ง วิ่ง ออกมาจากป่า มายืนอยู่แล้วก็วิ่งเข้าไปในพุ่มไม้ แล้วก็วิ่ง ออกมา แล้ววิ่งเข้าไปในโพรงไม้ เข้าไปอยู่ในโพรงไม้สักประเดี๋ยว ก็วิ่งออกมาแล้วก็เข้าไปอยู่ในถ้ำ ประเดี๋ยวก็วิ่ง ออกมา เดี๋ยวก็ยืนอยู่เดี๋ยวก็วิ่งไป เดี๋ยวก็นอนเดี๋ยวก็ลุก เพราะหมาป่าตัวนั้นเป็นขี้เรื้อนมันเป็นโรคเรื้อน ยืนอยู่ก็ถูกตัวเรื้อนมันไชกินเนื้อกินหนัง มันยืนอยู่ประเดี๋ยวก็ไม่สบาย วิ่งไปไม่สบายก็หยุดอยู่ หยุดอยู่ไม่สบายก็นอน นอนไม่สบายก็ลุกขึ้น ลุกขึ้นแล้วก็เข้าไปในพุ่มไม้ไปนอนอยู่ ประเดี๋ยวเดียวแล้วก็วิ่งหนี ว่าพุ่มไม้นั้นไม่ดี แล้วก็เข้าไปในโพรงไม้ สักพักหนึ่ง ตัวขี้เรื้อนมันก็ใชก็กินเนื้อกินหนังมันอยู่เรื่อย แล้วก็ลุกไปอีก วิ่งเข้าไปในถ้ำ พระพุทธเจ้าท่านตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย ท่านเห็นไหมว่าเมื่อตอนเย็นวันนี้หมาป่าตัวหนึ่งมันเดินอยู่ที่นี่ เห็นไหม? มันจะยืนอยู่มันก็เป็นทุกข์ มันจะวิ่งไปมันก็เป็นทุกข์ มันจะนั่งอยู่ก็เป็นทุกข์ มันจะนอนอยู่ก็เป็นทุกข์ มันจะเข้าไปอยู่ในพุ่มไม้ก็เป็นทุกข์ เข้าไปในโพรงไม้มันก็เป็นทุกข์ จะเข้าไปอยู่ในถ้ำก็ไม่สบาย มันก็เป็นทุกข์ เพราะมันเห็นว่าการยืนอยู่นี้ไม่ดี การนั่งไม่ดี การนอนไม่ดี พุ่มไม้นี้ ไม่ดี โพรงไม้นี้ไม่ดี ถ้ำนี้ไม่ดีมันก็วิ่งอยู่ตลอดเวลานั้น ความเป็นจริงหมาป่าตัวนั้นมันเป็นขี้เรื้อน มันไม่ใช่เป็นเพราะพุ่มไม้ หรือโพรงไม้ หรือถ้ำ หรือการยืน การเดิน การนั่ง การนอน มันไม่สบายเพราะมันเป็นขี้เรื้อน พระภิกษุทั้งหลายนี้ก็เหมือนกัน ความไม่สบายนั้นคือความเห็นผิด ที่มีอยู่ ไปยึดธรรมที่มีพิษไว้มันก็เดือดร้อนไม่สำรวมสังวรอินทรีย์ทั้งหลาย แล้วก็ไปโทษแต่สิ่งอื่น ไม่รู้เรื่องของเจ้าของเอง ไปอยู่วัดหนองป่าพงก็ไม่สบาย ไปอยู่อเมริกาก็ไม่สบาย ไปอยู่กรุงลอนดอนก็ไม่สบาย ไปอยู่วัดป่าบุ่งหวายก็ไม่สบาย ไปอยู่ทุกๆสาขาก็ไม่สบาย ที่ไหนก็ไม่สบายนี่ก็คือความเห็นผิดนั้นยังมีอยู่ในตัวเรานั้นเอง มีความเห็นผิดยังไปยึดมั่นถือมั่นในธรรมอันมีพิษไว้ในใจของเราอยู่ อยู่ที่ไหนก็ไม่สบายทั้งนั้น นั่นคือเหมือนกันกับสุนัขนั้น ถ้าหากโรคเรื้อนมันหายแล้ว มันจะอยู่ที่ไหนมันก็สบาย อยู่ในกลางแจ้งมันก็สบาย อยู่ในป่ามันก็สบายอย่างนี้ ผมนึกอยู่บ่อยๆแล้วผมก็นำมาสอนพวกท่านทั้งหลายอยู่เรื่อย เพราะธรรมดาตรงนี้มันเป็นประโยชน์มาก พระภิกษุทั้งหลายนี้ก็เหมือนกันฉันนั้น ถ้าหากเรามารู้อารมณ์ตามความเป็นจริงเสียแล้ว มันก็สบาย จะมีความหนาวบ้างมันก็สบาย อยู่ที่คนมากก็สบาย อยู่ที่คนน้อยก็สบายความสบายหรือไม่สบาย ไม่ได้ อยู่ที่คนมากหรือน้อย มันอยู่ที่ความเห็นถูกเท่านั้น ถ้ามีความเห็นถูกขึ้นในใจของเราแล้วมันอยู่ที่ความเห็นถูกเท่านั้น ถ้ามีความเห็นถูกขึ้นในใจของเราแล้ว อยู่ที่ไหนก็สบาย นี่เพราะเรายังมีความเห็นผิดอยู่ ยึดธรรมอันมีพิษอยู่ แล้วมันก็ไม่สบาย ที่เรายึดอยู่อย่างนี้ก็เหมือนกับตัวหนอนนั้นแหละ ที่อยู่ของมันก็สกปรก อาหารของมันก็สกปรก ที่อยู่และอาหารของมันไม่ดีทั้งนั้น มันไม่สมควร แต่ว่ามันสมควรกับหนอน ลองเอาไม้ไปเขี่ยมันออกจากมูตรออกจากคูถดูสิ ตัวหนอนนั้นมันจะดิ้นกระ เสือกกระสนไปทีเดียว มันจะดิ้นมาหากองคูถอย่างเก่า มันจึง จะสบาย อันนี้ก็เหมือนกันฉันนั้น พระภิกษุสามเณรเราทั้งหลายนั้น ยังมีความเห็นผิดอยู่ครูบาอาจารย์มาแนะนำให้เห็นถูก มันก็ไม่สบาย ใจมันวิ่งไปหากองคูถอยู่เรื่อยๆมันไม่สบาย เพราะตรงนั้นเป็นที่อยู่ของมัน เ มื่อหนอนนั้นมันยังมองไม่เห็นความสกปรก อยู่ในที่นั้น เมื่อนั้นมันก็ออกไม่ได้ พวกเราทั้งหลายก็เหมือนกันฉันนั้นถ้าไม่เห็นโทษทั้งหลายในสิ่งเหล่านั้น มันก็ออกไม่ได้ปฏิบัติ มันก็ยากลำบาก ฉะนั้น จงฟัง ไม่มีอันใดอื่น การปฏิบัตินั้นเรามีความเห็นถูกต้องดีแล้ว ผมว่าอยู่ที่ไหนก็สบาย อันนี้ผมก็เคยปฏิบัติมาแล้ว เคยพบมาแล้ว ถ้าหากมันยังไม่รู้จักอย่างทุกวันนี้มีพระภิกษุสามเณรมีญาติโยมมีอะไรหลายๆอย่าง อย่างทุกวันนี้ผมก็ตายแล้ว ถ้ามันมีความเห็นผิดอยู่มันก็ตายแล้ว ผมเห็นว่า ที่อยู่ของพระเรานั้น อยู่ที่มันเยือกเย็นก็คือความเห็นถูกต้อง นั้นเอง เป็นสัมมาทิฐิ ถ้ามีความเห็นถูกเห็นชอบแล้วมันก็สบาย มีความสงบ พวกเราทั้งหลายอย่าไปค้นอย่างอื่นเลย ฉะนั้น ถึงแม้ว่ามันจะทุกข์ก็ช่างมันเถอะ ทุกข์นั้นมันก็ไม่แน่หรอก ใครว่าเห็นทุกข์ มันเป็นตัวไหม มันมีทุกข์เกิดขึ้นมา ตัวทุกข์คืออะไร มีไหมใครเห็นทุกข์ไหม เห็นตัวทุกข์ไหม เห็นมันจริงจังไหม ผมไม่เห็นว่ามันจริงมันจังอะไร ทุกข์มันก็คือความรู้สึกวูบเดียว แล้วมันก็หายไป แล้วสุขก็เหมือนกันฉันนั้น ตัวสุข สุขจริงๆมันมีให้เห็นไหมของจริงมีไหม มันก็สักแต่ว่าความรู้สึกวูบหนึ่งแล้วมันก็หายไป เกิดแล้วมันก็ดับไป อย่างความรักของเราเกิดขึ้นมาวูบหนึ่ง แล้วมันก็หายไปอีก ตัวรัก ตัวเกลียด ตัวชังจริงๆไม่ว่ามันจะอยู่ที่ไหนความเป็นจริงก็คือมันไม่มีตัวไม่มีตน มันสักแต่ว่า อารมณ์เกิดขึ้นมาวูบหนึ่งแล้วก็หายไป มันหลอกลวงเราอยู่อย่างนี้เรื่อยๆไป เอาแน่ตรงไหนไม่ได้ ไม่มี ไม่มีอะไรทั้งนั้นแหละ สักแต่ว่าความรู้สึกเกิดขึ้นมาสมกับคำที่พระพุทธเจ้าตรัสว่า ไม่มีอะไร นอกนั้น มีทุกข์เกิดขึ้นมาแล้ว ทุกข์นั้นก็ตั้งอยู่ เมื่อทุกข์ตั้งอยู่แล้ว ทุกข์ก็ดับไป ทุกข์ดับไปแล้วสุขเกิดขึ้นมา แล้วสุขก็ตั้งอยู่ เมื่อสุขตั้งอยู่แล้วสุข ก็ดับไป เมื่อสุขดับไปแล้วทุกข์เกิดขึ้นมา เกิดขึ้นแล้วทุกข์ก็ตั้งอยู่ ตั้งอยู่แล้วก็ดับไป ผลที่สุดก็มารวม เป็นอันเดียวว่า นอกจากทุกข์นี้เกิด นอกจากทุกข์นี้ตั้งอยู่ นอกจากทุกข์นี้ดับไปแล้ว ไม่มีอะไรมีแต่เท่านี้ ไม่มีอะไรอื่นนอกจากนี้ มันมีเท่านี้ๆ แต่เราก็เป็นคนหลงวิ่งตะครุบมันเรื่อยไป ก็ไม่พบความจริง ว่า อันนี้มันเป็นความจริงไหม มันก็ ไม่ จริงอีกแล้ว อันนั้นมันจริงไหม ก็ไม่จริงอีกนั้นแหละ มันเปลี่ยน...เปลี่ยน..เปลี่ยนของมันอยู่อย่างนั้น ถ้าม าพิจารณาแล้วก็ไม่ควรวิ่งไปกับมัน ฉะนั้น เมื่อเรารู้สิ่งทั้งหลายเหล่านี้แล้ว ก็ไม่ใช่เป็นคนคิดมาก แต่เป็นคนมีปัญญามาก ถ้าเราไม่รู้จักมัน มันก็คิดมากว่าปัญญา บางทีปัญญาไม่มีเลย มีแต่ความคิด ความคิดมากแต่ปัญญาไม่มี ก็ยิ่งทุกข์มาก มันก็เป็น ของมันอยู่อย่างนี้ อะไรทุก สิ่งทุกอย่างถ้าเราเห็นโทษจริงๆแล้ว เราจึงถอนตัวออกมาได้ ถ้าเราไม่เห็นโทษจริงๆแล้วเราก็ถอนตัวออกไม่ได้ ทุกอย่างนั่นแหละ อาการอันใดที่เราไม่เห็นประโยชน์จริงๆแล้วมันก็ทำไม่ได้ ถ้าเราเห็นประโยชน์มันจริงจังแล้ว เราก็ทำได้เป็นของไม่ยากฉันนั้น อันนี้พูดเรื่องเฉพาะในหลักบริหารจิต เราทุกคนก็ให้ทำใจให้ดี ทำใจให้อดทน เปรียบเสมือนหนึ่งว่า เราตัดไม้สักท่อนหนึ่ง เอาทิ้งลงในคลองแล้วมันก็ไหลไปตามน้ำในคลองนั้น ถ้าท่อนไม้ท่อนนั้นมันไม่ผุ ไม่เน่า ไม่พัง มันไปติดอยู่ฝั่งโน้น ฝั่งนี้ มันก็ไหลไปตามคลองอยู่เรื่อยไป ผมเชื่อแน่ว่าจะถึงทะเลใหญ่เป็นที่สุด อันนี้ก็เหมือนกันฉันนั้น พวกท่านทั้งหลายประพฤติปฏิบัติตามแนวทางของ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของเราแล้ว เดินไปตามมรรคที่พระองค์ทรงสอน เดินไปตามกระแสให้มันถูกต้องให้มัน พ้นจากสิ่งทั้งสอง สิ่งทั้งสองอย่างนั้นคืออะไร คือสองข้างทางที่พระพุทธเจ้าของเราตรัส อันไม่ใช่ทางของสมณะที่จะคิดไป ที่จะเอาจริงเอาจังกับสิ่งทั้งหลายเหล่านั้นคือกามสุขัลลิกานุโยโคประการหนึ่ง กับอัตตกิลมถานุโยโคอีกประการหนึ่งอันนี้แหละเรียกว่า ฝั่ง ฝั่งทั้งสองข้าง ฝั่งของคลอง ของแม่น้ำ ท่อนไม้ที่ปล่อยไปตามคลอง ตามกระแสน้ำก็คือจิตของเรา ที่กล่าวมาเมื่อกี้นี้ว่า ที่ว่าท่อนไม้เมื่อไม่ติดอยู่ฝั่งโน้นไม่ติดอยู่ฝั่งนี้ แล้วท่อนไม้ท่อนนั้น มันไม่ผุ ไม่พังที่สุดของท่อนไม้นั้น มันก็ไหลลงทะเล ถ้ามันไปติดอยู่ฝั่งโน้นหรือฝั่งนี้หรือมันไปผุไปพังเสียแล้ว มันก็ไปไม่ถึงทะเลใหญ่ จิตใจของพวกท่านทั้งหลายนี้ พวกเราทั้งหลาย ผู้ประพฤติปฏิบัตินี้ก็ดี ฝั่งคลองก็คือความชัง หรือความรักหรือฝั่งหนึ่งก็คือสุข อีกฝั่งหนึ่งก็คือทุกข์ ท่อนไม้ก็คือจิตของเรานี้เอง มันจะไหลไปตามกระแสแห่งน้ำ มันจะมีความสุขเกิดขึ้นมากระทบ มันจะมีความทุกข์เกิดขึ้นมากระทบอยู่บ่อยครั้ง ถ้าจิตใจของเราถึงกระแสแห่งพระนิพพาน คือความสงบระงับ ให้เราเห็นว่าเมื่อทุกข์เกิดขึ้นมาแล้ว ทุกข์นั้นก็ดับไป สุขเกิดขึ้นมา สุขนั้นก็ดับไป นอกเหนือนี้ไม่มีแล้วมันก็เป็นอย่างนี้ ถ้าเราไม่ไปติดในความรัก ไม่ติดในความชัง ไม่ติดในความสุข ไม่ติดในความทุกข์เท่านั้น ก็เรียกว่าเราเดินตามกระแสธรรมของสมณะที่เราปฏิบัติสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ อันเป็นธรรมที่พระพุทธเจ้าเจริญมาแล้ว ถูกมาแล้ว พบมาแล้ว ท่านจึงได้มาสอนเราให้เห็นความรัก ให้เห็นความชัง ให้เห็นความสุข ให้เห็นความทุกข์ว่ามันเป็นธรรมทิฐิ ธรรมนิยาม มันตั้งของมันอยู่อย่างนั้น มันก็เป็นของมันอยู่อย่างนั้น เป็นอยู่ตลอดกาล มันก็เป็นอยู่อย่างนั้น แต่ว่าเมื่อจิตของผู้ฉลาดแล้ว ไม่ตามไปส่ง เสริมมันไม่ตามไปเยินยอมัน ไม่ตามไปยึดมั่นมัน ไม่ตามไปถือมั่นมันมันก็มีจิตอันปล่อยวาง ทำไปเท่านั้นแหละ ให้สม่ำเสมอ มันก็เป็นสัมมาปฏิปทา เป็นสัมมาปฏิบัติถูกทาง เหมือนท่อนไม้ที่ปล่อยไปตามกระแสน้ำ มันไม่ติดอยู่ฝั่งโน้น และไม่ติดอยู่ฝั่งนี้ มันไม่ผุไม่พัง มันไม่เน่า มันก็ถึงทะเลจนได้ เราทำเราประพฤติปฏิบัติ ถ้าเว้นจากทางทั้งสองอย่างแล้ว คือกามสุขัลลิกานุโยโค และอัตตกิลมถานุโยโค มันก็ถึงความสงบแน่นอนไม่ต้องสงสัย อันนี้พระพุทธเจ้าท่านตรัสอย่างนั้น

พาจิตของเรากลับบ้านมันออกไปแสวง ทุกสิ่งทุกอย่าง จิตออกไปแสวงทั้งนั้น เพราะว่าไม่รู้ถึงจิตแท้ ถ้ารู้ไม่ถึง ไปหลงกับไอ้สิ่งเหล่านั้น ไปหลงกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฐถัพพะ ไปหลงจิตมันออกไปแสวง เห็นเป็นรูปเทวบุตร เทวดา นรก เปรต มันเห็น ไอ้ตัวโอภาสตัวนี้ มันเห็น แม้แต่ เราไม่เคยรู้ มันรู้ เราไม่เคยเห็น มันเห็น แหม ไปหลงอะไร หลงกับรูปตัวนั้นน่ะ ผิดทางแล้ว

ดวงประทีปของโลกดวงประทีปของโลก พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นดวงประทีปของโลก ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระจันทร์และพระอาทิตย์ยังไม่เกิดขึ้นในโลกเพียงใด ความปรากฏแห่งแสงสว่างอันเจิดจ้า และรัศมีอันรุ่งโรจน์ก็ยังไม่มีเพียงนั้น เวลานั้นมีแต่ความมืดมิด ความมืดมัวเป็นหมอกกลางคืนกลางวันไม่ปรากฏ เดือนหนึ่งและกึ่งเดือนไม่ปรากฏ ฤดูและปีก็ไม่ปรากฏ เมื่อใดพระจันทร์และอาทิตย์เกิดขึ้นในโลก เมื่อนั้น ความปรากฏแห่งแสงสว่างอันเจิดจ้าและรัศมีอันรุ่งโรจน์ก็ย่อมมี....ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้ายังไม่อุบัติขึ้นในโลกเพียงใด ความปรากฏแห่งแสงสว่างอันใหญ่ ความรุ่งเรืองอันใหญ่ก็ยังไม่มี เวลานั้นมีแต่ความมืดมิด... การบอก การแสดง การบัญญัติ การแต่งตั้ง การเปิดเผย การจำแนก การกระทำให้ง่าย ซึ่ง อริยสัจจ์ ๔ ก็ยังไม่มี

ดวงประทีปของโลกเมื่อโลกสันนิวาสอันไฟลุกโพลงอยู่ เป็นนิตย์ พวกเธอยังจะร่าเริง บันเทิงอะไรกันหนอ เธอทั้งหลาบอันความมืดปกคลุมแล้วแล้ว ทำไมจึงไม่แสวงหาประทีปเล่า. เมื่อพระธรรมเทศนาจบลง หญิง 500 บรรลุโสดาปัตติผล พระศาสดา ทรงทราบว่าหญิงเหล่านั้นเป็นผู้ตั้งมั่นอยู่ในอจลศรัทธาแล้ว เสด็จลงจากยอดเขาสิเนรุ ประทับนั่งบนพุทธอาสน์.

หลวงปู่ดุลย์::ตอบปัญหาจิตภาวนาhttp://www.nkgen.com/10.htm

วันเสาร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2558

มหัศจรรย์ฝันรู้ตัว Lucid Dreamingแล้วเราก็จะพบ...วันหนึ่ง...เราจะพบ สิ่งซึ่งหน้าตื่นเต้น ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราลงมือทำมาเนี่ย...ผิดทั้งหมดเลย...แต่ถ้าไม่ทำ ผิดมากกว่า ทำไปนี้แหละ ทำผิด ๆ นี้แหละ*...รู้ที่ผิดนะ แล้ววันหนึ่งถูก...*

แล้วจะทำอย่างไรกันดีาเราจะกลับมานั้นไม่ยาก..หมายความว่าเราหลงไป.. สุดท้่าย จะเป็นบ้าเอา..ให้..กลับมาดูจิตของเรา.ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแว­บเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั­้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแ­ม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น



แล้วจะทำอย่างไรกันดีเมื่อจิตเป็นสมาธิ แล้วก็ทำให้เกิดปัญญา ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : เกิดปัญญา ก็ต้อง ถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสอง ตั้งแต่ ผม ขนเล็บ ฟันหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ให้มันเดินอย่างนี้ เรื่อยไป ศิษย์ : วิธีเดิน เดินยังไงครับ หลวงปู่ : คือดู ศิษย์ : เอาจิตไปดูหรือครับ หลวงปู่ : คือ ผมอยู่บนเจ้าของ ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : นึกดูผม ผมมันเป็นยังไง ลักษณะมันเป็นยังไง มันเข้าไปในหนัง ลึกไปเท่าไหร่ แล้วก็ ออกมามันยาว มันเริ่มเท่าไหร่ ทำไมมันจึงยาวไม่มีที่สิ้นสุด แล้วก็ให้เข้าใจให้ซึมซาบถึงจิตถึงใจ ว่า อ้อมันเป็นอย่างนั้น แล้วก็ขนก็เหมือนกัน เล็บก็เหมือนกัน ดู ดูอันนี้ ดูผม เสร็จแล้ว ดูเล็บ ทุกเล็บ เนี่ยแหละ เล็บมือเล็บตีนอะไรก็ดู ทุกเล็บ ดู คือ ดูให้มันเห็นชัดเจน ในจิตใจของเรา ให้มันซึมซาบถึงจิตถึงใจ ดูอาการลักษณะของมัน มันเป็นอย่างไง ศิษย์ : ตอนดู ดูตอนนี้ มันจะเกิดภาพประกอบด้วยหรือเปล่า หลวงปู่ : ไม่มี ศิษย์ : ไม่มีภาพหรือครับ หลวงปู่ : ภาพไม่มีภาพ ภาพไม่มี ไม่เกี่ยวกับภาพ ให้รู้ด้วยปัญญา ว่าเป็น ลักษณะมันเป็น ดูด้วยปัญญา รู้ด้วยจิตอันลึกซึ้ง ดูด้วยปัญญา แล้วก็ดูอาการสาบสิบ ดูจนทั้งหมด ศิษย์ : แล้วก็พิจารณา ทีละอย่างละอย่างครับ หลวงปู่ : ดูทีละอย่างละอย่าง ดูทีละอย่างละอย่างไป เพื่อจะทำสมาธิของเราให้มีกำลัง และสติ ก็มีกำลังไปด้วย ดูเสร็จแล้ว หมดอาการสามสิบสองแล้ว แยกอีก ศิษย์ : แยก หลวงปู่ : แยก ถอนผมไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ถอนเล็บไปกองหนึ่ง ฟันไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ศิษย์ : ทำ หลวงปู่ : ทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วย

แล้วจะทำอย่างไรกันดีเมื่อจิตเป็นสมาธิ แล้วก็ทำให้เกิดปัญญา ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : เกิดปัญญา ก็ต้อง ถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสอง ตั้งแต่ ผม ขนเล็บ ฟันหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ให้มันเดินอย่างนี้ เรื่อยไป ศิษย์ : วิธีเดิน เดินยังไงครับ หลวงปู่ : คือดู ศิษย์ : เอาจิตไปดูหรือครับ หลวงปู่ : คือ ผมอยู่บนเจ้าของ ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : นึกดูผม ผมมันเป็นยังไง ลักษณะมันเป็นยังไง มันเข้าไปในหนัง ลึกไปเท่าไหร่ แล้วก็ ออกมามันยาว มันเริ่มเท่าไหร่ ทำไมมันจึงยาวไม่มีที่สิ้นสุด แล้วก็ให้เข้าใจให้ซึมซาบถึงจิตถึงใจ ว่า อ้อมันเป็นอย่างนั้น แล้วก็ขนก็เหมือนกัน เล็บก็เหมือนกัน ดู ดูอันนี้ ดูผม เสร็จแล้ว ดูเล็บ ทุกเล็บ เนี่ยแหละ เล็บมือเล็บตีนอะไรก็ดู ทุกเล็บ ดู คือ ดูให้มันเห็นชัดเจน ในจิตใจของเรา ให้มันซึมซาบถึงจิตถึงใจ ดูอาการลักษณะของมัน มันเป็นอย่างไง ศิษย์ : ตอนดู ดูตอนนี้ มันจะเกิดภาพประกอบด้วยหรือเปล่า หลวงปู่ : ไม่มี ศิษย์ : ไม่มีภาพหรือครับ หลวงปู่ : ภาพไม่มีภาพ ภาพไม่มี ไม่เกี่ยวกับภาพ ให้รู้ด้วยปัญญา ว่าเป็น ลักษณะมันเป็น ดูด้วยปัญญา รู้ด้วยจิตอันลึกซึ้ง ดูด้วยปัญญา แล้วก็ดูอาการสาบสิบ ดูจนทั้งหมด ศิษย์ : แล้วก็พิจารณา ทีละอย่างละอย่างครับ หลวงปู่ : ดูทีละอย่างละอย่าง ดูทีละอย่างละอย่างไป เพื่อจะทำสมาธิของเราให้มีกำลัง และสติ ก็มีกำลังไปด้วย ดูเสร็จแล้ว หมดอาการสามสิบสองแล้ว แยกอีก ศิษย์ : แยก หลวงปู่ : แยก ถอนผมไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ถอนเล็บไปกองหนึ่ง ฟันไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ศิษย์ : ทำ หลวงปู่ : ทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วย

ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟังถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

มีสติรู้กายรู้ใจในขณะปัจจุบันด้วยจิตตั้งมั่นและเป็นกลาง....ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

พระพุทธเจ้าสอนอะไรหลวงพ่อปราโมทย์ : จุดสำคัญของการปฏิบัติ ในตำรายังมีอยู่ ยังใช้ได้ดีเลย ทำยังไงจะทำให้จิตสงบ ในตำราสอนเอาไว้ตั้ง ๔๐ วิธี สอนเอาไว้ให้ละเอียด ทำยังไงจะเจริญปัญญา รู้กายรู้แบบไหน รู้เวทนาจะรู้ยังไง มีเงื่อนไขอะไรดูกายและเวทนาเนี่ย เหมาะกับสถยานิก เหมาะกับคนเล่นฌานถ้าไม่ได้เล่นฌานแล้วไปดูกาย ไปดูท้องพองยุบนะ ไม่เคยทำฌาน ไปดูท้องพองยุบ จะกลายไปเป็นเพ่งท้องเฉยๆ ขึ้นวิปัสสนาไม่ได้จะดูกายได้จิตต้องตั้งไม่ ทรงฌานได้ดีที่สุด ฌานที่ ๑ ก็ยังไม่พอ ต้องฌานที่ ๒ ถึงจะดี ๒-๓ ขึ้นเนี่ย เพราะฌานที่ ๒ จิตไม่เคล้ากับอารมณ์แล้ว ละวิตกละวิจารณ์ วิตกเป็นการตรึกในอารมณ์ วิจารณ์เป็นการเคล้าเคลียอยู่ในอารมณ์ จิตยังไหลไปเคล้าอยู่กับอารมณ์อยู่พอละวิตกวิจารณ์ขึ้นฌานที่ ๒ เนี่ยนะ จิตไม่เคล้าเคลียกับอารมณ์ จิตดีดตัวออกมาเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน เนี่ยมีเอโกทิภาวะ พอจิตได้เอโกทิภาวะแล้วออกจากสมาธิ ออกจากฌานมา ตัวนี้ยังเด่นดวงอยู่ อยู่ได้นานไม่เกิน ๗ วัน แต่อยู่ได้นาน ไม่เหมือนขณิกสมาธินะ แว้บๆ แว้บๆ ก็ดับแล้วพอจิตเป็นผู้ออกมาเนี่ย เห็น ไปดูจิตนะ จิตจะนิ่งๆไม่มีอะไรให้ดู ต้องดูกาย ดูเวทนาในกาย หรือดูเวทนาทางใจ เช่นจิตที่ทรงฌานเนี่ย เดี๋ยวมันก็สุขเดี๋ยวมันก็อุเบกขา พลิกไปพลิกมา แสดงไตรลักษณ์ได้ หรือดูเวทนาทางกายก็ได้ ดูร่างกายก็ได้ จิตเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่ เห็นเลยร่างกายไม่ใช่ตัวเราแต่ดูจิตตสังขารยาก เพราะอารมณ์มันละเอียด อารมณ์มันปราณีต ไม่มีของหยาบให้ดูเลย สงบ มีความสุข สบาย แน่วอยู่อย่างนั้นเอง จิตเหมือนจะเที่ยงนะ เพราะจะดูกายให้ทำสมาธิก่อน แล้วเห็นกายมันทำงาน เห็นเวทนามันทำงาน กายและเวทนาจึงเหมาะกับคนทำฌาน เหมาะกับสมถยานิกหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา แสดงน้อยลง

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชโช เทศนา ทางสายกลางคือไม่เผลอกับไม่เพ่ง

ERUPTION feat. Jane Jochen - Runaway (1981)พระบรมศาสดาเมื่อประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงปรารภถึงพราหมณ์คนหนึ่ง ผู้ประสบกับความทุกข์อันใหญ่หลวงเพราะข้าวกล้าเสียหาย ถูกน้ำท่วมพัดพาไปหมด เรื่องมีอยู่ว่า พราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีคนหนึ่ง กำลังถางป่าทำนา พระบรมศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา ขณะเสด็จเข้าไปโปรดชาวเมืองสาวัตถี ได้ทรงแวะตรัสสนทนาว่า "ท่านกำลังทำอะไรอยู่หรือ พราหมณ์" พราหมณ์กราบทูลว่า "ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์กำลังจะทำไร่ไถนา พระเจ้าข้า" จึงตรัสว่า "ดีแล้วพราหมณ์ จงตั้งใจทำงานไปเถิด" จากนั้นก็เสด็จหลีกไป วันต่อมา ได้เสด็จเข้าไปสนทนาอีก และได้เข้าไปสนทนาทุกช่วงที่มีการไถ ก่อคันนา และหว่านข้าว เมื่อพราหมณ์เห็นพระบรมศาสดาบ่อยเข้า จึงเกิดความเลื่อมใสในพุทธจริยา วันหนึ่ง พราหมณ์ได้ปวารณาว่า "ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ วันนี้เป็นมงคลในการหว่านข้าวของข้าพระองค์ ข้าพระองค์จะถวายมหาทานแด่ภิกษุสงฆ์ โดยมีพระองค์เป็นประธาน หลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระเจ้าข้า" พระศาสดาทรงรับโดยแสดงอาการดุษณีภาพ แล้วเสด็จหลีกไป เมื่อถึงฤดูเก็บเกี่ยว พราหมณ์ได้วางแผนเก็บเกี่ยวในวันรุ่งขึ้น แต่คืนนั้น ฝนลูกเห็บได้ตกตลอดทั้งคืน ทำให้ด้านเหนือของแม่น้ำอจิรวดีเอ่อล้น แล้วไหลท่วมนาของพราหมณ์ พัดพาเอาต้นข้าวทั้งหมดไปสู่ท้องทะเล ไม่เหลือแม้แต่เพียงต้นเดียว เมื่อน้ำหลากแห้งลง พราหมณ์ได้มาดูความเสียหายของนาข้าว จึงเสียใจอย่างหนัก เอาแต่นอนทุกข์ระทมอยู่บนเตียง ใกล้รุ่งวันใหม่ พระบรมศาสดาทรงเห็นพราหมณ์ถูกความเศร้าโศกเสียใจครอบงำ หลังจากทรงเสวยเสร็จและส่งภิกษุสงฆ์กลับวัดพระเชตวันแล้ว พระพุทธองค์ได้เสด็จไปบ้านของพราหมณ์พร้อมกับพระภิกษุผู้เป็นปัจฉาสมณะอีกหนึ่งรูป เมื่อพราหมณ์ได้ยินว่าพระบรมศาสดาเสด็จมา จึงคิดว่า "พระพุทธองค์ทรงเป็นมิตรแท้ของเรา คงจะเสด็จมาเยี่ยมเยือนเพื่อให้กำลังใจ" จึงรีบจัดแจงอาสนะต้อนรับ พระศาสดาได้เสด็จเข้าไปประทับนั่งบนอาสนะที่จัดเตรียมไว้ แล้วตรัสถามว่า "พราหมณ์ ทำไมท่านจึงดูเศร้าหมองไปล่ะ ท่านไม่สบายหรือ" พราหมณ์ได้กราบทูลว่า "ข้าพระองค์เคยปวารณาไว้ว่า จะถวายมหาทานหลังจากเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว แต่เมื่อคืนต้นข้าวกลับถูกกระแสน้ำพัดพาลงทะเลจนหมดเกลี้ยง ข้าวเปลือกประมาณ ๑๐๐ เกวียน เสียหายหมด ข้าพระองค์จึงทุกข์ใจ พระเจ้าข้า" พระพุทธองค์ทรงสดับแล้ว ได้ตรัสให้กำลังใจว่า "พราหมณ์ ท่านจะมัวเศร้าโศกเสียใจอยู่ทำไม สิ่งที่สูญเสียไปแล้วจะเอากลับคืนมาได้หรือ ขึ้นชื่อว่าทรัพย์และข้าวเปลือกนี้ ถึงคราวเกิดก็เกิดขึ้นเจริญงอกงาม ถึงคราวเสียหายก็ถูกทำลายเสียหาย สิ่งใดๆ ที่ถึงการปรุงแต่ง จะชื่อว่าไม่มีความเสียหายเป็นธรรมดานั้นไม่มีหรอก ท่านอย่ามัวไปยึดมั่นถือมั่นว่า สิ่งนั้นเป็นของเราอยู่เลย" พระบรมศาสดาทรงปลอบใจพราหมณ์ให้เห็นทุกข์เห็นโทษของความยึดมั่นถือมั่น อันเป็นเหตุให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ ทรงยกใจของพราหมณ์ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ ให้มองเห็นความไม่เที่ยงของสังขาร ซึ่งเป็นสิ่งที่มีปัจจัยปรุงแต่งว่ามีความเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และเสื่อมไปเป็นธรรมดา ถ้าบุคคลเข้าไปสงบระงับดับความพึงพอใจในสังขารเหล่านั้นได้ ความสุขที่แท้จริงจะบังเกิดขึ้น พราหมณ์ได้ปล่อยใจไปตามกระแสพระธรรมเทศนา ในที่สุดได้บรรลุธรรมเป็นพระโสดาบัน ความโศกและความทุกข์จึงดับไป ความโศก ความร่ำไร และความทุกข์ เกิดขึ้นในโลกนี้ได้เพราะอาศัยสัตว์หรือสังขารอันเป็นที่รัก เมื่อไม่มีสัตว์หรือสังขารอันเป็นที่รัก ความโศก ความร่ำไร และความทุกข์เหล่านี้ย่อมไม่มี ผู้ใดไม่มีคน สัตว์ และสิ่งของอันเป็นที่รัก ผู้นั้นย่อมเป็นผู้มีความสุข ปราศจากความเศร้าโศก เมื่อบุคคลใดปรารถนาความไม่เศร้าโศกอันปราศจากธุลีกิเลส ไม่พึงทำคน สัตว์ สิ่งของ หรือสังขารใดๆ ให้เป็นที่รักเลย สิ่งที่พระพุทธองค์ตรัสรู้และทรงนำมาสั่งสอนนี้ เป็นความรู้อันประเสริฐที่เกิดจากการเห็นด้วยธรรมจักษุ เป็นความรู้ที่คู่กับความสุขและความบริสุทธิ์ ผู้ใดปฏิบัติตาม ย่อมจะได้ความหลุดพ้นเช่นเดียวกันกับที่พระพุทธองค์ได้หลุดพ้นแล้ว ดังนั้น เรามาเกิดในภพชาตินี้ แม้จะอยู่ในกามภพ ซึ่งข้องเกี่ยวกับเรื่องเบญจกามคุณ แต่เราต้องหาทางทำตนให้หลุดพ้นจากกิเลสกามและวัตถุกามทั้งหลาย ไม่ยึดมั่นถือมั่นในสิ่งที่ไม่เป็นสาระ ให้มุ่งมั่นสร้างบารมีให้เต็มที่ และแสวงหาหนทางพระนิพพาน ด้วยการฝึกฝนอบรมใจให้หยุดนิ่ง ให้บริสุทธิ์ผ่องใส ให้เข้าถึงที่พึ่งที่ระลึกอันสูงสุด คือ พระรัตนตรัยภายในให้ได้กันทุกๆ คน

Eruption - One way ticket (Autoradio 29.11.2014)พราหมณ์นั้นคลายความเศร้าโศกและได้บรรลุโสดาบัน

Boney M - One Way Ticketสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้ว จะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป.. เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ

ต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนิน30 ลิขิตฟ้า 70ต้องฝ่าฝัน ต้องสู้..ต้องสู้ถึงจะชนะ

การทรงสภาวะของพระสกทาคามีเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกบุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดั­กไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล

วันศุกร์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2558

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค เจตสิกปรมัตถ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส เจตสิก ๕๒ อัญญสมนาเจตสิก ๑๓ อกุศลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ โมจตุกเจตสิก ๔ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ผัสสะ โมหะ สัทธา เวทนา อหิริกะ สติ สัญญา อโนตตัปปะ หิริ เจตนา อุทธัจจะ โอตตัปปะ เอกัคคตา โลติกเจตสิก ๓ อโลภะ ชีวิตินทรีย์ โลภะ อโทสะ มนสิการ ทิฏฐิ ตัตรมัชฌัตตตา ปกิณณกเจตสิก ๖ มานะ กายปัสสัทธิ , จิตตปัสสัทธิ วิตก โทจตุกเจตสิก ๔ กายลหุตา , จิตตลหุตา วิจาร โทสะ กายมุทุตา , จิตตมุทุตา อธิโมกข์ อิสสา กายกัมมัญญตา , จิตตกัมมัญญตา วิริยะ มัจฉริยะ กายปาคุญญตา , จิตตปาคุญญตา ปีติ กุกกุจจะ กายุชุกตา , จิตตุชุกตา ฉันทะ ถีทุกเจตสิก ๒ วีรตีเจตสิก ๓ ถีนะ สัมมาวาจา มิทธะ สัมมากัมมันตะ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ สัมมาอาชีวะ วิจิกิจฉา อัปปมัญญาเจตสิก ๒ กรุณา มุทิตา ปัญญาเจตสิก ๑ ปัญญินทรีย์ หน้า ๒ เจตสิกปรมัตถนี้ ตามพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่งพระอนุรุทธาจารย์ได้รจนาไว้นั้น ท่านจัดเป็นปริจเฉทที่ ๒ ให้ชื่อว่า เจตสิกสังคหวิภาค อันแปลว่าส่วนที่รวบรวมเรื่องเจตสิก เจตสิกสังคหวิภาคนี้ ท่านประพันธ์ไว้เป็นคาถาสังคหะรวม ๒๕ คาถา ดังจะแสดงตามลำดับต่อไปจนครบทั้ง ๒๕ คาถา เจตสิกคืออะไร เจตสิกคือธรรมชาติสิ่งหนึ่ง ซึ่งประกอบกับจิต และปรุงแต่งจิตให้ประพฤติเป็นไปตามนั้น อาการที่ประกอบกับจิตนั้น เรียกว่า เจโตยุตฺตลกฺขณํ คือมีสภาพที่ประกอบกับจิต บริบูรณ์ด้วยลักษณะ ๔ ประการคือ เอกุปฺปาท เกิดพร้อมกับจิต เอกนิโรธ ดับพร้อมกับจิต เอกาลมฺพณ มีอารมณ์เดียวกับจิต เอกวตฺถุก อาศัยวัตถุเดียวกับจิต ดังมีคาถาสังคหะที่ ๑ แสดงว่า ๑. เอกุปฺปาทนิโรธา จ เอกาลมฺพณ วตฺถุกา เจโตยุตฺตา ทฺวิปญฺญาส ธมฺมา เจตสิกา มตา แปลความว่า สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต มีอารมณ์เดียวกับจิต และมีวัตถุที่อาศัยเกิดก็เป็นอัน เดียวกับจิต ธรรมชาตินั้นเรียกว่า เจตสิก มีจำนวน ๕๒ ดวง หน้า ๓ เจตสิกมี ลักษณะ ( คือคุณภาพหรือเครื่องแสดง ) , รสะ ( กิจการงาน หรือหน้าที่ ) , ปัจจุปัฏฐาน ( อาการปรากฏ หรือ ผล ) , ปทัฏฐาน ( เหตุใกล้ให้เกิด ) เป็น ๔ ประการ ซึ่งรวมเรียก ลักขณาทิจตุกะ นั้น ดังนี้ จิตฺตนิสฺสิตลกฺขณํ อาศัยจิตเกิดขึ้น เป็นลักษณะ อวิโยคุปฺปาทนรสํ เกิดร่วมกับจิต เป็นกิจ เอกาลมฺพณปจฺจุปฏฺฐานํ รับอารมณ์อย่างเดียวกับจิต เป็นผล จิตฺตุปฺปาทปทฏฺฐานํ มีการเกิดขึ้นแห่งจิต เป็นเหตุใกล้ อนึ่งเจตสิกนี้แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตประพฤติเป็นไปตามลักษณะของเจตสิกก็ตาม แต่ก็ต้องถือว่าจิตเป็นใหญ่ เป็นประธาน เพราะเจตสิกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยจิตเกิด เจตสิกทั้ง ๕๒ แบ่งเป็น ๓ ประเภท เจตสิกทั้งหมด มีจำนวน ๕๒ ดวง ซึ่งแต่ละดวงก็มีลักษณะแตกต่างกัน ไม่เหมือนกันเลย ถึงกระนั้นก็ยังแบ่งเจตสิก ๕๒ ดวงนี้ ได้เป็น ๓ ประเภท ดังมีคาถาสังคหะ แสดงว่า คาถาสังคหะที่ ๒ แสดงว่า ๒. เตรสญฺญสมานา จ จุทฺทสากุสลา ตถา โสภณา ปญฺจวีสาติ ทวิปญฺญาส ปวุจฺจเร ฯ แปลความว่า เจตสิก ๕๒ ดวง จัดเป็น ๔ ประเภท คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง โสภณเจตสิก ๑๕ ดวง หน้า ๔ อัญญสมานาเจตสิก อัญญสมานาเจตสิก เป็นเจตสิกที่เสมอเหมือนกับสภาพอื่นได้ หมายความว่าเป็นเจตสิกที่ประกอบกับธรรมที่เป็นอกุศล หรือเป็นกุศล หรือเป็นอพยากตะได้ทุกชนิด เมื่อประกอบกับธรรมชนิดใด ก็มีสภาพเป็นชนิดนั้นไปด้วย กล่าวคือถ้าเกิดร่วมกับ อกุศลก็นับเป็นอกุศลไปด้วย ถ้าเกิดร่วมกับกุศล ก็จัดเป็นกุศลไปด้วย เมื่อเกิดร่วมกับอพยากตะ ก็เรียกว่าเป็นอพยากตะไปด้วย อัญญสมานาเจตสิก มีจำนวน ๑๓ ดวง ชื่ออะไรบ้าง มีแจ้งอยู่ที่หน้าต้นนั้นแล้ว ในจำนวน ๑๓ ดวงนี้ ยังจัดออกได้เป็น ๒ พวก คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก มีจำนวน ๗ ดวง ปกิณณกเจตสิก มีจำนวน ๖ ดวง สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก เป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมดหมายความว่า จิตทั้งหมดซึ่งมีจำนวน นับอย่างย่อ ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็มี ๑๒๑ ดวงนั้น เมื่อจิตดวงใดเกิดขึ้น เจตสิกทั้ง ๗ ดวงนี้ ย่อมเกิดประกอบกับจิตนั้นพร้อมกันทั้ง ๗ ดวงเสมอไป ไม่มีเว้นเลย ดังนั้นจึงว่าเป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมด สมกับชื่อที่ว่า สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง มีดังนี้ หน้า ๕ ผัสสเจตสิก ๑. ผัสสเจตสิก คือ การกระทบอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ผุสนลกฺขโณ มีการกระทบอารมณ์ เป็นลักษณะ สงฺฆฏฏฺนรโส มีการประสานอารมณ์ วัตถุ วิญญาณ เป็นกิจ สนฺนิปาตปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประชุมพร้อมกัน เป็นผล อาปาถคตวิสยปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ ความหมายของผัสสเจตสิกนี้ ไม่ได้หมายเพียงแต่ว่า ของสองสิ่งกระทบกันเท่านั้น แต่หมายถึงว่าต้องมี ธรรม ๓ ประการมาประชุมร่วมพร้อมกัน จึงจะเรียกว่าผัสสเจตสิก ธรรม ๓ ประการนั้น คือ อารมณ์ ๑ วัตถุ ๑ ธรรม ๒ ประการนี้กระทบ กัน และทำให้เกิดวิญญาณอีก ๑ ด้วย ไม่ใช่แต่เพียงว่ากระทบกันเฉยๆ เวทนาเจตสิก ๒. เวทนาเจตสิก คือการเสวยอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็คือ ความรู้สึก รู้สึกว่าสบายหรือไม่สบาย แยกตาม ประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการรู้สึก เป็น ๕ อย่าง ได้แก่ ก. สุขเวทนาเจตสิก คือความสุขสบายทางกาย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ดีเป็นลักษณะ หน้า ๖ สมฺปยุตตฺตานํ พยูหนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเจริญ เป็นกิจ กายิกอสฺสาทปจฺจุปฏฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางกาย เป็นผล กายินฺทฺริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ข. ทุกขเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ยากลำบากกาย มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ มิลาปนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเศร้าหมอง เป็นกิจ กายิกาพาธปจฺจุปฏฺฐานา มีความอาพาธทางกาย เป็นผล กายินฺทริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ค. โสมนัสเวทนาเจตสิกคือความสุขความสบายใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ อิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการทำจิตให้อยู่ร่วมกับอารมณ์ที่ดี เป็นกิจ เจตสิกอสฺสาทปฏฺจุปจฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางใจ เป็นผล ปสฺสทฺธิปทฏฺฐานา มีความสงบกายสงบใจ เป็นเหตุใกล้ ง. โทมนัสเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อนิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ อนิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นกิจ เจตสิกาพาธปจฺจุปฏฐานา มีความอาพาธทางใจ เป็นผล หทยวตฺถุปทฏฺฐานา มีหทัยวัตถุ เป็นเหตุใกล้ จ. อุเบกขาเจตสิก คือความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ มชฺฌตฺตเวทยิตลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ปานกลาง เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ นาติอุปพยูหนมิลาปนรสา มีการักษาสัมปยุตตธรรม ไม่ให้เจริญ ไม่ให้เศร้าหมอง เป็นกิจ สนฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเฉยๆ เป็นผล นิปฺปิติกจิตฺตปทฏฺฐานา มีจิตที่ไม่ยินดีเป็นเหตุใกล้ สัญญาเจตสิก ๓. สัญญาเจตสิก คือ ความจำหมายอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สญฺชานน ลกฺขณา มีความจำ เป็นลักษณะ ปุนสญฺชานน ปจฺจยนิมิตฺตกรณ รสา มีการหมายไว้และจำได้ เป็นกิจ ยถาคหิต นิมิตฺตวเสน อภินิเวสกรณ ปจฺจุปฏฺฐานา มีความจำได้ในสิ่งที่หมายไว้ เป็นผล ยถาอุปฏฺฐิตวิสยปทฏฺฐานา มีอารมณ์ที่ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๘ เจตนาเจตสิก ๔. เจตนาเจตสิก คือการแสวงหาหรือขวนขวายที่จะให้เป็นไปในอารมณ์ หรือความตั้งใจ หรือความสำเร็จ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ เจตนาภาวลกฺขณา มีการชักชวน เป็นลักษณะ อายูหนรสา มีการขวนขวาย เป็นกิจ สํวิธาน ปจฺจุปฏฺฐานา มีการจัดแจง เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ เอกัคคตาเจตสิก ๕. เอกัคคตาเจตสิก คือการตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวิกฺเขปลกฺขณา มีการไม่ฟุ้งซ่าน เป็นลักษณะ สหชาตานํ สมฺปิณฺฑนรสา มีการรวบรวมสหชาตธรรม เป็นกิจ อุปสมปจฺจุปฏฺฐานา มีความสงบ เป็นผล สุขปทฏฺฐานา มีสุขเวทนา เป็นเหตุใกล้ ชีวิตินทรียเจตสิก ๖. ชีวิตินทรียเจตสิก คือการรักษาธรรมที่เกิดร่วมด้วยตนให้ตั้งอยู่ตามอายุของตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๙ สหชาตานํ อนุปาลนลกฺขณํ มีการเลี้ยงรักษาสหชาตธรรม เป็นลักษณะ เตสํ ปวตฺตนรสํ มีความตั้งอยู่และเป็นไปได้ เป็นกิจ เตสญฺเญวฐปนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการทรงอยู่ได้ซึ่งสหชาตธรรม เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานํ มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก ๗. มนสิการเจตสิก คือการกระทำอารมณ์ให้แก่จิต หรือความใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สารณลกฺขโณ มีการทำให้สัมปยุตตธรรมใส่ใจในอารมณ์ เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ อารมฺมเณ สํโยชนรโส มีการทำให้สัมปยุตตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมณาภิมุขีภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการทำให้สัมปยุตตธรรมให้มีหน้าที่เฉพาะอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก คือ ความใส่ใจในอารมณ์นี้ ถ้ามีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอัน แยบคาย คือใส่ใจให้ถูกต้องตรงตามสภาวะแห่ง ความเป็นจริงแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ดีงาม หน้า ๑๐ ความใส่ใจเป็นอันดีเรียกว่า โยนิโสมนสิการ ถ้าไม่มีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอันไม่แยบคายแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ไม่ดี จิตที่ ชั่วที่บาป ความไม่ใส่ใจเป็นอันดีนี้ เรียกว่า อโยนิโสมนสิการ สาเหตุที่จะให้เกิด โยนิโสมนสิการ คือ ๑. ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา เคยทำบุญไว้แต่ปางก่อน ๒. ปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่สมควร คือประเทศที่มีสัปบุรุษ ๓. สปฺปุริสูปนิสฺสย คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. สทฺธมฺมสฺสวน ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตาสมฺนาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ส่วนสาเหตุที่จะให้เกิด อโยนิโสมนสิการ ก็ตรงกันข้าม คือ ๑. ปุพฺเพ อกตปุญฺญตา ไม่ได้สร้างสม บุญไว้แต่ปางก่อน ๒. อปฺปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่ไม่สมควร (คือไม่มีสัปบุรุษ) ๓. อสปฺปุริสูปนิสฺสย ไม่ได้คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. อสทฺธมฺมสฺสวน ไม่ได้ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตมิจฉาปณิธิ ตั้งตนไว้ผิด ปกิณณกเจตสิก ปกิณณกเจตสิก เป็นเจตสิกเบ็ดเตล็ด ไม่ประกอบกับจิตทั่วไปแต่ประกอบได้เป็นบางดวง ปกิณณกเจตสิกมี ๖ ดวง ดังต่อไปนี้ หน้า ๑๑ วิตกเจตสิก ๑. วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญ ก็คือการคิด การนึกถึงอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อภินิโรปนกฺขโณ มีการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ เป็นลักษณะ อาหนปริยาหนรโส มีการกระทำให้จิตกระทบอารมณ์บ่อยๆ เป็นกิจ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อานยนปจฺจุปฏฺฐาโน มีจิตที่ทรงอยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์นี้ มีความหมายใกล้เคียงกับเจตนาเจตสิก ความตั้งใจในอารมณ์ และมนสิการ เจตสิก ความใส่ใจในอารมณ์ เพื่อให้เกิดความแตกต่างกัน จึงมีอุปมาด้วยเรือแข่งว่า เจตนาเจตสิก อุปมาดังคนพายหัว ต้องคว้าธงให้ได้ อันหมายถึงความสำเร็จ คือชัยชนะ มนสิการเจตสิก อุปมาดังคนถือท้าย ต้องคัดวาดเรือให้ตรงไปยังธงอันเป็นหลักชัย วิตกเจตสิก อุปมาดังคนพายกลางลำ มุ่งหน้าจ้ำพายไปแต่อย่างเดียว หน้า ๑๒ วิจารเจตสิก ๒. วิจารเจตสิก คือ การประคองจิตให้อยู่ในอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็ว่า คิดบ่อยๆ นั่นเอง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมณานุมชฺชนลกฺขโณ มีการพิจารณาอารมณ์บ่อยๆ เป็นลักษณะ ตตฺถ สหชาตานุโยชนรโส มีการทำให้สหชาตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ จิตฺตอนุปฺปพนฺธปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตกแต่งจิตให้อยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ อธิโมกขเจตสิก ๓. อธิโมกขเจตสิก มีการตัดสินอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สนฺนิฏฺฐานลกฺขโณ มีการสันนิษฐานอารมณ์ เป็นลักษณะ อสํสปฺปนรโส มีการไม่โยกไม่คลอน เป็นกิจ วินิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตัดสิน เป็นผล สนฺนิฏเฐยฺยธมฺมปทฏฺฐาโน มีการสันนิษฐานธรรม เป็นเหตุใกล้ วิริยเจตสิก ๔. วิริยเจตสิก คือ ความเพียรเพื่อให้ได้อารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๑๓ อุสฺสาหนลกฺขณํ มีความอุตสาหะ เป็นลักษณะ สหชาตานํ อุปตฺถมฺภนรสํ มีการอุดหนุนค้ำชูสหชาตธรรม เป็นกิจ อสํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการไม่ย่อท้อถดถอย เป็นผล สํเวคปทฏฺฐานํ มีความสลด เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก ๕. ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้ม หรืออิ่มใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สมฺปิยายนลกฺขณา มีความอิ่มใจ เป็นลักษณะ กายจิตฺตปีฬนรสา มีการทำกายและใจอิ่มเอิบ เป็นกิจ โอทคฺยปจฺจุปฏฺฐานา มีกายและใจเฟื่องฟู เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้มใจ อิ่มใจในอารมณ์นั้นมี ๕ ประการ ๑. ขุทฺทกาปีติ ปลาบปลื้มใจเล็กน้อยพอรู้สึกขนลุก ๒. ขณิกาปีติ ปลาบปลื้มใจชั่วขณะเกิดขึ้นบ่อยๆ ๓. โอกฺกนฺติกาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวโยกตัวโคลง ๔. อุพฺเพงฺคาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวลอย ๕. ผราณาปีติ ปลาบปลื้มใจจนนอิ่มเอิบซาบซ่านไปทั่วทั้งกายและใจ ปีติ ที่เป็นองค์ฌานนั้น ต้องถึง ผรณาปีติ ส่วนปีติอีก ๔ ไม่นับเป็นองค์ฌาน เพราะยังเป็นของหยาบอยู่ อนึ่ง ปีติ กับ สุข ต่างกัน คือ ปีติ เป็นสังขารขันธ์ สุข เป็นเวทนาขันธ์ และเมื่อมี ปีติ จะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่ว่า เมื่อมีสุข อาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้ ฉันทเจตสิก ๖. ฉันทเจตสิก คือความพอใจในอารมณ์ ความปลงใจที่จะทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กตฺตุกมฺยตา ลกฺขโณ มีความปรารถนาเพื่อจะกระทำ เป็นลักษณะ อารมฺมณปริเยสนรโส มีการแสวงอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมเณน อตฺถิกตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ อกุศลเจตสิก อกุศลเจตสิก คือ เจตสิกที่ชั่ว ที่บาป ที่หยาบ ที่ไม่งาม ที่ไม่ฉลาด อกุศลเจตสิกนี้ เมื่อประกอบกับจิตแล้ว ก็ทำให้จิตเศร้าหมองเร่าร้อน และทำให้เสียศีลธรรม อกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลเจตสิก ๑๒ ดวงเท่านั้น ไม่ประกอบกับจิตอย่างอื่นเลย และเพราะเหตุว่าอกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่าอกุศลเจตสิก ไม่ชื่อว่าอโสภณเจตสิก เพราะถ้าชื่อว่า หน้า ๑๕ อโสภณเจตสิกแล้ว ก็จะมีความหมายไปว่า ต้องประกอบกับอโสภณจิตได้ทั้งหมด กล่าวคือต้องประกอบกับอเหตุกจิตด้วย อกุศลเจตสิก มี ๑๔ ดวง แบ่งออกเป็น ๕ พวก คือ ก. โมจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกมีโมหะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก โมจตุก นี้ ประกอบกับอกุศลเจตสิกได้ทั้งหมดทั้ง ๑๒ ดวง ดังนั้นจึงมีชื่ออีกชื่อว่า สัพพากุศลสาธารณเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกที่สาธารณแก่ อกุศลจิต ทั้งหมด ข. โลติกเจตสิก หมายความว่าเป็นเจตสิกพวกโลภะ มี ๓ ดวงด้วยกัน คือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และมานะเจตสิก โลติกนี้ประกอบได้เฉพาะแต่โลภมูลจิต ๘ ดวงเท่านั้น ค. โทจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกโทสะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก โทจตุก นี้ประกอบได้แต่เฉพาะโทสมูลจิต ๒ ดวงเท่านั้น ง. ถีทุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกถีนะ มี ๒ ดวงด้วยกัน คือ ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ถีทุก นี้ ประกอบได้เฉพาะแต่อกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก ๕ ดวงเท่านั้น จ. วิจิกิจฉาเจตสิกไม่มีพวก มีแต่ตัวดวงเดียว และประกอบได้เฉพาะแต่ โมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉา ดวงเดียวเท่านั้น เอง หน้า ๑๖ อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวงนั้น ดังนี้ โมหเจตสิก ๑. โมหเจตสิก คือ ความหลง ความไม่รู้จริงตามสภาวะของอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อญาณลกฺขโณ มีการไม่รู้ เป็นลักษณะ อารมมฺมณสภาวจฺฉาทนรโส มีการปกปิดไว้ซึ่งสภาวะแห่งอารมณ์ เป็นกิจ อนฺธการปจฺจุปฏฺฐาโน มีความมืดมน เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีก่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ที่ว่า ไม่รู้นั้น หมายความว่าไม่รู้ในการสิ่งควรรู้ แต่ไม่รู้ในสิ่งที่ไม่ควรรู้ ความไม่รู้ในที่นี้ หมายเฉพาะ ไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ (๑) ทุกฺเข อญาณํ ไม่แจ้งในทุกข์ (๒) ทุกฺขสมุทเย อญาณํ ไม่แจ้งเหตุให้เกิดทุกข์ (๓) ทุกฺขนิโรเธ อญาณํ ไม่แจ้งการดับทุกข์ (๔) ทุกฺขนิโรธคามินิปฏิปทาย อญาณํ ไม่แจ้งหนทางที่จะดับทุกข์ (๕) ปุพฺพนฺเต ยญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทริย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วนอดีต ( อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุ ) (๖) อปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วน อนาคต ( อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญและนัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล ) หน้า ๑๗ (๗) ปุพฺพนฺตาปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ทั้งที่เป็นส่วนในอดีตและในอนาคต ( อกริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล ) (๘) อธิปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปนฺเนสุ ธมฺเมสุ อญาณํ ไม่แจ้งในธรรมที่มีเหตุให้เกิดผลอันต่อเนื่องกัน ( อัตตทิฏฐิเชื่อว่าเป็นตัวเป็นตน ) อหิริกเจตสิก ๒. อหิริเจตสิก คือ ความไม่ละอายต่อการทำบาป ไม่ละอายต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทีหิอชิคุจฺฉนลกฺขณํ มีการไม่เกลียดต่อกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการกระทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล อตฺตอคารวปทฏฺฐานํ มีการไม่เคารพตน เป็นเหตุใกล้ ที่ไม่เคารพตน เพราะ ก. ไม่ละอายต่อ วัย ข. ไม่ละอายต่อ เพศ ค. ไม่ละอายต่อ ตระกูล ง. ไม่ละอายต่อ อกุศล หน้า ๑๘ อโนตตัปปเจตสิก ๓. อโนตตัปเจตสิก คือ ความไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำบาป ไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุตฺตาสลกฺขณํ มีการไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล ปรอคารวปทฏฺฐานํ ไม่มีการเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ อุทธัจจเจตสิก ๔. อุทธัจจเจตสิก คือความฟุ้งซ่าน ไม่สงบ คิดฟุ้งไปในอารมณ์ต่างๆ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวูปสมลกฺขณํ มีความไม่สงบ เป็นลักษณะ อนวตฺถานรสํ มีการไม่มั่นในอารมณ์เดียว เป็นกิจ ภนฺตตฺถ ปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหวั่นไหว เป็นผล อโยนิโสมนสิการ ปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ โลภเจตสิก ๕. โลภเจตสิก คือ ความรัก ความอยากได้ ความติดใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๑๙ อารมฺมณคหณลกฺขโณ มีการยึดมั่นซึ่งอารมณ์ เป็นลักษณะ อภิสงฺครโส มีการติดในอารมณ์ เป็นกิจ อปริจฺจาคปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่บริจาค เป็นผล สํโยชนิธมฺเมสุ อสฺสาททสฺสนปทฏฺฐาโน มีการดูด้วยความยินดีในสังโยชน์ เป็นเหตุใกล้ อรรถของโลภะโดยปริยาย ในไวยกรณ์ ตามบาลีในปรมัตถทีปนีฎีกา ได้จำแนกออกไป ๑๐ ประการ คือ (๑) ตัณหา ความต้องการ (๒) ราคะ ความกำหนัด (๓) กามะ ความใคร่ (๔) นันทิ ความเพลิดเพลิน (๕) อภิชฌา ความเพ่งเล็ง (๖) ชเนตติ ความก่อให้เกิดกิเลส (๗) โปโนพภวิก ความนำให้เกิดในภพใหม่ (๘) อิจฉา ความปรารถนา (๙) อาสา ความหวัง (๑๐) สังโยชน์ ความเกี่ยวข้อง ความผูกพันธ์ ผูกมัด รัดไว้ ล่ามไว้ ปริตสฺสตีติ ตณฺหาฯ (วิสุทธิมัคค) ความกระหายอยากได้ซึ่งอารมณ์นั้นเรียกว่า ตัณหา กาโม จ โสตณฺหา จาติ กามตณฺหา ฯ (ปรมัตถทีปนีฎีกา) ความกำหนัดที่อยากได้ซึ่งกามคุณอารมณ์นั้น เรียกว่า กามตัณหา สสฺสตทิฏฐิ สหคโต หิ ราโค ภวตณฺหาติ วุจฺจติฯ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย สัสสตทิฏฐิ เรียกว่า ภวตัณหา อุจฺเฉททิฏฐิ สหคโต หิ ราโค วิภวตณฺหา วุจฺจติ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย อุจเฉททิฏฐิ เรียกว่า วิภวตัณหา หน้า ๒๐ ทิฏฐิเจตสิก ๖. ทิฏฐิเจตสิก คือ ความเห็นผิดจากความเป็นจริงในสภาวธรรม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อโยนิโส อภินิเวส ลกฺขณามีการถือมั่นด้วยหาปัญญามิได้ เป็นลักษณะ ปรามาส รสา มีการถือผิดจากสภาวะ เป็นกิจ มิจฺฉาภินิเวสปจฺจุปฏฺฐานา มีการยึดถือความเห็นผิด เป็นผล อริยานํ อทสฺสน กามตาทิ ปทฏฺฐานา ไม่ต้องการ เห็นพระอริยะ เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ คำว่า ทิฏฐิ แปลตามพยัญชนะ คือ ตามตัวอักษร ตามศัพท์ ก็แปลว่าความเห็น ไม่เจาะจงว่าเป็นความเห็นผิดหรือ ความเห็นถูกต้องตามสภาวะ แต่โดยอรรถ คือ ตามความหมายแห่งธรรมแล้ว ถ้าใช้ลอยๆ ว่า ทิฏฐิ เฉยๆ ก็หมายว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดเสมอไป เว้นไว้แต่ในที่ใดบ่งว่าเป็น สัมมาทิฏฐิ จึงมีความหมายว่าเป็นความเห็นชอบความเห็นถูกโดยเฉพาะ ทิฏฐิเจตสิก เป็นความเห็นผิดเสมอไป และทิฏฐินี้แบ่งเป็นหยาบๆ เป็น ๒ คือ ทิฏฐิสามัญ และทิฏฐิพิเศษ ทิฏฐิสามัญ ได้แก่สักกายทิฏฐิ คือ เห็นเป็นตัวตนบุคคลเราเขา อันเป็นความเห็นผิด แต่ที่จัดเป็นสามัญ เพราะทิฏฐิ ชนิดนี้ มีประจำทั่วทุกตัวสัตว์เป็นปกตวิสัย (เว้นพระอริยบุคคล) ทิฏฐิพิเศษ ได้แก่ นิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ คือ อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อ เหตุ นัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล อกิริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล และสัสสตทิฏฐิ เห็นว่าเที่ยงแท้แน่นอน อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญ ตลอดทั้งทิฏฐิ ๖๒ ที่จัดเป็นทิฏฐิพิเศษ ก็เพราะว่าทิฏฐิชนิดนี้บางคนก็มี บางคนก็ไม่มี มานเจตสิก ๗. มานเจตสิก คือ ความถือตนความทะนงตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อุณฺณติ ลกฺขโณ มีการทะนงตน เป็นลักษณะ สมฺปคฺค รโส มีการยกย่องสัมปยุตตธรรม เป็นกิจ เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาสูง เป็นผล ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺตโลภ ปทฏฺฐาโน มีโลภจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตต เป็นเหตุใกล้ มานะ นี้ท่านจัดไว้ ๙ ประการ คือ (๑) เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๒) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๓) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคุณตัวว่า เลวกว่าเขา (๔) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๕) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๖) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา (๗) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๘) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๙) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา หน้า ๒๒ อติมานะ=ดูหมิ่นท่าน,สารัมภะ=แข่งดี,ถัมภะ=หัวดื้อ,สาเถยยะ=โอ้อวด เหล่านี้จัดเป็นมานะทั้งสิ้น ข้อควรสังเกต คือถ้าเกิดมีการเปรียบเทียบเรากับเขาขึ้นเมื่อใดก็เป็นมานะเมื่อนั้น ไม่ว่าการเปรียบเทียบนั้นจะเป็นการเปรียบเทียบด้วย ชาติ โคตร สกุล รูป สมบัติ ทรัพย์ ศิลปะวิทยา การงาน หรือ ความเฉลียวฉลาด โทสเจตสิก ๘. โทสเจตสิก คือ ความโกรธ ความไม่ชอบใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จณฺฑิกลกฺขโณ มีความหยาบกระด้าง เป็นลักษณะ นิสฺสยทาหนรโส มีการทำให้จิตตนและผู้อื่นหม่นไหม้ เป็นกิจ ทูสนปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประทุษฐร้าย การทำลาย เป็นผล อาฆาตวตฺถุ ปทฏฺฐาโน มีอาฆาตวัตถุ เป็นเหตุใกล้ ความไม่ชอบใจ เสียใจ กลุ้มใจ รำคาญใจ หงุดหงิด โกรธ เกลียด กลัว ประทุษฐร้าย ทำลายเหล่านั้น เป็นลักษณะหรือเป็นตัวโทสะทั้งนั้น อาฆาตวัตถุ อันเป็นเหตุใกล้ให้เกิดโทสะนั้นมี ๑๐ ประการ คือ (๑) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๒) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๓) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา หน้า ๒๓ (๔) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๕) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๖) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๗) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๘) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๙) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๑๐) ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไม่สมควร เช่นเกิดโกรธขึ้นเมื่อเดินสะดุดตอไม้ หรือ เหยียบหนาม เป็นต้น อิสสาเจตสิก ๙. อิสสาเจตสิก คือธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความไม่ยินดี ความริษยาในการได้ลาภได้ยศของผู้อื่น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปรสมฺปตฺตีนํ อุสฺสูยนลกฺขณา มีการริษยาในสมบัติของผู้อื่น เป็นลักษณะ ตตฺเถว อนภิรติรสา มีการไม่ชอบใจในความมั่งมีของผู้อื่น เป็นกิจ ตโตวิมุขภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีการเบือนหน้าหนีจากสมบัติของผู้อื่น เป็นผล ปรสมฺปตฺติปทฏฺฐานา มีสมบัติของผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยเจตสิก ๑๐. มัจฉริยเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความตระหนี่เหนียวแน่น ไม่ยอมเสียสละ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๔ อตฺตโนสมฺปตฺตีนํ นิคูหนลกฺขณํ มีการซ่อนสมบัติของตน เป็นลักษณะ ตาสํ เยว ปเรหิสาธารณภาว อกฺขมนรสํ มีการไม่ชอบให้สมบัติของตนเป็นสาธารณแก่ผู้อื่น เป็นกิจ สงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหดหู่ หวงแหน ไม่เผื่อแผ่ เป็นผล อตฺตสมฺปตฺติปทฏฺฐานํ มีสมบัติของตน เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยะ ๕ ประการ ได้แก่ (๑) อาวาสมัจฉริย ตระหนี่ ที่อยู่ (๒) กุลมัจฉริย ตระหนี่ สกุล (๓) ลาภมัจฉริย ตระหนี่ ลาภ (๔) วัณณมัจฉริย ตระหนี่ วรรณะ (๕) ธรรมมัจฉริย ตระหนี่ ธรรม กุกกุจจเจตสิก ๑๑. กุกกุจจเจตสิก คือธรรมชาติที่เดือดร้อนรำคาญใจในสิ่งชั่ว อกุสลกรรมที่ได้ทำไปแล้ว และร้อนใจในกุสลกรรม ความดีที่ยังไม่ได้ทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปจฺฉานุตาปลกฺขณํ มีความเดือดร้อนอยู่เนืองๆ ในภายหลัง เป็นลักษณะ กตากตานุโสจนรสํ มีการตามเดือดร้อนอยู่เนือง ๆ ถึงบาปที่ได้กระทำแล้ว และบุญที่ไม่ได้กระทำ เป็นกิจ วิปฺปฏิสารปจฺจุปฏฺฐานํ มีความกินแหนงใจอยู่ เป็นผล กตากตปทฏฺฐานํ มีการทำบาป มิได้กระทำบุญ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๒๕ ถีนเจตสิก ๑๒. ถีนเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตท้อถอยหดหู่ เซื่องซึม ไม่ใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุสฺสาหลกฺขณํ มีการไม่อุตสาหะ เป็นลักษณะ วีริยวิโนทนรสํ มีการทำลายความเพียร เป็นกิจ สํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ มิทธเจตสิก ๑๓. มิทธเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกที่เกิดร่วมด้วยตนให้หดหู่ท้อถอย ง่วงเหงาหาวนอน และง่วงซึมหลับ จับอารมณ์ไม่ติด มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อกมฺมญฺญตาลกฺขณํ มีความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ โอทหนรสํ มีการกั้นกำบังกุสล เป็นกิจ ลีนตาปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑๔. วิจิกิจฉาเจตสิก คือ ความสงสัย ความลังเลไม่แน่ใจ ในอารมณ์ต่างๆ สงสัยตัดสินอารมณ์ไม่ได้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๖ สํสยลกฺขณา มีความสงสัย เป็นลักษณะ กมฺปนรสา มีการหวั่นไหวในอารมณ์ เป็นกิจ อนิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่สามารถตัดสินใจได้ เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานา มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ความสงสัยทั้งหลาย หาใช่เป็นวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ทั้งหมดไม่ ความสงสัยในวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ หมายเฉพาะสงสัยในธรรม ๘ ประการเท่านั้น คือ (๑) สงสัยในพระพุทธเจ้า ได้แก่สงสัยในพระสรีระ (ว่าเห็นจะไม่มีตัวจริง น่าจะสมมุติขึ้น) หรือสงสัยในพระคุณ (พระพุทธคุณ ๙) (๒) สงสัยในพระธรรม ว่ามัคค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ มีจริงหรือและธรรมนี้นำออกจากทุกข์ ได้จริงหรือ (๓) สงสัยในพระสงฆ์ ว่าสงฆ์ที่ตั้งอยู่ในมัคค ๔ ผล ๔ มีจริงหรือ สงฆ์ที่ปฏิบัติดีจริงมีหรือ ผลแห่งทานที่ถวายแก่สงฆ์ มีจริงหรือ (๔) สงสัยในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ว่ามีจริงหรือ ผลานิสงส์แห่งการศึกษาปฏิบัติในสิกขา ๓ มีจริงหรือ (๕) สงสัยในขันธ์ ๕ อายตน ธาตุที่เป็นส่วนอดีตมีจริงหรือ คือสงสัยว่าชาติก่อนมีจริงหรือ (อเหตุกทิฏฐิ) (๖) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ที่เป็นอนาคต มีจริงหรือ คือสงสัยว่า ชาติหน้ามีจริงหรือ (อุจเฉททิฏฐิ) (๗) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ทั้งที่เป็นส่วนอดีตและอนาคตนั้น มีจริงหรือ คือสงสัยทั้งชาติก่อนและชาติหน้า (อกิริยทิฏฐิ) หน้า ๒๗ (๘) สงสัยในปฏิจจสมุปบาทธรรม คือ ธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลอาศัยกันเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปโดยไม่ขาดสายเลยนั้น มีจริงหรือ (อัตตทิฏฐิ) อนึ่งความสงสัยอย่างอื่นที่ไม่ใช่ธรรม ๘ ประการ เช่นสงสัยในเรื่องสมมุติและบัญญัติ ไม่เป็นกิเลส โสภณเจตสิก โสภณเจตสิก เป็นเจตสิกที่ดีงาม ไม่เศร้าหมอง ไม่เร่าร้อน เมื่อประกอบกับจิต ก็ทำให้จิตนั้นดีงาม ปราศจากความเร่าร้อน ให้จิตตั้งอยู่ในศีลธรรม มีการเว้นจากบาป เว้นจากทุจริตต่างๆ ฉะนั้นเจตสิก ประเภทนี้ จึงเรียกว่า โสภณเจตสิก จิตที่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า โสภณจิต ส่วนจิตใดที่ไม่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า อโสภณจิต โสภณเจตสิก มีจำนวน ๒๕ ดวง และยังแบ่งออกได้เป็น ๔ พวก คือ ก. โสภณสาธารณเจตสิก มี ๑๙ ดวง เป็นเจตสิกที่สาธารณะกับโสภณจิตทั้งหมด หมายความว่า โสภณจิต ๕๙ หรือ ๙๑ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น จะต้องมีโสภณสาธารณเจตสิกนี้ประกอบพร้อมกันทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย ข. วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง เป็นเจตสิกที่เว้นจากบาปธรรมทั้งปวง อันเกิดจากกายทุจริต และวจีทุจริต ค. อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง เป็นเจตสิกที่มีความรู้แผ่ไปไม่มีประมาณ เรียกว่า พรหมวิหาร ก็ได้ ที่เรียกว่า อัปปมัญญานั้นเพราะแผ่ไปในสัตว์ทั้งหลาย จนประมาณไม่ได้ ที่เรียกว่า พรหมวิหารนั้น เพราะธรรมนี้เป็นที่อยู่สำราญของพวกพรหม ง. ปัญญาเจตสิก มีดวงเดียว ไม่มีพวก เป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ เป็นประธาน ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง ปัญญินทรียเจตสิก ก็เรียก โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง มีดังนี้ สัทธาเจตสิก ๑. สัทธาเจตสิก คือ ความเชื่อถือเหตุผลตามความเป็นจริง ความเลื่อมใสในกุสลธรรม ความเชื่อในฝ่ายดี เช่น เชื่อคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สทฺทหนลกฺขณา มีความเชื่อถือในอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ ปสาทนรสา มีการเลื่อมใส เป็นกิจ อกาฬุสฺสิยปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่ขุ่นมัว เป็นผล สทฺเทยฺยวตฺถุปทฏฺฐานา มีปูชนียวัตถุเป็นเหตุใกล้ สัทธาแม้อย่างน้อยเพียงเชื่อว่าสัตว์นั้นมีกรรมเป็นของตน คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เพียงเท่านี้ก็เป็นคุณยิ่ง มิฉะนั้นก็จะไม่ประหยัดต่อบาปกรรม หน้า ๒๙ จะกระทำอะไรก็ไม่คิดว่าเป็นทุจริตเสียหาย เพราะสำคัญผิดว่าจะไม่ต้องได้รับผลนั้น ถ้ามีสัทธา เชื่อกรรมเชื่อผลของกรรมแล้ว ก็จะตั้งตนไว้ในทางที่ชอบ ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ สัทธา จึงเป็นธรรมเบื้องต้นที่จะทำให้ประกอบคุณงามความดี เป็นบุญเป็นกุสล จนหาประมาณมิได้ สัทธา พีชํฯ สัทธาเปรียบเหมือนพืช (อันจะงอกงามโตใหญ่ให้ดอกผลในภายหน้า) เหตุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสสัทธา (๑) รูปปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะเห็นรูปสมบัติสวยงาม (๒) ลูขปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธาเพราะเห็นความประพฤติเรียบร้อยเคร่งในธรรมวินัย (๓) โฆสปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้ฟังชื่อเสียงลือว่าดีอย่างนั้นอย่างนี้ (๔) ธมฺมปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้สดับธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง สติเจตสิก ๒. สติเจตสิก คือความระลึกรู้อารมณ์และยับยั้งมิให้จิตตกไปในอกุสล ความระลึกอารมณ์ที่เป็นกุสล ความระลึกได้ที่รู้ทันอารมณ์ สติ เป็นธรรมที่มีอุปการะมากต้องใช้สติต่อเนื่องกันตลอดเวลา ในทางเจริญวิปัสสนาหรือเจริญสมาธิ มุ่งทางปฏิบัติซึ่งเป็นทางสายเดียวที่จะหลุดพ้นจากกิเลสไปได้ โดยเจริญสติปัฏฐานทาง กาย เวทนา จิต ธรรม มีสติระลึกรู้อยู่เนื่อง ๆ ว่า กายมีปฏิกูล ฯลฯ สติมีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๓๐ อปิลาปนลกฺขณา มีความระลึกได้ในอารมณ์เนืองๆคือมีความไม่ประมาท เป็นลักษณะ อสมฺโมหรสา มีการไม่หลงลืม เป็นกิจ อารกฺขปจฺจุปฏฺฐานา มีการรักษาอารมณ์ เป็นผล ถิรสญฺญาปทฏฺฐานา มีการจำได้แม่นยำ เป็นเหตุใกล้ สติเป็นเครื่องชักนำใจให้ยึดถือกุสลธรรมเป็นอุดมคติ ถ้าหากว่าขาดสติเป็นประธานเสียแล้ว สมาธิก็ไม่สามารถจะมีได้เลย และเมื่อไม่มีสมาธิแล้ว ปัญญาก็เกิดไม่ได้ เหตุให้เกิดสติ โดยปกติมี ๑๗ ประการ คือ (๑) ความรู้ยิ่ง เช่น สติของบุคคลที่ระลึกชาติได้พระพุทธองค์ระลึกชาติได้ไม่จำกัดชาติจะระลึกได้ทุกชาติที่พระองค์ปรารถนา สติของพระอานนท์จำพระสูตรที่พระพุทธจ้าตรัสไว้ได้หมด (๒) ทรัพย์ เป็นเหตุให้เจ้าของทรัพย์มีสติ คือเมื่อมีทรัพย์มักจะเก็บรักษาไว้อย่างดี และจะระมัดระวังจด จำไว้ว่าตนเก็บทรัพย์ไว้ที่ใด (๓) สติเกิดขึ้นเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต เช่น พระโสดาบันจะจำได้โดยแม่นยำถึงเหตุการณ์ที่ท่านได้บันลุเป็นพระโสดาบัน หรือบุคคลที่ได้รับยศยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในชีวิต (๔) สติเกิดขึ้น โดยระลึกถึงเหตุการณ์ที่ตนได้รับความสุขที่ประทับใจ เมื่อนึกถึงก็จะจำเรื่องต่าง ๆ ได้ (๕) สติเกิดขึ้น เนื่องจากความทุกข์ที่ได้รับเมื่อระลึกถึงก็จะจดจำได้ (๖) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกับเหตุการณ์ที่ตนเคยประสบ (๗) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่ตรงกันข้ามกับที่เคยประสบ (๘) สติเกิดขึ้น เพราะคำพูดของคนอื่น เช่น มีคนเตือนให้เก็บทรัพย์ที่ลืมไว้ (๙) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเครื่องหมายที่ตนทำไว้ เช่น เห็นหนังสือที่เขียนชื่อไว้ถูกลืมไว้ (๑๐) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเรื่องราวต่าง ๆ หรือผลงาน เช่น เห็นพุทธประวัติก็ระลึกถึงองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นต้น (๑๑) สติเกิดขึ้น เพราะความจำได้ เช่น มีการนัดหมายไว้ เมื่อมองไปที่กระดานก็จำได้ว่าต้องไปตามที่ได้นัดไว้ (๑๒) สติเกิดขึ้น เพราะการนับ เช่น การเจริญสติระลึกถึงพระพุทธคุณ ก็ใช้นับลูกประคำ เพื่อมิให้ลืม (๑๓) สติเกิดขึ้น เพราะการทรงจำเรื่องราวต่าง ๆ ที่ศึกษาค้นคว้า แล้วจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้ (๑๔) สติเกิดขึ้น เพราะการระลึกชาติได้ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ้าง (บุคคลที่มิใช่พระพุทธเจ้า) (๑๕) สติเกิดขึ้น เพราะการบันทึกไว้ เมื่อดูบันทึกก็จำได้ (๑๖) สติเกิดขึ้น เพราะทรัพย์ที่เก็บได้เช่นเห็นทรัพย์ก็นึกขึ้นได้ว่าได้เก็บทรัพย์ไว้ (๑๗) สติเกิดขึ้น เพราะสิ่งที่เคยพบเคยเห็นมาแล้ว เมื่อเห็นอีกครั้งก็ระลึกได้ หิริเจตสิก ๓. หิริเจตสิก คือความละอายต่อการทำบาปทำชั่ว ทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ บาปคือธรรมชาติที่ทำให้จิตเศร้าหมอง บุญคือธรรมชาติที่ชำระจิตให้สะอาดผ่องแผ้ว ในขณะที่จิตอกุสลเกิดขึ้นอยากจะประพฤติผิดศีล ๕ เครื่องยับยั้งมิให้เกิดอกุสลจิตนั้นก็คือ หิริ คือเกิดความละอายต่อบาปที่จะกระทำ จึงยับยั้งไว้ช่วยไม่ให้ทำอกุสล ฉะนั้นหิริจึงเป็นธรรมที่เป็นโลกบาล คือเป็นธรรมชาติที่คุ้มครองโลก หิริ เกิดขึ้นทำให้ละอายต่อบาปจึงไม่กล้าทำบาปทั้งในที่ลับและที่แจ้ง สิ่งที่ทำให้เกิดหิริ คือมีการเคารพตนเอง จึงละอายต่อการทำบาป หิริเจตสิกมีลักขณาทิจตุกะดังนี้ ปาปโตชิคุจฺฉนลกฺขณา มีความเกลียดต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสา มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ ปาปโตสงฺโกจน ปจฺจุปฏฺฐานา มีความละอายต่อบาป เป็นผล อตฺตคารวปทฏฺฐานา มีความเคารพในตน เป็นเหตุใกล้ โอตตัปปเจตสิก ๔. โอตตัปปเจตสิก คือ ธรรมชาติที่มีความสะดุ้งกลัวต่อผลของบาป จึงไม่ทำบาป มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อตฺตาสนลกฺขณํ มีความสะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสํ มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ หน้า ๓๑ ปาปโตสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความละอายต่อบาป เป็นผล ปรคารวปทฏฺฐานํ มีความเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ หิริกับโอตตัปปะ จะเกิดได้ต้องอาศัย เหตุภายนอก ๔ เหตุภายใน ๘ อย่างใดอย่างหนึ่ง เหตุภายนอก ๔ ได้แก่ (๑) อตฺตานุวาทภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนด้วยตนเอง (๒) ปรวาทานุภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนจากผู้อื่น (๓) ทณฺฑภยํ กลัวต่อราชทัณฑ์ คือกฎหมายบ้านเมือง (๔) ทุคฺคติภยํ กลัวต่อภัยในอบายภูมิ เหตุภายใน ๘ ได้แก่ (๑) กุละ ละอายบาป กลัวบาปโดยคำนึงถึงตระกูลของตน (๒) วยะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงวัยของตน (๓) พาหุสัจจะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงการศึกษาของตน (๔) ชาติมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงชาติอันประเสริฐของตน (๕) สัตถุมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงพระพุทธเจ้า บิดา มารดา ครู อาจารย์ (๖) ทายัชชมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง มรดกของพระพุทธเจ้า ของบิดา มารดา ซึ่งตนเองจะต้องรับมรดกนั้น หน้า ๓๒ (๗) สพรหมจารีมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง เพื่อนที่ดีที่เคยคบมา (๘) สูรภาวะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง ความกล้าหาญและความสงบเสงี่ยมเจียมตัวของตน อโลภเจตสิก ๕. อโลภเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ไม่อยากได้ ไม่ข้องในอารมณ์ ไม่ติดในอารมณ์ เมื่อประสบในอารมณ์นั้น จะพยายามให้หลุดออกไปจากอารมณ์นั้น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อลคฺคภาวลกฺขโณ มีความไม่ติดอารมณ์ เป็นลักษณะ อปริคฺคหรโส มีการไม่หวงแหน เป็นกิจ อนลฺลีนภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่ยึดมั่น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ อโทสเจตสิก ๖. อโทสเจตสิก คือธรรมชาติที่ไม่โกรธ ไม่หยาบคาย ไม่มีปองร้าย ไม่ประทุษร้าย (มีเมตตาต่อกัน) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อจณฺฑิกลกฺขโณ มีความไม่ดุร้าย เป็นลักษณะ อาฆาตวินยรโส มีการทำลายความอาฆาต เป็นกิจ โสมภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีความร่มเย็น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๓ ขนฺติ คือความอดทน ทนตรากตรำ ทนลำบาก ทนต่อเหตุที่ทำให้เจ็บใจ อกฺโกธ คือ ความไม่โกรธ ส่วน เมตฺตา ยังประสงค์ให้ผู้อื่นมีความสุขอีกด้วย ทั้ง ขันติ อักโกธ และเมตตา นี้องค์ธรรมได้แก่ อโทส เมตตา มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งจิตใจของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ส่วนราคะ มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งร่างกายของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก ๗. ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก คือ การทำใจเป็นกลาง เป็นยุตติธรรม ไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง การวางใจเฉยในอารมณ์ (เป็นอุเบกขาในพรหมวิหาร) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จิตฺตเจตสิกานํ สมวาหิตลกฺขณา มีการทรงไว้ซึ่งจิตและเจตสิกให้เสมอภาค เป็นลักษณะ อูนาธิกตานิวารณรสา มีการห้ามความยิ่งหย่อน เป็นกิจ มชฺฌตฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเป็นกลาง(อุเบกขา) เป็นผล สมฺปยุตฺตานํปทฏฺฐานา มีสัมปยุตตธรรม เป็นเหตุใกล้ กายปัสสัทธิเจตสิก และ จิตตปัสสัทธิเจตสิก ๘.กายปัสสิทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของเจตสิก ๙. จิตตปัสสัทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของจิต หน้า ๓๔ เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํทรถวูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิตสงบจากความเร่าร้อน เป็นลักษณะ กายจิตฺตทรถนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความเร่าร้อนของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อปริปฺผนฺทนสีติภาว ปจฺจุปฏฺฐานา มีความเยือกเย็น ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายลหุตาเจตสิก และ จิตตลหุตาเจตสิก ๑๐. กายลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้เจตสิกเบาจากอกุสล ความเบาของเจตสิกจากอกุสล ๑๑. จิตตลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้จิตเบาจากอกุสล ความเบาของจิตจากอกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตครุภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิต สงบจากความหนัก เป็นลักษณะ กายจิตฺตครุภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความหนักของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํอทนฺธตาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หนักของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายมุทุตาเจตสิก และ จิตตมุทุตาเจตสิก ๑๒. กายมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกมีความอ่อนโยน ความอ่อนโยนของเจตสิก ทำให้เป็นไปง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล ๑๓. จิตตมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตอ่อนโยน เจตสิกที่ทำให้จิตอ่อนโยน เป็นไปได้ง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตถทฺธวูปสมลกฺขณา มีเจตสิก และมีการทำให้จิตสงบจากความแข็ง กระด้าง เป็นลักษณะ กายจิตฺตถทฺธภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความแข็งกระด้างของเจตสิก และของจิต เป็นกิจ อปฺปฏิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่โกรธไม่อาฆาต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายกัมมัญญตาเจตสิก และ จิตตกัมมัญญตาเจตสิก ๑๔. กายกัมมัญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ควรแก่การงานอันเป็นกุสล ความควรแก่การงานของเจตสิก ๑๕. จิตตกัมมัญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตควรแก่การงานอันเป็นกุสล การทำให้จิตควรแก่งาน เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตากมฺมญฺญภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิกทำให้จิตสงบจากความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ หน้า ๓๖ กายจิตฺตา กมฺมญฺญภาว นิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ควรแก่การงานของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อารมฺมณกรณสมฺปตฺติปจฺจุปฏฺฐานา ทำให้เจตสิก ทำให้จิตมีอารมณ์สมควรแก่การงาน เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ จิตที่ไม่ควรแก่การงาน จะใช้จิตทำสมาธิก็มีผลน้อย เช่นจิตที่มีร่างกายอ่อนเพลีย หรือป่วย เช่น ปวดหัว ปวดท้อง เมื่อร่างกายไม่สะบายการทำสมาธิก็ได้ผลน้อยเสียเวลาทำสมาธิ ๒ ชั่วโมง ก็ทำไม่ได้ เพราะจิตไม่มีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบ จิตและเจตสิกที่ไม่ควรแก่การงาน คือจิตและเจตสิกที่ถูกนิวรณ์ครอบงำ นิวรณ์เปรียบเหมือน ตะปูตรึงจิต หรือสนิมกินเนื้อเหล็กทำให้เหล็กกร่อน นิวรณ์ทั้ง ๕ อันมี กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ เมื่อนิวรณ์ครอบงำจิตแล้วจิตก็ไม่ควรแก่การงาน ต้องละนิวรณ์ให้ได้ก่อน แล้วจึงใช้จิตทำงาน เมื่อจิตมีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบแล้ว การทำสมาธิก็จะได้ผลในชั่วระยะเวลาเพียงเล็กน้อย กายปาคุญญตาเจตสิก และ จิตตปาคุญญตาเจตสิก ๑๖. กายปาคุญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้เจตสิกคล่องแคล่วต่อกุสล ความคล่องแคล่วของเจตสิกในกุสล ๑๗. จิตตปาคุญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตคล่องแคล่วต่อกุสล การทำให้จิตคล่องแคล่วในกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํ อเคลญฺญภาวลกฺขณา มีความไม่อาพาธของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตเคลญฺญนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความอาพาธ ของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ นิราทีนวปจฺจุปฏฺฐานา มีความปราศจากโทษ เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๗ กายุชุกตาเจตสิก และ จิตตุชุกตาเจตสิก ๑๘. กายุชุกตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกมุ่งตรงต่อกุสล ความมุ่งตรงของเจตสิกต่อกุสล ๑๙. จิตตุชุกตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล การทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตอชฺชวลกฺขณา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตกุฏิลภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ อชิมฺหตาปปจฺจุปฏฺฐานา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ วิรตีเจตสิก วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวะเจตสิก สัมมาวาจาเจตสิก ๑. สัมมาวาจาเจตสิก คือ การพูดชอบ พูดสิ่งที่เป็นกุสล เว้นจากวจีทุจริตทั้ง ๔ มี มุสาวาท พูดปด ปิสุณาวาท พูดส่อเสียด ผรุสวาท พูดหยาบคาย สัมผัปปลาป พูดเพ้อเจ้อไร้สาระ ทั้งนี้ไม่เกี่ยวกับอาชีพ หน้า ๓๘ สัมมาวาจามี ๓ ประการ ก. กถาสัมมาวาจา ได้แก่ การกล่าววาจาที่ดี มีศีลธรรม เพื่อหวังประโยชน์แก่ผู้ฟัง เช่น อาจารย์สอนศิษย์ เป็นต้น ข. เจตนาสัมมาวาจา ได้แก่ ผู้มีเจตนาสมาทานศีล ว่าจะละเว้นวจีทุจริต มีการไม่กล่าวมุสา เป็นต้น ค. วิรตีสัมมาวาจา ได้แก่ การเว้นจากวาจาทุจริตทั้ง ๔ มีเว้นจากมุสาวาท ปิสุณาวาท ผรุสวาท สัมผัปปลาป ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) (ไม่มีความตั้งใจไว้ก่อนเมื่อประสบกับอารมณ์เฉพาะหน้าจึงต้องงดเว้น) สัมมากัมมันตเจตสิก ๒. สัมมากัมมันตเจตสิก คือ ประกอบการงานชอบ การงานที่ไม่ทุจริต เว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มี ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และล่วงประเวณี เป็นการกระทำปกติ คือ เป็นการทำงานปกติประจำวัน ไม่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมากัมมันตะ มี ๓ ประการ ก. ยถาพลังสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การกระทำการงานโดยชอบ การงานที่ไม่ทุจริต มีการประกอบกุสล เป็นต้น ตามกำลังของตน ข. เจตนาสัมมากัมมันตะ ได้แก่เจตนาที่ตั้งใจสมาทานว่าจะละเว้นกายทุจริต มีการไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงประเวณี ค. วิรตีสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การเว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มีเว้นการฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การล่วงประเวณี ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงมาปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) หมายความว่าไม่ได้ตั้งใจไว้ก่อนว่าจะงดเว้น แต่มาประสบกับอารมณ์จึงต้องงดเว้นเฉพาะหน้า หน้า ๓๙ สัมมาอาชีวเจตสิก ๓. สัมมาอาชีวเจตสิก คือ ความเป็นอยู่ชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ประกอบอาชีพที่สุจริต เว้นจากทุจริตทั้ง ๗ คือ เว้นกายทุจริต ๓ และเว้นวจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมาอาชีวะ มี ๒ ประการ ก. วิริยสัมมาอาชีวะ ได้แก่ความเพียรในการกระทำการงานหาเลี้ยงชีพโดยชอบธรรม ข. วิรตีสัมมาอาชีวะ ได้แก่การงดเว้นจากกายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวแก่อาชีพ เจตสิก ๓ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทิวตฺถุนํ อวีติกฺกมลกฺขณามีการไม่ล่วงกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ กายทุจฺจริตวตฺถุโตสงฺโกจนรสา มีการเว้นจากกายทุจริต เป็นต้น เป็นกิจ อกริยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่ทุจริต เป็นผล สทฺธาหิโรตฺตปฺปาทิคุณปทฏฺฐานา มีคุณธรรมคือ สัทธา หิริโอตตัปป เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ อัปปมัญญาเจตสิก อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง ได้แก่ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก หน้า ๔๐ กรุณาเจตสิก ๑. กรุณาเจตสิก คือ มีความสงสาร อยากจะช่วยเหลือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่ หรือที่จะได้รับทุกข์ในภายหน้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ทุกฺขาปนยนาการปวตฺติลกฺขณา มีการได้เห็นผู้อื่นเป็นทุกข์ ย่อมมีความสงสาร เป็นลักษณะ ปรทุกฺขาสหนรสา มีการไม่ชอบเห็นทุกข์ของผู้อื่น เป็นกิจ อวิหึสาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่เบียดเบียน เป็นผล ทุกฺขาภิภูตานํ อนาถภาวทสฺสน ปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์อนาถา อันถูกทุกข์ ครอบงำ เป็นเหตุใกล้ อวิหึสา = ไม่เบียดเบียนผู้อื่น กรุณา = ยังประสงค์ช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์อีกด้วย โสก = เราสูญเสียของที่เรารัก ก็โศกเศร้า กรุณา = เห็นผู้อื่นสูญเสียสิ่งที่เขารัก เราก็ช่วยให้เขาพ้นทุกข์จากการเศร้าโศก เมตตา กรุณา เป็น อพยาปาท มุทิตา อุเบกขา เป็น อนภิชฌา (ไม่คิดจ้องจะเอาของเขา) มุทิตาเจตสิก ๒. มุทิตาเจตสิก คือ พลอยยินดีด้วยในเมื่อรู้ว่าเขามีความสุข มีความยินดีต่อสัตว์ที่ได้สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๔๑ ปโมทนลกฺขณา มีความยินดีด้วยในความสุขของผู้อื่น เป็นลักษณะ อนิสฺสายนรสา มีการไม่อิสสาริษยา เป็นกิจ อรติวิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความปรารถนาให้ผู้อื่นเจริญ เป็นผล สตฺตานํ สมฺปตฺติทสฺสนปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์มีสมบัติ เป็นเหตุใกล้ ปัญญาเจตสิก ปัญญาเจตสิก มีแต่ดวงเดียวไม่มีพวก มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญญินทรียเจตสิก ปัญญาเจตสิก คือความรู้ในเหตุผลแห่งความจริงของสภาวธรรมและทำลายความเห็นผิด หรือเป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา มีความรู้แจ้งซึ่งสภาวธรรม เป็นลักษณะ โมหนฺธการวิทฺธํสนรสา มีการกำจัดมืด เป็นกิจ อสมฺโมหปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หลงผิด หรือไม่เห็นผิด เป็นผล สมาธิปทฏฺฐานา มีสมาธิ เป็นเหตุใกล้ ปัญญานี้ มีอรรถาธิบายอย่างกว้างขวาง และแจกแจงได้หลายนัย หลายกระบวน เป็นจำนวนมากมาย แต่ในที่นี้จะกล่าวย่อ ๆ พอให้รู้เค้า จึงขอแจกแจงว่า ปัญญามีเพียง ๓ นัย เท่านั้น คือ ก. กัมมสกตาปัญญา ปัญญาที่รู้ว่า กรรมเป็นสมบัติของตน ข. วิปัสสนาปัญญา ปัญญาที่รู้ขันธ์ ๕ รูปนาม เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ค. โลกุตตรปัญญา ปัญญาที่รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจจ ๔ ปัญญาที่รู้เห็นความที่สัตว์มีกรรมเป็นสมบัติของตน อันเรียกว่า กัมมสกตาปัญญา นี้ มี ๑๐ ประการ คือ (๑) อตฺถิทินนํ ปัญญารู้เห็นว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ย่อมมีผล (๒) อตฺยิฏฐํ ปัญญารู้เห็นว่า การบูชาย่อมมีผล (๓) อตฺถิหุตํ ปัญญารู้เห็นว่า การบวงสรวงเทวดา ย่อมมีผล (๔) อตฺถิกมฺมานํ ผลํวิปาโก ปัญญารู้เห็นว่า ผลวิบากของกรรมดีและชั่วมีอยู่ (ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทั้งทางตรงและทางอ้อม) (๕) อตฺถิอยํโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกนี้มีอยู่ (ผู้จะมาเกิดนั้นมี) (๖) อตฺถิปโรโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกหน้ามีอยู่ (ผู้จะไปเกิดนั้นมี) (๗) อตฺถิมาตา ปัญญารู้เห็นว่า มารดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อมารดาย่อมจะได้รับผล) (๘) อตฺถิปิตา ปัญญารู้เห็นว่า บิดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อบิดาย่อมจะได้รับผล) (๙) อตฺถิ สตฺตโอปปาติกา ปัญญารู้เห็นว่าโอปปาติกสัตว์นั้นมีอยู่ (สัตว์นรก เปรต อสุรกาย เทวดา พรหมนั้นมี) (๑๐) อตฺถิ โลเกสมณพฺรหฺมณา สมฺมาปฏิปนฺนา ปัญญารู้เห็นว่าสมณพราหมณ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ประกอบด้วยความรู้ยิ่ง เห็นจริง หน้า ๔๓ ประจักษ์ซึ่งโลกนี้ และโลกหน้าด้วยตนเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้นั้นมีอยู่ในโลกนี้ สัมปโยคนัย สัมปโยค แปลว่า ประกอบพร้อม ในที่นี้หมายความว่า เจตสิกแต่ละดวงนั้น ดวงหนึ่ง ๆ ประกอบกับจิตได้กี่ดวง คือจิตใดบ้าง ซึ่งจะได้แสดงต่อไปนี้ ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๓) ว่า ๓. เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ ยถาโยคมิโต ปรํ จิตฺตุปฺปาเทสุ ปจฺเจกํ สมฺปโยโค ปวุจฺจติ ฯ แปลความว่า เบื้องหน้าแต่นี้จะแสดงสัมปโยคะ แห่งธรรม (คือเจตสิก) เหล่านี้ อันประกอบกับจิต เฉพาะในจิตตุปปาทะ (จิตที่เกิดขึ้น) ดวงหนึ่ง ๆ โดยสมควรแก่ที่จะประกอบได้ สัมปโยคนัยแห่งอัญญสมานาเจตสิก ๔. สตฺต สพฺพตฺถ ยุชฺชนติ ยถาโยคํ ปกิณฺณกา จุทฺทสากุเลเสฺวว โสภเณเสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ๑. สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (๗ ดวง) ประกอบในจิตได้ทุกดวง(โดยย่อจิตมี ๘๙ ดวง) ๒. ปกิณณกเจตสิก (๖ ดวง) ประกอบกับจิตได้เฉพาะแต่ที่ควร (ประกอบ ได้ บางดวง) ๓. อกุสลเจตสิก (๑๔ ดวง) ประกอบได้เฉพาะในอกุสลจิต ๑๒ ดวงเท่านั้น ๔. โสภณเจตสิก (๒๕ ดวง) ประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น หน้า ๔๔ ๕. ฉสฏฺสี ปญฺจปญฺญฺาส เอกาทส จ โสฬส สตฺตติ วีสติ เจว ปกิณฺณกวิวชฺชิตา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกไม่ประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง วิจาร ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง อธิโมกข ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง วิริยะ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ปีติ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง ฉันทะ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง ๖. ปญฺจปญฺญาส ฉสฎฺฐิ ฏฐสตฺตติ ติสตฺตติ เอกปญฺญาส เจกูน สตฺตติ สปกิณฺณกา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกย่อมเข้าประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๕ ดวง วิจาร ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๖ ดวง อธิโมกข ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๘ ดวง วิริยะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ปีติ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ฉันทะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๙ ดวง หน้า ๔๕ อธิบาย รวมความว่า อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับจิตต่าง ๆ ได้นั้น แบ่งออกเป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ สัพพจิตตสาธารณ ๗ ดวง คือ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย และ มนสิการ นี้ประกอบกับจิตได้ทั้งหมดทุกดวง คือทั้ง ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดาร ก็ทั้ง ๑๒๑ ดวง ไม่มีเว้นเลย นัยที่ ๒ วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง แต่ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง นัยที่ ๓ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง นัยที่ ๔ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๘ ดวง ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง นัยที่ ๕ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นัยที่ ๖ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง นัยที่ ๗ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๙ ดวง ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทุติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ ตติยฌาน ๑๑ ปฐมฌานจิต ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ หน้า ๔๖ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๖ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาน ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ตติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ ทุติยฌาน ๑๑ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๗๘ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๑ (เว้นวิจิกิจฉาจิต) วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ได้ ๗๓ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๖ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑ กับ หสิตุปปาทจิต ๑ ) หมายเหตุ จิต ๑๖ ดวง ที่วิริยเจตสิก ไม่ประกอบนี้มีชื่อเรียกว่า อวีริยจิต ๑๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๗ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๕๑ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง คือ โสมนัสโลภมูลจิต ๔ อุเบกขาโลภมูลจิต ๔ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ โทสมูลจิต ๒ โสมนัสหสิตุปปาทจิต ๑ โมหมูลจิต ๒ โสมนัสกามโสภณจิต ๑๒ อุเบกขาอเหตุกจิต ๑๔ ปฐมฌานจิต ๑๑ กายวิญญาณจิต ๒ ทุติยฌานจิต ๑๑ อุเบกขากามโสภณจิต ๑๒ ตติยฌานจิต ๑๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ ปัญจมฌานจิต ๒๓ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๙ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามโสภณจิต ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๘ สัมปโยคนัยแห่งอกุสลเจตสิก ๗. สพฺพาปุญฺเญสุ จตฺตาโร โลภมูเล ตโย คตา โทสมูเลสุ จตฺตาโร สสงฺขาเร ทวยํ ตถา ฯ แปลความว่า เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ อกุศลจิตทั้งหลาย เจตสิก ๓ ดวง ย่อมประกอบกับ โลภมูลจิต เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ โทสมูลจิต เจตสิก ๒ ดวง ย่อมประกอบกับ สสังขาริกจิต ๘. วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉา จิตฺเต จาติ จตุทฺทส ทฺวาทสากุสเลเสฺวว สมฺปยุชฺชนฺติ ปญฺจธา ฯ แปลความว่า วิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาจิต (เท่านั้น) อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง ย่อมประกอบกับอกุศลจิต ๑๒ ดวง โดยสัมปโยคนัย ๕ อย่าง ดังนี้ อธิบาย รวมความว่า อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับอกุสลจิตนั้นแบ่งออกเป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ เจตสิก ๔ ดวง คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โมจตุกะ หรือสัพพากุสลสาธารณเจตสิกนั้น ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด คือทั้ง ๑๒ ดวง นัยที่ ๒ เจตสิก ๓ ดวงคือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และ มานเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โลติกะ นั้น โลภเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ทั้งหมด คือ ทั้ง ๘ ดวง ทิฏฐิเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ เฉพาะแต่ที่เป็นทิฏฐิคตสัมป ยุตตจิต ๔ ดวง มานเจตสิก ก็ประกอบกับโลภมูลจิตได้เฉพาะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง นัยที่ ๓ เจตสิก ๔ ดวง คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โทจตุกะ นั้น ย่อมประกอบกับโทสมูลจิต ๒ ดวง นัยที่ ๔ เจตสิก ๒ ดวง คือ ถีนเจตสิกและมีทธเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า ถีทุกะ นั้นย่อมประกอบกับ สสังขาริกในอกุสลจิต อันมีจำนวน ๕ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๔ ดวง และโทสมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๑ ดวง นัยที่ ๕ เจตสิก ๑ ดวง คือวิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาสหคตจิต ได้เฉพาะดวงเดียวเท่านั้น สัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิก ๙. เอกูนวีสติธมฺมา ชายนฺเตกูนสฏฺฐิสุ ตโย โสฬส จิตฺเตสุ อฏฺฐวีสติตํ ทฺวยํ ฯ หน้า ๕๐ แปลความว่า ธรรม ๑๙ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๕๙ ดวง ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ๑๐. ปญฺญา ปกาสิตา สตฺต จตฺตาฬีส วิเธสุปิ สมฺปยุตฺตา จตุเธวํ โสภเณเสสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง โสภณเจตสิก ย่อมประกอบกับโสภณจิตโดยสัมปโยคนัย ๔ อย่าง ดังนี้ อธิบาย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ย่อมประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น และก็มิได้ประกอบพร้อมกันทั้งหมด ดังนั้นจึงแสดงสัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิกไว้เป็น ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ ธรรม ๑๙ ดวงนั้น หมายถึงโสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ย่อมเข้าประกอบกับโสภณจิต ทั้ง ๕๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็ทั้ง ๙๑ ดวง กล่าวคือ โสภณจิตทั้ง ๕๙ หรือ ๙๑ ดวง ไม่ว่าจะ เป็นจิตดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น โสภณสาธารณเจตสิกก็จะเข้าประกอบพร้อมกันทันทีทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ได้แก่ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา หน้า ๕๑ นัยที่ ๒ ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นั้น หมายถึงวิรตีเจตสิก ๓ ดวง คือสัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวเจตสิก ย่อมประกอบได้กับจิต ๑๖ ดวง ได้แก่ มหากุสลจิต ๘ โลกุตตรจิต ๘ นัยที่ ๓ ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง นั้น หมายถึงอัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง คือ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ซึ่งได้แก่ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๒ (เว้นรูปาวจรปัญจมฌานจิต ๓) นัยที่ ๔ ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง ซึ่งได้แก่ กามาวจรญาณสัมปยุตตจิต ๑๒ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ อนิยตโยคีเจตสิก อนิยตโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบไม่แน่นอน หมายความว่าเจตสิก นั้นบางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ ๑๑. อิสฺสมจฺฉเรกุกฺกุจฺจ วิรตี กรุณา ทโย นานา กทาจิ มาโนจ ถีนมิทฺธํ ตถา สห ฯ แปลความว่า อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิรตี(๓ ดวง) กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ มิทธะ ย่อมประกอบกับจิตเป็นครั้งคราวไม่พร้อมกัน (ทั้ง ๑๑ ดวงนี้ เป็น อนิยตโยคีเจตสิก) หน้า ๕๒ ๑๒. ยถาวุตฺตานุสาเรน เสสา นิยตโยคิโน สงฺคหญจ ปวกฺขามิ เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า อาศัยนัยที่กล่าวมานี้ เจตสิกที่เหลือ พึงรู้ว่าเป็น นิยตโยคีเจตสิก เจตสิกที่เหลือ (๔๑ ดวง) เป็นนิยตโยคีเจตสิก (ประกอบได้แน่นอน) ต่อไปนี้จะได้กล่าวสังคหนัยของเจตสิก ตามสมควร อธิบาย เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง จำแนกได้ ๒ ประเภท คือ อนิยตโยคีเจตสิก และนิยตโยคีเจตสิก ก. อนิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่เป็นที่แน่นอนกล่าวคือ ประกอบเป็นครั้งคราว มีจำนวน ๑๑ ดวง ได้แก่ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ และมิทธะ ข. นิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตเสมอ เป็นที่แน่นอนมี ๔๑ ดวงคือ เจตสิกที่เหลือจาก ๑๑ ดวง นั่นเอง อนิยตโยคีเจตสิก ที่ว่าประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่แน่นอน บางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ เป็นดังนี้ ๑. อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ๓ ดวงนี้ ถ้าจะเกิดก็ต้องเกิดร่วมกันพร้อมกับโทสจิต และจะต้องเกิดทีละดวง คือทีละอย่างเท่านั้น เพราะอารมณ์ต่างกัน การประกอบเป็นครั้งคราวและทีละดวง เช่นนี้เรียกว่า นานากทาจิ หน้า ๕๓ เวลาที่ริษยาสมบัติของผู้อื่น อิสสาเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่มัจฉริยะและกุกกุจจะไม่เกิด เพราะอารมณ์คนละอย่างต่างกัน เวลาที่เหนียวแน่นในสมบัติของตน มัจฉริยเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและกุกกุจจะไม่เกิด เวลาที่เศร้าใจ รำคาญใจ ในบาปที่ตนได้กระทำไปแล้ว หรือในการบุญที่ตนไม่ได้ทำ กุกกุจจะเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและมัจฉริยะไม่เกิด ๒. วิรตี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตะเจตสิก และ สัมมาอาชีวเจตสิก นั้น ถ้าเป็นโลกีย์ ประกอบกับจิตที่เป็นมหากุสล ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางคราว และประกอบทีละดวง เวลาที่เว้น วจีทุจริต ๔ คือ มุสาวาจา ปิสุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปวาจา ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้นสัมมาวาจาก็เกิด แต่สัมมากัมมันตะและสัมมาอาชีวะ ไม่เกิด เวลาที่เว้นกายทุจริต ๓ คือ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้น สัมมากัมมันตะก็เกิด แต่สัมมาวาจาและสัมมาอาชีวะไม่เกิด เวลาที่เว้นวจีทุจริต ๔ และเว้นกายทุจริต ๓ ที่รวมเรียกว่าเว้นทุจริต ๗ ที่เกี่ยวกับอาชีพเวลานั้นสัมมาอาชีวะเกิด แต่ถือว่าสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะไม่เกิด หน้า ๕๔ แต่ถ้าเป็นโลกุตตรโดยประกอบกับโลกุตตรจิตแล้ว ก็เป็น นิยตเอกโต คือต้องประกอบแน่นอนและประกอบพร้อมกันทั้ง ๓ ดวง เพราะวิรตีนี้เป็นองค์มัคคมีหน้าที่ประหารกิเลส ถ้าวิรตีไม่เกิด มัคคจิตก็จะเกิดไม่ได้เลย ๓. กรุณาเจตสิก กับมุทิตาเจตสิก ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง เวลาใดที่รับเอาทุกขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่เป็นอารมณ์เกิดกรุณาสงสารต่อสัตว์นั้น ปรารถนาช่วยสัตว์นั้นให้พ้นทุกข์ กรุณาเจตสิกก็เกิดแต่มุทิตาเจตสิกไม่เกิด เวลาใดที่รับเอาสุขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังมีความสุขอยู่เป็นอารมณ์แล้วก็พลอยปิติยินดีกับเขาด้วยเช่นนี้ มุทิตาเจตสิกก็เกิด แต่กรุณาเจตสิกไม่เกิด ๔. มานเจตสิก เพราะมีดวงเดียว ไม่มีพวก จึงเรียกว่าเป็น กทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้ง (ไม่ใช่ นานากทาจิ ซึ่งหมายความว่าประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง) มานเจตสิกนี้ถ้าจะเกิด ก็เกิดใน โลภทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง ๕. ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก คู่นี้เป็น สหกทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและพร้อมกัน หมายความว่า ถ้าจะประกอบก็ต้องประกอบด้วยกันพร้อมกันทั้งคู่ (ไม่ใช่ทีละดวง) หรือถ้าไม่ประกอบก็ไม่ประกอบทั้งคู่ หน้า ๕๕ สังคหนัย สังคหะ แปลว่า รวบรวม หรือสงเคราะห์ ในที่นี้มีความหมายว่า จิตแต่ละดวงได้รวบรวมเจตสิกเข้ามาไว้เท่าใด คืออะไรบ้าง หรือจิตแต่ละดวงมีเจตสิกอะไรบ้าง รวมเป็นจำนวนเท่าใดมาสงเคราะห์จิตนั้น ๑๓. ฉตฺตึสานุตฺตเร ธมฺมา ปญฺจตึส มหคฺคเต อฏฺฐตึสาปิ ลพฺภนฺติ กามาวจรโสภณเณ ฯ ๑๔. สตฺตวีสติปญฺญมฺหิ ทฺวาทสาเหตุเกติ จ ยถาสมฺภวโยเคน ปญฺจธา ตตฺถ สงฺคโห ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๖ ดวง(โลกุตตรจิตอย่างย่อ๘ ดวง) มหัคคตจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๕ ดวง กามาวจรโสภณจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๘ ดวง อกุสลจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๒๗ ดวง อเหตุกจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๑๒ ดวง จิตที่ถูกประกอบด้วยเจตสิก โดยสังคหนัย ๕ อย่าง อนุตตรสังคหนัย อนุตตร มีความหมายว่า เหนืออย่างไม่มีอะไรเหนือกว่า หรือแม้แต่จะเหนือเท่า พ้นอย่างไม่มีอะไรจะเทียบได้ ทั้งนี้ก็หมายถึงโลกุตตรนั่นเอง ดังนั้นอนุตตรสังคหนัย ก็คือ สังคหนัยแห่งโลกุตตรจิต นั่นแหละ ๑๕. ฉตฺตึส ปญฺจตึสา จ จตุตฺตึส ยถากฺกมํ เตตฺตึส ทฺวยมิจฺเจวํ ปญฺจธานุตฺตเร ฐิตา ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิตนั้น (อย่างพิศดาร ๔๐ ดวง) มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับ คือ ๓๖ นัยหนึ่ง , ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ คู่หนึ่ง อธิบาย นัยที่ ๑ ปฐมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปฐมฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญาเจตสิก ๒) นัยที่ ๒ ทุติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ทุติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นวิตกเจตสิก) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) นัยที่ ๓ ตติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ตติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นวิตก วิจาร) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) นัยที่ ๔ จตุตถฌานมัคคจิต ๔ ดวง จตุตถฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) หน้า ๕๗ นัยที่ ๕ ปัญจมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปัญจมฌานผลจิต ๔ ดวงมีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) มหัคคตสังคหนัย ๑๖. ปญฺจตึส จตุตฺตึส เตตฺตึส จ ยถากฺกมํ พาตฺตึส เจว ตึเสติ ปญฺจธาว มหคฺคเต แปลความว่า มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับคือ ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ นัยหนึ่ง , ๓๒ นัยหนึ่ง และ ๓๐ นัยหนึ่ง อธิบาย มหัคคตจิต ๒๗ ดวงนั้น เมื่อนับตามอำนาจแห่งฌานแล้ว ก็มีเจตสิกประกอบไม่เท่ากัน จึงจัดได้เป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ ปฐมฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๒ ทุติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มี หน้า ๕๘ เจตสิกประกอบ ๓๔ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒(เว้นวิตกเจตสิก)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๓ ตติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นวิตก วิจาร)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๔ จตุตถฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๕ ปัญจมฌาน ๑๕ ดวง คือ รูปาวจรปัญจมฌาน กุสล วิบาก กิริยา ๓ ดวง อรูปาวจร กุสล วิบาก กิริยา ๑๒ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐(เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก๒๐(เว้นวิรตี ๓ อัปปมัญญา ๒) กามาวจรโสภณสังคหนัย ๑๗. อฏฐตึส สตฺตตึส ทฺวยํ ฉตฺตึสกํ สุเภ ปญฺจตึส จตุตฺตึส ทฺวยํ เตตฺตึสกํ กฺริเย ฯ ๑๘. เตตฺตึส ปาเก พาตฺตึสทฺ วเยกตึสกํ ภว สเหตุกกามาวจร ปญฺญปากกฺริยามเน ฯ แปลความว่า ในสเหตุกกามาวจร กุสล วิบาก กิริยา มีสังคหะ หน้า ๕๙ ตามลำดับคือ มหากุศล มี ๓๘ หนึ่งนัย ๓๗ สองนัย ๓๖ หนึ่งนัย มหาวิบาก มี ๓๕ หนึ่งนัย ๓๔ สองนัย ๓๓ หนึ่งนัย มหากิริยา มี ๓๓ หนึ่งนัย ๓๒ สองนัย ๓๑ หนึ่งนัย อธิบาย ในกามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวงนั้น มีสังคหะรวม ๑๒ นัย ดังนี้ คือ มหากุสล ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๘, ๓๗, ๓๗, ๓๖ มหากิริยา ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๕, ๓๔, ๓๔, ๓๓ มหาวิบาก ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๓, ๓๒, ๓๒, ๓๑ นัยที่ ๑ มหากุสล คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ ที่เป็นญาณสัมปยุตต ทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง เต็มที่ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๒ มหากุสล คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ ซึ่งเป็นญาณวิปปยุตตทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) นัยที่ ๓ มหากุสล คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ ซึ่งเป็นอุเบกขาทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๔ มหากุสล คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ ซึ่งทั้งคู่เป็นอุเบกขาด้วยเป็นญาณวิปปยุตตด้วย มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญา) หน้า ๖๐ นัยที่ ๕ มหากิริยาคู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๖ มหากิริยาคู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ๓ ปัญญา ๑) นัยที่ ๗ มหากิริยา คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี) นัยที่ ๘ มหากิริยา คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ปัญญา) นัยที่ ๙ มหาวิบาก คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) นัยที่ ๑๐ มหาวิบาก คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) นัยที่ ๑๑ มหาวิบาก คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) หน้า ๖๑ นัยที่ ๑๒ มหาวิบาก คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) โสภณเจตสิกที่ไม่ได้สังคหนัย ต่อไปนี้จะแสดงโสภณเจตสิกบางดวง ที่ไม่ได้ประกอบกับโสภณจิต บางประเภท ๑๙. น วิชฺชนเตตฺถ วิรตี กฺริเยสุ จ มหคฺคเต อนุตฺตเร อปฺปมญฺญา กามปาเก ทฺวยํ ตถา ฯ แปลความว่า โสภณเจตสิกที่กล่าวมานี้ ในมหากิริยาจิต ย่อมไม่มีวิรตีเจตสิก ในโลกุตตรจิต ย่อมไม่มีอัปปมัญญาเจตสิก ในมหาวิบากจิต ย่อมไม่มีทั้ง ๒ (คือทั้งวิรตี และ อัปปมัญญา) อธิบาย ๑. ในมหากิริยาจิต ๘ ดวง ทั้งนี้เป็นเพราะมหากิริยาจิต เป็นจิตของพระอรหันต์ ซึ่งจบการศึกษาแล้ว เป็นผู้ที่ปราศจากบาปธรรมทั้งปวง ตั้งแต่อรหัตตผลได้เกิดขึ้นแล้ว จึงไม่จำเป็นหรือไม่มีกิจที่จะต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่วหรือเว้นเลี้ยงชีพชั่วอีกเลย ด้วยว่าไม่มีกิเลสเหลือที่จะให้ทำชั่วอย่างนั้น หรืออย่างไหน ๆ ทั้งสิ้น หน้า ๖๒ ๒. ในมหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกประกอบ เพราะมหัคคตจิตเกิดขึ้นโดยมีกัมมัฏฐานเป็น อารมณ์ ไม่ใช่เกิดขึ้นโดยอาศัยการเว้นทุจริตซึ่งจะต้องมีวิรมิตัพพวัตถุ (วัตถุอันพึงเว้น) เป็นอารมณ์แต่อย่างใด ๓. ในโลกุตตรจิต ไม่มีอัปปมัญญาเจตสิกประกอบ เพราะอัปปมัญญาเจตสิก จะต้องมีสัตว์บัญญัติเป็นอารมณ์ แต่โลกุตตรจิตนั้นมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว ๔. ในมหาวิบากจิต ๘ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกทั้ง ๓ และอัปปมัญญาเจตสิกทั้ง ๒ รวม ๕ ดวงนี้ ประกอบด้วยเลย เพราะมหาวิบากเป็นจิตที่เป็นผลของมหากุสล ทำหน้าที่ปฏิสนธิ เป็นต้น เมื่อขณะปฏิสนธินั้น ไม่ต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่ว และเว้นเลี้ยงชีพชั่ว ทั้งขณะนั้นก็ไม่ได้กรุณาสงสารผู้ใด ไม่ได้มีมุทิตา คือพลอยยินดีกับใคร อันเป็นการเว้น คือไม่เกิด หรือเกิดขึ้นไม่ได้อยู่แล้วตามธรรมชาติ จึงไม่ต้องมีวิรตีเจตสิก อัปปมัญญเจตสิก มาประกอบ ธรรมบางประการที่ทำให้จิตต่างกัน ๒๐. อนุตฺตเร ฌานธมฺมา อปฺปมญฺญา จ มชฺฌิเม วิรตี ญาณ ปีติ จ ปริตฺเตสุ วิเสสกา ฯ แปลความว่า ในโลกุตตรจิต ฌานธรรมย่อมทำให้ต่างกัน ในมหัคคตจิต ฌานธรรมและอัปปมัญญา ทำให้ต่างกัน ในกามาวจรโสภณจิต วิรตี ญาณ ปีติ ทำให้ต่างกัน อธิบาย ๑. ในโลกุตตรจิตนั้น ฌานธรรม คือฌานทั้ง ๕ ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือต่างกันจาก ๘ ดวง เป็น ๔๐ ดวง และ วิตกเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปฐมฌาน ต่างกับโลกุตตร ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกุตตร ทุติยฌาน ต่างกับโลกุตตร ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกุตตร ตติยฌาน ต่างกับโลกุตตร จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร จตุตถฌาน ต่างกับโลกุตตร ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปัญจมฌาน ต่างกับโลกุตตร ฌานต้น ๆ ๒. ในมหัคคตจิตนั้น ฌานธรรมและอัปปมัญญาเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกัน ดังต่อไปนี้ วิตกเจตสิก ทำให้โลกีย ปฐมฌาน ต่างกับโลกีย ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกีย ทุติยฌาน ต่างกับโลกีย ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกีย ตติยฌาน ต่างกับโลกีย จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย จตุตถฌาน ต่างกับโลกีย ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ อัปปมัญญาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ ๓. ในกามาวจรโสภณจิตนั้น วิรตีเจตสิก ญาณคือ ปัญญาเจตสิกและปีติเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกันดังนี้ มหากุสลจิต มีวิรตีประกอบ ทำให้ต่างกับมหากิริยาจิต ซึ่งไม่มีวิรตีประกอบ หน้า ๖๔ จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต มีปัญญาเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่เป็นญาณวิปปยุตต ซึ่งไม่มีปัญญาเจตสิกประกอบ จิตที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา มีปีติเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่ไม่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา ซึ่งไม่มีปีติเจตสิกประกอบ อนึ่ง มีข้อที่ควรสังเกตว่า ในกรณีใดที่ปัญญาเจตสิก หรือปีติเจตสิกจึงประกอบ หรือไม่ประกอบนั้น ดังนี้ จิตดวงใดที่เป็นญาณสัมปยุตตแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปัญญาเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน จิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนาแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปีติเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน (เฉพาะกามจิต) ดังนั้น ก็พึงเป็นที่เข้าใจได้ว่า จิตดวงใดที่เป็นญาณวิปปยุตต คือไม่ประกอบด้วยปัญญาแล้ว ปัญญาเจตสิกก็ย่อมไม่เข้าประกอบอยู่เอง และจิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโทมนัสเวทนา ความเสียใจก็ดีเกิดพร้อมด้วยอุเบกขาเวทนา เฉย ๆ ก็ดี ปีติ คือความอิ่มใจ ย่อมเข้าประกอบด้วยไม่ได้เลย เพราะความเสียใจ หรือความเฉย ๆ จะไม่มีความอิ่มใจ อกุสลสังคหนัย ๒๑. เอกูนวีสฏฺฐารส วีเสกวีส วีสติ ทฺวาวีส ปนฺนรเสติ สตฺตธากุสเล ฐิตา ฯ แปลความว่า อกุศลจิตมีสังคหะ ๗ นัย ตามลำดับ คือ ๑๙ นัยหนึ่ง , ๑๘ นัยหนึ่ง , ๒๑ นัยหนึ่ง , ๒๐ นัยหนึ่ง , ๒๒ นัยหนึ่ง และ ๑๕ นัยหนึ่ง หน้า ๖๕ อธิบาย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบได้ รวมทั้งหมด ๒๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ อกุสลเจตสิก ๑๔ แต่ว่า อกุสลจิตแต่ละดวงนั้นมีเจตสิกประกอบได้ไม่เท่ากัน ดังนั้นอกุสล จิต ๑๒ ดวง จึงจัดสังคหะได้เป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ โลภมูลจิตดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๓ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๙ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ สัพพากุสลสาธารณเจตสิกหรือโมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๑) มานเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๓) นัยที่ ๒ โลภมูลจิตดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๗ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๘ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑(ประกอบเฉพาะดวงที่ ๕) มานเจตสิก (ประกอบ เฉพาะดวงที่ ๗) นัยที่ ๓ โลภมูลจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๔ อันเป็นสสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๑ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๒) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๔) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๔ โลภมูลจิตดวงที่ ๖ กับดวงที่ ๘ อันเป็นสสังขาริก เหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๐ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) หน้า ๖๖ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๖) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๘) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๕ โทสมูลจิตดวงที่ ๑ อันเป็นอสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ นัยที่ ๖ โทสมูลจิตดวงที่ ๒ อันเป็นสสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๒ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๗ โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบเป็นจำนวนเท่ากัน คือ ๑๕ ดวง แต่มีที่ต่างกัน คือ ก. โมหมูลจิต ดวงที่ ๑ได้แก่ วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิตหรือวิจิกิจฉาสหคตจิต เจตสิกที่ประกอบคืออัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นอธิโมกข์ ปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวม ๑๕ ดวง ข. โมหมูลจิต ดวงที่ ๒ ได้แก่ อุทธัจจสัมปยุตตจิต มีเจตสิกที่ประกอบ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ รวม ๑๕ ดวง เท่ากันกับ ก. สัพพากุสลโยคีเจตสิก ๒๒. สาธารณา จ จตฺตาโร สมานา จ ทสาปเร จุทฺทเสเต ปวุจฺจนฺติ สพฺพากุลสโยคิโน ฯ หน้า ๖๗ แปลความว่า สัพพากุสลสาธารณเจตสิก ๔ ดวง อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก อธิบาย สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด (ทั้ง ๑๒ ดวง) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก หรือโมจตุกะ ๔ ดวงคือ โมห อหิริก อโนตตัปป อุทธัจจ กับอัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง คือ ผัสส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร และ วิริยะ (เว้นอธิโมกธ ปีติ ฉันทะ) รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเป็นเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด หมายความว่า อกุสลจิตทั้ง ๑๒ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงหนึ่งดวงใดเกิดขึ้นเป็นต้องมีเจตสิกทั้ง ๑๔ ดวงนี้ ประกอบเสมอไปอย่างแน่นอน อเหตุกสังคหนัย ๒๓. ทฺวาทเสกาทส ทส สตฺต จาติ จตุพฺพิโธ อฏฐารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ สงฺคโห ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย ตามลำดับ คือ ๑๒ หนึ่งนัย , ๑๑ หนึ่งนัย , ๑๐ หนึ่งนัย , ๗ หนึ่งนัย หน้า ๖๘ อธิบาย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ประเภทเดียวเท่านั้น คือ อัญญสมานาเจตสิก และอัญญสมานาเจตสิกก็เข้าประกอบกับอเหตุกจิตได้เป็นอย่างมากเพียง ๑๒ ดวงเท่านั้น ส่วนอีกดวง คือ ฉันทเจตสิกเข้าประกอบกับอเหตุกจิตด้วยไม่ได้เลยเป็นเด็ดขาดแน่นอน เหตุที่ฉันทเจตสิกไม่ประกอบกับอเหตุกจิตเลยนั้น เพราะว่าฉันทเจตสิกนี้มีลักษณะ คือ ความพอใจในอารมณ์ มีความปรารถนาจะกระทำ มีความปลงใจกระทำ ส่วนอเหตุกจิตนั้นเป็นจิตที่แม้ว่าจะปลงใจกระทำหรือไม่ ก็ต้องเกิด เช่น จักขุวิญญาณจิต มีหน้าที่เห็นรูป ไม่ว่ารูปนั้นจะสวยงามอยากเห็นหรือเป็นรูปที่น่าเกลียดน่ากลัวไม่อยากเห็น เมื่อรูปนั้นมาปรากฏเฉพาะหน้า ก็จะต้องเห็น จะเลือกเห็นเฉพาะรูปที่สวยงามไม่ได้ ทางโสตวิญญาณจิต มีหน้าที่ได้ยินเสียงก็เช่นกัน จะเลือกได้ยินแต่เสียงที่เพราะ ๆ รื่นหู ก็ไม่ได้ ซึ่งผิดกับจิตอื่นที่มีฉันทเจตสิกประกอบ เช่นโทสจิต เป็นต้น เมื่อได้เห็นสิ่งที่ไม่ดี เช่นเห็นสุนัขขี้เรื้อน ผู้เห็นพอใจปลงใจจะให้เกิดความเกลียดชังก็ได้ หรือจะเลือกในทางไม่เกลียดก็ได้ ถ้าเลือกในทางเกลียด โทสจิตก็เกิด ถ้าเลือกในทางสงสารว่าเป็นกรรมของสัตว์นั้น โทสจิตก็ไม่เกิด แต่กลับเป็นโสภณจิต ดังนั้นฉันทเจตสิกจึงไม่เกิดร่วมกับอเหตุกจิตเลย เพราะเป็นจิตที่เลือกไม่ได้ตามใจชอบ หน้า ๖๙ อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ดวง อันเป็นจิตยิ้มแย้มของพระอรหันต์โดยเฉพาะ บุคคลอื่นใดไม่มีจิตดวงนี้ หสิตุปปาทมีเจตสิกประกอบ ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันท) นัยที่ ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง (เรียกอีกชื่อหนึ่งตามกิจ หรือหน้าที่การงานว่า โวฏฐัพพนจิตก็ได้) และโสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง จิต ๒ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบ ๑๑ ดวง เท่ากัน แต่มีที่ต่างกัน คือ เจตสิกที่ประกอบกับมโนทวาราวัชชนจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก และฉันทเจตสิก) ส่วนเจตสิกที่ประกอบกับโสมนัสสันตีรณจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ แต่เว้นวิริยเจตสิก กับฉันทเจตสิก นัยที่ ๓ มโนธาตุ ๓ ดวง (ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง) กับอเหตุกปฏิสนธิจิต ๒ ดวง (คืออุเบกขาสันตีรณจิต ๒) รวมจิต ๕ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบได้ ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิริย ปีติ ฉันท) นัยที่ ๔ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ดวง มีเจตสิกประกอบได้จำพวกเดียว คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเท่านั้นเอง ๒๔. อเหตุเกสุ สพฺพตฺถ สตฺต เสสา ยถารหํ อิติ วิตฺถารโต วุตฺโต เตตฺตึสวิธ สงฺคโห ฯ หน้า ๗๐ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวงนี้ ย่อมประกอบด้วย สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเสมอ ส่วน ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวงนั้น ย่อมประกอบกับจิตตามที่จะประกอบได้ เมื่อนับโดยพิสดารย่อมได้สังคหนัย ๓๓ นัยดังได้กล่าวมาแล้ว ๒๕. อิตถํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ สมฺปโยคญฺจ สงฺคหํ ญตฺวา เภทํ ยถาโยคํ จิตฺเตน สมมุทฺทิเส ฯ แปลความว่า ตามที่ได้กล่าวมา พึงรู้สัมปโยคนัยและสังคหนัยของเจตสิกเสียก่อน แล้วจึงจำแนกประเภทของจิตและ เจตสิกที่ประกอบกัน ตามที่จะเข้ากันได้เถิด อธิบาย สัมปโยคนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่า เจตสิกแต่ละดวงเข้าประกอบกับจิตใดบ้าง สังคหนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่าจิตแต่ละดวงมีเจตสิกใดมาร่วมสงเคราะห์บ้าง สัมปโยคนัย มี ๑๖ นัย คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ได้สัมปโยค ๑ นัย ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวง ได้สัมปโยค ๖ นัย อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง ได้สัมปโยค ๕ นัย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ได้สัมปโยค ๔ นัย รวม ๕๒ ดวง ได้สัมปโยค ๑๖ นัย หน้า ๗๑ สังคหนัย มี ๓๓ นัย คือ โลกุตตรจิต ๔๐ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง มีสังคหะ ๑๒ นัย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีสังคหะ ๗ นัย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย รวมจิต ๑๒๑ ดวง มีสังคหะ ๓๓ นัย อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๒ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห ทุติเย ปริจฺโฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ ในปริจเฉทที่ ๒ ( ชื่อ เจตสิกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวมรวบ ซึ่งอรรถแห่งอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อแต่เพียงเท่านั้น

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค เจตสิกปรมัตถ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส เจตสิก ๕๒ อัญญสมนาเจตสิก ๑๓ อกุศลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ โมจตุกเจตสิก ๔ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ผัสสะ โมหะ สัทธา เวทนา อหิริกะ สติ สัญญา อโนตตัปปะ หิริ เจตนา อุทธัจจะ โอตตัปปะ เอกัคคตา โลติกเจตสิก ๓ อโลภะ ชีวิตินทรีย์ โลภะ อโทสะ มนสิการ ทิฏฐิ ตัตรมัชฌัตตตา ปกิณณกเจตสิก ๖ มานะ กายปัสสัทธิ , จิตตปัสสัทธิ วิตก โทจตุกเจตสิก ๔ กายลหุตา , จิตตลหุตา วิจาร โทสะ กายมุทุตา , จิตตมุทุตา อธิโมกข์ อิสสา กายกัมมัญญตา , จิตตกัมมัญญตา วิริยะ มัจฉริยะ กายปาคุญญตา , จิตตปาคุญญตา ปีติ กุกกุจจะ กายุชุกตา , จิตตุชุกตา ฉันทะ ถีทุกเจตสิก ๒ วีรตีเจตสิก ๓ ถีนะ สัมมาวาจา มิทธะ สัมมากัมมันตะ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ สัมมาอาชีวะ วิจิกิจฉา อัปปมัญญาเจตสิก ๒ กรุณา มุทิตา ปัญญาเจตสิก ๑ ปัญญินทรีย์ หน้า ๒ เจตสิกปรมัตถนี้ ตามพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่งพระอนุรุทธาจารย์ได้รจนาไว้นั้น ท่านจัดเป็นปริจเฉทที่ ๒ ให้ชื่อว่า เจตสิกสังคหวิภาค อันแปลว่าส่วนที่รวบรวมเรื่องเจตสิก เจตสิกสังคหวิภาคนี้ ท่านประพันธ์ไว้เป็นคาถาสังคหะรวม ๒๕ คาถา ดังจะแสดงตามลำดับต่อไปจนครบทั้ง ๒๕ คาถา เจตสิกคืออะไร เจตสิกคือธรรมชาติสิ่งหนึ่ง ซึ่งประกอบกับจิต และปรุงแต่งจิตให้ประพฤติเป็นไปตามนั้น อาการที่ประกอบกับจิตนั้น เรียกว่า เจโตยุตฺตลกฺขณํ คือมีสภาพที่ประกอบกับจิต บริบูรณ์ด้วยลักษณะ ๔ ประการคือ เอกุปฺปาท เกิดพร้อมกับจิต เอกนิโรธ ดับพร้อมกับจิต เอกาลมฺพณ มีอารมณ์เดียวกับจิต เอกวตฺถุก อาศัยวัตถุเดียวกับจิต ดังมีคาถาสังคหะที่ ๑ แสดงว่า ๑. เอกุปฺปาทนิโรธา จ เอกาลมฺพณ วตฺถุกา เจโตยุตฺตา ทฺวิปญฺญาส ธมฺมา เจตสิกา มตา แปลความว่า สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต มีอารมณ์เดียวกับจิต และมีวัตถุที่อาศัยเกิดก็เป็นอัน เดียวกับจิต ธรรมชาตินั้นเรียกว่า เจตสิก มีจำนวน ๕๒ ดวง หน้า ๓ เจตสิกมี ลักษณะ ( คือคุณภาพหรือเครื่องแสดง ) , รสะ ( กิจการงาน หรือหน้าที่ ) , ปัจจุปัฏฐาน ( อาการปรากฏ หรือ ผล ) , ปทัฏฐาน ( เหตุใกล้ให้เกิด ) เป็น ๔ ประการ ซึ่งรวมเรียก ลักขณาทิจตุกะ นั้น ดังนี้ จิตฺตนิสฺสิตลกฺขณํ อาศัยจิตเกิดขึ้น เป็นลักษณะ อวิโยคุปฺปาทนรสํ เกิดร่วมกับจิต เป็นกิจ เอกาลมฺพณปจฺจุปฏฺฐานํ รับอารมณ์อย่างเดียวกับจิต เป็นผล จิตฺตุปฺปาทปทฏฺฐานํ มีการเกิดขึ้นแห่งจิต เป็นเหตุใกล้ อนึ่งเจตสิกนี้แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตประพฤติเป็นไปตามลักษณะของเจตสิกก็ตาม แต่ก็ต้องถือว่าจิตเป็นใหญ่ เป็นประธาน เพราะเจตสิกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยจิตเกิด เจตสิกทั้ง ๕๒ แบ่งเป็น ๓ ประเภท เจตสิกทั้งหมด มีจำนวน ๕๒ ดวง ซึ่งแต่ละดวงก็มีลักษณะแตกต่างกัน ไม่เหมือนกันเลย ถึงกระนั้นก็ยังแบ่งเจตสิก ๕๒ ดวงนี้ ได้เป็น ๓ ประเภท ดังมีคาถาสังคหะ แสดงว่า คาถาสังคหะที่ ๒ แสดงว่า ๒. เตรสญฺญสมานา จ จุทฺทสากุสลา ตถา โสภณา ปญฺจวีสาติ ทวิปญฺญาส ปวุจฺจเร ฯ แปลความว่า เจตสิก ๕๒ ดวง จัดเป็น ๔ ประเภท คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง โสภณเจตสิก ๑๕ ดวง หน้า ๔ อัญญสมานาเจตสิก อัญญสมานาเจตสิก เป็นเจตสิกที่เสมอเหมือนกับสภาพอื่นได้ หมายความว่าเป็นเจตสิกที่ประกอบกับธรรมที่เป็นอกุศล หรือเป็นกุศล หรือเป็นอพยากตะได้ทุกชนิด เมื่อประกอบกับธรรมชนิดใด ก็มีสภาพเป็นชนิดนั้นไปด้วย กล่าวคือถ้าเกิดร่วมกับ อกุศลก็นับเป็นอกุศลไปด้วย ถ้าเกิดร่วมกับกุศล ก็จัดเป็นกุศลไปด้วย เมื่อเกิดร่วมกับอพยากตะ ก็เรียกว่าเป็นอพยากตะไปด้วย อัญญสมานาเจตสิก มีจำนวน ๑๓ ดวง ชื่ออะไรบ้าง มีแจ้งอยู่ที่หน้าต้นนั้นแล้ว ในจำนวน ๑๓ ดวงนี้ ยังจัดออกได้เป็น ๒ พวก คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก มีจำนวน ๗ ดวง ปกิณณกเจตสิก มีจำนวน ๖ ดวง สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก เป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมดหมายความว่า จิตทั้งหมดซึ่งมีจำนวน นับอย่างย่อ ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็มี ๑๒๑ ดวงนั้น เมื่อจิตดวงใดเกิดขึ้น เจตสิกทั้ง ๗ ดวงนี้ ย่อมเกิดประกอบกับจิตนั้นพร้อมกันทั้ง ๗ ดวงเสมอไป ไม่มีเว้นเลย ดังนั้นจึงว่าเป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมด สมกับชื่อที่ว่า สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง มีดังนี้ หน้า ๕ ผัสสเจตสิก ๑. ผัสสเจตสิก คือ การกระทบอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ผุสนลกฺขโณ มีการกระทบอารมณ์ เป็นลักษณะ สงฺฆฏฏฺนรโส มีการประสานอารมณ์ วัตถุ วิญญาณ เป็นกิจ สนฺนิปาตปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประชุมพร้อมกัน เป็นผล อาปาถคตวิสยปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ ความหมายของผัสสเจตสิกนี้ ไม่ได้หมายเพียงแต่ว่า ของสองสิ่งกระทบกันเท่านั้น แต่หมายถึงว่าต้องมี ธรรม ๓ ประการมาประชุมร่วมพร้อมกัน จึงจะเรียกว่าผัสสเจตสิก ธรรม ๓ ประการนั้น คือ อารมณ์ ๑ วัตถุ ๑ ธรรม ๒ ประการนี้กระทบ กัน และทำให้เกิดวิญญาณอีก ๑ ด้วย ไม่ใช่แต่เพียงว่ากระทบกันเฉยๆ เวทนาเจตสิก ๒. เวทนาเจตสิก คือการเสวยอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็คือ ความรู้สึก รู้สึกว่าสบายหรือไม่สบาย แยกตาม ประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการรู้สึก เป็น ๕ อย่าง ได้แก่ ก. สุขเวทนาเจตสิก คือความสุขสบายทางกาย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ดีเป็นลักษณะ หน้า ๖ สมฺปยุตตฺตานํ พยูหนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเจริญ เป็นกิจ กายิกอสฺสาทปจฺจุปฏฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางกาย เป็นผล กายินฺทฺริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ข. ทุกขเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ยากลำบากกาย มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ มิลาปนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเศร้าหมอง เป็นกิจ กายิกาพาธปจฺจุปฏฺฐานา มีความอาพาธทางกาย เป็นผล กายินฺทริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ค. โสมนัสเวทนาเจตสิกคือความสุขความสบายใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ อิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการทำจิตให้อยู่ร่วมกับอารมณ์ที่ดี เป็นกิจ เจตสิกอสฺสาทปฏฺจุปจฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางใจ เป็นผล ปสฺสทฺธิปทฏฺฐานา มีความสงบกายสงบใจ เป็นเหตุใกล้ ง. โทมนัสเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อนิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ อนิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นกิจ เจตสิกาพาธปจฺจุปฏฐานา มีความอาพาธทางใจ เป็นผล หทยวตฺถุปทฏฺฐานา มีหทัยวัตถุ เป็นเหตุใกล้ จ. อุเบกขาเจตสิก คือความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ มชฺฌตฺตเวทยิตลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ปานกลาง เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ นาติอุปพยูหนมิลาปนรสา มีการักษาสัมปยุตตธรรม ไม่ให้เจริญ ไม่ให้เศร้าหมอง เป็นกิจ สนฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเฉยๆ เป็นผล นิปฺปิติกจิตฺตปทฏฺฐานา มีจิตที่ไม่ยินดีเป็นเหตุใกล้ สัญญาเจตสิก ๓. สัญญาเจตสิก คือ ความจำหมายอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สญฺชานน ลกฺขณา มีความจำ เป็นลักษณะ ปุนสญฺชานน ปจฺจยนิมิตฺตกรณ รสา มีการหมายไว้และจำได้ เป็นกิจ ยถาคหิต นิมิตฺตวเสน อภินิเวสกรณ ปจฺจุปฏฺฐานา มีความจำได้ในสิ่งที่หมายไว้ เป็นผล ยถาอุปฏฺฐิตวิสยปทฏฺฐานา มีอารมณ์ที่ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๘ เจตนาเจตสิก ๔. เจตนาเจตสิก คือการแสวงหาหรือขวนขวายที่จะให้เป็นไปในอารมณ์ หรือความตั้งใจ หรือความสำเร็จ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ เจตนาภาวลกฺขณา มีการชักชวน เป็นลักษณะ อายูหนรสา มีการขวนขวาย เป็นกิจ สํวิธาน ปจฺจุปฏฺฐานา มีการจัดแจง เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ เอกัคคตาเจตสิก ๕. เอกัคคตาเจตสิก คือการตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวิกฺเขปลกฺขณา มีการไม่ฟุ้งซ่าน เป็นลักษณะ สหชาตานํ สมฺปิณฺฑนรสา มีการรวบรวมสหชาตธรรม เป็นกิจ อุปสมปจฺจุปฏฺฐานา มีความสงบ เป็นผล สุขปทฏฺฐานา มีสุขเวทนา เป็นเหตุใกล้ ชีวิตินทรียเจตสิก ๖. ชีวิตินทรียเจตสิก คือการรักษาธรรมที่เกิดร่วมด้วยตนให้ตั้งอยู่ตามอายุของตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๙ สหชาตานํ อนุปาลนลกฺขณํ มีการเลี้ยงรักษาสหชาตธรรม เป็นลักษณะ เตสํ ปวตฺตนรสํ มีความตั้งอยู่และเป็นไปได้ เป็นกิจ เตสญฺเญวฐปนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการทรงอยู่ได้ซึ่งสหชาตธรรม เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานํ มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก ๗. มนสิการเจตสิก คือการกระทำอารมณ์ให้แก่จิต หรือความใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สารณลกฺขโณ มีการทำให้สัมปยุตตธรรมใส่ใจในอารมณ์ เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ อารมฺมเณ สํโยชนรโส มีการทำให้สัมปยุตตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมณาภิมุขีภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการทำให้สัมปยุตตธรรมให้มีหน้าที่เฉพาะอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก คือ ความใส่ใจในอารมณ์นี้ ถ้ามีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอัน แยบคาย คือใส่ใจให้ถูกต้องตรงตามสภาวะแห่ง ความเป็นจริงแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ดีงาม หน้า ๑๐ ความใส่ใจเป็นอันดีเรียกว่า โยนิโสมนสิการ ถ้าไม่มีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอันไม่แยบคายแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ไม่ดี จิตที่ ชั่วที่บาป ความไม่ใส่ใจเป็นอันดีนี้ เรียกว่า อโยนิโสมนสิการ สาเหตุที่จะให้เกิด โยนิโสมนสิการ คือ ๑. ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา เคยทำบุญไว้แต่ปางก่อน ๒. ปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่สมควร คือประเทศที่มีสัปบุรุษ ๓. สปฺปุริสูปนิสฺสย คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. สทฺธมฺมสฺสวน ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตาสมฺนาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ส่วนสาเหตุที่จะให้เกิด อโยนิโสมนสิการ ก็ตรงกันข้าม คือ ๑. ปุพฺเพ อกตปุญฺญตา ไม่ได้สร้างสม บุญไว้แต่ปางก่อน ๒. อปฺปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่ไม่สมควร (คือไม่มีสัปบุรุษ) ๓. อสปฺปุริสูปนิสฺสย ไม่ได้คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. อสทฺธมฺมสฺสวน ไม่ได้ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตมิจฉาปณิธิ ตั้งตนไว้ผิด ปกิณณกเจตสิก ปกิณณกเจตสิก เป็นเจตสิกเบ็ดเตล็ด ไม่ประกอบกับจิตทั่วไปแต่ประกอบได้เป็นบางดวง ปกิณณกเจตสิกมี ๖ ดวง ดังต่อไปนี้ หน้า ๑๑ วิตกเจตสิก ๑. วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญ ก็คือการคิด การนึกถึงอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อภินิโรปนกฺขโณ มีการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ เป็นลักษณะ อาหนปริยาหนรโส มีการกระทำให้จิตกระทบอารมณ์บ่อยๆ เป็นกิจ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อานยนปจฺจุปฏฺฐาโน มีจิตที่ทรงอยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์นี้ มีความหมายใกล้เคียงกับเจตนาเจตสิก ความตั้งใจในอารมณ์ และมนสิการ เจตสิก ความใส่ใจในอารมณ์ เพื่อให้เกิดความแตกต่างกัน จึงมีอุปมาด้วยเรือแข่งว่า เจตนาเจตสิก อุปมาดังคนพายหัว ต้องคว้าธงให้ได้ อันหมายถึงความสำเร็จ คือชัยชนะ มนสิการเจตสิก อุปมาดังคนถือท้าย ต้องคัดวาดเรือให้ตรงไปยังธงอันเป็นหลักชัย วิตกเจตสิก อุปมาดังคนพายกลางลำ มุ่งหน้าจ้ำพายไปแต่อย่างเดียว หน้า ๑๒ วิจารเจตสิก ๒. วิจารเจตสิก คือ การประคองจิตให้อยู่ในอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็ว่า คิดบ่อยๆ นั่นเอง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมณานุมชฺชนลกฺขโณ มีการพิจารณาอารมณ์บ่อยๆ เป็นลักษณะ ตตฺถ สหชาตานุโยชนรโส มีการทำให้สหชาตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ จิตฺตอนุปฺปพนฺธปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตกแต่งจิตให้อยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ อธิโมกขเจตสิก ๓. อธิโมกขเจตสิก มีการตัดสินอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สนฺนิฏฺฐานลกฺขโณ มีการสันนิษฐานอารมณ์ เป็นลักษณะ อสํสปฺปนรโส มีการไม่โยกไม่คลอน เป็นกิจ วินิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตัดสิน เป็นผล สนฺนิฏเฐยฺยธมฺมปทฏฺฐาโน มีการสันนิษฐานธรรม เป็นเหตุใกล้ วิริยเจตสิก ๔. วิริยเจตสิก คือ ความเพียรเพื่อให้ได้อารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๑๓ อุสฺสาหนลกฺขณํ มีความอุตสาหะ เป็นลักษณะ สหชาตานํ อุปตฺถมฺภนรสํ มีการอุดหนุนค้ำชูสหชาตธรรม เป็นกิจ อสํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการไม่ย่อท้อถดถอย เป็นผล สํเวคปทฏฺฐานํ มีความสลด เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก ๕. ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้ม หรืออิ่มใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สมฺปิยายนลกฺขณา มีความอิ่มใจ เป็นลักษณะ กายจิตฺตปีฬนรสา มีการทำกายและใจอิ่มเอิบ เป็นกิจ โอทคฺยปจฺจุปฏฺฐานา มีกายและใจเฟื่องฟู เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้มใจ อิ่มใจในอารมณ์นั้นมี ๕ ประการ ๑. ขุทฺทกาปีติ ปลาบปลื้มใจเล็กน้อยพอรู้สึกขนลุก ๒. ขณิกาปีติ ปลาบปลื้มใจชั่วขณะเกิดขึ้นบ่อยๆ ๓. โอกฺกนฺติกาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวโยกตัวโคลง ๔. อุพฺเพงฺคาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวลอย ๕. ผราณาปีติ ปลาบปลื้มใจจนนอิ่มเอิบซาบซ่านไปทั่วทั้งกายและใจ ปีติ ที่เป็นองค์ฌานนั้น ต้องถึง ผรณาปีติ ส่วนปีติอีก ๔ ไม่นับเป็นองค์ฌาน เพราะยังเป็นของหยาบอยู่ อนึ่ง ปีติ กับ สุข ต่างกัน คือ ปีติ เป็นสังขารขันธ์ สุข เป็นเวทนาขันธ์ และเมื่อมี ปีติ จะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่ว่า เมื่อมีสุข อาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้ ฉันทเจตสิก ๖. ฉันทเจตสิก คือความพอใจในอารมณ์ ความปลงใจที่จะทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กตฺตุกมฺยตา ลกฺขโณ มีความปรารถนาเพื่อจะกระทำ เป็นลักษณะ อารมฺมณปริเยสนรโส มีการแสวงอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมเณน อตฺถิกตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ อกุศลเจตสิก อกุศลเจตสิก คือ เจตสิกที่ชั่ว ที่บาป ที่หยาบ ที่ไม่งาม ที่ไม่ฉลาด อกุศลเจตสิกนี้ เมื่อประกอบกับจิตแล้ว ก็ทำให้จิตเศร้าหมองเร่าร้อน และทำให้เสียศีลธรรม อกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลเจตสิก ๑๒ ดวงเท่านั้น ไม่ประกอบกับจิตอย่างอื่นเลย และเพราะเหตุว่าอกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่าอกุศลเจตสิก ไม่ชื่อว่าอโสภณเจตสิก เพราะถ้าชื่อว่า หน้า ๑๕ อโสภณเจตสิกแล้ว ก็จะมีความหมายไปว่า ต้องประกอบกับอโสภณจิตได้ทั้งหมด กล่าวคือต้องประกอบกับอเหตุกจิตด้วย อกุศลเจตสิก มี ๑๔ ดวง แบ่งออกเป็น ๕ พวก คือ ก. โมจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกมีโมหะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก โมจตุก นี้ ประกอบกับอกุศลเจตสิกได้ทั้งหมดทั้ง ๑๒ ดวง ดังนั้นจึงมีชื่ออีกชื่อว่า สัพพากุศลสาธารณเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกที่สาธารณแก่ อกุศลจิต ทั้งหมด ข. โลติกเจตสิก หมายความว่าเป็นเจตสิกพวกโลภะ มี ๓ ดวงด้วยกัน คือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และมานะเจตสิก โลติกนี้ประกอบได้เฉพาะแต่โลภมูลจิต ๘ ดวงเท่านั้น ค. โทจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกโทสะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก โทจตุก นี้ประกอบได้แต่เฉพาะโทสมูลจิต ๒ ดวงเท่านั้น ง. ถีทุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกถีนะ มี ๒ ดวงด้วยกัน คือ ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ถีทุก นี้ ประกอบได้เฉพาะแต่อกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก ๕ ดวงเท่านั้น จ. วิจิกิจฉาเจตสิกไม่มีพวก มีแต่ตัวดวงเดียว และประกอบได้เฉพาะแต่ โมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉา ดวงเดียวเท่านั้น เอง หน้า ๑๖ อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวงนั้น ดังนี้ โมหเจตสิก ๑. โมหเจตสิก คือ ความหลง ความไม่รู้จริงตามสภาวะของอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อญาณลกฺขโณ มีการไม่รู้ เป็นลักษณะ อารมมฺมณสภาวจฺฉาทนรโส มีการปกปิดไว้ซึ่งสภาวะแห่งอารมณ์ เป็นกิจ อนฺธการปจฺจุปฏฺฐาโน มีความมืดมน เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีก่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ที่ว่า ไม่รู้นั้น หมายความว่าไม่รู้ในการสิ่งควรรู้ แต่ไม่รู้ในสิ่งที่ไม่ควรรู้ ความไม่รู้ในที่นี้ หมายเฉพาะ ไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ (๑) ทุกฺเข อญาณํ ไม่แจ้งในทุกข์ (๒) ทุกฺขสมุทเย อญาณํ ไม่แจ้งเหตุให้เกิดทุกข์ (๓) ทุกฺขนิโรเธ อญาณํ ไม่แจ้งการดับทุกข์ (๔) ทุกฺขนิโรธคามินิปฏิปทาย อญาณํ ไม่แจ้งหนทางที่จะดับทุกข์ (๕) ปุพฺพนฺเต ยญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทริย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วนอดีต ( อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุ ) (๖) อปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วน อนาคต ( อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญและนัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล ) หน้า ๑๗ (๗) ปุพฺพนฺตาปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ทั้งที่เป็นส่วนในอดีตและในอนาคต ( อกริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล ) (๘) อธิปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปนฺเนสุ ธมฺเมสุ อญาณํ ไม่แจ้งในธรรมที่มีเหตุให้เกิดผลอันต่อเนื่องกัน ( อัตตทิฏฐิเชื่อว่าเป็นตัวเป็นตน ) อหิริกเจตสิก ๒. อหิริเจตสิก คือ ความไม่ละอายต่อการทำบาป ไม่ละอายต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทีหิอชิคุจฺฉนลกฺขณํ มีการไม่เกลียดต่อกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการกระทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล อตฺตอคารวปทฏฺฐานํ มีการไม่เคารพตน เป็นเหตุใกล้ ที่ไม่เคารพตน เพราะ ก. ไม่ละอายต่อ วัย ข. ไม่ละอายต่อ เพศ ค. ไม่ละอายต่อ ตระกูล ง. ไม่ละอายต่อ อกุศล หน้า ๑๘ อโนตตัปปเจตสิก ๓. อโนตตัปเจตสิก คือ ความไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำบาป ไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุตฺตาสลกฺขณํ มีการไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล ปรอคารวปทฏฺฐานํ ไม่มีการเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ อุทธัจจเจตสิก ๔. อุทธัจจเจตสิก คือความฟุ้งซ่าน ไม่สงบ คิดฟุ้งไปในอารมณ์ต่างๆ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวูปสมลกฺขณํ มีความไม่สงบ เป็นลักษณะ อนวตฺถานรสํ มีการไม่มั่นในอารมณ์เดียว เป็นกิจ ภนฺตตฺถ ปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหวั่นไหว เป็นผล อโยนิโสมนสิการ ปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ โลภเจตสิก ๕. โลภเจตสิก คือ ความรัก ความอยากได้ ความติดใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๑๙ อารมฺมณคหณลกฺขโณ มีการยึดมั่นซึ่งอารมณ์ เป็นลักษณะ อภิสงฺครโส มีการติดในอารมณ์ เป็นกิจ อปริจฺจาคปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่บริจาค เป็นผล สํโยชนิธมฺเมสุ อสฺสาททสฺสนปทฏฺฐาโน มีการดูด้วยความยินดีในสังโยชน์ เป็นเหตุใกล้ อรรถของโลภะโดยปริยาย ในไวยกรณ์ ตามบาลีในปรมัตถทีปนีฎีกา ได้จำแนกออกไป ๑๐ ประการ คือ (๑) ตัณหา ความต้องการ (๒) ราคะ ความกำหนัด (๓) กามะ ความใคร่ (๔) นันทิ ความเพลิดเพลิน (๕) อภิชฌา ความเพ่งเล็ง (๖) ชเนตติ ความก่อให้เกิดกิเลส (๗) โปโนพภวิก ความนำให้เกิดในภพใหม่ (๘) อิจฉา ความปรารถนา (๙) อาสา ความหวัง (๑๐) สังโยชน์ ความเกี่ยวข้อง ความผูกพันธ์ ผูกมัด รัดไว้ ล่ามไว้ ปริตสฺสตีติ ตณฺหาฯ (วิสุทธิมัคค) ความกระหายอยากได้ซึ่งอารมณ์นั้นเรียกว่า ตัณหา กาโม จ โสตณฺหา จาติ กามตณฺหา ฯ (ปรมัตถทีปนีฎีกา) ความกำหนัดที่อยากได้ซึ่งกามคุณอารมณ์นั้น เรียกว่า กามตัณหา สสฺสตทิฏฐิ สหคโต หิ ราโค ภวตณฺหาติ วุจฺจติฯ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย สัสสตทิฏฐิ เรียกว่า ภวตัณหา อุจฺเฉททิฏฐิ สหคโต หิ ราโค วิภวตณฺหา วุจฺจติ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย อุจเฉททิฏฐิ เรียกว่า วิภวตัณหา หน้า ๒๐ ทิฏฐิเจตสิก ๖. ทิฏฐิเจตสิก คือ ความเห็นผิดจากความเป็นจริงในสภาวธรรม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อโยนิโส อภินิเวส ลกฺขณามีการถือมั่นด้วยหาปัญญามิได้ เป็นลักษณะ ปรามาส รสา มีการถือผิดจากสภาวะ เป็นกิจ มิจฺฉาภินิเวสปจฺจุปฏฺฐานา มีการยึดถือความเห็นผิด เป็นผล อริยานํ อทสฺสน กามตาทิ ปทฏฺฐานา ไม่ต้องการ เห็นพระอริยะ เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ คำว่า ทิฏฐิ แปลตามพยัญชนะ คือ ตามตัวอักษร ตามศัพท์ ก็แปลว่าความเห็น ไม่เจาะจงว่าเป็นความเห็นผิดหรือ ความเห็นถูกต้องตามสภาวะ แต่โดยอรรถ คือ ตามความหมายแห่งธรรมแล้ว ถ้าใช้ลอยๆ ว่า ทิฏฐิ เฉยๆ ก็หมายว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดเสมอไป เว้นไว้แต่ในที่ใดบ่งว่าเป็น สัมมาทิฏฐิ จึงมีความหมายว่าเป็นความเห็นชอบความเห็นถูกโดยเฉพาะ ทิฏฐิเจตสิก เป็นความเห็นผิดเสมอไป และทิฏฐินี้แบ่งเป็นหยาบๆ เป็น ๒ คือ ทิฏฐิสามัญ และทิฏฐิพิเศษ ทิฏฐิสามัญ ได้แก่สักกายทิฏฐิ คือ เห็นเป็นตัวตนบุคคลเราเขา อันเป็นความเห็นผิด แต่ที่จัดเป็นสามัญ เพราะทิฏฐิ ชนิดนี้ มีประจำทั่วทุกตัวสัตว์เป็นปกตวิสัย (เว้นพระอริยบุคคล) ทิฏฐิพิเศษ ได้แก่ นิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ คือ อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อ เหตุ นัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล อกิริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล และสัสสตทิฏฐิ เห็นว่าเที่ยงแท้แน่นอน อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญ ตลอดทั้งทิฏฐิ ๖๒ ที่จัดเป็นทิฏฐิพิเศษ ก็เพราะว่าทิฏฐิชนิดนี้บางคนก็มี บางคนก็ไม่มี มานเจตสิก ๗. มานเจตสิก คือ ความถือตนความทะนงตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อุณฺณติ ลกฺขโณ มีการทะนงตน เป็นลักษณะ สมฺปคฺค รโส มีการยกย่องสัมปยุตตธรรม เป็นกิจ เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาสูง เป็นผล ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺตโลภ ปทฏฺฐาโน มีโลภจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตต เป็นเหตุใกล้ มานะ นี้ท่านจัดไว้ ๙ ประการ คือ (๑) เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๒) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๓) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคุณตัวว่า เลวกว่าเขา (๔) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๕) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๖) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา (๗) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๘) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๙) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา หน้า ๒๒ อติมานะ=ดูหมิ่นท่าน,สารัมภะ=แข่งดี,ถัมภะ=หัวดื้อ,สาเถยยะ=โอ้อวด เหล่านี้จัดเป็นมานะทั้งสิ้น ข้อควรสังเกต คือถ้าเกิดมีการเปรียบเทียบเรากับเขาขึ้นเมื่อใดก็เป็นมานะเมื่อนั้น ไม่ว่าการเปรียบเทียบนั้นจะเป็นการเปรียบเทียบด้วย ชาติ โคตร สกุล รูป สมบัติ ทรัพย์ ศิลปะวิทยา การงาน หรือ ความเฉลียวฉลาด โทสเจตสิก ๘. โทสเจตสิก คือ ความโกรธ ความไม่ชอบใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จณฺฑิกลกฺขโณ มีความหยาบกระด้าง เป็นลักษณะ นิสฺสยทาหนรโส มีการทำให้จิตตนและผู้อื่นหม่นไหม้ เป็นกิจ ทูสนปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประทุษฐร้าย การทำลาย เป็นผล อาฆาตวตฺถุ ปทฏฺฐาโน มีอาฆาตวัตถุ เป็นเหตุใกล้ ความไม่ชอบใจ เสียใจ กลุ้มใจ รำคาญใจ หงุดหงิด โกรธ เกลียด กลัว ประทุษฐร้าย ทำลายเหล่านั้น เป็นลักษณะหรือเป็นตัวโทสะทั้งนั้น อาฆาตวัตถุ อันเป็นเหตุใกล้ให้เกิดโทสะนั้นมี ๑๐ ประการ คือ (๑) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๒) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๓) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา หน้า ๒๓ (๔) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๕) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๖) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๗) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๘) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๙) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๑๐) ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไม่สมควร เช่นเกิดโกรธขึ้นเมื่อเดินสะดุดตอไม้ หรือ เหยียบหนาม เป็นต้น อิสสาเจตสิก ๙. อิสสาเจตสิก คือธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความไม่ยินดี ความริษยาในการได้ลาภได้ยศของผู้อื่น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปรสมฺปตฺตีนํ อุสฺสูยนลกฺขณา มีการริษยาในสมบัติของผู้อื่น เป็นลักษณะ ตตฺเถว อนภิรติรสา มีการไม่ชอบใจในความมั่งมีของผู้อื่น เป็นกิจ ตโตวิมุขภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีการเบือนหน้าหนีจากสมบัติของผู้อื่น เป็นผล ปรสมฺปตฺติปทฏฺฐานา มีสมบัติของผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยเจตสิก ๑๐. มัจฉริยเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความตระหนี่เหนียวแน่น ไม่ยอมเสียสละ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๔ อตฺตโนสมฺปตฺตีนํ นิคูหนลกฺขณํ มีการซ่อนสมบัติของตน เป็นลักษณะ ตาสํ เยว ปเรหิสาธารณภาว อกฺขมนรสํ มีการไม่ชอบให้สมบัติของตนเป็นสาธารณแก่ผู้อื่น เป็นกิจ สงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหดหู่ หวงแหน ไม่เผื่อแผ่ เป็นผล อตฺตสมฺปตฺติปทฏฺฐานํ มีสมบัติของตน เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยะ ๕ ประการ ได้แก่ (๑) อาวาสมัจฉริย ตระหนี่ ที่อยู่ (๒) กุลมัจฉริย ตระหนี่ สกุล (๓) ลาภมัจฉริย ตระหนี่ ลาภ (๔) วัณณมัจฉริย ตระหนี่ วรรณะ (๕) ธรรมมัจฉริย ตระหนี่ ธรรม กุกกุจจเจตสิก ๑๑. กุกกุจจเจตสิก คือธรรมชาติที่เดือดร้อนรำคาญใจในสิ่งชั่ว อกุสลกรรมที่ได้ทำไปแล้ว และร้อนใจในกุสลกรรม ความดีที่ยังไม่ได้ทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปจฺฉานุตาปลกฺขณํ มีความเดือดร้อนอยู่เนืองๆ ในภายหลัง เป็นลักษณะ กตากตานุโสจนรสํ มีการตามเดือดร้อนอยู่เนือง ๆ ถึงบาปที่ได้กระทำแล้ว และบุญที่ไม่ได้กระทำ เป็นกิจ วิปฺปฏิสารปจฺจุปฏฺฐานํ มีความกินแหนงใจอยู่ เป็นผล กตากตปทฏฺฐานํ มีการทำบาป มิได้กระทำบุญ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๒๕ ถีนเจตสิก ๑๒. ถีนเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตท้อถอยหดหู่ เซื่องซึม ไม่ใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุสฺสาหลกฺขณํ มีการไม่อุตสาหะ เป็นลักษณะ วีริยวิโนทนรสํ มีการทำลายความเพียร เป็นกิจ สํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ มิทธเจตสิก ๑๓. มิทธเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกที่เกิดร่วมด้วยตนให้หดหู่ท้อถอย ง่วงเหงาหาวนอน และง่วงซึมหลับ จับอารมณ์ไม่ติด มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อกมฺมญฺญตาลกฺขณํ มีความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ โอทหนรสํ มีการกั้นกำบังกุสล เป็นกิจ ลีนตาปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑๔. วิจิกิจฉาเจตสิก คือ ความสงสัย ความลังเลไม่แน่ใจ ในอารมณ์ต่างๆ สงสัยตัดสินอารมณ์ไม่ได้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๖ สํสยลกฺขณา มีความสงสัย เป็นลักษณะ กมฺปนรสา มีการหวั่นไหวในอารมณ์ เป็นกิจ อนิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่สามารถตัดสินใจได้ เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานา มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ความสงสัยทั้งหลาย หาใช่เป็นวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ทั้งหมดไม่ ความสงสัยในวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ หมายเฉพาะสงสัยในธรรม ๘ ประการเท่านั้น คือ (๑) สงสัยในพระพุทธเจ้า ได้แก่สงสัยในพระสรีระ (ว่าเห็นจะไม่มีตัวจริง น่าจะสมมุติขึ้น) หรือสงสัยในพระคุณ (พระพุทธคุณ ๙) (๒) สงสัยในพระธรรม ว่ามัคค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ มีจริงหรือและธรรมนี้นำออกจากทุกข์ ได้จริงหรือ (๓) สงสัยในพระสงฆ์ ว่าสงฆ์ที่ตั้งอยู่ในมัคค ๔ ผล ๔ มีจริงหรือ สงฆ์ที่ปฏิบัติดีจริงมีหรือ ผลแห่งทานที่ถวายแก่สงฆ์ มีจริงหรือ (๔) สงสัยในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ว่ามีจริงหรือ ผลานิสงส์แห่งการศึกษาปฏิบัติในสิกขา ๓ มีจริงหรือ (๕) สงสัยในขันธ์ ๕ อายตน ธาตุที่เป็นส่วนอดีตมีจริงหรือ คือสงสัยว่าชาติก่อนมีจริงหรือ (อเหตุกทิฏฐิ) (๖) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ที่เป็นอนาคต มีจริงหรือ คือสงสัยว่า ชาติหน้ามีจริงหรือ (อุจเฉททิฏฐิ) (๗) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ทั้งที่เป็นส่วนอดีตและอนาคตนั้น มีจริงหรือ คือสงสัยทั้งชาติก่อนและชาติหน้า (อกิริยทิฏฐิ) หน้า ๒๗ (๘) สงสัยในปฏิจจสมุปบาทธรรม คือ ธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลอาศัยกันเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปโดยไม่ขาดสายเลยนั้น มีจริงหรือ (อัตตทิฏฐิ) อนึ่งความสงสัยอย่างอื่นที่ไม่ใช่ธรรม ๘ ประการ เช่นสงสัยในเรื่องสมมุติและบัญญัติ ไม่เป็นกิเลส โสภณเจตสิก โสภณเจตสิก เป็นเจตสิกที่ดีงาม ไม่เศร้าหมอง ไม่เร่าร้อน เมื่อประกอบกับจิต ก็ทำให้จิตนั้นดีงาม ปราศจากความเร่าร้อน ให้จิตตั้งอยู่ในศีลธรรม มีการเว้นจากบาป เว้นจากทุจริตต่างๆ ฉะนั้นเจตสิก ประเภทนี้ จึงเรียกว่า โสภณเจตสิก จิตที่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า โสภณจิต ส่วนจิตใดที่ไม่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า อโสภณจิต โสภณเจตสิก มีจำนวน ๒๕ ดวง และยังแบ่งออกได้เป็น ๔ พวก คือ ก. โสภณสาธารณเจตสิก มี ๑๙ ดวง เป็นเจตสิกที่สาธารณะกับโสภณจิตทั้งหมด หมายความว่า โสภณจิต ๕๙ หรือ ๙๑ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น จะต้องมีโสภณสาธารณเจตสิกนี้ประกอบพร้อมกันทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย ข. วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง เป็นเจตสิกที่เว้นจากบาปธรรมทั้งปวง อันเกิดจากกายทุจริต และวจีทุจริต ค. อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง เป็นเจตสิกที่มีความรู้แผ่ไปไม่มีประมาณ เรียกว่า พรหมวิหาร ก็ได้ ที่เรียกว่า อัปปมัญญานั้นเพราะแผ่ไปในสัตว์ทั้งหลาย จนประมาณไม่ได้ ที่เรียกว่า พรหมวิหารนั้น เพราะธรรมนี้เป็นที่อยู่สำราญของพวกพรหม ง. ปัญญาเจตสิก มีดวงเดียว ไม่มีพวก เป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ เป็นประธาน ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง ปัญญินทรียเจตสิก ก็เรียก โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง มีดังนี้ สัทธาเจตสิก ๑. สัทธาเจตสิก คือ ความเชื่อถือเหตุผลตามความเป็นจริง ความเลื่อมใสในกุสลธรรม ความเชื่อในฝ่ายดี เช่น เชื่อคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สทฺทหนลกฺขณา มีความเชื่อถือในอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ ปสาทนรสา มีการเลื่อมใส เป็นกิจ อกาฬุสฺสิยปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่ขุ่นมัว เป็นผล สทฺเทยฺยวตฺถุปทฏฺฐานา มีปูชนียวัตถุเป็นเหตุใกล้ สัทธาแม้อย่างน้อยเพียงเชื่อว่าสัตว์นั้นมีกรรมเป็นของตน คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เพียงเท่านี้ก็เป็นคุณยิ่ง มิฉะนั้นก็จะไม่ประหยัดต่อบาปกรรม หน้า ๒๙ จะกระทำอะไรก็ไม่คิดว่าเป็นทุจริตเสียหาย เพราะสำคัญผิดว่าจะไม่ต้องได้รับผลนั้น ถ้ามีสัทธา เชื่อกรรมเชื่อผลของกรรมแล้ว ก็จะตั้งตนไว้ในทางที่ชอบ ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ สัทธา จึงเป็นธรรมเบื้องต้นที่จะทำให้ประกอบคุณงามความดี เป็นบุญเป็นกุสล จนหาประมาณมิได้ สัทธา พีชํฯ สัทธาเปรียบเหมือนพืช (อันจะงอกงามโตใหญ่ให้ดอกผลในภายหน้า) เหตุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสสัทธา (๑) รูปปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะเห็นรูปสมบัติสวยงาม (๒) ลูขปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธาเพราะเห็นความประพฤติเรียบร้อยเคร่งในธรรมวินัย (๓) โฆสปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้ฟังชื่อเสียงลือว่าดีอย่างนั้นอย่างนี้ (๔) ธมฺมปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้สดับธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง สติเจตสิก ๒. สติเจตสิก คือความระลึกรู้อารมณ์และยับยั้งมิให้จิตตกไปในอกุสล ความระลึกอารมณ์ที่เป็นกุสล ความระลึกได้ที่รู้ทันอารมณ์ สติ เป็นธรรมที่มีอุปการะมากต้องใช้สติต่อเนื่องกันตลอดเวลา ในทางเจริญวิปัสสนาหรือเจริญสมาธิ มุ่งทางปฏิบัติซึ่งเป็นทางสายเดียวที่จะหลุดพ้นจากกิเลสไปได้ โดยเจริญสติปัฏฐานทาง กาย เวทนา จิต ธรรม มีสติระลึกรู้อยู่เนื่อง ๆ ว่า กายมีปฏิกูล ฯลฯ สติมีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๓๐ อปิลาปนลกฺขณา มีความระลึกได้ในอารมณ์เนืองๆคือมีความไม่ประมาท เป็นลักษณะ อสมฺโมหรสา มีการไม่หลงลืม เป็นกิจ อารกฺขปจฺจุปฏฺฐานา มีการรักษาอารมณ์ เป็นผล ถิรสญฺญาปทฏฺฐานา มีการจำได้แม่นยำ เป็นเหตุใกล้ สติเป็นเครื่องชักนำใจให้ยึดถือกุสลธรรมเป็นอุดมคติ ถ้าหากว่าขาดสติเป็นประธานเสียแล้ว สมาธิก็ไม่สามารถจะมีได้เลย และเมื่อไม่มีสมาธิแล้ว ปัญญาก็เกิดไม่ได้ เหตุให้เกิดสติ โดยปกติมี ๑๗ ประการ คือ (๑) ความรู้ยิ่ง เช่น สติของบุคคลที่ระลึกชาติได้พระพุทธองค์ระลึกชาติได้ไม่จำกัดชาติจะระลึกได้ทุกชาติที่พระองค์ปรารถนา สติของพระอานนท์จำพระสูตรที่พระพุทธจ้าตรัสไว้ได้หมด (๒) ทรัพย์ เป็นเหตุให้เจ้าของทรัพย์มีสติ คือเมื่อมีทรัพย์มักจะเก็บรักษาไว้อย่างดี และจะระมัดระวังจด จำไว้ว่าตนเก็บทรัพย์ไว้ที่ใด (๓) สติเกิดขึ้นเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต เช่น พระโสดาบันจะจำได้โดยแม่นยำถึงเหตุการณ์ที่ท่านได้บันลุเป็นพระโสดาบัน หรือบุคคลที่ได้รับยศยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในชีวิต (๔) สติเกิดขึ้น โดยระลึกถึงเหตุการณ์ที่ตนได้รับความสุขที่ประทับใจ เมื่อนึกถึงก็จะจำเรื่องต่าง ๆ ได้ (๕) สติเกิดขึ้น เนื่องจากความทุกข์ที่ได้รับเมื่อระลึกถึงก็จะจดจำได้ (๖) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกับเหตุการณ์ที่ตนเคยประสบ (๗) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่ตรงกันข้ามกับที่เคยประสบ (๘) สติเกิดขึ้น เพราะคำพูดของคนอื่น เช่น มีคนเตือนให้เก็บทรัพย์ที่ลืมไว้ (๙) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเครื่องหมายที่ตนทำไว้ เช่น เห็นหนังสือที่เขียนชื่อไว้ถูกลืมไว้ (๑๐) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเรื่องราวต่าง ๆ หรือผลงาน เช่น เห็นพุทธประวัติก็ระลึกถึงองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นต้น (๑๑) สติเกิดขึ้น เพราะความจำได้ เช่น มีการนัดหมายไว้ เมื่อมองไปที่กระดานก็จำได้ว่าต้องไปตามที่ได้นัดไว้ (๑๒) สติเกิดขึ้น เพราะการนับ เช่น การเจริญสติระลึกถึงพระพุทธคุณ ก็ใช้นับลูกประคำ เพื่อมิให้ลืม (๑๓) สติเกิดขึ้น เพราะการทรงจำเรื่องราวต่าง ๆ ที่ศึกษาค้นคว้า แล้วจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้ (๑๔) สติเกิดขึ้น เพราะการระลึกชาติได้ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ้าง (บุคคลที่มิใช่พระพุทธเจ้า) (๑๕) สติเกิดขึ้น เพราะการบันทึกไว้ เมื่อดูบันทึกก็จำได้ (๑๖) สติเกิดขึ้น เพราะทรัพย์ที่เก็บได้เช่นเห็นทรัพย์ก็นึกขึ้นได้ว่าได้เก็บทรัพย์ไว้ (๑๗) สติเกิดขึ้น เพราะสิ่งที่เคยพบเคยเห็นมาแล้ว เมื่อเห็นอีกครั้งก็ระลึกได้ หิริเจตสิก ๓. หิริเจตสิก คือความละอายต่อการทำบาปทำชั่ว ทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ บาปคือธรรมชาติที่ทำให้จิตเศร้าหมอง บุญคือธรรมชาติที่ชำระจิตให้สะอาดผ่องแผ้ว ในขณะที่จิตอกุสลเกิดขึ้นอยากจะประพฤติผิดศีล ๕ เครื่องยับยั้งมิให้เกิดอกุสลจิตนั้นก็คือ หิริ คือเกิดความละอายต่อบาปที่จะกระทำ จึงยับยั้งไว้ช่วยไม่ให้ทำอกุสล ฉะนั้นหิริจึงเป็นธรรมที่เป็นโลกบาล คือเป็นธรรมชาติที่คุ้มครองโลก หิริ เกิดขึ้นทำให้ละอายต่อบาปจึงไม่กล้าทำบาปทั้งในที่ลับและที่แจ้ง สิ่งที่ทำให้เกิดหิริ คือมีการเคารพตนเอง จึงละอายต่อการทำบาป หิริเจตสิกมีลักขณาทิจตุกะดังนี้ ปาปโตชิคุจฺฉนลกฺขณา มีความเกลียดต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสา มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ ปาปโตสงฺโกจน ปจฺจุปฏฺฐานา มีความละอายต่อบาป เป็นผล อตฺตคารวปทฏฺฐานา มีความเคารพในตน เป็นเหตุใกล้ โอตตัปปเจตสิก ๔. โอตตัปปเจตสิก คือ ธรรมชาติที่มีความสะดุ้งกลัวต่อผลของบาป จึงไม่ทำบาป มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อตฺตาสนลกฺขณํ มีความสะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสํ มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ หน้า ๓๑ ปาปโตสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความละอายต่อบาป เป็นผล ปรคารวปทฏฺฐานํ มีความเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ หิริกับโอตตัปปะ จะเกิดได้ต้องอาศัย เหตุภายนอก ๔ เหตุภายใน ๘ อย่างใดอย่างหนึ่ง เหตุภายนอก ๔ ได้แก่ (๑) อตฺตานุวาทภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนด้วยตนเอง (๒) ปรวาทานุภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนจากผู้อื่น (๓) ทณฺฑภยํ กลัวต่อราชทัณฑ์ คือกฎหมายบ้านเมือง (๔) ทุคฺคติภยํ กลัวต่อภัยในอบายภูมิ เหตุภายใน ๘ ได้แก่ (๑) กุละ ละอายบาป กลัวบาปโดยคำนึงถึงตระกูลของตน (๒) วยะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงวัยของตน (๓) พาหุสัจจะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงการศึกษาของตน (๔) ชาติมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงชาติอันประเสริฐของตน (๕) สัตถุมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงพระพุทธเจ้า บิดา มารดา ครู อาจารย์ (๖) ทายัชชมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง มรดกของพระพุทธเจ้า ของบิดา มารดา ซึ่งตนเองจะต้องรับมรดกนั้น หน้า ๓๒ (๗) สพรหมจารีมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง เพื่อนที่ดีที่เคยคบมา (๘) สูรภาวะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง ความกล้าหาญและความสงบเสงี่ยมเจียมตัวของตน อโลภเจตสิก ๕. อโลภเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ไม่อยากได้ ไม่ข้องในอารมณ์ ไม่ติดในอารมณ์ เมื่อประสบในอารมณ์นั้น จะพยายามให้หลุดออกไปจากอารมณ์นั้น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อลคฺคภาวลกฺขโณ มีความไม่ติดอารมณ์ เป็นลักษณะ อปริคฺคหรโส มีการไม่หวงแหน เป็นกิจ อนลฺลีนภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่ยึดมั่น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ อโทสเจตสิก ๖. อโทสเจตสิก คือธรรมชาติที่ไม่โกรธ ไม่หยาบคาย ไม่มีปองร้าย ไม่ประทุษร้าย (มีเมตตาต่อกัน) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อจณฺฑิกลกฺขโณ มีความไม่ดุร้าย เป็นลักษณะ อาฆาตวินยรโส มีการทำลายความอาฆาต เป็นกิจ โสมภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีความร่มเย็น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๓ ขนฺติ คือความอดทน ทนตรากตรำ ทนลำบาก ทนต่อเหตุที่ทำให้เจ็บใจ อกฺโกธ คือ ความไม่โกรธ ส่วน เมตฺตา ยังประสงค์ให้ผู้อื่นมีความสุขอีกด้วย ทั้ง ขันติ อักโกธ และเมตตา นี้องค์ธรรมได้แก่ อโทส เมตตา มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งจิตใจของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ส่วนราคะ มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งร่างกายของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก ๗. ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก คือ การทำใจเป็นกลาง เป็นยุตติธรรม ไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง การวางใจเฉยในอารมณ์ (เป็นอุเบกขาในพรหมวิหาร) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จิตฺตเจตสิกานํ สมวาหิตลกฺขณา มีการทรงไว้ซึ่งจิตและเจตสิกให้เสมอภาค เป็นลักษณะ อูนาธิกตานิวารณรสา มีการห้ามความยิ่งหย่อน เป็นกิจ มชฺฌตฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเป็นกลาง(อุเบกขา) เป็นผล สมฺปยุตฺตานํปทฏฺฐานา มีสัมปยุตตธรรม เป็นเหตุใกล้ กายปัสสัทธิเจตสิก และ จิตตปัสสัทธิเจตสิก ๘.กายปัสสิทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของเจตสิก ๙. จิตตปัสสัทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของจิต หน้า ๓๔ เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํทรถวูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิตสงบจากความเร่าร้อน เป็นลักษณะ กายจิตฺตทรถนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความเร่าร้อนของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อปริปฺผนฺทนสีติภาว ปจฺจุปฏฺฐานา มีความเยือกเย็น ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายลหุตาเจตสิก และ จิตตลหุตาเจตสิก ๑๐. กายลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้เจตสิกเบาจากอกุสล ความเบาของเจตสิกจากอกุสล ๑๑. จิตตลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้จิตเบาจากอกุสล ความเบาของจิตจากอกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตครุภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิต สงบจากความหนัก เป็นลักษณะ กายจิตฺตครุภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความหนักของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํอทนฺธตาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หนักของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายมุทุตาเจตสิก และ จิตตมุทุตาเจตสิก ๑๒. กายมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกมีความอ่อนโยน ความอ่อนโยนของเจตสิก ทำให้เป็นไปง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล ๑๓. จิตตมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตอ่อนโยน เจตสิกที่ทำให้จิตอ่อนโยน เป็นไปได้ง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตถทฺธวูปสมลกฺขณา มีเจตสิก และมีการทำให้จิตสงบจากความแข็ง กระด้าง เป็นลักษณะ กายจิตฺตถทฺธภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความแข็งกระด้างของเจตสิก และของจิต เป็นกิจ อปฺปฏิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่โกรธไม่อาฆาต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายกัมมัญญตาเจตสิก และ จิตตกัมมัญญตาเจตสิก ๑๔. กายกัมมัญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ควรแก่การงานอันเป็นกุสล ความควรแก่การงานของเจตสิก ๑๕. จิตตกัมมัญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตควรแก่การงานอันเป็นกุสล การทำให้จิตควรแก่งาน เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตากมฺมญฺญภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิกทำให้จิตสงบจากความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ หน้า ๓๖ กายจิตฺตา กมฺมญฺญภาว นิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ควรแก่การงานของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อารมฺมณกรณสมฺปตฺติปจฺจุปฏฺฐานา ทำให้เจตสิก ทำให้จิตมีอารมณ์สมควรแก่การงาน เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ จิตที่ไม่ควรแก่การงาน จะใช้จิตทำสมาธิก็มีผลน้อย เช่นจิตที่มีร่างกายอ่อนเพลีย หรือป่วย เช่น ปวดหัว ปวดท้อง เมื่อร่างกายไม่สะบายการทำสมาธิก็ได้ผลน้อยเสียเวลาทำสมาธิ ๒ ชั่วโมง ก็ทำไม่ได้ เพราะจิตไม่มีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบ จิตและเจตสิกที่ไม่ควรแก่การงาน คือจิตและเจตสิกที่ถูกนิวรณ์ครอบงำ นิวรณ์เปรียบเหมือน ตะปูตรึงจิต หรือสนิมกินเนื้อเหล็กทำให้เหล็กกร่อน นิวรณ์ทั้ง ๕ อันมี กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ เมื่อนิวรณ์ครอบงำจิตแล้วจิตก็ไม่ควรแก่การงาน ต้องละนิวรณ์ให้ได้ก่อน แล้วจึงใช้จิตทำงาน เมื่อจิตมีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบแล้ว การทำสมาธิก็จะได้ผลในชั่วระยะเวลาเพียงเล็กน้อย กายปาคุญญตาเจตสิก และ จิตตปาคุญญตาเจตสิก ๑๖. กายปาคุญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้เจตสิกคล่องแคล่วต่อกุสล ความคล่องแคล่วของเจตสิกในกุสล ๑๗. จิตตปาคุญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตคล่องแคล่วต่อกุสล การทำให้จิตคล่องแคล่วในกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํ อเคลญฺญภาวลกฺขณา มีความไม่อาพาธของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตเคลญฺญนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความอาพาธ ของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ นิราทีนวปจฺจุปฏฺฐานา มีความปราศจากโทษ เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๗ กายุชุกตาเจตสิก และ จิตตุชุกตาเจตสิก ๑๘. กายุชุกตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกมุ่งตรงต่อกุสล ความมุ่งตรงของเจตสิกต่อกุสล ๑๙. จิตตุชุกตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล การทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตอชฺชวลกฺขณา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตกุฏิลภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ อชิมฺหตาปปจฺจุปฏฺฐานา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ วิรตีเจตสิก วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวะเจตสิก สัมมาวาจาเจตสิก ๑. สัมมาวาจาเจตสิก คือ การพูดชอบ พูดสิ่งที่เป็นกุสล เว้นจากวจีทุจริตทั้ง ๔ มี มุสาวาท พูดปด ปิสุณาวาท พูดส่อเสียด ผรุสวาท พูดหยาบคาย สัมผัปปลาป พูดเพ้อเจ้อไร้สาระ ทั้งนี้ไม่เกี่ยวกับอาชีพ หน้า ๓๘ สัมมาวาจามี ๓ ประการ ก. กถาสัมมาวาจา ได้แก่ การกล่าววาจาที่ดี มีศีลธรรม เพื่อหวังประโยชน์แก่ผู้ฟัง เช่น อาจารย์สอนศิษย์ เป็นต้น ข. เจตนาสัมมาวาจา ได้แก่ ผู้มีเจตนาสมาทานศีล ว่าจะละเว้นวจีทุจริต มีการไม่กล่าวมุสา เป็นต้น ค. วิรตีสัมมาวาจา ได้แก่ การเว้นจากวาจาทุจริตทั้ง ๔ มีเว้นจากมุสาวาท ปิสุณาวาท ผรุสวาท สัมผัปปลาป ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) (ไม่มีความตั้งใจไว้ก่อนเมื่อประสบกับอารมณ์เฉพาะหน้าจึงต้องงดเว้น) สัมมากัมมันตเจตสิก ๒. สัมมากัมมันตเจตสิก คือ ประกอบการงานชอบ การงานที่ไม่ทุจริต เว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มี ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และล่วงประเวณี เป็นการกระทำปกติ คือ เป็นการทำงานปกติประจำวัน ไม่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมากัมมันตะ มี ๓ ประการ ก. ยถาพลังสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การกระทำการงานโดยชอบ การงานที่ไม่ทุจริต มีการประกอบกุสล เป็นต้น ตามกำลังของตน ข. เจตนาสัมมากัมมันตะ ได้แก่เจตนาที่ตั้งใจสมาทานว่าจะละเว้นกายทุจริต มีการไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงประเวณี ค. วิรตีสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การเว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มีเว้นการฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การล่วงประเวณี ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงมาปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) หมายความว่าไม่ได้ตั้งใจไว้ก่อนว่าจะงดเว้น แต่มาประสบกับอารมณ์จึงต้องงดเว้นเฉพาะหน้า หน้า ๓๙ สัมมาอาชีวเจตสิก ๓. สัมมาอาชีวเจตสิก คือ ความเป็นอยู่ชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ประกอบอาชีพที่สุจริต เว้นจากทุจริตทั้ง ๗ คือ เว้นกายทุจริต ๓ และเว้นวจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมาอาชีวะ มี ๒ ประการ ก. วิริยสัมมาอาชีวะ ได้แก่ความเพียรในการกระทำการงานหาเลี้ยงชีพโดยชอบธรรม ข. วิรตีสัมมาอาชีวะ ได้แก่การงดเว้นจากกายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวแก่อาชีพ เจตสิก ๓ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทิวตฺถุนํ อวีติกฺกมลกฺขณามีการไม่ล่วงกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ กายทุจฺจริตวตฺถุโตสงฺโกจนรสา มีการเว้นจากกายทุจริต เป็นต้น เป็นกิจ อกริยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่ทุจริต เป็นผล สทฺธาหิโรตฺตปฺปาทิคุณปทฏฺฐานา มีคุณธรรมคือ สัทธา หิริโอตตัปป เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ อัปปมัญญาเจตสิก อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง ได้แก่ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก หน้า ๔๐ กรุณาเจตสิก ๑. กรุณาเจตสิก คือ มีความสงสาร อยากจะช่วยเหลือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่ หรือที่จะได้รับทุกข์ในภายหน้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ทุกฺขาปนยนาการปวตฺติลกฺขณา มีการได้เห็นผู้อื่นเป็นทุกข์ ย่อมมีความสงสาร เป็นลักษณะ ปรทุกฺขาสหนรสา มีการไม่ชอบเห็นทุกข์ของผู้อื่น เป็นกิจ อวิหึสาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่เบียดเบียน เป็นผล ทุกฺขาภิภูตานํ อนาถภาวทสฺสน ปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์อนาถา อันถูกทุกข์ ครอบงำ เป็นเหตุใกล้ อวิหึสา = ไม่เบียดเบียนผู้อื่น กรุณา = ยังประสงค์ช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์อีกด้วย โสก = เราสูญเสียของที่เรารัก ก็โศกเศร้า กรุณา = เห็นผู้อื่นสูญเสียสิ่งที่เขารัก เราก็ช่วยให้เขาพ้นทุกข์จากการเศร้าโศก เมตตา กรุณา เป็น อพยาปาท มุทิตา อุเบกขา เป็น อนภิชฌา (ไม่คิดจ้องจะเอาของเขา) มุทิตาเจตสิก ๒. มุทิตาเจตสิก คือ พลอยยินดีด้วยในเมื่อรู้ว่าเขามีความสุข มีความยินดีต่อสัตว์ที่ได้สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๔๑ ปโมทนลกฺขณา มีความยินดีด้วยในความสุขของผู้อื่น เป็นลักษณะ อนิสฺสายนรสา มีการไม่อิสสาริษยา เป็นกิจ อรติวิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความปรารถนาให้ผู้อื่นเจริญ เป็นผล สตฺตานํ สมฺปตฺติทสฺสนปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์มีสมบัติ เป็นเหตุใกล้ ปัญญาเจตสิก ปัญญาเจตสิก มีแต่ดวงเดียวไม่มีพวก มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญญินทรียเจตสิก ปัญญาเจตสิก คือความรู้ในเหตุผลแห่งความจริงของสภาวธรรมและทำลายความเห็นผิด หรือเป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา มีความรู้แจ้งซึ่งสภาวธรรม เป็นลักษณะ โมหนฺธการวิทฺธํสนรสา มีการกำจัดมืด เป็นกิจ อสมฺโมหปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หลงผิด หรือไม่เห็นผิด เป็นผล สมาธิปทฏฺฐานา มีสมาธิ เป็นเหตุใกล้ ปัญญานี้ มีอรรถาธิบายอย่างกว้างขวาง และแจกแจงได้หลายนัย หลายกระบวน เป็นจำนวนมากมาย แต่ในที่นี้จะกล่าวย่อ ๆ พอให้รู้เค้า จึงขอแจกแจงว่า ปัญญามีเพียง ๓ นัย เท่านั้น คือ ก. กัมมสกตาปัญญา ปัญญาที่รู้ว่า กรรมเป็นสมบัติของตน ข. วิปัสสนาปัญญา ปัญญาที่รู้ขันธ์ ๕ รูปนาม เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ค. โลกุตตรปัญญา ปัญญาที่รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจจ ๔ ปัญญาที่รู้เห็นความที่สัตว์มีกรรมเป็นสมบัติของตน อันเรียกว่า กัมมสกตาปัญญา นี้ มี ๑๐ ประการ คือ (๑) อตฺถิทินนํ ปัญญารู้เห็นว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ย่อมมีผล (๒) อตฺยิฏฐํ ปัญญารู้เห็นว่า การบูชาย่อมมีผล (๓) อตฺถิหุตํ ปัญญารู้เห็นว่า การบวงสรวงเทวดา ย่อมมีผล (๔) อตฺถิกมฺมานํ ผลํวิปาโก ปัญญารู้เห็นว่า ผลวิบากของกรรมดีและชั่วมีอยู่ (ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทั้งทางตรงและทางอ้อม) (๕) อตฺถิอยํโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกนี้มีอยู่ (ผู้จะมาเกิดนั้นมี) (๖) อตฺถิปโรโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกหน้ามีอยู่ (ผู้จะไปเกิดนั้นมี) (๗) อตฺถิมาตา ปัญญารู้เห็นว่า มารดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อมารดาย่อมจะได้รับผล) (๘) อตฺถิปิตา ปัญญารู้เห็นว่า บิดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อบิดาย่อมจะได้รับผล) (๙) อตฺถิ สตฺตโอปปาติกา ปัญญารู้เห็นว่าโอปปาติกสัตว์นั้นมีอยู่ (สัตว์นรก เปรต อสุรกาย เทวดา พรหมนั้นมี) (๑๐) อตฺถิ โลเกสมณพฺรหฺมณา สมฺมาปฏิปนฺนา ปัญญารู้เห็นว่าสมณพราหมณ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ประกอบด้วยความรู้ยิ่ง เห็นจริง หน้า ๔๓ ประจักษ์ซึ่งโลกนี้ และโลกหน้าด้วยตนเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้นั้นมีอยู่ในโลกนี้ สัมปโยคนัย สัมปโยค แปลว่า ประกอบพร้อม ในที่นี้หมายความว่า เจตสิกแต่ละดวงนั้น ดวงหนึ่ง ๆ ประกอบกับจิตได้กี่ดวง คือจิตใดบ้าง ซึ่งจะได้แสดงต่อไปนี้ ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๓) ว่า ๓. เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ ยถาโยคมิโต ปรํ จิตฺตุปฺปาเทสุ ปจฺเจกํ สมฺปโยโค ปวุจฺจติ ฯ แปลความว่า เบื้องหน้าแต่นี้จะแสดงสัมปโยคะ แห่งธรรม (คือเจตสิก) เหล่านี้ อันประกอบกับจิต เฉพาะในจิตตุปปาทะ (จิตที่เกิดขึ้น) ดวงหนึ่ง ๆ โดยสมควรแก่ที่จะประกอบได้ สัมปโยคนัยแห่งอัญญสมานาเจตสิก ๔. สตฺต สพฺพตฺถ ยุชฺชนติ ยถาโยคํ ปกิณฺณกา จุทฺทสากุเลเสฺวว โสภเณเสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ๑. สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (๗ ดวง) ประกอบในจิตได้ทุกดวง(โดยย่อจิตมี ๘๙ ดวง) ๒. ปกิณณกเจตสิก (๖ ดวง) ประกอบกับจิตได้เฉพาะแต่ที่ควร (ประกอบ ได้ บางดวง) ๓. อกุสลเจตสิก (๑๔ ดวง) ประกอบได้เฉพาะในอกุสลจิต ๑๒ ดวงเท่านั้น ๔. โสภณเจตสิก (๒๕ ดวง) ประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น หน้า ๔๔ ๕. ฉสฏฺสี ปญฺจปญฺญฺาส เอกาทส จ โสฬส สตฺตติ วีสติ เจว ปกิณฺณกวิวชฺชิตา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกไม่ประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง วิจาร ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง อธิโมกข ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง วิริยะ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ปีติ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง ฉันทะ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง ๖. ปญฺจปญฺญาส ฉสฎฺฐิ ฏฐสตฺตติ ติสตฺตติ เอกปญฺญาส เจกูน สตฺตติ สปกิณฺณกา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกย่อมเข้าประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๕ ดวง วิจาร ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๖ ดวง อธิโมกข ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๘ ดวง วิริยะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ปีติ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ฉันทะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๙ ดวง หน้า ๔๕ อธิบาย รวมความว่า อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับจิตต่าง ๆ ได้นั้น แบ่งออกเป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ สัพพจิตตสาธารณ ๗ ดวง คือ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย และ มนสิการ นี้ประกอบกับจิตได้ทั้งหมดทุกดวง คือทั้ง ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดาร ก็ทั้ง ๑๒๑ ดวง ไม่มีเว้นเลย นัยที่ ๒ วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง แต่ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง นัยที่ ๓ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง นัยที่ ๔ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๘ ดวง ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง นัยที่ ๕ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นัยที่ ๖ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง นัยที่ ๗ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๙ ดวง ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทุติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ ตติยฌาน ๑๑ ปฐมฌานจิต ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ หน้า ๔๖ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๖ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาน ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ตติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ ทุติยฌาน ๑๑ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๗๘ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๑ (เว้นวิจิกิจฉาจิต) วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ได้ ๗๓ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๖ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑ กับ หสิตุปปาทจิต ๑ ) หมายเหตุ จิต ๑๖ ดวง ที่วิริยเจตสิก ไม่ประกอบนี้มีชื่อเรียกว่า อวีริยจิต ๑๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๗ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๕๑ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง คือ โสมนัสโลภมูลจิต ๔ อุเบกขาโลภมูลจิต ๔ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ โทสมูลจิต ๒ โสมนัสหสิตุปปาทจิต ๑ โมหมูลจิต ๒ โสมนัสกามโสภณจิต ๑๒ อุเบกขาอเหตุกจิต ๑๔ ปฐมฌานจิต ๑๑ กายวิญญาณจิต ๒ ทุติยฌานจิต ๑๑ อุเบกขากามโสภณจิต ๑๒ ตติยฌานจิต ๑๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ ปัญจมฌานจิต ๒๓ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๙ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามโสภณจิต ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๘ สัมปโยคนัยแห่งอกุสลเจตสิก ๗. สพฺพาปุญฺเญสุ จตฺตาโร โลภมูเล ตโย คตา โทสมูเลสุ จตฺตาโร สสงฺขาเร ทวยํ ตถา ฯ แปลความว่า เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ อกุศลจิตทั้งหลาย เจตสิก ๓ ดวง ย่อมประกอบกับ โลภมูลจิต เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ โทสมูลจิต เจตสิก ๒ ดวง ย่อมประกอบกับ สสังขาริกจิต ๘. วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉา จิตฺเต จาติ จตุทฺทส ทฺวาทสากุสเลเสฺวว สมฺปยุชฺชนฺติ ปญฺจธา ฯ แปลความว่า วิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาจิต (เท่านั้น) อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง ย่อมประกอบกับอกุศลจิต ๑๒ ดวง โดยสัมปโยคนัย ๕ อย่าง ดังนี้ อธิบาย รวมความว่า อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับอกุสลจิตนั้นแบ่งออกเป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ เจตสิก ๔ ดวง คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โมจตุกะ หรือสัพพากุสลสาธารณเจตสิกนั้น ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด คือทั้ง ๑๒ ดวง นัยที่ ๒ เจตสิก ๓ ดวงคือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และ มานเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โลติกะ นั้น โลภเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ทั้งหมด คือ ทั้ง ๘ ดวง ทิฏฐิเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ เฉพาะแต่ที่เป็นทิฏฐิคตสัมป ยุตตจิต ๔ ดวง มานเจตสิก ก็ประกอบกับโลภมูลจิตได้เฉพาะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง นัยที่ ๓ เจตสิก ๔ ดวง คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โทจตุกะ นั้น ย่อมประกอบกับโทสมูลจิต ๒ ดวง นัยที่ ๔ เจตสิก ๒ ดวง คือ ถีนเจตสิกและมีทธเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า ถีทุกะ นั้นย่อมประกอบกับ สสังขาริกในอกุสลจิต อันมีจำนวน ๕ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๔ ดวง และโทสมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๑ ดวง นัยที่ ๕ เจตสิก ๑ ดวง คือวิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาสหคตจิต ได้เฉพาะดวงเดียวเท่านั้น สัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิก ๙. เอกูนวีสติธมฺมา ชายนฺเตกูนสฏฺฐิสุ ตโย โสฬส จิตฺเตสุ อฏฺฐวีสติตํ ทฺวยํ ฯ หน้า ๕๐ แปลความว่า ธรรม ๑๙ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๕๙ ดวง ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ๑๐. ปญฺญา ปกาสิตา สตฺต จตฺตาฬีส วิเธสุปิ สมฺปยุตฺตา จตุเธวํ โสภเณเสสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง โสภณเจตสิก ย่อมประกอบกับโสภณจิตโดยสัมปโยคนัย ๔ อย่าง ดังนี้ อธิบาย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ย่อมประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น และก็มิได้ประกอบพร้อมกันทั้งหมด ดังนั้นจึงแสดงสัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิกไว้เป็น ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ ธรรม ๑๙ ดวงนั้น หมายถึงโสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ย่อมเข้าประกอบกับโสภณจิต ทั้ง ๕๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็ทั้ง ๙๑ ดวง กล่าวคือ โสภณจิตทั้ง ๕๙ หรือ ๙๑ ดวง ไม่ว่าจะ เป็นจิตดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น โสภณสาธารณเจตสิกก็จะเข้าประกอบพร้อมกันทันทีทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ได้แก่ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา หน้า ๕๑ นัยที่ ๒ ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นั้น หมายถึงวิรตีเจตสิก ๓ ดวง คือสัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวเจตสิก ย่อมประกอบได้กับจิต ๑๖ ดวง ได้แก่ มหากุสลจิต ๘ โลกุตตรจิต ๘ นัยที่ ๓ ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง นั้น หมายถึงอัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง คือ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ซึ่งได้แก่ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๒ (เว้นรูปาวจรปัญจมฌานจิต ๓) นัยที่ ๔ ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง ซึ่งได้แก่ กามาวจรญาณสัมปยุตตจิต ๑๒ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ อนิยตโยคีเจตสิก อนิยตโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบไม่แน่นอน หมายความว่าเจตสิก นั้นบางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ ๑๑. อิสฺสมจฺฉเรกุกฺกุจฺจ วิรตี กรุณา ทโย นานา กทาจิ มาโนจ ถีนมิทฺธํ ตถา สห ฯ แปลความว่า อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิรตี(๓ ดวง) กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ มิทธะ ย่อมประกอบกับจิตเป็นครั้งคราวไม่พร้อมกัน (ทั้ง ๑๑ ดวงนี้ เป็น อนิยตโยคีเจตสิก) หน้า ๕๒ ๑๒. ยถาวุตฺตานุสาเรน เสสา นิยตโยคิโน สงฺคหญจ ปวกฺขามิ เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า อาศัยนัยที่กล่าวมานี้ เจตสิกที่เหลือ พึงรู้ว่าเป็น นิยตโยคีเจตสิก เจตสิกที่เหลือ (๔๑ ดวง) เป็นนิยตโยคีเจตสิก (ประกอบได้แน่นอน) ต่อไปนี้จะได้กล่าวสังคหนัยของเจตสิก ตามสมควร อธิบาย เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง จำแนกได้ ๒ ประเภท คือ อนิยตโยคีเจตสิก และนิยตโยคีเจตสิก ก. อนิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่เป็นที่แน่นอนกล่าวคือ ประกอบเป็นครั้งคราว มีจำนวน ๑๑ ดวง ได้แก่ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ และมิทธะ ข. นิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตเสมอ เป็นที่แน่นอนมี ๔๑ ดวงคือ เจตสิกที่เหลือจาก ๑๑ ดวง นั่นเอง อนิยตโยคีเจตสิก ที่ว่าประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่แน่นอน บางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ เป็นดังนี้ ๑. อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ๓ ดวงนี้ ถ้าจะเกิดก็ต้องเกิดร่วมกันพร้อมกับโทสจิต และจะต้องเกิดทีละดวง คือทีละอย่างเท่านั้น เพราะอารมณ์ต่างกัน การประกอบเป็นครั้งคราวและทีละดวง เช่นนี้เรียกว่า นานากทาจิ หน้า ๕๓ เวลาที่ริษยาสมบัติของผู้อื่น อิสสาเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่มัจฉริยะและกุกกุจจะไม่เกิด เพราะอารมณ์คนละอย่างต่างกัน เวลาที่เหนียวแน่นในสมบัติของตน มัจฉริยเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและกุกกุจจะไม่เกิด เวลาที่เศร้าใจ รำคาญใจ ในบาปที่ตนได้กระทำไปแล้ว หรือในการบุญที่ตนไม่ได้ทำ กุกกุจจะเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและมัจฉริยะไม่เกิด ๒. วิรตี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตะเจตสิก และ สัมมาอาชีวเจตสิก นั้น ถ้าเป็นโลกีย์ ประกอบกับจิตที่เป็นมหากุสล ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางคราว และประกอบทีละดวง เวลาที่เว้น วจีทุจริต ๔ คือ มุสาวาจา ปิสุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปวาจา ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้นสัมมาวาจาก็เกิด แต่สัมมากัมมันตะและสัมมาอาชีวะ ไม่เกิด เวลาที่เว้นกายทุจริต ๓ คือ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้น สัมมากัมมันตะก็เกิด แต่สัมมาวาจาและสัมมาอาชีวะไม่เกิด เวลาที่เว้นวจีทุจริต ๔ และเว้นกายทุจริต ๓ ที่รวมเรียกว่าเว้นทุจริต ๗ ที่เกี่ยวกับอาชีพเวลานั้นสัมมาอาชีวะเกิด แต่ถือว่าสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะไม่เกิด หน้า ๕๔ แต่ถ้าเป็นโลกุตตรโดยประกอบกับโลกุตตรจิตแล้ว ก็เป็น นิยตเอกโต คือต้องประกอบแน่นอนและประกอบพร้อมกันทั้ง ๓ ดวง เพราะวิรตีนี้เป็นองค์มัคคมีหน้าที่ประหารกิเลส ถ้าวิรตีไม่เกิด มัคคจิตก็จะเกิดไม่ได้เลย ๓. กรุณาเจตสิก กับมุทิตาเจตสิก ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง เวลาใดที่รับเอาทุกขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่เป็นอารมณ์เกิดกรุณาสงสารต่อสัตว์นั้น ปรารถนาช่วยสัตว์นั้นให้พ้นทุกข์ กรุณาเจตสิกก็เกิดแต่มุทิตาเจตสิกไม่เกิด เวลาใดที่รับเอาสุขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังมีความสุขอยู่เป็นอารมณ์แล้วก็พลอยปิติยินดีกับเขาด้วยเช่นนี้ มุทิตาเจตสิกก็เกิด แต่กรุณาเจตสิกไม่เกิด ๔. มานเจตสิก เพราะมีดวงเดียว ไม่มีพวก จึงเรียกว่าเป็น กทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้ง (ไม่ใช่ นานากทาจิ ซึ่งหมายความว่าประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง) มานเจตสิกนี้ถ้าจะเกิด ก็เกิดใน โลภทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง ๕. ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก คู่นี้เป็น สหกทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและพร้อมกัน หมายความว่า ถ้าจะประกอบก็ต้องประกอบด้วยกันพร้อมกันทั้งคู่ (ไม่ใช่ทีละดวง) หรือถ้าไม่ประกอบก็ไม่ประกอบทั้งคู่ หน้า ๕๕ สังคหนัย สังคหะ แปลว่า รวบรวม หรือสงเคราะห์ ในที่นี้มีความหมายว่า จิตแต่ละดวงได้รวบรวมเจตสิกเข้ามาไว้เท่าใด คืออะไรบ้าง หรือจิตแต่ละดวงมีเจตสิกอะไรบ้าง รวมเป็นจำนวนเท่าใดมาสงเคราะห์จิตนั้น ๑๓. ฉตฺตึสานุตฺตเร ธมฺมา ปญฺจตึส มหคฺคเต อฏฺฐตึสาปิ ลพฺภนฺติ กามาวจรโสภณเณ ฯ ๑๔. สตฺตวีสติปญฺญมฺหิ ทฺวาทสาเหตุเกติ จ ยถาสมฺภวโยเคน ปญฺจธา ตตฺถ สงฺคโห ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๖ ดวง(โลกุตตรจิตอย่างย่อ๘ ดวง) มหัคคตจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๕ ดวง กามาวจรโสภณจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๘ ดวง อกุสลจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๒๗ ดวง อเหตุกจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๑๒ ดวง จิตที่ถูกประกอบด้วยเจตสิก โดยสังคหนัย ๕ อย่าง อนุตตรสังคหนัย อนุตตร มีความหมายว่า เหนืออย่างไม่มีอะไรเหนือกว่า หรือแม้แต่จะเหนือเท่า พ้นอย่างไม่มีอะไรจะเทียบได้ ทั้งนี้ก็หมายถึงโลกุตตรนั่นเอง ดังนั้นอนุตตรสังคหนัย ก็คือ สังคหนัยแห่งโลกุตตรจิต นั่นแหละ ๑๕. ฉตฺตึส ปญฺจตึสา จ จตุตฺตึส ยถากฺกมํ เตตฺตึส ทฺวยมิจฺเจวํ ปญฺจธานุตฺตเร ฐิตา ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิตนั้น (อย่างพิศดาร ๔๐ ดวง) มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับ คือ ๓๖ นัยหนึ่ง , ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ คู่หนึ่ง อธิบาย นัยที่ ๑ ปฐมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปฐมฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญาเจตสิก ๒) นัยที่ ๒ ทุติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ทุติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นวิตกเจตสิก) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) นัยที่ ๓ ตติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ตติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นวิตก วิจาร) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) นัยที่ ๔ จตุตถฌานมัคคจิต ๔ ดวง จตุตถฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) หน้า ๕๗ นัยที่ ๕ ปัญจมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปัญจมฌานผลจิต ๔ ดวงมีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) มหัคคตสังคหนัย ๑๖. ปญฺจตึส จตุตฺตึส เตตฺตึส จ ยถากฺกมํ พาตฺตึส เจว ตึเสติ ปญฺจธาว มหคฺคเต แปลความว่า มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับคือ ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ นัยหนึ่ง , ๓๒ นัยหนึ่ง และ ๓๐ นัยหนึ่ง อธิบาย มหัคคตจิต ๒๗ ดวงนั้น เมื่อนับตามอำนาจแห่งฌานแล้ว ก็มีเจตสิกประกอบไม่เท่ากัน จึงจัดได้เป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ ปฐมฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๒ ทุติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มี หน้า ๕๘ เจตสิกประกอบ ๓๔ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒(เว้นวิตกเจตสิก)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๓ ตติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นวิตก วิจาร)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๔ จตุตถฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๕ ปัญจมฌาน ๑๕ ดวง คือ รูปาวจรปัญจมฌาน กุสล วิบาก กิริยา ๓ ดวง อรูปาวจร กุสล วิบาก กิริยา ๑๒ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐(เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก๒๐(เว้นวิรตี ๓ อัปปมัญญา ๒) กามาวจรโสภณสังคหนัย ๑๗. อฏฐตึส สตฺตตึส ทฺวยํ ฉตฺตึสกํ สุเภ ปญฺจตึส จตุตฺตึส ทฺวยํ เตตฺตึสกํ กฺริเย ฯ ๑๘. เตตฺตึส ปาเก พาตฺตึสทฺ วเยกตึสกํ ภว สเหตุกกามาวจร ปญฺญปากกฺริยามเน ฯ แปลความว่า ในสเหตุกกามาวจร กุสล วิบาก กิริยา มีสังคหะ หน้า ๕๙ ตามลำดับคือ มหากุศล มี ๓๘ หนึ่งนัย ๓๗ สองนัย ๓๖ หนึ่งนัย มหาวิบาก มี ๓๕ หนึ่งนัย ๓๔ สองนัย ๓๓ หนึ่งนัย มหากิริยา มี ๓๓ หนึ่งนัย ๓๒ สองนัย ๓๑ หนึ่งนัย อธิบาย ในกามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวงนั้น มีสังคหะรวม ๑๒ นัย ดังนี้ คือ มหากุสล ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๘, ๓๗, ๓๗, ๓๖ มหากิริยา ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๕, ๓๔, ๓๔, ๓๓ มหาวิบาก ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๓, ๓๒, ๓๒, ๓๑ นัยที่ ๑ มหากุสล คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ ที่เป็นญาณสัมปยุตต ทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง เต็มที่ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๒ มหากุสล คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ ซึ่งเป็นญาณวิปปยุตตทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) นัยที่ ๓ มหากุสล คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ ซึ่งเป็นอุเบกขาทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๔ มหากุสล คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ ซึ่งทั้งคู่เป็นอุเบกขาด้วยเป็นญาณวิปปยุตตด้วย มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญา) หน้า ๖๐ นัยที่ ๕ มหากิริยาคู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๖ มหากิริยาคู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ๓ ปัญญา ๑) นัยที่ ๗ มหากิริยา คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี) นัยที่ ๘ มหากิริยา คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ปัญญา) นัยที่ ๙ มหาวิบาก คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) นัยที่ ๑๐ มหาวิบาก คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) นัยที่ ๑๑ มหาวิบาก คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) หน้า ๖๑ นัยที่ ๑๒ มหาวิบาก คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) โสภณเจตสิกที่ไม่ได้สังคหนัย ต่อไปนี้จะแสดงโสภณเจตสิกบางดวง ที่ไม่ได้ประกอบกับโสภณจิต บางประเภท ๑๙. น วิชฺชนเตตฺถ วิรตี กฺริเยสุ จ มหคฺคเต อนุตฺตเร อปฺปมญฺญา กามปาเก ทฺวยํ ตถา ฯ แปลความว่า โสภณเจตสิกที่กล่าวมานี้ ในมหากิริยาจิต ย่อมไม่มีวิรตีเจตสิก ในโลกุตตรจิต ย่อมไม่มีอัปปมัญญาเจตสิก ในมหาวิบากจิต ย่อมไม่มีทั้ง ๒ (คือทั้งวิรตี และ อัปปมัญญา) อธิบาย ๑. ในมหากิริยาจิต ๘ ดวง ทั้งนี้เป็นเพราะมหากิริยาจิต เป็นจิตของพระอรหันต์ ซึ่งจบการศึกษาแล้ว เป็นผู้ที่ปราศจากบาปธรรมทั้งปวง ตั้งแต่อรหัตตผลได้เกิดขึ้นแล้ว จึงไม่จำเป็นหรือไม่มีกิจที่จะต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่วหรือเว้นเลี้ยงชีพชั่วอีกเลย ด้วยว่าไม่มีกิเลสเหลือที่จะให้ทำชั่วอย่างนั้น หรืออย่างไหน ๆ ทั้งสิ้น หน้า ๖๒ ๒. ในมหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกประกอบ เพราะมหัคคตจิตเกิดขึ้นโดยมีกัมมัฏฐานเป็น อารมณ์ ไม่ใช่เกิดขึ้นโดยอาศัยการเว้นทุจริตซึ่งจะต้องมีวิรมิตัพพวัตถุ (วัตถุอันพึงเว้น) เป็นอารมณ์แต่อย่างใด ๓. ในโลกุตตรจิต ไม่มีอัปปมัญญาเจตสิกประกอบ เพราะอัปปมัญญาเจตสิก จะต้องมีสัตว์บัญญัติเป็นอารมณ์ แต่โลกุตตรจิตนั้นมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว ๔. ในมหาวิบากจิต ๘ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกทั้ง ๓ และอัปปมัญญาเจตสิกทั้ง ๒ รวม ๕ ดวงนี้ ประกอบด้วยเลย เพราะมหาวิบากเป็นจิตที่เป็นผลของมหากุสล ทำหน้าที่ปฏิสนธิ เป็นต้น เมื่อขณะปฏิสนธินั้น ไม่ต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่ว และเว้นเลี้ยงชีพชั่ว ทั้งขณะนั้นก็ไม่ได้กรุณาสงสารผู้ใด ไม่ได้มีมุทิตา คือพลอยยินดีกับใคร อันเป็นการเว้น คือไม่เกิด หรือเกิดขึ้นไม่ได้อยู่แล้วตามธรรมชาติ จึงไม่ต้องมีวิรตีเจตสิก อัปปมัญญเจตสิก มาประกอบ ธรรมบางประการที่ทำให้จิตต่างกัน ๒๐. อนุตฺตเร ฌานธมฺมา อปฺปมญฺญา จ มชฺฌิเม วิรตี ญาณ ปีติ จ ปริตฺเตสุ วิเสสกา ฯ แปลความว่า ในโลกุตตรจิต ฌานธรรมย่อมทำให้ต่างกัน ในมหัคคตจิต ฌานธรรมและอัปปมัญญา ทำให้ต่างกัน ในกามาวจรโสภณจิต วิรตี ญาณ ปีติ ทำให้ต่างกัน อธิบาย ๑. ในโลกุตตรจิตนั้น ฌานธรรม คือฌานทั้ง ๕ ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือต่างกันจาก ๘ ดวง เป็น ๔๐ ดวง และ วิตกเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปฐมฌาน ต่างกับโลกุตตร ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกุตตร ทุติยฌาน ต่างกับโลกุตตร ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกุตตร ตติยฌาน ต่างกับโลกุตตร จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร จตุตถฌาน ต่างกับโลกุตตร ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปัญจมฌาน ต่างกับโลกุตตร ฌานต้น ๆ ๒. ในมหัคคตจิตนั้น ฌานธรรมและอัปปมัญญาเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกัน ดังต่อไปนี้ วิตกเจตสิก ทำให้โลกีย ปฐมฌาน ต่างกับโลกีย ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกีย ทุติยฌาน ต่างกับโลกีย ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกีย ตติยฌาน ต่างกับโลกีย จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย จตุตถฌาน ต่างกับโลกีย ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ อัปปมัญญาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ ๓. ในกามาวจรโสภณจิตนั้น วิรตีเจตสิก ญาณคือ ปัญญาเจตสิกและปีติเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกันดังนี้ มหากุสลจิต มีวิรตีประกอบ ทำให้ต่างกับมหากิริยาจิต ซึ่งไม่มีวิรตีประกอบ หน้า ๖๔ จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต มีปัญญาเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่เป็นญาณวิปปยุตต ซึ่งไม่มีปัญญาเจตสิกประกอบ จิตที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา มีปีติเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่ไม่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา ซึ่งไม่มีปีติเจตสิกประกอบ อนึ่ง มีข้อที่ควรสังเกตว่า ในกรณีใดที่ปัญญาเจตสิก หรือปีติเจตสิกจึงประกอบ หรือไม่ประกอบนั้น ดังนี้ จิตดวงใดที่เป็นญาณสัมปยุตตแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปัญญาเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน จิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนาแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปีติเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน (เฉพาะกามจิต) ดังนั้น ก็พึงเป็นที่เข้าใจได้ว่า จิตดวงใดที่เป็นญาณวิปปยุตต คือไม่ประกอบด้วยปัญญาแล้ว ปัญญาเจตสิกก็ย่อมไม่เข้าประกอบอยู่เอง และจิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโทมนัสเวทนา ความเสียใจก็ดีเกิดพร้อมด้วยอุเบกขาเวทนา เฉย ๆ ก็ดี ปีติ คือความอิ่มใจ ย่อมเข้าประกอบด้วยไม่ได้เลย เพราะความเสียใจ หรือความเฉย ๆ จะไม่มีความอิ่มใจ อกุสลสังคหนัย ๒๑. เอกูนวีสฏฺฐารส วีเสกวีส วีสติ ทฺวาวีส ปนฺนรเสติ สตฺตธากุสเล ฐิตา ฯ แปลความว่า อกุศลจิตมีสังคหะ ๗ นัย ตามลำดับ คือ ๑๙ นัยหนึ่ง , ๑๘ นัยหนึ่ง , ๒๑ นัยหนึ่ง , ๒๐ นัยหนึ่ง , ๒๒ นัยหนึ่ง และ ๑๕ นัยหนึ่ง หน้า ๖๕ อธิบาย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบได้ รวมทั้งหมด ๒๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ อกุสลเจตสิก ๑๔ แต่ว่า อกุสลจิตแต่ละดวงนั้นมีเจตสิกประกอบได้ไม่เท่ากัน ดังนั้นอกุสล จิต ๑๒ ดวง จึงจัดสังคหะได้เป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ โลภมูลจิตดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๓ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๙ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ สัพพากุสลสาธารณเจตสิกหรือโมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๑) มานเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๓) นัยที่ ๒ โลภมูลจิตดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๗ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๘ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑(ประกอบเฉพาะดวงที่ ๕) มานเจตสิก (ประกอบ เฉพาะดวงที่ ๗) นัยที่ ๓ โลภมูลจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๔ อันเป็นสสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๑ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๒) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๔) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๔ โลภมูลจิตดวงที่ ๖ กับดวงที่ ๘ อันเป็นสสังขาริก เหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๐ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) หน้า ๖๖ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๖) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๘) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๕ โทสมูลจิตดวงที่ ๑ อันเป็นอสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ นัยที่ ๖ โทสมูลจิตดวงที่ ๒ อันเป็นสสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๒ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๗ โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบเป็นจำนวนเท่ากัน คือ ๑๕ ดวง แต่มีที่ต่างกัน คือ ก. โมหมูลจิต ดวงที่ ๑ได้แก่ วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิตหรือวิจิกิจฉาสหคตจิต เจตสิกที่ประกอบคืออัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นอธิโมกข์ ปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวม ๑๕ ดวง ข. โมหมูลจิต ดวงที่ ๒ ได้แก่ อุทธัจจสัมปยุตตจิต มีเจตสิกที่ประกอบ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ รวม ๑๕ ดวง เท่ากันกับ ก. สัพพากุสลโยคีเจตสิก ๒๒. สาธารณา จ จตฺตาโร สมานา จ ทสาปเร จุทฺทเสเต ปวุจฺจนฺติ สพฺพากุลสโยคิโน ฯ หน้า ๖๗ แปลความว่า สัพพากุสลสาธารณเจตสิก ๔ ดวง อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก อธิบาย สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด (ทั้ง ๑๒ ดวง) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก หรือโมจตุกะ ๔ ดวงคือ โมห อหิริก อโนตตัปป อุทธัจจ กับอัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง คือ ผัสส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร และ วิริยะ (เว้นอธิโมกธ ปีติ ฉันทะ) รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเป็นเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด หมายความว่า อกุสลจิตทั้ง ๑๒ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงหนึ่งดวงใดเกิดขึ้นเป็นต้องมีเจตสิกทั้ง ๑๔ ดวงนี้ ประกอบเสมอไปอย่างแน่นอน อเหตุกสังคหนัย ๒๓. ทฺวาทเสกาทส ทส สตฺต จาติ จตุพฺพิโธ อฏฐารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ สงฺคโห ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย ตามลำดับ คือ ๑๒ หนึ่งนัย , ๑๑ หนึ่งนัย , ๑๐ หนึ่งนัย , ๗ หนึ่งนัย หน้า ๖๘ อธิบาย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ประเภทเดียวเท่านั้น คือ อัญญสมานาเจตสิก และอัญญสมานาเจตสิกก็เข้าประกอบกับอเหตุกจิตได้เป็นอย่างมากเพียง ๑๒ ดวงเท่านั้น ส่วนอีกดวง คือ ฉันทเจตสิกเข้าประกอบกับอเหตุกจิตด้วยไม่ได้เลยเป็นเด็ดขาดแน่นอน เหตุที่ฉันทเจตสิกไม่ประกอบกับอเหตุกจิตเลยนั้น เพราะว่าฉันทเจตสิกนี้มีลักษณะ คือ ความพอใจในอารมณ์ มีความปรารถนาจะกระทำ มีความปลงใจกระทำ ส่วนอเหตุกจิตนั้นเป็นจิตที่แม้ว่าจะปลงใจกระทำหรือไม่ ก็ต้องเกิด เช่น จักขุวิญญาณจิต มีหน้าที่เห็นรูป ไม่ว่ารูปนั้นจะสวยงามอยากเห็นหรือเป็นรูปที่น่าเกลียดน่ากลัวไม่อยากเห็น เมื่อรูปนั้นมาปรากฏเฉพาะหน้า ก็จะต้องเห็น จะเลือกเห็นเฉพาะรูปที่สวยงามไม่ได้ ทางโสตวิญญาณจิต มีหน้าที่ได้ยินเสียงก็เช่นกัน จะเลือกได้ยินแต่เสียงที่เพราะ ๆ รื่นหู ก็ไม่ได้ ซึ่งผิดกับจิตอื่นที่มีฉันทเจตสิกประกอบ เช่นโทสจิต เป็นต้น เมื่อได้เห็นสิ่งที่ไม่ดี เช่นเห็นสุนัขขี้เรื้อน ผู้เห็นพอใจปลงใจจะให้เกิดความเกลียดชังก็ได้ หรือจะเลือกในทางไม่เกลียดก็ได้ ถ้าเลือกในทางเกลียด โทสจิตก็เกิด ถ้าเลือกในทางสงสารว่าเป็นกรรมของสัตว์นั้น โทสจิตก็ไม่เกิด แต่กลับเป็นโสภณจิต ดังนั้นฉันทเจตสิกจึงไม่เกิดร่วมกับอเหตุกจิตเลย เพราะเป็นจิตที่เลือกไม่ได้ตามใจชอบ หน้า ๖๙ อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ดวง อันเป็นจิตยิ้มแย้มของพระอรหันต์โดยเฉพาะ บุคคลอื่นใดไม่มีจิตดวงนี้ หสิตุปปาทมีเจตสิกประกอบ ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันท) นัยที่ ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง (เรียกอีกชื่อหนึ่งตามกิจ หรือหน้าที่การงานว่า โวฏฐัพพนจิตก็ได้) และโสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง จิต ๒ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบ ๑๑ ดวง เท่ากัน แต่มีที่ต่างกัน คือ เจตสิกที่ประกอบกับมโนทวาราวัชชนจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก และฉันทเจตสิก) ส่วนเจตสิกที่ประกอบกับโสมนัสสันตีรณจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ แต่เว้นวิริยเจตสิก กับฉันทเจตสิก นัยที่ ๓ มโนธาตุ ๓ ดวง (ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง) กับอเหตุกปฏิสนธิจิต ๒ ดวง (คืออุเบกขาสันตีรณจิต ๒) รวมจิต ๕ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบได้ ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิริย ปีติ ฉันท) นัยที่ ๔ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ดวง มีเจตสิกประกอบได้จำพวกเดียว คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเท่านั้นเอง ๒๔. อเหตุเกสุ สพฺพตฺถ สตฺต เสสา ยถารหํ อิติ วิตฺถารโต วุตฺโต เตตฺตึสวิธ สงฺคโห ฯ หน้า ๗๐ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวงนี้ ย่อมประกอบด้วย สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเสมอ ส่วน ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวงนั้น ย่อมประกอบกับจิตตามที่จะประกอบได้ เมื่อนับโดยพิสดารย่อมได้สังคหนัย ๓๓ นัยดังได้กล่าวมาแล้ว ๒๕. อิตถํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ สมฺปโยคญฺจ สงฺคหํ ญตฺวา เภทํ ยถาโยคํ จิตฺเตน สมมุทฺทิเส ฯ แปลความว่า ตามที่ได้กล่าวมา พึงรู้สัมปโยคนัยและสังคหนัยของเจตสิกเสียก่อน แล้วจึงจำแนกประเภทของจิตและ เจตสิกที่ประกอบกัน ตามที่จะเข้ากันได้เถิด อธิบาย สัมปโยคนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่า เจตสิกแต่ละดวงเข้าประกอบกับจิตใดบ้าง สังคหนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่าจิตแต่ละดวงมีเจตสิกใดมาร่วมสงเคราะห์บ้าง สัมปโยคนัย มี ๑๖ นัย คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ได้สัมปโยค ๑ นัย ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวง ได้สัมปโยค ๖ นัย อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง ได้สัมปโยค ๕ นัย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ได้สัมปโยค ๔ นัย รวม ๕๒ ดวง ได้สัมปโยค ๑๖ นัย หน้า ๗๑ สังคหนัย มี ๓๓ นัย คือ โลกุตตรจิต ๔๐ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง มีสังคหะ ๑๒ นัย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีสังคหะ ๗ นัย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย รวมจิต ๑๒๑ ดวง มีสังคหะ ๓๓ นัย อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๒ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห ทุติเย ปริจฺโฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ ในปริจเฉทที่ ๒ ( ชื่อ เจตสิกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวมรวบ ซึ่งอรรถแห่งอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อแต่เพียงเท่านั้น

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค เจตสิกปรมัตถ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส เจตสิก ๕๒ อัญญสมนาเจตสิก ๑๓ อกุศลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ โมจตุกเจตสิก ๔ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ผัสสะ โมหะ สัทธา เวทนา อหิริกะ สติ สัญญา อโนตตัปปะ หิริ เจตนา อุทธัจจะ โอตตัปปะ เอกัคคตา โลติกเจตสิก ๓ อโลภะ ชีวิตินทรีย์ โลภะ อโทสะ มนสิการ ทิฏฐิ ตัตรมัชฌัตตตา ปกิณณกเจตสิก ๖ มานะ กายปัสสัทธิ , จิตตปัสสัทธิ วิตก โทจตุกเจตสิก ๔ กายลหุตา , จิตตลหุตา วิจาร โทสะ กายมุทุตา , จิตตมุทุตา อธิโมกข์ อิสสา กายกัมมัญญตา , จิตตกัมมัญญตา วิริยะ มัจฉริยะ กายปาคุญญตา , จิตตปาคุญญตา ปีติ กุกกุจจะ กายุชุกตา , จิตตุชุกตา ฉันทะ ถีทุกเจตสิก ๒ วีรตีเจตสิก ๓ ถีนะ สัมมาวาจา มิทธะ สัมมากัมมันตะ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ สัมมาอาชีวะ วิจิกิจฉา อัปปมัญญาเจตสิก ๒ กรุณา มุทิตา ปัญญาเจตสิก ๑ ปัญญินทรีย์ หน้า ๒ เจตสิกปรมัตถนี้ ตามพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่งพระอนุรุทธาจารย์ได้รจนาไว้นั้น ท่านจัดเป็นปริจเฉทที่ ๒ ให้ชื่อว่า เจตสิกสังคหวิภาค อันแปลว่าส่วนที่รวบรวมเรื่องเจตสิก เจตสิกสังคหวิภาคนี้ ท่านประพันธ์ไว้เป็นคาถาสังคหะรวม ๒๕ คาถา ดังจะแสดงตามลำดับต่อไปจนครบทั้ง ๒๕ คาถา เจตสิกคืออะไร เจตสิกคือธรรมชาติสิ่งหนึ่ง ซึ่งประกอบกับจิต และปรุงแต่งจิตให้ประพฤติเป็นไปตามนั้น อาการที่ประกอบกับจิตนั้น เรียกว่า เจโตยุตฺตลกฺขณํ คือมีสภาพที่ประกอบกับจิต บริบูรณ์ด้วยลักษณะ ๔ ประการคือ เอกุปฺปาท เกิดพร้อมกับจิต เอกนิโรธ ดับพร้อมกับจิต เอกาลมฺพณ มีอารมณ์เดียวกับจิต เอกวตฺถุก อาศัยวัตถุเดียวกับจิต ดังมีคาถาสังคหะที่ ๑ แสดงว่า ๑. เอกุปฺปาทนิโรธา จ เอกาลมฺพณ วตฺถุกา เจโตยุตฺตา ทฺวิปญฺญาส ธมฺมา เจตสิกา มตา แปลความว่า สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต มีอารมณ์เดียวกับจิต และมีวัตถุที่อาศัยเกิดก็เป็นอัน เดียวกับจิต ธรรมชาตินั้นเรียกว่า เจตสิก มีจำนวน ๕๒ ดวง หน้า ๓ เจตสิกมี ลักษณะ ( คือคุณภาพหรือเครื่องแสดง ) , รสะ ( กิจการงาน หรือหน้าที่ ) , ปัจจุปัฏฐาน ( อาการปรากฏ หรือ ผล ) , ปทัฏฐาน ( เหตุใกล้ให้เกิด ) เป็น ๔ ประการ ซึ่งรวมเรียก ลักขณาทิจตุกะ นั้น ดังนี้ จิตฺตนิสฺสิตลกฺขณํ อาศัยจิตเกิดขึ้น เป็นลักษณะ อวิโยคุปฺปาทนรสํ เกิดร่วมกับจิต เป็นกิจ เอกาลมฺพณปจฺจุปฏฺฐานํ รับอารมณ์อย่างเดียวกับจิต เป็นผล จิตฺตุปฺปาทปทฏฺฐานํ มีการเกิดขึ้นแห่งจิต เป็นเหตุใกล้ อนึ่งเจตสิกนี้แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตประพฤติเป็นไปตามลักษณะของเจตสิกก็ตาม แต่ก็ต้องถือว่าจิตเป็นใหญ่ เป็นประธาน เพราะเจตสิกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยจิตเกิด เจตสิกทั้ง ๕๒ แบ่งเป็น ๓ ประเภท เจตสิกทั้งหมด มีจำนวน ๕๒ ดวง ซึ่งแต่ละดวงก็มีลักษณะแตกต่างกัน ไม่เหมือนกันเลย ถึงกระนั้นก็ยังแบ่งเจตสิก ๕๒ ดวงนี้ ได้เป็น ๓ ประเภท ดังมีคาถาสังคหะ แสดงว่า คาถาสังคหะที่ ๒ แสดงว่า ๒. เตรสญฺญสมานา จ จุทฺทสากุสลา ตถา โสภณา ปญฺจวีสาติ ทวิปญฺญาส ปวุจฺจเร ฯ แปลความว่า เจตสิก ๕๒ ดวง จัดเป็น ๔ ประเภท คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง โสภณเจตสิก ๑๕ ดวง หน้า ๔ อัญญสมานาเจตสิก อัญญสมานาเจตสิก เป็นเจตสิกที่เสมอเหมือนกับสภาพอื่นได้ หมายความว่าเป็นเจตสิกที่ประกอบกับธรรมที่เป็นอกุศล หรือเป็นกุศล หรือเป็นอพยากตะได้ทุกชนิด เมื่อประกอบกับธรรมชนิดใด ก็มีสภาพเป็นชนิดนั้นไปด้วย กล่าวคือถ้าเกิดร่วมกับ อกุศลก็นับเป็นอกุศลไปด้วย ถ้าเกิดร่วมกับกุศล ก็จัดเป็นกุศลไปด้วย เมื่อเกิดร่วมกับอพยากตะ ก็เรียกว่าเป็นอพยากตะไปด้วย อัญญสมานาเจตสิก มีจำนวน ๑๓ ดวง ชื่ออะไรบ้าง มีแจ้งอยู่ที่หน้าต้นนั้นแล้ว ในจำนวน ๑๓ ดวงนี้ ยังจัดออกได้เป็น ๒ พวก คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก มีจำนวน ๗ ดวง ปกิณณกเจตสิก มีจำนวน ๖ ดวง สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก เป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมดหมายความว่า จิตทั้งหมดซึ่งมีจำนวน นับอย่างย่อ ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็มี ๑๒๑ ดวงนั้น เมื่อจิตดวงใดเกิดขึ้น เจตสิกทั้ง ๗ ดวงนี้ ย่อมเกิดประกอบกับจิตนั้นพร้อมกันทั้ง ๗ ดวงเสมอไป ไม่มีเว้นเลย ดังนั้นจึงว่าเป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมด สมกับชื่อที่ว่า สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง มีดังนี้ หน้า ๕ ผัสสเจตสิก ๑. ผัสสเจตสิก คือ การกระทบอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ผุสนลกฺขโณ มีการกระทบอารมณ์ เป็นลักษณะ สงฺฆฏฏฺนรโส มีการประสานอารมณ์ วัตถุ วิญญาณ เป็นกิจ สนฺนิปาตปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประชุมพร้อมกัน เป็นผล อาปาถคตวิสยปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ ความหมายของผัสสเจตสิกนี้ ไม่ได้หมายเพียงแต่ว่า ของสองสิ่งกระทบกันเท่านั้น แต่หมายถึงว่าต้องมี ธรรม ๓ ประการมาประชุมร่วมพร้อมกัน จึงจะเรียกว่าผัสสเจตสิก ธรรม ๓ ประการนั้น คือ อารมณ์ ๑ วัตถุ ๑ ธรรม ๒ ประการนี้กระทบ กัน และทำให้เกิดวิญญาณอีก ๑ ด้วย ไม่ใช่แต่เพียงว่ากระทบกันเฉยๆ เวทนาเจตสิก ๒. เวทนาเจตสิก คือการเสวยอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็คือ ความรู้สึก รู้สึกว่าสบายหรือไม่สบาย แยกตาม ประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการรู้สึก เป็น ๕ อย่าง ได้แก่ ก. สุขเวทนาเจตสิก คือความสุขสบายทางกาย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ดีเป็นลักษณะ หน้า ๖ สมฺปยุตตฺตานํ พยูหนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเจริญ เป็นกิจ กายิกอสฺสาทปจฺจุปฏฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางกาย เป็นผล กายินฺทฺริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ข. ทุกขเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ยากลำบากกาย มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ มิลาปนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเศร้าหมอง เป็นกิจ กายิกาพาธปจฺจุปฏฺฐานา มีความอาพาธทางกาย เป็นผล กายินฺทริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ค. โสมนัสเวทนาเจตสิกคือความสุขความสบายใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ อิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการทำจิตให้อยู่ร่วมกับอารมณ์ที่ดี เป็นกิจ เจตสิกอสฺสาทปฏฺจุปจฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางใจ เป็นผล ปสฺสทฺธิปทฏฺฐานา มีความสงบกายสงบใจ เป็นเหตุใกล้ ง. โทมนัสเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อนิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ อนิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นกิจ เจตสิกาพาธปจฺจุปฏฐานา มีความอาพาธทางใจ เป็นผล หทยวตฺถุปทฏฺฐานา มีหทัยวัตถุ เป็นเหตุใกล้ จ. อุเบกขาเจตสิก คือความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ มชฺฌตฺตเวทยิตลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ปานกลาง เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ นาติอุปพยูหนมิลาปนรสา มีการักษาสัมปยุตตธรรม ไม่ให้เจริญ ไม่ให้เศร้าหมอง เป็นกิจ สนฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเฉยๆ เป็นผล นิปฺปิติกจิตฺตปทฏฺฐานา มีจิตที่ไม่ยินดีเป็นเหตุใกล้ สัญญาเจตสิก ๓. สัญญาเจตสิก คือ ความจำหมายอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สญฺชานน ลกฺขณา มีความจำ เป็นลักษณะ ปุนสญฺชานน ปจฺจยนิมิตฺตกรณ รสา มีการหมายไว้และจำได้ เป็นกิจ ยถาคหิต นิมิตฺตวเสน อภินิเวสกรณ ปจฺจุปฏฺฐานา มีความจำได้ในสิ่งที่หมายไว้ เป็นผล ยถาอุปฏฺฐิตวิสยปทฏฺฐานา มีอารมณ์ที่ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๘ เจตนาเจตสิก ๔. เจตนาเจตสิก คือการแสวงหาหรือขวนขวายที่จะให้เป็นไปในอารมณ์ หรือความตั้งใจ หรือความสำเร็จ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ เจตนาภาวลกฺขณา มีการชักชวน เป็นลักษณะ อายูหนรสา มีการขวนขวาย เป็นกิจ สํวิธาน ปจฺจุปฏฺฐานา มีการจัดแจง เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ เอกัคคตาเจตสิก ๕. เอกัคคตาเจตสิก คือการตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวิกฺเขปลกฺขณา มีการไม่ฟุ้งซ่าน เป็นลักษณะ สหชาตานํ สมฺปิณฺฑนรสา มีการรวบรวมสหชาตธรรม เป็นกิจ อุปสมปจฺจุปฏฺฐานา มีความสงบ เป็นผล สุขปทฏฺฐานา มีสุขเวทนา เป็นเหตุใกล้ ชีวิตินทรียเจตสิก ๖. ชีวิตินทรียเจตสิก คือการรักษาธรรมที่เกิดร่วมด้วยตนให้ตั้งอยู่ตามอายุของตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๙ สหชาตานํ อนุปาลนลกฺขณํ มีการเลี้ยงรักษาสหชาตธรรม เป็นลักษณะ เตสํ ปวตฺตนรสํ มีความตั้งอยู่และเป็นไปได้ เป็นกิจ เตสญฺเญวฐปนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการทรงอยู่ได้ซึ่งสหชาตธรรม เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานํ มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก ๗. มนสิการเจตสิก คือการกระทำอารมณ์ให้แก่จิต หรือความใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สารณลกฺขโณ มีการทำให้สัมปยุตตธรรมใส่ใจในอารมณ์ เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ อารมฺมเณ สํโยชนรโส มีการทำให้สัมปยุตตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมณาภิมุขีภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการทำให้สัมปยุตตธรรมให้มีหน้าที่เฉพาะอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก คือ ความใส่ใจในอารมณ์นี้ ถ้ามีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอัน แยบคาย คือใส่ใจให้ถูกต้องตรงตามสภาวะแห่ง ความเป็นจริงแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ดีงาม หน้า ๑๐ ความใส่ใจเป็นอันดีเรียกว่า โยนิโสมนสิการ ถ้าไม่มีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอันไม่แยบคายแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ไม่ดี จิตที่ ชั่วที่บาป ความไม่ใส่ใจเป็นอันดีนี้ เรียกว่า อโยนิโสมนสิการ สาเหตุที่จะให้เกิด โยนิโสมนสิการ คือ ๑. ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา เคยทำบุญไว้แต่ปางก่อน ๒. ปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่สมควร คือประเทศที่มีสัปบุรุษ ๓. สปฺปุริสูปนิสฺสย คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. สทฺธมฺมสฺสวน ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตาสมฺนาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ส่วนสาเหตุที่จะให้เกิด อโยนิโสมนสิการ ก็ตรงกันข้าม คือ ๑. ปุพฺเพ อกตปุญฺญตา ไม่ได้สร้างสม บุญไว้แต่ปางก่อน ๒. อปฺปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่ไม่สมควร (คือไม่มีสัปบุรุษ) ๓. อสปฺปุริสูปนิสฺสย ไม่ได้คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. อสทฺธมฺมสฺสวน ไม่ได้ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตมิจฉาปณิธิ ตั้งตนไว้ผิด ปกิณณกเจตสิก ปกิณณกเจตสิก เป็นเจตสิกเบ็ดเตล็ด ไม่ประกอบกับจิตทั่วไปแต่ประกอบได้เป็นบางดวง ปกิณณกเจตสิกมี ๖ ดวง ดังต่อไปนี้ หน้า ๑๑ วิตกเจตสิก ๑. วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญ ก็คือการคิด การนึกถึงอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อภินิโรปนกฺขโณ มีการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ เป็นลักษณะ อาหนปริยาหนรโส มีการกระทำให้จิตกระทบอารมณ์บ่อยๆ เป็นกิจ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อานยนปจฺจุปฏฺฐาโน มีจิตที่ทรงอยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์นี้ มีความหมายใกล้เคียงกับเจตนาเจตสิก ความตั้งใจในอารมณ์ และมนสิการ เจตสิก ความใส่ใจในอารมณ์ เพื่อให้เกิดความแตกต่างกัน จึงมีอุปมาด้วยเรือแข่งว่า เจตนาเจตสิก อุปมาดังคนพายหัว ต้องคว้าธงให้ได้ อันหมายถึงความสำเร็จ คือชัยชนะ มนสิการเจตสิก อุปมาดังคนถือท้าย ต้องคัดวาดเรือให้ตรงไปยังธงอันเป็นหลักชัย วิตกเจตสิก อุปมาดังคนพายกลางลำ มุ่งหน้าจ้ำพายไปแต่อย่างเดียว หน้า ๑๒ วิจารเจตสิก ๒. วิจารเจตสิก คือ การประคองจิตให้อยู่ในอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็ว่า คิดบ่อยๆ นั่นเอง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมณานุมชฺชนลกฺขโณ มีการพิจารณาอารมณ์บ่อยๆ เป็นลักษณะ ตตฺถ สหชาตานุโยชนรโส มีการทำให้สหชาตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ จิตฺตอนุปฺปพนฺธปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตกแต่งจิตให้อยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ อธิโมกขเจตสิก ๓. อธิโมกขเจตสิก มีการตัดสินอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สนฺนิฏฺฐานลกฺขโณ มีการสันนิษฐานอารมณ์ เป็นลักษณะ อสํสปฺปนรโส มีการไม่โยกไม่คลอน เป็นกิจ วินิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตัดสิน เป็นผล สนฺนิฏเฐยฺยธมฺมปทฏฺฐาโน มีการสันนิษฐานธรรม เป็นเหตุใกล้ วิริยเจตสิก ๔. วิริยเจตสิก คือ ความเพียรเพื่อให้ได้อารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๑๓ อุสฺสาหนลกฺขณํ มีความอุตสาหะ เป็นลักษณะ สหชาตานํ อุปตฺถมฺภนรสํ มีการอุดหนุนค้ำชูสหชาตธรรม เป็นกิจ อสํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการไม่ย่อท้อถดถอย เป็นผล สํเวคปทฏฺฐานํ มีความสลด เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก ๕. ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้ม หรืออิ่มใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สมฺปิยายนลกฺขณา มีความอิ่มใจ เป็นลักษณะ กายจิตฺตปีฬนรสา มีการทำกายและใจอิ่มเอิบ เป็นกิจ โอทคฺยปจฺจุปฏฺฐานา มีกายและใจเฟื่องฟู เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้มใจ อิ่มใจในอารมณ์นั้นมี ๕ ประการ ๑. ขุทฺทกาปีติ ปลาบปลื้มใจเล็กน้อยพอรู้สึกขนลุก ๒. ขณิกาปีติ ปลาบปลื้มใจชั่วขณะเกิดขึ้นบ่อยๆ ๓. โอกฺกนฺติกาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวโยกตัวโคลง ๔. อุพฺเพงฺคาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวลอย ๕. ผราณาปีติ ปลาบปลื้มใจจนนอิ่มเอิบซาบซ่านไปทั่วทั้งกายและใจ ปีติ ที่เป็นองค์ฌานนั้น ต้องถึง ผรณาปีติ ส่วนปีติอีก ๔ ไม่นับเป็นองค์ฌาน เพราะยังเป็นของหยาบอยู่ อนึ่ง ปีติ กับ สุข ต่างกัน คือ ปีติ เป็นสังขารขันธ์ สุข เป็นเวทนาขันธ์ และเมื่อมี ปีติ จะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่ว่า เมื่อมีสุข อาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้ ฉันทเจตสิก ๖. ฉันทเจตสิก คือความพอใจในอารมณ์ ความปลงใจที่จะทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กตฺตุกมฺยตา ลกฺขโณ มีความปรารถนาเพื่อจะกระทำ เป็นลักษณะ อารมฺมณปริเยสนรโส มีการแสวงอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมเณน อตฺถิกตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ อกุศลเจตสิก อกุศลเจตสิก คือ เจตสิกที่ชั่ว ที่บาป ที่หยาบ ที่ไม่งาม ที่ไม่ฉลาด อกุศลเจตสิกนี้ เมื่อประกอบกับจิตแล้ว ก็ทำให้จิตเศร้าหมองเร่าร้อน และทำให้เสียศีลธรรม อกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลเจตสิก ๑๒ ดวงเท่านั้น ไม่ประกอบกับจิตอย่างอื่นเลย และเพราะเหตุว่าอกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่าอกุศลเจตสิก ไม่ชื่อว่าอโสภณเจตสิก เพราะถ้าชื่อว่า หน้า ๑๕ อโสภณเจตสิกแล้ว ก็จะมีความหมายไปว่า ต้องประกอบกับอโสภณจิตได้ทั้งหมด กล่าวคือต้องประกอบกับอเหตุกจิตด้วย อกุศลเจตสิก มี ๑๔ ดวง แบ่งออกเป็น ๕ พวก คือ ก. โมจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกมีโมหะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก โมจตุก นี้ ประกอบกับอกุศลเจตสิกได้ทั้งหมดทั้ง ๑๒ ดวง ดังนั้นจึงมีชื่ออีกชื่อว่า สัพพากุศลสาธารณเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกที่สาธารณแก่ อกุศลจิต ทั้งหมด ข. โลติกเจตสิก หมายความว่าเป็นเจตสิกพวกโลภะ มี ๓ ดวงด้วยกัน คือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และมานะเจตสิก โลติกนี้ประกอบได้เฉพาะแต่โลภมูลจิต ๘ ดวงเท่านั้น ค. โทจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกโทสะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก โทจตุก นี้ประกอบได้แต่เฉพาะโทสมูลจิต ๒ ดวงเท่านั้น ง. ถีทุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกถีนะ มี ๒ ดวงด้วยกัน คือ ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ถีทุก นี้ ประกอบได้เฉพาะแต่อกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก ๕ ดวงเท่านั้น จ. วิจิกิจฉาเจตสิกไม่มีพวก มีแต่ตัวดวงเดียว และประกอบได้เฉพาะแต่ โมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉา ดวงเดียวเท่านั้น เอง หน้า ๑๖ อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวงนั้น ดังนี้ โมหเจตสิก ๑. โมหเจตสิก คือ ความหลง ความไม่รู้จริงตามสภาวะของอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อญาณลกฺขโณ มีการไม่รู้ เป็นลักษณะ อารมมฺมณสภาวจฺฉาทนรโส มีการปกปิดไว้ซึ่งสภาวะแห่งอารมณ์ เป็นกิจ อนฺธการปจฺจุปฏฺฐาโน มีความมืดมน เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีก่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ที่ว่า ไม่รู้นั้น หมายความว่าไม่รู้ในการสิ่งควรรู้ แต่ไม่รู้ในสิ่งที่ไม่ควรรู้ ความไม่รู้ในที่นี้ หมายเฉพาะ ไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ (๑) ทุกฺเข อญาณํ ไม่แจ้งในทุกข์ (๒) ทุกฺขสมุทเย อญาณํ ไม่แจ้งเหตุให้เกิดทุกข์ (๓) ทุกฺขนิโรเธ อญาณํ ไม่แจ้งการดับทุกข์ (๔) ทุกฺขนิโรธคามินิปฏิปทาย อญาณํ ไม่แจ้งหนทางที่จะดับทุกข์ (๕) ปุพฺพนฺเต ยญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทริย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วนอดีต ( อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุ ) (๖) อปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วน อนาคต ( อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญและนัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล ) หน้า ๑๗ (๗) ปุพฺพนฺตาปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ทั้งที่เป็นส่วนในอดีตและในอนาคต ( อกริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล ) (๘) อธิปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปนฺเนสุ ธมฺเมสุ อญาณํ ไม่แจ้งในธรรมที่มีเหตุให้เกิดผลอันต่อเนื่องกัน ( อัตตทิฏฐิเชื่อว่าเป็นตัวเป็นตน ) อหิริกเจตสิก ๒. อหิริเจตสิก คือ ความไม่ละอายต่อการทำบาป ไม่ละอายต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทีหิอชิคุจฺฉนลกฺขณํ มีการไม่เกลียดต่อกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการกระทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล อตฺตอคารวปทฏฺฐานํ มีการไม่เคารพตน เป็นเหตุใกล้ ที่ไม่เคารพตน เพราะ ก. ไม่ละอายต่อ วัย ข. ไม่ละอายต่อ เพศ ค. ไม่ละอายต่อ ตระกูล ง. ไม่ละอายต่อ อกุศล หน้า ๑๘ อโนตตัปปเจตสิก ๓. อโนตตัปเจตสิก คือ ความไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำบาป ไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุตฺตาสลกฺขณํ มีการไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล ปรอคารวปทฏฺฐานํ ไม่มีการเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ อุทธัจจเจตสิก ๔. อุทธัจจเจตสิก คือความฟุ้งซ่าน ไม่สงบ คิดฟุ้งไปในอารมณ์ต่างๆ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวูปสมลกฺขณํ มีความไม่สงบ เป็นลักษณะ อนวตฺถานรสํ มีการไม่มั่นในอารมณ์เดียว เป็นกิจ ภนฺตตฺถ ปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหวั่นไหว เป็นผล อโยนิโสมนสิการ ปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ โลภเจตสิก ๕. โลภเจตสิก คือ ความรัก ความอยากได้ ความติดใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๑๙ อารมฺมณคหณลกฺขโณ มีการยึดมั่นซึ่งอารมณ์ เป็นลักษณะ อภิสงฺครโส มีการติดในอารมณ์ เป็นกิจ อปริจฺจาคปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่บริจาค เป็นผล สํโยชนิธมฺเมสุ อสฺสาททสฺสนปทฏฺฐาโน มีการดูด้วยความยินดีในสังโยชน์ เป็นเหตุใกล้ อรรถของโลภะโดยปริยาย ในไวยกรณ์ ตามบาลีในปรมัตถทีปนีฎีกา ได้จำแนกออกไป ๑๐ ประการ คือ (๑) ตัณหา ความต้องการ (๒) ราคะ ความกำหนัด (๓) กามะ ความใคร่ (๔) นันทิ ความเพลิดเพลิน (๕) อภิชฌา ความเพ่งเล็ง (๖) ชเนตติ ความก่อให้เกิดกิเลส (๗) โปโนพภวิก ความนำให้เกิดในภพใหม่ (๘) อิจฉา ความปรารถนา (๙) อาสา ความหวัง (๑๐) สังโยชน์ ความเกี่ยวข้อง ความผูกพันธ์ ผูกมัด รัดไว้ ล่ามไว้ ปริตสฺสตีติ ตณฺหาฯ (วิสุทธิมัคค) ความกระหายอยากได้ซึ่งอารมณ์นั้นเรียกว่า ตัณหา กาโม จ โสตณฺหา จาติ กามตณฺหา ฯ (ปรมัตถทีปนีฎีกา) ความกำหนัดที่อยากได้ซึ่งกามคุณอารมณ์นั้น เรียกว่า กามตัณหา สสฺสตทิฏฐิ สหคโต หิ ราโค ภวตณฺหาติ วุจฺจติฯ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย สัสสตทิฏฐิ เรียกว่า ภวตัณหา อุจฺเฉททิฏฐิ สหคโต หิ ราโค วิภวตณฺหา วุจฺจติ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย อุจเฉททิฏฐิ เรียกว่า วิภวตัณหา หน้า ๒๐ ทิฏฐิเจตสิก ๖. ทิฏฐิเจตสิก คือ ความเห็นผิดจากความเป็นจริงในสภาวธรรม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อโยนิโส อภินิเวส ลกฺขณามีการถือมั่นด้วยหาปัญญามิได้ เป็นลักษณะ ปรามาส รสา มีการถือผิดจากสภาวะ เป็นกิจ มิจฺฉาภินิเวสปจฺจุปฏฺฐานา มีการยึดถือความเห็นผิด เป็นผล อริยานํ อทสฺสน กามตาทิ ปทฏฺฐานา ไม่ต้องการ เห็นพระอริยะ เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ คำว่า ทิฏฐิ แปลตามพยัญชนะ คือ ตามตัวอักษร ตามศัพท์ ก็แปลว่าความเห็น ไม่เจาะจงว่าเป็นความเห็นผิดหรือ ความเห็นถูกต้องตามสภาวะ แต่โดยอรรถ คือ ตามความหมายแห่งธรรมแล้ว ถ้าใช้ลอยๆ ว่า ทิฏฐิ เฉยๆ ก็หมายว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดเสมอไป เว้นไว้แต่ในที่ใดบ่งว่าเป็น สัมมาทิฏฐิ จึงมีความหมายว่าเป็นความเห็นชอบความเห็นถูกโดยเฉพาะ ทิฏฐิเจตสิก เป็นความเห็นผิดเสมอไป และทิฏฐินี้แบ่งเป็นหยาบๆ เป็น ๒ คือ ทิฏฐิสามัญ และทิฏฐิพิเศษ ทิฏฐิสามัญ ได้แก่สักกายทิฏฐิ คือ เห็นเป็นตัวตนบุคคลเราเขา อันเป็นความเห็นผิด แต่ที่จัดเป็นสามัญ เพราะทิฏฐิ ชนิดนี้ มีประจำทั่วทุกตัวสัตว์เป็นปกตวิสัย (เว้นพระอริยบุคคล) ทิฏฐิพิเศษ ได้แก่ นิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ คือ อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อ เหตุ นัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล อกิริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล และสัสสตทิฏฐิ เห็นว่าเที่ยงแท้แน่นอน อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญ ตลอดทั้งทิฏฐิ ๖๒ ที่จัดเป็นทิฏฐิพิเศษ ก็เพราะว่าทิฏฐิชนิดนี้บางคนก็มี บางคนก็ไม่มี มานเจตสิก ๗. มานเจตสิก คือ ความถือตนความทะนงตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อุณฺณติ ลกฺขโณ มีการทะนงตน เป็นลักษณะ สมฺปคฺค รโส มีการยกย่องสัมปยุตตธรรม เป็นกิจ เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาสูง เป็นผล ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺตโลภ ปทฏฺฐาโน มีโลภจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตต เป็นเหตุใกล้ มานะ นี้ท่านจัดไว้ ๙ ประการ คือ (๑) เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๒) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๓) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคุณตัวว่า เลวกว่าเขา (๔) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๕) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๖) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา (๗) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๘) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๙) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา หน้า ๒๒ อติมานะ=ดูหมิ่นท่าน,สารัมภะ=แข่งดี,ถัมภะ=หัวดื้อ,สาเถยยะ=โอ้อวด เหล่านี้จัดเป็นมานะทั้งสิ้น ข้อควรสังเกต คือถ้าเกิดมีการเปรียบเทียบเรากับเขาขึ้นเมื่อใดก็เป็นมานะเมื่อนั้น ไม่ว่าการเปรียบเทียบนั้นจะเป็นการเปรียบเทียบด้วย ชาติ โคตร สกุล รูป สมบัติ ทรัพย์ ศิลปะวิทยา การงาน หรือ ความเฉลียวฉลาด โทสเจตสิก ๘. โทสเจตสิก คือ ความโกรธ ความไม่ชอบใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จณฺฑิกลกฺขโณ มีความหยาบกระด้าง เป็นลักษณะ นิสฺสยทาหนรโส มีการทำให้จิตตนและผู้อื่นหม่นไหม้ เป็นกิจ ทูสนปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประทุษฐร้าย การทำลาย เป็นผล อาฆาตวตฺถุ ปทฏฺฐาโน มีอาฆาตวัตถุ เป็นเหตุใกล้ ความไม่ชอบใจ เสียใจ กลุ้มใจ รำคาญใจ หงุดหงิด โกรธ เกลียด กลัว ประทุษฐร้าย ทำลายเหล่านั้น เป็นลักษณะหรือเป็นตัวโทสะทั้งนั้น อาฆาตวัตถุ อันเป็นเหตุใกล้ให้เกิดโทสะนั้นมี ๑๐ ประการ คือ (๑) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๒) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๓) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา หน้า ๒๓ (๔) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๕) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๖) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๗) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๘) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๙) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๑๐) ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไม่สมควร เช่นเกิดโกรธขึ้นเมื่อเดินสะดุดตอไม้ หรือ เหยียบหนาม เป็นต้น อิสสาเจตสิก ๙. อิสสาเจตสิก คือธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความไม่ยินดี ความริษยาในการได้ลาภได้ยศของผู้อื่น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปรสมฺปตฺตีนํ อุสฺสูยนลกฺขณา มีการริษยาในสมบัติของผู้อื่น เป็นลักษณะ ตตฺเถว อนภิรติรสา มีการไม่ชอบใจในความมั่งมีของผู้อื่น เป็นกิจ ตโตวิมุขภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีการเบือนหน้าหนีจากสมบัติของผู้อื่น เป็นผล ปรสมฺปตฺติปทฏฺฐานา มีสมบัติของผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยเจตสิก ๑๐. มัจฉริยเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความตระหนี่เหนียวแน่น ไม่ยอมเสียสละ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๔ อตฺตโนสมฺปตฺตีนํ นิคูหนลกฺขณํ มีการซ่อนสมบัติของตน เป็นลักษณะ ตาสํ เยว ปเรหิสาธารณภาว อกฺขมนรสํ มีการไม่ชอบให้สมบัติของตนเป็นสาธารณแก่ผู้อื่น เป็นกิจ สงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหดหู่ หวงแหน ไม่เผื่อแผ่ เป็นผล อตฺตสมฺปตฺติปทฏฺฐานํ มีสมบัติของตน เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยะ ๕ ประการ ได้แก่ (๑) อาวาสมัจฉริย ตระหนี่ ที่อยู่ (๒) กุลมัจฉริย ตระหนี่ สกุล (๓) ลาภมัจฉริย ตระหนี่ ลาภ (๔) วัณณมัจฉริย ตระหนี่ วรรณะ (๕) ธรรมมัจฉริย ตระหนี่ ธรรม กุกกุจจเจตสิก ๑๑. กุกกุจจเจตสิก คือธรรมชาติที่เดือดร้อนรำคาญใจในสิ่งชั่ว อกุสลกรรมที่ได้ทำไปแล้ว และร้อนใจในกุสลกรรม ความดีที่ยังไม่ได้ทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปจฺฉานุตาปลกฺขณํ มีความเดือดร้อนอยู่เนืองๆ ในภายหลัง เป็นลักษณะ กตากตานุโสจนรสํ มีการตามเดือดร้อนอยู่เนือง ๆ ถึงบาปที่ได้กระทำแล้ว และบุญที่ไม่ได้กระทำ เป็นกิจ วิปฺปฏิสารปจฺจุปฏฺฐานํ มีความกินแหนงใจอยู่ เป็นผล กตากตปทฏฺฐานํ มีการทำบาป มิได้กระทำบุญ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๒๕ ถีนเจตสิก ๑๒. ถีนเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตท้อถอยหดหู่ เซื่องซึม ไม่ใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุสฺสาหลกฺขณํ มีการไม่อุตสาหะ เป็นลักษณะ วีริยวิโนทนรสํ มีการทำลายความเพียร เป็นกิจ สํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ มิทธเจตสิก ๑๓. มิทธเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกที่เกิดร่วมด้วยตนให้หดหู่ท้อถอย ง่วงเหงาหาวนอน และง่วงซึมหลับ จับอารมณ์ไม่ติด มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อกมฺมญฺญตาลกฺขณํ มีความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ โอทหนรสํ มีการกั้นกำบังกุสล เป็นกิจ ลีนตาปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑๔. วิจิกิจฉาเจตสิก คือ ความสงสัย ความลังเลไม่แน่ใจ ในอารมณ์ต่างๆ สงสัยตัดสินอารมณ์ไม่ได้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๖ สํสยลกฺขณา มีความสงสัย เป็นลักษณะ กมฺปนรสา มีการหวั่นไหวในอารมณ์ เป็นกิจ อนิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่สามารถตัดสินใจได้ เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานา มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ความสงสัยทั้งหลาย หาใช่เป็นวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ทั้งหมดไม่ ความสงสัยในวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ หมายเฉพาะสงสัยในธรรม ๘ ประการเท่านั้น คือ (๑) สงสัยในพระพุทธเจ้า ได้แก่สงสัยในพระสรีระ (ว่าเห็นจะไม่มีตัวจริง น่าจะสมมุติขึ้น) หรือสงสัยในพระคุณ (พระพุทธคุณ ๙) (๒) สงสัยในพระธรรม ว่ามัคค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ มีจริงหรือและธรรมนี้นำออกจากทุกข์ ได้จริงหรือ (๓) สงสัยในพระสงฆ์ ว่าสงฆ์ที่ตั้งอยู่ในมัคค ๔ ผล ๔ มีจริงหรือ สงฆ์ที่ปฏิบัติดีจริงมีหรือ ผลแห่งทานที่ถวายแก่สงฆ์ มีจริงหรือ (๔) สงสัยในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ว่ามีจริงหรือ ผลานิสงส์แห่งการศึกษาปฏิบัติในสิกขา ๓ มีจริงหรือ (๕) สงสัยในขันธ์ ๕ อายตน ธาตุที่เป็นส่วนอดีตมีจริงหรือ คือสงสัยว่าชาติก่อนมีจริงหรือ (อเหตุกทิฏฐิ) (๖) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ที่เป็นอนาคต มีจริงหรือ คือสงสัยว่า ชาติหน้ามีจริงหรือ (อุจเฉททิฏฐิ) (๗) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ทั้งที่เป็นส่วนอดีตและอนาคตนั้น มีจริงหรือ คือสงสัยทั้งชาติก่อนและชาติหน้า (อกิริยทิฏฐิ) หน้า ๒๗ (๘) สงสัยในปฏิจจสมุปบาทธรรม คือ ธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลอาศัยกันเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปโดยไม่ขาดสายเลยนั้น มีจริงหรือ (อัตตทิฏฐิ) อนึ่งความสงสัยอย่างอื่นที่ไม่ใช่ธรรม ๘ ประการ เช่นสงสัยในเรื่องสมมุติและบัญญัติ ไม่เป็นกิเลส โสภณเจตสิก โสภณเจตสิก เป็นเจตสิกที่ดีงาม ไม่เศร้าหมอง ไม่เร่าร้อน เมื่อประกอบกับจิต ก็ทำให้จิตนั้นดีงาม ปราศจากความเร่าร้อน ให้จิตตั้งอยู่ในศีลธรรม มีการเว้นจากบาป เว้นจากทุจริตต่างๆ ฉะนั้นเจตสิก ประเภทนี้ จึงเรียกว่า โสภณเจตสิก จิตที่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า โสภณจิต ส่วนจิตใดที่ไม่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า อโสภณจิต โสภณเจตสิก มีจำนวน ๒๕ ดวง และยังแบ่งออกได้เป็น ๔ พวก คือ ก. โสภณสาธารณเจตสิก มี ๑๙ ดวง เป็นเจตสิกที่สาธารณะกับโสภณจิตทั้งหมด หมายความว่า โสภณจิต ๕๙ หรือ ๙๑ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น จะต้องมีโสภณสาธารณเจตสิกนี้ประกอบพร้อมกันทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย ข. วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง เป็นเจตสิกที่เว้นจากบาปธรรมทั้งปวง อันเกิดจากกายทุจริต และวจีทุจริต ค. อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง เป็นเจตสิกที่มีความรู้แผ่ไปไม่มีประมาณ เรียกว่า พรหมวิหาร ก็ได้ ที่เรียกว่า อัปปมัญญานั้นเพราะแผ่ไปในสัตว์ทั้งหลาย จนประมาณไม่ได้ ที่เรียกว่า พรหมวิหารนั้น เพราะธรรมนี้เป็นที่อยู่สำราญของพวกพรหม ง. ปัญญาเจตสิก มีดวงเดียว ไม่มีพวก เป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ เป็นประธาน ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง ปัญญินทรียเจตสิก ก็เรียก โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง มีดังนี้ สัทธาเจตสิก ๑. สัทธาเจตสิก คือ ความเชื่อถือเหตุผลตามความเป็นจริง ความเลื่อมใสในกุสลธรรม ความเชื่อในฝ่ายดี เช่น เชื่อคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สทฺทหนลกฺขณา มีความเชื่อถือในอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ ปสาทนรสา มีการเลื่อมใส เป็นกิจ อกาฬุสฺสิยปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่ขุ่นมัว เป็นผล สทฺเทยฺยวตฺถุปทฏฺฐานา มีปูชนียวัตถุเป็นเหตุใกล้ สัทธาแม้อย่างน้อยเพียงเชื่อว่าสัตว์นั้นมีกรรมเป็นของตน คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เพียงเท่านี้ก็เป็นคุณยิ่ง มิฉะนั้นก็จะไม่ประหยัดต่อบาปกรรม หน้า ๒๙ จะกระทำอะไรก็ไม่คิดว่าเป็นทุจริตเสียหาย เพราะสำคัญผิดว่าจะไม่ต้องได้รับผลนั้น ถ้ามีสัทธา เชื่อกรรมเชื่อผลของกรรมแล้ว ก็จะตั้งตนไว้ในทางที่ชอบ ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ สัทธา จึงเป็นธรรมเบื้องต้นที่จะทำให้ประกอบคุณงามความดี เป็นบุญเป็นกุสล จนหาประมาณมิได้ สัทธา พีชํฯ สัทธาเปรียบเหมือนพืช (อันจะงอกงามโตใหญ่ให้ดอกผลในภายหน้า) เหตุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสสัทธา (๑) รูปปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะเห็นรูปสมบัติสวยงาม (๒) ลูขปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธาเพราะเห็นความประพฤติเรียบร้อยเคร่งในธรรมวินัย (๓) โฆสปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้ฟังชื่อเสียงลือว่าดีอย่างนั้นอย่างนี้ (๔) ธมฺมปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้สดับธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง สติเจตสิก ๒. สติเจตสิก คือความระลึกรู้อารมณ์และยับยั้งมิให้จิตตกไปในอกุสล ความระลึกอารมณ์ที่เป็นกุสล ความระลึกได้ที่รู้ทันอารมณ์ สติ เป็นธรรมที่มีอุปการะมากต้องใช้สติต่อเนื่องกันตลอดเวลา ในทางเจริญวิปัสสนาหรือเจริญสมาธิ มุ่งทางปฏิบัติซึ่งเป็นทางสายเดียวที่จะหลุดพ้นจากกิเลสไปได้ โดยเจริญสติปัฏฐานทาง กาย เวทนา จิต ธรรม มีสติระลึกรู้อยู่เนื่อง ๆ ว่า กายมีปฏิกูล ฯลฯ สติมีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๓๐ อปิลาปนลกฺขณา มีความระลึกได้ในอารมณ์เนืองๆคือมีความไม่ประมาท เป็นลักษณะ อสมฺโมหรสา มีการไม่หลงลืม เป็นกิจ อารกฺขปจฺจุปฏฺฐานา มีการรักษาอารมณ์ เป็นผล ถิรสญฺญาปทฏฺฐานา มีการจำได้แม่นยำ เป็นเหตุใกล้ สติเป็นเครื่องชักนำใจให้ยึดถือกุสลธรรมเป็นอุดมคติ ถ้าหากว่าขาดสติเป็นประธานเสียแล้ว สมาธิก็ไม่สามารถจะมีได้เลย และเมื่อไม่มีสมาธิแล้ว ปัญญาก็เกิดไม่ได้ เหตุให้เกิดสติ โดยปกติมี ๑๗ ประการ คือ (๑) ความรู้ยิ่ง เช่น สติของบุคคลที่ระลึกชาติได้พระพุทธองค์ระลึกชาติได้ไม่จำกัดชาติจะระลึกได้ทุกชาติที่พระองค์ปรารถนา สติของพระอานนท์จำพระสูตรที่พระพุทธจ้าตรัสไว้ได้หมด (๒) ทรัพย์ เป็นเหตุให้เจ้าของทรัพย์มีสติ คือเมื่อมีทรัพย์มักจะเก็บรักษาไว้อย่างดี และจะระมัดระวังจด จำไว้ว่าตนเก็บทรัพย์ไว้ที่ใด (๓) สติเกิดขึ้นเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต เช่น พระโสดาบันจะจำได้โดยแม่นยำถึงเหตุการณ์ที่ท่านได้บันลุเป็นพระโสดาบัน หรือบุคคลที่ได้รับยศยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในชีวิต (๔) สติเกิดขึ้น โดยระลึกถึงเหตุการณ์ที่ตนได้รับความสุขที่ประทับใจ เมื่อนึกถึงก็จะจำเรื่องต่าง ๆ ได้ (๕) สติเกิดขึ้น เนื่องจากความทุกข์ที่ได้รับเมื่อระลึกถึงก็จะจดจำได้ (๖) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกับเหตุการณ์ที่ตนเคยประสบ (๗) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่ตรงกันข้ามกับที่เคยประสบ (๘) สติเกิดขึ้น เพราะคำพูดของคนอื่น เช่น มีคนเตือนให้เก็บทรัพย์ที่ลืมไว้ (๙) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเครื่องหมายที่ตนทำไว้ เช่น เห็นหนังสือที่เขียนชื่อไว้ถูกลืมไว้ (๑๐) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเรื่องราวต่าง ๆ หรือผลงาน เช่น เห็นพุทธประวัติก็ระลึกถึงองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นต้น (๑๑) สติเกิดขึ้น เพราะความจำได้ เช่น มีการนัดหมายไว้ เมื่อมองไปที่กระดานก็จำได้ว่าต้องไปตามที่ได้นัดไว้ (๑๒) สติเกิดขึ้น เพราะการนับ เช่น การเจริญสติระลึกถึงพระพุทธคุณ ก็ใช้นับลูกประคำ เพื่อมิให้ลืม (๑๓) สติเกิดขึ้น เพราะการทรงจำเรื่องราวต่าง ๆ ที่ศึกษาค้นคว้า แล้วจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้ (๑๔) สติเกิดขึ้น เพราะการระลึกชาติได้ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ้าง (บุคคลที่มิใช่พระพุทธเจ้า) (๑๕) สติเกิดขึ้น เพราะการบันทึกไว้ เมื่อดูบันทึกก็จำได้ (๑๖) สติเกิดขึ้น เพราะทรัพย์ที่เก็บได้เช่นเห็นทรัพย์ก็นึกขึ้นได้ว่าได้เก็บทรัพย์ไว้ (๑๗) สติเกิดขึ้น เพราะสิ่งที่เคยพบเคยเห็นมาแล้ว เมื่อเห็นอีกครั้งก็ระลึกได้ หิริเจตสิก ๓. หิริเจตสิก คือความละอายต่อการทำบาปทำชั่ว ทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ บาปคือธรรมชาติที่ทำให้จิตเศร้าหมอง บุญคือธรรมชาติที่ชำระจิตให้สะอาดผ่องแผ้ว ในขณะที่จิตอกุสลเกิดขึ้นอยากจะประพฤติผิดศีล ๕ เครื่องยับยั้งมิให้เกิดอกุสลจิตนั้นก็คือ หิริ คือเกิดความละอายต่อบาปที่จะกระทำ จึงยับยั้งไว้ช่วยไม่ให้ทำอกุสล ฉะนั้นหิริจึงเป็นธรรมที่เป็นโลกบาล คือเป็นธรรมชาติที่คุ้มครองโลก หิริ เกิดขึ้นทำให้ละอายต่อบาปจึงไม่กล้าทำบาปทั้งในที่ลับและที่แจ้ง สิ่งที่ทำให้เกิดหิริ คือมีการเคารพตนเอง จึงละอายต่อการทำบาป หิริเจตสิกมีลักขณาทิจตุกะดังนี้ ปาปโตชิคุจฺฉนลกฺขณา มีความเกลียดต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสา มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ ปาปโตสงฺโกจน ปจฺจุปฏฺฐานา มีความละอายต่อบาป เป็นผล อตฺตคารวปทฏฺฐานา มีความเคารพในตน เป็นเหตุใกล้ โอตตัปปเจตสิก ๔. โอตตัปปเจตสิก คือ ธรรมชาติที่มีความสะดุ้งกลัวต่อผลของบาป จึงไม่ทำบาป มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อตฺตาสนลกฺขณํ มีความสะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสํ มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ หน้า ๓๑ ปาปโตสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความละอายต่อบาป เป็นผล ปรคารวปทฏฺฐานํ มีความเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ หิริกับโอตตัปปะ จะเกิดได้ต้องอาศัย เหตุภายนอก ๔ เหตุภายใน ๘ อย่างใดอย่างหนึ่ง เหตุภายนอก ๔ ได้แก่ (๑) อตฺตานุวาทภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนด้วยตนเอง (๒) ปรวาทานุภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนจากผู้อื่น (๓) ทณฺฑภยํ กลัวต่อราชทัณฑ์ คือกฎหมายบ้านเมือง (๔) ทุคฺคติภยํ กลัวต่อภัยในอบายภูมิ เหตุภายใน ๘ ได้แก่ (๑) กุละ ละอายบาป กลัวบาปโดยคำนึงถึงตระกูลของตน (๒) วยะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงวัยของตน (๓) พาหุสัจจะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงการศึกษาของตน (๔) ชาติมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงชาติอันประเสริฐของตน (๕) สัตถุมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงพระพุทธเจ้า บิดา มารดา ครู อาจารย์ (๖) ทายัชชมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง มรดกของพระพุทธเจ้า ของบิดา มารดา ซึ่งตนเองจะต้องรับมรดกนั้น หน้า ๓๒ (๗) สพรหมจารีมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง เพื่อนที่ดีที่เคยคบมา (๘) สูรภาวะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง ความกล้าหาญและความสงบเสงี่ยมเจียมตัวของตน อโลภเจตสิก ๕. อโลภเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ไม่อยากได้ ไม่ข้องในอารมณ์ ไม่ติดในอารมณ์ เมื่อประสบในอารมณ์นั้น จะพยายามให้หลุดออกไปจากอารมณ์นั้น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อลคฺคภาวลกฺขโณ มีความไม่ติดอารมณ์ เป็นลักษณะ อปริคฺคหรโส มีการไม่หวงแหน เป็นกิจ อนลฺลีนภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่ยึดมั่น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ อโทสเจตสิก ๖. อโทสเจตสิก คือธรรมชาติที่ไม่โกรธ ไม่หยาบคาย ไม่มีปองร้าย ไม่ประทุษร้าย (มีเมตตาต่อกัน) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อจณฺฑิกลกฺขโณ มีความไม่ดุร้าย เป็นลักษณะ อาฆาตวินยรโส มีการทำลายความอาฆาต เป็นกิจ โสมภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีความร่มเย็น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๓ ขนฺติ คือความอดทน ทนตรากตรำ ทนลำบาก ทนต่อเหตุที่ทำให้เจ็บใจ อกฺโกธ คือ ความไม่โกรธ ส่วน เมตฺตา ยังประสงค์ให้ผู้อื่นมีความสุขอีกด้วย ทั้ง ขันติ อักโกธ และเมตตา นี้องค์ธรรมได้แก่ อโทส เมตตา มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งจิตใจของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ส่วนราคะ มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งร่างกายของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก ๗. ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก คือ การทำใจเป็นกลาง เป็นยุตติธรรม ไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง การวางใจเฉยในอารมณ์ (เป็นอุเบกขาในพรหมวิหาร) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จิตฺตเจตสิกานํ สมวาหิตลกฺขณา มีการทรงไว้ซึ่งจิตและเจตสิกให้เสมอภาค เป็นลักษณะ อูนาธิกตานิวารณรสา มีการห้ามความยิ่งหย่อน เป็นกิจ มชฺฌตฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเป็นกลาง(อุเบกขา) เป็นผล สมฺปยุตฺตานํปทฏฺฐานา มีสัมปยุตตธรรม เป็นเหตุใกล้ กายปัสสัทธิเจตสิก และ จิตตปัสสัทธิเจตสิก ๘.กายปัสสิทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของเจตสิก ๙. จิตตปัสสัทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของจิต หน้า ๓๔ เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํทรถวูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิตสงบจากความเร่าร้อน เป็นลักษณะ กายจิตฺตทรถนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความเร่าร้อนของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อปริปฺผนฺทนสีติภาว ปจฺจุปฏฺฐานา มีความเยือกเย็น ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายลหุตาเจตสิก และ จิตตลหุตาเจตสิก ๑๐. กายลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้เจตสิกเบาจากอกุสล ความเบาของเจตสิกจากอกุสล ๑๑. จิตตลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้จิตเบาจากอกุสล ความเบาของจิตจากอกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตครุภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิต สงบจากความหนัก เป็นลักษณะ กายจิตฺตครุภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความหนักของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํอทนฺธตาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หนักของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายมุทุตาเจตสิก และ จิตตมุทุตาเจตสิก ๑๒. กายมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกมีความอ่อนโยน ความอ่อนโยนของเจตสิก ทำให้เป็นไปง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล ๑๓. จิตตมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตอ่อนโยน เจตสิกที่ทำให้จิตอ่อนโยน เป็นไปได้ง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตถทฺธวูปสมลกฺขณา มีเจตสิก และมีการทำให้จิตสงบจากความแข็ง กระด้าง เป็นลักษณะ กายจิตฺตถทฺธภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความแข็งกระด้างของเจตสิก และของจิต เป็นกิจ อปฺปฏิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่โกรธไม่อาฆาต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายกัมมัญญตาเจตสิก และ จิตตกัมมัญญตาเจตสิก ๑๔. กายกัมมัญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ควรแก่การงานอันเป็นกุสล ความควรแก่การงานของเจตสิก ๑๕. จิตตกัมมัญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตควรแก่การงานอันเป็นกุสล การทำให้จิตควรแก่งาน เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตากมฺมญฺญภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิกทำให้จิตสงบจากความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ หน้า ๓๖ กายจิตฺตา กมฺมญฺญภาว นิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ควรแก่การงานของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อารมฺมณกรณสมฺปตฺติปจฺจุปฏฺฐานา ทำให้เจตสิก ทำให้จิตมีอารมณ์สมควรแก่การงาน เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ จิตที่ไม่ควรแก่การงาน จะใช้จิตทำสมาธิก็มีผลน้อย เช่นจิตที่มีร่างกายอ่อนเพลีย หรือป่วย เช่น ปวดหัว ปวดท้อง เมื่อร่างกายไม่สะบายการทำสมาธิก็ได้ผลน้อยเสียเวลาทำสมาธิ ๒ ชั่วโมง ก็ทำไม่ได้ เพราะจิตไม่มีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบ จิตและเจตสิกที่ไม่ควรแก่การงาน คือจิตและเจตสิกที่ถูกนิวรณ์ครอบงำ นิวรณ์เปรียบเหมือน ตะปูตรึงจิต หรือสนิมกินเนื้อเหล็กทำให้เหล็กกร่อน นิวรณ์ทั้ง ๕ อันมี กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ เมื่อนิวรณ์ครอบงำจิตแล้วจิตก็ไม่ควรแก่การงาน ต้องละนิวรณ์ให้ได้ก่อน แล้วจึงใช้จิตทำงาน เมื่อจิตมีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบแล้ว การทำสมาธิก็จะได้ผลในชั่วระยะเวลาเพียงเล็กน้อย กายปาคุญญตาเจตสิก และ จิตตปาคุญญตาเจตสิก ๑๖. กายปาคุญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้เจตสิกคล่องแคล่วต่อกุสล ความคล่องแคล่วของเจตสิกในกุสล ๑๗. จิตตปาคุญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตคล่องแคล่วต่อกุสล การทำให้จิตคล่องแคล่วในกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํ อเคลญฺญภาวลกฺขณา มีความไม่อาพาธของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตเคลญฺญนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความอาพาธ ของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ นิราทีนวปจฺจุปฏฺฐานา มีความปราศจากโทษ เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๗ กายุชุกตาเจตสิก และ จิตตุชุกตาเจตสิก ๑๘. กายุชุกตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกมุ่งตรงต่อกุสล ความมุ่งตรงของเจตสิกต่อกุสล ๑๙. จิตตุชุกตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล การทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตอชฺชวลกฺขณา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตกุฏิลภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ อชิมฺหตาปปจฺจุปฏฺฐานา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ วิรตีเจตสิก วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวะเจตสิก สัมมาวาจาเจตสิก ๑. สัมมาวาจาเจตสิก คือ การพูดชอบ พูดสิ่งที่เป็นกุสล เว้นจากวจีทุจริตทั้ง ๔ มี มุสาวาท พูดปด ปิสุณาวาท พูดส่อเสียด ผรุสวาท พูดหยาบคาย สัมผัปปลาป พูดเพ้อเจ้อไร้สาระ ทั้งนี้ไม่เกี่ยวกับอาชีพ หน้า ๓๘ สัมมาวาจามี ๓ ประการ ก. กถาสัมมาวาจา ได้แก่ การกล่าววาจาที่ดี มีศีลธรรม เพื่อหวังประโยชน์แก่ผู้ฟัง เช่น อาจารย์สอนศิษย์ เป็นต้น ข. เจตนาสัมมาวาจา ได้แก่ ผู้มีเจตนาสมาทานศีล ว่าจะละเว้นวจีทุจริต มีการไม่กล่าวมุสา เป็นต้น ค. วิรตีสัมมาวาจา ได้แก่ การเว้นจากวาจาทุจริตทั้ง ๔ มีเว้นจากมุสาวาท ปิสุณาวาท ผรุสวาท สัมผัปปลาป ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) (ไม่มีความตั้งใจไว้ก่อนเมื่อประสบกับอารมณ์เฉพาะหน้าจึงต้องงดเว้น) สัมมากัมมันตเจตสิก ๒. สัมมากัมมันตเจตสิก คือ ประกอบการงานชอบ การงานที่ไม่ทุจริต เว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มี ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และล่วงประเวณี เป็นการกระทำปกติ คือ เป็นการทำงานปกติประจำวัน ไม่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมากัมมันตะ มี ๓ ประการ ก. ยถาพลังสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การกระทำการงานโดยชอบ การงานที่ไม่ทุจริต มีการประกอบกุสล เป็นต้น ตามกำลังของตน ข. เจตนาสัมมากัมมันตะ ได้แก่เจตนาที่ตั้งใจสมาทานว่าจะละเว้นกายทุจริต มีการไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงประเวณี ค. วิรตีสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การเว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มีเว้นการฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การล่วงประเวณี ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงมาปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) หมายความว่าไม่ได้ตั้งใจไว้ก่อนว่าจะงดเว้น แต่มาประสบกับอารมณ์จึงต้องงดเว้นเฉพาะหน้า หน้า ๓๙ สัมมาอาชีวเจตสิก ๓. สัมมาอาชีวเจตสิก คือ ความเป็นอยู่ชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ประกอบอาชีพที่สุจริต เว้นจากทุจริตทั้ง ๗ คือ เว้นกายทุจริต ๓ และเว้นวจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมาอาชีวะ มี ๒ ประการ ก. วิริยสัมมาอาชีวะ ได้แก่ความเพียรในการกระทำการงานหาเลี้ยงชีพโดยชอบธรรม ข. วิรตีสัมมาอาชีวะ ได้แก่การงดเว้นจากกายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวแก่อาชีพ เจตสิก ๓ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทิวตฺถุนํ อวีติกฺกมลกฺขณามีการไม่ล่วงกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ กายทุจฺจริตวตฺถุโตสงฺโกจนรสา มีการเว้นจากกายทุจริต เป็นต้น เป็นกิจ อกริยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่ทุจริต เป็นผล สทฺธาหิโรตฺตปฺปาทิคุณปทฏฺฐานา มีคุณธรรมคือ สัทธา หิริโอตตัปป เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ อัปปมัญญาเจตสิก อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง ได้แก่ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก หน้า ๔๐ กรุณาเจตสิก ๑. กรุณาเจตสิก คือ มีความสงสาร อยากจะช่วยเหลือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่ หรือที่จะได้รับทุกข์ในภายหน้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ทุกฺขาปนยนาการปวตฺติลกฺขณา มีการได้เห็นผู้อื่นเป็นทุกข์ ย่อมมีความสงสาร เป็นลักษณะ ปรทุกฺขาสหนรสา มีการไม่ชอบเห็นทุกข์ของผู้อื่น เป็นกิจ อวิหึสาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่เบียดเบียน เป็นผล ทุกฺขาภิภูตานํ อนาถภาวทสฺสน ปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์อนาถา อันถูกทุกข์ ครอบงำ เป็นเหตุใกล้ อวิหึสา = ไม่เบียดเบียนผู้อื่น กรุณา = ยังประสงค์ช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์อีกด้วย โสก = เราสูญเสียของที่เรารัก ก็โศกเศร้า กรุณา = เห็นผู้อื่นสูญเสียสิ่งที่เขารัก เราก็ช่วยให้เขาพ้นทุกข์จากการเศร้าโศก เมตตา กรุณา เป็น อพยาปาท มุทิตา อุเบกขา เป็น อนภิชฌา (ไม่คิดจ้องจะเอาของเขา) มุทิตาเจตสิก ๒. มุทิตาเจตสิก คือ พลอยยินดีด้วยในเมื่อรู้ว่าเขามีความสุข มีความยินดีต่อสัตว์ที่ได้สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๔๑ ปโมทนลกฺขณา มีความยินดีด้วยในความสุขของผู้อื่น เป็นลักษณะ อนิสฺสายนรสา มีการไม่อิสสาริษยา เป็นกิจ อรติวิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความปรารถนาให้ผู้อื่นเจริญ เป็นผล สตฺตานํ สมฺปตฺติทสฺสนปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์มีสมบัติ เป็นเหตุใกล้ ปัญญาเจตสิก ปัญญาเจตสิก มีแต่ดวงเดียวไม่มีพวก มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญญินทรียเจตสิก ปัญญาเจตสิก คือความรู้ในเหตุผลแห่งความจริงของสภาวธรรมและทำลายความเห็นผิด หรือเป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา มีความรู้แจ้งซึ่งสภาวธรรม เป็นลักษณะ โมหนฺธการวิทฺธํสนรสา มีการกำจัดมืด เป็นกิจ อสมฺโมหปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หลงผิด หรือไม่เห็นผิด เป็นผล สมาธิปทฏฺฐานา มีสมาธิ เป็นเหตุใกล้ ปัญญานี้ มีอรรถาธิบายอย่างกว้างขวาง และแจกแจงได้หลายนัย หลายกระบวน เป็นจำนวนมากมาย แต่ในที่นี้จะกล่าวย่อ ๆ พอให้รู้เค้า จึงขอแจกแจงว่า ปัญญามีเพียง ๓ นัย เท่านั้น คือ ก. กัมมสกตาปัญญา ปัญญาที่รู้ว่า กรรมเป็นสมบัติของตน ข. วิปัสสนาปัญญา ปัญญาที่รู้ขันธ์ ๕ รูปนาม เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ค. โลกุตตรปัญญา ปัญญาที่รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจจ ๔ ปัญญาที่รู้เห็นความที่สัตว์มีกรรมเป็นสมบัติของตน อันเรียกว่า กัมมสกตาปัญญา นี้ มี ๑๐ ประการ คือ (๑) อตฺถิทินนํ ปัญญารู้เห็นว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ย่อมมีผล (๒) อตฺยิฏฐํ ปัญญารู้เห็นว่า การบูชาย่อมมีผล (๓) อตฺถิหุตํ ปัญญารู้เห็นว่า การบวงสรวงเทวดา ย่อมมีผล (๔) อตฺถิกมฺมานํ ผลํวิปาโก ปัญญารู้เห็นว่า ผลวิบากของกรรมดีและชั่วมีอยู่ (ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทั้งทางตรงและทางอ้อม) (๕) อตฺถิอยํโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกนี้มีอยู่ (ผู้จะมาเกิดนั้นมี) (๖) อตฺถิปโรโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกหน้ามีอยู่ (ผู้จะไปเกิดนั้นมี) (๗) อตฺถิมาตา ปัญญารู้เห็นว่า มารดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อมารดาย่อมจะได้รับผล) (๘) อตฺถิปิตา ปัญญารู้เห็นว่า บิดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อบิดาย่อมจะได้รับผล) (๙) อตฺถิ สตฺตโอปปาติกา ปัญญารู้เห็นว่าโอปปาติกสัตว์นั้นมีอยู่ (สัตว์นรก เปรต อสุรกาย เทวดา พรหมนั้นมี) (๑๐) อตฺถิ โลเกสมณพฺรหฺมณา สมฺมาปฏิปนฺนา ปัญญารู้เห็นว่าสมณพราหมณ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ประกอบด้วยความรู้ยิ่ง เห็นจริง หน้า ๔๓ ประจักษ์ซึ่งโลกนี้ และโลกหน้าด้วยตนเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้นั้นมีอยู่ในโลกนี้ สัมปโยคนัย สัมปโยค แปลว่า ประกอบพร้อม ในที่นี้หมายความว่า เจตสิกแต่ละดวงนั้น ดวงหนึ่ง ๆ ประกอบกับจิตได้กี่ดวง คือจิตใดบ้าง ซึ่งจะได้แสดงต่อไปนี้ ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๓) ว่า ๓. เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ ยถาโยคมิโต ปรํ จิตฺตุปฺปาเทสุ ปจฺเจกํ สมฺปโยโค ปวุจฺจติ ฯ แปลความว่า เบื้องหน้าแต่นี้จะแสดงสัมปโยคะ แห่งธรรม (คือเจตสิก) เหล่านี้ อันประกอบกับจิต เฉพาะในจิตตุปปาทะ (จิตที่เกิดขึ้น) ดวงหนึ่ง ๆ โดยสมควรแก่ที่จะประกอบได้ สัมปโยคนัยแห่งอัญญสมานาเจตสิก ๔. สตฺต สพฺพตฺถ ยุชฺชนติ ยถาโยคํ ปกิณฺณกา จุทฺทสากุเลเสฺวว โสภเณเสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ๑. สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (๗ ดวง) ประกอบในจิตได้ทุกดวง(โดยย่อจิตมี ๘๙ ดวง) ๒. ปกิณณกเจตสิก (๖ ดวง) ประกอบกับจิตได้เฉพาะแต่ที่ควร (ประกอบ ได้ บางดวง) ๓. อกุสลเจตสิก (๑๔ ดวง) ประกอบได้เฉพาะในอกุสลจิต ๑๒ ดวงเท่านั้น ๔. โสภณเจตสิก (๒๕ ดวง) ประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น หน้า ๔๔ ๕. ฉสฏฺสี ปญฺจปญฺญฺาส เอกาทส จ โสฬส สตฺตติ วีสติ เจว ปกิณฺณกวิวชฺชิตา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกไม่ประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง วิจาร ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง อธิโมกข ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง วิริยะ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ปีติ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง ฉันทะ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง ๖. ปญฺจปญฺญาส ฉสฎฺฐิ ฏฐสตฺตติ ติสตฺตติ เอกปญฺญาส เจกูน สตฺตติ สปกิณฺณกา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกย่อมเข้าประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๕ ดวง วิจาร ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๖ ดวง อธิโมกข ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๘ ดวง วิริยะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ปีติ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ฉันทะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๙ ดวง หน้า ๔๕ อธิบาย รวมความว่า อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับจิตต่าง ๆ ได้นั้น แบ่งออกเป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ สัพพจิตตสาธารณ ๗ ดวง คือ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย และ มนสิการ นี้ประกอบกับจิตได้ทั้งหมดทุกดวง คือทั้ง ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดาร ก็ทั้ง ๑๒๑ ดวง ไม่มีเว้นเลย นัยที่ ๒ วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง แต่ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง นัยที่ ๓ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง นัยที่ ๔ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๘ ดวง ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง นัยที่ ๕ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นัยที่ ๖ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง นัยที่ ๗ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๙ ดวง ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทุติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ ตติยฌาน ๑๑ ปฐมฌานจิต ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ หน้า ๔๖ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๖ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาน ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ตติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ ทุติยฌาน ๑๑ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๗๘ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๑ (เว้นวิจิกิจฉาจิต) วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ได้ ๗๓ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๖ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑ กับ หสิตุปปาทจิต ๑ ) หมายเหตุ จิต ๑๖ ดวง ที่วิริยเจตสิก ไม่ประกอบนี้มีชื่อเรียกว่า อวีริยจิต ๑๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๗ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๕๑ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง คือ โสมนัสโลภมูลจิต ๔ อุเบกขาโลภมูลจิต ๔ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ โทสมูลจิต ๒ โสมนัสหสิตุปปาทจิต ๑ โมหมูลจิต ๒ โสมนัสกามโสภณจิต ๑๒ อุเบกขาอเหตุกจิต ๑๔ ปฐมฌานจิต ๑๑ กายวิญญาณจิต ๒ ทุติยฌานจิต ๑๑ อุเบกขากามโสภณจิต ๑๒ ตติยฌานจิต ๑๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ ปัญจมฌานจิต ๒๓ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๙ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามโสภณจิต ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๘ สัมปโยคนัยแห่งอกุสลเจตสิก ๗. สพฺพาปุญฺเญสุ จตฺตาโร โลภมูเล ตโย คตา โทสมูเลสุ จตฺตาโร สสงฺขาเร ทวยํ ตถา ฯ แปลความว่า เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ อกุศลจิตทั้งหลาย เจตสิก ๓ ดวง ย่อมประกอบกับ โลภมูลจิต เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ โทสมูลจิต เจตสิก ๒ ดวง ย่อมประกอบกับ สสังขาริกจิต ๘. วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉา จิตฺเต จาติ จตุทฺทส ทฺวาทสากุสเลเสฺวว สมฺปยุชฺชนฺติ ปญฺจธา ฯ แปลความว่า วิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาจิต (เท่านั้น) อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง ย่อมประกอบกับอกุศลจิต ๑๒ ดวง โดยสัมปโยคนัย ๕ อย่าง ดังนี้ อธิบาย รวมความว่า อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับอกุสลจิตนั้นแบ่งออกเป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ เจตสิก ๔ ดวง คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โมจตุกะ หรือสัพพากุสลสาธารณเจตสิกนั้น ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด คือทั้ง ๑๒ ดวง นัยที่ ๒ เจตสิก ๓ ดวงคือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และ มานเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โลติกะ นั้น โลภเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ทั้งหมด คือ ทั้ง ๘ ดวง ทิฏฐิเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ เฉพาะแต่ที่เป็นทิฏฐิคตสัมป ยุตตจิต ๔ ดวง มานเจตสิก ก็ประกอบกับโลภมูลจิตได้เฉพาะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง นัยที่ ๓ เจตสิก ๔ ดวง คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โทจตุกะ นั้น ย่อมประกอบกับโทสมูลจิต ๒ ดวง นัยที่ ๔ เจตสิก ๒ ดวง คือ ถีนเจตสิกและมีทธเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า ถีทุกะ นั้นย่อมประกอบกับ สสังขาริกในอกุสลจิต อันมีจำนวน ๕ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๔ ดวง และโทสมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๑ ดวง นัยที่ ๕ เจตสิก ๑ ดวง คือวิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาสหคตจิต ได้เฉพาะดวงเดียวเท่านั้น สัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิก ๙. เอกูนวีสติธมฺมา ชายนฺเตกูนสฏฺฐิสุ ตโย โสฬส จิตฺเตสุ อฏฺฐวีสติตํ ทฺวยํ ฯ หน้า ๕๐ แปลความว่า ธรรม ๑๙ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๕๙ ดวง ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ๑๐. ปญฺญา ปกาสิตา สตฺต จตฺตาฬีส วิเธสุปิ สมฺปยุตฺตา จตุเธวํ โสภเณเสสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง โสภณเจตสิก ย่อมประกอบกับโสภณจิตโดยสัมปโยคนัย ๔ อย่าง ดังนี้ อธิบาย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ย่อมประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น และก็มิได้ประกอบพร้อมกันทั้งหมด ดังนั้นจึงแสดงสัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิกไว้เป็น ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ ธรรม ๑๙ ดวงนั้น หมายถึงโสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ย่อมเข้าประกอบกับโสภณจิต ทั้ง ๕๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็ทั้ง ๙๑ ดวง กล่าวคือ โสภณจิตทั้ง ๕๙ หรือ ๙๑ ดวง ไม่ว่าจะ เป็นจิตดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น โสภณสาธารณเจตสิกก็จะเข้าประกอบพร้อมกันทันทีทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ได้แก่ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา หน้า ๕๑ นัยที่ ๒ ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นั้น หมายถึงวิรตีเจตสิก ๓ ดวง คือสัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวเจตสิก ย่อมประกอบได้กับจิต ๑๖ ดวง ได้แก่ มหากุสลจิต ๘ โลกุตตรจิต ๘ นัยที่ ๓ ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง นั้น หมายถึงอัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง คือ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ซึ่งได้แก่ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๒ (เว้นรูปาวจรปัญจมฌานจิต ๓) นัยที่ ๔ ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง ซึ่งได้แก่ กามาวจรญาณสัมปยุตตจิต ๑๒ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ อนิยตโยคีเจตสิก อนิยตโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบไม่แน่นอน หมายความว่าเจตสิก นั้นบางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ ๑๑. อิสฺสมจฺฉเรกุกฺกุจฺจ วิรตี กรุณา ทโย นานา กทาจิ มาโนจ ถีนมิทฺธํ ตถา สห ฯ แปลความว่า อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิรตี(๓ ดวง) กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ มิทธะ ย่อมประกอบกับจิตเป็นครั้งคราวไม่พร้อมกัน (ทั้ง ๑๑ ดวงนี้ เป็น อนิยตโยคีเจตสิก) หน้า ๕๒ ๑๒. ยถาวุตฺตานุสาเรน เสสา นิยตโยคิโน สงฺคหญจ ปวกฺขามิ เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า อาศัยนัยที่กล่าวมานี้ เจตสิกที่เหลือ พึงรู้ว่าเป็น นิยตโยคีเจตสิก เจตสิกที่เหลือ (๔๑ ดวง) เป็นนิยตโยคีเจตสิก (ประกอบได้แน่นอน) ต่อไปนี้จะได้กล่าวสังคหนัยของเจตสิก ตามสมควร อธิบาย เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง จำแนกได้ ๒ ประเภท คือ อนิยตโยคีเจตสิก และนิยตโยคีเจตสิก ก. อนิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่เป็นที่แน่นอนกล่าวคือ ประกอบเป็นครั้งคราว มีจำนวน ๑๑ ดวง ได้แก่ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ และมิทธะ ข. นิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตเสมอ เป็นที่แน่นอนมี ๔๑ ดวงคือ เจตสิกที่เหลือจาก ๑๑ ดวง นั่นเอง อนิยตโยคีเจตสิก ที่ว่าประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่แน่นอน บางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ เป็นดังนี้ ๑. อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ๓ ดวงนี้ ถ้าจะเกิดก็ต้องเกิดร่วมกันพร้อมกับโทสจิต และจะต้องเกิดทีละดวง คือทีละอย่างเท่านั้น เพราะอารมณ์ต่างกัน การประกอบเป็นครั้งคราวและทีละดวง เช่นนี้เรียกว่า นานากทาจิ หน้า ๕๓ เวลาที่ริษยาสมบัติของผู้อื่น อิสสาเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่มัจฉริยะและกุกกุจจะไม่เกิด เพราะอารมณ์คนละอย่างต่างกัน เวลาที่เหนียวแน่นในสมบัติของตน มัจฉริยเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและกุกกุจจะไม่เกิด เวลาที่เศร้าใจ รำคาญใจ ในบาปที่ตนได้กระทำไปแล้ว หรือในการบุญที่ตนไม่ได้ทำ กุกกุจจะเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและมัจฉริยะไม่เกิด ๒. วิรตี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตะเจตสิก และ สัมมาอาชีวเจตสิก นั้น ถ้าเป็นโลกีย์ ประกอบกับจิตที่เป็นมหากุสล ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางคราว และประกอบทีละดวง เวลาที่เว้น วจีทุจริต ๔ คือ มุสาวาจา ปิสุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปวาจา ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้นสัมมาวาจาก็เกิด แต่สัมมากัมมันตะและสัมมาอาชีวะ ไม่เกิด เวลาที่เว้นกายทุจริต ๓ คือ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้น สัมมากัมมันตะก็เกิด แต่สัมมาวาจาและสัมมาอาชีวะไม่เกิด เวลาที่เว้นวจีทุจริต ๔ และเว้นกายทุจริต ๓ ที่รวมเรียกว่าเว้นทุจริต ๗ ที่เกี่ยวกับอาชีพเวลานั้นสัมมาอาชีวะเกิด แต่ถือว่าสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะไม่เกิด หน้า ๕๔ แต่ถ้าเป็นโลกุตตรโดยประกอบกับโลกุตตรจิตแล้ว ก็เป็น นิยตเอกโต คือต้องประกอบแน่นอนและประกอบพร้อมกันทั้ง ๓ ดวง เพราะวิรตีนี้เป็นองค์มัคคมีหน้าที่ประหารกิเลส ถ้าวิรตีไม่เกิด มัคคจิตก็จะเกิดไม่ได้เลย ๓. กรุณาเจตสิก กับมุทิตาเจตสิก ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง เวลาใดที่รับเอาทุกขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่เป็นอารมณ์เกิดกรุณาสงสารต่อสัตว์นั้น ปรารถนาช่วยสัตว์นั้นให้พ้นทุกข์ กรุณาเจตสิกก็เกิดแต่มุทิตาเจตสิกไม่เกิด เวลาใดที่รับเอาสุขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังมีความสุขอยู่เป็นอารมณ์แล้วก็พลอยปิติยินดีกับเขาด้วยเช่นนี้ มุทิตาเจตสิกก็เกิด แต่กรุณาเจตสิกไม่เกิด ๔. มานเจตสิก เพราะมีดวงเดียว ไม่มีพวก จึงเรียกว่าเป็น กทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้ง (ไม่ใช่ นานากทาจิ ซึ่งหมายความว่าประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง) มานเจตสิกนี้ถ้าจะเกิด ก็เกิดใน โลภทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง ๕. ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก คู่นี้เป็น สหกทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและพร้อมกัน หมายความว่า ถ้าจะประกอบก็ต้องประกอบด้วยกันพร้อมกันทั้งคู่ (ไม่ใช่ทีละดวง) หรือถ้าไม่ประกอบก็ไม่ประกอบทั้งคู่ หน้า ๕๕ สังคหนัย สังคหะ แปลว่า รวบรวม หรือสงเคราะห์ ในที่นี้มีความหมายว่า จิตแต่ละดวงได้รวบรวมเจตสิกเข้ามาไว้เท่าใด คืออะไรบ้าง หรือจิตแต่ละดวงมีเจตสิกอะไรบ้าง รวมเป็นจำนวนเท่าใดมาสงเคราะห์จิตนั้น ๑๓. ฉตฺตึสานุตฺตเร ธมฺมา ปญฺจตึส มหคฺคเต อฏฺฐตึสาปิ ลพฺภนฺติ กามาวจรโสภณเณ ฯ ๑๔. สตฺตวีสติปญฺญมฺหิ ทฺวาทสาเหตุเกติ จ ยถาสมฺภวโยเคน ปญฺจธา ตตฺถ สงฺคโห ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๖ ดวง(โลกุตตรจิตอย่างย่อ๘ ดวง) มหัคคตจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๕ ดวง กามาวจรโสภณจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๘ ดวง อกุสลจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๒๗ ดวง อเหตุกจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๑๒ ดวง จิตที่ถูกประกอบด้วยเจตสิก โดยสังคหนัย ๕ อย่าง อนุตตรสังคหนัย อนุตตร มีความหมายว่า เหนืออย่างไม่มีอะไรเหนือกว่า หรือแม้แต่จะเหนือเท่า พ้นอย่างไม่มีอะไรจะเทียบได้ ทั้งนี้ก็หมายถึงโลกุตตรนั่นเอง ดังนั้นอนุตตรสังคหนัย ก็คือ สังคหนัยแห่งโลกุตตรจิต นั่นแหละ ๑๕. ฉตฺตึส ปญฺจตึสา จ จตุตฺตึส ยถากฺกมํ เตตฺตึส ทฺวยมิจฺเจวํ ปญฺจธานุตฺตเร ฐิตา ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิตนั้น (อย่างพิศดาร ๔๐ ดวง) มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับ คือ ๓๖ นัยหนึ่ง , ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ คู่หนึ่ง อธิบาย นัยที่ ๑ ปฐมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปฐมฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญาเจตสิก ๒) นัยที่ ๒ ทุติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ทุติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นวิตกเจตสิก) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) นัยที่ ๓ ตติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ตติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นวิตก วิจาร) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) นัยที่ ๔ จตุตถฌานมัคคจิต ๔ ดวง จตุตถฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) หน้า ๕๗ นัยที่ ๕ ปัญจมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปัญจมฌานผลจิต ๔ ดวงมีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) มหัคคตสังคหนัย ๑๖. ปญฺจตึส จตุตฺตึส เตตฺตึส จ ยถากฺกมํ พาตฺตึส เจว ตึเสติ ปญฺจธาว มหคฺคเต แปลความว่า มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับคือ ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ นัยหนึ่ง , ๓๒ นัยหนึ่ง และ ๓๐ นัยหนึ่ง อธิบาย มหัคคตจิต ๒๗ ดวงนั้น เมื่อนับตามอำนาจแห่งฌานแล้ว ก็มีเจตสิกประกอบไม่เท่ากัน จึงจัดได้เป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ ปฐมฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๒ ทุติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มี หน้า ๕๘ เจตสิกประกอบ ๓๔ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒(เว้นวิตกเจตสิก)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๓ ตติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นวิตก วิจาร)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๔ จตุตถฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๕ ปัญจมฌาน ๑๕ ดวง คือ รูปาวจรปัญจมฌาน กุสล วิบาก กิริยา ๓ ดวง อรูปาวจร กุสล วิบาก กิริยา ๑๒ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐(เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก๒๐(เว้นวิรตี ๓ อัปปมัญญา ๒) กามาวจรโสภณสังคหนัย ๑๗. อฏฐตึส สตฺตตึส ทฺวยํ ฉตฺตึสกํ สุเภ ปญฺจตึส จตุตฺตึส ทฺวยํ เตตฺตึสกํ กฺริเย ฯ ๑๘. เตตฺตึส ปาเก พาตฺตึสทฺ วเยกตึสกํ ภว สเหตุกกามาวจร ปญฺญปากกฺริยามเน ฯ แปลความว่า ในสเหตุกกามาวจร กุสล วิบาก กิริยา มีสังคหะ หน้า ๕๙ ตามลำดับคือ มหากุศล มี ๓๘ หนึ่งนัย ๓๗ สองนัย ๓๖ หนึ่งนัย มหาวิบาก มี ๓๕ หนึ่งนัย ๓๔ สองนัย ๓๓ หนึ่งนัย มหากิริยา มี ๓๓ หนึ่งนัย ๓๒ สองนัย ๓๑ หนึ่งนัย อธิบาย ในกามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวงนั้น มีสังคหะรวม ๑๒ นัย ดังนี้ คือ มหากุสล ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๘, ๓๗, ๓๗, ๓๖ มหากิริยา ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๕, ๓๔, ๓๔, ๓๓ มหาวิบาก ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๓, ๓๒, ๓๒, ๓๑ นัยที่ ๑ มหากุสล คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ ที่เป็นญาณสัมปยุตต ทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง เต็มที่ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๒ มหากุสล คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ ซึ่งเป็นญาณวิปปยุตตทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) นัยที่ ๓ มหากุสล คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ ซึ่งเป็นอุเบกขาทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๔ มหากุสล คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ ซึ่งทั้งคู่เป็นอุเบกขาด้วยเป็นญาณวิปปยุตตด้วย มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญา) หน้า ๖๐ นัยที่ ๕ มหากิริยาคู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๖ มหากิริยาคู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ๓ ปัญญา ๑) นัยที่ ๗ มหากิริยา คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี) นัยที่ ๘ มหากิริยา คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ปัญญา) นัยที่ ๙ มหาวิบาก คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) นัยที่ ๑๐ มหาวิบาก คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) นัยที่ ๑๑ มหาวิบาก คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) หน้า ๖๑ นัยที่ ๑๒ มหาวิบาก คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) โสภณเจตสิกที่ไม่ได้สังคหนัย ต่อไปนี้จะแสดงโสภณเจตสิกบางดวง ที่ไม่ได้ประกอบกับโสภณจิต บางประเภท ๑๙. น วิชฺชนเตตฺถ วิรตี กฺริเยสุ จ มหคฺคเต อนุตฺตเร อปฺปมญฺญา กามปาเก ทฺวยํ ตถา ฯ แปลความว่า โสภณเจตสิกที่กล่าวมานี้ ในมหากิริยาจิต ย่อมไม่มีวิรตีเจตสิก ในโลกุตตรจิต ย่อมไม่มีอัปปมัญญาเจตสิก ในมหาวิบากจิต ย่อมไม่มีทั้ง ๒ (คือทั้งวิรตี และ อัปปมัญญา) อธิบาย ๑. ในมหากิริยาจิต ๘ ดวง ทั้งนี้เป็นเพราะมหากิริยาจิต เป็นจิตของพระอรหันต์ ซึ่งจบการศึกษาแล้ว เป็นผู้ที่ปราศจากบาปธรรมทั้งปวง ตั้งแต่อรหัตตผลได้เกิดขึ้นแล้ว จึงไม่จำเป็นหรือไม่มีกิจที่จะต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่วหรือเว้นเลี้ยงชีพชั่วอีกเลย ด้วยว่าไม่มีกิเลสเหลือที่จะให้ทำชั่วอย่างนั้น หรืออย่างไหน ๆ ทั้งสิ้น หน้า ๖๒ ๒. ในมหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกประกอบ เพราะมหัคคตจิตเกิดขึ้นโดยมีกัมมัฏฐานเป็น อารมณ์ ไม่ใช่เกิดขึ้นโดยอาศัยการเว้นทุจริตซึ่งจะต้องมีวิรมิตัพพวัตถุ (วัตถุอันพึงเว้น) เป็นอารมณ์แต่อย่างใด ๓. ในโลกุตตรจิต ไม่มีอัปปมัญญาเจตสิกประกอบ เพราะอัปปมัญญาเจตสิก จะต้องมีสัตว์บัญญัติเป็นอารมณ์ แต่โลกุตตรจิตนั้นมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว ๔. ในมหาวิบากจิต ๘ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกทั้ง ๓ และอัปปมัญญาเจตสิกทั้ง ๒ รวม ๕ ดวงนี้ ประกอบด้วยเลย เพราะมหาวิบากเป็นจิตที่เป็นผลของมหากุสล ทำหน้าที่ปฏิสนธิ เป็นต้น เมื่อขณะปฏิสนธินั้น ไม่ต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่ว และเว้นเลี้ยงชีพชั่ว ทั้งขณะนั้นก็ไม่ได้กรุณาสงสารผู้ใด ไม่ได้มีมุทิตา คือพลอยยินดีกับใคร อันเป็นการเว้น คือไม่เกิด หรือเกิดขึ้นไม่ได้อยู่แล้วตามธรรมชาติ จึงไม่ต้องมีวิรตีเจตสิก อัปปมัญญเจตสิก มาประกอบ ธรรมบางประการที่ทำให้จิตต่างกัน ๒๐. อนุตฺตเร ฌานธมฺมา อปฺปมญฺญา จ มชฺฌิเม วิรตี ญาณ ปีติ จ ปริตฺเตสุ วิเสสกา ฯ แปลความว่า ในโลกุตตรจิต ฌานธรรมย่อมทำให้ต่างกัน ในมหัคคตจิต ฌานธรรมและอัปปมัญญา ทำให้ต่างกัน ในกามาวจรโสภณจิต วิรตี ญาณ ปีติ ทำให้ต่างกัน อธิบาย ๑. ในโลกุตตรจิตนั้น ฌานธรรม คือฌานทั้ง ๕ ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือต่างกันจาก ๘ ดวง เป็น ๔๐ ดวง และ วิตกเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปฐมฌาน ต่างกับโลกุตตร ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกุตตร ทุติยฌาน ต่างกับโลกุตตร ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกุตตร ตติยฌาน ต่างกับโลกุตตร จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร จตุตถฌาน ต่างกับโลกุตตร ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปัญจมฌาน ต่างกับโลกุตตร ฌานต้น ๆ ๒. ในมหัคคตจิตนั้น ฌานธรรมและอัปปมัญญาเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกัน ดังต่อไปนี้ วิตกเจตสิก ทำให้โลกีย ปฐมฌาน ต่างกับโลกีย ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกีย ทุติยฌาน ต่างกับโลกีย ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกีย ตติยฌาน ต่างกับโลกีย จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย จตุตถฌาน ต่างกับโลกีย ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ อัปปมัญญาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ ๓. ในกามาวจรโสภณจิตนั้น วิรตีเจตสิก ญาณคือ ปัญญาเจตสิกและปีติเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกันดังนี้ มหากุสลจิต มีวิรตีประกอบ ทำให้ต่างกับมหากิริยาจิต ซึ่งไม่มีวิรตีประกอบ หน้า ๖๔ จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต มีปัญญาเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่เป็นญาณวิปปยุตต ซึ่งไม่มีปัญญาเจตสิกประกอบ จิตที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา มีปีติเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่ไม่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา ซึ่งไม่มีปีติเจตสิกประกอบ อนึ่ง มีข้อที่ควรสังเกตว่า ในกรณีใดที่ปัญญาเจตสิก หรือปีติเจตสิกจึงประกอบ หรือไม่ประกอบนั้น ดังนี้ จิตดวงใดที่เป็นญาณสัมปยุตตแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปัญญาเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน จิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนาแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปีติเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน (เฉพาะกามจิต) ดังนั้น ก็พึงเป็นที่เข้าใจได้ว่า จิตดวงใดที่เป็นญาณวิปปยุตต คือไม่ประกอบด้วยปัญญาแล้ว ปัญญาเจตสิกก็ย่อมไม่เข้าประกอบอยู่เอง และจิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโทมนัสเวทนา ความเสียใจก็ดีเกิดพร้อมด้วยอุเบกขาเวทนา เฉย ๆ ก็ดี ปีติ คือความอิ่มใจ ย่อมเข้าประกอบด้วยไม่ได้เลย เพราะความเสียใจ หรือความเฉย ๆ จะไม่มีความอิ่มใจ อกุสลสังคหนัย ๒๑. เอกูนวีสฏฺฐารส วีเสกวีส วีสติ ทฺวาวีส ปนฺนรเสติ สตฺตธากุสเล ฐิตา ฯ แปลความว่า อกุศลจิตมีสังคหะ ๗ นัย ตามลำดับ คือ ๑๙ นัยหนึ่ง , ๑๘ นัยหนึ่ง , ๒๑ นัยหนึ่ง , ๒๐ นัยหนึ่ง , ๒๒ นัยหนึ่ง และ ๑๕ นัยหนึ่ง หน้า ๖๕ อธิบาย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบได้ รวมทั้งหมด ๒๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ อกุสลเจตสิก ๑๔ แต่ว่า อกุสลจิตแต่ละดวงนั้นมีเจตสิกประกอบได้ไม่เท่ากัน ดังนั้นอกุสล จิต ๑๒ ดวง จึงจัดสังคหะได้เป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ โลภมูลจิตดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๓ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๙ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ สัพพากุสลสาธารณเจตสิกหรือโมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๑) มานเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๓) นัยที่ ๒ โลภมูลจิตดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๗ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๘ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑(ประกอบเฉพาะดวงที่ ๕) มานเจตสิก (ประกอบ เฉพาะดวงที่ ๗) นัยที่ ๓ โลภมูลจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๔ อันเป็นสสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๑ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๒) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๔) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๔ โลภมูลจิตดวงที่ ๖ กับดวงที่ ๘ อันเป็นสสังขาริก เหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๐ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) หน้า ๖๖ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๖) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๘) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๕ โทสมูลจิตดวงที่ ๑ อันเป็นอสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ นัยที่ ๖ โทสมูลจิตดวงที่ ๒ อันเป็นสสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๒ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๗ โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบเป็นจำนวนเท่ากัน คือ ๑๕ ดวง แต่มีที่ต่างกัน คือ ก. โมหมูลจิต ดวงที่ ๑ได้แก่ วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิตหรือวิจิกิจฉาสหคตจิต เจตสิกที่ประกอบคืออัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นอธิโมกข์ ปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวม ๑๕ ดวง ข. โมหมูลจิต ดวงที่ ๒ ได้แก่ อุทธัจจสัมปยุตตจิต มีเจตสิกที่ประกอบ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ รวม ๑๕ ดวง เท่ากันกับ ก. สัพพากุสลโยคีเจตสิก ๒๒. สาธารณา จ จตฺตาโร สมานา จ ทสาปเร จุทฺทเสเต ปวุจฺจนฺติ สพฺพากุลสโยคิโน ฯ หน้า ๖๗ แปลความว่า สัพพากุสลสาธารณเจตสิก ๔ ดวง อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก อธิบาย สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด (ทั้ง ๑๒ ดวง) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก หรือโมจตุกะ ๔ ดวงคือ โมห อหิริก อโนตตัปป อุทธัจจ กับอัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง คือ ผัสส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร และ วิริยะ (เว้นอธิโมกธ ปีติ ฉันทะ) รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเป็นเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด หมายความว่า อกุสลจิตทั้ง ๑๒ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงหนึ่งดวงใดเกิดขึ้นเป็นต้องมีเจตสิกทั้ง ๑๔ ดวงนี้ ประกอบเสมอไปอย่างแน่นอน อเหตุกสังคหนัย ๒๓. ทฺวาทเสกาทส ทส สตฺต จาติ จตุพฺพิโธ อฏฐารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ สงฺคโห ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย ตามลำดับ คือ ๑๒ หนึ่งนัย , ๑๑ หนึ่งนัย , ๑๐ หนึ่งนัย , ๗ หนึ่งนัย หน้า ๖๘ อธิบาย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ประเภทเดียวเท่านั้น คือ อัญญสมานาเจตสิก และอัญญสมานาเจตสิกก็เข้าประกอบกับอเหตุกจิตได้เป็นอย่างมากเพียง ๑๒ ดวงเท่านั้น ส่วนอีกดวง คือ ฉันทเจตสิกเข้าประกอบกับอเหตุกจิตด้วยไม่ได้เลยเป็นเด็ดขาดแน่นอน เหตุที่ฉันทเจตสิกไม่ประกอบกับอเหตุกจิตเลยนั้น เพราะว่าฉันทเจตสิกนี้มีลักษณะ คือ ความพอใจในอารมณ์ มีความปรารถนาจะกระทำ มีความปลงใจกระทำ ส่วนอเหตุกจิตนั้นเป็นจิตที่แม้ว่าจะปลงใจกระทำหรือไม่ ก็ต้องเกิด เช่น จักขุวิญญาณจิต มีหน้าที่เห็นรูป ไม่ว่ารูปนั้นจะสวยงามอยากเห็นหรือเป็นรูปที่น่าเกลียดน่ากลัวไม่อยากเห็น เมื่อรูปนั้นมาปรากฏเฉพาะหน้า ก็จะต้องเห็น จะเลือกเห็นเฉพาะรูปที่สวยงามไม่ได้ ทางโสตวิญญาณจิต มีหน้าที่ได้ยินเสียงก็เช่นกัน จะเลือกได้ยินแต่เสียงที่เพราะ ๆ รื่นหู ก็ไม่ได้ ซึ่งผิดกับจิตอื่นที่มีฉันทเจตสิกประกอบ เช่นโทสจิต เป็นต้น เมื่อได้เห็นสิ่งที่ไม่ดี เช่นเห็นสุนัขขี้เรื้อน ผู้เห็นพอใจปลงใจจะให้เกิดความเกลียดชังก็ได้ หรือจะเลือกในทางไม่เกลียดก็ได้ ถ้าเลือกในทางเกลียด โทสจิตก็เกิด ถ้าเลือกในทางสงสารว่าเป็นกรรมของสัตว์นั้น โทสจิตก็ไม่เกิด แต่กลับเป็นโสภณจิต ดังนั้นฉันทเจตสิกจึงไม่เกิดร่วมกับอเหตุกจิตเลย เพราะเป็นจิตที่เลือกไม่ได้ตามใจชอบ หน้า ๖๙ อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ดวง อันเป็นจิตยิ้มแย้มของพระอรหันต์โดยเฉพาะ บุคคลอื่นใดไม่มีจิตดวงนี้ หสิตุปปาทมีเจตสิกประกอบ ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันท) นัยที่ ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง (เรียกอีกชื่อหนึ่งตามกิจ หรือหน้าที่การงานว่า โวฏฐัพพนจิตก็ได้) และโสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง จิต ๒ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบ ๑๑ ดวง เท่ากัน แต่มีที่ต่างกัน คือ เจตสิกที่ประกอบกับมโนทวาราวัชชนจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก และฉันทเจตสิก) ส่วนเจตสิกที่ประกอบกับโสมนัสสันตีรณจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ แต่เว้นวิริยเจตสิก กับฉันทเจตสิก นัยที่ ๓ มโนธาตุ ๓ ดวง (ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง) กับอเหตุกปฏิสนธิจิต ๒ ดวง (คืออุเบกขาสันตีรณจิต ๒) รวมจิต ๕ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบได้ ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิริย ปีติ ฉันท) นัยที่ ๔ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ดวง มีเจตสิกประกอบได้จำพวกเดียว คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเท่านั้นเอง ๒๔. อเหตุเกสุ สพฺพตฺถ สตฺต เสสา ยถารหํ อิติ วิตฺถารโต วุตฺโต เตตฺตึสวิธ สงฺคโห ฯ หน้า ๗๐ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวงนี้ ย่อมประกอบด้วย สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเสมอ ส่วน ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวงนั้น ย่อมประกอบกับจิตตามที่จะประกอบได้ เมื่อนับโดยพิสดารย่อมได้สังคหนัย ๓๓ นัยดังได้กล่าวมาแล้ว ๒๕. อิตถํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ สมฺปโยคญฺจ สงฺคหํ ญตฺวา เภทํ ยถาโยคํ จิตฺเตน สมมุทฺทิเส ฯ แปลความว่า ตามที่ได้กล่าวมา พึงรู้สัมปโยคนัยและสังคหนัยของเจตสิกเสียก่อน แล้วจึงจำแนกประเภทของจิตและ เจตสิกที่ประกอบกัน ตามที่จะเข้ากันได้เถิด อธิบาย สัมปโยคนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่า เจตสิกแต่ละดวงเข้าประกอบกับจิตใดบ้าง สังคหนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่าจิตแต่ละดวงมีเจตสิกใดมาร่วมสงเคราะห์บ้าง สัมปโยคนัย มี ๑๖ นัย คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ได้สัมปโยค ๑ นัย ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวง ได้สัมปโยค ๖ นัย อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง ได้สัมปโยค ๕ นัย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ได้สัมปโยค ๔ นัย รวม ๕๒ ดวง ได้สัมปโยค ๑๖ นัย หน้า ๗๑ สังคหนัย มี ๓๓ นัย คือ โลกุตตรจิต ๔๐ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง มีสังคหะ ๑๒ นัย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีสังคหะ ๗ นัย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย รวมจิต ๑๒๑ ดวง มีสังคหะ ๓๓ นัย อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๒ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห ทุติเย ปริจฺโฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ ในปริจเฉทที่ ๒ ( ชื่อ เจตสิกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวมรวบ ซึ่งอรรถแห่งอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อแต่เพียงเท่านั้น

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือพระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๒ เจตสิกสังคหวิภาค เจตสิกปรมัตถ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส เจตสิก ๕๒ อัญญสมนาเจตสิก ๑๓ อกุศลเจตสิก ๑๔ โสภณเจตสิก ๒๕ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ โมจตุกเจตสิก ๔ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ผัสสะ โมหะ สัทธา เวทนา อหิริกะ สติ สัญญา อโนตตัปปะ หิริ เจตนา อุทธัจจะ โอตตัปปะ เอกัคคตา โลติกเจตสิก ๓ อโลภะ ชีวิตินทรีย์ โลภะ อโทสะ มนสิการ ทิฏฐิ ตัตรมัชฌัตตตา ปกิณณกเจตสิก ๖ มานะ กายปัสสัทธิ , จิตตปัสสัทธิ วิตก โทจตุกเจตสิก ๔ กายลหุตา , จิตตลหุตา วิจาร โทสะ กายมุทุตา , จิตตมุทุตา อธิโมกข์ อิสสา กายกัมมัญญตา , จิตตกัมมัญญตา วิริยะ มัจฉริยะ กายปาคุญญตา , จิตตปาคุญญตา ปีติ กุกกุจจะ กายุชุกตา , จิตตุชุกตา ฉันทะ ถีทุกเจตสิก ๒ วีรตีเจตสิก ๓ ถีนะ สัมมาวาจา มิทธะ สัมมากัมมันตะ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ สัมมาอาชีวะ วิจิกิจฉา อัปปมัญญาเจตสิก ๒ กรุณา มุทิตา ปัญญาเจตสิก ๑ ปัญญินทรีย์ หน้า ๒ เจตสิกปรมัตถนี้ ตามพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่งพระอนุรุทธาจารย์ได้รจนาไว้นั้น ท่านจัดเป็นปริจเฉทที่ ๒ ให้ชื่อว่า เจตสิกสังคหวิภาค อันแปลว่าส่วนที่รวบรวมเรื่องเจตสิก เจตสิกสังคหวิภาคนี้ ท่านประพันธ์ไว้เป็นคาถาสังคหะรวม ๒๕ คาถา ดังจะแสดงตามลำดับต่อไปจนครบทั้ง ๒๕ คาถา เจตสิกคืออะไร เจตสิกคือธรรมชาติสิ่งหนึ่ง ซึ่งประกอบกับจิต และปรุงแต่งจิตให้ประพฤติเป็นไปตามนั้น อาการที่ประกอบกับจิตนั้น เรียกว่า เจโตยุตฺตลกฺขณํ คือมีสภาพที่ประกอบกับจิต บริบูรณ์ด้วยลักษณะ ๔ ประการคือ เอกุปฺปาท เกิดพร้อมกับจิต เอกนิโรธ ดับพร้อมกับจิต เอกาลมฺพณ มีอารมณ์เดียวกับจิต เอกวตฺถุก อาศัยวัตถุเดียวกับจิต ดังมีคาถาสังคหะที่ ๑ แสดงว่า ๑. เอกุปฺปาทนิโรธา จ เอกาลมฺพณ วตฺถุกา เจโตยุตฺตา ทฺวิปญฺญาส ธมฺมา เจตสิกา มตา แปลความว่า สภาวธรรมที่เกิดพร้อมกับจิต ดับพร้อมกับจิต มีอารมณ์เดียวกับจิต และมีวัตถุที่อาศัยเกิดก็เป็นอัน เดียวกับจิต ธรรมชาตินั้นเรียกว่า เจตสิก มีจำนวน ๕๒ ดวง หน้า ๓ เจตสิกมี ลักษณะ ( คือคุณภาพหรือเครื่องแสดง ) , รสะ ( กิจการงาน หรือหน้าที่ ) , ปัจจุปัฏฐาน ( อาการปรากฏ หรือ ผล ) , ปทัฏฐาน ( เหตุใกล้ให้เกิด ) เป็น ๔ ประการ ซึ่งรวมเรียก ลักขณาทิจตุกะ นั้น ดังนี้ จิตฺตนิสฺสิตลกฺขณํ อาศัยจิตเกิดขึ้น เป็นลักษณะ อวิโยคุปฺปาทนรสํ เกิดร่วมกับจิต เป็นกิจ เอกาลมฺพณปจฺจุปฏฺฐานํ รับอารมณ์อย่างเดียวกับจิต เป็นผล จิตฺตุปฺปาทปทฏฺฐานํ มีการเกิดขึ้นแห่งจิต เป็นเหตุใกล้ อนึ่งเจตสิกนี้แม้ว่าจะเป็นสิ่งที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตประพฤติเป็นไปตามลักษณะของเจตสิกก็ตาม แต่ก็ต้องถือว่าจิตเป็นใหญ่ เป็นประธาน เพราะเจตสิกเป็นสิ่งที่ต้องอาศัยจิตเกิด เจตสิกทั้ง ๕๒ แบ่งเป็น ๓ ประเภท เจตสิกทั้งหมด มีจำนวน ๕๒ ดวง ซึ่งแต่ละดวงก็มีลักษณะแตกต่างกัน ไม่เหมือนกันเลย ถึงกระนั้นก็ยังแบ่งเจตสิก ๕๒ ดวงนี้ ได้เป็น ๓ ประเภท ดังมีคาถาสังคหะ แสดงว่า คาถาสังคหะที่ ๒ แสดงว่า ๒. เตรสญฺญสมานา จ จุทฺทสากุสลา ตถา โสภณา ปญฺจวีสาติ ทวิปญฺญาส ปวุจฺจเร ฯ แปลความว่า เจตสิก ๕๒ ดวง จัดเป็น ๔ ประเภท คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง โสภณเจตสิก ๑๕ ดวง หน้า ๔ อัญญสมานาเจตสิก อัญญสมานาเจตสิก เป็นเจตสิกที่เสมอเหมือนกับสภาพอื่นได้ หมายความว่าเป็นเจตสิกที่ประกอบกับธรรมที่เป็นอกุศล หรือเป็นกุศล หรือเป็นอพยากตะได้ทุกชนิด เมื่อประกอบกับธรรมชนิดใด ก็มีสภาพเป็นชนิดนั้นไปด้วย กล่าวคือถ้าเกิดร่วมกับ อกุศลก็นับเป็นอกุศลไปด้วย ถ้าเกิดร่วมกับกุศล ก็จัดเป็นกุศลไปด้วย เมื่อเกิดร่วมกับอพยากตะ ก็เรียกว่าเป็นอพยากตะไปด้วย อัญญสมานาเจตสิก มีจำนวน ๑๓ ดวง ชื่ออะไรบ้าง มีแจ้งอยู่ที่หน้าต้นนั้นแล้ว ในจำนวน ๑๓ ดวงนี้ ยังจัดออกได้เป็น ๒ พวก คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก มีจำนวน ๗ ดวง ปกิณณกเจตสิก มีจำนวน ๖ ดวง สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก เป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมดหมายความว่า จิตทั้งหมดซึ่งมีจำนวน นับอย่างย่อ ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็มี ๑๒๑ ดวงนั้น เมื่อจิตดวงใดเกิดขึ้น เจตสิกทั้ง ๗ ดวงนี้ ย่อมเกิดประกอบกับจิตนั้นพร้อมกันทั้ง ๗ ดวงเสมอไป ไม่มีเว้นเลย ดังนั้นจึงว่าเป็นเจตสิกที่สาธารณะแก่จิตทั้งหมด สมกับชื่อที่ว่า สัพพจิตตสาธารณเจตสิก สัพพจิตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง มีดังนี้ หน้า ๕ ผัสสเจตสิก ๑. ผัสสเจตสิก คือ การกระทบอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ผุสนลกฺขโณ มีการกระทบอารมณ์ เป็นลักษณะ สงฺฆฏฏฺนรโส มีการประสานอารมณ์ วัตถุ วิญญาณ เป็นกิจ สนฺนิปาตปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประชุมพร้อมกัน เป็นผล อาปาถคตวิสยปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ ความหมายของผัสสเจตสิกนี้ ไม่ได้หมายเพียงแต่ว่า ของสองสิ่งกระทบกันเท่านั้น แต่หมายถึงว่าต้องมี ธรรม ๓ ประการมาประชุมร่วมพร้อมกัน จึงจะเรียกว่าผัสสเจตสิก ธรรม ๓ ประการนั้น คือ อารมณ์ ๑ วัตถุ ๑ ธรรม ๒ ประการนี้กระทบ กัน และทำให้เกิดวิญญาณอีก ๑ ด้วย ไม่ใช่แต่เพียงว่ากระทบกันเฉยๆ เวทนาเจตสิก ๒. เวทนาเจตสิก คือการเสวยอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็คือ ความรู้สึก รู้สึกว่าสบายหรือไม่สบาย แยกตาม ประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการรู้สึก เป็น ๕ อย่าง ได้แก่ ก. สุขเวทนาเจตสิก คือความสุขสบายทางกาย มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ดีเป็นลักษณะ หน้า ๖ สมฺปยุตตฺตานํ พยูหนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเจริญ เป็นกิจ กายิกอสฺสาทปจฺจุปฏฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางกาย เป็นผล กายินฺทฺริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ข. ทุกขเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ยากลำบากกาย มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนิฏฺฐโผฏฺฐพฺพานุภวนลกฺขณา มีการสัมผัสถูกต้องกับอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ มิลาปนรสา มีการทำให้สัมปยุตตธรรมเศร้าหมอง เป็นกิจ กายิกาพาธปจฺจุปฏฺฐานา มีความอาพาธทางกาย เป็นผล กายินฺทริยปทฏฺฐานา มีกายประสาท เป็นเหตุใกล้ ค. โสมนัสเวทนาเจตสิกคือความสุขความสบายใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ อิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการทำจิตให้อยู่ร่วมกับอารมณ์ที่ดี เป็นกิจ เจตสิกอสฺสาทปฏฺจุปจฺฐานา มีความชื่นชมยินดีทางใจ เป็นผล ปสฺสทฺธิปทฏฺฐานา มีความสงบกายสงบใจ เป็นเหตุใกล้ ง. โทมนัสเวทนาเจตสิกคือความทุกข์ใจ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อนิฏฺฐารมฺมณานุภวนลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นลักษณะ อนิฏฺฐาการสมฺโภครสา มีการเสวยอารมณ์ที่ไม่ดี เป็นกิจ เจตสิกาพาธปจฺจุปฏฐานา มีความอาพาธทางใจ เป็นผล หทยวตฺถุปทฏฺฐานา มีหทัยวัตถุ เป็นเหตุใกล้ จ. อุเบกขาเจตสิก คือความรู้สึกเฉยๆ ไม่ทุกข์ไม่สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ มชฺฌตฺตเวทยิตลกฺขณา มีการเสวยอารมณ์ปานกลาง เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ นาติอุปพยูหนมิลาปนรสา มีการักษาสัมปยุตตธรรม ไม่ให้เจริญ ไม่ให้เศร้าหมอง เป็นกิจ สนฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเฉยๆ เป็นผล นิปฺปิติกจิตฺตปทฏฺฐานา มีจิตที่ไม่ยินดีเป็นเหตุใกล้ สัญญาเจตสิก ๓. สัญญาเจตสิก คือ ความจำหมายอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สญฺชานน ลกฺขณา มีความจำ เป็นลักษณะ ปุนสญฺชานน ปจฺจยนิมิตฺตกรณ รสา มีการหมายไว้และจำได้ เป็นกิจ ยถาคหิต นิมิตฺตวเสน อภินิเวสกรณ ปจฺจุปฏฺฐานา มีความจำได้ในสิ่งที่หมายไว้ เป็นผล ยถาอุปฏฺฐิตวิสยปทฏฺฐานา มีอารมณ์ที่ปรากฏ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๘ เจตนาเจตสิก ๔. เจตนาเจตสิก คือการแสวงหาหรือขวนขวายที่จะให้เป็นไปในอารมณ์ หรือความตั้งใจ หรือความสำเร็จ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ เจตนาภาวลกฺขณา มีการชักชวน เป็นลักษณะ อายูหนรสา มีการขวนขวาย เป็นกิจ สํวิธาน ปจฺจุปฏฺฐานา มีการจัดแจง เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ เอกัคคตาเจตสิก ๕. เอกัคคตาเจตสิก คือการตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์เดียว มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวิกฺเขปลกฺขณา มีการไม่ฟุ้งซ่าน เป็นลักษณะ สหชาตานํ สมฺปิณฺฑนรสา มีการรวบรวมสหชาตธรรม เป็นกิจ อุปสมปจฺจุปฏฺฐานา มีความสงบ เป็นผล สุขปทฏฺฐานา มีสุขเวทนา เป็นเหตุใกล้ ชีวิตินทรียเจตสิก ๖. ชีวิตินทรียเจตสิก คือการรักษาธรรมที่เกิดร่วมด้วยตนให้ตั้งอยู่ตามอายุของตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๙ สหชาตานํ อนุปาลนลกฺขณํ มีการเลี้ยงรักษาสหชาตธรรม เป็นลักษณะ เตสํ ปวตฺตนรสํ มีความตั้งอยู่และเป็นไปได้ เป็นกิจ เตสญฺเญวฐปนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการทรงอยู่ได้ซึ่งสหชาตธรรม เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานํ มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญานขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก ๗. มนสิการเจตสิก คือการกระทำอารมณ์ให้แก่จิต หรือความใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สารณลกฺขโณ มีการทำให้สัมปยุตตธรรมใส่ใจในอารมณ์ เป็นลักษณะ สมฺปยุตฺตานํ อารมฺมเณ สํโยชนรโส มีการทำให้สัมปยุตตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมณาภิมุขีภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการทำให้สัมปยุตตธรรมให้มีหน้าที่เฉพาะอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ มนสิการเจตสิก คือ ความใส่ใจในอารมณ์นี้ ถ้ามีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอัน แยบคาย คือใส่ใจให้ถูกต้องตรงตามสภาวะแห่ง ความเป็นจริงแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ดีงาม หน้า ๑๐ ความใส่ใจเป็นอันดีเรียกว่า โยนิโสมนสิการ ถ้าไม่มีความใส่ใจเป็นอันดีต่ออารมณ์ หรือใส่ใจในอารมณ์ด้วยอุบายอันไม่แยบคายแล้ว ย่อมก่อให้เกิดจิตที่ไม่ดี จิตที่ ชั่วที่บาป ความไม่ใส่ใจเป็นอันดีนี้ เรียกว่า อโยนิโสมนสิการ สาเหตุที่จะให้เกิด โยนิโสมนสิการ คือ ๑. ปุพฺเพ จ กตปุญฺญตา เคยทำบุญไว้แต่ปางก่อน ๒. ปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่สมควร คือประเทศที่มีสัปบุรุษ ๓. สปฺปุริสูปนิสฺสย คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. สทฺธมฺมสฺสวน ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตาสมฺนาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ส่วนสาเหตุที่จะให้เกิด อโยนิโสมนสิการ ก็ตรงกันข้าม คือ ๑. ปุพฺเพ อกตปุญฺญตา ไม่ได้สร้างสม บุญไว้แต่ปางก่อน ๒. อปฺปฏิรูปเทสวาส อยู่ในประเทศที่ไม่สมควร (คือไม่มีสัปบุรุษ) ๓. อสปฺปุริสูปนิสฺสย ไม่ได้คบหาสมาคมกับสัปบุรุษ ๔. อสทฺธมฺมสฺสวน ไม่ได้ฟังธรรมของสัปบุรุษ ๕. อตฺตมิจฉาปณิธิ ตั้งตนไว้ผิด ปกิณณกเจตสิก ปกิณณกเจตสิก เป็นเจตสิกเบ็ดเตล็ด ไม่ประกอบกับจิตทั่วไปแต่ประกอบได้เป็นบางดวง ปกิณณกเจตสิกมี ๖ ดวง ดังต่อไปนี้ หน้า ๑๑ วิตกเจตสิก ๑. วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญ ก็คือการคิด การนึกถึงอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อภินิโรปนกฺขโณ มีการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์ เป็นลักษณะ อาหนปริยาหนรโส มีการกระทำให้จิตกระทบอารมณ์บ่อยๆ เป็นกิจ อารมฺมเณ จิตฺตสฺส อานยนปจฺจุปฏฺฐาโน มีจิตที่ทรงอยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ วิตกเจตสิก คือการยกจิตขึ้นสู่อารมณ์นี้ มีความหมายใกล้เคียงกับเจตนาเจตสิก ความตั้งใจในอารมณ์ และมนสิการ เจตสิก ความใส่ใจในอารมณ์ เพื่อให้เกิดความแตกต่างกัน จึงมีอุปมาด้วยเรือแข่งว่า เจตนาเจตสิก อุปมาดังคนพายหัว ต้องคว้าธงให้ได้ อันหมายถึงความสำเร็จ คือชัยชนะ มนสิการเจตสิก อุปมาดังคนถือท้าย ต้องคัดวาดเรือให้ตรงไปยังธงอันเป็นหลักชัย วิตกเจตสิก อุปมาดังคนพายกลางลำ มุ่งหน้าจ้ำพายไปแต่อย่างเดียว หน้า ๑๒ วิจารเจตสิก ๒. วิจารเจตสิก คือ การประคองจิตให้อยู่ในอารมณ์ กล่าวอย่างธรรมดาสามัญก็ว่า คิดบ่อยๆ นั่นเอง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อารมฺมณานุมชฺชนลกฺขโณ มีการพิจารณาอารมณ์บ่อยๆ เป็นลักษณะ ตตฺถ สหชาตานุโยชนรโส มีการทำให้สหชาตธรรมประกอบในอารมณ์ เป็นกิจ จิตฺตอนุปฺปพนฺธปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตกแต่งจิตให้อยู่ในอารมณ์ เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐาโน มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ ( เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์ ) เป็นเหตุใกล้ อธิโมกขเจตสิก ๓. อธิโมกขเจตสิก มีการตัดสินอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สนฺนิฏฺฐานลกฺขโณ มีการสันนิษฐานอารมณ์ เป็นลักษณะ อสํสปฺปนรโส มีการไม่โยกไม่คลอน เป็นกิจ วินิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐาโน มีการตัดสิน เป็นผล สนฺนิฏเฐยฺยธมฺมปทฏฺฐาโน มีการสันนิษฐานธรรม เป็นเหตุใกล้ วิริยเจตสิก ๔. วิริยเจตสิก คือ ความเพียรเพื่อให้ได้อารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ หน้า ๑๓ อุสฺสาหนลกฺขณํ มีความอุตสาหะ เป็นลักษณะ สหชาตานํ อุปตฺถมฺภนรสํ มีการอุดหนุนค้ำชูสหชาตธรรม เป็นกิจ อสํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีการไม่ย่อท้อถดถอย เป็นผล สํเวคปทฏฺฐานํ มีความสลด เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก ๕. ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้ม หรืออิ่มใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ สมฺปิยายนลกฺขณา มีความอิ่มใจ เป็นลักษณะ กายจิตฺตปีฬนรสา มีการทำกายและใจอิ่มเอิบ เป็นกิจ โอทคฺยปจฺจุปฏฺฐานา มีกายและใจเฟื่องฟู เป็นผล เสสขนฺธตฺตยปทฏฺฐานา มีนามขันธ์ทั้ง ๓ ที่เหลือ (เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ วิญญาณขันธ์) เป็นเหตุใกล้ ปีติเจตสิก คือ ความปลาบปลื้มใจ อิ่มใจในอารมณ์นั้นมี ๕ ประการ ๑. ขุทฺทกาปีติ ปลาบปลื้มใจเล็กน้อยพอรู้สึกขนลุก ๒. ขณิกาปีติ ปลาบปลื้มใจชั่วขณะเกิดขึ้นบ่อยๆ ๓. โอกฺกนฺติกาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวโยกตัวโคลง ๔. อุพฺเพงฺคาปีติ ปลาบปลื้มใจจนถึงกับตัวลอย ๕. ผราณาปีติ ปลาบปลื้มใจจนนอิ่มเอิบซาบซ่านไปทั่วทั้งกายและใจ ปีติ ที่เป็นองค์ฌานนั้น ต้องถึง ผรณาปีติ ส่วนปีติอีก ๔ ไม่นับเป็นองค์ฌาน เพราะยังเป็นของหยาบอยู่ อนึ่ง ปีติ กับ สุข ต่างกัน คือ ปีติ เป็นสังขารขันธ์ สุข เป็นเวทนาขันธ์ และเมื่อมี ปีติ จะต้องมีสุขเสมอแน่นอน แต่ว่า เมื่อมีสุข อาจจะไม่มีปีติด้วยก็ได้ ฉันทเจตสิก ๖. ฉันทเจตสิก คือความพอใจในอารมณ์ ความปลงใจที่จะทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กตฺตุกมฺยตา ลกฺขโณ มีความปรารถนาเพื่อจะกระทำ เป็นลักษณะ อารมฺมณปริเยสนรโส มีการแสวงอารมณ์ เป็นกิจ อารมฺมเณน อตฺถิกตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาอารมณ์ เป็นผล อารมฺมณปทฏฺฐาโน มีอารมณ์ เป็นเหตุใกล้ อกุศลเจตสิก อกุศลเจตสิก คือ เจตสิกที่ชั่ว ที่บาป ที่หยาบ ที่ไม่งาม ที่ไม่ฉลาด อกุศลเจตสิกนี้ เมื่อประกอบกับจิตแล้ว ก็ทำให้จิตเศร้าหมองเร่าร้อน และทำให้เสียศีลธรรม อกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลเจตสิก ๑๒ ดวงเท่านั้น ไม่ประกอบกับจิตอย่างอื่นเลย และเพราะเหตุว่าอกุศลเจตสิก ประกอบกับอกุศลจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่าอกุศลเจตสิก ไม่ชื่อว่าอโสภณเจตสิก เพราะถ้าชื่อว่า หน้า ๑๕ อโสภณเจตสิกแล้ว ก็จะมีความหมายไปว่า ต้องประกอบกับอโสภณจิตได้ทั้งหมด กล่าวคือต้องประกอบกับอเหตุกจิตด้วย อกุศลเจตสิก มี ๑๔ ดวง แบ่งออกเป็น ๕ พวก คือ ก. โมจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกมีโมหะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก โมจตุก นี้ ประกอบกับอกุศลเจตสิกได้ทั้งหมดทั้ง ๑๒ ดวง ดังนั้นจึงมีชื่ออีกชื่อว่า สัพพากุศลสาธารณเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกที่สาธารณแก่ อกุศลจิต ทั้งหมด ข. โลติกเจตสิก หมายความว่าเป็นเจตสิกพวกโลภะ มี ๓ ดวงด้วยกัน คือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และมานะเจตสิก โลติกนี้ประกอบได้เฉพาะแต่โลภมูลจิต ๘ ดวงเท่านั้น ค. โทจตุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกโทสะมี ๔ ดวงด้วยกัน คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก โทจตุก นี้ประกอบได้แต่เฉพาะโทสมูลจิต ๒ ดวงเท่านั้น ง. ถีทุกเจตสิก หมายความว่า เป็นเจตสิกพวกถีนะ มี ๒ ดวงด้วยกัน คือ ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก ถีทุก นี้ ประกอบได้เฉพาะแต่อกุศลจิตที่เป็นสสังขาริก ๕ ดวงเท่านั้น จ. วิจิกิจฉาเจตสิกไม่มีพวก มีแต่ตัวดวงเดียว และประกอบได้เฉพาะแต่ โมหมูลจิตที่เป็นวิจิกิจฉา ดวงเดียวเท่านั้น เอง หน้า ๑๖ อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวงนั้น ดังนี้ โมหเจตสิก ๑. โมหเจตสิก คือ ความหลง ความไม่รู้จริงตามสภาวะของอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อญาณลกฺขโณ มีการไม่รู้ เป็นลักษณะ อารมมฺมณสภาวจฺฉาทนรโส มีการปกปิดไว้ซึ่งสภาวะแห่งอารมณ์ เป็นกิจ อนฺธการปจฺจุปฏฺฐาโน มีความมืดมน เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีก่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ที่ว่า ไม่รู้นั้น หมายความว่าไม่รู้ในการสิ่งควรรู้ แต่ไม่รู้ในสิ่งที่ไม่ควรรู้ ความไม่รู้ในที่นี้ หมายเฉพาะ ไม่รู้ในธรรม ๘ ประการ คือ (๑) ทุกฺเข อญาณํ ไม่แจ้งในทุกข์ (๒) ทุกฺขสมุทเย อญาณํ ไม่แจ้งเหตุให้เกิดทุกข์ (๓) ทุกฺขนิโรเธ อญาณํ ไม่แจ้งการดับทุกข์ (๔) ทุกฺขนิโรธคามินิปฏิปทาย อญาณํ ไม่แจ้งหนทางที่จะดับทุกข์ (๕) ปุพฺพนฺเต ยญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทริย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วนอดีต ( อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อเหตุ ) (๖) อปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ที่เป็นส่วน อนาคต ( อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญและนัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล ) หน้า ๑๗ (๗) ปุพฺพนฺตาปรนฺเต อญาณํ ไม่แจ้งในขันธ์ อายตน ธาตุ อินทรีย์ สัจจ ปฏิจจสมุปบาท ทั้งที่เป็นส่วนในอดีตและในอนาคต ( อกริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล ) (๘) อธิปจฺจยตาปฏิจฺจสมุปฺปนฺเนสุ ธมฺเมสุ อญาณํ ไม่แจ้งในธรรมที่มีเหตุให้เกิดผลอันต่อเนื่องกัน ( อัตตทิฏฐิเชื่อว่าเป็นตัวเป็นตน ) อหิริกเจตสิก ๒. อหิริเจตสิก คือ ความไม่ละอายต่อการทำบาป ไม่ละอายต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทีหิอชิคุจฺฉนลกฺขณํ มีการไม่เกลียดต่อกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการกระทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล อตฺตอคารวปทฏฺฐานํ มีการไม่เคารพตน เป็นเหตุใกล้ ที่ไม่เคารพตน เพราะ ก. ไม่ละอายต่อ วัย ข. ไม่ละอายต่อ เพศ ค. ไม่ละอายต่อ ตระกูล ง. ไม่ละอายต่อ อกุศล หน้า ๑๘ อโนตตัปปเจตสิก ๓. อโนตตัปเจตสิก คือ ความไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำบาป ไม่สะดุ้งกลัวต่อการทำอกุศล มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุตฺตาสลกฺขณํ มีการไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํกรณรสํ มีการทำบาป เป็นกิจ อสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความไม่เกลียดต่อบาปธรรม เป็นผล ปรอคารวปทฏฺฐานํ ไม่มีการเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ อุทธัจจเจตสิก ๔. อุทธัจจเจตสิก คือความฟุ้งซ่าน ไม่สงบ คิดฟุ้งไปในอารมณ์ต่างๆ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อวูปสมลกฺขณํ มีความไม่สงบ เป็นลักษณะ อนวตฺถานรสํ มีการไม่มั่นในอารมณ์เดียว เป็นกิจ ภนฺตตฺถ ปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหวั่นไหว เป็นผล อโยนิโสมนสิการ ปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ โลภเจตสิก ๕. โลภเจตสิก คือ ความรัก ความอยากได้ ความติดใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๑๙ อารมฺมณคหณลกฺขโณ มีการยึดมั่นซึ่งอารมณ์ เป็นลักษณะ อภิสงฺครโส มีการติดในอารมณ์ เป็นกิจ อปริจฺจาคปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่บริจาค เป็นผล สํโยชนิธมฺเมสุ อสฺสาททสฺสนปทฏฺฐาโน มีการดูด้วยความยินดีในสังโยชน์ เป็นเหตุใกล้ อรรถของโลภะโดยปริยาย ในไวยกรณ์ ตามบาลีในปรมัตถทีปนีฎีกา ได้จำแนกออกไป ๑๐ ประการ คือ (๑) ตัณหา ความต้องการ (๒) ราคะ ความกำหนัด (๓) กามะ ความใคร่ (๔) นันทิ ความเพลิดเพลิน (๕) อภิชฌา ความเพ่งเล็ง (๖) ชเนตติ ความก่อให้เกิดกิเลส (๗) โปโนพภวิก ความนำให้เกิดในภพใหม่ (๘) อิจฉา ความปรารถนา (๙) อาสา ความหวัง (๑๐) สังโยชน์ ความเกี่ยวข้อง ความผูกพันธ์ ผูกมัด รัดไว้ ล่ามไว้ ปริตสฺสตีติ ตณฺหาฯ (วิสุทธิมัคค) ความกระหายอยากได้ซึ่งอารมณ์นั้นเรียกว่า ตัณหา กาโม จ โสตณฺหา จาติ กามตณฺหา ฯ (ปรมัตถทีปนีฎีกา) ความกำหนัดที่อยากได้ซึ่งกามคุณอารมณ์นั้น เรียกว่า กามตัณหา สสฺสตทิฏฐิ สหคโต หิ ราโค ภวตณฺหาติ วุจฺจติฯ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย สัสสตทิฏฐิ เรียกว่า ภวตัณหา อุจฺเฉททิฏฐิ สหคโต หิ ราโค วิภวตณฺหา วุจฺจติ (วิสุทธิมัคค) ตัณหาที่เกิดพร้อมด้วย อุจเฉททิฏฐิ เรียกว่า วิภวตัณหา หน้า ๒๐ ทิฏฐิเจตสิก ๖. ทิฏฐิเจตสิก คือ ความเห็นผิดจากความเป็นจริงในสภาวธรรม มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อโยนิโส อภินิเวส ลกฺขณามีการถือมั่นด้วยหาปัญญามิได้ เป็นลักษณะ ปรามาส รสา มีการถือผิดจากสภาวะ เป็นกิจ มิจฺฉาภินิเวสปจฺจุปฏฺฐานา มีการยึดถือความเห็นผิด เป็นผล อริยานํ อทสฺสน กามตาทิ ปทฏฺฐานา ไม่ต้องการ เห็นพระอริยะ เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ คำว่า ทิฏฐิ แปลตามพยัญชนะ คือ ตามตัวอักษร ตามศัพท์ ก็แปลว่าความเห็น ไม่เจาะจงว่าเป็นความเห็นผิดหรือ ความเห็นถูกต้องตามสภาวะ แต่โดยอรรถ คือ ตามความหมายแห่งธรรมแล้ว ถ้าใช้ลอยๆ ว่า ทิฏฐิ เฉยๆ ก็หมายว่าเป็นมิจฉาทิฏฐิ คือความเห็นผิดเสมอไป เว้นไว้แต่ในที่ใดบ่งว่าเป็น สัมมาทิฏฐิ จึงมีความหมายว่าเป็นความเห็นชอบความเห็นถูกโดยเฉพาะ ทิฏฐิเจตสิก เป็นความเห็นผิดเสมอไป และทิฏฐินี้แบ่งเป็นหยาบๆ เป็น ๒ คือ ทิฏฐิสามัญ และทิฏฐิพิเศษ ทิฏฐิสามัญ ได้แก่สักกายทิฏฐิ คือ เห็นเป็นตัวตนบุคคลเราเขา อันเป็นความเห็นผิด แต่ที่จัดเป็นสามัญ เพราะทิฏฐิ ชนิดนี้ มีประจำทั่วทุกตัวสัตว์เป็นปกตวิสัย (เว้นพระอริยบุคคล) ทิฏฐิพิเศษ ได้แก่ นิยตมิจฉาทิฏฐิ ๓ คือ อเหตุกทิฏฐิ ไม่เชื่อ เหตุ นัตถิกทิฏฐิ ไม่เชื่อผล อกิริยทิฏฐิ ไม่เชื่อทั้งเหตุทั้งผล และสัสสตทิฏฐิ เห็นว่าเที่ยงแท้แน่นอน อุจเฉททิฏฐิ เห็นว่าสูญ ตลอดทั้งทิฏฐิ ๖๒ ที่จัดเป็นทิฏฐิพิเศษ ก็เพราะว่าทิฏฐิชนิดนี้บางคนก็มี บางคนก็ไม่มี มานเจตสิก ๗. มานเจตสิก คือ ความถือตนความทะนงตน มีลักขณาทิจตุกะดังนี้ อุณฺณติ ลกฺขโณ มีการทะนงตน เป็นลักษณะ สมฺปคฺค รโส มีการยกย่องสัมปยุตตธรรม เป็นกิจ เกตุกมฺยตาปจฺจุปฏฺฐาโน มีความปรารถนาสูง เป็นผล ทิฏฺฐิวิปฺปยุตฺตโลภ ปทฏฺฐาโน มีโลภจิตที่เป็นทิฏฐิวิปปยุตต เป็นเหตุใกล้ มานะ นี้ท่านจัดไว้ ๙ ประการ คือ (๑) เป็นผู้เลิศกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๒) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๓) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคุณตัวว่า เลวกว่าเขา (๔) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๕) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๖) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา (๗) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลิศกว่าเขา (๘) เป็นผู้เสมอเขา สำคัญตัวว่า เสมอเขา (๙) เป็นผู้เลวกว่าเขา สำคัญตัวว่า เลวกว่าเขา หน้า ๒๒ อติมานะ=ดูหมิ่นท่าน,สารัมภะ=แข่งดี,ถัมภะ=หัวดื้อ,สาเถยยะ=โอ้อวด เหล่านี้จัดเป็นมานะทั้งสิ้น ข้อควรสังเกต คือถ้าเกิดมีการเปรียบเทียบเรากับเขาขึ้นเมื่อใดก็เป็นมานะเมื่อนั้น ไม่ว่าการเปรียบเทียบนั้นจะเป็นการเปรียบเทียบด้วย ชาติ โคตร สกุล รูป สมบัติ ทรัพย์ ศิลปะวิทยา การงาน หรือ ความเฉลียวฉลาด โทสเจตสิก ๘. โทสเจตสิก คือ ความโกรธ ความไม่ชอบใจในอารมณ์ทั้ง ๖ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จณฺฑิกลกฺขโณ มีความหยาบกระด้าง เป็นลักษณะ นิสฺสยทาหนรโส มีการทำให้จิตตนและผู้อื่นหม่นไหม้ เป็นกิจ ทูสนปจฺจุปฏฺฐาโน มีการประทุษฐร้าย การทำลาย เป็นผล อาฆาตวตฺถุ ปทฏฺฐาโน มีอาฆาตวัตถุ เป็นเหตุใกล้ ความไม่ชอบใจ เสียใจ กลุ้มใจ รำคาญใจ หงุดหงิด โกรธ เกลียด กลัว ประทุษฐร้าย ทำลายเหล่านั้น เป็นลักษณะหรือเป็นตัวโทสะทั้งนั้น อาฆาตวัตถุ อันเป็นเหตุใกล้ให้เกิดโทสะนั้นมี ๑๐ ประการ คือ (๑) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๒) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา (๓) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่เรา หน้า ๒๓ (๔) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๕) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๖) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำความเสื่อมเสียให้แก่ผู้ที่เรารักเราชอบ (๗) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา ได้ ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๘) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา กำลัง ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๙) อาฆาตเขา เพราะคิดว่าเขา จัก ทำคุณประโยชน์ให้แก่ผู้ที่เราเกลียดชัง (๑๐) ความอาฆาตเกิดขึ้นในฐานะอันไม่สมควร เช่นเกิดโกรธขึ้นเมื่อเดินสะดุดตอไม้ หรือ เหยียบหนาม เป็นต้น อิสสาเจตสิก ๙. อิสสาเจตสิก คือธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความไม่ยินดี ความริษยาในการได้ลาภได้ยศของผู้อื่น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปรสมฺปตฺตีนํ อุสฺสูยนลกฺขณา มีการริษยาในสมบัติของผู้อื่น เป็นลักษณะ ตตฺเถว อนภิรติรสา มีการไม่ชอบใจในความมั่งมีของผู้อื่น เป็นกิจ ตโตวิมุขภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีการเบือนหน้าหนีจากสมบัติของผู้อื่น เป็นผล ปรสมฺปตฺติปทฏฺฐานา มีสมบัติของผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยเจตสิก ๑๐. มัจฉริยเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ปรุงแต่งจิต ให้จิตเกิดความตระหนี่เหนียวแน่น ไม่ยอมเสียสละ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๔ อตฺตโนสมฺปตฺตีนํ นิคูหนลกฺขณํ มีการซ่อนสมบัติของตน เป็นลักษณะ ตาสํ เยว ปเรหิสาธารณภาว อกฺขมนรสํ มีการไม่ชอบให้สมบัติของตนเป็นสาธารณแก่ผู้อื่น เป็นกิจ สงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความหดหู่ หวงแหน ไม่เผื่อแผ่ เป็นผล อตฺตสมฺปตฺติปทฏฺฐานํ มีสมบัติของตน เป็นเหตุใกล้ มัจฉริยะ ๕ ประการ ได้แก่ (๑) อาวาสมัจฉริย ตระหนี่ ที่อยู่ (๒) กุลมัจฉริย ตระหนี่ สกุล (๓) ลาภมัจฉริย ตระหนี่ ลาภ (๔) วัณณมัจฉริย ตระหนี่ วรรณะ (๕) ธรรมมัจฉริย ตระหนี่ ธรรม กุกกุจจเจตสิก ๑๑. กุกกุจจเจตสิก คือธรรมชาติที่เดือดร้อนรำคาญใจในสิ่งชั่ว อกุสลกรรมที่ได้ทำไปแล้ว และร้อนใจในกุสลกรรม ความดีที่ยังไม่ได้ทำ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ปจฺฉานุตาปลกฺขณํ มีความเดือดร้อนอยู่เนืองๆ ในภายหลัง เป็นลักษณะ กตากตานุโสจนรสํ มีการตามเดือดร้อนอยู่เนือง ๆ ถึงบาปที่ได้กระทำแล้ว และบุญที่ไม่ได้กระทำ เป็นกิจ วิปฺปฏิสารปจฺจุปฏฺฐานํ มีความกินแหนงใจอยู่ เป็นผล กตากตปทฏฺฐานํ มีการทำบาป มิได้กระทำบุญ เป็นเหตุใกล้ หน้า ๒๕ ถีนเจตสิก ๑๒. ถีนเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตท้อถอยหดหู่ เซื่องซึม ไม่ใส่ใจในอารมณ์ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อนุสฺสาหลกฺขณํ มีการไม่อุตสาหะ เป็นลักษณะ วีริยวิโนทนรสํ มีการทำลายความเพียร เป็นกิจ สํสีทนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ มิทธเจตสิก ๑๓. มิทธเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกที่เกิดร่วมด้วยตนให้หดหู่ท้อถอย ง่วงเหงาหาวนอน และง่วงซึมหลับ จับอารมณ์ไม่ติด มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อกมฺมญฺญตาลกฺขณํ มีความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ โอทหนรสํ มีการกั้นกำบังกุสล เป็นกิจ ลีนตาปจฺจุปฏฺฐานํ มีความท้อถอย เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานํ มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑๔. วิจิกิจฉาเจตสิก คือ ความสงสัย ความลังเลไม่แน่ใจ ในอารมณ์ต่างๆ สงสัยตัดสินอารมณ์ไม่ได้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๒๖ สํสยลกฺขณา มีความสงสัย เป็นลักษณะ กมฺปนรสา มีการหวั่นไหวในอารมณ์ เป็นกิจ อนิจฺฉยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่สามารถตัดสินใจได้ เป็นผล อโยนิโสมนสิการปทฏฺฐานา มีการไม่เอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ ความสงสัยทั้งหลาย หาใช่เป็นวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ทั้งหมดไม่ ความสงสัยในวิจิกิจฉาเจตสิกนี้ หมายเฉพาะสงสัยในธรรม ๘ ประการเท่านั้น คือ (๑) สงสัยในพระพุทธเจ้า ได้แก่สงสัยในพระสรีระ (ว่าเห็นจะไม่มีตัวจริง น่าจะสมมุติขึ้น) หรือสงสัยในพระคุณ (พระพุทธคุณ ๙) (๒) สงสัยในพระธรรม ว่ามัคค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ มีจริงหรือและธรรมนี้นำออกจากทุกข์ ได้จริงหรือ (๓) สงสัยในพระสงฆ์ ว่าสงฆ์ที่ตั้งอยู่ในมัคค ๔ ผล ๔ มีจริงหรือ สงฆ์ที่ปฏิบัติดีจริงมีหรือ ผลแห่งทานที่ถวายแก่สงฆ์ มีจริงหรือ (๔) สงสัยในสิกขา ๓ (ศีล สมาธิ ปัญญา) ว่ามีจริงหรือ ผลานิสงส์แห่งการศึกษาปฏิบัติในสิกขา ๓ มีจริงหรือ (๕) สงสัยในขันธ์ ๕ อายตน ธาตุที่เป็นส่วนอดีตมีจริงหรือ คือสงสัยว่าชาติก่อนมีจริงหรือ (อเหตุกทิฏฐิ) (๖) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ที่เป็นอนาคต มีจริงหรือ คือสงสัยว่า ชาติหน้ามีจริงหรือ (อุจเฉททิฏฐิ) (๗) สงสัยในขันธ์ อายตน ธาตุ ทั้งที่เป็นส่วนอดีตและอนาคตนั้น มีจริงหรือ คือสงสัยทั้งชาติก่อนและชาติหน้า (อกิริยทิฏฐิ) หน้า ๒๗ (๘) สงสัยในปฏิจจสมุปบาทธรรม คือ ธรรมที่เป็นเหตุเป็นผลอาศัยกันเกิดขึ้นต่อเนื่องกันไปโดยไม่ขาดสายเลยนั้น มีจริงหรือ (อัตตทิฏฐิ) อนึ่งความสงสัยอย่างอื่นที่ไม่ใช่ธรรม ๘ ประการ เช่นสงสัยในเรื่องสมมุติและบัญญัติ ไม่เป็นกิเลส โสภณเจตสิก โสภณเจตสิก เป็นเจตสิกที่ดีงาม ไม่เศร้าหมอง ไม่เร่าร้อน เมื่อประกอบกับจิต ก็ทำให้จิตนั้นดีงาม ปราศจากความเร่าร้อน ให้จิตตั้งอยู่ในศีลธรรม มีการเว้นจากบาป เว้นจากทุจริตต่างๆ ฉะนั้นเจตสิก ประเภทนี้ จึงเรียกว่า โสภณเจตสิก จิตที่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า โสภณจิต ส่วนจิตใดที่ไม่มีโสภณเจตสิกประกอบ ก็เรียกว่า อโสภณจิต โสภณเจตสิก มีจำนวน ๒๕ ดวง และยังแบ่งออกได้เป็น ๔ พวก คือ ก. โสภณสาธารณเจตสิก มี ๑๙ ดวง เป็นเจตสิกที่สาธารณะกับโสภณจิตทั้งหมด หมายความว่า โสภณจิต ๕๙ หรือ ๙๑ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น จะต้องมีโสภณสาธารณเจตสิกนี้ประกอบพร้อมกันทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย ข. วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง เป็นเจตสิกที่เว้นจากบาปธรรมทั้งปวง อันเกิดจากกายทุจริต และวจีทุจริต ค. อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง เป็นเจตสิกที่มีความรู้แผ่ไปไม่มีประมาณ เรียกว่า พรหมวิหาร ก็ได้ ที่เรียกว่า อัปปมัญญานั้นเพราะแผ่ไปในสัตว์ทั้งหลาย จนประมาณไม่ได้ ที่เรียกว่า พรหมวิหารนั้น เพราะธรรมนี้เป็นที่อยู่สำราญของพวกพรหม ง. ปัญญาเจตสิก มีดวงเดียว ไม่มีพวก เป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ เป็นประธาน ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง ปัญญินทรียเจตสิก ก็เรียก โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง มีดังนี้ สัทธาเจตสิก ๑. สัทธาเจตสิก คือ ความเชื่อถือเหตุผลตามความเป็นจริง ความเลื่อมใสในกุสลธรรม ความเชื่อในฝ่ายดี เช่น เชื่อคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ สทฺทหนลกฺขณา มีความเชื่อถือในอารมณ์ที่ดี เป็นลักษณะ ปสาทนรสา มีการเลื่อมใส เป็นกิจ อกาฬุสฺสิยปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่ขุ่นมัว เป็นผล สทฺเทยฺยวตฺถุปทฏฺฐานา มีปูชนียวัตถุเป็นเหตุใกล้ สัทธาแม้อย่างน้อยเพียงเชื่อว่าสัตว์นั้นมีกรรมเป็นของตน คือ ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เพียงเท่านี้ก็เป็นคุณยิ่ง มิฉะนั้นก็จะไม่ประหยัดต่อบาปกรรม หน้า ๒๙ จะกระทำอะไรก็ไม่คิดว่าเป็นทุจริตเสียหาย เพราะสำคัญผิดว่าจะไม่ต้องได้รับผลนั้น ถ้ามีสัทธา เชื่อกรรมเชื่อผลของกรรมแล้ว ก็จะตั้งตนไว้ในทางที่ชอบ ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ สัทธา จึงเป็นธรรมเบื้องต้นที่จะทำให้ประกอบคุณงามความดี เป็นบุญเป็นกุสล จนหาประมาณมิได้ สัทธา พีชํฯ สัทธาเปรียบเหมือนพืช (อันจะงอกงามโตใหญ่ให้ดอกผลในภายหน้า) เหตุอันเป็นที่ตั้งแห่งความเลื่อมใสสัทธา (๑) รูปปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะเห็นรูปสมบัติสวยงาม (๒) ลูขปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธาเพราะเห็นความประพฤติเรียบร้อยเคร่งในธรรมวินัย (๓) โฆสปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้ฟังชื่อเสียงลือว่าดีอย่างนั้นอย่างนี้ (๔) ธมฺมปฺปมาณ เลื่อมใสสัทธา เพราะได้สดับธรรมของผู้ที่ฉลาดในการแสดง สติเจตสิก ๒. สติเจตสิก คือความระลึกรู้อารมณ์และยับยั้งมิให้จิตตกไปในอกุสล ความระลึกอารมณ์ที่เป็นกุสล ความระลึกได้ที่รู้ทันอารมณ์ สติ เป็นธรรมที่มีอุปการะมากต้องใช้สติต่อเนื่องกันตลอดเวลา ในทางเจริญวิปัสสนาหรือเจริญสมาธิ มุ่งทางปฏิบัติซึ่งเป็นทางสายเดียวที่จะหลุดพ้นจากกิเลสไปได้ โดยเจริญสติปัฏฐานทาง กาย เวทนา จิต ธรรม มีสติระลึกรู้อยู่เนื่อง ๆ ว่า กายมีปฏิกูล ฯลฯ สติมีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๓๐ อปิลาปนลกฺขณา มีความระลึกได้ในอารมณ์เนืองๆคือมีความไม่ประมาท เป็นลักษณะ อสมฺโมหรสา มีการไม่หลงลืม เป็นกิจ อารกฺขปจฺจุปฏฺฐานา มีการรักษาอารมณ์ เป็นผล ถิรสญฺญาปทฏฺฐานา มีการจำได้แม่นยำ เป็นเหตุใกล้ สติเป็นเครื่องชักนำใจให้ยึดถือกุสลธรรมเป็นอุดมคติ ถ้าหากว่าขาดสติเป็นประธานเสียแล้ว สมาธิก็ไม่สามารถจะมีได้เลย และเมื่อไม่มีสมาธิแล้ว ปัญญาก็เกิดไม่ได้ เหตุให้เกิดสติ โดยปกติมี ๑๗ ประการ คือ (๑) ความรู้ยิ่ง เช่น สติของบุคคลที่ระลึกชาติได้พระพุทธองค์ระลึกชาติได้ไม่จำกัดชาติจะระลึกได้ทุกชาติที่พระองค์ปรารถนา สติของพระอานนท์จำพระสูตรที่พระพุทธจ้าตรัสไว้ได้หมด (๒) ทรัพย์ เป็นเหตุให้เจ้าของทรัพย์มีสติ คือเมื่อมีทรัพย์มักจะเก็บรักษาไว้อย่างดี และจะระมัดระวังจด จำไว้ว่าตนเก็บทรัพย์ไว้ที่ใด (๓) สติเกิดขึ้นเนื่องจากเกิดเหตุการณ์ครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต เช่น พระโสดาบันจะจำได้โดยแม่นยำถึงเหตุการณ์ที่ท่านได้บันลุเป็นพระโสดาบัน หรือบุคคลที่ได้รับยศยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งในชีวิต (๔) สติเกิดขึ้น โดยระลึกถึงเหตุการณ์ที่ตนได้รับความสุขที่ประทับใจ เมื่อนึกถึงก็จะจำเรื่องต่าง ๆ ได้ (๕) สติเกิดขึ้น เนื่องจากความทุกข์ที่ได้รับเมื่อระลึกถึงก็จะจดจำได้ (๖) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่คล้ายคลึงกับเหตุการณ์ที่ตนเคยประสบ (๗) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเหตุการณ์ที่ตรงกันข้ามกับที่เคยประสบ (๘) สติเกิดขึ้น เพราะคำพูดของคนอื่น เช่น มีคนเตือนให้เก็บทรัพย์ที่ลืมไว้ (๙) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเครื่องหมายที่ตนทำไว้ เช่น เห็นหนังสือที่เขียนชื่อไว้ถูกลืมไว้ (๑๐) สติเกิดขึ้น เพราะเห็นเรื่องราวต่าง ๆ หรือผลงาน เช่น เห็นพุทธประวัติก็ระลึกถึงองค์ สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เป็นต้น (๑๑) สติเกิดขึ้น เพราะความจำได้ เช่น มีการนัดหมายไว้ เมื่อมองไปที่กระดานก็จำได้ว่าต้องไปตามที่ได้นัดไว้ (๑๒) สติเกิดขึ้น เพราะการนับ เช่น การเจริญสติระลึกถึงพระพุทธคุณ ก็ใช้นับลูกประคำ เพื่อมิให้ลืม (๑๓) สติเกิดขึ้น เพราะการทรงจำเรื่องราวต่าง ๆ ที่ศึกษาค้นคว้า แล้วจำเรื่องราวต่าง ๆ ได้ (๑๔) สติเกิดขึ้น เพราะการระลึกชาติได้ ๑ ชาติบ้าง ๒ ชาติบ้าง (บุคคลที่มิใช่พระพุทธเจ้า) (๑๕) สติเกิดขึ้น เพราะการบันทึกไว้ เมื่อดูบันทึกก็จำได้ (๑๖) สติเกิดขึ้น เพราะทรัพย์ที่เก็บได้เช่นเห็นทรัพย์ก็นึกขึ้นได้ว่าได้เก็บทรัพย์ไว้ (๑๗) สติเกิดขึ้น เพราะสิ่งที่เคยพบเคยเห็นมาแล้ว เมื่อเห็นอีกครั้งก็ระลึกได้ หิริเจตสิก ๓. หิริเจตสิก คือความละอายต่อการทำบาปทำชั่ว ทั้งทางกาย ทางวาจา ทางใจ บาปคือธรรมชาติที่ทำให้จิตเศร้าหมอง บุญคือธรรมชาติที่ชำระจิตให้สะอาดผ่องแผ้ว ในขณะที่จิตอกุสลเกิดขึ้นอยากจะประพฤติผิดศีล ๕ เครื่องยับยั้งมิให้เกิดอกุสลจิตนั้นก็คือ หิริ คือเกิดความละอายต่อบาปที่จะกระทำ จึงยับยั้งไว้ช่วยไม่ให้ทำอกุสล ฉะนั้นหิริจึงเป็นธรรมที่เป็นโลกบาล คือเป็นธรรมชาติที่คุ้มครองโลก หิริ เกิดขึ้นทำให้ละอายต่อบาปจึงไม่กล้าทำบาปทั้งในที่ลับและที่แจ้ง สิ่งที่ทำให้เกิดหิริ คือมีการเคารพตนเอง จึงละอายต่อการทำบาป หิริเจตสิกมีลักขณาทิจตุกะดังนี้ ปาปโตชิคุจฺฉนลกฺขณา มีความเกลียดต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสา มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ ปาปโตสงฺโกจน ปจฺจุปฏฺฐานา มีความละอายต่อบาป เป็นผล อตฺตคารวปทฏฺฐานา มีความเคารพในตน เป็นเหตุใกล้ โอตตัปปเจตสิก ๔. โอตตัปปเจตสิก คือ ธรรมชาติที่มีความสะดุ้งกลัวต่อผลของบาป จึงไม่ทำบาป มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อตฺตาสนลกฺขณํ มีความสะดุ้งกลัวต่อบาป เป็นลักษณะ ปาปานํอกรณรสํ มีการไม่ทำบาป เป็นกิจ หน้า ๓๑ ปาปโตสงฺโกจนปจฺจุปฏฺฐานํ มีความละอายต่อบาป เป็นผล ปรคารวปทฏฺฐานํ มีความเคารพผู้อื่น เป็นเหตุใกล้ หิริกับโอตตัปปะ จะเกิดได้ต้องอาศัย เหตุภายนอก ๔ เหตุภายใน ๘ อย่างใดอย่างหนึ่ง เหตุภายนอก ๔ ได้แก่ (๑) อตฺตานุวาทภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนด้วยตนเอง (๒) ปรวาทานุภยํ กลัวต่อการถูกติเตียนตนจากผู้อื่น (๓) ทณฺฑภยํ กลัวต่อราชทัณฑ์ คือกฎหมายบ้านเมือง (๔) ทุคฺคติภยํ กลัวต่อภัยในอบายภูมิ เหตุภายใน ๘ ได้แก่ (๑) กุละ ละอายบาป กลัวบาปโดยคำนึงถึงตระกูลของตน (๒) วยะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงวัยของตน (๓) พาหุสัจจะ ละอายบาปกลัวบาป โดยคำนึงถึงการศึกษาของตน (๔) ชาติมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงชาติอันประเสริฐของตน (๕) สัตถุมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึงพระพุทธเจ้า บิดา มารดา ครู อาจารย์ (๖) ทายัชชมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง มรดกของพระพุทธเจ้า ของบิดา มารดา ซึ่งตนเองจะต้องรับมรดกนั้น หน้า ๓๒ (๗) สพรหมจารีมหัตตะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง เพื่อนที่ดีที่เคยคบมา (๘) สูรภาวะ ละอายบาปกลัวบาปโดยคำนึงถึง ความกล้าหาญและความสงบเสงี่ยมเจียมตัวของตน อโลภเจตสิก ๕. อโลภเจตสิก คือ ธรรมชาติที่ไม่อยากได้ ไม่ข้องในอารมณ์ ไม่ติดในอารมณ์ เมื่อประสบในอารมณ์นั้น จะพยายามให้หลุดออกไปจากอารมณ์นั้น มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อลคฺคภาวลกฺขโณ มีความไม่ติดอารมณ์ เป็นลักษณะ อปริคฺคหรโส มีการไม่หวงแหน เป็นกิจ อนลฺลีนภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีการไม่ยึดมั่น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ อโทสเจตสิก ๖. อโทสเจตสิก คือธรรมชาติที่ไม่โกรธ ไม่หยาบคาย ไม่มีปองร้าย ไม่ประทุษร้าย (มีเมตตาต่อกัน) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ อจณฺฑิกลกฺขโณ มีความไม่ดุร้าย เป็นลักษณะ อาฆาตวินยรโส มีการทำลายความอาฆาต เป็นกิจ โสมภาวปจฺจุปฏฺฐาโน มีความร่มเย็น เป็นผล โยนิโสมนสิการปทฏฺฐาโน มีการเอาใจใส่เป็นอันดีต่ออารมณ์นั้น เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๓ ขนฺติ คือความอดทน ทนตรากตรำ ทนลำบาก ทนต่อเหตุที่ทำให้เจ็บใจ อกฺโกธ คือ ความไม่โกรธ ส่วน เมตฺตา ยังประสงค์ให้ผู้อื่นมีความสุขอีกด้วย ทั้ง ขันติ อักโกธ และเมตตา นี้องค์ธรรมได้แก่ อโทส เมตตา มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งจิตใจของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ส่วนราคะ มีการเพ่งเล็งเห็นความงดงามแห่งร่างกายของผู้อื่น เป็นฐานที่เกิด ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก ๗. ตัตรมัชฌัตตตาเจตสิก คือ การทำใจเป็นกลาง เป็นยุตติธรรม ไม่มีอคติ ไม่ลำเอียง การวางใจเฉยในอารมณ์ (เป็นอุเบกขาในพรหมวิหาร) มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ จิตฺตเจตสิกานํ สมวาหิตลกฺขณา มีการทรงไว้ซึ่งจิตและเจตสิกให้เสมอภาค เป็นลักษณะ อูนาธิกตานิวารณรสา มีการห้ามความยิ่งหย่อน เป็นกิจ มชฺฌตฺตภาวปจฺจุปฏฺฐานา มีความเป็นกลาง(อุเบกขา) เป็นผล สมฺปยุตฺตานํปทฏฺฐานา มีสัมปยุตตธรรม เป็นเหตุใกล้ กายปัสสัทธิเจตสิก และ จิตตปัสสัทธิเจตสิก ๘.กายปัสสิทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของเจตสิก ๙. จิตตปัสสัทธิเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตสงบจากอกุสล ความสงบจากอกุสลของจิต หน้า ๓๔ เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํทรถวูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิตสงบจากความเร่าร้อน เป็นลักษณะ กายจิตฺตทรถนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความเร่าร้อนของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อปริปฺผนฺทนสีติภาว ปจฺจุปฏฺฐานา มีความเยือกเย็น ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายลหุตาเจตสิก และ จิตตลหุตาเจตสิก ๑๐. กายลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้เจตสิกเบาจากอกุสล ความเบาของเจตสิกจากอกุสล ๑๑. จิตตลหุตาเจตสิก คือสภาวที่ทำให้จิตเบาจากอกุสล ความเบาของจิตจากอกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตครุภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิก ทำให้จิต สงบจากความหนัก เป็นลักษณะ กายจิตฺตครุภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความหนักของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํอทนฺธตาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หนักของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายมุทุตาเจตสิก และ จิตตมุทุตาเจตสิก ๑๒. กายมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้เจตสิกมีความอ่อนโยน ความอ่อนโยนของเจตสิก ทำให้เป็นไปง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล ๑๓. จิตตมุทุตาเจตสิก คือ สภาวที่ทำให้จิตอ่อนโยน เจตสิกที่ทำให้จิตอ่อนโยน เป็นไปได้ง่ายดายในอารมณ์ที่เป็นกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตถทฺธวูปสมลกฺขณา มีเจตสิก และมีการทำให้จิตสงบจากความแข็ง กระด้าง เป็นลักษณะ กายจิตฺตถทฺธภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความแข็งกระด้างของเจตสิก และของจิต เป็นกิจ อปฺปฏิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่โกรธไม่อาฆาต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ กายกัมมัญญตาเจตสิก และ จิตตกัมมัญญตาเจตสิก ๑๔. กายกัมมัญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ควรแก่การงานอันเป็นกุสล ความควรแก่การงานของเจตสิก ๑๕. จิตตกัมมัญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตควรแก่การงานอันเป็นกุสล การทำให้จิตควรแก่งาน เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตากมฺมญฺญภาววูปสมลกฺขณา มีการทำให้เจตสิกทำให้จิตสงบจากความไม่ควรแก่การงาน เป็นลักษณะ หน้า ๓๖ กายจิตฺตา กมฺมญฺญภาว นิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ควรแก่การงานของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ กายจิตฺตานํ อารมฺมณกรณสมฺปตฺติปจฺจุปฏฺฐานา ทำให้เจตสิก ทำให้จิตมีอารมณ์สมควรแก่การงาน เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ จิตที่ไม่ควรแก่การงาน จะใช้จิตทำสมาธิก็มีผลน้อย เช่นจิตที่มีร่างกายอ่อนเพลีย หรือป่วย เช่น ปวดหัว ปวดท้อง เมื่อร่างกายไม่สะบายการทำสมาธิก็ได้ผลน้อยเสียเวลาทำสมาธิ ๒ ชั่วโมง ก็ทำไม่ได้ เพราะจิตไม่มีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบ จิตและเจตสิกที่ไม่ควรแก่การงาน คือจิตและเจตสิกที่ถูกนิวรณ์ครอบงำ นิวรณ์เปรียบเหมือน ตะปูตรึงจิต หรือสนิมกินเนื้อเหล็กทำให้เหล็กกร่อน นิวรณ์ทั้ง ๕ อันมี กามฉันทนิวรณ์ พยาปาทนิวรณ์ วิจิกิจฉานิวรณ์ ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจกุกกุจจนิวรณ์ เมื่อนิวรณ์ครอบงำจิตแล้วจิตก็ไม่ควรแก่การงาน ต้องละนิวรณ์ให้ได้ก่อน แล้วจึงใช้จิตทำงาน เมื่อจิตมีกัมมัญญตาเจตสิกประกอบแล้ว การทำสมาธิก็จะได้ผลในชั่วระยะเวลาเพียงเล็กน้อย กายปาคุญญตาเจตสิก และ จิตตปาคุญญตาเจตสิก ๑๖. กายปาคุญญตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้เจตสิกคล่องแคล่วต่อกุสล ความคล่องแคล่วของเจตสิกในกุสล ๑๗. จิตตปาคุญญตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้จิตคล่องแคล่วต่อกุสล การทำให้จิตคล่องแคล่วในกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตานํ อเคลญฺญภาวลกฺขณา มีความไม่อาพาธของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตเคลญฺญนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความอาพาธ ของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ นิราทีนวปจฺจุปฏฺฐานา มีความปราศจากโทษ เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ หน้า ๓๗ กายุชุกตาเจตสิก และ จิตตุชุกตาเจตสิก ๑๘. กายุชุกตาเจตสิก คือเจตสิกที่ทำให้เจตสิกมุ่งตรงต่อกุสล ความมุ่งตรงของเจตสิกต่อกุสล ๑๙. จิตตุชุกตาเจตสิก คือ เจตสิกที่ทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล การทำให้จิตมุ่งตรงต่อกุสล เจตสิก ๒ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายจิตฺตอชฺชวลกฺขณา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นลักษณะ กายจิตฺตกุฏิลภาวนิมฺมทฺทนรสา มีการทำลายความไม่ซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นกิจ อชิมฺหตาปปจฺจุปฏฺฐานา มีความซื่อตรงของเจตสิก ของจิต เป็นผล กายจิตฺตปทฏฺฐานา มีเจตสิก มีจิต เป็นเหตุใกล้ วิรตีเจตสิก วิรตีเจตสิก มี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวะเจตสิก สัมมาวาจาเจตสิก ๑. สัมมาวาจาเจตสิก คือ การพูดชอบ พูดสิ่งที่เป็นกุสล เว้นจากวจีทุจริตทั้ง ๔ มี มุสาวาท พูดปด ปิสุณาวาท พูดส่อเสียด ผรุสวาท พูดหยาบคาย สัมผัปปลาป พูดเพ้อเจ้อไร้สาระ ทั้งนี้ไม่เกี่ยวกับอาชีพ หน้า ๓๘ สัมมาวาจามี ๓ ประการ ก. กถาสัมมาวาจา ได้แก่ การกล่าววาจาที่ดี มีศีลธรรม เพื่อหวังประโยชน์แก่ผู้ฟัง เช่น อาจารย์สอนศิษย์ เป็นต้น ข. เจตนาสัมมาวาจา ได้แก่ ผู้มีเจตนาสมาทานศีล ว่าจะละเว้นวจีทุจริต มีการไม่กล่าวมุสา เป็นต้น ค. วิรตีสัมมาวาจา ได้แก่ การเว้นจากวาจาทุจริตทั้ง ๔ มีเว้นจากมุสาวาท ปิสุณาวาท ผรุสวาท สัมผัปปลาป ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) (ไม่มีความตั้งใจไว้ก่อนเมื่อประสบกับอารมณ์เฉพาะหน้าจึงต้องงดเว้น) สัมมากัมมันตเจตสิก ๒. สัมมากัมมันตเจตสิก คือ ประกอบการงานชอบ การงานที่ไม่ทุจริต เว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มี ฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และล่วงประเวณี เป็นการกระทำปกติ คือ เป็นการทำงานปกติประจำวัน ไม่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมากัมมันตะ มี ๓ ประการ ก. ยถาพลังสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การกระทำการงานโดยชอบ การงานที่ไม่ทุจริต มีการประกอบกุสล เป็นต้น ตามกำลังของตน ข. เจตนาสัมมากัมมันตะ ได้แก่เจตนาที่ตั้งใจสมาทานว่าจะละเว้นกายทุจริต มีการไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ล่วงประเวณี ค. วิรตีสัมมากัมมันตะ ได้แก่ การเว้นจากกายทุจริตทั้ง ๓ มีเว้นการฆ่าสัตว์ การลักทรัพย์ การล่วงประเวณี ในเมื่อมีอารมณ์ที่ควรจะล่วงมาปรากฏอยู่เฉพาะหน้า (วิรมิตัพพวัตถุ) หมายความว่าไม่ได้ตั้งใจไว้ก่อนว่าจะงดเว้น แต่มาประสบกับอารมณ์จึงต้องงดเว้นเฉพาะหน้า หน้า ๓๙ สัมมาอาชีวเจตสิก ๓. สัมมาอาชีวเจตสิก คือ ความเป็นอยู่ชอบ การเลี้ยงชีพชอบ ประกอบอาชีพที่สุจริต เว้นจากทุจริตทั้ง ๗ คือ เว้นกายทุจริต ๓ และเว้นวจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวกับอาชีพ สัมมาอาชีวะ มี ๒ ประการ ก. วิริยสัมมาอาชีวะ ได้แก่ความเพียรในการกระทำการงานหาเลี้ยงชีพโดยชอบธรรม ข. วิรตีสัมมาอาชีวะ ได้แก่การงดเว้นจากกายทุจริต ๓ วจีทุจริต ๔ ที่เกี่ยวแก่อาชีพ เจตสิก ๓ ดวงนี้ มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ กายทุจฺจริตาทิวตฺถุนํ อวีติกฺกมลกฺขณามีการไม่ล่วงกายทุจริต เป็นต้น เป็นลักษณะ กายทุจฺจริตวตฺถุโตสงฺโกจนรสา มีการเว้นจากกายทุจริต เป็นต้น เป็นกิจ อกริยปจฺจุปฏฺฐานา มีการไม่ทุจริต เป็นผล สทฺธาหิโรตฺตปฺปาทิคุณปทฏฺฐานา มีคุณธรรมคือ สัทธา หิริโอตตัปป เป็นต้น เป็นเหตุใกล้ อัปปมัญญาเจตสิก อัปปมัญญาเจตสิก มี ๒ ดวง ได้แก่ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก หน้า ๔๐ กรุณาเจตสิก ๑. กรุณาเจตสิก คือ มีความสงสาร อยากจะช่วยเหลือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่ หรือที่จะได้รับทุกข์ในภายหน้า มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ทุกฺขาปนยนาการปวตฺติลกฺขณา มีการได้เห็นผู้อื่นเป็นทุกข์ ย่อมมีความสงสาร เป็นลักษณะ ปรทุกฺขาสหนรสา มีการไม่ชอบเห็นทุกข์ของผู้อื่น เป็นกิจ อวิหึสาปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่เบียดเบียน เป็นผล ทุกฺขาภิภูตานํ อนาถภาวทสฺสน ปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์อนาถา อันถูกทุกข์ ครอบงำ เป็นเหตุใกล้ อวิหึสา = ไม่เบียดเบียนผู้อื่น กรุณา = ยังประสงค์ช่วยผู้อื่นให้พ้นทุกข์อีกด้วย โสก = เราสูญเสียของที่เรารัก ก็โศกเศร้า กรุณา = เห็นผู้อื่นสูญเสียสิ่งที่เขารัก เราก็ช่วยให้เขาพ้นทุกข์จากการเศร้าโศก เมตตา กรุณา เป็น อพยาปาท มุทิตา อุเบกขา เป็น อนภิชฌา (ไม่คิดจ้องจะเอาของเขา) มุทิตาเจตสิก ๒. มุทิตาเจตสิก คือ พลอยยินดีด้วยในเมื่อรู้ว่าเขามีความสุข มีความยินดีต่อสัตว์ที่ได้สุข มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ หน้า ๔๑ ปโมทนลกฺขณา มีความยินดีด้วยในความสุขของผู้อื่น เป็นลักษณะ อนิสฺสายนรสา มีการไม่อิสสาริษยา เป็นกิจ อรติวิฆาตปจฺจุปฏฺฐานา มีความปรารถนาให้ผู้อื่นเจริญ เป็นผล สตฺตานํ สมฺปตฺติทสฺสนปทฏฺฐานา มีการได้เห็นสัตว์มีสมบัติ เป็นเหตุใกล้ ปัญญาเจตสิก ปัญญาเจตสิก มีแต่ดวงเดียวไม่มีพวก มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญญินทรียเจตสิก ปัญญาเจตสิก คือความรู้ในเหตุผลแห่งความจริงของสภาวธรรมและทำลายความเห็นผิด หรือเป็นเจตสิกที่มีความรู้เป็นใหญ่ ปกครองซึ่งสหชาตธรรมทั้งปวง มีลักขณาทิจตุกะ ดังนี้ ธมฺมสภาวปฏิเวธลกฺขณา มีความรู้แจ้งซึ่งสภาวธรรม เป็นลักษณะ โมหนฺธการวิทฺธํสนรสา มีการกำจัดมืด เป็นกิจ อสมฺโมหปจฺจุปฏฺฐานา มีความไม่หลงผิด หรือไม่เห็นผิด เป็นผล สมาธิปทฏฺฐานา มีสมาธิ เป็นเหตุใกล้ ปัญญานี้ มีอรรถาธิบายอย่างกว้างขวาง และแจกแจงได้หลายนัย หลายกระบวน เป็นจำนวนมากมาย แต่ในที่นี้จะกล่าวย่อ ๆ พอให้รู้เค้า จึงขอแจกแจงว่า ปัญญามีเพียง ๓ นัย เท่านั้น คือ ก. กัมมสกตาปัญญา ปัญญาที่รู้ว่า กรรมเป็นสมบัติของตน ข. วิปัสสนาปัญญา ปัญญาที่รู้ขันธ์ ๕ รูปนาม เป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ค. โลกุตตรปัญญา ปัญญาที่รู้แจ้งแทงตลอดในอริยสัจจ ๔ ปัญญาที่รู้เห็นความที่สัตว์มีกรรมเป็นสมบัติของตน อันเรียกว่า กัมมสกตาปัญญา นี้ มี ๑๐ ประการ คือ (๑) อตฺถิทินนํ ปัญญารู้เห็นว่า ทานที่บุคคลให้แล้ว ย่อมมีผล (๒) อตฺยิฏฐํ ปัญญารู้เห็นว่า การบูชาย่อมมีผล (๓) อตฺถิหุตํ ปัญญารู้เห็นว่า การบวงสรวงเทวดา ย่อมมีผล (๔) อตฺถิกมฺมานํ ผลํวิปาโก ปัญญารู้เห็นว่า ผลวิบากของกรรมดีและชั่วมีอยู่ (ทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว ทั้งทางตรงและทางอ้อม) (๕) อตฺถิอยํโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกนี้มีอยู่ (ผู้จะมาเกิดนั้นมี) (๖) อตฺถิปโรโลโก ปัญญารู้เห็นว่า โลกหน้ามีอยู่ (ผู้จะไปเกิดนั้นมี) (๗) อตฺถิมาตา ปัญญารู้เห็นว่า มารดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อมารดาย่อมจะได้รับผล) (๘) อตฺถิปิตา ปัญญารู้เห็นว่า บิดามีอยู่ (การทำดี ทำชั่วต่อบิดาย่อมจะได้รับผล) (๙) อตฺถิ สตฺตโอปปาติกา ปัญญารู้เห็นว่าโอปปาติกสัตว์นั้นมีอยู่ (สัตว์นรก เปรต อสุรกาย เทวดา พรหมนั้นมี) (๑๐) อตฺถิ โลเกสมณพฺรหฺมณา สมฺมาปฏิปนฺนา ปัญญารู้เห็นว่าสมณพราหมณ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ประกอบด้วยความรู้ยิ่ง เห็นจริง หน้า ๔๓ ประจักษ์ซึ่งโลกนี้ และโลกหน้าด้วยตนเอง แล้วประกาศให้ผู้อื่นรู้นั้นมีอยู่ในโลกนี้ สัมปโยคนัย สัมปโยค แปลว่า ประกอบพร้อม ในที่นี้หมายความว่า เจตสิกแต่ละดวงนั้น ดวงหนึ่ง ๆ ประกอบกับจิตได้กี่ดวง คือจิตใดบ้าง ซึ่งจะได้แสดงต่อไปนี้ ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๓) ว่า ๓. เตสํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ ยถาโยคมิโต ปรํ จิตฺตุปฺปาเทสุ ปจฺเจกํ สมฺปโยโค ปวุจฺจติ ฯ แปลความว่า เบื้องหน้าแต่นี้จะแสดงสัมปโยคะ แห่งธรรม (คือเจตสิก) เหล่านี้ อันประกอบกับจิต เฉพาะในจิตตุปปาทะ (จิตที่เกิดขึ้น) ดวงหนึ่ง ๆ โดยสมควรแก่ที่จะประกอบได้ สัมปโยคนัยแห่งอัญญสมานาเจตสิก ๔. สตฺต สพฺพตฺถ ยุชฺชนติ ยถาโยคํ ปกิณฺณกา จุทฺทสากุเลเสฺวว โสภเณเสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ๑. สัพพจิตตสาธารณเจตสิก (๗ ดวง) ประกอบในจิตได้ทุกดวง(โดยย่อจิตมี ๘๙ ดวง) ๒. ปกิณณกเจตสิก (๖ ดวง) ประกอบกับจิตได้เฉพาะแต่ที่ควร (ประกอบ ได้ บางดวง) ๓. อกุสลเจตสิก (๑๔ ดวง) ประกอบได้เฉพาะในอกุสลจิต ๑๒ ดวงเท่านั้น ๔. โสภณเจตสิก (๒๕ ดวง) ประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น หน้า ๔๔ ๕. ฉสฏฺสี ปญฺจปญฺญฺาส เอกาทส จ โสฬส สตฺตติ วีสติ เจว ปกิณฺณกวิวชฺชิตา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกไม่ประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง วิจาร ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง อธิโมกข ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง วิริยะ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ปีติ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง ฉันทะ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง ๖. ปญฺจปญฺญาส ฉสฎฺฐิ ฏฐสตฺตติ ติสตฺตติ เอกปญฺญาส เจกูน สตฺตติ สปกิณฺณกา ฯ แปลความว่าจิตที่ปกิณณกเจตสิกย่อมเข้าประกอบ มีจำนวนตามลำดับดังนี้ วิตก ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๕ ดวง วิจาร ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๖ ดวง อธิโมกข ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๘ ดวง วิริยะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ปีติ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ฉันทะ ย่อมเข้าประกอบกับจิต ๖๙ ดวง หน้า ๔๕ อธิบาย รวมความว่า อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับจิตต่าง ๆ ได้นั้น แบ่งออกเป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ สัพพจิตตสาธารณ ๗ ดวง คือ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย และ มนสิการ นี้ประกอบกับจิตได้ทั้งหมดทุกดวง คือทั้ง ๘๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดาร ก็ทั้ง ๑๒๑ ดวง ไม่มีเว้นเลย นัยที่ ๒ วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง แต่ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง นัยที่ ๓ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง นัยที่ ๔ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๘ ดวง ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง นัยที่ ๕ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ๗๓ ดวง ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นัยที่ ๖ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๑ ดวง ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง นัยที่ ๗ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิต ๖๙ ดวง ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง วิตกเจตสิก ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๖๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทุติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ ตติยฌาน ๑๑ ปฐมฌานจิต ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ หน้า ๔๖ วิจารเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๖ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ ทวิปัญจวิญญาน ๑๐ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ตติยฌาน ๑๑ กามโสภณ ๒๔ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ ปัญจมฌาน ๒๓ ทุติยฌาน ๑๑ อธิโมกขเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๗๘ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๑ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๑ (เว้นวิจิกิจฉาจิต) วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๘ (เว้นทวิปัญจ ๑๐) ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ วิริยเจตสิก ประกอบกับจิต ได้ ๗๓ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๑๖ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๖ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑ กับ หสิตุปปาทจิต ๑ ) หมายเหตุ จิต ๑๖ ดวง ที่วิริยเจตสิก ไม่ประกอบนี้มีชื่อเรียกว่า อวีริยจิต ๑๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ กามโสภณ ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๗ ปีติเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๕๑ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๗๐ ดวง คือ โสมนัสโลภมูลจิต ๔ อุเบกขาโลภมูลจิต ๔ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ โทสมูลจิต ๒ โสมนัสหสิตุปปาทจิต ๑ โมหมูลจิต ๒ โสมนัสกามโสภณจิต ๑๒ อุเบกขาอเหตุกจิต ๑๔ ปฐมฌานจิต ๑๑ กายวิญญาณจิต ๒ ทุติยฌานจิต ๑๑ อุเบกขากามโสภณจิต ๑๒ ตติยฌานจิต ๑๑ จตุตถฌานจิต ๑๑ ปัญจมฌานจิต ๒๓ ฉันทเจตสิก ประกอบกับจิตได้ ๖๙ ดวง คือ ไม่ประกอบกับจิต ๒๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามโสภณจิต ๒๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๘ สัมปโยคนัยแห่งอกุสลเจตสิก ๗. สพฺพาปุญฺเญสุ จตฺตาโร โลภมูเล ตโย คตา โทสมูเลสุ จตฺตาโร สสงฺขาเร ทวยํ ตถา ฯ แปลความว่า เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ อกุศลจิตทั้งหลาย เจตสิก ๓ ดวง ย่อมประกอบกับ โลภมูลจิต เจตสิก ๔ ดวง ย่อมประกอบกับ โทสมูลจิต เจตสิก ๒ ดวง ย่อมประกอบกับ สสังขาริกจิต ๘. วิจิกิจฺฉา วิจิกิจฺฉา จิตฺเต จาติ จตุทฺทส ทฺวาทสากุสเลเสฺวว สมฺปยุชฺชนฺติ ปญฺจธา ฯ แปลความว่า วิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาจิต (เท่านั้น) อกุศลเจตสิก ๑๔ ดวง ย่อมประกอบกับอกุศลจิต ๑๒ ดวง โดยสัมปโยคนัย ๕ อย่าง ดังนี้ อธิบาย รวมความว่า อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง กล่าวโดยสัมปโยคนัย คือการประกอบกับอกุสลจิตนั้นแบ่งออกเป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ เจตสิก ๔ ดวง คือ โมหเจตสิก อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก และอุทธัจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โมจตุกะ หรือสัพพากุสลสาธารณเจตสิกนั้น ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด คือทั้ง ๑๒ ดวง นัยที่ ๒ เจตสิก ๓ ดวงคือ โลภเจตสิก ทิฏฐิเจตสิก และ มานเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โลติกะ นั้น โลภเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ทั้งหมด คือ ทั้ง ๘ ดวง ทิฏฐิเจตสิก ประกอบกับโลภมูลจิตได้ เฉพาะแต่ที่เป็นทิฏฐิคตสัมป ยุตตจิต ๔ ดวง มานเจตสิก ก็ประกอบกับโลภมูลจิตได้เฉพาะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง นัยที่ ๓ เจตสิก ๔ ดวง คือ โทสเจตสิก อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก และกุกกุจจเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า โทจตุกะ นั้น ย่อมประกอบกับโทสมูลจิต ๒ ดวง นัยที่ ๔ เจตสิก ๒ ดวง คือ ถีนเจตสิกและมีทธเจตสิก ซึ่งมีชื่อรวมเรียกว่า ถีทุกะ นั้นย่อมประกอบกับ สสังขาริกในอกุสลจิต อันมีจำนวน ๕ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๔ ดวง และโทสมูลจิต ที่เป็นสสังขาริก ๑ ดวง นัยที่ ๕ เจตสิก ๑ ดวง คือวิจิกิจฉาเจตสิก ย่อมประกอบกับวิจิกิจฉาสหคตจิต ได้เฉพาะดวงเดียวเท่านั้น สัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิก ๙. เอกูนวีสติธมฺมา ชายนฺเตกูนสฏฺฐิสุ ตโย โสฬส จิตฺเตสุ อฏฺฐวีสติตํ ทฺวยํ ฯ หน้า ๕๐ แปลความว่า ธรรม ๑๙ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๕๙ ดวง ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ๑๐. ปญฺญา ปกาสิตา สตฺต จตฺตาฬีส วิเธสุปิ สมฺปยุตฺตา จตุเธวํ โสภเณเสสฺวว โสภณา ฯ แปลความว่า ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง โสภณเจตสิก ย่อมประกอบกับโสภณจิตโดยสัมปโยคนัย ๔ อย่าง ดังนี้ อธิบาย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ย่อมประกอบได้เฉพาะโสภณจิตเท่านั้น และก็มิได้ประกอบพร้อมกันทั้งหมด ดังนั้นจึงแสดงสัมปโยคนัยแห่งโสภณเจตสิกไว้เป็น ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ ธรรม ๑๙ ดวงนั้น หมายถึงโสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ย่อมเข้าประกอบกับโสภณจิต ทั้ง ๕๙ ดวง หรือนับอย่างพิศดารก็ทั้ง ๙๑ ดวง กล่าวคือ โสภณจิตทั้ง ๕๙ หรือ ๙๑ ดวง ไม่ว่าจะ เป็นจิตดวงใดดวงหนึ่งเกิดขึ้น โสภณสาธารณเจตสิกก็จะเข้าประกอบพร้อมกันทันทีทั้ง ๑๙ ดวง ไม่มีเว้นเลย โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ดวง ได้แก่ สัทธา สติ หิริ โอตตัปปะ อโลภะ อโทสะ ตัตรมัชฌัตตตา กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ กายลหุตา จิตตลหุตา กายมุทุตา จิตตมุทุตา กายกัมมัญญตา จิตตกัมมัญญตา กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กายุชุกตา จิตตุชุกตา หน้า ๕๑ นัยที่ ๒ ธรรม ๓ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๑๖ ดวง นั้น หมายถึงวิรตีเจตสิก ๓ ดวง คือสัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตเจตสิก และสัมมาอาชีวเจตสิก ย่อมประกอบได้กับจิต ๑๖ ดวง ได้แก่ มหากุสลจิต ๘ โลกุตตรจิต ๘ นัยที่ ๓ ธรรม ๒ ดวง ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง นั้น หมายถึงอัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง คือ กรุณาเจตสิก และมุทิตาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๒๘ ดวง ซึ่งได้แก่ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๒ (เว้นรูปาวจรปัญจมฌานจิต ๓) นัยที่ ๔ ปัญญาเจตสิก ย่อมประกอบกับจิต ๔๗ ดวง ซึ่งได้แก่ กามาวจรญาณสัมปยุตตจิต ๑๒ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ อนิยตโยคีเจตสิก อนิยตโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบไม่แน่นอน หมายความว่าเจตสิก นั้นบางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ ๑๑. อิสฺสมจฺฉเรกุกฺกุจฺจ วิรตี กรุณา ทโย นานา กทาจิ มาโนจ ถีนมิทฺธํ ตถา สห ฯ แปลความว่า อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ วิรตี(๓ ดวง) กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ มิทธะ ย่อมประกอบกับจิตเป็นครั้งคราวไม่พร้อมกัน (ทั้ง ๑๑ ดวงนี้ เป็น อนิยตโยคีเจตสิก) หน้า ๕๒ ๑๒. ยถาวุตฺตานุสาเรน เสสา นิยตโยคิโน สงฺคหญจ ปวกฺขามิ เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า อาศัยนัยที่กล่าวมานี้ เจตสิกที่เหลือ พึงรู้ว่าเป็น นิยตโยคีเจตสิก เจตสิกที่เหลือ (๔๑ ดวง) เป็นนิยตโยคีเจตสิก (ประกอบได้แน่นอน) ต่อไปนี้จะได้กล่าวสังคหนัยของเจตสิก ตามสมควร อธิบาย เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง จำแนกได้ ๒ ประเภท คือ อนิยตโยคีเจตสิก และนิยตโยคีเจตสิก ก. อนิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่เป็นที่แน่นอนกล่าวคือ ประกอบเป็นครั้งคราว มีจำนวน ๑๑ ดวง ได้แก่ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ กรุณา มุทิตา มานะ ถีนะ และมิทธะ ข. นิยตโยคีเจตสิก เป็นเจตสิกที่ประกอบกับจิตเสมอ เป็นที่แน่นอนมี ๔๑ ดวงคือ เจตสิกที่เหลือจาก ๑๑ ดวง นั่นเอง อนิยตโยคีเจตสิก ที่ว่าประกอบกับจิตไม่เสมอไป ไม่แน่นอน บางทีก็ประกอบ บางทีก็ไม่ประกอบ เป็นดังนี้ ๑. อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ๓ ดวงนี้ ถ้าจะเกิดก็ต้องเกิดร่วมกันพร้อมกับโทสจิต และจะต้องเกิดทีละดวง คือทีละอย่างเท่านั้น เพราะอารมณ์ต่างกัน การประกอบเป็นครั้งคราวและทีละดวง เช่นนี้เรียกว่า นานากทาจิ หน้า ๕๓ เวลาที่ริษยาสมบัติของผู้อื่น อิสสาเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่มัจฉริยะและกุกกุจจะไม่เกิด เพราะอารมณ์คนละอย่างต่างกัน เวลาที่เหนียวแน่นในสมบัติของตน มัจฉริยเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและกุกกุจจะไม่เกิด เวลาที่เศร้าใจ รำคาญใจ ในบาปที่ตนได้กระทำไปแล้ว หรือในการบุญที่ตนไม่ได้ทำ กุกกุจจะเจตสิกก็เกิดร่วมกับโทสะ แต่อิสสาและมัจฉริยะไม่เกิด ๒. วิรตี ๓ ดวง คือ สัมมาวาจาเจตสิก สัมมากัมมันตะเจตสิก และ สัมมาอาชีวเจตสิก นั้น ถ้าเป็นโลกีย์ ประกอบกับจิตที่เป็นมหากุสล ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางคราว และประกอบทีละดวง เวลาที่เว้น วจีทุจริต ๔ คือ มุสาวาจา ปิสุณาวาจา ผรุสวาจา และสัมผัปปลาปวาจา ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้นสัมมาวาจาก็เกิด แต่สัมมากัมมันตะและสัมมาอาชีวะ ไม่เกิด เวลาที่เว้นกายทุจริต ๓ คือ ปาณาติบาต อทินนาทาน และกาเมสุมิจฉาจาร ที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพ เวลานั้น สัมมากัมมันตะก็เกิด แต่สัมมาวาจาและสัมมาอาชีวะไม่เกิด เวลาที่เว้นวจีทุจริต ๔ และเว้นกายทุจริต ๓ ที่รวมเรียกว่าเว้นทุจริต ๗ ที่เกี่ยวกับอาชีพเวลานั้นสัมมาอาชีวะเกิด แต่ถือว่าสัมมาวาจาและสัมมากัมมันตะไม่เกิด หน้า ๕๔ แต่ถ้าเป็นโลกุตตรโดยประกอบกับโลกุตตรจิตแล้ว ก็เป็น นิยตเอกโต คือต้องประกอบแน่นอนและประกอบพร้อมกันทั้ง ๓ ดวง เพราะวิรตีนี้เป็นองค์มัคคมีหน้าที่ประหารกิเลส ถ้าวิรตีไม่เกิด มัคคจิตก็จะเกิดไม่ได้เลย ๓. กรุณาเจตสิก กับมุทิตาเจตสิก ก็เป็นนานากทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง เวลาใดที่รับเอาทุกขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังได้รับทุกข์อยู่เป็นอารมณ์เกิดกรุณาสงสารต่อสัตว์นั้น ปรารถนาช่วยสัตว์นั้นให้พ้นทุกข์ กรุณาเจตสิกก็เกิดแต่มุทิตาเจตสิกไม่เกิด เวลาใดที่รับเอาสุขิตสัตว์ คือสัตว์ที่กำลังมีความสุขอยู่เป็นอารมณ์แล้วก็พลอยปิติยินดีกับเขาด้วยเช่นนี้ มุทิตาเจตสิกก็เกิด แต่กรุณาเจตสิกไม่เกิด ๔. มานเจตสิก เพราะมีดวงเดียว ไม่มีพวก จึงเรียกว่าเป็น กทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้ง (ไม่ใช่ นานากทาจิ ซึ่งหมายความว่าประกอบเป็นบางครั้งและทีละดวง) มานเจตสิกนี้ถ้าจะเกิด ก็เกิดใน โลภทิฏฐิคตวิปปยุตตจิต ๔ ดวง ๕. ถีนเจตสิก และมิทธเจตสิก คู่นี้เป็น สหกทาจิ คือประกอบเป็นบางครั้งและพร้อมกัน หมายความว่า ถ้าจะประกอบก็ต้องประกอบด้วยกันพร้อมกันทั้งคู่ (ไม่ใช่ทีละดวง) หรือถ้าไม่ประกอบก็ไม่ประกอบทั้งคู่ หน้า ๕๕ สังคหนัย สังคหะ แปลว่า รวบรวม หรือสงเคราะห์ ในที่นี้มีความหมายว่า จิตแต่ละดวงได้รวบรวมเจตสิกเข้ามาไว้เท่าใด คืออะไรบ้าง หรือจิตแต่ละดวงมีเจตสิกอะไรบ้าง รวมเป็นจำนวนเท่าใดมาสงเคราะห์จิตนั้น ๑๓. ฉตฺตึสานุตฺตเร ธมฺมา ปญฺจตึส มหคฺคเต อฏฺฐตึสาปิ ลพฺภนฺติ กามาวจรโสภณเณ ฯ ๑๔. สตฺตวีสติปญฺญมฺหิ ทฺวาทสาเหตุเกติ จ ยถาสมฺภวโยเคน ปญฺจธา ตตฺถ สงฺคโห ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๖ ดวง(โลกุตตรจิตอย่างย่อ๘ ดวง) มหัคคตจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๕ ดวง กามาวจรโสภณจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๓๘ ดวง อกุสลจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๒๗ ดวง อเหตุกจิต ประกอบด้วยเจตสิก ๑๒ ดวง จิตที่ถูกประกอบด้วยเจตสิก โดยสังคหนัย ๕ อย่าง อนุตตรสังคหนัย อนุตตร มีความหมายว่า เหนืออย่างไม่มีอะไรเหนือกว่า หรือแม้แต่จะเหนือเท่า พ้นอย่างไม่มีอะไรจะเทียบได้ ทั้งนี้ก็หมายถึงโลกุตตรนั่นเอง ดังนั้นอนุตตรสังคหนัย ก็คือ สังคหนัยแห่งโลกุตตรจิต นั่นแหละ ๑๕. ฉตฺตึส ปญฺจตึสา จ จตุตฺตึส ยถากฺกมํ เตตฺตึส ทฺวยมิจฺเจวํ ปญฺจธานุตฺตเร ฐิตา ฯ แปลความว่า โลกุตตรจิตนั้น (อย่างพิศดาร ๔๐ ดวง) มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับ คือ ๓๖ นัยหนึ่ง , ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ คู่หนึ่ง อธิบาย นัยที่ ๑ ปฐมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปฐมฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญาเจตสิก ๒) นัยที่ ๒ ทุติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ทุติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นวิตกเจตสิก) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) นัยที่ ๓ ตติยฌานมัคคจิต ๔ ดวง ตติยฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นวิตก วิจาร) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) นัยที่ ๔ จตุตถฌานมัคคจิต ๔ ดวง จตุตถฌานผลจิต ๔ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) หน้า ๕๗ นัยที่ ๕ ปัญจมฌานมัคคจิต ๔ ดวง ปัญจมฌานผลจิต ๔ ดวงมีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา) มหัคคตสังคหนัย ๑๖. ปญฺจตึส จตุตฺตึส เตตฺตึส จ ยถากฺกมํ พาตฺตึส เจว ตึเสติ ปญฺจธาว มหคฺคเต แปลความว่า มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย ตามลำดับคือ ๓๕ นัยหนึ่ง , ๓๔ นัยหนึ่ง , ๓๓ นัยหนึ่ง , ๓๒ นัยหนึ่ง และ ๓๐ นัยหนึ่ง อธิบาย มหัคคตจิต ๒๗ ดวงนั้น เมื่อนับตามอำนาจแห่งฌานแล้ว ก็มีเจตสิกประกอบไม่เท่ากัน จึงจัดได้เป็น ๕ นัย คือ นัยที่ ๑ ปฐมฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๒ ทุติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มี หน้า ๕๘ เจตสิกประกอบ ๓๔ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒(เว้นวิตกเจตสิก)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๓ ตติยฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นวิตก วิจาร)โสภณเจตสิก ๒๒(เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๔ จตุตถฌาน กุสล ๑ วิบาก ๑ กิริยา ๑ รวม ๓ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี ๓) นัยที่ ๕ ปัญจมฌาน ๑๕ ดวง คือ รูปาวจรปัญจมฌาน กุสล วิบาก กิริยา ๓ ดวง อรูปาวจร กุสล วิบาก กิริยา ๑๒ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐(เว้นวิตก วิจาร ปีติ) โสภณเจตสิก๒๐(เว้นวิรตี ๓ อัปปมัญญา ๒) กามาวจรโสภณสังคหนัย ๑๗. อฏฐตึส สตฺตตึส ทฺวยํ ฉตฺตึสกํ สุเภ ปญฺจตึส จตุตฺตึส ทฺวยํ เตตฺตึสกํ กฺริเย ฯ ๑๘. เตตฺตึส ปาเก พาตฺตึสทฺ วเยกตึสกํ ภว สเหตุกกามาวจร ปญฺญปากกฺริยามเน ฯ แปลความว่า ในสเหตุกกามาวจร กุสล วิบาก กิริยา มีสังคหะ หน้า ๕๙ ตามลำดับคือ มหากุศล มี ๓๘ หนึ่งนัย ๓๗ สองนัย ๓๖ หนึ่งนัย มหาวิบาก มี ๓๕ หนึ่งนัย ๓๔ สองนัย ๓๓ หนึ่งนัย มหากิริยา มี ๓๓ หนึ่งนัย ๓๒ สองนัย ๓๑ หนึ่งนัย อธิบาย ในกามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวงนั้น มีสังคหะรวม ๑๒ นัย ดังนี้ คือ มหากุสล ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๘, ๓๗, ๓๗, ๓๖ มหากิริยา ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๕, ๓๔, ๓๔, ๓๓ มหาวิบาก ๘ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๔ นัย คือ ๓๓, ๓๒, ๓๒, ๓๑ นัยที่ ๑ มหากุสล คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ ที่เป็นญาณสัมปยุตต ทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง เต็มที่ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๒ มหากุสล คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ ซึ่งเป็นญาณวิปปยุตตทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) นัยที่ ๓ มหากุสล คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ ซึ่งเป็นอุเบกขาทั้งคู่ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๕ นัยที่ ๔ มหากุสล คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ ซึ่งทั้งคู่เป็นอุเบกขาด้วยเป็นญาณวิปปยุตตด้วย มีเจตสิกประกอบ ๓๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญา) หน้า ๖๐ นัยที่ ๕ มหากิริยาคู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตีเจตสิก ๓) นัยที่ ๖ มหากิริยาคู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ๓ ปัญญา ๑) นัยที่ ๗ มหากิริยา คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๔ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นวิรตี) นัยที่ ๘ มหากิริยา คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๑ (เว้นวิรตี ปัญญา) นัยที่ ๙ มหาวิบาก คู่ที่ ๑ คือดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) นัยที่ ๑๐ มหาวิบาก คู่ที่ ๒ คือดวงที่ ๓ กับดวงที่ ๔ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) นัยที่ ๑๑ มหาวิบาก คู่ที่ ๓ คือดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๖ มีเจตสิกประกอบ ๓๒ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๒๐ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา) หน้า ๖๑ นัยที่ ๑๒ มหาวิบาก คู่ที่ ๔ คือดวงที่ ๗ กับดวงที่ ๘ มีเจตสิกประกอบ ๓๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โสภณเจตสิก ๑๙ (เว้นวิรตี อัปปมัญญา และปัญญา) โสภณเจตสิกที่ไม่ได้สังคหนัย ต่อไปนี้จะแสดงโสภณเจตสิกบางดวง ที่ไม่ได้ประกอบกับโสภณจิต บางประเภท ๑๙. น วิชฺชนเตตฺถ วิรตี กฺริเยสุ จ มหคฺคเต อนุตฺตเร อปฺปมญฺญา กามปาเก ทฺวยํ ตถา ฯ แปลความว่า โสภณเจตสิกที่กล่าวมานี้ ในมหากิริยาจิต ย่อมไม่มีวิรตีเจตสิก ในโลกุตตรจิต ย่อมไม่มีอัปปมัญญาเจตสิก ในมหาวิบากจิต ย่อมไม่มีทั้ง ๒ (คือทั้งวิรตี และ อัปปมัญญา) อธิบาย ๑. ในมหากิริยาจิต ๘ ดวง ทั้งนี้เป็นเพราะมหากิริยาจิต เป็นจิตของพระอรหันต์ ซึ่งจบการศึกษาแล้ว เป็นผู้ที่ปราศจากบาปธรรมทั้งปวง ตั้งแต่อรหัตตผลได้เกิดขึ้นแล้ว จึงไม่จำเป็นหรือไม่มีกิจที่จะต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่วหรือเว้นเลี้ยงชีพชั่วอีกเลย ด้วยว่าไม่มีกิเลสเหลือที่จะให้ทำชั่วอย่างนั้น หรืออย่างไหน ๆ ทั้งสิ้น หน้า ๖๒ ๒. ในมหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกประกอบ เพราะมหัคคตจิตเกิดขึ้นโดยมีกัมมัฏฐานเป็น อารมณ์ ไม่ใช่เกิดขึ้นโดยอาศัยการเว้นทุจริตซึ่งจะต้องมีวิรมิตัพพวัตถุ (วัตถุอันพึงเว้น) เป็นอารมณ์แต่อย่างใด ๓. ในโลกุตตรจิต ไม่มีอัปปมัญญาเจตสิกประกอบ เพราะอัปปมัญญาเจตสิก จะต้องมีสัตว์บัญญัติเป็นอารมณ์ แต่โลกุตตรจิตนั้นมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว ๔. ในมหาวิบากจิต ๘ ดวง ก็ไม่มีวิรตีเจตสิกทั้ง ๓ และอัปปมัญญาเจตสิกทั้ง ๒ รวม ๕ ดวงนี้ ประกอบด้วยเลย เพราะมหาวิบากเป็นจิตที่เป็นผลของมหากุสล ทำหน้าที่ปฏิสนธิ เป็นต้น เมื่อขณะปฏิสนธินั้น ไม่ต้องเว้นพูดชั่ว เว้นทำชั่ว และเว้นเลี้ยงชีพชั่ว ทั้งขณะนั้นก็ไม่ได้กรุณาสงสารผู้ใด ไม่ได้มีมุทิตา คือพลอยยินดีกับใคร อันเป็นการเว้น คือไม่เกิด หรือเกิดขึ้นไม่ได้อยู่แล้วตามธรรมชาติ จึงไม่ต้องมีวิรตีเจตสิก อัปปมัญญเจตสิก มาประกอบ ธรรมบางประการที่ทำให้จิตต่างกัน ๒๐. อนุตฺตเร ฌานธมฺมา อปฺปมญฺญา จ มชฺฌิเม วิรตี ญาณ ปีติ จ ปริตฺเตสุ วิเสสกา ฯ แปลความว่า ในโลกุตตรจิต ฌานธรรมย่อมทำให้ต่างกัน ในมหัคคตจิต ฌานธรรมและอัปปมัญญา ทำให้ต่างกัน ในกามาวจรโสภณจิต วิรตี ญาณ ปีติ ทำให้ต่างกัน อธิบาย ๑. ในโลกุตตรจิตนั้น ฌานธรรม คือฌานทั้ง ๕ ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือต่างกันจาก ๘ ดวง เป็น ๔๐ ดวง และ วิตกเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปฐมฌาน ต่างกับโลกุตตร ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกุตตร ทุติยฌาน ต่างกับโลกุตตร ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกุตตร ตติยฌาน ต่างกับโลกุตตร จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร จตุตถฌาน ต่างกับโลกุตตร ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกุตตร ปัญจมฌาน ต่างกับโลกุตตร ฌานต้น ๆ ๒. ในมหัคคตจิตนั้น ฌานธรรมและอัปปมัญญาเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกัน ดังต่อไปนี้ วิตกเจตสิก ทำให้โลกีย ปฐมฌาน ต่างกับโลกีย ทุติยฌาน วิจารเจตสิก ทำให้โลกีย ทุติยฌาน ต่างกับโลกีย ตติยฌาน ปีติเจตสิก ทำให้โลกีย ตติยฌาน ต่างกับโลกีย จตุตถฌาน สุขเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย จตุตถฌาน ต่างกับโลกีย ปัญจมฌาน อุเบกขาเวทนาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ อัปปมัญญาเจตสิก ทำให้โลกีย ปัญจมฌาน ต่างกับโลกีย ฌานต้น ๆ ๓. ในกามาวจรโสภณจิตนั้น วิรตีเจตสิก ญาณคือ ปัญญาเจตสิกและปีติเจตสิก ย่อมทำให้จิตวิเศษ คือ ต่างกันดังนี้ มหากุสลจิต มีวิรตีประกอบ ทำให้ต่างกับมหากิริยาจิต ซึ่งไม่มีวิรตีประกอบ หน้า ๖๔ จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต มีปัญญาเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่เป็นญาณวิปปยุตต ซึ่งไม่มีปัญญาเจตสิกประกอบ จิตที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา มีปีติเจตสิกประกอบ ทำให้ต่างกับจิตที่ไม่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนา ซึ่งไม่มีปีติเจตสิกประกอบ อนึ่ง มีข้อที่ควรสังเกตว่า ในกรณีใดที่ปัญญาเจตสิก หรือปีติเจตสิกจึงประกอบ หรือไม่ประกอบนั้น ดังนี้ จิตดวงใดที่เป็นญาณสัมปยุตตแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปัญญาเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน จิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโสมนัสเวทนาแล้ว จิตดวงนั้นจะต้องมีปีติเจตสิกประกอบด้วยเสมอไปอย่างแน่นอน (เฉพาะกามจิต) ดังนั้น ก็พึงเป็นที่เข้าใจได้ว่า จิตดวงใดที่เป็นญาณวิปปยุตต คือไม่ประกอบด้วยปัญญาแล้ว ปัญญาเจตสิกก็ย่อมไม่เข้าประกอบอยู่เอง และจิตดวงใดที่เกิดพร้อมด้วยโทมนัสเวทนา ความเสียใจก็ดีเกิดพร้อมด้วยอุเบกขาเวทนา เฉย ๆ ก็ดี ปีติ คือความอิ่มใจ ย่อมเข้าประกอบด้วยไม่ได้เลย เพราะความเสียใจ หรือความเฉย ๆ จะไม่มีความอิ่มใจ อกุสลสังคหนัย ๒๑. เอกูนวีสฏฺฐารส วีเสกวีส วีสติ ทฺวาวีส ปนฺนรเสติ สตฺตธากุสเล ฐิตา ฯ แปลความว่า อกุศลจิตมีสังคหะ ๗ นัย ตามลำดับ คือ ๑๙ นัยหนึ่ง , ๑๘ นัยหนึ่ง , ๒๑ นัยหนึ่ง , ๒๐ นัยหนึ่ง , ๒๒ นัยหนึ่ง และ ๑๕ นัยหนึ่ง หน้า ๖๕ อธิบาย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบได้ รวมทั้งหมด ๒๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ อกุสลเจตสิก ๑๔ แต่ว่า อกุสลจิตแต่ละดวงนั้นมีเจตสิกประกอบได้ไม่เท่ากัน ดังนั้นอกุสล จิต ๑๒ ดวง จึงจัดสังคหะได้เป็น ๗ นัย คือ นัยที่ ๑ โลภมูลจิตดวงที่ ๑ กับดวงที่ ๓ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๙ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ สัพพากุสลสาธารณเจตสิกหรือโมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๑) มานเจตสิก ๑ (เข้าประกอบเฉพาะดวงที่ ๓) นัยที่ ๒ โลภมูลจิตดวงที่ ๕ กับดวงที่ ๗ อันเป็นอสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๑๘ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑(ประกอบเฉพาะดวงที่ ๕) มานเจตสิก (ประกอบ เฉพาะดวงที่ ๗) นัยที่ ๓ โลภมูลจิตดวงที่ ๒ กับดวงที่ ๔ อันเป็นสสังขาริกเหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๑ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๒) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๔) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๔ โลภมูลจิตดวงที่ ๖ กับดวงที่ ๘ อันเป็นสสังขาริก เหมือนกัน มีเจตสิกประกอบ ๒๐ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) หน้า ๖๖ โมจตุกะ ๔ โลภเจตสิก ๑ ทิฏฐิเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๖) มานเจตสิก ๑ (ประกอบเฉพาะดวงที่ ๘) ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๕ โทสมูลจิตดวงที่ ๑ อันเป็นอสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๐ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ นัยที่ ๖ โทสมูลจิตดวงที่ ๒ อันเป็นสสังขาริก มีเจตสิกเข้าประกอบ ๒๒ ดวงได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติ) โมจตุกะ ๔ โทจตุกะ ๔ ถีนเจตสิก ๑ มิทธเจตสิก ๑ นัยที่ ๗ โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกเข้าประกอบเป็นจำนวนเท่ากัน คือ ๑๕ ดวง แต่มีที่ต่างกัน คือ ก. โมหมูลจิต ดวงที่ ๑ได้แก่ วิจิกิจฉาสัมปยุตตจิตหรือวิจิกิจฉาสหคตจิต เจตสิกที่ประกอบคืออัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นอธิโมกข์ ปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวม ๑๕ ดวง ข. โมหมูลจิต ดวงที่ ๒ ได้แก่ อุทธัจจสัมปยุตตจิต มีเจตสิกที่ประกอบ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑(เว้นปีติ ฉันทะ) โมจตุกะ ๔ รวม ๑๕ ดวง เท่ากันกับ ก. สัพพากุสลโยคีเจตสิก ๒๒. สาธารณา จ จตฺตาโร สมานา จ ทสาปเร จุทฺทเสเต ปวุจฺจนฺติ สพฺพากุลสโยคิโน ฯ หน้า ๖๗ แปลความว่า สัพพากุสลสาธารณเจตสิก ๔ ดวง อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก อธิบาย สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด (ทั้ง ๑๒ ดวง) สัพพากุสลสาธารณเจตสิก หรือโมจตุกะ ๔ ดวงคือ โมห อหิริก อโนตตัปป อุทธัจจ กับอัญญสมานาเจตสิก ๑๐ ดวง คือ ผัสส เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร และ วิริยะ (เว้นอธิโมกธ ปีติ ฉันทะ) รวมเจตสิก ๑๔ ดวงนี้ เรียกว่า สัพพากุสลโยคีเจตสิก คือเป็นเจตสิกที่ประกอบกับอกุสลจิตได้ทั้งหมด หมายความว่า อกุสลจิตทั้ง ๑๒ ดวงนั้น ไม่ว่าดวงหนึ่งดวงใดเกิดขึ้นเป็นต้องมีเจตสิกทั้ง ๑๔ ดวงนี้ ประกอบเสมอไปอย่างแน่นอน อเหตุกสังคหนัย ๒๓. ทฺวาทเสกาทส ทส สตฺต จาติ จตุพฺพิโธ อฏฐารสาเหตุเกสุ จิตฺตุปฺปาเทสุ สงฺคโห ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย ตามลำดับ คือ ๑๒ หนึ่งนัย , ๑๑ หนึ่งนัย , ๑๐ หนึ่งนัย , ๗ หนึ่งนัย หน้า ๖๘ อธิบาย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ประเภทเดียวเท่านั้น คือ อัญญสมานาเจตสิก และอัญญสมานาเจตสิกก็เข้าประกอบกับอเหตุกจิตได้เป็นอย่างมากเพียง ๑๒ ดวงเท่านั้น ส่วนอีกดวง คือ ฉันทเจตสิกเข้าประกอบกับอเหตุกจิตด้วยไม่ได้เลยเป็นเด็ดขาดแน่นอน เหตุที่ฉันทเจตสิกไม่ประกอบกับอเหตุกจิตเลยนั้น เพราะว่าฉันทเจตสิกนี้มีลักษณะ คือ ความพอใจในอารมณ์ มีความปรารถนาจะกระทำ มีความปลงใจกระทำ ส่วนอเหตุกจิตนั้นเป็นจิตที่แม้ว่าจะปลงใจกระทำหรือไม่ ก็ต้องเกิด เช่น จักขุวิญญาณจิต มีหน้าที่เห็นรูป ไม่ว่ารูปนั้นจะสวยงามอยากเห็นหรือเป็นรูปที่น่าเกลียดน่ากลัวไม่อยากเห็น เมื่อรูปนั้นมาปรากฏเฉพาะหน้า ก็จะต้องเห็น จะเลือกเห็นเฉพาะรูปที่สวยงามไม่ได้ ทางโสตวิญญาณจิต มีหน้าที่ได้ยินเสียงก็เช่นกัน จะเลือกได้ยินแต่เสียงที่เพราะ ๆ รื่นหู ก็ไม่ได้ ซึ่งผิดกับจิตอื่นที่มีฉันทเจตสิกประกอบ เช่นโทสจิต เป็นต้น เมื่อได้เห็นสิ่งที่ไม่ดี เช่นเห็นสุนัขขี้เรื้อน ผู้เห็นพอใจปลงใจจะให้เกิดความเกลียดชังก็ได้ หรือจะเลือกในทางไม่เกลียดก็ได้ ถ้าเลือกในทางเกลียด โทสจิตก็เกิด ถ้าเลือกในทางสงสารว่าเป็นกรรมของสัตว์นั้น โทสจิตก็ไม่เกิด แต่กลับเป็นโสภณจิต ดังนั้นฉันทเจตสิกจึงไม่เกิดร่วมกับอเหตุกจิตเลย เพราะเป็นจิตที่เลือกไม่ได้ตามใจชอบ หน้า ๖๙ อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย คือ นัยที่ ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ดวง อันเป็นจิตยิ้มแย้มของพระอรหันต์โดยเฉพาะ บุคคลอื่นใดไม่มีจิตดวงนี้ หสิตุปปาทมีเจตสิกประกอบ ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันท) นัยที่ ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง (เรียกอีกชื่อหนึ่งตามกิจ หรือหน้าที่การงานว่า โวฏฐัพพนจิตก็ได้) และโสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง จิต ๒ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบ ๑๑ ดวง เท่ากัน แต่มีที่ต่างกัน คือ เจตสิกที่ประกอบกับมโนทวาราวัชชนจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก และฉันทเจตสิก) ส่วนเจตสิกที่ประกอบกับโสมนัสสันตีรณจิต ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ แต่เว้นวิริยเจตสิก กับฉันทเจตสิก นัยที่ ๓ มโนธาตุ ๓ ดวง (ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง) กับอเหตุกปฏิสนธิจิต ๒ ดวง (คืออุเบกขาสันตีรณจิต ๒) รวมจิต ๕ ดวงนี้ มีเจตสิกประกอบได้ ๑๐ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๐ (เว้นวิริย ปีติ ฉันท) นัยที่ ๔ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ดวง มีเจตสิกประกอบได้จำพวกเดียว คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเท่านั้นเอง ๒๔. อเหตุเกสุ สพฺพตฺถ สตฺต เสสา ยถารหํ อิติ วิตฺถารโต วุตฺโต เตตฺตึสวิธ สงฺคโห ฯ หน้า ๗๐ แปลความว่า อเหตุกจิต ๑๘ ดวงนี้ ย่อมประกอบด้วย สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวงเสมอ ส่วน ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวงนั้น ย่อมประกอบกับจิตตามที่จะประกอบได้ เมื่อนับโดยพิสดารย่อมได้สังคหนัย ๓๓ นัยดังได้กล่าวมาแล้ว ๒๕. อิตถํ จิตฺตาวิยุตฺตานํ สมฺปโยคญฺจ สงฺคหํ ญตฺวา เภทํ ยถาโยคํ จิตฺเตน สมมุทฺทิเส ฯ แปลความว่า ตามที่ได้กล่าวมา พึงรู้สัมปโยคนัยและสังคหนัยของเจตสิกเสียก่อน แล้วจึงจำแนกประเภทของจิตและ เจตสิกที่ประกอบกัน ตามที่จะเข้ากันได้เถิด อธิบาย สัมปโยคนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่า เจตสิกแต่ละดวงเข้าประกอบกับจิตใดบ้าง สังคหนัย หมายถึงนัยที่แสดงว่าจิตแต่ละดวงมีเจตสิกใดมาร่วมสงเคราะห์บ้าง สัมปโยคนัย มี ๑๖ นัย คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๗ ดวง ได้สัมปโยค ๑ นัย ปกิณณกเจตสิก ๖ ดวง ได้สัมปโยค ๖ นัย อกุสลเจตสิก ๑๔ ดวง ได้สัมปโยค ๕ นัย โสภณเจตสิก ๒๕ ดวง ได้สัมปโยค ๔ นัย รวม ๕๒ ดวง ได้สัมปโยค ๑๖ นัย หน้า ๗๑ สังคหนัย มี ๓๓ นัย คือ โลกุตตรจิต ๔๐ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย มหัคคตจิต ๒๗ ดวง มีสังคหะ ๕ นัย กามาวจรโสภณจิต ๒๔ ดวง มีสังคหะ ๑๒ นัย อกุสลจิต ๑๒ ดวง มีสังคหะ ๗ นัย อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีสังคหะ ๔ นัย รวมจิต ๑๒๑ ดวง มีสังคหะ ๓๓ นัย อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๒ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห ทุติเย ปริจฺโฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ ในปริจเฉทที่ ๒ ( ชื่อ เจตสิกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวมรวบ ซึ่งอรรถแห่งอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อแต่เพียงเท่านั้น

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือการศึกษา ปกิณณกสังคหะวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๓ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส ความเบื้องต้น คู่มือการศึกษาเล่มนี้ ได้รวบรวมคำสอนพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่ง พระอนุรุทธาจารย์ เป็นผู้รจนา อันเป็นปริจเฉทที่ ๓ ที่มีชื่อว่า ปกิณณกสังคหะวิภาค ปกิณณกะ แปลว่า กระจัดกระจาย คละกัน เบ็ดเตล็ด ต่าง ๆ สังคหะ แปลว่า รวบรวมโดยย่อ วิภาค แปลว่า ส่วน เมื่อประมวลรวมกันเข้าแล้ว ปกิณณกะสังคหวิภาค ก็แปลว่า ส่วนที่รวบรวม แสดงโดยย่อซึ่งธรรมต่าง ๆ ธรรมต่าง ๆ ในที่นี้ หมายถึงธรรม ๖ หมวด คือ ๑. หมวด เวทนา ธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ ๒. หมวด เหตุ ธรรมชาติที่ทำให้ผลเกิด ๓. หมวด กิจ คือ การงานของจิต ๑๔ อย่าง ๔. หมวด ทวาร คือ ทางรับรู้อารมณ์ของจิต ๕. หมวด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้, สิ่งที่ถูกจิตรู้ ๖. หมวด วัตถุ คือ ที่ตั้งที่อาศัยเกิดรับรู้อารมณ์ของจิต ทั้ง ๖ หมวดนี้ เป็นการเรียนรู้ถึงจิตและเจตสิกโดยละเอียด สรุปได้ว่าให้เรียนรู้ว่า จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น มีเวทนาเป็นสุขเวทนา หรือทุกขเวทนา เป็น โทมนัสเวทนา หรือโสมนัสเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น มีเหตุประกอบหรือไม่ ถ้ามี มีเหตุประกอบเท่าไร อะไรบ้าง เหตุมี ๖ คือ โลภเหตุ, โทสเหตุ, โมหเหตุ, อโลภเหตุ, อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ ในแต่ละเหตุนั้น ประกอบกับจิตอะไรได้บ้าง จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น ทำกิจ(งาน)อะไรใน ๑๔ อย่าง ในกิจทั้ง ๑๔ นั้น มีจิตอะไรทำหน้าที่ได้บ้าง จิตและเจตสิก อาศัยทวารไหนในการรู้อารมณ์ อาศัยจักขุทวารหรือโสตทวาร อาศัยฆานทวารหรือชิวหาทวาร อาศัยกายทวารหรือมโนทวาร หรือไม่ได้อาศัยทวาร ใด ๆ เลย จิตและเจตสิก รับรู้อารมณ์อะไรได้บ้างในอารมณ์ ๖ และอารมณ์ ๖ นั้น องค์ ธรรมได้แก่อะไร จิตและเจตสิก อาศัยวัตถุอะไรเกิด อาศัยจักขุวัตถุหรือโสตวัตถุ อาศัยฆานวัตถุ หรือชิวหาวัตถุ อาศัยกายวัตถุหรือหทยวัตถุ หรือไม่ได้อาศัยวัตถุใดๆ เกิดขึ้นเลย ปกิณณกสังคหะวิภาคนี้ พระอนุรุทธาจารย์ได้ประพันธ์เป็นคาถาสังคหะรวม ๑๔ คาถา คาถาที่ ๑ ว่า ๑. สมฺปยุตฺตา ยถาโยคํ เตปญฺญาส สภาวโต จิตฺตเจตสิก ธมฺมา เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า สภาวธรรม ๕๓ คือ จิตและเจตสิก ทั้งลักษณะและการประกอบซึ่งกันและกัน ตามควรแก่การที่จะ ประกอบได้นั้น ได้แสดงมาแล้ว มีความหมายว่า ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนี้ คือ สรุป ธรรม ๖ หมวด อันมีจิตและเจตสิก ทำหน้าที่ต่าง ๆ จิตและเจตสิก รวมเรียกว่า สภาวธรรม ๕๓ คือ จิต ๑ และ เจตสิก ๕๒ ที่นับจิตเพียง ๑ นั้น เพราะจิตมีลักษณะ รับรู้อารมณ์เพียงลักษณะเดียวเท่านั้น ส่วนที่นับเจตสิกเต็มจำนวนทั้ง ๕๒ ก็เพราะว่า เจตสิกนั้นมีลักษณะ แตกต่างกันทั้ง ๕๒ ดวง หน้า ๒ ปกิณณกแสดงธรรม ๖ หมวด ปกิณณกสังคหะวิภาคนี้ แสดงธรรม ๖ หมวด ดังมีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๒ แสดงว่า ๒. เวทนาเหตุโต กิจฺจ ทฺวาราลมฺพน วตฺถุโต จิตฺตุปฺาทวเสเนว สงฺคโห นาม นียเต ฯ แปลความว่า บัดนี้จักแสดงการระคนกันต่างๆ ของนามธรรม คือ จิตและเจตสิกด้วยอำนาจแห่ง จิตตุปปาทะ โดย ประเภทของ เวทนา เหตุ กิจ ทวาร อารมณ์ และ วัตถุ ตามควรต่อไป หมายความว่า จิตตุปปาทะ คือ จิตที่เกิดขึ้นพร้อมกับเจตสิกที่ประกอบนั้น ย่อมเกี่ยวข้อง ต้องระคนกับธรรมทั้ง ๖ หมวดดังกล่าวแล้วอย่างแน่นอนเสมอไปทุกขณะ ไม่มีเว้น เลย ดังจะได้กล่าวต่อไปทีละหมวด หมวดที่ ๑ เวทนาสังคหะ เวทนาสังคหะ คือ การรวบรวมแสดงโดยย่อเรื่องเวทนา มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๓ ว่า ๓. สุขํ ทุกฺขมุเปกฺขาติ ติวิธา ตตฺถ เวทนา โสมนสฺสํ โทมนสฺส มิติ เภเทน ปญฺจธา แปลความว่า ธรรม ๓ อย่าง คือ สุข ทุกข์ อุเบกขา นี้เป็นเวทนา ๓ เมื่อเอา โสมนัส โทมนัส รวมเข้าอีก ก็เป็น เวทนา ๕ อธิบาย เวทนา เป็นเจตสิกธรรม ที่ทำหน้าที่เสวยอารมณ์ หรือมีความรู้สึกในอารมณ์ ที่มาปรากฏนั้น จัดแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ก. จัดตามลักษณะของการเสวยอารมณ์ คือ จัดตามความรู้สึก มีชื่อเรียกว่า อารัมมณานุภวนนัย หรือ อารัมมณานุภวนลักขณนัย ตามนัยดังกล่าวนี้ จำแนก เวทนาออกเป็น ๓ คือ หน้า ๓ ๑. สุขเวทนา การเสวยอารมณ์เป็นสุข (หมายถึงความสุขกายและสุขใจ) ๒. ทุกขเวทนา การเสวยอารมณ์ที่เป็นทุกข์ (หมายถึง ความทุกข์กาย และความทุกข์ใจ) ๓. อทุกขมสุขเวทนา การเสวยอารมณ์เป็นกลาง คือ ไม่สุข ไม่ทุกข์ ได้แก่เฉย ๆ (หมายถึงไม่ทุกข์และไม่สุข ก็คือ อุเบกขานั่นเอง) ข. จัดตามประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์ มีชื่อเรียกว่าอินทริยเภทนัย ตามนัยนี้จำแนกเวทนาออกเป็น ๕ คือ ๑. สุขเวทนา รู้สึกสบายกาย หมายเฉพาะความสุขกาย ๒. ทุกขเวทนา รู้สึกไม่สบายกาย หมายเฉพาะความทุกข์กาย ๓. โสมนัสเวทนา รู้สึกสบายใจ หมายเฉพาะความสุขใจ ดีใจ ๔. โทมนัสเวทนา รู้สึกไม่สบายใจ หมายเฉพาะความทุกข์ใจ เสียใจ ๕. อุเบกขาเวทนา รู้สึกเฉย ๆ หมายถึงความไม่ทุกข์ไม่สุข เป็นกลาง ๆ เวทนา ๓ กล่าวโดย อารัมมณานุภวนนัย นั้น จำแนกจิตโดยเวทนา ๓ ตามลักษณะของ การเสวย หรือความรู้สึกในอารมณ์ ได้ดังนี้ ๑. จิตที่เกิดพร้อมกับสุขเวทนา คือ ทั้งสุขกายและสุขใจ ก็มีจำนวน ๖๓ ดวง ได้แก่ สุขกาย ๑ ดวง คือ สุขสหคต กุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ สุขใจ ๖๒ ดวง คือ กามโสมนัส ๑๘ ฌานโสมนัส ๔๔ กามโสมนัส ๑๘ ได้แก่ โสมนัส โลภมูลจิต ๔ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ โสมนัส หสิตุปปาทะ ๑ โสมนัส มหากุสล ๔ โสมนัส มหาวิบาก ๔ โสมนัส มหากิริยา ๔ ฌานโสมนัส ๔๔ ได้แก่ ปฐมฌาน ๑๑ ทุติยฌาน ๑๑ ตติยฌาน ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ คือ โลกียปฐมฌาน ๓ โลกุตตรปฐมฌาน ๘ โลกียปฐมฌาน ๓ ได้แก่ ปฐมฌานกุสลจิต ๑ ปฐมฌานวิบากจิต ๑ ปฐมฌานกิริยาจิต ๑ โลกุตตรปฐมฌาน ๘ ได้แก่ ปฐมฌานโสดาปัตติมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานสกทาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานอนาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานอรหัตตมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ หน้า ๔ ทุติยฌาน ๑๑ ตติยฌาน ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ก็แจกตามนัยที่แสดง แล้วนี้ ๒. จิตที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา คือ ทั้งทุกข์กายและทุกข์ใจ มีจำนวน ๓ ดวง ได้แก่ ทุกข์กาย ๑ ดวง คือทุกขสหคต อกุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ทุกข์ใจ ๒ ดวง คือโทสมูลจิต ๒ ซึ่งต้องเกิดพร้อมกับโทมนัสเวทนาเสมอไป ๓. จิตที่เกิดพร้อมกับ อทุกขมสุขเวทนา คือไม่ทุกข์และไม่สุข หรืออุเบกขา เวทนานั่นเอง มี ๕๕ ดวง ได้แก่ อุเบกขา โลภมูลจิต ๔ โมหมูลจิต ๒ อุเบกขา อเหตุกจิต ๑๔ อุเบกขา กามาวจรโสภณจิต ๑๒ ฌานอุเบกขา หรือ ปัญจมฌาน ๒๓ ปัญจมฌาน ๒๓ ได้แก่ โลกียปัญจมฌาน ๑๕ โลกุตตรปัญจมฌาน ๘ โลกียปัญจมฌาน ๑๕ คือ โลกียรูปาวจรปัญจมฌาน ๓ โลกียอรูปาวจร ๑๒ โลกุตตรปัญจมฌาน ๘ คือ ปัญจมฌานโสดาปัตติมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานสกทาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานอนาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานอรหัตตมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ เวทนา ๕ ๔. สุขเมกตฺถ ทุกฺขญฺจ โทมนสฺสํ ทฺวเย ฐิตํ ทฺวาสฏฺฐิสุ โสมนสฺสํ ปญฺจปญฺญาสเกตรา ฯ แปลความว่า สุขเวทนา ๑, ทุกขเวทนา ๑, โทมนัสเวทนา ๒, โสมนัสเวทนา ๖๒, อุเบกขาเวทนา ๕๕ หน้า ๕ กล่าวโดย อินทริยเภทนัย นั้น จำแนกจิตโดยเวทนา ๕ ตามประเภทแห่ง ความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์นั้น ได้ดังนี้ ๑. จิตที่เกิดพร้อมกับ สุขเวทนา คือ เฉพาะสุขกายก็มีดวงเดียว ได้แก่ สุขสหคต กุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ๒. จิตที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา คือเฉพาะทุกข์กายก็มีดวงเดียว ได้แก่ ทุกขสหคต อกุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ๓. จิตที่เกิดพร้อมกับ โสมนัสเวทนา คือสุขใจ มี ๖๒ ดวง กามโสมนัส ๑๘ ฌานโสมนัส ๔๔ ๔. จิตที่เกิดพร้อมกับ โทมนัสเวทนา คือทุกข์ใจ มี ๒ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ๕. จิตที่เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา คือเฉยๆ ไม่ทุกข์และก็ไม่สุข มี ๕๕ ดวง ได้แก่ อุเบกขา โลภมูลจิต ๔ โมหมูลจิต ๒ อุเบกขา อเหตุกจิต ๑๔ อุเบกขา กามาวจรโสภณจิต ๑๒ ฌานอุเบกขา ๒๓ อทุกขมสุขเวทนา (ในเวทนา ๓) กับ อุเบกขาเวทนา เป็นเวทนาเดียวกัน มี อัตถะ คือ เนื้อความอย่างเดียวกัน ต่างกันแต่ พยัญชนะ เท่านั้น สรุป เวทนา ๕ เวทนา ๓ สุขเวทนา = สุขกาย ๑ โสมนัสเวทนา = สุขใจ ๖๒ รวม ๖๓ เป็น สุขเวทนา ทุกขเวทนา = ทุกข์กาย ๑ โทมนัสเวทนา = ทุกข์ใจ ๒ รวม ๓ เป็น ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา = เฉย ๆ ๕๕ คง ๕๕ เป็น อทุกขมสุขเวทนา ที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นการแสดงเวทนาของจิตโดยพิสดาร ๑๒๑ ดวง ต่อไปนี้ จะแสดงเวทนาของจิตโดยย่อ ๘๙ ดวง โดยเปรียบเทียบกับ ๑๒๑ ดวง ดังนี้ หน้า ๖ จำแนกโดยเวทนา ๓ จิตโดยพิสดาร ๑๒๑ จิตโดยย่อ ๘๙ สุขเวทนา ๖๓ สุขเวทนา ๓๑ ทุกขเวทนา ๓ ทุกขเวทนา ๓ อทุกขมสุขเวทนา ๕๕ อทุกขมสุขเวทนา ๕๕ ที่สุขเวทนาเหลือเพียง ๓๑ เพราะตัดโลกุตตรปฐมฌาน ๘, โลกุตตรทุติยฌาน ๘, โลกุตตรตติยฌาน ๘, โลกุตตรจตุตถฌาน ๘ รวม ๓๒ ดวง ซึ่งเป็นจิตพิสดาร ออกเสียจาก ๖๓ จึงเหลือเพียง ๓๑ ที่เหลือเพียง๓๑ นั้นได้แก่ สุขกายวิญญาณ ๑, กามโสมนัส ๑๘ และโลกีย ฌานโสมนัส ๑๒ คือ โลกียปฐมฌาน ๓, โลกียทุติยฌาน ๓, โลกียตติยฌาน ๓, โลกียจตุตถฌาน ๓ ที่อทุกขมสุขเวทนา ได้แก่ จิต ๕๕ เท่ากันทั้ง ๒ ข้างนั้น เป็นเพราะทางจิต พิสดารหมายถึง ปัญจมฌานโลกุตตรจิต๘ ดวง ส่วนทางจิตโดยย่อหมายถึงโลกุตตร จิตโดยย่อ ๘ ดวง ซึ่งมีจำนวนเท่ากัน อนึ่งโลกุตตรจิตโดยย่อ ๘ ดวงนั้น ในที่นี้นับเป็นอทุกขมสุขเวทนา คือ อุเบกขาเวทนาทั้ง ๘ ดวง จำแนกโดยเวทนา ๕ จิตโดยพิสดาร ๑๒๑ จิตโดยย่อ ๘๙ สุขเวทนา ๑ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ โสมนัสเวทนา ๖๒ โสมนัสเวทนา ๓๐ โทมนัสเวทนา ๒ โทมนัสเวทนา ๒ อุเบกขาเวทนา ๕๕ อุเบกขาเวทนา ๕๕ หน้า ๗ เวทนากับเจตสิก เวทนาเจตสิก มีการแสดงเป็น ๒ นัย คือ ก. แสดงว่า เวทนาใดเกิดกับเจตสิกอะไรได้บ้าง ข. แสดงว่า เจตสิกใดเกิดกับเวทนาอะไรได้บ้าง ก. เวทนาเกิดกับเจตสิก สุขเวทนา เกิดได้กับ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) ทุกขเวทนา เกิดได้กับ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) โสมนัสเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๔๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นเวทนา เจตสิก) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑) โสภณ เจตสิก ๒๕ โทมนัสเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๒๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น เวทนาปิติ) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโลติกะ ๓ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑) อุเบกขาเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๔๖ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น เวทนาปิติ) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกะ ๔) โสภณเจตสิก ๒๕ ข. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับเวทนา ๑. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนาอย่างเดียว มี ๖ ดวง คือ โทจตุกเจตสิก ๔ เกิดพร้อมกับ โทมนัสเวทนา อย่างเดียว ปิติเจตสิก ๑ เกิดพร้อมกับ โสมนัสเวทนา อย่างเดียว วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา หน้า ๘ ๒. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๒ มี ๒๘ ดวง คือ โลติกเจตสิก ๓ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนาก็ได้ อุเบกขาเวทนาก็ได้ โสภณเจตสิก ๒๕ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนาก็ได้ อุเบกขาเวทนาก็ได้ ๓. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๓ มี ๑๑ ดวง คือ โมจตุกเจตสิก ๔ ถีนมิทธเจตสิก ๒ วิตกเจตสิก ๑ วิจารเจตสิก ๑ อธิโมกขเจตสิก ๑ วิริยเจตสิก ๑ ฉันทเจตสิก ๑ เจตสิก ๑๑ ดวงนี้ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา หรืออุเบกขาเวทนาอย่างใดก็ได้ ๔. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๕ มี ๖ ดวงคือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) ๕. เจตสิกที่ไม่เกิดพร้อมกับเวทนา มี ๑ ดวง คือ เวทนาเจตสิก หมวดที่ ๒ เหตุสังคหะ เหตุ คือ ธรรมที่เป็นรากเง่าเค้ามูลที่ให้จิตเป็นอกุสล เป็นกุสล หรือเป็น อพยากตะ เหตุสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องเหตุ มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๕ แสดงว่า ๕. โลโภ โทโส จ โมโห จ เหตู อกุสลา ตโย อโลภาโทสาโมโห จ กุสลาพฺยากตา ตถา ฯ แปลความว่า โลภะ โทสะ โมหะ เป็น อกุสลเหตุ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เป็นกุสลเหตุ และอพยากตเหตุ อธิบาย เหตุ มี ๖ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ หน้า ๙ โลภเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โลภเจตสิก โทสเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โทสเจตสิก โมหเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โมหเจตสิก อโลภเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ อโลภเจตสิก อโทสเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ อโทสเจตสิก อโมหเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ ปัญญาเจตสิก โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ เป็นเจตสิก ๓ ดวง เป็น อกุสลเจตสิก เมื่อ เจตสิกทั้ง ๓ คือเหตุทั้ง ๓ นี้ประกอบกับจิต ก็เป็นมูลฐานให้จิตเป็นอกุสล อันเป็นจิตที่ชั่วที่บาป เป็นจิตที่มีโทษและจักให้ผลเป็นทุกข์ ดังนั้น โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ จึงได้ชื่อว่าเป็น อกุสลเหตุ อกุสลเหตุประกอบกับจิตใด จิตนั้นก็เป็น อกุสลจิต อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ เป็นโสภณเจตสิกทั้ง ๓ ดวง เมื่อเจตสิกทั้ง ๓ คือเหตุทั้ง ๓ นี้ประกอบกับจิต ก็เป็นมูลฐานให้จิตเป็นโสภณ เป็นจิตที่ดีงาม เรียกว่า โสภณจิต อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ประกอบกับโสภณจิตประเภทกุสล เป็นจิตที่ดี งาม ฉลาด เป็นจิตที่ปราศจากโทษ และจักให้ผลเป็นสุขด้วย ดังนั้น อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ที่ประกอบกับกุสลจิตทั้งปวง จึงได้ชื่อว่าเป็น กุสลเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ประกอบกับโสภณจิตประเภทวิบากและกิริยา อันรวมเรียกว่า อพยากตจิต เป็นจิตที่ดี งาม ฉลาด ปราศจากโทษเหมือนกัน แต่ ไม่เป็นบุญ ไม่เป็นบาป เพราะไม่สามารถให้เกิดผลอย่างใดขึ้นมาได้ ดังนั้นอโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ที่ประกอบกับวิบากจิตหรือกิริยาจิตทั้งหลาย จึงได้ชื่อว่าเป็น อพยากตเหตุ รวมได้ความว่า เมื่อกล่าวถึงจำนวนเหตุโดยประเภทที่ประกอบกับจิตก็มี ๙ เหตุ คือ อกุสลเหตุ มี ๓ ได้แก่ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ กุสลเหตุ มี ๓ ได้แก่ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ อพยากตเหตุ มี ๓ ได้แก่ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ถ้ากล่าวถึง จำนวนเหตุโดยประเภทแห่งองค์ธรรมแล้ว ก็มี ๖ เหตุ คือ โลภ เหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ หน้า ๑๐ เหตุ กับ จิต เหตุที่ประกอบกับจิต จิตทั้งหมดมี ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ จิตที่มีเหตุประกอบ กับ จิตที่ไม่มีเหตุประกอบ ก. อเหตุกจิต เป็นจิตที่ไม่มีเหตุประกอบ (ไม่มีสัมปยุตตเหตุ) คือ ไม่มี เหตุ ๖ ประกอบเลยแม้แต่เหตุเดียว ข. สเหตุกจิต เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ คือ มีเหตุ ๖ ประกอบอย่างน้อย ที่สุด ก็ ๑ เหตุ และอย่างมากไม่เกิน ๓ เหตุ มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๖ แสดงว่า ๖. อเหตุกาฏฺฐารเสก เหตุกา เทฺว ทฺวาวีสติ ทฺวิเหตุกา มตา สตฺต จตฺตาฬีส ติเหตุกา ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต มี ๑๘ เอกเหตุกจิต มี ๒ ทวิเหตุกจิต มี ๒๒ ติเหตุกจิต มี ๔๗ อธิบาย ๑. อเหตุกจิต เป็นจิตที่ไม่มีสัมปยุตตเหตุ คือ ไม่มีเหตุ ๖ ประกอบเลยแม้แต่ เหตุเดียว อเหตุกจิต มี ๑๘ ดวง ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ สันตีรณจิต ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ๒. เอกเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบเพียงเหตุเดียว เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็นสเหตุกจิต เอกเหตุกจิต มี ๒ ดวง ได้แก่ โมหมูลจิต ๒ ซึ่งเป็นจิตที่มีเหตุประกอบเพียงเหตุเดียว คือ โมหเหตุ ๓. ทวิเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็น สเหตุกจิต ทวิเหตุกจิต มี ๒๒ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ๘ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ โลภเหตุ โมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ โทสเหตุ โมหเหตุ มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ ๔. ติเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบ ๓ เหตุ เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็น สเหตุกจิต ติเหตุกจิต มี ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง ได้แก่ มหากุสล ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหาวิบาก ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหากิริยา ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ มีเหตุประกอบ ๓ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุ ข้อสังเกต อเหตุกจิต ไม่มีเหตุประกอบเลย อกุสลจิต มีเหตุประกอบอย่างน้อย ๑ เหตุ อย่างมาก ๒ เหตุ โสภณจิต มีเหตุประกอบอย่างน้อย ๒ เหตุ อย่างมาก ๓ เหตุ หน้า ๑๒ นับจำนวนเหตุ อกุสลเหตุ ๓ โลภเหตุ ประกอบใน โลภมูลจิต ๘ เป็น ๘ เหตุ รวมอกุสลเหตุ ๒๒ เหตุ โทสเหตุ ประกอบใน โทสมูลจิต ๒ เป็น ๒ เหตุ โมหเหตุ ประกอบใน โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒ เป็น ๑๒ เหตุ กุสลเหตุ ๓ อโลภเหตุ ประกอบใน มหากุสล ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโลภเหตุ ๒๑ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๗ เหตุ) อโทสเหตุ ประกอบใน มหากุสล ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโทสเหตุ ๒๑ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๗ เหตุ) อโมหเหตุ ประกอบในมหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโมหเหตุ ๑๗ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๓เหตุ) รวม กุสลเหตุ คืออโลภเหตุ ๒๑ อโทสเหตุ ๒๑ อโมหเหตุ ๑๗ เป็น ๕๙ เหตุ อย่างพิสดาร คือ อโลภเหตุ ๓๗ อโทสเหตุ ๓๗ อโมหเหตุ ๓๓ เป็น ๑๐๗ เหตุ หน้า ๑๓ อพยากตเหตุ ๓ อโลภเหตุ ประกอบใน มหาวิบาก ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหากิริยา ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโลภเหตุ ๓๘ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๕๔ เหตุ) อโทสเหตุ ประกอบใน มหาวิบาก ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหากิริยา ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโทสเหตุ ๓๘ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๕๔ เหตุ) อโมหเหตุ ประกอบในมหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบในมหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโมหเหตุ ๓๐ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๔๖ เหตุ) รวม อพยากตเหตุ คืออโลภเหตุ ๓๘ อโทสเหตุ ๓๘ อโมหเหตุ ๓๐ เป็น ๑๐๖ เหตุ อย่างพิสดาร อโลภเหตุ ๕๔ อโทสเหตุ ๕๔ อโมหเหตุ ๔๖ เป็น ๑๕๔ เหตุ รวม อกุสลเหตุ ๒๒ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๒๒ เหตุ กุสลเหตุ ๕๙ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๑๐๗ เหตุ อพยากตเหตุ ๑๐๖ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๑๕๔ เหตุ รวมเหตุทั้งหมดเป็น ๑๘๗ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๒๘๓ เหตุ หน้า ๑๔ คิดจำนวนเหตุอย่างง่าย โลภมูลจิต ๘ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๑๖ เหตุ โทสมูลจิต ๒ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๔ เหตุ โมหมูลจิต ๒ ดวง x ๑ เหตุ เป็น ๒ เหตุ รวม ๒๒ เหตุ กามโสภณ ญาณวิปปยุตต ๑๒ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๒๔ เหตุ กามโสภณ ญาณสัมปยุตต ๑๒ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๓๖ เหตุ รวม ๖๐ เหตุ มหัคคตจิต ๒๗ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๘๑ เหตุ โลกุตตรจิต ๘ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๒๔ เหตุ ( โลกุตตรจิต อย่างพิสดาร ๔๐ x ๓ เป็น ๑๒๐ เหตุ ) รวม ๑๐๕ เหตุ รวมเหตุใน อกุสลจิต มี ๒๒ เหตุ รวมเหตุใน กามโสภณจิต มี ๖๐ เหตุ รวมเหตุใน มหัคคตจิต มี ๘๑ เหตุ รวมเหตุใน โลกุตตรจิต มี ๒๔ เหตุ หรือ ๑๒๐ เหตุ รวมเหตุทั้งสิ้น ๑๘๗ เหตุ หรือ ๒๘๓ เหตุ เหตุกับเจตสิก เหตุกับเจตสิกนี้ เป็นการแสดงว่า เจตสิกใดมีเหตุอะไรบ้าง หรือว่า เจตสิกใด เกิดพร้อมกับเหตุอะไรได้บ้าง มีแสดง เป็น ๒ นัย มีชื่อว่า อคหิตัคคหณนัย และ คหิตัคคหณนัย อคหิตัคคหณนัย คือ นับแล้วไม่นับอีก หมายความว่า ธรรมใดเจตสิกใดที่ได้ ยกเป็นหัวข้อขึ้นแสดงแล้ว ยกมากล่าวแล้ว จะไม่นำมาแสดง ไม่นำมากล่าวอ้าง ไม่นำมานับซ้ำอีก คหิตัคคหณนัย คือ นับแล้วนับอีก หมายความว่า ธรรมใดเจตสิกใดที่ได้ยก เป็นหัวข้อขึ้นแสดงแล้ว ยกมากล่าวอ้างแล้ว ก็ยังจะต้องนำมาแสดง ยกมากล่าวอ้าง นำมานับซ้ำอีก อคหิตัคคหณนัย ๑. เจตสิกที่มี เหตุเดียว มี ๓ ดวง ได้แก่ โลภะ โทสะ วิจิกิจฉา ๒. เจตสิกที่มี ๒ เหตุ มี ๙ ดวง ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ มานะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ อโลภะ อโทสะ ปัญญา หน้า ๑๕ ๓. เจตสิกที่มี ๓ เหตุ มี ๒๗ ดวง ได้แก่ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ ถีนะ มิทธะ และ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้น อโลภะ อโทสะ ปัญญา) ๔. เจตสิกที่มี ๕ เหตุ มี ๑ ดวง ได้แก่ ปิติ ๕. เจตสิกที่มี ๖ เหตุ มี ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ) อธิบาย ในข้อ ๑ โลภเจตสิก จะต้องเกิดพร้อมกับโมหะอย่างแน่นอน จะเกิดแต่ลำพัง โดยไม่มีโมหะไม่ได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โลภเจตสิก มีเหตุเดียว คือ โมหเหตุ โทสเจตสิกก็ดี วิจิกิจฉาเจตสิกก็ดี ก็จะต้องเกิดกับโมหะเช่นเดียวกัน ดังนั้น โทสเจตสิก จึงมีเหตุเดียว คือโมหเหตุ และวิจิกิจฉาเจตสิก ก็มีเหตุเดียว คือ โมหเหตุ ในข้อ ๒ โมหเจตสิก เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ เพราะว่าโมหเจตสิกที่เกิดพร้อม กับโลภะก็มีโลภเหตุเป็นเหตุ เมื่อโมหเจตสิกเกิดพร้อมกับโทสะ ก็มีโทสะเหตุเป็น เหตุ รวมความว่า โมหเจตสิก มีโลภเหตุเป็นเหตุก็ได้ มีโทสเหตุเป็นเหตุก็ได้ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า โมหเจตสิก มี ๒ เหตุ ทิฏฐิเจตสิก กับ มานเจตสิก รวม ๒ ดวงนี้จะต้องเกิดพร้อมกับโลภะ โลภะ ก็ต้องเกิดพร้อมกับโมหะ เป็นอันว่า ทิฏฐิเจตสิกก็ดี มานเจตสิกก็ดี แต่ละดวงต่างก็ จะต้องเกิดพร้อมกับโลภะและโมหะ ดังนั้น ทิฏฐิ มานะ เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ คือ มีโลภเหตุ โมหเหตุเป็นเหตุร่วมพร้อมกัน อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก กุกกุจจเจตสิก รวม ๓ ดวงนี้ แต่ละดวงที่เกิด จะต้องเกิดร่วมกับโทสะและโมหะด้วยพร้อมกัน ดังนั้น เจตสิกทั้ง ๓ ดวงนี้ แต่ละ ดวงมี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุ โมหเหตุ เป็นเหตุร่วมพร้อมกัน อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ที่ประกอบพร้อมกันในจิตดวง ใด เจตสิก ๓ ดวงนี้ต่างก็เป็นเหตุซึ่งกันและกัน คือ อโลภเจตสิก ก็มี อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ รวมมี ๒ เหตุ อโทสเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ และ อโมหเหตุ รวมมี ๒ เหตุ ปัญญาเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ และ อโทสเหตุ รวมมี ๒ เหตุ ในข้อ ๓ อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก อุทธัจจเจตสิก รวมเจตสิกทั้ง ๓ ดวงนี้อยู่ใน หน้า ๑๖ ประเภทโมจตุกเจตสิก ซึ่งประกอบกับอกุสลจิตได้ทุก ๆ ดวงทั้ง ๑๒ ดวง อกุสลจิตทั้งหมดนั้นมี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ ดังนั้นเจตสิก ทั้ง ๓ ดวงที่กล่าวนี้จึงสามารถเกิดกับเหตุทั้ง ๓ นั้นได้ จึงได้ชื่อว่าเป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ ถีนเจตสิก มิทธเจตสิก ๒ ดวงนี้ ประกอบกับโลภมูลจิตก็ได้ ประกอบกับ โทสมูลจิตก็ได้ โลภมูลจิตมีโลภเหตุกับโมหเหตุ โทสมูลจิตมีโทสเหตุกับโมหเหตุ รวมจิต ๒ ประเภทนี้มี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ ดังนั้น ถีนะ มิทธะ ซึ่งประกอบกับจิต ๒ ประเภทนี้ได้ จึงได้ชื่อว่า เป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ซึ่งเป็น ต้นเหตุ และได้กล่าวในข้อ ๒ แล้ว) เป็นเจตสิกที่สามารถเกิดพร้อมกับอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิกได้ จึงกล่าวว่า โสภณเจตสิก ๒๒ ดวงนี้มี ๓ เหตุ ในข้อ ๔ ปีติเจตสิก ดวงเดียว เป็นเจตสิกที่มี ๕ เหตุ คือ เมื่อเกิดพร้อมกับ โลภโสมนัสก็มี โลภเหตุ โมหเหตุ เมื่อเกิดกับโสมนัสญาณสัมปยุตต ก็มี อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ จึงรวมเป็น ๕ เหตุ เว้นโทสเหตุอย่างเดียว เพราะโทสมูลจิต นั้นไม่มีปิติ มีแต่โทมนัส ในข้อ ๕ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติเจตสิก) เป็นเจตสิกที่มีเหตุทั้ง ๖ ครบบริบูรณ์ เพราะอัญญสมานาเจตสิก ๑๒ ดวงนี้ เกิดพร้อมกับเหตุใด ๆ ได้ทั้ง ๖ เหตุ ที่กล่าวมาแล้วนี้เป็นการแสดงตามนัยที่ นับแล้วไม่นับอีก ที่ชื่อ อคหิตัคคหณนัย และคงจะเห็นแล้วว่า เจตสิก ดวงใดที่ได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวอ้างแล้ว เช่น โลภ เจตสิก โทสเจตสิก วิจิกิจฉาเจตสิก หรือเจตสิกดวงอื่น ๆ ก็ดี เมื่อได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวอ้างในข้อใดที่ใดแล้ว ก็ไม่ได้ยกมากล่าวอ้าง หรือยกมาแสดงซ้ำในข้อ อื่น ๆ อีกเลย ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า นับแล้วไม่นับอีก คหิตัคคหณนัย ๑. อเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่ไม่มีเหตุ มี ๑๓ ดวง ได้แก่ ก. อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันทเจตสิก) ที่ประกอบกับอเหตุกจิต ๑๘ ข. โมหเจตสิก ๑ เฉพาะที่ประกอบกับโมหมูลจิต ๒ ๒. เอกเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มีเหตุเดียว มี ๒๐ ดวง ได้แก่ ก. เจตสิก ๑๕ ดวง ที่ประกอบกับโมหมูลจิต ๒ (เว้นโมหเจตสิก) ข. เจตสิก ๓ ดวง คือ โลภเจตสิก โทสเจตสิก โมหเจตสิก (สำหรับโมห เจตสิก หน้า ๑๗ นี้ หมายถึง ประกอบกับโลภมูลจิตโดยเฉพาะ และที่ประกอบ กับ โทสมูลจิตโดยเฉพาะ) ค. เจตสิก ๒ ดวง คือ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ที่ประกอบกับ ญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ ๓. ทวิเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มี ๒ เหตุ มี ๔๘ ดวง ได้แก่ ก. เจตสิก ๔๕ ดวง (เว้นโลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ ที่เป็น ตัวเหตุ) ที่ ประกอบกับทวิเหตุกจิต ๒๒ ข. เจตสิก ๓ ดวง คือ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ที่ ประกอบกับติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ ๔. ติเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มี ๓ เหตุ มี ๓๕ ดวง ได้แก่ ก. อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง ข. โสภณเจตสิก ๒๒ ดวง (เว้นอโลภะ อโทสะ ปัญญา อันเป็นตัวเหตุ) ที่ประกอบกับติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ อธิบาย ๑. อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้อย่างมากที่สุด ๑๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันทเจตสิก) อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ และปิติ ใน บรรดาเจตสิกทั้ง ๑๒ ดวงนี้ ไม่มี โลภเจตสิก โทสเจตสิก โมหเจตสิก อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก และปัญญาเจตสิก อันเป็นตัวเหตุทั้ง ๖ ประกอบร่วมอยู่ด้วยเลยแม้แต่ เหตุเดียว ดังนั้นเจตสิกทั้ง ๑๒ ดวงนี้ จึงได้ชื่อว่าเจตสิกที่ไม่มีเหตุตรงตามข้อ ๑ ก. ๒. โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก ฉันทเจตสิก)โมจตุกเจตสิก ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวมเป็น ๑๖ ดวง ได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ และวิจิกิจฉา ในบรรดา เจตสิกทั้ง ๑๖ ดวงนี้ มีโมหเจตสิก อันเป็นตัวเหตุอยู่เพียง ๑ เหตุเท่านั้น เจตสิกอีก ๑๕ ดวง นั้น ไม่มีเจตสิกอันเป็นตัวเหตุอีกเลย ดังนั้นจึงไได้ชื่อว่า โมหเจตสิก ที่ใน โมหมูลจิต ๒ ดวงนี้ เป็นเจตสิกที่ไม่มีเหตุ ตรงตามข้อ ๑ ข. เพราะโมหเจตสิก ในที่นี้ แม้ตัวเองจะเป็นตัวเหตุก็จริง แต่ไม่มีเหตุอื่นมาประกอบร่วมอีกด้วยเลย ๓. โมหมูลจิต ๒ ดวง มี เจตสิกประกอบได้ ๑๖ ดวง ดังที่ได้กล่าวแล้วใน ข้อ ๒ ข้างบนนี้นั้น ในจำนวนเจตสิก ๑๖ ดวง มีโมหเจตสิกอันเป็นตัวโมหเหตุ ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๑๕ ดวง หน้า ๑๘ เฉพาะเจตสิก ๑๕ ดวงนี้ เกิดร่วมกับโมหเจตสิกอัน เป็นโมหเหตุ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเจตสิก ๑๕ ดวงนี้เป็นเจตสิกที่มีเหตุ คือ โมหเหตุ เหตุเดียวตรงตามข้อ ๒ก.เพราะเจตสิก ๑๕ดวงนี้มีโมหเหตุเกิดมาร่วมประกอบด้วย ๔. โลภมูลจิต ๘ ดวง มีเจตสิกที่ประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกเจตสิก ๔ โลติกเจตสิก ๓ และถีทุกเจตสิก ๒ รวม ๒๒ ดวง อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ ปีติ ฉันทะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ ถีนะ และมิทธะ ในบรรดาเจตสิกทั้ง ๒๒ ดวงนี้ มีโลภเจตสิก อันเป็นโลภเหตุ ๑ มีโมห เจตสิกอันเป็นโมหเหตุ ๑ ร่วมอยู่ด้วยกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โลภเจตสิกมีเหตุ ๑ คือมีโมหเหตุเกิดร่วมด้วย และโดยทำนองเดียวกัน โมหเจตสิกในที่นี้ก็มีเหตุ ๑ คือมี โลภเหตุเกิดร่วมด้วย โทสมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกที่ประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้น ปีติเจตสิก) โมจตุกเจตสิก ๔ โทจตุกเจตสิก ๔ และถีทุกเจตสิก ๒ รวม ๒๒ ดวง อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ ฉันทะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ โทสะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ และ มิทธะ ในบรรดาเจตสิกทั้ง ๒๒ ดวงนี้ มีโทสเจตสิกอันเป็น โทสเหตุ ๑ มีโมหเจตสิกอันเป็นโมหเหตุ ๑ เกิดร่วมอยู่ด้วยกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โทสเจตสิกมีเหตุ ๑ คือมีโมหเหตุเกิดร่วมด้วย และโดยทำนองเดียวกัน โมหเจตสิก ในที่นี้ (คือในโทสมูลจิตนี้) ก็มีเหตุ ๑ คือมีโทสเหตุเกิดร่วมด้วย รวมความในข้อ ๔ นี้คงได้ความว่า โลภเจตสิกก็ดี โทสเจตสิกก็ดี โมหเจตสิก ที่ในโลภมูลจิตก็ดี และโมหเจตสิกที่ในโทสมูลจิตก็ดี ต่างก็มีเหตุเดียวเท่านั้น ตรง ตามข้อ ๒ ข. ๕. กามาวจรโสภณจิตญาณวิปปยุตต ๑๒ มีเจตสิก ประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) ในจำนวนเจตสิก ๓๗ ดวงนี้ มี อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เพราะว่า อโลภเจตสิกเกิดร่วมกับอโทสเจตสิกซึ่งต่างก็เป็นตัวเหตุด้วยกันทั้งคู่ และ ต่างก็เป็นเหตุให้แก่กันและกัน ดังนั้นในที่นี้ อโลภเจตสิก ก็มีเหตุ ๑ คือ อโทสเหตุ และ อโทสเจตสิก ก็มีเหตุ ๑ คือ อโลภเหตุ ตรงตามข้อ ๒ ค. ๖. ทวิเหตุกจิต ๒๒ นั้นได้แก่ โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ กามาวจรโสภณ ญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ โลภมูลจิต ๘ มีเจตสิกประกอบ ๒๒ ดวง คือ โลภเจตสิก ๑ โมหเจตสิก ๑ และ หน้า ๑๙ เจตสิกอื่น ๆ อีก ๒๐ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (เว้นโลภะ โมหะ) ๒๐ ดวงนี้เกิด ร่วมกับโลภเจตสิก โมหเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๒๐ ดวงนี้ มี ๒ เหตุ คือ โลภเหตุกับโมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มีเจตสิกประกอบ ๒๒ ดวง คือ โทสเจตสิก ๑ โมหเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๒๐ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (เว้นโทสะ โมหะ) ๒๐ ดวงนี้เกิด ร่วมกับโทสเจตสิก โมหเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๒๐ ดวงนี้มี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุกับโมหเหตุ กามาวจรโสภณญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (ที่ เว้น อโลภะ อโทสะ แล้ว) ๓๕ ดวงนี้ เกิดร่วมกับ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๓๕ ดวงนี้มี ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ และอโทสเหตุ เมื่อรวมเจตสิกที่ประกอบกับทวิเหตุกจิต ๒๒ ดวง ที่กล่าวในข้อ ๖ นี้เข้าด้วย กันทั้งหมดแล้วหัก โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ เจตสิกที่เป็นตัวเหตุออก และหักเจตสิกที่ซ้ำกันออกเสียอีกด้วยแล้ว จะได้เจตสิก ๔๕ ดวง ในเจตสิก ๔๕ ดวงนี้แหละที่ได้ชื่อว่า มี ๒ เหตุ คือ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุ ซึ่งประกอบกับโลภมูลจิตนั้น มี ๒ เหตุ คือ โลภเหตุกับโมหเหตุ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุ ซึ่งประกอบกับโทสมูลจิตนั้น มี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุกับโมหเหตุ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุซึ่งประกอบกับกามจิตวิปปยุตตนั้น มี ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุกับอโทสเหตุ เป็นอันว่าตรงกับข้อ ๓ ก. ๗. จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง จะต้องมี อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ประกอบ เจตสิก ๓ ดวงนี้ ก็คือเหตุทั้ง ๓ นั่นเอง เหตุทั้ง ๓ ที่เกิดร่วมกัน เกิดพร้อมกันนี้ ต่างก็เป็นเหตุให้แก่กันและกัน คือ อโลภเจตสิก ก็มี อโทสเหตุ กับ อโมหเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ อโทสเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ กับ อโมหเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ ปัญญาเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ กับ อโทสเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก รวมเจตสิก ๓ ดวงนี้ แต่ละดวงก็เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ ตรงตามข้อ ๓ ข. ๘. จิตที่เป็นไตรเหตุ หรือ ติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง คือ อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ ปัญญาเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เพราะเจตสิก ๓๕ หน้า ๒๐ ดวงนี้เกิดร่วมพร้อมกับอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก อันเป็นตัวเหตุทั้ง ๓ นั่นเอง จึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๓๕ (เว้น อโลภะ อโทสะ ปัญญา) ประกอบกับติเหตุกจิตนั้นเป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ ตรงตามข้อ ๔ ที่กล่าวมาตอนนี้ เป็นการแสดงตามนัย นับแล้วนับอีก ที่ชื่อ คหิตัคคหณนัย ซึ่งคงจะเห็นแล้วว่า เจตสิก ดวงใดที่ได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวแล้ว อ้างแล้วเช่น อัญญสมานาเจตสิก โมหเจตสิก เป็นต้น ในข้อต่อมาก็ยังยกมาแสดง ยกมากล่าว อ้างซ้ำอีก ดังนี้ จึงได้ชื่อว่า นับแล้วนับอีก หมวดที่ ๓ กิจจสังคหะ กิจจสังคหะ คือ การรวบรวมแสดงเรื่องกิจ หมายความว่า รวบรวมแสดงเรื่อง กิจการงาน หรือหน้าที่ของจิต เจตสิก เพื่อให้ทราบว่าจิตดวงใดตลอดจนเจตสิกที่ ประกอบกับจิตนั้น มีกิจการงาน หรือมีหน้าที่ทำอะไรกัน นอกจากกิจแล้ว ท่านแสดงฐานให้ทราบไว้ด้วย ฐาน แปลว่าที่ตั้ง ฐานของกิจ ก็คือที่ตั้ง ที่ทำงาน เป็นสถานที่ที่จิตและเจตสิกทำกิจการงาน มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๗ แสดงว่า ๗. ปฏิสนฺธทโย นาม กิจฺจเภเทน จุทฺทส ทสธา ฐานเภเทน จิตฺตุปฺปาทา ปกาสิตา ฯ แปลความว่า บรรดาจิตที่เกิดขึ้น มีกิจการงานที่ต้องทำ ๑๔ ประเภท เช่น ปฏิสนธิกิจ เป็นต้น ฐาน หรือสถานที่ทำงานของจิต มีเพียง ๑๐ เท่านั้น อธิบาย จิตทั้งหมด คือ ทั้ง ๘๙ หรือ ๑๒๑ ดวง มีกิจการงานหรือมีหน้าที่ต้องทำเพียง ๑๔ อย่าง หรือ ๑๔ กิจ เท่านั้น และใน ๑๔ กิจนี้ มีสถานที่สำหรับทำกิจการงาน นั้น ๑๐ แห่ง หรือ ๑๐ ฐาน คือ ๑. ปฏิสนธิกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ปฏิสนธิฐาน ๒. ภวังคกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ภวังคฐาน ๓. อาวัชชนกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า อาวัชชนฐาน ๔. ทัสสนกิจ ๕. สวนกิจ ๖. ฆายนกิจ ๗. สายนกิจ ๘. ผุสนกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ปัญจวิญญาณฐาน ๙. สัมปฏิจฉันนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า สัมปฏิจฉันนฐาน ๑๐. สันตีรณกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า สันตีรณฐาน ๑๑. โวฏฐัพพนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า โวฏฐัพพนฐาน ๑๒. ชวนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า ชวนฐาน ๑๓. ตทาลัมพนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า ตทาลัมพนฐาน ๑๔. จุติกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า จุติฐาน หน้าที่ของกิจ ๑. ปฏิสนธิกิจ ทำหน้าที่สืบต่อภพสืบต่อชาติ คือ ความเกิดขึ้นในภพใหม่ หมายเฉพาะขณะแรกที่เกิดใหม่ขณะเดียวเท่านั้น ฉะนั้นในภพหนึ่งชาติหนึ่ง จิตที่ทำ กิจปฏิสนธิจึงมีเพียงครั้งเดียว ขณะเดียวเท่านั้น ๒. ภวังคกิจ ทำหน้าที่เป็นองค์ของภพ ทำให้ตั้งอยู่ในภพนั้น ๆ เท่าที่อายุ สังขารจะพึงอยู่ได้ จิตทำภวังคกิจนี้ทำอยู่เสมอ น้อยบ้าง มากบ้าง นับประมาณไม่ได้ ๓. อาวัชชนกิจ ทำหน้าที่พิจารณาอารมณ์ที่มาถึงตน ทั้งทางปัญจทวาร และ มโนทวาร ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นเพียงขณะเดียว เป็นจิตนำวิถี เพราะเป็นจิตดวง แรกที่ขึ้นวิถีใหม่ในทุก ๆ วิถี ๔. ทัสสนกิจ ทำหน้าที่ เห็น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๕. สวนกิจ ทำหน้าที่ ได้ยิน ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๖. ฆายนกิจ ทำหน้าที่ ได้กลิ่น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๗. สายนกิจ ทำหน้าที่ รู้รส ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๘. ผุสนกิจ ทำหน้าที่ รู้สิ่งที่มากระทบกาย มีเย็น ร้อน อ่อนแข็ง เป็นต้น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว หน้า ๒๒ ๙. สัมปฏิจฉันนกิจ ทำหน้าที่รับอารมณ์ต่อจากทวิปัญจวิญญาณ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๑๐. สันตีรณกิจ ทำหน้าที่ไต่สวนอารมณ์ที่สัมปฏิจฉันนกิจส่งมาให้ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๑๑. โวฏฐัพพนกิจ ทำหน้าที่ตัดสินอารมณ์ กำหนดให้เป็นกุสล อกุสล หรือ กิริยา ในวิถีหนึ่ง ๆ ตามปกติก็เกิดขึ้นเพียงขณะเดียว แต่ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัด ตัดสิน ไม่ลง ก็อาจเกิด ๒ ขณะ ก็มี มากที่สุดเพียง ๓ ขณะ ๑๒. ชวนกิจ ทำหน้าที่เสพอารมณ์เป็น กุสล อกุสล หรือ กิริยา ตามที่ โวฏฐัพพนกิจได้ตัดสินและกำหนดมา ในวิถีหนึ่ง ๆ ตามปกติก็เกิดชวนะ ๗ ขณะ แต่ว่าที่เกิดน้อยกว่านี้ก็มี และที่เกิดมากมายจนประมาณไม่ได้ก็มีเหมือนกัน (เช่น เวลาเข้าฌานสมาบัติ) ๑๓. ตทาลัมพนกิจ ทำหน้าที่รับรู้อารมณ์ที่เหลือจากชวนกิจ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิด ขึ้น ๒ ขณะ ๑๔. จุติกิจ ทำหน้าที่เคลื่อนจากภพเก่า เป็นจิตสุดท้ายในภพนั้นชาตินั้น ในภพ หนึ่งชาติหนึ่ง จิตทำจุติกิจนี้เพียงครั้งเดียวขณะเดียวเท่านั้น จิตทำกิจ ๑. จิตทำ ปฏิสนธิกิจ มี ๑๙ ดวง คือ อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตวิบากจิต ๙ ๒. จิตทำ ภวังคกิจ มี ๑๙ ดวง คือ เท่ากันและเหมือนกันกับปฏิสนธิกิจ ๓. จิตทำ อาวัชชนกิจ มี ๒ ดวง คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ๔. จิตทำ ทัสสนกิจ มี ๒ ดวง คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ๕. จิตทำ สวนกิจ มี ๒ ดวง คือ โสตวิญญาณจิต ๒ ๖. จิตทำ ฆายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ฆานวิญญาณจิต ๒ ๗. จิตทำ สายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๘. จิตทำ ผุสนกิจ มี ๒ ดวง คือ กายวิญญาณจิต ๒ ๙. จิตทำ สัมปฏิจฉันนกิจ มี ๒ ดวง คือ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ หน้า ๒๓ ๑๐. จิตทำ สันตีรณกิจ มี ๓ ดวง คือ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ ๑๑. จิตทำ โวฏฐัพพนกิจ มี ๑ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ๑๒. จิตทำ ชวนกิจ มี ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ หสิตุปปาทจิต ๑ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ กามชวนะ ๒๙ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ อัปปนาชวนะ ๒๖ ๑๓. ตทาลัมพนกิจ มี ๑๑ ดวง คือ สันตีรณจิต ๓ มหาวิบากจิต ๘ ๑๔. จุติกิจ มี ๑๙ ดวง คือ เท่ากันและเหมือนกันกับปฏิสนธิกิจ ๘. อฏฺฐสฏฺฐี ตถา เทฺว จ นวาฏฺฐ เทฺว ยถากฺกมํ เอก ทฺวิ ติ จตุ ปญฺจ กิจฺจฏฺฐานานิ นิทฺทิเส ฯ แปลความว่า จิตทำกิจ ๑ มีฐาน ๑ นั้น มีอยู่ ๖๘ ดวง จิตทำกิจ ๒ มีฐาน ๒ นั้น มีอยู่ ๒ ดวง จิตทำกิจ ๓ มีฐาน ๓ นั้น มีอยู่ ๙ ดวง จิตทำกิจ ๔ มีฐาน ๔ นั้น มีอยู่ ๘ ดวง จิตทำกิจ ๕ มีฐาน ๕ นั้น มีอยู่ ๒ ดวง อธิบาย จิตที่ทำกิจ ๑ อย่าง และมีฐาน ๑ นั้น มีจำนวน ๖๘ ดวง คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ทัสสนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สวนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ฆายนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สายนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน หน้า ๒๔ กายวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ผุสนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ อาวัชชนกิจ อย่างเดียว ทำที่ อาวัชชนฐาน สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สัมปฏิจฉันนกิจ อย่างเดียว ทำที่ สัมปฏิจฉันนฐาน ชวนจิต ๕๕ ดวง ทำหน้าที่ ชวนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ชวนฐาน จิตที่ทำกิจ ๒ อย่าง และมีฐาน ๒ ฐานนั้น มี ๒ ดวง คือ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ สันตีรณกิจ ที่ สันตีรณฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ อาวัชชนกิจ ที่ อาวัชชนฐาน โวฏฐัพพนกิจ ที่ โวฏฐัพพนฐาน จิตที่ทำกิจ ๓ อย่าง และมี ฐาน ๓ ฐานนั้น มี ๙ ดวง คือ มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน จิตที่ทำกิจ ๔ อย่าง และมีฐาน ๔ ฐานนั้น มี ๘ ดวง คือ มหาวิบากจิต ๘ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน จิตที่ทำกิจ ๕ อย่าง และมีฐาน ๕ ฐานนั้น มี ๒ ดวง คือ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน สันตีรณกิจ ที่ สันตีรณฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน เจตสิกทำกิจ หน้า ๒๕ ๑. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๑ กิจ มี ๑๗ ดวง คือ อกุสลเจตสิก ๑๔ วีรตีเจตสิก ๓ ทำ ชวนกิจ อย่างเดียว ๒. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๔ กิจ มี ๒ ดวง คือ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ทำ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ชวนกิจ ๓. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๕ กิจ มี ๒๑ ดวง คือ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ปัญญาเจตสิก ๑ ฉันทเจตสิก ๑ ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๔. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๖ กิจ มี ๑ ดวง คือ ปีติเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ สันตีรณกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๕. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๗ กิจ มี ๑ ดวง คือ วิริยเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ อาวัชชนกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๖. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๙ กิจ มี ๓ ดวง คือ วิตกเจตสิก วิจารเจตสิก อธิโมกขเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ อาวัชชนกิจ สัมปฏิจฉันนกิจ สันตีรณกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๗. เจตสิกที่ทำหน้าที่หมดทั้ง ๑๔ กิจ มี ๗ ดวง คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวง ทำหน้าที่ทุกกิจ (ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ) ฐานของกิจอย่างพิสดาร ๒๕ ฐาน ได้แสดงมาแล้วว่า สถานที่ทำกิจของจิตนั้นได้ชื่อว่า ฐาน คือจิตทำปฏิสนธิกิจ ก็ทำที่ ปฏิสนธิฐาน เป็นต้น ไปถึงจิตที่ทำจุติกิจ ก็ทำที่ จุติฐาน เป็นที่สุด ซึ่งชื่อ ของกิจและชื่อของฐานนั้นก็ตรงกันเหมือนกัน เว้นแต่ ทัสสนกิจ สวนกิจ ฆายนกิจ สายนกิจ และผุสนกิจ รวม หน้า ๒๖ ๕ กิจนี้เท่านั้น ที่ทำกิจที่ปัญจวิญญาณฐาน ซึ่งชื่อของ กิจและชื่อของฐานไม่เหมือนกัน แต่ถ้าเรียกชื่อจิตที่ทำ ๕ กิจนั้นว่าปัญจวิญญาณจิต ทำกิจที่ ปัญจวิญญาณฐาน ชื่อของจิตกับชื่อของฐานก็เหมือนกันอีก ส่วนฐานของจิตอย่างพิสดารนี้เป็น ๒๕ ฐาน มุ่งหมายที่จะแสดงให้ทราบอีก นัยหนึ่งว่า ปฏิสนธิฐานนี้มีฐานอะไรเกิดมาก่อน จึงเกิดปฏิสนธิฐาน และเมื่อปฏิสนธิฐานผ่านพ้นไปแล้ว มีฐานอะไรเกิดติดตามมา หรือจิตที่ทำปฏิสนธิกิจนั้นมี จิตทำกิจอะไรเกิดมาก่อน จึงเกิดจิตที่ทำปฏิสนธิกิจขึ้น และเมื่อจิตที่ทำปฏิสนธิกิจ ดับไปแล้ว มีจิตทำกิจอะไรเกิดตามติดมาเป็นลำดับ อันเป็นการแสดงฐานตามนัย แห่ง วิถีจิต หรือแสดงฐานโดยอาศัยวิถีจิตเป็นหลักฐานจึงมากขึ้นเป็น ๒๕ ฐาน ฐานของกิจอย่างพิสดาร คือ ปฏิสนธิ มี ๑ ฐาน ภวังค มี ๖ ฐาน อาวัชชนะ มี ๒ ฐาน ปัญจวิญญาณ หมายถึง ปัญจวิญญาณ ๑ ฐาน สัมปฏิจฉันนะ ๑ ฐาน สันตีรณะ ๑ ฐาน โวฏฐัพพนะ ๒ ฐาน ชวน ๖ ฐาน ตทาลัมพนะ ๒ ฐาน และ จุติ ๓ ฐาน จึงรวมเป็น ๒๕ ฐาน ด้วยกัน มีรายละเอียดดังนี้ ๑. ปฏิสนธิ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง จุติ กับ ภวังค ๒. ภวังค มี ๖ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ปฏิสนธิ กับ อาวัชชนะ (๒) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ อาวัชชนะ (๓) ระหว่าง ชวนะ กับ อาวัชชนะ (๔) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ อาวัชชนะ (๕) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ จุติ (๖) ระหว่าง ชวนะ กับ จุติ ๓. อาวัชชนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ภวังค กับ ปัญจวิญญาณ (๒) ระหว่าง ภวังค กับ ชวนะ หน้า ๒๗ ๔. ปัญจวิญญาณ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง อาวัชชนะ กับ สัมปฏิจฉันนะ ๕. สัมปฏิจฉันนะ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง ปัญจวิญญาณ กับ สันตีรณะ ๖. สันตีรณะ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง สัมปฏิจฉันนะ กับ โวฏฐัพพนะ ๗. โวฏฐัพพนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง สันตีรณะ กับ ชวนะ (๒) ระหว่าง สันตีรณะ กับ ภวังค ๘. ชวนะ มี ๖ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ ตทาลัมพนะ (๒) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ ภวังค (๓) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ จุติ (๔) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ ตทาลัมพนะ (๕) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ ภวังค (๖) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ จุติ ๙. ตทาลัมพนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ชวนะ กับ ภวังค (๒) ระหว่าง ชวนะ กับ จุติ ๑๐. จุติ มี ๓ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ ปฏิสนธิ (๒) ระหว่าง ชวนะ กับ ปฏิสนธิ (๓) ระหว่าง ภวังค กับ ปฏิสนธิ ฐานพิสดาร ๒๕ ฐาน นี้ เมื่อได้ศึกษาถึงวิถีจิต ซึ่งเป็นปริจเฉทที่ ๔ แล้ว จะเข้าใจได้ดีขึ้น หมวดที่ ๔ ทวารสังคหะ ทวารสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องทวาร ทวาร แปลว่า ประตู คือ ทางเข้าออก ในที่นี้หมายถึง ทางที่จิตเจตสิกได้รับอารมณ์ หรือจิตเจตสิกได้รับ อารมณ์ทางนั้น ประตูนั้น ทวารนั้น เช่น จิตเจตสิกได้รับอารมณ์ทางตา ทางจักขุทวาร, ทางหู ทางโสตทวาร, ทางจมูก ฆานทวาร, ทางลิ้น ชิวหาทวาร เป็นต้น มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๙ แสดงว่า ๙. เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ปญฺจฉทฺวาริกานิ จ ฉทฺสาริกวิมุตฺตานิ วิมุตฺตานิ จ สพฺพถา ฯ แปลความว่า จิตอาศัยทวารเดียวก็มี อาศัย ๕ ทวารก็มี อาศัย ๖ ทวารก็มี บางทีอาศัย ทวารทั้ง ๖ บ้าง ไม่อาศัยบ้างก็มีและที่ไม่อาศัยเลยทั้ง ๖ ทวารก็มี มีอยู่ทุกประการ หน้า ๒๘ อธิบาย ที่ว่ามีอยู่ทุกประการนั้น รวมมีอยู่ด้วยกัน ๕ ประการ คือ ๑. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารเดียว เรียกว่า เอกทวาริกจิต ๒. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๕ เรียกว่า ปัญจทวาริกจิต ๓. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๖ เรียกว่า ฉทวาริกจิต ๔. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๖ บ้าง แต่บางทีก็เกิดพ้นทวาร คือไม่ต้อง อาศัยทวารบ้าง เรียก ฉทวาริกวิมุตตจิต ๕. จิตที่เกิด พ้นทวารแน่นอน คือ จิตนั้นเกิดโดยไม่ต้องอาศัยทวารทั้ง ๖ เลยทีเดียว เรียกว่า ทวารวิมุตตจิต ทวาร คือ ประตู หรือ ทาง ที่จิตเจตสิกอาศัยเป็นทางให้ได้รับอารมณ์ ซึ่งมีอยู่ ๖ ทวาร หรือ ๖ ทางด้วยกัน คือ ๑. จักขุทวาร คือ ทางตา องค์ธรรมได้แก่ จักขุปสาทรูป ๒. โสตทวาร คือ ทางหู องค์ธรรมได้แก่ โสตปสาทรูป ๓. ฆานทวาร คือ ทางจมูก องค์ธรรมได้แก่ ฆานปสาทรูป ๔. ชิวหาทวาร คือ ทางลิ้น องค์ธรรมได้แก่ ชิวหาปสาทรูป ๕. กายทวาร คือ ทางกาย องค์ธรรมได้แก่ กายปสาทรูป ๖. มโนทวาร คือ ทางใจ องค์ธรรมได้แก่ ภวังคจิต ตั้งแต่เลข ๑ ถึง ๕ รวม ๕ ทวารนี้เรียกว่า ปัญจทวาร องค์ธรรมได้แก่ ปสาทรูปทั้ง ๕ เป็นรูปทวาร เป็นทางให้ทวิปัญจวิญญาณเกิดขึ้นรับรู้อารมณ์ ทั้ง ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส การสัมผัสถูกต้อง และเป็นทางให้เกิดวิถีจิต ทางปัญจทวารอีกด้วย เฉพาะเลข ๖ มโนทวาร องค์ธรรมได้แก่ ภวังคจิตนั้น เป็นนามทวาร ภวังค จิตนี้เป็นเหตุแห่งความเกิดขึ้นของจิตทั้งปวงและเป็นทางให้เกิดวิถีจิตทางมโนทวาร อีกด้วย ทวารทั้ง ๖ นี้เป็น รูปธรรม ๕ ทวาร เป็น นามธรรม เพียงทวารเดียว และทวารใดมีจิตอาศัยเป็นทางให้เกิดได้เป็นจำนวนเท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๑๐ ว่า ๑๐. ฉตฺตีสติ ตถา ตีณิ เอกตฺตีส ยถากฺกมํ ทสธา นวธาเจติ ปญฺจธา ปริทีปเย ฯ แปลความว่า พึงกำหนดจำนวนจิตเหล่านั้น ๕ ประเภทตามลำดับ คือ หน้า ๒๙ เอกทวาริกจิต มี ๓๖ ดวง ปัญจทวาริกจิต มี ๓ ดวง ฉทวาริกจิต มี ๓๑ ดวง ฉทวาริกวิมุตตจิต มี ๑๐ ดวง ทวารวิมุตตจิต มี ๙ ดวง อธิบาย ๑. เอกทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารเดียว มีจำนวน ๓๖ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อัปปนาชวนะ ๒๖ ๒. ปัญจทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทางทวารทั้ง ๕ (ปัญจทวาร) มี ๓ ดวง ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ รวมเรียก มโนธาตุ ๓. ฉทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทางทวารทั้ง ๖ มี ๓๑ ดวง ได้แก่ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ๔. ฉทวาริกวิมุตตจิต บ้างก็เรียกว่า ฉทวาริกทวารวิมุตตจิต จิตที่บางทีก็ อาศัยทวารทั้ง ๖ เกิด และบางทีก็ไม่อาศัยทวารทั้ง ๖ เกิด มี ๑๐ ดวง ได้แก่ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ เมื่ออุเบกขา สันตีรณจิต ๒ ดวงนี้ ทำหน้าที่ สันตีรณกิจ หรือ ตทาลัมพน กิจก็ดี มหาวิบากจิต ๘ ดวง ทำหน้าที่ ตทาลัมพนกิจก็ดี ก็ต้องอาศัยทวารเป็นทางเกิด แต่ถ้าจิต ๑๐ ดวงนี้ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ๓ อย่างนี้ ก็ไม่ต้องอาศัยทวารเลย ๕. ทวารวิมุตตจิต จิตที่เกิดพ้นจากทวารทั้ง ๖ คือ จิตที่เกิดโดยไม่ต้องอาศัย ทวารทั้ง ๖ เลย มี ๙ ดวง ได้แก่ มหัคคตวิบากจิต ๙ ที่กล่าวมาแล้วข้างบนนี้ เป็นการแสดงจำนวนจิตที่ต้องอาศัยทวาร หรือไม่ต้อง อาศัยทวารโดยแน่นอน (เอกันตะ) แต่อย่างเดียว หน้า ๓๐ ต่อไปนี้ จะแสดงรายละเอียดของจำนวนจิตที่เกิดได้แต่ละทวาร ทั้งที่ แน่นอน (เอกันตะ) และที่ ไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ด้วย ๑. จิตที่เกิดได้ทาง จักขุทวาร เรียกว่า จักขุทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๒. จิตที่เกิดได้ทาง โสตทวาร เรียกว่า โสตทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๓. จิตที่เกิดได้ทาง ฆานทวาร เรียกว่า ฆานทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๔. จิตที่เกิดได้ทาง ชิวหาทวาร เรียกว่า ชิวหาทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๕. จิตที่เกิดได้ทาง กายทวาร เรียกว่า กายทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๖. จิตที่เกิดได้ทาง มโนทวาร เรียกว่า มโนทวาริกจิต มี ๖๗ ดวง ๗. จิตที่เกิดได้ทาง ทวารเดียว เรียกว่า เอกทวาริกจิต มี ๘๐ ดวง ๘. จิตที่เกิดได้ทาง ทวาร ๕ เรียกว่า ปัญจทวาริกจิต มี ๔๔ ดวง ๙. จิตที่เกิดได้ทาง ทวาร ๖ เรียกว่า ฉทวาริกจิต มี ๔๑ ดวง ๑๐. จิตที่เกิดพ้นจากทวารทั้ง ๖ เรียกว่า ทวารวิมุตตจิต มี ๑๙ ดวง เฉพาะ จักขุทวาริกจิต และโสตทวาริกจิต สองประเภทนี้เท่านั้น ถ้านับอภิญญา จิต ๒ ดวง คือ ทิพพจักขุญาณที่เป็นกุสล ๑ กิริยา ๑ รวมเข้าด้วย จักขุทวาริกจิตก็ มี ๔๘ ดวง และนับทิพพโสตญาณที่เป็นกุสล ๑ กิริยา ๑ รวมเข้าด้วย โสตทวาริกจิต ก็มี ๔๘ ดวง ๑. จักขุทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ จักขุวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๒. โสตทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ โสตวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๓. ฆานทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ฆานวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๔. ชิวหาทวาริกจิต แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๕. กายทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ กายวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ เฉพาะ อภิญญาจิต ๒ ดวง ถ้าจะนับรวมเข้ากับ จักขุทวาริกจิต โสตทวาริกจิต ด้วยดังที่กล่าวแล้วข้างต้นนั้น ก็จัดอยู่ในประเภทอเนกันตะ ไม่แน่นอน เพราะบางที ก็เกิด บางทีก็ไม่เกิด ๖. มโนทวาริกจิต มี ๖๗ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒๖ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๑ ดวง ได้แก่ อัปปนาชวนจิต ๒๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๗. เอกทวาริกจิต มี ๘๐ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓๖ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓ อัปปนาชวนจิต ๒๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๘. ปัญจทวาริกจิต มี ๔๔ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ๔๑ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๙. ฉทวาริกจิต มี ๔๑ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓๑ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๑๐ ดวง ได้แก่ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหาวิบากจิต ๘ กามชวนกิจ ๒๙ หน้า ๓๒ ๑๐. ทวารวิมุตตจิต มี ๑๙ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๙ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๑๐ ดวง ได้แก่ มหัคคตวิบากจิต ๙ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ เจตสิก กับ ทวาร ๑. วิรตีเจตสิก ๓ ดวง เมื่อประกอบกับโลกุตตรจิต ย่อมเกิดเฉพาะทางมโน ทวารทางเดียว ๒. อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง ที่ประกอบกับมหัคคตจิต ก็ย่อมเกิดเฉพาะทาง มโนทวาร ทางเดียวเหมือนกัน ๓. เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง ที่ประกอบกับจิต ๘๐ ดวง (เว้นมหัคคตวิบากจิต ๙) เกิดได้ในทวารทั้ง ๖ ทั้งที่แน่นอน (เอกันตะ) และไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ด้วย ๔. เจตสิก ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ ดวง (เว้นวิรตี ๓) ที่ประกอบกับมหัคคตวิบากจิตนั้น เป็นเจตสิกที่พ้นทวาร ที่กล่าวมาสั้น ๆ เพียงเท่านี้ ก็เพราะมีหลักอันเป็นข้อกำหนดที่ควรจะทราบอยู่ ว่า เจตสิกประกอบกับจิตใด ก็มีฐานะเช่นเดียวกับจิตนั้น ดังนั้น จิตอาศัยทวารใด เป็นทางเกิด เจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้น ก็อาศัยทวารนั้นเป็นทางเกิดเช่นเดียวกัน หมวดที่ ๕ อารัมมณสังคหะ อารัมมณสังคหะ คือ การรวบรวมกล่าวเรื่องอารมณ์ คำว่า อารัมมณะ นี้บางทีเรียกว่า อารัมพนะ มีความหมายอย่างเดียวกัน อารมณ์ คือ ธรรมชาติอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก " สภาวะที่สามารถยังให้จิตและเจตสิกธรรมข้องได้นั้น ชื่อว่า อารมณ์ " อารมณ์ มี ๖ ประเภท จิตจะต้องมีอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวอย่างแน่นอน จิตที่ไม่มีอารมณ์ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนั้นไม่มีเลย หน้า ๓๓ อารมณ์ในสังคหะนี้มี ๖ ประเภท อันเป็นการจำแนกตามความสามารถแห่ง ทวารที่จะพึงรับอารมณ์นั้น ๆ ได้ คือ ๑. รูปารมณ์ แปลว่า รูปเป็นอารมณ์ ได้แก่ วัณณะ (สี) เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางตา ๒. สัททารมณ์ แปลว่า เสียงเป็นอารมณ์ ได้แก่ สัททะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางหู ๓. คันธารมณ์ แปลว่า กลิ่นเป็นอารมณ์ ได้แก่ คันธะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางจมูก ๔. รสารมณ์ แปลว่า รสเป็นอารมณ์ ได้แก่ รสะ คือ อมฺพิล รสเปรี้ยว, มธุร รสหวาน, โลณิก รสเค็ม, กฎก รสเผ็ด, ติตฺต รสขม และ กสาว รสฝาด รวมทั้งหมด ๖ รสเท่านี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางลิ้น ๕. โผฏฐัพพารมณ์ แปลว่า การสัมผัสถูกต้องกาย เป็นอารมณ์ ได้แก่ ปฐวี ความแข็ง ความอ่อน, เตโช ความร้อน ความเย็น, วาโย ความหย่อน ความเคร่ง ตึง เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางกาย ทั้ง ๕ อารมณ์นี้ รวมเรียกว่า ปัญจารมณ์ ๖. ธัมมารมณ์ แปลว่า สภาพธรรมที่สาธารณแก่ใจเป็นอารมณ์ ได้แก่ สภาว ธรรม ๖ ประการ คือ ปสาทรูป ๕, สุขุมรูป ๑๖, จิต ๘๙, เจตสิก ๕๒, นิพพาน และ บัญญัติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางใจ (ทางมโน) รวมอารมณ์ทั้ง ๖ นี้เรียกว่า ฉอารมณ์ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ และโผฏฐัพพารมณ์ อันรวมเรียกว่า ปัญจารมณ์ หรือ อารมณ์ทั้ง ๕ นี้เป็น รูปธรรม ส่วน ธัมมารมณ์ นั้น จิต เจตสิก และนิพพาน เป็น นามธรรม ปสาทรูป ๕ และสุขุมรูป ๑๖ เป็น รูปธรรม เฉพาะบัญญัติ นั้น ไม่ใช่รูปธรรม และไม่ใช่นาม ธรรมด้วย แต่เป็น บัญญัติธรรม หน้า ๓๔ อารมณ์ ๖ จำแนกเป็น ๔ นัย อารมณ์ทั้ง ๖ คือ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ และ ธัมมารมณ์ นี้ จำแนกได้เป็น ๔ นัย คือ ๑. กามอารมณ์ ๒. มหัคคตอารมณ์ ๓. บัญญัติอารมณ์ ๔. โลกุตตรอารมณ์ นัยที่ ๑ กามอารมณ์ บ้างก็เรียก กามารมณ์ องค์ธรรม ได้แก่ กามจิต ๕๔, เจตสิก ๕๒, รูป ๒๘ หมายความว่า เมื่อจิตยึดหน่วงเอากามจิต ๕๔ ดวงนั้น ดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี หรือยึดหน่วงเอารูป ๒๘ นั้นรูปใดรูปหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ก็ได้ชื่อว่า จิตนั้นยึดหน่วงกามอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น กามธรรม นัยที่ ๒ มหัคคตอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ มหัคคตจิต ๒๗ เจตสิก ๓๕ หมายความว่า เมื่อจิตยึดหน่วงเอามหัคคตจิต ๒๗ นั้นดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นยึดหน่วงมหัคคตอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น มหัคคตธรรม กามอารมณ์ มหัคคตอารมณ์ เป็น โลกียอารมณ์ เพราะองค์ธรรมของ อารมณ์ทั้ง ๒ นี้ เป็นโลกียธรรมทั้งนั้น เมื่อจิตยึดหน่วงเอาโลกียธรรมเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นมีอารมณ์เป็นโลกีย นัยที่ ๓ บัญญัติอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ บัญญัติธรรม ๒ ประการ คือ อัตถบัญญัติ และ สัททบัญญัติ อัตถบัญญัติ ได้แก่ การสมมติขึ้นเพื่อให้รู้เนื้อความ หรือความหมายแห่ง รูปร่าง สัณฐาน หรือลักษณะอาการของชื่อนั้น ๆ เช่น ภูเขา ต้นไม้ บ้านเรือน เดิน วิ่ง เป็นต้น สัททบัญญัติ ได้แก่ รู้จักเสียงที่เรียกชื่อนั้น ๆ คือ รู้ด้วยเสียงที่หมายถึง อัตถบัญญัตินั้น ๆ เช่น ในขณะที่ไม่ได้เห็นภูเขา ไม่ได้เห็นต้นไม้ แต่เมื่ออกเสียง พูดว่าภูเขา พูดว่าต้นไม้ ก็รู้และเข้าใจได้ว่า ภูเขา ต้นไม้ มีรูปร่างสัณฐานเป็น อย่างนั้น ๆ หรือไม่ได้เห็นขณะที่เดิน ขณะที่วิ่ง แต่เมื่ออกเสียงพูดว่า เดิน วิ่ง ก็รู้และเข้าใจได้ว่า เดิน วิ่ง มีอาการอย่างนั้น ๆ เช่นนี้เป็นต้น เมื่อจิตยึดหน่วงเอาบัญญัติอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นยึด หน่วงบัญญัติเป็นอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็นบัญญัติธรรม หน้า ๓๕ นัยที่ ๔ โลกุตตรอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ และ เจตสิก ๓๖ และ นิพพาน เมื่อจิตยึดหน่วงเอามัคคจิตดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ยึด หน่วงเอาผลจิตดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ยึดหน่วงพระนิพพานเป็นอารมณ์ก็ดีก็ได้ชื่อว่า จิตนั้นยึดหน่วงโลกุตตรอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น โลกุตตรธรรม จิตใดยึดหน่วงอารมณ์อะไร ขอกล่าวย้ำอีกครั้งหนึ่งว่า จิตต้องมีอารมณ์ ขึ้นชื่อว่าจิตแล้วจะไม่ยึดหน่วง อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งนั้นไม่มีเลย แต่ว่า จิตใดยึดหน่วง หรือข้องอยู่ในอารมณ์ใด บ้างนั้น มีคาถาสังคหะ อันเป็นคาถาที่ ๑๑ และ ๑๒ แสดงไว้ว่า ๑๑. ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเต เอกวีสติ โวหาเร อฏฺฐ นิพฺพานโคจเร ฯ ๑๒. วีสานุตฺตร มุตฺตมฺหิ อคฺค มคฺค ผลุชฺฌิเต ปญฺจ สพฺพตฺถ ฉจฺเจติ สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโหฯ แปลความว่า จิต ๒๕ ดวง ยึดหน่วง กามอารมณ์ จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ จิต ๒๑ ดวง ยึดหน่วง บัญญัติอารมณ์ จิต ๘ ดวง ยึดหน่วง นิพพานอารมณ์ จิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจาก โลกุตตร จิต ๕ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจาก อรหัตตมัคค อรหัตตผล จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ได้ทั้งหมดทั้งสิ้น อธิบาย ๑. จิต ๒๕ ดวง ยึดหน่วง กามอารมณ์ นั้น คือ ก. จิต ๑๐ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ยึดหน่วงปัญจารมณ์ โดยเฉพาะๆ ที่เป็นปัจจุบัน ข. จิต ๓ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ ยึดหน่วงปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน หน้า ๓๖ ค. จิต ๑๒ ดวง ได้แก่ ตทาลัมพน ๑๑ หสิตุปปาท ๑ ยึดหน่วงอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม ๒. จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ นั้น คือ ก. วิญญาณัญจายตนจิต ๓ ดวง มี อากาสานัญจายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ ข. เนวสัญญานาสัญญายตนจิต ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ ๓. จิต ๒๑ ดวง ยึดหน่วง บัญญัติอารมณ์ นั้น คือ ก. รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีบัญญัติเป็นอารมณ์ ข. อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติเป็นอารมณ์ ค. อากิญจัญญายตนจิต ๓ ดวง มีนัตถิภาวบัญญัติ เป็นอารมณ์ ๔. จิต ๘ ดวง ยึดหน่วง นิพพานอารมณ์ นั้น คือ โลกุตตรจิต ๘ ดวง ได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ แต่อย่างเดียว ๕. จิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจากโลกุตตรนั้น คือ ก. อกุสลจิต ๑๒ ดวง ข. มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ ดวง ค. มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นโลกีย และบัญญัติ คือ มีกามอารมณ์ มหัคคตอารมณ์ บัญญัติอารมณ์ได้(เว้นโลกุตตรอารมณ์) ๖. จิต ๕ ดวงยึดหน่วงอารมณ์ที่เว้นจากอรหัตตมัคค อรหัตตผล คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ดวง ข. อภิญญากุสล ๑ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นโลกีย บัญญัติ และ โลกุตตรได้(เว้นเฉพาะอรหัตตมัคคอรหัตตผล) ๗. จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ได้ทั้งหมดนั้น คือ ก. มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ดวง ค. อภิญญา กิริยา ๑ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย บัญญัติ และ โลกุตตรได้ทั้งหมด ไม่มีเว้นเลย หน้า ๓๗ ขยายความ ๑. กามอารมณ์ ในข้อ ๑ ก. ที่ว่าจิต ๑๐ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มี ปัญจารมณ์ โดยเฉพาะ ๆ ที่เป็นปัจจุบันอย่างเดียวนั้น คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ รูปารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ สัททารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ คันธารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ รสารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ กายวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ โผฏฐัพพารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ในข้อ ๑ ข. ที่ว่าจิต ๓ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มีปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นอารมณ์นั้น คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวงนี้ จิตแต่ละดวงก็มี รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ หรือ โผฏฐัพพารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ก็ได้ ไม่จำกัดเป็นเฉพาะอย่างเหมือนในข้อ ๑ ก. แต่ข้อสำคัญอารมณ์ นั้นจะต้องเป็นปัจจุบันด้วย ในข้อ ๑ ค. ที่ว่าจิต ๑๒ ดวง ได้แก่ ตทาลัมพนจิต ๑๑ หสิตุปปาทจิต ๑ มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นกามธรรมนั้น คือ จิต ๑๒ ดวงที่ว่านี้มีอารมณ์ ๖ อย่างใดอย่างหนึ่งเฉพาะที่เป็นกามธรรมเป็น อารมณ์ได้ และอารมณ์นั้นจะเป็นปัจจุบัน หรืออดีต หรืออนาคตก็ได้ ไม่จำกัดว่า จะต้องเป็นปัจจุบันอย่างเดียว เหมือนข้อ ๑ ก. และข้อ ๑ ข. ในข้อ ๑ นี้ รวมจิตได้ ๒๕ ดวง แม้จะมีอารมณ์ต่างกันก็จริง แต่ว่าอารมณ์ เหล่านั้นล้วนแต่เป็นกามธรรมทั้งนั้น เมื่อจิตทั้ง ๒๕ ดวงนี้ต่างก็มีกามธรรมเป็น อารมณ์ จึงได้ชื่อว่า จิต ๒๕ ดวงยึดหน่วง กามอารมณ์ ๒. มหัคคตอารมณ์ ในข้อ ๒ ก. วิญญาณัญจายตนจิต ๓ ดวง มี อากาสานัญจายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ นั้น คือ (๑) เบื้องต้นต้องเข้าใจเสียก่อนว่า ผู้ที่ได้อากาสานัญจายตนฌานแล้ว เจริญสมถภาวนาต่อ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิญญาณัญจายตนฌานก็ดี หน้า ๓๘ หรือผู้ที่ได้วิญญาณัญจาย ตนฌานแล้ว จะเข้าวิญญาณัญจายตนฌานอีกครั้งใดเมื่อใดก็ดี จะต้องมีอากาสานัญ จายตนกุสลจิต หรือกิริยาจิตที่เคยเกิดแล้วแก่ตนนั้น เป็นอารมณ์เสมอไปอย่าง แน่นอน (จะใช้อารมณ์อย่างอื่นใด หาได้ไม่) วิญญาณัญจายตนฌานจึงจะเกิดขึ้นได้ (๒) ติเหตุกปุถุชนก็ดี ผลเสกขบุคคลก็ดี ผู้เป็นวิญญาณัญจายตนฌานลาภี บุคคลเข้าฌาน เพื่อให้ วิญญาณัญจายตนกุสลเกิด ก็มีอากาสานัญจายตนกุสล ที่เคย เกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๓) เมื่อบุคคลใน (๒) ตายไป ก็ไปบังเกิดเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ปฏิสนธิด้วยวิญญาณัญจายตนวิบากจิต สถิตในวิญญาณัญจายตนภูมิ วิญญาณัญจายตนวิบากจิตที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนี้ ก็มีอากาสานัญจายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ ตนในภพก่อนนั้นเป็นอารมณ์ ตลอดจนวิญญาณัญจายตนวิบาก ที่ทำหน้าที่ภวังคกิจ และจะทำหน้าที่จุติกิจ ต่อไปนั้น ก็มีอากาสานัญจายตนกุสล ที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน (๔) เมื่อบุคคลใน (๒) ยังไม่ตาย เจริญวิปัสสนาภาวนาต่อไปจนบรรลุ อรหัตตมัคค อรหัตตผล เป็นอเสกขบุคคล คือเป็นพระอรหันต์แล้ว เข้าวิญญาณัญ จายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌานที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นวิญญาณัญจายตนกิริยา (ไม่ ใช่กุสลเพราะขณะนี้เป็นพระอรหันต์แล้ว) วิญญาณัญจายตนกิริยานี่แหละมีอากาสา นัญจายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๕) พระอรหันต์ผู้เป็นฌานลาภีบุคคล เข้าอากาสานัญจายตนฌาน เมื่อ อากาสานัญจายตนฌานเกิด ก็เป็นกิริยาจิต แล้วเข้าวิญญาณัญจายตนฌานต่อไป ฉะนั้น วิญญาณัญจายตนกิริยาจิตที่เกิดขึ้นนี้โดยมีอากาสานัญจายตนกิริยาจิต ที่เคย เกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ ความในข้อ ๒ ก. นี้ สรุปได้ว่า วิญญาณัญจายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากาสานัญจายตนกุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดมาแล้ว แก่ตนในภพนี้ หรือภพก่อนเป็นอารมณ์ ในข้อ ๒ ข. ที่ว่า เนวสัญญานาสัญญายตนจิต ๓ ดวง มี อากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์นั้น คือ หน้า ๓๙ เนวสัญญานาสัญญายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดแล้วแก่ตน ในภพนี้ หรือภพก่อน เป็นอารมณ์ (๑) ผู้ที่ได้อากิญจัญญายตนฌานแล้ว เจริญสมถภาวนต่อเพื่อให้ได้มาซึ่ง เนว สัญญานาสัญญายตนฌานก็ดี หรือผู้ที่ได้เนวสัญญานาสัญญายตนฌานแล้ว จะเข้า เนวสัญญานาสัญญายตนฌานอีกครั้งใดเมื่อใดก็ดี จะต้องมีอากิญจัญญายตนกุสลจิตหรือกิริยาจิตที่เคยเกิดแล้วแก่ตนนั้นเป็นอารมณ์ (๒) ติเหตุกปุถุชนก็ดี ผลเสกขบุคคลก็ดี ผู้เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ลาภีบุคคลเข้าฌาน เพื่อให้เนวสัญญานาสัญญายตนกุสลเกิด ก็มีอากิญจัญญายตน กุสล ที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๓) เมื่อบุคคลใน (๒) ตายไป ก็ไปบังเกิดเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ปฏิสนธิด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิต สถิตในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิตที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนี้ ก็มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนนั้นเป็นอารมณ์ ตลอดจนเนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ที่ทำหน้าที่ภวังคกิจ และจะทำหน้าที่จุติกิจต่อไปนั้น ก็มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน (๔) เมื่อบุคคลใน (๒) ยังไม่ตาย เจริญวิปัสสนาภาวนาต่อไปจนบรรลุ อรหัตตมัคค อรหัตตผล เป็นอเสกขบุคคล คือเป็นพระอรหันต์แล้ว เข้าเนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌานที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นเนวสัญญานา สัญญายตนกิริยา (ไม่ใช่กุสล เพราะขณะนี้เป็นพระอรหันต์แล้ว) เนวสัญญา นาสัญญายตนกิริยานี่แหละ มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็น อารมณ์ (๕) พระอรหันต์ผู้เป็นฌานลาภีบุคคล เข้าอากิญจัญญายตนฌาน เมื่ออากิญ จัญญายตนฌานเกิด ก็เป็นกิริยาจิต แล้วเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนฌานต่อไป ฉะนั้นเนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิตที่เกิดขึ้นนี้โดยมีอากิญจัญญายตนกิริยาจิตที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ ความในข้อ ๒ ข. นี้ สรุปได้ว่า เนวสัญญานาสัญญายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตนกุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ ตนในภพนี้หรือภพก่อนเป็นอารมณ์ ในข้อ ๒ นี้ รวมจิตได้ ๖ ดวง มีมหัคคตจิต (๔ ดวง) เป็นอารมณ์ จึงได้ชื่อ ว่าจิต ๖ ดวงยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ ๓. บัญญัติอารมณ์ ในข้อ ๓ ก. ที่ว่า รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีบัญญัติเป็นอารมณ์ นั้น คือ รูปาวจรจิต เป็นจิตที่เกิดจากการเพ่งกัมมัฏฐาน ๒๖ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ ตามวิธีการจนเกิดฌานจิต กัมมัฏฐานทั้ง ๒๖ อย่างนั้นล้วนแต่เป็น บัญญัติทั้งสิ้น จึงได้ชื่อว่า รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติกัมมัฏฐาน ๒๖ อย่างนั้น ได้แก่ กสิณ ๑๐, อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑, อานาปาณสติ ๑ และ พรหมวิหาร ๔ ในข้อ ๓ ข. ที่ว่า อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ เป็นอารมณ์นั้น คือ กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ หมายถึง ความว่างเปล่า จากที่ได้เพิกกสิณแล้ว ความว่างเปล่านี้แหละเป็นบัญญัติ เมื่อหน่วงเอาความว่างเปล่าซึ่งเป็นบัญญัติเป็น อารมณ์ จึงได้ชื่อว่า อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติ ในข้อ ๓ ค. ที่ว่าอากิญจัญญายตนจิต ๓ ดวง มีนัตถิภาวบัญญัติเป็นอารมณ์ นั้น คือ นัตถิภาวบัญญัติ หมายถึง ความไม่มี นิดหนึ่งก็ไม่มี หน่อยหนึ่งก็ไม่มี อะไร ๆ ก็ไม่มี เอาบัญญัติที่สมมติว่าไม่มีอะไร นี่แหละเป็นอารมณ์ จึงได้ชื่อว่า อากิญจัญญา ยตนจิต ๓ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติ ความในข้อ ๓ นี้ รวมจิตได้ ๒๑ ดวง ล้วนแต่มีบัญญัติธรรมเป็น อารมณ์ทั้งนั้น จึงได้ชื่อว่าจิต ๒๑ ดวงนี้ ยึดหน่วงอารมณ์ที่เป็นบัญญัติ หน้า ๔๐ ๔. นิพพานอารมณ์ ในข้อ ๔ ที่ว่า โลกุตตรจิต ๘ ดวง ได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ มีนิพพานเป็น อารมณ์ แต่อย่างเดียวนั้น นิพพาน หมายถึง ความสิ้นไปแห่งตัณหาอันเป็นเครื่องร้อยรัดไว้ไม่ให้พ้นไป จากวัฏฏะ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ เป็นจิตที่ตัดวัฏฏะ ตัดเครื่องร้อยรัด เพื่อให้พ้น จากความเวียนว่ายตายเกิด ดังนั้น มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ จึงต้องมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว จะมีอารมณ์อย่างอื่นหาได้ไม่ เหตุนี้จึงได้ชื่อว่า โลกุตตรจิต ๘ ดวง ยึดหน่วงพระนิพพานอารมณ์ กาลวิมุตตอารมณ์ ทั้ง ๔ ข้อที่กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้ว่า ข้อ ๑ มีกามอารมณ์ทั้งที่เป็นปัจจุบัน อดีต อนาคต ได้ คือ มีกามอารมณ์ในกาลทั้ง ๓ ได้ ข้อ ๒ มีมหัคคตอารมณ์เฉพาะที่เป็นอดีตแต่อย่างเดียว จะมีมหัคคตธรรมที่ เป็นปัจจุบันหรืออนาคตเป็นอารมณ์หาได้ไม่ ส่วนข้อ ๓ มีบัญญัติเป็นอารมณ์ และข้อ ๔ มีนิพพานเป็นอารมณ์นั้น ไม่ได้ แสดงว่า บัญญัติ หรือ นิพพาน นั้นเป็น ปัจจุบัน หรืออดีต อนาคต แต่อย่างใดเลย ทั้งนี้เพราะบัญญัติและนิพพานเป็นธรรมที่ไม่มีกาลทั้ง ๓ พ้นจาก กาลทั้ง ๓ อัน เรียกว่า กาลวิมุตต ธรรมที่มีกาลทั้ง ๓ คือ ปัจจุบัน อดีต อนาคต ได้นั้น ต้องเป็นธรรมที่ไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงได้ กล่าวคือ มีการเกิดขึ้น มีการดำรงคงอยู่ แล้วก็ มีการดับไป ธรรมใดที่ดับไปแล้วนั้นเป็นอดีต คือล่วงเลยไปแล้ว, ธรรมใดที่ยังดำรงคงอยู่นั้น เป็นปัจจุบัน คือกำลังมีอยู่ และธรรมใดที่จะเกิดขึ้นอีกต่อไปนั้นเป็นอนาคต คือจะมี มาในภายหน้า บัญญัติธรรม เป็นธรรมที่ไม่มีสภาวะ จึงไม่มีสภาพที่จะมีความเปลี่ยนแปลง แปรผัน เพราะไม่มีความเที่ยงหรือไม่เที่ยง ทั้งไม่มีการเกิดการดับ อันเป็น สัญญลักษณ์แห่งการเปลี่ยนแปร และแห่งความไม่เที่ยงนั้นด้วย จึงไม่เข้าอยู่ในกาลทั้ง ๓ เพราะไม่มีอดีต ปัจจุบัน และอนาคต บัญญัติจึงเป็นกาลวิมุตต คือพ้นจาก กาลทั้ง ๓ ไม่มีกาลทั้ง ๓ นิพพาน เป็นธรรมที่มีสภาวะ มีสภาพเป็นของเที่ยงถาวร ไม่มีความ เปลี่ยนแปลงแปรผัน เป็นไม่เที่ยง และไม่มีการเกิดดับเพราะเป็นสิ่งที่เที่ยงอยู่เสมอ จึงไม่เข้าอยู่ในกาลทั้ง ๓ เพราะไม่มี อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ดังนั้น นิพพานจึงเป็นกาลวิมุตต คือ พ้นจากกาลทั้ง ๓ ไม่มีกาลทั้ง ๓ รวมความว่า ธรรมที่เป็นกาลวิมุตต หรืออารมณ์ที่เป็นกาลวิมุตตนั้น มีเพียง ๑ คือ บัญญัติ และ นิพพาน จำนวนจิตที่กล่าวแล้วทั้ง ๔ ข้อ รวมได้ ๖๐ ดวง คือ จิตที่รับ กามอารมณ์ ได้นั้นมี ๒๕ ดวง จิตที่รับ มหัคคตอารมณ์ ได้นั้นมี ๖ ดวง จิตที่รับ บัญญัติอารมณ์ ได้นั้นมี ๒๑ ดวง จิตที่รับ นิพพานอารมณ์ ได้นั้นมี ๘ ดวง ล้วนแต่เป็นจิตที่มีอารมณ์ดังกล่าวแล้วนั้นแน่นอน อย่างที่เรียกว่าเป็น เอกันตะ จิตทั้งหมด ๘๙ ดวง มีอารมณ์ที่แน่นอนดังกล่าวแล้ว ๖๐ ดวง คงเหลืออีก ๒๙ ดวง เป็นจิตที่มีอารมณ์ได้หลาย อย่างทั่ว ๆ ไป ที่เรียกว่า สัพพารมณ์ สัพพารมณ์ ส่วนที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นจำนวนจิต ๒๙ ดวง และนับอภิญญาจิตกุสล ๑ กิริยา ๑ รวม ๒ ดวงนั้น รวมเข้าไปอีกด้วย จึงเป็นจิต ๓๑ ดวง ในจำนวนจิต ๓๑ ดวงนี้เป็นจิตที่มีอารมณ์ได้หลายอย่าง หลายกาล ตลอดจนกาลวิมุตตด้วย จึงเรียกว่า สัพพารมณ์ ในข้อ ๕ ที่ว่าจิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วงอารมณ์ที่พ้นจากโลกุตตรนั้น คือ อกุสลจิต ๑๒ มหากุสลญาณวิปปยุตตจิต ๔ และมหากิริยาญาณวิปปยุตตจิต ๔ นี้ มีอารมณ์ทั้ง ๖ อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ได้ทั้งที่เป็นโลกียและบัญญัติ คือ มีกาม อารมณ์ก็ได้มีมหัคคตอารมณ์ก็ได้ หรือมีบัญญัติอารมณ์ก็ได้ทั้งนั้น เว้นแต่โลกุตตร อารมณ์ เพราะว่า อกุสลจิต ๑๒ เป็นจิตที่ชั่ว ที่หยาบ ที่บาป จึงไม่สามารถที่จะมีโลกุตตรธรรม คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ นิพพาน ๑ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ได้ เพราะ โลกุตตรธรรมทั้ง ๙ นี้ เป็นธรรมที่ดี ที่ประณีต ที่สุขุม ที่ประเสริฐ แม้มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔, มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ ก็ไม่สามารถรับ โลกุตตรอารมณ์ได้ เพราะจิต ๘ ดวงนี้ เป็นจิตที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา เป็นจิตที่ ไม่ได้ใช้ปัญญาประกอบ จิตที่จะรับโลกุตตรธรรมเป็นอารมณ์ได้นั้น จะต้องเป็นจิต ที่ประกอบด้วยปัญญา เป็นจิตที่ใช้ปัญญาประกอบด้วยเสมอไป หน้า ๔๒ ในข้อ ๖ ที่ว่าจิต ๕ ดวงยึดหน่วงอารมณ์ที่เว้นจากอรหัตตมัคค อรหัตตผลนั้น มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ก็ดี อภิญญากุสล ๑ ก็ดี รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย และบัญญัติ ตลอดจนโลกุตตรอารมณ์ก็ได้ เว้นแต่จะรับอรหัตตมัคค อรหัตตผล มาเป็นอารมณ์หาได้ไม่ เพราะอรหัตตมัคค อรหัตตผลนั้น จะต้องเป็นพระอรหันต์แล้ว จึงจะหน่วงเอาเป็นอารมณ์ได้ ผู้ที่ไม่ได้เป็นพระอรหันต์ จะได้อรหัตตมัคค อรหัตตผลที่ไหนมาเป็นอารมณ์ได้ ในข้อ ๗ ที่ว่า จิต ๖ ดวง ยึดหน่วงอารมณ์ได้ทั้งหมด นั้น มโนทวาราวัชชนจิต ๑, มหากิริยาญาณสัมปยุตตจิต ๔, อภิญญากิริยาจิต ๑ รวม ๖ ดวงนี้ รับอารมณ์ได้ทั้งหมด ไม่มียกเว้นเลย เพราะจิตเหล่านี้เป็นจิตของ พระอรหันต์ จึงรับอารมณ์ได้ทั้งสิ้น ไม่มีเว้นเลย จำนวนจิตที่กล่าวแล้วในข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ นี้รวมได้ ๓๑ ดวง เป็นจิต ที่รับอารมณ์ได้หลายอย่าง อย่างนั้นก็ได้อย่างนี้ก็ได้ ไม่แน่นอนว่าจะต้องเป็นอารมณ์ นั้นอารมณ์นี้แต่อย่างเดียว เพราะเหตุที่รับอารมณ์ได้มากกว่า ๑ จึงเรียกว่าเป็น อเนกันตะ หมายความว่า ไม่แน่นอนด้วย อารมณ์ของทวารวิมุตตจิต ได้กล่าวแล้วในทวารสังคหะ ว่าจิตที่พ้นทวาร เป็นจิตที่เกิดโดยไม่ต้องอาศัย ทวารนั้น มี ๑๙ ดวง ได้แก่ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตวิบากจิต ๙ ด้วยเหตุที่จิต ๑๙ ดวงนี้ทำหน้าที่ ปฏิสนธิ ภวังคกิจ จุติกิจ จึงไม่ต้องอาศัย ทวาร แต่ก็ต้องมีอารมณ์ตามหลักที่ว่า จิตต้องมีอารมณ์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว อารมณ์ ของจิต ๑๙ ดวงที่ทำหน้าที่ ปฏิสนธิ ภวังค จุติ นี้มีชื่อเรียกเป็นพิเศษโดย เฉพาะว่า กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ และ คตินิมิตอารมณ์ ในกาลแห่งสัตว์อันใกล้มรณะนั้น จะต้องมี กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งมาปรากฏแก่ชวนจิตในมรณาสันนวิถี อารมณ์ นี้ จะต้องเกิดทั่วทุกตัวสัตว์ เว้นแต่ อสัญญสัตต และ พระอรหันต์ หน้า ๔๓ ที่เว้น อสัญญสัตตนั้น เพราะอสัญญสัตตไม่มีจิต จึงไม่มีอารมณ์ ส่วนที่เว้นพระ อรหันต์นั้น เพราะพระอรหันต์ไม่ต้องไปเกิดอีกแล้ว จึงไม่มีอารมณ์ ๓ อย่างนี้ อัน เป็นเครื่องหมายแห่งการเกิดชวนจิตในมรณาสันนวิถี เรียกว่า มรณาสันนชวนะ ก็ได้ แต่ชาติก่อน มีสิ่งใด เป็นอารมณ์ จิตที่เป็นปฏิสนธิ และ ภวังค ตลอดจนจุติจิตในปัจจุบันชาตินี้ ก็ถือเอาสิ่งนั้นเป็นอารมณ์ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต จุติจิต ในภพเดียวกัน ในชาติเดียวกัน ในบุคคลเดียวกัน เป็นจิตดวงเดียวกัน และมีอารมณ์ก็อย่างเดียวกัน กรรมอารมณ์ กรรมอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายกุสล คือ ตนได้ให้ทาน รักษาศีล ฟังธรรม หรือเจริญ ภาวนามานั้น เคยทำอย่างไร ก็นึกก็คิดอย่างที่ทำอยู่อย่างนั้น มรณาสันนชวนจิต ก็ถือเอาเป็นอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายอกุสล คือ ตนเคยฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฉ้อ ชิง เฆี่ยนตี จำจองสัตว์ อย่างไร ก็นึกก็คิดอย่างที่ได้ทำอยู่อย่างนั้น มรณาสันนชวนจิต ก็น้อมเอามาเป็นอารมณ์ กรรมอารมณ์นี้ปรากฏทางมโนทวารทางเดียว ไม่ปรากฏทางทวารทั้ง ๕ คือ ปัญจทวาร เพราะกรรมอารมณ์นี้ นึกถึงคิดถึงการกระทำในอดีตเป็นอดีตอารมณ์ เป็นกรรมในอดีตที่ตนได้ทำแล้วอย่างไร ก็หน่วงโน้มน้ำใจให้คิดให้นึกเหมือนดังที่ได้ ทำอยู่อย่างนั้น เป็นแต่นึก เป็นแต่คิด ไม่ถึงกับมีเป็นภาพเป็นนิมิตมาปรากฏ เมื่อมีกรรมอารมณ์เป็นกุสล ก็นำไปสู่สุคติ ถ้าหากว่ามีกรรมอารมณ์เป็นอกุสล ก็จะต้องไปสู่ทุคคติ กรรมนิมิตอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ หมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ตนได้ใช้ในการกระทำ กรรมนั้น ๆ ที่เป็นฝ่ายกุสลก็เห็นเครื่องที่ตนได้ทำกุสล เป็นต้นว่า เห็นเครื่องสักการะที่ตนใช้บูชา เห็นผ้าผ่อนที่ตนให้ทาน เห็นโบสถ์ เห็นพระพุทธรูปที่ตนสร้าง เห็นพระสงฆ์ที่ตนอุปการะบวชให้ มรณาสันนชวนจิตก็หน่วงเอาเป็นอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายอกุสล เช่น เห็นแห อวน หอก ดาบ มีด ไม้ ปืน เครื่องเบียดเบียน สัตว์ ที่ตนเคยใช้ในการทำบาปเหล่านี้ เป็นต้น มรณาสันนชวนจิตก็น้อมมาเป็นอารมณ์ หน้า ๔๔ ทั้งนี้ถ้าเป็นแต่เพียงนึก เพียงคิดถึงวัตถุเครื่องมือเครื่องใช้นั้น ๆ ก็ปรากฏทาง มโนทวาร เป็นอดีตอารมณ์ แต่ถ้าได้เห็นด้วยนัยตาจริง ๆ ด้วย ได้ยินทางหูจริง ๆ ด้วย ได้กลิ่นทางจมูกจริง ๆ ด้วย ก็เป็นทางปัญจทวารและเป็นปัจจุบันอารมณ์ เมื่อมีกรรมนิมิตอารมณ์เป็นกุสลก็นำไปสู่สุคติ แต่ถ้าหากว่ามีกรรมนิมิตอารมณ์ เป็นอกุสลแล้ว ย่อมนำไปสู่ทุคคติ คตินิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ เป็นการนึกเห็นเครื่องหมายที่จะนำไปสู่ สุคติ หรือ ทุคคติ ถ้าจะไปสู่สุคติ ก็จะปรากฏเป็นวิมาน เป็นปราสาททิพยสมบัติ เป็นนางเทพอัปสร เป็นรั้ววัง เป็นครรภ์มารดา เป็นวัดวาอาราม เป็นภิกษุ สามเณร ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดี คตินิมิตอารมณ์ที่จะนำไปสู่ทุคคติ ก็จะปรากฏเป็นเปลวไฟ เป็นเหว เป็นถ้ำอัน มืดมัว เป็นนายนิรยบาล เป็นสุนัข แร้ง กา เป็นต้น จะมาเบียดเบียนทำร้ายตน ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เลวร้าย ทั้งนี้ปรากฏทางมโนทวารแต่ทางเดียว คือ เห็นทางใจ และจัดเป็นปัจจุบัน อารมณ์ เพราะกำลังนึกเห็นนิมิตนั้น ๆ อยู่ สำหรับผู้ไปเกิดเป็น รูปพรหม และ อรูปพรหมนั้น มรณาสันนชวนจิตมีเฉพาะ กรรมนิมิตอารมณ์แต่อย่างเดียว โดยมีบัญญัติธรรม หรือ มหัคคตธรรม เป็นอารมณ์ ตามควรแก่ฌาน รวมความว่า กรรมอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้เฉพาะ ธัมมารมณ์ กล่าวโดย ทวาร เกิดเฉพาะทางมโนทวาร กล่าวโดยกาล ได้แก่อารมณ์ที่เป็นอดีต กรรมนิมิตอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้ในอารมณ์ทั้ง ๖ กล่าวโดยทวาร เกิดได้ ทั้ง ๖ ทวาร กล่าวโดยกาลได้แก่ อารมณ์ที่เป็นอดีต และอารมณ์ที่เป็นปัจจุบันด้วย คตินิมิตอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้เฉพาะธัมมารมณ์ กล่าวโดยทวารเกิดได้ เฉพาะทางมโนทวาร กล่าวโดยกาลเป็นได้เฉพาะปัจจุบัน หน้า ๔๕ อารมณ์กับจิต ต่อไปนี้จะแสดงว่า อารมณ์แต่ละอย่างนั้น มีจิตอะไรบ้างที่ยึดหน่วงเอาเป็น อารมณ์ได้ จะแสดงทั้งที่เป็นเอกันตะ คืออย่างแน่นอน และที่เป็น อเนกันตะ คืออย่างไม่แน่นอนด้วย ตลอดจนแสดงว่าจิตอะไรบ้างที่รับอารมณ์นั้นไม่ได้ ๑. กามอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ และ อภิญญาจิต ๒ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๕ คือ มหัคคตจิต ๒๗ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ โลกุตตรจิต ๘ มหาวิบากจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสลจิต ๑๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ อภิญญาจิต ๒ ๒. มหัคคตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๓๗ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๕๔ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ วิญญาณัญจายตนะ ๓ มหาวิบาก ๘ เนวสัญญานาสัญญายตน ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อากาสานัญจายตนะ ๓ อกุสล ๑๒ อากิญจัญญายตนะ ๓ มโนทวาราวัชชนะ ๑ โลกุตตรจิต ๘ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๖ ๓. นิพพานอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๑๙ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๗๒ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๘ คือ อกุสล ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ ไม่แน่นอน ๑๑ คือ มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ มหาวิบาก ๘ มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ ๔. บัญญัติอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๑ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ รูปาวจรจิต ๑๕ มหาวิบาก ๘ อากาสานัญจายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ โลกุตตรจิต ๘ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๗ ๕. ปรมัตถอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๗๐ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๒๑ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๓๙ คือ รูปาวจรจิต ๑๕ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ อากาสานัญจายตนะ ๓ มหาวิบาก ๘ อากิญจัญญายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ ๖. ธัมมารมณ์ มีจิตที่รับได้ ได้ ๗๘ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน ได้แก่ ไม่ได้ ๑๓ ดวง ได้แก่ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ รูปาวจรจิต ๑๕ มโนธาตุ ๓ อรูปาวจรจิต ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ อภิญญาจิต ๒ ๗. นามอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๗ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๑๔ คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ โลกุตตรจิต ๘ มโนธาตุ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ อากิญจัญญายตนะ ๓ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๘ ๘. ปัญจารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอนและ ไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ ๙. รูปอารมณ์ และปัจจุบันอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ และ อภิญญา ๒ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๑๓ คือ มหัคคตจิต ๒๗ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ โลกุตตรจิต ๘ มโนธาตุ ๓ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อภิญญาจิต ๒ ๑๐. อดีตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๔๙ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๔๒ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ วิญญาณัญจายตนะ ๓ มโนธาตุ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ อากาสานัญจายตนะ ๓ กามจิต(เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อากิญจัญญายตนะ ๓ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ ๑๑. อนาคตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๔๓ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๔๘ ดวง ได้แก่ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อภิญญาจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๙ ๑๒. กาลวิมุตตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๖๐ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๑ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๙ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ รูปาวจรจิต ๑๕ มหาวิบาก ๘ อากาสานัญจายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ ๑๓. อัชฌัตตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๖๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๒๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ รูปาวจรจิต ๑๕ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๕๖ คือ โลกุตตร ๘ กามจิต ๕๔ อภิญญาจิต ๒ ๑๔. พหิทธอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๘๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๖ คือ วิญญาณัญจายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๕๖ คือ กามจิต ๕๔ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๕๐ ๑๕. อัชฌัตตพหิทธอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ จิตมีอารมณ์ได้กี่อย่าง จิตต้องมีอารมณ์ และจิตที่เกิดขึ้นขณะหนึ่ง ๆ นั้น มีอารมณ์แต่อย่างเดียว เท่านั้น จิตดวงเดียวที่เกิดขึ้นขณะเดียว จะมีอารมณ์หลายอย่างไม่ได้ แต่ว่าจิตดวงเดียวกันเกิดขึ้นในขณะนี้มีอารมณ์อย่างนี้ แต่เมื่อเกิดขึ้นในขณะอื่น อาจมีอารมณ์อย่างอื่นก็ได้ อย่างนี้ เรียกว่า จิตมีอารมณ์ได้ หลายอย่าง จิตบางดวงที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในขณะนี้หรือขณะไหน ๆ ก็ต้องมีอารมณ์ อย่างนั้นแต่อย่างเดียว ไม่มีเปลี่ยนแปลงเป็นอารมณ์อย่างอื่นเลย ก็มีเหมือนกัน อย่างนี้เรียกว่า จิตมีอารมณ์ได้อย่างเดียว ดังต่อไปนี้ ๑. จิตที่มีอารมณ์ได้ อย่างเดียว มี ๒๘ ดวง ๒. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒ อย่าง มี ๒ ดวง ๓. จิตที่มีอารมณได้ ๕ อย่าง มี ๓ ดวง ๔. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๖ อย่าง มี ๑๒ ดวง ๕. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๒ อย่าง มี ๓ ดวง ๖. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๔ อย่าง มี ๙ ดวง ๗. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒๕ อย่าง มี ๓ ดวง มีรายละเอียดดังนี้ ๑. จิตที่มีอารมณ์ได้อย่างเดียว มี ๒๘ ดวง จักขุวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ รูปารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว โสตวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ สัททารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว ฆานวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ คันธารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว ชิวหาวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ รสารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว กายวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ โผฏฐัพพารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว อากาสานัญจายตนจิต ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ อากิญจัญญายตนจิต ๓ มีอารมณ์ คือ นัตถิภาวบัญญัติ วิญญาณัญจายตนะกุสล ๑ วิบาก ๑ มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกุสล ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตน ในภพนี้หรือภพก่อน แต่อย่างเดียว เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ วิบาก ๑ มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกุสล ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตน ในภพนี้หรือภพก่อนแต่อย่างเดียว โลกุตตรจิต ๘ มีอารมณ์ นิพพาน แต่อย่างเดียว ๒. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒ อย่าง มี ๒ ดวง วิญญาณัญจายตนกิริยาจิต ๑ มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกุสลที่เคยเกิดมา แล้วแก่ตนในภพนี้หรือภพก่อน ๑, มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกิริยาที่เคยเกิดแล้ว แก่ตนในภพนี้ ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิต ๑ มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกุสล ที่เคย เกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้หรือภพก่อน ๑, มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกิริยาที่เคยเกิด มาแล้วแก่ตนในภพนี้ ๑ ๓. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๕ อย่าง มี ๓ ดวง มโนธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มีปัญจารมณ์ ได้แก่ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ก็ได้ ๔. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๖ อย่าง มี ๑๒ ดวง หสิตุปปาทจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑๑ มีอารมณ์ คือ อารมณ์ทั้ง ๖ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ๕. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๒ อย่าง มี ๓ ดวง รูปาวจรปัญจมฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อานาปาณสติ ๑, อุเบกขา พรหมวิหาร ๑ หน้า ๕๒ ๖. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๔ อย่าง มี ๙ ดวง รูปาวจร จตุตถฌาน ๓ รูปาวจร ตติยฌาน ๓ รูปาวจร ทุติยฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อานาปาณสติ ๑, เมตตา กรุณา มุทิตา ๓ ๗. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒๕ อย่าง มี ๓ ดวง รูปาวจร ปฐมฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑, อานาปาณสติ ๑, เมตตา กรุณา มุทิตา ๓ อารมณ์ของ เมตตา คือ ปิยมนาปสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ กรุณา คือ ทุกขิตสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ มุทิตา คือ สุขิตสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ อุเบกขา คือ มัชฌัตตสัตวบัญญัติ เจตสิก กับ อารมณ์ ปรมัตถธรรม ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน นั้น จิตและเจตสิก เป็นธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ แต่รูป และ นิพพานไม่สามารถที่จะรู้อารมณ์ได้เลย จิตรับอารมณ์อย่างใด รู้อารมณ์อะไร เจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้นก็รับอารมณ์ รู้อารมณ์อย่างเดียวกันนั้นเอง สมกับที่ว่า เอกาลัมพนะ แต่เมื่อกล่าวเป็นส่วนรวม แล้ว เจตสิกรับอารมณ์ได้ดังนี้ เจตสิกที่รับ ปัญจารมณ์ ได้นั้นมี ๕๐ (เว้นอัปปมัญญา) เจตสิกที่รับ ธัมมารมณ์ ได้นั้นมี ๕๒ (ครบจำนวนเจตสิก) อกุสลเจตสิก ๑๔ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย และบัญญัติ อิสสาเจตสิก ๑ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น พหิทธะ โลกีย วิรตี ๓ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม หน้า ๕๓ โลกุตตร วิรตี ๓ รับอารมณ์ ธัมมารมณ์ ที่เป็น นิพพาน แต่อย่างเดียว อัปปมัญญา ๒ รับอารมณ์ ธัมมารมณ์ ที่เป็น สัตวบัญญัติ และเป็น พหิทธอารมณ์ด้วย ส่วนเจตสิกที่เหลืออีก ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ปัญญาเจตสิก ๑ รับอารมณ์ ๖ ได้ทั้งที่เป็นโลกียโลกุตตร อดีต อนาคต ปัจจุบัน กาลวิมุตตะ อัชฌัตตะ และ พหิทธะ หมวดที่ ๖ วัตถุสังคหะ วสนฺติ ปติฏฺฐหนฺติ จิตฺตเจตสิกา เอตฺถาติ วตฺถุ ฯ จิต เจตสิก ทั้งหลาย ย่อมอาศัยตั้งอยู่ในธรรมใด ฉะนั้น ธรรมที่เป็นที่อาศัย ตั้งอยู่ของจิตเจตสิกเหล่านั้น ชื่อว่า วัตถุ วัตถุสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องวัตถุ อันเป็นที่อาศัยเกิดของจิตและ เจตสิก วัตถุอันเป็นที่จิตและเจตสิก อาศัยเกิดนี้ มี ๖ จึงเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัตถุ ๖ และวัตถุ ๖ นี้เป็น รูปธรรม ทั้งนั้น คือ ๑. จักขุวัตถุ ได้แก่ จักขุปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ จักขุวิญญาณจิต ๒ ๒. โสตวัตถุ ได้แก่ โสตปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณจิต ๒ ๓. ฆานวัตถุ ได้แก่ ฆานปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ ฆานวิญญาณจิต ๒ ๔. ชิวหาวัตถุ ได้แก่ ชิวหาปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๕. กายวัตถุ ได้แก่ กายปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ กายวิญญาณจิต ๒ ๖. หทยวัตถุ ได้แก่ หทยรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ จิต ๗๕ ดวง (เว้น ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อรูปวิบาก ๔) วิญญาณธาตุ ในวัตถุสังคหะนี้ ได้กล่าวถึง วิญญาณธาตุ คือ ธาตุรู้ด้วย ในจำนวนจิตทั้ง หมด ๘๙ ดวง เมื่อจัดโดยความเป็นธาตุก็ได้ วิญญาณธาตุ ๗ คือ หน้า ๕๔ ๑. จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น จักขุวิญญาณธาตุ ๒. โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น โสตวิญญาณธาตุ ๓. ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น ฆานวิญญาณธาตุ ๔. ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น ชิวหาวิญญาณธาตุ ๕. กายวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น กายวิญญาณธาตุ ทั้ง ๕ นี้มีชื่อรวมเรียก ว่าวิญญาณธาตุ ๕ หรือ ปัญจวิญญาณธาตุ ๖. ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ รวม ๓ ดวง เป็น มโนธาตุ ๗. จิตที่เหลืออีก ๗๖ ดวง เป็น มโนวิญญาณธาตุ ภูมิกับวัตถุ ในภูมิไหน มีวัตถุอะไร เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุใดนั้น มีคาถาสังคหะที่ ๑๓ แสดงว่า ๑๓. ฉวตฺถํ นิสฺสิตา กาเม สตฺต รูเป จตุพฺพิธา ติวตฺถุํ นิสฺสิตา รูเป ธาเตวฺกา นิสฺสิตา มตา ฯ แปลความว่า ท่านกล่าวว่า ในกามภูมิ วิญญาณธาตุ ๗ อาศัยวัตถุ ๖ เกิด ในรูปภูมิ วิญญาณธาตุ ๔ อาศัยวัตถุ ๓ เกิด ในอรูปภูมิ วิญญาณธาตุ ๑ ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย ก็เกิดได้ อธิบาย ๑. ในกามาวจรภูมิ หรือ กามภูมิ ซึ่งมี ๑๑ ภูมิ ได้แก่ อบายภูมิ ๔, มนุษยภูมิ ๑ และ เทวภูมิ ๖ นั้น มีวัตถุ ๖ ครบบริบูรณ์ จึงเป็นที่อาศัยให้เกิด วิญญาณธาตุครบ ทั้ง ๗ เหมือนกัน คือ (๑) จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ จักขุวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ จักขุวิญญาณจิต ๒ (๒) โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ โสตวิญญาณจิต ๒ (๓) ฆานวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ ฆานวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ ฆานวิญญาณจิต ๒ (๔) ชิวหาวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของชิวหาวิญญาณธาตุ ๑ได้แก่ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ (๕) กายวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ กายวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ กายวิญญาณจิต ๒ (๖) หทยวัตถุ มโนธาตุ ๓ ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ จิตที่เหลือ ๗๖ หน้า ๕๕ ๒. ในรูปาวจรภูมิ หรือรูปภูมิ ๑๕ (เว้นอสัญญสัตตตภูมิ) นั้น มีวัตถุเพียง ๓ อันเป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุ ๔ เท่านั้น คือ (๑) จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด จักขุวิญญาณธาตุ ๑ (๒) โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด โสตวิญญาณธาตุ ๑ (๓) หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด มโนธาตุ ๑ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ส่วนฆานวัตถุ อันเป็นที่อาศัยเกิด ฆานวิญญาณธาตุ ๑, ชิวหาวัตถุ อันเป็นที่ อาศัยให้เกิด ชิวหาวิญญาณธาตุ ๑ และกายวัตถุ อันเป็นที่อาศัยให้เกิดกายวิญญาณ ธาตุ ๑ รวม ๓ วัตถุ ๓ ธาตุนี้ไม่มี แต่ว่า รูปพรหมทั้ง ๑๕ ภูมินี้ มีจมูก แต่ไม่มีฆานวัตถุ คือไม่มีฆานปสาทรูป, มีลิ้น แต่ไม่มีชิวหาวัตถุ คือไม่มีชิวหาปสาทรูป, มีกาย แต่ไม่มีกายวัตถุ คือไม่มีกาย ปสาทรูป ดังนั้น ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ และ กายวิญญาณ ไม่มีที่อาศัยเกิด จึงเกิดไม่ได้ อนึ่ง กามภูมิ ๑๑ และรูปภูมิ ๑๕ รวม ๒๖ ภูมินี้ มีชื่อรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญจโวการภูมิ คือ ภูมิที่มีขันธ์ ๕ ได้แก่มี รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ เฉพาะอสัญญสัตตภูมิ ซึ่งเป็นรูปภูมิอีกภูมิหนึ่งนั้น ไม่มีวัตถุทั้ง ๖ และไม่มี วิญญาณธาตุทั้ง ๗ เลยแม้แต่สักอย่างเดียว ทั้งนี้ เป็นเพราะภูมินี้มีแต่รูปขันธ์ เท่านั้น ส่วนนามขันธ์อีก ๔ ขันธ์นั้นไม่มี ดังนั้น อสัญญสัตตภูมินี้จึงมีชื่อเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า เอกโวการภูมิ คือ ภูมิที่มีขันธ์ ๑ ได้แก่ มีรูปขันธ์เพียงขันธ์เดียว ๓. อรูปาวจรภูมิ หรือ อรูปภูมิ ซึ่งมี ๔ ภูมินั้น วัตถุ ๖ ไม่มีเลย เพราะ อรูปภูมิเป็นภูมิที่ไม่มีรูปธรรม มีแต่นามธรรมเท่านั้น ดังนั้นวัตถุ ๖ ซึ่งเป็นรูปธรรม ทั้ง ๖ จึงไม่มีในอรูปภูมิ แต่ว่าในอรูปภูมิทั้ง ๔ นี้ วิญญาณธาตุ ๗ นั้นเกิดได้ ๑ คือ มโนวิญญาณธาตุ ซึ่งเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยหทยวัตถุใด ๆ เลยทั้งนั้น เพราะเหตุว่าอรูปภูมิทั้ง ๔ นี้มีแต่นามขันธ์ทั้ง ๔ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ส่วนรูปขันธ์ไม่มี จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จตุโวการภูมิ คือ ภูมิที่มี ๔ ขันธ์ (ขาดรูปขันธ์ไปขันธ์หนึ่ง) หน้า ๕๖ สรุปเพื่อให้จำได้ง่าย กามภูมิ ๑๑ มีวัตถุทั้ง ๖ เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุทั้ง ๗ คือ จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด จักขุวิญญาณธาตุ โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด โสตวิญญาณธาตุ ฆานวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด ชิวหาวิญญาณธาตุ กายวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด กายวิญญาณธาตุ หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด มโนธาตุ และ มโนวิญญาณธาตุ รูปภูมิ ๑๕ มีวัตถุ ๓ เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุ ๔ คือ จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด จักขุวิญญาณธาตุ โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด โสตวิญญาณธาตุ หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด มโนธาตุ และ มโนวิญญาณธาตุ อสัญญสัตตภูมิ ๑ นั้นวัตถุทั้ง ๖ วิญญาณธาตุทั้ง ๗ ไม่มีเลยแม้แต่สักอย่าง เดียว อรูปภูมิ ๔ นั้น วัตถุทั้ง ๖ ไม่มีเลย แต่มีวิญญาณธาตุ ๑ คือ มโนวิญญาณธาตุ ซึ่งเกิดได้โดยไม่ต้องอาศัยวัตถุใด ๆ เลย จิตกับวัตถุ จิตใดจะต้องอาศัยวัตถุอะไรเกิด หรือไม่ต้องอาศัยวัตถุ ก็เกิดได้นั้น มีคาถาสังคหะที่ ๑๔ อันเป็นคาถาสุดท้ายในปริจเฉทนี้ แสดงว่า ๑๔. เตจตฺตาฬีส นิสฺสาย เทฺวจตฺตาฬีส ชายเร นิสฺสาย จ อนิสฺสาย ปาการุปฺปา อนิสฺสิตา ฯ แปลความว่า จิต ๔๓ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเสมอ จิต ๔๒ ดวง บางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัย อรูปวิบาก ๔ ดวง ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย หน้า ๕๗ อธิบาย ๑. จิต ๔๓ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเสมอ จะเกิดโดยไม่ต้องอาศัยวัตถุหาได้ไม่ ดังนั้นในภูมิใดไม่มีวัตถุ จิตเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย จิต ๔๓ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑) คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย จักขุวัตถุ จึงจะเกิดได้ โสตวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย โสตวัตถุ จึงจะเกิดได้ ฆานวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย ฆานวัตถุ จึงจะเกิดได้ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย ชิวหาวัตถุ จึงจะเกิดได้ กายวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย กายวัตถุ จึงจะเกิดได้ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ สันตีรณจิต ๓ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ หสิตุปปาทจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ มหาวิบากจิต ๘ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ รูปาวจรจิต ๑๕ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ ๒. จิต ๔๒ ดวง บางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัยนั้น ได้แก่ อกุสล ๑๐ (เว้นโทสจิต ๒) มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปาวจรกุสล ๔ อรูปาวจรกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสดาปัตติมัคคจิต ๑) มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ที่ว่าจิต ๔๒ ดวงนี้ บางทีก็อาศัยวัตถุเกิด บางทีไม่ต้องอาศัยวัตถุก็เกิดได้นั้น เป็นดังนี้ ถ้าจิตนี้เกิดใน ปัญจโวการภูมิ คือภูมิที่มีขันธ์ ๕ ก็จะต้องอาศัยหทย วัตถุเกิด หน้า ๕๘ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ถ้าจิต ๔๒ ดวงนี้ เกิดในกามภูมิ ๑๑ ก็ดี เกิดในรูปภูมิ ๑๕ (เว้นสัญญสัตตภูมิ) ก็ดี ซึ่งเป็นภูมิที่มีหทยวัตถุแล้ว ก็จะต้องอาศัยหทยวัตถุรูป เกิดตามควรแก่ที่จะพึงเกิดได้ แต่ว่า ถ้าจิตเหล่านี้เกิดในจตุโวการภูมิ ภูมิที่มีขันธ์ ๔ คือ อรูปภูมิแล้ว ไม่ต้อง อาศัยวัตถุเลยก็เกิดได้ จิต ๔๒ ดวงนี้ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จิตที่อาศัยวัตถุเกิดไม่แน่นอน(อเนกันตะ) เพราะบางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัย เป็นที่ไม่แน่นอน ๓. อรูปวิบาก ๔ ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย เพราะอรูปวิบากจิต ๔ เป็นจิตที่เกิด ที่มีในอรูปภูมิ ซึ่งเป็นภูมิที่ไม่มีวัตถุรูปใด ๆ แม้แต่สักอย่างเดียว ดังนั้นจึงไม่ต้อง อาศัยวัตถุก็เกิดได้ เจตสิก กับ วัตถุ เจตสิกที่อาศัยวัตถุ ๖ เกิด โดยไม่แน่นอน มี ๗ ดวง ได้แก่ สัพพจิตตสาธารณ เจตสิก ๗ เจตสิกที่อาศัยหทยวัตถุเกิดโดยแน่นอนมี ๖ ดวง ได้แก่ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ โทจตุกเจตสิก ๔ เจตสิกที่อาศัยหทยวัตถุเกิดโดยไม่แน่นอน มี ๓๙ ดวง ได้แก่ ปกิณณกเจตสิก ๖ อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกเจตสิก ๔) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) วัตถุกับทวาร วัตถุ เป็นที่อาศัยให้จิตเจตสิกเกิด ทวาร เป็นทางให้จิตเจตสิกเกิด เมื่อกล่าว ควบคู่กันทั้งวัตถุและทวาร คือ กล่าวทั้งที่อาศัยเกิด และทางให้เกิดด้วยแล้ว ก็กล่าว ได้เป็น ๔ นัย คือ จิตที่ ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวาร จิตที่ ต้องอาศัยวัตถุ แต่ไม่ต้องอาศัยทวาร จิตที่ ไม่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ต้องอาศัยทวาร จิตที่ ไม่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวาร หน้า ๕๙ ๑. จิตที่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวารด้วยนั้น มี ๓๘ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑) มหาวิบากจิต ๘ รูปาวจรกุสล ๕ รูปาวจรกิริยาจิต ๕ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ในข้อ ๑ นี้ มีสิ่งที่ควรสังเกตอยู่ ๒ ประการ ประการแรก จิต ๓๘ ดวงนี้ เป็นกลุ่มเดียวกับจิต ๔๓ ดวง ที่ต้องอาศัยวัตถุเสมอนั่นเอง เพียงแต่เอารูปาวจร วิบาก ๕ ดวง หักออกเสียจากจำนวน ๔๓ ดวงนั้น ก็คงเหลือ ๓๘ เป็นจิตที่ต้องอาศัยทั้งวัตถุและทั้งทวารด้วย รูปาวจรวิบาก ๕ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเกิดจริง แต่ไม่ต้องอาศัยทวารเป็นทางให้เกิดไม่ครบทั้ง ๒ อย่าง จึงต้องหักออก อีกประการหนึ่ง จิตที่อาศัยวัตถุเกิด กับจิตที่อาศัยทวารเกิดนั้นมีจำนวนไม่ เท่ากัน กล่าวคือ จิตที่อาศัยวัตถุเกิดนั้นมีจำนวนจำกัด โดยเฉพาะแท้ ๆ แต่จิตที่ อาศัยทวารเกิดนั้น มีจำนวนกว้างขวางมากกว่ากัน คือ จิตที่อาศัย จักขุวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย จักขุทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย โสตวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย โสตทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย ฆานวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย ฆานทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย ชิวหาวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย ชิวหาทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย กายวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย กายทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย หทยวัตถุ เกิดมีเพียง ๗๕ ดวง แต่อาศัย มโนทวาร เกิดได้ถึง ๖๗ ดวง ๒. จิตที่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ไม่ต้องอาศัยทวาร มี ๕ ดวง ได้แก่ รูปาวจรวิบากจิต ๕ รูปาวจรวิบากจิต ๕ ดวงนี้ ต้องอาศัยหทยวัตถุเกิด เพราะรูปาวจรวิบาก ที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนั้น ปฏิสนธิจิตกับหทยวัตถุนี้เกิดพร้อมกัน ปฏิสนธิจิตก็ต้อง อาศัยหทยวัตถุเกิด และหทยวัตถุก็ต้องอาศัยปฏิสนธิจิตจึงจะเกิดขึ้นได้ ต่างก็อาศัยซึ่งกันและกันด้วยอำนาจแห่งอัญญมัญญปัจจัย ส่วนที่ว่า รูปาวจรวิบาก ๕ ดวงนี้ เกิดโดยไม่ต้องอาศัยทวารนั้น เพราะเป็น เอกันตทวารวิมุตตจิต เป็นจิตที่พ้นทวารแน่นอนอยู่แล้ว ดังแจ้งใน ทวารสังคหะ ที่กล่าวข้างต้น หน้า ๖๐ ๓. จิตที่ไม่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ต้องอาศัยทวาร มี ๔๒ ดวง ได้แก่ อกุสล ๑๐ (เว้นโทสจิต ๒) มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปาวจรกุสล ๔ อรูปาวจรกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสดาปัตติมัคคจิต ๑) มโนทวาราวัชชนจิต ๑ เมื่อจิตเหล่านี้เกิดกับอรูปพรหมในอรูปภูมิแล้ว ไม่ต้องอาศัยวัตถุก็เกิดได้ แต่ ต้องอาศัยทวาร คือ มโนทวาร จึงจะเกิดได้ ซึ่งในอรูปภูมิมีมโนทวารแต่อย่างเดียว ส่วนวัตถุนั้นไม่มีเลย พึงสังเกตว่า จิต ๔๒ ดวงนี้ เป็นจิตกลุ่มเดียวกัน จิต ๔๒ ดวงที่เรียกว่า จิตที่อาศัยวัตถุเกิดไม่แน่นอน ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ๔. จิตที่ไม่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวารเลยนั้น มี ๔ ดวง ได้แก่ อรูปาวจรจิบากจิต ๔ ไม่ต้องอาศัยวัตถุ เพราะไม่มีวัตถุที่จะอาศัย และไม่ต้อง อาศัยทวาร เพราะเป็น เอกันตทวารวิมุตตจิต อวสานคาถาปริจเฉทที่ ๓ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถ สงฺคเห ตติโย ปริจฺเฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ นี้ปริจเฉทที่ ๓ ( ชื่อ ปกิณณกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวบรวมซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อ เพียงเท่านี้แล

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือการศึกษา ปกิณณกสังคหะวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๓ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส ความเบื้องต้น คู่มือการศึกษาเล่มนี้ ได้รวบรวมคำสอนพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่ง พระอนุรุทธาจารย์ เป็นผู้รจนา อันเป็นปริจเฉทที่ ๓ ที่มีชื่อว่า ปกิณณกสังคหะวิภาค ปกิณณกะ แปลว่า กระจัดกระจาย คละกัน เบ็ดเตล็ด ต่าง ๆ สังคหะ แปลว่า รวบรวมโดยย่อ วิภาค แปลว่า ส่วน เมื่อประมวลรวมกันเข้าแล้ว ปกิณณกะสังคหวิภาค ก็แปลว่า ส่วนที่รวบรวม แสดงโดยย่อซึ่งธรรมต่าง ๆ ธรรมต่าง ๆ ในที่นี้ หมายถึงธรรม ๖ หมวด คือ ๑. หมวด เวทนา ธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ ๒. หมวด เหตุ ธรรมชาติที่ทำให้ผลเกิด ๓. หมวด กิจ คือ การงานของจิต ๑๔ อย่าง ๔. หมวด ทวาร คือ ทางรับรู้อารมณ์ของจิต ๕. หมวด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้, สิ่งที่ถูกจิตรู้ ๖. หมวด วัตถุ คือ ที่ตั้งที่อาศัยเกิดรับรู้อารมณ์ของจิต ทั้ง ๖ หมวดนี้ เป็นการเรียนรู้ถึงจิตและเจตสิกโดยละเอียด สรุปได้ว่าให้เรียนรู้ว่า จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น มีเวทนาเป็นสุขเวทนา หรือทุกขเวทนา เป็น โทมนัสเวทนา หรือโสมนัสเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น มีเหตุประกอบหรือไม่ ถ้ามี มีเหตุประกอบเท่าไร อะไรบ้าง เหตุมี ๖ คือ โลภเหตุ, โทสเหตุ, โมหเหตุ, อโลภเหตุ, อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ ในแต่ละเหตุนั้น ประกอบกับจิตอะไรได้บ้าง จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น ทำกิจ(งาน)อะไรใน ๑๔ อย่าง ในกิจทั้ง ๑๔ นั้น มีจิตอะไรทำหน้าที่ได้บ้าง จิตและเจตสิก อาศัยทวารไหนในการรู้อารมณ์ อาศัยจักขุทวารหรือโสตทวาร อาศัยฆานทวารหรือชิวหาทวาร อาศัยกายทวารหรือมโนทวาร หรือไม่ได้อาศัยทวาร ใด ๆ เลย จิตและเจตสิก รับรู้อารมณ์อะไรได้บ้างในอารมณ์ ๖ และอารมณ์ ๖ นั้น องค์ ธรรมได้แก่อะไร จิตและเจตสิก อาศัยวัตถุอะไรเกิด อาศัยจักขุวัตถุหรือโสตวัตถุ อาศัยฆานวัตถุ หรือชิวหาวัตถุ อาศัยกายวัตถุหรือหทยวัตถุ หรือไม่ได้อาศัยวัตถุใดๆ เกิดขึ้นเลย ปกิณณกสังคหะวิภาคนี้ พระอนุรุทธาจารย์ได้ประพันธ์เป็นคาถาสังคหะรวม ๑๔ คาถา คาถาที่ ๑ ว่า ๑. สมฺปยุตฺตา ยถาโยคํ เตปญฺญาส สภาวโต จิตฺตเจตสิก ธมฺมา เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า สภาวธรรม ๕๓ คือ จิตและเจตสิก ทั้งลักษณะและการประกอบซึ่งกันและกัน ตามควรแก่การที่จะ ประกอบได้นั้น ได้แสดงมาแล้ว มีความหมายว่า ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนี้ คือ สรุป ธรรม ๖ หมวด อันมีจิตและเจตสิก ทำหน้าที่ต่าง ๆ จิตและเจตสิก รวมเรียกว่า สภาวธรรม ๕๓ คือ จิต ๑ และ เจตสิก ๕๒ ที่นับจิตเพียง ๑ นั้น เพราะจิตมีลักษณะ รับรู้อารมณ์เพียงลักษณะเดียวเท่านั้น ส่วนที่นับเจตสิกเต็มจำนวนทั้ง ๕๒ ก็เพราะว่า เจตสิกนั้นมีลักษณะ แตกต่างกันทั้ง ๕๒ ดวง หน้า ๒ ปกิณณกแสดงธรรม ๖ หมวด ปกิณณกสังคหะวิภาคนี้ แสดงธรรม ๖ หมวด ดังมีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๒ แสดงว่า ๒. เวทนาเหตุโต กิจฺจ ทฺวาราลมฺพน วตฺถุโต จิตฺตุปฺาทวเสเนว สงฺคโห นาม นียเต ฯ แปลความว่า บัดนี้จักแสดงการระคนกันต่างๆ ของนามธรรม คือ จิตและเจตสิกด้วยอำนาจแห่ง จิตตุปปาทะ โดย ประเภทของ เวทนา เหตุ กิจ ทวาร อารมณ์ และ วัตถุ ตามควรต่อไป หมายความว่า จิตตุปปาทะ คือ จิตที่เกิดขึ้นพร้อมกับเจตสิกที่ประกอบนั้น ย่อมเกี่ยวข้อง ต้องระคนกับธรรมทั้ง ๖ หมวดดังกล่าวแล้วอย่างแน่นอนเสมอไปทุกขณะ ไม่มีเว้น เลย ดังจะได้กล่าวต่อไปทีละหมวด หมวดที่ ๑ เวทนาสังคหะ เวทนาสังคหะ คือ การรวบรวมแสดงโดยย่อเรื่องเวทนา มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๓ ว่า ๓. สุขํ ทุกฺขมุเปกฺขาติ ติวิธา ตตฺถ เวทนา โสมนสฺสํ โทมนสฺส มิติ เภเทน ปญฺจธา แปลความว่า ธรรม ๓ อย่าง คือ สุข ทุกข์ อุเบกขา นี้เป็นเวทนา ๓ เมื่อเอา โสมนัส โทมนัส รวมเข้าอีก ก็เป็น เวทนา ๕ อธิบาย เวทนา เป็นเจตสิกธรรม ที่ทำหน้าที่เสวยอารมณ์ หรือมีความรู้สึกในอารมณ์ ที่มาปรากฏนั้น จัดแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ก. จัดตามลักษณะของการเสวยอารมณ์ คือ จัดตามความรู้สึก มีชื่อเรียกว่า อารัมมณานุภวนนัย หรือ อารัมมณานุภวนลักขณนัย ตามนัยดังกล่าวนี้ จำแนก เวทนาออกเป็น ๓ คือ หน้า ๓ ๑. สุขเวทนา การเสวยอารมณ์เป็นสุข (หมายถึงความสุขกายและสุขใจ) ๒. ทุกขเวทนา การเสวยอารมณ์ที่เป็นทุกข์ (หมายถึง ความทุกข์กาย และความทุกข์ใจ) ๓. อทุกขมสุขเวทนา การเสวยอารมณ์เป็นกลาง คือ ไม่สุข ไม่ทุกข์ ได้แก่เฉย ๆ (หมายถึงไม่ทุกข์และไม่สุข ก็คือ อุเบกขานั่นเอง) ข. จัดตามประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์ มีชื่อเรียกว่าอินทริยเภทนัย ตามนัยนี้จำแนกเวทนาออกเป็น ๕ คือ ๑. สุขเวทนา รู้สึกสบายกาย หมายเฉพาะความสุขกาย ๒. ทุกขเวทนา รู้สึกไม่สบายกาย หมายเฉพาะความทุกข์กาย ๓. โสมนัสเวทนา รู้สึกสบายใจ หมายเฉพาะความสุขใจ ดีใจ ๔. โทมนัสเวทนา รู้สึกไม่สบายใจ หมายเฉพาะความทุกข์ใจ เสียใจ ๕. อุเบกขาเวทนา รู้สึกเฉย ๆ หมายถึงความไม่ทุกข์ไม่สุข เป็นกลาง ๆ เวทนา ๓ กล่าวโดย อารัมมณานุภวนนัย นั้น จำแนกจิตโดยเวทนา ๓ ตามลักษณะของ การเสวย หรือความรู้สึกในอารมณ์ ได้ดังนี้ ๑. จิตที่เกิดพร้อมกับสุขเวทนา คือ ทั้งสุขกายและสุขใจ ก็มีจำนวน ๖๓ ดวง ได้แก่ สุขกาย ๑ ดวง คือ สุขสหคต กุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ สุขใจ ๖๒ ดวง คือ กามโสมนัส ๑๘ ฌานโสมนัส ๔๔ กามโสมนัส ๑๘ ได้แก่ โสมนัส โลภมูลจิต ๔ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ โสมนัส หสิตุปปาทะ ๑ โสมนัส มหากุสล ๔ โสมนัส มหาวิบาก ๔ โสมนัส มหากิริยา ๔ ฌานโสมนัส ๔๔ ได้แก่ ปฐมฌาน ๑๑ ทุติยฌาน ๑๑ ตติยฌาน ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ คือ โลกียปฐมฌาน ๓ โลกุตตรปฐมฌาน ๘ โลกียปฐมฌาน ๓ ได้แก่ ปฐมฌานกุสลจิต ๑ ปฐมฌานวิบากจิต ๑ ปฐมฌานกิริยาจิต ๑ โลกุตตรปฐมฌาน ๘ ได้แก่ ปฐมฌานโสดาปัตติมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานสกทาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานอนาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานอรหัตตมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ หน้า ๔ ทุติยฌาน ๑๑ ตติยฌาน ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ก็แจกตามนัยที่แสดง แล้วนี้ ๒. จิตที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา คือ ทั้งทุกข์กายและทุกข์ใจ มีจำนวน ๓ ดวง ได้แก่ ทุกข์กาย ๑ ดวง คือทุกขสหคต อกุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ทุกข์ใจ ๒ ดวง คือโทสมูลจิต ๒ ซึ่งต้องเกิดพร้อมกับโทมนัสเวทนาเสมอไป ๓. จิตที่เกิดพร้อมกับ อทุกขมสุขเวทนา คือไม่ทุกข์และไม่สุข หรืออุเบกขา เวทนานั่นเอง มี ๕๕ ดวง ได้แก่ อุเบกขา โลภมูลจิต ๔ โมหมูลจิต ๒ อุเบกขา อเหตุกจิต ๑๔ อุเบกขา กามาวจรโสภณจิต ๑๒ ฌานอุเบกขา หรือ ปัญจมฌาน ๒๓ ปัญจมฌาน ๒๓ ได้แก่ โลกียปัญจมฌาน ๑๕ โลกุตตรปัญจมฌาน ๘ โลกียปัญจมฌาน ๑๕ คือ โลกียรูปาวจรปัญจมฌาน ๓ โลกียอรูปาวจร ๑๒ โลกุตตรปัญจมฌาน ๘ คือ ปัญจมฌานโสดาปัตติมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานสกทาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานอนาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานอรหัตตมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ เวทนา ๕ ๔. สุขเมกตฺถ ทุกฺขญฺจ โทมนสฺสํ ทฺวเย ฐิตํ ทฺวาสฏฺฐิสุ โสมนสฺสํ ปญฺจปญฺญาสเกตรา ฯ แปลความว่า สุขเวทนา ๑, ทุกขเวทนา ๑, โทมนัสเวทนา ๒, โสมนัสเวทนา ๖๒, อุเบกขาเวทนา ๕๕ หน้า ๕ กล่าวโดย อินทริยเภทนัย นั้น จำแนกจิตโดยเวทนา ๕ ตามประเภทแห่ง ความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์นั้น ได้ดังนี้ ๑. จิตที่เกิดพร้อมกับ สุขเวทนา คือ เฉพาะสุขกายก็มีดวงเดียว ได้แก่ สุขสหคต กุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ๒. จิตที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา คือเฉพาะทุกข์กายก็มีดวงเดียว ได้แก่ ทุกขสหคต อกุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ๓. จิตที่เกิดพร้อมกับ โสมนัสเวทนา คือสุขใจ มี ๖๒ ดวง กามโสมนัส ๑๘ ฌานโสมนัส ๔๔ ๔. จิตที่เกิดพร้อมกับ โทมนัสเวทนา คือทุกข์ใจ มี ๒ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ๕. จิตที่เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา คือเฉยๆ ไม่ทุกข์และก็ไม่สุข มี ๕๕ ดวง ได้แก่ อุเบกขา โลภมูลจิต ๔ โมหมูลจิต ๒ อุเบกขา อเหตุกจิต ๑๔ อุเบกขา กามาวจรโสภณจิต ๑๒ ฌานอุเบกขา ๒๓ อทุกขมสุขเวทนา (ในเวทนา ๓) กับ อุเบกขาเวทนา เป็นเวทนาเดียวกัน มี อัตถะ คือ เนื้อความอย่างเดียวกัน ต่างกันแต่ พยัญชนะ เท่านั้น สรุป เวทนา ๕ เวทนา ๓ สุขเวทนา = สุขกาย ๑ โสมนัสเวทนา = สุขใจ ๖๒ รวม ๖๓ เป็น สุขเวทนา ทุกขเวทนา = ทุกข์กาย ๑ โทมนัสเวทนา = ทุกข์ใจ ๒ รวม ๓ เป็น ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา = เฉย ๆ ๕๕ คง ๕๕ เป็น อทุกขมสุขเวทนา ที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นการแสดงเวทนาของจิตโดยพิสดาร ๑๒๑ ดวง ต่อไปนี้ จะแสดงเวทนาของจิตโดยย่อ ๘๙ ดวง โดยเปรียบเทียบกับ ๑๒๑ ดวง ดังนี้ หน้า ๖ จำแนกโดยเวทนา ๓ จิตโดยพิสดาร ๑๒๑ จิตโดยย่อ ๘๙ สุขเวทนา ๖๓ สุขเวทนา ๓๑ ทุกขเวทนา ๓ ทุกขเวทนา ๓ อทุกขมสุขเวทนา ๕๕ อทุกขมสุขเวทนา ๕๕ ที่สุขเวทนาเหลือเพียง ๓๑ เพราะตัดโลกุตตรปฐมฌาน ๘, โลกุตตรทุติยฌาน ๘, โลกุตตรตติยฌาน ๘, โลกุตตรจตุตถฌาน ๘ รวม ๓๒ ดวง ซึ่งเป็นจิตพิสดาร ออกเสียจาก ๖๓ จึงเหลือเพียง ๓๑ ที่เหลือเพียง๓๑ นั้นได้แก่ สุขกายวิญญาณ ๑, กามโสมนัส ๑๘ และโลกีย ฌานโสมนัส ๑๒ คือ โลกียปฐมฌาน ๓, โลกียทุติยฌาน ๓, โลกียตติยฌาน ๓, โลกียจตุตถฌาน ๓ ที่อทุกขมสุขเวทนา ได้แก่ จิต ๕๕ เท่ากันทั้ง ๒ ข้างนั้น เป็นเพราะทางจิต พิสดารหมายถึง ปัญจมฌานโลกุตตรจิต๘ ดวง ส่วนทางจิตโดยย่อหมายถึงโลกุตตร จิตโดยย่อ ๘ ดวง ซึ่งมีจำนวนเท่ากัน อนึ่งโลกุตตรจิตโดยย่อ ๘ ดวงนั้น ในที่นี้นับเป็นอทุกขมสุขเวทนา คือ อุเบกขาเวทนาทั้ง ๘ ดวง จำแนกโดยเวทนา ๕ จิตโดยพิสดาร ๑๒๑ จิตโดยย่อ ๘๙ สุขเวทนา ๑ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ โสมนัสเวทนา ๖๒ โสมนัสเวทนา ๓๐ โทมนัสเวทนา ๒ โทมนัสเวทนา ๒ อุเบกขาเวทนา ๕๕ อุเบกขาเวทนา ๕๕ หน้า ๗ เวทนากับเจตสิก เวทนาเจตสิก มีการแสดงเป็น ๒ นัย คือ ก. แสดงว่า เวทนาใดเกิดกับเจตสิกอะไรได้บ้าง ข. แสดงว่า เจตสิกใดเกิดกับเวทนาอะไรได้บ้าง ก. เวทนาเกิดกับเจตสิก สุขเวทนา เกิดได้กับ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) ทุกขเวทนา เกิดได้กับ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) โสมนัสเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๔๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นเวทนา เจตสิก) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑) โสภณ เจตสิก ๒๕ โทมนัสเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๒๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น เวทนาปิติ) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโลติกะ ๓ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑) อุเบกขาเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๔๖ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น เวทนาปิติ) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกะ ๔) โสภณเจตสิก ๒๕ ข. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับเวทนา ๑. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนาอย่างเดียว มี ๖ ดวง คือ โทจตุกเจตสิก ๔ เกิดพร้อมกับ โทมนัสเวทนา อย่างเดียว ปิติเจตสิก ๑ เกิดพร้อมกับ โสมนัสเวทนา อย่างเดียว วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา หน้า ๘ ๒. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๒ มี ๒๘ ดวง คือ โลติกเจตสิก ๓ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนาก็ได้ อุเบกขาเวทนาก็ได้ โสภณเจตสิก ๒๕ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนาก็ได้ อุเบกขาเวทนาก็ได้ ๓. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๓ มี ๑๑ ดวง คือ โมจตุกเจตสิก ๔ ถีนมิทธเจตสิก ๒ วิตกเจตสิก ๑ วิจารเจตสิก ๑ อธิโมกขเจตสิก ๑ วิริยเจตสิก ๑ ฉันทเจตสิก ๑ เจตสิก ๑๑ ดวงนี้ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา หรืออุเบกขาเวทนาอย่างใดก็ได้ ๔. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๕ มี ๖ ดวงคือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) ๕. เจตสิกที่ไม่เกิดพร้อมกับเวทนา มี ๑ ดวง คือ เวทนาเจตสิก หมวดที่ ๒ เหตุสังคหะ เหตุ คือ ธรรมที่เป็นรากเง่าเค้ามูลที่ให้จิตเป็นอกุสล เป็นกุสล หรือเป็น อพยากตะ เหตุสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องเหตุ มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๕ แสดงว่า ๕. โลโภ โทโส จ โมโห จ เหตู อกุสลา ตโย อโลภาโทสาโมโห จ กุสลาพฺยากตา ตถา ฯ แปลความว่า โลภะ โทสะ โมหะ เป็น อกุสลเหตุ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เป็นกุสลเหตุ และอพยากตเหตุ อธิบาย เหตุ มี ๖ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ หน้า ๙ โลภเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โลภเจตสิก โทสเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โทสเจตสิก โมหเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โมหเจตสิก อโลภเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ อโลภเจตสิก อโทสเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ อโทสเจตสิก อโมหเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ ปัญญาเจตสิก โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ เป็นเจตสิก ๓ ดวง เป็น อกุสลเจตสิก เมื่อ เจตสิกทั้ง ๓ คือเหตุทั้ง ๓ นี้ประกอบกับจิต ก็เป็นมูลฐานให้จิตเป็นอกุสล อันเป็นจิตที่ชั่วที่บาป เป็นจิตที่มีโทษและจักให้ผลเป็นทุกข์ ดังนั้น โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ จึงได้ชื่อว่าเป็น อกุสลเหตุ อกุสลเหตุประกอบกับจิตใด จิตนั้นก็เป็น อกุสลจิต อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ เป็นโสภณเจตสิกทั้ง ๓ ดวง เมื่อเจตสิกทั้ง ๓ คือเหตุทั้ง ๓ นี้ประกอบกับจิต ก็เป็นมูลฐานให้จิตเป็นโสภณ เป็นจิตที่ดีงาม เรียกว่า โสภณจิต อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ประกอบกับโสภณจิตประเภทกุสล เป็นจิตที่ดี งาม ฉลาด เป็นจิตที่ปราศจากโทษ และจักให้ผลเป็นสุขด้วย ดังนั้น อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ที่ประกอบกับกุสลจิตทั้งปวง จึงได้ชื่อว่าเป็น กุสลเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ประกอบกับโสภณจิตประเภทวิบากและกิริยา อันรวมเรียกว่า อพยากตจิต เป็นจิตที่ดี งาม ฉลาด ปราศจากโทษเหมือนกัน แต่ ไม่เป็นบุญ ไม่เป็นบาป เพราะไม่สามารถให้เกิดผลอย่างใดขึ้นมาได้ ดังนั้นอโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ที่ประกอบกับวิบากจิตหรือกิริยาจิตทั้งหลาย จึงได้ชื่อว่าเป็น อพยากตเหตุ รวมได้ความว่า เมื่อกล่าวถึงจำนวนเหตุโดยประเภทที่ประกอบกับจิตก็มี ๙ เหตุ คือ อกุสลเหตุ มี ๓ ได้แก่ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ กุสลเหตุ มี ๓ ได้แก่ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ อพยากตเหตุ มี ๓ ได้แก่ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ถ้ากล่าวถึง จำนวนเหตุโดยประเภทแห่งองค์ธรรมแล้ว ก็มี ๖ เหตุ คือ โลภ เหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ หน้า ๑๐ เหตุ กับ จิต เหตุที่ประกอบกับจิต จิตทั้งหมดมี ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ จิตที่มีเหตุประกอบ กับ จิตที่ไม่มีเหตุประกอบ ก. อเหตุกจิต เป็นจิตที่ไม่มีเหตุประกอบ (ไม่มีสัมปยุตตเหตุ) คือ ไม่มี เหตุ ๖ ประกอบเลยแม้แต่เหตุเดียว ข. สเหตุกจิต เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ คือ มีเหตุ ๖ ประกอบอย่างน้อย ที่สุด ก็ ๑ เหตุ และอย่างมากไม่เกิน ๓ เหตุ มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๖ แสดงว่า ๖. อเหตุกาฏฺฐารเสก เหตุกา เทฺว ทฺวาวีสติ ทฺวิเหตุกา มตา สตฺต จตฺตาฬีส ติเหตุกา ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต มี ๑๘ เอกเหตุกจิต มี ๒ ทวิเหตุกจิต มี ๒๒ ติเหตุกจิต มี ๔๗ อธิบาย ๑. อเหตุกจิต เป็นจิตที่ไม่มีสัมปยุตตเหตุ คือ ไม่มีเหตุ ๖ ประกอบเลยแม้แต่ เหตุเดียว อเหตุกจิต มี ๑๘ ดวง ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ สันตีรณจิต ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ๒. เอกเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบเพียงเหตุเดียว เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็นสเหตุกจิต เอกเหตุกจิต มี ๒ ดวง ได้แก่ โมหมูลจิต ๒ ซึ่งเป็นจิตที่มีเหตุประกอบเพียงเหตุเดียว คือ โมหเหตุ ๓. ทวิเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็น สเหตุกจิต ทวิเหตุกจิต มี ๒๒ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ๘ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ โลภเหตุ โมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ โทสเหตุ โมหเหตุ มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ ๔. ติเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบ ๓ เหตุ เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็น สเหตุกจิต ติเหตุกจิต มี ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง ได้แก่ มหากุสล ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหาวิบาก ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหากิริยา ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ มีเหตุประกอบ ๓ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุ ข้อสังเกต อเหตุกจิต ไม่มีเหตุประกอบเลย อกุสลจิต มีเหตุประกอบอย่างน้อย ๑ เหตุ อย่างมาก ๒ เหตุ โสภณจิต มีเหตุประกอบอย่างน้อย ๒ เหตุ อย่างมาก ๓ เหตุ หน้า ๑๒ นับจำนวนเหตุ อกุสลเหตุ ๓ โลภเหตุ ประกอบใน โลภมูลจิต ๘ เป็น ๘ เหตุ รวมอกุสลเหตุ ๒๒ เหตุ โทสเหตุ ประกอบใน โทสมูลจิต ๒ เป็น ๒ เหตุ โมหเหตุ ประกอบใน โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒ เป็น ๑๒ เหตุ กุสลเหตุ ๓ อโลภเหตุ ประกอบใน มหากุสล ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโลภเหตุ ๒๑ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๗ เหตุ) อโทสเหตุ ประกอบใน มหากุสล ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโทสเหตุ ๒๑ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๗ เหตุ) อโมหเหตุ ประกอบในมหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโมหเหตุ ๑๗ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๓เหตุ) รวม กุสลเหตุ คืออโลภเหตุ ๒๑ อโทสเหตุ ๒๑ อโมหเหตุ ๑๗ เป็น ๕๙ เหตุ อย่างพิสดาร คือ อโลภเหตุ ๓๗ อโทสเหตุ ๓๗ อโมหเหตุ ๓๓ เป็น ๑๐๗ เหตุ หน้า ๑๓ อพยากตเหตุ ๓ อโลภเหตุ ประกอบใน มหาวิบาก ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหากิริยา ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโลภเหตุ ๓๘ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๕๔ เหตุ) อโทสเหตุ ประกอบใน มหาวิบาก ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหากิริยา ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโทสเหตุ ๓๘ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๕๔ เหตุ) อโมหเหตุ ประกอบในมหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบในมหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโมหเหตุ ๓๐ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๔๖ เหตุ) รวม อพยากตเหตุ คืออโลภเหตุ ๓๘ อโทสเหตุ ๓๘ อโมหเหตุ ๓๐ เป็น ๑๐๖ เหตุ อย่างพิสดาร อโลภเหตุ ๕๔ อโทสเหตุ ๕๔ อโมหเหตุ ๔๖ เป็น ๑๕๔ เหตุ รวม อกุสลเหตุ ๒๒ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๒๒ เหตุ กุสลเหตุ ๕๙ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๑๐๗ เหตุ อพยากตเหตุ ๑๐๖ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๑๕๔ เหตุ รวมเหตุทั้งหมดเป็น ๑๘๗ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๒๘๓ เหตุ หน้า ๑๔ คิดจำนวนเหตุอย่างง่าย โลภมูลจิต ๘ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๑๖ เหตุ โทสมูลจิต ๒ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๔ เหตุ โมหมูลจิต ๒ ดวง x ๑ เหตุ เป็น ๒ เหตุ รวม ๒๒ เหตุ กามโสภณ ญาณวิปปยุตต ๑๒ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๒๔ เหตุ กามโสภณ ญาณสัมปยุตต ๑๒ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๓๖ เหตุ รวม ๖๐ เหตุ มหัคคตจิต ๒๗ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๘๑ เหตุ โลกุตตรจิต ๘ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๒๔ เหตุ ( โลกุตตรจิต อย่างพิสดาร ๔๐ x ๓ เป็น ๑๒๐ เหตุ ) รวม ๑๐๕ เหตุ รวมเหตุใน อกุสลจิต มี ๒๒ เหตุ รวมเหตุใน กามโสภณจิต มี ๖๐ เหตุ รวมเหตุใน มหัคคตจิต มี ๘๑ เหตุ รวมเหตุใน โลกุตตรจิต มี ๒๔ เหตุ หรือ ๑๒๐ เหตุ รวมเหตุทั้งสิ้น ๑๘๗ เหตุ หรือ ๒๘๓ เหตุ เหตุกับเจตสิก เหตุกับเจตสิกนี้ เป็นการแสดงว่า เจตสิกใดมีเหตุอะไรบ้าง หรือว่า เจตสิกใด เกิดพร้อมกับเหตุอะไรได้บ้าง มีแสดง เป็น ๒ นัย มีชื่อว่า อคหิตัคคหณนัย และ คหิตัคคหณนัย อคหิตัคคหณนัย คือ นับแล้วไม่นับอีก หมายความว่า ธรรมใดเจตสิกใดที่ได้ ยกเป็นหัวข้อขึ้นแสดงแล้ว ยกมากล่าวแล้ว จะไม่นำมาแสดง ไม่นำมากล่าวอ้าง ไม่นำมานับซ้ำอีก คหิตัคคหณนัย คือ นับแล้วนับอีก หมายความว่า ธรรมใดเจตสิกใดที่ได้ยก เป็นหัวข้อขึ้นแสดงแล้ว ยกมากล่าวอ้างแล้ว ก็ยังจะต้องนำมาแสดง ยกมากล่าวอ้าง นำมานับซ้ำอีก อคหิตัคคหณนัย ๑. เจตสิกที่มี เหตุเดียว มี ๓ ดวง ได้แก่ โลภะ โทสะ วิจิกิจฉา ๒. เจตสิกที่มี ๒ เหตุ มี ๙ ดวง ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ มานะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ อโลภะ อโทสะ ปัญญา หน้า ๑๕ ๓. เจตสิกที่มี ๓ เหตุ มี ๒๗ ดวง ได้แก่ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ ถีนะ มิทธะ และ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้น อโลภะ อโทสะ ปัญญา) ๔. เจตสิกที่มี ๕ เหตุ มี ๑ ดวง ได้แก่ ปิติ ๕. เจตสิกที่มี ๖ เหตุ มี ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ) อธิบาย ในข้อ ๑ โลภเจตสิก จะต้องเกิดพร้อมกับโมหะอย่างแน่นอน จะเกิดแต่ลำพัง โดยไม่มีโมหะไม่ได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โลภเจตสิก มีเหตุเดียว คือ โมหเหตุ โทสเจตสิกก็ดี วิจิกิจฉาเจตสิกก็ดี ก็จะต้องเกิดกับโมหะเช่นเดียวกัน ดังนั้น โทสเจตสิก จึงมีเหตุเดียว คือโมหเหตุ และวิจิกิจฉาเจตสิก ก็มีเหตุเดียว คือ โมหเหตุ ในข้อ ๒ โมหเจตสิก เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ เพราะว่าโมหเจตสิกที่เกิดพร้อม กับโลภะก็มีโลภเหตุเป็นเหตุ เมื่อโมหเจตสิกเกิดพร้อมกับโทสะ ก็มีโทสะเหตุเป็น เหตุ รวมความว่า โมหเจตสิก มีโลภเหตุเป็นเหตุก็ได้ มีโทสเหตุเป็นเหตุก็ได้ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า โมหเจตสิก มี ๒ เหตุ ทิฏฐิเจตสิก กับ มานเจตสิก รวม ๒ ดวงนี้จะต้องเกิดพร้อมกับโลภะ โลภะ ก็ต้องเกิดพร้อมกับโมหะ เป็นอันว่า ทิฏฐิเจตสิกก็ดี มานเจตสิกก็ดี แต่ละดวงต่างก็ จะต้องเกิดพร้อมกับโลภะและโมหะ ดังนั้น ทิฏฐิ มานะ เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ คือ มีโลภเหตุ โมหเหตุเป็นเหตุร่วมพร้อมกัน อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก กุกกุจจเจตสิก รวม ๓ ดวงนี้ แต่ละดวงที่เกิด จะต้องเกิดร่วมกับโทสะและโมหะด้วยพร้อมกัน ดังนั้น เจตสิกทั้ง ๓ ดวงนี้ แต่ละ ดวงมี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุ โมหเหตุ เป็นเหตุร่วมพร้อมกัน อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ที่ประกอบพร้อมกันในจิตดวง ใด เจตสิก ๓ ดวงนี้ต่างก็เป็นเหตุซึ่งกันและกัน คือ อโลภเจตสิก ก็มี อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ รวมมี ๒ เหตุ อโทสเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ และ อโมหเหตุ รวมมี ๒ เหตุ ปัญญาเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ และ อโทสเหตุ รวมมี ๒ เหตุ ในข้อ ๓ อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก อุทธัจจเจตสิก รวมเจตสิกทั้ง ๓ ดวงนี้อยู่ใน หน้า ๑๖ ประเภทโมจตุกเจตสิก ซึ่งประกอบกับอกุสลจิตได้ทุก ๆ ดวงทั้ง ๑๒ ดวง อกุสลจิตทั้งหมดนั้นมี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ ดังนั้นเจตสิก ทั้ง ๓ ดวงที่กล่าวนี้จึงสามารถเกิดกับเหตุทั้ง ๓ นั้นได้ จึงได้ชื่อว่าเป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ ถีนเจตสิก มิทธเจตสิก ๒ ดวงนี้ ประกอบกับโลภมูลจิตก็ได้ ประกอบกับ โทสมูลจิตก็ได้ โลภมูลจิตมีโลภเหตุกับโมหเหตุ โทสมูลจิตมีโทสเหตุกับโมหเหตุ รวมจิต ๒ ประเภทนี้มี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ ดังนั้น ถีนะ มิทธะ ซึ่งประกอบกับจิต ๒ ประเภทนี้ได้ จึงได้ชื่อว่า เป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ซึ่งเป็น ต้นเหตุ และได้กล่าวในข้อ ๒ แล้ว) เป็นเจตสิกที่สามารถเกิดพร้อมกับอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิกได้ จึงกล่าวว่า โสภณเจตสิก ๒๒ ดวงนี้มี ๓ เหตุ ในข้อ ๔ ปีติเจตสิก ดวงเดียว เป็นเจตสิกที่มี ๕ เหตุ คือ เมื่อเกิดพร้อมกับ โลภโสมนัสก็มี โลภเหตุ โมหเหตุ เมื่อเกิดกับโสมนัสญาณสัมปยุตต ก็มี อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ จึงรวมเป็น ๕ เหตุ เว้นโทสเหตุอย่างเดียว เพราะโทสมูลจิต นั้นไม่มีปิติ มีแต่โทมนัส ในข้อ ๕ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติเจตสิก) เป็นเจตสิกที่มีเหตุทั้ง ๖ ครบบริบูรณ์ เพราะอัญญสมานาเจตสิก ๑๒ ดวงนี้ เกิดพร้อมกับเหตุใด ๆ ได้ทั้ง ๖ เหตุ ที่กล่าวมาแล้วนี้เป็นการแสดงตามนัยที่ นับแล้วไม่นับอีก ที่ชื่อ อคหิตัคคหณนัย และคงจะเห็นแล้วว่า เจตสิก ดวงใดที่ได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวอ้างแล้ว เช่น โลภ เจตสิก โทสเจตสิก วิจิกิจฉาเจตสิก หรือเจตสิกดวงอื่น ๆ ก็ดี เมื่อได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวอ้างในข้อใดที่ใดแล้ว ก็ไม่ได้ยกมากล่าวอ้าง หรือยกมาแสดงซ้ำในข้อ อื่น ๆ อีกเลย ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า นับแล้วไม่นับอีก คหิตัคคหณนัย ๑. อเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่ไม่มีเหตุ มี ๑๓ ดวง ได้แก่ ก. อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันทเจตสิก) ที่ประกอบกับอเหตุกจิต ๑๘ ข. โมหเจตสิก ๑ เฉพาะที่ประกอบกับโมหมูลจิต ๒ ๒. เอกเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มีเหตุเดียว มี ๒๐ ดวง ได้แก่ ก. เจตสิก ๑๕ ดวง ที่ประกอบกับโมหมูลจิต ๒ (เว้นโมหเจตสิก) ข. เจตสิก ๓ ดวง คือ โลภเจตสิก โทสเจตสิก โมหเจตสิก (สำหรับโมห เจตสิก หน้า ๑๗ นี้ หมายถึง ประกอบกับโลภมูลจิตโดยเฉพาะ และที่ประกอบ กับ โทสมูลจิตโดยเฉพาะ) ค. เจตสิก ๒ ดวง คือ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ที่ประกอบกับ ญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ ๓. ทวิเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มี ๒ เหตุ มี ๔๘ ดวง ได้แก่ ก. เจตสิก ๔๕ ดวง (เว้นโลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ ที่เป็น ตัวเหตุ) ที่ ประกอบกับทวิเหตุกจิต ๒๒ ข. เจตสิก ๓ ดวง คือ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ที่ ประกอบกับติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ ๔. ติเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มี ๓ เหตุ มี ๓๕ ดวง ได้แก่ ก. อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง ข. โสภณเจตสิก ๒๒ ดวง (เว้นอโลภะ อโทสะ ปัญญา อันเป็นตัวเหตุ) ที่ประกอบกับติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ อธิบาย ๑. อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้อย่างมากที่สุด ๑๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันทเจตสิก) อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ และปิติ ใน บรรดาเจตสิกทั้ง ๑๒ ดวงนี้ ไม่มี โลภเจตสิก โทสเจตสิก โมหเจตสิก อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก และปัญญาเจตสิก อันเป็นตัวเหตุทั้ง ๖ ประกอบร่วมอยู่ด้วยเลยแม้แต่ เหตุเดียว ดังนั้นเจตสิกทั้ง ๑๒ ดวงนี้ จึงได้ชื่อว่าเจตสิกที่ไม่มีเหตุตรงตามข้อ ๑ ก. ๒. โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก ฉันทเจตสิก)โมจตุกเจตสิก ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวมเป็น ๑๖ ดวง ได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ และวิจิกิจฉา ในบรรดา เจตสิกทั้ง ๑๖ ดวงนี้ มีโมหเจตสิก อันเป็นตัวเหตุอยู่เพียง ๑ เหตุเท่านั้น เจตสิกอีก ๑๕ ดวง นั้น ไม่มีเจตสิกอันเป็นตัวเหตุอีกเลย ดังนั้นจึงไได้ชื่อว่า โมหเจตสิก ที่ใน โมหมูลจิต ๒ ดวงนี้ เป็นเจตสิกที่ไม่มีเหตุ ตรงตามข้อ ๑ ข. เพราะโมหเจตสิก ในที่นี้ แม้ตัวเองจะเป็นตัวเหตุก็จริง แต่ไม่มีเหตุอื่นมาประกอบร่วมอีกด้วยเลย ๓. โมหมูลจิต ๒ ดวง มี เจตสิกประกอบได้ ๑๖ ดวง ดังที่ได้กล่าวแล้วใน ข้อ ๒ ข้างบนนี้นั้น ในจำนวนเจตสิก ๑๖ ดวง มีโมหเจตสิกอันเป็นตัวโมหเหตุ ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๑๕ ดวง หน้า ๑๘ เฉพาะเจตสิก ๑๕ ดวงนี้ เกิดร่วมกับโมหเจตสิกอัน เป็นโมหเหตุ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเจตสิก ๑๕ ดวงนี้เป็นเจตสิกที่มีเหตุ คือ โมหเหตุ เหตุเดียวตรงตามข้อ ๒ก.เพราะเจตสิก ๑๕ดวงนี้มีโมหเหตุเกิดมาร่วมประกอบด้วย ๔. โลภมูลจิต ๘ ดวง มีเจตสิกที่ประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกเจตสิก ๔ โลติกเจตสิก ๓ และถีทุกเจตสิก ๒ รวม ๒๒ ดวง อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ ปีติ ฉันทะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ ถีนะ และมิทธะ ในบรรดาเจตสิกทั้ง ๒๒ ดวงนี้ มีโลภเจตสิก อันเป็นโลภเหตุ ๑ มีโมห เจตสิกอันเป็นโมหเหตุ ๑ ร่วมอยู่ด้วยกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โลภเจตสิกมีเหตุ ๑ คือมีโมหเหตุเกิดร่วมด้วย และโดยทำนองเดียวกัน โมหเจตสิกในที่นี้ก็มีเหตุ ๑ คือมี โลภเหตุเกิดร่วมด้วย โทสมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกที่ประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้น ปีติเจตสิก) โมจตุกเจตสิก ๔ โทจตุกเจตสิก ๔ และถีทุกเจตสิก ๒ รวม ๒๒ ดวง อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ ฉันทะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ โทสะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ และ มิทธะ ในบรรดาเจตสิกทั้ง ๒๒ ดวงนี้ มีโทสเจตสิกอันเป็น โทสเหตุ ๑ มีโมหเจตสิกอันเป็นโมหเหตุ ๑ เกิดร่วมอยู่ด้วยกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โทสเจตสิกมีเหตุ ๑ คือมีโมหเหตุเกิดร่วมด้วย และโดยทำนองเดียวกัน โมหเจตสิก ในที่นี้ (คือในโทสมูลจิตนี้) ก็มีเหตุ ๑ คือมีโทสเหตุเกิดร่วมด้วย รวมความในข้อ ๔ นี้คงได้ความว่า โลภเจตสิกก็ดี โทสเจตสิกก็ดี โมหเจตสิก ที่ในโลภมูลจิตก็ดี และโมหเจตสิกที่ในโทสมูลจิตก็ดี ต่างก็มีเหตุเดียวเท่านั้น ตรง ตามข้อ ๒ ข. ๕. กามาวจรโสภณจิตญาณวิปปยุตต ๑๒ มีเจตสิก ประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) ในจำนวนเจตสิก ๓๗ ดวงนี้ มี อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เพราะว่า อโลภเจตสิกเกิดร่วมกับอโทสเจตสิกซึ่งต่างก็เป็นตัวเหตุด้วยกันทั้งคู่ และ ต่างก็เป็นเหตุให้แก่กันและกัน ดังนั้นในที่นี้ อโลภเจตสิก ก็มีเหตุ ๑ คือ อโทสเหตุ และ อโทสเจตสิก ก็มีเหตุ ๑ คือ อโลภเหตุ ตรงตามข้อ ๒ ค. ๖. ทวิเหตุกจิต ๒๒ นั้นได้แก่ โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ กามาวจรโสภณ ญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ โลภมูลจิต ๘ มีเจตสิกประกอบ ๒๒ ดวง คือ โลภเจตสิก ๑ โมหเจตสิก ๑ และ หน้า ๑๙ เจตสิกอื่น ๆ อีก ๒๐ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (เว้นโลภะ โมหะ) ๒๐ ดวงนี้เกิด ร่วมกับโลภเจตสิก โมหเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๒๐ ดวงนี้ มี ๒ เหตุ คือ โลภเหตุกับโมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มีเจตสิกประกอบ ๒๒ ดวง คือ โทสเจตสิก ๑ โมหเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๒๐ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (เว้นโทสะ โมหะ) ๒๐ ดวงนี้เกิด ร่วมกับโทสเจตสิก โมหเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๒๐ ดวงนี้มี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุกับโมหเหตุ กามาวจรโสภณญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (ที่ เว้น อโลภะ อโทสะ แล้ว) ๓๕ ดวงนี้ เกิดร่วมกับ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๓๕ ดวงนี้มี ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ และอโทสเหตุ เมื่อรวมเจตสิกที่ประกอบกับทวิเหตุกจิต ๒๒ ดวง ที่กล่าวในข้อ ๖ นี้เข้าด้วย กันทั้งหมดแล้วหัก โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ เจตสิกที่เป็นตัวเหตุออก และหักเจตสิกที่ซ้ำกันออกเสียอีกด้วยแล้ว จะได้เจตสิก ๔๕ ดวง ในเจตสิก ๔๕ ดวงนี้แหละที่ได้ชื่อว่า มี ๒ เหตุ คือ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุ ซึ่งประกอบกับโลภมูลจิตนั้น มี ๒ เหตุ คือ โลภเหตุกับโมหเหตุ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุ ซึ่งประกอบกับโทสมูลจิตนั้น มี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุกับโมหเหตุ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุซึ่งประกอบกับกามจิตวิปปยุตตนั้น มี ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุกับอโทสเหตุ เป็นอันว่าตรงกับข้อ ๓ ก. ๗. จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง จะต้องมี อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ประกอบ เจตสิก ๓ ดวงนี้ ก็คือเหตุทั้ง ๓ นั่นเอง เหตุทั้ง ๓ ที่เกิดร่วมกัน เกิดพร้อมกันนี้ ต่างก็เป็นเหตุให้แก่กันและกัน คือ อโลภเจตสิก ก็มี อโทสเหตุ กับ อโมหเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ อโทสเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ กับ อโมหเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ ปัญญาเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ กับ อโทสเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก รวมเจตสิก ๓ ดวงนี้ แต่ละดวงก็เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ ตรงตามข้อ ๓ ข. ๘. จิตที่เป็นไตรเหตุ หรือ ติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง คือ อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ ปัญญาเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เพราะเจตสิก ๓๕ หน้า ๒๐ ดวงนี้เกิดร่วมพร้อมกับอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก อันเป็นตัวเหตุทั้ง ๓ นั่นเอง จึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๓๕ (เว้น อโลภะ อโทสะ ปัญญา) ประกอบกับติเหตุกจิตนั้นเป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ ตรงตามข้อ ๔ ที่กล่าวมาตอนนี้ เป็นการแสดงตามนัย นับแล้วนับอีก ที่ชื่อ คหิตัคคหณนัย ซึ่งคงจะเห็นแล้วว่า เจตสิก ดวงใดที่ได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวแล้ว อ้างแล้วเช่น อัญญสมานาเจตสิก โมหเจตสิก เป็นต้น ในข้อต่อมาก็ยังยกมาแสดง ยกมากล่าว อ้างซ้ำอีก ดังนี้ จึงได้ชื่อว่า นับแล้วนับอีก หมวดที่ ๓ กิจจสังคหะ กิจจสังคหะ คือ การรวบรวมแสดงเรื่องกิจ หมายความว่า รวบรวมแสดงเรื่อง กิจการงาน หรือหน้าที่ของจิต เจตสิก เพื่อให้ทราบว่าจิตดวงใดตลอดจนเจตสิกที่ ประกอบกับจิตนั้น มีกิจการงาน หรือมีหน้าที่ทำอะไรกัน นอกจากกิจแล้ว ท่านแสดงฐานให้ทราบไว้ด้วย ฐาน แปลว่าที่ตั้ง ฐานของกิจ ก็คือที่ตั้ง ที่ทำงาน เป็นสถานที่ที่จิตและเจตสิกทำกิจการงาน มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๗ แสดงว่า ๗. ปฏิสนฺธทโย นาม กิจฺจเภเทน จุทฺทส ทสธา ฐานเภเทน จิตฺตุปฺปาทา ปกาสิตา ฯ แปลความว่า บรรดาจิตที่เกิดขึ้น มีกิจการงานที่ต้องทำ ๑๔ ประเภท เช่น ปฏิสนธิกิจ เป็นต้น ฐาน หรือสถานที่ทำงานของจิต มีเพียง ๑๐ เท่านั้น อธิบาย จิตทั้งหมด คือ ทั้ง ๘๙ หรือ ๑๒๑ ดวง มีกิจการงานหรือมีหน้าที่ต้องทำเพียง ๑๔ อย่าง หรือ ๑๔ กิจ เท่านั้น และใน ๑๔ กิจนี้ มีสถานที่สำหรับทำกิจการงาน นั้น ๑๐ แห่ง หรือ ๑๐ ฐาน คือ ๑. ปฏิสนธิกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ปฏิสนธิฐาน ๒. ภวังคกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ภวังคฐาน ๓. อาวัชชนกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า อาวัชชนฐาน ๔. ทัสสนกิจ ๕. สวนกิจ ๖. ฆายนกิจ ๗. สายนกิจ ๘. ผุสนกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ปัญจวิญญาณฐาน ๙. สัมปฏิจฉันนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า สัมปฏิจฉันนฐาน ๑๐. สันตีรณกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า สันตีรณฐาน ๑๑. โวฏฐัพพนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า โวฏฐัพพนฐาน ๑๒. ชวนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า ชวนฐาน ๑๓. ตทาลัมพนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า ตทาลัมพนฐาน ๑๔. จุติกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า จุติฐาน หน้าที่ของกิจ ๑. ปฏิสนธิกิจ ทำหน้าที่สืบต่อภพสืบต่อชาติ คือ ความเกิดขึ้นในภพใหม่ หมายเฉพาะขณะแรกที่เกิดใหม่ขณะเดียวเท่านั้น ฉะนั้นในภพหนึ่งชาติหนึ่ง จิตที่ทำ กิจปฏิสนธิจึงมีเพียงครั้งเดียว ขณะเดียวเท่านั้น ๒. ภวังคกิจ ทำหน้าที่เป็นองค์ของภพ ทำให้ตั้งอยู่ในภพนั้น ๆ เท่าที่อายุ สังขารจะพึงอยู่ได้ จิตทำภวังคกิจนี้ทำอยู่เสมอ น้อยบ้าง มากบ้าง นับประมาณไม่ได้ ๓. อาวัชชนกิจ ทำหน้าที่พิจารณาอารมณ์ที่มาถึงตน ทั้งทางปัญจทวาร และ มโนทวาร ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นเพียงขณะเดียว เป็นจิตนำวิถี เพราะเป็นจิตดวง แรกที่ขึ้นวิถีใหม่ในทุก ๆ วิถี ๔. ทัสสนกิจ ทำหน้าที่ เห็น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๕. สวนกิจ ทำหน้าที่ ได้ยิน ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๖. ฆายนกิจ ทำหน้าที่ ได้กลิ่น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๗. สายนกิจ ทำหน้าที่ รู้รส ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๘. ผุสนกิจ ทำหน้าที่ รู้สิ่งที่มากระทบกาย มีเย็น ร้อน อ่อนแข็ง เป็นต้น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว หน้า ๒๒ ๙. สัมปฏิจฉันนกิจ ทำหน้าที่รับอารมณ์ต่อจากทวิปัญจวิญญาณ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๑๐. สันตีรณกิจ ทำหน้าที่ไต่สวนอารมณ์ที่สัมปฏิจฉันนกิจส่งมาให้ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๑๑. โวฏฐัพพนกิจ ทำหน้าที่ตัดสินอารมณ์ กำหนดให้เป็นกุสล อกุสล หรือ กิริยา ในวิถีหนึ่ง ๆ ตามปกติก็เกิดขึ้นเพียงขณะเดียว แต่ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัด ตัดสิน ไม่ลง ก็อาจเกิด ๒ ขณะ ก็มี มากที่สุดเพียง ๓ ขณะ ๑๒. ชวนกิจ ทำหน้าที่เสพอารมณ์เป็น กุสล อกุสล หรือ กิริยา ตามที่ โวฏฐัพพนกิจได้ตัดสินและกำหนดมา ในวิถีหนึ่ง ๆ ตามปกติก็เกิดชวนะ ๗ ขณะ แต่ว่าที่เกิดน้อยกว่านี้ก็มี และที่เกิดมากมายจนประมาณไม่ได้ก็มีเหมือนกัน (เช่น เวลาเข้าฌานสมาบัติ) ๑๓. ตทาลัมพนกิจ ทำหน้าที่รับรู้อารมณ์ที่เหลือจากชวนกิจ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิด ขึ้น ๒ ขณะ ๑๔. จุติกิจ ทำหน้าที่เคลื่อนจากภพเก่า เป็นจิตสุดท้ายในภพนั้นชาตินั้น ในภพ หนึ่งชาติหนึ่ง จิตทำจุติกิจนี้เพียงครั้งเดียวขณะเดียวเท่านั้น จิตทำกิจ ๑. จิตทำ ปฏิสนธิกิจ มี ๑๙ ดวง คือ อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตวิบากจิต ๙ ๒. จิตทำ ภวังคกิจ มี ๑๙ ดวง คือ เท่ากันและเหมือนกันกับปฏิสนธิกิจ ๓. จิตทำ อาวัชชนกิจ มี ๒ ดวง คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ๔. จิตทำ ทัสสนกิจ มี ๒ ดวง คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ๕. จิตทำ สวนกิจ มี ๒ ดวง คือ โสตวิญญาณจิต ๒ ๖. จิตทำ ฆายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ฆานวิญญาณจิต ๒ ๗. จิตทำ สายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๘. จิตทำ ผุสนกิจ มี ๒ ดวง คือ กายวิญญาณจิต ๒ ๙. จิตทำ สัมปฏิจฉันนกิจ มี ๒ ดวง คือ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ หน้า ๒๓ ๑๐. จิตทำ สันตีรณกิจ มี ๓ ดวง คือ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ ๑๑. จิตทำ โวฏฐัพพนกิจ มี ๑ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ๑๒. จิตทำ ชวนกิจ มี ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ หสิตุปปาทจิต ๑ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ กามชวนะ ๒๙ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ อัปปนาชวนะ ๒๖ ๑๓. ตทาลัมพนกิจ มี ๑๑ ดวง คือ สันตีรณจิต ๓ มหาวิบากจิต ๘ ๑๔. จุติกิจ มี ๑๙ ดวง คือ เท่ากันและเหมือนกันกับปฏิสนธิกิจ ๘. อฏฺฐสฏฺฐี ตถา เทฺว จ นวาฏฺฐ เทฺว ยถากฺกมํ เอก ทฺวิ ติ จตุ ปญฺจ กิจฺจฏฺฐานานิ นิทฺทิเส ฯ แปลความว่า จิตทำกิจ ๑ มีฐาน ๑ นั้น มีอยู่ ๖๘ ดวง จิตทำกิจ ๒ มีฐาน ๒ นั้น มีอยู่ ๒ ดวง จิตทำกิจ ๓ มีฐาน ๓ นั้น มีอยู่ ๙ ดวง จิตทำกิจ ๔ มีฐาน ๔ นั้น มีอยู่ ๘ ดวง จิตทำกิจ ๕ มีฐาน ๕ นั้น มีอยู่ ๒ ดวง อธิบาย จิตที่ทำกิจ ๑ อย่าง และมีฐาน ๑ นั้น มีจำนวน ๖๘ ดวง คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ทัสสนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สวนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ฆายนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สายนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน หน้า ๒๔ กายวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ผุสนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ อาวัชชนกิจ อย่างเดียว ทำที่ อาวัชชนฐาน สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สัมปฏิจฉันนกิจ อย่างเดียว ทำที่ สัมปฏิจฉันนฐาน ชวนจิต ๕๕ ดวง ทำหน้าที่ ชวนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ชวนฐาน จิตที่ทำกิจ ๒ อย่าง และมีฐาน ๒ ฐานนั้น มี ๒ ดวง คือ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ สันตีรณกิจ ที่ สันตีรณฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ อาวัชชนกิจ ที่ อาวัชชนฐาน โวฏฐัพพนกิจ ที่ โวฏฐัพพนฐาน จิตที่ทำกิจ ๓ อย่าง และมี ฐาน ๓ ฐานนั้น มี ๙ ดวง คือ มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน จิตที่ทำกิจ ๔ อย่าง และมีฐาน ๔ ฐานนั้น มี ๘ ดวง คือ มหาวิบากจิต ๘ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน จิตที่ทำกิจ ๕ อย่าง และมีฐาน ๕ ฐานนั้น มี ๒ ดวง คือ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน สันตีรณกิจ ที่ สันตีรณฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน เจตสิกทำกิจ หน้า ๒๕ ๑. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๑ กิจ มี ๑๗ ดวง คือ อกุสลเจตสิก ๑๔ วีรตีเจตสิก ๓ ทำ ชวนกิจ อย่างเดียว ๒. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๔ กิจ มี ๒ ดวง คือ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ทำ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ชวนกิจ ๓. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๕ กิจ มี ๒๑ ดวง คือ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ปัญญาเจตสิก ๑ ฉันทเจตสิก ๑ ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๔. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๖ กิจ มี ๑ ดวง คือ ปีติเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ สันตีรณกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๕. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๗ กิจ มี ๑ ดวง คือ วิริยเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ อาวัชชนกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๖. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๙ กิจ มี ๓ ดวง คือ วิตกเจตสิก วิจารเจตสิก อธิโมกขเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ อาวัชชนกิจ สัมปฏิจฉันนกิจ สันตีรณกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๗. เจตสิกที่ทำหน้าที่หมดทั้ง ๑๔ กิจ มี ๗ ดวง คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวง ทำหน้าที่ทุกกิจ (ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ) ฐานของกิจอย่างพิสดาร ๒๕ ฐาน ได้แสดงมาแล้วว่า สถานที่ทำกิจของจิตนั้นได้ชื่อว่า ฐาน คือจิตทำปฏิสนธิกิจ ก็ทำที่ ปฏิสนธิฐาน เป็นต้น ไปถึงจิตที่ทำจุติกิจ ก็ทำที่ จุติฐาน เป็นที่สุด ซึ่งชื่อ ของกิจและชื่อของฐานนั้นก็ตรงกันเหมือนกัน เว้นแต่ ทัสสนกิจ สวนกิจ ฆายนกิจ สายนกิจ และผุสนกิจ รวม หน้า ๒๖ ๕ กิจนี้เท่านั้น ที่ทำกิจที่ปัญจวิญญาณฐาน ซึ่งชื่อของ กิจและชื่อของฐานไม่เหมือนกัน แต่ถ้าเรียกชื่อจิตที่ทำ ๕ กิจนั้นว่าปัญจวิญญาณจิต ทำกิจที่ ปัญจวิญญาณฐาน ชื่อของจิตกับชื่อของฐานก็เหมือนกันอีก ส่วนฐานของจิตอย่างพิสดารนี้เป็น ๒๕ ฐาน มุ่งหมายที่จะแสดงให้ทราบอีก นัยหนึ่งว่า ปฏิสนธิฐานนี้มีฐานอะไรเกิดมาก่อน จึงเกิดปฏิสนธิฐาน และเมื่อปฏิสนธิฐานผ่านพ้นไปแล้ว มีฐานอะไรเกิดติดตามมา หรือจิตที่ทำปฏิสนธิกิจนั้นมี จิตทำกิจอะไรเกิดมาก่อน จึงเกิดจิตที่ทำปฏิสนธิกิจขึ้น และเมื่อจิตที่ทำปฏิสนธิกิจ ดับไปแล้ว มีจิตทำกิจอะไรเกิดตามติดมาเป็นลำดับ อันเป็นการแสดงฐานตามนัย แห่ง วิถีจิต หรือแสดงฐานโดยอาศัยวิถีจิตเป็นหลักฐานจึงมากขึ้นเป็น ๒๕ ฐาน ฐานของกิจอย่างพิสดาร คือ ปฏิสนธิ มี ๑ ฐาน ภวังค มี ๖ ฐาน อาวัชชนะ มี ๒ ฐาน ปัญจวิญญาณ หมายถึง ปัญจวิญญาณ ๑ ฐาน สัมปฏิจฉันนะ ๑ ฐาน สันตีรณะ ๑ ฐาน โวฏฐัพพนะ ๒ ฐาน ชวน ๖ ฐาน ตทาลัมพนะ ๒ ฐาน และ จุติ ๓ ฐาน จึงรวมเป็น ๒๕ ฐาน ด้วยกัน มีรายละเอียดดังนี้ ๑. ปฏิสนธิ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง จุติ กับ ภวังค ๒. ภวังค มี ๖ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ปฏิสนธิ กับ อาวัชชนะ (๒) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ อาวัชชนะ (๓) ระหว่าง ชวนะ กับ อาวัชชนะ (๔) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ อาวัชชนะ (๕) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ จุติ (๖) ระหว่าง ชวนะ กับ จุติ ๓. อาวัชชนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ภวังค กับ ปัญจวิญญาณ (๒) ระหว่าง ภวังค กับ ชวนะ หน้า ๒๗ ๔. ปัญจวิญญาณ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง อาวัชชนะ กับ สัมปฏิจฉันนะ ๕. สัมปฏิจฉันนะ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง ปัญจวิญญาณ กับ สันตีรณะ ๖. สันตีรณะ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง สัมปฏิจฉันนะ กับ โวฏฐัพพนะ ๗. โวฏฐัพพนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง สันตีรณะ กับ ชวนะ (๒) ระหว่าง สันตีรณะ กับ ภวังค ๘. ชวนะ มี ๖ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ ตทาลัมพนะ (๒) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ ภวังค (๓) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ จุติ (๔) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ ตทาลัมพนะ (๕) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ ภวังค (๖) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ จุติ ๙. ตทาลัมพนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ชวนะ กับ ภวังค (๒) ระหว่าง ชวนะ กับ จุติ ๑๐. จุติ มี ๓ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ ปฏิสนธิ (๒) ระหว่าง ชวนะ กับ ปฏิสนธิ (๓) ระหว่าง ภวังค กับ ปฏิสนธิ ฐานพิสดาร ๒๕ ฐาน นี้ เมื่อได้ศึกษาถึงวิถีจิต ซึ่งเป็นปริจเฉทที่ ๔ แล้ว จะเข้าใจได้ดีขึ้น หมวดที่ ๔ ทวารสังคหะ ทวารสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องทวาร ทวาร แปลว่า ประตู คือ ทางเข้าออก ในที่นี้หมายถึง ทางที่จิตเจตสิกได้รับอารมณ์ หรือจิตเจตสิกได้รับ อารมณ์ทางนั้น ประตูนั้น ทวารนั้น เช่น จิตเจตสิกได้รับอารมณ์ทางตา ทางจักขุทวาร, ทางหู ทางโสตทวาร, ทางจมูก ฆานทวาร, ทางลิ้น ชิวหาทวาร เป็นต้น มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๙ แสดงว่า ๙. เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ปญฺจฉทฺวาริกานิ จ ฉทฺสาริกวิมุตฺตานิ วิมุตฺตานิ จ สพฺพถา ฯ แปลความว่า จิตอาศัยทวารเดียวก็มี อาศัย ๕ ทวารก็มี อาศัย ๖ ทวารก็มี บางทีอาศัย ทวารทั้ง ๖ บ้าง ไม่อาศัยบ้างก็มีและที่ไม่อาศัยเลยทั้ง ๖ ทวารก็มี มีอยู่ทุกประการ หน้า ๒๘ อธิบาย ที่ว่ามีอยู่ทุกประการนั้น รวมมีอยู่ด้วยกัน ๕ ประการ คือ ๑. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารเดียว เรียกว่า เอกทวาริกจิต ๒. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๕ เรียกว่า ปัญจทวาริกจิต ๓. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๖ เรียกว่า ฉทวาริกจิต ๔. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๖ บ้าง แต่บางทีก็เกิดพ้นทวาร คือไม่ต้อง อาศัยทวารบ้าง เรียก ฉทวาริกวิมุตตจิต ๕. จิตที่เกิด พ้นทวารแน่นอน คือ จิตนั้นเกิดโดยไม่ต้องอาศัยทวารทั้ง ๖ เลยทีเดียว เรียกว่า ทวารวิมุตตจิต ทวาร คือ ประตู หรือ ทาง ที่จิตเจตสิกอาศัยเป็นทางให้ได้รับอารมณ์ ซึ่งมีอยู่ ๖ ทวาร หรือ ๖ ทางด้วยกัน คือ ๑. จักขุทวาร คือ ทางตา องค์ธรรมได้แก่ จักขุปสาทรูป ๒. โสตทวาร คือ ทางหู องค์ธรรมได้แก่ โสตปสาทรูป ๓. ฆานทวาร คือ ทางจมูก องค์ธรรมได้แก่ ฆานปสาทรูป ๔. ชิวหาทวาร คือ ทางลิ้น องค์ธรรมได้แก่ ชิวหาปสาทรูป ๕. กายทวาร คือ ทางกาย องค์ธรรมได้แก่ กายปสาทรูป ๖. มโนทวาร คือ ทางใจ องค์ธรรมได้แก่ ภวังคจิต ตั้งแต่เลข ๑ ถึง ๕ รวม ๕ ทวารนี้เรียกว่า ปัญจทวาร องค์ธรรมได้แก่ ปสาทรูปทั้ง ๕ เป็นรูปทวาร เป็นทางให้ทวิปัญจวิญญาณเกิดขึ้นรับรู้อารมณ์ ทั้ง ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส การสัมผัสถูกต้อง และเป็นทางให้เกิดวิถีจิต ทางปัญจทวารอีกด้วย เฉพาะเลข ๖ มโนทวาร องค์ธรรมได้แก่ ภวังคจิตนั้น เป็นนามทวาร ภวังค จิตนี้เป็นเหตุแห่งความเกิดขึ้นของจิตทั้งปวงและเป็นทางให้เกิดวิถีจิตทางมโนทวาร อีกด้วย ทวารทั้ง ๖ นี้เป็น รูปธรรม ๕ ทวาร เป็น นามธรรม เพียงทวารเดียว และทวารใดมีจิตอาศัยเป็นทางให้เกิดได้เป็นจำนวนเท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๑๐ ว่า ๑๐. ฉตฺตีสติ ตถา ตีณิ เอกตฺตีส ยถากฺกมํ ทสธา นวธาเจติ ปญฺจธา ปริทีปเย ฯ แปลความว่า พึงกำหนดจำนวนจิตเหล่านั้น ๕ ประเภทตามลำดับ คือ หน้า ๒๙ เอกทวาริกจิต มี ๓๖ ดวง ปัญจทวาริกจิต มี ๓ ดวง ฉทวาริกจิต มี ๓๑ ดวง ฉทวาริกวิมุตตจิต มี ๑๐ ดวง ทวารวิมุตตจิต มี ๙ ดวง อธิบาย ๑. เอกทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารเดียว มีจำนวน ๓๖ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อัปปนาชวนะ ๒๖ ๒. ปัญจทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทางทวารทั้ง ๕ (ปัญจทวาร) มี ๓ ดวง ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ รวมเรียก มโนธาตุ ๓. ฉทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทางทวารทั้ง ๖ มี ๓๑ ดวง ได้แก่ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ๔. ฉทวาริกวิมุตตจิต บ้างก็เรียกว่า ฉทวาริกทวารวิมุตตจิต จิตที่บางทีก็ อาศัยทวารทั้ง ๖ เกิด และบางทีก็ไม่อาศัยทวารทั้ง ๖ เกิด มี ๑๐ ดวง ได้แก่ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ เมื่ออุเบกขา สันตีรณจิต ๒ ดวงนี้ ทำหน้าที่ สันตีรณกิจ หรือ ตทาลัมพน กิจก็ดี มหาวิบากจิต ๘ ดวง ทำหน้าที่ ตทาลัมพนกิจก็ดี ก็ต้องอาศัยทวารเป็นทางเกิด แต่ถ้าจิต ๑๐ ดวงนี้ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ๓ อย่างนี้ ก็ไม่ต้องอาศัยทวารเลย ๕. ทวารวิมุตตจิต จิตที่เกิดพ้นจากทวารทั้ง ๖ คือ จิตที่เกิดโดยไม่ต้องอาศัย ทวารทั้ง ๖ เลย มี ๙ ดวง ได้แก่ มหัคคตวิบากจิต ๙ ที่กล่าวมาแล้วข้างบนนี้ เป็นการแสดงจำนวนจิตที่ต้องอาศัยทวาร หรือไม่ต้อง อาศัยทวารโดยแน่นอน (เอกันตะ) แต่อย่างเดียว หน้า ๓๐ ต่อไปนี้ จะแสดงรายละเอียดของจำนวนจิตที่เกิดได้แต่ละทวาร ทั้งที่ แน่นอน (เอกันตะ) และที่ ไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ด้วย ๑. จิตที่เกิดได้ทาง จักขุทวาร เรียกว่า จักขุทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๒. จิตที่เกิดได้ทาง โสตทวาร เรียกว่า โสตทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๓. จิตที่เกิดได้ทาง ฆานทวาร เรียกว่า ฆานทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๔. จิตที่เกิดได้ทาง ชิวหาทวาร เรียกว่า ชิวหาทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๕. จิตที่เกิดได้ทาง กายทวาร เรียกว่า กายทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๖. จิตที่เกิดได้ทาง มโนทวาร เรียกว่า มโนทวาริกจิต มี ๖๗ ดวง ๗. จิตที่เกิดได้ทาง ทวารเดียว เรียกว่า เอกทวาริกจิต มี ๘๐ ดวง ๘. จิตที่เกิดได้ทาง ทวาร ๕ เรียกว่า ปัญจทวาริกจิต มี ๔๔ ดวง ๙. จิตที่เกิดได้ทาง ทวาร ๖ เรียกว่า ฉทวาริกจิต มี ๔๑ ดวง ๑๐. จิตที่เกิดพ้นจากทวารทั้ง ๖ เรียกว่า ทวารวิมุตตจิต มี ๑๙ ดวง เฉพาะ จักขุทวาริกจิต และโสตทวาริกจิต สองประเภทนี้เท่านั้น ถ้านับอภิญญา จิต ๒ ดวง คือ ทิพพจักขุญาณที่เป็นกุสล ๑ กิริยา ๑ รวมเข้าด้วย จักขุทวาริกจิตก็ มี ๔๘ ดวง และนับทิพพโสตญาณที่เป็นกุสล ๑ กิริยา ๑ รวมเข้าด้วย โสตทวาริกจิต ก็มี ๔๘ ดวง ๑. จักขุทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ จักขุวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๒. โสตทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ โสตวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๓. ฆานทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ฆานวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๔. ชิวหาทวาริกจิต แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๕. กายทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ กายวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ เฉพาะ อภิญญาจิต ๒ ดวง ถ้าจะนับรวมเข้ากับ จักขุทวาริกจิต โสตทวาริกจิต ด้วยดังที่กล่าวแล้วข้างต้นนั้น ก็จัดอยู่ในประเภทอเนกันตะ ไม่แน่นอน เพราะบางที ก็เกิด บางทีก็ไม่เกิด ๖. มโนทวาริกจิต มี ๖๗ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒๖ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๑ ดวง ได้แก่ อัปปนาชวนจิต ๒๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๗. เอกทวาริกจิต มี ๘๐ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓๖ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓ อัปปนาชวนจิต ๒๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๘. ปัญจทวาริกจิต มี ๔๔ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ๔๑ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๙. ฉทวาริกจิต มี ๔๑ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓๑ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๑๐ ดวง ได้แก่ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหาวิบากจิต ๘ กามชวนกิจ ๒๙ หน้า ๓๒ ๑๐. ทวารวิมุตตจิต มี ๑๙ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๙ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๑๐ ดวง ได้แก่ มหัคคตวิบากจิต ๙ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ เจตสิก กับ ทวาร ๑. วิรตีเจตสิก ๓ ดวง เมื่อประกอบกับโลกุตตรจิต ย่อมเกิดเฉพาะทางมโน ทวารทางเดียว ๒. อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง ที่ประกอบกับมหัคคตจิต ก็ย่อมเกิดเฉพาะทาง มโนทวาร ทางเดียวเหมือนกัน ๓. เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง ที่ประกอบกับจิต ๘๐ ดวง (เว้นมหัคคตวิบากจิต ๙) เกิดได้ในทวารทั้ง ๖ ทั้งที่แน่นอน (เอกันตะ) และไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ด้วย ๔. เจตสิก ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ ดวง (เว้นวิรตี ๓) ที่ประกอบกับมหัคคตวิบากจิตนั้น เป็นเจตสิกที่พ้นทวาร ที่กล่าวมาสั้น ๆ เพียงเท่านี้ ก็เพราะมีหลักอันเป็นข้อกำหนดที่ควรจะทราบอยู่ ว่า เจตสิกประกอบกับจิตใด ก็มีฐานะเช่นเดียวกับจิตนั้น ดังนั้น จิตอาศัยทวารใด เป็นทางเกิด เจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้น ก็อาศัยทวารนั้นเป็นทางเกิดเช่นเดียวกัน หมวดที่ ๕ อารัมมณสังคหะ อารัมมณสังคหะ คือ การรวบรวมกล่าวเรื่องอารมณ์ คำว่า อารัมมณะ นี้บางทีเรียกว่า อารัมพนะ มีความหมายอย่างเดียวกัน อารมณ์ คือ ธรรมชาติอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก " สภาวะที่สามารถยังให้จิตและเจตสิกธรรมข้องได้นั้น ชื่อว่า อารมณ์ " อารมณ์ มี ๖ ประเภท จิตจะต้องมีอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวอย่างแน่นอน จิตที่ไม่มีอารมณ์ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนั้นไม่มีเลย หน้า ๓๓ อารมณ์ในสังคหะนี้มี ๖ ประเภท อันเป็นการจำแนกตามความสามารถแห่ง ทวารที่จะพึงรับอารมณ์นั้น ๆ ได้ คือ ๑. รูปารมณ์ แปลว่า รูปเป็นอารมณ์ ได้แก่ วัณณะ (สี) เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางตา ๒. สัททารมณ์ แปลว่า เสียงเป็นอารมณ์ ได้แก่ สัททะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางหู ๓. คันธารมณ์ แปลว่า กลิ่นเป็นอารมณ์ ได้แก่ คันธะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางจมูก ๔. รสารมณ์ แปลว่า รสเป็นอารมณ์ ได้แก่ รสะ คือ อมฺพิล รสเปรี้ยว, มธุร รสหวาน, โลณิก รสเค็ม, กฎก รสเผ็ด, ติตฺต รสขม และ กสาว รสฝาด รวมทั้งหมด ๖ รสเท่านี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางลิ้น ๕. โผฏฐัพพารมณ์ แปลว่า การสัมผัสถูกต้องกาย เป็นอารมณ์ ได้แก่ ปฐวี ความแข็ง ความอ่อน, เตโช ความร้อน ความเย็น, วาโย ความหย่อน ความเคร่ง ตึง เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางกาย ทั้ง ๕ อารมณ์นี้ รวมเรียกว่า ปัญจารมณ์ ๖. ธัมมารมณ์ แปลว่า สภาพธรรมที่สาธารณแก่ใจเป็นอารมณ์ ได้แก่ สภาว ธรรม ๖ ประการ คือ ปสาทรูป ๕, สุขุมรูป ๑๖, จิต ๘๙, เจตสิก ๕๒, นิพพาน และ บัญญัติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางใจ (ทางมโน) รวมอารมณ์ทั้ง ๖ นี้เรียกว่า ฉอารมณ์ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ และโผฏฐัพพารมณ์ อันรวมเรียกว่า ปัญจารมณ์ หรือ อารมณ์ทั้ง ๕ นี้เป็น รูปธรรม ส่วน ธัมมารมณ์ นั้น จิต เจตสิก และนิพพาน เป็น นามธรรม ปสาทรูป ๕ และสุขุมรูป ๑๖ เป็น รูปธรรม เฉพาะบัญญัติ นั้น ไม่ใช่รูปธรรม และไม่ใช่นาม ธรรมด้วย แต่เป็น บัญญัติธรรม หน้า ๓๔ อารมณ์ ๖ จำแนกเป็น ๔ นัย อารมณ์ทั้ง ๖ คือ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ และ ธัมมารมณ์ นี้ จำแนกได้เป็น ๔ นัย คือ ๑. กามอารมณ์ ๒. มหัคคตอารมณ์ ๓. บัญญัติอารมณ์ ๔. โลกุตตรอารมณ์ นัยที่ ๑ กามอารมณ์ บ้างก็เรียก กามารมณ์ องค์ธรรม ได้แก่ กามจิต ๕๔, เจตสิก ๕๒, รูป ๒๘ หมายความว่า เมื่อจิตยึดหน่วงเอากามจิต ๕๔ ดวงนั้น ดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี หรือยึดหน่วงเอารูป ๒๘ นั้นรูปใดรูปหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ก็ได้ชื่อว่า จิตนั้นยึดหน่วงกามอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น กามธรรม นัยที่ ๒ มหัคคตอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ มหัคคตจิต ๒๗ เจตสิก ๓๕ หมายความว่า เมื่อจิตยึดหน่วงเอามหัคคตจิต ๒๗ นั้นดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นยึดหน่วงมหัคคตอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น มหัคคตธรรม กามอารมณ์ มหัคคตอารมณ์ เป็น โลกียอารมณ์ เพราะองค์ธรรมของ อารมณ์ทั้ง ๒ นี้ เป็นโลกียธรรมทั้งนั้น เมื่อจิตยึดหน่วงเอาโลกียธรรมเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นมีอารมณ์เป็นโลกีย นัยที่ ๓ บัญญัติอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ บัญญัติธรรม ๒ ประการ คือ อัตถบัญญัติ และ สัททบัญญัติ อัตถบัญญัติ ได้แก่ การสมมติขึ้นเพื่อให้รู้เนื้อความ หรือความหมายแห่ง รูปร่าง สัณฐาน หรือลักษณะอาการของชื่อนั้น ๆ เช่น ภูเขา ต้นไม้ บ้านเรือน เดิน วิ่ง เป็นต้น สัททบัญญัติ ได้แก่ รู้จักเสียงที่เรียกชื่อนั้น ๆ คือ รู้ด้วยเสียงที่หมายถึง อัตถบัญญัตินั้น ๆ เช่น ในขณะที่ไม่ได้เห็นภูเขา ไม่ได้เห็นต้นไม้ แต่เมื่ออกเสียง พูดว่าภูเขา พูดว่าต้นไม้ ก็รู้และเข้าใจได้ว่า ภูเขา ต้นไม้ มีรูปร่างสัณฐานเป็น อย่างนั้น ๆ หรือไม่ได้เห็นขณะที่เดิน ขณะที่วิ่ง แต่เมื่ออกเสียงพูดว่า เดิน วิ่ง ก็รู้และเข้าใจได้ว่า เดิน วิ่ง มีอาการอย่างนั้น ๆ เช่นนี้เป็นต้น เมื่อจิตยึดหน่วงเอาบัญญัติอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นยึด หน่วงบัญญัติเป็นอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็นบัญญัติธรรม หน้า ๓๕ นัยที่ ๔ โลกุตตรอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ และ เจตสิก ๓๖ และ นิพพาน เมื่อจิตยึดหน่วงเอามัคคจิตดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ยึด หน่วงเอาผลจิตดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ยึดหน่วงพระนิพพานเป็นอารมณ์ก็ดีก็ได้ชื่อว่า จิตนั้นยึดหน่วงโลกุตตรอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น โลกุตตรธรรม จิตใดยึดหน่วงอารมณ์อะไร ขอกล่าวย้ำอีกครั้งหนึ่งว่า จิตต้องมีอารมณ์ ขึ้นชื่อว่าจิตแล้วจะไม่ยึดหน่วง อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งนั้นไม่มีเลย แต่ว่า จิตใดยึดหน่วง หรือข้องอยู่ในอารมณ์ใด บ้างนั้น มีคาถาสังคหะ อันเป็นคาถาที่ ๑๑ และ ๑๒ แสดงไว้ว่า ๑๑. ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเต เอกวีสติ โวหาเร อฏฺฐ นิพฺพานโคจเร ฯ ๑๒. วีสานุตฺตร มุตฺตมฺหิ อคฺค มคฺค ผลุชฺฌิเต ปญฺจ สพฺพตฺถ ฉจฺเจติ สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโหฯ แปลความว่า จิต ๒๕ ดวง ยึดหน่วง กามอารมณ์ จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ จิต ๒๑ ดวง ยึดหน่วง บัญญัติอารมณ์ จิต ๘ ดวง ยึดหน่วง นิพพานอารมณ์ จิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจาก โลกุตตร จิต ๕ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจาก อรหัตตมัคค อรหัตตผล จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ได้ทั้งหมดทั้งสิ้น อธิบาย ๑. จิต ๒๕ ดวง ยึดหน่วง กามอารมณ์ นั้น คือ ก. จิต ๑๐ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ยึดหน่วงปัญจารมณ์ โดยเฉพาะๆ ที่เป็นปัจจุบัน ข. จิต ๓ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ ยึดหน่วงปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน หน้า ๓๖ ค. จิต ๑๒ ดวง ได้แก่ ตทาลัมพน ๑๑ หสิตุปปาท ๑ ยึดหน่วงอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม ๒. จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ นั้น คือ ก. วิญญาณัญจายตนจิต ๓ ดวง มี อากาสานัญจายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ ข. เนวสัญญานาสัญญายตนจิต ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ ๓. จิต ๒๑ ดวง ยึดหน่วง บัญญัติอารมณ์ นั้น คือ ก. รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีบัญญัติเป็นอารมณ์ ข. อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติเป็นอารมณ์ ค. อากิญจัญญายตนจิต ๓ ดวง มีนัตถิภาวบัญญัติ เป็นอารมณ์ ๔. จิต ๘ ดวง ยึดหน่วง นิพพานอารมณ์ นั้น คือ โลกุตตรจิต ๘ ดวง ได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ แต่อย่างเดียว ๕. จิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจากโลกุตตรนั้น คือ ก. อกุสลจิต ๑๒ ดวง ข. มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ ดวง ค. มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นโลกีย และบัญญัติ คือ มีกามอารมณ์ มหัคคตอารมณ์ บัญญัติอารมณ์ได้(เว้นโลกุตตรอารมณ์) ๖. จิต ๕ ดวงยึดหน่วงอารมณ์ที่เว้นจากอรหัตตมัคค อรหัตตผล คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ดวง ข. อภิญญากุสล ๑ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นโลกีย บัญญัติ และ โลกุตตรได้(เว้นเฉพาะอรหัตตมัคคอรหัตตผล) ๗. จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ได้ทั้งหมดนั้น คือ ก. มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ดวง ค. อภิญญา กิริยา ๑ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย บัญญัติ และ โลกุตตรได้ทั้งหมด ไม่มีเว้นเลย หน้า ๓๗ ขยายความ ๑. กามอารมณ์ ในข้อ ๑ ก. ที่ว่าจิต ๑๐ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มี ปัญจารมณ์ โดยเฉพาะ ๆ ที่เป็นปัจจุบันอย่างเดียวนั้น คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ รูปารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ สัททารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ คันธารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ รสารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ กายวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ โผฏฐัพพารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ในข้อ ๑ ข. ที่ว่าจิต ๓ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มีปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นอารมณ์นั้น คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวงนี้ จิตแต่ละดวงก็มี รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ หรือ โผฏฐัพพารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ก็ได้ ไม่จำกัดเป็นเฉพาะอย่างเหมือนในข้อ ๑ ก. แต่ข้อสำคัญอารมณ์ นั้นจะต้องเป็นปัจจุบันด้วย ในข้อ ๑ ค. ที่ว่าจิต ๑๒ ดวง ได้แก่ ตทาลัมพนจิต ๑๑ หสิตุปปาทจิต ๑ มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นกามธรรมนั้น คือ จิต ๑๒ ดวงที่ว่านี้มีอารมณ์ ๖ อย่างใดอย่างหนึ่งเฉพาะที่เป็นกามธรรมเป็น อารมณ์ได้ และอารมณ์นั้นจะเป็นปัจจุบัน หรืออดีต หรืออนาคตก็ได้ ไม่จำกัดว่า จะต้องเป็นปัจจุบันอย่างเดียว เหมือนข้อ ๑ ก. และข้อ ๑ ข. ในข้อ ๑ นี้ รวมจิตได้ ๒๕ ดวง แม้จะมีอารมณ์ต่างกันก็จริง แต่ว่าอารมณ์ เหล่านั้นล้วนแต่เป็นกามธรรมทั้งนั้น เมื่อจิตทั้ง ๒๕ ดวงนี้ต่างก็มีกามธรรมเป็น อารมณ์ จึงได้ชื่อว่า จิต ๒๕ ดวงยึดหน่วง กามอารมณ์ ๒. มหัคคตอารมณ์ ในข้อ ๒ ก. วิญญาณัญจายตนจิต ๓ ดวง มี อากาสานัญจายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ นั้น คือ (๑) เบื้องต้นต้องเข้าใจเสียก่อนว่า ผู้ที่ได้อากาสานัญจายตนฌานแล้ว เจริญสมถภาวนาต่อ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิญญาณัญจายตนฌานก็ดี หน้า ๓๘ หรือผู้ที่ได้วิญญาณัญจาย ตนฌานแล้ว จะเข้าวิญญาณัญจายตนฌานอีกครั้งใดเมื่อใดก็ดี จะต้องมีอากาสานัญ จายตนกุสลจิต หรือกิริยาจิตที่เคยเกิดแล้วแก่ตนนั้น เป็นอารมณ์เสมอไปอย่าง แน่นอน (จะใช้อารมณ์อย่างอื่นใด หาได้ไม่) วิญญาณัญจายตนฌานจึงจะเกิดขึ้นได้ (๒) ติเหตุกปุถุชนก็ดี ผลเสกขบุคคลก็ดี ผู้เป็นวิญญาณัญจายตนฌานลาภี บุคคลเข้าฌาน เพื่อให้ วิญญาณัญจายตนกุสลเกิด ก็มีอากาสานัญจายตนกุสล ที่เคย เกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๓) เมื่อบุคคลใน (๒) ตายไป ก็ไปบังเกิดเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ปฏิสนธิด้วยวิญญาณัญจายตนวิบากจิต สถิตในวิญญาณัญจายตนภูมิ วิญญาณัญจายตนวิบากจิตที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนี้ ก็มีอากาสานัญจายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ ตนในภพก่อนนั้นเป็นอารมณ์ ตลอดจนวิญญาณัญจายตนวิบาก ที่ทำหน้าที่ภวังคกิจ และจะทำหน้าที่จุติกิจ ต่อไปนั้น ก็มีอากาสานัญจายตนกุสล ที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน (๔) เมื่อบุคคลใน (๒) ยังไม่ตาย เจริญวิปัสสนาภาวนาต่อไปจนบรรลุ อรหัตตมัคค อรหัตตผล เป็นอเสกขบุคคล คือเป็นพระอรหันต์แล้ว เข้าวิญญาณัญ จายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌานที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นวิญญาณัญจายตนกิริยา (ไม่ ใช่กุสลเพราะขณะนี้เป็นพระอรหันต์แล้ว) วิญญาณัญจายตนกิริยานี่แหละมีอากาสา นัญจายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๕) พระอรหันต์ผู้เป็นฌานลาภีบุคคล เข้าอากาสานัญจายตนฌาน เมื่อ อากาสานัญจายตนฌานเกิด ก็เป็นกิริยาจิต แล้วเข้าวิญญาณัญจายตนฌานต่อไป ฉะนั้น วิญญาณัญจายตนกิริยาจิตที่เกิดขึ้นนี้โดยมีอากาสานัญจายตนกิริยาจิต ที่เคย เกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ ความในข้อ ๒ ก. นี้ สรุปได้ว่า วิญญาณัญจายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากาสานัญจายตนกุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดมาแล้ว แก่ตนในภพนี้ หรือภพก่อนเป็นอารมณ์ ในข้อ ๒ ข. ที่ว่า เนวสัญญานาสัญญายตนจิต ๓ ดวง มี อากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์นั้น คือ หน้า ๓๙ เนวสัญญานาสัญญายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดแล้วแก่ตน ในภพนี้ หรือภพก่อน เป็นอารมณ์ (๑) ผู้ที่ได้อากิญจัญญายตนฌานแล้ว เจริญสมถภาวนต่อเพื่อให้ได้มาซึ่ง เนว สัญญานาสัญญายตนฌานก็ดี หรือผู้ที่ได้เนวสัญญานาสัญญายตนฌานแล้ว จะเข้า เนวสัญญานาสัญญายตนฌานอีกครั้งใดเมื่อใดก็ดี จะต้องมีอากิญจัญญายตนกุสลจิตหรือกิริยาจิตที่เคยเกิดแล้วแก่ตนนั้นเป็นอารมณ์ (๒) ติเหตุกปุถุชนก็ดี ผลเสกขบุคคลก็ดี ผู้เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ลาภีบุคคลเข้าฌาน เพื่อให้เนวสัญญานาสัญญายตนกุสลเกิด ก็มีอากิญจัญญายตน กุสล ที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๓) เมื่อบุคคลใน (๒) ตายไป ก็ไปบังเกิดเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ปฏิสนธิด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิต สถิตในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิตที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนี้ ก็มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนนั้นเป็นอารมณ์ ตลอดจนเนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ที่ทำหน้าที่ภวังคกิจ และจะทำหน้าที่จุติกิจต่อไปนั้น ก็มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน (๔) เมื่อบุคคลใน (๒) ยังไม่ตาย เจริญวิปัสสนาภาวนาต่อไปจนบรรลุ อรหัตตมัคค อรหัตตผล เป็นอเสกขบุคคล คือเป็นพระอรหันต์แล้ว เข้าเนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌานที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นเนวสัญญานา สัญญายตนกิริยา (ไม่ใช่กุสล เพราะขณะนี้เป็นพระอรหันต์แล้ว) เนวสัญญา นาสัญญายตนกิริยานี่แหละ มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็น อารมณ์ (๕) พระอรหันต์ผู้เป็นฌานลาภีบุคคล เข้าอากิญจัญญายตนฌาน เมื่ออากิญ จัญญายตนฌานเกิด ก็เป็นกิริยาจิต แล้วเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนฌานต่อไป ฉะนั้นเนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิตที่เกิดขึ้นนี้โดยมีอากิญจัญญายตนกิริยาจิตที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ ความในข้อ ๒ ข. นี้ สรุปได้ว่า เนวสัญญานาสัญญายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตนกุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ ตนในภพนี้หรือภพก่อนเป็นอารมณ์ ในข้อ ๒ นี้ รวมจิตได้ ๖ ดวง มีมหัคคตจิต (๔ ดวง) เป็นอารมณ์ จึงได้ชื่อ ว่าจิต ๖ ดวงยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ ๓. บัญญัติอารมณ์ ในข้อ ๓ ก. ที่ว่า รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีบัญญัติเป็นอารมณ์ นั้น คือ รูปาวจรจิต เป็นจิตที่เกิดจากการเพ่งกัมมัฏฐาน ๒๖ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ ตามวิธีการจนเกิดฌานจิต กัมมัฏฐานทั้ง ๒๖ อย่างนั้นล้วนแต่เป็น บัญญัติทั้งสิ้น จึงได้ชื่อว่า รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติกัมมัฏฐาน ๒๖ อย่างนั้น ได้แก่ กสิณ ๑๐, อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑, อานาปาณสติ ๑ และ พรหมวิหาร ๔ ในข้อ ๓ ข. ที่ว่า อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ เป็นอารมณ์นั้น คือ กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ หมายถึง ความว่างเปล่า จากที่ได้เพิกกสิณแล้ว ความว่างเปล่านี้แหละเป็นบัญญัติ เมื่อหน่วงเอาความว่างเปล่าซึ่งเป็นบัญญัติเป็น อารมณ์ จึงได้ชื่อว่า อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติ ในข้อ ๓ ค. ที่ว่าอากิญจัญญายตนจิต ๓ ดวง มีนัตถิภาวบัญญัติเป็นอารมณ์ นั้น คือ นัตถิภาวบัญญัติ หมายถึง ความไม่มี นิดหนึ่งก็ไม่มี หน่อยหนึ่งก็ไม่มี อะไร ๆ ก็ไม่มี เอาบัญญัติที่สมมติว่าไม่มีอะไร นี่แหละเป็นอารมณ์ จึงได้ชื่อว่า อากิญจัญญา ยตนจิต ๓ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติ ความในข้อ ๓ นี้ รวมจิตได้ ๒๑ ดวง ล้วนแต่มีบัญญัติธรรมเป็น อารมณ์ทั้งนั้น จึงได้ชื่อว่าจิต ๒๑ ดวงนี้ ยึดหน่วงอารมณ์ที่เป็นบัญญัติ หน้า ๔๐ ๔. นิพพานอารมณ์ ในข้อ ๔ ที่ว่า โลกุตตรจิต ๘ ดวง ได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ มีนิพพานเป็น อารมณ์ แต่อย่างเดียวนั้น นิพพาน หมายถึง ความสิ้นไปแห่งตัณหาอันเป็นเครื่องร้อยรัดไว้ไม่ให้พ้นไป จากวัฏฏะ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ เป็นจิตที่ตัดวัฏฏะ ตัดเครื่องร้อยรัด เพื่อให้พ้น จากความเวียนว่ายตายเกิด ดังนั้น มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ จึงต้องมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว จะมีอารมณ์อย่างอื่นหาได้ไม่ เหตุนี้จึงได้ชื่อว่า โลกุตตรจิต ๘ ดวง ยึดหน่วงพระนิพพานอารมณ์ กาลวิมุตตอารมณ์ ทั้ง ๔ ข้อที่กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้ว่า ข้อ ๑ มีกามอารมณ์ทั้งที่เป็นปัจจุบัน อดีต อนาคต ได้ คือ มีกามอารมณ์ในกาลทั้ง ๓ ได้ ข้อ ๒ มีมหัคคตอารมณ์เฉพาะที่เป็นอดีตแต่อย่างเดียว จะมีมหัคคตธรรมที่ เป็นปัจจุบันหรืออนาคตเป็นอารมณ์หาได้ไม่ ส่วนข้อ ๓ มีบัญญัติเป็นอารมณ์ และข้อ ๔ มีนิพพานเป็นอารมณ์นั้น ไม่ได้ แสดงว่า บัญญัติ หรือ นิพพาน นั้นเป็น ปัจจุบัน หรืออดีต อนาคต แต่อย่างใดเลย ทั้งนี้เพราะบัญญัติและนิพพานเป็นธรรมที่ไม่มีกาลทั้ง ๓ พ้นจาก กาลทั้ง ๓ อัน เรียกว่า กาลวิมุตต ธรรมที่มีกาลทั้ง ๓ คือ ปัจจุบัน อดีต อนาคต ได้นั้น ต้องเป็นธรรมที่ไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงได้ กล่าวคือ มีการเกิดขึ้น มีการดำรงคงอยู่ แล้วก็ มีการดับไป ธรรมใดที่ดับไปแล้วนั้นเป็นอดีต คือล่วงเลยไปแล้ว, ธรรมใดที่ยังดำรงคงอยู่นั้น เป็นปัจจุบัน คือกำลังมีอยู่ และธรรมใดที่จะเกิดขึ้นอีกต่อไปนั้นเป็นอนาคต คือจะมี มาในภายหน้า บัญญัติธรรม เป็นธรรมที่ไม่มีสภาวะ จึงไม่มีสภาพที่จะมีความเปลี่ยนแปลง แปรผัน เพราะไม่มีความเที่ยงหรือไม่เที่ยง ทั้งไม่มีการเกิดการดับ อันเป็น สัญญลักษณ์แห่งการเปลี่ยนแปร และแห่งความไม่เที่ยงนั้นด้วย จึงไม่เข้าอยู่ในกาลทั้ง ๓ เพราะไม่มีอดีต ปัจจุบัน และอนาคต บัญญัติจึงเป็นกาลวิมุตต คือพ้นจาก กาลทั้ง ๓ ไม่มีกาลทั้ง ๓ นิพพาน เป็นธรรมที่มีสภาวะ มีสภาพเป็นของเที่ยงถาวร ไม่มีความ เปลี่ยนแปลงแปรผัน เป็นไม่เที่ยง และไม่มีการเกิดดับเพราะเป็นสิ่งที่เที่ยงอยู่เสมอ จึงไม่เข้าอยู่ในกาลทั้ง ๓ เพราะไม่มี อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ดังนั้น นิพพานจึงเป็นกาลวิมุตต คือ พ้นจากกาลทั้ง ๓ ไม่มีกาลทั้ง ๓ รวมความว่า ธรรมที่เป็นกาลวิมุตต หรืออารมณ์ที่เป็นกาลวิมุตตนั้น มีเพียง ๑ คือ บัญญัติ และ นิพพาน จำนวนจิตที่กล่าวแล้วทั้ง ๔ ข้อ รวมได้ ๖๐ ดวง คือ จิตที่รับ กามอารมณ์ ได้นั้นมี ๒๕ ดวง จิตที่รับ มหัคคตอารมณ์ ได้นั้นมี ๖ ดวง จิตที่รับ บัญญัติอารมณ์ ได้นั้นมี ๒๑ ดวง จิตที่รับ นิพพานอารมณ์ ได้นั้นมี ๘ ดวง ล้วนแต่เป็นจิตที่มีอารมณ์ดังกล่าวแล้วนั้นแน่นอน อย่างที่เรียกว่าเป็น เอกันตะ จิตทั้งหมด ๘๙ ดวง มีอารมณ์ที่แน่นอนดังกล่าวแล้ว ๖๐ ดวง คงเหลืออีก ๒๙ ดวง เป็นจิตที่มีอารมณ์ได้หลาย อย่างทั่ว ๆ ไป ที่เรียกว่า สัพพารมณ์ สัพพารมณ์ ส่วนที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นจำนวนจิต ๒๙ ดวง และนับอภิญญาจิตกุสล ๑ กิริยา ๑ รวม ๒ ดวงนั้น รวมเข้าไปอีกด้วย จึงเป็นจิต ๓๑ ดวง ในจำนวนจิต ๓๑ ดวงนี้เป็นจิตที่มีอารมณ์ได้หลายอย่าง หลายกาล ตลอดจนกาลวิมุตตด้วย จึงเรียกว่า สัพพารมณ์ ในข้อ ๕ ที่ว่าจิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วงอารมณ์ที่พ้นจากโลกุตตรนั้น คือ อกุสลจิต ๑๒ มหากุสลญาณวิปปยุตตจิต ๔ และมหากิริยาญาณวิปปยุตตจิต ๔ นี้ มีอารมณ์ทั้ง ๖ อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ได้ทั้งที่เป็นโลกียและบัญญัติ คือ มีกาม อารมณ์ก็ได้มีมหัคคตอารมณ์ก็ได้ หรือมีบัญญัติอารมณ์ก็ได้ทั้งนั้น เว้นแต่โลกุตตร อารมณ์ เพราะว่า อกุสลจิต ๑๒ เป็นจิตที่ชั่ว ที่หยาบ ที่บาป จึงไม่สามารถที่จะมีโลกุตตรธรรม คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ นิพพาน ๑ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ได้ เพราะ โลกุตตรธรรมทั้ง ๙ นี้ เป็นธรรมที่ดี ที่ประณีต ที่สุขุม ที่ประเสริฐ แม้มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔, มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ ก็ไม่สามารถรับ โลกุตตรอารมณ์ได้ เพราะจิต ๘ ดวงนี้ เป็นจิตที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา เป็นจิตที่ ไม่ได้ใช้ปัญญาประกอบ จิตที่จะรับโลกุตตรธรรมเป็นอารมณ์ได้นั้น จะต้องเป็นจิต ที่ประกอบด้วยปัญญา เป็นจิตที่ใช้ปัญญาประกอบด้วยเสมอไป หน้า ๔๒ ในข้อ ๖ ที่ว่าจิต ๕ ดวงยึดหน่วงอารมณ์ที่เว้นจากอรหัตตมัคค อรหัตตผลนั้น มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ก็ดี อภิญญากุสล ๑ ก็ดี รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย และบัญญัติ ตลอดจนโลกุตตรอารมณ์ก็ได้ เว้นแต่จะรับอรหัตตมัคค อรหัตตผล มาเป็นอารมณ์หาได้ไม่ เพราะอรหัตตมัคค อรหัตตผลนั้น จะต้องเป็นพระอรหันต์แล้ว จึงจะหน่วงเอาเป็นอารมณ์ได้ ผู้ที่ไม่ได้เป็นพระอรหันต์ จะได้อรหัตตมัคค อรหัตตผลที่ไหนมาเป็นอารมณ์ได้ ในข้อ ๗ ที่ว่า จิต ๖ ดวง ยึดหน่วงอารมณ์ได้ทั้งหมด นั้น มโนทวาราวัชชนจิต ๑, มหากิริยาญาณสัมปยุตตจิต ๔, อภิญญากิริยาจิต ๑ รวม ๖ ดวงนี้ รับอารมณ์ได้ทั้งหมด ไม่มียกเว้นเลย เพราะจิตเหล่านี้เป็นจิตของ พระอรหันต์ จึงรับอารมณ์ได้ทั้งสิ้น ไม่มีเว้นเลย จำนวนจิตที่กล่าวแล้วในข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ นี้รวมได้ ๓๑ ดวง เป็นจิต ที่รับอารมณ์ได้หลายอย่าง อย่างนั้นก็ได้อย่างนี้ก็ได้ ไม่แน่นอนว่าจะต้องเป็นอารมณ์ นั้นอารมณ์นี้แต่อย่างเดียว เพราะเหตุที่รับอารมณ์ได้มากกว่า ๑ จึงเรียกว่าเป็น อเนกันตะ หมายความว่า ไม่แน่นอนด้วย อารมณ์ของทวารวิมุตตจิต ได้กล่าวแล้วในทวารสังคหะ ว่าจิตที่พ้นทวาร เป็นจิตที่เกิดโดยไม่ต้องอาศัย ทวารนั้น มี ๑๙ ดวง ได้แก่ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตวิบากจิต ๙ ด้วยเหตุที่จิต ๑๙ ดวงนี้ทำหน้าที่ ปฏิสนธิ ภวังคกิจ จุติกิจ จึงไม่ต้องอาศัย ทวาร แต่ก็ต้องมีอารมณ์ตามหลักที่ว่า จิตต้องมีอารมณ์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว อารมณ์ ของจิต ๑๙ ดวงที่ทำหน้าที่ ปฏิสนธิ ภวังค จุติ นี้มีชื่อเรียกเป็นพิเศษโดย เฉพาะว่า กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ และ คตินิมิตอารมณ์ ในกาลแห่งสัตว์อันใกล้มรณะนั้น จะต้องมี กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งมาปรากฏแก่ชวนจิตในมรณาสันนวิถี อารมณ์ นี้ จะต้องเกิดทั่วทุกตัวสัตว์ เว้นแต่ อสัญญสัตต และ พระอรหันต์ หน้า ๔๓ ที่เว้น อสัญญสัตตนั้น เพราะอสัญญสัตตไม่มีจิต จึงไม่มีอารมณ์ ส่วนที่เว้นพระ อรหันต์นั้น เพราะพระอรหันต์ไม่ต้องไปเกิดอีกแล้ว จึงไม่มีอารมณ์ ๓ อย่างนี้ อัน เป็นเครื่องหมายแห่งการเกิดชวนจิตในมรณาสันนวิถี เรียกว่า มรณาสันนชวนะ ก็ได้ แต่ชาติก่อน มีสิ่งใด เป็นอารมณ์ จิตที่เป็นปฏิสนธิ และ ภวังค ตลอดจนจุติจิตในปัจจุบันชาตินี้ ก็ถือเอาสิ่งนั้นเป็นอารมณ์ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต จุติจิต ในภพเดียวกัน ในชาติเดียวกัน ในบุคคลเดียวกัน เป็นจิตดวงเดียวกัน และมีอารมณ์ก็อย่างเดียวกัน กรรมอารมณ์ กรรมอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายกุสล คือ ตนได้ให้ทาน รักษาศีล ฟังธรรม หรือเจริญ ภาวนามานั้น เคยทำอย่างไร ก็นึกก็คิดอย่างที่ทำอยู่อย่างนั้น มรณาสันนชวนจิต ก็ถือเอาเป็นอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายอกุสล คือ ตนเคยฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฉ้อ ชิง เฆี่ยนตี จำจองสัตว์ อย่างไร ก็นึกก็คิดอย่างที่ได้ทำอยู่อย่างนั้น มรณาสันนชวนจิต ก็น้อมเอามาเป็นอารมณ์ กรรมอารมณ์นี้ปรากฏทางมโนทวารทางเดียว ไม่ปรากฏทางทวารทั้ง ๕ คือ ปัญจทวาร เพราะกรรมอารมณ์นี้ นึกถึงคิดถึงการกระทำในอดีตเป็นอดีตอารมณ์ เป็นกรรมในอดีตที่ตนได้ทำแล้วอย่างไร ก็หน่วงโน้มน้ำใจให้คิดให้นึกเหมือนดังที่ได้ ทำอยู่อย่างนั้น เป็นแต่นึก เป็นแต่คิด ไม่ถึงกับมีเป็นภาพเป็นนิมิตมาปรากฏ เมื่อมีกรรมอารมณ์เป็นกุสล ก็นำไปสู่สุคติ ถ้าหากว่ามีกรรมอารมณ์เป็นอกุสล ก็จะต้องไปสู่ทุคคติ กรรมนิมิตอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ หมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ตนได้ใช้ในการกระทำ กรรมนั้น ๆ ที่เป็นฝ่ายกุสลก็เห็นเครื่องที่ตนได้ทำกุสล เป็นต้นว่า เห็นเครื่องสักการะที่ตนใช้บูชา เห็นผ้าผ่อนที่ตนให้ทาน เห็นโบสถ์ เห็นพระพุทธรูปที่ตนสร้าง เห็นพระสงฆ์ที่ตนอุปการะบวชให้ มรณาสันนชวนจิตก็หน่วงเอาเป็นอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายอกุสล เช่น เห็นแห อวน หอก ดาบ มีด ไม้ ปืน เครื่องเบียดเบียน สัตว์ ที่ตนเคยใช้ในการทำบาปเหล่านี้ เป็นต้น มรณาสันนชวนจิตก็น้อมมาเป็นอารมณ์ หน้า ๔๔ ทั้งนี้ถ้าเป็นแต่เพียงนึก เพียงคิดถึงวัตถุเครื่องมือเครื่องใช้นั้น ๆ ก็ปรากฏทาง มโนทวาร เป็นอดีตอารมณ์ แต่ถ้าได้เห็นด้วยนัยตาจริง ๆ ด้วย ได้ยินทางหูจริง ๆ ด้วย ได้กลิ่นทางจมูกจริง ๆ ด้วย ก็เป็นทางปัญจทวารและเป็นปัจจุบันอารมณ์ เมื่อมีกรรมนิมิตอารมณ์เป็นกุสลก็นำไปสู่สุคติ แต่ถ้าหากว่ามีกรรมนิมิตอารมณ์ เป็นอกุสลแล้ว ย่อมนำไปสู่ทุคคติ คตินิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ เป็นการนึกเห็นเครื่องหมายที่จะนำไปสู่ สุคติ หรือ ทุคคติ ถ้าจะไปสู่สุคติ ก็จะปรากฏเป็นวิมาน เป็นปราสาททิพยสมบัติ เป็นนางเทพอัปสร เป็นรั้ววัง เป็นครรภ์มารดา เป็นวัดวาอาราม เป็นภิกษุ สามเณร ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดี คตินิมิตอารมณ์ที่จะนำไปสู่ทุคคติ ก็จะปรากฏเป็นเปลวไฟ เป็นเหว เป็นถ้ำอัน มืดมัว เป็นนายนิรยบาล เป็นสุนัข แร้ง กา เป็นต้น จะมาเบียดเบียนทำร้ายตน ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เลวร้าย ทั้งนี้ปรากฏทางมโนทวารแต่ทางเดียว คือ เห็นทางใจ และจัดเป็นปัจจุบัน อารมณ์ เพราะกำลังนึกเห็นนิมิตนั้น ๆ อยู่ สำหรับผู้ไปเกิดเป็น รูปพรหม และ อรูปพรหมนั้น มรณาสันนชวนจิตมีเฉพาะ กรรมนิมิตอารมณ์แต่อย่างเดียว โดยมีบัญญัติธรรม หรือ มหัคคตธรรม เป็นอารมณ์ ตามควรแก่ฌาน รวมความว่า กรรมอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้เฉพาะ ธัมมารมณ์ กล่าวโดย ทวาร เกิดเฉพาะทางมโนทวาร กล่าวโดยกาล ได้แก่อารมณ์ที่เป็นอดีต กรรมนิมิตอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้ในอารมณ์ทั้ง ๖ กล่าวโดยทวาร เกิดได้ ทั้ง ๖ ทวาร กล่าวโดยกาลได้แก่ อารมณ์ที่เป็นอดีต และอารมณ์ที่เป็นปัจจุบันด้วย คตินิมิตอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้เฉพาะธัมมารมณ์ กล่าวโดยทวารเกิดได้ เฉพาะทางมโนทวาร กล่าวโดยกาลเป็นได้เฉพาะปัจจุบัน หน้า ๔๕ อารมณ์กับจิต ต่อไปนี้จะแสดงว่า อารมณ์แต่ละอย่างนั้น มีจิตอะไรบ้างที่ยึดหน่วงเอาเป็น อารมณ์ได้ จะแสดงทั้งที่เป็นเอกันตะ คืออย่างแน่นอน และที่เป็น อเนกันตะ คืออย่างไม่แน่นอนด้วย ตลอดจนแสดงว่าจิตอะไรบ้างที่รับอารมณ์นั้นไม่ได้ ๑. กามอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ และ อภิญญาจิต ๒ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๕ คือ มหัคคตจิต ๒๗ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ โลกุตตรจิต ๘ มหาวิบากจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสลจิต ๑๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ อภิญญาจิต ๒ ๒. มหัคคตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๓๗ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๕๔ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ วิญญาณัญจายตนะ ๓ มหาวิบาก ๘ เนวสัญญานาสัญญายตน ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อากาสานัญจายตนะ ๓ อกุสล ๑๒ อากิญจัญญายตนะ ๓ มโนทวาราวัชชนะ ๑ โลกุตตรจิต ๘ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๖ ๓. นิพพานอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๑๙ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๗๒ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๘ คือ อกุสล ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ ไม่แน่นอน ๑๑ คือ มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ มหาวิบาก ๘ มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ ๔. บัญญัติอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๑ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ รูปาวจรจิต ๑๕ มหาวิบาก ๘ อากาสานัญจายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ โลกุตตรจิต ๘ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๗ ๕. ปรมัตถอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๗๐ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๒๑ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๓๙ คือ รูปาวจรจิต ๑๕ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ อากาสานัญจายตนะ ๓ มหาวิบาก ๘ อากิญจัญญายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ ๖. ธัมมารมณ์ มีจิตที่รับได้ ได้ ๗๘ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน ได้แก่ ไม่ได้ ๑๓ ดวง ได้แก่ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ รูปาวจรจิต ๑๕ มโนธาตุ ๓ อรูปาวจรจิต ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ อภิญญาจิต ๒ ๗. นามอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๗ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๑๔ คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ โลกุตตรจิต ๘ มโนธาตุ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ อากิญจัญญายตนะ ๓ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๘ ๘. ปัญจารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอนและ ไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ ๙. รูปอารมณ์ และปัจจุบันอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ และ อภิญญา ๒ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๑๓ คือ มหัคคตจิต ๒๗ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ โลกุตตรจิต ๘ มโนธาตุ ๓ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อภิญญาจิต ๒ ๑๐. อดีตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๔๙ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๔๒ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ วิญญาณัญจายตนะ ๓ มโนธาตุ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ อากาสานัญจายตนะ ๓ กามจิต(เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อากิญจัญญายตนะ ๓ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ ๑๑. อนาคตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๔๓ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๔๘ ดวง ได้แก่ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อภิญญาจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๙ ๑๒. กาลวิมุตตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๖๐ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๑ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๙ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ รูปาวจรจิต ๑๕ มหาวิบาก ๘ อากาสานัญจายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ ๑๓. อัชฌัตตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๖๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๒๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ รูปาวจรจิต ๑๕ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๕๖ คือ โลกุตตร ๘ กามจิต ๕๔ อภิญญาจิต ๒ ๑๔. พหิทธอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๘๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๖ คือ วิญญาณัญจายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๕๖ คือ กามจิต ๕๔ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๕๐ ๑๕. อัชฌัตตพหิทธอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ จิตมีอารมณ์ได้กี่อย่าง จิตต้องมีอารมณ์ และจิตที่เกิดขึ้นขณะหนึ่ง ๆ นั้น มีอารมณ์แต่อย่างเดียว เท่านั้น จิตดวงเดียวที่เกิดขึ้นขณะเดียว จะมีอารมณ์หลายอย่างไม่ได้ แต่ว่าจิตดวงเดียวกันเกิดขึ้นในขณะนี้มีอารมณ์อย่างนี้ แต่เมื่อเกิดขึ้นในขณะอื่น อาจมีอารมณ์อย่างอื่นก็ได้ อย่างนี้ เรียกว่า จิตมีอารมณ์ได้ หลายอย่าง จิตบางดวงที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในขณะนี้หรือขณะไหน ๆ ก็ต้องมีอารมณ์ อย่างนั้นแต่อย่างเดียว ไม่มีเปลี่ยนแปลงเป็นอารมณ์อย่างอื่นเลย ก็มีเหมือนกัน อย่างนี้เรียกว่า จิตมีอารมณ์ได้อย่างเดียว ดังต่อไปนี้ ๑. จิตที่มีอารมณ์ได้ อย่างเดียว มี ๒๘ ดวง ๒. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒ อย่าง มี ๒ ดวง ๓. จิตที่มีอารมณได้ ๕ อย่าง มี ๓ ดวง ๔. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๖ อย่าง มี ๑๒ ดวง ๕. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๒ อย่าง มี ๓ ดวง ๖. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๔ อย่าง มี ๙ ดวง ๗. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒๕ อย่าง มี ๓ ดวง มีรายละเอียดดังนี้ ๑. จิตที่มีอารมณ์ได้อย่างเดียว มี ๒๘ ดวง จักขุวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ รูปารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว โสตวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ สัททารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว ฆานวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ คันธารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว ชิวหาวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ รสารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว กายวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ โผฏฐัพพารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว อากาสานัญจายตนจิต ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ อากิญจัญญายตนจิต ๓ มีอารมณ์ คือ นัตถิภาวบัญญัติ วิญญาณัญจายตนะกุสล ๑ วิบาก ๑ มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกุสล ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตน ในภพนี้หรือภพก่อน แต่อย่างเดียว เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ วิบาก ๑ มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกุสล ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตน ในภพนี้หรือภพก่อนแต่อย่างเดียว โลกุตตรจิต ๘ มีอารมณ์ นิพพาน แต่อย่างเดียว ๒. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒ อย่าง มี ๒ ดวง วิญญาณัญจายตนกิริยาจิต ๑ มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกุสลที่เคยเกิดมา แล้วแก่ตนในภพนี้หรือภพก่อน ๑, มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกิริยาที่เคยเกิดแล้ว แก่ตนในภพนี้ ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิต ๑ มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกุสล ที่เคย เกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้หรือภพก่อน ๑, มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกิริยาที่เคยเกิด มาแล้วแก่ตนในภพนี้ ๑ ๓. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๕ อย่าง มี ๓ ดวง มโนธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มีปัญจารมณ์ ได้แก่ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ก็ได้ ๔. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๖ อย่าง มี ๑๒ ดวง หสิตุปปาทจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑๑ มีอารมณ์ คือ อารมณ์ทั้ง ๖ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ๕. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๒ อย่าง มี ๓ ดวง รูปาวจรปัญจมฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อานาปาณสติ ๑, อุเบกขา พรหมวิหาร ๑ หน้า ๕๒ ๖. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๔ อย่าง มี ๙ ดวง รูปาวจร จตุตถฌาน ๓ รูปาวจร ตติยฌาน ๓ รูปาวจร ทุติยฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อานาปาณสติ ๑, เมตตา กรุณา มุทิตา ๓ ๗. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒๕ อย่าง มี ๓ ดวง รูปาวจร ปฐมฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑, อานาปาณสติ ๑, เมตตา กรุณา มุทิตา ๓ อารมณ์ของ เมตตา คือ ปิยมนาปสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ กรุณา คือ ทุกขิตสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ มุทิตา คือ สุขิตสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ อุเบกขา คือ มัชฌัตตสัตวบัญญัติ เจตสิก กับ อารมณ์ ปรมัตถธรรม ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน นั้น จิตและเจตสิก เป็นธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ แต่รูป และ นิพพานไม่สามารถที่จะรู้อารมณ์ได้เลย จิตรับอารมณ์อย่างใด รู้อารมณ์อะไร เจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้นก็รับอารมณ์ รู้อารมณ์อย่างเดียวกันนั้นเอง สมกับที่ว่า เอกาลัมพนะ แต่เมื่อกล่าวเป็นส่วนรวม แล้ว เจตสิกรับอารมณ์ได้ดังนี้ เจตสิกที่รับ ปัญจารมณ์ ได้นั้นมี ๕๐ (เว้นอัปปมัญญา) เจตสิกที่รับ ธัมมารมณ์ ได้นั้นมี ๕๒ (ครบจำนวนเจตสิก) อกุสลเจตสิก ๑๔ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย และบัญญัติ อิสสาเจตสิก ๑ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น พหิทธะ โลกีย วิรตี ๓ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม หน้า ๕๓ โลกุตตร วิรตี ๓ รับอารมณ์ ธัมมารมณ์ ที่เป็น นิพพาน แต่อย่างเดียว อัปปมัญญา ๒ รับอารมณ์ ธัมมารมณ์ ที่เป็น สัตวบัญญัติ และเป็น พหิทธอารมณ์ด้วย ส่วนเจตสิกที่เหลืออีก ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ปัญญาเจตสิก ๑ รับอารมณ์ ๖ ได้ทั้งที่เป็นโลกียโลกุตตร อดีต อนาคต ปัจจุบัน กาลวิมุตตะ อัชฌัตตะ และ พหิทธะ หมวดที่ ๖ วัตถุสังคหะ วสนฺติ ปติฏฺฐหนฺติ จิตฺตเจตสิกา เอตฺถาติ วตฺถุ ฯ จิต เจตสิก ทั้งหลาย ย่อมอาศัยตั้งอยู่ในธรรมใด ฉะนั้น ธรรมที่เป็นที่อาศัย ตั้งอยู่ของจิตเจตสิกเหล่านั้น ชื่อว่า วัตถุ วัตถุสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องวัตถุ อันเป็นที่อาศัยเกิดของจิตและ เจตสิก วัตถุอันเป็นที่จิตและเจตสิก อาศัยเกิดนี้ มี ๖ จึงเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัตถุ ๖ และวัตถุ ๖ นี้เป็น รูปธรรม ทั้งนั้น คือ ๑. จักขุวัตถุ ได้แก่ จักขุปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ จักขุวิญญาณจิต ๒ ๒. โสตวัตถุ ได้แก่ โสตปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณจิต ๒ ๓. ฆานวัตถุ ได้แก่ ฆานปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ ฆานวิญญาณจิต ๒ ๔. ชิวหาวัตถุ ได้แก่ ชิวหาปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๕. กายวัตถุ ได้แก่ กายปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ กายวิญญาณจิต ๒ ๖. หทยวัตถุ ได้แก่ หทยรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ จิต ๗๕ ดวง (เว้น ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อรูปวิบาก ๔) วิญญาณธาตุ ในวัตถุสังคหะนี้ ได้กล่าวถึง วิญญาณธาตุ คือ ธาตุรู้ด้วย ในจำนวนจิตทั้ง หมด ๘๙ ดวง เมื่อจัดโดยความเป็นธาตุก็ได้ วิญญาณธาตุ ๗ คือ หน้า ๕๔ ๑. จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น จักขุวิญญาณธาตุ ๒. โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น โสตวิญญาณธาตุ ๓. ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น ฆานวิญญาณธาตุ ๔. ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น ชิวหาวิญญาณธาตุ ๕. กายวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น กายวิญญาณธาตุ ทั้ง ๕ นี้มีชื่อรวมเรียก ว่าวิญญาณธาตุ ๕ หรือ ปัญจวิญญาณธาตุ ๖. ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ รวม ๓ ดวง เป็น มโนธาตุ ๗. จิตที่เหลืออีก ๗๖ ดวง เป็น มโนวิญญาณธาตุ ภูมิกับวัตถุ ในภูมิไหน มีวัตถุอะไร เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุใดนั้น มีคาถาสังคหะที่ ๑๓ แสดงว่า ๑๓. ฉวตฺถํ นิสฺสิตา กาเม สตฺต รูเป จตุพฺพิธา ติวตฺถุํ นิสฺสิตา รูเป ธาเตวฺกา นิสฺสิตา มตา ฯ แปลความว่า ท่านกล่าวว่า ในกามภูมิ วิญญาณธาตุ ๗ อาศัยวัตถุ ๖ เกิด ในรูปภูมิ วิญญาณธาตุ ๔ อาศัยวัตถุ ๓ เกิด ในอรูปภูมิ วิญญาณธาตุ ๑ ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย ก็เกิดได้ อธิบาย ๑. ในกามาวจรภูมิ หรือ กามภูมิ ซึ่งมี ๑๑ ภูมิ ได้แก่ อบายภูมิ ๔, มนุษยภูมิ ๑ และ เทวภูมิ ๖ นั้น มีวัตถุ ๖ ครบบริบูรณ์ จึงเป็นที่อาศัยให้เกิด วิญญาณธาตุครบ ทั้ง ๗ เหมือนกัน คือ (๑) จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ จักขุวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ จักขุวิญญาณจิต ๒ (๒) โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ โสตวิญญาณจิต ๒ (๓) ฆานวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ ฆานวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ ฆานวิญญาณจิต ๒ (๔) ชิวหาวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของชิวหาวิญญาณธาตุ ๑ได้แก่ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ (๕) กายวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ กายวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ กายวิญญาณจิต ๒ (๖) หทยวัตถุ มโนธาตุ ๓ ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ จิตที่เหลือ ๗๖ หน้า ๕๕ ๒. ในรูปาวจรภูมิ หรือรูปภูมิ ๑๕ (เว้นอสัญญสัตตตภูมิ) นั้น มีวัตถุเพียง ๓ อันเป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุ ๔ เท่านั้น คือ (๑) จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด จักขุวิญญาณธาตุ ๑ (๒) โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด โสตวิญญาณธาตุ ๑ (๓) หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด มโนธาตุ ๑ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ส่วนฆานวัตถุ อันเป็นที่อาศัยเกิด ฆานวิญญาณธาตุ ๑, ชิวหาวัตถุ อันเป็นที่ อาศัยให้เกิด ชิวหาวิญญาณธาตุ ๑ และกายวัตถุ อันเป็นที่อาศัยให้เกิดกายวิญญาณ ธาตุ ๑ รวม ๓ วัตถุ ๓ ธาตุนี้ไม่มี แต่ว่า รูปพรหมทั้ง ๑๕ ภูมินี้ มีจมูก แต่ไม่มีฆานวัตถุ คือไม่มีฆานปสาทรูป, มีลิ้น แต่ไม่มีชิวหาวัตถุ คือไม่มีชิวหาปสาทรูป, มีกาย แต่ไม่มีกายวัตถุ คือไม่มีกาย ปสาทรูป ดังนั้น ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ และ กายวิญญาณ ไม่มีที่อาศัยเกิด จึงเกิดไม่ได้ อนึ่ง กามภูมิ ๑๑ และรูปภูมิ ๑๕ รวม ๒๖ ภูมินี้ มีชื่อรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญจโวการภูมิ คือ ภูมิที่มีขันธ์ ๕ ได้แก่มี รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ เฉพาะอสัญญสัตตภูมิ ซึ่งเป็นรูปภูมิอีกภูมิหนึ่งนั้น ไม่มีวัตถุทั้ง ๖ และไม่มี วิญญาณธาตุทั้ง ๗ เลยแม้แต่สักอย่างเดียว ทั้งนี้ เป็นเพราะภูมินี้มีแต่รูปขันธ์ เท่านั้น ส่วนนามขันธ์อีก ๔ ขันธ์นั้นไม่มี ดังนั้น อสัญญสัตตภูมินี้จึงมีชื่อเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า เอกโวการภูมิ คือ ภูมิที่มีขันธ์ ๑ ได้แก่ มีรูปขันธ์เพียงขันธ์เดียว ๓. อรูปาวจรภูมิ หรือ อรูปภูมิ ซึ่งมี ๔ ภูมินั้น วัตถุ ๖ ไม่มีเลย เพราะ อรูปภูมิเป็นภูมิที่ไม่มีรูปธรรม มีแต่นามธรรมเท่านั้น ดังนั้นวัตถุ ๖ ซึ่งเป็นรูปธรรม ทั้ง ๖ จึงไม่มีในอรูปภูมิ แต่ว่าในอรูปภูมิทั้ง ๔ นี้ วิญญาณธาตุ ๗ นั้นเกิดได้ ๑ คือ มโนวิญญาณธาตุ ซึ่งเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยหทยวัตถุใด ๆ เลยทั้งนั้น เพราะเหตุว่าอรูปภูมิทั้ง ๔ นี้มีแต่นามขันธ์ทั้ง ๔ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ส่วนรูปขันธ์ไม่มี จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จตุโวการภูมิ คือ ภูมิที่มี ๔ ขันธ์ (ขาดรูปขันธ์ไปขันธ์หนึ่ง) หน้า ๕๖ สรุปเพื่อให้จำได้ง่าย กามภูมิ ๑๑ มีวัตถุทั้ง ๖ เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุทั้ง ๗ คือ จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด จักขุวิญญาณธาตุ โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด โสตวิญญาณธาตุ ฆานวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด ชิวหาวิญญาณธาตุ กายวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด กายวิญญาณธาตุ หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด มโนธาตุ และ มโนวิญญาณธาตุ รูปภูมิ ๑๕ มีวัตถุ ๓ เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุ ๔ คือ จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด จักขุวิญญาณธาตุ โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด โสตวิญญาณธาตุ หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด มโนธาตุ และ มโนวิญญาณธาตุ อสัญญสัตตภูมิ ๑ นั้นวัตถุทั้ง ๖ วิญญาณธาตุทั้ง ๗ ไม่มีเลยแม้แต่สักอย่าง เดียว อรูปภูมิ ๔ นั้น วัตถุทั้ง ๖ ไม่มีเลย แต่มีวิญญาณธาตุ ๑ คือ มโนวิญญาณธาตุ ซึ่งเกิดได้โดยไม่ต้องอาศัยวัตถุใด ๆ เลย จิตกับวัตถุ จิตใดจะต้องอาศัยวัตถุอะไรเกิด หรือไม่ต้องอาศัยวัตถุ ก็เกิดได้นั้น มีคาถาสังคหะที่ ๑๔ อันเป็นคาถาสุดท้ายในปริจเฉทนี้ แสดงว่า ๑๔. เตจตฺตาฬีส นิสฺสาย เทฺวจตฺตาฬีส ชายเร นิสฺสาย จ อนิสฺสาย ปาการุปฺปา อนิสฺสิตา ฯ แปลความว่า จิต ๔๓ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเสมอ จิต ๔๒ ดวง บางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัย อรูปวิบาก ๔ ดวง ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย หน้า ๕๗ อธิบาย ๑. จิต ๔๓ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเสมอ จะเกิดโดยไม่ต้องอาศัยวัตถุหาได้ไม่ ดังนั้นในภูมิใดไม่มีวัตถุ จิตเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย จิต ๔๓ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑) คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย จักขุวัตถุ จึงจะเกิดได้ โสตวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย โสตวัตถุ จึงจะเกิดได้ ฆานวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย ฆานวัตถุ จึงจะเกิดได้ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย ชิวหาวัตถุ จึงจะเกิดได้ กายวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย กายวัตถุ จึงจะเกิดได้ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ สันตีรณจิต ๓ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ หสิตุปปาทจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ มหาวิบากจิต ๘ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ รูปาวจรจิต ๑๕ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ ๒. จิต ๔๒ ดวง บางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัยนั้น ได้แก่ อกุสล ๑๐ (เว้นโทสจิต ๒) มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปาวจรกุสล ๔ อรูปาวจรกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสดาปัตติมัคคจิต ๑) มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ที่ว่าจิต ๔๒ ดวงนี้ บางทีก็อาศัยวัตถุเกิด บางทีไม่ต้องอาศัยวัตถุก็เกิดได้นั้น เป็นดังนี้ ถ้าจิตนี้เกิดใน ปัญจโวการภูมิ คือภูมิที่มีขันธ์ ๕ ก็จะต้องอาศัยหทย วัตถุเกิด หน้า ๕๘ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ถ้าจิต ๔๒ ดวงนี้ เกิดในกามภูมิ ๑๑ ก็ดี เกิดในรูปภูมิ ๑๕ (เว้นสัญญสัตตภูมิ) ก็ดี ซึ่งเป็นภูมิที่มีหทยวัตถุแล้ว ก็จะต้องอาศัยหทยวัตถุรูป เกิดตามควรแก่ที่จะพึงเกิดได้ แต่ว่า ถ้าจิตเหล่านี้เกิดในจตุโวการภูมิ ภูมิที่มีขันธ์ ๔ คือ อรูปภูมิแล้ว ไม่ต้อง อาศัยวัตถุเลยก็เกิดได้ จิต ๔๒ ดวงนี้ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จิตที่อาศัยวัตถุเกิดไม่แน่นอน(อเนกันตะ) เพราะบางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัย เป็นที่ไม่แน่นอน ๓. อรูปวิบาก ๔ ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย เพราะอรูปวิบากจิต ๔ เป็นจิตที่เกิด ที่มีในอรูปภูมิ ซึ่งเป็นภูมิที่ไม่มีวัตถุรูปใด ๆ แม้แต่สักอย่างเดียว ดังนั้นจึงไม่ต้อง อาศัยวัตถุก็เกิดได้ เจตสิก กับ วัตถุ เจตสิกที่อาศัยวัตถุ ๖ เกิด โดยไม่แน่นอน มี ๗ ดวง ได้แก่ สัพพจิตตสาธารณ เจตสิก ๗ เจตสิกที่อาศัยหทยวัตถุเกิดโดยแน่นอนมี ๖ ดวง ได้แก่ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ โทจตุกเจตสิก ๔ เจตสิกที่อาศัยหทยวัตถุเกิดโดยไม่แน่นอน มี ๓๙ ดวง ได้แก่ ปกิณณกเจตสิก ๖ อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกเจตสิก ๔) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) วัตถุกับทวาร วัตถุ เป็นที่อาศัยให้จิตเจตสิกเกิด ทวาร เป็นทางให้จิตเจตสิกเกิด เมื่อกล่าว ควบคู่กันทั้งวัตถุและทวาร คือ กล่าวทั้งที่อาศัยเกิด และทางให้เกิดด้วยแล้ว ก็กล่าว ได้เป็น ๔ นัย คือ จิตที่ ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวาร จิตที่ ต้องอาศัยวัตถุ แต่ไม่ต้องอาศัยทวาร จิตที่ ไม่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ต้องอาศัยทวาร จิตที่ ไม่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวาร หน้า ๕๙ ๑. จิตที่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวารด้วยนั้น มี ๓๘ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑) มหาวิบากจิต ๘ รูปาวจรกุสล ๕ รูปาวจรกิริยาจิต ๕ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ในข้อ ๑ นี้ มีสิ่งที่ควรสังเกตอยู่ ๒ ประการ ประการแรก จิต ๓๘ ดวงนี้ เป็นกลุ่มเดียวกับจิต ๔๓ ดวง ที่ต้องอาศัยวัตถุเสมอนั่นเอง เพียงแต่เอารูปาวจร วิบาก ๕ ดวง หักออกเสียจากจำนวน ๔๓ ดวงนั้น ก็คงเหลือ ๓๘ เป็นจิตที่ต้องอาศัยทั้งวัตถุและทั้งทวารด้วย รูปาวจรวิบาก ๕ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเกิดจริง แต่ไม่ต้องอาศัยทวารเป็นทางให้เกิดไม่ครบทั้ง ๒ อย่าง จึงต้องหักออก อีกประการหนึ่ง จิตที่อาศัยวัตถุเกิด กับจิตที่อาศัยทวารเกิดนั้นมีจำนวนไม่ เท่ากัน กล่าวคือ จิตที่อาศัยวัตถุเกิดนั้นมีจำนวนจำกัด โดยเฉพาะแท้ ๆ แต่จิตที่ อาศัยทวารเกิดนั้น มีจำนวนกว้างขวางมากกว่ากัน คือ จิตที่อาศัย จักขุวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย จักขุทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย โสตวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย โสตทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย ฆานวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย ฆานทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย ชิวหาวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย ชิวหาทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย กายวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย กายทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย หทยวัตถุ เกิดมีเพียง ๗๕ ดวง แต่อาศัย มโนทวาร เกิดได้ถึง ๖๗ ดวง ๒. จิตที่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ไม่ต้องอาศัยทวาร มี ๕ ดวง ได้แก่ รูปาวจรวิบากจิต ๕ รูปาวจรวิบากจิต ๕ ดวงนี้ ต้องอาศัยหทยวัตถุเกิด เพราะรูปาวจรวิบาก ที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนั้น ปฏิสนธิจิตกับหทยวัตถุนี้เกิดพร้อมกัน ปฏิสนธิจิตก็ต้อง อาศัยหทยวัตถุเกิด และหทยวัตถุก็ต้องอาศัยปฏิสนธิจิตจึงจะเกิดขึ้นได้ ต่างก็อาศัยซึ่งกันและกันด้วยอำนาจแห่งอัญญมัญญปัจจัย ส่วนที่ว่า รูปาวจรวิบาก ๕ ดวงนี้ เกิดโดยไม่ต้องอาศัยทวารนั้น เพราะเป็น เอกันตทวารวิมุตตจิต เป็นจิตที่พ้นทวารแน่นอนอยู่แล้ว ดังแจ้งใน ทวารสังคหะ ที่กล่าวข้างต้น หน้า ๖๐ ๓. จิตที่ไม่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ต้องอาศัยทวาร มี ๔๒ ดวง ได้แก่ อกุสล ๑๐ (เว้นโทสจิต ๒) มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปาวจรกุสล ๔ อรูปาวจรกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสดาปัตติมัคคจิต ๑) มโนทวาราวัชชนจิต ๑ เมื่อจิตเหล่านี้เกิดกับอรูปพรหมในอรูปภูมิแล้ว ไม่ต้องอาศัยวัตถุก็เกิดได้ แต่ ต้องอาศัยทวาร คือ มโนทวาร จึงจะเกิดได้ ซึ่งในอรูปภูมิมีมโนทวารแต่อย่างเดียว ส่วนวัตถุนั้นไม่มีเลย พึงสังเกตว่า จิต ๔๒ ดวงนี้ เป็นจิตกลุ่มเดียวกัน จิต ๔๒ ดวงที่เรียกว่า จิตที่อาศัยวัตถุเกิดไม่แน่นอน ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ๔. จิตที่ไม่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวารเลยนั้น มี ๔ ดวง ได้แก่ อรูปาวจรจิบากจิต ๔ ไม่ต้องอาศัยวัตถุ เพราะไม่มีวัตถุที่จะอาศัย และไม่ต้อง อาศัยทวาร เพราะเป็น เอกันตทวารวิมุตตจิต อวสานคาถาปริจเฉทที่ ๓ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถ สงฺคเห ตติโย ปริจฺเฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ นี้ปริจเฉทที่ ๓ ( ชื่อ ปกิณณกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวบรวมซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อ เพียงเท่านี้แล

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือการศึกษา ปกิณณกสังคหะวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๓ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธฺสฺส ความเบื้องต้น คู่มือการศึกษาเล่มนี้ ได้รวบรวมคำสอนพระอภิธัมมัตถสังคหะ ซึ่ง พระอนุรุทธาจารย์ เป็นผู้รจนา อันเป็นปริจเฉทที่ ๓ ที่มีชื่อว่า ปกิณณกสังคหะวิภาค ปกิณณกะ แปลว่า กระจัดกระจาย คละกัน เบ็ดเตล็ด ต่าง ๆ สังคหะ แปลว่า รวบรวมโดยย่อ วิภาค แปลว่า ส่วน เมื่อประมวลรวมกันเข้าแล้ว ปกิณณกะสังคหวิภาค ก็แปลว่า ส่วนที่รวบรวม แสดงโดยย่อซึ่งธรรมต่าง ๆ ธรรมต่าง ๆ ในที่นี้ หมายถึงธรรม ๖ หมวด คือ ๑. หมวด เวทนา ธรรมชาติที่เสวยอารมณ์ ๒. หมวด เหตุ ธรรมชาติที่ทำให้ผลเกิด ๓. หมวด กิจ คือ การงานของจิต ๑๔ อย่าง ๔. หมวด ทวาร คือ ทางรับรู้อารมณ์ของจิต ๕. หมวด อารมณ์ คือ สิ่งที่จิตรู้, สิ่งที่ถูกจิตรู้ ๖. หมวด วัตถุ คือ ที่ตั้งที่อาศัยเกิดรับรู้อารมณ์ของจิต ทั้ง ๖ หมวดนี้ เป็นการเรียนรู้ถึงจิตและเจตสิกโดยละเอียด สรุปได้ว่าให้เรียนรู้ว่า จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น มีเวทนาเป็นสุขเวทนา หรือทุกขเวทนา เป็น โทมนัสเวทนา หรือโสมนัสเวทนา หรืออุเบกขาเวทนา จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น มีเหตุประกอบหรือไม่ ถ้ามี มีเหตุประกอบเท่าไร อะไรบ้าง เหตุมี ๖ คือ โลภเหตุ, โทสเหตุ, โมหเหตุ, อโลภเหตุ, อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ ในแต่ละเหตุนั้น ประกอบกับจิตอะไรได้บ้าง จิตและเจตสิกแต่ละดวงนั้น ทำกิจ(งาน)อะไรใน ๑๔ อย่าง ในกิจทั้ง ๑๔ นั้น มีจิตอะไรทำหน้าที่ได้บ้าง จิตและเจตสิก อาศัยทวารไหนในการรู้อารมณ์ อาศัยจักขุทวารหรือโสตทวาร อาศัยฆานทวารหรือชิวหาทวาร อาศัยกายทวารหรือมโนทวาร หรือไม่ได้อาศัยทวาร ใด ๆ เลย จิตและเจตสิก รับรู้อารมณ์อะไรได้บ้างในอารมณ์ ๖ และอารมณ์ ๖ นั้น องค์ ธรรมได้แก่อะไร จิตและเจตสิก อาศัยวัตถุอะไรเกิด อาศัยจักขุวัตถุหรือโสตวัตถุ อาศัยฆานวัตถุ หรือชิวหาวัตถุ อาศัยกายวัตถุหรือหทยวัตถุ หรือไม่ได้อาศัยวัตถุใดๆ เกิดขึ้นเลย ปกิณณกสังคหะวิภาคนี้ พระอนุรุทธาจารย์ได้ประพันธ์เป็นคาถาสังคหะรวม ๑๔ คาถา คาถาที่ ๑ ว่า ๑. สมฺปยุตฺตา ยถาโยคํ เตปญฺญาส สภาวโต จิตฺตเจตสิก ธมฺมา เตสนฺทานิ ยถารหํ ฯ แปลความว่า สภาวธรรม ๕๓ คือ จิตและเจตสิก ทั้งลักษณะและการประกอบซึ่งกันและกัน ตามควรแก่การที่จะ ประกอบได้นั้น ได้แสดงมาแล้ว มีความหมายว่า ที่กล่าวมาแล้วข้างต้นนี้ คือ สรุป ธรรม ๖ หมวด อันมีจิตและเจตสิก ทำหน้าที่ต่าง ๆ จิตและเจตสิก รวมเรียกว่า สภาวธรรม ๕๓ คือ จิต ๑ และ เจตสิก ๕๒ ที่นับจิตเพียง ๑ นั้น เพราะจิตมีลักษณะ รับรู้อารมณ์เพียงลักษณะเดียวเท่านั้น ส่วนที่นับเจตสิกเต็มจำนวนทั้ง ๕๒ ก็เพราะว่า เจตสิกนั้นมีลักษณะ แตกต่างกันทั้ง ๕๒ ดวง หน้า ๒ ปกิณณกแสดงธรรม ๖ หมวด ปกิณณกสังคหะวิภาคนี้ แสดงธรรม ๖ หมวด ดังมีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๒ แสดงว่า ๒. เวทนาเหตุโต กิจฺจ ทฺวาราลมฺพน วตฺถุโต จิตฺตุปฺาทวเสเนว สงฺคโห นาม นียเต ฯ แปลความว่า บัดนี้จักแสดงการระคนกันต่างๆ ของนามธรรม คือ จิตและเจตสิกด้วยอำนาจแห่ง จิตตุปปาทะ โดย ประเภทของ เวทนา เหตุ กิจ ทวาร อารมณ์ และ วัตถุ ตามควรต่อไป หมายความว่า จิตตุปปาทะ คือ จิตที่เกิดขึ้นพร้อมกับเจตสิกที่ประกอบนั้น ย่อมเกี่ยวข้อง ต้องระคนกับธรรมทั้ง ๖ หมวดดังกล่าวแล้วอย่างแน่นอนเสมอไปทุกขณะ ไม่มีเว้น เลย ดังจะได้กล่าวต่อไปทีละหมวด หมวดที่ ๑ เวทนาสังคหะ เวทนาสังคหะ คือ การรวบรวมแสดงโดยย่อเรื่องเวทนา มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๓ ว่า ๓. สุขํ ทุกฺขมุเปกฺขาติ ติวิธา ตตฺถ เวทนา โสมนสฺสํ โทมนสฺส มิติ เภเทน ปญฺจธา แปลความว่า ธรรม ๓ อย่าง คือ สุข ทุกข์ อุเบกขา นี้เป็นเวทนา ๓ เมื่อเอา โสมนัส โทมนัส รวมเข้าอีก ก็เป็น เวทนา ๕ อธิบาย เวทนา เป็นเจตสิกธรรม ที่ทำหน้าที่เสวยอารมณ์ หรือมีความรู้สึกในอารมณ์ ที่มาปรากฏนั้น จัดแบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ก. จัดตามลักษณะของการเสวยอารมณ์ คือ จัดตามความรู้สึก มีชื่อเรียกว่า อารัมมณานุภวนนัย หรือ อารัมมณานุภวนลักขณนัย ตามนัยดังกล่าวนี้ จำแนก เวทนาออกเป็น ๓ คือ หน้า ๓ ๑. สุขเวทนา การเสวยอารมณ์เป็นสุข (หมายถึงความสุขกายและสุขใจ) ๒. ทุกขเวทนา การเสวยอารมณ์ที่เป็นทุกข์ (หมายถึง ความทุกข์กาย และความทุกข์ใจ) ๓. อทุกขมสุขเวทนา การเสวยอารมณ์เป็นกลาง คือ ไม่สุข ไม่ทุกข์ ได้แก่เฉย ๆ (หมายถึงไม่ทุกข์และไม่สุข ก็คือ อุเบกขานั่นเอง) ข. จัดตามประเภทแห่งความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์ มีชื่อเรียกว่าอินทริยเภทนัย ตามนัยนี้จำแนกเวทนาออกเป็น ๕ คือ ๑. สุขเวทนา รู้สึกสบายกาย หมายเฉพาะความสุขกาย ๒. ทุกขเวทนา รู้สึกไม่สบายกาย หมายเฉพาะความทุกข์กาย ๓. โสมนัสเวทนา รู้สึกสบายใจ หมายเฉพาะความสุขใจ ดีใจ ๔. โทมนัสเวทนา รู้สึกไม่สบายใจ หมายเฉพาะความทุกข์ใจ เสียใจ ๕. อุเบกขาเวทนา รู้สึกเฉย ๆ หมายถึงความไม่ทุกข์ไม่สุข เป็นกลาง ๆ เวทนา ๓ กล่าวโดย อารัมมณานุภวนนัย นั้น จำแนกจิตโดยเวทนา ๓ ตามลักษณะของ การเสวย หรือความรู้สึกในอารมณ์ ได้ดังนี้ ๑. จิตที่เกิดพร้อมกับสุขเวทนา คือ ทั้งสุขกายและสุขใจ ก็มีจำนวน ๖๓ ดวง ได้แก่ สุขกาย ๑ ดวง คือ สุขสหคต กุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ สุขใจ ๖๒ ดวง คือ กามโสมนัส ๑๘ ฌานโสมนัส ๔๔ กามโสมนัส ๑๘ ได้แก่ โสมนัส โลภมูลจิต ๔ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ โสมนัส หสิตุปปาทะ ๑ โสมนัส มหากุสล ๔ โสมนัส มหาวิบาก ๔ โสมนัส มหากิริยา ๔ ฌานโสมนัส ๔๔ ได้แก่ ปฐมฌาน ๑๑ ทุติยฌาน ๑๑ ตติยฌาน ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ปฐมฌาน ๑๑ คือ โลกียปฐมฌาน ๓ โลกุตตรปฐมฌาน ๘ โลกียปฐมฌาน ๓ ได้แก่ ปฐมฌานกุสลจิต ๑ ปฐมฌานวิบากจิต ๑ ปฐมฌานกิริยาจิต ๑ โลกุตตรปฐมฌาน ๘ ได้แก่ ปฐมฌานโสดาปัตติมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานสกทาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานอนาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปฐมฌานอรหัตตมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ หน้า ๔ ทุติยฌาน ๑๑ ตติยฌาน ๑๑ จตุตถฌาน ๑๑ ก็แจกตามนัยที่แสดง แล้วนี้ ๒. จิตที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา คือ ทั้งทุกข์กายและทุกข์ใจ มีจำนวน ๓ ดวง ได้แก่ ทุกข์กาย ๑ ดวง คือทุกขสหคต อกุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ทุกข์ใจ ๒ ดวง คือโทสมูลจิต ๒ ซึ่งต้องเกิดพร้อมกับโทมนัสเวทนาเสมอไป ๓. จิตที่เกิดพร้อมกับ อทุกขมสุขเวทนา คือไม่ทุกข์และไม่สุข หรืออุเบกขา เวทนานั่นเอง มี ๕๕ ดวง ได้แก่ อุเบกขา โลภมูลจิต ๔ โมหมูลจิต ๒ อุเบกขา อเหตุกจิต ๑๔ อุเบกขา กามาวจรโสภณจิต ๑๒ ฌานอุเบกขา หรือ ปัญจมฌาน ๒๓ ปัญจมฌาน ๒๓ ได้แก่ โลกียปัญจมฌาน ๑๕ โลกุตตรปัญจมฌาน ๘ โลกียปัญจมฌาน ๑๕ คือ โลกียรูปาวจรปัญจมฌาน ๓ โลกียอรูปาวจร ๑๒ โลกุตตรปัญจมฌาน ๘ คือ ปัญจมฌานโสดาปัตติมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานสกทาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานอนาคามิมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ ปัญจมฌานอรหัตตมัคคจิต ๑ ผลจิต ๑ เวทนา ๕ ๔. สุขเมกตฺถ ทุกฺขญฺจ โทมนสฺสํ ทฺวเย ฐิตํ ทฺวาสฏฺฐิสุ โสมนสฺสํ ปญฺจปญฺญาสเกตรา ฯ แปลความว่า สุขเวทนา ๑, ทุกขเวทนา ๑, โทมนัสเวทนา ๒, โสมนัสเวทนา ๖๒, อุเบกขาเวทนา ๕๕ หน้า ๕ กล่าวโดย อินทริยเภทนัย นั้น จำแนกจิตโดยเวทนา ๕ ตามประเภทแห่ง ความเป็นใหญ่ในการเสวยอารมณ์นั้น ได้ดังนี้ ๑. จิตที่เกิดพร้อมกับ สุขเวทนา คือ เฉพาะสุขกายก็มีดวงเดียว ได้แก่ สุขสหคต กุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ๒. จิตที่เกิดพร้อมกับ ทุกขเวทนา คือเฉพาะทุกข์กายก็มีดวงเดียว ได้แก่ ทุกขสหคต อกุสลวิบาก กายวิญญาณ ๑ ๓. จิตที่เกิดพร้อมกับ โสมนัสเวทนา คือสุขใจ มี ๖๒ ดวง กามโสมนัส ๑๘ ฌานโสมนัส ๔๔ ๔. จิตที่เกิดพร้อมกับ โทมนัสเวทนา คือทุกข์ใจ มี ๒ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ๕. จิตที่เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา คือเฉยๆ ไม่ทุกข์และก็ไม่สุข มี ๕๕ ดวง ได้แก่ อุเบกขา โลภมูลจิต ๔ โมหมูลจิต ๒ อุเบกขา อเหตุกจิต ๑๔ อุเบกขา กามาวจรโสภณจิต ๑๒ ฌานอุเบกขา ๒๓ อทุกขมสุขเวทนา (ในเวทนา ๓) กับ อุเบกขาเวทนา เป็นเวทนาเดียวกัน มี อัตถะ คือ เนื้อความอย่างเดียวกัน ต่างกันแต่ พยัญชนะ เท่านั้น สรุป เวทนา ๕ เวทนา ๓ สุขเวทนา = สุขกาย ๑ โสมนัสเวทนา = สุขใจ ๖๒ รวม ๖๓ เป็น สุขเวทนา ทุกขเวทนา = ทุกข์กาย ๑ โทมนัสเวทนา = ทุกข์ใจ ๒ รวม ๓ เป็น ทุกขเวทนา อุเบกขาเวทนา = เฉย ๆ ๕๕ คง ๕๕ เป็น อทุกขมสุขเวทนา ที่กล่าวมาแล้วนี้ เป็นการแสดงเวทนาของจิตโดยพิสดาร ๑๒๑ ดวง ต่อไปนี้ จะแสดงเวทนาของจิตโดยย่อ ๘๙ ดวง โดยเปรียบเทียบกับ ๑๒๑ ดวง ดังนี้ หน้า ๖ จำแนกโดยเวทนา ๓ จิตโดยพิสดาร ๑๒๑ จิตโดยย่อ ๘๙ สุขเวทนา ๖๓ สุขเวทนา ๓๑ ทุกขเวทนา ๓ ทุกขเวทนา ๓ อทุกขมสุขเวทนา ๕๕ อทุกขมสุขเวทนา ๕๕ ที่สุขเวทนาเหลือเพียง ๓๑ เพราะตัดโลกุตตรปฐมฌาน ๘, โลกุตตรทุติยฌาน ๘, โลกุตตรตติยฌาน ๘, โลกุตตรจตุตถฌาน ๘ รวม ๓๒ ดวง ซึ่งเป็นจิตพิสดาร ออกเสียจาก ๖๓ จึงเหลือเพียง ๓๑ ที่เหลือเพียง๓๑ นั้นได้แก่ สุขกายวิญญาณ ๑, กามโสมนัส ๑๘ และโลกีย ฌานโสมนัส ๑๒ คือ โลกียปฐมฌาน ๓, โลกียทุติยฌาน ๓, โลกียตติยฌาน ๓, โลกียจตุตถฌาน ๓ ที่อทุกขมสุขเวทนา ได้แก่ จิต ๕๕ เท่ากันทั้ง ๒ ข้างนั้น เป็นเพราะทางจิต พิสดารหมายถึง ปัญจมฌานโลกุตตรจิต๘ ดวง ส่วนทางจิตโดยย่อหมายถึงโลกุตตร จิตโดยย่อ ๘ ดวง ซึ่งมีจำนวนเท่ากัน อนึ่งโลกุตตรจิตโดยย่อ ๘ ดวงนั้น ในที่นี้นับเป็นอทุกขมสุขเวทนา คือ อุเบกขาเวทนาทั้ง ๘ ดวง จำแนกโดยเวทนา ๕ จิตโดยพิสดาร ๑๒๑ จิตโดยย่อ ๘๙ สุขเวทนา ๑ สุขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ ทุกขเวทนา ๑ โสมนัสเวทนา ๖๒ โสมนัสเวทนา ๓๐ โทมนัสเวทนา ๒ โทมนัสเวทนา ๒ อุเบกขาเวทนา ๕๕ อุเบกขาเวทนา ๕๕ หน้า ๗ เวทนากับเจตสิก เวทนาเจตสิก มีการแสดงเป็น ๒ นัย คือ ก. แสดงว่า เวทนาใดเกิดกับเจตสิกอะไรได้บ้าง ข. แสดงว่า เจตสิกใดเกิดกับเวทนาอะไรได้บ้าง ก. เวทนาเกิดกับเจตสิก สุขเวทนา เกิดได้กับ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) ทุกขเวทนา เกิดได้กับ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) โสมนัสเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๔๖ ดวงคือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นเวทนา เจตสิก) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกะ ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑) โสภณ เจตสิก ๒๕ โทมนัสเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๒๑ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น เวทนาปิติ) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโลติกะ ๓ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑) อุเบกขาเวทนา เกิดได้กับเจตสิก ๔๖ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้น เวทนาปิติ) อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกะ ๔) โสภณเจตสิก ๒๕ ข. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับเวทนา ๑. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนาอย่างเดียว มี ๖ ดวง คือ โทจตุกเจตสิก ๔ เกิดพร้อมกับ โทมนัสเวทนา อย่างเดียว ปิติเจตสิก ๑ เกิดพร้อมกับ โสมนัสเวทนา อย่างเดียว วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ เกิดพร้อมกับ อุเบกขาเวทนา หน้า ๘ ๒. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๒ มี ๒๘ ดวง คือ โลติกเจตสิก ๓ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนาก็ได้ อุเบกขาเวทนาก็ได้ โสภณเจตสิก ๒๕ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนาก็ได้ อุเบกขาเวทนาก็ได้ ๓. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๓ มี ๑๑ ดวง คือ โมจตุกเจตสิก ๔ ถีนมิทธเจตสิก ๒ วิตกเจตสิก ๑ วิจารเจตสิก ๑ อธิโมกขเจตสิก ๑ วิริยเจตสิก ๑ ฉันทเจตสิก ๑ เจตสิก ๑๑ ดวงนี้ เกิดพร้อมกับโสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา หรืออุเบกขาเวทนาอย่างใดก็ได้ ๔. เจตสิกที่เกิดพร้อมกับ เวทนา ๕ มี ๖ ดวงคือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิก ๖ (เว้นเวทนาเจตสิก) ๕. เจตสิกที่ไม่เกิดพร้อมกับเวทนา มี ๑ ดวง คือ เวทนาเจตสิก หมวดที่ ๒ เหตุสังคหะ เหตุ คือ ธรรมที่เป็นรากเง่าเค้ามูลที่ให้จิตเป็นอกุสล เป็นกุสล หรือเป็น อพยากตะ เหตุสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องเหตุ มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๕ แสดงว่า ๕. โลโภ โทโส จ โมโห จ เหตู อกุสลา ตโย อโลภาโทสาโมโห จ กุสลาพฺยากตา ตถา ฯ แปลความว่า โลภะ โทสะ โมหะ เป็น อกุสลเหตุ อโลภะ อโทสะ อโมหะ เป็นกุสลเหตุ และอพยากตเหตุ อธิบาย เหตุ มี ๖ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ หน้า ๙ โลภเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โลภเจตสิก โทสเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โทสเจตสิก โมหเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ โมหเจตสิก อโลภเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ อโลภเจตสิก อโทสเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ อโทสเจตสิก อโมหเหตุ องค์ธรรม ได้แก่ ปัญญาเจตสิก โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ เป็นเจตสิก ๓ ดวง เป็น อกุสลเจตสิก เมื่อ เจตสิกทั้ง ๓ คือเหตุทั้ง ๓ นี้ประกอบกับจิต ก็เป็นมูลฐานให้จิตเป็นอกุสล อันเป็นจิตที่ชั่วที่บาป เป็นจิตที่มีโทษและจักให้ผลเป็นทุกข์ ดังนั้น โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ จึงได้ชื่อว่าเป็น อกุสลเหตุ อกุสลเหตุประกอบกับจิตใด จิตนั้นก็เป็น อกุสลจิต อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ เป็นโสภณเจตสิกทั้ง ๓ ดวง เมื่อเจตสิกทั้ง ๓ คือเหตุทั้ง ๓ นี้ประกอบกับจิต ก็เป็นมูลฐานให้จิตเป็นโสภณ เป็นจิตที่ดีงาม เรียกว่า โสภณจิต อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ประกอบกับโสภณจิตประเภทกุสล เป็นจิตที่ดี งาม ฉลาด เป็นจิตที่ปราศจากโทษ และจักให้ผลเป็นสุขด้วย ดังนั้น อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ที่ประกอบกับกุสลจิตทั้งปวง จึงได้ชื่อว่าเป็น กุสลเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ประกอบกับโสภณจิตประเภทวิบากและกิริยา อันรวมเรียกว่า อพยากตจิต เป็นจิตที่ดี งาม ฉลาด ปราศจากโทษเหมือนกัน แต่ ไม่เป็นบุญ ไม่เป็นบาป เพราะไม่สามารถให้เกิดผลอย่างใดขึ้นมาได้ ดังนั้นอโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ที่ประกอบกับวิบากจิตหรือกิริยาจิตทั้งหลาย จึงได้ชื่อว่าเป็น อพยากตเหตุ รวมได้ความว่า เมื่อกล่าวถึงจำนวนเหตุโดยประเภทที่ประกอบกับจิตก็มี ๙ เหตุ คือ อกุสลเหตุ มี ๓ ได้แก่ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ กุสลเหตุ มี ๓ ได้แก่ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ อพยากตเหตุ มี ๓ ได้แก่ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ ถ้ากล่าวถึง จำนวนเหตุโดยประเภทแห่งองค์ธรรมแล้ว ก็มี ๖ เหตุ คือ โลภ เหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ หน้า ๑๐ เหตุ กับ จิต เหตุที่ประกอบกับจิต จิตทั้งหมดมี ๘๙ ดวง หรือ ๑๒๑ ดวง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ จิตที่มีเหตุประกอบ กับ จิตที่ไม่มีเหตุประกอบ ก. อเหตุกจิต เป็นจิตที่ไม่มีเหตุประกอบ (ไม่มีสัมปยุตตเหตุ) คือ ไม่มี เหตุ ๖ ประกอบเลยแม้แต่เหตุเดียว ข. สเหตุกจิต เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ คือ มีเหตุ ๖ ประกอบอย่างน้อย ที่สุด ก็ ๑ เหตุ และอย่างมากไม่เกิน ๓ เหตุ มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๖ แสดงว่า ๖. อเหตุกาฏฺฐารเสก เหตุกา เทฺว ทฺวาวีสติ ทฺวิเหตุกา มตา สตฺต จตฺตาฬีส ติเหตุกา ฯ แปลความว่า อเหตุกจิต มี ๑๘ เอกเหตุกจิต มี ๒ ทวิเหตุกจิต มี ๒๒ ติเหตุกจิต มี ๔๗ อธิบาย ๑. อเหตุกจิต เป็นจิตที่ไม่มีสัมปยุตตเหตุ คือ ไม่มีเหตุ ๖ ประกอบเลยแม้แต่ เหตุเดียว อเหตุกจิต มี ๑๘ ดวง ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ สันตีรณจิต ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ หสิตุปปาทจิต ๑ ๒. เอกเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบเพียงเหตุเดียว เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็นสเหตุกจิต เอกเหตุกจิต มี ๒ ดวง ได้แก่ โมหมูลจิต ๒ ซึ่งเป็นจิตที่มีเหตุประกอบเพียงเหตุเดียว คือ โมหเหตุ ๓. ทวิเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็น สเหตุกจิต ทวิเหตุกจิต มี ๒๒ ดวง ได้แก่ โลภมูลจิต ๘ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ โลภเหตุ โมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ โทสเหตุ โมหเหตุ มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ มีเหตุประกอบ ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ ๔. ติเหตุกจิต จิตที่มีเหตุประกอบ ๓ เหตุ เป็นจิตที่มีสัมปยุตตเหตุ เป็น สเหตุกจิต ติเหตุกจิต มี ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง ได้แก่ มหากุสล ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหาวิบาก ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหากิริยา ญาณสัมปยุตตจิต ๔ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ มีเหตุประกอบ ๓ เหตุ คือ อโลภเหตุ อโทสเหตุ และอโมหเหตุ ข้อสังเกต อเหตุกจิต ไม่มีเหตุประกอบเลย อกุสลจิต มีเหตุประกอบอย่างน้อย ๑ เหตุ อย่างมาก ๒ เหตุ โสภณจิต มีเหตุประกอบอย่างน้อย ๒ เหตุ อย่างมาก ๓ เหตุ หน้า ๑๒ นับจำนวนเหตุ อกุสลเหตุ ๓ โลภเหตุ ประกอบใน โลภมูลจิต ๘ เป็น ๘ เหตุ รวมอกุสลเหตุ ๒๒ เหตุ โทสเหตุ ประกอบใน โทสมูลจิต ๒ เป็น ๒ เหตุ โมหเหตุ ประกอบใน โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒ เป็น ๑๒ เหตุ กุสลเหตุ ๓ อโลภเหตุ ประกอบใน มหากุสล ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโลภเหตุ ๒๑ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๗ เหตุ) อโทสเหตุ ประกอบใน มหากุสล ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโทสเหตุ ๒๑ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๗ เหตุ) อโมหเหตุ ประกอบในมหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกุสล ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มัคคจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโมหเหตุ ๑๗ เหตุ (มัคคจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๓๓เหตุ) รวม กุสลเหตุ คืออโลภเหตุ ๒๑ อโทสเหตุ ๒๑ อโมหเหตุ ๑๗ เป็น ๕๙ เหตุ อย่างพิสดาร คือ อโลภเหตุ ๓๗ อโทสเหตุ ๓๗ อโมหเหตุ ๓๓ เป็น ๑๐๗ เหตุ หน้า ๑๓ อพยากตเหตุ ๓ อโลภเหตุ ประกอบใน มหาวิบาก ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหากิริยา ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโลภเหตุ ๓๘ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๕๔ เหตุ) อโทสเหตุ ประกอบใน มหาวิบาก ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหากิริยา ๘ เป็น ๘ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโทสเหตุ ๓๘ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๕๔ เหตุ) อโมหเหตุ ประกอบในมหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบในมหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ เป็น ๔ เหตุ ประกอบใน มหัคคตวิบาก ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน มหัคคตกิริยา ๙ เป็น ๙ เหตุ ประกอบใน ผลจิต ๔ เป็น ๔ เหตุ รวมอโมหเหตุ ๓๐ เหตุ (ผลจิตอย่างพิสดาร ๒๐ ก็เป็น ๒๐ เหตุ) (อย่างพิสดาร ๔๖ เหตุ) รวม อพยากตเหตุ คืออโลภเหตุ ๓๘ อโทสเหตุ ๓๘ อโมหเหตุ ๓๐ เป็น ๑๐๖ เหตุ อย่างพิสดาร อโลภเหตุ ๕๔ อโทสเหตุ ๕๔ อโมหเหตุ ๔๖ เป็น ๑๕๔ เหตุ รวม อกุสลเหตุ ๒๒ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๒๒ เหตุ กุสลเหตุ ๕๙ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๑๐๗ เหตุ อพยากตเหตุ ๑๐๖ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๑๕๔ เหตุ รวมเหตุทั้งหมดเป็น ๑๘๗ เหตุ อย่างพิสดารก็ ๒๘๓ เหตุ หน้า ๑๔ คิดจำนวนเหตุอย่างง่าย โลภมูลจิต ๘ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๑๖ เหตุ โทสมูลจิต ๒ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๔ เหตุ โมหมูลจิต ๒ ดวง x ๑ เหตุ เป็น ๒ เหตุ รวม ๒๒ เหตุ กามโสภณ ญาณวิปปยุตต ๑๒ ดวง x ๒ เหตุ เป็น ๒๔ เหตุ กามโสภณ ญาณสัมปยุตต ๑๒ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๓๖ เหตุ รวม ๖๐ เหตุ มหัคคตจิต ๒๗ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๘๑ เหตุ โลกุตตรจิต ๘ ดวง x ๓ เหตุ เป็น ๒๔ เหตุ ( โลกุตตรจิต อย่างพิสดาร ๔๐ x ๓ เป็น ๑๒๐ เหตุ ) รวม ๑๐๕ เหตุ รวมเหตุใน อกุสลจิต มี ๒๒ เหตุ รวมเหตุใน กามโสภณจิต มี ๖๐ เหตุ รวมเหตุใน มหัคคตจิต มี ๘๑ เหตุ รวมเหตุใน โลกุตตรจิต มี ๒๔ เหตุ หรือ ๑๒๐ เหตุ รวมเหตุทั้งสิ้น ๑๘๗ เหตุ หรือ ๒๘๓ เหตุ เหตุกับเจตสิก เหตุกับเจตสิกนี้ เป็นการแสดงว่า เจตสิกใดมีเหตุอะไรบ้าง หรือว่า เจตสิกใด เกิดพร้อมกับเหตุอะไรได้บ้าง มีแสดง เป็น ๒ นัย มีชื่อว่า อคหิตัคคหณนัย และ คหิตัคคหณนัย อคหิตัคคหณนัย คือ นับแล้วไม่นับอีก หมายความว่า ธรรมใดเจตสิกใดที่ได้ ยกเป็นหัวข้อขึ้นแสดงแล้ว ยกมากล่าวแล้ว จะไม่นำมาแสดง ไม่นำมากล่าวอ้าง ไม่นำมานับซ้ำอีก คหิตัคคหณนัย คือ นับแล้วนับอีก หมายความว่า ธรรมใดเจตสิกใดที่ได้ยก เป็นหัวข้อขึ้นแสดงแล้ว ยกมากล่าวอ้างแล้ว ก็ยังจะต้องนำมาแสดง ยกมากล่าวอ้าง นำมานับซ้ำอีก อคหิตัคคหณนัย ๑. เจตสิกที่มี เหตุเดียว มี ๓ ดวง ได้แก่ โลภะ โทสะ วิจิกิจฉา ๒. เจตสิกที่มี ๒ เหตุ มี ๙ ดวง ได้แก่ โมหะ ทิฏฐิ มานะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ อโลภะ อโทสะ ปัญญา หน้า ๑๕ ๓. เจตสิกที่มี ๓ เหตุ มี ๒๗ ดวง ได้แก่ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ ถีนะ มิทธะ และ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้น อโลภะ อโทสะ ปัญญา) ๔. เจตสิกที่มี ๕ เหตุ มี ๑ ดวง ได้แก่ ปิติ ๕. เจตสิกที่มี ๖ เหตุ มี ๑๒ ดวง ได้แก่ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปิติ) อธิบาย ในข้อ ๑ โลภเจตสิก จะต้องเกิดพร้อมกับโมหะอย่างแน่นอน จะเกิดแต่ลำพัง โดยไม่มีโมหะไม่ได้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โลภเจตสิก มีเหตุเดียว คือ โมหเหตุ โทสเจตสิกก็ดี วิจิกิจฉาเจตสิกก็ดี ก็จะต้องเกิดกับโมหะเช่นเดียวกัน ดังนั้น โทสเจตสิก จึงมีเหตุเดียว คือโมหเหตุ และวิจิกิจฉาเจตสิก ก็มีเหตุเดียว คือ โมหเหตุ ในข้อ ๒ โมหเจตสิก เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ เพราะว่าโมหเจตสิกที่เกิดพร้อม กับโลภะก็มีโลภเหตุเป็นเหตุ เมื่อโมหเจตสิกเกิดพร้อมกับโทสะ ก็มีโทสะเหตุเป็น เหตุ รวมความว่า โมหเจตสิก มีโลภเหตุเป็นเหตุก็ได้ มีโทสเหตุเป็นเหตุก็ได้ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า โมหเจตสิก มี ๒ เหตุ ทิฏฐิเจตสิก กับ มานเจตสิก รวม ๒ ดวงนี้จะต้องเกิดพร้อมกับโลภะ โลภะ ก็ต้องเกิดพร้อมกับโมหะ เป็นอันว่า ทิฏฐิเจตสิกก็ดี มานเจตสิกก็ดี แต่ละดวงต่างก็ จะต้องเกิดพร้อมกับโลภะและโมหะ ดังนั้น ทิฏฐิ มานะ เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ คือ มีโลภเหตุ โมหเหตุเป็นเหตุร่วมพร้อมกัน อิสสาเจตสิก มัจฉริยเจตสิก กุกกุจจเจตสิก รวม ๓ ดวงนี้ แต่ละดวงที่เกิด จะต้องเกิดร่วมกับโทสะและโมหะด้วยพร้อมกัน ดังนั้น เจตสิกทั้ง ๓ ดวงนี้ แต่ละ ดวงมี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุ โมหเหตุ เป็นเหตุร่วมพร้อมกัน อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ที่ประกอบพร้อมกันในจิตดวง ใด เจตสิก ๓ ดวงนี้ต่างก็เป็นเหตุซึ่งกันและกัน คือ อโลภเจตสิก ก็มี อโทสเหตุ และ อโมหเหตุ รวมมี ๒ เหตุ อโทสเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ และ อโมหเหตุ รวมมี ๒ เหตุ ปัญญาเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ และ อโทสเหตุ รวมมี ๒ เหตุ ในข้อ ๓ อหิริกเจตสิก อโนตตัปปเจตสิก อุทธัจจเจตสิก รวมเจตสิกทั้ง ๓ ดวงนี้อยู่ใน หน้า ๑๖ ประเภทโมจตุกเจตสิก ซึ่งประกอบกับอกุสลจิตได้ทุก ๆ ดวงทั้ง ๑๒ ดวง อกุสลจิตทั้งหมดนั้นมี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ ดังนั้นเจตสิก ทั้ง ๓ ดวงที่กล่าวนี้จึงสามารถเกิดกับเหตุทั้ง ๓ นั้นได้ จึงได้ชื่อว่าเป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ ถีนเจตสิก มิทธเจตสิก ๒ ดวงนี้ ประกอบกับโลภมูลจิตก็ได้ ประกอบกับ โทสมูลจิตก็ได้ โลภมูลจิตมีโลภเหตุกับโมหเหตุ โทสมูลจิตมีโทสเหตุกับโมหเหตุ รวมจิต ๒ ประเภทนี้มี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ ดังนั้น ถีนะ มิทธะ ซึ่งประกอบกับจิต ๒ ประเภทนี้ได้ จึงได้ชื่อว่า เป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ คือ โลภเหตุ โทสเหตุ โมหเหตุ โสภณเจตสิก ๒๒ (เว้นอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ซึ่งเป็น ต้นเหตุ และได้กล่าวในข้อ ๒ แล้ว) เป็นเจตสิกที่สามารถเกิดพร้อมกับอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิกได้ จึงกล่าวว่า โสภณเจตสิก ๒๒ ดวงนี้มี ๓ เหตุ ในข้อ ๔ ปีติเจตสิก ดวงเดียว เป็นเจตสิกที่มี ๕ เหตุ คือ เมื่อเกิดพร้อมกับ โลภโสมนัสก็มี โลภเหตุ โมหเหตุ เมื่อเกิดกับโสมนัสญาณสัมปยุตต ก็มี อโลภเหตุ อโทสเหตุ อโมหเหตุ จึงรวมเป็น ๕ เหตุ เว้นโทสเหตุอย่างเดียว เพราะโทสมูลจิต นั้นไม่มีปิติ มีแต่โทมนัส ในข้อ ๕ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นปีติเจตสิก) เป็นเจตสิกที่มีเหตุทั้ง ๖ ครบบริบูรณ์ เพราะอัญญสมานาเจตสิก ๑๒ ดวงนี้ เกิดพร้อมกับเหตุใด ๆ ได้ทั้ง ๖ เหตุ ที่กล่าวมาแล้วนี้เป็นการแสดงตามนัยที่ นับแล้วไม่นับอีก ที่ชื่อ อคหิตัคคหณนัย และคงจะเห็นแล้วว่า เจตสิก ดวงใดที่ได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวอ้างแล้ว เช่น โลภ เจตสิก โทสเจตสิก วิจิกิจฉาเจตสิก หรือเจตสิกดวงอื่น ๆ ก็ดี เมื่อได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวอ้างในข้อใดที่ใดแล้ว ก็ไม่ได้ยกมากล่าวอ้าง หรือยกมาแสดงซ้ำในข้อ อื่น ๆ อีกเลย ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า นับแล้วไม่นับอีก คหิตัคคหณนัย ๑. อเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่ไม่มีเหตุ มี ๑๓ ดวง ได้แก่ ก. อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันทเจตสิก) ที่ประกอบกับอเหตุกจิต ๑๘ ข. โมหเจตสิก ๑ เฉพาะที่ประกอบกับโมหมูลจิต ๒ ๒. เอกเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มีเหตุเดียว มี ๒๐ ดวง ได้แก่ ก. เจตสิก ๑๕ ดวง ที่ประกอบกับโมหมูลจิต ๒ (เว้นโมหเจตสิก) ข. เจตสิก ๓ ดวง คือ โลภเจตสิก โทสเจตสิก โมหเจตสิก (สำหรับโมห เจตสิก หน้า ๑๗ นี้ หมายถึง ประกอบกับโลภมูลจิตโดยเฉพาะ และที่ประกอบ กับ โทสมูลจิตโดยเฉพาะ) ค. เจตสิก ๒ ดวง คือ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ที่ประกอบกับ ญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ ๓. ทวิเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มี ๒ เหตุ มี ๔๘ ดวง ได้แก่ ก. เจตสิก ๔๕ ดวง (เว้นโลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ ที่เป็น ตัวเหตุ) ที่ ประกอบกับทวิเหตุกจิต ๒๒ ข. เจตสิก ๓ ดวง คือ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ที่ ประกอบกับติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ ๔. ติเหตุกเจตสิก คือ เจตสิกที่มี ๓ เหตุ มี ๓๕ ดวง ได้แก่ ก. อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ ดวง ข. โสภณเจตสิก ๒๒ ดวง (เว้นอโลภะ อโทสะ ปัญญา อันเป็นตัวเหตุ) ที่ประกอบกับติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ อธิบาย ๑. อเหตุกจิต ๑๘ ดวง มีเจตสิกประกอบได้อย่างมากที่สุด ๑๒ ดวง คืออัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้นฉันทเจตสิก) อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ และปิติ ใน บรรดาเจตสิกทั้ง ๑๒ ดวงนี้ ไม่มี โลภเจตสิก โทสเจตสิก โมหเจตสิก อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก และปัญญาเจตสิก อันเป็นตัวเหตุทั้ง ๖ ประกอบร่วมอยู่ด้วยเลยแม้แต่ เหตุเดียว ดังนั้นเจตสิกทั้ง ๑๒ ดวงนี้ จึงได้ชื่อว่าเจตสิกที่ไม่มีเหตุตรงตามข้อ ๑ ก. ๒. โมหมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๑ (เว้นปีติเจตสิก ฉันทเจตสิก)โมจตุกเจตสิก ๔ วิจิกิจฉาเจตสิก ๑ รวมเป็น ๑๖ ดวง ได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ และวิจิกิจฉา ในบรรดา เจตสิกทั้ง ๑๖ ดวงนี้ มีโมหเจตสิก อันเป็นตัวเหตุอยู่เพียง ๑ เหตุเท่านั้น เจตสิกอีก ๑๕ ดวง นั้น ไม่มีเจตสิกอันเป็นตัวเหตุอีกเลย ดังนั้นจึงไได้ชื่อว่า โมหเจตสิก ที่ใน โมหมูลจิต ๒ ดวงนี้ เป็นเจตสิกที่ไม่มีเหตุ ตรงตามข้อ ๑ ข. เพราะโมหเจตสิก ในที่นี้ แม้ตัวเองจะเป็นตัวเหตุก็จริง แต่ไม่มีเหตุอื่นมาประกอบร่วมอีกด้วยเลย ๓. โมหมูลจิต ๒ ดวง มี เจตสิกประกอบได้ ๑๖ ดวง ดังที่ได้กล่าวแล้วใน ข้อ ๒ ข้างบนนี้นั้น ในจำนวนเจตสิก ๑๖ ดวง มีโมหเจตสิกอันเป็นตัวโมหเหตุ ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๑๕ ดวง หน้า ๑๘ เฉพาะเจตสิก ๑๕ ดวงนี้ เกิดร่วมกับโมหเจตสิกอัน เป็นโมหเหตุ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่าเจตสิก ๑๕ ดวงนี้เป็นเจตสิกที่มีเหตุ คือ โมหเหตุ เหตุเดียวตรงตามข้อ ๒ก.เพราะเจตสิก ๑๕ดวงนี้มีโมหเหตุเกิดมาร่วมประกอบด้วย ๔. โลภมูลจิต ๘ ดวง มีเจตสิกที่ประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โมจตุกเจตสิก ๔ โลติกเจตสิก ๓ และถีทุกเจตสิก ๒ รวม ๒๒ ดวง อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ ปีติ ฉันทะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ โลภะ ทิฏฐิ มานะ ถีนะ และมิทธะ ในบรรดาเจตสิกทั้ง ๒๒ ดวงนี้ มีโลภเจตสิก อันเป็นโลภเหตุ ๑ มีโมห เจตสิกอันเป็นโมหเหตุ ๑ ร่วมอยู่ด้วยกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โลภเจตสิกมีเหตุ ๑ คือมีโมหเหตุเกิดร่วมด้วย และโดยทำนองเดียวกัน โมหเจตสิกในที่นี้ก็มีเหตุ ๑ คือมี โลภเหตุเกิดร่วมด้วย โทสมูลจิต ๒ ดวง มีเจตสิกที่ประกอบได้ คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๒ (เว้น ปีติเจตสิก) โมจตุกเจตสิก ๔ โทจตุกเจตสิก ๔ และถีทุกเจตสิก ๒ รวม ๒๒ ดวง อันได้แก่ ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ วิตก วิจาร อธิโมกข วิริยะ ฉันทะ โมหะ อหิริกะ อโนตตัปปะ อุทธัจจะ โทสะ อิสสา มัจฉริยะ กุกกุจจะ ถีนะ และ มิทธะ ในบรรดาเจตสิกทั้ง ๒๒ ดวงนี้ มีโทสเจตสิกอันเป็น โทสเหตุ ๑ มีโมหเจตสิกอันเป็นโมหเหตุ ๑ เกิดร่วมอยู่ด้วยกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า โทสเจตสิกมีเหตุ ๑ คือมีโมหเหตุเกิดร่วมด้วย และโดยทำนองเดียวกัน โมหเจตสิก ในที่นี้ (คือในโทสมูลจิตนี้) ก็มีเหตุ ๑ คือมีโทสเหตุเกิดร่วมด้วย รวมความในข้อ ๔ นี้คงได้ความว่า โลภเจตสิกก็ดี โทสเจตสิกก็ดี โมหเจตสิก ที่ในโลภมูลจิตก็ดี และโมหเจตสิกที่ในโทสมูลจิตก็ดี ต่างก็มีเหตุเดียวเท่านั้น ตรง ตามข้อ ๒ ข. ๕. กามาวจรโสภณจิตญาณวิปปยุตต ๑๒ มีเจตสิก ประกอบ ๓๗ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๔ (เว้นปัญญาเจตสิก) ในจำนวนเจตสิก ๓๗ ดวงนี้ มี อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เพราะว่า อโลภเจตสิกเกิดร่วมกับอโทสเจตสิกซึ่งต่างก็เป็นตัวเหตุด้วยกันทั้งคู่ และ ต่างก็เป็นเหตุให้แก่กันและกัน ดังนั้นในที่นี้ อโลภเจตสิก ก็มีเหตุ ๑ คือ อโทสเหตุ และ อโทสเจตสิก ก็มีเหตุ ๑ คือ อโลภเหตุ ตรงตามข้อ ๒ ค. ๖. ทวิเหตุกจิต ๒๒ นั้นได้แก่ โลภมูลจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ กามาวจรโสภณ ญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ โลภมูลจิต ๘ มีเจตสิกประกอบ ๒๒ ดวง คือ โลภเจตสิก ๑ โมหเจตสิก ๑ และ หน้า ๑๙ เจตสิกอื่น ๆ อีก ๒๐ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (เว้นโลภะ โมหะ) ๒๐ ดวงนี้เกิด ร่วมกับโลภเจตสิก โมหเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๒๐ ดวงนี้ มี ๒ เหตุ คือ โลภเหตุกับโมหเหตุ โทสมูลจิต ๒ มีเจตสิกประกอบ ๒๒ ดวง คือ โทสเจตสิก ๑ โมหเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๒๐ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (เว้นโทสะ โมหะ) ๒๐ ดวงนี้เกิด ร่วมกับโทสเจตสิก โมหเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๒๐ ดวงนี้มี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุกับโมหเหตุ กามาวจรโสภณญาณวิปปยุตตจิต ๑๒ มีเจตสิกประกอบ ๓๗ ดวง คือ อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เจตสิกอื่น ๆ (ที่ เว้น อโลภะ อโทสะ แล้ว) ๓๕ ดวงนี้ เกิดร่วมกับ อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๓๕ ดวงนี้มี ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุ และอโทสเหตุ เมื่อรวมเจตสิกที่ประกอบกับทวิเหตุกจิต ๒๒ ดวง ที่กล่าวในข้อ ๖ นี้เข้าด้วย กันทั้งหมดแล้วหัก โลภะ โทสะ โมหะ อโลภะ อโทสะ เจตสิกที่เป็นตัวเหตุออก และหักเจตสิกที่ซ้ำกันออกเสียอีกด้วยแล้ว จะได้เจตสิก ๔๕ ดวง ในเจตสิก ๔๕ ดวงนี้แหละที่ได้ชื่อว่า มี ๒ เหตุ คือ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุ ซึ่งประกอบกับโลภมูลจิตนั้น มี ๒ เหตุ คือ โลภเหตุกับโมหเหตุ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุ ซึ่งประกอบกับโทสมูลจิตนั้น มี ๒ เหตุ คือ โทสเหตุกับโมหเหตุ เจตสิกที่ไม่ใช่เหตุซึ่งประกอบกับกามจิตวิปปยุตตนั้น มี ๒ เหตุ คือ อโลภเหตุกับอโทสเหตุ เป็นอันว่าตรงกับข้อ ๓ ก. ๗. จิตที่เป็นญาณสัมปยุตต ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง จะต้องมี อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก ประกอบ เจตสิก ๓ ดวงนี้ ก็คือเหตุทั้ง ๓ นั่นเอง เหตุทั้ง ๓ ที่เกิดร่วมกัน เกิดพร้อมกันนี้ ต่างก็เป็นเหตุให้แก่กันและกัน คือ อโลภเจตสิก ก็มี อโทสเหตุ กับ อโมหเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ อโทสเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ กับ อโมหเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ ปัญญาเจตสิก ก็มี อโลภเหตุ กับ อโทสเหตุ เป็นเหตุรวม ๒ เหตุ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า อโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก รวมเจตสิก ๓ ดวงนี้ แต่ละดวงก็เป็นเจตสิกที่มี ๒ เหตุ ตรงตามข้อ ๓ ข. ๘. จิตที่เป็นไตรเหตุ หรือ ติเหตุกจิต ๔๗ หรือ ๗๙ ดวง มีเจตสิกประกอบ ๓๘ ดวง คือ อโลภเจตสิก ๑ อโทสเจตสิก ๑ ปัญญาเจตสิก ๑ และเจตสิกอื่น ๆ อีก ๓๕ ดวง เพราะเจตสิก ๓๕ หน้า ๒๐ ดวงนี้เกิดร่วมพร้อมกับอโลภเจตสิก อโทสเจตสิก ปัญญาเจตสิก อันเป็นตัวเหตุทั้ง ๓ นั่นเอง จึงได้ชื่อว่า เจตสิก ๓๕ (เว้น อโลภะ อโทสะ ปัญญา) ประกอบกับติเหตุกจิตนั้นเป็นเจตสิกที่มี ๓ เหตุ ตรงตามข้อ ๔ ที่กล่าวมาตอนนี้ เป็นการแสดงตามนัย นับแล้วนับอีก ที่ชื่อ คหิตัคคหณนัย ซึ่งคงจะเห็นแล้วว่า เจตสิก ดวงใดที่ได้ยกเป็นหัวข้อขึ้นกล่าวแล้ว อ้างแล้วเช่น อัญญสมานาเจตสิก โมหเจตสิก เป็นต้น ในข้อต่อมาก็ยังยกมาแสดง ยกมากล่าว อ้างซ้ำอีก ดังนี้ จึงได้ชื่อว่า นับแล้วนับอีก หมวดที่ ๓ กิจจสังคหะ กิจจสังคหะ คือ การรวบรวมแสดงเรื่องกิจ หมายความว่า รวบรวมแสดงเรื่อง กิจการงาน หรือหน้าที่ของจิต เจตสิก เพื่อให้ทราบว่าจิตดวงใดตลอดจนเจตสิกที่ ประกอบกับจิตนั้น มีกิจการงาน หรือมีหน้าที่ทำอะไรกัน นอกจากกิจแล้ว ท่านแสดงฐานให้ทราบไว้ด้วย ฐาน แปลว่าที่ตั้ง ฐานของกิจ ก็คือที่ตั้ง ที่ทำงาน เป็นสถานที่ที่จิตและเจตสิกทำกิจการงาน มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๗ แสดงว่า ๗. ปฏิสนฺธทโย นาม กิจฺจเภเทน จุทฺทส ทสธา ฐานเภเทน จิตฺตุปฺปาทา ปกาสิตา ฯ แปลความว่า บรรดาจิตที่เกิดขึ้น มีกิจการงานที่ต้องทำ ๑๔ ประเภท เช่น ปฏิสนธิกิจ เป็นต้น ฐาน หรือสถานที่ทำงานของจิต มีเพียง ๑๐ เท่านั้น อธิบาย จิตทั้งหมด คือ ทั้ง ๘๙ หรือ ๑๒๑ ดวง มีกิจการงานหรือมีหน้าที่ต้องทำเพียง ๑๔ อย่าง หรือ ๑๔ กิจ เท่านั้น และใน ๑๔ กิจนี้ มีสถานที่สำหรับทำกิจการงาน นั้น ๑๐ แห่ง หรือ ๑๐ ฐาน คือ ๑. ปฏิสนธิกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ปฏิสนธิฐาน ๒. ภวังคกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ภวังคฐาน ๓. อาวัชชนกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า อาวัชชนฐาน ๔. ทัสสนกิจ ๕. สวนกิจ ๖. ฆายนกิจ ๗. สายนกิจ ๘. ผุสนกิจ มีฐาน คือ สถานที่ทำการงานเรียกว่า ปัญจวิญญาณฐาน ๙. สัมปฏิจฉันนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า สัมปฏิจฉันนฐาน ๑๐. สันตีรณกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า สันตีรณฐาน ๑๑. โวฏฐัพพนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า โวฏฐัพพนฐาน ๑๒. ชวนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า ชวนฐาน ๑๓. ตทาลัมพนกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า ตทาลัมพนฐาน ๑๔. จุติกิจ มีฐาน คือสถานที่ทำการงานเรียกว่า จุติฐาน หน้าที่ของกิจ ๑. ปฏิสนธิกิจ ทำหน้าที่สืบต่อภพสืบต่อชาติ คือ ความเกิดขึ้นในภพใหม่ หมายเฉพาะขณะแรกที่เกิดใหม่ขณะเดียวเท่านั้น ฉะนั้นในภพหนึ่งชาติหนึ่ง จิตที่ทำ กิจปฏิสนธิจึงมีเพียงครั้งเดียว ขณะเดียวเท่านั้น ๒. ภวังคกิจ ทำหน้าที่เป็นองค์ของภพ ทำให้ตั้งอยู่ในภพนั้น ๆ เท่าที่อายุ สังขารจะพึงอยู่ได้ จิตทำภวังคกิจนี้ทำอยู่เสมอ น้อยบ้าง มากบ้าง นับประมาณไม่ได้ ๓. อาวัชชนกิจ ทำหน้าที่พิจารณาอารมณ์ที่มาถึงตน ทั้งทางปัญจทวาร และ มโนทวาร ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นเพียงขณะเดียว เป็นจิตนำวิถี เพราะเป็นจิตดวง แรกที่ขึ้นวิถีใหม่ในทุก ๆ วิถี ๔. ทัสสนกิจ ทำหน้าที่ เห็น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๕. สวนกิจ ทำหน้าที่ ได้ยิน ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๖. ฆายนกิจ ทำหน้าที่ ได้กลิ่น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๗. สายนกิจ ทำหน้าที่ รู้รส ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๘. ผุสนกิจ ทำหน้าที่ รู้สิ่งที่มากระทบกาย มีเย็น ร้อน อ่อนแข็ง เป็นต้น ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว หน้า ๒๒ ๙. สัมปฏิจฉันนกิจ ทำหน้าที่รับอารมณ์ต่อจากทวิปัญจวิญญาณ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๑๐. สันตีรณกิจ ทำหน้าที่ไต่สวนอารมณ์ที่สัมปฏิจฉันนกิจส่งมาให้ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นขณะเดียว ๑๑. โวฏฐัพพนกิจ ทำหน้าที่ตัดสินอารมณ์ กำหนดให้เป็นกุสล อกุสล หรือ กิริยา ในวิถีหนึ่ง ๆ ตามปกติก็เกิดขึ้นเพียงขณะเดียว แต่ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัด ตัดสิน ไม่ลง ก็อาจเกิด ๒ ขณะ ก็มี มากที่สุดเพียง ๓ ขณะ ๑๒. ชวนกิจ ทำหน้าที่เสพอารมณ์เป็น กุสล อกุสล หรือ กิริยา ตามที่ โวฏฐัพพนกิจได้ตัดสินและกำหนดมา ในวิถีหนึ่ง ๆ ตามปกติก็เกิดชวนะ ๗ ขณะ แต่ว่าที่เกิดน้อยกว่านี้ก็มี และที่เกิดมากมายจนประมาณไม่ได้ก็มีเหมือนกัน (เช่น เวลาเข้าฌานสมาบัติ) ๑๓. ตทาลัมพนกิจ ทำหน้าที่รับรู้อารมณ์ที่เหลือจากชวนกิจ ในวิถีหนึ่ง ๆ เกิด ขึ้น ๒ ขณะ ๑๔. จุติกิจ ทำหน้าที่เคลื่อนจากภพเก่า เป็นจิตสุดท้ายในภพนั้นชาตินั้น ในภพ หนึ่งชาติหนึ่ง จิตทำจุติกิจนี้เพียงครั้งเดียวขณะเดียวเท่านั้น จิตทำกิจ ๑. จิตทำ ปฏิสนธิกิจ มี ๑๙ ดวง คือ อุเบกขาสันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตวิบากจิต ๙ ๒. จิตทำ ภวังคกิจ มี ๑๙ ดวง คือ เท่ากันและเหมือนกันกับปฏิสนธิกิจ ๓. จิตทำ อาวัชชนกิจ มี ๒ ดวง คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ๔. จิตทำ ทัสสนกิจ มี ๒ ดวง คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ๕. จิตทำ สวนกิจ มี ๒ ดวง คือ โสตวิญญาณจิต ๒ ๖. จิตทำ ฆายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ฆานวิญญาณจิต ๒ ๗. จิตทำ สายนกิจ มี ๒ ดวง คือ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๘. จิตทำ ผุสนกิจ มี ๒ ดวง คือ กายวิญญาณจิต ๒ ๙. จิตทำ สัมปฏิจฉันนกิจ มี ๒ ดวง คือ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ หน้า ๒๓ ๑๐. จิตทำ สันตีรณกิจ มี ๓ ดวง คือ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ ๑๑. จิตทำ โวฏฐัพพนกิจ มี ๑ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ๑๒. จิตทำ ชวนกิจ มี ๕๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ หสิตุปปาทจิต ๑ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ กามชวนะ ๒๙ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ อัปปนาชวนะ ๒๖ ๑๓. ตทาลัมพนกิจ มี ๑๑ ดวง คือ สันตีรณจิต ๓ มหาวิบากจิต ๘ ๑๔. จุติกิจ มี ๑๙ ดวง คือ เท่ากันและเหมือนกันกับปฏิสนธิกิจ ๘. อฏฺฐสฏฺฐี ตถา เทฺว จ นวาฏฺฐ เทฺว ยถากฺกมํ เอก ทฺวิ ติ จตุ ปญฺจ กิจฺจฏฺฐานานิ นิทฺทิเส ฯ แปลความว่า จิตทำกิจ ๑ มีฐาน ๑ นั้น มีอยู่ ๖๘ ดวง จิตทำกิจ ๒ มีฐาน ๒ นั้น มีอยู่ ๒ ดวง จิตทำกิจ ๓ มีฐาน ๓ นั้น มีอยู่ ๙ ดวง จิตทำกิจ ๔ มีฐาน ๔ นั้น มีอยู่ ๘ ดวง จิตทำกิจ ๕ มีฐาน ๕ นั้น มีอยู่ ๒ ดวง อธิบาย จิตที่ทำกิจ ๑ อย่าง และมีฐาน ๑ นั้น มีจำนวน ๖๘ ดวง คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ทัสสนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สวนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ฆายนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สายนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน หน้า ๒๔ กายวิญญาณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ผุสนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ปัญจวิญญาณฐาน ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ อาวัชชนกิจ อย่างเดียว ทำที่ อาวัชชนฐาน สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ สัมปฏิจฉันนกิจ อย่างเดียว ทำที่ สัมปฏิจฉันนฐาน ชวนจิต ๕๕ ดวง ทำหน้าที่ ชวนกิจ อย่างเดียว ทำที่ ชวนฐาน จิตที่ทำกิจ ๒ อย่าง และมีฐาน ๒ ฐานนั้น มี ๒ ดวง คือ โสมนัสสันตีรณจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ สันตีรณกิจ ที่ สันตีรณฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ทำหน้าที่ อาวัชชนกิจ ที่ อาวัชชนฐาน โวฏฐัพพนกิจ ที่ โวฏฐัพพนฐาน จิตที่ทำกิจ ๓ อย่าง และมี ฐาน ๓ ฐานนั้น มี ๙ ดวง คือ มหัคคตวิบากจิต ๙ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน จิตที่ทำกิจ ๔ อย่าง และมีฐาน ๔ ฐานนั้น มี ๘ ดวง คือ มหาวิบากจิต ๘ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน จิตที่ทำกิจ ๕ อย่าง และมีฐาน ๕ ฐานนั้น มี ๒ ดวง คือ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ ดวง ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ที่ ปฏิสนธิฐาน ภวังคกิจ ที่ ภวังคฐาน จุติกิจ ที่ จุติฐาน สันตีรณกิจ ที่ สันตีรณฐาน ตทาลัมพนกิจ ที่ ตทาลัมพนฐาน เจตสิกทำกิจ หน้า ๒๕ ๑. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๑ กิจ มี ๑๗ ดวง คือ อกุสลเจตสิก ๑๔ วีรตีเจตสิก ๓ ทำ ชวนกิจ อย่างเดียว ๒. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๔ กิจ มี ๒ ดวง คือ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ทำ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ชวนกิจ ๓. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๕ กิจ มี ๒๑ ดวง คือ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ปัญญาเจตสิก ๑ ฉันทเจตสิก ๑ ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๔. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๖ กิจ มี ๑ ดวง คือ ปีติเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ สันตีรณกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๕. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๗ กิจ มี ๑ ดวง คือ วิริยเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ อาวัชชนกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๖. เจตสิกที่ทำหน้าที่ ๙ กิจ มี ๓ ดวง คือ วิตกเจตสิก วิจารเจตสิก อธิโมกขเจตสิก ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ อาวัชชนกิจ สัมปฏิจฉันนกิจ สันตีรณกิจ โวฏฐัพพนกิจ ชวนกิจ ตทาลัมพนกิจ ๗. เจตสิกที่ทำหน้าที่หมดทั้ง ๑๔ กิจ มี ๗ ดวง คือ สัพพจิตตสาธารณเจตสิกทั้ง ๗ ดวง ทำหน้าที่ทุกกิจ (ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา เอกัคคตา ชีวิตินทรีย มนสิการ) ฐานของกิจอย่างพิสดาร ๒๕ ฐาน ได้แสดงมาแล้วว่า สถานที่ทำกิจของจิตนั้นได้ชื่อว่า ฐาน คือจิตทำปฏิสนธิกิจ ก็ทำที่ ปฏิสนธิฐาน เป็นต้น ไปถึงจิตที่ทำจุติกิจ ก็ทำที่ จุติฐาน เป็นที่สุด ซึ่งชื่อ ของกิจและชื่อของฐานนั้นก็ตรงกันเหมือนกัน เว้นแต่ ทัสสนกิจ สวนกิจ ฆายนกิจ สายนกิจ และผุสนกิจ รวม หน้า ๒๖ ๕ กิจนี้เท่านั้น ที่ทำกิจที่ปัญจวิญญาณฐาน ซึ่งชื่อของ กิจและชื่อของฐานไม่เหมือนกัน แต่ถ้าเรียกชื่อจิตที่ทำ ๕ กิจนั้นว่าปัญจวิญญาณจิต ทำกิจที่ ปัญจวิญญาณฐาน ชื่อของจิตกับชื่อของฐานก็เหมือนกันอีก ส่วนฐานของจิตอย่างพิสดารนี้เป็น ๒๕ ฐาน มุ่งหมายที่จะแสดงให้ทราบอีก นัยหนึ่งว่า ปฏิสนธิฐานนี้มีฐานอะไรเกิดมาก่อน จึงเกิดปฏิสนธิฐาน และเมื่อปฏิสนธิฐานผ่านพ้นไปแล้ว มีฐานอะไรเกิดติดตามมา หรือจิตที่ทำปฏิสนธิกิจนั้นมี จิตทำกิจอะไรเกิดมาก่อน จึงเกิดจิตที่ทำปฏิสนธิกิจขึ้น และเมื่อจิตที่ทำปฏิสนธิกิจ ดับไปแล้ว มีจิตทำกิจอะไรเกิดตามติดมาเป็นลำดับ อันเป็นการแสดงฐานตามนัย แห่ง วิถีจิต หรือแสดงฐานโดยอาศัยวิถีจิตเป็นหลักฐานจึงมากขึ้นเป็น ๒๕ ฐาน ฐานของกิจอย่างพิสดาร คือ ปฏิสนธิ มี ๑ ฐาน ภวังค มี ๖ ฐาน อาวัชชนะ มี ๒ ฐาน ปัญจวิญญาณ หมายถึง ปัญจวิญญาณ ๑ ฐาน สัมปฏิจฉันนะ ๑ ฐาน สันตีรณะ ๑ ฐาน โวฏฐัพพนะ ๒ ฐาน ชวน ๖ ฐาน ตทาลัมพนะ ๒ ฐาน และ จุติ ๓ ฐาน จึงรวมเป็น ๒๕ ฐาน ด้วยกัน มีรายละเอียดดังนี้ ๑. ปฏิสนธิ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง จุติ กับ ภวังค ๒. ภวังค มี ๖ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ปฏิสนธิ กับ อาวัชชนะ (๒) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ อาวัชชนะ (๓) ระหว่าง ชวนะ กับ อาวัชชนะ (๔) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ อาวัชชนะ (๕) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ จุติ (๖) ระหว่าง ชวนะ กับ จุติ ๓. อาวัชชนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ภวังค กับ ปัญจวิญญาณ (๒) ระหว่าง ภวังค กับ ชวนะ หน้า ๒๗ ๔. ปัญจวิญญาณ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง อาวัชชนะ กับ สัมปฏิจฉันนะ ๕. สัมปฏิจฉันนะ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง ปัญจวิญญาณ กับ สันตีรณะ ๖. สันตีรณะ มี ๑ ฐาน คือ ระหว่าง สัมปฏิจฉันนะ กับ โวฏฐัพพนะ ๗. โวฏฐัพพนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง สันตีรณะ กับ ชวนะ (๒) ระหว่าง สันตีรณะ กับ ภวังค ๘. ชวนะ มี ๖ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ ตทาลัมพนะ (๒) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ ภวังค (๓) ระหว่าง อาวัชชนะ กับ จุติ (๔) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ ตทาลัมพนะ (๕) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ ภวังค (๖) ระหว่าง โวฏฐัพพนะ กับ จุติ ๙. ตทาลัมพนะ มี ๒ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ชวนะ กับ ภวังค (๒) ระหว่าง ชวนะ กับ จุติ ๑๐. จุติ มี ๓ ฐาน คือ (๑) ระหว่าง ตทาลัมพนะ กับ ปฏิสนธิ (๒) ระหว่าง ชวนะ กับ ปฏิสนธิ (๓) ระหว่าง ภวังค กับ ปฏิสนธิ ฐานพิสดาร ๒๕ ฐาน นี้ เมื่อได้ศึกษาถึงวิถีจิต ซึ่งเป็นปริจเฉทที่ ๔ แล้ว จะเข้าใจได้ดีขึ้น หมวดที่ ๔ ทวารสังคหะ ทวารสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องทวาร ทวาร แปลว่า ประตู คือ ทางเข้าออก ในที่นี้หมายถึง ทางที่จิตเจตสิกได้รับอารมณ์ หรือจิตเจตสิกได้รับ อารมณ์ทางนั้น ประตูนั้น ทวารนั้น เช่น จิตเจตสิกได้รับอารมณ์ทางตา ทางจักขุทวาร, ทางหู ทางโสตทวาร, ทางจมูก ฆานทวาร, ทางลิ้น ชิวหาทวาร เป็นต้น มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๙ แสดงว่า ๙. เอกทฺวาริกจิตฺตานิ ปญฺจฉทฺวาริกานิ จ ฉทฺสาริกวิมุตฺตานิ วิมุตฺตานิ จ สพฺพถา ฯ แปลความว่า จิตอาศัยทวารเดียวก็มี อาศัย ๕ ทวารก็มี อาศัย ๖ ทวารก็มี บางทีอาศัย ทวารทั้ง ๖ บ้าง ไม่อาศัยบ้างก็มีและที่ไม่อาศัยเลยทั้ง ๖ ทวารก็มี มีอยู่ทุกประการ หน้า ๒๘ อธิบาย ที่ว่ามีอยู่ทุกประการนั้น รวมมีอยู่ด้วยกัน ๕ ประการ คือ ๑. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารเดียว เรียกว่า เอกทวาริกจิต ๒. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๕ เรียกว่า ปัญจทวาริกจิต ๓. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๖ เรียกว่า ฉทวาริกจิต ๔. จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารทั้ง ๖ บ้าง แต่บางทีก็เกิดพ้นทวาร คือไม่ต้อง อาศัยทวารบ้าง เรียก ฉทวาริกวิมุตตจิต ๕. จิตที่เกิด พ้นทวารแน่นอน คือ จิตนั้นเกิดโดยไม่ต้องอาศัยทวารทั้ง ๖ เลยทีเดียว เรียกว่า ทวารวิมุตตจิต ทวาร คือ ประตู หรือ ทาง ที่จิตเจตสิกอาศัยเป็นทางให้ได้รับอารมณ์ ซึ่งมีอยู่ ๖ ทวาร หรือ ๖ ทางด้วยกัน คือ ๑. จักขุทวาร คือ ทางตา องค์ธรรมได้แก่ จักขุปสาทรูป ๒. โสตทวาร คือ ทางหู องค์ธรรมได้แก่ โสตปสาทรูป ๓. ฆานทวาร คือ ทางจมูก องค์ธรรมได้แก่ ฆานปสาทรูป ๔. ชิวหาทวาร คือ ทางลิ้น องค์ธรรมได้แก่ ชิวหาปสาทรูป ๕. กายทวาร คือ ทางกาย องค์ธรรมได้แก่ กายปสาทรูป ๖. มโนทวาร คือ ทางใจ องค์ธรรมได้แก่ ภวังคจิต ตั้งแต่เลข ๑ ถึง ๕ รวม ๕ ทวารนี้เรียกว่า ปัญจทวาร องค์ธรรมได้แก่ ปสาทรูปทั้ง ๕ เป็นรูปทวาร เป็นทางให้ทวิปัญจวิญญาณเกิดขึ้นรับรู้อารมณ์ ทั้ง ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส การสัมผัสถูกต้อง และเป็นทางให้เกิดวิถีจิต ทางปัญจทวารอีกด้วย เฉพาะเลข ๖ มโนทวาร องค์ธรรมได้แก่ ภวังคจิตนั้น เป็นนามทวาร ภวังค จิตนี้เป็นเหตุแห่งความเกิดขึ้นของจิตทั้งปวงและเป็นทางให้เกิดวิถีจิตทางมโนทวาร อีกด้วย ทวารทั้ง ๖ นี้เป็น รูปธรรม ๕ ทวาร เป็น นามธรรม เพียงทวารเดียว และทวารใดมีจิตอาศัยเป็นทางให้เกิดได้เป็นจำนวนเท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๑๐ ว่า ๑๐. ฉตฺตีสติ ตถา ตีณิ เอกตฺตีส ยถากฺกมํ ทสธา นวธาเจติ ปญฺจธา ปริทีปเย ฯ แปลความว่า พึงกำหนดจำนวนจิตเหล่านั้น ๕ ประเภทตามลำดับ คือ หน้า ๒๙ เอกทวาริกจิต มี ๓๖ ดวง ปัญจทวาริกจิต มี ๓ ดวง ฉทวาริกจิต มี ๓๑ ดวง ฉทวาริกวิมุตตจิต มี ๑๐ ดวง ทวารวิมุตตจิต มี ๙ ดวง อธิบาย ๑. เอกทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทาง ทวารเดียว มีจำนวน ๓๖ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อัปปนาชวนะ ๒๖ ๒. ปัญจทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทางทวารทั้ง ๕ (ปัญจทวาร) มี ๓ ดวง ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ รวมเรียก มโนธาตุ ๓. ฉทวาริกจิต จิตที่อาศัยเกิดได้ทางทวารทั้ง ๖ มี ๓๑ ดวง ได้แก่ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ๔. ฉทวาริกวิมุตตจิต บ้างก็เรียกว่า ฉทวาริกทวารวิมุตตจิต จิตที่บางทีก็ อาศัยทวารทั้ง ๖ เกิด และบางทีก็ไม่อาศัยทวารทั้ง ๖ เกิด มี ๑๐ ดวง ได้แก่ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ เมื่ออุเบกขา สันตีรณจิต ๒ ดวงนี้ ทำหน้าที่ สันตีรณกิจ หรือ ตทาลัมพน กิจก็ดี มหาวิบากจิต ๘ ดวง ทำหน้าที่ ตทาลัมพนกิจก็ดี ก็ต้องอาศัยทวารเป็นทางเกิด แต่ถ้าจิต ๑๐ ดวงนี้ทำหน้าที่ ปฏิสนธิกิจ ภวังคกิจ จุติกิจ ๓ อย่างนี้ ก็ไม่ต้องอาศัยทวารเลย ๕. ทวารวิมุตตจิต จิตที่เกิดพ้นจากทวารทั้ง ๖ คือ จิตที่เกิดโดยไม่ต้องอาศัย ทวารทั้ง ๖ เลย มี ๙ ดวง ได้แก่ มหัคคตวิบากจิต ๙ ที่กล่าวมาแล้วข้างบนนี้ เป็นการแสดงจำนวนจิตที่ต้องอาศัยทวาร หรือไม่ต้อง อาศัยทวารโดยแน่นอน (เอกันตะ) แต่อย่างเดียว หน้า ๓๐ ต่อไปนี้ จะแสดงรายละเอียดของจำนวนจิตที่เกิดได้แต่ละทวาร ทั้งที่ แน่นอน (เอกันตะ) และที่ ไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ด้วย ๑. จิตที่เกิดได้ทาง จักขุทวาร เรียกว่า จักขุทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๒. จิตที่เกิดได้ทาง โสตทวาร เรียกว่า โสตทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๓. จิตที่เกิดได้ทาง ฆานทวาร เรียกว่า ฆานทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๔. จิตที่เกิดได้ทาง ชิวหาทวาร เรียกว่า ชิวหาทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๕. จิตที่เกิดได้ทาง กายทวาร เรียกว่า กายทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง ๖. จิตที่เกิดได้ทาง มโนทวาร เรียกว่า มโนทวาริกจิต มี ๖๗ ดวง ๗. จิตที่เกิดได้ทาง ทวารเดียว เรียกว่า เอกทวาริกจิต มี ๘๐ ดวง ๘. จิตที่เกิดได้ทาง ทวาร ๕ เรียกว่า ปัญจทวาริกจิต มี ๔๔ ดวง ๙. จิตที่เกิดได้ทาง ทวาร ๖ เรียกว่า ฉทวาริกจิต มี ๔๑ ดวง ๑๐. จิตที่เกิดพ้นจากทวารทั้ง ๖ เรียกว่า ทวารวิมุตตจิต มี ๑๙ ดวง เฉพาะ จักขุทวาริกจิต และโสตทวาริกจิต สองประเภทนี้เท่านั้น ถ้านับอภิญญา จิต ๒ ดวง คือ ทิพพจักขุญาณที่เป็นกุสล ๑ กิริยา ๑ รวมเข้าด้วย จักขุทวาริกจิตก็ มี ๔๘ ดวง และนับทิพพโสตญาณที่เป็นกุสล ๑ กิริยา ๑ รวมเข้าด้วย โสตทวาริกจิต ก็มี ๔๘ ดวง ๑. จักขุทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ จักขุวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๒. โสตทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ โสตวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๓. ฆานทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ฆานวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๔. ชิวหาทวาริกจิต แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๕. กายทวาริกจิต มี ๔๖ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ กายวิญญาณจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ เฉพาะ อภิญญาจิต ๒ ดวง ถ้าจะนับรวมเข้ากับ จักขุทวาริกจิต โสตทวาริกจิต ด้วยดังที่กล่าวแล้วข้างต้นนั้น ก็จัดอยู่ในประเภทอเนกันตะ ไม่แน่นอน เพราะบางที ก็เกิด บางทีก็ไม่เกิด ๖. มโนทวาริกจิต มี ๖๗ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๒๖ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๑ ดวง ได้แก่ อัปปนาชวนจิต ๒๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๗. เอกทวาริกจิต มี ๘๐ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓๖ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๔๔ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓ อัปปนาชวนจิต ๒๖ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๘. ปัญจทวาริกจิต มี ๔๔ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ๔๑ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ๙. ฉทวาริกจิต มี ๔๑ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๓๑ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๑๐ ดวง ได้แก่ โสมนัส สันตีรณจิต ๑ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหาวิบากจิต ๘ กามชวนกิจ ๒๙ หน้า ๓๒ ๑๐. ทวารวิมุตตจิต มี ๑๙ ดวง แน่นอน(เอกันตะ) ๙ ดวง ได้แก่ ไม่แน่นอน(อเนกันตะ) ๑๐ ดวง ได้แก่ มหัคคตวิบากจิต ๙ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ เจตสิก กับ ทวาร ๑. วิรตีเจตสิก ๓ ดวง เมื่อประกอบกับโลกุตตรจิต ย่อมเกิดเฉพาะทางมโน ทวารทางเดียว ๒. อัปปมัญญาเจตสิก ๒ ดวง ที่ประกอบกับมหัคคตจิต ก็ย่อมเกิดเฉพาะทาง มโนทวาร ทางเดียวเหมือนกัน ๓. เจตสิกทั้ง ๕๒ ดวง ที่ประกอบกับจิต ๘๐ ดวง (เว้นมหัคคตวิบากจิต ๙) เกิดได้ในทวารทั้ง ๖ ทั้งที่แน่นอน (เอกันตะ) และไม่แน่นอน (อเนกันตะ) ด้วย ๔. เจตสิก ๓๕ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณเจตสิก ๒๒ ดวง (เว้นวิรตี ๓) ที่ประกอบกับมหัคคตวิบากจิตนั้น เป็นเจตสิกที่พ้นทวาร ที่กล่าวมาสั้น ๆ เพียงเท่านี้ ก็เพราะมีหลักอันเป็นข้อกำหนดที่ควรจะทราบอยู่ ว่า เจตสิกประกอบกับจิตใด ก็มีฐานะเช่นเดียวกับจิตนั้น ดังนั้น จิตอาศัยทวารใด เป็นทางเกิด เจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้น ก็อาศัยทวารนั้นเป็นทางเกิดเช่นเดียวกัน หมวดที่ ๕ อารัมมณสังคหะ อารัมมณสังคหะ คือ การรวบรวมกล่าวเรื่องอารมณ์ คำว่า อารัมมณะ นี้บางทีเรียกว่า อารัมพนะ มีความหมายอย่างเดียวกัน อารมณ์ คือ ธรรมชาติอันเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก " สภาวะที่สามารถยังให้จิตและเจตสิกธรรมข้องได้นั้น ชื่อว่า อารมณ์ " อารมณ์ มี ๖ ประเภท จิตจะต้องมีอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวอย่างแน่นอน จิตที่ไม่มีอารมณ์ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวนั้นไม่มีเลย หน้า ๓๓ อารมณ์ในสังคหะนี้มี ๖ ประเภท อันเป็นการจำแนกตามความสามารถแห่ง ทวารที่จะพึงรับอารมณ์นั้น ๆ ได้ คือ ๑. รูปารมณ์ แปลว่า รูปเป็นอารมณ์ ได้แก่ วัณณะ (สี) เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางตา ๒. สัททารมณ์ แปลว่า เสียงเป็นอารมณ์ ได้แก่ สัททะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางหู ๓. คันธารมณ์ แปลว่า กลิ่นเป็นอารมณ์ ได้แก่ คันธะ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว ของจิตและเจตสิก ทางจมูก ๔. รสารมณ์ แปลว่า รสเป็นอารมณ์ ได้แก่ รสะ คือ อมฺพิล รสเปรี้ยว, มธุร รสหวาน, โลณิก รสเค็ม, กฎก รสเผ็ด, ติตฺต รสขม และ กสาว รสฝาด รวมทั้งหมด ๖ รสเท่านี้ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางลิ้น ๕. โผฏฐัพพารมณ์ แปลว่า การสัมผัสถูกต้องกาย เป็นอารมณ์ ได้แก่ ปฐวี ความแข็ง ความอ่อน, เตโช ความร้อน ความเย็น, วาโย ความหย่อน ความเคร่ง ตึง เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางกาย ทั้ง ๕ อารมณ์นี้ รวมเรียกว่า ปัญจารมณ์ ๖. ธัมมารมณ์ แปลว่า สภาพธรรมที่สาธารณแก่ใจเป็นอารมณ์ ได้แก่ สภาว ธรรม ๖ ประการ คือ ปสาทรูป ๕, สุขุมรูป ๑๖, จิต ๘๙, เจตสิก ๕๒, นิพพาน และ บัญญัติ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิตและเจตสิก ทางใจ (ทางมโน) รวมอารมณ์ทั้ง ๖ นี้เรียกว่า ฉอารมณ์ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ และโผฏฐัพพารมณ์ อันรวมเรียกว่า ปัญจารมณ์ หรือ อารมณ์ทั้ง ๕ นี้เป็น รูปธรรม ส่วน ธัมมารมณ์ นั้น จิต เจตสิก และนิพพาน เป็น นามธรรม ปสาทรูป ๕ และสุขุมรูป ๑๖ เป็น รูปธรรม เฉพาะบัญญัติ นั้น ไม่ใช่รูปธรรม และไม่ใช่นาม ธรรมด้วย แต่เป็น บัญญัติธรรม หน้า ๓๔ อารมณ์ ๖ จำแนกเป็น ๔ นัย อารมณ์ทั้ง ๖ คือ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ และ ธัมมารมณ์ นี้ จำแนกได้เป็น ๔ นัย คือ ๑. กามอารมณ์ ๒. มหัคคตอารมณ์ ๓. บัญญัติอารมณ์ ๔. โลกุตตรอารมณ์ นัยที่ ๑ กามอารมณ์ บ้างก็เรียก กามารมณ์ องค์ธรรม ได้แก่ กามจิต ๕๔, เจตสิก ๕๒, รูป ๒๘ หมายความว่า เมื่อจิตยึดหน่วงเอากามจิต ๕๔ ดวงนั้น ดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี หรือยึดหน่วงเอารูป ๒๘ นั้นรูปใดรูปหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ก็ได้ชื่อว่า จิตนั้นยึดหน่วงกามอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น กามธรรม นัยที่ ๒ มหัคคตอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ มหัคคตจิต ๒๗ เจตสิก ๓๕ หมายความว่า เมื่อจิตยึดหน่วงเอามหัคคตจิต ๒๗ นั้นดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นยึดหน่วงมหัคคตอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น มหัคคตธรรม กามอารมณ์ มหัคคตอารมณ์ เป็น โลกียอารมณ์ เพราะองค์ธรรมของ อารมณ์ทั้ง ๒ นี้ เป็นโลกียธรรมทั้งนั้น เมื่อจิตยึดหน่วงเอาโลกียธรรมเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นมีอารมณ์เป็นโลกีย นัยที่ ๓ บัญญัติอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ บัญญัติธรรม ๒ ประการ คือ อัตถบัญญัติ และ สัททบัญญัติ อัตถบัญญัติ ได้แก่ การสมมติขึ้นเพื่อให้รู้เนื้อความ หรือความหมายแห่ง รูปร่าง สัณฐาน หรือลักษณะอาการของชื่อนั้น ๆ เช่น ภูเขา ต้นไม้ บ้านเรือน เดิน วิ่ง เป็นต้น สัททบัญญัติ ได้แก่ รู้จักเสียงที่เรียกชื่อนั้น ๆ คือ รู้ด้วยเสียงที่หมายถึง อัตถบัญญัตินั้น ๆ เช่น ในขณะที่ไม่ได้เห็นภูเขา ไม่ได้เห็นต้นไม้ แต่เมื่ออกเสียง พูดว่าภูเขา พูดว่าต้นไม้ ก็รู้และเข้าใจได้ว่า ภูเขา ต้นไม้ มีรูปร่างสัณฐานเป็น อย่างนั้น ๆ หรือไม่ได้เห็นขณะที่เดิน ขณะที่วิ่ง แต่เมื่ออกเสียงพูดว่า เดิน วิ่ง ก็รู้และเข้าใจได้ว่า เดิน วิ่ง มีอาการอย่างนั้น ๆ เช่นนี้เป็นต้น เมื่อจิตยึดหน่วงเอาบัญญัติอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ ก็ได้ชื่อว่าจิตนั้นยึด หน่วงบัญญัติเป็นอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็นบัญญัติธรรม หน้า ๓๕ นัยที่ ๔ โลกุตตรอารมณ์ องค์ธรรมได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ และ เจตสิก ๓๖ และ นิพพาน เมื่อจิตยึดหน่วงเอามัคคจิตดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ยึด หน่วงเอาผลจิตดวงใดดวงหนึ่งเป็นอารมณ์ก็ดี ยึดหน่วงพระนิพพานเป็นอารมณ์ก็ดีก็ได้ชื่อว่า จิตนั้นยึดหน่วงโลกุตตรอารมณ์ หรือมีอารมณ์เป็น โลกุตตรธรรม จิตใดยึดหน่วงอารมณ์อะไร ขอกล่าวย้ำอีกครั้งหนึ่งว่า จิตต้องมีอารมณ์ ขึ้นชื่อว่าจิตแล้วจะไม่ยึดหน่วง อารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่งนั้นไม่มีเลย แต่ว่า จิตใดยึดหน่วง หรือข้องอยู่ในอารมณ์ใด บ้างนั้น มีคาถาสังคหะ อันเป็นคาถาที่ ๑๑ และ ๑๒ แสดงไว้ว่า ๑๑. ปญฺจวีส ปริตฺตมฺหิ ฉ จิตฺตานิ มหคฺคเต เอกวีสติ โวหาเร อฏฺฐ นิพฺพานโคจเร ฯ ๑๒. วีสานุตฺตร มุตฺตมฺหิ อคฺค มคฺค ผลุชฺฌิเต ปญฺจ สพฺพตฺถ ฉจฺเจติ สตฺตธา ตตฺถ สงฺคโหฯ แปลความว่า จิต ๒๕ ดวง ยึดหน่วง กามอารมณ์ จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ จิต ๒๑ ดวง ยึดหน่วง บัญญัติอารมณ์ จิต ๘ ดวง ยึดหน่วง นิพพานอารมณ์ จิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจาก โลกุตตร จิต ๕ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจาก อรหัตตมัคค อรหัตตผล จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ได้ทั้งหมดทั้งสิ้น อธิบาย ๑. จิต ๒๕ ดวง ยึดหน่วง กามอารมณ์ นั้น คือ ก. จิต ๑๐ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ ยึดหน่วงปัญจารมณ์ โดยเฉพาะๆ ที่เป็นปัจจุบัน ข. จิต ๓ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ ยึดหน่วงปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน หน้า ๓๖ ค. จิต ๑๒ ดวง ได้แก่ ตทาลัมพน ๑๑ หสิตุปปาท ๑ ยึดหน่วงอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม ๒. จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ นั้น คือ ก. วิญญาณัญจายตนจิต ๓ ดวง มี อากาสานัญจายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ ข. เนวสัญญานาสัญญายตนจิต ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ ๓. จิต ๒๑ ดวง ยึดหน่วง บัญญัติอารมณ์ นั้น คือ ก. รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีบัญญัติเป็นอารมณ์ ข. อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติเป็นอารมณ์ ค. อากิญจัญญายตนจิต ๓ ดวง มีนัตถิภาวบัญญัติ เป็นอารมณ์ ๔. จิต ๘ ดวง ยึดหน่วง นิพพานอารมณ์ นั้น คือ โลกุตตรจิต ๘ ดวง ได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ แต่อย่างเดียว ๕. จิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ที่เว้นจากโลกุตตรนั้น คือ ก. อกุสลจิต ๑๒ ดวง ข. มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ ดวง ค. มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นโลกีย และบัญญัติ คือ มีกามอารมณ์ มหัคคตอารมณ์ บัญญัติอารมณ์ได้(เว้นโลกุตตรอารมณ์) ๖. จิต ๕ ดวงยึดหน่วงอารมณ์ที่เว้นจากอรหัตตมัคค อรหัตตผล คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ดวง ข. อภิญญากุสล ๑ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นโลกีย บัญญัติ และ โลกุตตรได้(เว้นเฉพาะอรหัตตมัคคอรหัตตผล) ๗. จิต ๖ ดวง ยึดหน่วง อารมณ์ได้ทั้งหมดนั้น คือ ก. มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ดวง ค. อภิญญา กิริยา ๑ ดวง มีอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย บัญญัติ และ โลกุตตรได้ทั้งหมด ไม่มีเว้นเลย หน้า ๓๗ ขยายความ ๑. กามอารมณ์ ในข้อ ๑ ก. ที่ว่าจิต ๑๐ ดวง ได้แก่ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มี ปัญจารมณ์ โดยเฉพาะ ๆ ที่เป็นปัจจุบันอย่างเดียวนั้น คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ รูปารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ สัททารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ คันธารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ รสารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ กายวิญญาณจิต ๒ ดวง มีเฉพาะ โผฏฐัพพารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว เป็นอารมณ์ ในข้อ ๑ ข. ที่ว่าจิต ๓ ดวง ได้แก่ มโนธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มีปัญจารมณ์ที่เป็นปัจจุบัน เป็นอารมณ์นั้น คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวงนี้ จิตแต่ละดวงก็มี รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ หรือ โผฏฐัพพารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ก็ได้ ไม่จำกัดเป็นเฉพาะอย่างเหมือนในข้อ ๑ ก. แต่ข้อสำคัญอารมณ์ นั้นจะต้องเป็นปัจจุบันด้วย ในข้อ ๑ ค. ที่ว่าจิต ๑๒ ดวง ได้แก่ ตทาลัมพนจิต ๑๑ หสิตุปปาทจิต ๑ มีอารมณ์ ๖ ที่เป็นกามธรรมนั้น คือ จิต ๑๒ ดวงที่ว่านี้มีอารมณ์ ๖ อย่างใดอย่างหนึ่งเฉพาะที่เป็นกามธรรมเป็น อารมณ์ได้ และอารมณ์นั้นจะเป็นปัจจุบัน หรืออดีต หรืออนาคตก็ได้ ไม่จำกัดว่า จะต้องเป็นปัจจุบันอย่างเดียว เหมือนข้อ ๑ ก. และข้อ ๑ ข. ในข้อ ๑ นี้ รวมจิตได้ ๒๕ ดวง แม้จะมีอารมณ์ต่างกันก็จริง แต่ว่าอารมณ์ เหล่านั้นล้วนแต่เป็นกามธรรมทั้งนั้น เมื่อจิตทั้ง ๒๕ ดวงนี้ต่างก็มีกามธรรมเป็น อารมณ์ จึงได้ชื่อว่า จิต ๒๕ ดวงยึดหน่วง กามอารมณ์ ๒. มหัคคตอารมณ์ ในข้อ ๒ ก. วิญญาณัญจายตนจิต ๓ ดวง มี อากาสานัญจายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์ นั้น คือ (๑) เบื้องต้นต้องเข้าใจเสียก่อนว่า ผู้ที่ได้อากาสานัญจายตนฌานแล้ว เจริญสมถภาวนาต่อ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิญญาณัญจายตนฌานก็ดี หน้า ๓๘ หรือผู้ที่ได้วิญญาณัญจาย ตนฌานแล้ว จะเข้าวิญญาณัญจายตนฌานอีกครั้งใดเมื่อใดก็ดี จะต้องมีอากาสานัญ จายตนกุสลจิต หรือกิริยาจิตที่เคยเกิดแล้วแก่ตนนั้น เป็นอารมณ์เสมอไปอย่าง แน่นอน (จะใช้อารมณ์อย่างอื่นใด หาได้ไม่) วิญญาณัญจายตนฌานจึงจะเกิดขึ้นได้ (๒) ติเหตุกปุถุชนก็ดี ผลเสกขบุคคลก็ดี ผู้เป็นวิญญาณัญจายตนฌานลาภี บุคคลเข้าฌาน เพื่อให้ วิญญาณัญจายตนกุสลเกิด ก็มีอากาสานัญจายตนกุสล ที่เคย เกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๓) เมื่อบุคคลใน (๒) ตายไป ก็ไปบังเกิดเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ปฏิสนธิด้วยวิญญาณัญจายตนวิบากจิต สถิตในวิญญาณัญจายตนภูมิ วิญญาณัญจายตนวิบากจิตที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนี้ ก็มีอากาสานัญจายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ ตนในภพก่อนนั้นเป็นอารมณ์ ตลอดจนวิญญาณัญจายตนวิบาก ที่ทำหน้าที่ภวังคกิจ และจะทำหน้าที่จุติกิจ ต่อไปนั้น ก็มีอากาสานัญจายตนกุสล ที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน (๔) เมื่อบุคคลใน (๒) ยังไม่ตาย เจริญวิปัสสนาภาวนาต่อไปจนบรรลุ อรหัตตมัคค อรหัตตผล เป็นอเสกขบุคคล คือเป็นพระอรหันต์แล้ว เข้าวิญญาณัญ จายตนฌาน วิญญาณัญจายตนฌานที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นวิญญาณัญจายตนกิริยา (ไม่ ใช่กุสลเพราะขณะนี้เป็นพระอรหันต์แล้ว) วิญญาณัญจายตนกิริยานี่แหละมีอากาสา นัญจายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๕) พระอรหันต์ผู้เป็นฌานลาภีบุคคล เข้าอากาสานัญจายตนฌาน เมื่อ อากาสานัญจายตนฌานเกิด ก็เป็นกิริยาจิต แล้วเข้าวิญญาณัญจายตนฌานต่อไป ฉะนั้น วิญญาณัญจายตนกิริยาจิตที่เกิดขึ้นนี้โดยมีอากาสานัญจายตนกิริยาจิต ที่เคย เกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ ความในข้อ ๒ ก. นี้ สรุปได้ว่า วิญญาณัญจายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากาสานัญจายตนกุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดมาแล้ว แก่ตนในภพนี้ หรือภพก่อนเป็นอารมณ์ ในข้อ ๒ ข. ที่ว่า เนวสัญญานาสัญญายตนจิต ๓ ดวง มี อากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ เป็นอารมณ์นั้น คือ หน้า ๓๙ เนวสัญญานาสัญญายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตน กุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดแล้วแก่ตน ในภพนี้ หรือภพก่อน เป็นอารมณ์ (๑) ผู้ที่ได้อากิญจัญญายตนฌานแล้ว เจริญสมถภาวนต่อเพื่อให้ได้มาซึ่ง เนว สัญญานาสัญญายตนฌานก็ดี หรือผู้ที่ได้เนวสัญญานาสัญญายตนฌานแล้ว จะเข้า เนวสัญญานาสัญญายตนฌานอีกครั้งใดเมื่อใดก็ดี จะต้องมีอากิญจัญญายตนกุสลจิตหรือกิริยาจิตที่เคยเกิดแล้วแก่ตนนั้นเป็นอารมณ์ (๒) ติเหตุกปุถุชนก็ดี ผลเสกขบุคคลก็ดี ผู้เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน ลาภีบุคคลเข้าฌาน เพื่อให้เนวสัญญานาสัญญายตนกุสลเกิด ก็มีอากิญจัญญายตน กุสล ที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ (๓) เมื่อบุคคลใน (๒) ตายไป ก็ไปบังเกิดเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ปฏิสนธิด้วยเนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิต สถิตในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบากจิตที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนี้ ก็มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนนั้นเป็นอารมณ์ ตลอดจนเนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ที่ทำหน้าที่ภวังคกิจ และจะทำหน้าที่จุติกิจต่อไปนั้น ก็มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพก่อนเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน (๔) เมื่อบุคคลใน (๒) ยังไม่ตาย เจริญวิปัสสนาภาวนาต่อไปจนบรรลุ อรหัตตมัคค อรหัตตผล เป็นอเสกขบุคคล คือเป็นพระอรหันต์แล้ว เข้าเนวสัญญา นาสัญญายตนฌาน เนวสัญญานาสัญญายตนฌานที่เกิดขึ้นใหม่นี้เป็นเนวสัญญานา สัญญายตนกิริยา (ไม่ใช่กุสล เพราะขณะนี้เป็นพระอรหันต์แล้ว) เนวสัญญา นาสัญญายตนกิริยานี่แหละ มีอากิญจัญญายตนกุสลที่เคยเกิดแล้วแก่ตนในภพนี้เป็น อารมณ์ (๕) พระอรหันต์ผู้เป็นฌานลาภีบุคคล เข้าอากิญจัญญายตนฌาน เมื่ออากิญ จัญญายตนฌานเกิด ก็เป็นกิริยาจิต แล้วเข้าเนวสัญญานาสัญญายตนฌานต่อไป ฉะนั้นเนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิตที่เกิดขึ้นนี้โดยมีอากิญจัญญายตนกิริยาจิตที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้เป็นอารมณ์ ความในข้อ ๒ ข. นี้ สรุปได้ว่า เนวสัญญานาสัญญายตน กุสลจิต ๑ วิบากจิต ๑ กิริยาจิต ๑ รวม ๓ ดวง มีอากิญจัญญายตนกุสล ๑ กิริยา ๑ ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ ตนในภพนี้หรือภพก่อนเป็นอารมณ์ ในข้อ ๒ นี้ รวมจิตได้ ๖ ดวง มีมหัคคตจิต (๔ ดวง) เป็นอารมณ์ จึงได้ชื่อ ว่าจิต ๖ ดวงยึดหน่วง มหัคคตอารมณ์ ๓. บัญญัติอารมณ์ ในข้อ ๓ ก. ที่ว่า รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีบัญญัติเป็นอารมณ์ นั้น คือ รูปาวจรจิต เป็นจิตที่เกิดจากการเพ่งกัมมัฏฐาน ๒๖ อย่าง อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ ตามวิธีการจนเกิดฌานจิต กัมมัฏฐานทั้ง ๒๖ อย่างนั้นล้วนแต่เป็น บัญญัติทั้งสิ้น จึงได้ชื่อว่า รูปาวจรจิต ๑๕ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติกัมมัฏฐาน ๒๖ อย่างนั้น ได้แก่ กสิณ ๑๐, อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑, อานาปาณสติ ๑ และ พรหมวิหาร ๔ ในข้อ ๓ ข. ที่ว่า อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีกสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ เป็นอารมณ์นั้น คือ กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ หมายถึง ความว่างเปล่า จากที่ได้เพิกกสิณแล้ว ความว่างเปล่านี้แหละเป็นบัญญัติ เมื่อหน่วงเอาความว่างเปล่าซึ่งเป็นบัญญัติเป็น อารมณ์ จึงได้ชื่อว่า อากาสานัญจายตนจิต ๓ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติ ในข้อ ๓ ค. ที่ว่าอากิญจัญญายตนจิต ๓ ดวง มีนัตถิภาวบัญญัติเป็นอารมณ์ นั้น คือ นัตถิภาวบัญญัติ หมายถึง ความไม่มี นิดหนึ่งก็ไม่มี หน่อยหนึ่งก็ไม่มี อะไร ๆ ก็ไม่มี เอาบัญญัติที่สมมติว่าไม่มีอะไร นี่แหละเป็นอารมณ์ จึงได้ชื่อว่า อากิญจัญญา ยตนจิต ๓ ดวง มีอารมณ์เป็นบัญญัติ ความในข้อ ๓ นี้ รวมจิตได้ ๒๑ ดวง ล้วนแต่มีบัญญัติธรรมเป็น อารมณ์ทั้งนั้น จึงได้ชื่อว่าจิต ๒๑ ดวงนี้ ยึดหน่วงอารมณ์ที่เป็นบัญญัติ หน้า ๔๐ ๔. นิพพานอารมณ์ ในข้อ ๔ ที่ว่า โลกุตตรจิต ๘ ดวง ได้แก่ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ มีนิพพานเป็น อารมณ์ แต่อย่างเดียวนั้น นิพพาน หมายถึง ความสิ้นไปแห่งตัณหาอันเป็นเครื่องร้อยรัดไว้ไม่ให้พ้นไป จากวัฏฏะ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ เป็นจิตที่ตัดวัฏฏะ ตัดเครื่องร้อยรัด เพื่อให้พ้น จากความเวียนว่ายตายเกิด ดังนั้น มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ จึงต้องมีพระนิพพานเป็นอารมณ์แต่อย่างเดียว จะมีอารมณ์อย่างอื่นหาได้ไม่ เหตุนี้จึงได้ชื่อว่า โลกุตตรจิต ๘ ดวง ยึดหน่วงพระนิพพานอารมณ์ กาลวิมุตตอารมณ์ ทั้ง ๔ ข้อที่กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้ว่า ข้อ ๑ มีกามอารมณ์ทั้งที่เป็นปัจจุบัน อดีต อนาคต ได้ คือ มีกามอารมณ์ในกาลทั้ง ๓ ได้ ข้อ ๒ มีมหัคคตอารมณ์เฉพาะที่เป็นอดีตแต่อย่างเดียว จะมีมหัคคตธรรมที่ เป็นปัจจุบันหรืออนาคตเป็นอารมณ์หาได้ไม่ ส่วนข้อ ๓ มีบัญญัติเป็นอารมณ์ และข้อ ๔ มีนิพพานเป็นอารมณ์นั้น ไม่ได้ แสดงว่า บัญญัติ หรือ นิพพาน นั้นเป็น ปัจจุบัน หรืออดีต อนาคต แต่อย่างใดเลย ทั้งนี้เพราะบัญญัติและนิพพานเป็นธรรมที่ไม่มีกาลทั้ง ๓ พ้นจาก กาลทั้ง ๓ อัน เรียกว่า กาลวิมุตต ธรรมที่มีกาลทั้ง ๓ คือ ปัจจุบัน อดีต อนาคต ได้นั้น ต้องเป็นธรรมที่ไม่เที่ยง มีการเปลี่ยนแปลงได้ กล่าวคือ มีการเกิดขึ้น มีการดำรงคงอยู่ แล้วก็ มีการดับไป ธรรมใดที่ดับไปแล้วนั้นเป็นอดีต คือล่วงเลยไปแล้ว, ธรรมใดที่ยังดำรงคงอยู่นั้น เป็นปัจจุบัน คือกำลังมีอยู่ และธรรมใดที่จะเกิดขึ้นอีกต่อไปนั้นเป็นอนาคต คือจะมี มาในภายหน้า บัญญัติธรรม เป็นธรรมที่ไม่มีสภาวะ จึงไม่มีสภาพที่จะมีความเปลี่ยนแปลง แปรผัน เพราะไม่มีความเที่ยงหรือไม่เที่ยง ทั้งไม่มีการเกิดการดับ อันเป็น สัญญลักษณ์แห่งการเปลี่ยนแปร และแห่งความไม่เที่ยงนั้นด้วย จึงไม่เข้าอยู่ในกาลทั้ง ๓ เพราะไม่มีอดีต ปัจจุบัน และอนาคต บัญญัติจึงเป็นกาลวิมุตต คือพ้นจาก กาลทั้ง ๓ ไม่มีกาลทั้ง ๓ นิพพาน เป็นธรรมที่มีสภาวะ มีสภาพเป็นของเที่ยงถาวร ไม่มีความ เปลี่ยนแปลงแปรผัน เป็นไม่เที่ยง และไม่มีการเกิดดับเพราะเป็นสิ่งที่เที่ยงอยู่เสมอ จึงไม่เข้าอยู่ในกาลทั้ง ๓ เพราะไม่มี อดีต ปัจจุบัน และ อนาคต ดังนั้น นิพพานจึงเป็นกาลวิมุตต คือ พ้นจากกาลทั้ง ๓ ไม่มีกาลทั้ง ๓ รวมความว่า ธรรมที่เป็นกาลวิมุตต หรืออารมณ์ที่เป็นกาลวิมุตตนั้น มีเพียง ๑ คือ บัญญัติ และ นิพพาน จำนวนจิตที่กล่าวแล้วทั้ง ๔ ข้อ รวมได้ ๖๐ ดวง คือ จิตที่รับ กามอารมณ์ ได้นั้นมี ๒๕ ดวง จิตที่รับ มหัคคตอารมณ์ ได้นั้นมี ๖ ดวง จิตที่รับ บัญญัติอารมณ์ ได้นั้นมี ๒๑ ดวง จิตที่รับ นิพพานอารมณ์ ได้นั้นมี ๘ ดวง ล้วนแต่เป็นจิตที่มีอารมณ์ดังกล่าวแล้วนั้นแน่นอน อย่างที่เรียกว่าเป็น เอกันตะ จิตทั้งหมด ๘๙ ดวง มีอารมณ์ที่แน่นอนดังกล่าวแล้ว ๖๐ ดวง คงเหลืออีก ๒๙ ดวง เป็นจิตที่มีอารมณ์ได้หลาย อย่างทั่ว ๆ ไป ที่เรียกว่า สัพพารมณ์ สัพพารมณ์ ส่วนที่จะกล่าวต่อไปนี้ เป็นจำนวนจิต ๒๙ ดวง และนับอภิญญาจิตกุสล ๑ กิริยา ๑ รวม ๒ ดวงนั้น รวมเข้าไปอีกด้วย จึงเป็นจิต ๓๑ ดวง ในจำนวนจิต ๓๑ ดวงนี้เป็นจิตที่มีอารมณ์ได้หลายอย่าง หลายกาล ตลอดจนกาลวิมุตตด้วย จึงเรียกว่า สัพพารมณ์ ในข้อ ๕ ที่ว่าจิต ๒๐ ดวง ยึดหน่วงอารมณ์ที่พ้นจากโลกุตตรนั้น คือ อกุสลจิต ๑๒ มหากุสลญาณวิปปยุตตจิต ๔ และมหากิริยาญาณวิปปยุตตจิต ๔ นี้ มีอารมณ์ทั้ง ๖ อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ได้ทั้งที่เป็นโลกียและบัญญัติ คือ มีกาม อารมณ์ก็ได้มีมหัคคตอารมณ์ก็ได้ หรือมีบัญญัติอารมณ์ก็ได้ทั้งนั้น เว้นแต่โลกุตตร อารมณ์ เพราะว่า อกุสลจิต ๑๒ เป็นจิตที่ชั่ว ที่หยาบ ที่บาป จึงไม่สามารถที่จะมีโลกุตตรธรรม คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ นิพพาน ๑ อย่างใดอย่างหนึ่งเป็นอารมณ์ได้ เพราะ โลกุตตรธรรมทั้ง ๙ นี้ เป็นธรรมที่ดี ที่ประณีต ที่สุขุม ที่ประเสริฐ แม้มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔, มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ ก็ไม่สามารถรับ โลกุตตรอารมณ์ได้ เพราะจิต ๘ ดวงนี้ เป็นจิตที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา เป็นจิตที่ ไม่ได้ใช้ปัญญาประกอบ จิตที่จะรับโลกุตตรธรรมเป็นอารมณ์ได้นั้น จะต้องเป็นจิต ที่ประกอบด้วยปัญญา เป็นจิตที่ใช้ปัญญาประกอบด้วยเสมอไป หน้า ๔๒ ในข้อ ๖ ที่ว่าจิต ๕ ดวงยึดหน่วงอารมณ์ที่เว้นจากอรหัตตมัคค อรหัตตผลนั้น มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ก็ดี อภิญญากุสล ๑ ก็ดี รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย และบัญญัติ ตลอดจนโลกุตตรอารมณ์ก็ได้ เว้นแต่จะรับอรหัตตมัคค อรหัตตผล มาเป็นอารมณ์หาได้ไม่ เพราะอรหัตตมัคค อรหัตตผลนั้น จะต้องเป็นพระอรหันต์แล้ว จึงจะหน่วงเอาเป็นอารมณ์ได้ ผู้ที่ไม่ได้เป็นพระอรหันต์ จะได้อรหัตตมัคค อรหัตตผลที่ไหนมาเป็นอารมณ์ได้ ในข้อ ๗ ที่ว่า จิต ๖ ดวง ยึดหน่วงอารมณ์ได้ทั้งหมด นั้น มโนทวาราวัชชนจิต ๑, มหากิริยาญาณสัมปยุตตจิต ๔, อภิญญากิริยาจิต ๑ รวม ๖ ดวงนี้ รับอารมณ์ได้ทั้งหมด ไม่มียกเว้นเลย เพราะจิตเหล่านี้เป็นจิตของ พระอรหันต์ จึงรับอารมณ์ได้ทั้งสิ้น ไม่มีเว้นเลย จำนวนจิตที่กล่าวแล้วในข้อ ๕ ข้อ ๖ และข้อ ๗ นี้รวมได้ ๓๑ ดวง เป็นจิต ที่รับอารมณ์ได้หลายอย่าง อย่างนั้นก็ได้อย่างนี้ก็ได้ ไม่แน่นอนว่าจะต้องเป็นอารมณ์ นั้นอารมณ์นี้แต่อย่างเดียว เพราะเหตุที่รับอารมณ์ได้มากกว่า ๑ จึงเรียกว่าเป็น อเนกันตะ หมายความว่า ไม่แน่นอนด้วย อารมณ์ของทวารวิมุตตจิต ได้กล่าวแล้วในทวารสังคหะ ว่าจิตที่พ้นทวาร เป็นจิตที่เกิดโดยไม่ต้องอาศัย ทวารนั้น มี ๑๙ ดวง ได้แก่ อุเบกขา สันตีรณจิต ๒ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตวิบากจิต ๙ ด้วยเหตุที่จิต ๑๙ ดวงนี้ทำหน้าที่ ปฏิสนธิ ภวังคกิจ จุติกิจ จึงไม่ต้องอาศัย ทวาร แต่ก็ต้องมีอารมณ์ตามหลักที่ว่า จิตต้องมีอารมณ์เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว อารมณ์ ของจิต ๑๙ ดวงที่ทำหน้าที่ ปฏิสนธิ ภวังค จุติ นี้มีชื่อเรียกเป็นพิเศษโดย เฉพาะว่า กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ และ คตินิมิตอารมณ์ ในกาลแห่งสัตว์อันใกล้มรณะนั้น จะต้องมี กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งมาปรากฏแก่ชวนจิตในมรณาสันนวิถี อารมณ์ นี้ จะต้องเกิดทั่วทุกตัวสัตว์ เว้นแต่ อสัญญสัตต และ พระอรหันต์ หน้า ๔๓ ที่เว้น อสัญญสัตตนั้น เพราะอสัญญสัตตไม่มีจิต จึงไม่มีอารมณ์ ส่วนที่เว้นพระ อรหันต์นั้น เพราะพระอรหันต์ไม่ต้องไปเกิดอีกแล้ว จึงไม่มีอารมณ์ ๓ อย่างนี้ อัน เป็นเครื่องหมายแห่งการเกิดชวนจิตในมรณาสันนวิถี เรียกว่า มรณาสันนชวนะ ก็ได้ แต่ชาติก่อน มีสิ่งใด เป็นอารมณ์ จิตที่เป็นปฏิสนธิ และ ภวังค ตลอดจนจุติจิตในปัจจุบันชาตินี้ ก็ถือเอาสิ่งนั้นเป็นอารมณ์ ปฏิสนธิจิต ภวังคจิต จุติจิต ในภพเดียวกัน ในชาติเดียวกัน ในบุคคลเดียวกัน เป็นจิตดวงเดียวกัน และมีอารมณ์ก็อย่างเดียวกัน กรรมอารมณ์ กรรมอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายกุสล คือ ตนได้ให้ทาน รักษาศีล ฟังธรรม หรือเจริญ ภาวนามานั้น เคยทำอย่างไร ก็นึกก็คิดอย่างที่ทำอยู่อย่างนั้น มรณาสันนชวนจิต ก็ถือเอาเป็นอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายอกุสล คือ ตนเคยฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ ฉ้อ ชิง เฆี่ยนตี จำจองสัตว์ อย่างไร ก็นึกก็คิดอย่างที่ได้ทำอยู่อย่างนั้น มรณาสันนชวนจิต ก็น้อมเอามาเป็นอารมณ์ กรรมอารมณ์นี้ปรากฏทางมโนทวารทางเดียว ไม่ปรากฏทางทวารทั้ง ๕ คือ ปัญจทวาร เพราะกรรมอารมณ์นี้ นึกถึงคิดถึงการกระทำในอดีตเป็นอดีตอารมณ์ เป็นกรรมในอดีตที่ตนได้ทำแล้วอย่างไร ก็หน่วงโน้มน้ำใจให้คิดให้นึกเหมือนดังที่ได้ ทำอยู่อย่างนั้น เป็นแต่นึก เป็นแต่คิด ไม่ถึงกับมีเป็นภาพเป็นนิมิตมาปรากฏ เมื่อมีกรรมอารมณ์เป็นกุสล ก็นำไปสู่สุคติ ถ้าหากว่ามีกรรมอารมณ์เป็นอกุสล ก็จะต้องไปสู่ทุคคติ กรรมนิมิตอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ หมายถึง เครื่องมือ เครื่องใช้ ที่ตนได้ใช้ในการกระทำ กรรมนั้น ๆ ที่เป็นฝ่ายกุสลก็เห็นเครื่องที่ตนได้ทำกุสล เป็นต้นว่า เห็นเครื่องสักการะที่ตนใช้บูชา เห็นผ้าผ่อนที่ตนให้ทาน เห็นโบสถ์ เห็นพระพุทธรูปที่ตนสร้าง เห็นพระสงฆ์ที่ตนอุปการะบวชให้ มรณาสันนชวนจิตก็หน่วงเอาเป็นอารมณ์ ที่เป็นฝ่ายอกุสล เช่น เห็นแห อวน หอก ดาบ มีด ไม้ ปืน เครื่องเบียดเบียน สัตว์ ที่ตนเคยใช้ในการทำบาปเหล่านี้ เป็นต้น มรณาสันนชวนจิตก็น้อมมาเป็นอารมณ์ หน้า ๔๔ ทั้งนี้ถ้าเป็นแต่เพียงนึก เพียงคิดถึงวัตถุเครื่องมือเครื่องใช้นั้น ๆ ก็ปรากฏทาง มโนทวาร เป็นอดีตอารมณ์ แต่ถ้าได้เห็นด้วยนัยตาจริง ๆ ด้วย ได้ยินทางหูจริง ๆ ด้วย ได้กลิ่นทางจมูกจริง ๆ ด้วย ก็เป็นทางปัญจทวารและเป็นปัจจุบันอารมณ์ เมื่อมีกรรมนิมิตอารมณ์เป็นกุสลก็นำไปสู่สุคติ แต่ถ้าหากว่ามีกรรมนิมิตอารมณ์ เป็นอกุสลแล้ว ย่อมนำไปสู่ทุคคติ คตินิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ เป็นการนึกเห็นเครื่องหมายที่จะนำไปสู่ สุคติ หรือ ทุคคติ ถ้าจะไปสู่สุคติ ก็จะปรากฏเป็นวิมาน เป็นปราสาททิพยสมบัติ เป็นนางเทพอัปสร เป็นรั้ววัง เป็นครรภ์มารดา เป็นวัดวาอาราม เป็นภิกษุ สามเณร ล้วนแต่เป็นสิ่งที่ดี คตินิมิตอารมณ์ที่จะนำไปสู่ทุคคติ ก็จะปรากฏเป็นเปลวไฟ เป็นเหว เป็นถ้ำอัน มืดมัว เป็นนายนิรยบาล เป็นสุนัข แร้ง กา เป็นต้น จะมาเบียดเบียนทำร้ายตน ล้วนแต่เป็นสิ่งที่เลวร้าย ทั้งนี้ปรากฏทางมโนทวารแต่ทางเดียว คือ เห็นทางใจ และจัดเป็นปัจจุบัน อารมณ์ เพราะกำลังนึกเห็นนิมิตนั้น ๆ อยู่ สำหรับผู้ไปเกิดเป็น รูปพรหม และ อรูปพรหมนั้น มรณาสันนชวนจิตมีเฉพาะ กรรมนิมิตอารมณ์แต่อย่างเดียว โดยมีบัญญัติธรรม หรือ มหัคคตธรรม เป็นอารมณ์ ตามควรแก่ฌาน รวมความว่า กรรมอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้เฉพาะ ธัมมารมณ์ กล่าวโดย ทวาร เกิดเฉพาะทางมโนทวาร กล่าวโดยกาล ได้แก่อารมณ์ที่เป็นอดีต กรรมนิมิตอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้ในอารมณ์ทั้ง ๖ กล่าวโดยทวาร เกิดได้ ทั้ง ๖ ทวาร กล่าวโดยกาลได้แก่ อารมณ์ที่เป็นอดีต และอารมณ์ที่เป็นปัจจุบันด้วย คตินิมิตอารมณ์ กล่าวโดยอารมณ์ได้เฉพาะธัมมารมณ์ กล่าวโดยทวารเกิดได้ เฉพาะทางมโนทวาร กล่าวโดยกาลเป็นได้เฉพาะปัจจุบัน หน้า ๔๕ อารมณ์กับจิต ต่อไปนี้จะแสดงว่า อารมณ์แต่ละอย่างนั้น มีจิตอะไรบ้างที่ยึดหน่วงเอาเป็น อารมณ์ได้ จะแสดงทั้งที่เป็นเอกันตะ คืออย่างแน่นอน และที่เป็น อเนกันตะ คืออย่างไม่แน่นอนด้วย ตลอดจนแสดงว่าจิตอะไรบ้างที่รับอารมณ์นั้นไม่ได้ ๑. กามอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ และ อภิญญาจิต ๒ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๕ คือ มหัคคตจิต ๒๗ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ โลกุตตรจิต ๘ มหาวิบากจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสลจิต ๑๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสลจิต ๘ มหากิริยาจิต ๘ อภิญญาจิต ๒ ๒. มหัคคตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๓๗ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๕๔ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ วิญญาณัญจายตนะ ๓ มหาวิบาก ๘ เนวสัญญานาสัญญายตน ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อากาสานัญจายตนะ ๓ อกุสล ๑๒ อากิญจัญญายตนะ ๓ มโนทวาราวัชชนะ ๑ โลกุตตรจิต ๘ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๖ ๓. นิพพานอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๑๙ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๗๒ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๘ คือ อกุสล ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ ไม่แน่นอน ๑๑ คือ มหากุสลญาณวิปปยุตต ๔ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากิริยาญาณวิปปยุตต ๔ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ มหาวิบาก ๘ มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ ๔. บัญญัติอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๑ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ รูปาวจรจิต ๑๕ มหาวิบาก ๘ อากาสานัญจายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ โลกุตตรจิต ๘ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๗ ๕. ปรมัตถอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๗๐ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๒๑ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๓๙ คือ รูปาวจรจิต ๑๕ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ อากาสานัญจายตนะ ๓ มหาวิบาก ๘ อากิญจัญญายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ ๖. ธัมมารมณ์ มีจิตที่รับได้ ได้ ๗๘ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน ได้แก่ ไม่ได้ ๑๓ ดวง ได้แก่ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ รูปาวจรจิต ๑๕ มโนธาตุ ๓ อรูปาวจรจิต ๑๒ โลกุตตรจิต ๘ อภิญญาจิต ๒ ๗. นามอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๗ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๑๔ คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ โลกุตตรจิต ๘ มโนธาตุ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ อากิญจัญญายตนะ ๓ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๔๘ ๘. ปัญจารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอนและ ไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ ๙. รูปอารมณ์ และปัจจุบันอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ และ อภิญญา ๒ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๑๓ คือ มหัคคตจิต ๒๗ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ โลกุตตรจิต ๘ มโนธาตุ ๓ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อภิญญาจิต ๒ ๑๐. อดีตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๔๙ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๔๒ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ วิญญาณัญจายตนะ ๓ มโนธาตุ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ ไม่แน่นอน ๔๓ คือ อากาสานัญจายตนะ ๓ กามจิต(เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ อากิญจัญญายตนะ ๓ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ ๑๑. อนาคตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๔๓ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๔๘ ดวง ได้แก่ กามจิต (เว้นทวิปัญจวิญญาณ และมโนธาตุ) ๔๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อภิญญาจิต ๒ มโนธาตุ ๓ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๔๙ ๑๒. กาลวิมุตตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๖๐ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๓๑ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๙ คือ อเหตุกจิต (เว้นมโน) ๑๗ รูปาวจรจิต ๑๕ มหาวิบาก ๘ อากาสานัญจายตนะ ๓ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๓๑ คือ อกุสล ๑๒ มโนทวาราวัชชนะ ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อภิญญาจิต ๒ ๑๓. อัชฌัตตอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๖๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๒๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๖ คือ รูปาวจรจิต ๑๕ วิญญาณัญจายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ ไม่แน่นอน ๕๖ คือ โลกุตตร ๘ กามจิต ๕๔ อภิญญาจิต ๒ ๑๔. พหิทธอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๘๒ ดวง ได้แก่ ไม่ได้ ๙ ดวง ได้แก่ แน่นอน ๒๖ คือ วิญญาณัญจายตนะ ๓ รูปาวจรจิต ๑๕ เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๓ อากาสานัญจายตนะ ๓ อากิญจัญญายตนะ ๓ โลกุตตรจิต ๘ ไม่แน่นอน ๕๖ คือ กามจิต ๕๔ อภิญญาจิต ๒ หน้า ๕๐ ๑๕. อัชฌัตตพหิทธอารมณ์ มีจิตที่รับ ได้ ๕๖ ดวง (ไม่จัดเป็นแน่นอน และไม่แน่นอน) ได้แก่ ไม่ได้ ๓๕ ดวง ได้แก่ กามจิต ๕๔ มหัคคตจิต ๒๗ อภิญญาจิต ๒ โลกุตตรจิต ๘ จิตมีอารมณ์ได้กี่อย่าง จิตต้องมีอารมณ์ และจิตที่เกิดขึ้นขณะหนึ่ง ๆ นั้น มีอารมณ์แต่อย่างเดียว เท่านั้น จิตดวงเดียวที่เกิดขึ้นขณะเดียว จะมีอารมณ์หลายอย่างไม่ได้ แต่ว่าจิตดวงเดียวกันเกิดขึ้นในขณะนี้มีอารมณ์อย่างนี้ แต่เมื่อเกิดขึ้นในขณะอื่น อาจมีอารมณ์อย่างอื่นก็ได้ อย่างนี้ เรียกว่า จิตมีอารมณ์ได้ หลายอย่าง จิตบางดวงที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเกิดขึ้นในขณะนี้หรือขณะไหน ๆ ก็ต้องมีอารมณ์ อย่างนั้นแต่อย่างเดียว ไม่มีเปลี่ยนแปลงเป็นอารมณ์อย่างอื่นเลย ก็มีเหมือนกัน อย่างนี้เรียกว่า จิตมีอารมณ์ได้อย่างเดียว ดังต่อไปนี้ ๑. จิตที่มีอารมณ์ได้ อย่างเดียว มี ๒๘ ดวง ๒. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒ อย่าง มี ๒ ดวง ๓. จิตที่มีอารมณได้ ๕ อย่าง มี ๓ ดวง ๔. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๖ อย่าง มี ๑๒ ดวง ๕. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๒ อย่าง มี ๓ ดวง ๖. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๔ อย่าง มี ๙ ดวง ๗. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒๕ อย่าง มี ๓ ดวง มีรายละเอียดดังนี้ ๑. จิตที่มีอารมณ์ได้อย่างเดียว มี ๒๘ ดวง จักขุวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ รูปารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว โสตวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ สัททารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว ฆานวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ คันธารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว ชิวหาวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ รสารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว กายวิญญาณจิต ๒ มีอารมณ์ คือ โผฏฐัพพารมณ์ ที่เป็นปัจจุบันแต่อย่างเดียว อากาสานัญจายตนจิต ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณุคฆาฏิมากาสบัญญัติ อากิญจัญญายตนจิต ๓ มีอารมณ์ คือ นัตถิภาวบัญญัติ วิญญาณัญจายตนะกุสล ๑ วิบาก ๑ มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกุสล ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตน ในภพนี้หรือภพก่อน แต่อย่างเดียว เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ วิบาก ๑ มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกุสล ที่เคยเกิดมาแล้วแก่ตน ในภพนี้หรือภพก่อนแต่อย่างเดียว โลกุตตรจิต ๘ มีอารมณ์ นิพพาน แต่อย่างเดียว ๒. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒ อย่าง มี ๒ ดวง วิญญาณัญจายตนกิริยาจิต ๑ มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกุสลที่เคยเกิดมา แล้วแก่ตนในภพนี้หรือภพก่อน ๑, มีอารมณ์ อากาสานัญจายตนกิริยาที่เคยเกิดแล้ว แก่ตนในภพนี้ ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกิริยาจิต ๑ มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกุสล ที่เคย เกิดมาแล้วแก่ตนในภพนี้หรือภพก่อน ๑, มีอารมณ์ อากิญจัญญายตนกิริยาที่เคยเกิด มาแล้วแก่ตนในภพนี้ ๑ ๓. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๕ อย่าง มี ๓ ดวง มโนธาตุ ๓ คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มีปัญจารมณ์ ได้แก่ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอารมณ์ก็ได้ ๔. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๖ อย่าง มี ๑๒ ดวง หสิตุปปาทจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑๑ มีอารมณ์ คือ อารมณ์ทั้ง ๖ อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ ๕. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๒ อย่าง มี ๓ ดวง รูปาวจรปัญจมฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อานาปาณสติ ๑, อุเบกขา พรหมวิหาร ๑ หน้า ๕๒ ๖. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๑๔ อย่าง มี ๙ ดวง รูปาวจร จตุตถฌาน ๓ รูปาวจร ตติยฌาน ๓ รูปาวจร ทุติยฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อานาปาณสติ ๑, เมตตา กรุณา มุทิตา ๓ ๗. จิตที่มีอารมณ์ได้ ๒๕ อย่าง มี ๓ ดวง รูปาวจร ปฐมฌาน ๓ มีอารมณ์ คือ กสิณ ๑๐, อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑, อานาปาณสติ ๑, เมตตา กรุณา มุทิตา ๓ อารมณ์ของ เมตตา คือ ปิยมนาปสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ กรุณา คือ ทุกขิตสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ มุทิตา คือ สุขิตสัตวบัญญัติ อารมณ์ของ อุเบกขา คือ มัชฌัตตสัตวบัญญัติ เจตสิก กับ อารมณ์ ปรมัตถธรรม ๔ ประการ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน นั้น จิตและเจตสิก เป็นธรรมที่รับรู้อารมณ์ได้ แต่รูป และ นิพพานไม่สามารถที่จะรู้อารมณ์ได้เลย จิตรับอารมณ์อย่างใด รู้อารมณ์อะไร เจตสิกที่ประกอบกับจิตนั้นก็รับอารมณ์ รู้อารมณ์อย่างเดียวกันนั้นเอง สมกับที่ว่า เอกาลัมพนะ แต่เมื่อกล่าวเป็นส่วนรวม แล้ว เจตสิกรับอารมณ์ได้ดังนี้ เจตสิกที่รับ ปัญจารมณ์ ได้นั้นมี ๕๐ (เว้นอัปปมัญญา) เจตสิกที่รับ ธัมมารมณ์ ได้นั้นมี ๕๒ (ครบจำนวนเจตสิก) อกุสลเจตสิก ๑๔ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น โลกีย และบัญญัติ อิสสาเจตสิก ๑ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น พหิทธะ โลกีย วิรตี ๓ รับอารมณ์ ๖ ที่เป็น กามธรรม หน้า ๕๓ โลกุตตร วิรตี ๓ รับอารมณ์ ธัมมารมณ์ ที่เป็น นิพพาน แต่อย่างเดียว อัปปมัญญา ๒ รับอารมณ์ ธัมมารมณ์ ที่เป็น สัตวบัญญัติ และเป็น พหิทธอารมณ์ด้วย ส่วนเจตสิกที่เหลืออีก ๓๓ ดวง คือ อัญญสมานาเจตสิก ๑๓ โสภณสาธารณเจตสิก ๑๙ ปัญญาเจตสิก ๑ รับอารมณ์ ๖ ได้ทั้งที่เป็นโลกียโลกุตตร อดีต อนาคต ปัจจุบัน กาลวิมุตตะ อัชฌัตตะ และ พหิทธะ หมวดที่ ๖ วัตถุสังคหะ วสนฺติ ปติฏฺฐหนฺติ จิตฺตเจตสิกา เอตฺถาติ วตฺถุ ฯ จิต เจตสิก ทั้งหลาย ย่อมอาศัยตั้งอยู่ในธรรมใด ฉะนั้น ธรรมที่เป็นที่อาศัย ตั้งอยู่ของจิตเจตสิกเหล่านั้น ชื่อว่า วัตถุ วัตถุสังคหะ เป็นการรวบรวมแสดงเรื่องวัตถุ อันเป็นที่อาศัยเกิดของจิตและ เจตสิก วัตถุอันเป็นที่จิตและเจตสิก อาศัยเกิดนี้ มี ๖ จึงเรียกกันสั้น ๆ ว่า วัตถุ ๖ และวัตถุ ๖ นี้เป็น รูปธรรม ทั้งนั้น คือ ๑. จักขุวัตถุ ได้แก่ จักขุปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ จักขุวิญญาณจิต ๒ ๒. โสตวัตถุ ได้แก่ โสตปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณจิต ๒ ๓. ฆานวัตถุ ได้แก่ ฆานปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ ฆานวิญญาณจิต ๒ ๔. ชิวหาวัตถุ ได้แก่ ชิวหาปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ๕. กายวัตถุ ได้แก่ กายปสาทรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ กายวิญญาณจิต ๒ ๖. หทยวัตถุ ได้แก่ หทยรูป เป็นที่อาศัยเกิดของ จิต ๗๕ ดวง (เว้น ทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ อรูปวิบาก ๔) วิญญาณธาตุ ในวัตถุสังคหะนี้ ได้กล่าวถึง วิญญาณธาตุ คือ ธาตุรู้ด้วย ในจำนวนจิตทั้ง หมด ๘๙ ดวง เมื่อจัดโดยความเป็นธาตุก็ได้ วิญญาณธาตุ ๗ คือ หน้า ๕๔ ๑. จักขุวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น จักขุวิญญาณธาตุ ๒. โสตวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น โสตวิญญาณธาตุ ๓. ฆานวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น ฆานวิญญาณธาตุ ๔. ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น ชิวหาวิญญาณธาตุ ๕. กายวิญญาณจิต ๒ ดวง เป็น กายวิญญาณธาตุ ทั้ง ๕ นี้มีชื่อรวมเรียก ว่าวิญญาณธาตุ ๕ หรือ ปัญจวิญญาณธาตุ ๖. ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ รวม ๓ ดวง เป็น มโนธาตุ ๗. จิตที่เหลืออีก ๗๖ ดวง เป็น มโนวิญญาณธาตุ ภูมิกับวัตถุ ในภูมิไหน มีวัตถุอะไร เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุใดนั้น มีคาถาสังคหะที่ ๑๓ แสดงว่า ๑๓. ฉวตฺถํ นิสฺสิตา กาเม สตฺต รูเป จตุพฺพิธา ติวตฺถุํ นิสฺสิตา รูเป ธาเตวฺกา นิสฺสิตา มตา ฯ แปลความว่า ท่านกล่าวว่า ในกามภูมิ วิญญาณธาตุ ๗ อาศัยวัตถุ ๖ เกิด ในรูปภูมิ วิญญาณธาตุ ๔ อาศัยวัตถุ ๓ เกิด ในอรูปภูมิ วิญญาณธาตุ ๑ ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย ก็เกิดได้ อธิบาย ๑. ในกามาวจรภูมิ หรือ กามภูมิ ซึ่งมี ๑๑ ภูมิ ได้แก่ อบายภูมิ ๔, มนุษยภูมิ ๑ และ เทวภูมิ ๖ นั้น มีวัตถุ ๖ ครบบริบูรณ์ จึงเป็นที่อาศัยให้เกิด วิญญาณธาตุครบ ทั้ง ๗ เหมือนกัน คือ (๑) จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ จักขุวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ จักขุวิญญาณจิต ๒ (๒) โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ โสตวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ โสตวิญญาณจิต ๒ (๓) ฆานวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ ฆานวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ ฆานวิญญาณจิต ๒ (๔) ชิวหาวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของชิวหาวิญญาณธาตุ ๑ได้แก่ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ (๕) กายวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิดของ กายวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ กายวิญญาณจิต ๒ (๖) หทยวัตถุ มโนธาตุ ๓ ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ได้แก่ จิตที่เหลือ ๗๖ หน้า ๕๕ ๒. ในรูปาวจรภูมิ หรือรูปภูมิ ๑๕ (เว้นอสัญญสัตตตภูมิ) นั้น มีวัตถุเพียง ๓ อันเป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุ ๔ เท่านั้น คือ (๑) จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด จักขุวิญญาณธาตุ ๑ (๒) โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด โสตวิญญาณธาตุ ๑ (๓) หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยเกิด มโนธาตุ ๑ มโนวิญญาณธาตุ ๑ ส่วนฆานวัตถุ อันเป็นที่อาศัยเกิด ฆานวิญญาณธาตุ ๑, ชิวหาวัตถุ อันเป็นที่ อาศัยให้เกิด ชิวหาวิญญาณธาตุ ๑ และกายวัตถุ อันเป็นที่อาศัยให้เกิดกายวิญญาณ ธาตุ ๑ รวม ๓ วัตถุ ๓ ธาตุนี้ไม่มี แต่ว่า รูปพรหมทั้ง ๑๕ ภูมินี้ มีจมูก แต่ไม่มีฆานวัตถุ คือไม่มีฆานปสาทรูป, มีลิ้น แต่ไม่มีชิวหาวัตถุ คือไม่มีชิวหาปสาทรูป, มีกาย แต่ไม่มีกายวัตถุ คือไม่มีกาย ปสาทรูป ดังนั้น ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ และ กายวิญญาณ ไม่มีที่อาศัยเกิด จึงเกิดไม่ได้ อนึ่ง กามภูมิ ๑๑ และรูปภูมิ ๑๕ รวม ๒๖ ภูมินี้ มีชื่อรวมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปัญจโวการภูมิ คือ ภูมิที่มีขันธ์ ๕ ได้แก่มี รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ เฉพาะอสัญญสัตตภูมิ ซึ่งเป็นรูปภูมิอีกภูมิหนึ่งนั้น ไม่มีวัตถุทั้ง ๖ และไม่มี วิญญาณธาตุทั้ง ๗ เลยแม้แต่สักอย่างเดียว ทั้งนี้ เป็นเพราะภูมินี้มีแต่รูปขันธ์ เท่านั้น ส่วนนามขันธ์อีก ๔ ขันธ์นั้นไม่มี ดังนั้น อสัญญสัตตภูมินี้จึงมีชื่อเรียกอีก ชื่อหนึ่งว่า เอกโวการภูมิ คือ ภูมิที่มีขันธ์ ๑ ได้แก่ มีรูปขันธ์เพียงขันธ์เดียว ๓. อรูปาวจรภูมิ หรือ อรูปภูมิ ซึ่งมี ๔ ภูมินั้น วัตถุ ๖ ไม่มีเลย เพราะ อรูปภูมิเป็นภูมิที่ไม่มีรูปธรรม มีแต่นามธรรมเท่านั้น ดังนั้นวัตถุ ๖ ซึ่งเป็นรูปธรรม ทั้ง ๖ จึงไม่มีในอรูปภูมิ แต่ว่าในอรูปภูมิทั้ง ๔ นี้ วิญญาณธาตุ ๗ นั้นเกิดได้ ๑ คือ มโนวิญญาณธาตุ ซึ่งเกิดขึ้นได้โดยไม่ต้องอาศัยหทยวัตถุใด ๆ เลยทั้งนั้น เพราะเหตุว่าอรูปภูมิทั้ง ๔ นี้มีแต่นามขันธ์ทั้ง ๔ คือ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ส่วนรูปขันธ์ไม่มี จึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า จตุโวการภูมิ คือ ภูมิที่มี ๔ ขันธ์ (ขาดรูปขันธ์ไปขันธ์หนึ่ง) หน้า ๕๖ สรุปเพื่อให้จำได้ง่าย กามภูมิ ๑๑ มีวัตถุทั้ง ๖ เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุทั้ง ๗ คือ จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด จักขุวิญญาณธาตุ โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด โสตวิญญาณธาตุ ฆานวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด ฆานวิญญาณธาตุ ชิวหาวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด ชิวหาวิญญาณธาตุ กายวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด กายวิญญาณธาตุ หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด มโนธาตุ และ มโนวิญญาณธาตุ รูปภูมิ ๑๕ มีวัตถุ ๓ เป็นที่อาศัยให้เกิดวิญญาณธาตุ ๔ คือ จักขุวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด จักขุวิญญาณธาตุ โสตวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด โสตวิญญาณธาตุ หทยวัตถุ เป็นที่อาศัยให้เกิด มโนธาตุ และ มโนวิญญาณธาตุ อสัญญสัตตภูมิ ๑ นั้นวัตถุทั้ง ๖ วิญญาณธาตุทั้ง ๗ ไม่มีเลยแม้แต่สักอย่าง เดียว อรูปภูมิ ๔ นั้น วัตถุทั้ง ๖ ไม่มีเลย แต่มีวิญญาณธาตุ ๑ คือ มโนวิญญาณธาตุ ซึ่งเกิดได้โดยไม่ต้องอาศัยวัตถุใด ๆ เลย จิตกับวัตถุ จิตใดจะต้องอาศัยวัตถุอะไรเกิด หรือไม่ต้องอาศัยวัตถุ ก็เกิดได้นั้น มีคาถาสังคหะที่ ๑๔ อันเป็นคาถาสุดท้ายในปริจเฉทนี้ แสดงว่า ๑๔. เตจตฺตาฬีส นิสฺสาย เทฺวจตฺตาฬีส ชายเร นิสฺสาย จ อนิสฺสาย ปาการุปฺปา อนิสฺสิตา ฯ แปลความว่า จิต ๔๓ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเสมอ จิต ๔๒ ดวง บางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัย อรูปวิบาก ๔ ดวง ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย หน้า ๕๗ อธิบาย ๑. จิต ๔๓ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเสมอ จะเกิดโดยไม่ต้องอาศัยวัตถุหาได้ไม่ ดังนั้นในภูมิใดไม่มีวัตถุ จิตเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย จิต ๔๓ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑) คือ จักขุวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย จักขุวัตถุ จึงจะเกิดได้ โสตวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย โสตวัตถุ จึงจะเกิดได้ ฆานวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย ฆานวัตถุ จึงจะเกิดได้ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย ชิวหาวัตถุ จึงจะเกิดได้ กายวิญญาณจิต ๒ ต้องอาศัย กายวัตถุ จึงจะเกิดได้ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ สันตีรณจิต ๓ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ หสิตุปปาทจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ มหาวิบากจิต ๘ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ รูปาวจรจิต ๑๕ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ต้องอาศัย หทยวัตถุ จึงจะเกิดได้ ๒. จิต ๔๒ ดวง บางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัยนั้น ได้แก่ อกุสล ๑๐ (เว้นโทสจิต ๒) มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปาวจรกุสล ๔ อรูปาวจรกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสดาปัตติมัคคจิต ๑) มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ที่ว่าจิต ๔๒ ดวงนี้ บางทีก็อาศัยวัตถุเกิด บางทีไม่ต้องอาศัยวัตถุก็เกิดได้นั้น เป็นดังนี้ ถ้าจิตนี้เกิดใน ปัญจโวการภูมิ คือภูมิที่มีขันธ์ ๕ ก็จะต้องอาศัยหทย วัตถุเกิด หน้า ๕๘ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ถ้าจิต ๔๒ ดวงนี้ เกิดในกามภูมิ ๑๑ ก็ดี เกิดในรูปภูมิ ๑๕ (เว้นสัญญสัตตภูมิ) ก็ดี ซึ่งเป็นภูมิที่มีหทยวัตถุแล้ว ก็จะต้องอาศัยหทยวัตถุรูป เกิดตามควรแก่ที่จะพึงเกิดได้ แต่ว่า ถ้าจิตเหล่านี้เกิดในจตุโวการภูมิ ภูมิที่มีขันธ์ ๔ คือ อรูปภูมิแล้ว ไม่ต้อง อาศัยวัตถุเลยก็เกิดได้ จิต ๔๒ ดวงนี้ มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า จิตที่อาศัยวัตถุเกิดไม่แน่นอน(อเนกันตะ) เพราะบางทีก็อาศัย บางทีก็ไม่อาศัย เป็นที่ไม่แน่นอน ๓. อรูปวิบาก ๔ ไม่ต้องอาศัยวัตถุเลย เพราะอรูปวิบากจิต ๔ เป็นจิตที่เกิด ที่มีในอรูปภูมิ ซึ่งเป็นภูมิที่ไม่มีวัตถุรูปใด ๆ แม้แต่สักอย่างเดียว ดังนั้นจึงไม่ต้อง อาศัยวัตถุก็เกิดได้ เจตสิก กับ วัตถุ เจตสิกที่อาศัยวัตถุ ๖ เกิด โดยไม่แน่นอน มี ๗ ดวง ได้แก่ สัพพจิตตสาธารณ เจตสิก ๗ เจตสิกที่อาศัยหทยวัตถุเกิดโดยแน่นอนมี ๖ ดวง ได้แก่ อัปปมัญญาเจตสิก ๒ โทจตุกเจตสิก ๔ เจตสิกที่อาศัยหทยวัตถุเกิดโดยไม่แน่นอน มี ๓๙ ดวง ได้แก่ ปกิณณกเจตสิก ๖ อกุสลเจตสิก ๑๐ (เว้นโทจตุกเจตสิก ๔) โสภณเจตสิก ๒๓ (เว้นอัปปมัญญา ๒) วัตถุกับทวาร วัตถุ เป็นที่อาศัยให้จิตเจตสิกเกิด ทวาร เป็นทางให้จิตเจตสิกเกิด เมื่อกล่าว ควบคู่กันทั้งวัตถุและทวาร คือ กล่าวทั้งที่อาศัยเกิด และทางให้เกิดด้วยแล้ว ก็กล่าว ได้เป็น ๔ นัย คือ จิตที่ ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวาร จิตที่ ต้องอาศัยวัตถุ แต่ไม่ต้องอาศัยทวาร จิตที่ ไม่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ต้องอาศัยทวาร จิตที่ ไม่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวาร หน้า ๕๙ ๑. จิตที่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวารด้วยนั้น มี ๓๘ ดวง ได้แก่ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นมโนทวาราวัชชนจิต ๑) มหาวิบากจิต ๘ รูปาวจรกุสล ๕ รูปาวจรกิริยาจิต ๕ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ในข้อ ๑ นี้ มีสิ่งที่ควรสังเกตอยู่ ๒ ประการ ประการแรก จิต ๓๘ ดวงนี้ เป็นกลุ่มเดียวกับจิต ๔๓ ดวง ที่ต้องอาศัยวัตถุเสมอนั่นเอง เพียงแต่เอารูปาวจร วิบาก ๕ ดวง หักออกเสียจากจำนวน ๔๓ ดวงนั้น ก็คงเหลือ ๓๘ เป็นจิตที่ต้องอาศัยทั้งวัตถุและทั้งทวารด้วย รูปาวจรวิบาก ๕ ดวง ต้องอาศัยวัตถุเกิดจริง แต่ไม่ต้องอาศัยทวารเป็นทางให้เกิดไม่ครบทั้ง ๒ อย่าง จึงต้องหักออก อีกประการหนึ่ง จิตที่อาศัยวัตถุเกิด กับจิตที่อาศัยทวารเกิดนั้นมีจำนวนไม่ เท่ากัน กล่าวคือ จิตที่อาศัยวัตถุเกิดนั้นมีจำนวนจำกัด โดยเฉพาะแท้ ๆ แต่จิตที่ อาศัยทวารเกิดนั้น มีจำนวนกว้างขวางมากกว่ากัน คือ จิตที่อาศัย จักขุวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย จักขุทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย โสตวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย โสตทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย ฆานวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย ฆานทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย ชิวหาวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย ชิวหาทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย กายวัตถุ เกิดมีเพียง ๒ ดวง แต่อาศัย กายทวาร เกิดได้ถึง ๔๖ ดวง จิตที่อาศัย หทยวัตถุ เกิดมีเพียง ๗๕ ดวง แต่อาศัย มโนทวาร เกิดได้ถึง ๖๗ ดวง ๒. จิตที่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ไม่ต้องอาศัยทวาร มี ๕ ดวง ได้แก่ รูปาวจรวิบากจิต ๕ รูปาวจรวิบากจิต ๕ ดวงนี้ ต้องอาศัยหทยวัตถุเกิด เพราะรูปาวจรวิบาก ที่ทำหน้าที่ปฏิสนธิกิจนั้น ปฏิสนธิจิตกับหทยวัตถุนี้เกิดพร้อมกัน ปฏิสนธิจิตก็ต้อง อาศัยหทยวัตถุเกิด และหทยวัตถุก็ต้องอาศัยปฏิสนธิจิตจึงจะเกิดขึ้นได้ ต่างก็อาศัยซึ่งกันและกันด้วยอำนาจแห่งอัญญมัญญปัจจัย ส่วนที่ว่า รูปาวจรวิบาก ๕ ดวงนี้ เกิดโดยไม่ต้องอาศัยทวารนั้น เพราะเป็น เอกันตทวารวิมุตตจิต เป็นจิตที่พ้นทวารแน่นอนอยู่แล้ว ดังแจ้งใน ทวารสังคหะ ที่กล่าวข้างต้น หน้า ๖๐ ๓. จิตที่ไม่ต้องอาศัยวัตถุ แต่ต้องอาศัยทวาร มี ๔๒ ดวง ได้แก่ อกุสล ๑๐ (เว้นโทสจิต ๒) มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปาวจรกุสล ๔ อรูปาวจรกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นโสดาปัตติมัคคจิต ๑) มโนทวาราวัชชนจิต ๑ เมื่อจิตเหล่านี้เกิดกับอรูปพรหมในอรูปภูมิแล้ว ไม่ต้องอาศัยวัตถุก็เกิดได้ แต่ ต้องอาศัยทวาร คือ มโนทวาร จึงจะเกิดได้ ซึ่งในอรูปภูมิมีมโนทวารแต่อย่างเดียว ส่วนวัตถุนั้นไม่มีเลย พึงสังเกตว่า จิต ๔๒ ดวงนี้ เป็นจิตกลุ่มเดียวกัน จิต ๔๒ ดวงที่เรียกว่า จิตที่อาศัยวัตถุเกิดไม่แน่นอน ดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ๔. จิตที่ไม่ต้องอาศัยทั้งวัตถุทั้งทวารเลยนั้น มี ๔ ดวง ได้แก่ อรูปาวจรจิบากจิต ๔ ไม่ต้องอาศัยวัตถุ เพราะไม่มีวัตถุที่จะอาศัย และไม่ต้อง อาศัยทวาร เพราะเป็น เอกันตทวารวิมุตตจิต อวสานคาถาปริจเฉทที่ ๓ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถ สงฺคเห ตติโย ปริจฺเฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ นี้ปริจเฉทที่ ๓ ( ชื่อ ปกิณณกสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวบรวมซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรม ที่พระอนุรุทธาจารย์รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อ เพียงเท่านี้แล

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคู่มือการศึกษา วิถีสังคหวิภาค พระอภิธัมมัตถสังคหะ ปริจเฉทที่ ๔ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทธสฺส วิถี วิถีสังคหวิภาค เป็นส่วนที่รวบรวมแสดงโดยย่อเรื่อง วิถีจิต คือ แสดงความเป็นไปของจิตตามลำดับที่เกิดก่อนและหลัง ในเมื่อประสบกับอารมณ์ใหม่ ในวาระหนึ่ง ๆ ถ้าได้ศึกษา วิถีจิต ให้เข้าใจโดยละเอียดถี่ถ้วนแล้ว จะทำให้การศึกษาพระอภิธรรม (เฉพาะอย่างยิ่งในคัมภีร์มหาปัฏฐาน) เข้าใจได้ซาบซึ้งยิ่งขึ้นดังที่ท่านโบราณจารย์ได้กล่าวไว้ว่า จะเชี่ยวชาญ พระวินัย ต้องแตกฉานใน อุโบสถ จะเชี่ยวชาญ พระสูตร ต้องแตกฉานใน ลิงคะ ( ไวยกรณ์ ) จะเชี่ยวชาญ พระอภิธรรม ต้องแตกฉานใน วิถี วิถีสังคหะนี้ ท่านพระอนุรุทธาจารย์ ผู้รจนาพระอภิธัมมัตถสังคหะจัดเป็นปริจเฉทที่ ๔ ให้ชื่อว่า วิถีสังคหะวิภาค ประพันธ์เป็นคาถาสังคหะรวม ๑๐ คาถา คาถาที่ ๑ และที่ ๒ ประพันธ์ไว้ว่า ๑. จิตฺตปฺปาทานมิจฺเจวํ กตฺวา สงฺคหมุตฺตรํ ภูมิปุคฺคลเภเทน ปุพฺพาปรนิยามิตํ ฯ ๒. ปวตฺติสงฺคหํ นาม ปฏิสนฺธิปฺปวตฺติยํ ปวกฺขามิ สมาเสน ยถาสมฺภวโต กถํ ฯ แปลความว่า ข้าพเจ้าผู้มีนามว่า อนุรุทธาจารย์ ได้แสดงปกิณกสังคหะ อันเป็นอรรถอันยิ่งแห่งจิตและเจตสิกแล้ว บัดนี้จักกล่าว ปวัตติสังคหะในปฏิสนธิกาลและในปวัตติกาล แสดงความเป็นไปองจิตและเจตสิกตามลำดับที่เกิดก่อนและหลัง พร้อมด้วยประเภทแห่งภูมิและบุคคล โดยย่อตามสมควรแก่ความบังเกิดขึ้นของจิต หน้า ๒ ปวัตติสังคหะ ปวัตติสังคหะ หมายความว่า การรวบรวมกล่าวถึงความเป็นอยู่ หรือความ เป็นไปของจิตและเจตสิก จำแนกได้เป็น ๒ คือ ความเป็นอยู่ หรือความเป็นไปของ จิตและเจตสิก ในปฏิสนธิกาล ๑ ในปวัตติกาล ๑ ความเป็นอยู่และความเป็นไปของจิตและเจตสิกใน ปฏิสนธิกาล นั้นมีชื่อว่า วิถีมุตตจิต เป็นจิตที่พ้นวิถี เป็นจิตที่ไม่อยู่ในวิถี เป็นจิตที่ไม่ใช่วิถี จึงไม่แสดง ในปริจเฉทนี้ แต่จะแสดงในปริจเฉทต่อไป ส่วนความเป็นอยู่หรือความเป็นไปของจิตและเจตสิกใน ปวัตติกาล นั้นมีชื่อ ว่า วิถีจิต ซึ่งจะแสดงในปริจเฉทนี้ ฉักกะ ๖ ในวิถีสังคหะนี้ มีธรรมเกี่ยวเนื่องกัน ๖ หมวด แต่ละหมวดก็จำแนกได้เป็น ๖ อย่าง จึงเรียก ฉักกะ รวม ๖ หมวดก็เป็น ๖ ฉักกะ คือ ๑. วัตถุฉักกะ (วัตถุ ๖) คือ ที่ที่จิตและเจตสิกอาศัยเกิด ๖ แห่ง ๒. ทวารฉักกะ (ทวาร ๖) คือ ทางที่จิตและเจตสิกรับอารมณ์ ๖ ทาง ๓. อารัมมณฉักกะ (อารมณ์ ๖) คือ สิ่งที่จิตและเจตสิกรู้ ๖ สิ่ง ๔. วิญญาณฉักกะ (วิญญาณ ๖) คือ จิตที่รับรู้ หรือ ตัวรู้ ๖ ประเภท ๕. วิถีฉักกะ (วิถี ๖) คือ ความเป็นไปของจิต ๖ กระแส (๖ วิถี) ๖. วิสยัปปวัตติฉักกะ (วิสยัปปวัตติ ๖) คือ จิตที่เป็นไปในอารมณ์ทั้ง ๖ มี ๖ อย่าง หมวดที่ ๑ วัตถุฉักกะ คือ วัตถุ ๖ ได้แก่ จักขุวัตถุ โสตวัตถุ ฆานวัตถุ ชิวหาวัตถุ กายวัตถุ และ หทยวัตถุ หมวดที่ ๒ ทวารฉักกะ คือ ทวาร ๖ได้แก่ จักขุทวาร โสตทวาร ฆานทวาร ชิวหาทวาร กายทวาร และ มโนทวาร หมวดที่ ๓ อารัมมณฉักกะ คือ อารมณ์ ๖ ได้แก่ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์และ ธัมมารมณ์ ธรรม ๓ หมวดนี้ ได้กล่าวแล้วในปริเฉทที่ ๓ คือ วัตถุฉักกะ ได้แสดง แล้วใน วัตถุสังคหะ ทวารฉักกะ ได้แสดงแล้วใน ทวารสังคหะ และ อารัมมณฉักกะ ได้แสดงแล้วในอารัมมณสังคหะ หมวดที่ ๔ วิญญาณฉักกะ คือวิญญาณ ๖ ได้แก่ จักขุวิญญาณ โสตวิญญาณ ฆานวิญญาณ ชิวหาวิญญาณ กายวิญญาณ และ มโนวิญญาณ หน้า ๓ ธรรมหมวดที่ ๔ นี้ ก็ได้แสดงไว้ในปริจเฉทที่ ๑ จิตสังคหวิภาค นั้นแล้ว หมวดที่ ๕ วิถีฉักกะ คือ วิถี ๖ ความเป็นไปของจิต ๖ กระแส หรือ ๖ สาย หรือ ๖ ทาง หรือ ๖ วิถี มีความหมายถึงความเป็นไปของจิตนั้นเกี่ยวกับ ทวารใดในทวารทั้ง ๖ นั้น คือ กระแสจิตที่เกิดทาง จักขุทวาร ก็เรียกว่า จักขุทวารวิถี กระแสจิตที่เกิดทาง โสตทวาร ก็เรียกว่า โสตทวารวิถี กระแสจิตที่เกิดทาง ฆานทวาร ก็เรียกว่า ฆานทวารวิถี กระแสจิตที่เกิดทาง ชิวหาทวาร ก็เรียกว่า ชิวหาทวารวิถี กระแสจิตที่เกิดทาง กายทวาร ก็เรียกว่า กายทวารวิถี กระแสจิตที่เกิดทาง มโนทวาร ก็เรียกว่า มโนทวารวิถี หมวดที่ ๖ วิสยัปปวัตติฉักกะ คือ วิสยัปปวัตติ ๖, วิสย แปลว่า อารมณ์, ปวัตติ แปลว่า ความเป็นไป, วิสยัปปวัตติ ก็แปลว่า ความเป็นไป(ของจิต) ในอารมณ์หนึ่ง ๆ , วิสยัปปวัตติ ๖ จำแนกได้เป็น ๒ คือ วิสยัปปวัตติทาง ปัญจทวาร และ มโนทวาร ก. วิสยัปปวัตติ ทางปัญจทวาร มี ๔ ได้แก่ ๑. อติมหันตารมณ์ ๒. มหันตารมณ์ ๓. ปริตตารมณ์ ๔. อติปริตตารมณ์ ข. วิสยัปปวัตติ ทางมโนทวาร มี ๒ ได้แก่ ๑. วิภูตารมณ์ ๒. อวิภูตารมณ์ อนึ่ง วิสยัปปวัตติ ในปฏิสนธิกาล มีเพียง ๓ คือ กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ และ คตินิมิตอารมณ์ เป็นอารมณ์ที่ได้มาจากอดีตชาติเมื่อจะ ตาย ไม่เกี่ยวกับวิสยัปปวัตติ ๖ นี้ ปฏิสนธิจิต มีอารมณ์เก่า ไม่ได้รับอารมณ์ใหม่ด้วย เป็นจิตที่พ้นทวาร (ทวาร วิมุตตจิต)ด้วย และเป็นจิตที่ไม่ใช่วิถี (วิถีมุตตจิต) ด้วย จึงไม่แสดงในปริจเฉทนี้ แม้ ภวังคจิต และ จุติจิต ในภพเดียวชาติเดียวกับปฏิสนธิจิตนั้น ก็เป็น จิตดวงเดียวกัน มีอารมณ์อย่างเดียวกันกับปฏิสนธิจิต ก็เป็นทวารวิมุตตจิต วิถีวิมุตต จิตเหมือนกัน จึงไม่แสดงในปริจเฉทนี้เช่นเดียวกัน วิถีฉักกะ กับวิสยัปปวัตติฉักกะ ความแตกต่างกันระหว่างหมวดที่ ๕ วิถีฉักกะ กับ หมวดที่ ๖ วิสยัปปวัตติ ฉักกะ คือ วิถีฉักกะ นั้นแสดงเพื่อให้ทราบว่า ความเป็นไปของจิตที่เกี่ยวเนื่องกับทวาร นั้นว่า วิถีจิตนั้นเกิดทางทวารไหน หน้า ๔ ส่วน วิสยัปปวัตติ นั้นแสดงเพื่อให้ทราบว่า ความเป็นไปของจิตที่เกี่ยว เนื่องกับอารมณ์นั้นว่า อารมณ์นั้นชัดเจนแจ่มแจ้งเพียงใด เมื่อรวมกล่าวทั้ง วิถี และ วิสยัปปวัตติ ไปด้วยกัน ก็เป็นการแสดงให้ ทราบว่า วิถีจิตนั้นเกิดทางทวารไหน และมีอารมณ์ชัดเพียงใดด้วย ดังนี้ จักขุทวารวิถี ที่เป็นอติมหันตารมณ์ ก็เรียกว่า จักขุทวาร อติมหันตารมณ์วิถี จักขุทวารวิถี ที่เป็นมหันตารมณ์ ก็เรียกว่า จักขุทวาร มหันตารมณ์วิถี จักขุทวารวิถี ที่เป็นปริตตารมณ์ ก็เรียกว่า จักขุทวาร ปริตตารมณ์วิถี จักขุทวารวิถี ที่เป็นอติปริตตารมณ์ ก็เรียกว่า จักขุทวาร อติปริตตารมณ์วิถี แม้ทางโสตทวารวิถี ฆานทวารวิถี ชิวหาทวารวิถี และกายทวารวิถี ก็เป็นไป อย่างเดียวกันนี้ ส่วนทางมโนทวาร ก็คงเรียก วิภูตารมณ์วิถี หรือ อวิภูตารมณ์วิถี เท่านั้น เพราะทั้ง ๒ชื่อนี้ย่อมต้องเกิดทางมโนทวารทางเดียว จะเกิดทางทวารอื่นหาได้ไม่ ความแตกต่างกันระหว่างวิสยัปปวัตติ ๖ ๑. อติมหันตารมณ์ คือ อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้มากที่สุด ยกตัวอย่าง ทางตาเห็นรูป ก. เกี่ยวกับวัตถุ จักขุวัตถุที่มีหน้าที่รับรูปารมณ์นั้น จะต้องเป็นจักขุปสาท ที่ดี ไม่พิการแม้แต่เล็กน้อยเลย มีความใส คือ มีความสามารถรับรูปารมณ์ได้เป็นอย่างดี ข. เกี่ยวกับอารมณ์ รูปารมณ์นั้นต้องชัดและเด่น ตั้งอยู่ไม่ไกลเกินไปหรือผ่าน ไปไม่เร็วนัก รูปารมณ์นั้นต้องอยู่ในที่ที่แสงสว่างพอที่จักขุปสาทจะรับได้ชัดเจน เมื่อจักขุวัตถุได้รับรูปารมณ์ชัดเจนแจ่มแจ้งเช่นนั้น จึงทำให้ขณะจิตเกิดได้มาก ที่สุด แม้ทางหูได้ยินเสียง ทางจมูกได้กลิ่น ทางลิ้นได้รส ทางกายได้รับการสัมผัส ถูกต้อง ก็มีนัยทำนองเดียวกันนี้ อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้มากที่สุดที่ชื่อว่า อติมหันตารมณ์นี้ มีจิตตุปปาทะ (คือจิตที่เกิดขึ้นในวิถี) ถึง ๑๔ ขณะ ทั้งนี้ไม่นับภวังคจิต ๓ ขณะ ซึ่งไม่ใช่จิตใน วิถีด้วย และมีวิถีจิตถึง ๗ ๒. มหันตารมณ์ คือ อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้มากพอประมาณ ไม่เด่นชัด หรือแจ่มแจ้งเท่าอติมหันตารมณ์ ทั้งนี้เพราะวัตถุหรืออารมณ์อย่างใดอย่างหนึ่ง บกพร่องไปบ้างเล็กน้อย อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้มากพอประมาณที่ชื่อว่า มหันตารมณ์นี้ มีจิตตุป ปาทะเพียง ๑๒ ขณะ ทั้งนี้ไม่นับภวังคจิตรวมด้วยเช่นเดียวกัน และมีวิถีจิตเพียง ๖ ๓. ปริตตารมณ์ คือ อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้น้อย เพราะวัตถุหรืออารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่งบกพร่องไปมาก จึงไม่ชัดแจ้งพอที่จะตัดสินลงไปได้ว่าอารมณ์นั้นดี หรือชั่วประการใด หน้า ๕ อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้น้อย ที่ชื่อว่า ปริตตารมณ์นี้ มีจิตตุปปาทะ เพียง ๗ ขณะเท่านั้นเอง และมีวิถีจิตเพียง ๕ ๔. อติปริตตารมณ์ คือ อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้น้อยที่สุด เพราะวัตถุหรือ อารมณ์นั้นบกพร่องมากเหลือเกิน จึงทำให้จิตเพียงแต่แว่ว ๆ ไหว ๆ เท่านั้น ไม่ทัน จะได้เห็น ไม่ทันจะได้ยิน อารมณ์นั้นก็ดับไปเสียแล้วเลยยังไม่ทันรู้ว่าอะไรเป็นอะไร อารมณ์ที่มีขณะจิตเกิดได้น้อยที่สุด ที่ชื่อว่า อติปริตตารมณ์นี้ จิตตุปปาทะ ไม่มีเลย และวิถีจิตก็ไม่มีด้วยทั้ง ๔ นี้ เป็นวิสยัปปวัตติทางปัญจทวาร ต่อไปนี้จะแสดง วิสยัปปวัตติ ทางมโนทวาร อีก ๒ คือ ๕. วิภูตารมณ์ คือ อารมณ์ที่ปรากฏทางใจชัดเจนแจ่มแจ้งมาก ทำให้มีจิต ตุปปาทะถึง ๑๐ ขณะ และมีวิถีจิต ๓ ๖. อวิภูตารมณ์ คือ อารมณ์ที่ปรากฏทางใจชัดเหมือนกัน แต่ว่าชัดน้อยกว่า หรือไม่แจ่มแจ้งเท่าวิภูตารมณ์ จึงมีจิตตุปปาทะเพียง ๘ ขณะ และมีวิถีจิตเพียง ๒ ความหมายของจิตตุปปาทะ วิถีจิต และ ขณะ คำว่า จิตตุปปาทะ คือ จิตที่เกิดขึ้นพร้อมกับเจตสิกที่ประกอบ ในที่นี้มี ความหมายว่า ในวิถีนั้นมีจิตเกิดขึ้นกี่ดวง นับแต่ อาวัชชนจิต คือ จิตที่รับอารมณ์ ใหม่เป็นต้นไป ส่วน ภวังคจิต แม้จะมีอยู่ในวิถีนั้นด้วยก็ไม่นับ เพราะภวังคจิตเป็น จิตที่รับอารมณ์เก่าดังกล่าวแล้วข้างต้น จิตเกิดขึ้นในวิถีนั้นกี่ดวงก็นับเรียงดวงไปเลย ไม่ว่าจิตนั้นจะทำกิจอย่างเดียวกัน หรือทำกิจต่างกัน เช่น ชวนจิตในวิถีนั้นมี ๗ ดวง หรือ ๗ ขณะ ซึ่งทำชวนกิจอย่างเดียวกัน ก็นับเป็นจิตตุปปาทะ ๗ ขณะ หรือ ๗ ดวง ตทาลัมพนจิตในวิถีนั้นมี ๒ ดวง หรือ ๒ ขณะ ซึ่งทำตทาลัมพนกิจอย่างเดียว ก็นับเป็นจิตตุปปาทะ ๒ ดวง หรือ ๒ ขณะ คำว่า วิถีจิต คือ จิตในวิถีนั้นมีกี่อย่าง มีความหมายว่า จิตในวิถีนั้นทำกิจ กี่อย่าง ทำกิจอย่างหนึ่งก็เรียกว่ามีวิถีจิต ๑ นับแต่ อาวัชชนจิต คือจิตที่รับอารมณ์ใหม่เป็นต้นไป เช่นเดียวกับจิตตุปปาทะ แต่ไม่นับเรียงดวง นับเป็นพวก ๆ เช่น ชวนจิตมีจิตตุปปาทะ ๗ แต่ทำชวนกิจอย่างเดียวเท่านั้นก็เรียกว่าวิถีจิต ๑, ตทาลัมพนจิต ๒ ดวง ทำตทาลัมพนกิจอย่างเดียวก็เรียกว่า วิถีจิต ๑ เช่นกัน รวมชวนจิต ๗ ตทาลัมพนจิต ๒ เป็นจิต ๙ ดวง ก็เรียกว่า มีวิถีจิต ๒ เป็นต้น หน้า ๖ คำว่า ขณะ คือ จิตเกิดขึ้นดวงหนึ่งก็นับเป็นขณะหนึ่ง เรียกว่า ขณะจิต บางทีก็เรียก ขณะ เฉย ๆ แต่ว่าจิตที่เกิดขึ้นดวงหนึ่งที่เรียกว่าขณะหนึ่งนั้น ยังแบ่ง ได้เป็น ๓ อนุขณะ หรือ ๓ ขณะเล็ก คือ อุปาทขณะ หมายถึงขณะที่จิตเกิดขึ้น ๑ อนุขณะ, ฐีติขณะ หมายถึงขณะที่จิตตั้งอยู่ ๑ อนุขณะ และ ภังคขณะ หมายถึง ขณะที่จิตนั้นดับไป ๑ อนุขณะ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ขณะจิตหรือจิตแต่ละดวง นั้นมีอายุ ๓ อนุขณะ คือ อุปาทขณะ ๑, ฐีติขณะ ๑, ภังคขณะ ๑ อนึ่งจิต ๑๗ ขณะ เท่ากับอายุของรูปธรรมรูป ๑ มีความหมายว่า จิตเกิดดับ ไป ๑๗ หน รูปจึงดับไปหนหนึ่ง หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า รูปแต่ละรูปมีอายุเท่ากับ จิตเกิดดับไป ๑๗ ดวง หรือ ๑๗ ขณะ หรือ ๑๗ หน ดังนั้นรูปแต่ละรูปจึงมีอายุ เท่ากับ ๕๑ อนุขณะ หรือ ๕๑ ขณะเล็ก เป็น อุปาทขณะ คือขณะที่รูปเกิดขึ้น ๑ อนุขณะ, เป็น ฐีติขณะ คือขณะที่รูปตั้งอยู่๔๙ อนุขณะ และเป็น ภังคขณะ คือขณะที่รูปดับไป ๑ อนุขณะ ดังนั้นจึงเห็นได้ว่า อุปาทขณะของจิตกับอุปาทขณะของรูปมี ๑ อนุขณะ เท่ากัน ภังคขณะของจิตกับภังคขณะของรูปก็มี ๑ อนุขณะเท่ากันอีก ส่วนฐีติ ขณะของจิตก็มี ๑ อนุขณะ แต่ฐีติขณะของรูปนั้นมีถึง ๔๙ อนุขณะ รูปจึงมีอายุยืนยาวกว่าจิตมาก รูปที่มีอายุเท่ากับ ๑๗ ขณะจิต หรือ ๕๑ อนุขณะนั้น มีชื่อเรียกว่า สตฺตรสายุกรูป รูปธรรมทั้งหมดมี ๒๘ รูป แต่เป็น สตฺตรสายุกรูป คือรูปที่มีอายุ ๑๗ ขณะจิต เพียง ๒๒ รูป เท่านั้น ส่วนอีก ๖ รูป คือ วิญญัติรูป ๒ และ ลักขณะรูป ๔ มีอายุไม่ถึง ๑๗ ขณะจิต เพราะวิญญัติรูป ๒ เป็นรูปที่เกิดพร้อมกับจิตและดับไปพร้อมกับจิต จึงมีอายุเท่า กับอายุของจิตดวงเดียวคือ ๓ อนุขณะ เท่านั้น ส่วนลักขณะรูป ๔ นั้น อุปจยรูป กับ สันตติรูป เป็นรูปที่ขณะแรกเกิด คือ อุปาทขณะ มีอายุเพียง ๑ อนุขณะเท่านั้น ไม่ถึง ๕๑ ขณะ ชรตารูป เป็นรูปที่ตั้ง อยู่คือ ฐีติขณะ มีอายุ ๔๙ อนุขณะเท่านั้นไม่ถึง ๕๑ ขณะ และอนิจจตารูปที่กำลังดับไป คือ ภังคขณะ ก็มีอายุเพียง ๑ อนุขณะ ไม่ถึง ๕๑ ขณะ เป็นอันว่าลักขณะ รูปทั้ง ๔ นี้ แต่ละรูปมีอายุไม่ถึง ๕๑ อนุขณะ แม้แต่สักรูปหนึ่ง ก็ไม่มีอายุถึง ๕๑ อนุขณะ เพื่อให้เข้าใจความหมายและการนับจำนวน จิตตุปปาทะ วิถีจิต และ ขณะจิต ได้ง่ายเข้า ดูภาพประกอบคำอธิบายข้างต้นดังนี้ หน้า ๗ อติมหันตารมณ์วิถี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ขณะจิต ๑๗ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ จิตตุปปาทะ ๑๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ วิถีจิต ๗ มหันตารมณ์วิถี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ขณะจิต ๑๗ ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ จิตตุปปาทะ ๑๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ วิถีจิต ๖ ปริตตารมณ์วิถี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ขณะจิต ๑๗ ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ภ ภ ภ ภ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ จิตตุปปาทะ ๗ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ วิถีจิต ๕ อติปริตตารมณ์วิถี ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ขณะจิต ๑๗ ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ภ ภ ภ ภ จิตตุปาทะ และวิถีจิต ไม่มีเลย วิภูตารมณ์วิถี น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต ภ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ จิตตุปปาทะ ๑๐ ๑ ๒ ๓ วิถีจิต ๓ หน้า ๘ อวิภูตารมณ์วิถี น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ ภ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ จิตตุปปาทะ ๘ ๑ ๒ วิถีจิต ๒ ความหมายของอักษรย่อ ตี = อตีตภวังค, น = ภวังคจลนะ, ท = ภวังคุ ปัจเฉทะ, ป = ปัญจทวาราวัชชนะ, วิ = ปัญจวิญญาณ, สํ = สัมปฏิจฉันนะ, สัน = สันตีรณะ, วุ = โวฏฐัพพนะ, ช = ชวนะ, ต = ตทาลัมพนะ, ภ = ภวังค, มโน = มโนทวาราวัชชนะ อนึ่ง อติมหันตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี ปริตตารมณ์วิถี และอติปริตตารมณ์ วิถี เป็นวิถีที่เกิดทางปัญจทวาร ซึ่งต้องมีรูปธรรมเป็นอารมณ์แน่นอน อายุของ รูปธรรมนั้นมี ๑๗ ขณะจิต จึงแสดงจิต ๑๗ ดวง เท่าอายุของรูปธรรมที่มา เป็นอารมณ์ ส่วนวิภูตารมณ์วิถี และอวิภูตารมณ์วิถีนั้น เป็นวิถีที่เกิดทางมโนทวาร มี รูปธรรมเป็นอารมณ์ก็ได้ มีนามธรรมหรือบัญญัติเป็นอารมณ์ก็ได้ จึงไม่ได้แสดงจิต ถึง ๑๗ ขณะ จำแนกวิถี ในวิถีสังคหะนี้ จำแนกวิถีออกไปตามประเภทของจิต คือ วิถีของจิตประเภท กามาวจร ก็เรียก กามวิถี วิถีของจิตประเภทมหัคคต ก็เรียกว่า โลกียอัปปนาวิถี หรือ มหัคคตวิถี วิถีของจิตประเภทโลกุตตร ก็เรียกว่า โลกุตตรอัปปนาวิถี หรือ โลกุตตรวิถี ในกามวิถียังแยกเป็น ๒ คือ กามวิถีทางปัญจทวาร และกามวิถีทางมโน ทวาร กามวิถีทางปัญจทวารก็แจกเป็น อติมหันตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี ปริต ตารมณ์วิถี และอติปริตตารมณ์วิถี ส่วนกามวิถีทางมโนทวารก็แจกเป็น วิภูตารมณ์วิถี และอวิภูตารมณ์วิถี ในอติมหันตารมณ์วิถี มี ๑ นัย มหันตารมณ์วิถี มี ๒ นัย ปริตตารมณ์วิถี มี ๖ นัย และอติปริตตารมณ์วิถี มี ๖ นัย รวมกามวิถีทางปัญจทวาร แต่ละทวารมี ๑๕ นัย ๕ ทวาร ก็เป็น ๗๕ นัย ดูภาพต่อไปนี้ประกอบด้วย จะทำให้เข้าใจได้ง่ายเข้า หน้า ๙ วิถี | ----------------------------------------------------------------------------------------- | | กามวิถี อัปปนาวิถี | | ----------------------------------- ---------------------------------- ปัญจทวารวิถี มโนทวารวิถี โลกียอัปปนาวิถี โลกุตตรอัปปนาวิถี อติมหันตารมณ์วิถี ๑ นัย วิภูตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี ๒ นัย อวิภูตารมณ์วิถี ปริตตารมณ์วิถี ๖ นัย อติปริตตารมณ์วิถี ๖ นัย รวม ๑๕ นัย ๕ ทวาร เป็น ๗๕ นัย กามวิถี อติมหันตารมณ์วิถี นัยเดียว ตทาลัมพนวาระ ๑. ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต มหันตารมณ์วิถี ๒ นัย ชวนวาระ ๑. ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๒. ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ปริตตารมณ์วิถี ๖ นัย โวฏฐัพพนวาระ ๑. ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ภ ภ ภ ภ ๒. ตี ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ภ ภ ภ ๓. ตี ตี ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ภ ภ ๔. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ภ ๕. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ วุ ๖. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ วุ หน้า ๑๐ อติปริตตารมณ์วิถี ๖ นัย โมฆวาระ ๑. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ภ ภ ภ ภ ๒. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ภ ภ ภ ๓. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ภ ภ ๔. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ภ ๕. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น ภ ๖. ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี ตี น น วิภูตามณ์วิถี ตทาลัมพนวาระ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต อวิภูตารมณ์วิถี ชวนวาระ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ปัญจทวารวิถี ปัญจทวารวิถี อยู่ในประเภท กามวิถี อย่างเดียว เพราะอัปปนาวิถีไม่เกิดทางปัญจทวารเลย ปัญจทวารวิถี คือ วิถีจิตที่ปรากฏอารมณ์ทางปัญจทวารเท่านั้น ปัญทวารวิถีนี้ มีคาถาสังคหะที่ ๓ แสดงว่า ๓. วิถีจิตฺตานิ สตฺเตว จิตฺตุปฺปาทา จตุทฺทส จตุปญฺญาส วิตฺถารา ปญฺจทฺวาเร ยถารหํ ฯ แปลความว่า วิถีจิตที่ปรากฏอารมณ์ทางปัญจทวารนั้น กล่าวโดยวิถีจิต แล้วมี ๗ กล่าวโดยจิตตุปปาทะ แล้วมี ๑๔ กล่าวโดยพิสดาร แล้วมี ๕๔ อธิบาย ปัญจทวารวิถี กล่าวโดยวิถีจิต คือ จิตที่นับเป็นวิถีแล้ว มี ๗ ได้แก่ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑, ทวิปัญจวิญญาณจิตดวงใดดวงหนึ่งแล้วแต่อารมณ์ที่มา ปรากฏ ๑, สัมปฏิจฉันนจิต ๑, สันตีรณจิต ๑, โวฏฐัพพนจิต ๑, ชวนจิต ๑, และ ตทาลัมพนจิต ๑ เมื่อกล่าวโดยจิตตุปปาทะ คือ ตามจำนวนจิตที่เกิดขึ้นแล้วมี ๑๔ ได้แก่ ปัญจ ทวาราวัชชนจิตเกิดขึ้น ๑ ดวง ทวิปัญจวิญญาณจิตเกิดขึ้น ๑ ดวง สัมปฏิจฉันนจิต เกิดขึ้น ๑ ดวง สันตีรณจิตเกิดขึ้น ๑ ดวง โวฏฐัพพนจิตเกิดขึ้น ๑ ดวง ชวนจิตเกิด ขึ้น ๗ ดวง (คือ ๗ ขณะ) และตทาลัมพนจิตเกิดขึ้น ๒ ดวง (คือ ๒ ขณะ) ดังนี้ จึงรวมเป็น ๑๔ การนับจำนวนวิถีจิตก็ดี การนับจำนวนจิตตุปปาทะก็ดี ได้แสดงเป็นภาพเพื่อ ให้เห็นได้ง่าย ที่หน้า ๗-๘ ขอให้พลิกไปดูประกอบด้วย ถ้ากล่าวโดยพิสดารแล้วมี ๕๔ นั้น หมายความว่า บรรดาจิตที่อาจจะเกิดขึ้น ในปัญจทวารวิถีได้มีทั้งหมดรวม ๕๔ ดวง หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า ปัญจทวารวิถี มีจิตที่จะเกิดได้ถึง ๕๔ ดวง ซึ่งจิตทั้ง ๕๔ ดวงนี้ ล้วนแต่เป็น กามจิต ทั้งนั้น คือ วิถีจิตที่เรียกว่า ปัญจทวาราวัชชนจิต มีจิตที่เกิดได้คือ ปัญจทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง วิถีจิตที่เรียกว่า ปัญจวิญญาณจิต มีจิตที่เกิดได้คือ ทวิปัญจวิญญาณจิต ๑๐ ดวง วิถีจิตที่เรียกว่า สัมปฏิจฉันนจิต มีจิตที่เกิดได้คือ สัมปฏิจฉันนจิต ๒ ดวง วิถีจิตที่เรียกว่า สันตีรณจิต มีจิตที่เกิดได้คือ สันตีรณจิต ๓ ดวง วิถีจิตที่เรียกว่า โวฏฐัพพนจิต มีจิตที่เกิดได้คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง วิถีจิตที่เรียกว่า ชวนจิต มีจิตที่เกิดได้คือ กามชวนจิต ๒๙ ดวง วิถีจิตที่เรียกว่า ตทาลัมพนจิต มีจิตที่เกิดได้คือ ตทาลัมพนจิต ๑๑ ดวง รวมตัวเลขได้ ๕๗ แต่ต้องหัก สันตีรณจิต ๓ ซึ่งรวมอยู่ในตทาลัมพนจิต ๑๑ อีกด้วยนั้นออกเสีย เพราะซ้ำกัน จึงคงเหลือ ๕๔ ดวง ทั้ง ๕๔ ดวงนี้ เป็นกามจิต ทั้งสิ้น แสดงเป็นภาพได้ดังนี้ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๑ ๑๐ ๒ ๓ ๑ กามชวน ๒๙ ๑๑ รวมกามจิต ๕๔ร อนึ่ง ที่แสดงว่า ปัญจทวารวิถี กล่าวโดยวิถีจิตมี ๗ กล่าวโดยจิตตุปปาทะมี ๑๔ กล่าวโดยพิสดารมี ๕๔ นั้น เป็นการแสดงส่วนรวมถึงจำนวนอย่างมากที่จะ พึงมีพึงเป็นไปได้ ขณะจิตในอติมหันตารมณ์วิถี อติมหันตารมณ์วิถี เป็นวิถีจิตที่เกิดทางปัญจทวาร มีถึง ๑๗ ขณะจิต ตาม ลำดับดังต่อไปนี้ หน้า ๑๒ ขณะที่ ๑ อตีตภวังค เป็นภวังคจิตดวงแรกที่กระทบกับอารมณ์ใหม่ หรือ กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า อารมณ์ใหม่มากระทบกับภวังคจิตดวงใด ภวังคจิตดวงนั้นได้ชื่อ ว่า อตีตภวังค ดังได้กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า ภวังคจิตมี กรรมอารมณ์ หรือกรรมนิมิตอารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง อันเป็นอารมณ์ที่ได้มาจากภพก่อน ซึ่งขอ สมมติเรียกว่าอารมณ์เก่า อตีตภวังคก็คงมีอารมณ์เก่า ยังไม่ได้รับอารมณ์ใหม่ เป็น แต่เพียงอารมณ์ใหม่มากระทบเท่านั้นเอง ดังนั้น จิตดวงนี้จึงยังไม่เรียกว่า วิถีจิต ขณะที่ ๒ ภวังคจลนะ เป็นภวังคจิตที่ไหวตัว เพราะเหตุที่มีอารมณ์ใหม่ มากระทบ แต่ยังคงเป็นภวังคจิตที่มีอารมณ์เก่าอยู่ จึงยังไม่เรียกว่าวิถีจิตเหมือนกัน ขณะที่ ๓ ภวังคุปัจเฉทะ เป็นภวังคจิตที่ตัดกระแสภวังค คือ ปล่อยอารมณ์ เก่า วางอารมณ์เก่า เพื่อรับอารมณ์ใหม่ที่มากระทบนั้นต่อไป ภวังคุปัจเฉทะนี้ ก็ยัง คงเป็นภวังคจิตที่มีอารมณ์เก่าอยู่ จึงยังไม่เรียกว่าวิถีจิตเช่นเดียวกัน อตีตภวังค ภวังคจลนะ และ ภวังคุปัจเฉทะ ทั้ง ๓ ขณะ ที่กล่าวมานี้ ได้แก่ ภวังคจิตดวงเดียวกัน ดวงใดดวงหนึ่งในจำนวนภวังคจิต ๑๕ ดวง (เว้นอรูป วิปากจิต ๔) ขณะที่ ๔ ปัญจทวาราวัชชนะ เป็นกิริยาจิตก็เกิดขึ้น เพื่อพิจารณาอารมณ์ ใหม่ที่มากระทบนั้น ว่าเป็นอารมณ์ที่มาทางทวารไหน จะได้เป็นปัจจัยให้สัญญาณแก่ วิญญาณจิตทางทวารนั้น ปัญจทวาราวัชชนจิตนี้เป็นปฐมวิถีจิต คือ เป็นจิตดวงแรกที่ขึ้นวิถี หรือที่นับ เป็นวิถี เพราะจิตดวงนี้ได้รับอารมณ์ใหม่แล้ว และจิตดวงต่อ ๆ ไป ก็รับอารมณ์ ใหม่ และนับเป็นวิถีจิต จนกว่าจะสุดวิถี คือ กลับเป็นภวังคไปตามเดิม ขณะที่ ๕ ปัญจวิญญาณ ก็เกิดขึ้นตามควรแก่อารมณ์ คือ เป็น รูปารมณ์ จักขุวิญญาณ ก็เกิดขึ้น เห็นรูปนั้น เป็น สัททารมณ์ โสตวิญญาณ ก็เกิดขึ้น ได้ยินเสียงนั้น เป็น คันธารมณ์ ฆานวิญญาณ ก็เกิดขึ้น รู้กลิ่นนั้น เป็น รสารมณ์ ชิวหาวิญญาณ ก็เกิดขึ้น รู้รสนั้น เป็น โผฏฐัพพารมณ์ กายวิญญาณ ก็เกิดขึ้น รู้สึกในสัมผัสนั้น หน้า ๑๓ ขณะที่ ๖ สัมปฏิจฉันนะ ก็เกิดขึ้นรับอารมณ์จากปัญจวิญญาณเสนอต่อไป ยังสันตีรณะ ขณะที่ ๗ สันตีรณะ เกิดขึ้นไต่สวนอารมณ์นั้น ว่าดีหรือไม่ประการใด ขณะที่ ๘ โวฏฐัพพนะ คือ มโนทวาราวัชชนจิต ที่ทำหน้าที่ โวฏฐัพพนกิจ ทางปัญจทวารนี้ก็เกิดขึ้น ตัดสินและกำหนดให้เป็นไป กุสล หรือ อกุสล หรือกิริยา ตามควรแก่ มนสิการ และบุคคล ขณะที่ ๙ ถึงขณะที่ ๑๕ รวม ๗ ขณะ เป็น ชวนจิต ทั้ง ๗ ขณะ เกิดขึ้น เสพอารมณ์นั้นเป็นกุสล อกุสล กิริยา ตามที่โวฏฐัพพนะได้ตัดสินและกำหนดมานั้นแล้ว เสพให้เป็นกุสลก็เป็นกุสลทั้ง ๗ ขณะ ให้เป็นอกุสลหรือกิริยาอย่างใดก็เป็น อย่างนั้นแต่อย่างเดียวตลอดทั้ง ๗ ขณะ ชวนจิตที่เกิดได้ในวิถีนี้ ได้เฉพาะกามชวนจิต ๒๙ ดวงเท่านั้น ขณะที่ ๑๖ และ ๑๗ ตทาลัมพนะ ก็เกิดขึ้นยึดหน่วงอารมณ์ที่เหลือจาก ชวนะนั้นอีก ๒ ขณะ เป็นอันครบ ๑๗ ขณะจิต เป็นอันสิ้นสุดวิถี และสิ้นอายุของอารมณ์ใหม่นั้น ด้วยพอดี แล้วก็กลับเป็นภวังคจิต รับอารมณ์ต่อไปตามเดิม ขณะจิตในมหันตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี เป็นวิถีจิตทางปัญจทวาร มี ๒ นัย มีขณะจิตเหมือนกับ อติมหันตารมณ์วิถีทุกประการ เว้นแต่ ก. มหันตารมณ์วิถีนัยที่ ๑ มีอตีตภวังค ๒ ขณะ นัยที่ ๒ มีอตีตภวังค ๓ ขณะ ที่มีอตีตภวังคมากขณะ ก็เพราะว่า วัตถุ ๕ (คือปสาทรูป ๕) และปัญจารมณ์ นั้นบกพร่องหรืออ่อน อารมณ์นั้นจึงต้องกระทบกับภวังคจิตหลาย ๆ ครั้ง ภวังคจิต จึงจะรู้สึกตัวไหวตัวได้ ข. ไม่มีตทาลัมพนะภายหลังชวนะ (ดูภาพที่หน้า ๗ ประกอบด้วย) กล่าวคือ เมื่อชวนะเสพอารมณ์ครบ ๗ ขณะ แล้วก็เป็นภวังคจิตรับอารมณ์เก่าไปเลย ทั้งนี้ เพราะอารมณ์นั้นหมดอายุ จึงดับไปไม่เหลือพอให้เกิดตทาลัมพนะได้ ๒ ขณะ หน้า ๑๔ ขณะจิตในปริตตารมณ์วิถี ปริตตารมณ์วิถี เป็นวิถีจิตทางปัญจทวาร มี ๖ นัย นัยที่ ๑ มี อตีตภวังค ๔ ขณะ มีภวังคจิตข้างหลังวิถีจิต ๔ ขณะ นัยที่ ๒ มี อตีตภวังค ๕ ขณะ มีภวังคจิตข้างหลังวิถีจิต ๓ ขณะ นัยที่ ๓ มี อตีตภวังค ๖ ขณะ มีภวังคจิตข้างหลังวิถีจิต ๒ ขณะ นัยที่ ๔ มี อตีตภวังค ๗ ขณะ มีภวังคจิตข้างหลังวิถีจิต ๑ ขณะ นัยที่ ๕ มี อตีตภวังค ๘ ขณะ ไม่มีภวังคจิตข้างหลังมีแค่โวฏฐัพพนะ ๓ ขณะ นัยที่ ๖ มี อตีตภวังค ๙ขณะไม่มีภวังคจิตข้างหลังและมีโวฏฐัพพนะเพียง ๒ ขณะ ปริตตารมณ์วิถีนี้ มีจิตตุปปาทะ หรือวิถีจิตเพียงแค่โวฏฐัพพนะเท่านั้น ทั้งนี้ เพราะวัตถุ ๕ หรือปัญจารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองอย่างบกพร่องมาก จึงรับอารมณ์ได้ไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งพอที่จะตัดสิน และกำหนดลงไปได้ว่า ควรจะเป็นอย่างไร ขณะจิตในอติปริตตารมณ์วิถี อติปริตตารมณ์วิถี เป็นวิถีจิตทางปัญจทวาร ที่มีอารมณ์อ่อนที่สุด อารมณ์ กระทบกับภวังคจิตหลายครั้ง ภวังคจิตนั้นจึงรู้สึกตัว ไหวตัว และเป็นแต่แว่ว ๆ ไหว ๆ เพียงแต่ ๒ ขณะเท่านั้นยังไม่ทันรู้ว่าอะไรเป็นอะไรก็ปล่อยวางอารมณ์ใหม่ กลับไปทำหน้าที่ภวังค มีอารมณ์เก่าไปตามเดิมอีก มี ๖ นัย มีอตีตภวังคตั้งแต่ ๑๐ ขณะ ขึ้นไปจนถึง ๑๕ ขณะ แล้วมีภวังค จลนะ คือไหวตัว ๒ ขณะเท่านั้น (ดูภาพที่หน้า ๙-๑๐ ประกอบด้วย) ไม่มีแม้แต่จิตตุป ปาทะ หรือวิถีจิตเลย ถึงกระนั้นก็ยังเรียกว่าวิถี เพราะได้มีอารมณ์ใหม่มากระทบกับ ภวังคจิตแล้ว จนถึงกับไหวตัวเป็นภวังคจลนะ มีข้อที่ควรสังเกตว่า วิถีใดมีอตีตภวังคน้อยขณะ วิถีนั้นก็มีอารมณ์ชัดเจนแจ่ม แจ้งมาก มีจิตตุปปาทะมาก มีวิถีจิตมาก แต่ถ้ามีอตีตภวังคมากขณะเท่าใด ก็แสดง ว่าวิถีนั้นก็มีอารมณ์ชัดน้อยลง มีจิตตุปปาทะน้อยลง มีวิถีจิตน้อยลงเท่านั้น จนถึงกับไม่มีเลย ชื่อของวาระแห่งปัญจทวารวิถี อติมหันตารมณ์วิถี มีวิถีจิตสิ้นสุดลงที่ ตทาลัมพนจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า ตทาลัมพนวาระ มหันตารมณ์วิถี มีวิถีจิตสิ้นสุดลงที่ ชวนจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า ชวนวาระ หน้า ๑๕ ปริตตารมณ์วิถี มีวิถีจิตสิ้นสุดลงที่ โวฏฐัพพนจิต ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า โวฏฐัพพนวาระ อติปริตตารมณ์วิถี เป็นวิถีที่มีแต่เพียง อตีตภวังค และภวังคจลนะ ไม่มีจิต ขึ้นวิถี ยังไม่ทันมีวิถีจิตเลย ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า โมฆะวาระ เป็นวาระที่เปล่า ที่ว่าง ที่ไม่มีประโยชน์ กุสลวิบาก และ อกุสลวิบาก เมื่อได้ดูตามวิถีจิตแล้ว จะเห็นได้ว่าจิตในวิถี ๔ ประเภท คือ ปัญจวิญญาณ จิต ๑, สัมปฏิจฉันนจิต ๑, สันตีรณจิต ๑ และ ตทาลัมพนจิต ๑ ล้วนแต่เป็น วิบากจิตทั้งสิ้น วิบากจิตเหล่านี้เป็นผลของกุสล และอกุสล จิตนั้นจะเป็นกุสลวิบาก หรืออกุสลวิบาก ก็ย่อมแล้วแต่อารมณ์ที่จิตนั้นประสบ กล่าวคือ ๑. เมื่อประสบกับ อติอิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ดีมากแล้ว ปัญจวิญญาณจิต สัมปฏิจฉันนจิต สันตีรณจิต และตทาลัมพนจิต ย่อมเป็น กุสลวิบาก ทั้งสิ้น โดยเฉพาะ สันตีรณจิต และ ตทาลัมพนจิต ย่อมเกิดพร้อมด้วย โสมนัสเวทนา เสมอ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต กุสลวิบาก อุเบกขา กุสลวิบาก อุเบกขา กุสลวิบาก โสมนัส กุสลวิบาก อุเบกขา (สำหรับกายวิญญาณ ก็เป็นสุขเวทนา ไม่ใช่อุเบกขาเวทนา) ๒. เมื่อประสบกับ อิฏฐารมณ์ คืออารมณ์ที่ดีแล้ว จิตทั้ง ๔ ประเภทนี้ ก็เป็น กุสลวิบากเช่นเดียวกัน แต่ สันตีรณจิต และ ตทาลัมพนจิต ย่อมเกิดพร้อมด้วย อุเบกขาเวทนา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต กุสลวิบาก อุเบกขา กุสลวิบาก อุเบกขา กุสลวิบาก อุเบกขา กุสลวิบาก อุเบกขา (สำหรับกายวิญญาณ ก็เป็นสุขเวทนา ไม่ใช่อุเบกขา) ๓. เมื่อประสบกับ อนิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ไม่ดีแล้ว จิตทั้ง ๔ ประเภท นั้น เป็นอกุสลวิบาก อันเกิดพร้อมด้วย อุเบกขาเวทนา แต่อย่างเดียว ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต อกุสลวิบาก อุเบกขา อกุสลวิบาก อุเบกขา อกุสลวิบาก อุเบกขา อกุสลวิบาก อุเบกขา (สำหรับกายวิญญาณ ก็เป็นทุกขเวทนา ไม่ใช่อุเบกขา) หน้า ๑๖ อิฏฐารมณ์ หรือ อนิฏฐารมณ์ การที่จะทราบว่าธรรมใดเป็น อิฏฐารมณ์ และธรรมใดเป็น อนิฏฐารมณ์ นั้น มีหลักกว้าง ๆ ที่จะพิจารณาได้พอประมาณดังนี้ คือ ก. ธรรมใดเป็นกุสล เกิดมาจากกุสล หรือ เนื่องด้วยกุสล ธรรมนั้น ๆ เป็น อิฏฐารมณ์ ข. ธรรมใดเป็นอกุสล เกิดมาจากอกุสล หรือ เนื่องด้วยอกุสล ธรรมนั้น ๆ เป็น อนิฏฐารมณ์ แม้กระนั้นก็ยังไม่เป็นการตายตัว เช่น สุนัขเน่า ตามสภาพก็เป็นอนิฏฐารมณ์ เพราะดูก็น่าเกลียด กลิ่นก็น่าชัง แต่ว่าเป็นที่ชอบใจ และเป็นอาหารอันโอชาของ กาและแร้ง ก็ถือว่าเป็นอิฏฐารมณ์ของกาของแร้ง และเรียกว่าเป็น ปริกัปปอิฏฐา รมณ์ (ปริกัปป แปลว่า กำหนดว่า หรือสำคัญว่า) เพราะแร้งและกากำหนดว่า หรือสำคัญว่า สุนัขเน่านั้นเป็นของดีของมัน ในทางตรงกันข้าม ทุเรียน ใคร ๆ ก็ชอบกลิ่นและชอบกิน แต่ว่าบางคน ไม่ชอบก็มี ดังนั้นทุเรียนก็เป็น ปริกัปปอนิฏฐารมณ์ของผู้นั้น เพราะผู้นั้นกำหนดว่า สำคัญว่า ทุเรียนเป็นของไม่ดีสำหรับเขาโดยเฉพาะ ในการที่จะตัดสินว่า ธรรมใดเป็นอิฏฐารมณ์หรืออนิฏฐารมณ์นี้ มีทางพิจารณา ได้หลายแง่หลายมุม ท่านอรรถกถาจารย์และฎีกาจารย์ จึงได้แสดงแนวทางในการ พิจารณาในเรื่องนี้ไว้ ๕ ประการ คือ ๑. พิจารณาโดย วิบากจิต ๒. พิจารณาโดย มัชฌัตตบุคคล ๓. พิจารณาโดย ทวาร ๔. พิจารณาโดย อารมณ์ ๕. พิจารณาโดย กาละ ๑. พิจารณาโดยวิบากจิต ถ้าวิบากจิตที่เกิดขึ้นรับอารมณ์นั้นเป็นกุสลวิบาก แล้ว อารมณ์นั้นต้องเป็นอิฏฐารมณ์แน่นอน และถ้าวิบากจิตที่เกิดขึ้นรับอารมณ์นั้น เป็นอกุสลวิบากแล้ว อารมณ์นั้นก็ต้องเป็น อนิฏฐารมณ์แน่นอน ในการใช้วิบากจิตเป็นเครื่องพิจารณา เป็นเครื่องตัดสินว่าอารมณ์นั้นเป็น อิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์นี้ ข้อสำคัญอยู่ที่ว่า ปุถุชนธรรมดาสามัญจะทราบได้อย่างไรว่า หน้า ๑๗ วิบากจิตของใคร หรือแม้แต่ของตนเองเป็นกุสลวิบาก หรืออกุสลวิบาก ข้อนี้ท่านมุ่งหมายที่จะแสดงให้ทราบว่า ในการใช้วิบากจิตเป็นเครื่องตัดสินนี้ เป็น ธัมมาธิฏฐาน คือเป็นสภาพธรรมที่เที่ยงแท้แน่นอน ไม่มีทางผันแปรไปเป็น อย่างอื่นได้เลยนั้น ประการหนึ่ง อีกประการหนึ่ง ก็เพื่อแสดงให้ทราบต่อไปว่า จะใช้ชวนจิตเป็นเครื่องตัดสินหาได้ไม่ เพราะแม้ว่าอารมณ์นั้นจะเป็นอิฏฐารมณ์ เป็นอารมณ์ที่ดี ชวนจิตก็อาจเป็นโทสะ คือไม่ชอบก็ได้ ตรงกันข้าม แม้ว่าอารมณ์ นั้นจะเป็นอนิฏฐารมณ์ เป็นอารมณ์ที่ไม่ดี แต่ชวนจิตอาจเป็นโลภะ คือชอบใจ ติดใจ ก็มีได้มากเหมือนกัน ๒. พิจารณาโดยมัชฌัตตบุคคล คือ บุคคลชั้นกลาง ๆ อย่างธรรมดาสามัญ ทั่ว ๆ ไปเป็นเครื่องตัดสิน เพราะว่าโดยปกติบุคคธรรมดาสามัญโดยทั่ว ๆ ไป ย่อม เห็นวัตถุสิ่งใดเป็นไปทำนองเดียวกัน สิ่งใดดี ก็ว่าดี และชอบใจติดใจเหมือนๆกัน สิ่งใดไม่ดีก็ว่าไม่ดี ไม่ชอบใจคล้าย ๆ กัน แต่บุคคลชั้นต่ำ หรือสัตว์เดรัจฉาน แม้ว่าจะเห็นวัตถุสิ่งใดที่ไม่ดี เช่น อาหาร ที่มีกลิ่นจวนจะบูด หรือถึงกับบูดแล้ว ก็ยังเห็นว่าเป็นของที่ดีมาก ติดใจ ชอบใจ เต็มใจกิน ส่วนบุคคลชั้นสูง เมื่อได้เห็นวัตถุสิ่งใดที่ใคร ๆ เขาก็ว่าดีแล้ว ก็มักจะถือว่า ไม่ใช่ของดิบของดีอะไร เพราะตนเคยประสบกับวัตถุสิ่งของที่ดียิ่งกว่านั้นมามากกว่ามากนัก ดังนั้น จึงต้องอาศัย มัชฌัตตบุคคล เป็นเครื่องพิจารณาตัดสิน ๓. พิจารณาโดยทวาร เป็นเครื่องตัดสิน วัตถุสิ่งของโดยมาก เมื่อมากระทบ กับทวารทั้ง ๖ แล้ว ย่อมให้ความรู้สึกแตกต่างกัน ทวารใดรู้สึกว่าดีใจ ชอบใจ ก็เป็นอิฏฐารมณ์ของทวารนั้น ทวารใดรู้สึกว่าไม่ดี ไม่ชอบใจ ก็เป็นอนิฏฐารมณ์ของทวารนั้น เช่น พริก เมื่อว่าโดยจักขุทวารแล้ว ก็เป็นอิฏฐารมณ์ เพราะรูปก็งาม สีก็สวย แดงสด น่าดู เมื่อว่าโดยชิวหาทวารแล้ว ผู้ชอบเผ็ดก็กลับเป็นอิฏฐารมณ์ เพราะ อร่อยและชูรสหนักหนา เมื่อว่าโดยกายทวารแล้วกลับเป็นอนิฏฐารมณ์ เพราะทำให้ปวดแสบปวดร้อน ยิ่งที่ลูกตาก็ทำให้แสบตา ถึงกับน้ำตาไหลได้ เมื่อว่าโดยมโนทวาร ย่อมแล้วแต่ว่า มโนทวารนั้นเกิดต่อจากทวารใด เช่น ตัวอย่างนี้ มโนทวาร นั้น เกิดต่อจากจักขุทวารที่มีอารมณ์เป็นอิฏฐารมณ์ ก็เป็นอิฏฐารมณ์ด้วย เกิดต่อ จากกายทวารที่มีอารมณ์เป็นอนิฏฐารมณ์ ก็เป็นอนิฏฐารมณ์ด้วย ๔. พิจารณาโดยอารมณ์ เช่นบุคคลบางคน ว่าโดยรูปารมณ์และสัททารมณ์ แล้ว ก็เป็นอิฏฐารมณ์ เพราะรูปร่างงดงาม เสียงก็ไพเราะ แต่ว่าโดยธัมมารมณ์ คือ นิสสัยใจคอ ก็เป็นอนิฏฐารมณ์ เพราะเป็นนักย่องเบาตัวยงดอกไม้บางอย่าง ว่าโดย รูปารมณ์ คือ สี ก็เป็นอิฏฐารมณ์ เป็นที่น่าชม น่าพอใจ แต่เมื่อว่าโดยคันธารมณ์ แล้ว กลับเป็นอนิฏฐารมณ์ เพราะมีกลิ่นเหม็น หน้า ๑๘ ๕. พิจารณาโดยกาละ เช่น องคุลีมาล ในเวลาที่เที่ยวฆ่าคนจะให้ครบพัน นั้น เป็นอนิฏฐารมณ์ แต่ในเวลาที่มาอุปสมบทแล้วเป็นอิฏฐารมณ์ ปลาดุก เวลาที่ยังสดอยู่ เหม็นคาว ในกาละนั้นเป็นอนิฏฐารมณ์ แต่พอได้ย่าง สุกแล้ว หอมน่ากิน ในกาละนั้นเป็นอิฏฐารมณ์ ปลาดุกที่ย่างสุกแล้วนี้แหละ เวลาที่เราสบายดีก็หอมน่ากิน ในกาละนั้นเป็น อิฏฐารมณ์ ครั้นเวลาที่เราเป็นไข้ปวดหัวตัวร้อน ปลาดุกย่างที่ว่าหอมน่ากินนั้น กลับ เหม็นและเบื่อจนกินไม่ได้เลย ในกาละนั้นปลาดุกย่างกลับเป็นอนิฏฐารมณ์ ไฟ เวลาให้แสงสว่าง หรือให้ความร้อนในเวลาหุงต้มอาหาร ในกาละนั้นเป็น อิฏฐารมณ์ แต่ในเวลาที่เผาไหม้เนื้อเราจนพอง หรือขณะที่ไหม้บ้านเรือน ในกาละ นั้นเป็นอนิฏฐารมณ์ น้ำ เวลาที่ร้อนใช้อาบ เวลากระหายใช้ดื่ม ในกาละนี้ น้ำเป็นอิฏฐารมณ์ แต่ เวลาที่ไหลบ่ามาท่วมบ้านเรือนในกาละนั้นเป็นอนิฏฐารมณ์ มโนทวารวิถี (ในกามวิถี) อารมณ์ที่ปรากฏทาง ปัญจทวารวิถี ได้แก่ ปัญจารมณ์ คือ รูปารมณ์ สัททา รมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ และโผฏฐัพพารมณ์ ล้วนแล้วแต่เป็นรูปธรรมทั้งนั้น รวมเป็น ๗ รูปด้วยกัน คือ วัณณะ สัททะ คันธะ รสะ ปฐวี เตโช และ วาโย อารมณ์เหล่านี้ต้องเป็นปัจจุบัน คือ กำลังมีอยู่ด้วย จึงจะเป็นอารมณ์แก่ปัญจทวาร วิถีได้ ส่วนมโนทวารวิถี (ในที่นี้กล่าวเฉพาะที่เป็นกามวิถีเท่านั้น) ที่จะกล่าวต่อไป นี้ มีอารมณ์ได้ทั้ง ๖ คือ รูปารมณ์ สัททารมณ์ คันธารมณ์ รสารมณ์ โผฏฐัพพารมณ์ และธัมมารมณ์ ซึ่งมีรูปธรรม นามธรรม ทั้งที่ไม่ใช่รูปธรรม ไม่ใช่นามธรรม (คือ บัญญัติ)ด้วย ก็เป็นอารมณ์ให้แก่มโนทวารวิถีได้ทั้งสิ้น (ธัมมารมณ์นั้น ได้แก่ ปสาทรูป ๕, สุขุมรูป ๑๖, จิต ๘๙, เจตสิก ๕๒, นิพพานและบัญญัติ) อารมณ์ที่มาสู่มโนทวารวิถี อารมณ์ต่าง ๆ ที่มาสู่มโนทวารวิถีนั้น มีมาได้เป็น ๒ ทางด้วยกัน คือ รับ อารมณ์ต่อจากปัญจทวารวิถีนั้นทางหนึ่ง หน้า ๑๙ อารมณ์มาปรากฏทางใจโดยตรงโดยเฉพาะ อีกทางหนึ่ง อารมณ์ที่มาปรากฏทางใจโดยตรงโดยเฉพาะนั้น ตาม ปรมัตถทีปนีฎีกา แสดง ไว้ว่า มีเหตุ ๑๔ ประการ ทิฏฺฐโต ทิฏฺฐสมฺพนฺธโต สุตโต สุตสมฺพนฺธโต สทฺธาย รุจิยา อาการปริวิตกฺเกน ทิฏฺฐินิชฺฌานขนฺติยา นานากมฺมพเลน นานาอิทฺธิพเลน ธาตุกฺโขภวเสน เทวโตปสํหารวเสน อนุโพธวเสน ปฏิเวธเสนาติ จุทฺทส หิ การเณ หิ อารมฺมณธมฺมา สุทฺเธ มโนทฺวาเร อาปาตํ อาคจฺฉนฺติ ฯ ๑. ด้วยอำนาจที่เคยเห็น เคยพบ อารมณ์ทั้ง ๖ มาแล้ว (ทิฏฺฐโต) ๒. อารมณ์ทั้ง ๖ ที่กำลังปรากฏอยู่นั้น เหมือน ๆ กันกับที่เคยได้พบเคยเห็น มาแล้ว (ทิฏฺฐสมฺพนฺธโต) ๓. ด้วยอำนาจที่ได้เคยฟัง เคยเรียนมาแล้ว หรือขณะที่กำลังฟัง กำลังเรียน กำลังอ่านข้อความอยู่ (สุตโต) ๔. อารมณ์ทั้ง ๖ ที่กำลังปรากฏอยู่นั้นเหมือน ๆ กับที่เคยได้ฟัง เคยเรียน เคยอ่านมาแล้ว (สุตสมฺพนฺธโต) ๕. ด้วยอำนาจแห่งความ เชื่อในคำพูดของผู้อื่น (สทฺธาย) ๖. ด้วยอำนาจแห่งความ พอใจของตน (รุจิยา) ๗. ด้วยอำนาจแห่งความ นึกคิด โดยอาศัย เรื่องราว คำพูด เหตุผล (อาการปริวิตกฺเกน) ๘. ด้วยอำนาจแห่งการพิจารณาอารมณ์ต่าง ๆ ด้วยปัญญา และด้วยลัทธิของ ตน แล้วตัดสินลงไป (ทิฏฺฐินิชฺฌานขนฺติยา) ๙. ด้วยอำนาจแห่ง กรรมต่าง ๆ (นานากมฺมพเลน) ๑๐. ด้วยอำนาจแห่ง อิทธิฤทธิต่าง ๆ (นานาอิทฺธิพเลน) ๑๑. ด้วยอำนาจแห่ง ธาตุในร่างกาย มีน้ำดี เสมหะ น้ำเหลือง โลหิต ลม เหล่านี้ วิปริตไป (ธาตุกฺโขภวเสน) ๑๒. ด้วยอำนาจแห่ง เทวดามาดลใจ (เทวโตปสํหารวเสน) ๑๓. ด้วยอำนาจแห่ง การรู้ไปตามสมควรแก่ มัคคญาณ ผลญาณ (อนุโพธว เสน) ๑๔. ด้วยอำนาจแห่ง การรู้แจ้งในอริยสัจจ ๔ (ปฏิเวธวเสน) หน้า ๒๐ มโนทวารกามวิถี มีวิสยัปปวัตติ ๒ ปัญจทวารวิถี ที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น มีวิสยัปปวัตติ ๔ คืออติมหันตารมณ์ ๑ มหันตารมณ์ ๑ ปริตตารมณ์ ๑ และอติปริตตารมณ์ ๑ ส่วน มโนทวารกามวิถี ที่จะกล่าวต่อไปนี้ กล่าวเฉพาะตามหลักใน พระอภิธัมมัตถสังคหะ มีวิสยัปปวัตติ ๒ คือ วิภูตารมณ์ ๑ และ อวิภูตารมณ์ ๑ วิภูตารมณ์วิถี เป็นวิถีที่มีอารมณ์ปรากฏทางใจชัดเจนแจ่มแจ้งมากตามปกติ ก็มีวิถีจิตถึงตทาลัมพนะ อวิภูตารมณ์วิถี เป็นวิถีที่มีอารมณ์ปรากฏทางใจชัดเหมือนกัน แต่ว่าชัดน้อย กว่า อ่อนกว่าวิภูตารมณ์วิถี วิถีจิตจึงมีแต่ชวนะเท่านั้น ไม่ถึงตทาลัมพนะ จำนวนจิตในมโนทวารกามวิถี มโนทวารกามวิถี มีวิถีจิต จิตตุปปาทะ และจำนวนจิตพิสดารเท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะ เป็นคาถาที่ ๔ แสดงว่า ๔. วิถีจิตฺตานิ ตีเฌว จิตฺตุปฺปาทา ทเสริตา วิตฺถาเรน ปเนตฺเถก- จตฺตาฬีส วิภาวเย ฯ แปลความว่า อารมณ์ที่ปรากฏในมโนทวารกามวิถีนั้น กล่าวโดยวิถีจิต มี ๓ กล่าวโดยจิตตุปปาทะ มี ๑๐ กล่าวโดย จำนวนพิสดารแล้ว มี ๔๑ อธิบาย วิภูตารมณ์วิถี เป็นวิถีทางใจที่มีอารมณ์ชัดแจ้งมากนั้น มีขณะจิตดังนี้ คือ ภวังคจิตไหวตัวจะรับอารมณ์ใหม่ ๑ ขณะ เรียกว่า ภวังคจลนะ ภวังคจิตปล่อยอารมณ์ เพื่อรับอารมณ์ใหม่ต่อไป ๑ ขณะ เรียกว่า ภวังคุปัจเฉทะ แล้ว มโนทวาราวัชชนจิต ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะ รับอารมณ์ใหม่และตัดสิน กำหนดให้เป็น กุสล อกุสล ด้วยเสร็จ มโนทวาราวัชชนจิตนี้ เป็นปฐมวิถีจิตทาง มโนทวารกามวิถีต่อจากนั้น ชวนะ ก็เสพอารมณ์นั้น ๗ ขณะ และเพราะว่าอารมณ์นั้นชัดแจ้งมาก มีกำลังมาก ตทาลัมพนะ จึงต้องรับรู้ อารมณ์นั้นต่อจากชวนะอีก ๒ ขณะ จึงรวมเป็น ๑๒ ขณะจิตด้วยกัน หน้า ๒๑ กล่าวโดยวิถีจิต ก็มี ๓ คือ มโนทวาราวัชชนจิตอย่างหนึ่ง ชวนจิตอย่างหนึ่ง และตทาลัมพนจิตอีกอย่างหนึ่ง กล่าวโดยจิตตุปปาทะ มี ๑๐ คือ มโนทวาราวัชชนจิตเกิดขึ้น ๑ ครั้ง ชวนจิต เกิดขึ้น ๗ ครั้ง และตทาลัมพนจิตเกิดขึ้น ๒ ครั้ง กล่าวโดยพิสดาร คือ จำนวนจิตที่สามารถจะเกิดในวิถีนี้ได้นั้น ได้แก่ มโน ทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง กามชวนจิต ๒๙ ดวง และตทาลัมพนจิต ๑๑ ดวง รวม เป็น ๔๑ ดวงด้วยกัน กิริยาจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ วิบากจิต ๑๑ กามจิต ๔๑ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต ตทาลัมพนวาระ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ จิตตุปปาทะ ๑๐ ๑ ๒ ๓ วิถีจิต ๓ อวิภูตารมณ์วิถี เป็นวิถีทางใจที่มีอารมณ์ชัดเหมือนกัน แต่ว่าชัดน้อยกว่า อ่อนกว่า วิภูตารมณ์วิถี มีขณะจิตเกิดอย่างเดียวกับวิภูตารมณ์วิถี เป็นแต่มีถึงเพียง ชวนะเท่านั้น ไม่ตั้งอยู่จนถึงตทาลัมพนะ กล่าวคือ มี ภวังคจลนะ ภวังคไหว ๑ ขณะ, ภวังคุปัจเฉทะ ตัดกระแสภวังค ๑ ขณะ, มโนทวาราวัชชนะ ๑ ขณะ และ ชวนะ ๗ ขณะ รวมเป็น ๑๐ ขณะจิตเท่านั้น กล่าวโดยวิถีจิต มีเพียง ๒ คือ มโนทวาราวัชชนจิตอย่างหนึ่ง ชวนจิตอีก อย่างหนึ่ง กล่าวโดยจิตตุปปาทะ มี ๘ คือ มโนทวาราวัชชนจิตเกิดขึ้น ๑ ขณะ และ ชวนจิตเกิดขึ้น ๗ ขณะ กล่าวโดยพิสดาร คือ จำนวนจิตที่สามารถจะเกิดในวิถีนี้ได้นั้น ได้แก่ มโน ทวาราวัชชนจิต ๑ ดวง และ กามชวนจิต ๒๙ ดวง รวมเป็น ๓๐ ดวง ด้วยกัน กิริยาจิต ๑ กามชวนจิต ๒๙ กามจิต ๓๐ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ชวนวาระ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ จิตตุปปาทะ ๘ ๑ ๒ วิถีจิต ๒ อนึ่งมโนทวารกามวิถีนี้ มีจิตพิสดาร(จำนวนมากที่สุด) ๔๑ นั้นก็คือ กามจิต ๔๑ (เว้นทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ มโนธาตุ ๓) นั่นเอง ที่ต้องเว้นทวิปัญจวิญญาณ ๑๐ และ มโนธาตุ ๓ ก็เพราะจิต ๑๓ ดวงนี้เกิด ได้เฉพาะแต่ในปัญจทวารวิถีเท่านั้น จะเกิดทางมโนทวารวิถีไม่ได้ หน้า ๒๒ มโนทวารวิถี (กล่าวตามนัยแห่งพระอภิธัมมัตถสังคหะของพระอนุรุทธาจารย์ โดยเฉพาะ) ไม่มีอตีตภวังค เพราะอารมณ์ที่ปรากฏทางมโนทวารวิถีนี้ ไม่ได้กระทบ ภวังคจิตก่อนเหมือนกับปัญจทวารวิถี หากแต่จิตเกิดขึ้นก่อนแล้วจึงรับอารมณ์นั้น หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง ทางปัญจทวารวิถีนั้น อารมณ์เป็นปัจจัยมากระทบมากระตุ้น เตือนจิต ให้จิตไหวตัวขึ้นรับอารมณ์ ส่วนทางมโนทวารวิถีนั้น จิตไหวตัวหน่วงเอา อารมณ์นั้น ๆ มาเอง เนื่องจากการที่จิตไหวตัว หน่วงเอาอารมณ์นั้น ๆ มาเองดังกล่าวนี้ มโนทวารวิถีจึงมีกิจการงานที่จะต้องกระทำน้อยอย่าง วิถีจิตจึงมีน้อยเพียง ๓ อย่างเท่านั้น คือ ก. มโนทวาราวัชชนจิต ผู้ทำหน้าที่นำวิถี ได้หน่วงเอาอารมณ์นั้น ๆ มาเอง โดยตัดสินให้เป็นกุสล อกุสลเสร็จไปพร้อมกันในตัวเองทีเดียว อย่างที่ว่า ก่อเอง สานเอง หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่งว่า มโนทวาราวัชชนจิตได้คิดนึกเป็นกุสล อกุสลเอง ไม่มีจิตอื่นเป็นสื่อนำมาให้ ข. แล้วชวนจิตก็เกิดขึ้น เสพอารมณ์นั้นโดยความเป็นกุสล หรืออกุสล ตามที่ มโนทวาราวัชชนจิตได้กำหนดนึกนั้น ค. และเพราะว่าอารมณ์ชัดแจ้งมาก มีกำลังมาก ตทาลัมพนะจึงต้องรับรู้ อารมณ์นั้นต่อจากชวนจิตอีกทอดหนึ่งส่วนทางปัญจทวารวิถี มีจิตอื่นทำกิจของเขามาก่อน คือ รับรู้อารมณ์มาก่อน เป็นหลายทอดหลายหน้าที่ แล้วจึงเสนอถึงโวฏฐัพพนะ ก็คือ มโนทวาราวัชชนะ นั่นเอง เป็นผู้ตัดสินกำหนดให้เป็นกุสล หรืออกุสล ขอให้ดูภาพวิถีจิต(หน้า ๙-๑๐) ประกอบด้วย จะเห็นได้ว่า ปัญจทวารวิถีมีกิจการงานต้องกระทำหลายอย่าง มีวิถีจิต มากถึง ๗ อย่าง ชื่อของวาระแห่งมโนทวารกามวิถี วิภูตารมณ์วิถี เป็นวิถีทางใจที่มีอารมณ์ปรากฏชัดเจนแจ่มแจ้งมาก ตามปกติ ก็มีวิถีจิตถึงตทาลัมพนะ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า ตทาลัมพนวาระ อวิภูตารมณ์วิถี เป็นวิถีที่มีอารมณ์ปรากฏชัดทางใจเหมือนกัน แต่ว่าชัดน้อย กว่า อ่อนกว่า วิภูตารมณ์วิถี วิถีจิตจึงมีแค่ ชวนะ ดังนั้นจึงได้ชื่อว่า ชวนวาระ ข้อสังเกตในกามวิถี ในกามวิถีนี้ ไม่ว่าจะทางปัญจทวารวิถี หรือมโนทวารวิถี และไม่ว่าอารมณ์ นั้น จะชัดเจนแจ่มแจ้งมากหรือน้อยก็ตาม มีข้อที่ควรสังเกต คือ หน้า ๒๓ ก. กล่าวโดยอารมณ์ของแต่ละวิถี ในวิถีนั้นจะต้องมีอารมณ์แต่อย่างเดียว ตั้ง แต่เริ่มต้นวิถีจนสิ้นสุดวิถี ในวิถีเดียวจะมีอารมณ์หลายอย่างไม่ได้ เช่น ปัญจทวารา วัชชนะมีวัณณะเป็นอารมณ์ จักขุวิญญาณ สัมปฏิจฉันนะ สันตีรณะ โวฏฐัพพนะ ชวนะ ตลอดจนตทาลัมพนะ ก็มีวัณณะเป็นอารมณ์ เช่นเดียวกัน ดังนี้เป็นต้น ข. กล่าวโดยชวนะ ซึ่งตามปกติในวิถีหนึ่ง ย่อมมี ๗ ขณะ ชวนะทั้ง ๗ ขณะ นี้จะต้องเป็นจิตชาติเดียวกัน กล่าวคือถ้าเป็นชาติกุสล ก็เป็นกุสลชวนะทั้ง ๗ ขณะ เป็นชาติอกุสล ก็เป็นอกุสลชวนะทั้ง ๗ ขณะ เป็นชาติกิริยา ก็เป็นกิริยาชวนะทั้ง ๗ ขณะ ค. ชวนะทั้ง ๗ ขณะ ต้องเป็นชาติเดียวกันดังกล่าวในข้อ ข. แล้วนั้น ชวนะ ทั้ง ๗ ก็เป็นกามชวนะแต่อย่างเดียว ไม่มีมหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะ มาปะปนด้วยเลย ทั้งนี้ผิดกับอัปปนาวิถี ซึ่งจะได้กล่าวต่อไปข้างหน้า ตทนุวัตติกมโนทวารวิถี หรือ อนุพันธกมโนทวารวิถี ตทนุวัตติกมโนทวารวิถี หรือ อนุพันธกมโนทวารวิถี คือ มโนทวารวิถี ที่เกิดต่อจากปัญจทวารวิถี อันมีปรมัตถเป็นอารมณ์ เพื่อให้รู้เรื่องราวของบัญญัติ ตามโวหารของโลก จากปรมัตถอารมณ์นั้น ตทนุวัตติกมโนทวารวิถี หรือ อนุพันธกมโนทวารวิถี ที่เกิดติดต่อจากปัญจ ทวารวิถีนั้น มีอยู่ ๔ อย่าง หรือ ๔ วิถี คือ ๑. อตีตัคคหณวิถี เป็นวิถีที่รับอารมณ์ตามปัญจทวารวิถี ซึ่งปัญจทวารวิถีได้ ประสบมา แต่ว่าอารมณ์นั้นได้หมดอายุและดับไปแล้ว ปัญจทวารวิถีมีอารมณ์เป็นปรมัตถ และเป็นปัจจุบันอารมณ์ด้วย ส่วนอตีตัค คหณวิถี ก็มีอารมณ์เป็นปรมัตถ ซึ่งเป็นอารมณ์เดียวกับปัญจทวารวิถีนั้นเอง แต่ว่า เป็นอดีตอารมณ์ จักขุทวารวิถี มีอารมณ์เป็นปรมัตถ และเป็นปัจจุบันอารมณ์ ดังภาพนี้ ตี น ท ป จักขุ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต อตีตัคคหณวิถี มีอารมณ์เป็นปรมัตถ แต่เป็นอดีตอารมณ์ ดังภาพนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต การเกิดขึ้นของปัญจทวารวิถี และอตีตัคคหณวิถีทั้ง ๒ วิถีนี้ เกิดสลับกันเป็น จำนวนหลายร้อยหลายพันรอบ หน้า ๒๔ ๒. สมูหัคคหณวิถี เป็นวิถีที่รับอารมณ์เหล่านั้นมารวมกัน เพื่อให้ได้ความ วิถีนี้ก็เกิดหลายร้อยหลายพันรอบเหมือนกัน น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต สมูหัคคหณวิถี ก็มีอารมณ์เป็นปรมัตถ และเป็นอดีตอารมณ์เช่นเดียวกับ อตีตัคคหณวิถี ๓. อัตถัคคหณวิถี เป็นวิถีที่รู้เนื้อความของอารมณ์นั้น เกิดได้มากมายหลาย รอบเช่นเดียวกัน น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช อัตถัคคหณวิถี มีอารมณ์เป็นบัญญัติ คือรู้เนื้อความของอารมณ์นั้น ตามโวหาร ของโลก มีข้อสังเกตว่า วิถีที่มีอารมณ์เป็นบัญญัติก็ไม่มี ตทาลัมพนะ ๔. นามัคคหณวิถี เป็นวิถีที่รู้ชื่อของอารมณ์นั้น ๆ เกิดได้เป็นจำนวนมาก หลายรอบเช่นเดียวกัน น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช นามัคคหณวิถีนี้ ก็มีอารมณ์เป็นบัญญัติเหมือนกัน คือ รู้ชื่อของอารมณ์นั้น ตามโวหารของโลก ที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ เป็นทางจักขุทวาร มีรูป คือสีหรือวัณณะเป็นอารมณ์ ถ้าหากว่าผู้นั้นไม่เคยเห็นรูปนั้นมาก่อน ไม่รู้ว่ารูปนั้นชื่ออะไร นามัคคหณวิถีก็ไม่เกิด กล่าวคือไม่เคยเห็น " ไก่ " ก็เพียงแต่เห็นรูปร่างว่าเป็นอย่างนั้น ๆ แต่ไม่รู้ว่าเขา เรียกชื่อกันว่า " ไก่ " ทางจักขุทวาร อันมีรูปเป็นอารมณ์ ทางฆานทวาร อันมีกลิ่นเป็นอารมณ์ ทาง ชิวหาทวาร อันมีรสเป็นอารมณ์ และทางกายทวารอันมีสิ่งที่มากระทบถูกต้องเป็น อารมณ์ทั้ง ๔ นี้ วิถีจิตเกิดดังกล่าวมานี้ เฉพาะอย่างยิ่ง อัตถัคคหณวิถีเกิดก่อน นามัคคหณวิถีเกิดทีหลัง แต่ว่าถ้าเป็นวิถีที่เกิดทางโสตทวาร อันมีเสียง คือ สัททะเป็นอารมณ์แล้ว นามัคคหณวิถีเกิดก่อน อัตถัคคหณวิถี เกิดทีหลัง และถ้าเสียงนั้นมีพยางค์เดียว หรือคำเดียว สมูหัคคหณวิถีก็ไม่เกิด เพราะไม่ ต้องการมีการรวมอะไรแต่อย่างใด หรือถ้าไม่รู้เนื้อความของสัททารมณ์นั้น เช่นได้ยินภาษาต่างประเทศที่ตนไม่มี ความรู้ อัตถัคคหณวิถีก็ไม่เกิด ปัญจารมณ์ที่ไม่เกี่ยวแก่ชื่อต่าง ๆ เช่น เห็นคนกวักมือเรียก หรือร้องเรียกว่า มานี่ เป็นต้น นามัคคหณวิถีก็ไม่เกิด หน้า ๒๕ อนึ่ง นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น ยังมีการจำแนก จัก ซอย อัตถัคคหณวิถี ให้ละเอียดออกไปอีก คือ กายวิญญัตติคคหณวิถี เกิดต่อจากอัตถัคคหณวิถี เป็นวิถีที่รู้ความหมายของ กายวิญญัตตินั้น เช่น รู้ว่าผู้ที่กำลังกวักมือนั้น กำลังเรียก วจีวิญญัตติคคหณวิถี ก็ทำนองเดียวกัน คือ รู้ความหมายของวจีวิญญัตติว่า เสียงนั้นเป็นเสียงเรียก อธิปายัคคหณวิถี เป็นวิถีที่เกิดต่อจากกายวิญญัตติคคหณวิถี หรือวจีวิญญัต ติคคหณวิถี เมื่ออธิปายัคคหณวิถีเกิดแล้ว ย่อมรู้ความประสงค์ของผู้ที่กวักมือ หรือ ออกเสียงเรียก ว่าให้เราไปหาเขา แต่อย่างไรก็ดี วิถีทั้ง ๓ นี้คือ กายวิญญัตติคคหณวิถี วจีวิญญัตติคคหณวิถี และ อธิปายัคคหณวิถี ก็อนุโลมเข้าใน อัตถัคคหณวิถีนั่นเอง ตัวอย่างเช่น มีผู้กวักมือเรียก และเรารู้ว่าเรียกเรา วิถีจิตเกิดดังนี้ ๑. จักขุทวารวิถี เป็นรูปารมณ์ เป็นปรมัตถอารมณ์ เป็นปัจจุบันอารมณ์ ตี น ท ป จักขุ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๒. อตีตัคคหณวิถี รับรูปารมณ์ที่จักขุวิญญาณได้เห็นแล้วนั้น เป็นปรมัตถ อารมณ์ แต่เป็นอดีตอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๓. สมูหัคคหณวิถี รวมรูปารมณ์ เป็นปรมัตถอารมณ์ เป็นอดีตอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๔. อัตถัคคหณวิถี รู้เนื้อความ หรือได้ความว่า กวักมือ เป็นบัญญัติอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ๕. กายวิญญัตติคคหณวิถี รู้ว่าเขาเรียก เป็นบัญญัติอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ๖. อธิปายัคคหณวิถี รู้ว่า เรียกเราให้ไปหาเขา เป็นบัญญัติอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช มีผู้ร้องเรียก และเรารู้ว่าเรียกเรา วิถีจิตเกิดขึ้นดังนี้ ๑. โสตทวารวิถี ได้ยินเสียง คือสัททารมณ์ เป็นปรมัตถอารมณ์ เป็นปัจจุบันอารมณ์ ตี น ท ป โสต สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต หน้า ๒๖ ๒. อตีตัคคหณวิถี รับสัททารมณ์โสตวิญญาณได้ยินแล้วนั้น เป็นปรมัตถ อารมณ์ เป็นอดีตอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๓. สมูหัคคหณวิถี รวมสัททารมณ์ รวมเสียงที่ได้ยิน เป็นปรมัตถอารมณ์ เป็นอดีตอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต ต แต่ถ้าเสียงที่เรียกนั้น พยางค์เดียว หรือคำเดียว สมูหัคคหณวิถีนี้ก็ไม่เกิด เพราะไม่มีอะไรที่จะต้องรวม ๔. นามัคคหณวิถี รู้นาม รู้ชื่อ ว่าเสียงนั้นเป็นชื่อ เป็นบัญญัติอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ๕. อัตถัคคหณวิถี รู้เนื้อความ หรือได้ความว่า เป็นชื่อเรา เป็นบัญญัติ อารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ๖. วจีวิญญัตติคคหณวิถี รู้ว่าเขาเรียกเรา เป็นบัญญัติอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ๗. อธิปายัคคหณวิถี รู้ว่า เรียกเราให้ไปหาเขา เป็นบัญญัติอารมณ์ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช สุบินวิถี สุบินวิถี คือ ความเป็นไปของจิตในเวลาฝัน ได้แก่ กามชวนมโนทวารวิถี ที่ เกิดขึ้นในขณะนอนหลับ การฝัน ก็มีชัดมากและชัดน้อย ชัดมากก็มีถึงตทาลัมพนะได้ ชัดน้อยก็มีเพียง ชวนะเท่านั้น เหตุที่ทำให้เกิดฝันขึ้นนั้น มี ๔ ประการ คือ ๑. บุพพนิมิต กรรมใด ๆ ที่ได้กระทำมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นกุสลกรรม หรือ อกุสลกรรม กระตุ้นเตือนจิตใจให้ใฝ่ฝันถึงกรรมนั้น ๆ ๒. จิตอารมณ์ จิตใจจดจ่อในเรื่องใดๆ เป็นพิเศษยิ่งก็ทำให้ใฝ่ฝันถึงเรื่องนั้นๆ ๓. เทพสังหรณ์ เทวดาดลใจให้ฝัน ๔. ธาตุกำเริบ เวลาที่ธาตุไม่ปกติ ก็ทำให้ฝันได้เหมือนกัน หน้า ๒๗ ผู้ที่ฝัน ได้แก่ บุคคล ๖ คือ ๑. ทุคคติบุคคล (เว้นสัตว์นรก) ๒. สุคติบุคคล ๓. ทวิเหตุกบุคคล ๔. ติเหตุกบุคคล (เว้นรูปพรหม อรูปพรหม) ๕. โสดาบันบุคคล ๖. สกทาคามิบุคคล ที่สัตว์นรกไม่ฝัน เพราะถูกทรมานตลอดเวลา จนไม่มีโอกาสที่จะใฝ่ฝัน ที่รูปพรหม อรูปพรหม อนาคามีบุคคล และอรหัตตบุคคล ไม่ฝัน เพราะท่าน เหล่านี้ปราศจาก กามราคะแล้ว บุคคลที่ยังฝันอยู่ ล้วนแต่เป็นผู้ที่ยังมีกามราคะ กามฉันทะอยู่ วิถีจิตของทารก ทารกที่ยังอยู่ในครรภ์มารดานั้น วิถีจิตก็เกิดได้ สำหรับมโนทวารวิถีเกิดได้ ตั้งแต่หลังจากปฏิสนธิ และภวังคจิต ๑๕ ขณะ เป็นต้นมา ส่วนทางปัญจทวารวิถีเกิดเพียง ๓ วิถี คือ โสตทวารวิถี ชิวหาทวารวิถี และ กายทวารวิถี สำหรับจักขุทวารวิถี และฆานทวารวิถีนั้น เกิดได้หลังจากที่คลอดจากครรภ์ มารดา และทารกนั้นมีความสนใจในอารมณ์แล้ว ปัญจทวารวิถี กับ มโนทวารกามวิถี ปัญจทวารวิถี กับมโนทวารกามวิถี ต่างก็เป็นวิถีที่มีกามธรรม เป็นอารมณ์ เป็น กามวิถีด้วยกันทั้งคู่ แต่ว่ามีความแตกต่างกันหลายประการ คือ ปัญจทวารวิถี มโนทวารกามวิถี ๑. ต้องมีอตีตภวังคเสมอไป ไม่มี ๒. มีวิสยัปปวัตติ ๔ คือ ก. อติมหันตารมณ์ ข. มหันตารมณ์ ค. ปริตตารมณ์ ง. อติปริตตารมณ์ มีวิสยัปปวัตติเพียง ๒ คือ ก. วิภูตารมณ์ ข. อวิภูตารมณ์ ๓. อาศัยเกิดได้ ๕ ทวาร เกิดได้เฉพาะแต่มโนทวารทางเดียว หน้า ๒๘ ปัญจทวารวิถี มโนทวารกามวิถี ๔. อาศัยวัตถุ ๕ เกิด อาศัยเฉพาะหทยวัตถุเกิดแต่อย่างเดียว หรือมิฉนั้นก็เกิดโดยไม่ต้องอาศัยวัตถุ ใด ๆ เลย ๕. มีอารมณ์ ได้ ๕ อย่าง(ปัญจารมณ์) มีอารมณ์ได้ทั้ง ๖ ๖. มีรูปธรรมเป็นอารมณ์ มีทั้งรูปธรรม นามธรรม และบัญญัติธรรม เป็นอารมณ์ ๗. มีเฉพาะปรมัตถ เป็นอารมณ์ มีทั้งปรมัตถ และบัญญัติเป็นอารมณ์ ๘. มีอารมณ์ที่เป็นปัจจุบันแต่ อย่างเดียว มีอารมณ์ทั้งที่เป็นปัจจุบัน อดีต อนาคต ตลอดจนกาลวิมุตติ ๙. เกิดได้แก่ กามบุคคล รูปบุคคล (เว้นอสัญญสัตตบุคคล) เฉพาะรูป บุคคลก็เกิดได้แต่จักขุทวารวิถี และ โสตทวารวิถีเท่านั้น เกิดได้ทั้ง กามบุคคล รูปบุคคล ตลอดจน อรูปบุคคล (เว้นเฉพาะ อสัญญสัตตบุคคล เท่านั้น) ๑๐. เกิดได้ในกามภูมิ รูปภูมิ (เว้น อสัญญสัตตภูมิ) และในรูปภูมินั้น ก็เกิด ได้เฉพาะจักขุทวารวิถี และ โสตทวารวิถีเท่านั้น เกิดได้ทั้งในกามภูมิ รูปภูมิ ตลอดจน อรูปภูมิ มีเว้นเฉพาะแต่อสัญญสัตตภูมิ เดียวเท่านั้น ๑๑. มีวิถีจิตอย่างมากได้ถึง ๗อย่าง คือ อาวัชชนะ ๑ ทวิปัญจวิญญาณ ๑ สัมปฏิจฉันนะ ๑ สันตีรณะ ๑ โวฏฐัพพนะ ๑ ชวนะ ๑ ตทาลัมพนะ ๑ มีวิถีจิตอย่างมากได้เพียง ๓ อย่าง คือ อาวัชชนะ ๑ ชวนะ ๑ ตทาลัมพนะ ๑ ๑๒. มีจิตตุปปาทะอย่างมากถึง ๑๔ ขณะ ถ้านับภวังคข้างหน้าด้วยก็เป็น ๑๗ ขณะ มีจิตตุปปาทะอย่างมาก ๑๐ ขณะ ถ้านับ ภวังคข้างหน้าด้วยก็เป็น ๑๒ขณะ หน้า ๒๙ ปัญจทวารวิถี มโนทวารกามวิถี ๑๓. มีจิตพิสดารถึง ๕๔ ดวง คือ กามจิตทั้งหมด มีจิตพิสดารเพียงกามจิต ๔๑ ดวง (เว้น ทวิปัญจวิญญาณ๑๐ มโนธาตุ๓ อันเป็น จิตที่เกิดทางปัญจทวารวิถีโดยเฉพาะ) ๑๔. เกิดจากภวังคจิตเพียง ๑๕ ดวง คือ อุเบกขาสันตีรณะ ๒ มหาวิบาก ๘ รูปาวจรวิบาก ๕ เกิดจากภวังคจิตได้ทั้ง ๑๙ ดวง คือ อุเบกขาสันตีรณะ ๒ มหาวิบาก ๘ รูปาวจรวิบาก ๕ อรูปาวจรวิบาก ๔ ๑๕. มีเวทนาได้ทั้ง ๕ มีเวทนาได้เพียง ๓ คือ โสมนัสเวทนา โทมนัสเวทนา อุเบกขาเวทนา เท่านั้น อัปปนาวิถี อัปปนา แปลว่า ทำลาย คือทำลายกิเลส มีนิวรณ์เป็นต้น หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึง จิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ถ้าเคยได้อัปปนาจิตในอารมณ์ใด เมื่อจิตดวงนั้นเกิดขึ้นอีกเวลาใด หรือขณะใด ก็จะต้องมีอารมณ์อย่างนั้นเสมอไปไม่เปลี่ยนแปลงเป็นอารมณ์อย่างอื่นเลย อัปปนาจิต คือจิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ได้แก่ จิต ๓๕ หรืออย่างพิสดาร ๖๗ ดวง คือ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ ส่วน อัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีอัปปนาจิตอยู่ในวิถีนั้น ได้แก่ จิต ๒๖ หรือ อย่างพิสดาร ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ อัปปนาชวนะ คือ ชวนจิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ได้แก่ จิต ๒๖ หรือ ๕๘ เท่ากัน และเหมือนกันกับอัปปนาวิถีจิตนั่นเอง เพราะชวนะ เป็นจิตที่อยู่ในวิถี อัปปนาวิถี หรือ อัปปนาชวนะ เกิดได้ทาง มโนทวารวิถี ทางเดียวเท่านั้น ไม่เกิดทางปัญจทวารวิถีเลย หน้า ๓๐ อัปปนาวิถี เป็นมโนทวารวิถีก็จริง แต่ไม่จำแนก เป็นวิภูตารมณ์วิถี และ อวิภูตารมณ์วิถี เหมือนอย่าง มโนทวารกามวิถี เพราะอัปปนาวิถีมีแต่วิภูตารมณ์วิถี อย่างเดียว ด้วยเหตุว่า ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งจริง ๆ แล้ว อัปปนาชวนะ จะเกิดไม่ได้เลย อัปปนาวิถี จำแนก ได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. โลกียอัปปนาวิถี ๒. โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาจิต ได้แก่ มหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง แต่ โลกียอัปปนาวิถี หรือ โลกียอัปปนาชวนะ ได้แก่มหัคคตชวนจิต ๑๘ ดวง คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ เท่านั้น ส่วนมหัคคตวิบากจิตอีก ๙ ดวงนั้น ไม่นับเป็นโลกียอัปปนาวิถี เพราะเป็นจิต ที่พ้นวิถี (พ้นทวารด้วย) และไม่นับเป็นโลกียอัปปนาชวนะ เพราะไม่ได้ทำชวนกิจ โลกียอัปปนาวิถีนี้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิถีจิตที่ได้ฌาน ที่ถึงฌาน ที่ฌานจิต เกิด (ทั้งนี้หมายเฉพาะฌานจิตที่เป็นกุสล และกิริยาเท่านั้น ยกเว้นฌานจิตที่เป็น วิบาก เพราะเป็นจิตที่พ้นวิถี) ผู้ที่ได้ปฐมฌาน เป็นครั้งแรก ก็ดี ได้ทุติยฌาน เป็นครั้งแรก ก็ดี ตลอดจนถึงได้ เนวสัญญานาสัญญายตนฌานเป็นครั้งแรกก็ดี รวมความหมายว่า ผู้ที่แรกได้ฌาน ชั้นนั้น ๆ วิถีจิตที่ฌานจิตนั้น ๆ เกิดเป็นครั้งแรก เรียกชื่อวิถีจิตนั้นว่า อาทิกัมมิกฌานวิถี มีวิถีดังนี้ อาทิกัมมิกฌานวิถี ของมันทบุคคล คือบุคคลผู้รู้ช้า กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกียอัปปนาชวนะ กุสลฌานจิต ภวังคจิต น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ภ ชวนจิต ชวนจิต หน้า ๓๑ อาทิกัมมิกฌานวิถี ของติกขบุคคล คือบุคคลผู้รู้เร็ว กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกียอัปปนาชวนะ กุสลฌานจิต ภวังคจิต น ท มโน อุป อนุ โค ฌ ภ ชวนจิต ชวนจิต ความหมายของอักษรย่อ น=ภวังคจลนะ,ท=ภวังคุปัจเฉทะ,มโน=มโนทวาราวัชชนะ,บริ=บริกรรม,อุป=อุปจาระ ,อนุ=อนุโลม,โค=โคตรภู,ฌ= ฌานจิต คำว่าโคตรภู ในโลกียอัปปนาวิถีนี้ หมายความว่า โอนโคตรหรือตัดจากโคตร กาม ไปเป็นโคตรพรหม อาทิกัมมิกฌานวิถี คือวิถีจิตที่ฌานจิตนั้น ๆ เกิดเป็นครั้งแรกนี้ ฌานจิตจะ เกิดเพียงขณะเดียว หรือดวง เดียวเท่านั้นเอง ต่อเมื่อมีวสีคือมีความชำนาญแล้ว จึงจะเกิดได้หลายขณะ โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกุตตรอัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีโลกุตตรจิตในวิถีนั้น โลกุตตรจิตเป็นจิตที่ แนบแน่นแน่วแน่ในพระนิพพาน เป็นอารมณ์แต่อย่างเดียวเท่านั้นเอง จะมีอารมณ์ เป็นอย่างอื่นไม่ได้ โลกุตตรอัปปนาวิถี ได้แก่ โลกุตตรจิต คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ หรืออย่าง พิสดารก็ มัคคจิต ๒๐ ผลจิต ๒๐ ติเหตุกบุคคลเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานจนบรรลุมัคคผล วิถีจิตที่ถึงมัคคถึงผล นั้นเรียกว่า มัคควิถี มีวิถีดังนี้ มัคควิถี ของ มันทบุคคล คือ บุคคลผู้รู้ช้า กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ อัปปนาชวนะ โลกุตตรจิต ๘ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ภ มโน บริ อุป อนุ มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็นอารมณ์ โค มัคค ผล ผล มีนิพพานเป็นอารมณ์ หน้า ๓๒ มัคควิถีของ ติกขบุคคล คือ บุคคลผู้รู้เร็ว กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ อัปปนาชวนะ โลกุตตรจิต ๘ น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ มโน อุป อนุ มีไตรลักษณ์แห่งรูปนาม โค มัคค ผล ผล ผลมีนิพพานเป็นอารมณ์ เป็นอารมณ์ ในมัคควิถี ไม่ว่าจะเป็น มันทบุคคล(ผู้รู้ช้า) หรือติกขบุคคล(ผู้รู้เร็ว) มัคคจิต ก็เกิดขณะเดียวเท่านั้น มันทบุคคล อนุโลมญาณ เกิด ๓ ขณะ, โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ, มัคคญาณ เกิด ๑ ขณะ, ผลญาณ เกิด ๒ ขณะ รวมเป็นชวนะ ๗ ขณะ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ติกขบุคคล อนุโลมญาณ เกิด ๒ ขณะ, โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ, มัคคญาณ เกิด ๑ ขณะ, ผลญาณ เกิด ๓ ขณะ รวมชวนะ ๗ ขณะ เหมือนกัน อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ วิถีจิตของพระโสดาบัน ที่บรรลุ สกทาคามี มัคค - ผล ก็ดี วิถีจิตของพระสกทาคามี ที่บรรลุ อานาคามี มัคค - ผล ก็ดี วิถีจิตของพระอนาคามี ที่บรรลุ อรหัตต มัคค - ผล ก็ดี มีวิถีจิต คือ มัคควิถีอย่างเดียวกับที่ได้แสดงมาแล้วนี้ ส่วนโคตรภู นั้น ไม่เรียกว่า โคตรภู แต่เรียกว่า โวทาน ในมัคควิถี คำว่า โคตรภู หมายความว่า ตัดจากโคตรปุถุชนเป็นโคตรอริยะ กล่าวคือ ตัดจากโคตรชนที่หนา แน่นไปด้วยกิเลส เป็นโคตรชนที่ห่างไกลจากกิเลส ส่วนคำว่า โวทาน แปลว่า ธรรมขาว หมายความว่า พระสกทาคามี มีธรรม ที่ขาวกว่า สะอาดกว่า พระโสดาบัน, พระอนาคามี ก็มีธรรมที่ขาวยิ่งกว่า สะอาด ยิ่งกว่า พระสกทาคามี, สำหรับพระอรหันต์ นั้นเป็น ผู้ที่ขาวสะอาดบริสุทธิ์หมดจด ด้วยประการทั้งปวง หน้า ๓๓ ข้อสังเกตในอัปปนาวิถี ดังได้กล่าวแล้วว่า อัปปนาวิถีเป็นวิถีจิตที่มีอารมณ์ปรากฏทางใจอย่างชัดเจน แจ่มแจ้งมาก เพราะถ้าอารมณ์นั้น ไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งจริง ๆ แล้ว อัปปนาวิถีจะไม่ เกิดเลย นอกจากนี้มีข้อที่ควรสังเกตอีก คือ ก. กล่าวโดยความชัดแจ้งของอารมณ์ แม้ว่าอัปปนาวิถีมีอารมณ์ชัดเจนแจ่ม แจ้งมาก แต่วิถีจิตก็มีไม่ถึง ตทาลัมพนะ เพราะอัปปนาวิถี มีทั้งกามอารมณ์ กาม ชวนะ และนิพพานเป็นอารมณ์ได้ด้วย ข. กล่าวโดยอารมณ์ของแต่ละวิถี ในวิถีเดียวกันนั้นเอง อัปปนาวิถีมีอารมณ์ ได้มากกว่า ๑ เช่นในมัคควิถี วิถีจิตตอนต้น ๆ คือ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาระ อนุโลม มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็นอารมณ์ วิถีจิตตอนหลัง ๆ คือ โคตรภู มัคคจิต ผลจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์ ค. กล่าวโดยชวนะ ก็มีได้หลายชาติ เช่น ในมัคควิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู และมัคคจิต เป็นชาติกุสล ส่วนผลจิต เป็นชาติวิบาก ง. นอกจากชวนะมีได้หลายชาติดังกล่าวในข้อ ค. นั้นแล้ว ชวนะยังมีจิตได้ หลายประเภท เช่น ในอาทิกัมมิกฌานวิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เป็น จิตประเภทกามาวจรจิต หรือ กามจิต ส่วนฌานจิตเป็น จิตประเภทมหัคคตจิต หรือ ฌานจิตไม่ใช่กามจิต และในมัคควิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เป็นจิต ประเภท กามจิต ส่วนมัคคจิต ผลจิต เป็นจิตประเภทโลกุตตร ไม่ใช่กามจิต จำแนกอัปปนาชวนะ โดยเวทนา ใน อัปปนาชวนะ ๕๘ ดวงนี้ เป็นโสมนัสเวทนาก็มี เป็นอุเบกขาเวทนาก็มี ทั้งนี้แล้วแต่ว่าญาณสัมปยุตตจิตที่เป็น บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู (หรือ โวทาน) นั้นจะเกิดพร้อมกับเวทนาอะไร ถ้าเป็นโสมนัสเวทนา อัปปนาชวนะก็เกิด ตามมา ก็เป็นโสมนัสด้วย ถ้าเป็นอุเบกขาเวทนา อัปปนาชวนะที่เกิดตามมาก็เป็น อุเบกขาด้วย หน้า ๓๔ การจำแนกอัปปนาชวนะ โดยเวทนานี้ เป็นการแสดงอย่างที่เรียกว่า ธัมมา ธิฏฐาน คือไม่กล่าวอ้างถึงบุคคล แต่กล่าวอ้างเฉพาะจิตเท่านั้น ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๕ ) แสดงว่า ๕. ทฺวตฺตีส สุขปุญฺญมฺหา ทฺวาทโสเปกฺขกา ปรํ สุขิตกฺริยโต อฏฺฐ ฉ สมฺโภนฺติ อุเปกฺขกา ฯ แปลความว่า ก. เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตที่เป็นโสมนัสเกิดแล้ว โสมนัสอัปปนาชวนะ ๓๒ ย่อมเกิด ข. เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตที่เป็นอุเบกขาเกิดแล้ว อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๑๒ ย่อมเกิด ค. เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตที่เป็นโสมนัสเกิดแล้ว โสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ ย่อมเกิด ง. เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตที่เป็นอุเบกขาเกิดแล้ว อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๖ ย่อมเกิด อธิบาย (ก) เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู(หรือโวทาน) นั้นเป็นโสมนัสเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นโสมนัส อัปปนาชวนะ ๓๒ ย่อมเกิด โสมนัสอัปปนาชวนะ ๓๒ นั้น ได้แก่ รูปาวจร กุสล ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ ดวง มัคคจิต ที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๑๖ ดวง ผลจิต ที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน๑๒ดวง(เว้นอรหัตตผล ๔) (ข) เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู(หรือโวทาน) นั้นเป็นอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นอุเบกขา อัปปนาชวนะ ๑๒ ย่อมเกิด อุเบกขาอัปปนาชวนะนั้น ได้แก่ รูปาวจร กุสล ปัญจมฌาน ๑ อรูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๔ ผลจิต ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๓ (เว้นอรหัตตผล ๑) (ค) เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู นั้นเป็นโสมนัสเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นโสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ ย่อมเกิด โสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ นั้น ได้แก่ รูปาวจรกิริยา ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ อรหัตตผลที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ หน้า ๓๕ (ง) เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู นั้น เป็น อุเบกขาเวทนา เกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้น อุเบกขาอัปปนา ชวนะ ๖ ย่อมเกิด อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๖ นั้น ได้แก่ รูปาวจร กิริยา ปัญจมฌาน ๑ อรูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๑ จำแนกอัปปนาชวนะ โดยบุคคล อัปปนาชวนะ ๕๘ นี้ ท่านจำแนกอีกนัยหนึ่ง เป็นการจำแนกตามบุคคล อย่างที่เรียกว่า ปุคคลาธิฏฐาน บุคคลในที่นี้ ท่านแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ปุถุชน และ เสกขบุคคล ซึ่ง เป็นบุคคลที่ยัง มีกิเลส อยู่ ๑ และ อเสกขบุคคล ซึ่งเป็นบุคคล ที่สิ้นกิเลส แล้วโดยสิ้นเชิง อีก ๑ เท่านั้น เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตของพระอรหันต์เกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๑๔ ย่อมเกิดตามมา การจำแนกตามนัยนี้ มีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๖ ) แสดงว่า ๖. ปุถุชฺชนาน เสกฺขานํ กามปุญฺญติเหตุโต ติเหตุกามกฺริยโต วีตราคานมปฺปนา ฯ แปลความว่า เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตของติเหตุกปุถุชน และผลเสกขบุคคลเกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๔๔ ย่อมเกิดตามมา อธิบาย เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตต ทั้งโสมนัส และอุเบกขา รวมจำนวน ๔ ดวง ของติเหตุกปุถุชน และผลเสกขบุคคล ๓ คือ พระโสดาบัน ๑ พระสกทาคามี ๑ พระอนาคามี ๑ ซึ่งเป็นบุคคลที่ยังมีกิเลสอยู่ เกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๔๔ ตามรายละเอียดต่อไปนี้ ย่อมเกิดตามมา มหัคคตกุสล ๙ มัคคจิต ๒๐ ผลจิต ๑๕ (เว้นอรหัตตผล ๕) หน้า ๓๖ เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตต ทั้งโสมนัสและอุเบกขา รวมจำนวน ๔ ดวง ของพระอรหันต์ ซึ่งเป็นบุคคลที่สิ้นกิเลสแล้วโดยสิ้นเชิง เกิดขึ้นแล้ว อัปปนา ชวนะ ๑๔ ตามรายละเอียดต่อไปนี้ ย่อมเกิดตามมา มหัคคต กิริยา ๙ อรหัตตผล ๕ การจำแนกอัปปนาชวนะโดยปุคคลาธิฏฐานนี้ ท่านไม่ได้กล่าวถึงการจำแนก เวทนาร่วมพร้อมกันไปด้วย แต่ถ้าจะจำแนกทั้งบุคคล และเวทนาร่วมไปพร้อมกัน ก็จะได้ภาพดังนี้ ยังมีกิเลส โสมนัส อัปปนาชวนะ ๓๒ รูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ๑๖ ผลจิต(เบื้องต่ำ) ๑๒ เกิดต่อจากโสมนัส มหากุสลญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี ยังมีกิเลส อุเบกขา อัปปนาชวนะ ๑๒ รูปาวจร กุสล ๑ อรูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ๔ ผลจิต(เบื้องต่ำ) ๓ เกิดต่อจากอุเบกขา มหากุสลญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี สิ้นกิเลสแล้ว โสมนัส อัปปนาชวนะ ๘ รูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ๔ เกิดต่อจากโสมนัส มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี สิ้นกิเลสแล้ว อุเบกขา อัปปนาชวนะ ๖ รูปาวจร กิริยา ๑ อรูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ๑ เกิดต่อจากอุเบกขา มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี หน้า ๓๗ กามวิถี กับ อัปปนาวิถี กามวิถี กับ อัปปนาวิถี มีความแตกต่างกันหลายประการ กามวิถี อัปปนาวิถี ๑. ไม่ได้แนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว โดยเฉพาะ แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดย เฉพาะ ๒. เกิดได้ทั้งทางปัญจทวารวิถีและ มโนทวารวิถี เกิดได้ทางมโนทวารวิถีทางเดียว ๓. มีอารมณ์ได้ทั้ง ๖ มีได้เฉพาะธัมมารมณ์ คือ อากาสานัญ จายตน กุสล ๑, กิริยา ๑, อากิญจัญญา ยตน กุสล ๑, กิริยา ๑, บัญญัติและ นิพพานเท่านั้น ๔. มีได้ทั้งอดีตอารมณ์ อนาคตอารมณ์ ปัจจุบันอารมณ์ และกาลวิมุตติอารมณ์ มีเฉพาะอดีตอารมณ์ และกาลวิมุตติ อารมณ์เท่านั้น ๕. อาศัยวัตถุ ๖ เกิด (เฉพาะหทยวัตถุ บางทีก็ไม่ต้องอาศัย) อาศัยเฉพาะหทยวัตถุเกิดแต่อย่างเดียว หรือมิฉะนั้น ก็เกิดโดยไม่ต้องอาศัย วัตถุเลย ๖. แยกประเภทมโนทวารวิถีเป็นสอง คือ วิภูตารมณ์วิถี และอวิภูตารมณ์วิถี ไม่แยกเป็นสองประเภทอย่างนั้น เพราะ มีแต่ วิภูตารมณ์นั้นอย่างเดียว ด้วยเหตุ ว่า ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัดเจนแจ่มแจ้ง จริงๆ แล้ว อัปปนาชวนะก็เกิดไม่ได้เลย ๗. อาจมีถึงตทาลัมพนะได้ ไม่มีตทาลัมพนะเลย ๘. มีชวนะอย่างมากได้เพียง ๗ ชวนะเกิดได้ตั้งแต่ ๑ ขณะขึ้นไปจน มากมายถึงนับประมาณไม่ได้ ๙. มีเวทนาได้ทั้ง ๕ มีเวทนาได้เพียง ๒ คือ โสมนัส กับ อุเบกขาเท่านั้นเอง ๑๐. มีทั้ง อสังขาริก และสสังขาริก มีแต่ สสังขาริก อย่างเดียว หน้า ๓๘ กามวิถี อัปปนาวิถี ๑๑. มีสัมปยุตตได้ทั้ง ๕ คือ ทิฏฐิสัมปยุตต ปฏิฆสัมปยุตต วิจิกิจฉาสัมปยุตต อุทธัจจสัมปยุตต และ ญาณสัมปยุตต มีเฉพาะแต่ ญาณสัมปยุตต อย่างเดียว เท่านั้น ๑๒. มีทั้ง โสภณะ และอโสภณะ มีโสภณะ แต่อย่างเดียว ๑๓. มีเฉพาะโลกีย แต่อย่างเดียว มีทั้งโลกีย และโลกุตตร ๑๔. ไม่มีแม้แต่ มหัคคตจิต มีทั้งมหัคคต และโลกุตตร ๑๕. มีทั้งจิตที่เป็น กุสล อกุสล วิบาก และกิริยา ไม่มีจิตที่เป็นอกุสลเลย ๑๖. มีทั้งการสั่งสมกิเลส และทำลาย กิเลส แต่การทำลายกิเลส ก็ทำลาย เพียงชั่วขณะที่เรียกว่า ตทังคะ เท่านั้น ไม่มีการสั่งสมกิเลสเลย มีแต่การทำลาย กิเลสถ่ายเดียว และทำลายอย่าง วิกขัมภณะ ตลอดจนอย่าง สมุจเฉท ให้หมดสิ้นสูญเชื้อไปเลย ๑๗. เกิดได้แก่บุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะ เป็นทุคคติบุคคล สุคติบุคคล ทวิเหตุก บุคคล ตลอดจน ติเหตุกบุคคล เกิดได้เฉพาะ ติเหตุกบุคคล เท่านั้น ๑๘. เกิดได้ในภูมิทั้ง ๓๐ เว้นอสัญญ สัตตภูมิ ภูมิเดียวเท่านั้น เกิดได้ในภูมิเพียง ๒๖ ภูมิ (เว้นอบายภูมิ ๔ อสัญญสัตตภูมิ ๑) ๑๙. มีวิถีจิตอย่างมากได้ถึง ๗ อย่าง คือ อาวัชชนจิต ๑ ปัญจวิญญาณจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๑ สันตีรณจิต ๑ โวฏฐัพพนจิต ๑ ชวนจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑ มีวิถีจิตเพียง ๒ อย่างเท่านั้น คือ อาวัชชนจิต ๑ และ ชวนจิต ๑ หน้า ๓๙ กามวิถี อัปปนาวิถี ๒๐. เกิดจากภวังคจิตได้ทั้ง ๑๙ คือ อุเบกขาสันตีรณวิบาก ๒ มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ เกิดจากภวังคจิตเพียง ๑๓ ดวง คือ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ มหัคคตวิบาก ๙ ๒๑. มีจิตเกิดได้ทั้งสิ้นรวม ๕๔ ดวง คือ กามจิตทั้งหมด มีจิตที่เกิดได้ คือ อัปปนาชวนจิต ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๔๐ ๒๒. ในวิถีเดียวกัน มีอารมณ์แต่อย่าง เดียวเท่านั้น ในวิถีเดียวกัน มีอารมณ์ได้มากกว่า อย่างเดียว ๒๓. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีชวนจิต เป็นชาติเดียวกัน มีชวนจิตในวิถีเดียวกัน ได้มากกว่า ชาติเดียว ๒๔. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน เป็นกาม ชวนะแต่อย่างเดียว ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีกามชวนะ และ มหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะด้วย ปัจจเวกขณวิถี ปัจจเวกขณะ แปลว่า พิจารณา หมายถึง การพิจารณาเพื่อให้ทราบตาม สภาวะธรรมที่เป็นจริง ปัจจเวกขณวิถี ก็คือ วิถีจิต หรือ ลำดับความเป็นไปของจิตที่พิจารณาถึง สภาพแห่งความเป็นจริง ดังนั้นจึงเป็นมหากุสล หรือมหากิริยาชวนมโนทวารวิถี อันเป็นกามวิถี เมื่อ มัคควิถีสิ้นสุดลงแล้ว ต้องมีปัจจเวกขณวิถีอย่างแน่นอน จะไม่มีปัจจเวกขณวิถีเกิดภายหลังมัคควิถีนั้นไม่ได้ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลังมัคควิถี ก็เพื่อพิจารณาธรรม ๕ ประการ คือ หน้า ๔๐ ๑. พิจารณามัคค ๒. พิจารณาผล ๓. พิจารณานิพพาน ๔. พิจารณากิเลสที่ได้ละแล้ว ๕. พิจารณากิเลสที่คงเหลืออยู่ ในปัจจเวกขณะ ๕ ประการนี้เฉพาะ ๓ ประการแรกคือ การพิจารณามัคค ๑ การพิจารณาผล ๑ และการพิจารณานิพพาน ๑ ต้องมี ต้องพิจารณาอย่างแน่นอน ขาดไม่ได้ ส่วนการพิจารณากิเลสที่ได้ละแล้ว ๑ และการพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู่ ๑ นั้น บางทีก็พิจารณา บางทีก็ไม่พิจารณา กล่าวคือ ถ้าผู้นั้นได้ศึกษาทางปริยัติ จึงจะทราบเรื่องราวของกิเลส เมื่อทราบก็พิจารณาได้ แต่ถ้าไม่ได้ศึกษามา ก็ไม่ทราบเรื่องจึงไม่พิจารณา ปัจจเจกขณวิถี ที่เกิดหลังจากโสดาปัตติมัคควิถี สกทาคามีมัคควิถี และ อนาคามีมัคควิถี คิดจำนวนอย่างเต็มที่ ก็พิจารณาทั้ง ๕ ประการ ส่วนปัจจเวก ขณวิถีที่เกิดภายหลังอรหัตตมัคควิถี ก็พิจารณาเพียง ๔ ประการ เว้นการพิจารณา กิเลสที่คงเหลือ เพราะพระอรหันต์ท่านละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว ไม่มีกิเลสที่เหลือเลย รวมปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลังมัคควิถี คิดจำนวนอย่างเต็มที่เป็น ๑๙ ประการ คือ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง โสดาปัตติมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง สกทาคามิมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อนาคามิมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อรหัตตมัคควิถี ๔ ปัจจเวกขณวิถี เกิดหลังจาก อาทิกัมมิกฌานวิถี และ ฌานสมาบัติวิถี ทำ หน้าที่พิจารณาองค์ฌานนั้น ก็มีได้ แต่ไม่แน่นอนว่าจะต้องมีเสมอไป แต่หลังจาก อภิญญาวิถี ผลสมาบัติวิถี หรือ นิโรธสมาบัติวิถีนั้น ปัจจเวกขณ วิถีไม่เกิด นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว แม้บุคคลสามัญที่มิใช่ฌานลาภีบุคคล หรือเป็น พระอริยบุคคล ก็มีปัจจเวกขณวิถีได้ เป็นมหากุสลชวนมโนทวารวิถี อันเป็นกามวิถี เช่นเดียวกัน ตัวอย่าง เช่น อภิณหปัจจเวกขณะ ๕ คือ หน้า ๔๑ ๑. พิจารณาว่า เรามีความ แก่ เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ แก่ ไปได้ ๒. พิจารณาว่า เรามีความ เจ็บ เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ เจ็บ ไปได้ ๓. พิจารณาว่า เรามีความ ตาย เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ ตาย ไปได้ ๔. พิจารณาว่า เราจักต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๕. พิจารณาว่า เรามีกรรมเป็นของตัว ทำดีจักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว สมาบัติวิถี สมาบัติ แปลว่า การเข้าถึงพร้อมหรือการเข้าอยู่พร้อม สมาบัตินี้มี ๓อย่างคือ ๑. ฌานสมาบัติ การเข้าถึงฌานจิต หรือการเข้าอยู่ในฌานจิต เป็นโลกียะ ๒. ผลสมาบัติ การเข้าถึงซึ่งอริยผลจิต หรือการเข้าอยู่ในอริยผลจิต เป็น โลกุตตระ ๓. นิโรธสมาบัติ การเข้าถึงซึ่งความดับของจิตและเจตสิก ไม่จัดเป็นโลกียะ หรือ โลกุตตระเพราะไม่มีจิตจะดับ ฌานสมาบัติวิถี การเข้าฌานสมาบัติ เพื่อหนีทุกขเวทนา โดยปรารถนาจะเสวยฌานสุข ยังความอิ่มใจ หรือความวางเฉย แน่วแน่อยู่ในอารมณ์กัมมัฏฐานนั้น ตราบเท่า เวลาที่ตนอธิษฐาน (คือตั้งความปรารถนาอันแน่วแน่มั่นคงอย่างแรงกล้า) ไว้ ผู้เข้าฌานสมาบัติได้ ต้องเป็นผู้ที่ได้ฌาน และ ต้องมี วสี คือความชำนาญ หรือ ความแคล่วคล่องว่องไวทั้ง ๕ ประการ ได้แก่ ๑. อาวัชชนวสี ความชำนาญในการ นึกที่จะเข้าฌานตามที่ตนตั้งใจ ๒. สมาปัชชนวสี ความชำนาญในการ เข้าฌาน ๓. อธิฏฐานวสี ความชำนาญในการ ตั้งความปรารถนาที่จะให้ ฌานจิต ตั้งมั่นอยู่เป็นเวลาเท่าใด ๔. วุฏฐานวสี ความชำนาญในการ ออกจากฌาน ๕. ปัจจเวกขณวสี ความชำนาญในการ พิจารณาองค์ฌาน หน้า ๔๒ เมื่อ ฌานลาภีบุคคล คือบุคคลผู้ได้ฌาน มีความคล่องแคล่วว่องไว ในวสีทั้ง ๕ แล้ว เวลาจะเข้าฌานสมาบัตินั้น กิจเบื้องต้นต้องตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) ว่า จะเข้าฌานสมาบัติเป็นเวลา.... (ตามความประสงค์ว่าจะเข้าอยู่นานสักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ฌานจิตที่เคยได้แล้วนั้นจงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน)นี้ กามจิต อันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับปุถุชนและพระเสกขบุคคล หรือกามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับพระอรหันต์ ก็เกิดมีวิถีจิตดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต่อจากนี้ก็เจริญสมถภาวนา เข้าฌานสมาบัติ โดยเพ่งปฏิภาคนิมิตที่ตนเคยได้ เคย ผ่านมาแล้วนั้น วิถีจิตก็จะเกิดดังนี้ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ (ถ้าเป็นติกขบุคคล ก็ไม่มี บริกรรม) ต่อจากโคตรภู ฌานจิตก็เกิดเรื่อยไปตราบเท่า เวลาที่ตนตั้งความปรารถนาไว้ ต่อเมื่อครบกำหนดเวลาที่ตนอธิษฐานไว้แล้ว ฌานจิต จึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไปตามปกติ อนึ่ง ฌานลาภีบุคคล ผู้ได้เพียงปฐมฌาน ก็ต้องเข้าฌานสมาบัติในปฐมฌาน เท่าที่ตนได้ ที่เป็นธรรมดาสามัญ แต่ถ้าได้ฌานที่สูงขึ้นไป ก็เข้าได้ทั้งฌานสูงเท่าที่ ตนได้ และเข้าสมาบัติในฌานที่ต่ำกว่าก็ได้ด้วย เช่นผู้ที่ได้ ตติยฌาน เข้าตติยฌาน สมาบัติได้ เข้าทุติยฌานสมาบัติได้ หรือจะเข้าปฐมฌานสมาบัติก็ได้ (ข้อนี้ผิดกับ การเข้าผลสมาบัติ ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป) ผลสมาบัติวิถี การเข้าผลสมาบัติ เป็นการเข้าอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน ที่ได้มาจากอริยผล ญาณ อันบังเกิดแล้วแก่ตน เพื่อเสวยโลกุตตรสุข ซึ่งเป็นความสงบสุขที่พึงเห็น ประจักษ์ได้ในปัจจุบัน พระนิพพาน ที่เป็นอารมณ์ของผลสมาบัตินั้นมีชื่อ ๓ ชื่อหรือมี ๓ อาการคือ ๑. อนิมิตตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่เที่ยง อันปราศจากนิมิตเครื่องหมาย คือ อนิจจัง โดยบุญญาธิการแต่ปางก่อน แรงด้วยสีล เมื่อเข้าผลสมาบัติก็คงมีอนิมิตตนิพพาน เป็นอารมณ์ หน้า ๔๓ ๒. อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ทนอยู่ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปรไป อันหาเป็น ปณิธิ ที่ตั้งไม่ได้ คือทุกขัง โดยบุญญาธิ การแต่ปางก่อนแรงด้วยสมาธิ เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี อัปปณิหิตนิพพาน เป็นอารมณ์ ๓. สุญญตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ อันเป็นความว่างเปล่า คืออนัตตา โดยบุญญาธิการ แต่ปางก่อนแรงด้วยปัญญา เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี สุญญตนิพพาน เป็นอารมณ์ บุคคลที่เข้าผลสมาบัติได้ต้องเป็นพระอริยบุคคล คือเป็น พระโสดาบัน พระ สกทาคามี พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ส่วนปุถุชนจะเข้าผลสมาบัติไม่ได้เลย เป็นอันขาด พระอริยเจ้าที่จะเข้าผลสมาบัติ ก็เข้าได้เฉพาะอริยผลที่ตนได้ ที่ตนถึงครั้ง สุดท้ายเท่านั้น แม้อริยผลที่ตนได้และผ่านพ้นมาแล้วก็ไม่สามารถจะเข้าได้ กล่าวคือ พระโสดาบัน ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ โสดาปัตติผล พระสกทาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ สกทาคามีผล เท่านั้น จะเข้าโสดาปัตติผล ซึ่งถึงแม้ว่าตนจะเคยได้เคยผ่านเคยพ้นมาแล้ว ก็หาได้ไม่ พระอนาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่เฉพาะ อนาคามีผล พระอรหันต์ ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ อรหัตตผลโดยเฉพาะเช่นกัน พระอริยบุคคล ผู้จะเข้าผลสมาบัติ กิจเบื้องต้นก็จะต้องตั้งความปรารถนาว่า จะเข้าผลสมาบัติเป็นเวลา .... (ตามความประสงค์ที่จะเข้าอยู่สักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ผลจิตที่เคยปรากฏมาแล้วนั้น จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) นี้ กามจิตอันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับพระอริยเบื้องต่ำ ๓ หรือกามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับ พระอรหันต์ก็เกิด มีวิถีจิตซึ่งเรียกว่า อธิฏฐานวิถี ดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต่อจากอธิฏฐานวิถี ก็เจริญวิปัสสนาภาวนา มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็น อารมณ์ เริ่มแต่อุทยัพพยญาณเป็นต้นไป ผลจิตก็จะเกิด วิถีจิตนี้ชื่อว่า ผลสมา บัติวิถี มีวิถีดังนี้ น ท มโน อนุโลม อนุโลม อนุโลม อนุโลม ผล ผล ผล ฯลฯ ฯลฯ อนุโลม ๔ ขณะ สำหรับมันทบุคคล หรืออนุโลม ๓ ขณะ สำหรับติกขบุคคล ต่อจากอนุโลม ผลจิตก็เกิดเรื่อยไปเป็นจำนวนมากมาย ไม่สามารถที่จะประมาณได้ จนครบกำหนดเวลาที่ตนปรารถนาไว้ ผลจิตจึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไป ตามปกติ หน้า ๔๔ อนึ่ง จิตในผลสมาบัติวิถีนี้ ไม่เรียกว่า บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เหมือนอย่างในมัคควิถี แต่เรียก อนุโลมอย่างเดียวทั้ง ๔ ขณะ เพราะผลสมาบัติวิถี นี้ ไม่ได้ทำการประหารกิเลส เหมือนอย่างในมัคควิถี เป็นแต่จิต ๔ ดวงนี้เกิดขึ้น เพื่ออนุโลมให้จิตถึงพระนิพพาน หรือให้แนบแน่นในอารมณ์พระนิพพาน นิโรธสมาบัติวิถี การเข้านิโรธสมาบัติ เหมือนฝึกนิพพาน เข้าสู่ความดับสนิทแห่งนามขันธ์ โดยปราศจากอันตรายใด ๆ เป็นมหาสันติสุขอันยอดเยี่ยม ดังนั้นพระอริยเจ้าจึงนิยม เข้าผลสมาบัติ และนิโรธสมาบัติด้วยศรัทธา และฉันทะในอมตรสนั้น จนกว่าจะ นิพพาน ผู้ที่เข้านิโรธสมาบัติได้ ต้องเป็นผู้ที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ดังจะกล่าวต่อไป นี้ คือ ๑. ต้องเป็นพระอนาคามี หรือพระอรหันต์ ๒. ต้องได้ฌานสมาบัติทั้ง ๘ กล่าวคือ ต้องได้รูปฌาน และ อรูปฌานด้วย ทุกฌาน ๓. ต้องมีวสี ชำนาญคล่องแคล่วในสัมปทา คือ ถึงพร้อมสี่ประการ ได้แก่ ก. มีสมถพละ และวิปัสสนาพละ คือ มีสมาธิ และปัญญาเป็นกำลัง ชำนาญ ข. ชำนาญในการระงับกายสังขาร (คือลมหายใจเข้าออก) ชำนาญใน การระงับ วจีสังขาร (คือ วิตก วิจาร ที่ปรุงแต่งวาจา) ชำนาญในการ ระงับจิตตสังขาร (คือสัญญา และเวทนาที่ทำให้เจตนาปรุงแต่งจิต) ค. ชำนาญใน โสฬสญาณ (คือ ญาณทั้ง ๑๖) ง. ชำนาญใน ฌานสมาบัติ ๘ มาก่อน ดังนี้จะเห็นได้ว่า การเข้านิโรธสมาบัติ จำเป็นต้องใช้กำลังทั้ง ๒ ประการ คือ กำลังสมถภาวนา ต้องถึง เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และกำลังวิปัสสนาก็ต้องถึง ตติยมัคคเป็นอย่างต่ำ กล่าวคือ ต้องใช้ทั้งกำลังสมาธิ และกำลังปัญญาควบคู่กันด้วย ๔. ต้องเป็นบุคคลในภูมิที่มีขันธ์ ๕ (คือ ปัญจโวการภูมิ) เพราะในอรูปภูมิ เข้านิโรธสมาบัติไม่ได้ ด้วยเหตุว่าไม่มีรูปฌาน หน้า ๔๕ พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ที่ได้สมาบัติ ๘ อันเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ดังกล่าวแล้ว เมื่อจะเข้านิโรธสมาบัตินั้น ต้องกระทำดังนี้ (๑) เข้าปฐมฌาน มีกัมมัฏฐานใดกัมมัฏฐานหนึ่ง ที่ตนได้มาแล้วเป็นอารมณ์ ปฐมฌานกุสลจิตสำหรับพระอนาคามี หรือ ปฐมฌานกิริยาจิตสำหรับพระอรหันต์ ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะ ดังภาพนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌาน ภ (๒) เมื่อออกจากปฐมฌานแล้ว ต้องพิจารณาองค์ฌาน โดยความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งการพิจารณาเช่นนี้ เรียกว่า ปัจจเวกขณวิถี ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ (๓) เข้าทุติยฌาน ฌานจิตก็เกิด ๑ ขณะ (๔) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๕) เข้าตติยฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๖) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๗) เข้าจตุตถฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๘) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๙) เข้าปัญจมฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๐) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๑) เข้าอรูปฌาน คือ อากาสานัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๒) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๓) เข้าวิญญาณัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๔) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๕) เข้าอากิญจัญญายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๖) เมื่อออกจาก อากิญจัญญายตนฌานแล้ว ไม่ต้องเข้าปัจจเวกขณวิถี แต่เข้าอธิฏฐานวิถี คือ ทำ บุพพกิจ ๔ อย่าง ได้แก่ ก. นานาพทฺธ อวิโกปน อธิษฐานว่า บริขารต่าง ๆ ตลอดจนร่างกาย ของข้าพเจ้า ขออย่าให้เป็นอันตราย หน้า ๔๖ ข. สงฺฆปฏิมานน อธิษฐานว่า เมื่อสงฆ์ประชุมกัน ต้องการตัวข้าพเจ้า ขอให้ออกได้ โดยมิต้องให้มาตาม ค. สตฺถุปกฺโกสน อธิษฐานว่า ถ้าพระพุทธองค์มีพระประสงค์ตัว ข้าพเจ้า ก็ขอให้ออกได้ โดยมิต้องให้มีผู้มาตาม ง. อทฺธาน ปริจฺเฉท อธิษฐานกำหนดเวลาเข้า ว่าจะเข้าอยู่นานสัก เท่าใด รวมทั้งการพิจารณาอายุสังขารของตนด้วยว่าจะอยู่ถึง ๗ วันหรือไม่ ถ้าจะตายภายใน ๗ วัน ก็ไม่เข้า หรือเข้าให้น้อยกว่า ๗ วัน (๑๗) อธิษฐานแล้วก็เข้าเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน วิถีนี้ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เกิดขึ้น ๒ ขณะ (๒ ขณะ ไม่ใช่ ๑ ขณะ) (๑๘) ลำดับนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปก็ดับไป ไม่มีเกิดขึ้นอีกเลย ส่วน กัมมชรูป อุตุชรูป และอาหารชรูป ยังคงดำรงอยู่ และดำเนินไปตามปกติ หาได้ดับ ไปด้วยไม่ จิต เจตสิก และจิตตชรูป คงดับอยู่จนกว่าจะครบกำหนดเวลาที่ได้อธิษฐานไว้ (๑๙) เมื่อครบกำหนดเวลาที่ได้อธิษฐานไว้ ซึ่งเรียกว่า ออกจากนิโรธสมาบัติ นั้น อนาคามิผล สำหรับอนาคามิบุคคล หรืออรหัตตผล สำหรับอรหัตตบุคคล ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะก่อน ต่อจากนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปจึงจะเกิดตาม ปกติต่อไปตามเดิม อภิญญาวิถี อภิญญา แปลว่า รู้ยิ่ง รู้พิเศษ มีความหมายว่า เป็นจิตที่มีความรู้อันยิ่งใหญ่ เป็นพิเศษจนมีอำนาจสามารถที่จะบันดาลให้เกิด สิ่งที่ตนปรารถนาได้ ต้องใช้ รูปาวจรปัญจมฌานกุสล หรือ รูปาวจรปัญจมฌานกิริยา ที่ได้มาจากกสิณเป็นบาทให้เกิดอภิญญาจิต ดังนั้นอภิญญานี้จึงมีได้แต่ในภูมิที่มีขันธ์ ๕ เพราะต้องทำ อภิญญาด้วยรูปฌาน อภิญญาที่ต้องอาศัยรูปาวจรปัญจมฌานจิตเป็นบาทให้เกิดนั้น มี ๕ ประการ คือ ๑. บุพเพนิวาสานุสสติ ระลึกชาติก่อนที่เคยเกิดมาแล้วได้ หน้า ๔๗ ๒. ทิพพจักขุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ตาทิพย์เหมือนเทวดา และพรหม สามารถเห็นเหตุการณ์ไกล ๆ ที่ไปไม่ถึงได้ และ รู้จุติ ปฏิสนธิ ของสัตว์ทั้งหลาย ๓. ปรจิตตวิชชานน หรือ เจโตปริยญาณ รู้จักจิตใจของผู้อื่นได้ ๔. ทิพพโสต คือ หูทิพย์เหมือนเทวดาและพรหม สามารถฟังเสียงที่ไกล ๆ ได้ ๕. อิทธิวิธ แสดงอิทธิฤทธิต่าง ๆ ได้ ผู้ทำอภิญญาได้ ต้องเป็นผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ ๑. ได้สมาบัติทั้ง ๘ คือ ได้ทั้งรูปฌานสมาบัติ และอรูปฌานสมาบัติ โดย ครบถ้วน ๒. ต้องได้ทำการฝึกฝนอบรม (เป็นพิเศษอีก ๑๔ นัย) เพื่อให้ได้อภิญญา และต้องแคล่วคล่องว่องไวใน กระบวนการอบรม (ทั้ง ๑๔ นัย) นั้นด้วย (กระบวน การอบรมเป็นพิเศษ ๑๔ นัยนั้น แสดงไว้ในปริจเฉทที่ ๙) เมื่อฌานลาภีบุคคลผู้มีลักษณะดังกล่าว ปรารถนาจะทำอภิญญาอย่างใดอย่าง หนึ่ง ต้องกระทำดังนี้ คือ ๑. ต้องเข้ารูปาวจรปัญจมฌานก่อน เพื่อเป็นบาทให้จิตมีกำลังกล้าแข็ง ซึ่ง เรียกชื่อว่า ปาทกฌานวิถี วิถีจิตเป็นดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ ๒. แล้วก็อธิษฐาน คือ ตั้งความปรารถนา ความมุ่งมั่นอันแน่วแน่มั่นคง อย่างแรงกล้า ว่าประสงค์อภิญญาอย่างใด ซึ่งเรียกชื่อว่าอธิฏฐานวิถี เป็นกามวิถี ดังนี้ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ ๓. ต่อจากนั้นก็เข้ารูปาวจรปัญจมฌานอีก เรียก ปาทกฌานวิถี เหมือนกัน วิถีจิตเป็นดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ ๔. ลำดับสุดท้าย อภิญญาจิตก็จะเกิดขึ้นตามความปรารถนาที่ได้อธิษฐานนั้น วิถีนี้จะเกิดอภิญญาจิตขณะเดียวเท่านั้น ดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค อภิญญา ภ หน้า ๔๘ ขณะที่อภิญญากำลังเกิดอยู่นั้น มโนทวารวิถีที่เกิดต่อจากอภิญญาวิถีนั้น เป็น มหากุสลหรือมหากิริยาตามควรแก่บุคคลที่แสดงอภิญญา และเป็นกามชวนมโน ทวารวิถี ถ้าหากว่า ได้กระทำดังกล่าวแล้ว แต่อภิญญายังไม่เกิด ก็ต้องตั้งต้นเริ่มทำมา ตั้งแต่ต้นใหม่อีก จนกว่าอภิญญาจิตจะเกิด อนึ่ง ตามที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้ว่าบุคคลที่แสดงอภิญญาได้ ก็ด้วย อำนาจแห่งการเจริญสมถภาวนาจนได้สมาบัติทั้ง ๘ เช่นนี้ท่านเรียกว่า ปฏิปทาสิทธิฌาน ซึ่งมีความหมายว่า สำเร็จถึงซึ่งฌานด้วยการปฏิบัติ ยังมีบุคคลอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งในชาตินั้นไม่เคยเจริญสมถภาวนา เป็นแต่เจริญ วิปัสสนาภาวนาอย่างเดียว ถึงกระนั้นก็ดี บางบุคคลพอบรรลุมัคคผล ก็ถึงพร้อมซึ่ง ฌานด้วย จนถึงแสดงอภิญญาได้ก็มี เช่น พระจุฬปัณถก เมื่อสำเร็จเป็นพระอรหันต์ แล้ว ก็ได้แสดงปาฏิหาริย์เป็นภิกษุหลายรูปจนเต็มพระเชตวัน เช่นนี้ท่านเรียกว่า มัคคสิทธิฌาน ซึ่งมีความหมายว่า ได้ฌานด้วยอำนาจแห่งมัคค มรณาสันนวิถี มรณาสันนวิถี เป็นวิถีจิตที่ใกล้ตาย วิถีนี้ชวนจิตเกิดเพียง ๕ ขณะเท่านั้น เพราะจิตมีกำลังอ่อนมากแล้ว เมื่อสุดวิถีของมรณาสันนวิถี จุติจิตต้องเกิดขึ้นอย่าง แน่นอน ๑ ขณะ สัตว์นั้นก็ถึงแก่ความตาย เมื่อจุติจิตดับลงแล้ว ปฏิสนธิก็เกิดติดต่อกันในทันทีทันใด ไม่มีจิตอื่นมาเกิด คั่นระหว่างจุติกับปฏิสนธิจิตเลย (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์ ไม่มีปฏิสนธิจิตมาเกิด ต่อ) สัตว์ที่ใกล้ตาย ก่อนที่จุติจิตเกิด ถ้ามี รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสถูกต้อง เป็น อารมณ์ มรณาสันนวิถีนั้นเรียกว่า มรณาสันนวิถีทางปัญจทวาร ถ้ามีความคิดนึกในทางใจเป็นอารมณ์ มรณาสันนวิถีนั้นก็เรียกว่า มรณาสันน วิถีทางมโนทวาร มรณาสันนวิถีทางปัญจทวาร แต่ละทวาร มี ๔ วิถี ดังนี้ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต ภ จุติ ปฏิ ภ ภ ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช จุติ ปฏิ ภ ภ ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ภ จุติ ปฏิ ภ หน้า ๔๙ มรณาสันนวิถีทางมโนทวาร มี ๔ วิถี เช่นเดียวกัน ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต ภ จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ภ จุติ ปฏิ ภ ในมรณาสันนวิถี มี กรรม กรรมนิมิต คตินิมิต เป็นอารมณ์แน่นอน กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ ที่เกิดขึ้นในมรณาสันนวิถีนี่แหละ เป็นเครื่องหมายบ่งบอกภพชาติที่จุติสัตว์นั้นจะไปปฏิสนธิ กรรมอารมณ์ กับ คตินิมิตอารมณ์ ทั้ง ๒ นี้ เกิดเฉพาะทางมโนทวาร ส่วน กรรมนิมิตอารมณ์เกิดได้ทั้ง ๖ ทวาร โดยเฉพาะ มรณาสันนวิถีของพระอรหันต์ ไม่มีกรรมอารมณ์ กรรมนิมิต อารมณ์ หรือ คตินิมิตอารมณ์ แม้แต่อย่างเดียว เพราะท่านไม่ต้องปฏิสนธิอีกแล้ว อารมณ์ในมรณาสันนวิถีทั้ง ๓ คือ กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิต อารมณ์ นี้ เกิดขึ้นด้วยอำนาจของกรรมทั้ง ๔ คือ ๑. ครุกรรม คือ กรรมที่หนัก ทางอกุสล ได้แก่ ปัญจานันตริยกรรม (อนัน ตริยกรรมทั้ง ๕) ในทางกุสลได้แก่ มหัคคตกุสล ๙ ถ้าได้ทำกรรมหนักเช่นนี้ ครุกรรมต้องให้ผลก่อน อนันตริยกรรม ๕ ได้แก่ มาตุฆาต ปิตุฆาต อรหันตฆาต โลหิตุปปาท และ สังฆเภท ๒. อาสันนกรรม คือ กรรมที่กระทำเมื่อใกล้ตาย มีทั้งทางกุสล และทาง อกุสล ถ้าไม่มีครุกรรมแล้ว อาสันนกรรมนี้ต้องให้ผลเป็นอันดับแรก ๓. อาจิณณกรรม คือ กุสลกรรม และกุสลกรรมที่ทำอยู่เสมอเป็นอาจิณ ถ้าไม่มีครุกรรมและอาสันนกรรมแล้ว อาจิณณกรรมนี้ก็ให้ผลก่อน หน้า ๕๐ ๔. กฏัตตากรรม คือ กุสลกรรม และอกุสลกรรมที่ไม่ครบองค์ของกัมมบถ จัดเป็นกรรมเล็กน้อย ถ้าไม่มีกรรมอื่น คือ ๓ อย่างข้างต้นนั้น จึงเป็นหน้าที่ของ กฏัตตากรรมนี้ให้ผล จุติ และ ปฏิสนธิ สัตว์ที่จะจุติ(เว้นอสัญญสัตต) จะต้องมีมรณาสันนวิถีอย่างใดอย่างหนึ่ง ดัง ได้แสดงภาพมาแล้วจะผิดกันก็ตรงที่ชวนะซึ่งมี ๕ ขณะนั้น ว่าจะเป็น ชวนจิตที่เป็นบาปหรือเป็นบุญเพียงใด ๑. กามบุคคลจุติ และ ปฏิสนธิในกามภูมิอีกนั้น ก. วิถี จะจุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี หรือทางมโนทวารมรณาสันนวิถี อย่างใดวิถีใดก็ได้ทุกวิถี แล้วแต่ว่าจะประสบกับอารมณ์ใด ถ้าประสบกับปัญจารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี ถ้าประสบกับธัมมารมณ์ ก็จุติ ทางมโนทวารมรณาสันนวิถี ข. ชวนะ ในวิถีนั้น ๆ ซึ่งมีชวนะ ๕ ขณะ ก็เป็นกามชวนะ แต่จะเป็นโลภ ชวนะ โทสชวนะ โมหชวนะ มหากุสลญาณวิปปยุตตชวนะ หรือ มหากุสลญาณ สัมปยุตตชวนะ ก็แล้วแต่อำนาจของกรรมทั้ง ๔ ที่สัตว์นั้นกระทำมา (ครุกรรม, อาสันนกรรม, อาจิณณกรรม, กฏัตตากรรม) ๒. กามบุคคลจุติ และ ปฏิสนธิในพรหมภูมิ เพราะเป็นฌานลาภีบุคคลนั้น ก. วิถี จะไม่จุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี แต่จุติทางมโนทวารมรณา สันนวิถี เพราะจะต้องมีบัญญัติ หรือมีธัมมารมณ์เป็นอารมณ์เสมอ ข. ชวนะ ในชวนะ ๕ ขณะนั้น เป็นมหัคคตชวนะ คือเป็นบริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู และฌานจิต แล้วจุติจิตจึงจะเกิด จะเป็นฌานจิตชั้นใด ก็แล้วแต่ ฌานที่ตนได้ตนถึง ๓. พรหมบุคคลจุติ และปฏิสนธิในพรหมภูมิชั้นเดิม หรือ ชั้นที่สูงขึ้นไปนั้น มรณาสันนวิถีก็จะเกิดเช่นเดียวกับกามบุคคลจุติ และปฏิสนธิในพรหมภูมิ (ข้อ ๒) คือ จุติทางมโนทวารมรณาสันนวิถี และชวนะเป็นมหัคคตชวนะ ๔. พรหมบุคคลจุติ และกลับมาปฏิสนธิในกามสุคติภูมิ เพราะสิ้นบุญบารมี นั้น มรณาสันนวิถีก็จะเกิด เช่นเดียวกับกามบุคคลจุติ และปฏิสนธิในกามภูมิอีก (ข้อ ๑) คือ ชวนะเป็นกามชวนะ หน้า ๕๑ ปรินิพพาน ของ พระอรหันต์ พระอรหันต์ทั้งหลาย ไม่ปรินิพพานทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี แต่ ปรินิพพานทางมโนทวารมรณาสันนวิถีทางเดียว และไม่มีกรรมอารมณ์ กรรมนิมิต อารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์เลย มรณาสันนวิถีของพระอรหันต์นับได้ว่ามี ๕ อย่าง คือ ๑. กามชวนมรณาสันนวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากชวนะที่เป็นมหากิริยา อย่างนี้นับว่าเป็นการปรินิพพานอย่างธรรมดาสามัญ ๒. ฌานสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากฌานสมาบัติวิถี ๓. ปัจจเวกขณสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากวิถีที่พิจารณาองค์ฌาน ๔. อภิญญาสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากอภิญญาวิถี ที่แสดงอิทธิ ฤทธิต่าง ๆ ๕. ชีวิตสมสีสี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากการพิจารณา มัคค ผล นิพพาน และกิเลสที่ประหารสิ้นแล้ว ตทาลัมพนนิยม ตทาลัมพนนิยม แปลว่า ข้อจำกัดอันแน่นอนของตทาลัมพนะ มีความหมาย ว่า การที่ตทาลัมพนะจะเกิดได้นั้น มีข้อจำกัดประการใดบ้าง ตทาลัมพนะควรจะเกิด แต่มีข้อจำกัดอย่างใดบ้างที่ทำให้เกิดไม่ได้ และเมื่อตทาลัมพนะ ที่ควรจะเกิดแต่เกิด ไม่ได้แล้ว มีข้อจำกัดว่ามีอะไรเกิดมาแทนหรือไม่ ข้อจำกัดในการเกิดขึ้นของตทาลัมพนะนี้ มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๗ แสดงว่า ๗. กาเม ชวนสตฺตาลมฺ- พนานํ นิยเม สติ วิภูเต ติมหนฺเต จ ตทารมฺมณมีริตํ ฯ แปลความว่า ชวนะ สัตว์ อารมณ์ ที่เป็นกาม นั้น ตทาลัมพนะย่อมเกิดได้ในวิภูตารมณ์วิถี และ อติมหันตารมณ์วิถี หน้า ๕๒ อธิบาย ตทาลัมพนะ หรือ ตทารัมมณะ มีความหมายอย่างเดียวกัน มาจากคำว่า ตํ(นั้น) + อารมฺมณ(อารมณ์) = อารมณ์นั้น ตามคาถาสังคหะที่ ๗ คงได้ความว่า ตทาลัมพนะจะเกิดได้ ต่อเมื่อครบองค์ ดังนี้คือ ๑. ชวนะ ต้องเป็น กามชวนะ ๒. สัตว์ ต้องเป็น กามบุคคล ๓. อารมณ์ ต้องเป็น กามอารมณ์ ๔. วิถี ต้องเป็น วิภูตารมณ์ หรือ อติมหันตารมณ์วิถี ในข้อ ๑. ที่ว่า ชวนะต้องเป็นกามชวนะนั้น จะเป็นทางปัญจทวารวิถี หรือ มโนทวารวิถีก็ได้ แต่ถ้าเป็น อัปปนาชวนะ คือ มหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะ แล้ว ตทาลัมพนะย่อมไม่เกิด ในข้อ ๒. ที่ว่า สัตว์ต้องเป็นกามบุคคลนั้น หมายถึงบุคคลในกามภูมิ แต่ถ้า บุคคลนั้นเป็นพรหมในรูปภูมิก็ดี ในอรูปภูมิก็ดี ตทาลัมพนะก็ไม่เกิด ในข้อ ๓ ที่ว่า อารมณ์ต้องเป็นกามอารมณ์นั้น หมายเฉพาะกามอารมณ์ที่เป็น ปรมัตถเท่านั้น แต่ถ้ากามอารมณ์นั้นเป็นบัญญัติอารมณ์ก็ดี หรือว่าเป็น มหัคคต อารมณ์ หรือเป็นโลกุตตรอารมณ์ก็ดี ตทาลัมพนะก็ไม่เกิด ในข้อ ๔ ที่ว่า วิถีต้องเป็นวิภูตารมณ์วิถี หรืออติมหันตารมณ์วิถีนั้น ความชัด อยู่แล้วว่า วิถีนอกจากนี้ คือ อวิภูตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี ปริตตารมณ์วิถี อติปริตตารมณ์วิถีนั้น ตทาลัมพนะเกิดไม่ได้อยู่แล้ว เมื่อครบองค์ดังกล่าว ตทาลัมพนะจึงจะเกิดได้ ตทาลัมพนะที่เกิดนี้จะเป็น กุสลวิบาก หรือ อกุสลวิบาก และจะเป็นโสมนัส หรืออุเบกขา ทั้งนี้ต้องแล้วแต่ อารมณ์ ที่มาประสบนั้นเป็นสำคัญโดยมีข้อจำกัดว่า ก. อารมณ์นั้นเป็น อติอิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ดีมาก ตทาลัมพนะที่เกิด ย่อมเป็นกุสลวิบาก และเป็นโสมนัสด้วย ข. อารมณ์นั้นเป็น อิฏฐารมณ์ คือเป็นอารมณ์ที่ดีอย่างปานกลาง อย่างสามัญ ทั่ว ๆ ไป ตทาลัมพนะที่เกิดก็เป็นกุสลวิบากเหมือนกัน แต่เป็นอุเบกขา หน้า ๕๓ ค. แต่ถ้าอารมณ์นั้นเป็น อนิฏฐารมณ์ คืออารมณ์ที่ไม่ดีแล้วไซร้ ตทาลัมพนะ ที่เกิดต้องเป็นอกุสลวิบาก และเป็นอุเบกขาเวทนาแต่อย่างเดียว ทั้งนี้ได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ “กุสลวิบาก และ อกุสลวิบาก” ที่หน้า ๑๕ ขอให้ดูประกอบด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังมีที่กล่าวถึงในเรื่องตทาลัมพนะ ดังจะกล่าวต่อไปอีกเพียง เท่านี้ คือ กามาวจรกิริยาชวนะ ในสันดานแห่งพระขีณาสพนั้น ถ้าประกอบด้วยโสมนัส ตทาลัมพนะที่เกิดในที่สุดชวนะนั้น ก็เป็นโสมนัส ถ้ากามาวจรกิริยาชวนะ ประกอบด้วยอุเบกขา ตทาลัมพนะในที่สุดชวนะ ก็คงเป็นอุเบกขาไม่แปรผันเลย ด้วยสันดานแห่งพระขีณาสพปราศจากสัญญาวิปลาส ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดในตอนนี้ เป็นการแสดงการเกิดขึ้นของตทาลัมพนะ แต่ว่าในบางกรณีตทาลัมพนะควรจะต้องเกิด แต่ก็เกิดไม่ได้ จำต้องมีสิ่งอื่นมาเกิด แทน สิ่งที่มาเกิดแทนนั้นมีชื่อเรียกว่า อาคันตุกภวังค และก็มีข้อจำกัดว่าในกรณีใดบ้างที่จะต้องมี หรือไม่มี อาคันตุกภวังค ดังจะได้กล่าวต่อไปนี้ อาคันตุกภวังค อาคันตุกภวังค แปลว่า ภวังคที่จรมา ภวังคที่แปลกหน้ามา มีความหมายว่า ไม่ใช่ภวังคเดิม ที่เป็นองค์แห่งภพของสัตว์นั้น ๆ แต่ว่าเป็นภวังคหน้าใหม่จรมา ที่จะต้องมีอาคันตุกภวังค ก็เพราะจิตที่เกิดก่อนเป็นโทมนัสเวทนาจิตที่เกิด ทีหลังจะต้องเป็นโสมนัสเวทนา แต่ว่าโสมนัสเวทนาจะเกิดติดต่อกับโทมนัสเวทนา ไม่ได้ เพราะความรู้สึกนั้นตรงกันข้ามทีเดียว อุปมาดุจคนร้องไห้ จะหัวเราะ ในทันทีทันใดนั้นไม่ได้ ต้องหยุดร้องไห้เสียก่อนชั่วขณะแม้เพียงขณะน้อยนิดเดียว ต่อมาภายหลังจึงจะหัวเราะได้ ในวิถีจิต จิตที่เกิดก่อนเป็นโทมนัสเวทนาก็มีอยู่แห่งเดียว คือที่ชวนจิต ได้แก่ โทสชวนะ ต่อจากโทสชวนจิตก็เป็นตทาลัมพนะหรือภวังค ซึ่งถ้าหากว่าตามสภาวะ จะต้องเป็นโสมนัสเวทนาแล้ว โสมนัสตทาลัมพนะ หรือโสมนัสภวังคนั้นก็จะเกิดต่อจากโทสชวนะที่เป็นโทมนัสเวทนานั้นไม่ได้ จำต้องเกิดจากอาคันตุกภวังค ซึ่ง อาคันตุกภวังคนี้เป็นอุเบกขาเวทนาแต่อย่างเดียว หน้า ๕๔ ๑. ในอติมหันตารมณ์วิถี ตทาลัมพนะเกิดไม่ได้ จำต้องมีอาคันตุกภวังคเกิด มาแทนนั้น ต้องพร้อมด้วยองค์ ๓ ประการ คือ ก. ชวนะนั้นต้องเป็นโทสชวนะ ข. อารมณ์นั้นต้องเป็นอติอิฏฐารมณ์ ค. บุคคลนั้นต้องปฏิสนธิมาด้วย โสมนัสมหาวิบาก โสมนัสปฏิสนธิ อติอิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ต้องมีอาคันตุกภวังค ภวังคเดิมเป็นโสมนัส ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช อา ภ ๒. แม้ว่าชวนะนั้นจะเป็นโทสชวนะก็ดี แต่ถ้าอารมณ์นั้นเป็นอิฏฐารมณ์ หรือ อนิฏฐารมณ์ ถึงบุคคลนั้นจะปฏิสนธิมาด้วยโสมนัสมหาวิบากก็ตาม ตทาลัมพนะก็ เกิดได้ ไม่ต้องมีอาคันตุกภวังค เพราะเมื่ออารมณ์นั้นเป็นอิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์แล้ว ตทาลัมพนะก็เป็น อุเบกขาเวทนา จึงเกิดติดต่อกับโทมนัสเวทนาได้ โสมนัสปฏิสนธิ , อิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ตทาลัมพนะเกิดได้ , อุเบกขา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๓. แม้ว่าชวนะนั้นเป็นโทสชวนะก็ดี และทั้งอารมณ์ก็เป็น อติอิฏฐารมณ์ก็ดี แต่ถ้าบุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วยอุเบกขาเวทนาแล้ว ถึงตทาลัมพนะจะเกิดไม่ได้ก็จริง แต่ภวังคเดิมซึ่งต้องเป็นอุเบกขาเวทนา ก็เกิดติดต่อกับโทสชวนะ อันมีเวทนาเป็น โทมนัสได้ ไม่ต้องมีอาคันตุกภวังค หน้า ๕๕ อุเบกขาปฏิสนธิ , อติอิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ภวังคเดิมเกิดได้ , อุเบกขาเวทนา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๔. ในมหันตารมณ์วิถี ภวังคเดิมเกิดไม่ได้ จำต้องมีอาคันตุกภวังคเกิดมาแทน นั้น ต้องพร้อมด้วยองค์ เพียง ๒ ประการเท่านั้น คือ ก. ชวนะนั้น ต้องเป็นโทสชวนะ ข. บุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วย โสมนัสมหาวิบาก โสมนัสปฏิสนธิ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ต้องมีอาคันตุกภวังค เป็นอุเบกขาเวทนา ภวังคเดิมเป็นโสมนัส ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช อา ภ ๕. แม้ว่าชวนะนั้นเป็นโทสชวนะก็ตาม แต่ถ้าบุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วย อุเบกขาเวทนาแล้ว ภวังคเดิมซึ่งเป็นอุเบกขาก็เกิดติดต่อกับโทสชวนะนั้นได้ ไม่ ต้องมีอาคันตุกภวังค อุเบกขาปฏิสนธิ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ภวังคเดิมเกิดได้ , อุเบกขาเวทนา ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๖. ในมโนทวารวิถี วิถีใดจะต้องมีอาคันตุกภวังค หรือไม่นั้น มีสิ่งที่จะต้อง พิจารณาเช่นเดียวกันกับทาง ปัญจทวารวิถี กล่าวคือในวิภูตารมณ์วิถี เป็นทำนองเดียวกันกับอติมหันตารมณ์วิถี ในอวิภูตารมณ์วิถี ก็เป็นทำนองเดียวกับ มหันตารมณ์วิถี ตามที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้นนั้นทุกประการ หน้า ๕๖ ชวนนิยม ชวนนิยม แปลว่า ข้อจำกัดอันแน่นอนของชวนะ มีความหมายในที่นี้ว่า ชวนจิตอย่างใดมีจำกัดว่าเกิดได้กี่ขณะ ดังมีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๘ แสดงว่า ๘. สตฺตกฺขตฺตุํ ปริตฺตานิ มคฺคาภิญฺญา สกึ มตา อวเสสานิ ลพฺภนฺติ ชวนา พหูนิปิ ฯ แปลความว่า ท่านกล่าวว่ากามชวนะเกิดเพียง ๗ ขณะ มัคคชวนะ อภิญญาชวนะ เกิดเพียงขณะเดียว ชวนะที่เหลือนอกจากนี้ แม้หลาย ๆ ขณะก็เกิดได้ แสดงรายละเอียด ชวนจิตที่เกิด ๑ ขณะ ได้แก่จิต ๒๖ ดวง คือ ก. มหัคคตกุสล ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในอาทิกัมมิกฌานวิถี ข. มหัคคตกิริยา ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในอาทิกัมมิกฌานวิถี ค. อภิญญาชวนะ ๒ ที่เกิดขึ้นในอภิญญาวิถี ง. มัคคชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถี จ. อนาคามิผลชวนะ ๑ ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาออกจากนิโรธสมาบัติ ฉ. อรหัตตผลชวนะ ๑ ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาออกจากนิโรธสมาบัติ ชวนจิตที่เกิด ๒ ขณะ ได้แก่จิต ๖ ดวง คือ ก. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๒ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้านิโรธสมาบัติ ข. ผลชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถีของมันทบุคคล ชวนจิตที่เกิด ๓ ขณะ ได้แก่จิต ๑๒ ดวง คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของติกขบุคคล ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของติกขบุคคล ค. ผลชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถีของติกขบุคคล ชวนจิตที่เกิด ๔ ขณะ ได้แก่จิต ๘ ดวง คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของมันทบุคคล ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของมันทบุคคล หน้า ๕๗ อนึ่งมหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นใน(ปัจจเวกขณวิถี) เมื่อสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์นั้น ก็เกิดเพียง ๔ ขณะ เพราะต้อง กระทำกิจนั้นโดยเร็วที่สุด ชวนจิตที่เกิด ๕ ขณะ ได้แก่จิต ๒๘ ดวง คือ กามชวนะ ๒๘ (เว้นหสิตุปปาทะ) ที่เกิดขึ้นในมรณาสันนวิถี คือ วิถีที่จะจุติ อนึ่งบางแห่งกล่าวว่า ชวนจิตที่เกิดขึ้นในมรณาสันนกาล(ใกล้ตาย), มุจฉา กาล(ขณะหลง), วิสัญญีภูตกาล(ขณะสลบ), อติตรุณกาล(ขณะที่กัมมชรูปมีกำลัง อ่อนมาก) เหล่านี้ ชวนะก็เกิด ๕ ขณะ และมหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นใน(ปัจจ เวกขณวิถี) เมื่อพระสาวกแสดงอิทธิฤทธิซึ่งเกี่ยวกับกรณีพิเศษชวนะก็เกิด ๕ ขณะ เหมือนกัน ชวนจิตที่เกิด ๖ ขณะ ได้แก่จิตที่เกิดขึ้นในเวลาสลบ อนึ่ง บางแห่งกล่าวว่า ในเวลาร่างกายเป็นปกติ กามชวนะ ๒๙ ดวงนั้น อาจจะเกิดเพียง ๖ ขณะ ก็มีได้ ชวนจิตที่เกิด ๗ ขณะ ได้แก่จิต ๒๙ ดวง คือ กามชวนะ ๒๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ ชวนจิตที่เกิดมากกว่า ๗ ขณะขึ้นไป ได้แก่จิต ๒๒ ดวง คือ ก. มหัคคต กุสล ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ฌานสมาบัติ ข. มหัคคต กิริยา ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ฌานสมาบัติ ค. ผลจิต ๔ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ผลสมาบัติ บุคคล ๑๒ ประเภทของบุคคล ท่านจัดไว้เป็น ๑๒ คือ ปุถุชน ๔ อริยบุคคล ๘ ปุถุชน ๔ ได้แก่ ทุคคติอเหตุกบุคคล สุคติอเหตุกบุคคล ทวิเหตุกบุคคล ติเหตุกบุคคล หน้า ๕๘ อริยบุคคล ๘ ได้แก่ โสดาปัตติมัคคบุคคล สกทาคามิมัคคบุคคล อนาคามิมัคคบุคคล อรหัตตมัคคบุคคล มัคคบุคคล ๔ โสดาปัตติผลบุคคล สกทาคามิผลบุคคล อนาคามิผลบุคคล อรหัตตผลบุคคล ผลบุคคล ๔ ทุคคติอเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ บุคคลในอบายภูมิรวม ๔ ภูมิคือ นรก ๑ ภูมิ เปรต ๑ ภูมิ อสุรกาย ๑ ภูมิ และสัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภูมิ สัตว์ทั้ง ๔ นี้ ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณอกุสลวิบาก ๑ ดวง สุคติอเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ มนุษย์ผู้ หูหนวก ตาบอด เป็นบ้า เป็นใบ้ พิกลพิการต่าง ๆ ๑ ภูมิ และเทวดาบางจำพวกในชั้นจาตุมหาราชิกา ๑ ภูมิ สัตว์ใน ๒ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณกุสลวิบาก ๑ ดวง ทวิเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดาทั้ง ๖ ภูมิ (รวมเรียกว่า กาม สุคติภูมิ ๗) ผู้ไม่มีปัญญา สัตว์ใน ๗ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ ดวง ติเหตุกบุคคล ๙ ได้แก่ ปุถุชน ๑ อริยบุคคล ๘ ปุถุชน ๑ ได้แก่ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ (เว้น สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ) และอรูปพรหม ๔ ภูมิ รวมเป็น ๒๑ ภูมิ ด้วยกัน เป็นสัตว์ผู้มีปัญญาทั้งนั้นซึ่งปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ ดวง มหัคคตวิบาก ๙ ดวง อริยบุคคล ๘ ได้แก่ มัคคบุคคล ๔ ผลบุคคล ๔ ในมนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๕ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตต ๑ ภูมิ) และอรูปพรหม ๔ ภูมิ สัตว์ใน ๒๖ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ ดวง มหัคคตวิบาก ๙ ดวง เพื่อให้เห็นได้ชัดว่า อริยบุคคล ๘ นั้น บุคคลใดมีได้ในภูมิใดบ้าง ขอแสดง ดังนี้ หน้า ๕๙ โสดาปัตติมัคคบุคคล ๑ บุคคลนี้มีได้ ๑๗ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ บุคคลนี้มีไม่ได้ใน ๑๔ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ โสดาปัตติผลบุคคล ๑ สกทาคามิมัคคบุคคล ๑ สกทาคามิผลบุคคล ๑ อนาคามิมัคคบุคคล ๑ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีได้ใน ๒๑ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีไม่ได้ใน ๑๐ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ อนาคามิผลบุคคล ๑ อรหัตตมัคคบุคคล ๑ อรหัตตผลบุคคล ๑ บุคคลทั้ง ๓ นี้ มีได้ใน ๒๖ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๕ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีไม่ได้ใน ๕ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ หน้า ๖๐ จิตที่ไม่มีในบุคคลบางจำพวก บุคคลบางจำพวก ไม่มีจิตบางประเภทเลย มีสำนวนเก่าท่านกล่าวไว้ ซึ่งถ้าได้ พิจารณาแล้ว ก็พอจะเข้าใจได้ จึงเห็นว่าควรจะคงสำนวนนั้นไว้ โดยไม่เปลี่ยนแปลง แก้ไขเลย ดังมีข้อความต่อไปนี้ สัตว์ที่เป็นอเหตุก และ ทวิเหตุกนั้น เป็นสัตว์บุญน้อย ไม่ได้สำเร็จกิริยาชวนะ ( ชวนะจิตของพระอรหันต์ ) และ อัปปนาชวนะ ( หมายถึงสัตว์ที่เป็นอเหตุก และ ทวิเหตุกนั้น ไม่สามารถทำฌาน และบรรลุมรรค ผล นิพพานได้ ในชาติที่ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณกุสลวิบาก ๑ ดวง และ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ ดวง นั้น ) ถึงเกิดในสุคติ จิตที่เป็นกามาวจรวิบากญาณสัมปยุตตก็ไม่มีในสันดาน ถ้าเป็นอเหตุกสัตว์ในทุคคติแล้ว ก็ยิ่งชั่วร้อยเท่าพันทวี แม้แต่จิตที่เป็นมหา วิบากญาณวิปปยุตต ก็ไม่มีในสันดาน ท่านที่เป็นติเหตุกหรือ ไตรเหตุ มีไตรเหตุเกิดพร้อมด้วยปฏิสนธิจิตนั้น ถ้าบำเพ็ญพระกัมมัฏฐาน ก็จะได้สำเร็จเป็นพระขีณาสพ ขาดจากกุสลชวนะ และอกุสลชวนะ มีแต่ กิริยาชวนะ และอรหัตตชวนะ ปุถุชนที่เป็นติเหตุกหรือไตรเหตุ ยังเป็นปุถุชนอยู่ ก็ไม่มีกิริยาชวนะในสันดาน โลภชวนะที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหสัมปยุตตวิจิกิจฉา และกิริยา ชวนะก็ดี ย่อมไม่มีในสันดานแห่งเสกขบุคคลคือ พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี พระอนาคามีบุคคลนั้น ในสันดานไม่มีปฏิฆชวนะ และกิริยาชวนะ และโลภ ชวนทิฏฐิสัมปยุตต และโมหชวนวิจิกิจฉาสัมปยุตต โลกุตตรชวนะนั้น มีกำหนดเกิดเป็นส่วน ๆ กัน โสดาปัตติชวนะนั้น จำเพาะ มีในสันดานพระโสดาบัน ครั้นถึงพระสกทาคามีแล้ว โสดาปัตติชวนะก็ขาดไป มีแต่สกทาคามีชวนะในสันดาน ครั้นได้อนาคามีแล้ว สกทาคามีชวนะก็ขาดไป มีแต่ อนาคามีชวนะ ครั้นได้อรหัตตแล้ว อนาคามีชวนะก็ขาดไป มีแต่อรหัตตชวนะอยู่ใน สันดาน วิถีจิตของบุคคล บุคคลทั้ง ๑๒ (ปุถุชน ๔, อริยบุคคล ๘)นั้น บุคคลใดมี วิถีจิต ได้เท่าใด ท่านได้แสดงไว้เป็นส่วนรวม ดังมีคาถา สังหคะเป็นคาถาที่ ๙ แสดงไว้ว่า ๙. อเสกฺขานํ จตุจตฺตา- ฬีส เสกฺขาน มุทฺทิเส ฉปญฺญาสาว เสสานํ จตุปญฺญาส สมฺภวา ฯ แปลความว่า อเสกขบุคคล มีวิถีจิต ๔๔ เสกขบุคคล มีวิถีจิต ๕๖ บุคคลนอกนั้น มีวิถีจิต ๕๔ หน้า ๖๑ อธิบาย อเสกขบุคคล คือบุคคลที่ไม่ต้องศึกษาอีกแล้ว หมายถึงพระอรหันต์ มีวิถีจิต ๔๔ คือ อเหตุกจิต ๑๘ มหากิริยา ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ อรหัตตผล ๑ ที่มีวิถีจิต ๔๔ นี้ หมายถึง พระอรหันต์อยู่ในกามภูมิ และได้ฌานทั้งรูปฌาน และอรูปฌานด้วย เสกขบุคคล คือ บุคคลที่ยังต้องศึกษาต่อไปอีก หมายถึง พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี มีวิถีจิต ๕๖ คือ อกุสลจิต ๗ (เว้นทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา ๑) อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นหสิตุปปาทะ) มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นอรหัตตผล) ที่มีวิถีจิต ๕๖ นี้กล่าวเป็นส่วนรวมทั้ง ๗ บุคคล เว้นแต่อรหัตตผลบุคคล บุคคลเดียวเท่านั้น บุคคลนอกนั้นคือ บุคคลที่นอกจากพระอริยะทั้ง ๘ หมายถึง บุคคลที่ยังเป็น ปุถุชนอยู่ และอยู่ในกามภูมิ มีวิถีจิต ๕๔ คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นหสิตุปปาทะ) มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ หน้า ๖๒ ขยายความ เพื่อให้เห็นได้ชัดเป็นรายบุคคล ว่าแต่ละบุคคลมี วิถีจิต และประเภทจิตที่ไม่ สามารถจะมีได้นั้นเท่าใด อะไรบ้าง จึงขอแสดงดังต่อไปนี้ ทุคคติบุคคล ได้วิถีจิต ๓๗ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๒ ดวง คือ อกุสล ๑๒ อเหตุก ๑๗ มหากุสล ๘ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตร ๘ สุคติบุคคล และ ทวิเหตุกบุคคล ได้วิถีจิต ๔๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๘ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสลจิต ๘ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ มหากิริยา ๘ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตร ๘ ติเหตุกปุถุชน (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๕๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๓๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสลจิต ๘ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตกุสลจิต ๙ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๖๓ โสดาบัน และ สกทาคามิบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๕๐ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๓๙ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ โสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ อนาคามิบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๔๘ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๑ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ อนาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ หน้า ๖๔ อรหัตตบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๔๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๕ ดวง คือ อเหตุกจิต ๑๘ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตกิริยา ๙ อรหัตตผล ๑ อกุสล ๑๒ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตวิบาก ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ พรหมปุถุชน ในปฐมฌานภูมิ ๓ ตติยฌานภูมิ ๓ และ จตุตถฌาน เฉพาะ เวหัปผลาภูมิ ๑ ใน ๗ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๙ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ปฐมฌานวิบาก หรือ จตุตถฌานวิบาก หรือ ๑ ปัญจมฌานวิบาก โทสมูลจิต ๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ พรหมปุถุชน ใน ทุติยฌานภูมิ ๓ ใน ๓ ภูมินี้ มีจิตได้ ๔๐ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๙ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ทุติยฌานวิบาก ๑ ตติยฌานวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๗ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๖๕ พรหมอนาคามี ใน สุทธาวาส ๕ ภูมิ ใน ๕ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๕ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๔ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ปัญจมฌานวิบาก ๑ อนาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๗ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ในรูปพรหมชั้นอื่น ๆ คือ ใน ปฐมฌานภูมิ ๓ ในทุติยฌานภูมิ ๓ ในตติยฌานภูมิ ๓ และในจตุตถฌานภูมิ เฉพาะเวหัปผลาภูมิ ๑ รวม ๑๐ ภูมินั้น ก็มีจิตได้ ๓๕ ดวง เท่ากับพรหมอนาคามี ในสุทธาวาสภูมินี้ เพียงแต่ ก. เปลี่ยนปัญจมฌานวิบาก เป็น ปฐมฌานวิบาก ทุติยฌานวิบาก ตติยฌาน วิบาก หรือ จตุตถฌานวิบากให้ตรงตามที่ได้ที่ถึง ข. เปลี่ยน อนาคามิผลเป็น โสดาปัตติผล สกทาคามิผล หรือคงเป็นอนาคามิ ผล ให้ตรงตามที่ได้บรรลุอริยผลชั้นนั้น ๆ พรหมอรหันต์ ในสุทธาวาสภูมิ ๕ ใน ๕ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๘ ดวง คือ อเหตุกจิต ๑๒ มหากิริยา ๘ มหัคคตกิริยา ๙ ปัญจมฌานวิบาก ๑ อรหัตตผล ๑ อกุสล ๑๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตวิบาก อีก ๘ โลกุตตรจิต อีก ๗ พระอรหันต์ในรูปพรหมชั้นอื่น ๆ ก็มีจำนวนจิตเท่ากันนี้ เพียงแต่เปลี่ยน ปัญจมฌานวิบาก เป็น ปฐมฌานวิบาก ทุติยฌานวิบาก ตติยฌานวิบาก หรือ จตุตถ ฌานวิบาก ให้ตรงตามที่ได้ที่ถึง หน้า ๖๖ อรูปพรหมปุถุชน ในอากาสานัญจายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อรูปกุสล ๔ อากาสานัญจายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ที่เป็นอากาสานัญจายตน พรหม มีจิตได้เพียง ๒๐ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๖๙ ดวง โดยต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือสกทาคามิผล หรืออนาคามิ ผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวง ออกเสียด้วย คงเป็น ๒๔+๑-๕ เท่ากับ ๒๐ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต๔ วิจิกิจฉาสหคต จิต ๑ รวม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๕+๕-๑ เท่ากับ ๖๙ ดวง หน้า ๖๗ อรูปพรหมปุถุชน ในวิญญาณัญจายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๓ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๖ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อรูปกุสล ๓ วิญญาณัญจายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสานัญจายตนกุสลจิต ๑ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และ พระอนาคามี ที่เป็นวิญญาณัญจายตน พรหม มีจิตได้เพียง ๑๙ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๐ ดวง ต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือสกทาคามีผล หรือ อนาคามี ผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวงออกเสียด้วย คงเป็น ๒๓+๑-๕ เท่ากับ ๑๙ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๖+๕-๑ เท่ากับ ๗๐ ดวง อรูปพรหมปุถุชน ในอากิญจัญญายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๒ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อากิญจัญญายตนกุสล ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ อากิญจัญญายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสานัญจายตนกุสล ๑ วิญญาณัญจายตนกุสล ๑ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระเสกขบุคคล ๓ ที่เป็นอากิญจัญญายตนพรหม มีจิตได้เพียง ๑๘ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๑ ดวง ทั้งนี้ต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่ม โสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล หรือ อนาคา มิผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่า บรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวงออกเสียด้วยคงเป็น ๒๒+๑-๕ เท่ากับ ๑๘ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๗+๕-๑ เท่ากับ ๗๑ ดวง หน้า ๖๘ อรูปพรหมปุถุชน ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๘ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปกุสล อีก ๓ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระเสกขบุคคล ที่เป็น เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม มีจิตได้เพียง ๑๗ ดวง เท่านั้น และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๒ ดวง ทั้งนี้ต้องเพิ่ม หรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล หรือ อนาคา มิผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวง ออกเสียด้วย คงเป็น ๒๑+๑-๕ เท่ากับ ๑๗ ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๘+๕-๑ เท่ากับ ๗๒ พระอรหันต์ ในอากาสานัญจายตนภูมิ มีจิตเกิดได้ ๑๕ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๗๔ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากิริยา ๘ อรูปกิริยา ๔ อากาสานัญจายตนวิบาก ๑ อรหัตตผล ๑ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปกุสล ๔ อรูปวิบาก อีก ๓ โลกุตตรจิต อีก ๗ หน้า ๖๙ พระอรหันต์ ในวิญญาณัญจายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ต้องหักอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ออกเสีย ๑ และเปลี่ยน อากาสานัญจายตนวิบาก เป็นวิญญาณัญจายตนวิบาก คงเหลือจิตที่เกิดได้ ๑๔ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ รวมเป็น ๗๕ ดวง ด้วยกัน พระอรหันต์ ในอากิญจัญญายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ ต้องหัก อรูป กิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ รวม ๒ ดวง ออกเสีย และเปลี่ยนอากาสานัญจายตนวิบาก เป็นอากิญจัญญายตนวิบากคงเหลือ จิตที่เกิดได้ ๑๓ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ รวมเพิ่ม ๒ เป็น ๗๖ พระอรหันต์ ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ ต้องหัก อรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ และ อากิญ จัญญายตนกิริยา ๑ รวม ๓ ดวง ออกเสีย และเปลี่ยนอากาสานัญจายตนวิบาก เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก คงเหลือจิตที่เกิดได้ ๑๒ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ และ อากิญจัญญายตนกิริยา ๑ รวมเพิ่ม ๓ จึงเป็น ๗๗ อนึ่ง ที่ต้องลดจิตของอรูปชั้นต่ำออกเสียนั้น เพราะเหตุว่าในอรูปพรหมชั้นสูง ได้ก้าวล่วงอารมณ์ของอรูปชั้นต่ำเสียแล้ว ดังนั้นอารมณ์ในอรูปชั้นต่ำจึงไม่มี ที่จะได้ เป็นปัจจัยให้แก่อรูปพรหมชั้นสูง วิถีจิตตามภูมิ ภูมิ อันเป็นชั้นที่อยู่แห่งสัตว์นั้น ในที่นี้จำแนกเพียง ๓ ภูมิ คือ กามภูมิ ๑ รูปภูมิ ๑ และอรูปภูมิ ๑ เมื่อกล่าวโดยส่วนรวมทั้ง ๓ ภูมิแล้ว ในภูมิใดมีวิถีจิตเกิดได้เท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๑๐ แสดงว่า ๑๐. อสีติ วิถีจิตฺตานิ กาเม รูเป ยถารหํ จตุสฏฺฐี ตถารูเป เทวฺจตฺตาฬีส ลพฺภเร ฯ แปลความว่า กามภูมิ มีวิถีจิต ๘๐ รูปภูมิ มีวิถีจิต ๖๔ อรูปภูมิ มีวิถีจิต ๔๒ มีรายละเอียดดังนี้ หน้า ๗๐ กามภูมิ ๑๑ มีวิถีจิต ๘๐ คือ ไม่มีจิต ๙ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามาวจรโสภณจิต ๒๔ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ มหัคคตวิบาก ๙ รูปภูมิ ๑๕ ภูมิ (เว้นอสัญญสัตตภูมิ) มีวิถีจิต ๖๔ คือ ไม่มีจิต ๒๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๒ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ ฆานวิญญาณจิต ๒ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ กายวิญญาณจิต ๒ มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ หน้า ๗๑ อรูปภูมิ ๔ มีวิถีจิต ๔๒ คือ ไม่มีจิต ๔๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปกุสล ๔ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบากจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปวิบาก ๔ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ข้อความส่งท้าย วิถีจิต คือ ลำดับความเป็นไปของจิตตามทวารทั้ง ๖ ย่อมเกิดขึ้นรับอารมณ์ ใหม่ และเป็นไปดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ตลอดเวลา ไม่ขาดสายจนตลอดชีวิตแห่งสัตว์ นั้น เมื่อสิ้นสุดวิถีจิตแต่ละวิถี ต้องมีภวังคจิตเกิดมาคั่นไว้ชั่วระยะหนึ่งก่อน แล้ว จึงจะเริ่มเป็นวิถีจิตต่อไปใหม่ ภวังคจิตที่เกิดมาคั่นแต่ละวิถีนี้ มีจำนวนไม่เท่ากัน หลังวิถีจิตแห่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมเกิดภวังคเพียง ๒ ขณะ พระสารีบุตร ย่อมเกิดเพียง ๑๖ ขณะ แต่ทว่าสัตว์อื่นทั้งหลายนั้นเกิดมากจนไม่อาจ นับได้ อนึ่งสัตว์ที่เกิดในโลกทั้งปวง ถ้าปราศจากประสาทแห่งทวารใดแล้ว ก็ปราศ จากจิตที่เกิดทางทวารนั้น ๆ สัตว์ที่เกิดเป็นอสัญญสัตตพรหมนั้นไม่มีจิต จิตปวัตติ คือ ความเป็นของ จิตวิถีจิตจึงไม่มี จิตระงับสงบอยู่ถึง ๕๐๐ มหากัปป์ ต่อเมื่อจุติจากอสัญญีภพแล้ว จึงประพฤติเป็นไปในภพทั้ง ๓ หน้า ๗๒ อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๔ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห จตุตฺโถ ปริจฺเฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ นี่ปริจเฉทที่ ๔ ( ชื่อ วิถีสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวบรวมซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรมที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อเพียงเท่านี้แล

กระบวนการทำงานของจิตอัปปนาวิถี อัปปนา แปลว่า ทำลาย คือทำลายกิเลส มีนิวรณ์เป็นต้น หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึง จิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ถ้าเคยได้อัปปนาจิตในอารมณ์ใด เมื่อจิตดวงนั้นเกิดขึ้นอีกเวลาใด หรือขณะใด ก็จะต้องมีอารมณ์อย่างนั้นเสมอไปไม่เปลี่ยนแปลงเป็นอารมณ์อย่างอื่นเลย อัปปนาจิต คือจิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ได้แก่ จิต ๓๕ หรืออย่างพิสดาร ๖๗ ดวง คือ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ ส่วน อัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีอัปปนาจิตอยู่ในวิถีนั้น ได้แก่ จิต ๒๖ หรือ อย่างพิสดาร ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ อัปปนาชวนะ คือ ชวนจิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ได้แก่ จิต ๒๖ หรือ ๕๘ เท่ากัน และเหมือนกันกับอัปปนาวิถีจิตนั่นเอง เพราะชวนะ เป็นจิตที่อยู่ในวิถี อัปปนาวิถี หรือ อัปปนาชวนะ เกิดได้ทาง มโนทวารวิถี ทางเดียวเท่านั้น ไม่เกิดทางปัญจทวารวิถีเลย หน้า ๓๐ อัปปนาวิถี เป็นมโนทวารวิถีก็จริง แต่ไม่จำแนก เป็นวิภูตารมณ์วิถี และ อวิภูตารมณ์วิถี เหมือนอย่าง มโนทวารกามวิถี เพราะอัปปนาวิถีมีแต่วิภูตารมณ์วิถี อย่างเดียว ด้วยเหตุว่า ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งจริง ๆ แล้ว อัปปนาชวนะ จะเกิดไม่ได้เลย อัปปนาวิถี จำแนก ได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. โลกียอัปปนาวิถี ๒. โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาจิต ได้แก่ มหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง แต่ โลกียอัปปนาวิถี หรือ โลกียอัปปนาชวนะ ได้แก่มหัคคตชวนจิต ๑๘ ดวง คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ เท่านั้น ส่วนมหัคคตวิบากจิตอีก ๙ ดวงนั้น ไม่นับเป็นโลกียอัปปนาวิถี เพราะเป็นจิต ที่พ้นวิถี (พ้นทวารด้วย) และไม่นับเป็นโลกียอัปปนาชวนะ เพราะไม่ได้ทำชวนกิจ โลกียอัปปนาวิถีนี้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิถีจิตที่ได้ฌาน ที่ถึงฌาน ที่ฌานจิต เกิด (ทั้งนี้หมายเฉพาะฌานจิตที่เป็นกุสล และกิริยาเท่านั้น ยกเว้นฌานจิตที่เป็น วิบาก เพราะเป็นจิตที่พ้นวิถี) ผู้ที่ได้ปฐมฌาน เป็นครั้งแรก ก็ดี ได้ทุติยฌาน เป็นครั้งแรก ก็ดี ตลอดจนถึงได้ เนวสัญญานาสัญญายตนฌานเป็นครั้งแรกก็ดี รวมความหมายว่า ผู้ที่แรกได้ฌาน ชั้นนั้น ๆ วิถีจิตที่ฌานจิตนั้น ๆ เกิดเป็นครั้งแรก เรียกชื่อวิถีจิตนั้นว่า อาทิกัมมิกฌานวิถี มีวิถีดังนี้ อาทิกัมมิกฌานวิถี ของมันทบุคคล คือบุคคลผู้รู้ช้า กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกียอัปปนาชวนะ กุสลฌานจิต ภวังคจิต น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ภ ชวนจิต ชวนจิต หน้า ๓๑ อาทิกัมมิกฌานวิถี ของติกขบุคคล คือบุคคลผู้รู้เร็ว กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกียอัปปนาชวนะ กุสลฌานจิต ภวังคจิต น ท มโน อุป อนุ โค ฌ ภ ชวนจิต ชวนจิต ความหมายของอักษรย่อ น=ภวังคจลนะ,ท=ภวังคุปัจเฉทะ,มโน=มโนทวาราวัชชนะ,บริ=บริกรรม,อุป=อุปจาระ ,อนุ=อนุโลม,โค=โคตรภู,ฌ= ฌานจิต คำว่าโคตรภู ในโลกียอัปปนาวิถีนี้ หมายความว่า โอนโคตรหรือตัดจากโคตร กาม ไปเป็นโคตรพรหม อาทิกัมมิกฌานวิถี คือวิถีจิตที่ฌานจิตนั้น ๆ เกิดเป็นครั้งแรกนี้ ฌานจิตจะ เกิดเพียงขณะเดียว หรือดวง เดียวเท่านั้นเอง ต่อเมื่อมีวสีคือมีความชำนาญแล้ว จึงจะเกิดได้หลายขณะ โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกุตตรอัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีโลกุตตรจิตในวิถีนั้น โลกุตตรจิตเป็นจิตที่ แนบแน่นแน่วแน่ในพระนิพพาน เป็นอารมณ์แต่อย่างเดียวเท่านั้นเอง จะมีอารมณ์ เป็นอย่างอื่นไม่ได้ โลกุตตรอัปปนาวิถี ได้แก่ โลกุตตรจิต คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ หรืออย่าง พิสดารก็ มัคคจิต ๒๐ ผลจิต ๒๐ ติเหตุกบุคคลเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานจนบรรลุมัคคผล วิถีจิตที่ถึงมัคคถึงผล นั้นเรียกว่า มัคควิถี มีวิถีดังนี้ มัคควิถี ของ มันทบุคคล คือ บุคคลผู้รู้ช้า กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ อัปปนาชวนะ โลกุตตรจิต ๘ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ภ มโน บริ อุป อนุ มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็นอารมณ์ โค มัคค ผล ผล มีนิพพานเป็นอารมณ์ หน้า ๓๒ มัคควิถีของ ติกขบุคคล คือ บุคคลผู้รู้เร็ว กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ อัปปนาชวนะ โลกุตตรจิต ๘ น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ มโน อุป อนุ มีไตรลักษณ์แห่งรูปนาม โค มัคค ผล ผล ผลมีนิพพานเป็นอารมณ์ เป็นอารมณ์ ในมัคควิถี ไม่ว่าจะเป็น มันทบุคคล(ผู้รู้ช้า) หรือติกขบุคคล(ผู้รู้เร็ว) มัคคจิต ก็เกิดขณะเดียวเท่านั้น มันทบุคคล อนุโลมญาณ เกิด ๓ ขณะ, โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ, มัคคญาณ เกิด ๑ ขณะ, ผลญาณ เกิด ๒ ขณะ รวมเป็นชวนะ ๗ ขณะ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ติกขบุคคล อนุโลมญาณ เกิด ๒ ขณะ, โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ, มัคคญาณ เกิด ๑ ขณะ, ผลญาณ เกิด ๓ ขณะ รวมชวนะ ๗ ขณะ เหมือนกัน อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ วิถีจิตของพระโสดาบัน ที่บรรลุ สกทาคามี มัคค - ผล ก็ดี วิถีจิตของพระสกทาคามี ที่บรรลุ อานาคามี มัคค - ผล ก็ดี วิถีจิตของพระอนาคามี ที่บรรลุ อรหัตต มัคค - ผล ก็ดี มีวิถีจิต คือ มัคควิถีอย่างเดียวกับที่ได้แสดงมาแล้วนี้ ส่วนโคตรภู นั้น ไม่เรียกว่า โคตรภู แต่เรียกว่า โวทาน ในมัคควิถี คำว่า โคตรภู หมายความว่า ตัดจากโคตรปุถุชนเป็นโคตรอริยะ กล่าวคือ ตัดจากโคตรชนที่หนา แน่นไปด้วยกิเลส เป็นโคตรชนที่ห่างไกลจากกิเลส ส่วนคำว่า โวทาน แปลว่า ธรรมขาว หมายความว่า พระสกทาคามี มีธรรม ที่ขาวกว่า สะอาดกว่า พระโสดาบัน, พระอนาคามี ก็มีธรรมที่ขาวยิ่งกว่า สะอาด ยิ่งกว่า พระสกทาคามี, สำหรับพระอรหันต์ นั้นเป็น ผู้ที่ขาวสะอาดบริสุทธิ์หมดจด ด้วยประการทั้งปวง หน้า ๓๓ ข้อสังเกตในอัปปนาวิถี ดังได้กล่าวแล้วว่า อัปปนาวิถีเป็นวิถีจิตที่มีอารมณ์ปรากฏทางใจอย่างชัดเจน แจ่มแจ้งมาก เพราะถ้าอารมณ์นั้น ไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งจริง ๆ แล้ว อัปปนาวิถีจะไม่ เกิดเลย นอกจากนี้มีข้อที่ควรสังเกตอีก คือ ก. กล่าวโดยความชัดแจ้งของอารมณ์ แม้ว่าอัปปนาวิถีมีอารมณ์ชัดเจนแจ่ม แจ้งมาก แต่วิถีจิตก็มีไม่ถึง ตทาลัมพนะ เพราะอัปปนาวิถี มีทั้งกามอารมณ์ กาม ชวนะ และนิพพานเป็นอารมณ์ได้ด้วย ข. กล่าวโดยอารมณ์ของแต่ละวิถี ในวิถีเดียวกันนั้นเอง อัปปนาวิถีมีอารมณ์ ได้มากกว่า ๑ เช่นในมัคควิถี วิถีจิตตอนต้น ๆ คือ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาระ อนุโลม มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็นอารมณ์ วิถีจิตตอนหลัง ๆ คือ โคตรภู มัคคจิต ผลจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์ ค. กล่าวโดยชวนะ ก็มีได้หลายชาติ เช่น ในมัคควิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู และมัคคจิต เป็นชาติกุสล ส่วนผลจิต เป็นชาติวิบาก ง. นอกจากชวนะมีได้หลายชาติดังกล่าวในข้อ ค. นั้นแล้ว ชวนะยังมีจิตได้ หลายประเภท เช่น ในอาทิกัมมิกฌานวิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เป็น จิตประเภทกามาวจรจิต หรือ กามจิต ส่วนฌานจิตเป็น จิตประเภทมหัคคตจิต หรือ ฌานจิตไม่ใช่กามจิต และในมัคควิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เป็นจิต ประเภท กามจิต ส่วนมัคคจิต ผลจิต เป็นจิตประเภทโลกุตตร ไม่ใช่กามจิต จำแนกอัปปนาชวนะ โดยเวทนา ใน อัปปนาชวนะ ๕๘ ดวงนี้ เป็นโสมนัสเวทนาก็มี เป็นอุเบกขาเวทนาก็มี ทั้งนี้แล้วแต่ว่าญาณสัมปยุตตจิตที่เป็น บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู (หรือ โวทาน) นั้นจะเกิดพร้อมกับเวทนาอะไร ถ้าเป็นโสมนัสเวทนา อัปปนาชวนะก็เกิด ตามมา ก็เป็นโสมนัสด้วย ถ้าเป็นอุเบกขาเวทนา อัปปนาชวนะที่เกิดตามมาก็เป็น อุเบกขาด้วย หน้า ๓๔ การจำแนกอัปปนาชวนะ โดยเวทนานี้ เป็นการแสดงอย่างที่เรียกว่า ธัมมา ธิฏฐาน คือไม่กล่าวอ้างถึงบุคคล แต่กล่าวอ้างเฉพาะจิตเท่านั้น ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๕ ) แสดงว่า ๕. ทฺวตฺตีส สุขปุญฺญมฺหา ทฺวาทโสเปกฺขกา ปรํ สุขิตกฺริยโต อฏฺฐ ฉ สมฺโภนฺติ อุเปกฺขกา ฯ แปลความว่า ก. เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตที่เป็นโสมนัสเกิดแล้ว โสมนัสอัปปนาชวนะ ๓๒ ย่อมเกิด ข. เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตที่เป็นอุเบกขาเกิดแล้ว อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๑๒ ย่อมเกิด ค. เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตที่เป็นโสมนัสเกิดแล้ว โสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ ย่อมเกิด ง. เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตที่เป็นอุเบกขาเกิดแล้ว อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๖ ย่อมเกิด อธิบาย (ก) เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู(หรือโวทาน) นั้นเป็นโสมนัสเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นโสมนัส อัปปนาชวนะ ๓๒ ย่อมเกิด โสมนัสอัปปนาชวนะ ๓๒ นั้น ได้แก่ รูปาวจร กุสล ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ ดวง มัคคจิต ที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๑๖ ดวง ผลจิต ที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน๑๒ดวง(เว้นอรหัตตผล ๔) (ข) เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู(หรือโวทาน) นั้นเป็นอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นอุเบกขา อัปปนาชวนะ ๑๒ ย่อมเกิด อุเบกขาอัปปนาชวนะนั้น ได้แก่ รูปาวจร กุสล ปัญจมฌาน ๑ อรูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๔ ผลจิต ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๓ (เว้นอรหัตตผล ๑) (ค) เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู นั้นเป็นโสมนัสเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นโสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ ย่อมเกิด โสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ นั้น ได้แก่ รูปาวจรกิริยา ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ อรหัตตผลที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ หน้า ๓๕ (ง) เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู นั้น เป็น อุเบกขาเวทนา เกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้น อุเบกขาอัปปนา ชวนะ ๖ ย่อมเกิด อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๖ นั้น ได้แก่ รูปาวจร กิริยา ปัญจมฌาน ๑ อรูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๑ จำแนกอัปปนาชวนะ โดยบุคคล อัปปนาชวนะ ๕๘ นี้ ท่านจำแนกอีกนัยหนึ่ง เป็นการจำแนกตามบุคคล อย่างที่เรียกว่า ปุคคลาธิฏฐาน บุคคลในที่นี้ ท่านแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ปุถุชน และ เสกขบุคคล ซึ่ง เป็นบุคคลที่ยัง มีกิเลส อยู่ ๑ และ อเสกขบุคคล ซึ่งเป็นบุคคล ที่สิ้นกิเลส แล้วโดยสิ้นเชิง อีก ๑ เท่านั้น เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตของพระอรหันต์เกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๑๔ ย่อมเกิดตามมา การจำแนกตามนัยนี้ มีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๖ ) แสดงว่า ๖. ปุถุชฺชนาน เสกฺขานํ กามปุญฺญติเหตุโต ติเหตุกามกฺริยโต วีตราคานมปฺปนา ฯ แปลความว่า เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตของติเหตุกปุถุชน และผลเสกขบุคคลเกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๔๔ ย่อมเกิดตามมา อธิบาย เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตต ทั้งโสมนัส และอุเบกขา รวมจำนวน ๔ ดวง ของติเหตุกปุถุชน และผลเสกขบุคคล ๓ คือ พระโสดาบัน ๑ พระสกทาคามี ๑ พระอนาคามี ๑ ซึ่งเป็นบุคคลที่ยังมีกิเลสอยู่ เกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๔๔ ตามรายละเอียดต่อไปนี้ ย่อมเกิดตามมา มหัคคตกุสล ๙ มัคคจิต ๒๐ ผลจิต ๑๕ (เว้นอรหัตตผล ๕) หน้า ๓๖ เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตต ทั้งโสมนัสและอุเบกขา รวมจำนวน ๔ ดวง ของพระอรหันต์ ซึ่งเป็นบุคคลที่สิ้นกิเลสแล้วโดยสิ้นเชิง เกิดขึ้นแล้ว อัปปนา ชวนะ ๑๔ ตามรายละเอียดต่อไปนี้ ย่อมเกิดตามมา มหัคคต กิริยา ๙ อรหัตตผล ๕ การจำแนกอัปปนาชวนะโดยปุคคลาธิฏฐานนี้ ท่านไม่ได้กล่าวถึงการจำแนก เวทนาร่วมพร้อมกันไปด้วย แต่ถ้าจะจำแนกทั้งบุคคล และเวทนาร่วมไปพร้อมกัน ก็จะได้ภาพดังนี้ ยังมีกิเลส โสมนัส อัปปนาชวนะ ๓๒ รูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ๑๖ ผลจิต(เบื้องต่ำ) ๑๒ เกิดต่อจากโสมนัส มหากุสลญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี ยังมีกิเลส อุเบกขา อัปปนาชวนะ ๑๒ รูปาวจร กุสล ๑ อรูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ๔ ผลจิต(เบื้องต่ำ) ๓ เกิดต่อจากอุเบกขา มหากุสลญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี สิ้นกิเลสแล้ว โสมนัส อัปปนาชวนะ ๘ รูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ๔ เกิดต่อจากโสมนัส มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี สิ้นกิเลสแล้ว อุเบกขา อัปปนาชวนะ ๖ รูปาวจร กิริยา ๑ อรูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ๑ เกิดต่อจากอุเบกขา มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี หน้า ๓๗ กามวิถี กับ อัปปนาวิถี กามวิถี กับ อัปปนาวิถี มีความแตกต่างกันหลายประการ กามวิถี อัปปนาวิถี ๑. ไม่ได้แนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว โดยเฉพาะ แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดย เฉพาะ ๒. เกิดได้ทั้งทางปัญจทวารวิถีและ มโนทวารวิถี เกิดได้ทางมโนทวารวิถีทางเดียว ๓. มีอารมณ์ได้ทั้ง ๖ มีได้เฉพาะธัมมารมณ์ คือ อากาสานัญ จายตน กุสล ๑, กิริยา ๑, อากิญจัญญา ยตน กุสล ๑, กิริยา ๑, บัญญัติและ นิพพานเท่านั้น ๔. มีได้ทั้งอดีตอารมณ์ อนาคตอารมณ์ ปัจจุบันอารมณ์ และกาลวิมุตติอารมณ์ มีเฉพาะอดีตอารมณ์ และกาลวิมุตติ อารมณ์เท่านั้น ๕. อาศัยวัตถุ ๖ เกิด (เฉพาะหทยวัตถุ บางทีก็ไม่ต้องอาศัย) อาศัยเฉพาะหทยวัตถุเกิดแต่อย่างเดียว หรือมิฉะนั้น ก็เกิดโดยไม่ต้องอาศัย วัตถุเลย ๖. แยกประเภทมโนทวารวิถีเป็นสอง คือ วิภูตารมณ์วิถี และอวิภูตารมณ์วิถี ไม่แยกเป็นสองประเภทอย่างนั้น เพราะ มีแต่ วิภูตารมณ์นั้นอย่างเดียว ด้วยเหตุ ว่า ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัดเจนแจ่มแจ้ง จริงๆ แล้ว อัปปนาชวนะก็เกิดไม่ได้เลย ๗. อาจมีถึงตทาลัมพนะได้ ไม่มีตทาลัมพนะเลย ๘. มีชวนะอย่างมากได้เพียง ๗ ชวนะเกิดได้ตั้งแต่ ๑ ขณะขึ้นไปจน มากมายถึงนับประมาณไม่ได้ ๙. มีเวทนาได้ทั้ง ๕ มีเวทนาได้เพียง ๒ คือ โสมนัส กับ อุเบกขาเท่านั้นเอง ๑๐. มีทั้ง อสังขาริก และสสังขาริก มีแต่ สสังขาริก อย่างเดียว หน้า ๓๘ กามวิถี อัปปนาวิถี ๑๑. มีสัมปยุตตได้ทั้ง ๕ คือ ทิฏฐิสัมปยุตต ปฏิฆสัมปยุตต วิจิกิจฉาสัมปยุตต อุทธัจจสัมปยุตต และ ญาณสัมปยุตต มีเฉพาะแต่ ญาณสัมปยุตต อย่างเดียว เท่านั้น ๑๒. มีทั้ง โสภณะ และอโสภณะ มีโสภณะ แต่อย่างเดียว ๑๓. มีเฉพาะโลกีย แต่อย่างเดียว มีทั้งโลกีย และโลกุตตร ๑๔. ไม่มีแม้แต่ มหัคคตจิต มีทั้งมหัคคต และโลกุตตร ๑๕. มีทั้งจิตที่เป็น กุสล อกุสล วิบาก และกิริยา ไม่มีจิตที่เป็นอกุสลเลย ๑๖. มีทั้งการสั่งสมกิเลส และทำลาย กิเลส แต่การทำลายกิเลส ก็ทำลาย เพียงชั่วขณะที่เรียกว่า ตทังคะ เท่านั้น ไม่มีการสั่งสมกิเลสเลย มีแต่การทำลาย กิเลสถ่ายเดียว และทำลายอย่าง วิกขัมภณะ ตลอดจนอย่าง สมุจเฉท ให้หมดสิ้นสูญเชื้อไปเลย ๑๗. เกิดได้แก่บุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะ เป็นทุคคติบุคคล สุคติบุคคล ทวิเหตุก บุคคล ตลอดจน ติเหตุกบุคคล เกิดได้เฉพาะ ติเหตุกบุคคล เท่านั้น ๑๘. เกิดได้ในภูมิทั้ง ๓๐ เว้นอสัญญ สัตตภูมิ ภูมิเดียวเท่านั้น เกิดได้ในภูมิเพียง ๒๖ ภูมิ (เว้นอบายภูมิ ๔ อสัญญสัตตภูมิ ๑) ๑๙. มีวิถีจิตอย่างมากได้ถึง ๗ อย่าง คือ อาวัชชนจิต ๑ ปัญจวิญญาณจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๑ สันตีรณจิต ๑ โวฏฐัพพนจิต ๑ ชวนจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑ มีวิถีจิตเพียง ๒ อย่างเท่านั้น คือ อาวัชชนจิต ๑ และ ชวนจิต ๑ หน้า ๓๙ กามวิถี อัปปนาวิถี ๒๐. เกิดจากภวังคจิตได้ทั้ง ๑๙ คือ อุเบกขาสันตีรณวิบาก ๒ มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ เกิดจากภวังคจิตเพียง ๑๓ ดวง คือ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ มหัคคตวิบาก ๙ ๒๑. มีจิตเกิดได้ทั้งสิ้นรวม ๕๔ ดวง คือ กามจิตทั้งหมด มีจิตที่เกิดได้ คือ อัปปนาชวนจิต ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๔๐ ๒๒. ในวิถีเดียวกัน มีอารมณ์แต่อย่าง เดียวเท่านั้น ในวิถีเดียวกัน มีอารมณ์ได้มากกว่า อย่างเดียว ๒๓. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีชวนจิต เป็นชาติเดียวกัน มีชวนจิตในวิถีเดียวกัน ได้มากกว่า ชาติเดียว ๒๔. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน เป็นกาม ชวนะแต่อย่างเดียว ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีกามชวนะ และ มหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะด้วย ปัจจเวกขณวิถี ปัจจเวกขณะ แปลว่า พิจารณา หมายถึง การพิจารณาเพื่อให้ทราบตาม สภาวะธรรมที่เป็นจริง ปัจจเวกขณวิถี ก็คือ วิถีจิต หรือ ลำดับความเป็นไปของจิตที่พิจารณาถึง สภาพแห่งความเป็นจริง ดังนั้นจึงเป็นมหากุสล หรือมหากิริยาชวนมโนทวารวิถี อันเป็นกามวิถี เมื่อ มัคควิถีสิ้นสุดลงแล้ว ต้องมีปัจจเวกขณวิถีอย่างแน่นอน จะไม่มีปัจจเวกขณวิถีเกิดภายหลังมัคควิถีนั้นไม่ได้ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลังมัคควิถี ก็เพื่อพิจารณาธรรม ๕ ประการ คือ หน้า ๔๐ ๑. พิจารณามัคค ๒. พิจารณาผล ๓. พิจารณานิพพาน ๔. พิจารณากิเลสที่ได้ละแล้ว ๕. พิจารณากิเลสที่คงเหลืออยู่ ในปัจจเวกขณะ ๕ ประการนี้เฉพาะ ๓ ประการแรกคือ การพิจารณามัคค ๑ การพิจารณาผล ๑ และการพิจารณานิพพาน ๑ ต้องมี ต้องพิจารณาอย่างแน่นอน ขาดไม่ได้ ส่วนการพิจารณากิเลสที่ได้ละแล้ว ๑ และการพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู่ ๑ นั้น บางทีก็พิจารณา บางทีก็ไม่พิจารณา กล่าวคือ ถ้าผู้นั้นได้ศึกษาทางปริยัติ จึงจะทราบเรื่องราวของกิเลส เมื่อทราบก็พิจารณาได้ แต่ถ้าไม่ได้ศึกษามา ก็ไม่ทราบเรื่องจึงไม่พิจารณา ปัจจเจกขณวิถี ที่เกิดหลังจากโสดาปัตติมัคควิถี สกทาคามีมัคควิถี และ อนาคามีมัคควิถี คิดจำนวนอย่างเต็มที่ ก็พิจารณาทั้ง ๕ ประการ ส่วนปัจจเวก ขณวิถีที่เกิดภายหลังอรหัตตมัคควิถี ก็พิจารณาเพียง ๔ ประการ เว้นการพิจารณา กิเลสที่คงเหลือ เพราะพระอรหันต์ท่านละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว ไม่มีกิเลสที่เหลือเลย รวมปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลังมัคควิถี คิดจำนวนอย่างเต็มที่เป็น ๑๙ ประการ คือ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง โสดาปัตติมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง สกทาคามิมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อนาคามิมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อรหัตตมัคควิถี ๔ ปัจจเวกขณวิถี เกิดหลังจาก อาทิกัมมิกฌานวิถี และ ฌานสมาบัติวิถี ทำ หน้าที่พิจารณาองค์ฌานนั้น ก็มีได้ แต่ไม่แน่นอนว่าจะต้องมีเสมอไป แต่หลังจาก อภิญญาวิถี ผลสมาบัติวิถี หรือ นิโรธสมาบัติวิถีนั้น ปัจจเวกขณ วิถีไม่เกิด นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว แม้บุคคลสามัญที่มิใช่ฌานลาภีบุคคล หรือเป็น พระอริยบุคคล ก็มีปัจจเวกขณวิถีได้ เป็นมหากุสลชวนมโนทวารวิถี อันเป็นกามวิถี เช่นเดียวกัน ตัวอย่าง เช่น อภิณหปัจจเวกขณะ ๕ คือ หน้า ๔๑ ๑. พิจารณาว่า เรามีความ แก่ เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ แก่ ไปได้ ๒. พิจารณาว่า เรามีความ เจ็บ เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ เจ็บ ไปได้ ๓. พิจารณาว่า เรามีความ ตาย เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ ตาย ไปได้ ๔. พิจารณาว่า เราจักต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๕. พิจารณาว่า เรามีกรรมเป็นของตัว ทำดีจักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว สมาบัติวิถี สมาบัติ แปลว่า การเข้าถึงพร้อมหรือการเข้าอยู่พร้อม สมาบัตินี้มี ๓อย่างคือ ๑. ฌานสมาบัติ การเข้าถึงฌานจิต หรือการเข้าอยู่ในฌานจิต เป็นโลกียะ ๒. ผลสมาบัติ การเข้าถึงซึ่งอริยผลจิต หรือการเข้าอยู่ในอริยผลจิต เป็น โลกุตตระ ๓. นิโรธสมาบัติ การเข้าถึงซึ่งความดับของจิตและเจตสิก ไม่จัดเป็นโลกียะ หรือ โลกุตตระเพราะไม่มีจิตจะดับ ฌานสมาบัติวิถี การเข้าฌานสมาบัติ เพื่อหนีทุกขเวทนา โดยปรารถนาจะเสวยฌานสุข ยังความอิ่มใจ หรือความวางเฉย แน่วแน่อยู่ในอารมณ์กัมมัฏฐานนั้น ตราบเท่า เวลาที่ตนอธิษฐาน (คือตั้งความปรารถนาอันแน่วแน่มั่นคงอย่างแรงกล้า) ไว้ ผู้เข้าฌานสมาบัติได้ ต้องเป็นผู้ที่ได้ฌาน และ ต้องมี วสี คือความชำนาญ หรือ ความแคล่วคล่องว่องไวทั้ง ๕ ประการ ได้แก่ ๑. อาวัชชนวสี ความชำนาญในการ นึกที่จะเข้าฌานตามที่ตนตั้งใจ ๒. สมาปัชชนวสี ความชำนาญในการ เข้าฌาน ๓. อธิฏฐานวสี ความชำนาญในการ ตั้งความปรารถนาที่จะให้ ฌานจิต ตั้งมั่นอยู่เป็นเวลาเท่าใด ๔. วุฏฐานวสี ความชำนาญในการ ออกจากฌาน ๕. ปัจจเวกขณวสี ความชำนาญในการ พิจารณาองค์ฌาน หน้า ๔๒ เมื่อ ฌานลาภีบุคคล คือบุคคลผู้ได้ฌาน มีความคล่องแคล่วว่องไว ในวสีทั้ง ๕ แล้ว เวลาจะเข้าฌานสมาบัตินั้น กิจเบื้องต้นต้องตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) ว่า จะเข้าฌานสมาบัติเป็นเวลา.... (ตามความประสงค์ว่าจะเข้าอยู่นานสักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ฌานจิตที่เคยได้แล้วนั้นจงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน)นี้ กามจิต อันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับปุถุชนและพระเสกขบุคคล หรือกามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับพระอรหันต์ ก็เกิดมีวิถีจิตดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต่อจากนี้ก็เจริญสมถภาวนา เข้าฌานสมาบัติ โดยเพ่งปฏิภาคนิมิตที่ตนเคยได้ เคย ผ่านมาแล้วนั้น วิถีจิตก็จะเกิดดังนี้ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ (ถ้าเป็นติกขบุคคล ก็ไม่มี บริกรรม) ต่อจากโคตรภู ฌานจิตก็เกิดเรื่อยไปตราบเท่า เวลาที่ตนตั้งความปรารถนาไว้ ต่อเมื่อครบกำหนดเวลาที่ตนอธิษฐานไว้แล้ว ฌานจิต จึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไปตามปกติ อนึ่ง ฌานลาภีบุคคล ผู้ได้เพียงปฐมฌาน ก็ต้องเข้าฌานสมาบัติในปฐมฌาน เท่าที่ตนได้ ที่เป็นธรรมดาสามัญ แต่ถ้าได้ฌานที่สูงขึ้นไป ก็เข้าได้ทั้งฌานสูงเท่าที่ ตนได้ และเข้าสมาบัติในฌานที่ต่ำกว่าก็ได้ด้วย เช่นผู้ที่ได้ ตติยฌาน เข้าตติยฌาน สมาบัติได้ เข้าทุติยฌานสมาบัติได้ หรือจะเข้าปฐมฌานสมาบัติก็ได้ (ข้อนี้ผิดกับ การเข้าผลสมาบัติ ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป) ผลสมาบัติวิถี การเข้าผลสมาบัติ เป็นการเข้าอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน ที่ได้มาจากอริยผล ญาณ อันบังเกิดแล้วแก่ตน เพื่อเสวยโลกุตตรสุข ซึ่งเป็นความสงบสุขที่พึงเห็น ประจักษ์ได้ในปัจจุบัน พระนิพพาน ที่เป็นอารมณ์ของผลสมาบัตินั้นมีชื่อ ๓ ชื่อหรือมี ๓ อาการคือ ๑. อนิมิตตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่เที่ยง อันปราศจากนิมิตเครื่องหมาย คือ อนิจจัง โดยบุญญาธิการแต่ปางก่อน แรงด้วยสีล เมื่อเข้าผลสมาบัติก็คงมีอนิมิตตนิพพาน เป็นอารมณ์ หน้า ๔๓ ๒. อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ทนอยู่ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปรไป อันหาเป็น ปณิธิ ที่ตั้งไม่ได้ คือทุกขัง โดยบุญญาธิ การแต่ปางก่อนแรงด้วยสมาธิ เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี อัปปณิหิตนิพพาน เป็นอารมณ์ ๓. สุญญตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ อันเป็นความว่างเปล่า คืออนัตตา โดยบุญญาธิการ แต่ปางก่อนแรงด้วยปัญญา เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี สุญญตนิพพาน เป็นอารมณ์ บุคคลที่เข้าผลสมาบัติได้ต้องเป็นพระอริยบุคคล คือเป็น พระโสดาบัน พระ สกทาคามี พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ส่วนปุถุชนจะเข้าผลสมาบัติไม่ได้เลย เป็นอันขาด พระอริยเจ้าที่จะเข้าผลสมาบัติ ก็เข้าได้เฉพาะอริยผลที่ตนได้ ที่ตนถึงครั้ง สุดท้ายเท่านั้น แม้อริยผลที่ตนได้และผ่านพ้นมาแล้วก็ไม่สามารถจะเข้าได้ กล่าวคือ พระโสดาบัน ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ โสดาปัตติผล พระสกทาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ สกทาคามีผล เท่านั้น จะเข้าโสดาปัตติผล ซึ่งถึงแม้ว่าตนจะเคยได้เคยผ่านเคยพ้นมาแล้ว ก็หาได้ไม่ พระอนาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่เฉพาะ อนาคามีผล พระอรหันต์ ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ อรหัตตผลโดยเฉพาะเช่นกัน พระอริยบุคคล ผู้จะเข้าผลสมาบัติ กิจเบื้องต้นก็จะต้องตั้งความปรารถนาว่า จะเข้าผลสมาบัติเป็นเวลา .... (ตามความประสงค์ที่จะเข้าอยู่สักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ผลจิตที่เคยปรากฏมาแล้วนั้น จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) นี้ กามจิตอันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับพระอริยเบื้องต่ำ ๓ หรือกามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับ พระอรหันต์ก็เกิด มีวิถีจิตซึ่งเรียกว่า อธิฏฐานวิถี ดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต่อจากอธิฏฐานวิถี ก็เจริญวิปัสสนาภาวนา มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็น อารมณ์ เริ่มแต่อุทยัพพยญาณเป็นต้นไป ผลจิตก็จะเกิด วิถีจิตนี้ชื่อว่า ผลสมา บัติวิถี มีวิถีดังนี้ น ท มโน อนุโลม อนุโลม อนุโลม อนุโลม ผล ผล ผล ฯลฯ ฯลฯ อนุโลม ๔ ขณะ สำหรับมันทบุคคล หรืออนุโลม ๓ ขณะ สำหรับติกขบุคคล ต่อจากอนุโลม ผลจิตก็เกิดเรื่อยไปเป็นจำนวนมากมาย ไม่สามารถที่จะประมาณได้ จนครบกำหนดเวลาที่ตนปรารถนาไว้ ผลจิตจึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไป ตามปกติ หน้า ๔๔ อนึ่ง จิตในผลสมาบัติวิถีนี้ ไม่เรียกว่า บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เหมือนอย่างในมัคควิถี แต่เรียก อนุโลมอย่างเดียวทั้ง ๔ ขณะ เพราะผลสมาบัติวิถี นี้ ไม่ได้ทำการประหารกิเลส เหมือนอย่างในมัคควิถี เป็นแต่จิต ๔ ดวงนี้เกิดขึ้น เพื่ออนุโลมให้จิตถึงพระนิพพาน หรือให้แนบแน่นในอารมณ์พระนิพพาน นิโรธสมาบัติวิถี การเข้านิโรธสมาบัติ เหมือนฝึกนิพพาน เข้าสู่ความดับสนิทแห่งนามขันธ์ โดยปราศจากอันตรายใด ๆ เป็นมหาสันติสุขอันยอดเยี่ยม ดังนั้นพระอริยเจ้าจึงนิยม เข้าผลสมาบัติ และนิโรธสมาบัติด้วยศรัทธา และฉันทะในอมตรสนั้น จนกว่าจะ นิพพาน ผู้ที่เข้านิโรธสมาบัติได้ ต้องเป็นผู้ที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ดังจะกล่าวต่อไป นี้ คือ ๑. ต้องเป็นพระอนาคามี หรือพระอรหันต์ ๒. ต้องได้ฌานสมาบัติทั้ง ๘ กล่าวคือ ต้องได้รูปฌาน และ อรูปฌานด้วย ทุกฌาน ๓. ต้องมีวสี ชำนาญคล่องแคล่วในสัมปทา คือ ถึงพร้อมสี่ประการ ได้แก่ ก. มีสมถพละ และวิปัสสนาพละ คือ มีสมาธิ และปัญญาเป็นกำลัง ชำนาญ ข. ชำนาญในการระงับกายสังขาร (คือลมหายใจเข้าออก) ชำนาญใน การระงับ วจีสังขาร (คือ วิตก วิจาร ที่ปรุงแต่งวาจา) ชำนาญในการ ระงับจิตตสังขาร (คือสัญญา และเวทนาที่ทำให้เจตนาปรุงแต่งจิต) ค. ชำนาญใน โสฬสญาณ (คือ ญาณทั้ง ๑๖) ง. ชำนาญใน ฌานสมาบัติ ๘ มาก่อน ดังนี้จะเห็นได้ว่า การเข้านิโรธสมาบัติ จำเป็นต้องใช้กำลังทั้ง ๒ ประการ คือ กำลังสมถภาวนา ต้องถึง เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และกำลังวิปัสสนาก็ต้องถึง ตติยมัคคเป็นอย่างต่ำ กล่าวคือ ต้องใช้ทั้งกำลังสมาธิ และกำลังปัญญาควบคู่กันด้วย ๔. ต้องเป็นบุคคลในภูมิที่มีขันธ์ ๕ (คือ ปัญจโวการภูมิ) เพราะในอรูปภูมิ เข้านิโรธสมาบัติไม่ได้ ด้วยเหตุว่าไม่มีรูปฌาน หน้า ๔๕ พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ที่ได้สมาบัติ ๘ อันเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ดังกล่าวแล้ว เมื่อจะเข้านิโรธสมาบัตินั้น ต้องกระทำดังนี้ (๑) เข้าปฐมฌาน มีกัมมัฏฐานใดกัมมัฏฐานหนึ่ง ที่ตนได้มาแล้วเป็นอารมณ์ ปฐมฌานกุสลจิตสำหรับพระอนาคามี หรือ ปฐมฌานกิริยาจิตสำหรับพระอรหันต์ ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะ ดังภาพนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌาน ภ (๒) เมื่อออกจากปฐมฌานแล้ว ต้องพิจารณาองค์ฌาน โดยความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งการพิจารณาเช่นนี้ เรียกว่า ปัจจเวกขณวิถี ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ (๓) เข้าทุติยฌาน ฌานจิตก็เกิด ๑ ขณะ (๔) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๕) เข้าตติยฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๖) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๗) เข้าจตุตถฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๘) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๙) เข้าปัญจมฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๐) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๑) เข้าอรูปฌาน คือ อากาสานัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๒) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๓) เข้าวิญญาณัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๔) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๕) เข้าอากิญจัญญายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๖) เมื่อออกจาก อากิญจัญญายตนฌานแล้ว ไม่ต้องเข้าปัจจเวกขณวิถี แต่เข้าอธิฏฐานวิถี คือ ทำ บุพพกิจ ๔ อย่าง ได้แก่ ก. นานาพทฺธ อวิโกปน อธิษฐานว่า บริขารต่าง ๆ ตลอดจนร่างกาย ของข้าพเจ้า ขออย่าให้เป็นอันตราย หน้า ๔๖ ข. สงฺฆปฏิมานน อธิษฐานว่า เมื่อสงฆ์ประชุมกัน ต้องการตัวข้าพเจ้า ขอให้ออกได้ โดยมิต้องให้มาตาม ค. สตฺถุปกฺโกสน อธิษฐานว่า ถ้าพระพุทธองค์มีพระประสงค์ตัว ข้าพเจ้า ก็ขอให้ออกได้ โดยมิต้องให้มีผู้มาตาม ง. อทฺธาน ปริจฺเฉท อธิษฐานกำหนดเวลาเข้า ว่าจะเข้าอยู่นานสัก เท่าใด รวมทั้งการพิจารณาอายุสังขารของตนด้วยว่าจะอยู่ถึง ๗ วันหรือไม่ ถ้าจะตายภายใน ๗ วัน ก็ไม่เข้า หรือเข้าให้น้อยกว่า ๗ วัน (๑๗) อธิษฐานแล้วก็เข้าเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน วิถีนี้ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เกิดขึ้น ๒ ขณะ (๒ ขณะ ไม่ใช่ ๑ ขณะ) (๑๘) ลำดับนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปก็ดับไป ไม่มีเกิดขึ้นอีกเลย ส่วน กัมมชรูป อุตุชรูป และอาหารชรูป ยังคงดำรงอยู่ และดำเนินไปตามปกติ หาได้ดับ ไปด้วยไม่ จิต เจตสิก และจิตตชรูป คงดับอยู่จนกว่าจะครบกำหนดเวลาที่ได้อธิษฐานไว้ (๑๙) เมื่อครบกำหนดเวลาที่ได้อธิษฐานไว้ ซึ่งเรียกว่า ออกจากนิโรธสมาบัติ นั้น อนาคามิผล สำหรับอนาคามิบุคคล หรืออรหัตตผล สำหรับอรหัตตบุคคล ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะก่อน ต่อจากนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปจึงจะเกิดตาม ปกติต่อไปตามเดิม อภิญญาวิถี อภิญญา แปลว่า รู้ยิ่ง รู้พิเศษ มีความหมายว่า เป็นจิตที่มีความรู้อันยิ่งใหญ่ เป็นพิเศษจนมีอำนาจสามารถที่จะบันดาลให้เกิด สิ่งที่ตนปรารถนาได้ ต้องใช้ รูปาวจรปัญจมฌานกุสล หรือ รูปาวจรปัญจมฌานกิริยา ที่ได้มาจากกสิณเป็นบาทให้เกิดอภิญญาจิต ดังนั้นอภิญญานี้จึงมีได้แต่ในภูมิที่มีขันธ์ ๕ เพราะต้องทำ อภิญญาด้วยรูปฌาน อภิญญาที่ต้องอาศัยรูปาวจรปัญจมฌานจิตเป็นบาทให้เกิดนั้น มี ๕ ประการ คือ ๑. บุพเพนิวาสานุสสติ ระลึกชาติก่อนที่เคยเกิดมาแล้วได้ หน้า ๔๗ ๒. ทิพพจักขุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ตาทิพย์เหมือนเทวดา และพรหม สามารถเห็นเหตุการณ์ไกล ๆ ที่ไปไม่ถึงได้ และ รู้จุติ ปฏิสนธิ ของสัตว์ทั้งหลาย ๓. ปรจิตตวิชชานน หรือ เจโตปริยญาณ รู้จักจิตใจของผู้อื่นได้ ๔. ทิพพโสต คือ หูทิพย์เหมือนเทวดาและพรหม สามารถฟังเสียงที่ไกล ๆ ได้ ๕. อิทธิวิธ แสดงอิทธิฤทธิต่าง ๆ ได้ ผู้ทำอภิญญาได้ ต้องเป็นผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ ๑. ได้สมาบัติทั้ง ๘ คือ ได้ทั้งรูปฌานสมาบัติ และอรูปฌานสมาบัติ โดย ครบถ้วน ๒. ต้องได้ทำการฝึกฝนอบรม (เป็นพิเศษอีก ๑๔ นัย) เพื่อให้ได้อภิญญา และต้องแคล่วคล่องว่องไวใน กระบวนการอบรม (ทั้ง ๑๔ นัย) นั้นด้วย (กระบวน การอบรมเป็นพิเศษ ๑๔ นัยนั้น แสดงไว้ในปริจเฉทที่ ๙) เมื่อฌานลาภีบุคคลผู้มีลักษณะดังกล่าว ปรารถนาจะทำอภิญญาอย่างใดอย่าง หนึ่ง ต้องกระทำดังนี้ คือ ๑. ต้องเข้ารูปาวจรปัญจมฌานก่อน เพื่อเป็นบาทให้จิตมีกำลังกล้าแข็ง ซึ่ง เรียกชื่อว่า ปาทกฌานวิถี วิถีจิตเป็นดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ ๒. แล้วก็อธิษฐาน คือ ตั้งความปรารถนา ความมุ่งมั่นอันแน่วแน่มั่นคง อย่างแรงกล้า ว่าประสงค์อภิญญาอย่างใด ซึ่งเรียกชื่อว่าอธิฏฐานวิถี เป็นกามวิถี ดังนี้ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ ๓. ต่อจากนั้นก็เข้ารูปาวจรปัญจมฌานอีก เรียก ปาทกฌานวิถี เหมือนกัน วิถีจิตเป็นดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ ๔. ลำดับสุดท้าย อภิญญาจิตก็จะเกิดขึ้นตามความปรารถนาที่ได้อธิษฐานนั้น วิถีนี้จะเกิดอภิญญาจิตขณะเดียวเท่านั้น ดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค อภิญญา ภ หน้า ๔๘ ขณะที่อภิญญากำลังเกิดอยู่นั้น มโนทวารวิถีที่เกิดต่อจากอภิญญาวิถีนั้น เป็น มหากุสลหรือมหากิริยาตามควรแก่บุคคลที่แสดงอภิญญา และเป็นกามชวนมโน ทวารวิถี ถ้าหากว่า ได้กระทำดังกล่าวแล้ว แต่อภิญญายังไม่เกิด ก็ต้องตั้งต้นเริ่มทำมา ตั้งแต่ต้นใหม่อีก จนกว่าอภิญญาจิตจะเกิด อนึ่ง ตามที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้ว่าบุคคลที่แสดงอภิญญาได้ ก็ด้วย อำนาจแห่งการเจริญสมถภาวนาจนได้สมาบัติทั้ง ๘ เช่นนี้ท่านเรียกว่า ปฏิปทาสิทธิฌาน ซึ่งมีความหมายว่า สำเร็จถึงซึ่งฌานด้วยการปฏิบัติ ยังมีบุคคลอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งในชาตินั้นไม่เคยเจริญสมถภาวนา เป็นแต่เจริญ วิปัสสนาภาวนาอย่างเดียว ถึงกระนั้นก็ดี บางบุคคลพอบรรลุมัคคผล ก็ถึงพร้อมซึ่ง ฌานด้วย จนถึงแสดงอภิญญาได้ก็มี เช่น พระจุฬปัณถก เมื่อสำเร็จเป็นพระอรหันต์ แล้ว ก็ได้แสดงปาฏิหาริย์เป็นภิกษุหลายรูปจนเต็มพระเชตวัน เช่นนี้ท่านเรียกว่า มัคคสิทธิฌาน ซึ่งมีความหมายว่า ได้ฌานด้วยอำนาจแห่งมัคค มรณาสันนวิถี มรณาสันนวิถี เป็นวิถีจิตที่ใกล้ตาย วิถีนี้ชวนจิตเกิดเพียง ๕ ขณะเท่านั้น เพราะจิตมีกำลังอ่อนมากแล้ว เมื่อสุดวิถีของมรณาสันนวิถี จุติจิตต้องเกิดขึ้นอย่าง แน่นอน ๑ ขณะ สัตว์นั้นก็ถึงแก่ความตาย เมื่อจุติจิตดับลงแล้ว ปฏิสนธิก็เกิดติดต่อกันในทันทีทันใด ไม่มีจิตอื่นมาเกิด คั่นระหว่างจุติกับปฏิสนธิจิตเลย (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์ ไม่มีปฏิสนธิจิตมาเกิด ต่อ) สัตว์ที่ใกล้ตาย ก่อนที่จุติจิตเกิด ถ้ามี รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสถูกต้อง เป็น อารมณ์ มรณาสันนวิถีนั้นเรียกว่า มรณาสันนวิถีทางปัญจทวาร ถ้ามีความคิดนึกในทางใจเป็นอารมณ์ มรณาสันนวิถีนั้นก็เรียกว่า มรณาสันน วิถีทางมโนทวาร มรณาสันนวิถีทางปัญจทวาร แต่ละทวาร มี ๔ วิถี ดังนี้ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต ภ จุติ ปฏิ ภ ภ ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช จุติ ปฏิ ภ ภ ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ภ จุติ ปฏิ ภ หน้า ๔๙ มรณาสันนวิถีทางมโนทวาร มี ๔ วิถี เช่นเดียวกัน ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต ภ จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ภ จุติ ปฏิ ภ ในมรณาสันนวิถี มี กรรม กรรมนิมิต คตินิมิต เป็นอารมณ์แน่นอน กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ ที่เกิดขึ้นในมรณาสันนวิถีนี่แหละ เป็นเครื่องหมายบ่งบอกภพชาติที่จุติสัตว์นั้นจะไปปฏิสนธิ กรรมอารมณ์ กับ คตินิมิตอารมณ์ ทั้ง ๒ นี้ เกิดเฉพาะทางมโนทวาร ส่วน กรรมนิมิตอารมณ์เกิดได้ทั้ง ๖ ทวาร โดยเฉพาะ มรณาสันนวิถีของพระอรหันต์ ไม่มีกรรมอารมณ์ กรรมนิมิต อารมณ์ หรือ คตินิมิตอารมณ์ แม้แต่อย่างเดียว เพราะท่านไม่ต้องปฏิสนธิอีกแล้ว อารมณ์ในมรณาสันนวิถีทั้ง ๓ คือ กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิต อารมณ์ นี้ เกิดขึ้นด้วยอำนาจของกรรมทั้ง ๔ คือ ๑. ครุกรรม คือ กรรมที่หนัก ทางอกุสล ได้แก่ ปัญจานันตริยกรรม (อนัน ตริยกรรมทั้ง ๕) ในทางกุสลได้แก่ มหัคคตกุสล ๙ ถ้าได้ทำกรรมหนักเช่นนี้ ครุกรรมต้องให้ผลก่อน อนันตริยกรรม ๕ ได้แก่ มาตุฆาต ปิตุฆาต อรหันตฆาต โลหิตุปปาท และ สังฆเภท ๒. อาสันนกรรม คือ กรรมที่กระทำเมื่อใกล้ตาย มีทั้งทางกุสล และทาง อกุสล ถ้าไม่มีครุกรรมแล้ว อาสันนกรรมนี้ต้องให้ผลเป็นอันดับแรก ๓. อาจิณณกรรม คือ กุสลกรรม และกุสลกรรมที่ทำอยู่เสมอเป็นอาจิณ ถ้าไม่มีครุกรรมและอาสันนกรรมแล้ว อาจิณณกรรมนี้ก็ให้ผลก่อน หน้า ๕๐ ๔. กฏัตตากรรม คือ กุสลกรรม และอกุสลกรรมที่ไม่ครบองค์ของกัมมบถ จัดเป็นกรรมเล็กน้อย ถ้าไม่มีกรรมอื่น คือ ๓ อย่างข้างต้นนั้น จึงเป็นหน้าที่ของ กฏัตตากรรมนี้ให้ผล จุติ และ ปฏิสนธิ สัตว์ที่จะจุติ(เว้นอสัญญสัตต) จะต้องมีมรณาสันนวิถีอย่างใดอย่างหนึ่ง ดัง ได้แสดงภาพมาแล้วจะผิดกันก็ตรงที่ชวนะซึ่งมี ๕ ขณะนั้น ว่าจะเป็น ชวนจิตที่เป็นบาปหรือเป็นบุญเพียงใด ๑. กามบุคคลจุติ และ ปฏิสนธิในกามภูมิอีกนั้น ก. วิถี จะจุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี หรือทางมโนทวารมรณาสันนวิถี อย่างใดวิถีใดก็ได้ทุกวิถี แล้วแต่ว่าจะประสบกับอารมณ์ใด ถ้าประสบกับปัญจารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี ถ้าประสบกับธัมมารมณ์ ก็จุติ ทางมโนทวารมรณาสันนวิถี ข. ชวนะ ในวิถีนั้น ๆ ซึ่งมีชวนะ ๕ ขณะ ก็เป็นกามชวนะ แต่จะเป็นโลภ ชวนะ โทสชวนะ โมหชวนะ มหากุสลญาณวิปปยุตตชวนะ หรือ มหากุสลญาณ สัมปยุตตชวนะ ก็แล้วแต่อำนาจของกรรมทั้ง ๔ ที่สัตว์นั้นกระทำมา (ครุกรรม, อาสันนกรรม, อาจิณณกรรม, กฏัตตากรรม) ๒. กามบุคคลจุติ และ ปฏิสนธิในพรหมภูมิ เพราะเป็นฌานลาภีบุคคลนั้น ก. วิถี จะไม่จุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี แต่จุติทางมโนทวารมรณา สันนวิถี เพราะจะต้องมีบัญญัติ หรือมีธัมมารมณ์เป็นอารมณ์เสมอ ข. ชวนะ ในชวนะ ๕ ขณะนั้น เป็นมหัคคตชวนะ คือเป็นบริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู และฌานจิต แล้วจุติจิตจึงจะเกิด จะเป็นฌานจิตชั้นใด ก็แล้วแต่ ฌานที่ตนได้ตนถึง ๓. พรหมบุคคลจุติ และปฏิสนธิในพรหมภูมิชั้นเดิม หรือ ชั้นที่สูงขึ้นไปนั้น มรณาสันนวิถีก็จะเกิดเช่นเดียวกับกามบุคคลจุติ และปฏิสนธิในพรหมภูมิ (ข้อ ๒) คือ จุติทางมโนทวารมรณาสันนวิถี และชวนะเป็นมหัคคตชวนะ ๔. พรหมบุคคลจุติ และกลับมาปฏิสนธิในกามสุคติภูมิ เพราะสิ้นบุญบารมี นั้น มรณาสันนวิถีก็จะเกิด เช่นเดียวกับกามบุคคลจุติ และปฏิสนธิในกามภูมิอีก (ข้อ ๑) คือ ชวนะเป็นกามชวนะ หน้า ๕๑ ปรินิพพาน ของ พระอรหันต์ พระอรหันต์ทั้งหลาย ไม่ปรินิพพานทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี แต่ ปรินิพพานทางมโนทวารมรณาสันนวิถีทางเดียว และไม่มีกรรมอารมณ์ กรรมนิมิต อารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์เลย มรณาสันนวิถีของพระอรหันต์นับได้ว่ามี ๕ อย่าง คือ ๑. กามชวนมรณาสันนวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากชวนะที่เป็นมหากิริยา อย่างนี้นับว่าเป็นการปรินิพพานอย่างธรรมดาสามัญ ๒. ฌานสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากฌานสมาบัติวิถี ๓. ปัจจเวกขณสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากวิถีที่พิจารณาองค์ฌาน ๔. อภิญญาสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากอภิญญาวิถี ที่แสดงอิทธิ ฤทธิต่าง ๆ ๕. ชีวิตสมสีสี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากการพิจารณา มัคค ผล นิพพาน และกิเลสที่ประหารสิ้นแล้ว ตทาลัมพนนิยม ตทาลัมพนนิยม แปลว่า ข้อจำกัดอันแน่นอนของตทาลัมพนะ มีความหมาย ว่า การที่ตทาลัมพนะจะเกิดได้นั้น มีข้อจำกัดประการใดบ้าง ตทาลัมพนะควรจะเกิด แต่มีข้อจำกัดอย่างใดบ้างที่ทำให้เกิดไม่ได้ และเมื่อตทาลัมพนะ ที่ควรจะเกิดแต่เกิด ไม่ได้แล้ว มีข้อจำกัดว่ามีอะไรเกิดมาแทนหรือไม่ ข้อจำกัดในการเกิดขึ้นของตทาลัมพนะนี้ มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๗ แสดงว่า ๗. กาเม ชวนสตฺตาลมฺ- พนานํ นิยเม สติ วิภูเต ติมหนฺเต จ ตทารมฺมณมีริตํ ฯ แปลความว่า ชวนะ สัตว์ อารมณ์ ที่เป็นกาม นั้น ตทาลัมพนะย่อมเกิดได้ในวิภูตารมณ์วิถี และ อติมหันตารมณ์วิถี หน้า ๕๒ อธิบาย ตทาลัมพนะ หรือ ตทารัมมณะ มีความหมายอย่างเดียวกัน มาจากคำว่า ตํ(นั้น) + อารมฺมณ(อารมณ์) = อารมณ์นั้น ตามคาถาสังคหะที่ ๗ คงได้ความว่า ตทาลัมพนะจะเกิดได้ ต่อเมื่อครบองค์ ดังนี้คือ ๑. ชวนะ ต้องเป็น กามชวนะ ๒. สัตว์ ต้องเป็น กามบุคคล ๓. อารมณ์ ต้องเป็น กามอารมณ์ ๔. วิถี ต้องเป็น วิภูตารมณ์ หรือ อติมหันตารมณ์วิถี ในข้อ ๑. ที่ว่า ชวนะต้องเป็นกามชวนะนั้น จะเป็นทางปัญจทวารวิถี หรือ มโนทวารวิถีก็ได้ แต่ถ้าเป็น อัปปนาชวนะ คือ มหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะ แล้ว ตทาลัมพนะย่อมไม่เกิด ในข้อ ๒. ที่ว่า สัตว์ต้องเป็นกามบุคคลนั้น หมายถึงบุคคลในกามภูมิ แต่ถ้า บุคคลนั้นเป็นพรหมในรูปภูมิก็ดี ในอรูปภูมิก็ดี ตทาลัมพนะก็ไม่เกิด ในข้อ ๓ ที่ว่า อารมณ์ต้องเป็นกามอารมณ์นั้น หมายเฉพาะกามอารมณ์ที่เป็น ปรมัตถเท่านั้น แต่ถ้ากามอารมณ์นั้นเป็นบัญญัติอารมณ์ก็ดี หรือว่าเป็น มหัคคต อารมณ์ หรือเป็นโลกุตตรอารมณ์ก็ดี ตทาลัมพนะก็ไม่เกิด ในข้อ ๔ ที่ว่า วิถีต้องเป็นวิภูตารมณ์วิถี หรืออติมหันตารมณ์วิถีนั้น ความชัด อยู่แล้วว่า วิถีนอกจากนี้ คือ อวิภูตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี ปริตตารมณ์วิถี อติปริตตารมณ์วิถีนั้น ตทาลัมพนะเกิดไม่ได้อยู่แล้ว เมื่อครบองค์ดังกล่าว ตทาลัมพนะจึงจะเกิดได้ ตทาลัมพนะที่เกิดนี้จะเป็น กุสลวิบาก หรือ อกุสลวิบาก และจะเป็นโสมนัส หรืออุเบกขา ทั้งนี้ต้องแล้วแต่ อารมณ์ ที่มาประสบนั้นเป็นสำคัญโดยมีข้อจำกัดว่า ก. อารมณ์นั้นเป็น อติอิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ดีมาก ตทาลัมพนะที่เกิด ย่อมเป็นกุสลวิบาก และเป็นโสมนัสด้วย ข. อารมณ์นั้นเป็น อิฏฐารมณ์ คือเป็นอารมณ์ที่ดีอย่างปานกลาง อย่างสามัญ ทั่ว ๆ ไป ตทาลัมพนะที่เกิดก็เป็นกุสลวิบากเหมือนกัน แต่เป็นอุเบกขา หน้า ๕๓ ค. แต่ถ้าอารมณ์นั้นเป็น อนิฏฐารมณ์ คืออารมณ์ที่ไม่ดีแล้วไซร้ ตทาลัมพนะ ที่เกิดต้องเป็นอกุสลวิบาก และเป็นอุเบกขาเวทนาแต่อย่างเดียว ทั้งนี้ได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ “กุสลวิบาก และ อกุสลวิบาก” ที่หน้า ๑๕ ขอให้ดูประกอบด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังมีที่กล่าวถึงในเรื่องตทาลัมพนะ ดังจะกล่าวต่อไปอีกเพียง เท่านี้ คือ กามาวจรกิริยาชวนะ ในสันดานแห่งพระขีณาสพนั้น ถ้าประกอบด้วยโสมนัส ตทาลัมพนะที่เกิดในที่สุดชวนะนั้น ก็เป็นโสมนัส ถ้ากามาวจรกิริยาชวนะ ประกอบด้วยอุเบกขา ตทาลัมพนะในที่สุดชวนะ ก็คงเป็นอุเบกขาไม่แปรผันเลย ด้วยสันดานแห่งพระขีณาสพปราศจากสัญญาวิปลาส ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดในตอนนี้ เป็นการแสดงการเกิดขึ้นของตทาลัมพนะ แต่ว่าในบางกรณีตทาลัมพนะควรจะต้องเกิด แต่ก็เกิดไม่ได้ จำต้องมีสิ่งอื่นมาเกิด แทน สิ่งที่มาเกิดแทนนั้นมีชื่อเรียกว่า อาคันตุกภวังค และก็มีข้อจำกัดว่าในกรณีใดบ้างที่จะต้องมี หรือไม่มี อาคันตุกภวังค ดังจะได้กล่าวต่อไปนี้ อาคันตุกภวังค อาคันตุกภวังค แปลว่า ภวังคที่จรมา ภวังคที่แปลกหน้ามา มีความหมายว่า ไม่ใช่ภวังคเดิม ที่เป็นองค์แห่งภพของสัตว์นั้น ๆ แต่ว่าเป็นภวังคหน้าใหม่จรมา ที่จะต้องมีอาคันตุกภวังค ก็เพราะจิตที่เกิดก่อนเป็นโทมนัสเวทนาจิตที่เกิด ทีหลังจะต้องเป็นโสมนัสเวทนา แต่ว่าโสมนัสเวทนาจะเกิดติดต่อกับโทมนัสเวทนา ไม่ได้ เพราะความรู้สึกนั้นตรงกันข้ามทีเดียว อุปมาดุจคนร้องไห้ จะหัวเราะ ในทันทีทันใดนั้นไม่ได้ ต้องหยุดร้องไห้เสียก่อนชั่วขณะแม้เพียงขณะน้อยนิดเดียว ต่อมาภายหลังจึงจะหัวเราะได้ ในวิถีจิต จิตที่เกิดก่อนเป็นโทมนัสเวทนาก็มีอยู่แห่งเดียว คือที่ชวนจิต ได้แก่ โทสชวนะ ต่อจากโทสชวนจิตก็เป็นตทาลัมพนะหรือภวังค ซึ่งถ้าหากว่าตามสภาวะ จะต้องเป็นโสมนัสเวทนาแล้ว โสมนัสตทาลัมพนะ หรือโสมนัสภวังคนั้นก็จะเกิดต่อจากโทสชวนะที่เป็นโทมนัสเวทนานั้นไม่ได้ จำต้องเกิดจากอาคันตุกภวังค ซึ่ง อาคันตุกภวังคนี้เป็นอุเบกขาเวทนาแต่อย่างเดียว หน้า ๕๔ ๑. ในอติมหันตารมณ์วิถี ตทาลัมพนะเกิดไม่ได้ จำต้องมีอาคันตุกภวังคเกิด มาแทนนั้น ต้องพร้อมด้วยองค์ ๓ ประการ คือ ก. ชวนะนั้นต้องเป็นโทสชวนะ ข. อารมณ์นั้นต้องเป็นอติอิฏฐารมณ์ ค. บุคคลนั้นต้องปฏิสนธิมาด้วย โสมนัสมหาวิบาก โสมนัสปฏิสนธิ อติอิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ต้องมีอาคันตุกภวังค ภวังคเดิมเป็นโสมนัส ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช อา ภ ๒. แม้ว่าชวนะนั้นจะเป็นโทสชวนะก็ดี แต่ถ้าอารมณ์นั้นเป็นอิฏฐารมณ์ หรือ อนิฏฐารมณ์ ถึงบุคคลนั้นจะปฏิสนธิมาด้วยโสมนัสมหาวิบากก็ตาม ตทาลัมพนะก็ เกิดได้ ไม่ต้องมีอาคันตุกภวังค เพราะเมื่ออารมณ์นั้นเป็นอิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์แล้ว ตทาลัมพนะก็เป็น อุเบกขาเวทนา จึงเกิดติดต่อกับโทมนัสเวทนาได้ โสมนัสปฏิสนธิ , อิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ตทาลัมพนะเกิดได้ , อุเบกขา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๓. แม้ว่าชวนะนั้นเป็นโทสชวนะก็ดี และทั้งอารมณ์ก็เป็น อติอิฏฐารมณ์ก็ดี แต่ถ้าบุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วยอุเบกขาเวทนาแล้ว ถึงตทาลัมพนะจะเกิดไม่ได้ก็จริง แต่ภวังคเดิมซึ่งต้องเป็นอุเบกขาเวทนา ก็เกิดติดต่อกับโทสชวนะ อันมีเวทนาเป็น โทมนัสได้ ไม่ต้องมีอาคันตุกภวังค หน้า ๕๕ อุเบกขาปฏิสนธิ , อติอิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ภวังคเดิมเกิดได้ , อุเบกขาเวทนา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๔. ในมหันตารมณ์วิถี ภวังคเดิมเกิดไม่ได้ จำต้องมีอาคันตุกภวังคเกิดมาแทน นั้น ต้องพร้อมด้วยองค์ เพียง ๒ ประการเท่านั้น คือ ก. ชวนะนั้น ต้องเป็นโทสชวนะ ข. บุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วย โสมนัสมหาวิบาก โสมนัสปฏิสนธิ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ต้องมีอาคันตุกภวังค เป็นอุเบกขาเวทนา ภวังคเดิมเป็นโสมนัส ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช อา ภ ๕. แม้ว่าชวนะนั้นเป็นโทสชวนะก็ตาม แต่ถ้าบุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วย อุเบกขาเวทนาแล้ว ภวังคเดิมซึ่งเป็นอุเบกขาก็เกิดติดต่อกับโทสชวนะนั้นได้ ไม่ ต้องมีอาคันตุกภวังค อุเบกขาปฏิสนธิ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ภวังคเดิมเกิดได้ , อุเบกขาเวทนา ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๖. ในมโนทวารวิถี วิถีใดจะต้องมีอาคันตุกภวังค หรือไม่นั้น มีสิ่งที่จะต้อง พิจารณาเช่นเดียวกันกับทาง ปัญจทวารวิถี กล่าวคือในวิภูตารมณ์วิถี เป็นทำนองเดียวกันกับอติมหันตารมณ์วิถี ในอวิภูตารมณ์วิถี ก็เป็นทำนองเดียวกับ มหันตารมณ์วิถี ตามที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้นนั้นทุกประการ หน้า ๕๖ ชวนนิยม ชวนนิยม แปลว่า ข้อจำกัดอันแน่นอนของชวนะ มีความหมายในที่นี้ว่า ชวนจิตอย่างใดมีจำกัดว่าเกิดได้กี่ขณะ ดังมีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๘ แสดงว่า ๘. สตฺตกฺขตฺตุํ ปริตฺตานิ มคฺคาภิญฺญา สกึ มตา อวเสสานิ ลพฺภนฺติ ชวนา พหูนิปิ ฯ แปลความว่า ท่านกล่าวว่ากามชวนะเกิดเพียง ๗ ขณะ มัคคชวนะ อภิญญาชวนะ เกิดเพียงขณะเดียว ชวนะที่เหลือนอกจากนี้ แม้หลาย ๆ ขณะก็เกิดได้ แสดงรายละเอียด ชวนจิตที่เกิด ๑ ขณะ ได้แก่จิต ๒๖ ดวง คือ ก. มหัคคตกุสล ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในอาทิกัมมิกฌานวิถี ข. มหัคคตกิริยา ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในอาทิกัมมิกฌานวิถี ค. อภิญญาชวนะ ๒ ที่เกิดขึ้นในอภิญญาวิถี ง. มัคคชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถี จ. อนาคามิผลชวนะ ๑ ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาออกจากนิโรธสมาบัติ ฉ. อรหัตตผลชวนะ ๑ ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาออกจากนิโรธสมาบัติ ชวนจิตที่เกิด ๒ ขณะ ได้แก่จิต ๖ ดวง คือ ก. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๒ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้านิโรธสมาบัติ ข. ผลชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถีของมันทบุคคล ชวนจิตที่เกิด ๓ ขณะ ได้แก่จิต ๑๒ ดวง คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของติกขบุคคล ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของติกขบุคคล ค. ผลชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถีของติกขบุคคล ชวนจิตที่เกิด ๔ ขณะ ได้แก่จิต ๘ ดวง คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของมันทบุคคล ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของมันทบุคคล หน้า ๕๗ อนึ่งมหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นใน(ปัจจเวกขณวิถี) เมื่อสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์นั้น ก็เกิดเพียง ๔ ขณะ เพราะต้อง กระทำกิจนั้นโดยเร็วที่สุด ชวนจิตที่เกิด ๕ ขณะ ได้แก่จิต ๒๘ ดวง คือ กามชวนะ ๒๘ (เว้นหสิตุปปาทะ) ที่เกิดขึ้นในมรณาสันนวิถี คือ วิถีที่จะจุติ อนึ่งบางแห่งกล่าวว่า ชวนจิตที่เกิดขึ้นในมรณาสันนกาล(ใกล้ตาย), มุจฉา กาล(ขณะหลง), วิสัญญีภูตกาล(ขณะสลบ), อติตรุณกาล(ขณะที่กัมมชรูปมีกำลัง อ่อนมาก) เหล่านี้ ชวนะก็เกิด ๕ ขณะ และมหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นใน(ปัจจ เวกขณวิถี) เมื่อพระสาวกแสดงอิทธิฤทธิซึ่งเกี่ยวกับกรณีพิเศษชวนะก็เกิด ๕ ขณะ เหมือนกัน ชวนจิตที่เกิด ๖ ขณะ ได้แก่จิตที่เกิดขึ้นในเวลาสลบ อนึ่ง บางแห่งกล่าวว่า ในเวลาร่างกายเป็นปกติ กามชวนะ ๒๙ ดวงนั้น อาจจะเกิดเพียง ๖ ขณะ ก็มีได้ ชวนจิตที่เกิด ๗ ขณะ ได้แก่จิต ๒๙ ดวง คือ กามชวนะ ๒๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ ชวนจิตที่เกิดมากกว่า ๗ ขณะขึ้นไป ได้แก่จิต ๒๒ ดวง คือ ก. มหัคคต กุสล ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ฌานสมาบัติ ข. มหัคคต กิริยา ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ฌานสมาบัติ ค. ผลจิต ๔ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ผลสมาบัติ บุคคล ๑๒ ประเภทของบุคคล ท่านจัดไว้เป็น ๑๒ คือ ปุถุชน ๔ อริยบุคคล ๘ ปุถุชน ๔ ได้แก่ ทุคคติอเหตุกบุคคล สุคติอเหตุกบุคคล ทวิเหตุกบุคคล ติเหตุกบุคคล หน้า ๕๘ อริยบุคคล ๘ ได้แก่ โสดาปัตติมัคคบุคคล สกทาคามิมัคคบุคคล อนาคามิมัคคบุคคล อรหัตตมัคคบุคคล มัคคบุคคล ๔ โสดาปัตติผลบุคคล สกทาคามิผลบุคคล อนาคามิผลบุคคล อรหัตตผลบุคคล ผลบุคคล ๔ ทุคคติอเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ บุคคลในอบายภูมิรวม ๔ ภูมิคือ นรก ๑ ภูมิ เปรต ๑ ภูมิ อสุรกาย ๑ ภูมิ และสัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภูมิ สัตว์ทั้ง ๔ นี้ ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณอกุสลวิบาก ๑ ดวง สุคติอเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ มนุษย์ผู้ หูหนวก ตาบอด เป็นบ้า เป็นใบ้ พิกลพิการต่าง ๆ ๑ ภูมิ และเทวดาบางจำพวกในชั้นจาตุมหาราชิกา ๑ ภูมิ สัตว์ใน ๒ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณกุสลวิบาก ๑ ดวง ทวิเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดาทั้ง ๖ ภูมิ (รวมเรียกว่า กาม สุคติภูมิ ๗) ผู้ไม่มีปัญญา สัตว์ใน ๗ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ ดวง ติเหตุกบุคคล ๙ ได้แก่ ปุถุชน ๑ อริยบุคคล ๘ ปุถุชน ๑ ได้แก่ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ (เว้น สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ) และอรูปพรหม ๔ ภูมิ รวมเป็น ๒๑ ภูมิ ด้วยกัน เป็นสัตว์ผู้มีปัญญาทั้งนั้นซึ่งปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ ดวง มหัคคตวิบาก ๙ ดวง อริยบุคคล ๘ ได้แก่ มัคคบุคคล ๔ ผลบุคคล ๔ ในมนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๕ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตต ๑ ภูมิ) และอรูปพรหม ๔ ภูมิ สัตว์ใน ๒๖ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ ดวง มหัคคตวิบาก ๙ ดวง เพื่อให้เห็นได้ชัดว่า อริยบุคคล ๘ นั้น บุคคลใดมีได้ในภูมิใดบ้าง ขอแสดง ดังนี้ หน้า ๕๙ โสดาปัตติมัคคบุคคล ๑ บุคคลนี้มีได้ ๑๗ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ บุคคลนี้มีไม่ได้ใน ๑๔ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ โสดาปัตติผลบุคคล ๑ สกทาคามิมัคคบุคคล ๑ สกทาคามิผลบุคคล ๑ อนาคามิมัคคบุคคล ๑ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีได้ใน ๒๑ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีไม่ได้ใน ๑๐ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ อนาคามิผลบุคคล ๑ อรหัตตมัคคบุคคล ๑ อรหัตตผลบุคคล ๑ บุคคลทั้ง ๓ นี้ มีได้ใน ๒๖ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๕ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีไม่ได้ใน ๕ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ หน้า ๖๐ จิตที่ไม่มีในบุคคลบางจำพวก บุคคลบางจำพวก ไม่มีจิตบางประเภทเลย มีสำนวนเก่าท่านกล่าวไว้ ซึ่งถ้าได้ พิจารณาแล้ว ก็พอจะเข้าใจได้ จึงเห็นว่าควรจะคงสำนวนนั้นไว้ โดยไม่เปลี่ยนแปลง แก้ไขเลย ดังมีข้อความต่อไปนี้ สัตว์ที่เป็นอเหตุก และ ทวิเหตุกนั้น เป็นสัตว์บุญน้อย ไม่ได้สำเร็จกิริยาชวนะ ( ชวนะจิตของพระอรหันต์ ) และ อัปปนาชวนะ ( หมายถึงสัตว์ที่เป็นอเหตุก และ ทวิเหตุกนั้น ไม่สามารถทำฌาน และบรรลุมรรค ผล นิพพานได้ ในชาติที่ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณกุสลวิบาก ๑ ดวง และ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ ดวง นั้น ) ถึงเกิดในสุคติ จิตที่เป็นกามาวจรวิบากญาณสัมปยุตตก็ไม่มีในสันดาน ถ้าเป็นอเหตุกสัตว์ในทุคคติแล้ว ก็ยิ่งชั่วร้อยเท่าพันทวี แม้แต่จิตที่เป็นมหา วิบากญาณวิปปยุตต ก็ไม่มีในสันดาน ท่านที่เป็นติเหตุกหรือ ไตรเหตุ มีไตรเหตุเกิดพร้อมด้วยปฏิสนธิจิตนั้น ถ้าบำเพ็ญพระกัมมัฏฐาน ก็จะได้สำเร็จเป็นพระขีณาสพ ขาดจากกุสลชวนะ และอกุสลชวนะ มีแต่ กิริยาชวนะ และอรหัตตชวนะ ปุถุชนที่เป็นติเหตุกหรือไตรเหตุ ยังเป็นปุถุชนอยู่ ก็ไม่มีกิริยาชวนะในสันดาน โลภชวนะที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหสัมปยุตตวิจิกิจฉา และกิริยา ชวนะก็ดี ย่อมไม่มีในสันดานแห่งเสกขบุคคลคือ พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี พระอนาคามีบุคคลนั้น ในสันดานไม่มีปฏิฆชวนะ และกิริยาชวนะ และโลภ ชวนทิฏฐิสัมปยุตต และโมหชวนวิจิกิจฉาสัมปยุตต โลกุตตรชวนะนั้น มีกำหนดเกิดเป็นส่วน ๆ กัน โสดาปัตติชวนะนั้น จำเพาะ มีในสันดานพระโสดาบัน ครั้นถึงพระสกทาคามีแล้ว โสดาปัตติชวนะก็ขาดไป มีแต่สกทาคามีชวนะในสันดาน ครั้นได้อนาคามีแล้ว สกทาคามีชวนะก็ขาดไป มีแต่ อนาคามีชวนะ ครั้นได้อรหัตตแล้ว อนาคามีชวนะก็ขาดไป มีแต่อรหัตตชวนะอยู่ใน สันดาน วิถีจิตของบุคคล บุคคลทั้ง ๑๒ (ปุถุชน ๔, อริยบุคคล ๘)นั้น บุคคลใดมี วิถีจิต ได้เท่าใด ท่านได้แสดงไว้เป็นส่วนรวม ดังมีคาถา สังหคะเป็นคาถาที่ ๙ แสดงไว้ว่า ๙. อเสกฺขานํ จตุจตฺตา- ฬีส เสกฺขาน มุทฺทิเส ฉปญฺญาสาว เสสานํ จตุปญฺญาส สมฺภวา ฯ แปลความว่า อเสกขบุคคล มีวิถีจิต ๔๔ เสกขบุคคล มีวิถีจิต ๕๖ บุคคลนอกนั้น มีวิถีจิต ๕๔ หน้า ๖๑ อธิบาย อเสกขบุคคล คือบุคคลที่ไม่ต้องศึกษาอีกแล้ว หมายถึงพระอรหันต์ มีวิถีจิต ๔๔ คือ อเหตุกจิต ๑๘ มหากิริยา ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ อรหัตตผล ๑ ที่มีวิถีจิต ๔๔ นี้ หมายถึง พระอรหันต์อยู่ในกามภูมิ และได้ฌานทั้งรูปฌาน และอรูปฌานด้วย เสกขบุคคล คือ บุคคลที่ยังต้องศึกษาต่อไปอีก หมายถึง พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี มีวิถีจิต ๕๖ คือ อกุสลจิต ๗ (เว้นทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา ๑) อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นหสิตุปปาทะ) มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นอรหัตตผล) ที่มีวิถีจิต ๕๖ นี้กล่าวเป็นส่วนรวมทั้ง ๗ บุคคล เว้นแต่อรหัตตผลบุคคล บุคคลเดียวเท่านั้น บุคคลนอกนั้นคือ บุคคลที่นอกจากพระอริยะทั้ง ๘ หมายถึง บุคคลที่ยังเป็น ปุถุชนอยู่ และอยู่ในกามภูมิ มีวิถีจิต ๕๔ คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นหสิตุปปาทะ) มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ หน้า ๖๒ ขยายความ เพื่อให้เห็นได้ชัดเป็นรายบุคคล ว่าแต่ละบุคคลมี วิถีจิต และประเภทจิตที่ไม่ สามารถจะมีได้นั้นเท่าใด อะไรบ้าง จึงขอแสดงดังต่อไปนี้ ทุคคติบุคคล ได้วิถีจิต ๓๗ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๒ ดวง คือ อกุสล ๑๒ อเหตุก ๑๗ มหากุสล ๘ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตร ๘ สุคติบุคคล และ ทวิเหตุกบุคคล ได้วิถีจิต ๔๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๘ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสลจิต ๘ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ มหากิริยา ๘ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตร ๘ ติเหตุกปุถุชน (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๕๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๓๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสลจิต ๘ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตกุสลจิต ๙ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๖๓ โสดาบัน และ สกทาคามิบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๕๐ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๓๙ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ โสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ อนาคามิบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๔๘ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๑ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ อนาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ หน้า ๖๔ อรหัตตบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๔๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๕ ดวง คือ อเหตุกจิต ๑๘ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตกิริยา ๙ อรหัตตผล ๑ อกุสล ๑๒ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตวิบาก ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ พรหมปุถุชน ในปฐมฌานภูมิ ๓ ตติยฌานภูมิ ๓ และ จตุตถฌาน เฉพาะ เวหัปผลาภูมิ ๑ ใน ๗ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๙ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ปฐมฌานวิบาก หรือ จตุตถฌานวิบาก หรือ ๑ ปัญจมฌานวิบาก โทสมูลจิต ๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ พรหมปุถุชน ใน ทุติยฌานภูมิ ๓ ใน ๓ ภูมินี้ มีจิตได้ ๔๐ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๙ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ทุติยฌานวิบาก ๑ ตติยฌานวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๗ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๖๕ พรหมอนาคามี ใน สุทธาวาส ๕ ภูมิ ใน ๕ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๕ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๔ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ปัญจมฌานวิบาก ๑ อนาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๗ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ในรูปพรหมชั้นอื่น ๆ คือ ใน ปฐมฌานภูมิ ๓ ในทุติยฌานภูมิ ๓ ในตติยฌานภูมิ ๓ และในจตุตถฌานภูมิ เฉพาะเวหัปผลาภูมิ ๑ รวม ๑๐ ภูมินั้น ก็มีจิตได้ ๓๕ ดวง เท่ากับพรหมอนาคามี ในสุทธาวาสภูมินี้ เพียงแต่ ก. เปลี่ยนปัญจมฌานวิบาก เป็น ปฐมฌานวิบาก ทุติยฌานวิบาก ตติยฌาน วิบาก หรือ จตุตถฌานวิบากให้ตรงตามที่ได้ที่ถึง ข. เปลี่ยน อนาคามิผลเป็น โสดาปัตติผล สกทาคามิผล หรือคงเป็นอนาคามิ ผล ให้ตรงตามที่ได้บรรลุอริยผลชั้นนั้น ๆ พรหมอรหันต์ ในสุทธาวาสภูมิ ๕ ใน ๕ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๘ ดวง คือ อเหตุกจิต ๑๒ มหากิริยา ๘ มหัคคตกิริยา ๙ ปัญจมฌานวิบาก ๑ อรหัตตผล ๑ อกุสล ๑๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตวิบาก อีก ๘ โลกุตตรจิต อีก ๗ พระอรหันต์ในรูปพรหมชั้นอื่น ๆ ก็มีจำนวนจิตเท่ากันนี้ เพียงแต่เปลี่ยน ปัญจมฌานวิบาก เป็น ปฐมฌานวิบาก ทุติยฌานวิบาก ตติยฌานวิบาก หรือ จตุตถ ฌานวิบาก ให้ตรงตามที่ได้ที่ถึง หน้า ๖๖ อรูปพรหมปุถุชน ในอากาสานัญจายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อรูปกุสล ๔ อากาสานัญจายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ที่เป็นอากาสานัญจายตน พรหม มีจิตได้เพียง ๒๐ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๖๙ ดวง โดยต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือสกทาคามิผล หรืออนาคามิ ผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวง ออกเสียด้วย คงเป็น ๒๔+๑-๕ เท่ากับ ๒๐ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต๔ วิจิกิจฉาสหคต จิต ๑ รวม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๕+๕-๑ เท่ากับ ๖๙ ดวง หน้า ๖๗ อรูปพรหมปุถุชน ในวิญญาณัญจายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๓ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๖ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อรูปกุสล ๓ วิญญาณัญจายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสานัญจายตนกุสลจิต ๑ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และ พระอนาคามี ที่เป็นวิญญาณัญจายตน พรหม มีจิตได้เพียง ๑๙ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๐ ดวง ต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือสกทาคามีผล หรือ อนาคามี ผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวงออกเสียด้วย คงเป็น ๒๓+๑-๕ เท่ากับ ๑๙ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๖+๕-๑ เท่ากับ ๗๐ ดวง อรูปพรหมปุถุชน ในอากิญจัญญายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๒ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อากิญจัญญายตนกุสล ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ อากิญจัญญายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสานัญจายตนกุสล ๑ วิญญาณัญจายตนกุสล ๑ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระเสกขบุคคล ๓ ที่เป็นอากิญจัญญายตนพรหม มีจิตได้เพียง ๑๘ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๑ ดวง ทั้งนี้ต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่ม โสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล หรือ อนาคา มิผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่า บรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวงออกเสียด้วยคงเป็น ๒๒+๑-๕ เท่ากับ ๑๘ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๗+๕-๑ เท่ากับ ๗๑ ดวง หน้า ๖๘ อรูปพรหมปุถุชน ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๘ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปกุสล อีก ๓ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระเสกขบุคคล ที่เป็น เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม มีจิตได้เพียง ๑๗ ดวง เท่านั้น และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๒ ดวง ทั้งนี้ต้องเพิ่ม หรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล หรือ อนาคา มิผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวง ออกเสียด้วย คงเป็น ๒๑+๑-๕ เท่ากับ ๑๗ ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๘+๕-๑ เท่ากับ ๗๒ พระอรหันต์ ในอากาสานัญจายตนภูมิ มีจิตเกิดได้ ๑๕ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๗๔ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากิริยา ๘ อรูปกิริยา ๔ อากาสานัญจายตนวิบาก ๑ อรหัตตผล ๑ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปกุสล ๔ อรูปวิบาก อีก ๓ โลกุตตรจิต อีก ๗ หน้า ๖๙ พระอรหันต์ ในวิญญาณัญจายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ต้องหักอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ออกเสีย ๑ และเปลี่ยน อากาสานัญจายตนวิบาก เป็นวิญญาณัญจายตนวิบาก คงเหลือจิตที่เกิดได้ ๑๔ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ รวมเป็น ๗๕ ดวง ด้วยกัน พระอรหันต์ ในอากิญจัญญายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ ต้องหัก อรูป กิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ รวม ๒ ดวง ออกเสีย และเปลี่ยนอากาสานัญจายตนวิบาก เป็นอากิญจัญญายตนวิบากคงเหลือ จิตที่เกิดได้ ๑๓ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ รวมเพิ่ม ๒ เป็น ๗๖ พระอรหันต์ ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ ต้องหัก อรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ และ อากิญ จัญญายตนกิริยา ๑ รวม ๓ ดวง ออกเสีย และเปลี่ยนอากาสานัญจายตนวิบาก เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก คงเหลือจิตที่เกิดได้ ๑๒ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ และ อากิญจัญญายตนกิริยา ๑ รวมเพิ่ม ๓ จึงเป็น ๗๗ อนึ่ง ที่ต้องลดจิตของอรูปชั้นต่ำออกเสียนั้น เพราะเหตุว่าในอรูปพรหมชั้นสูง ได้ก้าวล่วงอารมณ์ของอรูปชั้นต่ำเสียแล้ว ดังนั้นอารมณ์ในอรูปชั้นต่ำจึงไม่มี ที่จะได้ เป็นปัจจัยให้แก่อรูปพรหมชั้นสูง วิถีจิตตามภูมิ ภูมิ อันเป็นชั้นที่อยู่แห่งสัตว์นั้น ในที่นี้จำแนกเพียง ๓ ภูมิ คือ กามภูมิ ๑ รูปภูมิ ๑ และอรูปภูมิ ๑ เมื่อกล่าวโดยส่วนรวมทั้ง ๓ ภูมิแล้ว ในภูมิใดมีวิถีจิตเกิดได้เท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๑๐ แสดงว่า ๑๐. อสีติ วิถีจิตฺตานิ กาเม รูเป ยถารหํ จตุสฏฺฐี ตถารูเป เทวฺจตฺตาฬีส ลพฺภเร ฯ แปลความว่า กามภูมิ มีวิถีจิต ๘๐ รูปภูมิ มีวิถีจิต ๖๔ อรูปภูมิ มีวิถีจิต ๔๒ มีรายละเอียดดังนี้ หน้า ๗๐ กามภูมิ ๑๑ มีวิถีจิต ๘๐ คือ ไม่มีจิต ๙ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามาวจรโสภณจิต ๒๔ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ มหัคคตวิบาก ๙ รูปภูมิ ๑๕ ภูมิ (เว้นอสัญญสัตตภูมิ) มีวิถีจิต ๖๔ คือ ไม่มีจิต ๒๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๒ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ ฆานวิญญาณจิต ๒ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ กายวิญญาณจิต ๒ มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ หน้า ๗๑ อรูปภูมิ ๔ มีวิถีจิต ๔๒ คือ ไม่มีจิต ๔๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปกุสล ๔ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบากจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปวิบาก ๔ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ข้อความส่งท้าย วิถีจิต คือ ลำดับความเป็นไปของจิตตามทวารทั้ง ๖ ย่อมเกิดขึ้นรับอารมณ์ ใหม่ และเป็นไปดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ตลอดเวลา ไม่ขาดสายจนตลอดชีวิตแห่งสัตว์ นั้น เมื่อสิ้นสุดวิถีจิตแต่ละวิถี ต้องมีภวังคจิตเกิดมาคั่นไว้ชั่วระยะหนึ่งก่อน แล้ว จึงจะเริ่มเป็นวิถีจิตต่อไปใหม่ ภวังคจิตที่เกิดมาคั่นแต่ละวิถีนี้ มีจำนวนไม่เท่ากัน หลังวิถีจิตแห่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมเกิดภวังคเพียง ๒ ขณะ พระสารีบุตร ย่อมเกิดเพียง ๑๖ ขณะ แต่ทว่าสัตว์อื่นทั้งหลายนั้นเกิดมากจนไม่อาจ นับได้ อนึ่งสัตว์ที่เกิดในโลกทั้งปวง ถ้าปราศจากประสาทแห่งทวารใดแล้ว ก็ปราศ จากจิตที่เกิดทางทวารนั้น ๆ สัตว์ที่เกิดเป็นอสัญญสัตตพรหมนั้นไม่มีจิต จิตปวัตติ คือ ความเป็นของ จิตวิถีจิตจึงไม่มี จิตระงับสงบอยู่ถึง ๕๐๐ มหากัปป์ ต่อเมื่อจุติจากอสัญญีภพแล้ว จึงประพฤติเป็นไปในภพทั้ง ๓ หน้า ๗๒ อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๔ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห จตุตฺโถ ปริจฺเฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ นี่ปริจเฉทที่ ๔ ( ชื่อ วิถีสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวบรวมซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรมที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อเพียงเท่านี้แล --------------------------------------

กระบวนการทำงานของจิตอัปปนาวิถี อัปปนา แปลว่า ทำลาย คือทำลายกิเลส มีนิวรณ์เป็นต้น หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึง จิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ถ้าเคยได้อัปปนาจิตในอารมณ์ใด เมื่อจิตดวงนั้นเกิดขึ้นอีกเวลาใด หรือขณะใด ก็จะต้องมีอารมณ์อย่างนั้นเสมอไปไม่เปลี่ยนแปลงเป็นอารมณ์อย่างอื่นเลย อัปปนาจิต คือจิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ได้แก่ จิต ๓๕ หรืออย่างพิสดาร ๖๗ ดวง คือ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ ส่วน อัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีอัปปนาจิตอยู่ในวิถีนั้น ได้แก่ จิต ๒๖ หรือ อย่างพิสดาร ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ โลกุตตรจิต ๘ หรือ ๔๐ อัปปนาชวนะ คือ ชวนจิตที่แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดยเฉพาะ ได้แก่ จิต ๒๖ หรือ ๕๘ เท่ากัน และเหมือนกันกับอัปปนาวิถีจิตนั่นเอง เพราะชวนะ เป็นจิตที่อยู่ในวิถี อัปปนาวิถี หรือ อัปปนาชวนะ เกิดได้ทาง มโนทวารวิถี ทางเดียวเท่านั้น ไม่เกิดทางปัญจทวารวิถีเลย หน้า ๓๐ อัปปนาวิถี เป็นมโนทวารวิถีก็จริง แต่ไม่จำแนก เป็นวิภูตารมณ์วิถี และ อวิภูตารมณ์วิถี เหมือนอย่าง มโนทวารกามวิถี เพราะอัปปนาวิถีมีแต่วิภูตารมณ์วิถี อย่างเดียว ด้วยเหตุว่า ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งจริง ๆ แล้ว อัปปนาชวนะ จะเกิดไม่ได้เลย อัปปนาวิถี จำแนก ได้เป็น ๒ ประเภท คือ ๑. โลกียอัปปนาวิถี ๒. โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาวิถี โลกียอัปปนาจิต ได้แก่ มหัคคตจิตทั้ง ๒๗ ดวง แต่ โลกียอัปปนาวิถี หรือ โลกียอัปปนาชวนะ ได้แก่มหัคคตชวนจิต ๑๘ ดวง คือ มหัคคตกุสลจิต ๙ มหัคคตกิริยาจิต ๙ เท่านั้น ส่วนมหัคคตวิบากจิตอีก ๙ ดวงนั้น ไม่นับเป็นโลกียอัปปนาวิถี เพราะเป็นจิต ที่พ้นวิถี (พ้นทวารด้วย) และไม่นับเป็นโลกียอัปปนาชวนะ เพราะไม่ได้ทำชวนกิจ โลกียอัปปนาวิถีนี้ กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือ วิถีจิตที่ได้ฌาน ที่ถึงฌาน ที่ฌานจิต เกิด (ทั้งนี้หมายเฉพาะฌานจิตที่เป็นกุสล และกิริยาเท่านั้น ยกเว้นฌานจิตที่เป็น วิบาก เพราะเป็นจิตที่พ้นวิถี) ผู้ที่ได้ปฐมฌาน เป็นครั้งแรก ก็ดี ได้ทุติยฌาน เป็นครั้งแรก ก็ดี ตลอดจนถึงได้ เนวสัญญานาสัญญายตนฌานเป็นครั้งแรกก็ดี รวมความหมายว่า ผู้ที่แรกได้ฌาน ชั้นนั้น ๆ วิถีจิตที่ฌานจิตนั้น ๆ เกิดเป็นครั้งแรก เรียกชื่อวิถีจิตนั้นว่า อาทิกัมมิกฌานวิถี มีวิถีดังนี้ อาทิกัมมิกฌานวิถี ของมันทบุคคล คือบุคคลผู้รู้ช้า กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกียอัปปนาชวนะ กุสลฌานจิต ภวังคจิต น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ภ ชวนจิต ชวนจิต หน้า ๓๑ อาทิกัมมิกฌานวิถี ของติกขบุคคล คือบุคคลผู้รู้เร็ว กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ โลกียอัปปนาชวนะ กุสลฌานจิต ภวังคจิต น ท มโน อุป อนุ โค ฌ ภ ชวนจิต ชวนจิต ความหมายของอักษรย่อ น=ภวังคจลนะ,ท=ภวังคุปัจเฉทะ,มโน=มโนทวาราวัชชนะ,บริ=บริกรรม,อุป=อุปจาระ ,อนุ=อนุโลม,โค=โคตรภู,ฌ= ฌานจิต คำว่าโคตรภู ในโลกียอัปปนาวิถีนี้ หมายความว่า โอนโคตรหรือตัดจากโคตร กาม ไปเป็นโคตรพรหม อาทิกัมมิกฌานวิถี คือวิถีจิตที่ฌานจิตนั้น ๆ เกิดเป็นครั้งแรกนี้ ฌานจิตจะ เกิดเพียงขณะเดียว หรือดวง เดียวเท่านั้นเอง ต่อเมื่อมีวสีคือมีความชำนาญแล้ว จึงจะเกิดได้หลายขณะ โลกุตตรอัปปนาวิถี โลกุตตรอัปปนาวิถี คือ วิถีจิตที่มีโลกุตตรจิตในวิถีนั้น โลกุตตรจิตเป็นจิตที่ แนบแน่นแน่วแน่ในพระนิพพาน เป็นอารมณ์แต่อย่างเดียวเท่านั้นเอง จะมีอารมณ์ เป็นอย่างอื่นไม่ได้ โลกุตตรอัปปนาวิถี ได้แก่ โลกุตตรจิต คือ มัคคจิต ๔ ผลจิต ๔ หรืออย่าง พิสดารก็ มัคคจิต ๒๐ ผลจิต ๒๐ ติเหตุกบุคคลเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานจนบรรลุมัคคผล วิถีจิตที่ถึงมัคคถึงผล นั้นเรียกว่า มัคควิถี มีวิถีดังนี้ มัคควิถี ของ มันทบุคคล คือ บุคคลผู้รู้ช้า กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ อัปปนาชวนะ โลกุตตรจิต ๘ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ภ มโน บริ อุป อนุ มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็นอารมณ์ โค มัคค ผล ผล มีนิพพานเป็นอารมณ์ หน้า ๓๒ มัคควิถีของ ติกขบุคคล คือ บุคคลผู้รู้เร็ว กามชวนะ มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ อัปปนาชวนะ โลกุตตรจิต ๘ น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ มโน อุป อนุ มีไตรลักษณ์แห่งรูปนาม โค มัคค ผล ผล ผลมีนิพพานเป็นอารมณ์ เป็นอารมณ์ ในมัคควิถี ไม่ว่าจะเป็น มันทบุคคล(ผู้รู้ช้า) หรือติกขบุคคล(ผู้รู้เร็ว) มัคคจิต ก็เกิดขณะเดียวเท่านั้น มันทบุคคล อนุโลมญาณ เกิด ๓ ขณะ, โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ, มัคคญาณ เกิด ๑ ขณะ, ผลญาณ เกิด ๒ ขณะ รวมเป็นชวนะ ๗ ขณะ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ น ท มโน บริ อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ติกขบุคคล อนุโลมญาณ เกิด ๒ ขณะ, โคตรภูญาณเกิด ๑ ขณะ, มัคคญาณ เกิด ๑ ขณะ, ผลญาณ เกิด ๓ ขณะ รวมชวนะ ๗ ขณะ เหมือนกัน อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ น ท มโน อุป อนุ โค มัคค ผล ผล ผล ภ วิถีจิตของพระโสดาบัน ที่บรรลุ สกทาคามี มัคค - ผล ก็ดี วิถีจิตของพระสกทาคามี ที่บรรลุ อานาคามี มัคค - ผล ก็ดี วิถีจิตของพระอนาคามี ที่บรรลุ อรหัตต มัคค - ผล ก็ดี มีวิถีจิต คือ มัคควิถีอย่างเดียวกับที่ได้แสดงมาแล้วนี้ ส่วนโคตรภู นั้น ไม่เรียกว่า โคตรภู แต่เรียกว่า โวทาน ในมัคควิถี คำว่า โคตรภู หมายความว่า ตัดจากโคตรปุถุชนเป็นโคตรอริยะ กล่าวคือ ตัดจากโคตรชนที่หนา แน่นไปด้วยกิเลส เป็นโคตรชนที่ห่างไกลจากกิเลส ส่วนคำว่า โวทาน แปลว่า ธรรมขาว หมายความว่า พระสกทาคามี มีธรรม ที่ขาวกว่า สะอาดกว่า พระโสดาบัน, พระอนาคามี ก็มีธรรมที่ขาวยิ่งกว่า สะอาด ยิ่งกว่า พระสกทาคามี, สำหรับพระอรหันต์ นั้นเป็น ผู้ที่ขาวสะอาดบริสุทธิ์หมดจด ด้วยประการทั้งปวง หน้า ๓๓ ข้อสังเกตในอัปปนาวิถี ดังได้กล่าวแล้วว่า อัปปนาวิถีเป็นวิถีจิตที่มีอารมณ์ปรากฏทางใจอย่างชัดเจน แจ่มแจ้งมาก เพราะถ้าอารมณ์นั้น ไม่ชัดเจนแจ่มแจ้งจริง ๆ แล้ว อัปปนาวิถีจะไม่ เกิดเลย นอกจากนี้มีข้อที่ควรสังเกตอีก คือ ก. กล่าวโดยความชัดแจ้งของอารมณ์ แม้ว่าอัปปนาวิถีมีอารมณ์ชัดเจนแจ่ม แจ้งมาก แต่วิถีจิตก็มีไม่ถึง ตทาลัมพนะ เพราะอัปปนาวิถี มีทั้งกามอารมณ์ กาม ชวนะ และนิพพานเป็นอารมณ์ได้ด้วย ข. กล่าวโดยอารมณ์ของแต่ละวิถี ในวิถีเดียวกันนั้นเอง อัปปนาวิถีมีอารมณ์ ได้มากกว่า ๑ เช่นในมัคควิถี วิถีจิตตอนต้น ๆ คือ มโนทวาราวัชชนะ บริกรรม อุปจาระ อนุโลม มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็นอารมณ์ วิถีจิตตอนหลัง ๆ คือ โคตรภู มัคคจิต ผลจิต มีนิพพานเป็นอารมณ์ ค. กล่าวโดยชวนะ ก็มีได้หลายชาติ เช่น ในมัคควิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู และมัคคจิต เป็นชาติกุสล ส่วนผลจิต เป็นชาติวิบาก ง. นอกจากชวนะมีได้หลายชาติดังกล่าวในข้อ ค. นั้นแล้ว ชวนะยังมีจิตได้ หลายประเภท เช่น ในอาทิกัมมิกฌานวิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เป็น จิตประเภทกามาวจรจิต หรือ กามจิต ส่วนฌานจิตเป็น จิตประเภทมหัคคตจิต หรือ ฌานจิตไม่ใช่กามจิต และในมัคควิถี บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เป็นจิต ประเภท กามจิต ส่วนมัคคจิต ผลจิต เป็นจิตประเภทโลกุตตร ไม่ใช่กามจิต จำแนกอัปปนาชวนะ โดยเวทนา ใน อัปปนาชวนะ ๕๘ ดวงนี้ เป็นโสมนัสเวทนาก็มี เป็นอุเบกขาเวทนาก็มี ทั้งนี้แล้วแต่ว่าญาณสัมปยุตตจิตที่เป็น บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู (หรือ โวทาน) นั้นจะเกิดพร้อมกับเวทนาอะไร ถ้าเป็นโสมนัสเวทนา อัปปนาชวนะก็เกิด ตามมา ก็เป็นโสมนัสด้วย ถ้าเป็นอุเบกขาเวทนา อัปปนาชวนะที่เกิดตามมาก็เป็น อุเบกขาด้วย หน้า ๓๔ การจำแนกอัปปนาชวนะ โดยเวทนานี้ เป็นการแสดงอย่างที่เรียกว่า ธัมมา ธิฏฐาน คือไม่กล่าวอ้างถึงบุคคล แต่กล่าวอ้างเฉพาะจิตเท่านั้น ดังมีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๕ ) แสดงว่า ๕. ทฺวตฺตีส สุขปุญฺญมฺหา ทฺวาทโสเปกฺขกา ปรํ สุขิตกฺริยโต อฏฺฐ ฉ สมฺโภนฺติ อุเปกฺขกา ฯ แปลความว่า ก. เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตที่เป็นโสมนัสเกิดแล้ว โสมนัสอัปปนาชวนะ ๓๒ ย่อมเกิด ข. เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตที่เป็นอุเบกขาเกิดแล้ว อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๑๒ ย่อมเกิด ค. เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตที่เป็นโสมนัสเกิดแล้ว โสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ ย่อมเกิด ง. เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตที่เป็นอุเบกขาเกิดแล้ว อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๖ ย่อมเกิด อธิบาย (ก) เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู(หรือโวทาน) นั้นเป็นโสมนัสเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นโสมนัส อัปปนาชวนะ ๓๒ ย่อมเกิด โสมนัสอัปปนาชวนะ ๓๒ นั้น ได้แก่ รูปาวจร กุสล ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ ดวง มัคคจิต ที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๑๖ ดวง ผลจิต ที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน๑๒ดวง(เว้นอรหัตตผล ๔) (ข) เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู(หรือโวทาน) นั้นเป็นอุเบกขาเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นอุเบกขา อัปปนาชวนะ ๑๒ ย่อมเกิด อุเบกขาอัปปนาชวนะนั้น ได้แก่ รูปาวจร กุสล ปัญจมฌาน ๑ อรูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๔ ผลจิต ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๓ (เว้นอรหัตตผล ๑) (ค) เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู นั้นเป็นโสมนัสเวทนาเกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้นโสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ ย่อมเกิด โสมนัสอัปปนาชวนะ ๘ นั้น ได้แก่ รูปาวจรกิริยา ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ อรหัตตผลที่ประกอบด้วย ปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน ๔ หน้า ๓๕ (ง) เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตจำนวน ๒ ดวงที่ทำหน้าที่บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู นั้น เป็น อุเบกขาเวทนา เกิดขึ้นแล้ว ต่อจากนั้น อุเบกขาอัปปนา ชวนะ ๖ ย่อมเกิด อุเบกขาอัปปนาชวนะ ๖ นั้น ได้แก่ รูปาวจร กิริยา ปัญจมฌาน ๑ อรูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ที่ประกอบด้วย ปัญจมฌาน ๑ จำแนกอัปปนาชวนะ โดยบุคคล อัปปนาชวนะ ๕๘ นี้ ท่านจำแนกอีกนัยหนึ่ง เป็นการจำแนกตามบุคคล อย่างที่เรียกว่า ปุคคลาธิฏฐาน บุคคลในที่นี้ ท่านแบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ ปุถุชน และ เสกขบุคคล ซึ่ง เป็นบุคคลที่ยัง มีกิเลส อยู่ ๑ และ อเสกขบุคคล ซึ่งเป็นบุคคล ที่สิ้นกิเลส แล้วโดยสิ้นเชิง อีก ๑ เท่านั้น เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตตของพระอรหันต์เกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๑๔ ย่อมเกิดตามมา การจำแนกตามนัยนี้ มีคาถาสังคหะ ( เป็นคาถาที่ ๖ ) แสดงว่า ๖. ปุถุชฺชนาน เสกฺขานํ กามปุญฺญติเหตุโต ติเหตุกามกฺริยโต วีตราคานมปฺปนา ฯ แปลความว่า เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตตของติเหตุกปุถุชน และผลเสกขบุคคลเกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๔๔ ย่อมเกิดตามมา อธิบาย เมื่อมหากุสลญาณสัมปยุตต ทั้งโสมนัส และอุเบกขา รวมจำนวน ๔ ดวง ของติเหตุกปุถุชน และผลเสกขบุคคล ๓ คือ พระโสดาบัน ๑ พระสกทาคามี ๑ พระอนาคามี ๑ ซึ่งเป็นบุคคลที่ยังมีกิเลสอยู่ เกิดขึ้นแล้ว อัปปนาชวนะ ๔๔ ตามรายละเอียดต่อไปนี้ ย่อมเกิดตามมา มหัคคตกุสล ๙ มัคคจิต ๒๐ ผลจิต ๑๕ (เว้นอรหัตตผล ๕) หน้า ๓๖ เมื่อมหากิริยาญาณสัมปยุตต ทั้งโสมนัสและอุเบกขา รวมจำนวน ๔ ดวง ของพระอรหันต์ ซึ่งเป็นบุคคลที่สิ้นกิเลสแล้วโดยสิ้นเชิง เกิดขึ้นแล้ว อัปปนา ชวนะ ๑๔ ตามรายละเอียดต่อไปนี้ ย่อมเกิดตามมา มหัคคต กิริยา ๙ อรหัตตผล ๕ การจำแนกอัปปนาชวนะโดยปุคคลาธิฏฐานนี้ ท่านไม่ได้กล่าวถึงการจำแนก เวทนาร่วมพร้อมกันไปด้วย แต่ถ้าจะจำแนกทั้งบุคคล และเวทนาร่วมไปพร้อมกัน ก็จะได้ภาพดังนี้ ยังมีกิเลส โสมนัส อัปปนาชวนะ ๓๒ รูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ๑๖ ผลจิต(เบื้องต่ำ) ๑๒ เกิดต่อจากโสมนัส มหากุสลญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี ยังมีกิเลส อุเบกขา อัปปนาชวนะ ๑๒ รูปาวจร กุสล ๑ อรูปาวจร กุสล ๔ มัคคจิต ๔ ผลจิต(เบื้องต่ำ) ๓ เกิดต่อจากอุเบกขา มหากุสลญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี สิ้นกิเลสแล้ว โสมนัส อัปปนาชวนะ ๘ รูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ๔ เกิดต่อจากโสมนัส มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี สิ้นกิเลสแล้ว อุเบกขา อัปปนาชวนะ ๖ รูปาวจร กิริยา ๑ อรูปาวจร กิริยา ๔ อรหัตตผล ๑ เกิดต่อจากอุเบกขา มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๒ ในอัปปนาวิถี หน้า ๓๗ กามวิถี กับ อัปปนาวิถี กามวิถี กับ อัปปนาวิถี มีความแตกต่างกันหลายประการ กามวิถี อัปปนาวิถี ๑. ไม่ได้แนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว โดยเฉพาะ แนบแน่นอยู่ในอารมณ์เดียวโดย เฉพาะ ๒. เกิดได้ทั้งทางปัญจทวารวิถีและ มโนทวารวิถี เกิดได้ทางมโนทวารวิถีทางเดียว ๓. มีอารมณ์ได้ทั้ง ๖ มีได้เฉพาะธัมมารมณ์ คือ อากาสานัญ จายตน กุสล ๑, กิริยา ๑, อากิญจัญญา ยตน กุสล ๑, กิริยา ๑, บัญญัติและ นิพพานเท่านั้น ๔. มีได้ทั้งอดีตอารมณ์ อนาคตอารมณ์ ปัจจุบันอารมณ์ และกาลวิมุตติอารมณ์ มีเฉพาะอดีตอารมณ์ และกาลวิมุตติ อารมณ์เท่านั้น ๕. อาศัยวัตถุ ๖ เกิด (เฉพาะหทยวัตถุ บางทีก็ไม่ต้องอาศัย) อาศัยเฉพาะหทยวัตถุเกิดแต่อย่างเดียว หรือมิฉะนั้น ก็เกิดโดยไม่ต้องอาศัย วัตถุเลย ๖. แยกประเภทมโนทวารวิถีเป็นสอง คือ วิภูตารมณ์วิถี และอวิภูตารมณ์วิถี ไม่แยกเป็นสองประเภทอย่างนั้น เพราะ มีแต่ วิภูตารมณ์นั้นอย่างเดียว ด้วยเหตุ ว่า ถ้าอารมณ์นั้นไม่ชัดเจนแจ่มแจ้ง จริงๆ แล้ว อัปปนาชวนะก็เกิดไม่ได้เลย ๗. อาจมีถึงตทาลัมพนะได้ ไม่มีตทาลัมพนะเลย ๘. มีชวนะอย่างมากได้เพียง ๗ ชวนะเกิดได้ตั้งแต่ ๑ ขณะขึ้นไปจน มากมายถึงนับประมาณไม่ได้ ๙. มีเวทนาได้ทั้ง ๕ มีเวทนาได้เพียง ๒ คือ โสมนัส กับ อุเบกขาเท่านั้นเอง ๑๐. มีทั้ง อสังขาริก และสสังขาริก มีแต่ สสังขาริก อย่างเดียว หน้า ๓๘ กามวิถี อัปปนาวิถี ๑๑. มีสัมปยุตตได้ทั้ง ๕ คือ ทิฏฐิสัมปยุตต ปฏิฆสัมปยุตต วิจิกิจฉาสัมปยุตต อุทธัจจสัมปยุตต และ ญาณสัมปยุตต มีเฉพาะแต่ ญาณสัมปยุตต อย่างเดียว เท่านั้น ๑๒. มีทั้ง โสภณะ และอโสภณะ มีโสภณะ แต่อย่างเดียว ๑๓. มีเฉพาะโลกีย แต่อย่างเดียว มีทั้งโลกีย และโลกุตตร ๑๔. ไม่มีแม้แต่ มหัคคตจิต มีทั้งมหัคคต และโลกุตตร ๑๕. มีทั้งจิตที่เป็น กุสล อกุสล วิบาก และกิริยา ไม่มีจิตที่เป็นอกุสลเลย ๑๖. มีทั้งการสั่งสมกิเลส และทำลาย กิเลส แต่การทำลายกิเลส ก็ทำลาย เพียงชั่วขณะที่เรียกว่า ตทังคะ เท่านั้น ไม่มีการสั่งสมกิเลสเลย มีแต่การทำลาย กิเลสถ่ายเดียว และทำลายอย่าง วิกขัมภณะ ตลอดจนอย่าง สมุจเฉท ให้หมดสิ้นสูญเชื้อไปเลย ๑๗. เกิดได้แก่บุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะ เป็นทุคคติบุคคล สุคติบุคคล ทวิเหตุก บุคคล ตลอดจน ติเหตุกบุคคล เกิดได้เฉพาะ ติเหตุกบุคคล เท่านั้น ๑๘. เกิดได้ในภูมิทั้ง ๓๐ เว้นอสัญญ สัตตภูมิ ภูมิเดียวเท่านั้น เกิดได้ในภูมิเพียง ๒๖ ภูมิ (เว้นอบายภูมิ ๔ อสัญญสัตตภูมิ ๑) ๑๙. มีวิถีจิตอย่างมากได้ถึง ๗ อย่าง คือ อาวัชชนจิต ๑ ปัญจวิญญาณจิต ๑ สัมปฏิจฉันนจิต ๑ สันตีรณจิต ๑ โวฏฐัพพนจิต ๑ ชวนจิต ๑ ตทาลัมพนจิต ๑ มีวิถีจิตเพียง ๒ อย่างเท่านั้น คือ อาวัชชนจิต ๑ และ ชวนจิต ๑ หน้า ๓๙ กามวิถี อัปปนาวิถี ๒๐. เกิดจากภวังคจิตได้ทั้ง ๑๙ คือ อุเบกขาสันตีรณวิบาก ๒ มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ เกิดจากภวังคจิตเพียง ๑๓ ดวง คือ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ มหัคคตวิบาก ๙ ๒๑. มีจิตเกิดได้ทั้งสิ้นรวม ๕๔ ดวง คือ กามจิตทั้งหมด มีจิตที่เกิดได้ คือ อัปปนาชวนจิต ๕๘ ดวง คือ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๔๐ ๒๒. ในวิถีเดียวกัน มีอารมณ์แต่อย่าง เดียวเท่านั้น ในวิถีเดียวกัน มีอารมณ์ได้มากกว่า อย่างเดียว ๒๓. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีชวนจิต เป็นชาติเดียวกัน มีชวนจิตในวิถีเดียวกัน ได้มากกว่า ชาติเดียว ๒๔. ชวนจิตในวิถีเดียวกัน เป็นกาม ชวนะแต่อย่างเดียว ชวนจิตในวิถีเดียวกัน มีกามชวนะ และ มหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะด้วย ปัจจเวกขณวิถี ปัจจเวกขณะ แปลว่า พิจารณา หมายถึง การพิจารณาเพื่อให้ทราบตาม สภาวะธรรมที่เป็นจริง ปัจจเวกขณวิถี ก็คือ วิถีจิต หรือ ลำดับความเป็นไปของจิตที่พิจารณาถึง สภาพแห่งความเป็นจริง ดังนั้นจึงเป็นมหากุสล หรือมหากิริยาชวนมโนทวารวิถี อันเป็นกามวิถี เมื่อ มัคควิถีสิ้นสุดลงแล้ว ต้องมีปัจจเวกขณวิถีอย่างแน่นอน จะไม่มีปัจจเวกขณวิถีเกิดภายหลังมัคควิถีนั้นไม่ได้ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลังมัคควิถี ก็เพื่อพิจารณาธรรม ๕ ประการ คือ หน้า ๔๐ ๑. พิจารณามัคค ๒. พิจารณาผล ๓. พิจารณานิพพาน ๔. พิจารณากิเลสที่ได้ละแล้ว ๕. พิจารณากิเลสที่คงเหลืออยู่ ในปัจจเวกขณะ ๕ ประการนี้เฉพาะ ๓ ประการแรกคือ การพิจารณามัคค ๑ การพิจารณาผล ๑ และการพิจารณานิพพาน ๑ ต้องมี ต้องพิจารณาอย่างแน่นอน ขาดไม่ได้ ส่วนการพิจารณากิเลสที่ได้ละแล้ว ๑ และการพิจารณากิเลสที่ยังเหลืออยู่ ๑ นั้น บางทีก็พิจารณา บางทีก็ไม่พิจารณา กล่าวคือ ถ้าผู้นั้นได้ศึกษาทางปริยัติ จึงจะทราบเรื่องราวของกิเลส เมื่อทราบก็พิจารณาได้ แต่ถ้าไม่ได้ศึกษามา ก็ไม่ทราบเรื่องจึงไม่พิจารณา ปัจจเจกขณวิถี ที่เกิดหลังจากโสดาปัตติมัคควิถี สกทาคามีมัคควิถี และ อนาคามีมัคควิถี คิดจำนวนอย่างเต็มที่ ก็พิจารณาทั้ง ๕ ประการ ส่วนปัจจเวก ขณวิถีที่เกิดภายหลังอรหัตตมัคควิถี ก็พิจารณาเพียง ๔ ประการ เว้นการพิจารณา กิเลสที่คงเหลือ เพราะพระอรหันต์ท่านละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว ไม่มีกิเลสที่เหลือเลย รวมปัจจเวกขณวิถีที่เกิดภายหลังมัคควิถี คิดจำนวนอย่างเต็มที่เป็น ๑๙ ประการ คือ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง โสดาปัตติมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง สกทาคามิมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อนาคามิมัคควิถี ๕ ปัจจเวกขณวิถี ที่เกิดภายหลัง อรหัตตมัคควิถี ๔ ปัจจเวกขณวิถี เกิดหลังจาก อาทิกัมมิกฌานวิถี และ ฌานสมาบัติวิถี ทำ หน้าที่พิจารณาองค์ฌานนั้น ก็มีได้ แต่ไม่แน่นอนว่าจะต้องมีเสมอไป แต่หลังจาก อภิญญาวิถี ผลสมาบัติวิถี หรือ นิโรธสมาบัติวิถีนั้น ปัจจเวกขณ วิถีไม่เกิด นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้ว แม้บุคคลสามัญที่มิใช่ฌานลาภีบุคคล หรือเป็น พระอริยบุคคล ก็มีปัจจเวกขณวิถีได้ เป็นมหากุสลชวนมโนทวารวิถี อันเป็นกามวิถี เช่นเดียวกัน ตัวอย่าง เช่น อภิณหปัจจเวกขณะ ๕ คือ หน้า ๔๑ ๑. พิจารณาว่า เรามีความ แก่ เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ แก่ ไปได้ ๒. พิจารณาว่า เรามีความ เจ็บ เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ เจ็บ ไปได้ ๓. พิจารณาว่า เรามีความ ตาย เป็นธรรมดา ไม่ล่วงพ้นความ ตาย ไปได้ ๔. พิจารณาว่า เราจักต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๕. พิจารณาว่า เรามีกรรมเป็นของตัว ทำดีจักได้ดี ทำชั่วจักได้ชั่ว สมาบัติวิถี สมาบัติ แปลว่า การเข้าถึงพร้อมหรือการเข้าอยู่พร้อม สมาบัตินี้มี ๓อย่างคือ ๑. ฌานสมาบัติ การเข้าถึงฌานจิต หรือการเข้าอยู่ในฌานจิต เป็นโลกียะ ๒. ผลสมาบัติ การเข้าถึงซึ่งอริยผลจิต หรือการเข้าอยู่ในอริยผลจิต เป็น โลกุตตระ ๓. นิโรธสมาบัติ การเข้าถึงซึ่งความดับของจิตและเจตสิก ไม่จัดเป็นโลกียะ หรือ โลกุตตระเพราะไม่มีจิตจะดับ ฌานสมาบัติวิถี การเข้าฌานสมาบัติ เพื่อหนีทุกขเวทนา โดยปรารถนาจะเสวยฌานสุข ยังความอิ่มใจ หรือความวางเฉย แน่วแน่อยู่ในอารมณ์กัมมัฏฐานนั้น ตราบเท่า เวลาที่ตนอธิษฐาน (คือตั้งความปรารถนาอันแน่วแน่มั่นคงอย่างแรงกล้า) ไว้ ผู้เข้าฌานสมาบัติได้ ต้องเป็นผู้ที่ได้ฌาน และ ต้องมี วสี คือความชำนาญ หรือ ความแคล่วคล่องว่องไวทั้ง ๕ ประการ ได้แก่ ๑. อาวัชชนวสี ความชำนาญในการ นึกที่จะเข้าฌานตามที่ตนตั้งใจ ๒. สมาปัชชนวสี ความชำนาญในการ เข้าฌาน ๓. อธิฏฐานวสี ความชำนาญในการ ตั้งความปรารถนาที่จะให้ ฌานจิต ตั้งมั่นอยู่เป็นเวลาเท่าใด ๔. วุฏฐานวสี ความชำนาญในการ ออกจากฌาน ๕. ปัจจเวกขณวสี ความชำนาญในการ พิจารณาองค์ฌาน หน้า ๔๒ เมื่อ ฌานลาภีบุคคล คือบุคคลผู้ได้ฌาน มีความคล่องแคล่วว่องไว ในวสีทั้ง ๕ แล้ว เวลาจะเข้าฌานสมาบัตินั้น กิจเบื้องต้นต้องตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) ว่า จะเข้าฌานสมาบัติเป็นเวลา.... (ตามความประสงค์ว่าจะเข้าอยู่นานสักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ฌานจิตที่เคยได้แล้วนั้นจงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน)นี้ กามจิต อันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับปุถุชนและพระเสกขบุคคล หรือกามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับพระอรหันต์ ก็เกิดมีวิถีจิตดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต่อจากนี้ก็เจริญสมถภาวนา เข้าฌานสมาบัติ โดยเพ่งปฏิภาคนิมิตที่ตนเคยได้ เคย ผ่านมาแล้วนั้น วิถีจิตก็จะเกิดดังนี้ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฯลฯ ฯลฯ ฯลฯ (ถ้าเป็นติกขบุคคล ก็ไม่มี บริกรรม) ต่อจากโคตรภู ฌานจิตก็เกิดเรื่อยไปตราบเท่า เวลาที่ตนตั้งความปรารถนาไว้ ต่อเมื่อครบกำหนดเวลาที่ตนอธิษฐานไว้แล้ว ฌานจิต จึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไปตามปกติ อนึ่ง ฌานลาภีบุคคล ผู้ได้เพียงปฐมฌาน ก็ต้องเข้าฌานสมาบัติในปฐมฌาน เท่าที่ตนได้ ที่เป็นธรรมดาสามัญ แต่ถ้าได้ฌานที่สูงขึ้นไป ก็เข้าได้ทั้งฌานสูงเท่าที่ ตนได้ และเข้าสมาบัติในฌานที่ต่ำกว่าก็ได้ด้วย เช่นผู้ที่ได้ ตติยฌาน เข้าตติยฌาน สมาบัติได้ เข้าทุติยฌานสมาบัติได้ หรือจะเข้าปฐมฌานสมาบัติก็ได้ (ข้อนี้ผิดกับ การเข้าผลสมาบัติ ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป) ผลสมาบัติวิถี การเข้าผลสมาบัติ เป็นการเข้าอยู่ในอารมณ์พระนิพพาน ที่ได้มาจากอริยผล ญาณ อันบังเกิดแล้วแก่ตน เพื่อเสวยโลกุตตรสุข ซึ่งเป็นความสงบสุขที่พึงเห็น ประจักษ์ได้ในปัจจุบัน พระนิพพาน ที่เป็นอารมณ์ของผลสมาบัตินั้นมีชื่อ ๓ ชื่อหรือมี ๓ อาการคือ ๑. อนิมิตตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่เที่ยง อันปราศจากนิมิตเครื่องหมาย คือ อนิจจัง โดยบุญญาธิการแต่ปางก่อน แรงด้วยสีล เมื่อเข้าผลสมาบัติก็คงมีอนิมิตตนิพพาน เป็นอารมณ์ หน้า ๔๓ ๒. อัปปณิหิตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ทนอยู่ไม่ได้ ต้องเปลี่ยนแปรไป อันหาเป็น ปณิธิ ที่ตั้งไม่ได้ คือทุกขัง โดยบุญญาธิ การแต่ปางก่อนแรงด้วยสมาธิ เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี อัปปณิหิตนิพพาน เป็นอารมณ์ ๓. สุญญตนิพพาน หมายถึงว่า ผู้ที่ก้าวขึ้นสู่มัคคผลนั้น เพราะเห็นความ ไม่ใช่ตัวตน บังคับบัญชาไม่ได้ อันเป็นความว่างเปล่า คืออนัตตา โดยบุญญาธิการ แต่ปางก่อนแรงด้วยปัญญา เมื่อเข้าผลสมาบัติ ก็คงมี สุญญตนิพพาน เป็นอารมณ์ บุคคลที่เข้าผลสมาบัติได้ต้องเป็นพระอริยบุคคล คือเป็น พระโสดาบัน พระ สกทาคามี พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ส่วนปุถุชนจะเข้าผลสมาบัติไม่ได้เลย เป็นอันขาด พระอริยเจ้าที่จะเข้าผลสมาบัติ ก็เข้าได้เฉพาะอริยผลที่ตนได้ ที่ตนถึงครั้ง สุดท้ายเท่านั้น แม้อริยผลที่ตนได้และผ่านพ้นมาแล้วก็ไม่สามารถจะเข้าได้ กล่าวคือ พระโสดาบัน ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ โสดาปัตติผล พระสกทาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ สกทาคามีผล เท่านั้น จะเข้าโสดาปัตติผล ซึ่งถึงแม้ว่าตนจะเคยได้เคยผ่านเคยพ้นมาแล้ว ก็หาได้ไม่ พระอนาคามี ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่เฉพาะ อนาคามีผล พระอรหันต์ ก็เข้าผลสมาบัติได้แต่ อรหัตตผลโดยเฉพาะเช่นกัน พระอริยบุคคล ผู้จะเข้าผลสมาบัติ กิจเบื้องต้นก็จะต้องตั้งความปรารถนาว่า จะเข้าผลสมาบัติเป็นเวลา .... (ตามความประสงค์ที่จะเข้าอยู่สักกี่ชั่วโมง หรือกี่วัน) ขอให้ผลจิตที่เคยปรากฏมาแล้วนั้น จงบังเกิดขึ้นตามความปรารถนานี้เถิด ขณะที่ตั้งความปรารถนา(อธิษฐาน) นี้ กามจิตอันเป็นมหากุสลญาณสัมปยุตต สำหรับพระอริยเบื้องต่ำ ๓ หรือกามจิตอันเป็นมหากิริยาญาณสัมปยุตต สำหรับ พระอรหันต์ก็เกิด มีวิถีจิตซึ่งเรียกว่า อธิฏฐานวิถี ดังนี้ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ต่อจากอธิฏฐานวิถี ก็เจริญวิปัสสนาภาวนา มีไตรลักษณ์แห่งรูปนามเป็น อารมณ์ เริ่มแต่อุทยัพพยญาณเป็นต้นไป ผลจิตก็จะเกิด วิถีจิตนี้ชื่อว่า ผลสมา บัติวิถี มีวิถีดังนี้ น ท มโน อนุโลม อนุโลม อนุโลม อนุโลม ผล ผล ผล ฯลฯ ฯลฯ อนุโลม ๔ ขณะ สำหรับมันทบุคคล หรืออนุโลม ๓ ขณะ สำหรับติกขบุคคล ต่อจากอนุโลม ผลจิตก็เกิดเรื่อยไปเป็นจำนวนมากมาย ไม่สามารถที่จะประมาณได้ จนครบกำหนดเวลาที่ตนปรารถนาไว้ ผลจิตจึงจะหยุดเกิด แล้วก็เป็นภวังคจิตต่อไป ตามปกติ หน้า ๔๔ อนึ่ง จิตในผลสมาบัติวิถีนี้ ไม่เรียกว่า บริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู เหมือนอย่างในมัคควิถี แต่เรียก อนุโลมอย่างเดียวทั้ง ๔ ขณะ เพราะผลสมาบัติวิถี นี้ ไม่ได้ทำการประหารกิเลส เหมือนอย่างในมัคควิถี เป็นแต่จิต ๔ ดวงนี้เกิดขึ้น เพื่ออนุโลมให้จิตถึงพระนิพพาน หรือให้แนบแน่นในอารมณ์พระนิพพาน นิโรธสมาบัติวิถี การเข้านิโรธสมาบัติ เหมือนฝึกนิพพาน เข้าสู่ความดับสนิทแห่งนามขันธ์ โดยปราศจากอันตรายใด ๆ เป็นมหาสันติสุขอันยอดเยี่ยม ดังนั้นพระอริยเจ้าจึงนิยม เข้าผลสมาบัติ และนิโรธสมาบัติด้วยศรัทธา และฉันทะในอมตรสนั้น จนกว่าจะ นิพพาน ผู้ที่เข้านิโรธสมาบัติได้ ต้องเป็นผู้ที่เพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ดังจะกล่าวต่อไป นี้ คือ ๑. ต้องเป็นพระอนาคามี หรือพระอรหันต์ ๒. ต้องได้ฌานสมาบัติทั้ง ๘ กล่าวคือ ต้องได้รูปฌาน และ อรูปฌานด้วย ทุกฌาน ๓. ต้องมีวสี ชำนาญคล่องแคล่วในสัมปทา คือ ถึงพร้อมสี่ประการ ได้แก่ ก. มีสมถพละ และวิปัสสนาพละ คือ มีสมาธิ และปัญญาเป็นกำลัง ชำนาญ ข. ชำนาญในการระงับกายสังขาร (คือลมหายใจเข้าออก) ชำนาญใน การระงับ วจีสังขาร (คือ วิตก วิจาร ที่ปรุงแต่งวาจา) ชำนาญในการ ระงับจิตตสังขาร (คือสัญญา และเวทนาที่ทำให้เจตนาปรุงแต่งจิต) ค. ชำนาญใน โสฬสญาณ (คือ ญาณทั้ง ๑๖) ง. ชำนาญใน ฌานสมาบัติ ๘ มาก่อน ดังนี้จะเห็นได้ว่า การเข้านิโรธสมาบัติ จำเป็นต้องใช้กำลังทั้ง ๒ ประการ คือ กำลังสมถภาวนา ต้องถึง เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และกำลังวิปัสสนาก็ต้องถึง ตติยมัคคเป็นอย่างต่ำ กล่าวคือ ต้องใช้ทั้งกำลังสมาธิ และกำลังปัญญาควบคู่กันด้วย ๔. ต้องเป็นบุคคลในภูมิที่มีขันธ์ ๕ (คือ ปัญจโวการภูมิ) เพราะในอรูปภูมิ เข้านิโรธสมาบัติไม่ได้ ด้วยเหตุว่าไม่มีรูปฌาน หน้า ๔๕ พระอนาคามี หรือ พระอรหันต์ ที่ได้สมาบัติ ๘ อันเพียบพร้อมด้วยคุณธรรม ดังกล่าวแล้ว เมื่อจะเข้านิโรธสมาบัตินั้น ต้องกระทำดังนี้ (๑) เข้าปฐมฌาน มีกัมมัฏฐานใดกัมมัฏฐานหนึ่ง ที่ตนได้มาแล้วเป็นอารมณ์ ปฐมฌานกุสลจิตสำหรับพระอนาคามี หรือ ปฐมฌานกิริยาจิตสำหรับพระอรหันต์ ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะ ดังภาพนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌาน ภ (๒) เมื่อออกจากปฐมฌานแล้ว ต้องพิจารณาองค์ฌาน โดยความเป็น อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ซึ่งการพิจารณาเช่นนี้ เรียกว่า ปัจจเวกขณวิถี ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ (๓) เข้าทุติยฌาน ฌานจิตก็เกิด ๑ ขณะ (๔) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๕) เข้าตติยฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๖) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๗) เข้าจตุตถฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๘) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๙) เข้าปัญจมฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๐) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๑) เข้าอรูปฌาน คือ อากาสานัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๒) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๓) เข้าวิญญาณัญจายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๔) เข้าปัจจเวกขณวิถี (๑๕) เข้าอากิญจัญญายตนฌาน ฌานจิตเกิด ๑ ขณะ (๑๖) เมื่อออกจาก อากิญจัญญายตนฌานแล้ว ไม่ต้องเข้าปัจจเวกขณวิถี แต่เข้าอธิฏฐานวิถี คือ ทำ บุพพกิจ ๔ อย่าง ได้แก่ ก. นานาพทฺธ อวิโกปน อธิษฐานว่า บริขารต่าง ๆ ตลอดจนร่างกาย ของข้าพเจ้า ขออย่าให้เป็นอันตราย หน้า ๔๖ ข. สงฺฆปฏิมานน อธิษฐานว่า เมื่อสงฆ์ประชุมกัน ต้องการตัวข้าพเจ้า ขอให้ออกได้ โดยมิต้องให้มาตาม ค. สตฺถุปกฺโกสน อธิษฐานว่า ถ้าพระพุทธองค์มีพระประสงค์ตัว ข้าพเจ้า ก็ขอให้ออกได้ โดยมิต้องให้มีผู้มาตาม ง. อทฺธาน ปริจฺเฉท อธิษฐานกำหนดเวลาเข้า ว่าจะเข้าอยู่นานสัก เท่าใด รวมทั้งการพิจารณาอายุสังขารของตนด้วยว่าจะอยู่ถึง ๗ วันหรือไม่ ถ้าจะตายภายใน ๗ วัน ก็ไม่เข้า หรือเข้าให้น้อยกว่า ๗ วัน (๑๗) อธิษฐานแล้วก็เข้าเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน วิถีนี้ เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เกิดขึ้น ๒ ขณะ (๒ ขณะ ไม่ใช่ ๑ ขณะ) (๑๘) ลำดับนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปก็ดับไป ไม่มีเกิดขึ้นอีกเลย ส่วน กัมมชรูป อุตุชรูป และอาหารชรูป ยังคงดำรงอยู่ และดำเนินไปตามปกติ หาได้ดับ ไปด้วยไม่ จิต เจตสิก และจิตตชรูป คงดับอยู่จนกว่าจะครบกำหนดเวลาที่ได้อธิษฐานไว้ (๑๙) เมื่อครบกำหนดเวลาที่ได้อธิษฐานไว้ ซึ่งเรียกว่า ออกจากนิโรธสมาบัติ นั้น อนาคามิผล สำหรับอนาคามิบุคคล หรืออรหัตตผล สำหรับอรหัตตบุคคล ก็เกิดขึ้น ๑ ขณะก่อน ต่อจากนั้น จิต เจตสิก และจิตตชรูปจึงจะเกิดตาม ปกติต่อไปตามเดิม อภิญญาวิถี อภิญญา แปลว่า รู้ยิ่ง รู้พิเศษ มีความหมายว่า เป็นจิตที่มีความรู้อันยิ่งใหญ่ เป็นพิเศษจนมีอำนาจสามารถที่จะบันดาลให้เกิด สิ่งที่ตนปรารถนาได้ ต้องใช้ รูปาวจรปัญจมฌานกุสล หรือ รูปาวจรปัญจมฌานกิริยา ที่ได้มาจากกสิณเป็นบาทให้เกิดอภิญญาจิต ดังนั้นอภิญญานี้จึงมีได้แต่ในภูมิที่มีขันธ์ ๕ เพราะต้องทำ อภิญญาด้วยรูปฌาน อภิญญาที่ต้องอาศัยรูปาวจรปัญจมฌานจิตเป็นบาทให้เกิดนั้น มี ๕ ประการ คือ ๑. บุพเพนิวาสานุสสติ ระลึกชาติก่อนที่เคยเกิดมาแล้วได้ หน้า ๔๗ ๒. ทิพพจักขุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ตาทิพย์เหมือนเทวดา และพรหม สามารถเห็นเหตุการณ์ไกล ๆ ที่ไปไม่ถึงได้ และ รู้จุติ ปฏิสนธิ ของสัตว์ทั้งหลาย ๓. ปรจิตตวิชชานน หรือ เจโตปริยญาณ รู้จักจิตใจของผู้อื่นได้ ๔. ทิพพโสต คือ หูทิพย์เหมือนเทวดาและพรหม สามารถฟังเสียงที่ไกล ๆ ได้ ๕. อิทธิวิธ แสดงอิทธิฤทธิต่าง ๆ ได้ ผู้ทำอภิญญาได้ ต้องเป็นผู้มีลักษณะดังต่อไปนี้ คือ ๑. ได้สมาบัติทั้ง ๘ คือ ได้ทั้งรูปฌานสมาบัติ และอรูปฌานสมาบัติ โดย ครบถ้วน ๒. ต้องได้ทำการฝึกฝนอบรม (เป็นพิเศษอีก ๑๔ นัย) เพื่อให้ได้อภิญญา และต้องแคล่วคล่องว่องไวใน กระบวนการอบรม (ทั้ง ๑๔ นัย) นั้นด้วย (กระบวน การอบรมเป็นพิเศษ ๑๔ นัยนั้น แสดงไว้ในปริจเฉทที่ ๙) เมื่อฌานลาภีบุคคลผู้มีลักษณะดังกล่าว ปรารถนาจะทำอภิญญาอย่างใดอย่าง หนึ่ง ต้องกระทำดังนี้ คือ ๑. ต้องเข้ารูปาวจรปัญจมฌานก่อน เพื่อเป็นบาทให้จิตมีกำลังกล้าแข็ง ซึ่ง เรียกชื่อว่า ปาทกฌานวิถี วิถีจิตเป็นดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ ๒. แล้วก็อธิษฐาน คือ ตั้งความปรารถนา ความมุ่งมั่นอันแน่วแน่มั่นคง อย่างแรงกล้า ว่าประสงค์อภิญญาอย่างใด ซึ่งเรียกชื่อว่าอธิฏฐานวิถี เป็นกามวิถี ดังนี้ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ช ช ภ ๓. ต่อจากนั้นก็เข้ารูปาวจรปัญจมฌานอีก เรียก ปาทกฌานวิถี เหมือนกัน วิถีจิตเป็นดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค ฌ ฌ ฌ ฌ ฌ ภ ๔. ลำดับสุดท้าย อภิญญาจิตก็จะเกิดขึ้นตามความปรารถนาที่ได้อธิษฐานนั้น วิถีนี้จะเกิดอภิญญาจิตขณะเดียวเท่านั้น ดังนี้ ภ น ท มโน ปริ อุป อนุ โค อภิญญา ภ หน้า ๔๘ ขณะที่อภิญญากำลังเกิดอยู่นั้น มโนทวารวิถีที่เกิดต่อจากอภิญญาวิถีนั้น เป็น มหากุสลหรือมหากิริยาตามควรแก่บุคคลที่แสดงอภิญญา และเป็นกามชวนมโน ทวารวิถี ถ้าหากว่า ได้กระทำดังกล่าวแล้ว แต่อภิญญายังไม่เกิด ก็ต้องตั้งต้นเริ่มทำมา ตั้งแต่ต้นใหม่อีก จนกว่าอภิญญาจิตจะเกิด อนึ่ง ตามที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ จะเห็นได้ว่าบุคคลที่แสดงอภิญญาได้ ก็ด้วย อำนาจแห่งการเจริญสมถภาวนาจนได้สมาบัติทั้ง ๘ เช่นนี้ท่านเรียกว่า ปฏิปทาสิทธิฌาน ซึ่งมีความหมายว่า สำเร็จถึงซึ่งฌานด้วยการปฏิบัติ ยังมีบุคคลอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งในชาตินั้นไม่เคยเจริญสมถภาวนา เป็นแต่เจริญ วิปัสสนาภาวนาอย่างเดียว ถึงกระนั้นก็ดี บางบุคคลพอบรรลุมัคคผล ก็ถึงพร้อมซึ่ง ฌานด้วย จนถึงแสดงอภิญญาได้ก็มี เช่น พระจุฬปัณถก เมื่อสำเร็จเป็นพระอรหันต์ แล้ว ก็ได้แสดงปาฏิหาริย์เป็นภิกษุหลายรูปจนเต็มพระเชตวัน เช่นนี้ท่านเรียกว่า มัคคสิทธิฌาน ซึ่งมีความหมายว่า ได้ฌานด้วยอำนาจแห่งมัคค มรณาสันนวิถี มรณาสันนวิถี เป็นวิถีจิตที่ใกล้ตาย วิถีนี้ชวนจิตเกิดเพียง ๕ ขณะเท่านั้น เพราะจิตมีกำลังอ่อนมากแล้ว เมื่อสุดวิถีของมรณาสันนวิถี จุติจิตต้องเกิดขึ้นอย่าง แน่นอน ๑ ขณะ สัตว์นั้นก็ถึงแก่ความตาย เมื่อจุติจิตดับลงแล้ว ปฏิสนธิก็เกิดติดต่อกันในทันทีทันใด ไม่มีจิตอื่นมาเกิด คั่นระหว่างจุติกับปฏิสนธิจิตเลย (เว้นจุติจิตของพระอรหันต์ ไม่มีปฏิสนธิจิตมาเกิด ต่อ) สัตว์ที่ใกล้ตาย ก่อนที่จุติจิตเกิด ถ้ามี รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัสถูกต้อง เป็น อารมณ์ มรณาสันนวิถีนั้นเรียกว่า มรณาสันนวิถีทางปัญจทวาร ถ้ามีความคิดนึกในทางใจเป็นอารมณ์ มรณาสันนวิถีนั้นก็เรียกว่า มรณาสันน วิถีทางมโนทวาร มรณาสันนวิถีทางปัญจทวาร แต่ละทวาร มี ๔ วิถี ดังนี้ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ ภ ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ต ต ภ จุติ ปฏิ ภ ภ ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช จุติ ปฏิ ภ ภ ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ภ จุติ ปฏิ ภ หน้า ๔๙ มรณาสันนวิถีทางมโนทวาร มี ๔ วิถี เช่นเดียวกัน ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ต ต ภ จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช จุติ ปฏิ ภ ภ น ท มโน ช ช ช ช ช ภ จุติ ปฏิ ภ ในมรณาสันนวิถี มี กรรม กรรมนิมิต คตินิมิต เป็นอารมณ์แน่นอน กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิตอารมณ์ ที่เกิดขึ้นในมรณาสันนวิถีนี่แหละ เป็นเครื่องหมายบ่งบอกภพชาติที่จุติสัตว์นั้นจะไปปฏิสนธิ กรรมอารมณ์ กับ คตินิมิตอารมณ์ ทั้ง ๒ นี้ เกิดเฉพาะทางมโนทวาร ส่วน กรรมนิมิตอารมณ์เกิดได้ทั้ง ๖ ทวาร โดยเฉพาะ มรณาสันนวิถีของพระอรหันต์ ไม่มีกรรมอารมณ์ กรรมนิมิต อารมณ์ หรือ คตินิมิตอารมณ์ แม้แต่อย่างเดียว เพราะท่านไม่ต้องปฏิสนธิอีกแล้ว อารมณ์ในมรณาสันนวิถีทั้ง ๓ คือ กรรมอารมณ์ กรรมนิมิตอารมณ์ คตินิมิต อารมณ์ นี้ เกิดขึ้นด้วยอำนาจของกรรมทั้ง ๔ คือ ๑. ครุกรรม คือ กรรมที่หนัก ทางอกุสล ได้แก่ ปัญจานันตริยกรรม (อนัน ตริยกรรมทั้ง ๕) ในทางกุสลได้แก่ มหัคคตกุสล ๙ ถ้าได้ทำกรรมหนักเช่นนี้ ครุกรรมต้องให้ผลก่อน อนันตริยกรรม ๕ ได้แก่ มาตุฆาต ปิตุฆาต อรหันตฆาต โลหิตุปปาท และ สังฆเภท ๒. อาสันนกรรม คือ กรรมที่กระทำเมื่อใกล้ตาย มีทั้งทางกุสล และทาง อกุสล ถ้าไม่มีครุกรรมแล้ว อาสันนกรรมนี้ต้องให้ผลเป็นอันดับแรก ๓. อาจิณณกรรม คือ กุสลกรรม และกุสลกรรมที่ทำอยู่เสมอเป็นอาจิณ ถ้าไม่มีครุกรรมและอาสันนกรรมแล้ว อาจิณณกรรมนี้ก็ให้ผลก่อน หน้า ๕๐ ๔. กฏัตตากรรม คือ กุสลกรรม และอกุสลกรรมที่ไม่ครบองค์ของกัมมบถ จัดเป็นกรรมเล็กน้อย ถ้าไม่มีกรรมอื่น คือ ๓ อย่างข้างต้นนั้น จึงเป็นหน้าที่ของ กฏัตตากรรมนี้ให้ผล จุติ และ ปฏิสนธิ สัตว์ที่จะจุติ(เว้นอสัญญสัตต) จะต้องมีมรณาสันนวิถีอย่างใดอย่างหนึ่ง ดัง ได้แสดงภาพมาแล้วจะผิดกันก็ตรงที่ชวนะซึ่งมี ๕ ขณะนั้น ว่าจะเป็น ชวนจิตที่เป็นบาปหรือเป็นบุญเพียงใด ๑. กามบุคคลจุติ และ ปฏิสนธิในกามภูมิอีกนั้น ก. วิถี จะจุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี หรือทางมโนทวารมรณาสันนวิถี อย่างใดวิถีใดก็ได้ทุกวิถี แล้วแต่ว่าจะประสบกับอารมณ์ใด ถ้าประสบกับปัญจารมณ์ อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็จุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี ถ้าประสบกับธัมมารมณ์ ก็จุติ ทางมโนทวารมรณาสันนวิถี ข. ชวนะ ในวิถีนั้น ๆ ซึ่งมีชวนะ ๕ ขณะ ก็เป็นกามชวนะ แต่จะเป็นโลภ ชวนะ โทสชวนะ โมหชวนะ มหากุสลญาณวิปปยุตตชวนะ หรือ มหากุสลญาณ สัมปยุตตชวนะ ก็แล้วแต่อำนาจของกรรมทั้ง ๔ ที่สัตว์นั้นกระทำมา (ครุกรรม, อาสันนกรรม, อาจิณณกรรม, กฏัตตากรรม) ๒. กามบุคคลจุติ และ ปฏิสนธิในพรหมภูมิ เพราะเป็นฌานลาภีบุคคลนั้น ก. วิถี จะไม่จุติทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี แต่จุติทางมโนทวารมรณา สันนวิถี เพราะจะต้องมีบัญญัติ หรือมีธัมมารมณ์เป็นอารมณ์เสมอ ข. ชวนะ ในชวนะ ๕ ขณะนั้น เป็นมหัคคตชวนะ คือเป็นบริกรรม อุปจาระ อนุโลม โคตรภู และฌานจิต แล้วจุติจิตจึงจะเกิด จะเป็นฌานจิตชั้นใด ก็แล้วแต่ ฌานที่ตนได้ตนถึง ๓. พรหมบุคคลจุติ และปฏิสนธิในพรหมภูมิชั้นเดิม หรือ ชั้นที่สูงขึ้นไปนั้น มรณาสันนวิถีก็จะเกิดเช่นเดียวกับกามบุคคลจุติ และปฏิสนธิในพรหมภูมิ (ข้อ ๒) คือ จุติทางมโนทวารมรณาสันนวิถี และชวนะเป็นมหัคคตชวนะ ๔. พรหมบุคคลจุติ และกลับมาปฏิสนธิในกามสุคติภูมิ เพราะสิ้นบุญบารมี นั้น มรณาสันนวิถีก็จะเกิด เช่นเดียวกับกามบุคคลจุติ และปฏิสนธิในกามภูมิอีก (ข้อ ๑) คือ ชวนะเป็นกามชวนะ หน้า ๕๑ ปรินิพพาน ของ พระอรหันต์ พระอรหันต์ทั้งหลาย ไม่ปรินิพพานทางปัญจทวารมรณาสันนวิถี แต่ ปรินิพพานทางมโนทวารมรณาสันนวิถีทางเดียว และไม่มีกรรมอารมณ์ กรรมนิมิต อารมณ์ หรือคตินิมิตอารมณ์เลย มรณาสันนวิถีของพระอรหันต์นับได้ว่ามี ๕ อย่าง คือ ๑. กามชวนมรณาสันนวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากชวนะที่เป็นมหากิริยา อย่างนี้นับว่าเป็นการปรินิพพานอย่างธรรมดาสามัญ ๒. ฌานสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากฌานสมาบัติวิถี ๓. ปัจจเวกขณสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากวิถีที่พิจารณาองค์ฌาน ๔. อภิญญาสมนันตรวิถี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากอภิญญาวิถี ที่แสดงอิทธิ ฤทธิต่าง ๆ ๕. ชีวิตสมสีสี คือ จุติจิตเกิดขึ้นต่อจากการพิจารณา มัคค ผล นิพพาน และกิเลสที่ประหารสิ้นแล้ว ตทาลัมพนนิยม ตทาลัมพนนิยม แปลว่า ข้อจำกัดอันแน่นอนของตทาลัมพนะ มีความหมาย ว่า การที่ตทาลัมพนะจะเกิดได้นั้น มีข้อจำกัดประการใดบ้าง ตทาลัมพนะควรจะเกิด แต่มีข้อจำกัดอย่างใดบ้างที่ทำให้เกิดไม่ได้ และเมื่อตทาลัมพนะ ที่ควรจะเกิดแต่เกิด ไม่ได้แล้ว มีข้อจำกัดว่ามีอะไรเกิดมาแทนหรือไม่ ข้อจำกัดในการเกิดขึ้นของตทาลัมพนะนี้ มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๗ แสดงว่า ๗. กาเม ชวนสตฺตาลมฺ- พนานํ นิยเม สติ วิภูเต ติมหนฺเต จ ตทารมฺมณมีริตํ ฯ แปลความว่า ชวนะ สัตว์ อารมณ์ ที่เป็นกาม นั้น ตทาลัมพนะย่อมเกิดได้ในวิภูตารมณ์วิถี และ อติมหันตารมณ์วิถี หน้า ๕๒ อธิบาย ตทาลัมพนะ หรือ ตทารัมมณะ มีความหมายอย่างเดียวกัน มาจากคำว่า ตํ(นั้น) + อารมฺมณ(อารมณ์) = อารมณ์นั้น ตามคาถาสังคหะที่ ๗ คงได้ความว่า ตทาลัมพนะจะเกิดได้ ต่อเมื่อครบองค์ ดังนี้คือ ๑. ชวนะ ต้องเป็น กามชวนะ ๒. สัตว์ ต้องเป็น กามบุคคล ๓. อารมณ์ ต้องเป็น กามอารมณ์ ๔. วิถี ต้องเป็น วิภูตารมณ์ หรือ อติมหันตารมณ์วิถี ในข้อ ๑. ที่ว่า ชวนะต้องเป็นกามชวนะนั้น จะเป็นทางปัญจทวารวิถี หรือ มโนทวารวิถีก็ได้ แต่ถ้าเป็น อัปปนาชวนะ คือ มหัคคตชวนะ หรือโลกุตตรชวนะ แล้ว ตทาลัมพนะย่อมไม่เกิด ในข้อ ๒. ที่ว่า สัตว์ต้องเป็นกามบุคคลนั้น หมายถึงบุคคลในกามภูมิ แต่ถ้า บุคคลนั้นเป็นพรหมในรูปภูมิก็ดี ในอรูปภูมิก็ดี ตทาลัมพนะก็ไม่เกิด ในข้อ ๓ ที่ว่า อารมณ์ต้องเป็นกามอารมณ์นั้น หมายเฉพาะกามอารมณ์ที่เป็น ปรมัตถเท่านั้น แต่ถ้ากามอารมณ์นั้นเป็นบัญญัติอารมณ์ก็ดี หรือว่าเป็น มหัคคต อารมณ์ หรือเป็นโลกุตตรอารมณ์ก็ดี ตทาลัมพนะก็ไม่เกิด ในข้อ ๔ ที่ว่า วิถีต้องเป็นวิภูตารมณ์วิถี หรืออติมหันตารมณ์วิถีนั้น ความชัด อยู่แล้วว่า วิถีนอกจากนี้ คือ อวิภูตารมณ์วิถี มหันตารมณ์วิถี ปริตตารมณ์วิถี อติปริตตารมณ์วิถีนั้น ตทาลัมพนะเกิดไม่ได้อยู่แล้ว เมื่อครบองค์ดังกล่าว ตทาลัมพนะจึงจะเกิดได้ ตทาลัมพนะที่เกิดนี้จะเป็น กุสลวิบาก หรือ อกุสลวิบาก และจะเป็นโสมนัส หรืออุเบกขา ทั้งนี้ต้องแล้วแต่ อารมณ์ ที่มาประสบนั้นเป็นสำคัญโดยมีข้อจำกัดว่า ก. อารมณ์นั้นเป็น อติอิฏฐารมณ์ คือ อารมณ์ที่ดีมาก ตทาลัมพนะที่เกิด ย่อมเป็นกุสลวิบาก และเป็นโสมนัสด้วย ข. อารมณ์นั้นเป็น อิฏฐารมณ์ คือเป็นอารมณ์ที่ดีอย่างปานกลาง อย่างสามัญ ทั่ว ๆ ไป ตทาลัมพนะที่เกิดก็เป็นกุสลวิบากเหมือนกัน แต่เป็นอุเบกขา หน้า ๕๓ ค. แต่ถ้าอารมณ์นั้นเป็น อนิฏฐารมณ์ คืออารมณ์ที่ไม่ดีแล้วไซร้ ตทาลัมพนะ ที่เกิดต้องเป็นอกุสลวิบาก และเป็นอุเบกขาเวทนาแต่อย่างเดียว ทั้งนี้ได้กล่าวมาแล้วในหัวข้อ “กุสลวิบาก และ อกุสลวิบาก” ที่หน้า ๑๕ ขอให้ดูประกอบด้วย นอกจากนี้แล้ว ยังมีที่กล่าวถึงในเรื่องตทาลัมพนะ ดังจะกล่าวต่อไปอีกเพียง เท่านี้ คือ กามาวจรกิริยาชวนะ ในสันดานแห่งพระขีณาสพนั้น ถ้าประกอบด้วยโสมนัส ตทาลัมพนะที่เกิดในที่สุดชวนะนั้น ก็เป็นโสมนัส ถ้ากามาวจรกิริยาชวนะ ประกอบด้วยอุเบกขา ตทาลัมพนะในที่สุดชวนะ ก็คงเป็นอุเบกขาไม่แปรผันเลย ด้วยสันดานแห่งพระขีณาสพปราศจากสัญญาวิปลาส ที่กล่าวมาแล้วทั้งหมดในตอนนี้ เป็นการแสดงการเกิดขึ้นของตทาลัมพนะ แต่ว่าในบางกรณีตทาลัมพนะควรจะต้องเกิด แต่ก็เกิดไม่ได้ จำต้องมีสิ่งอื่นมาเกิด แทน สิ่งที่มาเกิดแทนนั้นมีชื่อเรียกว่า อาคันตุกภวังค และก็มีข้อจำกัดว่าในกรณีใดบ้างที่จะต้องมี หรือไม่มี อาคันตุกภวังค ดังจะได้กล่าวต่อไปนี้ อาคันตุกภวังค อาคันตุกภวังค แปลว่า ภวังคที่จรมา ภวังคที่แปลกหน้ามา มีความหมายว่า ไม่ใช่ภวังคเดิม ที่เป็นองค์แห่งภพของสัตว์นั้น ๆ แต่ว่าเป็นภวังคหน้าใหม่จรมา ที่จะต้องมีอาคันตุกภวังค ก็เพราะจิตที่เกิดก่อนเป็นโทมนัสเวทนาจิตที่เกิด ทีหลังจะต้องเป็นโสมนัสเวทนา แต่ว่าโสมนัสเวทนาจะเกิดติดต่อกับโทมนัสเวทนา ไม่ได้ เพราะความรู้สึกนั้นตรงกันข้ามทีเดียว อุปมาดุจคนร้องไห้ จะหัวเราะ ในทันทีทันใดนั้นไม่ได้ ต้องหยุดร้องไห้เสียก่อนชั่วขณะแม้เพียงขณะน้อยนิดเดียว ต่อมาภายหลังจึงจะหัวเราะได้ ในวิถีจิต จิตที่เกิดก่อนเป็นโทมนัสเวทนาก็มีอยู่แห่งเดียว คือที่ชวนจิต ได้แก่ โทสชวนะ ต่อจากโทสชวนจิตก็เป็นตทาลัมพนะหรือภวังค ซึ่งถ้าหากว่าตามสภาวะ จะต้องเป็นโสมนัสเวทนาแล้ว โสมนัสตทาลัมพนะ หรือโสมนัสภวังคนั้นก็จะเกิดต่อจากโทสชวนะที่เป็นโทมนัสเวทนานั้นไม่ได้ จำต้องเกิดจากอาคันตุกภวังค ซึ่ง อาคันตุกภวังคนี้เป็นอุเบกขาเวทนาแต่อย่างเดียว หน้า ๕๔ ๑. ในอติมหันตารมณ์วิถี ตทาลัมพนะเกิดไม่ได้ จำต้องมีอาคันตุกภวังคเกิด มาแทนนั้น ต้องพร้อมด้วยองค์ ๓ ประการ คือ ก. ชวนะนั้นต้องเป็นโทสชวนะ ข. อารมณ์นั้นต้องเป็นอติอิฏฐารมณ์ ค. บุคคลนั้นต้องปฏิสนธิมาด้วย โสมนัสมหาวิบาก โสมนัสปฏิสนธิ อติอิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ต้องมีอาคันตุกภวังค ภวังคเดิมเป็นโสมนัส ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช อา ภ ๒. แม้ว่าชวนะนั้นจะเป็นโทสชวนะก็ดี แต่ถ้าอารมณ์นั้นเป็นอิฏฐารมณ์ หรือ อนิฏฐารมณ์ ถึงบุคคลนั้นจะปฏิสนธิมาด้วยโสมนัสมหาวิบากก็ตาม ตทาลัมพนะก็ เกิดได้ ไม่ต้องมีอาคันตุกภวังค เพราะเมื่ออารมณ์นั้นเป็นอิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์แล้ว ตทาลัมพนะก็เป็น อุเบกขาเวทนา จึงเกิดติดต่อกับโทมนัสเวทนาได้ โสมนัสปฏิสนธิ , อิฏฐารมณ์ หรืออนิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ตทาลัมพนะเกิดได้ , อุเบกขา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ต ต ๓. แม้ว่าชวนะนั้นเป็นโทสชวนะก็ดี และทั้งอารมณ์ก็เป็น อติอิฏฐารมณ์ก็ดี แต่ถ้าบุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วยอุเบกขาเวทนาแล้ว ถึงตทาลัมพนะจะเกิดไม่ได้ก็จริง แต่ภวังคเดิมซึ่งต้องเป็นอุเบกขาเวทนา ก็เกิดติดต่อกับโทสชวนะ อันมีเวทนาเป็น โทมนัสได้ ไม่ต้องมีอาคันตุกภวังค หน้า ๕๕ อุเบกขาปฏิสนธิ , อติอิฏฐารมณ์ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ภวังคเดิมเกิดได้ , อุเบกขาเวทนา ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๔. ในมหันตารมณ์วิถี ภวังคเดิมเกิดไม่ได้ จำต้องมีอาคันตุกภวังคเกิดมาแทน นั้น ต้องพร้อมด้วยองค์ เพียง ๒ ประการเท่านั้น คือ ก. ชวนะนั้น ต้องเป็นโทสชวนะ ข. บุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วย โสมนัสมหาวิบาก โสมนัสปฏิสนธิ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ต้องมีอาคันตุกภวังค เป็นอุเบกขาเวทนา ภวังคเดิมเป็นโสมนัส ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช อา ภ ๕. แม้ว่าชวนะนั้นเป็นโทสชวนะก็ตาม แต่ถ้าบุคคลนั้นปฏิสนธิมาด้วย อุเบกขาเวทนาแล้ว ภวังคเดิมซึ่งเป็นอุเบกขาก็เกิดติดต่อกับโทสชวนะนั้นได้ ไม่ ต้องมีอาคันตุกภวังค อุเบกขาปฏิสนธิ โทสชวนะ , โทมนัสเวทนา ภวังคเดิมเกิดได้ , อุเบกขาเวทนา ตี ตี ตี น ท ป วิ สํ สัน วุ ช ช ช ช ช ช ช ภ ๖. ในมโนทวารวิถี วิถีใดจะต้องมีอาคันตุกภวังค หรือไม่นั้น มีสิ่งที่จะต้อง พิจารณาเช่นเดียวกันกับทาง ปัญจทวารวิถี กล่าวคือในวิภูตารมณ์วิถี เป็นทำนองเดียวกันกับอติมหันตารมณ์วิถี ในอวิภูตารมณ์วิถี ก็เป็นทำนองเดียวกับ มหันตารมณ์วิถี ตามที่กล่าวมาแล้ว ข้างต้นนั้นทุกประการ หน้า ๕๖ ชวนนิยม ชวนนิยม แปลว่า ข้อจำกัดอันแน่นอนของชวนะ มีความหมายในที่นี้ว่า ชวนจิตอย่างใดมีจำกัดว่าเกิดได้กี่ขณะ ดังมีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๘ แสดงว่า ๘. สตฺตกฺขตฺตุํ ปริตฺตานิ มคฺคาภิญฺญา สกึ มตา อวเสสานิ ลพฺภนฺติ ชวนา พหูนิปิ ฯ แปลความว่า ท่านกล่าวว่ากามชวนะเกิดเพียง ๗ ขณะ มัคคชวนะ อภิญญาชวนะ เกิดเพียงขณะเดียว ชวนะที่เหลือนอกจากนี้ แม้หลาย ๆ ขณะก็เกิดได้ แสดงรายละเอียด ชวนจิตที่เกิด ๑ ขณะ ได้แก่จิต ๒๖ ดวง คือ ก. มหัคคตกุสล ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในอาทิกัมมิกฌานวิถี ข. มหัคคตกิริยา ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในอาทิกัมมิกฌานวิถี ค. อภิญญาชวนะ ๒ ที่เกิดขึ้นในอภิญญาวิถี ง. มัคคชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถี จ. อนาคามิผลชวนะ ๑ ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาออกจากนิโรธสมาบัติ ฉ. อรหัตตผลชวนะ ๑ ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลาออกจากนิโรธสมาบัติ ชวนจิตที่เกิด ๒ ขณะ ได้แก่จิต ๖ ดวง คือ ก. เนวสัญญานาสัญญายตนะ ๒ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้านิโรธสมาบัติ ข. ผลชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถีของมันทบุคคล ชวนจิตที่เกิด ๓ ขณะ ได้แก่จิต ๑๒ ดวง คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของติกขบุคคล ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของติกขบุคคล ค. ผลชวนะ ๔ ที่เกิดขึ้นในมัคควิถีของติกขบุคคล ชวนจิตที่เกิด ๔ ขณะ ได้แก่จิต ๘ ดวง คือ ก. มหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของมันทบุคคล ข. มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นในอัปปนาวิถีของมันทบุคคล หน้า ๕๗ อนึ่งมหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นใน(ปัจจเวกขณวิถี) เมื่อสมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์นั้น ก็เกิดเพียง ๔ ขณะ เพราะต้อง กระทำกิจนั้นโดยเร็วที่สุด ชวนจิตที่เกิด ๕ ขณะ ได้แก่จิต ๒๘ ดวง คือ กามชวนะ ๒๘ (เว้นหสิตุปปาทะ) ที่เกิดขึ้นในมรณาสันนวิถี คือ วิถีที่จะจุติ อนึ่งบางแห่งกล่าวว่า ชวนจิตที่เกิดขึ้นในมรณาสันนกาล(ใกล้ตาย), มุจฉา กาล(ขณะหลง), วิสัญญีภูตกาล(ขณะสลบ), อติตรุณกาล(ขณะที่กัมมชรูปมีกำลัง อ่อนมาก) เหล่านี้ ชวนะก็เกิด ๕ ขณะ และมหากุสลญาณสัมปยุตต ๔ มหากิริยาญาณสัมปยุตต ๔ ที่เกิดขึ้นใน(ปัจจ เวกขณวิถี) เมื่อพระสาวกแสดงอิทธิฤทธิซึ่งเกี่ยวกับกรณีพิเศษชวนะก็เกิด ๕ ขณะ เหมือนกัน ชวนจิตที่เกิด ๖ ขณะ ได้แก่จิตที่เกิดขึ้นในเวลาสลบ อนึ่ง บางแห่งกล่าวว่า ในเวลาร่างกายเป็นปกติ กามชวนะ ๒๙ ดวงนั้น อาจจะเกิดเพียง ๖ ขณะ ก็มีได้ ชวนจิตที่เกิด ๗ ขณะ ได้แก่จิต ๒๙ ดวง คือ กามชวนะ ๒๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ ชวนจิตที่เกิดมากกว่า ๗ ขณะขึ้นไป ได้แก่จิต ๒๒ ดวง คือ ก. มหัคคต กุสล ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ฌานสมาบัติ ข. มหัคคต กิริยา ชวนะ ๙ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ฌานสมาบัติ ค. ผลจิต ๔ ที่เกิดขึ้นในเวลาเข้า ผลสมาบัติ บุคคล ๑๒ ประเภทของบุคคล ท่านจัดไว้เป็น ๑๒ คือ ปุถุชน ๔ อริยบุคคล ๘ ปุถุชน ๔ ได้แก่ ทุคคติอเหตุกบุคคล สุคติอเหตุกบุคคล ทวิเหตุกบุคคล ติเหตุกบุคคล หน้า ๕๘ อริยบุคคล ๘ ได้แก่ โสดาปัตติมัคคบุคคล สกทาคามิมัคคบุคคล อนาคามิมัคคบุคคล อรหัตตมัคคบุคคล มัคคบุคคล ๔ โสดาปัตติผลบุคคล สกทาคามิผลบุคคล อนาคามิผลบุคคล อรหัตตผลบุคคล ผลบุคคล ๔ ทุคคติอเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ บุคคลในอบายภูมิรวม ๔ ภูมิคือ นรก ๑ ภูมิ เปรต ๑ ภูมิ อสุรกาย ๑ ภูมิ และสัตว์ดิรัจฉาน ๑ ภูมิ สัตว์ทั้ง ๔ นี้ ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณอกุสลวิบาก ๑ ดวง สุคติอเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ มนุษย์ผู้ หูหนวก ตาบอด เป็นบ้า เป็นใบ้ พิกลพิการต่าง ๆ ๑ ภูมิ และเทวดาบางจำพวกในชั้นจาตุมหาราชิกา ๑ ภูมิ สัตว์ใน ๒ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณกุสลวิบาก ๑ ดวง ทวิเหตุกบุคคล ๑ ได้แก่ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดาทั้ง ๖ ภูมิ (รวมเรียกว่า กาม สุคติภูมิ ๗) ผู้ไม่มีปัญญา สัตว์ใน ๗ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ ดวง ติเหตุกบุคคล ๙ ได้แก่ ปุถุชน ๑ อริยบุคคล ๘ ปุถุชน ๑ ได้แก่ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ (เว้น สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ) และอรูปพรหม ๔ ภูมิ รวมเป็น ๒๑ ภูมิ ด้วยกัน เป็นสัตว์ผู้มีปัญญาทั้งนั้นซึ่งปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ ดวง มหัคคตวิบาก ๙ ดวง อริยบุคคล ๘ ได้แก่ มัคคบุคคล ๔ ผลบุคคล ๔ ในมนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๕ ภูมิ (เว้น อสัญญสัตต ๑ ภูมิ) และอรูปพรหม ๔ ภูมิ สัตว์ใน ๒๖ ภูมินี้ ปฏิสนธิด้วย มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ ดวง มหัคคตวิบาก ๙ ดวง เพื่อให้เห็นได้ชัดว่า อริยบุคคล ๘ นั้น บุคคลใดมีได้ในภูมิใดบ้าง ขอแสดง ดังนี้ หน้า ๕๙ โสดาปัตติมัคคบุคคล ๑ บุคคลนี้มีได้ ๑๗ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ บุคคลนี้มีไม่ได้ใน ๑๔ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ โสดาปัตติผลบุคคล ๑ สกทาคามิมัคคบุคคล ๑ สกทาคามิผลบุคคล ๑ อนาคามิมัคคบุคคล ๑ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีได้ใน ๒๑ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๐ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีไม่ได้ใน ๑๐ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ สุทธาวาส ๕ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ อนาคามิผลบุคคล ๑ อรหัตตมัคคบุคคล ๑ อรหัตตผลบุคคล ๑ บุคคลทั้ง ๓ นี้ มีได้ใน ๒๖ ภูมิ คือ มนุษย์ ๑ ภูมิ เทวดา ๖ ภูมิ รูปพรหม ๑๕ ภูมิ อรูปพรหม ๔ ภูมิ บุคคลทั้ง ๔ นี้ มีไม่ได้ใน ๕ ภูมิ คือ อบาย ๔ ภูมิ อสัญญสัตต ๑ ภูมิ หน้า ๖๐ จิตที่ไม่มีในบุคคลบางจำพวก บุคคลบางจำพวก ไม่มีจิตบางประเภทเลย มีสำนวนเก่าท่านกล่าวไว้ ซึ่งถ้าได้ พิจารณาแล้ว ก็พอจะเข้าใจได้ จึงเห็นว่าควรจะคงสำนวนนั้นไว้ โดยไม่เปลี่ยนแปลง แก้ไขเลย ดังมีข้อความต่อไปนี้ สัตว์ที่เป็นอเหตุก และ ทวิเหตุกนั้น เป็นสัตว์บุญน้อย ไม่ได้สำเร็จกิริยาชวนะ ( ชวนะจิตของพระอรหันต์ ) และ อัปปนาชวนะ ( หมายถึงสัตว์ที่เป็นอเหตุก และ ทวิเหตุกนั้น ไม่สามารถทำฌาน และบรรลุมรรค ผล นิพพานได้ ในชาติที่ปฏิสนธิด้วย อุเบกขาสันตีรณกุสลวิบาก ๑ ดวง และ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ ดวง นั้น ) ถึงเกิดในสุคติ จิตที่เป็นกามาวจรวิบากญาณสัมปยุตตก็ไม่มีในสันดาน ถ้าเป็นอเหตุกสัตว์ในทุคคติแล้ว ก็ยิ่งชั่วร้อยเท่าพันทวี แม้แต่จิตที่เป็นมหา วิบากญาณวิปปยุตต ก็ไม่มีในสันดาน ท่านที่เป็นติเหตุกหรือ ไตรเหตุ มีไตรเหตุเกิดพร้อมด้วยปฏิสนธิจิตนั้น ถ้าบำเพ็ญพระกัมมัฏฐาน ก็จะได้สำเร็จเป็นพระขีณาสพ ขาดจากกุสลชวนะ และอกุสลชวนะ มีแต่ กิริยาชวนะ และอรหัตตชวนะ ปุถุชนที่เป็นติเหตุกหรือไตรเหตุ ยังเป็นปุถุชนอยู่ ก็ไม่มีกิริยาชวนะในสันดาน โลภชวนะที่เป็นทิฏฐิสัมปยุตต ๔ ดวง และโมหสัมปยุตตวิจิกิจฉา และกิริยา ชวนะก็ดี ย่อมไม่มีในสันดานแห่งเสกขบุคคลคือ พระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี พระอนาคามีบุคคลนั้น ในสันดานไม่มีปฏิฆชวนะ และกิริยาชวนะ และโลภ ชวนทิฏฐิสัมปยุตต และโมหชวนวิจิกิจฉาสัมปยุตต โลกุตตรชวนะนั้น มีกำหนดเกิดเป็นส่วน ๆ กัน โสดาปัตติชวนะนั้น จำเพาะ มีในสันดานพระโสดาบัน ครั้นถึงพระสกทาคามีแล้ว โสดาปัตติชวนะก็ขาดไป มีแต่สกทาคามีชวนะในสันดาน ครั้นได้อนาคามีแล้ว สกทาคามีชวนะก็ขาดไป มีแต่ อนาคามีชวนะ ครั้นได้อรหัตตแล้ว อนาคามีชวนะก็ขาดไป มีแต่อรหัตตชวนะอยู่ใน สันดาน วิถีจิตของบุคคล บุคคลทั้ง ๑๒ (ปุถุชน ๔, อริยบุคคล ๘)นั้น บุคคลใดมี วิถีจิต ได้เท่าใด ท่านได้แสดงไว้เป็นส่วนรวม ดังมีคาถา สังหคะเป็นคาถาที่ ๙ แสดงไว้ว่า ๙. อเสกฺขานํ จตุจตฺตา- ฬีส เสกฺขาน มุทฺทิเส ฉปญฺญาสาว เสสานํ จตุปญฺญาส สมฺภวา ฯ แปลความว่า อเสกขบุคคล มีวิถีจิต ๔๔ เสกขบุคคล มีวิถีจิต ๕๖ บุคคลนอกนั้น มีวิถีจิต ๕๔ หน้า ๖๑ อธิบาย อเสกขบุคคล คือบุคคลที่ไม่ต้องศึกษาอีกแล้ว หมายถึงพระอรหันต์ มีวิถีจิต ๔๔ คือ อเหตุกจิต ๑๘ มหากิริยา ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ อรหัตตผล ๑ ที่มีวิถีจิต ๔๔ นี้ หมายถึง พระอรหันต์อยู่ในกามภูมิ และได้ฌานทั้งรูปฌาน และอรูปฌานด้วย เสกขบุคคล คือ บุคคลที่ยังต้องศึกษาต่อไปอีก หมายถึง พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี มีวิถีจิต ๕๖ คือ อกุสลจิต ๗ (เว้นทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา ๑) อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นหสิตุปปาทะ) มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ โลกุตตรจิต ๗ (เว้นอรหัตตผล) ที่มีวิถีจิต ๕๖ นี้กล่าวเป็นส่วนรวมทั้ง ๗ บุคคล เว้นแต่อรหัตตผลบุคคล บุคคลเดียวเท่านั้น บุคคลนอกนั้นคือ บุคคลที่นอกจากพระอริยะทั้ง ๘ หมายถึง บุคคลที่ยังเป็น ปุถุชนอยู่ และอยู่ในกามภูมิ มีวิถีจิต ๕๔ คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ (เว้นหสิตุปปาทะ) มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ หน้า ๖๒ ขยายความ เพื่อให้เห็นได้ชัดเป็นรายบุคคล ว่าแต่ละบุคคลมี วิถีจิต และประเภทจิตที่ไม่ สามารถจะมีได้นั้นเท่าใด อะไรบ้าง จึงขอแสดงดังต่อไปนี้ ทุคคติบุคคล ได้วิถีจิต ๓๗ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๒ ดวง คือ อกุสล ๑๒ อเหตุก ๑๗ มหากุสล ๘ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตร ๘ สุคติบุคคล และ ทวิเหตุกบุคคล ได้วิถีจิต ๔๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๘ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสลจิต ๘ มหาวิบากญาณวิปปยุตต ๔ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบากญาณสัมปยุตต ๔ มหากิริยา ๘ มหัคคตจิต ๒๗ โลกุตตร ๘ ติเหตุกปุถุชน (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๕๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๓๕ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสลจิต ๘ มหาวิบากจิต ๘ มหัคคตกุสลจิต ๙ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๖๓ โสดาบัน และ สกทาคามิบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๕๐ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๓๙ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ โสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ อนาคามิบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๔๘ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๑ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๗ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ อนาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ หสิตุปปาทะ ๑ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ หน้า ๖๔ อรหัตตบุคคล (กามบุคคล) ได้วิถีจิต ๔๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๕ ดวง คือ อเหตุกจิต ๑๘ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตกิริยา ๙ อรหัตตผล ๑ อกุสล ๑๒ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตวิบาก ๙ โลกุตตรจิต อีก ๗ พรหมปุถุชน ในปฐมฌานภูมิ ๓ ตติยฌานภูมิ ๓ และ จตุตถฌาน เฉพาะ เวหัปผลาภูมิ ๑ ใน ๗ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๙ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๐ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ปฐมฌานวิบาก หรือ จตุตถฌานวิบาก หรือ ๑ ปัญจมฌานวิบาก โทสมูลจิต ๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ พรหมปุถุชน ใน ทุติยฌานภูมิ ๓ ใน ๓ ภูมินี้ มีจิตได้ ๔๐ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๔๙ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ทุติยฌานวิบาก ๑ ตติยฌานวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๗ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ หน้า ๖๕ พรหมอนาคามี ใน สุทธาวาส ๕ ภูมิ ใน ๕ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๕ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๔ ดวง คือ โลภทิฏฐิคตวิปปยุตต ๔ อุทธัจจสหคตจิต ๑ อเหตุกจิต ๑๑ มหากุสล ๘ มหัคคตกุสล ๙ ปัญจมฌานวิบาก ๑ อนาคามิผล ๑ โลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ โทสมูลจิต ๒ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ ฆาน ชิวหา กาย ๖ หสิตุปปาทะ ๑ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตวิบาก อีก ๘ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๗ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ในรูปพรหมชั้นอื่น ๆ คือ ใน ปฐมฌานภูมิ ๓ ในทุติยฌานภูมิ ๓ ในตติยฌานภูมิ ๓ และในจตุตถฌานภูมิ เฉพาะเวหัปผลาภูมิ ๑ รวม ๑๐ ภูมินั้น ก็มีจิตได้ ๓๕ ดวง เท่ากับพรหมอนาคามี ในสุทธาวาสภูมินี้ เพียงแต่ ก. เปลี่ยนปัญจมฌานวิบาก เป็น ปฐมฌานวิบาก ทุติยฌานวิบาก ตติยฌาน วิบาก หรือ จตุตถฌานวิบากให้ตรงตามที่ได้ที่ถึง ข. เปลี่ยน อนาคามิผลเป็น โสดาปัตติผล สกทาคามิผล หรือคงเป็นอนาคามิ ผล ให้ตรงตามที่ได้บรรลุอริยผลชั้นนั้น ๆ พรหมอรหันต์ ในสุทธาวาสภูมิ ๕ ใน ๕ ภูมินี้ มีจิตได้ ๓๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๕๘ ดวง คือ อเหตุกจิต ๑๒ มหากิริยา ๘ มหัคคตกิริยา ๙ ปัญจมฌานวิบาก ๑ อรหัตตผล ๑ อกุสล ๑๒ ฆาน ชิวหา กาย ๖ มหากุสล ๘ มหาวิบาก ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตวิบาก อีก ๘ โลกุตตรจิต อีก ๗ พระอรหันต์ในรูปพรหมชั้นอื่น ๆ ก็มีจำนวนจิตเท่ากันนี้ เพียงแต่เปลี่ยน ปัญจมฌานวิบาก เป็น ปฐมฌานวิบาก ทุติยฌานวิบาก ตติยฌานวิบาก หรือ จตุตถ ฌานวิบาก ให้ตรงตามที่ได้ที่ถึง หน้า ๖๖ อรูปพรหมปุถุชน ในอากาสานัญจายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๔ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อรูปกุสล ๔ อากาสานัญจายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามี ที่เป็นอากาสานัญจายตน พรหม มีจิตได้เพียง ๒๐ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๖๙ ดวง โดยต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือสกทาคามิผล หรืออนาคามิ ผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวง ออกเสียด้วย คงเป็น ๒๔+๑-๕ เท่ากับ ๒๐ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต๔ วิจิกิจฉาสหคต จิต ๑ รวม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๕+๕-๑ เท่ากับ ๖๙ ดวง หน้า ๖๗ อรูปพรหมปุถุชน ในวิญญาณัญจายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๓ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๖ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อรูปกุสล ๓ วิญญาณัญจายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสานัญจายตนกุสลจิต ๑ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และ พระอนาคามี ที่เป็นวิญญาณัญจายตน พรหม มีจิตได้เพียง ๑๙ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๐ ดวง ต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือสกทาคามีผล หรือ อนาคามี ผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวงออกเสียด้วย คงเป็น ๒๓+๑-๕ เท่ากับ ๑๙ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๖+๕-๑ เท่ากับ ๗๐ ดวง อรูปพรหมปุถุชน ในอากิญจัญญายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๒ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ อากิญจัญญายตนกุสล ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ อากิญจัญญายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อากาสานัญจายตนกุสล ๑ วิญญาณัญจายตนกุสล ๑ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระเสกขบุคคล ๓ ที่เป็นอากิญจัญญายตนพรหม มีจิตได้เพียง ๑๘ ดวง และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๑ ดวง ทั้งนี้ต้องเพิ่มหรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่ม โสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล หรือ อนาคา มิผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่า บรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวงออกเสียด้วยคงเป็น ๒๒+๑-๕ เท่ากับ ๑๘ ดวง ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๗+๕-๑ เท่ากับ ๗๑ ดวง หน้า ๖๘ อรูปพรหมปุถุชน ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ในภูมินี้ มีจิตได้ ๒๑ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๖๘ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ เนวสัญญานาสัญญายตนกุสล ๑ เนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก ๑ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปกุสล อีก ๓ อรูปวิบาก อีก ๓ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๘ พระเสกขบุคคล ที่เป็น เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม มีจิตได้เพียง ๑๗ ดวง เท่านั้น และประเภทจิตที่ไม่มี ๗๒ ดวง ทั้งนี้ต้องเพิ่ม หรือลด ดังนี้ ก. ทางฝ่ายจิตที่มีได้ ต้องเพิ่มโสดาปัตติผล หรือ สกทาคามิผล หรือ อนาคา มิผล ขึ้น ๑ ดวง แล้วแต่ว่าบรรลุผลจิตชั้นใด และต้องหักโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉาสหคตจิต ๑ รวม ๕ ดวง ออกเสียด้วย คงเป็น ๒๑+๑-๕ เท่ากับ ๑๗ ข. ทางฝ่ายประเภทจิตที่ไม่มี ต้องเพิ่มโลภทิฏฐิคตสัมปยุตต ๔ วิจิกิจฉา สหคตจิต ๑ รวมเพิ่ม ๕ ดวง และต้องลดโลกุตตรจิตออกเสีย ๑ ดวง คงเป็น ๖๘+๕-๑ เท่ากับ ๗๒ พระอรหันต์ ในอากาสานัญจายตนภูมิ มีจิตเกิดได้ ๑๕ ดวง คือ ประเภทจิตที่ไม่มี ๗๔ ดวง คือ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากิริยา ๘ อรูปกิริยา ๔ อากาสานัญจายตนวิบาก ๑ อรหัตตผล ๑ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบาก ๘ มหากิริยา ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปกุสล ๔ อรูปวิบาก อีก ๓ โลกุตตรจิต อีก ๗ หน้า ๖๙ พระอรหันต์ ในวิญญาณัญจายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ต้องหักอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ออกเสีย ๑ และเปลี่ยน อากาสานัญจายตนวิบาก เป็นวิญญาณัญจายตนวิบาก คงเหลือจิตที่เกิดได้ ๑๔ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ รวมเป็น ๗๕ ดวง ด้วยกัน พระอรหันต์ ในอากิญจัญญายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ ต้องหัก อรูป กิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ รวม ๒ ดวง ออกเสีย และเปลี่ยนอากาสานัญจายตนวิบาก เป็นอากิญจัญญายตนวิบากคงเหลือ จิตที่เกิดได้ ๑๓ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ รวมเพิ่ม ๒ เป็น ๗๖ พระอรหันต์ ในเนวสัญญานาสัญญายตนภูมินั้น ประเภทจิตที่เกิดได้ ต้องหัก อรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ และ อากิญ จัญญายตนกิริยา ๑ รวม ๓ ดวง ออกเสีย และเปลี่ยนอากาสานัญจายตนวิบาก เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนวิบาก คงเหลือจิตที่เกิดได้ ๑๒ ดวง ส่วนประเภทจิตที่ไม่มี ก็ต้องเพิ่มอรูปกิริยา คือ อากาสานัญจายตนกิริยา ๑ วิญญาณัญจายตนกิริยา ๑ และ อากิญจัญญายตนกิริยา ๑ รวมเพิ่ม ๓ จึงเป็น ๗๗ อนึ่ง ที่ต้องลดจิตของอรูปชั้นต่ำออกเสียนั้น เพราะเหตุว่าในอรูปพรหมชั้นสูง ได้ก้าวล่วงอารมณ์ของอรูปชั้นต่ำเสียแล้ว ดังนั้นอารมณ์ในอรูปชั้นต่ำจึงไม่มี ที่จะได้ เป็นปัจจัยให้แก่อรูปพรหมชั้นสูง วิถีจิตตามภูมิ ภูมิ อันเป็นชั้นที่อยู่แห่งสัตว์นั้น ในที่นี้จำแนกเพียง ๓ ภูมิ คือ กามภูมิ ๑ รูปภูมิ ๑ และอรูปภูมิ ๑ เมื่อกล่าวโดยส่วนรวมทั้ง ๓ ภูมิแล้ว ในภูมิใดมีวิถีจิตเกิดได้เท่าใดนั้น มีคาถาสังคหะเป็นคาถาที่ ๑๐ แสดงว่า ๑๐. อสีติ วิถีจิตฺตานิ กาเม รูเป ยถารหํ จตุสฏฺฐี ตถารูเป เทวฺจตฺตาฬีส ลพฺภเร ฯ แปลความว่า กามภูมิ มีวิถีจิต ๘๐ รูปภูมิ มีวิถีจิต ๖๔ อรูปภูมิ มีวิถีจิต ๔๒ มีรายละเอียดดังนี้ หน้า ๗๐ กามภูมิ ๑๑ มีวิถีจิต ๘๐ คือ ไม่มีจิต ๙ ดวง คือ อกุสลจิต ๑๒ อเหตุกจิต ๑๘ กามาวจรโสภณจิต ๒๔ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ มหัคคตวิบาก ๙ รูปภูมิ ๑๕ ภูมิ (เว้นอสัญญสัตตภูมิ) มีวิถีจิต ๖๔ คือ ไม่มีจิต ๒๕ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๒ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ มหัคคตกุสล ๙ มหัคคตกิริยา ๙ โลกุตตรจิต ๘ โทสมูลจิต ๒ ฆานวิญญาณจิต ๒ ชิวหาวิญญาณจิต ๒ กายวิญญาณจิต ๒ มหาวิบาก ๘ มหัคคตวิบาก ๙ หน้า ๗๑ อรูปภูมิ ๔ มีวิถีจิต ๔๒ คือ ไม่มีจิต ๔๗ ดวง คือ โลภมูลจิต ๘ โมหมูลจิต ๒ มโนทวาราวัชชนจิต ๑ มหากุสล ๘ มหากิริยา ๘ อรูปกุสล ๔ อรูปกิริยา ๔ โลกุตตรจิต ๗ โทสมูลจิต ๒ อเหตุกจิต ๑๗ มหาวิบากจิต ๘ รูปาวจรจิต ๑๕ อรูปวิบาก ๔ โสดาปัตติมัคคจิต ๑ ข้อความส่งท้าย วิถีจิต คือ ลำดับความเป็นไปของจิตตามทวารทั้ง ๖ ย่อมเกิดขึ้นรับอารมณ์ ใหม่ และเป็นไปดังที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ตลอดเวลา ไม่ขาดสายจนตลอดชีวิตแห่งสัตว์ นั้น เมื่อสิ้นสุดวิถีจิตแต่ละวิถี ต้องมีภวังคจิตเกิดมาคั่นไว้ชั่วระยะหนึ่งก่อน แล้ว จึงจะเริ่มเป็นวิถีจิตต่อไปใหม่ ภวังคจิตที่เกิดมาคั่นแต่ละวิถีนี้ มีจำนวนไม่เท่ากัน หลังวิถีจิตแห่งสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ย่อมเกิดภวังคเพียง ๒ ขณะ พระสารีบุตร ย่อมเกิดเพียง ๑๖ ขณะ แต่ทว่าสัตว์อื่นทั้งหลายนั้นเกิดมากจนไม่อาจ นับได้ อนึ่งสัตว์ที่เกิดในโลกทั้งปวง ถ้าปราศจากประสาทแห่งทวารใดแล้ว ก็ปราศ จากจิตที่เกิดทางทวารนั้น ๆ สัตว์ที่เกิดเป็นอสัญญสัตตพรหมนั้นไม่มีจิต จิตปวัตติ คือ ความเป็นของ จิตวิถีจิตจึงไม่มี จิตระงับสงบอยู่ถึง ๕๐๐ มหากัปป์ ต่อเมื่อจุติจากอสัญญีภพแล้ว จึงประพฤติเป็นไปในภพทั้ง ๓ หน้า ๗๒ อวสานคาถา ปริจเฉทที่ ๔ อิจฺจานุรุทฺธรจิเต อภิธมฺมตฺถสงฺคเห จตุตฺโถ ปริจฺเฉโทยํ สมาเสเนว นิฏฺฐิโต ฯ นี่ปริจเฉทที่ ๔ ( ชื่อ วิถีสังคหวิภาค ) ในปกรณ์ อันรวบรวมซึ่งอรรถแห่งพระอภิธรรมที่พระอนุรุทธาจารย์ รจนาไว้ จบแล้วโดยย่อเพียงเท่านี้แล --------------------------------------

การเจริญพระกรรมฐาน๖. นิโรธสูตร [๑๖๖] ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโส ทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ บ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอ ก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มี ฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ บ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารีบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่าน พระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วง ความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ผู้ถึงพร้อมด้วย ปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้ เป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วง ความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตร ว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิง การาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิต- *นิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั่นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ครั้งนั้นท่านพระสารีบุตรได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคันค้าน เราถึง ๓ ครั้ง และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนา (ภาษิต) เรา ผิฉะนั้น เราพึง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว ได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อม ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุ อรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหาร เป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารี- *บุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรท่าน พระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็น ภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึง ออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะ ที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระอุทายี ... ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตร ได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคัดค้านเราถึง ๓ ครั้ง แม้เฉพาะพระพักตร์แห่งพระผู้มี พระภาค และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนาต่อเรา ผิฉะนั้น เราพึงนิ่งเสีย ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้นิ่งอยู่ ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามท่านพระอุทายีว่า ดูกรอุทายี ก็เธอย่อมหมายถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจเหล่าไหน ท่านพระอุทายีได้ กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์หมายถึงเหล่าเทพชั้นอรูปที่สำเร็จ ด้วยสัญญา พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรอุทายี ไฉนเธอผู้เป็นพาล ไม่ฉลาด จึงได้กล่าวอย่างนั้น เธอเองย่อมเข้าใจคำที่เธอควรพูด ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ดูกรอานนท์ ไฉนพวกเธอจักวางเฉย (ดูดาย) ภิกษุผู้เถระซึ่งถูกเบียดเบียนอยู่ เพราะว่า แม้ความการุณจักไม่มีในภิกษุผู้ฉลาดซึ่ง ถูกเบียดเบียนอยู่ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกร- *ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ... ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมี ได้ พระผู้มีพระภาคผู้สุคต ครั้นตรัสดังนี้แล้ว จึงเสด็จลุกจากอาสนะเข้าไปยัง พระวิหาร ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จไปแล้วไม่นาน ท่านพระอานนท์ได้เข้าไป หาท่านพระอุปวาณะ แล้วกล่าวว่า ดูกรท่านอุปวาณะ ภิกษุเหล่าอื่นในพระศาสนา นี้ ย่อมเบียดเบียนภิกษุทั้งหลายผู้เถระ พวกเราจะไม่ถามหาภิกษุเหล่านั้น การที่ พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่พักผ่อนในเวลาเย็น จักทรงปรารภเหตุนั้นยกขึ้น แสดง เหมือนดังที่จะพึงตรัสกะท่านอุปวาณะโดยเฉพาะในเหตุนั้น ข้อนั้นไม่เป็น ของอัศจรรย์ บัดนี้ ความน้อยใจได้เกิดขึ้นแก่พวกเรา ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค เสด็จออกจากที่เร้นในเวลาเย็นแล้ว เสด็จเข้าไปนั่งที่อุปัฏฐานศาลา ประทับนั่งบน อาสนะที่ได้ตบแต่งไว้ แล้วจึงตรัสถามท่านพระอุปวาณะว่า ดูกรอุปวาณะ ภิกษุ ผู้เถระประกอบด้วยธรรมเท่าไรหนอแล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ท่านพระอุปวาณะได้กราบทูลว่า ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ธรรม ๕ ประการ เป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล ฯลฯ ศึกษาอยู่ในสิกขาบท ทั้งหลาย ๑ เธอเป็นพหุสูต ฯลฯ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ๑ เธอเป็นผู้มีวาจา ไพเราะ มีถ้อยคำไพเราะ ประกอบด้วยวาจาชาวเมืองอันสละสลวย ไม่มีโทษ ให้รู้เนื้อความได้แจ่มแจ้ง ๑ เธอเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ๑ เธอย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ๑ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระ ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ฯ พ. ดีละๆ อุปวาณะ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ถ้าหากว่าธรรม ๕ ประการนี้ ไม่พึงมีแก่ภิกษุผู้เถระไซร้ เพื่อนพรหมจรรย์พึง สักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ โดยความเป็นผู้มีฟันหัก มีผมหงอก มี หนังย่น อะไรกัน แต่เพราะธรรม ๕ ประการนี้ ย่อมมีแก่ภิกษุผู้เถระ ฉะนั้น เพื่อนพรหมจรรย์จึงสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ ฯ

การเจริญพระกรรมฐาน

กระบวนการทำงานของจิต

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เทศนาเรื่อง จิตยิ้มจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา

แล้วจะทำอย่างไรกันดีหลวงปู่ : แยก ถอนผมไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ถอนเล็บไปกองหนึ่ง ฟันไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ศิษย์ : ทำ หลวงปู่ : ทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่ง­ทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง

วันพฤหัสบดีที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การเจริญพระกรรมฐานอย่ากลัวติดสมถะ สมาธิขั้นสมถะนี่ต้องเอาให้ได้ ต้องพยายามบริกรรมภาวนาเอาให้ได้ ให้จิตสงบ นิ่ง สว่าง รู้ ตื่น เบิกบาน มีปีติ มีความสุข กายเบา จิตเบา กายสงบ จิตสงบ นิวรณ์ ๕ หายไป ความฟุ้งซ่านรำคาญหายไป มีแต่ปีติและความสุขบังเกิดขึ้นในจิต จิตมีปีติและความสุขเป็นภักษาหาร ผู้ภาวนาย่อมอยู่อย่างสงบเยือกเย็น หาความสุขอันใดจะเทียมเท่าความสงบจิตที่ประกอบด้วยปีติและความสุขไม่มีแล้วดังนั้น อย่ามองข้ามความสงบ อย่ามองข้ามสมาธิ ต้องให้เอาสมาธิให้ได้อย่าไปกลัวจิตจะติดสมาธิ ถ้าจิตไปติดความสงบ ติดสมาธิ ดี ดีกว่าไปติดอย่างอื่น ให้มันติดสมาธิ ติดความสงบเอาไว้ก่อน อย่าไปกลัว บางทีบางท่านภาวนาพุทโธแล้วกลัวจิตจะติดสมถะ ทั้งๆ ที่ตัวเองก็ยังไม่เคยเป็นสมถะ จิตยังไม่สงบเป็นสมถะ ยังไม่สงบเป็นสมาธิ แต่ไปกลัวจิตจะติดเสียก่อนแล้ว ในเมื่อเกิดกลัวขึ้นมา จิตก็ไม่เป็นสมาธิ เมื่อไม่เป็นสมาธิ วิปัสสนาก็ไม่มี ต้องเอาจิตให้เป็นสมาธิก่อน อันนี้สำหรับผู้ปฏิบัติเบื้องต้น ต้องยึดอันนี้เป็นหลัก

๑.ชีวประวัติหลวงปู่เสาร์ กันตสีโล ตอนที่ ๑หลักสมถวิปัสสนาของหลวงปู่เสาร์ พิจารณากายแยกออกเป็นธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ หลักการสอนท่านก็สอนในหลักของสมถวิปัสสนา ดังที่เราเคยได้ยินได้ฟังกันมาแล้วนั้น แต่ท่านจะเน้นหนักในการสอนให้เจริญพุทธคุณเป็นส่วนใหญ่ เมื่อเจริญพุทธคุณจนคล่องตัวจนชำนิชำนาญแล้ว ก็สอนให้พิจารณากายคตาสติ เมื่อสอนให้พิจารณากายคตาสติ พิจารณาอสุภกรรมฐาน จนคล่องตัวจนชำนิชำนาญแล้ว ก็สอนให้พิจารณาธาตุกรรมฐาน ให้พิจารณากายแยกออกเป็นธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ แล้วก็พยายามพิจารณาว่าในร่างกายของเรานี้ไม่มีอะไร มีแต่ธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ ประชุมกันอยู่เท่านั้น หาสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาไม่มี ในเมื่อฝึกฝนอบรมให้พิจารณาจนคล่องตัว จิตก็จะมองเห็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน คือเห็นว่าร่างกายนี้ ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ตน เป็นอนัตตาทั้งนั้น จะว่ามีตัวมีตนในเมื่อแย่ออกไปแล้ว มันก็มีแต่ธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ สัตว์ บุคคลตัวตนเราเขาไม่มี แต่อาศัยความประชุมพร้อมของธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ มีปฏิสนธิ จิตปฏิสนธิวิญญาณมายึดครองอยู่ในร่างอันนี้ เราจึงสมมติบัญญัติว่า สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา อันนี้เป็นแนวการสอนของพระอาจารย์เสาร์ พระอาจารย์มั่น และพระอาจารย์สิงห์ การพิจารณาเพียงแค่ว่าพิจารณากายคตาสติก็ดี พิจารณาธาตุกรรมฐานก็ดี ตามหลักวิชาการท่านว่าเป็นอารมณ์ของสมถกรรมฐาน แต่ท่านก็ย้ำให้พิจารณาอยู่ในกายคตาสติกรรมฐานกับธาตุกรรมฐานนี้เป็นส่วนใหญ่ ที่ท่านย้ำๆ ให้พิจารณาอย่างนั้น ก็เพราะว่าทำให้ภูมิจิตภูมิใจของนักปฏิบัติก้าวขึ้นสู่ภูมิแห่งวิปัสสนาได้เร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณากายคตาสติ แยกผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นต้น ออกเป็นส่วนๆ เราจะมองเห็นว่าในกายของเรานี้ก็ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ตัวตน มันเป็นแต่เพียง ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูกเท่านั้น ถ้าว่ากายนี้เป็นตัวเป็นตน ทำไมจึงจะเรียกว่าผม ทำไมจึงจะเรียกว่าขน ทำไมจึงจะเรียกว่าเล็บ ว่าฟัน ว่าเนื้อ ว่าเอ็น ว่ากระดูก ในเมื่อแยกออกไปเรียกอย่างนั้นแล้ว มันก็ไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา นอกจากนั้นก็จะมองเห็นอสุภกรรมฐาน เห็นว่าร่างกายนี้เต็มไปด้วยของปฏิกูลน่าเกลียดโสโครกน่าเบื่อหน่าย ไม่น่ายึดมั่นถือมั่นว่าเป็นอัตตาตัวตน แล้วพิจารณาบ่อยๆ พิจารณาเนืองๆ จนกระทั่งจิตเกิดความสงบ สงบแล้วจิตจะปฏิวัติตัวไปสู่การพิจารณาโดยอัตโนมัติ ผู้ภาวนาก็เริ่มจะรู้แจ้งเห็นจริงในความเป็นจริงของร่างกายอันนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณาธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ พิจารณากายแยกออกเป็นส่วนๆ ส่วนนี้เป็นดิน ส่วนนี้เป็นน้ำ ส่วนนี้เป็นลม ส่วนนี้เป็นไฟ เราก็จะมองเห็นว่าร่างกายนี้สักแต่ว่าเป็นดิน เป็นน้ำ เป็นลม เป็นไฟ สัตว์บุคคลตัวตนเราเขาไม่มี ก็ทำให้จิตของเรามองเห็นอนัตตาได้เร็วขึ้น เพราะฉะนั้นการเจริญกายคตาสติก็ดี การเจริญธาตุกรรมฐานก็ดี จึงเป็นแนวทางให้จิตดำเนินก้าวขึ้นสู่ภูมิแห่งวิปัสสนาได้ และอีกอันหนึ่งอานาปานสติ ท่านก็ยึดเป็นหลักการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรรมฐานอานาปานสติ การกำหนดพิจารณาลมหายใจนั้น จะไปแทรกอยู่ทุกกรรมฐาน จะบริกรรมภาวนาก็ดี จะพิจารณาก็ดี ในเมื่อจิตสงบลงไป ปล่อยวางอารมณ์ที่พิจารณาแล้ว ส่วนใหญ่จิตจะไปรู้อยู่ที่ลมหายใจเข้าออก ในเมื่อจิตตามรู้ลมหายใจเข้าออก กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกอยู่เป็นปกติ จิตเอาลมหายใจเป็นสิ่งรู้ สติเอาลมหายใจเป็นสิ่งระลึก ลมหายใจเข้าออกเป็นไปตามปกติของร่างกาย เมื่อสติไปจับอยู่ที่ลมหายใจ ลมหายใจก็เป็นฐานที่ตั้งของสติ ลมหายใจเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องด้วยกาย สติไปกำหนดรู้อยู่ที่ลมหายใจเข้าออก จดจ่ออยู่ที่ตรงนั้น วิตกถึงลมหายใจ มีสติรู้พร้อมอยู่ในขณะนั้น จิตก็มีวิตกวิจารอยู่กับลมหายใจ เมื่อจิตสงบลงไป ลมหายใจก็ค่อยละเอียดๆ ลงไปเรื่อยๆ จนกระทั่งในที่สุดลมหายใจก็หายขาดไป เมื่อลมหายใจหายขาดไปจากความรู้สึก ร่างกายที่ปรากฏว่ามีอยู่ก็พลอยหายไปด้วย ในเมื่อเป็นเช่นนั้น ถ้าหากว่าลมหายใจยังไม่หายขาดไปกายก็ยังปรากฏอยู่ เมื่อจิตตามลมหายใจเข้าไปข้างใน จิตจะไปสงบนิ่งอยู่ท่ามกลางของกาย แล้วก็แผ่รัศมีออกมารู้ทั่วทั้งกาย จิตสามารถที่จะมองเห็นอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายได้หมดทั้งตัว เพราะลมย่อมวิ่งเข้าไปที่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ลมวิ่งไปถึงไหนจิตก็รู้ไปถึงนั่น ตั้งแต่หัวจรดเท้า ตั้งแต่เท้าจรดหัว ตั้งแต่แขนซ้ายแขนขวา ขาขวาขาซ้าย เมื่อจิตตามลมหายใจเข้าไปแล้ว จิตจะรู้ทั่วกายหมด ในขณะใดกายยังปรากฏอยู่ จิตสงบอยู่ สงบนิ่ง รู้สว่างอยู่ในกาย วิตก วิจาร คือจิตรู้อยู่ภายในกาย สติก็รู้พร้อมอยู่ในกาย ในอันดับนั้นปีติและความสุขย่อมบังเกิดขึ้น เมื่อปีติและความสุขบังเกิดขึ้น จิตก็เป็นหนึ่ง นิวรณ์ ๕ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา ก็หายไป จิตกลายเป็นสมถะ มีพลังพอที่จะปราบนิวรณ์ ๕ ให้สงบระงับไป ผู้ภาวนาก็จะมองเห็นผลประโยชน์ในการเจริญสมถกรรมฐาน

๑.ชีวประวัติหลวงปู่เสาร์ กันตสีโล ตอนที่ ๑หลักสมถวิปัสสนาของหลวงปู่เสาร์ พิจารณากายแยกออกเป็นธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ หลักการสอนท่านก็สอนในหลักของสมถวิปัสสนา ดังที่เราเคยได้ยินได้ฟังกันมาแล้วนั้น แต่ท่านจะเน้นหนักในการสอนให้เจริญพุทธคุณเป็นส่วนใหญ่ เมื่อเจริญพุทธคุณจนคล่องตัวจนชำนิชำนาญแล้ว ก็สอนให้พิจารณากายคตาสติ เมื่อสอนให้พิจารณากายคตาสติ พิจารณาอสุภกรรมฐาน จนคล่องตัวจนชำนิชำนาญแล้ว ก็สอนให้พิจารณาธาตุกรรมฐาน ให้พิจารณากายแยกออกเป็นธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ แล้วก็พยายามพิจารณาว่าในร่างกายของเรานี้ไม่มีอะไร มีแต่ธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ ประชุมกันอยู่เท่านั้น หาสัตว์บุคคลตัวตนเราเขาไม่มี ในเมื่อฝึกฝนอบรมให้พิจารณาจนคล่องตัว จิตก็จะมองเห็นสิ่งที่ไม่มีตัวตน คือเห็นว่าร่างกายนี้ ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ตน เป็นอนัตตาทั้งนั้น จะว่ามีตัวมีตนในเมื่อแย่ออกไปแล้ว มันก็มีแต่ธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ สัตว์ บุคคลตัวตนเราเขาไม่มี แต่อาศัยความประชุมพร้อมของธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ มีปฏิสนธิ จิตปฏิสนธิวิญญาณมายึดครองอยู่ในร่างอันนี้ เราจึงสมมติบัญญัติว่า สัตว์บุคคลตัวตนเราเขา อันนี้เป็นแนวการสอนของพระอาจารย์เสาร์ พระอาจารย์มั่น และพระอาจารย์สิงห์ การพิจารณาเพียงแค่ว่าพิจารณากายคตาสติก็ดี พิจารณาธาตุกรรมฐานก็ดี ตามหลักวิชาการท่านว่าเป็นอารมณ์ของสมถกรรมฐาน แต่ท่านก็ย้ำให้พิจารณาอยู่ในกายคตาสติกรรมฐานกับธาตุกรรมฐานนี้เป็นส่วนใหญ่ ที่ท่านย้ำๆ ให้พิจารณาอย่างนั้น ก็เพราะว่าทำให้ภูมิจิตภูมิใจของนักปฏิบัติก้าวขึ้นสู่ภูมิแห่งวิปัสสนาได้เร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณากายคตาสติ แยกผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นต้น ออกเป็นส่วนๆ เราจะมองเห็นว่าในกายของเรานี้ก็ไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่ตัวตน มันเป็นแต่เพียง ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูกเท่านั้น ถ้าว่ากายนี้เป็นตัวเป็นตน ทำไมจึงจะเรียกว่าผม ทำไมจึงจะเรียกว่าขน ทำไมจึงจะเรียกว่าเล็บ ว่าฟัน ว่าเนื้อ ว่าเอ็น ว่ากระดูก ในเมื่อแยกออกไปเรียกอย่างนั้นแล้ว มันก็ไม่มีสัตว์บุคคลตัวตนเราเขา นอกจากนั้นก็จะมองเห็นอสุภกรรมฐาน เห็นว่าร่างกายนี้เต็มไปด้วยของปฏิกูลน่าเกลียดโสโครกน่าเบื่อหน่าย ไม่น่ายึดมั่นถือมั่นว่าเป็นอัตตาตัวตน แล้วพิจารณาบ่อยๆ พิจารณาเนืองๆ จนกระทั่งจิตเกิดความสงบ สงบแล้วจิตจะปฏิวัติตัวไปสู่การพิจารณาโดยอัตโนมัติ ผู้ภาวนาก็เริ่มจะรู้แจ้งเห็นจริงในความเป็นจริงของร่างกายอันนี้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพิจารณาธาตุ ๔ ดิน น้ำ ลม ไฟ พิจารณากายแยกออกเป็นส่วนๆ ส่วนนี้เป็นดิน ส่วนนี้เป็นน้ำ ส่วนนี้เป็นลม ส่วนนี้เป็นไฟ เราก็จะมองเห็นว่าร่างกายนี้สักแต่ว่าเป็นดิน เป็นน้ำ เป็นลม เป็นไฟ สัตว์บุคคลตัวตนเราเขาไม่มี ก็ทำให้จิตของเรามองเห็นอนัตตาได้เร็วขึ้น เพราะฉะนั้นการเจริญกายคตาสติก็ดี การเจริญธาตุกรรมฐานก็ดี จึงเป็นแนวทางให้จิตดำเนินก้าวขึ้นสู่ภูมิแห่งวิปัสสนาได้ และอีกอันหนึ่งอานาปานสติ ท่านก็ยึดเป็นหลักการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรรมฐานอานาปานสติ การกำหนดพิจารณาลมหายใจนั้น จะไปแทรกอยู่ทุกกรรมฐาน จะบริกรรมภาวนาก็ดี จะพิจารณาก็ดี ในเมื่อจิตสงบลงไป ปล่อยวางอารมณ์ที่พิจารณาแล้ว ส่วนใหญ่จิตจะไปรู้อยู่ที่ลมหายใจเข้าออก ในเมื่อจิตตามรู้ลมหายใจเข้าออก กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกอยู่เป็นปกติ จิตเอาลมหายใจเป็นสิ่งรู้ สติเอาลมหายใจเป็นสิ่งระลึก ลมหายใจเข้าออกเป็นไปตามปกติของร่างกาย เมื่อสติไปจับอยู่ที่ลมหายใจ ลมหายใจก็เป็นฐานที่ตั้งของสติ ลมหายใจเป็นสิ่งเกี่ยวเนื่องด้วยกาย สติไปกำหนดรู้อยู่ที่ลมหายใจเข้าออก จดจ่ออยู่ที่ตรงนั้น วิตกถึงลมหายใจ มีสติรู้พร้อมอยู่ในขณะนั้น จิตก็มีวิตกวิจารอยู่กับลมหายใจ เมื่อจิตสงบลงไป ลมหายใจก็ค่อยละเอียดๆ ลงไปเรื่อยๆ จนกระทั่งในที่สุดลมหายใจก็หายขาดไป เมื่อลมหายใจหายขาดไปจากความรู้สึก ร่างกายที่ปรากฏว่ามีอยู่ก็พลอยหายไปด้วย ในเมื่อเป็นเช่นนั้น ถ้าหากว่าลมหายใจยังไม่หายขาดไปกายก็ยังปรากฏอยู่ เมื่อจิตตามลมหายใจเข้าไปข้างใน จิตจะไปสงบนิ่งอยู่ท่ามกลางของกาย แล้วก็แผ่รัศมีออกมารู้ทั่วทั้งกาย จิตสามารถที่จะมองเห็นอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกายได้หมดทั้งตัว เพราะลมย่อมวิ่งเข้าไปที่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ลมวิ่งไปถึงไหนจิตก็รู้ไปถึงนั่น ตั้งแต่หัวจรดเท้า ตั้งแต่เท้าจรดหัว ตั้งแต่แขนซ้ายแขนขวา ขาขวาขาซ้าย เมื่อจิตตามลมหายใจเข้าไปแล้ว จิตจะรู้ทั่วกายหมด ในขณะใดกายยังปรากฏอยู่ จิตสงบอยู่ สงบนิ่ง รู้สว่างอยู่ในกาย วิตก วิจาร คือจิตรู้อยู่ภายในกาย สติก็รู้พร้อมอยู่ในกาย ในอันดับนั้นปีติและความสุขย่อมบังเกิดขึ้น เมื่อปีติและความสุขบังเกิดขึ้น จิตก็เป็นหนึ่ง นิวรณ์ ๕ กามฉันทะ พยาบาท ถีนมิทธะ อุทธัจจกุกกุจจะ วิจิกิจฉา ก็หายไป จิตกลายเป็นสมถะ มีพลังพอที่จะปราบนิวรณ์ ๕ ให้สงบระงับไป ผู้ภาวนาก็จะมองเห็นผลประโยชน์ในการเจริญสมถกรรมฐาน

สติปัฎฐานสติปัฏฐาน 4 เป็นหลักธรรมที่อยู่ในมหาสติปัฏฐานสูตร เป็นข้อปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงโดยไม่ถูกกิเลสครอบงำ สติปัฏฐานมี 4 ระดับ คือ กาย เวทนา จิต และ ธรรม สติที่ตั้งมั่น, การหมั่นระลึก, การมีสัมมาสติระลึกรู้นั้นพ้นจากการคิดโดยตั้งใจ แต่เกิดจากจิตจำสภาวะได้ แล้วระลึกรู้โดยอัตโนมัติ โดยคำว่า สติ หมายถึงความระลึกรู้ เป็นเจตสิกประ​เภทหนึ่ง​ ส่วนปัฏฐาน ​แปล​ได้​หลายอย่าง​ ​แต่​ใน​ ​มหาสติปัฏฐานสูตร​ ​และ​ ​สติปัฏฐานสูตร​ ​หมาย​ถึง​ ​ความตั้งมั่น, ความแน่วแน่, ความมุ่งมั่น โดยรวมคือเข้าไปรู้เห็นในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง ตามมุ่งมองของไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ โดยไม่มีความยึดติดด้วยอำนาจกิเลสทั้งปวง ได้แก่กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน - การมีสติระลึกรู้กายเป็นฐาน ซึ่งกายในที่นี่หมายถึงประชุม หรือรวม นั่นคือธาตุ 4 ได้แก่ ดิน น้ำ ลม ไฟมาประชุมรวมกันเป็นร่างกาย ไม่มองกายด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา แต่มองแยกเป็น รูปธรรมหนึ่งๆ เห็นความเกิดดับ กายล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน - การมีสติระลึกรู้เวทนาเป็นฐาน ไม่มองเวทนาด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขาคือไม่มองว่าเรากำลังทุกข์ หรือเรากำลังสุข หรือเราเฉยๆ แต่มองแยกเป็นนามธรรมอย่างหนึ่ง เห็นความเกิดดับ เวทนาล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา จิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน - การมีสติระลึกรู้จิตเป็นฐาน เป็นการนำจิตมาระลึกรู้เจตสิกหรือรู้จิตก็ได้ ไม่มองจิตด้วยความเป็นคน สัตว์ เรา เขา คือไม่มองว่าเรากำลังคิด เรากำลังโกรธ หรือเรากำลังเหม่อลอย แต่มองแยกเป็นนามธรรมอย่างหนึ่ง เห็นความเกิดดับ จิตล้วนไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน - การมีสติระลึกรู้สภาวะธรรมเป็นฐาน ทั้งรูปธรรมและนามธรรมล้วนมีความเกิดดับ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และเป็นอนัตตา

วันพุธที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2558

หสัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯมวดทั่วไป ทางสายเข้าสู่พระนิพพาน 01 การทรงอารมณ์เพื่อเข้าถึงพระโสดาบั...

จะได้ประโยชน์อะไรจากการมารู้ลมหายใจ? เมื่อความตายมาถึงควรวางจิตอย่างไร?

นั่งดูลมหายใจจะรู้กระบวนการทำงานของจิตได้อย่างไร, การฝึกสมาธิ, เจริญอานา...

พุทธวจน จะรู้ธรรมชั้นลึก จะต้องรู้เรื่องอะไรบ้าง

ไม่มีศีล อริยมรรคไม่เกิดก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

ไม่มีศีล อริยมรรคไม่เกิดก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

ไม่มีศีล อริยมรรคไม่เกิดก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

อะไรที่ฝึกฝนจนเป็นอัตโนมัติจะเป็นเรื่องง่ายก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

ผู้รู้แจ้งแผ่นดินนี้มนุษย์โลกพร้อมเทวโลกคำพูดเป็นประโยชน์ ๑๐ เรื่อง เรื่องที่ควรพูด ๑๐ ประการ อันเป็นไปเพื่อขูดเกลากิเลส คือ เรื่องปรารถนาน้อย เรื่องสันโดษ เรื่องความสงบสงัด เรื่องไม่คลุกคลี เรื่องมีความเพียร เรื่องศีล เรื่องสมาธิ เรื่องปัญญา เรื่องวิมุตติ เรื่องวิมุตติญาณทัสสนะ

คาถาธรรมบทบาลีฮินดีมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิดวิธี การ ระงับ ข้อพิพาท วิวาทะ การทะเลาะ วิวาท การโต้เถียง และอธิกรณ์

สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกันโดยธาตุเทียวท่าน Medhankaa Thero มาเยี่ยมชมวัดนาป่าพง (วันเสาร์ที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๘)

สัตว์ทั้งหลายย่อมคบค้ากัน ย่อมสมาคมกันโดยธาตุเทียว ,ธรรมกถึกคืออย่างไร?

หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญ...หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้วสติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา

หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญ...

ถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสองคนมาติดตรงนี้ครับผม พอปฏิบัติไปแล้ว มันเกิดความสว่างขึ้นเฉยๆ ... มันออกไปแสวง ทุกสิ่งทุกอย่าง จิตออกไปแสวงทั้งนั้น เพราะว่าไม่รู้ถึงจิตแท้ ... ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว อะไรมันขาดไปเอง อะไรทุกสิ่งทุกอย่างมันขาดไปเอง มันรู้ถึงความเป็นจริง แล้วก็ มันหมดความสงสัย แต่ว่า ต้องรู้ถึงความเป็นจริง รู้โดยปัญญา อริยมรรค .

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เสียงสารธรรม หลวงพ่อฤาษี

สมาธิ สมถะ วิปัสสนา หลวงพ่อฤาษี

พุทธานุสติกรรมฐาน

吸管用完別丟 通水管超省事

เราเห็นโทษของตนครั้งนั้น พระองค์ได้มีพระดำริดังนี้ว่า ขึ้นชื่อว่าการอยู่เป็นคณะนี้ ได้ประพฤติปฏิบัติกันมาในวัฏฏะแล้ว เหมือนน้ำที่ไหลลงสู่แม่น้ำ และการอยู่เป็นคณะก็ได้ประพฤติกันมาแล้วในนรก กำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน ปิตติวิสัยและอสุรกายก็มี ในมนุษยโลก เทวโลกและพรหมโลกก็มี นรกหมื่นโยชน์แน่นไปด้วยสัตว์ทั้งหลาย เหมือนทะนานที่เต็มไปด้วยผงดีบุก เหล่าสัตว์ในสถานที่เขาลงโทษด้วยเครื่องจองจำ ๕ ประการจะประมาณหรือกำหนดไม่ได้ เหล่าสัตว์ที่อยู่กันเป็นคณะย่อมเดือดร้อน ในที่ซึ่งถูกมีดฟันเป็นต้นเหมือนอย่างนั้น. ในกำเนิดสัตว์เดียรัจฉาน หมู่ปลวกในจอมปลวกแห่งหนึ่ง ย่อมจะประมาณหรือกำหนดไม่ได้ และหมู่มดแดงเป็นต้นแม้ในรังแต่ละรังเป็นต้นก็เหมือนกัน และแม้ในกำเนิดสัตว์เดียรัจฉานก็ย่อมอยู่รวมกันเป็นคณะ. ก็นครเปรตมีคาวุตหนึ่งก็มี ครึ่งโยชน์ก็มี เต็มไปด้วยเปรต แม้ในพวกเปรตก็อยู่รวมกันเป็นคณะอย่างนี้แหละ. ภพอสูรมีประมาณหมื่นโยชน์เหมือนรูหูที่เอาเข็มเสียบไว้ที่หู แม้ในอสุรกายก็ย่อมอยู่กันเป็นคณะอย่างนี้. ในมนุษยโลกเฉพาะกรุงสาวัตถีมีถึงห้าล้านเจ็ดแสนตระกูล. ในกรุงราชคฤห์ทั้งภายในภายนอกมีมนุษย์อาศัยอยู่ ๑๘ โกฏิ ในฐานะแม้อื่นๆ คือ แม้ในมนุษยโลกก็อยู่กันเป็นคณะเหมือนกัน. แม้ในเทวโลกและพรหมโลก ตั้งต้นแต่ภุมมเทวดาไปก็อยู่กันเป็นคณะ. ก็เทวบุตรแต่ละองค์ย่อมมีเทพอัปสรผู้ฟ้อนรำถึงสองโกฏิครึ่ง บางองค์มีถึง ๙ โกฏิ ถึงพรหมจำนวนนับหมื่นก็อยู่รวมในที่เดียวกัน. แต่นั้นทรงดำริว่า เราบำเพ็ญบารมี ๑๐ ทัศ ถึง ๔ อสงไขยแสนกัป ก็เพื่อกำจัดการอยู่รวมเป็นคณะ แต่ภิกษุเหล่านี้ นับจำเดิมแต่นี้ไป ภิกษุเหล่านี้ย่อมเกาะกลุ่มยินดีในหมู่ กระทำกรรมไม่สมควรเลย. พระองค์ทรงเกิดธรรมสังเวช เพราะภิกษุทั้งหลายเป็นเหตุ ทรงดำริว่า ถ้าเราจักบัญญัติสิกขาบทว่า ภิกษุสองรูปไม่พึงอยู่ในที่เดียวกัน แต่ไม่สามารถจะบัญญัติได้ เอาละ เราจะแสดงพระสูตรชื่อมหาสุญญตาปฏิบัติ ซึ่งจักเป็นเหมือนการบัญญัติสิกขาบทสำหรับกุลบุตรผู้ใคร่ต่อการศึกษา และเหมือนกระจกสำหรับส่องหมู่สัตว์ทุกหมู่เหล่าที่วางไว้ ณ ประตูเมือง แต่นั้นกษัตริย์เป็นต้นเห็นโทษของตนในกระจกบานหนึ่ง ละโทษนั้นย่อมเป็นผู้หาโทษมิได้ฉันใด แม้เมื่อเราปรินิพพานแล้วล่วงไปถึง ๕,๐๐๐ ปี กุลบุตรทั้งหลายย่อมระลึกถึงพระสูตรนี้ จักบรรเทาความเป็นหมู่ ยินดีในเอกีภาพ จักกระทำที่สุดแห่งวัฏฏทุกข์ได้. กุลบุตรทั้งหลายระลึกถึงพระสูตรนี้แล้ว บรรเทาความเป็นหมู่ยังทุกข์ในวัฏฏะให้สิ้นไป แล้วปรินิพพานนับไม่ถ้วน เหมือนยังมโนรถของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้บริบูรณ์.

การเจริญกรรมฐาน ทางสู่พระนิพพาน หลวงพ่อฤาษี

ขอขมาพระรัตนตรัยกาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง พุทโธ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง สังโฆ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้า ในกาลต่อไป ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์ ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ ในกาลต่อไป

Adorable 3 year old is very happy to dance!

วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเราถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

ธรรมที่เป็นไปเพื่อความสิ้นตัณหาและทุกข์ทั้งปวงถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง

หลวงพ่อปราโมทย์ แสดงธรรม ณ ศาลากาญจนาภิเษก (ศาลาลุงชิน) วันที่ 15 มี.ค. ...

การภาวนาไม่จำเป็นต้องบวช โดยหลวงพ่อปราโมทย์เผยแพร่เมื่อ 8 พ.ค. 2015 ในคลิปนี้หลวงพ่อปราโมทย์อธิบายว่าการภาวน­าและจะรักษาพระศาสนานั้นไม่จำเป็นต้องบวช ขอให้พวกเราภาวนาจนใจเข้าถึงกระแสธรรมนั่น­แหล่ะคือการรักษาพระศาสนาที่แท้จริง

วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ทางสายกลางดูก่อนท่านผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสารทั้งหลาย ทางนี้เป็นทางสายเอก เป็นไปพร้อมเพื่อความบริสุทธิ์หมดจดของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความเศร้าโศกปริเทวนาการ เพื่อดับทุกข์ทางกาย ดับทุกข์ทางใจของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อบรรลุมรรคผล เพื่อกระทำให้แจ้งพระนิพพาน ทางนั้นคือ สติปัฏฐาน ๔ การที่เราท่านทั้งหลาย ได้พากันเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในวัฏฏสงสารตลอดกาลนานหลายหมื่นปีแสนปี ก็เพราะไม่รู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจ ๔ ตามความเป็นจริงอริยสัจ ๔ เหล่านั้น เราและท่านทั้งหลาย ได้เห็นแล้ว ได้ถอนตัณหาที่จะนำไปสู่ภพแล้ว ตัดมูลรากของทุกข์ให้หมดสิ้นไป บัดนี้ภพใหม่ไม่มีอีกแล้วชนเหล่าใด ไม่รู้ทุกข์ ไม่รู้เหตุเกิดทุกข์ ไม่รู้ความดับทุกข์โดยประการทั้งปวง ไม่รู้มรรคอันเป็นทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ไม่สามารถจะทำที่สุดแห่งทุกข์ในวัฏฏะได้ จึงต้องเข้าถึงความเกิด แก่ เจ็บ ตาย ตลอดไปชนเหล่าใด รู้ทุกข์ รู้เหตุเกิดของทุกข์ รู้ความดับทุกข์โดยประการทั้งปวง รู้มรรค ๘ อันเป็นทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ชนเหล่านั้นถึงพร้อมด้วยเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ สามารถทำที่สุดแห่งทุกข์ในวัฏฏะได้ ไม่ต้องเกิด แก่ เจ็บ ตาย ตลอดไป ทางนี้เท่านั้นที่เป็นไปเพื่อมรรคผล ทางอื่นไม่มีเลย ท่านทั้งหลาย จงดำเนินไปตามเส้นทางนี้เถิด เพราะเส้นทางนี้เป็นที่ลุ่มหลง แห่งมารและเสนามาร เมื่อท่านทั้งหลาย ดำเนินไปตามทางนี้แล้ว จักทำทุกข์ในวัฏฏสงสารทั้งสิ้นให้เด็ดขาดลงไปไม่มีเหลือ เราได้ทราบทางนี้ว่าเป็นที่สลัดออกซึ่งลูกศรทั้งหลาย มีราคะเป็นต้น ด้วยตนเองอย่างแน่นอนแล้ว จึงได้บอกแก่พวกท่าน ท่านทั้งหลาย จงรีบทำความเพียร เพื่อเผากิเลสให้สิ้นไปจากขันธสันดาน เพราะพระตถาคตทั้งหลายเป็นแต่ผู้ชี้บอกทางให้เท่านั้น เมื่อชนเหล่าใดปฏิบัติตามทางที่ตถาคตชี้บอกไว้แล้ว ด้วยฌานทั้ง ๒ คือ อารัมมนูปนิชฌาน ลักขนูปนิชฌาน ได้แก่ เจริญสมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน ชนเหล่านั้น ย่อมหลุดพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร กล่าวคือ วัฏฏะเป็นในภูมิ ๓ สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงกำจัดมารทั้ง ๕ มารมี ๕ คือ๑. กิเลสมาร มาร คือ กิเลส๒. ขันธมาร มาร คือ ขันธ์ ๕ ๓. อภิสังขาร มาร คือ อภิสังขาร ๆ นั้น มีอยู่ ๓ คือ ปุญญาภิสังขาร ได้แก่ บุญ อปุญญาภิสังขาร ได้แก่ บาป อเนญชาภิสังขาร ได้แก่ ปัญจมฌาน ๔. เทวปุตตมาร มาร คือ เทพบุตรผู้มุ่งร้าย ๕. มัจจุราชมาร มาร คือ ความตาย ดูก่อนท่านผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสารทั้งหลาย บุคคลเจริญสมถกรรมฐาน แล้วจะได้ประโยชน์อะไร? ได้การอบรมจิต? จิตที่บุคคลอบรมดีแล้ว จะได้ประโยชน์อะไรเล่า? ได้ประโยชน์คือ ละราคะได้ ดูก่อนท่านผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสารทั้งหลาย บุคคลเจริญวิปัสสนากรรมฐานแล้ว จะได้ประโยชน์อะไร? ได้การอบรมปัญญา ปัญญาที่บุคคลอบรมดีแล้ว จะได้ประโยชน์อะไร? ได้ประโยชน์คือ ละอวิชชาได้

วิธีทำเตาแม่เหล็กไฟฟ้าใช้เองโดยใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่วิธีทำเตาแม่เหล็กไฟฟ้าใช้เองโดยใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ความถี่ประมาณ 25 Khz..งบประมาณ 500 บาท....ใช้ IC L6569 และ IGBT GT15J331 ......ใช้ได้ สูงสุด 3,000 Watts ครับ.... ใช้งานจริง ไม่ควรเกิน 1,500 Watts....ครับ....รบกวน..ดู..รายละเอียดการสร้าง...และทำ...วงจรนี้..จาก คลิป...ที่ เกี่ยวกับ INVERTER CONVERTER โดยพิมพ์ GT15J331 แล้ว คลิ๊ก ที่ Video ใน Google นะครับ....

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องคุณเคยนอนไม่หลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจบ้างหรือเปล่า? เคยรู้สึกเหนื่อยหน่ายจนไม่อยากทำอะไรบ้างไหม? เคยมีอาการปวดหรือเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณท้ายทอย หลัง หรือไหล่ ทั้งที่ไม่ได้ใช้แรงทำอะไรเลย? ถ้าในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมาคุณมีอาการเหล่านี้... แสดงว่าคุณกำลังเริ่มเข้าสู่ภาวะความเครียดในระยะเริ่มแรกแล้ว มาทำความรู้จักกันก่อนว่า “ความเครียด” คืออะไร? ความเครียดเป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ และทำให้รู้สึกถูกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เมื่อบุคคลรับรู้หรือประเมินว่าปัญหาเหล่านั้นเป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ หรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจเสียไป แบบไหนถึงจะเรียกว่าเครียด? เมื่อเกิดความเครียด บุคคลจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจและอารมณ์ รวมทั้งด้านพฤติกรรม แต่เมื่อเวลาผ่านไป และความเครียดเหล่านั้นคลายลง ร่างกายจะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง ความเครียดทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดบ้าง? ผลจากปฏิกิริยาตอบสนองที่มีต่อความเครียด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคลนั้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านร่างกาย ภาวะที่เครียดเกิดขึ้นจะกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้เกิดอาการหน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอก ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดอุดตัน โรคอ้วน แผลในกระเพาะอาหาร เมื่อบุคคลตกอยู่ในความเครียดเป็นเวลานาน จะทำให้สุขภาพร่างกายเลวลงเนื่องจากเกิดความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมน ซึ่งเป็นชีวเคมีที่สำคัญต่อมนุษย์ เพราะทำหน้าที่ช่วยควบคุมการทำงานของระบบต่างๆ ภายใน ขณะเกิดความเครียดจะทำให้ต่อมใต้ถูกกระตุ้น ทำให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล (cortisol) เพิ่มขึ้น จะทำให้เกิดอาการทางกายหลายอย่างแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตั้งแต่ปวดศีรษะ ปวดหลัง อ่อนเพลีย หากบุคคลนั้นต้องเผชิญกับความเครียดที่รุนแรงมากๆ อาจส่งผลให้บุคคลเสียชีวิตได้เนื่องจากระบบการทำงานที่ล้มเหลวของร่างกาย เช่นคนที่มีโรคเบาหวานเป็นโรคประจำตัวอยู่แล้ว หากเกิดความเครียดอย่างรุนแรง ฮอร์โมนคอร์ติซอลจะไปกระตุ้นระดับน้ำตาลในเลือดให้สูงขึ้นหรือลดต่ำลงอย่างผิดปกติ และทำให้เกิดอาการช็อกได้ หรือในบางรายที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานได้ไม่เต็มที่ส่งผลให้เกิดเป็นอาการของโรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ต่างๆ โรคผิวหนัง อาจมีอาการผมร่วงและมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ง่ายกว่าเมื่อเทียบกับคนปกติ 2. ด้านจิตใจและอารมณ์ จิตใจของบุคคลที่เครียดจะเต็มไปด้วยการหมกมุ่นครุ่นคิด ไม่สนใจสิ่งรอบตัว ใจลอย ขาดสมาธิ ความระมัดระวังในการทำงานเสียไปเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย จิตใจขุ่นมัว โมโหโกรธง่าย สูญเสียความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะจัดการกับชีวิตของตนเอง เศร้าซึม คับข้องใจ วิตกกังวล ขาดความภูมิใจในตนเอง ในบางรายที่ตกอยู่ในภาวะเครียดอย่างยาวนานมาก อาจก่อให้เกิดอาการทางจิต จนกลายเป็นโรคจิตโรคประสาทได้ เนื่องจากการเผชิญต่อภาวะเครียดเป็นเวลานานฮอร์โมนคอร์ติซอลที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น จะทำให้เซลล์ประสาทฝ่อและลดจำนวนลง โดยเฉพาะในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับกับความจำและสติปัญญา ความเครียดจึงทำให้ทำให้ความจำและสติปัญญาลดลง และยังมีผลต่อการทำงานของระบบสารสื่อประสาทที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารมณ์และพฤติกรรมโดยเฉพาะสารสื่อประสาท จึงทำให้เกิดอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลกว่าเวลาปกติ 3. ด้านพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายดังที่กล่าวในข้างต้น ไม่เพียงแต่จะทำให้ระบบการ ทำงานของร่างกายผิดเพี้ยนไป แต่ยังทำให้พฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลเปลี่ยนแปลงด้วย ยกตัวอย่างเช่น บุคคลที่เครียดมากๆ บางรายจะมีอาการเบื่ออาหารหรือบางรายอาจจะรู้สึกว่าตัวเองหิวอยู่ตลอดเวลาและทำให้มีการบริโภคอาหารมากกว่าปกติ มีอาการนอนหลับยากหรือนอนไม่หลับหลายคืนติดต่อกัน ประสิทธิภาพในการทำงานน้อยลง เริ่มปลีกตัวจากสังคม และเผชิญกับความเครียดอย่างโดดเดี่ยว บ่อยครั้งบุคคลจะมีพฤติกรรมการปรับตัวต่อความเครียดในทางที่ผิด เช่น สูบบุหรี่ ติดเหล้า ติดยา เล่นการพนัน การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีบางอย่างในสมองทำให้บุคคลมีพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น ความอดทนเริ่มต่ำลง พร้อมที่จะเป็นศัตรูกับผู้อื่นได้ง่าย อาจมีการอาละวาดขว้างปาข้าวของ ทำร้ายผู้อื่น ทำร้ายร่างกายตนเอง หรือหากบางรายที่เครียดมากอาจเกิดอาการหลงผิดและตัดสินใจแบบชั่ววูบนำไปสู่การฆ่าตัวตายในที่สุด     ทำอย่างไรจึงจะหายจากอาการเครียดได้? วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด พิจารณาดูว่าสามารถแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุได้หรือไม่ หากแก้ไขไม่ได้อาจต้อง ขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นเพื่อแก้ไขปัญหา เพราะบางครั้งปัญหานั้นอาจไม่ได้เกิดจากเราเพียงคนเดียวก็ได้ สารพัดวิธีในการจัดการกับความเครียด การผ่อนคลายทางร่างกาย เช่น การหายใจลึกๆ การออกกำลังกาย การนวด การพักผ่อน การรับประทานอาหาร การอาบน้ำอุ่น การลดความตึงเครียดทางจิตใจ เช่น การสร้างอารมณ์ขัน การคิดใทางบวก การดูภาพยนตร์ การฟังเพลง การหัวเราะ การหายใจลึกๆ การทำสมาธิ การใช้เทคนิคความเงียบ เพื่อหยุดความคิดของตัวเอง ในเรื่องที่ทำให้เครียด สำหรับการฝึกคลายเครียดนั้น เมื่อเริ่มรู้สึกว่ามีอาการเครียดในระดับน้อยๆควรฝึกบ่อยๆ วันละ 2-3 ครั้ง และควรฝึกทุกวัน ต่อเมื่อฝึกจนชำนาญแล้วจึงลดลงเหลือเพียงวันละ 1 ครั้งก็พอ หรืออาจฝึกเฉพาะเมื่อรู้สึกเครียดเท่านั้นก็ได้ แต่อยากแนะนำให้ฝึกทุกวัน โดยเฉพาะก่อนนอนจะช่วยให้จิตใจสงบ และนอนหลับสบายขึ้น วิธีที่จะนำเสนอต่อไปนี้ นับเป็นวิธีการเฉพาะในการลดความเครียด ของ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=1012)ซึ่งสามารถลดความเครียดที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันได้ เพราะในขณะที่เกิดความเครียด กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายจะหดเกร็งและจิตใจจะวุ่นวายสับสน ดังนั้น เทคนิคการผ่อนคลายความเครียดส่วนใหญ่จึงเน้นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และการทำจิตใจให้สงบเป็นหลัก ซึ่งวิธีที่จะนำเสนอในที่นี้ จะเป็นวิธีง่ายๆ สามารถทำได้ด้วยตัวเอง 1. การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อที่ควรฝึกมี 10 กลุ่มด้วยกัน คือ 1. แขนขวา 2. แขนซ้าย 3. หน้าผาก 4. ตา แก้มและจมูก 5. ขากรรไกร ริมฝีปากและลิ้น 6. คอ 7. อก หลัง และไหล่ 8. หน้าท้อง และก้น 9. ขาขวา 10. ขาซ้าย วิธีการฝึกมีดังนี้ - นั่งในท่าสบาย - เกร็งกล้ามเนื้อไปทีละกลุ่ม ค้างไว้สัก 10 วินาที แล้วคลายออก จากนั้นก็เกร็งใหม่สลับกันไปประมาณ 10 ครั้ง ค่อยๆ ทำไปจนครบทั้ง 10 กลุ่ม - เริ่มจากการกำมือ และเกร็งแขนทั้งซ้ายขวาแล้วปล่อย - บริเวณหน้าผาก ใช้วิธีเลิกคิ้วให้สูง หรือขมวดคิ้วจนชิดแล้วคลาย - ตา แก้ม และจมูก ใช้วิธีหลับตาปี๋ ย่นจมูกแล้วคลาย - ขากรรไกร ริมฝีปากและลิ้น ใช้วิธีกัดฟัน เม้มปากแน่นและใช้ลิ้นดันเพดานโดยหุบปากไว้แล้วคลาย - คอ โดยการก้มหน้าให้คางจรดคอ เงยหน้าให้มากที่สุดแล้วกลับสู่ท่าปกติ - อก หลัง และไหล่ โดยหายใจเข้าลึกๆ แล้วเกร็งไว้ ยกไหล่ให้สูงที่สุดแล้วคลาย - หน้าท้องและก้น ใช้วิธีแขม่วท้อง ขมิบกันแล้วคลาย - งอนิ้วเท้าเข้าหากัน กระดกปลายเท้าขึ้นสูง เกร็งขาซ้ายและขวาแล้วปล่อย การฝึกเช่นนี้จะทำให้รับรู้ถึงความเครียดจากการเกร็งกล้ามเนื้อกลุ่มต่างๆ และรู้สึกสบายเมื่อคลายกล้ามเนื้อออกแล้ว ดังนั้น ครั้งต่อไปเมื่อเครียดและกล้ามเนื้อเกร็งจะได้รู้ตัว และรีบผ่อนคลายโดยเร็ว ก็จะช่วยได้มาก 2. การฝึกการหายใจ ฝึกการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริเวณหน้าท้องแทนการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าอก เมื่อหายใจเข้า หน้าท้องจะพองออก และเมื่อหายใจออก หน้าท้องจะยุบลง ซึ่งจะรู้ได้โดยเอามือวางไว้ที่หน้าท้องแล้วคอยสังเกตเวลาหายใจเข้าและหายใจออก หายใจเข้าลึกๆ และช้าๆ กลั้นไว้ชั่วครู่แล้วจึงหายใจออก ลองฝึกเป็นประจำทุกวัน จนสามารถทำได้โดยอัตโนมัติ การหายใจแบบนี้จะช่วยให้ร่างกายได้รับออกซิเจนมากขึ้น ทำให้สมองแจ่มใส ร่างกายกระปรี้กระเปร่า ไม่ง่วงเหงาหาวนอน พร้อมเสมอสำหรับภารกิจต่างๆ ในแต่ละวัน 3. การทำสมาธิเบื้องต้น เลือกสถานที่ที่เงียบสงบ ไม่มีใครรบกวน เช่น ห้องพระ ห้องนอน ห้องทำงานที่ไม่มีคนพลุกพล่าน หรือมุมสงบในบ้าน นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือชนกันหรือมือขวาทับมือซ้ายตั้งตัวตรง หรือจะนั่งพับเพียบก็ได้ตามแต่จะถนัด กำหนดลมหายใจเข้าออก โดยสังเกตลมที่มากระทบปลายจมูก หรือริมฝีปากบน ให้รู้ว่าขณะนั้นหายใจเข้าหรือออก หายใจเข้าท้องพอง หายใจออกท้องยุบ หายใจเข้านับ 1 หายใจออกนับ 1 นับไปเรื่อยๆ จนถึง 5 เริ่มนับใหม่จาก 1-6 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-7 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-8 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-9 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-10 แล้วพอ ย้อนกลับมาเริ่ม 1-5 ใหม่ วนไปเรื่อยๆ ขอเพียงจิตใจจดจ่ออยู่กับลมหายใจเข้าออกเท่านั้น อย่าคิดฟุ้งซ่านเรื่องอื่น เมื่อจิตใจแน่วแน่จะช่วยขจัดความเครียด ความวิตกกังวล ความเศร้าหมอง เกิดปัญญาที่จะคิดแก้ไขปัญหาและเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ในชีวิตได้อย่างมีสติ มีเหตุมีผล และยังช่วยให้สุขภาพร่างกายดีขึ้นด้วย 4. การใช้เทคนิคความเงียบ การจะสยบความวุ่นวายของจิตใจที่ได้ผล คงต้องอาศัยความเงียบเข้าช่วย โดยมีวิธีการดังนี้ - เลือกสถานที่ที่สงบเงียบ มีความเป็นส่วนตัว และควรบอกผู้ใกล้ชิดว่าอย่าเพิ่งรบกวนสัก 15 นาที - เลือกเวลาที่เหมาะสม เช่น หลังตื่นนอน เวลาพักกลางวัน ก่อนเข้านอน ฯลฯ -นั่งหรือนอนในท่าที่สบาย ถ้านั่งควรเลือกเก้าอี้ที่มีพนักพิงศีรษะอย่าไขว่ห้างหรือกอดอก - หลับตา เพื่อตัดสิ่งรบกวนจากภายนอก - หายใจเข้าออกช้าๆ ลึกๆ - ทำใจให้เป็นสมาธิ โดยท่องคาถาบทสั้นๆ ซ้ำไปซ้ำมา เช่น พุทโธ พุทโธ หรือจะสวดมนต์บทยาวๆ ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ เช่น สวดพระคาถาชินบัญชร 3-5 จบ เป็นต้น ฝึกครั้งละ 10-15 นาที ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง แรกๆ ให้เอานาฬิกามาวางตรงหน้า และลืมตาดูเวลาเป็นระยะๆ เมื่อฝึกบ่อยเข้าจะกะเวลาได้อย่างแม่นยำ ไม่ควรใช้นาฬิกาปลุก เพราะเสียงจากนาฬิกาจะทำให้ตกใจเสียสมาธิ และรู้สึกหงุดหงิดแทนที่จะสงบ การปรับตัวเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต หาผู้ที่สามารถให้คำปรึกษาได้ อาจเป็นเพื่อน ครอบครัว คนใกล้ชิด ผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) หรือจิตแพทย์ หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับปัญหาไปสักระยะหนึ่ง พยายามไม่คาดหวังในสิ่งต่าง ๆ มากจนเกินไป หลีกเลี่ยงการเกิดอารมณ์รุนแรง ออกกำลังกายทุกวัน สนใจศึกษาคำสอนของศาสนา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ปรับปรุงเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ขั้นตอน สู่การควบคุมความเครียด คิดในแง่ดี มีปัญหาเล่าสู่กันฟัง สร้างความรักความอบอุ่นในครอบครัว รักษาสุขภาพกายและจิตใจให้แข็งแกร่ง ฝึกเทคนิคคลายเครียดด้วยวิธีการต่างๆ วางแผนการบริหารจัดการเวลา จัดการสิ่งที่จัดการได้ก่อน เลือกสิ่งที่เป็นไปได้จริง ตัดสินใจอย่างฉลาด อยากรู้ว่าตัวเองกำลังเครียดหรือเปล่า? ทดลองทำแบบประเมินความเครียดออนไลน์ ที่จัดทำขึ้นโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ที่ http://www.dmh.go.th/test/stress/asheet.asp?qid=HYPERLINK "http://www.dmh.go.th/test/stress/asheet.asp?qid=6"6

หนึ่งขณะจิตมีค่ายิ่งนักคุณเคยนอนไม่หลับเพราะคิดมากหรือกังวลใจบ้างหรือเปล่า? เคยรู้สึกเหนื่อยหน่ายจนไม่อยากทำอะไรบ้างไหม? เคยมีอาการปวดหรือเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณท้ายทอย หลัง หรือไหล่ ทั้งที่ไม่ได้ใช้แรงทำอะไรเลย? ถ้าในช่วง 2 เดือนที่ผ่านมาคุณมีอาการเหล่านี้... แสดงว่าคุณกำลังเริ่มเข้าสู่ภาวะความเครียดในระยะเริ่มแรกแล้ว มาทำความรู้จักกันก่อนว่า “ความเครียด” คืออะไร? ความเครียดเป็นภาวะของอารมณ์หรือความรู้สึกที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลต้องเผชิญกับปัญหาต่างๆ และทำให้รู้สึกถูกกดดัน ไม่สบายใจ วุ่นวายใจ กลัว วิตกกังวล ตลอดจนถูกบีบคั้น เมื่อบุคคลรับรู้หรือประเมินว่าปัญหาเหล่านั้นเป็นสิ่งที่คุกคามจิตใจ หรืออาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย จะส่งผลให้สภาวะสมดุลของร่างกายและจิตใจเสียไป แบบไหนถึงจะเรียกว่าเครียด? เมื่อเกิดความเครียด บุคคลจะแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อความเครียดและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย ด้านจิตใจและอารมณ์ รวมทั้งด้านพฤติกรรม แต่เมื่อเวลาผ่านไป และความเครียดเหล่านั้นคลายลง ร่างกายจะกลับเข้าสู่ภาวะสมดุลอีกครั้งหนึ่ง ความเครียดทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเรื่องใดบ้าง? ผลจากปฏิกิริยาตอบสนองที่มีต่อความเครียด ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในตัวบุคคลนั้น โดยแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ 1. ด้านร่างกาย ภาวะที่เครียดเกิดขึ้นจะกระตุ้นระบบประสาทอัตโนมัติ ทำให้เกิดอาการหน้ามืด เป็นลม เจ็บหน้าอก ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ หลอดเลือดอุดตัน โรคอ้วน แผลในกระเพาะอาหาร เมื่อบุคคลตกอยู่ในความเครียดเป็นเวลานาน จะทำให้สุขภาพร่างกายเลวลงเนื่องจากเกิดความไม่สมดุลของระบบฮอร์โมน ซึ่งเป็นชีวเคมีที่สำคัญต่อมนุษย์ เพราะทำหน้าที่ช่วยควบคุมการทำงานของระบบต่างๆ ภายใน ขณะเกิดความเครียดจะทำให้ต่อมใต้ถูกกระตุ้น ทำให้ต่อมหมวกไตหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอล (cortisol) เพิ่มขึ้น จะทำให้เกิดอาการทางกายหลายอย่างแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ตั้งแต่ปวดศีรษะ ปวดหลัง อ่อนเพลีย หากบุคคลนั้นต้องเผชิญกับความเครียดที่รุนแรงมากๆ อาจส่งผลให้บุคคลเสียชีวิตได้เนื่องจากระบบการทำงานที่ล้มเหลวของร่างกาย เช่นคนที่มีโรคเบาหวานเป็นโรคประจำตัวอยู่แล้ว หากเกิดความเครียดอย่างรุนแรง ฮอร์โมนคอร์ติซอลจะไปกระตุ้นระดับน้ำตาลในเลือดให้สูงขึ้นหรือลดต่ำลงอย่างผิดปกติ และทำให้เกิดอาการช็อกได้ หรือในบางรายที่ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายทำงานได้ไม่เต็มที่ส่งผลให้เกิดเป็นอาการของโรคหอบหืด โรคภูมิแพ้ต่างๆ โรคผิวหนัง อาจมีอาการผมร่วงและมีอัตราเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ง่ายกว่าเมื่อเทียบกับคนปกติ 2. ด้านจิตใจและอารมณ์ จิตใจของบุคคลที่เครียดจะเต็มไปด้วยการหมกมุ่นครุ่นคิด ไม่สนใจสิ่งรอบตัว ใจลอย ขาดสมาธิ ความระมัดระวังในการทำงานเสียไปเป็นเหตุให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย จิตใจขุ่นมัว โมโหโกรธง่าย สูญเสียความเชื่อมั่นในความสามารถที่จะจัดการกับชีวิตของตนเอง เศร้าซึม คับข้องใจ วิตกกังวล ขาดความภูมิใจในตนเอง ในบางรายที่ตกอยู่ในภาวะเครียดอย่างยาวนานมาก อาจก่อให้เกิดอาการทางจิต จนกลายเป็นโรคจิตโรคประสาทได้ เนื่องจากการเผชิญต่อภาวะเครียดเป็นเวลานานฮอร์โมนคอร์ติซอลที่มีปริมาณเพิ่มขึ้น จะทำให้เซลล์ประสาทฝ่อและลดจำนวนลง โดยเฉพาะในสมองส่วนที่เกี่ยวข้องกับกับความจำและสติปัญญา ความเครียดจึงทำให้ทำให้ความจำและสติปัญญาลดลง และยังมีผลต่อการทำงานของระบบสารสื่อประสาทที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับอารมณ์และพฤติกรรมโดยเฉพาะสารสื่อประสาท จึงทำให้เกิดอาการซึมเศร้าและวิตกกังวลกว่าเวลาปกติ 3. ด้านพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายดังที่กล่าวในข้างต้น ไม่เพียงแต่จะทำให้ระบบการ ทำงานของร่างกายผิดเพี้ยนไป แต่ยังทำให้พฤติกรรมการแสดงออกของบุคคลเปลี่ยนแปลงด้วย ยกตัวอย่างเช่น บุคคลที่เครียดมากๆ บางรายจะมีอาการเบื่ออาหารหรือบางรายอาจจะรู้สึกว่าตัวเองหิวอยู่ตลอดเวลาและทำให้มีการบริโภคอาหารมากกว่าปกติ มีอาการนอนหลับยากหรือนอนไม่หลับหลายคืนติดต่อกัน ประสิทธิภาพในการทำงานน้อยลง เริ่มปลีกตัวจากสังคม และเผชิญกับความเครียดอย่างโดดเดี่ยว บ่อยครั้งบุคคลจะมีพฤติกรรมการปรับตัวต่อความเครียดในทางที่ผิด เช่น สูบบุหรี่ ติดเหล้า ติดยา เล่นการพนัน การเปลี่ยนแปลงของสารเคมีบางอย่างในสมองทำให้บุคคลมีพฤติกรรมก้าวร้าวมากขึ้น ความอดทนเริ่มต่ำลง พร้อมที่จะเป็นศัตรูกับผู้อื่นได้ง่าย อาจมีการอาละวาดขว้างปาข้าวของ ทำร้ายผู้อื่น ทำร้ายร่างกายตนเอง หรือหากบางรายที่เครียดมากอาจเกิดอาการหลงผิดและตัดสินใจแบบชั่ววูบนำไปสู่การฆ่าตัวตายในที่สุด     ทำอย่างไรจึงจะหายจากอาการเครียดได้? วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด พิจารณาดูว่าสามารถแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุได้หรือไม่ หากแก้ไขไม่ได้อาจต้อง ขอความช่วยเหลือจากผู้อื่นเพื่อแก้ไขปัญหา เพราะบางครั้งปัญหานั้นอาจไม่ได้เกิดจากเราเพียงคนเดียวก็ได้ สารพัดวิธีในการจัดการกับความเครียด การผ่อนคลายทางร่างกาย เช่น การหายใจลึกๆ การออกกำลังกาย การนวด การพักผ่อน การรับประทานอาหาร การอาบน้ำอุ่น การลดความตึงเครียดทางจิตใจ เช่น การสร้างอารมณ์ขัน การคิดใทางบวก การดูภาพยนตร์ การฟังเพลง การหัวเราะ การหายใจลึกๆ การทำสมาธิ การใช้เทคนิคความเงียบ เพื่อหยุดความคิดของตัวเอง ในเรื่องที่ทำให้เครียด สำหรับการฝึกคลายเครียดนั้น เมื่อเริ่มรู้สึกว่ามีอาการเครียดในระดับน้อยๆควรฝึกบ่อยๆ วันละ 2-3 ครั้ง และควรฝึกทุกวัน ต่อเมื่อฝึกจนชำนาญแล้วจึงลดลงเหลือเพียงวันละ 1 ครั้งก็พอ หรืออาจฝึกเฉพาะเมื่อรู้สึกเครียดเท่านั้นก็ได้ แต่อยากแนะนำให้ฝึกทุกวัน โดยเฉพาะก่อนนอนจะช่วยให้จิตใจสงบ และนอนหลับสบายขึ้น วิธีที่จะนำเสนอต่อไปนี้ นับเป็นวิธีการเฉพาะในการลดความเครียด ของ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (http://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=1012)ซึ่งสามารถลดความเครียดที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันได้ เพราะในขณะที่เกิดความเครียด กล้ามเนื้อส่วนต่างๆ ของร่างกายจะหดเกร็งและจิตใจจะวุ่นวายสับสน ดังนั้น เทคนิคการผ่อนคลายความเครียดส่วนใหญ่จึงเน้นการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ และการทำจิตใจให้สงบเป็นหลัก ซึ่งวิธีที่จะนำเสนอในที่นี้ จะเป็นวิธีง่ายๆ สามารถทำได้ด้วยตัวเอง 1. การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อที่ควรฝึกมี 10 กลุ่มด้วยกัน คือ 1. แขนขวา 2. แขนซ้าย 3. หน้าผาก 4. ตา แก้มและจมูก 5. ขากรรไกร ริมฝีปากและลิ้น 6. คอ 7. อก หลัง และไหล่ 8. หน้าท้อง และก้น 9. ขาขวา 10. ขาซ้าย วิธีการฝึกมีดังนี้ - นั่งในท่าสบาย - เกร็งกล้ามเนื้อไปทีละกลุ่ม ค้างไว้สัก 10 วินาที แล้วคลายออก จากนั้นก็เกร็งใหม่สลับกันไปประมาณ 10 ครั้ง ค่อยๆ ทำไปจนครบทั้ง 10 กลุ่ม - เริ่มจากการกำมือ และเกร็งแขนทั้งซ้ายขวาแล้วปล่อย - บริเวณหน้าผาก ใช้วิธีเลิกคิ้วให้สูง หรือขมวดคิ้วจนชิดแล้วคลาย - ตา แก้ม และจมูก ใช้วิธีหลับตาปี๋ ย่นจมูกแล้วคลาย - ขากรรไกร ริมฝีปากและลิ้น ใช้วิธีกัดฟัน เม้มปากแน่นและใช้ลิ้นดันเพดานโดยหุบปากไว้แล้วคลาย - คอ โดยการก้มหน้าให้คางจรดคอ เงยหน้าให้มากที่สุดแล้วกลับสู่ท่าปกติ - อก หลัง และไหล่ โดยหายใจเข้าลึกๆ แล้วเกร็งไว้ ยกไหล่ให้สูงที่สุดแล้วคลาย - หน้าท้องและก้น ใช้วิธีแขม่วท้อง ขมิบกันแล้วคลาย - งอนิ้วเท้าเข้าหากัน กระดกปลายเท้าขึ้นสูง เกร็งขาซ้ายและขวาแล้วปล่อย การฝึกเช่นนี้จะทำให้รับรู้ถึงความเครียดจากการเกร็งกล้ามเนื้อกลุ่มต่างๆ และรู้สึกสบายเมื่อคลายกล้ามเนื้อออกแล้ว ดังนั้น ครั้งต่อไปเมื่อเครียดและกล้ามเนื้อเกร็งจะได้รู้ตัว และรีบผ่อนคลายโดยเร็ว ก็จะช่วยได้มาก 2. การฝึกการหายใจ ฝึกการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลมบริเวณหน้าท้องแทนการหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าอก เมื่อหายใจเข้า หน้าท้องจะพองออก และเมื่อหายใจออก หน้าท้องจะยุบลง ซึ่งจะรู้ได้โดยเอามือวางไว้ที่หน้าท้องแล้วคอยสังเกตเวลาหายใจเข้าและหายใจออก หายใจเข้าลึกๆ และช้าๆ กลั้นไว้ชั่วครู่แล้วจึงหายใจออก ลองฝึกเป็นประจำทุกวัน จนสามารถทำได้โดยอัตโนมัติ การหายใจแบบนี้จะช่วยให้ร่างกายได้รับออกซิเจนมากขึ้น ทำให้สมองแจ่มใส ร่างกายกระปรี้กระเปร่า ไม่ง่วงเหงาหาวนอน พร้อมเสมอสำหรับภารกิจต่างๆ ในแต่ละวัน 3. การทำสมาธิเบื้องต้น เลือกสถานที่ที่เงียบสงบ ไม่มีใครรบกวน เช่น ห้องพระ ห้องนอน ห้องทำงานที่ไม่มีคนพลุกพล่าน หรือมุมสงบในบ้าน นั่งขัดสมาธิ เท้าขวาทับเท้าซ้าย มือชนกันหรือมือขวาทับมือซ้ายตั้งตัวตรง หรือจะนั่งพับเพียบก็ได้ตามแต่จะถนัด กำหนดลมหายใจเข้าออก โดยสังเกตลมที่มากระทบปลายจมูก หรือริมฝีปากบน ให้รู้ว่าขณะนั้นหายใจเข้าหรือออก หายใจเข้าท้องพอง หายใจออกท้องยุบ หายใจเข้านับ 1 หายใจออกนับ 1 นับไปเรื่อยๆ จนถึง 5 เริ่มนับใหม่จาก 1-6 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-7 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-8 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-9 แล้วพอ กลับมานับใหม่จาก 1-10 แล้วพอ ย้อนกลับมาเริ่ม 1-5 ใหม่ วนไปเรื่อยๆ ขอเพียงจิตใจจดจ่ออยู่กับลมหายใจเข้าออกเท่านั้น อย่าคิดฟุ้งซ่านเรื่องอื่น เมื่อจิตใจแน่วแน่จะช่วยขจัดความเครียด ความวิตกกังวล ความเศร้าหมอง เกิดปัญญาที่จะคิดแก้ไขปัญหาและเอาชนะอุปสรรคต่างๆ ในชีวิตได้อย่างมีสติ มีเหตุมีผล และยังช่วยให้สุขภาพร่างกายดีขึ้นด้วย 4. การใช้เทคนิคความเงียบ การจะสยบความวุ่นวายของจิตใจที่ได้ผล คงต้องอาศัยความเงียบเข้าช่วย โดยมีวิธีการดังนี้ - เลือกสถานที่ที่สงบเงียบ มีความเป็นส่วนตัว และควรบอกผู้ใกล้ชิดว่าอย่าเพิ่งรบกวนสัก 15 นาที - เลือกเวลาที่เหมาะสม เช่น หลังตื่นนอน เวลาพักกลางวัน ก่อนเข้านอน ฯลฯ -นั่งหรือนอนในท่าที่สบาย ถ้านั่งควรเลือกเก้าอี้ที่มีพนักพิงศีรษะอย่าไขว่ห้างหรือกอดอก - หลับตา เพื่อตัดสิ่งรบกวนจากภายนอก - หายใจเข้าออกช้าๆ ลึกๆ - ทำใจให้เป็นสมาธิ โดยท่องคาถาบทสั้นๆ ซ้ำไปซ้ำมา เช่น พุทโธ พุทโธ หรือจะสวดมนต์บทยาวๆ ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ เช่น สวดพระคาถาชินบัญชร 3-5 จบ เป็นต้น ฝึกครั้งละ 10-15 นาที ทุกวัน วันละ 2 ครั้ง แรกๆ ให้เอานาฬิกามาวางตรงหน้า และลืมตาดูเวลาเป็นระยะๆ เมื่อฝึกบ่อยเข้าจะกะเวลาได้อย่างแม่นยำ ไม่ควรใช้นาฬิกาปลุก เพราะเสียงจากนาฬิกาจะทำให้ตกใจเสียสมาธิ และรู้สึกหงุดหงิดแทนที่จะสงบ การปรับตัวเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต หาผู้ที่สามารถให้คำปรึกษาได้ อาจเป็นเพื่อน ครอบครัว คนใกล้ชิด ผู้ให้คำปรึกษา (Counselor) หรือจิตแพทย์ หลีกเลี่ยงการเผชิญหน้ากับปัญหาไปสักระยะหนึ่ง พยายามไม่คาดหวังในสิ่งต่าง ๆ มากจนเกินไป หลีกเลี่ยงการเกิดอารมณ์รุนแรง ออกกำลังกายทุกวัน สนใจศึกษาคำสอนของศาสนา เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ ปรับปรุงเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ขั้นตอน สู่การควบคุมความเครียด คิดในแง่ดี มีปัญหาเล่าสู่กันฟัง สร้างความรักความอบอุ่นในครอบครัว รักษาสุขภาพกายและจิตใจให้แข็งแกร่ง ฝึกเทคนิคคลายเครียดด้วยวิธีการต่างๆ วางแผนการบริหารจัดการเวลา จัดการสิ่งที่จัดการได้ก่อน เลือกสิ่งที่เป็นไปได้จริง ตัดสินใจอย่างฉลาด อยากรู้ว่าตัวเองกำลังเครียดหรือเปล่า? ทดลองทำแบบประเมินความเครียดออนไลน์ ที่จัดทำขึ้นโดยกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข ได้ที่ http://www.dmh.go.th/test/stress/asheet.asp?qid=HYPERLINK "http://www.dmh.go.th/test/stress/asheet.asp?qid=6"6

ภาวนาถ้าไม่รู้ทันจิตกิเลสหนังไม่ถลอกถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดูจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น

วันอาทิตย์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2558

จิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น

จิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของเธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

พระอริยะบุคคล พระอนาคามีเธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

ผู้รู้แจ้งแผ่นดินนี้มนุษย์โลกพร้อมเทวโลกบุคคลไม่ควรตามคิดถึงสิ่งที่ล่ว­งไปแล้วด้วยอาลัย, และไม่พึงพะวงถึงสิ่งที่ยังไม่ม­าถึงสิ่งเป็นอดีตก็ละไปแล้ว, สิ่งเป็นอนาคตก็ยังไม่มาผู้ใดเห­็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหน้าที่น­ั้นๆ อย่างแจ่มแจ้ง,ไม่ง่อนแง่นคลอนแ­คลน, เขาควรพอกพูนอาการเช่นนั้นไว้คว­ามเพียรเป็นกิจที่ต้องทำวันนี้, ใครจะรู้ความตายแม้พรุ่งนี้นะ เพราะการผัดเพี้ยนต่อมัจจุราชซึ­่งมีเสนามากย่อมไม่มีสำหรับเรา มุนีผู้สงบย่อมกล่าวเรียกผู้มีค­วามเพียรอยู่เช่นนั้น, ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันกลางคื­นว่า, "ผู้เป็นอยู่แม้เพียงราตรีเดียว ก็น่าชม"

ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันหากรรมฐานอย่างใดอย่างหนึ่งมาเป็นที่อยู่ของจิต



หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญ...ทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ "สักว่ารู้ สักว่าเห็น" หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา



หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญ...หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้วสติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา



ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจรอชาวบ้านสรรเสริญเป็นอารมณ์ของความชั่ว "พระพุทธเจ้าทรงให้รักษา กำลังใจ เป็นสำคัญว่าควบคุมกำลังใจให้ดีไว้แล้วมันดีเอง ไม่ต้องไปฟังคำชาวบ้านเขา การที่ เราดี เพราะรอให้ชาวบ้านสรรเสริญนั่นมันเป็นอารมณ์ของความชั่ว"

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์http://www.mcu.ac.th/mcutrai/menu2/Article/article_11.htm#top คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง http://metta.exteen.com,เมตตาธรรมค้ำจุนโลก "ธรรมบท" อุปมาเหมือน "ปิยมิตร" ผู้ซื่อสัตย์คอยชี้ทางแห่งความสุขและความเจริญ และคอยป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น คำสอนในคัมภีร์พระธรรมบทมีคุณค่าและเหมาะสมกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติศาสนา ดังนั้น ธรรมบทจึงได้ชื่อว่า "วรรณคดีโลก" (World Literature) http://www.youtube.com/watch?v=C3r5oSQOEbA ลักษณะแห่งความเป็นอันเดียวกันของศาสนาทุกศาสนา http://www.visalo.org/book/raluktung2.htm



พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐจากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้



โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกบุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดั­กไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้

รู้เฉยๆจะช่วยเผากิเลสได้อย่างไรถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

จึงมุ่งสู่ความหลุดพ้นถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช แสดงธรรม ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เทศนาเรื่อง จิตยิ้มถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช เทศนาเรื่อง จิตยิ้มถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช-รักสิ่งใดก็ทุกข์เพราะสิ่งนั้นถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

หลวงพ่อปราโมทย์ 1 #smotv100#ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

จิตหมดแรงดิ้นมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้ว­นะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้วสติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยัง­ไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต­่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได­้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้­จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา

วันเสาร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ธรรมที่เป็นไปเพื่อความสิ้นตัณหาและทุกข์ทั้งปวงถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง

คลิปรวมสารพัดไอเดียสุดเจ๋งเอาไว้ใช้ในชีวิตประจำวัน

ที่พึ่งใจ

เอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่ง] ภิกษุนั้นประกอบด้วยศีลขันธ์ อินทรียสังวร สติสัมปชัญญะและสันโดษอันเป็นอริยะเช่นนี้แล้ว ย่อมเสพเสนาสนะ อันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำ ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง ลอมฟาง ในกาลภายหลังภัต เธอกลับจากบิณฑบาตแล้ว นั่งคู้บัลลังก์ ตั้งกายตรง ดำรงสติเฉพาะหน้า เธอละความเพ่งเล็งในโลก มีใจปราศจากความเพ่งเล็งอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากความเพ่งเล็งได้ ละความประทุษร้ายคือพยาบาท ไม่คิดพยาบาท มีความกรุณาหวังประโยชน์แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากความประทุษร้ายคือพยาบาทได้ ละถีนมิทธะแล้ว เป็นผู้ปราศจากถีนมิทธะ มีความกำหนดหมายอยู่ที่แสงสว่าง มีสติสัมปชัญญะอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากถีนมิทธะได้ ละอุทธัจจะกุกกุจจะแล้ว เป็นผู้ไม่ฟุ้งซ่าน มีจิตสงบ ณ ภายในอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากอุทธัจจะกุกกุจจะได้ ละวิจิกิจฉาแล้ว เป็นผู้ข้ามวิจิกิจฉา ไม่มีความคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลายอยู่ ย่อมชำระจิตให้บริสุทธิ์จากวิจิกิจฉาได้. อุปมานิวรณ์ [๑๒๖] ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงกู้หนี้ไปประกอบการงาน การงานของเขาจะพึงสำเร็จผล เขาจะพึงใช้หนี้ที่เป็นต้นทุนเดิมให้หมดสิ้น และทรัพย์ที่เป็นกำไรของเขา จะพึงมีเหลืออยู่สำหรับเลี้ยงภริยา เขาพึงมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเรากู้หนี้ไปประกอบการงาน บัดนี้การงานของเราสำเร็จผลแล้ว เราได้ใช้หนี้ที่เป็นต้นทุนเดิมให้หมดสิ้นแล้ว และทรัพย์ที่เป็นกำไรของเรายังมีเหลืออยู่สำหรับเลี้ยงภริยา ดังนี้ เขาจะพึงได้ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีความไม่มีหนี้นั้นเป็นเหตุ ฉันใด. ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงเป็นผู้มีอาพาธ ถึงความลำบาก เจ็บหนัก บริโภคอาหารไม่ได้ และไม่มีกำลังกาย สมัยต่อมา เขาพึงหายจากอาพาธนั้น บริโภคอาหารได้ และมีกำลังกาย เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็นผู้มีอาพาธถึงความลำบาก เจ็บหนัก บริโภคอาหารไม่ได้ และไม่มีกำลังกาย บัดนี้ เราหายจากอาพาธนั้นแล้ว บริโภคอาหารได้ และมีกำลังกายเป็นปกติ ดังนี้ เขาจะพึงได้ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีความไม่มีโรคนั้น เป็นเหตุ ฉันใด. ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงถูกจำอยู่ในเรือนจำ สมัยต่อมา เขาพึงพ้นจากเรือนจำนั้นโดยสวัสดี ไม่มีภัย ไม่ต้องเสียทรัพย์อะไรๆ เลย เขาจะพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราถูกจองจำอยู่ในเรือนจำ บัดนี้ เราพ้นจากเรือนจำนั้นโดยสวัสดีไม่มีภัยแล้ว และเราไม่ต้องเสียทรัพย์อะไรๆ เลย ดังนี้ เขาจะพึงได้ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีการพ้นจากเรือนจำนั้นเป็นเหตุ ฉันใด. ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษจะพึงเป็นทาส ไม่ได้พึ่งตัวเอง พึ่งผู้อื่น ไปไหนตามความพอใจไม่ได้ สมัยต่อมา เขาพึงพ้นจากความเป็นทาสนั้น พึ่งตัวเอง ไม่ต้องพึ่งผู้อื่น เป็นไทยแก่ตัว ไปไหนได้ตามความพอใจ เขาจะพึงมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเราเป็นทาส พึ่งตัวเองไม่ได้ ต้องพึ่งผู้อื่น ไปไหนตามความพอใจไม่ได้ บัดนี้ เราพ้นจากความเป็นทาสนั้นแล้ว พึ่งตัวเอง ไม่ต้องพึ่งผู้อื่น เป็นไทยแก่ตัว ไปไหนได้ตามความพอใจ ดังนี้ เขาจะพึงได้ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีความเป็นไทยแก่ตัวนั้นเป็นเหตุ ฉันใด. ดูกรมหาบพิตร เปรียบเหมือนบุรุษ มีทรัพย์ มีโภคสมบัติ พึงเดินทางไกลกันดาร หาอาหารได้ยาก มีภัยเฉพาะหน้า สมัยต่อมา เขาพึงข้ามพ้นทางกันดารนั้นได้ บรรลุถึงหมู่บ้านอันเกษมปลอดภัยโดยสวัสดี เขาจะพึงมีความคิดเห็นอย่างนี้ว่า เมื่อก่อนเรามีทรัพย์ มีโภคสมบัติ เดินทางไกลกันดาร หาอาหารได้ยาก มีภัยเฉพาะหน้า บัดนี้ เราข้ามพ้นทางกันดารนั้น บรรลุถึงหมู่บ้านอันเกษม ปลอดภัยโดยสวัสดีแล้ว ดังนี้ เขาจะพึงได้ความปราโมทย์ ถึงความโสมนัส มีภูมิสถานอันเกษมนั้นเป็นเหตุ ฉันใด. ดูกรมหาบพิตร ภิกษุพิจารณาเห็นนิวรณ์ ๕ ประการเหล่านี้ ที่ยังละไม่ได้ในตนเหมือนหนี้ เหมือนโรค เหมือนเรือนจำ เหมือนความเป็นทาส เหมือนทางไกลกันดาร และเธอพิจารณา เห็นนิวรณ์ ๕ ประการที่ละได้แล้วในตน เหมือนความไม่มีหนี้ เหมือนความไม่มีโรค เหมือนการพ้นจากเรือนจำ เหมือนความเป็นไทยแก่ตน เหมือนภูมิสถานอันเกษม ฉันนั้นแล.

ความรู้ในความสิ้นทุกข์ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยัง พระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่ง เถิด นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ใน โรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตาม สบายเถิด ฯ ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคด้วยศรัทธา ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ในโรง ของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่าน ปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความ หนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกร ท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด ฯ ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรง ลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรง พระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่าน ปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรง พระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่า ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ฯ ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาค พระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุดังนี้ๆ พระผู้มี- *พระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้า บวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดา ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่ไหน ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือ เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่าน เห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ [๖๗๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้บวช อุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจัก กล่าวต่อไป ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ ฯ พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียก เขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั่น เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มี ธาตุ ๖ นั่น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดน สัมผัส ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัย อายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึก รูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้ง แห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ... ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหา แล้ว ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ... รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึก ธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วง นึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึก โทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความ หน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มี สัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ฯ ดูกรภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า ปฐวีธาตุภายใน ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น พึงเห็นปฐวีธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ และจะให้จิต คลายกำหนัดปฐวีธาตุได้ ฯ ดูกรภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน คืออาโปธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน ก็อาโป ธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น พึงเห็นอาโปธาตุนั้นด้วย ปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตา ของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุ ได้ ฯ ดูกรภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน คือ เตโชธาตุภายในก็มี ภาย นอกก็มี ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้ว ถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน ก็เตโชธาตุทั้งภายใน และภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตาม ความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็น แล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้ ฯ ดูกรภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน คือ วาโยธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไป ตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้า หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน ก็วาโยธาตุ ทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น พึงเห็นวาโยธาตุนั้นด้วยปัญญา ชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้ ฯ ดูกรภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบาย ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่น ไม่ว่าชนิด ไรๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อากาสธาตุ ภายใน ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น พึงเห็น อากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเราไม่ ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้ จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้ ฯ ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคล ย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุข บ้าง ดูกรภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ฯ ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้ สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไป สงบ เพราะไม้สองท่อนนั้นเองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ต่อนั้น สิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว ฯ ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือของนายช่างทอง ผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดู ไปเป็นระยะๆ ทองนั้นจะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อน สลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใดๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหู เครื่อง ประดับ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อม อุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และ เจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาล ยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญ- *จายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขา ของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌาน นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อ เป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน นั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน บุคคลนั้น ย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรม ควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่ หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า ทุกขเวทนา นั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า อทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็น ของสงบ ฯ ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่น ย่อมเป็น ประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อ เสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อ เสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และ รู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดี กันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึก อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความ หลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดูกรภิกษุ เพราะสิ่ง ที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความ ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคลนั้นแล ยังไม่ ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไว้ อุปธิเหล่านั้นเป็นอัน เขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีก ไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละ อย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคล นั้นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรม นั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วย ความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อย่างยิ่งประการนี้ ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็น อุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตาม รักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะ เรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ความสำคัญ ตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็น- *สัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็น สัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ดูกรภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนี ผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ข้อที่เรากล่าว ดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลส เครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและ กิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ ของเราไว้เถิด ฯ ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูล พระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้า แล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มี- *พระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด ฯ พ. ดูกรภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่ เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืนตามธรรม เราขอ รับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูกรภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้ นั่นเป็นความเจริญในอริยวินัย ฯ ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสมบทในสำนักของ พระผู้มีพระภาคเถิด ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ พ. ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบ อุปสมบทไม่ได้เลย ฯ ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้- *มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหา บาตรจีวรอยู่ ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตรชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มี- *พระภาคตรัสสอนด้วยพระโอวาทย่อๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติ อย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร ฯ พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุ ธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วน เบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็น ธรรมดา ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

เรื่องนี้คล้ายนิยายอิงธรรมะแต่เป็นเรื่องจริงสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรง- แวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้ว ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพัก อยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มี ความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้น อนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด. ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยศรัทธา. ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ ในโรงของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้า ไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ ถ้า ไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. ท่านปุกกุสาติ ตอบว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพัก ตามสบายเถิด. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก. แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน . ครั้งนั้น พระผู้มี- พระภาคเจ้าทรงพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควร ถามดูบ้าง. ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติ

การผลิตน้ำหมักชีวภาพ

ชีวาสยาม ช่วงที่1 ตามรอยพ่อ : น้ำหมักชีวภาพเพื่อรักษาสัตว์ที่เป็นโรค

ธรรมที่พอเหมาะกับคนธรรมดาทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ "สักว่ารู้ สักว่าเห็น" หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ "สักว่ารู้ สักว่าเห็น" หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ "สักว่ารู้ สักว่าเห็น" หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา

ความจริงมีแต่กิเลสและทุกข์เท่านั้นเองทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ "สักว่ารู้ สักว่าเห็น" หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา

จำหน่าย อุปกรณ์ ซ่อม สร้าง เครื่องควบคุม เครื่องจักรและมอเตอร์ไฟฟ้า.

วงจรเครื่องส่งพลังงานไฟฟ้า

การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสด้วยแสงLDR : Light Dependent Resistor) แอลดีอาร์ (LDR : Light Dependent Resistor) คือ ความต้านทานชนิดที่ไวต่อแสง กล่าวคือ ตัวความต้านทานนี้สามารถเปลี่ยนสภาพทางควา­มนำไฟฟ้า ได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ บางครั้งเรียกว่าโฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo Resistor) หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์ (Photo Conductor) เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide) หรือแคดเมี่ยมซิลินายส์ ( CdSe : Cadmium Selenide) ซึ่งทั้งสองตัวนี้ก็เป็นสารประเภทกึ่งตัวน­ำ เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็นฐานรองแ­ล้วต่อขาจากสารที่ฉาบ ไว้ออกมา

วันศุกร์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ปฐมสังคายนา

พุทธศักราช 2558 ภัยในอนาคต ๕ ประการ จาก ปฐมอนาคตสูตร และพระสูตร อื่น

เราพากันมาสำรวมจิตกันเถิด จิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่ง­ที่มั...สมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ พระราชนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย คำนำ ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอวิงวอน และร้องขอเชิญชวน ผู้ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานทั้งหลาย ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานในพุทธศาสนา จงสอนให้ยึดมั่นแนวเดียวกัน อย่าสอนไปคนละแบบต่างๆกัน จะเป็นทางหายนะแก่พระพุทธศาสนา จงสงสารผู้หวังดีกับพระพุทธศาสนาที่ตั้งใจเข้ามาปฏิบัติ เมื่อมาเห็นเช่นนั้นเข้าแล้วเลยท้อแท้ใจ อนึ่ง คนภายนอกพระพุทธศาสนาเขาจะเห็นไปว่า พระพุทธศาสนานี้สอนมีหลายทางหลายแบบ ไม่เป็นอันเดียวกัน ท่านทั้งหลายคงได้ดูตำรับตำราทางพระพุทธศาสนามากแล้วมิใช่หรือ พระพุทธศาสนาสอนให้เข้าถึงจิตถึงใจอันเดียว กิเลสทั้งหลายเกิดจากจิต จิตเป็นผู้ยึดเอากิเลสมาไว้ที่จิต จิตจึงเศร้าหมอง เมื่อจิตเห็นโทษของกิเลสแล้ว สละถอนกิเลสออกจากจิตได้แล้ว จิตก็ผ่องใสบริสุทธิ์ นี่เป็นหลักพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าสอนอย่างนี้มิใช่หรือ ถึงผู้จะเข้าสู่อริยภูมิ ก็ต้องเข้าถึงจิตเป็นหนึ่ง เรียกว่า มัคคสมังคี จิตรวมศีลสมาธิปัญญา เข้ามาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงจะเข้าถึงอริยภูมิได้ ปัญญาค้นคว้าหาเหตุผลของกิเลสนั้นๆ จนรู้ชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตนเองแล้ว นั่งอยู่ในที่เดียวนั้นก็เว้นจากความชั่วนั้นๆ ได้หมดจดสิ้นเชิง แล้วจิตก็แน่วแน่นลงเป็นสมาธิไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนไปไหน หมดจากโทษนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น ปัญญาความรู้เห็นโทษในกิเลสนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น แล้วรวมลงแน่วแน่นลงสู่ในที่เดียว ก็จิตดวงนั้น แลต้องตามไปละถอนในที่ต่างๆ อยู่เฉพาะในที่เดียวในขณะจิตเดียว จิตของพระอริยเจ้าแต่ละขั้นจะเข้าถึงมัคคสมังคี รวมเป็นศีลสมาธิปัญญา เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันดังนี้ แล้วจิตนั้น ก็ไม่ได้กลับเป็นอย่างนั้นอีก เมื่อถอนออกมาก็จะวิ่งไปตาม กามาพจรญาณสัมปยุต รู้เห็นตามวิสัยของกามาพจรทุกประการ แต่มีญาณ เป็นเครื่องรู้ตามเป็นจริง มิได้หลงไปตามอารมณ์นั้นๆ อย่างปุถุชนธรรมดา จงพากันมาทำความถูกต้องตามพุทธวจนะของพระองค์ อย่าพากันถือเอาคนนิยมมากเป็นประมาณ จงถือความถูกต้องเป็นหลักเกณฑ์ ครั้งพุทธกาล ครูทั้งหกมีสัญชัยปริพาชก เป็นต้น ก็มีคนนับถือมากมิใช่น้อย ในปัจจุบันนี้ ไสบาบา ดั่งเราเห็นอยู่ ซึ่งสอนให้สะสมกิเลส แต่คนก็ยังนับถือมาก ฉะนั้น ขอเชิญชวนท่านที่ปฏิบัติกัมมัฏฐานทั้งหลาย พึงพิจารณาตนเองว่า เราปฏิบัติอยู่ในแนวใด ถูกต้องตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วหรือยัง ถ้าไม่ถูกจงรีบแก้ไขให้ถูกต้องเสีย ก่อนจะสายเกินไป เราถือพระพุทธศาสนา เพื่อเทิดทูนบำรุงให้ศาสนารุ่งเรือง ได้มาปฏิบัติทำกัมมัฏฐานนี้ เป็นทางตรงต่อมรรคผลนิพพานโดยแท้ โดยเฉพาะพระภิกษุเราผู้เผยแพร่พระพุทธศาสนาควรสังวรระวังอย่างยิ่ง ผู้เขียนไม่มีความสามารถที่จะชี้แจงให้ท่านทั้งหลายเข้าใจลึกซึ้งกว่านี้ ถ้าท่านผู้ใดมีความสามารถชี้แจงให้เข้าใจได้แจ่มแจ้งกว่านี้ได้แล้ว ขอเชิญเถิด ผู้เขียนขออนุโมทนาด้วยอย่างยิ่ง ทุกๆคนคงมีความปรารถนา ที่จะให้พระพุทธศาสนาดำรงถาวรสืบต่อไป พระนิโรธรังสี

ผู้สดุ้งกลัวบาปเพียรเผากิเลสแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาย่อมไม่มี ฝนต่างหากเป็นสระยอดเยี่ยม ฯ ... ส่วนปัญญาย่อมสามารถเพื่อทำโลกธาตุตั้งหมื่นให้เป็นแสงสว่าง อันประเสริฐ หาสิ่งอื่นเสมอมิได้

แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาย่อมไม่มี ฝนต่างหากเป็นสระยอดเยี่ยมแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาย่อมไม่มี ฝนต่างหากเป็นสระยอดเยี่ยม ฯ ... ส่วนปัญญาย่อมสามารถเพื่อทำโลกธาตุตั้งหมื่นให้เป็นแสงสว่าง อันประเสริฐ หาสิ่งอื่นเสมอมิได้

พุทธศักราช 2558 ภัยในอนาคต ๕ ประการ จาก ปฐมอนาคตสูตร และพระสูตร อื่น

แบตเตอรี่สองลูกใช้กับมอเตอร์สามเฟส220/380หนึ่งแรงม้า เมื่อวันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน 2558 ท่านนายกรัฐมนตรี พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้กล่าวในรายการ “คืนความสุขให้คนในชาติ” มีเนื้อหาสรุปความตอนหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับบทความมีดังนี้ "...วันนี้โลกก้าวหน้าเร็ว เพราะฉะนั้นเรื่องเทคโนโลยี เรื่องความทันสมัยก็เข้ามาเร็ว ขณะที่บ้านเรา คนมีรายได้น้อยยังมีมากอยู่ เพราะฉะนั้นสิ่งของเหล่านี้ ทางคนขายก็อยากจะขายให้ได้มากๆ มีมาตรการมากมายออกมาจูงใจ ทั้งการลดราคา สามารถผ่อนส่งได้ อะไรก็ได้ นี่คือปัญหาหนี้ครัวเรือน เพราะฉะนั้นทุกบริษัท ทุกอะไรก็ต้องมาช่วยกันว่า เราจะช่วยชาติกันอย่างไรตอนนี้ ไม่ใช่ว่าต่างคนก็ต่างมุ่งหวังทำเพื่อให้เกิดรายได้กับตัวเอง กับบริษัทหรือกับกิจการของตัวเองให้มากที่สุด มีการไปหาวิธีการต่างๆ เช่น การออกบัตรเครดิตทีละหลายๆ ใบให้บุคคลคนเดียว จนคนคนนั้นอาจจะไม่มีความสามารถในการชดใช้หนี้ได้ อันนั้นมันก็จะกลายเป็นหนี้ เอ็นพีแอล คราวนี้ถ้าเกิด เอ็นพีแอล ขึ้นมากๆ รัฐบาลก็ต้องเข้ามาดูแลอีก จะดูอย่างไร ถ้ามันมากเกินไป วันนี้เวลานี้ รัฐบาลอยากจะขอให้ช่วยรัฐบาลบ้าง คืออะไรต่างๆ ก็ตามที่จะทำให้ประชาชนนั้นเกิดการอดออมไว้บ้างก็ควรคิด ควรทำได้แล้ว ไม่ใช่ประชาชนเขามีรายได้เท่าไหร่ก็พยายามให้เขานำเงินนั้นมาใช้ทั้งหมด พยายามหาวิธีการทุกอย่างเพื่อจะให้ประชาชนมาทำบัตรเครดิต มาทำประกัน หรือมาทำอะไรมากๆ จนเกินกำลังของเขาเหล่านั้น จริงอยู่มันก็ได้อย่างเสียอย่าง ธุรกิจของท่านก็ดี ปันผลผู้ถือหุ้นก็ดี แต่ดีแน่นอนถ้าหากว่าคนข้างล่างหรือคนที่เขาเป็นหนี้ท่าน เขามีเงินใช้จ่าย ไม่มาเป็นหนี้เอ็นพีแอล ในวันหน้าถ้าใช้หนี้ไม่ได้ก็มาฆ่าตัวตายกันอะไรกัน เพราะใช้หนี้ไม่ได้ ถูกทวงหนี้นอกระบบ ปัญหาแบบนี้มันโยงกันหมด ถ้าทุกคนเอาประโยชน์กันหมดแต่ผลักให้รัฐบาลต้องแบกรับภาระทั้งหมด มันจะเป็นอย่างไรล่ะ เราจะทำกันแบบนี้หรือ ผมว่าเราต้องเรียนรู้ว่าจะช่วยกันอย่างไร ในเรื่องของการสนับสนุนส่งเสริมซึ่งกันและกัน รัฐบาลไม่เคยสบายใจตราบใดที่เศรษฐกิจยังเป็นอยู่อย่างนี้ ตั้งแต่วันแรก จนถึงวันนี้ รัฐบาลก็ไม่สบายใจในเรื่องนี้เป็นเรื่องหลัก เรื่องเศรษฐกิจ แล้วก็เรื่องคนที่มีรายได้น้อย มีหนี้ มีภาระที่ยากต่อการดำเนินชีวิต ผมเห็นพวกเขาลำบากมานานแล้วด้วยตั้งแต่ก่อนผมเป็นนายกรัฐมนตรีอีก..." นอกจากประเด็นหลักแล้ว ท่านนายกรัฐมนตรีได้กล่าวต่ออีกว่า "....ผมย้ำทุกอย่างว่า ให้นำหลักการของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว คือปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาทั้งสิ้น คือต้องมีเหตุมีผล มีความพอดีพอประมาณ ท้ายสุดคือมีภูมิคุ้มกันที่ดี สำหรับภูมิคุ้มกันที่ดีก็คือว่า จะทำอะไรต่อไปก็คิดทบทวนให้ดี มีความรู้ มีคุณธรรม เราพร้อมหรือยัง ถ้าพร้อมก็ทำต่อ ถ้าไม่พร้อมก็อย่าเพิ่ง ก็ทำให้พอเพียงไปก่อนโดยใช้เงินอย่างพอประมาณมีเหตุมีผล วันนี้ท่านที่เป็นลูกหลานก็ต้องเข้าใจคุณพ่อคุณแม่ด้วย เพราะบางทีพ่อแม่เราก็ไม่ได้ร่ำรวยเหมือนกับคนอื่นใครเขา แต่เราดันอยากได้ใคร่มีของเหมือนเพื่อนเขา...อันนี้ผมคิดว่าสำคัญที่สุด ท่านนายกรัฐมนตรีของรัฐบาลได้พูดจากใจในนามคนทำงานเพื่อบ้านเพื่อเมืองแล้ว เราๆ ท่านๆ ที่เป็นคนไทย เป็นพลเมืองไทยที่กำลังจะเป็นใหญ่ตามรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ สมควรทำเรื่องเล็กๆ ได้แล้วในเวลานี้คือ ช่วยรัฐบาลไทยด้วยการดำเนินธุรกิจการค้าด้วยความเป็นธรรม นึกถึงใจเขาใจเรา คำนึงถึงบ้านถึงเมือง ก่อนคิดถึงเรื่องกำไรของกิจการ เพราะถ้าทำกัน กินกัน กอบโกยจนไม่เหลือประเทศไทยแล้ว เราก็ไม่ต่างกับคนไร้รัฐที่ทุกชาติกำลังแก้ปัญหาการอพยพ การค้ามนุษย์เฉกเช่นทุกวันนี้...

วันพฤหัสบดีที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เชิญชมคลิปพิสูจน์ นายก ประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นคนตลกจริงหรือเผยแพร่เมื่อ 26 พ.ค. 2015 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้สั่งการในที่ประชุม ครม.ว่า ได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมอุตุนิยมวิทยา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัยดูแลเรื่องภัย­แล้ง ซึ่งได้รับรายงานว่าปีนี้ฝนจะตกนอกพื้นที่­แหล่งรับน้ำหรืออ่างเก็บน้ำ พื้นที่การเกษตร มีการประกาศพื้นที่ภัยแล้งแล้ว 37 จังหวัด 250 อำเภอ ซึ่งนายกฯได้แสดงความเป็นห่วงต่อพี่น้องปร­ะชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกร จึงได้สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตร­ียมการให้ข้อมูลต่อประชาชน รวมทั้งส่งเสริมให้หับเกษตรกรเตรียมการในก­ารเพาะปลูก ทั้งในเขตชลประทาน และนอกเขตชลประทาน นอกจากนี้ยังให้แนวคิดเพิ่มเติม ในการตรวจสอบแผนบริหารจัดการน้ำ ว่ามีความสอดคล้องกับพื้นที่ที่จะเกิดภัยแ­ล้งหรือไม่ และต้องการให้หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น ช่วยกันจัดเตรียมแหล่งน้ำของตัวเอง เพื่อสำรองไว้ใช้ในการเพาะปลูก ------------------------- เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News) 27 พฤษภาคม 2558 โดย สรยุทธ , น้องไบรท์ พิชญทัฬห์ , เอกราช ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้­ที่นี่ เรื่องเล่าเช้านี้.com : http://morning-news.bectero.com facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3 Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3

เรื่องเล่าเช้านี้ นายกฯเตือนเกษตรกรรับมือภัยแล้ง (27 พ.ค.58)เผยแพร่เมื่อ 26 พ.ค. 2015 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีได้สั่งการในที่ประชุม ครม.ว่า ได้มอบหมายให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กรมอุตุนิยมวิทยา กรมป้องกันและบรรเทาสาธารภัยดูแลเรื่องภัย­แล้ง ซึ่งได้รับรายงานว่าปีนี้ฝนจะตกนอกพื้นที่­แหล่งรับน้ำหรืออ่างเก็บน้ำ พื้นที่การเกษตร มีการประกาศพื้นที่ภัยแล้งแล้ว 37 จังหวัด 250 อำเภอ ซึ่งนายกฯได้แสดงความเป็นห่วงต่อพี่น้องปร­ะชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเกษตรกร จึงได้สั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเตร­ียมการให้ข้อมูลต่อประชาชน รวมทั้งส่งเสริมให้หับเกษตรกรเตรียมการในก­ารเพาะปลูก ทั้งในเขตชลประทาน และนอกเขตชลประทาน นอกจากนี้ยังให้แนวคิดเพิ่มเติม ในการตรวจสอบแผนบริหารจัดการน้ำ ว่ามีความสอดคล้องกับพื้นที่ที่จะเกิดภัยแ­ล้งหรือไม่ และต้องการให้หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น ช่วยกันจัดเตรียมแหล่งน้ำของตัวเอง เพื่อสำรองไว้ใช้ในการเพาะปลูก ------------------------- เรื่องเล่าเช้านี้ (Morning News) 27 พฤษภาคม 2558 โดย สรยุทธ , น้องไบรท์ พิชญทัฬห์ , เอกราช ติดตามความเคลื่อนไหวข่าวสารได้ก่อนใครได้­ที่นี่ เรื่องเล่าเช้านี้.com : http://morning-news.bectero.com facebook : https://www.facebook.com/MorningNewsTV3 Twitter : https://twitter.com/MorningNewsTV3

เรื่องเล่าเช้านี้ นายกฯเตือนเกษตรกรรับมือภัยแล้ง (27 พ.ค.58)

จิตยอมรับสภาพความเป็นจริงการปฏิบัติธรรมสำคัญอยู่ที่การทำจิตให้มีส­ิ่งรู้ ทำสติให้มีสิ่งระลึก การภาวนาพุทโธก็ทำพุทโธให้เป็นสิ่งรู้ของจ­ิต เป็นสิ่งระลึกของสติ การภาวนายุบหนอ-พองหนอ ก็ทำยุบหนอ-พองหนอให้เป็นสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ การภาวนาสัมมาอรหัง ก็ทำสัมมาอรหังเป็นสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ ทั้งหลายเหล่านี้ หรืออย่างอื่นๆก็ตาม ใครภาวนาแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ก็ต้องทำจิตให้เป็นวิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาเหมือนกัน

เราจะรู้แจ้งในจิตของเราในขณะจิตเดียวอานิสงส์ของการจำคำพระศาสดาได้ แล้วไปเกิดเป็นเทวดา แม้สติเกิดช้า แต่การบรรลุธรรมย่อมเกิดได้ในเร็วพลัน

ศาสตร์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ทั้งหมดสอนกันไม่มีที่สิ้นสุด“อุปฺปาทา วา ภิกฺขเว ตถาคตานํ อนุปฺปาทา วา” เป็นต้น แปลความว่า “ภิกษุทั้งหลาย ... ก็ยังมีอยู่ พระตถาคตเจ้าย่อมตรัสรู้ทั่วถึงซึ่งธาตุอันนั้นแล้วบอก แสดง บัญญัติ แต่งตั้ง เปิดเผย จำแนก ... หรือเพิ่มเติมอื่นใด สิ่งที่ศาสตร์ทั้งหลายค้นพบย่อมจะนำไปสู่ความจริงเดียวกัน นั่นคือสัจธรรม ..... ในโลกนี้ไม่มีอะไรอยู่ได้ด้วยตัวลำพังของมันเอง เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนั้นก็มี เมื่อสิ่งนี้เกิด

ความจริงมีแต่กิเลสและทุกข์เท่านั้นเองในเมื่อจิตเห็นทุกข์คือจิตร้อน เพราะไฟโลภะ โทสะ โมหะ ผู้ปฏิบัติควรจะทำอย่างไร เราจะไล่ความร้อนของไฟโลภะ โทสะ โมหะ ให้หายไปอย่างนั้นหรือ เราไม่มีทางจะไปตั้งใจไล่ เพราะจิตของเราเกิดความชินชาต่อการปรุงกิเลส ให้เกิดไฟโลภะ โมหะ โทสะ แล้วถ้าไม่มีทางที่จะขับไล่ ไม่มีทางที่จะละ เราจะทำอย่างไร เราก็ทำสติกำหนดรู้ คือรู้ว่ามันเป็นไฟโลภะ โทสะ โมหะ รู้ว่าฤทธิ์ของโลภะ โทสะ โมหะ มันทำจิตให้ร้อน ให้ดูความร้อนที่มีอยู่ในจิต ดูความเย็นที่มีอยู่ในจิต จนกระทั่งจิตรู้ซึ้งเห็นจริงลงไป แล้วจิตยอมรับความเป็นจริงว่า ฤทธิ์ของโลภะ โทสะ โมหะนี้เป็นไฟเผาให้ร้อน มันร้อนอย่างนี้หนอ เมื่อจิตยอมรับความจริงแล้วก็เกิดความเข็ดหลาบในตัวของมันเอง ภายหลังมันก็จะไม่สร้างเหตุเดือดร้อนให้เกิดขึ้นมาอีก เปรียบเหมือนคนเรา ที่เราว่าถ่านไฟมันร้อน เมื่อมีใครนำถ่านไฟร้อนมาวางไว้ตรงหน้าเรา แล้วบอกกับเราว่า ดูซิ ถ่านไฟนี้มันสวย ดูซิมันเย็น แต่เรารู้แล้วว่าถ่านไฟนี้มันร้อน เราก็จะไม่ไปจับถ่านไฟนั้น ในทำนองเดียวกัน ในเมื่อจิตมันรู้ฤทธิ์ของโลภะ โทสะ โมหะ อย่างแท้จริงแล้ว ยอมรับสภาพความเป็นจริงแล้ว มันก็จะไม่ก่อเรื่องให้เกิด โลภะ โทสะ โมหะ ขึ้นมาอีก มีแต่ค่อยพิจารณาปลดเปลื้องโลภะ โทสะ โมหะ ของเก่าที่มีอยู่ให้ลดน้อยลง เบาบางลงไป การปฏิบัติธรรมสำคัญอยู่ที่การทำจิตให้มีสิ่งรู้ ทำสติให้มีสิ่งระลึก การภาวนาพุทโธก็ทำพุทโธให้เป็นสิ่งรู้ของจิต เป็นสิ่งระลึกของสติ การภาวนายุบหนอ-พองหนอ ก็ทำยุบหนอ-พองหนอให้เป็นสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ การภาวนาสัมมาอรหัง ก็ทำสัมมาอรหังเป็นสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ ทั้งหลายเหล่านี้ หรืออย่างอื่นๆก็ตาม ใครภาวนาแล้ว เมื่อจิตเป็นสมาธิ ก็ต้องทำจิตให้เป็นวิตก วิจาร ปีติ สุข และเอกัคคตาเหมือนกัน สมาธิเป็นสัจธรรม เป็นของจริง ในเมื่อสัจธรรมของจริงคือสมาธิมีอยู่ ใครจะรู้แตกต่างกัน ไม่เหมือนกัน เป็นไปไม่ได้ เพราะฉะนั้น นักปฏิบัติธรรมทั้งหลายอย่าไปยึดมั่นอยู่เพียงวิธีการเท่านั้น ขอให้ทุกท่านพิจารณาดูความจริงที่จะเกิดขึ้นภายในจิตใจของเรา ในขณะที่เราภาวนา สมาธินี้เป็นของจริง ใครจะภาวนาแบบไหน อย่างไร จะเกิดมีแนวโน้มเป็นอย่างเดียวกันทั้งหมด และขอเตือนไว้อีกอย่างหนึ่งว่า การรู้ด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ คือ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ธรรมารมณ์ก็ดี สิ่งที่เราเห็นในระหว่างจิตมีสมาธิ สงบ สว่าง เราเห็นนิมิตต่างๆ เกิดอุทานธรรมขึ้นมาก็ดี สิ่งนั้นเป็นเพียงสิ่งรู้ของจิต สิ่งระลึกของสติ เมื่อเหตุการณ์เหล่านั้นเกิดขึ้นแล้วให้เราทำสติไว้ให้ดี

กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่ากิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสั...

วันพุธที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2558

กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสั...

ผู้ไม่มีร่องรอยกิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

รอยเท้านกในอากาศกิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

วิธีผลิตไฟฟ้า3เฟส จากไฟฟ้า เฟสเดียว เพื่อควบคุมความเร็วมอเตอร์ 3 เฟสข้อดีของการใช้อุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเต­อร์ - การสตาร์ทที่นุ่มนวล (Soft Start) - ไม่มีการกระชากของกระแส (Inrush Current) - สามารถปรับอัตราเร่งและอัตราหน่วงได้ (Adjustable Acceleration and Deceleration time) - สามารถควบคุมได้จากระยะไกล (Remote Control) - สามารถควบคุมการทำงานโดยกต่อเชื่อมกับคอมพ­ิวเตอร์ - มีระบบ Protection - ประหยัดพลังงาน (Energy Saving) - ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุง (Reduce Maintenance Cost)

ถ้าหยุดการปรุงแต่งจิตไม่ได้สุดท้ายจะเป็นบ้าเอาถ้าเราจะกลับมานั้นไม่ยาก..หมายความว่าเรา­หลงไป.. สุดท้่าย จะเป็นบ้าเอา..ให้..กลับมาดูจิตของเรา.ธรร­มชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแว­­บเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั­­้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแ­­ม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้นเวลาภาวนาอย่าส่งจิตออกนอก ความรู้อะไรทั้งหลาย อย่าไปยึด ความรู้ที่เราเรียน กับตำรา หรือครูอาจารย์ อย่าเอามายุ่งเลย ให้ตัดอารมณ์ ออกให้หมด แล้วเวลาภาวนาไปให้มันรู้ รู้จากจิตของเรานี่แหละ จิตของเราสงบ เราจะรู้เอง ต้องภาวนาให้มากๆ เข้า เวลามันจะเป็น จะเป็นของมันเอง แล้วก็ความรู้อะไรๆ ให้มันออกมาจากจิตของเรา ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอ­กเราสามารถเพียงแต่ทำจิตของเราสงบ แม้ที่น้อยที่สุด ไม่ให้จิตเคลื่อนไหว แม้ที่น้อยที่สุดให้ได้ จิตของเราก็จะสงบ เมื่อจิตของเราสงบแล้ว กุศลธรรมทั้งปวงก็รวมอยู่ในจิตที่สงบนั้นเอง เพราะฉะนั้นนักปฏิบัติต้องปฏิบัติอะไร คือปฏิบัติจิตนั้นเอง คือทำจิตให้สงบ ทำจิตให้สว่าง ทำจิตให้บริสุทธิ์ จิตบริสุทธิ์ก็คือความสงบนั่นเอง เบื้องต้นที่จะทำจิตให้สงบก็ไม่มีอะไรมากมาย คือภาวนา การภาวนาก็ไม่เอาอะไรมากมายนัก เอาพุทโธอย่างเดียวก็พอแล้ว ก่อนที่จะภาวนา เราต้องตัดอารมณ์ข้างนอกออกให้หมดเสียก่อน คือไม่ส่งอารมณ์ออกไปนอก อารมณ์ที่ส่งไปนอกไปหาปรุง หาแต่ง ไปหาก่อหาเกิดไม่มีที่สิ้นสุด จิตของเราไม่สงบ เพราะฉะนั้นก่อนที่จะภาวนาเราต้องตัดอารมณ์ออกให้หมด ไม่ต้องส่งจิตไปนอก หันมาดูจิตของเรา อยู่ในจิตของเรา ตั้งสติอยู่ในจิต แล้วก็บริกรรม ให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธอย่างเดียวก็พอแล้ว แต่ว่าให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ไม่ต้องว่ากับปาก วิธีนั่งบริกรรม นั่งขัดสมาธิก็ได้ นั่งพับเพียบก็ได้ เอาตีนขวาทับตีนซ้าย ตั้งกายให้ตรง แล้วก็หลับตา แล้วก็ดูจิต คือผู้รู้นั้นเอง จิตผู้รู้มีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน ไม่ต้องไปหาที่อื่น ตั้งจิตอยู่ในจิต ตั้งสติอยู่ในจิต ให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ไม่เอาอะไรมากมายเอาพุทโธอย่างเดียว แล้วบริกรรมพุทโธ พุทโธ พุทโธไป จนจิตของเรามันสงบ ในการบริกรรมพุทโธ ผู้บริกรรมพุทโธอยู่ตรงไหน ตั้งสติอยู่ตรงนั้น ให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ไม่ต้องว่ากับปาก ตาของเราหลับ แล้วให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ตั้งสติอยู่ตรงนั้นบริกรรมเรื่อยไป เวลามันสงบเราจะรู้เอง คือจิตมันรวม มันรวมวูบลง แล้วก็จิตมีอารมณ์อันเดียว นั่นมันสงบแล้ว แล้วถ้าจิตสงบแล้วเราไม่ต้องบริกรรมต่อไป จิตกำหนดอยู่เฉยๆ หมายถึงว่า จิตหลุดจากคำบริกรรมไป นั่นจิตมันรวม จิตมันสงบ แล้วเราก็ไม่ต้องหันมาบริกรรมอีก ความสงบอยู่ไหนก็ตั้งสติอยู่นั้น แล้วกำหนดดูอาการของสมาธินั้นเป็นอย่างไร แล้วก็ต้องจำให้ชัดเจน จิตของเราสงบแล้ว นี่ให้รู้จักว่าจิตของเราสงบแล้ว กุศลธรรมทั้งหลายทั้งปวงก็ไปรวมอยู่ที่จิตที่สงบนั้นเอง ที่สูงสุดอยู่ตรงนี้ หาที่อื่นไม่พบ จิตที่สงบนั้นคือตัวบุญ เราต้องจำให้ชัด เวลาเรารู้ เรารู้เอง มันผุดขึ้นมาในจิตของเราให้รู้เฉพาะตน นั่นละตัวบุญที่แท้จริง แล้วไปหาที่อื่นไม่พบหรอกบุญ ต้องหาจากจิตจากใจของเรา ถ้าจิตของเราสงบ บุญเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องไปหาที่อื่น หาที่อื่นก็ไม่พบ บุญกับบาปก็ประจำอยู่แล้วทุกๆคนนั่นแหละ แต่บุญคือความสุข บาปคือความทุกข์ ทำจิตของเราให้สงบแล้ว หมายความว่าเราทำบุญเกิดแล้ว จิตไม่มีตัวตนอะไรหรอก แต่มันมีประจำอยู่แล้วในคนทุกๆคน จิตก็คือพุทธะ พุทธะคือจิต จิตคือพุทธะสิ่งสูงสุด ย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งลงในตัวมันทั้งหมด นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลาย เป็นที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ทั้งสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด แล้วทุกๆสิ่งนี้เนื้อหาเป็นอันเดียวกับจิตหนึ่งนั้น ดังนั้นสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็มีเนื้อหาเป็นอันเดียวกันกับพุทธะอยู่แล้วตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองนี้ให้สงบ เราค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น มันก็ไม่มีอะไรที่เราจะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานี้ถ้าเราทำความสงบอยู่จริงๆ เว้นจากความคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้น้อยที่สุดเสียได้จริงๆ คล้ายๆกับมันจะปรากฏออกมาเป็นของว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป ไม่กินเนื้อที่อะไร อะไร แม้แต่จุดเดียว และเป็นสิ่งที่มีความเป็นอยู่หรือไม่มีความเป็นอยู่แม้แต่ประการใด

เบื้องต้นก็ภาวนาพุทโธธัมโมสังโฆแล้วก็พุทโธพุทโธถ้าเราจะกลับมานั้นไม่ยาก..หมายความว่าเรา­หลงไป.. สุดท้่าย จะเป็นบ้าเอา..ให้..กลับมาดูจิตของเรา.ธรร­มชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแว­­บเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั­­้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแ­­ม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้นเวลาภาวนาอย่าส่งจิตออกนอก ความรู้อะไรทั้งหลาย อย่าไปยึด ความรู้ที่เราเรียน กับตำรา หรือครูอาจารย์ อย่าเอามายุ่งเลย ให้ตัดอารมณ์ ออกให้หมด แล้วเวลาภาวนาไปให้มันรู้ รู้จากจิตของเรานี่แหละ จิตของเราสงบ เราจะรู้เอง ต้องภาวนาให้มากๆ เข้า เวลามันจะเป็น จะเป็นของมันเอง แล้วก็ความรู้อะไรๆ ให้มันออกมาจากจิตของเรา ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอ­กเราสามารถเพียงแต่ทำจิตของเราสงบ แม้ที่น้อยที่สุด ไม่ให้จิตเคลื่อนไหว แม้ที่น้อยที่สุดให้ได้ จิตของเราก็จะสงบ เมื่อจิตของเราสงบแล้ว กุศลธรรมทั้งปวงก็รวมอยู่ในจิตที่สงบนั้นเอง เพราะฉะนั้นนักปฏิบัติต้องปฏิบัติอะไร คือปฏิบัติจิตนั้นเอง คือทำจิตให้สงบ ทำจิตให้สว่าง ทำจิตให้บริสุทธิ์ จิตบริสุทธิ์ก็คือความสงบนั่นเอง เบื้องต้นที่จะทำจิตให้สงบก็ไม่มีอะไรมากมาย คือภาวนา การภาวนาก็ไม่เอาอะไรมากมายนัก เอาพุทโธอย่างเดียวก็พอแล้ว ก่อนที่จะภาวนา เราต้องตัดอารมณ์ข้างนอกออกให้หมดเสียก่อน คือไม่ส่งอารมณ์ออกไปนอก อารมณ์ที่ส่งไปนอกไปหาปรุง หาแต่ง ไปหาก่อหาเกิดไม่มีที่สิ้นสุด จิตของเราไม่สงบ เพราะฉะนั้นก่อนที่จะภาวนาเราต้องตัดอารมณ์ออกให้หมด ไม่ต้องส่งจิตไปนอก หันมาดูจิตของเรา อยู่ในจิตของเรา ตั้งสติอยู่ในจิต แล้วก็บริกรรม ให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธอย่างเดียวก็พอแล้ว แต่ว่าให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ไม่ต้องว่ากับปาก วิธีนั่งบริกรรม นั่งขัดสมาธิก็ได้ นั่งพับเพียบก็ได้ เอาตีนขวาทับตีนซ้าย ตั้งกายให้ตรง แล้วก็หลับตา แล้วก็ดูจิต คือผู้รู้นั้นเอง จิตผู้รู้มีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน ไม่ต้องไปหาที่อื่น ตั้งจิตอยู่ในจิต ตั้งสติอยู่ในจิต ให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ไม่เอาอะไรมากมายเอาพุทโธอย่างเดียว แล้วบริกรรมพุทโธ พุทโธ พุทโธไป จนจิตของเรามันสงบ ในการบริกรรมพุทโธ ผู้บริกรรมพุทโธอยู่ตรงไหน ตั้งสติอยู่ตรงนั้น ให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ไม่ต้องว่ากับปาก ตาของเราหลับ แล้วให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ตั้งสติอยู่ตรงนั้นบริกรรมเรื่อยไป เวลามันสงบเราจะรู้เอง คือจิตมันรวม มันรวมวูบลง แล้วก็จิตมีอารมณ์อันเดียว นั่นมันสงบแล้ว แล้วถ้าจิตสงบแล้วเราไม่ต้องบริกรรมต่อไป จิตกำหนดอยู่เฉยๆ หมายถึงว่า จิตหลุดจากคำบริกรรมไป นั่นจิตมันรวม จิตมันสงบ แล้วเราก็ไม่ต้องหันมาบริกรรมอีก ความสงบอยู่ไหนก็ตั้งสติอยู่นั้น แล้วกำหนดดูอาการของสมาธินั้นเป็นอย่างไร แล้วก็ต้องจำให้ชัดเจน จิตของเราสงบแล้ว นี่ให้รู้จักว่าจิตของเราสงบแล้ว กุศลธรรมทั้งหลายทั้งปวงก็ไปรวมอยู่ที่จิตที่สงบนั้นเอง ที่สูงสุดอยู่ตรงนี้ หาที่อื่นไม่พบ จิตที่สงบนั้นคือตัวบุญ เราต้องจำให้ชัด เวลาเรารู้ เรารู้เอง มันผุดขึ้นมาในจิตของเราให้รู้เฉพาะตน นั่นละตัวบุญที่แท้จริง แล้วไปหาที่อื่นไม่พบหรอกบุญ ต้องหาจากจิตจากใจของเรา ถ้าจิตของเราสงบ บุญเกิดขึ้นแล้ว ไม่ต้องไปหาที่อื่น หาที่อื่นก็ไม่พบ บุญกับบาปก็ประจำอยู่แล้วทุกๆคนนั่นแหละ แต่บุญคือความสุข บาปคือความทุกข์ ทำจิตของเราให้สงบแล้ว หมายความว่าเราทำบุญเกิดแล้ว จิตไม่มีตัวตนอะไรหรอก แต่มันมีประจำอยู่แล้วในคนทุกๆคน จิตก็คือพุทธะ พุทธะคือจิต จิตคือพุทธะสิ่งสูงสุด ย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งลงในตัวมันทั้งหมด นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลาย เป็นที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ทั้งสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด แล้วทุกๆสิ่งนี้เนื้อหาเป็นอันเดียวกับจิตหนึ่งนั้น ดังนั้นสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็มีเนื้อหาเป็นอันเดียวกันกับพุทธะอยู่แล้วตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองนี้ให้สงบ เราค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น มันก็ไม่มีอะไรที่เราจะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานี้ถ้าเราทำความสงบอยู่จริงๆ เว้นจากความคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้น้อยที่สุดเสียได้จริงๆ คล้ายๆกับมันจะปรากฏออกมาเป็นของว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป ไม่กินเนื้อที่อะไร อะไร แม้แต่จุดเดียว และเป็นสิ่งที่มีความเป็นอยู่หรือไม่มีความเป็นอยู่แม้แต่ประการใด

เบื้องต้นก็ภาวนาพุทโธธัมโมสังโฆแล้วก็พุทโธพุทโธถ้าเราสามารถเพียงแต่ทำจิตของเราสงบ แม้ที่น้อยที่สุด ไม่ให้จิตเคลื่อนไหว แม้ที่น้อยที่สุดให้ได้ จิตของเราก็จะสงบ เมื่อจิตของเราสงบแล้ว กุศลธรรมทั้งปวงก็รวมอยู่ในจิตที่สงบนั้นเ­อง เพราะฉะนั้นนักปฏิบัติต้องปฏิบัติอะไร คือปฏิบัติจิตนั้นเอง คือทำจิตให้สงบ ทำจิตให้สว่าง ทำจิตให้บริสุทธิ์ จิตบริสุทธิ์ก็คือความสงบนั่นเอง เบื้องต้นที่จะทำจิตให้สงบก็ไม่มีอะไรมากม­าย คือภาวนา การภาวนาก็ไม่เอาอะไรมากมายนัก เอาพุทโธอย่างเดียวก็พอแล้ว ก่อนที่จะภาวนา เราต้องตัดอารมณ์ข้างนอกออกให้หมดเสียก่อน คือไม่ส่งอารมณ์ออกไปนอก อารมณ์ที่ส่งไปนอกไปหาปรุง หาแต่ง ไปหาก่อหาเกิดไม่มีที่สิ้นสุด จิตของเราไม่สงบ เพราะฉะนั้นก่อนที่จะภาวนาเราต้องตัดอารมณ­์ออกให้หมด ไม่ต้องส่งจิตไปนอก หันมาดูจิตของเรา อยู่ในจิตของเรา ตั้งสติอยู่ในจิต แล้วก็บริกรรม ให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธอย่างเดียวก็พอแล้ว แต่ว่าให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ให้จิตเป็นผู้ว่าเอง ไม่ต้องว่ากับปาก วิธีนั่งบริกรรม นั่งขัดสมาธิก็ได้ นั่งพับเพียบก็ได้ เอาตีนขวาทับตีนซ้าย ตั้งกายให้ตรง แล้วก็หลับตา แล้วก็ดูจิต คือผู้รู้นั้นเอง จิตผู้รู้มีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน ไม่ต้องไปหาที่อื่น ตั้งจิตอยู่ในจิต ตั้งสติอยู่ในจิต ให้จิตเป็นผู้บริกรรมเอง ไม่เอาอะไรมากมายเอาพุทโธอย่างเดียว แล้วบริกรรมพุทโธ พุทโธ พุทโธไป

A-ba-ni-bi by Izhar Cohen & Alpha Betaสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้ว จะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป.. เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

วิธี การ ระงับ ข้อพิพาท วิวาทะ การทะเลาะ วิวาท การโต้เถียง และอธิกรณ์กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

ชาวม็อบและเสื้อต่างสี...โปรดตั้งสติฟังกะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว

ถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสองคนมาติดตรงนี้ครับผม พอปฏิบัติไปแล้ว มันเกิดความสว่างขึ้นเฉยๆ ... มันออกไปแสวง ทุกสิ่งทุกอย่าง จิตออกไปแสวงทั้งนั้น เพราะว่าไม่รู้ถึงจิตแท้ ... ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว อะไรมันขาดไปเอง อะไรทุกสิ่งทุกอย่างมันขาดไปเอง มันรู้ถึงความเป็นจริง แล้วก็ มันหมดความสงสัย แต่ว่า ต้องรู้ถึงความเป็นจริง รู้โดยปัญญา อริยมรรค .

วันอังคารที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เมื่อไหร่มันจะจบจะพอกันเสียทีดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้บัณฑิตผู้ฉลาด มีปัญญาใคร่ครวญ อายตนะภายใน ๖ นั้น ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็จะปรากฏว่าเป็นของ ว่าง เปล่า สูญทั้งนั้น ฯ คำว่า โจรผู้ฆ่าชาวบ้านนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายนอก ๖ ตาย่อม เดือดร้อนเพราะรูปเป็นที่พอใจและไม่พอใจ หูย่อมเดือดร้อน เพราะเสียงเป็นที่ พอใจและไม่พอใจ จมูกย่อมเดือดร้อนเพราะกลิ่นเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ลิ้น ย่อมเดือดร้อนเพราะรสเป็นที่พอใจและไม่พอใจ กายย่อมเดือดร้อนเพราะโผฏ- *ฐัพพะเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ใจย่อมเดือดร้อนเพราะธรรมารมณ์เป็นที่พอใจและ ไม่พอใจ คำว่า ห้วงน้ำใหญ่นั้น เป็นชื่อแห่งโอฆะทั้ง ๔ คือ กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ อวิชโชฆะ คำว่า ฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย นั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ คำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่ง วิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อ แห่งพระอรหันต์



ตามรอยหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต จากสถานที่จริงเป็นVDOที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุ...

จิตดูจิตจิตเห็นจิตลูกศิษย์ : เอ่อ ตอนที่พิจารณานี่น่ะครับผม หลวงปู่ : พิจารณาอย่างนี้แหละ ลูกศิษย์ : สมมุติว่า พิจารณา ตอนที่ว่า สมมุติว่าสมาธิมันเข้าลึกเข้าไป แล้วถอยมารึเปล่าครับ หลวงปู่ :ไม่ถอย อยู่ในสมาธิ พิจารณาอยู่ในสมาธิ ให้สมาธิเป็นกำลังให้พิจารณาได้ แล้วก็ ปัญญาก็เกิดจากสมาธิ ลูกศิษย์ : ตอนพิจารณานี่ เราไม่ต้องยึดพุทโธ ไม่ต้องอะไรครับ หลวงปู่ : ไม่ต้องหรอก พิจารณาไม่ต้องยึด ไม่ต้องยึด ปริกรรมไม่ต้องยึด วางหมด ดูให้รู้ ให้ลึกซึมซาบถึงจิตถึงใจเลย ลูกศิษย์ : อันนี้ ถ้าสมาธิลึกไปนี่ ก็ต้องถอนออกมา หลวงปู่ : ไม่ ไม่ถอน ลูกศิษย์ : ไม่ต้องถอน หรือครับผม ประคองจิตให้อยู่ หลวงปู่ : อือ ประคองจิต จิตกับสมาธิ ให้อยู่ไปด้วยกัน ให้สมาธิมันเป็นกำลังให้พิจารณาได้ ถึงความเป็นจริง ถ้านอกจากสมาธิแล้ว ปฏิบัติเอาข้างนอก มันไม่ถูก มันไม่เห็นถึงความเป็นจริง เราเข้าถึงแล้วได้ก็ไม่ได้ความ หมายความว่า ให้รู้ถึงจิตถึงใจ ดูอาการถึงจิตถึงใจ ถ้าดูอันหนึ่งแล้ว มันก็ เหมือนกัน กับ ดูทั้งหมด เมื่อเราดู รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เข้าใจในจิตของเราอันลึกซึ้งแล้ว ก็ ให้รวม ว่ามูลธาตุทั้งห้า มูลธาตุทั้งห้าคือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นความว่างเปล่า ให้ว่างให้หมด เป็นความว่างเปล่าให้หมด ไม่มีอะไร จนไม่มีอะไร แยกออก แยกออกจากกัน เวลามันยึดมันเป็นรูปนะ เวลาแยกออกจากกัน เวลาแยกจนหมดรูป จิตของเราก็ ถึงที่ว่าง ลูกศิษย์ : ที่ว่างนี่หมายความว่า หลวงปู่ : หมายความ ไม่มีอะไรบรรจุอยู่ แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที่สุดอยู่ในความว่าง เหมือนกับกลางอากาศ…อะไรบรรจุอยู่ไม่ได้ มันเหมือนกับกลางอากาศ ถ้าว่าง เหมือนกับกลางอากาศ ไม่มีอะไรบรรจุได้ในอากาศ แม้เส้นผมที่เล็กที่สุดอยู่ในอากาศก็บรรจุไม่ได้ มันเปล่า ว่างเปล่า แล้วจิตก็เป็นอย่างนั้น ลูกศิษย์ : แล้ว อีก คำที่ว่า รูปดับนามก็ดับนี่ ไอ้นามดับ หลวงปู่ : ไปพร้อมกัน นามก็คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูปก็คือรูปนี่แหละ พอมันดับแล้วมันดับพร้อมกัน ไอ้เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มันดับพร้อมกัน ลูกศิษย์ : ไอ้นามดับตัวนี้ มันมีความหมายคล้ายๆกับ ไอ้สังขาร มั้ยครับ คือหมายความว่า สังขารดับ คือไม่ปรุงแต่ง เหมือนกันมั้ยครับ หลวงปู่ : หมดสังขาร ลูกศิษย์ : หมดสังขาร หลวงปู่ : เวทนาสัญญาสังขาร หมดสังขาร มันก็หมด หมดความคิด ลูกศิษย์ : หมดความคิดนึก การปรุงแต่งไม่มี หลวงปู่ : หมดความปรุงแต่งไม่มี หมดสังขารหมดสัญญาอันเดียว มันหมด หมดไปแล้วทั้งอาการ มันหมดไปแล้ว ลูกศิษย์ : อันนี้เรียกว่าอะไร นามดับ หลวงปู่ : นามดับ ลูกศิษย์ : คือนามดับนี่หมายความว่า หลวงปู่ : คือไม่คิด หยุดคิด นามดับ หยุดคิดแล้วหมดทั้งรูปทั้งนาม หยุดแล้วก็หมดทั้งรูปทั้งนาม เหลือแต่ว่าง

จิตดูจิตจิตเห็นลูกศิษย์ : เอ่อ ตอนที่พิจารณานี่น่ะครับผม หลวงปู่ : พิจารณาอย่างนี้แหละ ลูกศิษย์ : สมมุติว่า พิจารณา ตอนที่ว่า สมมุติว่าสมาธิมันเข้าลึกเข้าไป แล้วถอยมารึเปล่าครับ หลวงปู่ :ไม่ถอย อยู่ในสมาธิ พิจารณาอยู่ในสมาธิ ให้สมาธิเป็นกำลังให้พิจารณาได้ แล้วก็ ปัญญาก็เกิดจากสมาธิ ลูกศิษย์ : ตอนพิจารณานี่ เราไม่ต้องยึดพุทโธ ไม่ต้องอะไรครับ หลวงปู่ : ไม่ต้องหรอก พิจารณาไม่ต้องยึด ไม่ต้องยึด ปริกรรมไม่ต้องยึด วางหมด ดูให้รู้ ให้ลึกซึมซาบถึงจิตถึงใจเลย ลูกศิษย์ : อันนี้ ถ้าสมาธิลึกไปนี่ ก็ต้องถอนออกมา หลวงปู่ : ไม่ ไม่ถอน ลูกศิษย์ : ไม่ต้องถอน หรือครับผม ประคองจิตให้อยู่ หลวงปู่ : อือ ประคองจิต จิตกับสมาธิ ให้อยู่ไปด้วยกัน ให้สมาธิมันเป็นกำลังให้พิจารณาได้ ถึงความเป็นจริง ถ้านอกจากสมาธิแล้ว ปฏิบัติเอาข้างนอก มันไม่ถูก มันไม่เห็นถึงความเป็นจริง เราเข้าถึงแล้วได้ก็ไม่ได้ความ หมายความว่า ให้รู้ถึงจิตถึงใจ ดูอาการถึงจิตถึงใจ ถ้าดูอันหนึ่งแล้ว มันก็ เหมือนกัน กับ ดูทั้งหมด เมื่อเราดู รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เข้าใจในจิตของเราอันลึกซึ้งแล้ว ก็ ให้รวม ว่ามูลธาตุทั้งห้า มูลธาตุทั้งห้าคือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นความว่างเปล่า ให้ว่างให้หมด เป็นความว่างเปล่าให้หมด ไม่มีอะไร จนไม่มีอะไร แยกออก แยกออกจากกัน เวลามันยึดมันเป็นรูปนะ เวลาแยกออกจากกัน เวลาแยกจนหมดรูป จิตของเราก็ ถึงที่ว่าง ลูกศิษย์ : ที่ว่างนี่หมายความว่า หลวงปู่ : หมายความ ไม่มีอะไรบรรจุอยู่ แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที่สุดอยู่ในความว่าง เหมือนกับกลางอากาศ…อะไรบรรจุอยู่ไม่ได้ มันเหมือนกับกลางอากาศ ถ้าว่าง เหมือนกับกลางอากาศ ไม่มีอะไรบรรจุได้ในอากาศ แม้เส้นผมที่เล็กที่สุดอยู่ในอากาศก็บรรจุไม่ได้ มันเปล่า ว่างเปล่า แล้วจิตก็เป็นอย่างนั้น ลูกศิษย์ : แล้ว อีก คำที่ว่า รูปดับนามก็ดับนี่ ไอ้นามดับ หลวงปู่ : ไปพร้อมกัน นามก็คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูปก็คือรูปนี่แหละ พอมันดับแล้วมันดับพร้อมกัน ไอ้เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มันดับพร้อมกัน ลูกศิษย์ : ไอ้นามดับตัวนี้ มันมีความหมายคล้ายๆกับ ไอ้สังขาร มั้ยครับ คือหมายความว่า สังขารดับ คือไม่ปรุงแต่ง เหมือนกันมั้ยครับ หลวงปู่ : หมดสังขาร ลูกศิษย์ : หมดสังขาร หลวงปู่ : เวทนาสัญญาสังขาร หมดสังขาร มันก็หมด หมดความคิด ลูกศิษย์ : หมดความคิดนึก การปรุงแต่งไม่มี หลวงปู่ : หมดความปรุงแต่งไม่มี หมดสังขารหมดสัญญาอันเดียว มันหมด หมดไปแล้วทั้งอาการ มันหมดไปแล้ว ลูกศิษย์ : อันนี้เรียกว่าอะไร นามดับ หลวงปู่ : นามดับ ลูกศิษย์ : คือนามดับนี่หมายความว่า หลวงปู่ : คือไม่คิด หยุดคิด นามดับ หยุดคิดแล้วหมดทั้งรูปทั้งนาม หยุดแล้วก็หมดทั้งรูปทั้งนาม เหลือแต่ว่าง

วิธีซ่อมเครื่องเชื่อมตู้เชื่อม INVERTER ตอนที่1การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

วงจรการใช้งานจริงของ Power Module GT15J331ครับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่GT15J331 สำหรับ เครื่อง ควบคุมมอเตอร์สามเฟสและสร้าง PURE SINE INVERTER ครับ

มอเตอร์ไฟฟ้าสู้ภัยเศรษฐกิจ นวัตกรรมเทคโนโลยี Inverter อัจฉริยะเปี่ยมประส...การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

หนึ่ง สอง สามการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส เครื่องทดสอบหม้อแปลงความถี่สูงวงจรและการใช้งานครับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

รถยนต์แห่งอนาคต ไม่ใช้น้ำมันการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

รถยนต์แห่งอนาคต ไม่ใช้น้ำมันการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ คาร์บอนไดออกไซด์ที่มนุษย์ปล่อยออกสู่บรรยากาศมาจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมาจากการผลิตพลังงานและการขนส่งเป็นหลัก นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและการทำลายป่ายังเป็นสาเหตุสำคัญด้วย ตัวอย่างเช่น ต้นไม้ เป็น "ตัวดูดซับคาร์บอน" โดยธรรมชาติ โดยดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อมีชีวิตอยู่ และเมื่อถูกทำลายจะปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกสู่บรรยากาศ เมื่ออยู่ในบรรยากาศแล้ว คาร์บอนไดออกไซด์จะคงอยู่เป็นเวลา 50 ถึง 200 ปี และบางส่วนคงอยู่ตลอดไป เชื้อเพลิงฟอสซิลคืออะไร น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติถูกเรียกว่าเชื้อเพลิงฟอสซิลเนื่องจากเชื่อกันว่าเกิดขึ้นจากซากพืิชและสัตว์ที่มีชีวิตอยู่หลายร้อยปีก่อน เชื้อเพลิงฟอสซิลทั้งหมดประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอน และปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาเมื่อถูกเผาไหม้ ในปัจจุบัน เชื้อเพลิงฟอสซิลเป็นวัตถุดิบหลักของพลังงานเกือบ 80% ของโลกอุตสาหกรรม เชื้อเพลิงฟอสซิลไม่สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ ดังนั้นมันจะหมดไปในที่สุด อย่างไรก็ตาม ถ้าเราต้องการหลีกเลี่ยงภาวะโลกร้อนที่อันตราย เราต้องเผาไหม้น้ำมัน ถ่านหิน และ ก๊าซธรรมชาติ น้อยกว่า 1 ใน 4 ของที่สำรองไว้ หากเผาไหม้มากกว่านี้จะปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์มากพอที่จะเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศอย่างน่าวิตก ใครเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากที่สุด คำตอบง่ายๆ ก็คือ เนื่องจากประเทศอุตสาหกรรมมีเศรษฐกิจที่เติบโตกว่าและได้เผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมา 100 ปีหรือมากกว่า ดังนั้นประเทศเหล่านี้จึงเป็นผู้ปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทวีคูณขึ้นเรื่อยๆ ออกสู่บรรยากาศเป็นหลัก อย่างไรก็ตามทุกประเทศมีส่วนรับผิดชอบต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียสหรือมากกว่า สิ่งนี้สามารถเปลี่ยนแปลงและควรต้องเปลี่ยนแปลงในอนาคต ในบางประเทศกำลังเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากพลังงานหมุนเวียนและประสิทธิภาพทางพลังงานทำให้ความสำเร็จทางเศรษฐกิจและเชื้อเพลิงฟอสซิลไม่เป็นของคู่กันอีกต่อไป อย่างไรก็ตามในท่ามกลางประเทศเศรษฐกิจเติบโตสูงสุด สหรัฐอเมริกายังเป็นประเทศก่อมลพิษอันดับหนึ่ง ด้วยประชากรน้อยกว่า 5% ของประชากรโลก สหรัฐเป็นผู้ก่อก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด และมีส่วนรับผิดชอบในการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ทั่วโลกเกือบ 1 ใน 4 ส่วน แต่การพิจารณาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยดูเป็นรายประเทศอาจเป็นมุมมองที่แคบเกินไป ปัญหาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัญหาทั้งในระดับธุรกิจและระดับบุคคล ตัวอย่างเช่น คนที่ขับรถที่กินน้ำมันมากเกินไปนั้นเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลมากกว่าคนที่ขับรถที่มีประสิทธิภาพทางพลังงาน เป็นต้น แน่นอนที่ประเทศและธุรกิจต่างๆ ต้องเป็นผู้รับผิดชอบ แต่ในระดับบุคคล เราสามารถตัดสินใจว่าจะสร้างผลกระทบต่อภูมิอากาศหรือไม่

เมืองสาวัตถี ตอนที่ 2https://www.youtube.com/watch?v=9fjdy7n-wHk เศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าการฟังธรรม จึงถือเป็นสิ่งสำคัญของบุคคลที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งการฝึกฝนขัดเกลาแก้ไขนิสัยในตัวเอง และในการปฏิบัติธรรมเพื่อบรรลุธรรมในพระไตรปิฎก ได้กล่าวไว้ว่า การที่ชนทั้งหลาย มีท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ผู้ซึ่งมีศรัทธาเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ได้สร้างบุญในพระศาสนามากมาย ที่ได้ทำบุญเช่นนั้น ก็เพราะได้ฟังธรรม ถ้าไม่ได้ฟัง ก็หาทำได้ไม่ ท่านได้อธิบายว่า ถ้าว่ามนุษย์เหล่านี้ไม่พึงฟังธรรม เขาก็ไม่พึงถวายข้าวยาคูประมาณกระบวยหนึ่งบ้าง ภัตประมาณทัพพีหนึ่งบ้าง นอกจากนี้ เว้นพระพุทธเจ้าและพระปัจเจกพุทธเจ้าเสีย แม้พระสาวกทั้งหลายมีพระสารีบุตรเป็นต้น ผู้ประกอบด้วยปัญญาซึ่งสามารถนับหยาดน้ำได้ ในเมื่อฝนตกตลอดกัลป์ทั้งสิ้น ก็ยังไม่สามารถจะบรรลุโสดาปัตติผลเป็นต้น โดยธรรมดาของตนได้ ต่อฟังธรรมที่พระอัสสชิเถระเป็นต้น แสดงแล้ว จึงทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล และทำให้แจ้งซึ่งสาวกบารมีญาณ ด้วยพระธรรมเทศนาของพระศาสดานั่นคือ แม้ว่าบุคคลนั้นจะมีบุญในตัวมากพอที่จะบรรลุธรรมได้ แต่ถ้าหากยังขาดกัลยาณมิตรอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และเหล่าพระสาวกคอยชี้แนะ ก็จะไม่สามารถบรรลุธรรมได้นอกจากนี้ การฟังธรรม ถือเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นได้ยากสำหรับมนุษย์ มีพุทธพจน์ได้กล่าวไว้ว่า.“ กิจฺโฉ มนุสฺสปฏิลาโภ กิจฺฉํ มจฺจานชีวิตํกิจฺฉํ สทฺธมฺมสฺสวนํ กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺทาโท” ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์ เป็นการยาก, ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก,การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก

วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558

เ สำรวมจิตเป็นเหตุให้พ้นเครื่องผูกของมาร ลำดับนั้น พระศาสดาตรัสกะเธอว่า “มาเถิดภิกษุ เธออย่าคิดไปเลย, ธรรมดาจิตนี่มีหน้าที่รับอารมณ์ แม้มีอยู่ในที่ไกล, ควรที่ภิกษุจักพยายามเพื่อประโยชน์แก่การพ้นจากเครื่องผูก คือราคะ โทสะ โมหะ” ดังนี้แล้ว ตรัสพระคาถานี้ว่า ๔. ทูรงฺคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา. ชนเหล่าใด จักสำรวมจิต อันไปในที่ไกล เที่ยวไป ดวงเดียว ไม่มีสรีระ มีถ้ำเป็นที่อาศัย ชนเหล่านั้น จะพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร.อาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิตพระธรรมเทศนาของหลวงปู่เทสก์

คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ ทั้งปวงเป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะเป็นคุณไม่กำเริบ. ดูก่อนภิกษุ เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั่นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไป อุปธิเหล่านั้นเป็นอันเขาละได้แล้วถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง

ไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะ ดูจิตได้ให้ดูจิต ดูจิตไม่ได้ให้ดูกาย ดูจิตก็ไม่ได้ดูกายก็ไม่ได้ ให้ทำความสงบไว้

วันอาทิตย์ที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันผู้ใดไม่ถือมงคลตื่นข่าว ไม่ถืออุกกาบาต ไม่ถือความฝัน ไม่ถือลักษณะดีหรือชั่ว ผู้นั้นชื่อว่า ล่วงพ้นโทษแห่งการถือมงคลตื่นข่­าว ครอบงำกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไ­ว้ในภพที่เป็นคูกั้น ย่อมไม่กลับมาเกิดอีก ดังนี้.

เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตนจากกามทั้งปวงเราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้ว เมื่อสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลแล้ว น้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะ ย่อมระลึกชาติได้บ้าง รู้จุติและอุบัติของสัตว์ทั้งหลายบ้าง ย่อมได้เจโตวิมุติและปัญญาวิมุติอันยอดเยี่ยม หากิเลสมิได้

วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเราการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย

วันเสาร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2558

มอเตอร์ไฟฟ้าสู้ภัยเศรษฐกิจ 3 phase ac motor drivesท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 พร้อมขดลวดแกนเทอรอยด์ ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 300 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 300 บาท 6DI15S-050 C ราคา 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 300 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ Line ID:pornpimon1411 Email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 พร้อมขดลวดแกนเทอรอยด์ ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 300 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 300 บาท 6DI15S-050 C ราคา 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 300 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ Line ID:pornpimon1411 Email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุดมอเตอร์ไฟฟ้าสู้ภัยเศรษฐกิจและภัยธรรมชาติ Industrial, Electrical & Test ...

ออกแบบซ่อมสร้างแผงวงจรควบคุมอุตสาหกรรมออกแบบซ่อมสร้างแผงวงจรควบคุมอุตสาหกรรม 02-951-1356 081-803-6553 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 ถนนติวานนท์ เมืองนนทบุรี นนทบุรี 11000 sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

การเห็นครั้งสุดท้ายก็เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เมื่อตรัสว่า เธอจงปรินิพพาน ก็จะกลายเป็นสรรเสริญความตาย. เมื่อตรัสว่า เธออย่าปรินิพพาน คนผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิก็จะยกโทษว่า กล่าวสรรเสริญคุณของวัฏฏะ ฉะนั้น จึงไม่ตรัสคำแม้ทั้งสอง เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เธอจักปรินิพพานที่ไหน สารีบุตร. เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักปรินิพพานในห้องที่ข้าพระองค์เกิดในบ้านนาฬกะ แคว้นมคธนั้น จึงตรัสว่า สารีบุตร เธอจงสำคัญเวลาในบัดนี้ ก็การเห็นภิกษุเช่นเธอ ของภิกษุผู้เป็นทั้งพี่และน้องของเธอจักหาได้ยากในบัดนี้ เธอจงแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น. พระเถระรู้แล้วว่า พระศาสดาทรงหวังเฉพาะการแสดงธรรมที่ขึ้นต้นด้วยการแสดงฤทธิ์ของเรา ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเหาะขึ้นไปประมาณชั่วต้นตาล เหาะลงแล้วถวายบังคมพระบาทพระทศพล และเหาะขึ้นไปประมาณสองชั่วลำตาลอีกลงแล้ว ถวายบังคมพระบาทพระทศพล แล้วเหาะขึ้นไปประมาณเจ็ดชั่วลำตาลโดยทำนองนี้ แสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างแล้วปรารภธรรมกถา. พระเถระกล่าวธรรมกถาด้วยกายที่ปรากฏบ้าง ไม่ปรากฏบ้าง ด้วยการเบื้องบน เบื้องล่าง หรือครึ่งกาย บางทีก็แสดงเป็นรูปพระจันทร์โดยไม่มีใครเห็น บางครั้งก็เป็นรูปพระอาทิตย์ บางครั้งก็เป็นรูปภูเขา บางทีก็เป็นรูปทะเล บางทีก็เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บางทีก็เป็นเวสวัณมหาราช บางทีก็เป็นท้าวสักกมหาราช บางทีก็เป็นท้าวมหาพรหม เมื่อแสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างอย่างนี้ พระเถระจึงกล่าวธรรมกถา ชาวพระนครทั้งสิ้นประชุมกันแล้ว พระเถระเหาะลงแล้ว ได้ยืนถวายบังคมพระบาทพระทศพล. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกะพระเถระนั้นว่า สารีบุตร ธรรมปริยายนี้ ชื่ออะไร. ส. ชื่อ สีหนิกีฬิตะ พระเจ้าข้า.

การเห็นครั้งสุดท้ายข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่ง อสงไขย แสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว

กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสั...

จิตรวมเข้าถึงจิตทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

ไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝัน มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ผู้ใดไม่ถือมงคลตื่นข่าว ไม่ถืออุกกาบาต ไม่ถือความฝัน ไม่ถือลักษณะดีหรือชั่ว ผู้นั้นชื่อว่า ล่วงพ้นโทษแห่งการถือมงคลตื่นข่­าว ครอบงำกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไ­ว้ในภพที่เป็นคูกั้น ย่อมไม่กลับมาเกิดอีก ดังนี้.

ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลสสัตว์สองเท้านี้เป็นสัตว์ไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็นเต็มไปด้วยซากศพต่างๆ มีของโสโครกไหลออกทั่วกาย ต้องบริหารอยู่เป็นนิตย์ เบญจกามคุณ อันน่ารื่นรมย์ใจเหล่านี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่มี ปรากฏอยู่ในรูปร่างหญิง ย่อมล่อลวงปุถุชนให้ลำบาก เหมือนพรานเนื้อ แอบดักเนื้อด้วยเครื่องดัก พรานเบ็ดจับปลาด้วยเบ็ด บุคคลจับวานร ด้วยเครื่องล่อ ฉะนั้น ปุถุชนเหล่าใด มีจิตกำหนัดเข้าไปส้องเสพหญิง เหล่านั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสารอันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อภพ ใหม่ขึ้นอีก ส่วนผู้ใดงดเว้นหญิงเหล่านั้นเหมือนบุคคลสลัดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติระงับตัณหาอันซ่านไปในโลกเสียได้ เราเห็นโทษในกาม ทั้งหลาย เห็นการออกบรรพชาโดยความเกษม สลัดตนจากกามทั้งปวง แล้ว ได้บรรลุความสิ้นอาสวะ.

ถ้ามีสติอย่างเดียว แต่ขาดสัมมาสมาธิ จะไม่เกิดปัญญา และไม่มีกำลังที่จะเกิ...ต้องรีบเดิน ถ้าขาดช่วงเมื่อไหร่จะหาเส้นทางนี้ได้อีกยากแสนยาก นานหนักหนากว่าจะมีผู้รู้เส้นทางนี้ขึ้นมา กว่าพระพุทธเจ้าจะค้นพบเส้นทางเส้นนี้ มีโอกาสแล้ว รู้ทางแล้ว ต้องรีบเดิน พระพุทธเจ้าเดินนำหายไปก่อนแล้ว ครูบาอาจารย์เดินตามหลังมา ยังเห็นรอยเท้าอยู่ นานไปรอยเท้านี้หายไป เพราะฉะนั้น เราต้องรีบเดินตาม ก่อนที่รอยเท้าของท่านจะหายไปหมด” ไม่มีอะไรมากหรอกนะ รู้สึกตัว รู้สึกตัวแล้วค่อย ๆ รู้สึกกายอย่างที่เขาเป็น รู้ใจอย่างที่เขาเป็น อย่าเเพ่งกาย อย่าเพ่งใจ อย่าไปกำหนดจดจ้อง ที่กำหนด ๆ นั้นนะ มันไม่ใช่นะ มันเป็นสมถะ กำหนด แปลว่า กด กำหนดเป็นภาษาเขมรนะ มาจากคำว่ากดนั่นเอง กด กดไว้ ข่มไว้ ให้เรารู้ ไม่ใช่ให้เราบังคับ รู้ไปเรื่อยจนเห็นความจริง เห็นความจริงแล้วก็หลุดพ้นไป พระพุทธเจ้าบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริงจึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีก” งานนี้เสร็จ จบแล้วนิ เสร็จกิจแล้วนี่ ก็หมดแค่นี้แหละ ที่เหลือไปทำเอาเอง

Kimchi (김치) : (English Caption: 영어자막)

[SUNSAUCE] วิธีทำกิมจิ (Kimchi)

สมเจตนาในทุกสิ่งโดยการหยุดนิ่งไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝัน มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ผู้ใดไม่ถือมงคลตื่นข่าว ไม่ถืออุกกาบาต ไม่ถือความฝัน ไม่ถือลักษณะดีหรือชั่ว ผู้นั้นชื่อว่า ล่วงพ้นโทษแห่งการถือมงคลตื่นข่­าว ครอบงำกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไ­ว้ในภพที่เป็นคูกั้น ย่อมไม่กลับมาเกิดอีก ดังนี้.

ไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝัน มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ผู้ใดไม่ถือมงคลตื่นข่าว ไม่ถืออุกกาบาต ไม่ถือความฝัน ไม่ถือลักษณะดีหรือชั่ว ผู้นั้นชื่อว่า ล่วงพ้นโทษแห่งการถือมงคลตื่นข่­าว ครอบงำกิเลสเครื่องประกอบสัตว์ไ­ว้ในภพที่เป็นคูกั้น ย่อมไม่กลับมาเกิดอีก ดังนี้.

มหัศจรรย์ฝันรู้ตัว Lucid Dreamingการปฏิบัติธรรมเมื่อเข้าใกล้ต่อมรรคผล จะมีข้อสังเกตให้พิจารณาได้บ้างไหมครับ หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "สังขารุเบกขาญาณ" สังขารุเบกขาญาณ ญาณ แปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขา เป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่าสังขาร ร่างกายก็เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็เป็นสังขาร อะไรๆ ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป เราจะเห็นเลย ร่างกายที่หายใจออกก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่วคราว ความสุขก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวไหม มีไหม สุขถาวรมีไหม ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ใครทุกข์ถาวร ไม่มี นี่เรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ เราจะเห็นเลย สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามันเกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาแล้ว เป็นกลางนี่เกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า ก็กัดฟัน ไม่โกรธเลย ไม่โกรธเลยนะ บอกเป็นกลางเพราะกดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก เป็นกลางด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างหนึ่ง เป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมา เราเห็นเลยใจมันโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัตินี่ เราเห็นว่าใจเราโมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจเกิดยินร้าย ไม่ชอบความโกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี อย่างนี้จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา แล้วมันจะเห็นเลยว่า ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธ หลง อะไรต่ออะไรก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่ จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญาขึ้นมา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแล้ว เพราะมันรู้แล้วว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มันไม่หลงระเริงเลยนะ ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นไหมพอมันเห็นว่าทุกอย่าง เป็นของชั่วคราวนี่ ใจจะหมดความดิ้นรน นี่เรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

ไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝันการปฏิบัติธรรมเมื่อเข้าใกล้ต่อมรรคผล จะมีข้อสังเกตให้พิจารณาได้บ้างไหมครับ หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "สังขารุเบกขาญาณ" สังขารุเบกขาญาณ ญาณ แปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขา เป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่าสังขาร ร่างกายก็เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็เป็นสังขาร อะไรๆ ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป เราจะเห็นเลย ร่างกายที่หายใจออกก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่วคราว ความสุขก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวไหม มีไหม สุขถาวรมีไหม ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ใครทุกข์ถาวร ไม่มี นี่เรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ เราจะเห็นเลย สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามันเกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาแล้ว เป็นกลางนี่เกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า ก็กัดฟัน ไม่โกรธเลย ไม่โกรธเลยนะ บอกเป็นกลางเพราะกดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก เป็นกลางด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างหนึ่ง เป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมา เราเห็นเลยใจมันโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัตินี่ เราเห็นว่าใจเราโมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจเกิดยินร้าย ไม่ชอบความโกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี อย่างนี้จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา แล้วมันจะเห็นเลยว่า ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธ หลง อะไรต่ออะไรก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่ จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญาขึ้นมา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแล้ว เพราะมันรู้แล้วว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มันไม่หลงระเริงเลยนะ ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นไหมพอมันเห็นว่าทุกอย่าง เป็นของชั่วคราวนี่ ใจจะหมดความดิ้นรน นี่เรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู

กระบวนการเกิดอริยมรรคทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงวิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้ แล้วอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่นี้ ถูกอริยมรรคแหวกออก แหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียว ขาดเลย มันคล้ายๆ เปิดสวิตช์ไฟปั๊บ สว่างวูบเดียว ความมืดหายไปเลยนะ ในพริบตานั้นเลย จิตถัดจากนั้นนะ จะเห็นพระนิพพานอีก ๒ – ๓ ขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็น ๒ ขณะ บางคนเห็น ๓ ขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็น ๓ ขณะ พวกอินทรีย์ไม่กล้ามาก ก็เห็น ๒ ขณะ เพราะฉะน้นพระอริยะในภูมิเดียวกันนะ ระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรอย่างนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพาน ก็รู้ว่าพระนิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี้แหละ แต่โง่เอง ไม่เห็น ทำไมไม่เห็น มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เขาปล่อย เขาข้ามแล้ว เขาทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตรน่ะ ข้ามจากปุถุชน มาเป็นพระอริยะ ข้ามทิ้งตรงนี้ มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง ทีนี้พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละ ถ้ามันพอเมื่อไหร่ มันก็ข้ามโคตร เปลี่ยนสกุล ก็ไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่ละ ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า เพราะฉะนั้นเวลาพระพุทธเจ้าท่านพูดถึงพระอริยะนะ ท่านจะบอกว่า ลูกของเรา

ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธาดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอปริหานิยธรรม ๗ อีกหมวดหนึ่ง แก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับ พระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ๑. พวกภิกษุจักเจริญอนิจจสัญญา... ๒. ...อนัตตสัญญา... ๓. ...อสุภสัญญา... ๔. ...อาทีนวสัญญา... ๕. ...ปหานสัญญา ๖. ...วิราคสัญญา... ๗. พวก ภิกษุจักเจริญนิโรธสัญญา อยู่เพียงใด พึงหวังได้ซึ่งความเจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อม เพียงนั้น

ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธาดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์เหล่าใดปฏิญาณความไม่มีโรคทางใจแม้ครู่หนึ่ง สัตว์เหล่านั้นหาได้ยากในโลก เว้นจากพระขีณาสพ" คนที่ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคทางกายอาจจะมีอยู่บ้าง แต่ทว่าคนที่ไม่ป่วยด้วยโรคทางใจหาได้ยากยิ่ง

กระบวนการที่จิตรู้แจ้งทวนกระแสและเกิดมรรคจิตตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละคิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

การถอนอนุสัยขึ้นจากดวงจิตมีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ลูกศิษย์ : อยู่ในหลักที่ว่าจิตส่งออกนอกเป็นสมุทัยใช่มั้ยครับ หลวงปู่ : มันจะเป็น จิตไปยึด ไปเที่ยว อยู่นั่นแหละ แล้วพาไปเห็น ไม่ว่าอะไรไม่มีที่สิ้นสุด ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : โอภาส อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง ไม่ต้องไปตัดที่อื่น ตัดที่จิต ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต เพ่งจิตเห็นจิต แล้วก็ตั้งสติให้มันเห็นจิต อะไรๆมันก็ขาดไปเอง ก็หมดเรื่องกันไป โอภาสนั้นก็หมด

การเห็นแสงเห็นโอภาสมีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ ลูกศิษย์ : อยู่ในหลักที่ว่าจิตส่งออกนอกเป็นสมุทัยใช่มั้ยครับ หลวงปู่ : มันจะเป็น จิตไปยึด ไปเที่ยว อยู่นั่นแหละ แล้วพาไปเห็น ไม่ว่าอะไรไม่มีที่สิ้นสุด ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : โอภาส อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง ไม่ต้องไปตัดที่อื่น ตัดที่จิต ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต เพ่งจิตเห็นจิต แล้วก็ตั้งสติให้มันเห็นจิต อะไรๆมันก็ขาดไปเอง ก็หมดเรื่องกันไป โอภาสนั้นก็หมด

ไม่ใช่ลัทธิไม่ใช่ศาสนาเพียงแต่ให้เราตื่นก่อนที่เราจะฝัน มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้

ความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้

地上の星 / 中島みゆき [公式].ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

地上の星 / 中島みゆき [公式]ความพยายามของมนุษย์เทวดาก็ยอมแพ้ 地上の星 / 中島みゆき [公式] กินข้าวเปล่า..ก็.อร่อยดี

地上の星 / 中島みゆき [公式]ความพยายามของมนุษย์เทวดาก็ยอมแพ้ 地上の星 / 中島みゆき [公式] กินข้าวเปล่า..ก็.อร่อยดี

地上の星 / 中島みゆき [公式]ความพยายามของมนุษย์เทวดาก็ยอมแพ้ 地上の星 / 中島みゆき [公式] กินข้าวเปล่า..ก็.อร่อยดี

ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมป..บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ... ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง.

รอยเท้าช้าง ๘. มหาหัตถิปโทปมสูตร อุปมาอริยสัจกับรอยเท้าช้าง [๓๔๐] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถ บิณฑิกเศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี. สมัยนั้นแล ท่านพระสารีบุตร เรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า ดูกรภิกษุทั้งหลายผู้มีอายุ. ภิกษุเหล่านั้นรับคำของท่านพระสารีบุตรแล้ว. พระสารีบุตรได้กล่าวว่า ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย รอยเท้าเหล่าใดเหล่าหนึ่งแห่งสัตว์ ทั้งหลายผู้เที่ยวไปบนแผ่นดิน รอยเท้าเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมถึงการประชุมลงในรอยเท้าช้าง รอยเท้าช้างชาวโลกย่อมกล่าวว่า เป็นยอดของรอยเท้าเหล่านั้น เพราะรอยเท้าช้างเป็นของใหญ่ แม้ฉันใด ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย กุศลธรรมเหล่าใดเหล่าหนึ่ง กุศลธรรมเหล่านั้นทั้งหมด ย่อมถึงการสงเคราะห์เข้าในอริยสัจสี่ ฉันนั้นเห็นเหมือนกันแล. ในอริยสัจสี่เหล่าไหน? คือ ใน ทุกขอริยสัจ ในทุกขสมุทัยอริยสัจ ในทุกขนิโรธอริยสัจ ในทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ. [๓๔๑] ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ทุกขอริยสัจเป็นไฉน? คือ แม้ความเกิดเป็นทุกข์ แม้ความแก่เป็นทุกข์ แม้ความตายเป็นทุกข์ แม้ความโศก ความรำพัน ความทุกข์กาย ความ ทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ก็เป็นทุกข์ แม้ความที่ไม่ได้สิ่งที่ตนอยากได้ ก็เป็นทุกข์ โดยย่อ อุปาทานขันธ์ ๕ เป็นทุกข์. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็อุปาทานขันธ์ห้าเป็นไฉน? คืออุปาทานขันธ์ คือ รูป อุปาทานขันธ์คือเวทนา อุปาทานขันธ์คือสัญญา อุปาทานขันธ์คือสังขาร อุปาทานขันธ์คือ วิญญาณ. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็อุปาทานขันธ์คือรูปเป็นไฉน? คือ มหาภูตรูป ๔ และรูป ที่อาศัยมหาภูตรูป ๔ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็มหาภูตรูป ๔ เป็นไฉน? คือปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ. ปฐวีธาตุ [๓๔๒] ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ปฐวีธาตุเป็นไฉน? คือ ปฐวีธาตุที่เป็นไปภายใน ก็มี ปฐมวีธาตุที่เป็นไปภายนอกก็มี. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ปฐวีธาตุ ที่เป็นไปภายในเป็น ไฉน? คือ สิ่งที่เป็นอุปาทินนกรูปอันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของแข้นแข็ง เป็น ของหยาบ คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ก็หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นอุปาทินนกรูป อันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของแข้นแข็ง เป็นของ หยาบอย่างอื่น นี้เรียกว่า ปฐวีธาตุ เป็นไปภายใน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ปฐวีธาตุอันใด แล เป็นไปภายใน และปฐวีธาตุอันใด เป็นไปภายนอก นั่นเป็นปฐวีธาตุแล. บัณฑิตพึงเห็น ปฐวีธาตุนั้น นั่น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็น นั่น นั่นไม่เป็นตนของเรา. บัณฑิตครั้นเห็นปฐวีธาตุนั่น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง อย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ย่อมยังจิตให้คลายกำหนัดในปฐวีธาตุ. ดูกรท่านผู้มี อายุทั้งหลาย สมัยที่ปฐวีธาตุที่เป็นไปภายนอกกำเริบ ย่อมจะมีได้แล ในสมัยนั้น ปฐวีธาตุ อันเป็นภายนอกจะเป็นของอันตรธานไป. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ชื่อว่าความที่แห่ง ปฐวีธาตุอันเป็นไปภายนอกนั้น ซึ่งใหญ่ถึงเพียงนั้น เป็นของไม่เที่ยง จักปรากฏได้ ความเป็น ของสิ้นไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็นของเสื่อมไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็น ของแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้. ก็ไฉนความที่แห่งกายอันตัณหาเข้าไปถือเอาแล้ว ว่าเรา ว่าของเรา ว่าเรามีอยู่ อันตั้งอยู่ตลอดกาลนิดหน่อยนี้ เป็นของไม่เที่ยง เป็นของมีความสิ้นไปเป็น ธรรมดา เป็นของมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักไม่ ปรากฏเล่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ความยึดถือด้วยสามารถตัณหามานะและทิฏฐิในปฐวีธาตุ อันเป็นภายใน นั้นจะไม่มีแก่ผู้นั้นเลย. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ชนเหล่าอื่นจะด่า จะตัดพ้อ กระทบ กระเทียบ จะเบียดเบียน ภิกษุนั้นไซร้. ภิกษุนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ทุกขเวทนาอันเกิดแต่ โสตสัมผัสนี้เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ก็แต่ว่า ทุกขเวทนานั้นแล อาศัยเหตุจึงมีได้ ไม่อาศัยเหตุจะมี ไม่ได้ ทุกขเวทนานี้ อาศัยอะไรจึงมีได้ ทุกขเวทนาอาศัยผัสสะจึงมีได้. ภิกษุนั้น ย่อมเห็นว่า ผัสสะเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า เวทนาเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า สัญญาเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า สังขารทั้งหลายเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า วิญญาณเป็นของไม่เที่ยง จิตอันมี ธาตุเป็นอารมณ์นั่นเทียวของภิกษุนั้น ย่อมแล่นไป ย่อมเสื่อมใส ย่อมตั้งอยู่ด้วยดี ย่อม หลุดพ้น. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ชนเหล่าอื่นจะพยายามทำร้ายภิกษุนั้น ด้วยอาการ ที่ไม่น่าปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ คือด้วยการประหารด้วยฝ่ามือบ้าง ด้วยการประหาร ด้วยก้อนดินบ้าง ด้วยการประหารด้วยท่อนไม้บ้าง ด้วยการประหารด้วยศาตราบ้าง. ภิกษุนั้นย่อมรู้ ชัดอย่างนี้ว่า กายนี้เป็นสภาพเป็นที่เป็นไปแห่งการประหารด้วยฝ่ามือบ้าง เป็นที่เป็นไปแห่งการ ประหารก้อนดินบ้าง เป็นที่เป็นไปแห่งการประหารด้วยท่อนไม้บ้าง เป็นที่เป็นไปแห่งการประหาร ด้วยศาตราบ้าง. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ในพระโอวาทอันเปรียบด้วยเลื่อยดังนี้ว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย แม้หากว่า พวกโจรผู้มีความประพฤติต่ำช้า พึงตัดทอนอวัยวะใหญ่น้อยทั้งหลายด้วย เลื่อยอันมีด้ามสองข้างไซร้ ภิกษุผู้ที่ยังใจให้ประทุษร้าย ในพวกโจร แม้นั้น ย่อมไม่เป็นผู้ชื่อว่า ทำตามคำสั่งสอนของเราด้วยเหตุนั้น ดังนี้. อนึ่ง ความเพียรอันเราปรารภแล้ว จักเป็นคุณชาติ ไม่ย่อหย่อน สติอันเราเข้าไปตั้งไว้แล้ว จักเป็นคุณชาติไม่หลงลืม กายอันเราให้สงบแล้ว จักเป็นสภาพไม่กระวนกระวาย จิตอันเราให้ตั้งมั่นแล้ว จักเป็นธรรมชาติมีอารมณ์เป็นอย่างเดียว คราวนี้ การประหารด้วยฝ่ามือทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี การประหารด้วยก้อนดินทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี การประหารด้วยท่อนไม้ทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี การประหาร ด้วยศาตราทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี ตามทีเถิด คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนี้ เราจะ ทำให้จงได้ ดังนี้. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ย่อมไม่ ตั้งอยู่พร้อมได้. ภิกษุนั้นย่อมสลดใจ ย่อมถึงความสลดใจ เพราะเหตุนั้นว่า ไม่เป็นลาภของเราหนอ ลาภไม่มีแก่เราหนอ เราได้ไม่ดีแล้วหนอ การได้ด้วยดีไม่มีแก่เราหนอ ที่เราระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่ อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ไม่ตั้งอยู่ได้ด้วยดี ดังนี้. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หญิงสะใภ้เห็นพ่อผัวแล้ว ย่อมสลดใจ ย่อมถึง ความสลดใจ แม้ฉันใด ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ไม่ตั้งอยู่ ได้ด้วยดี. ภิกษุนั้นย่อมสลดใจ ย่อมถึงความสลดใจ เพราะเหตุนั้นว่า ไม่เป็นลาภของเราหนอ ลาภของเราไม่มีหนอ เราได้ไม่ดีแล้วหนอ การได้ด้วยดีไม่มีแก่เราหนอ ที่เราระลึกถึงพระพุทธเจ้า อยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัย กุศลธรรม ย่อมไม่ตั้งอยู่ได้ด้วยดี ดังนี้. ฉันนั้นเหมือนกันแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่ อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ย่อมตั้งอยู่ได้ด้วยดีไซร้. ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้ปลื้มใจ เพราะเหตุนั้น. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล คำสอนของพระผู้มี พระภาคเป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว. อาโปธาตุ [๓๔๓] ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็อาโปธาตุเป็นไฉน? คือ อาโปธาตุที่เป็นไปภายใน ก็มี อาโปธาตุที่เป็นไปภายนอกก็มี. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็อาโปธาตุที่เป็นไปภายในเป็น ไฉน? คือ สิ่งที่เป็นอุปาทินนกรูปอันเป็นภายในเป็นของเฉพาะตน เป็นของเอิบอาบ ถึงความ เอิบอาบ คือ ดี เสลด หนอง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ น้ำมูตร ก็หรือ สิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นอุปาทินนกรูปอันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของเอิบอาบ ถึงความเป็นของเอิบอาบอย่างอื่น นี้เรียกว่า อาโปธาตุเป็นไปภายใน. ดูกร ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็อาโปธาตุอันใดแล เป็นไปภายใน และอาโปธาตุอันใด เป็นไปภายนอก นั้นเป็นอาโปธาตุแล. บัณฑิตพึงเห็นอาโปธาตุนั้นนั่น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริง อย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่เป็นตนของเรา. ครั้นเห็นอาโปธาตุนั่น ด้วย ปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายในอาโปธาตุ ย่อมยังจิตให้คลาย กำหนัดในอาโปธาตุ. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่อาโปธาตุ ที่เป็นไปภายนอกกำเริบ ย่อม จะมีได้แล อาโปธาตุ อันเป็นภายนอกนั้น ย่อมพัดเอาบ้านไปบ้าง พัดเอานิคมไปบ้าง พัดเอา เมืองไปบ้าง พัดเอาชนบทไปบ้าง ย่อมพัดเอาประเทศแห่งชนบทไปบ้าง. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่น้ำในมหาสมุทรย่อมลึกลงไปร้อยโยชน์บ้าง สองร้อยโยชน์บ้าง สามร้อยโยชน์บ้าง สี่ร้อยโยชน์บ้าง ห้าร้อยโยชน์บ้าง หกร้อยโยชน์บ้าง เจ็ดร้อยโยชน์บ้าง ย่อมมีได้แล. ดูกร ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่น้ำในมหาสมุทรขังอยู่เจ็ดชั่วลำตาลบ้าง หกชั่วลำตาลบ้าง ห้าชั่ว ลำตาลบ้าง สี่ชั่วลำตาลบ้าง สามชั่วลำตาลบ้าง สองชั่วลำตาลบ้าง ชั่วลำตาลหนึ่งบ้าง ย่อมมี ได้แล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่น้ำในมหาสมุทรขังอยู่ ได้เจ็ดชั่วบุรุษบ้าง หกชั่วบุรุษ บ้าง ห้าชั่วบุรุษบ้าง สี่ชั่วบุรุษบ้าง สามชั่วบุรุษบ้าง สองชั่วบุรุษบ้าง ประมาณชั่วบุรุษหนึ่ง บ้าง ย่อมมีได้แล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็สมัยที่น้ำในมหาสมุทรขังอยู่ กึ่งชั่วบุรุษบ้าง ประมาณเพียงสะเอวบ้าง ประมาณเพียงเข่าบ้าง ประมาณเพียงข้อเท้าบ้าง ย่อมมีได้แล. ดูกร ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่น้ำแม้ประมาณพอเปียกข้อนิ้วมือจะไม่มีในมหาสมุทร ก็ย่อมมีได้ แล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ชื่อว่า ความที่แห่งอาโปธาตุอันเป็นไปภายนอกนั้น ซึ่งมากถึง เพียงนั้นเป็นของไม่เที่ยง จักปรากฏได้ ความเป็นของสิ้นไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความ เป็นของเสื่อมไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็นของแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักปรากฏ ได้. ก็ไฉนความที่แห่งกายอันตัณหาเข้าไปถือเอาแล้ว ว่าเรา ว่าของเรา ว่าเรามีอยู่ อันตั้งอยู่ ตลอดกาลนิดหน่อยนี้ เป็นของไม่เที่ยง เป็นของมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความ เสื่อมไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักไม่ปรากฏเล่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ความยึดถือด้วยสามารถตัณหามานะและทิฏฐิ ในอาโปธาตุอันเป็นภายนอกนั้น จะไม่มีแก่ผู้นั้น เลย. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึง พระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ย่อมตั้งอยู่ได้ด้วยดี ไซร้ ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้ปลื้มใจเพราะเหตุนั้น. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณ เท่านี้แล คำสอนของพระผู้มีพระภาคเป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว. [๓๔๔] ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็เตโชธาตุเป็นไฉน? คือ เตโชธาตุที่เป็นไปภายใน ก็มี เตโชธาตุที่เป็นไปภายนอกก็มี. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็เตโชธาตุที่เป็นไปภายในเป็น ไฉน? คือ สิ่งที่เป็นอุปาทินนกรูปอันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของเร่าร้อน ถึง ความเป็นของเร่าร้อน คือ สิ่งที่เป็นเครื่องอบอุ่นแห่งกาย สิ่งที่เป็นเครื่องทรุดโทรมแห่งกาย สิ่งที่เป็นเครื่องเร่าร้อนแห่งกาย สิ่งที่เป็นเครื่องถึงความแปรปรวนไปด้วยดีแห่งของที่กินแล้ว ดื่มแล้ว เคี้ยวแล้ว และของที่ลิ้มรสแล้ว ก็หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นอุปาทินนกรูป อันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของเร่าร้อน ถึงความเป็นของเร่าร้อน อย่างอื่น นี้เรียกว่า เตโชธาตุ อันเป็นไปภายใน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็เตโชธาตุอันใดแล เป็นไปภายใน และเตโชธาตุ อันใด เป็นภายนอก นั่นเป็นเตโชธาตุแล. บัณฑิตพึงเห็นเตโชธาตุนั้นนั่น ด้วยปัญญาอันชอบ ตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่เป็นของเรา. บัณฑิต ครั้นเห็นเตโชธาตุนั่น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายใน เตโชธาตุ ย่อมยังจิตให้คลาย กำหนัดในเตโชธาตุ. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัย ที่เตโชธาตุอันเป็นไปภายนอก กำเริบ ย่อมจะมีได้แล เตโชธาตุอันเป็นภายนอกนั้น ย่อม ไหม้บ้านบ้าง ย่อมไหม้บ้านเมืองบ้าง ย่อมไหม้นิคมบ้าง ย่อมไหม้ชนบทบ้าง ย่อมไหม้ประเทศ แห่งชนบทบ้าง. เตโชธาตุอันเป็นภายนอกนั้นมาถึงหญ้าสด หนทาง ภูเขา น้ำ หรือภูมิภาค อันเป็นที่รื่นรมย์ ไม่มีเชื้อ ย่อมดับไปเอง. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่ชนทั้งหลายแสวง หาไฟด้วยขนไก่บ้าง ด้วยการขูดหนังบ้าง ย่อมมีได้แล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ชื่อว่า ความที่แห่งเตโชธาตุ อันเป็นไปภายนอกนั้นซึ่งใหญ่ถึงเพียงนั้นเป็นของไม่เที่ยง จักปรากฏได้ ความเป็นของสิ้นไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็นของเสื่อมไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็นของแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้. ก็ไฉนความที่แห่งกายอันตัณหาเข้าไปถือ เอาแล้ว ว่าเรา ว่าของเรา ว่าเรามีอยู่ อันตั้งอยู่ตลอดกาลนิดหน่อยนี้ เป็นของไม่เที่ยง เป็น ของมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความแปรปรวน ไปเป็นธรรมดา จักไม่ปรากฏเล่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ความยึดถือด้วยสามารถตัณหามานะ และทิฏฐิในเตโชธาตุนั้น จะไม่มีแก่ผู้นั้นเลย. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุ นั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ย่อมตั้งอยู่ได้ด้วยดีไซร้. ภิกษุนั้น ย่อมเป็นผู้ปลื้มใจเพราะเหตุนั้น. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านั้นแล คำสอนของพระผู้มีพระภาคเป็นอัน ภิกษุทำให้มากแล้ว. วาโยธาตุ [๓๔๕] ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็วาโยธาตุเป็นไฉน? คือ วาโยธาตุที่เป็นไปภายใน ก็มี วาโยธาตุที่เป็นภายนอกก็มี. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็วาโยธาตุที่เป็นไปภายในเป็น ไฉน? คือ สิ่งที่เป็นอุปาทินนกรูปอันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของพัดไปมา ถึง ความเป็นของพัดไปมา คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมอันอยู่ในท้อง ลมอันอยู่ ในลำไส้ ลมอันแล่นไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ก็หรือสิ่งใด สิ่งหนึ่งซึ่งเป็นอุปาทินนกรูป อันเป็นภายใน เป็นของเฉพาะตน เป็นของพัดไปมา ถึงความ เป็นของพัดไปมา อย่างอื่น นี้เรียกว่า วาโยธาตุเป็นไปภายใน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็วาโยธาตุอันใดแล เป็นไปภายใน และวาโยธาตุอันใด เป็นไปภายนอก นั่นเป็น วาโยธาตุแล. บัณฑิตพึงเห็นวาโยธาตุนั้นนั่น ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่เป็นตนของเรา. บัณฑิตครั้นเห็นวาโยธาตุนั้น ด้วย ปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายในวาโยธาตุ ย่อมยังจิตให้คลาย กำหนัดในวาโยธาตุ. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่วาโยธาตุอันเป็นไปภายนอกกำเริบ ย่อมจะมีได้แล วาโยธาตุอันเป็นภายนอกนั้น ย่อมพัดเอาบ้านไปบ้าง ย่อมพัดเอานิคมไป บ้าง ย่อมพัดเอานครไปบ้าง ย่อมพัดเอาชนบทไปบ้าง ย่อมพัดเอาประเทศแห่งชนบท ไปบ้าง. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย สมัยที่ชนทั้งหลาย แสวงหาลมด้วยพัดใบตาลบ้าง ด้วย พัดสำหรับพัดไฟบ้าง ในเดือนท้ายแห่งฤดูร้อน แม้ในที่ชายคา หญ้าทั้งหลายก็ไม่ไหว ย่อม มีได้แล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ชื่อว่าความที่แห่งวาโยธาตุ อันเป็นไปภายนอกนั้น ซึ่ง ใหญ่ถึงเพียงนั้น เป็นของไม่เที่ยง จักปรากฏได้ ความเป็นของสิ้นไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็นของเสื่อมไปเป็นธรรมดา จักปรากฏได้ ความเป็นของแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักปรา- *กฏได้. ก็ไฉนความที่แห่งกายอันตัณหาเข้ายึดถือเอาแล้ว ว่าเรา ว่าของเรา ว่าเรามีอยู่ อันตั้ง อยู่ตลอดกาลนิดหน่อยนี้ เป็นของไม่เที่ยง เป็นของมีความสิ้นไปเป็นธรรมดา เป็น ของมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จักไม่ปรากฏเล่า เมื่อ เป็นเช่นนี้ ความยึดถือด้วยสามารถตัณหามานะและทิฏฐิในวาโยธาตุนั้น จะไม่มีแก่ผู้นั้นเลย. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ชนเหล่าอื่นจะด่า จะตัดพ้อ จะกระทบกระเทียบ จะ เบียดเบียนภิกษุนั้นไซร้. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ทุกขเวทนาอันเกิดแต่โสตสัมผัสนี้ เกิดขึ้นแล้วแก่เรา ก็แต่ว่า ทุกขเวทนานั้นแล อาศัยเหตุพึงมีได้ ไม่อาศัยเหตุจะมีไม่ได้ ทุกขเวทนานี้อาศัยอะไร จึงมีได้ ทุกขเวทนานี้อาศัยผัสสะ จึงมีได้. ภิกษุนั้นย่อมเห็นว่า ผัสสะเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า เวทนาเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า สัญญาเป็นของ ไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า สังขารทั้งหลายเป็นของไม่เที่ยง ย่อมเห็นว่า วิญญาณเป็นของไม่เที่ยง จิตอันมีธาตุเป็นอารมณ์นั่นเทียวของภิกษุนั้น ย่อมแล่นไป ย่อมเลื่อมใส ย่อมตั้งอยู่ด้วยดี ย่อมหลุดพ้น. การทำตามพระโอวาท ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากชนเหล่าอื่นจะพยายามทำร้ายภิกษุนั้น ด้วยอาการที่ไม่น่า ปรารถนา ไม่น่าใคร่ ไม่น่าพอใจ คือ ด้วยการประหารด้วยฝ่ามือบ้าง ด้วยการประหารด้วย ก้อนดินบ้าง ด้วยการประหารด้วยท่อนไม้บ้าง ด้วยการประหารด้วยศาตราบ้าง. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า กายนี้เป็นสภาพเป็นที่เป็นไปแห่งการประหารด้วยฝ่ามือบ้าง เป็นที่เป็น ไปแห่งการประหารด้วยก้อนดินบ้าง เป็นที่เป็นไปแห่งการประหารด้วยท่อนไม้บ้าง เป็นที่เป็น ไปแห่งการประหารด้วยศาตราบ้าง. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสไว้ในพระโอวาท อันเปรียบ ด้วยเลื่อยดังนี้ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ว่าพวกโจรผู้มีความประพฤติต่ำช้า พึงตัดทอนอวัยวะ ใหญ่น้อยทั้งหลาย ด้วยเลื่อยอันมีด้ามสองข้างไซร้ ภิกษุผู้ที่ยังใจให้ประทุษร้ายในพวกโจรแม้ นั้น. ย่อมไม่เป็นผู้ชื่อว่าทำตามคำสอนของเราด้วยเหตุนั้น ดังนี้. อนึ่ง ความเพียรอันเรา ปรารภแล้ว จักเป็นคุณชาติไม่ย่อหย่อน สติอันเราเข้าไปตั้งไว้แล้ว จักเป็นคุณชาติไม่หลงลืม กายอันเราให้สงบแล้ว จักเป็นสภาพไม่กระวนกระวาย จิตอันเราให้ตั้งมั่นแล้ว จักเป็น ธรรมชาติมีอารมณ์เป็นอย่างเดียว คราวนี้ การประหารด้วยฝ่ามือทั้งหลาย จงเป็นไปใน กายนี้ก็ดี การประหารด้วยก้อนดินทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี การประหารด้วยท่อนไม้ ทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี การประหารด้วยศาตราทั้งหลาย จงเป็นไปในกายนี้ก็ดี ตามทีเถิด คำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลายนี้เราจะทำให้จงได้ ดังนี้. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึง พระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ย่อมไม่ตั้งอยู่ได้พร้อม. ภิกษุนั้นย่อมสลดใจ ย่อมถึงความสลดใจ เพราะเหตุนั้นว่า ไม่เป็นลาภของเราหนอ ลาภไม่มีแก่เราหนอ เราได้ไม่ ดีแล้วหนอ การได้ด้วยดีไม่มีแก่เราแล้วหนอ ที่เราระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึง พระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรมไม่ตั้งอยู่ได้ด้วยดี ดังนี้. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หญิงสะใภ้เห็นพ่อผัวแล้ว ย่อมสลดใจ ย่อมถึงความสลดใจ แม้ฉันใด ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึก ถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัยกุศลธรรม ไม่ตั้งอยู่ได้ ด้วยดี. ภิกษุนั้นย่อมสลดใจ ย่อมถึงความสลดใจ เพราะเหตุนั้นว่า ไม่เป็นลาภของเราหนอ ลาภของเราไม่มีหนอ เราได้ไม่ดีแล้วหนอ การได้ด้วยดีไม่มีแก่เราหนอ ที่เราระลึกถึงพระพุทธ- *เจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์อยู่อย่างนี้ อุเบกขาอันอาศัย กุศลธรรม ย่อมไม่ตั้งอยู่ได้ด้วยดี ดังนี้ ฉันนั้นเหมือนกันแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า เมื่อภิกษุนั้นระลึกถึงพระพุทธเจ้าอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระธรรมอยู่อย่างนี้ ระลึกถึงพระสงฆ์ อย่างนี้ อุเบกขาอาศัยกุศลธรรม ย่อมตั้งอยู่ด้วยดีไซร้. ภิกษุนั้นย่อมเป็นผู้ปลื้มใจเพราะเหตุนั้น. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุมีประมาณเท่านี้แล คำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นอันภิกษุ ทำให้มากแล้ว. ผู้เห็นธรรม [๓๔๖] ดูกรท่านมีอายุทั้งหลาย อากาศอาศัยไม้และอาศัยเถาวัลย์ ดินเหนียวและหญ้า แวดล้อมแล้ว ย่อมถึงความนับว่า เป็นเรือนฉันใด ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย อากาศอาศัยกระดูก และอาศัยเอ็นเนื้อและหนังแวดล้อมแล้ว ย่อมถึงความนับว่า รูป ฉันนั้นเหมือนกันแล. ดูกรท่าน ผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า จักษุอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และรูปทั้งหลาย อันเป็นภายนอกย่อมไม่มาสู่คลองจักษุ ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่จักษุและรูปนั้นก็ไม่มี ความ ปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้ง หลาย หากว่า จักษุอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และรูปทั้งหลายอันเป็น ภายนอก ย่อมมาสู่คลองจักษุ แต่ความกำหนดอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้นไม่มี ความปรากฏ แห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุ และรูปนั้นก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แต่ว่าในกาลใดแลจักษุอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกไม่ทำลายแล้ว และรูปทั้งหลายอันเป็น ภายนอก ย่อมมาสู่คลองจักษุ ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่จักษุและรูปก็ย่อมมีในกาลนั้น ความ ปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่จักษุและรูปนั้น ย่อมมีได้ด้วยอาการอย่างนี้. รูปแห่ง สภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด รูปนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ รูป เวทนาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด เวทนานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ในอุปาทานขันธ์ คือ เวทนา สัญญาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด สัญญานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ สัญญา สังขารแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นเหล่าใด สังขารเหล่านั้น ย่อม ถึงความสงเคราะห์ในอุปาทาน คือ สังขาร วิญญาณแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด วิญญาณนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือ วิญญาณ. ภิกษุนั้น ย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า การสงเคราะห์ การประชุมพร้อม หมวดหมู่แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ย่อมมีได้ ด้วยประ การอย่างนี้. อนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อ ว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้นชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท ดังนี้. ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ใด อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ชื่อว่า ปฏิจจสมุปปันนธรรมแล. ความพอใจความอาลัย ความยินดี ความ ชื่นชอบ ในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนั้นชื่อว่าทุกขสมุทัย การกำจัดความกำหนัดด้วย สามารถความพอใจ การละความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนั้นชื่อว่าทุกขนิโรธแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล. คำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า โสตะอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกทำลาย แล้ว ฯลฯ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ฆานะอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย แล้ว ฯลฯ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า ชิวหา อันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย แล้ว ฯลฯ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า กายอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย แล้ว ฯลฯ ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า มนะอันเป็นไปในภายใน เป็นของไม่แตกทำลาย แล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภายนอก ย่อมไม่มาสู่คลอง ทั้งความกำหนดอันเกิด แต่มนะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มี ความปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่มนะและ ธรรมารมณ์นั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย หากว่า มนะอันเป็นไปในภาย ใน เป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภายนอก ย่อมมาสู่คลอง แต่ความกำหนดอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้นไม่มี ความปรากฏแห่งส่วนแห่งวิญญาณอัน เกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ก็ยังมีไม่ได้ก่อน. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แต่ว่าในกาลใด แล มนะอันเป็นไปในภายในเป็นของไม่แตกทำลายแล้ว และธรรมารมณ์ทั้งหลายอันเป็นภาย นอก ย่อมมาสู่คลอง ทั้งความกำหนดอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ก็ย่อมมี ในกาล นั้น ความปรากฏแห่งส่วนแห่งส่วนแห่งวิญญาณอันเกิดแต่มนะและธรรมารมณ์นั้น ย่อมมีได้ ด้วยอาการอย่างนี้. รูปแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด รูปนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ใน อุปาทานขันธ์คือรูป เวทนาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด เวทนานั้น ย่อมถึงความ สงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือเวทนา สัญญาแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด สัญญานั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือสัญญา สังขารทั้งหลายแห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้น เหล่าใด สังขารเหล่านั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์คือสังขาร วิญญาณ แห่งสภาพที่เป็นแล้วอย่างนั้นอันใด วิญญาณนั้น ย่อมถึงความสงเคราะห์ ในอุปาทานขันธ์ คือวิญญาณ. ภิกษุนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ได้ยินว่า การสงเคราะห์ การประชุมพร้อม หมวดหมู่แห่งอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ย่อมมีได้ ด้วยประการอย่างนี้. อนึ่ง พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้ไว้ว่า ผู้ใดเห็นปฏิจจสมุปบาท ผู้นั้นชื่อว่าเห็นธรรม ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นั้น ชื่อว่าเห็นปฏิจจสมุปบาท ดังนี้. ก็อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ใด อุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ ชื่อว่า ปฏิจจสมุปปันนธรรมแล. ความพอใจ ความอาลัย ความยินดี ความชื่นชอบ ในอุปาทาน- *ขันธ์ ๕ เหล่านี้อันใด อันนี้ชื่อว่าทุกขสมุทัย การกำจัดความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจ การละความกำหนัดด้วยสามารถความพอใจ ในอุปาทานขันธ์ ๕ เหล่านี้ อันใด อันนั้นชื่อว่า ทุกขนิโรธแล. ดูกรท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ด้วยเหตุแม้มีประมาณเท่านี้แล คำสอนของพระผู้มี พระภาค เป็นอันภิกษุทำให้มากแล้ว. ท่านพระสารีบุตร ได้กล่าวธรรมปริยายนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ชื่นชม ยินดีภาษิต ของท่านพระสารีบุตรแล้วแล. จบ. มหาหัตถิปโทปมสูตรที่ ๘

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตหลวงพ่อปราโมทย์ : พวกเราต้องอดทนนะอดทน พากเพียรเข้า อดทน เริ่มตั้งแต่อดทนฟัง พอฟังรู้เรื่อง รู้วิธีแล้วว่าเราจะต้องเจริญสติ รู้กายรู้ใจ ไม่เผลอลืมกายลืมใจ ไม่เพ่งกายเพ่งใจให้หยุดนิ่ง ปล่อยให้กายให้ใจมันทำงานไปแล้วเรามีสติตามดูมันไปเรื่อย ๆ นี่วิธีปฎิบัติ พอรู้แล้วเราก็ตามดูไปเรื่อย ตอนไหนจิตฟุ้งซ่านมากไป ตามดูกายดูใจไม่ออกก็ทำความสงบเข้ามา กรรมฐานที่ทำให้จิตสงบมีเยอะแยะ อะไรก็ได้ คิดถึงพระพุทธเจ้า คิดถึงพระธรรมนะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงทาน คิดถึงศีล คิดถึงอะไรดี ๆ คิดถึงลมหายใจ คิดถึงร่างกายของเราเอง คิดถึงความตาย สิ่งเหล่านี้ทำให้จิตใจสงบทั้งนั้น พอจิตใจเรามีกำลัง มีความสงบ มีความสบายแล้วนะ ก็มารู้สึกกาย มารู้สึกใจต่อ ร่างกายเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก รู้สึกไปเรื่อย ๆ พอเรารู้สึกซ้ำแล้วซ้ำอีก ซ้ำแล้วซ้ำอีก ต่อไปเราจะเห็นความจริง ทีแรกต้องรู้กายรู้ใจก่อน พอรู้กายรู้ใจไปนาน ๆ ก็จะเห็นความจริงของกายของใจ ตรงที่มีสติรู้กายรู้ใจนี่ถือว่าดีนะ มีสติแล้ว รู้กายรู้ใจ แต่ยังไม่มีปัญญา ตรงที่เห็นความจริงว่ากายนี้ใจนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาถึงจะเรียกว่ามีปัญญา พอมีปัญญาเห็นความจริง จิตจะค่อย ๆ ลดกิเลส ๆ เป็นลำดับไป พากเพียรเอานะ ที่เหลือคือพวกเราต้องช่วยตัวเองแล้ว หลวงพ่อช่วยไม่ไหวแล้วนะ ขนาดพระพุทธเจ้าท่านยังบอกว่า “ท่านเป็นแค่ผู้บอกทาง” แล้วหลวงพ่อจะเป็นแค่อะไรละ หลวงพ่อก็เป็นแค่ผู้จำทางมาบอก “พระพุทธเจ้าท่านเป็นผู้บอกทาง หลวงพ่อเป็นเพียงผู้จำทางมาบอก พวกเรามีหน้าที่เดินทาง เส้นทางสายนี้ยังมีคนเดินอยู่ ยังไม่ขาดสาย ยังไม่ขาดระยะ ต้องรีบเดิน ถ้าขาดช่วงเมื่อไหร่จะหาเส้นทางนี้ได้อีกยากแสนยาก นานหนักหนากว่าจะมีผู้รู้เส้นทางนี้ขึ้นมา กว่าพระพุทธเจ้าจะค้นพบเส้นทางเส้นนี้ มีโอกาสแล้ว รู้ทางแล้ว ต้องรีบเดิน พระพุทธเจ้าเดินนำหายไปก่อนแล้ว ครูบาอาจารย์เดินตามหลังมา ยังเห็นรอยเท้าอยู่ นานไปรอยเท้านี้หายไป เพราะฉะนั้น เราต้องรีบเดินตาม ก่อนที่รอยเท้าของท่านจะหายไปหมด” ไม่มีอะไรมากหรอกนะ รู้สึกตัว รู้สึกตัวแล้วค่อย ๆ รู้สึกกายอย่างที่เขาเป็น รู้ใจอย่างที่เขาเป็น อย่าเเพ่งกาย อย่าเพ่งใจ อย่าไปกำหนดจดจ้อง ที่กำหนด ๆ นั้นนะ มันไม่ใช่นะ มันเป็นสมถะ กำหนด แปลว่า กด กำหนดเป็นภาษาเขมรนะ มาจากคำว่ากดนั่นเอง กด กดไว้ ข่มไว้ ให้เรารู้ ไม่ใช่ให้เราบังคับ รู้ไปเรื่อยจนเห็นความจริง เห็นความจริงแล้วก็หลุดพ้นไป พระพุทธเจ้าบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริงจึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีก” งานนี้เสร็จ จบแล้วนิ เสร็จกิจแล้วนี่ ก็หมดแค่นี้แหละ ที่เหลือไปทำเอาเอง

ถ้ามีสติอย่างเดียว แต่ขาดสัมมาสมาธิ จะไม่เกิดปัญญา และไม่มีกำลังที่จะเกิ...หลวงพ่อปราโมทย์ : พวกเราต้องอดทนนะอดทน พากเพียรเข้า อดทน เริ่มตั้งแต่อดทนฟัง พอฟังรู้เรื่อง รู้วิธีแล้วว่าเราจะต้องเจริญสติ รู้กายรู้ใจ ไม่เผลอลืมกายลืมใจ ไม่เพ่งกายเพ่งใจให้หยุดนิ่ง ปล่อยให้กายให้ใจมันทำงานไปแล้วเรามีสติตามดูมันไปเรื่อย ๆ นี่วิธีปฎิบัติ พอรู้แล้วเราก็ตามดูไปเรื่อย ตอนไหนจิตฟุ้งซ่านมากไป ตามดูกายดูใจไม่ออกก็ทำความสงบเข้ามา กรรมฐานที่ทำให้จิตสงบมีเยอะแยะ อะไรก็ได้ คิดถึงพระพุทธเจ้า คิดถึงพระธรรมนะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงทาน คิดถึงศีล คิดถึงอะไรดี ๆ คิดถึงลมหายใจ คิดถึงร่างกายของเราเอง คิดถึงความตาย สิ่งเหล่านี้ทำให้จิตใจสงบทั้งนั้น พอจิตใจเรามีกำลัง มีความสงบ มีความสบายแล้วนะ ก็มารู้สึกกาย มารู้สึกใจต่อ ร่างกายเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก รู้สึกไปเรื่อย ๆ พอเรารู้สึกซ้ำแล้วซ้ำอีก ซ้ำแล้วซ้ำอีก ต่อไปเราจะเห็นความจริง ทีแรกต้องรู้กายรู้ใจก่อน พอรู้กายรู้ใจไปนาน ๆ ก็จะเห็นความจริงของกายของใจ ตรงที่มีสติรู้กายรู้ใจนี่ถือว่าดีนะ มีสติแล้ว รู้กายรู้ใจ แต่ยังไม่มีปัญญา ตรงที่เห็นความจริงว่ากายนี้ใจนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาถึงจะเรียกว่ามีปัญญา พอมีปัญญาเห็นความจริง จิตจะค่อย ๆ ลดกิเลส ๆ เป็นลำดับไป พากเพียรเอานะ ที่เหลือคือพวกเราต้องช่วยตัวเองแล้ว หลวงพ่อช่วยไม่ไหวแล้วนะ ขนาดพระพุทธเจ้าท่านยังบอกว่า “ท่านเป็นแค่ผู้บอกทาง” แล้วหลวงพ่อจะเป็นแค่อะไรละ หลวงพ่อก็เป็นแค่ผู้จำทางมาบอก “พระพุทธเจ้าท่านเป็นผู้บอกทาง หลวงพ่อเป็นเพียงผู้จำทางมาบอก พวกเรามีหน้าที่เดินทาง เส้นทางสายนี้ยังมีคนเดินอยู่ ยังไม่ขาดสาย ยังไม่ขาดระยะ ต้องรีบเดิน ถ้าขาดช่วงเมื่อไหร่จะหาเส้นทางนี้ได้อีกยากแสนยาก นานหนักหนากว่าจะมีผู้รู้เส้นทางนี้ขึ้นมา กว่าพระพุทธเจ้าจะค้นพบเส้นทางเส้นนี้ มีโอกาสแล้ว รู้ทางแล้ว ต้องรีบเดิน พระพุทธเจ้าเดินนำหายไปก่อนแล้ว ครูบาอาจารย์เดินตามหลังมา ยังเห็นรอยเท้าอยู่ นานไปรอยเท้านี้หายไป เพราะฉะนั้น เราต้องรีบเดินตาม ก่อนที่รอยเท้าของท่านจะหายไปหมด” ไม่มีอะไรมากหรอกนะ รู้สึกตัว รู้สึกตัวแล้วค่อย ๆ รู้สึกกายอย่างที่เขาเป็น รู้ใจอย่างที่เขาเป็น อย่าเเพ่งกาย อย่าเพ่งใจ อย่าไปกำหนดจดจ้อง ที่กำหนด ๆ นั้นนะ มันไม่ใช่นะ มันเป็นสมถะ กำหนด แปลว่า กด กำหนดเป็นภาษาเขมรนะ มาจากคำว่ากดนั่นเอง กด กดไว้ ข่มไว้ ให้เรารู้ ไม่ใช่ให้เราบังคับ รู้ไปเรื่อยจนเห็นความจริง เห็นความจริงแล้วก็หลุดพ้นไป พระพุทธเจ้าบอกว่า “เพราะเห็นตามความเป็นจริงจึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีก” งานนี้เสร็จ จบแล้วนิ เสร็จกิจแล้วนี่ ก็หมดแค่นี้แหละ ที่เหลือไปทำเอาเอง

วันศุกร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายนาฬิกาชีวิตกับร่างกายมนุษย์ กฎเกณฑ์ธรรมชาติเกิดได้อย่างไร เชื่อว่าเกิดจาก 2 ปัจจัยคือ ปัจจัยภายในของสิ่งมีชีวิตเอง ซึ่งคงความเป็น กฎเกณฑ์เฉพาะตัว เมื่อได้รับปัจจัยภายนอกจากสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ทำให้ร่างกายมีการปรับสภาพภายใน จนสามารถ ส่งทอดลักษณะ การทำงานนั้นไปยังลูกหลาน เป็นการถ่ายทอดพันธุกรรม Mills นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ตัวกำหนดนาฬิกาหลัก น่าจะอยู่ที่ระบบประสาทส่วนกลางคือ สมอง ซึ่งควบคุมนาฬิกาย่อยๆ ในระบบต่างๆ ของร่างกาย ศูนย์ควบคุมนี้อยู่ที่ส่วนไหนของสมอง จากการสังเกตพบว่า บริเวณ Supraoptic nucleus ถูกทำลายจะส่งผลกระทบต่อกฎเกณฑ์ การหลั่งฮอร์โมนของต่อมไพเนียล และต่อมหมวกไต พฤติกรรมการดื่มน้ำ การเคลื่อนไหว ถูกแปลงไปหมด แสดงว่า Supraoptic nuckeus น่าเป็นจุดศูนย์กลางควบคุมนาฬิกาชีวิต ของร่างกาย ต่อมไพเนียลมีส่วนประกอบของ 5 HT ปริมาณมาก ซึ่งเป็นสารที่สามารถเปลี่ยนเป็น ฮอร์โมนเมลาโทนิน เมื่อมีแสงมากระตุ้น ประสาท การรับแสงบริเวณจอตา จะมีการส่งกระแสประสาทผ่านไปยัง Supraoptic nuckeus จะมีการยับยั้งการทำงาน ของต่อมไพเนียล ทำให้การหลั่งเมลาไทนินน้อยลง ในทางกลับกันเมื่อไม่มีแสงหรือในท่ามกลางความมืด ระบบประสาทซิมพาเธติกจะถูกกระตุ้น มีการหลั่งสารนอร์อะดรีนาลิน เพื่อกระตุ้นการทำงานของต่อมไพเนียล ทำให้มีการสร้างเมลาโทนินมากขึ้น แสงสว่าง ความมืด มีผลต่อ 5 HT และฮอร์โมนเมลาโทนิน มีผลกระทบต่อกฎเกณฑ์การนอนหลับของคน โดยเฉพาะคนที่ทำงานผลัดกลางคืน พนักงานสายการบิน จึงมีการนำเอาเมลาโทนินมาใช้ปรับการนอนหลับ โดยนำมาทดแทนปริมาณการผลิตเมลาโทนินที่ลดลงของต่อมไพเนียล จึงมีคนนิยมใช้มีลาโทนิน เป็นยาปรับสภาพสมดุลเนื่องจากการทำงาน การผิดเวลานอน หรืออดนอนหลายคืน มีความพยายามจะค้นหาตำแหน่งของการกำหนดนาฬิกาชีวิตในแต่ละอวัยวะ เช่น ต่อมใต้สมอง ต่อมไทรอยด์ ต่อมหมวกไต โดยการคัดเอาสมองส่วนเปลือก สมองส่วนหลัง รอยหยักของสมอง แล้วไปสำรวจกฎเกณฑ์การทำงานของต่อมต่างๆ ก็ไม่สามารถพบกฎเกณฑ์นาฬิกาชีวิตได้ การวิจัยนาฬิกาชีวิต ตัวอย่างการวิจัยเกี่ยวกับนาฬิกาชีวิตระบบต่างๆ ของร่างกาย 1. การแบ่งเซลล์ของร่างกายมนุษย์ มีการแบ่งตัวประมาณ 50 ครั้ง ในชั่วอายุขัย 2. ปริมาณเม็ดเลือดขาว ที-ลิมโฟไซต์ และเม็ดเลือดขาวติดสีกรด จะสูงสุดช่วง 00.00-04.00 น. และต่ำสุด 12.00-16.00 น. 3. ความดันเลือด ระยะคลายตัวของหัวใจ เวลา 09.00 น. ประมาณ 72-80 มม.ปรอท เวลา 14.00 น. ประมาณ 84-90 มม.ปรอท การเต้นของหัวใจแรงสุดประมาณ 08.00 น. การเต้นของหัวใจต่ำสุดประมาณ 20.00 น. 4. ระบบการหายใจ การเปลี่ยนแปลงขนาดของปอด หรือการพยายตัวของปอดจะสูงช่วง 06.00-07.00 น. และ 18.00-21.00 น. ผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียนเป็นเลือดมักเกิดอาการสูงสุดในช่วงเวลานี้ 5. ระบบการย่อยอาหารและดูดซึม การขับน้ำย่อยของตับอ่อนจะต่ำสุดในฤดูร้อน ทำให้ฤดูร้อนเบื่ออาหาร กินอาหารไม่ได้มาก ปริมาณของน้ำย่อยของตับอ่อนช่วงเวลากลางคืนลดลง เมื่อเทียบกับกลางวัน การทดลองของ F.Halbens ในอาสาสมัคร 7 คน โดยให้อาหารประเภทเดียวกันปริมาณ 2,000 แคลอรี กลุ่มแรกให้กินตอนเช้า อีกกลุ่มให้กินตอนกลางคืน ผลปรากฏว่ากลุ่มที่กินตอนกลางคืนมีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน 6. อุณหภูมิของร่างกาย อุณหภูมิของร่างกายต่ำสุดอยู่ในช่วง 00.00-06.00 น. อุณหภูมิของร่างกายสูงสุดในช่วง 17.00-18.00 น. และทุก 2-3 ชั่วโมง จะมีการปรับของอุณหภูมิครั้งหนึ่ง 7. ระดับกลูโคสในเลือด ระดับกลูโคสในเลือดของหนูทดลองสูงสุดเวลาประมาณ 08.30 น. ต่ำสุดช่วงเวลา 20.30 น. แม้ในภาวะที่หิวจัด ระดับกลูโคสก็จะดำรงอยู่เช่นนี้ ไม่เปลี่ยนแปลงในร่างกายมนุษย์ ระดับน้ำตาลเริ่มลดลงตั้งแต่พลบค่ำ (18.00 น.) และค่อยๆ ลดลงต่ำสุดระหว่างเวลา 03.00 – 06.00 น. กฎเกณฑ์นี้นำมาประยุกต์กับการรักษาเบาหวาน ซึ่งมักจะต้องใช้ยาช่วงเวลากลางวัน ที่มีแนวโน้มน้ำตาลกลูโคสในเลือดสูง ถ้าผู้ป่วยกินยาลดน้ำตาลในเลือดเกินขนาด หรือมากเกินช่วงกลางคืน อาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำและมีอาการช็อกได้ 8. ระบบการขับถ่าย ไตมีหน้าที่ขับถ่ายของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึมของร่างกายได้สูงสุดระหว่างช่วงเช้าถึงเที่ยงวัน การขับ K+(potassium) ของทารกในครรภ์เริ่มตั้งแต่ สัปดาห์ที่ 4-20 และขึ้นกับปัจจัยหลายประการ เช่น การนอนหลับ การเคลื่อนไหว รวมถึงการทำงานของต่อมหมวกไต คนปกติที่นอน 23.00 น. ตื่นนอน 07.00 น. การขับของเสียสูงสุดในช่วงกลางวัน 10.30-16.30 น. และต่ำสุดช่วงกลางคืน (เวลานอนหลับ) 9. ระบบฮอร์โมน ระดับฮอร์โมนเทสโตสเตอรอน ในเลือดสูงสุดเวลา 08.00-09.00 น. และต่ำสุดในช่วงกลางคืน ระดับฮอร์โมนที่กระตุ้นต่อมหมวกไต ต่ำสุดช่วง 04.00-18.00 น. ระดับฮอร์โมน ACTH ตรงกันข้ามจะสูงตอนเช้า (08.00-09.00 น.) ระดับฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ เริ่มต้นสูงตั้งแต่ 04.00 น. และสูงสุดในช่วง 06.00-08.00 น. ต่ำสุดระหว่าง 22.00-01.00 น. ช่วงเวลาตั้งแต่เที่ยงคืนถึง 09.00 น. มีปริมาณการหลั่งถึงร้อยละ 70 ของปริมาณฮอร์โมนทั้งหมดของรอบ 24 ชั่วโมง ระดับฮอร์โมนที่มากระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ จะสูงสุดช่วงหัวค่ำถึงเที่ยงคืน คนที่ทำงานเวรผลัดดึกหลายๆ วัน ต้องใช้เวลาการปรับสภาพการทำงานของต่อมไพเนียลนานเป็นสัปดาห์ จึงจะเข้ากฎเกณฑ์ปกติ (melatonin จะต้องหลั่งมากกลางคืน-ตอนมืด) ฮอร์โมนการเจริญเติบโต จะหลั่งสูงสุด ภายหลังการนอนหลับลึกยามค่ำคืน ฮอร์โมนโพรแล็กทิน เริ่มจะสูงขึ้นในช่วง 60-90 นาที หลังนอนหลับกลางคืน และค่อยๆ สูงสุดเวลาหัวรุ่ง 05.00-07.00 น. และลดลงอย่างรวดเร็ว จนถึง 10.00 น. สู่ระดับต่ำสุด 10. ระบบสืบพันธุ์ รอบประจำเดือนกับข้างขึ้น-ข้างแรม มีความสัมพันธ์กับผลการสำรวจสถิติของการมีประจำเดือนพบว่า รอบประจำเดือนเฉลี่ยอยู่ที่ 29.5 วัน ซึ่งใกล้เคียงกับรอบของการเกิดข้างขึ้น-พระจันทร์เต็มดวงจนกระทั่งข้างขึ้นใหม่ ช่วงเวลาตกไข่ของสตรีมักอยู่ช่วงพระจันทร์เต็มดวง และโอกาสของการตั้งครรภ์มักอยู่ในช่วงก่อนและหลังพระจันทร์เต็มดวง อัตราการกำเนิดทารกสูงสุด จะเป็นช่วงพระจันทร์เต็มดวง ต่ำสุดช่วงเดือนมืดและช่วงกำลังจะเกิดข้างขึ้น และช่วงเวลาที่คลอด มักจะเป็นหลังเที่ยงคืน อัตราการเกิดในช่วงกลางวันมีประมาณ ร้อยละ 60 Halbens สำรวจตัวอย่างประชากรที่คลอดประมาณ 20 ล้านคนพบว่าการเจ็บครรภ์ใกล้คลอด ถุงน้ำคร่ำแตก การเกิดทารกมักอยู่ระหว่างเวลา 00.00-06.00 น. วิถีชีวิตที่เปลี่ยนไป สภาพธรรมชาติรอบตัวที่เปลี่ยนไป ส่งผลกระทบต่อการปรับสมดุล ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับธรรมชาติ การฝืนกฎเกณฑ์แห่งธรรมชาติ ทำให้สิ่งมีชีวิตปรับตัวไม่ทัน เกิดการเสียสมดุลอย่างต่อเนื่องยาวนาน พลังชีวิตของร่างกายแปรปรวน เกิดอาการและโรคต่างๆ ตามมามากมาย "มนุษย์กับธรรมชาติเป็นหนึ่งเดียว" คงเป็นสัจธรรมที่ต้องเรียนรู้และนำมาปฏิบัติในการดำเนินชีวิต เพื่อให้จังหวะของการทำงานของเรา สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ธรรมชาติที่กำหนดโดยนาฬิกาชีวิตนั่นเอง ที่มา ข้อมูลจาก นิตยาสารหมอชาวบ้าน ปีที่ 29 ฉบับที่ 338 มิถุนายน 2550 หน้า 38-41 สรุปเนื้อหาหนังสือ นาฬิกาชีวิต (Biological Clock) โดย อ . สุทธิวัสส์ คําภา การแพทย์ตะวันออกถือว่า กลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของมนุษย์อย่างแยกไม่ออก โดยมองลึก ลงไปอีกว่า ช่วงเวลา 24 ชั่วโมง ในหนึ่งวันนั้น ภายในร่างกายของมนุษย์ยังมีการไหลเวียนของพลังชีวิตที่ผ่าน อวัยวะภายในของร่างกายซึ่งประกอบด้วย อวัยวะตันและอวัยวะกลวง อวัยวะตัน ! หมายถึง ! หัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ม้าม ตับ ไต ! อวัยวะกลวง ! หมายถึง ! กระเพาะอาหาร ถุงน้ําดี ลําไส้ใหญ่ สําไส้เล็ก กระเพาะปัสสาวะ ระบบ ความร้อนของร่างกาย ( ชานเจียว ) การไหลเวียนของพลังชีวิต ( ลมปราณ ) ที่ผ่านแต่ละอวัยวะนั้นจะใช้เวลาสองชั่วโมง ทั้งหมดมี 12 อวัยวะ รวม 24 ชั่วโมง คือ หนึ่งวัน เรียกว่า “นาฬิกาชีวิต” ตัวอย่าง เช่นการไหลเวียนของเส้นลมปราณปอด จะมีพลังไหลเวียนเริ่มต้นที่เวลา 03.00 น . และสูงสุดในช่วงเวลา ประมาณ 04.00 น . จากนั้นจะค่อยๆ ลดลงและออกจากเส้นลมปราณปอดไปยังเส้นลมปราณลําไส้ใหญ่ เวลา 05.00 น . การรักษาโรคของเส้นลมปราณปอดที่ให้ประสิทธิภาพสูงสุด จึงควรอยู่ระหว่างเวลา 03.00 - 05.00 น . ได้มีการ ศึกษาวิจัยพบว่า ผลของการใช้ยาตะวันตกคือ ยาดิติตาลิส ในการรักษาโรคหัวใจล้มเหลว ( มีการคั่งของน้ําในปอด ) การให้ยาในช่วงเวลา 04.00 น . จะให้ผลออกฤทธิ์ประมาณสี่สิบเท่าของการให้เวลาอื่น เป็นต้น การเคลื่อนไหวของ พลังชีวิตของอวัยวะภายในมีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนและสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับเวลา ( นาฬิกาชีวิต ) ร่างกายเราจึงมีกลไก การปรับตัวมีการสร้างสารคัดหลั่งฮอร์โมน การทํางานของระบบต่างๆ ฯลฯ เป็นไปตามสภาพธรรมชาติที่เปลี่ยน แปลงไป การดําเนินชีวิตและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชีวิตประจําวันให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ จึงเป็น หลักฐานของการมีสุขถาพดีและมีอายุยืน ปราศจากโรค โดยแบ่งเป็นช่วงเวลาดังนี้ 01.00 – 03.00 น. เป็นช่วงเวลาของตับ ควรนอนหลับพักผ่อนถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ ตับจะหลั่งสารมีราโทนิน (meratonin) เพื่อฆ่าเชื้อโรค ทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย นอกจากร่างกายจะหลั่งสาร มีราโทนินประจำแล้ว ยังหลั่งสารเอนโดรฟิน (endorphin) ออกาด้วยจึงไม่ควรทานอาหาร เพราะจะทำให้ตับทำงานหนักและเสื่อมเร็ว หน้าที่หลักของตับคือ ขจัดสารพิษในร่างกาย ส่วนหน้าที่รองคือ 1. ช่วยไตในการดูแลผม ขน เล็บ ถ้าตับมีปัญหา ผม ขน เล็บ จะไม่สวย 2. ช่วยกระเพาะย่อยอาหาร ถ้ากินบ่อยๆ จะทําให้ตับทํางานหนัก ตับจะหลั่งน้ําย่อยออกมามาก จึงไม่ได้ทําหน้าที่ หลัก เป็นเหตุให้สารพิษตกค้างในตับ 03.00 – 05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จึงควรตื่นนอนลุกขึ้นเพื่อสูดอากาศที่บริสุทธิ์ และรับแสงแดดในยามเช้า ผู้ที่ตื่นนอนช่วงนี้เป็นประจำปอดจะดี ผิวดีขึ้น และจะเป็นคนที่มีอำนาจในตัว 05.00 – 07.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้ใหญ่ ควรขับถ่ายอุจจาระทำให้เป็นนิสัยทุกเช้า ถ้าไม่ถ่ายให้ใช้วิธี 1.กดจุดที่ตำแหน่งสองข้างของจมูก 2.ถ้ายังไม่ถ่ายให้ดื่มน้ำอุ่นสองแก้ว 3.ถ้ายังไม่ถ่ายอีกให้ดื่มน้ำผึ้งผสมมะนาว โดยใช้น้ำ 1 แก้ว + น้ำผึ้ง 1 ช้อนโต๊ะน้ำมนาว 4-5 ลูก ทำดื่มจนกว่าจะถ่าย 4.บริหารโดยยืนตรง หายใจเข้าก้มลงพร้อมทั้งหายใจออก เอามือเท้าเข่าแขม่วท้องจนเหมือนว่าท้องไปติดกับสันหลัง 07.00 - 09.00 น. เป็นช่วงเวลาของกระเพาะอาหาร กระเพาะ อาหารจะทำงาน ถ้ากินอาหารในระยะเวลานี้ทุกวัน กระเพาะอาหารจะแข็งแรง ถ้าปล่อยให้กระเพาะอาหารอ่อนแอ จะส่งผลให้เป็นคนตัดสินใจช้า ขาไม่ค่อยมีแรง หน้าแก่ก่อนวัย 09.00 – 11.00 น. เป็นช่วงเวลาของม้าม ม้ามจะอยู่ชายโครงด้านซ้าย มีหน้าที่ควบคุมเม็ดเลือด สร้างน้ำเหลือง ควบคุมไขมัน คนที่ปวดศรีษะบ่อยมักมาจากความผิดปกติของม้าม อาการเจ็บชายโครงสาเหตุมาจากม้ามกับตับ - ม้ามโต ม้ามจะเบียดปอด ทำให้เหนื่อยง่าย ผอมเหลือง ตาเหลือง สร้างเม็ดเลือดขาวได้น้อย - ม้ามชื้น อาหารและน้ำที่กินเข้าไปจะแปรสภาพเป็นไขมัน จึงทำให้อ้วนง่าย ผู้ที่มักนอนหลับในช่วงเวลา 09.00 - 11.00 น. ม้ามจะอ่อนแอ นอกจากนี้ม้ามยังโยงถึงริมฝีปาก ผู้ที่พูดบ่อยๆ หรอพูดเก่งๆ ม้าจะชื้น จึงควรพูดน้อย กินน้อย ม้ามจึงจะแข็งแรง 11.00 – 13.00 น. เป็นช่วงเวลาของหัวใจ หัวใจทำงานหนักในช่วงเวลานี้ จึงควรหลีกเลี่ยงความเครียด เหตุที่ทำให้ต้องใช้ความคิดหนัก และหาทางระงับอารมณ์ตื่นเต้นหรือตกใจให้ได้ 13.00 - 15.00 น. เป็นช่วงเวลาของลำไส้เล็ก จึงควรงดการกินอาหารทุกประเภท เพื่อเปิดโอกาสให้ลําไส้ทํางาน ลําไส้เล็กมีหน้าที่ดูดซึมสารอาหาร ที่เป็นน้ําทุกชนิด เช่น วิตามินซึ บี โปรตีน เพื่สร้างกรดอะมิโน สร้างเซลล์สมอง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ สร้างไข่สําหรับผู้หญิง ถ้ากรดอะมิโนน้อย ไข่จะมาไม่ครบทุกเดือน ผู้หญิงมีลําไส้ยาวกว่า ผู้ชาย 11 ฟุต เพื่อให้ดูดซึมได้นานกว่า เนื่องจากต้องใช้กรดอะมิโนมากกว่าผู้ชาย เม่ือลําไส้ยาวกว่า จึงมีกระดูก ซึ่โครงมากกว่าผู้ชายข้างละ 1 ซึ่ 15.00 - 17.00 น . เป็นช่วงเวลาของกระเพาะปัสสาวะ แนวพลังของกระเพาะปัสสาวะเริ่มจาก หัว ตา ผ่านหน้าผาก ศีรษะ ท้ายทอย แผ่นหลังทั้งแผ่น สะโพก ด้านหลังขา หัวเข่า น่อง ส้นเท้า นิ้วก้อย กระเพาะปัสสาวะจะเกี่ยวข้องกับ ระบบความจํา ไทรอยด์และระบบเพศทั้งหมด ช่วงนี้จึงควรทำให้เหงื่อออก อาจจะออกกำลังกายหรืออบตัวกระเพาะปัสสาวะจะได้แข็งแรง **ข้อควรระวัง - ถ้าเหงื่อมีโซเดียมปนออกมามากไตจะวาย - ถ้ามีโปรตัสเซียมออกมามาก หัวใจจะวาย แก้ไขเรื่องหัวใจจะวายด้วยการให้ดื่มน้ำส้มหรือน้ำมะนาวเพื่อเพิ่มโปตัสเซียม -การอั้นปัสสาวะบ่อยๆปัสสาวะจะถูกดูดซึมเข้าในกระแสเลือด ทำให้เหงื่อที่ออกมี่กลิ่นเหม็นเหมือนปัสสาวะ 17.00 - 19.00 น. เป็นช่วงเวลาของไต จึงควรทำใจให้สดชื่น ไม่ง่วงเหงาหงาวนอนในช่วงเวลานี้ ผู้ใดมีอาการง่วงหงาวหาวนอนในช่วงเวลานี้ ผู้ใดมีอาการง่วงนอนในช่วงเวลานี้ แสดงว่ามีปัญหาเรื่องไตเสื่อม ถ้านอนแล้วเพ้อ แสดงว่าอาการหนักมาก - ไตซ้ายจะคุมสมองด้านขวา ซึ่งควบคุมด้านความคิดสร้างสรรค์อารมณ์สุนทรีย์ รักสวยรักงาม ชอบแต่งตัว ถ้าไตซ้ายมีปัญหา อารมณ์รักสวยรักงามจะหมดไป กลายเป็นคนปล่อยเนื้อปล่อยตัว และเป็นคนขี้ร้อน - ไตขวาจะควบคุมสมองด้านซาย ซึ่งควบคุมด้านความทรงจำ ถ้าไตขวามีปัญหา ความจำจะเสื่อม และเป็นคนขี้หนาว (ผู้ทีไตแข็งแรงจะเป็นคนที่มีอายุยืน เป็นคนกล้า) ถ้าลำไส้เล็กมีไขมันเกาะมาก อาหารที่อยู่ในรูปของสารละลายจะผ่านลำไส้เล็กมิได้ จึงตกเป็นภาระของไต เป็นผลให้ตับจึงกลายเป็นโรคไต สมองจะเสื่อม ปวดหลัง เป็นหวัดง่าย มีเสลดในคอ การดูแล คือ ตอนเช้าอาบนำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น กรณีที่อาบน้ำไม่ได้ ให้ใช้วิธีแช่เท้า แต่น้ำควรจะใส่สมุนไพรที่ถูกแลกกับผู้ป่วย เช่น ขิง ข่า กระชาย อย่างใดอย่างหนึ่ง 19.00 – 21.00 น. เป็นช่วงเวลาของเยื่อหุ้มหัวใจ เวลานี้ควรจะสวดมนต์ ทำสมาธิ ปัญหาเกี่ยวกับเยื่อหุ้มหัวใจ คือ หัวใจโต หัวใจรั่ว เส้นโลหิตหัวใจตีบ ดังนั้นผู้ป่วยต้องระวังเรื่องตื่นเต้น ดีใจ การหัวเราะ กรณีเส้นเลือดขอด ต้องดูแลเยื่อหุ้มหัวใจให้แข็งแรง ควรใส่เสื้อผ้าสีดำ เทา แช่เท้าในน้ำอุ่น 21.00 - 23.00 น . เป็นช่วงเวลาที่ต้องทําให้ร่างกายอบอุ่น จึงห้ามอาบน้ําเย็นในช่วงเวลานี้ เพราะจะทําให้เจ็บป่วย ได้ง่าย อย่าไปตากลม เพราะเป็นช่วงที่ลมเป็นพิษ 21.00 - 01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะมีการดึงน้ำจากดี ทำให้ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับดื่นกลางดึก หรือตอนเช้าจะจาม (ถุงน้ำดีไปถึงปอด) จะปวดศรีษะข้างเดียวหรือสองข้างโดยไม่ทราบสาเหตุเอาถุงน้ำดีออก เมื่อตรวจลูกกระดิ่งจะพบว่า ถุงน้ำดีข้น มักมีอาการปวดสะโพก) ทางแก้คือ อย่าใส่ชุดนอนเป็น้าใยสังเคราะห์ ไนล่อน ชุดนอน เพราะใยสังเคาระห์จะไปดูดน้ำในร่างกาย **ดังนั้นควรดื่มน้ำก่อนนอน หรือก่อนเวลา 23 น. ที่มา จากหนังสือนาฬิกาชีวิต แสดงน้อยลง ตอบกลับ · สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ แชร์ใน Google+ แล้ว · 3 เดือนที่ผ่านมา จิตใจของเรามีคุณภาพระดับไหน เราก็เห็นธรรมะระดับนั้น ถ้าวันไหนจิตใจเราขุ่นมัว โลกทั้งโลกจะขุ่นมัวไปหมด วันไหนจิตใจเราเบิกบานแจ่มใส โลกนี้เบิกบานแจ่มใสไปกับเราด้วย ถ้าวันใดใจของเราพ้นจากความปรุงแต่ง เราจะเห็นธรรมที่พ้นความปรุงแต่ง ตอบกลับ · apichet panjarat 4 เดือนที่ผ่านมา ผมฟังหลายรอบแล้วชอบมากขอบคุณผู้เผยแพร่อนุโมทนาสาธุๆๆขอให้เป็นพลวปัจจัยให้เกิดปัญญาญานทั้งชาตินี้และชาติหน้าตลอดชาติอย่างยิ่งจนถึงความพ้นทุกข์คือพระนิพพานเถิด นมัสการพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ สาธุๆๆ ตอบกลับ · Sompong Tungmepol แชร์ใน Google+ แล้ว · 6 เดือนที่ผ่านมา การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ · แสดงเพิ่ม เล่นอัตโนมัติ รายการถัดไป ผู้สละโลก ปลดแอก โดย Sompong Tungmepol ดู 207,961 ครั้ง 1:02:27 ผู้สละโลก ทุกข์ในรูปแห่งสุข โดย Sompong Tungmepol ดู 198,679 ครั้ง 1:02:31 อาจารย์มั่น ภูริทัตโต นิมิตพระอรหันต์นิพาน โดย tharat noiyai ดู 237,373 ครั้ง 56:21 ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด โดย Sompong Tungmepol ดู 54,632 ครั้ง 1:02:26 พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9 โดย Sompong Tungmepol ดู 27,288 ครั้ง 59:38 แนวทางปฏิบัติธรรมของหลวงปู่ดูลย์ โดย KlomKlomFB ขอแนะนำสำหรับคุณ 46:07 53 วิดีโอ คิริมานนทสูตร 1 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla ผู้สละโลก พระมหาโมคคัลลานะเถระกับโกสิยะเศรษฐี โดย Sompong Tungmepol ดู 62,059 ครั้ง 1:02:31 ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลก โดย Sompong Tungmepol ดู 157,493 ครั้ง 1:01:20 ทางชีวิต เล่มที่ ๑ โดย hiphoplanla ดู 253,668 ครั้ง 58:15 พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน โดย doisaengdham ดู 160,744 ครั้ง 1:32:04 พระอานนท์ พระพุทธอนุชา บทนำเรื่อง โดย Sompong Tungmepol ดู 64,170 ครั้ง 59:56 พุทธโอวาทก่อนปรินิพพาน โดย hiphoplanla ดู 919,839 ครั้ง 1:23:51 วิธีการฝึกดูจิตในชีวิตประจำวัน โดย Dungtrin Answer ขอแนะนำสำหรับคุณ 9:17 วิธีภาวนาเมื่อเครียด โดย pongpetch ขอแนะนำสำหรับคุณ 3:54 อานาปานสติ 16 ขั้น ตอนที่ 1 (ขั้นที่ 1,2,3) โดย Dhamma Naturemind ดู 33,944 ครั้ง 1:02:39 พุทธวจน-ปฏิจจสมุปบาท โดย buddhakoss ดู 28,255 ครั้ง 18:03 ความรัก ความร้าย โดย hiphoplanla ดู 805,434 ครั้ง 1:18:58 เหตุที่บุคคลระลึกชาติไม่ได้ โดย hiphoplanla ดู 133,888 ครั้ง 27:49 เรื่องพระมหากัสสปะมหาเถระเจ้า ตอนที่ 0001B01 โดย Sompong Tungmepol ดู 4,853 ครั้ง 31:13

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายหญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต” แสดงน้อยลง

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย“อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต”

กระบวนการเกิดอริยมรรคอริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

วิธีดับทุกข์ทางใจด้วยการเจริญวิปัสสนาปัญญาถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

เราจะรู้แจ้งในจิตของเราในขณะจิตเดียวถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,

วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2558

วางระบบน้ำในไร่มัน โดย ผู้จัดการมัน

วางระบบน้ำในไร่มัน โดย ผู้จัดการมัน

วิธีการปลูกมันสำปะหลัง 30 ตันต่อไร่ กศน.อำเภอเมืองอุดรธานี

วิธีการปลูกมันสำปะหลัง 30 ตันต่อไร่ กศน.อำเภอเมืองอุดรธานี

ผู้สละโลก ปลดแอกออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

กามชาดกออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2558

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิต

อะไรที่ฝึกฝนจนเป็นอัตโนมัติจะเป็นเรื่องง่าย

ฌานจิตหรือเอโกทิภาวะถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

องค์ธรรมที่พิเศษและอัศจรรย์ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

วันอังคารที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ระบบความคิดความจำในสมองของมนุษย์พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติพอจิต­เข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อ­นไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะ­ไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้ว ทวนจิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภู­มิ ทวนกระแสเข้ามาทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุร­ู้ ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก

วันจันทร์ที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2558

กระบวนการเกิดอริยมรรคสุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ สวนสันติธรรม วันศุกร์ ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๔

inverter welding repairs Tips and Tricks

เราจะรู้แจ้งในจิตของเราในขณะจิตเดียว ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้

จิตดูจิตจิตเห็นจิตพอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติพอจิต­เข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อ­นไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะ­ไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้ว ทวนจิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภู­มิ ทวนกระแสเข้ามาทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุร­ู้ ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ