วันพุธที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2559

กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ. เราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ ไปอีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกันเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ ตรงที่จิตเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานนี่ เป็นจุดที่จะแตกหักเลย ว่าเราจะทำวิปัสสนากรรมฐาน เราจะเดินปัญญา ได้หรือไม่ได้ ถ้าจิตเราไม่ตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เราไม่สามารถจะเจริญวิปัสสนากรรมฐานได้จริงๆ เพราะวิปัสสนากรรมฐานนั้น ทำไปเป็นการเจริญปัญญา ปัญญานั้นมีสมาธิเป็นเหตุใกล้ให้เกิด สมาธินั้นต้องเป็นสมาธิที่จิตตั้งมั่น ในทางตำรา ทางปริยัติเนี่ย คำว่าสมาธิก็แปลว่าความตั้งมั่น แต่พวกเราชอบมักง่าย ไปแปลสมาธิว่าความสงบ คนละตัวกันนะ เราต้องมาฝึกจิตใจให้ตั้งมั่น จิตใจที่ตั้งมั่นคือจิตใจที่อยู่กับเนื้อกับตัว ไม่ลืมเนื้อลืมตัว ตอนหลวงพ่อเป็นโยมนะ หลวงพ่อพยายามฝึก ตอนเด็กๆนะฝึกได้แต่สมาธิสงบ ต่อมาโตขึ้นมานะเจอครูบาอาจารย์ เข้าวัดไปท่านก็พูดแต่คำว่ามีจิตผู้รู้ หลวงปู่ดูลย์พูดบอกว่า ไม่ให้เอาจิตออกนอก ไม่ให้ส่งจิตออกนอก จิตที่ส่งออกนอกก็คือจิตที่มันหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปคิด มันลืมตัวเอง จิตที่ไม่ออกนอกก็คือจิตที่รู้เนื้อรู้ตัวอยู่ งั้นหลวงพ่อก็มาฝึก พยายามให้จิตรู้เนื้อรู้ตัว ไม่ให้ลืมเนื้อลืมตัว จนกระทั่งบางทีนะครูบาอาจารย์บางองค์ อย่างหลวงปู่สิม ที่ถ้ำผาปล่อง เวลาไปกราบท่าน ท่านไม่รู้จักชื่อหลวงพ่อ ไม่เคยบอกท่าน ท่านเรียกหลวงพ่อว่า ผู้รู้ ผู้รู้ ให้ฉายาว่า ผู้รู้ ผู้รู้ ก็คือเรามีจิตที่รู้เนื้อรู้ตัวอยู่ จิตเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานอยู่ เมื่อเราฝึก มันต้องมีวิธีฝึก วิธีฝึกมันจะต่างกับการที่จะฝึกให้จิตสงบ การจะให้จิตสงบนั้น ให้เราน้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว จิตไม่ไปฟุ้งซ่านไปสู่อารมณ์อันอื่น จิตก็สงบ เช่นบางคนมีความสุขที่จะท่องพุทโธ พุทโธๆมีความสุขนะ พอจิตใจมีความสุข จิตจะไม่ฟุ้งไปที่อื่น ก็สงบอยู่กับพุทโธ คนไหนถนัดรู้ลมหายใจ รู้ลมหายใจแล้วมีความสุข รู้ลมหายใจไปเรื่อย หายใจไปรู้สึกตัวนะ หายใจสบาย จิตใจสงบอยู่กับลมหายใจ ไม่ฟุ้งไปที่อื่น ก็ได้ความสงบขึ้นมา คนไหนดูท้องพองยุบแล้วมีความสุข ก็ดูท้องพองยุบไป จิตใจมันก็สงบไม่หนีไปที่อื่น การที่จะฝึกให้จิตสงบนั้น ฝึกโดยการรู้จักเลือกอารมณ์ เราต้องดูว่าตัวเราเองนั้นอยู่กับอารมณ์ชนิดไหนแล้วมีความสุข เราก็อยู่กับอารมณ์ชนิดนั้นบ่อยๆ อยู่กับพุทโธแล้วมีความสุขเราอยู่กับพุทโธไป จิตก็สงบไม่หนีไปที่อื่น เพราะจิตมันพอใจกับพุทโธซะแล้ว มันก็ไม่ไปหาอารมณ์อันอื่น คนไหนหายใจเข้าหายใจออก รู้ลมหายใจเข้าหายใจออกแล้วมีความสุข เราก็อยู่กับลมหายใจไป จิตก็ไม่หนีไปที่อื่น เนี่ยเคล็ดลับของการทำความสงบนะ การทำสมถะ เลือกอารมณ์ ต้องดูของตัวเราเอง เราอยู่กับอารมณ์ชนิดไหนแล้วมีความสุข เราก็อยู่กับอารมณ์ชนิดนั้นบ่อยๆ จิตใจไม่หนีไปหาอารมณ์อย่างอื่น อันนี้แหละ เราได้สมถะกรรมฐาน ทีนี้ฝึกอย่างไรจะให้จิตตั้งมั่น จิตที่ตั้งมั่นนั้นมันตรงข้ามกับจิตที่ไม่ตั้งมั่น จิตที่ไม่ตั้งมั่นมันคือจิตที่ไหลไป มันหลงไป มันไหลไป ตลอดเวลา หลวงปู่ดูลย์เรียกว่าจิตออกนอก เราก็หากรรมฐานมาสักอย่างหนึ่งนะ เบื้องต้นเราต้องมีเครื่องอยู่ให้จิตอยู่สักอย่างหนึ่งก่อน คนไหนเคยพุทโธแล้วสบายใจนะ ก็พุทโธต่อไป แต่ไม่ใช่พุทโธเพื่อให้จิตสงบ เปลี่ยนนิดเดียวจากพุทโธเพื่อให้จิตสงบนะ มาเป็นพุทโธแล้วรู้ทันจิต พุทโธๆจิดหนีไปคิดรู้ทัน พุทโธๆจิตหนีไปคิดแล้วรู้ทัน พุทโธๆแล้วจิตไปเพ่งนิ่งอยู่เฉยๆก็รู้ทัน พุทโธแล้วรู้ทันจิตที่เคลื่อนไป เคลื่อนไปหลงไปคิด เคลื่อนไปเพ่ง ถ้าเรารู้ทันจิตที่เคลื่อนไปนะ จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ คนไหนเคยรู้ลมหายใจแล้วมีความสุขนะ เราก็สงบอยู่กับลมหายใจ เราก็รู้ลมหายใจต่อไป แต่ไม่ใช่รู้เพื่อให้จิตไปอยู่กับลมหายใจ ถ้ารู้แล้วให้จิตไปอยู่กับลมหายใจเราได้สมถะกรรมฐาน ได้ความสงบเฉยๆ เรามาปรับนิดหน่อย เราหายใจไปจิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตไปเพ่งใส่ลมหายใจเรารู้ทัน จิตหนีไปคิดเราก็รู้ หายใจไปจิตหนีไปเรารู้ จิตหนีไปคิดเรารู้ หรือหายใจไปจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจเรารู้ นี่ฝึกอย่างนี้บ่อยๆ จิตเคลื่อนไปแล้วเรารู้ทัน เคลื่อนไปคิดเราก็รู้ทัน เคลื่อนไปเพ่งลมหายใจเราก็รู้ทัน ถ้าเรารู้ทันอย่างนี้ได้ว่าจิตมันเคลื่อนไปนะ จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ใครถนัดดูท้องพองยุบ เคยดูท้องพองยุบ แล้วจิตไปสงบอยู่กับท้องก็เปลี่ยนนิดเดียว ดูท้องพองยุบไป จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปอยู่ที่ท้องก็รู้ทัน คนไหนถนัดเดินจงกรมนะ ก็เดินจงกรมไป จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปอยู่กับเท้าก็รู้ทัน คือรู้ทันจิตที่เคลื่อนไป การที่เราคอยรู้ทันจิตที่เคลื่อนไปนั้นแหละ จะทำให้จิตสงบตั้งมั่น ไม่ใช่สงบเฉยๆ สงบเฉยๆเนี่ยมันจะไหลไปรวมอยู่กับอารมณ์อันเดียว อันนี้มันจะสงบด้วยมันจะตั้งมั่นด้วย จิตมันจะถอนตัวออกจากโลกของความคิด มาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ตรงนี้พวกเราต้องฝึกให้ได้นะ ถ้าพวกเราไม่สามารถจะฝึกจิตให้เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ เรายังทำวิปัสสนากรรมฐานไม่ได้จริงหรอก ถึงจะไปนั่งคิดพิจารณากายเป็นปฏิกูล เป็นอสุภะอะไรอย่างนี้ มันยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐานหรอก วิปัสสนากรรมฐานนะเราต้องมีสติรู้กายรู้ใจ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง เราจะรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ความเป็นจริงคือไตรลักษณ์ เราจะเห็นไตรลักษณ์ของกายของใจได้ต่อเมื่อเรามีจิตที่ตั้งมั่น มีจิตที่เป็นกลาง ถ้าจิตเรายังหลงอยู่ในโลกของความคิด เราจะไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ มันจะเพ่งกายเพ่งใจเฉยๆ แต่จะไม่เห็นความจริงของกายของใจ คือไม่เห็นไตรลักษณ์หรอก งั้นเราต้องมาฝึกนะให้ใจตั้งมั่นขึ้นมาให้ได้ก่อน ตัวนี้เป็นจุดที่แตกหักเลย ว่าชาตินี้เราจะได้มรรคผลนิพพานหรือไม่ได้ ถ้าจิตใจเราไม่อยู่กับเนื้อกับตัว ชาตินี้เรายังไม่ได้มรรคผลนิพพานแน่นอน แต่ถ้าจิตใจของเราอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว จิตหนีไปเรารู้ทัน จิตหนีไปเรารู้ทัน จิตเราอยู่กับตัวเราเองทั้งวันทั้งคืน โอกาสที่เราจะเห็นความจริงของกายของใจ ก็เป็นไปได้

การฟังธรรมเป็นเหตุให้จิตหลุดพ้นจากอาสวะดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้นอาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ

การฟังธรรมเป็นเหตุให้จิตหลุดพ้นจากอาสวะดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้นอาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ

วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ทางนิพพานพระพุทธเจ้าตรัสถึงสิ่งซึ่งเป็นไปได้ยากหลายอย่าง เช่น การได้เกิดเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์อย่างพวกเรานั้นยาก เกิดมาแล้ว จะได้พบสัตบุรุษคือคนดีคนมีศีลมีธรรมก็เป็นไปได้ยาก พบแล้ว จะมีศรัทธาเข้าใกล้ก็ยาก เข้าใกล้แล้วจะได้ฟังธรรมก็ยาก ได้ฟัง ธรรมแล้วจะปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรมก็ยากขึ้นไปอีก หัดภาวนาใหม่ๆ มันมีความสุขมาก ไม่ได้ทำอะไรก็มีความสุขโชยขึ้นมาแผ่วๆ ความสุขผุดขึ้นมาทั้งวันเลย มีสติทีไรก็มีความสุข ทุกทีเลย ต่อไปพอสติปัญญาแก่กล้าขึ้นมา มันเปลี่ยนนะ ใจไม่ค่อยมีความสุขหวือหวาขึ้นมาอย่างตอนแรกแล้ว มันเริ่มเห็นทุกข์มากขึ้นๆ ยิ่งภาวนายิ่งเห็นทุกข์มากขึ้น เป็นเรื่องแปลก พอเรารู้สึกตัวขึ้นมา จิตตั้งมั่นอยู่กับเนื้อกับตัว ทำไมมีความสุข เพราะว่าเป็นสมถะ สมถะที่มีสมาธิ มีจิตตั้งมั่น จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวก็มีความสุข แต่พอถึงขั้นเดินปัญญา มันเป็นขั้นรู้ทุกข์ ไม่ใช่ขั้นมีความสุข ถ้าเราเดินปัญญา เราเริ่มเห็นทุกข์นานาชนิดหมุนเวียนกันเข้ามา ในกายในใจนี้ตลอดเวลา ไม่ได้เห็นสุขแล้ว แต่จะเห็นทุกข์ โลกนี้เต็มไปด้วยปัญหา คนเต็มไปด้วยความทุกข์ ถ้าคนไม่มีสติปัญญาก็จะแยกไม่ออกว่าปัญหากับความทุกข์เป็น คนละส่วนกัน โลกมันไม่เที่ยง มันเคลื่อนไปเรื่อยๆ ปัญหา ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สุขภาพ เรารักษาเอาไว้ดีแล้ว ไม่นานก็ ป่วยอีก เพราะมันไม่เที่ยง ทุกข์มีหลายแบบ มีหลายขั้น มีหลายตอน ในทางปริยัติ จําแนกไว้ถึง ๑๐ ประการ แต่สําหรับนักปฏิบัติ เรามาเรียนรู้ทุกข์ บางอย่างก็พอแล้ว ทุกข์หยาบที่สุดเรียกว่า “ทุกขเวทนา” อย่าง เจ็บไข้ได้ป่วย ปวดเมื่อย หนาวไป ร้อนไป หิวข้าวก็ทุกข์นะ มีทุกข์ ทางกาย มีทุกข์ทางใจ เรียกว่า “ทุกขเวทนา” อันนี้เป็นทุกข์ทั่วๆ ไป ใครๆ ก็มี สัตว์ก็มีทุกข์กายทุกข์ใจ ถ้าพวกเราภาวนา เราก็จะเห็นทุกขเวทนาเยอะแยะเลย นั่งอยู่ก็เมื่อย หายใจเข้าก็ทุกข์ หายใจออกก็ทุกข์ ถ้าสติเราเร็วพอ สติปัญญามากพอ ก็จะเห็นเลยว่าที่พยายามหายใจอยู่ตลอดเวลา นี่หายใจไปเพื่อแก้ทุกข์เท่านั้นเอง ที่เปลี่ยนอิริยาบถอยู่ตลอดเวลา ก็เพื่อแก้ทุกข์เท่านั้นเอง หายใจเข้าไปเรื่อยๆ ก็ทุกข์ ต้องหายใจออก แก้ทุกข์ หายใจออกไปเรื่อยๆ ก็ทุกข์ ต้องหายใจเข้า แก้ทุกข์ นั่งนานๆ มันเมื่อยมันทุกข์ ก็ต้องเปลี่ยนอิริยาบถไปขยับซ้าย ขยับขวา หรือลุกขึ้นยืน หรือลุกขึ้นเดิน หรือนั่ง เมื่อยมากก็ ลงนอน เปลี่ยนอิริยาบถเพื่อแก้ทุกข์ ในจิตใจก็เหมือนกัน จิตใจมันมีความทุกข์เกิดขึ้นเรื่อยๆ มันก็ดิ้นรนเที่ยวหาความสุขไปเรื่อย เวลามีความอยากเกิดขึ้นทีไร ก็มีความทุกข์เกิดขึ้นทุกที แต่เราไม่เห็นหรอก เราเห็นว่ามันไม่ สบายใจ พอไม่สบายใจ เราก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ มาป้อนมัน ไปดูหนัง ไปฟังเพลง ไปคุยกับเพื่อน ไปดูโน่นดูนี่ หรือหาหนังสือมาอ่านให้เพลินๆ ไปกินเหล้า เปลี่ยนอารมณ์ไป เรื่อยๆ จริงๆ ก็เพื่อแสวงหาความสุข เพื่อหนีความทุกข์ ใจมันไม่มีความสุขหรอก เฝ้ารู้เฝ้าดูไปนะ ไม่ว่าจะอารมณ์ชนิดไหนมันก็อยู่ได้ ชั่วคราว มันทนอยู่ไม่ได้สักอันเดียว เปลี่ยนอิริยาบถมาอยู่ใน อิริยาบถแบบนี้แล้ว นึกว่าจะอยู่สบายก็ไม่สบาย ทนอยู่ไม่ได้อีก จิตใจก็เหมือนกัน ไปกระทบอารมณ์อย่างนี้นึกว่าจะสบาย ก็สบายแป๊บๆ เดี๋ยวก็ทนอยู่ไม่ได้อีก ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของทนอยู่ ไม่ได้ ภาวะแห่งการทนอยู่ไม่ได้นี่แหละคือทุกข์อีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “ทุกขลักษณะ” ไม่ใช่ทุกขเวทนาแล้ว “ทุกขลักษณะ” หมายถึงว่าสิ่งทั้งหลายนั้นมันทนทาน อยู่ไม่ได้จริง ถ้ามันทนอยู่ได้เรื่อยๆ ไปก็ยิ่งทุกข์หนักนะ เกิดทุกขเวทนาหนักเสียอีก สิ่งทั้งหลายมันเปลี่ยนไปเรื่อย ไม่คงที่ เวลาเราภาวนา มากเข้าๆ ไม่ใช่เห็นแค่ทุกข์ทางร่างกาย เราจะเห็นเลยว่าทุกสิ่ง ทุกอย่างที่เกิดขึ้นในกายในใจนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมดเลย มีขึ้นมา แล้วก็หายไป เช่นนั่งอยู่ รูปนั่งก็ทนอยู่ได้ไม่นาน รูปนั่งมันถูกทุกขเวทนาบีบคั้นแล้วมันมีทุกขลักษณะ คือมันไม่สามารถทนอยู่ได้นานในรูปนั่ง ต้องเปลี่ยนเป็นรูปนอน นอนก็อยู่ได้ไม่นานก็ต้อง เปลี่ยนอีก ความสุขเป็นของทนอยู่ไม่ได้ เกิดขึ้นก็อยู่ได้ไม่นานก็ต้องเปลี่ยน ดังนั้นความสุขก็มีทุกขลักษณะ หมายถึงว่ามันทนอยู่ไม่ได้ นี่สติปัญญาของเราเริ่มแก่กล้าขึ้นมา เห็นกระทั่งสุขเป็นตัวทุกข์ ในชีวิตเต็มไปด้วยของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างในโลกนี้ไม่เที่ยง ใจก็จะไม่ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็ส่วนปัญหา แต่ใจไม่ทุกข์ ถ้ายอมรับความจริงไม่ได้ว่าโลก มันไม่เที่ยง เกิดปัญหาขึ้นมา ใจจะทุกข์ มันอยู่ที่ว่าใจเรายอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ ตรงขั้นที่เห็นทุกขเวทนานั่นใครๆ ก็เห็น อันนี้เรื่องธรรมดา เป็นเรื่องโลกๆ ตรงขั้นที่เห็นทุกขลักษณะนี่ขึ้นวิปัสสนากัมมัฏฐานแล้ว ถ้าขึ้นวิปัสสนาจะเห็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) ของรูป นาม ถ้ายังไม่เห็นไตรลักษณ์ แม้จะเห็นรูปนามก็ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา พอเราเห็นไปเรื่อยๆ ต่อไปการเห็นทุกข์มันจะประณีตขึ้น ตรงที่เห็นทุกขลักษณะนี่สามารถบรรลุธรรมได้แล้ว เป็นโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี บรรลุได้เพราะมันเห็นทุกข์ โลกนี้เต็มไปด้วยปัญหา คนเต็มไปด้วยความทุกข์ ถ้าคนไม่มีสติปัญญาก็จะแยกไม่ออกว่าปัญหากับความทุกข์เป็น คนละส่วนกัน โลกมันไม่เที่ยง มันเคลื่อนไปเรื่อยๆ ปัญหา ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สุขภาพ เรารักษาเอาไว้ดีแล้ว ไม่นานก็ ป่วยอีก เพราะมันไม่เที่ยง ในชีวิตเต็มไปด้วยของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างในโลกนี้ไม่เที่ยง ใจก็จะไม่ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็ส่วนปัญหา แต่ใจไม่ทุกข์ ถ้ายอมรับความจริงไม่ได้ว่าโลก มันไม่เที่ยง เกิดปัญหาขึ้นมา ใจจะทุกข์ มันอยู่ที่ว่าใจเรายอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ เรามาหัดเรียนวิปัสสนากัมมัฏฐานกันก็เพื่อให้เห็นความ จริงของโลก ความจริงของชีวิต ความจริงของกายของใจ ให้เห็นว่า มันเป็นของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับได้นะกระทั่งกายนี้ใจนี้ยังไม่เที่ยง สิ่งที่เรียกว่าตัวเรายังไม่เที่ยง “ของเรา” มันก็ไม่มีความหมายอะไร ก็แค่เครื่องอาศัย สามีของเรา ภรรยาของเรา ลูกของเรา บ้านของเรา รถของเรา หน้าที่การงานของเรา มี “ของเรา” เยอะเลย ทั้งหมด ก็เป็นแค่เครื่องอาศัย ถ้าฉลาดก็รู้ว่างานหลักของเราจริงๆ ไม่ใช่งานทํานุบํารุงรักษาสิ่งซึ่งไม่คงที่พวกนี้ ทุ่มเทเท่าไร เหนื่อยยากเท่าไร มันก็แปรปรวน ฉะนั้น เรามาฝึกใจของตัวเองให้ยอมรับความจริงให้ได้ ความจริงก็คือทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่เที่ยงหรอก ทุกสิ่งทุกอย่างแปรปรวนอยู่ตลอดเวลา ไม่คงที่ ให้พาจิตพาใจของเราไปดูความจริงเนืองๆ ดูบ่อยๆ ดูนานๆ พอถึงพระอนาคามี จะเห็นเลยว่ากายนี้ทุกข์ล้วนๆ พวกเรายังไม่เห็น พวกเรายังเห็นว่าร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จิตใจนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง พระอนาคามีท่านเห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เพราะฉะนั้น ท่านไม่ติดอกติดใจในกาย อะไรที่เรียกว่ากาย ตาหูจมูกลิ้นกาย นี่เรียกว่ากาย เมื่อไม่ ติดใจในตาในหูในจมูกในลิ้นในกาย กระทั่งตายังไม่ติดใจ ก็ไม่ติดใจในรูป ไม่ติดใจในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ (สิ่งที่มากระทบกาย) ไม่ติดอกติดใจในรูปก็ไม่มีความยินดียินร้ายในรูป กามและปฏิฆะ ในรูปก็ไม่มี ไม่ติดใจในเสียงก็ไม่ยินดียินร้ายในเสียง กามและปฏิฆะ ในเสียงก็ไม่มี ฯลฯ ถ้าฉลาดก็รู้ว่างานหลักของเราจริงๆ ไม่ใช่งานทํานุบํารุงรักษาสิ่งซึ่งไม่คงที่พวกนี้ ทุ่มเทเท่าไร เหนื่อยยากเท่าไร มันก็แปรปรวน ฉะนั้น เรามาฝึกใจของตัวเองให้ยอมรับความจริงให้ได้ ความจริงก็คือทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่เที่ยงหรอก ทุกสิ่งทุกอย่างแปรปรวนอยู่ตลอดเวลา ไม่คงที่ ให้พาจิตพาใจของเราไปดูความจริงเนืองๆ ดูบ่อยๆ ดูนานๆ นี่ภาวนาไปเรื่อยนะ เห็นทุกข์ไปเรื่อย สุดท้ายใจมันเต็มอิ่ม ขึ้นมา มันไม่หิวโหยหาอารมณ์ภายนอกแล้ว อารมณ์ภายนอก เอามันทําไม มันมีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเลย ใจไม่หิวไปหาอารมณ์ ภายนอก ไม่แส่ส่าย ไม่ฟุ้งซ่านไปสู่อารมณ์ภายนอก เพราะมีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเลย พอใจไม่แส่ส่าย ใจสงบ ใจตั้งมั่น ใจเด่นดวง เป็นผู้รู้ผู้ตื่น ผู้เบิกบานอยู่ ใจก็มีแต่ความสุข เพราะฉะนั้น พระอนาคามีจะเห็น กายเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ยึดถือกาย แต่ยึดถือจิต ที่จริงเห็นมาตั้งแต่ ขั้นพระโสดาบันแล้วว่า จิตไม่ใช่ตัวเรา รู้ว่าเป็นของยืมโลกมาใช้ แต่ว่ามันนำความสุขมาให้ ติดอกติดใจไม่ยอมคืนโลก แล้วไม่เห็นช่องทางที่จะคืนเลย นี่มาถึงตรงนี้นะ มันคือการปฏิบัติในขั้นแตกหักว่า ทําอย่างไรจะปล่อยวางตัวจิตนี้ได้ ถ้าภาวนามาเรื่อยนะ จนรู้สึกว่าใจมันขาดอะไรอย่างหนึ่ง มันจึงไม่สามารถปล่อยวางจิตได้ ปล่อยไปเดี๋ยวก็หยิบขึ้นมา ไม่ปล่อยจริง ในใจรู้แต่ว่ามันขาด แต่ขาดอะไรไม่รู้นะ ภาวนาไปเรื่อยนะ วันหนึ่งก็เข้าใจ มันขาดความเข้าใจอริยสัจ มันไม่เห็นหรอกว่าตัวจิต เป็นตัวทุกข์ มันเห็นว่าจิตนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง ถ้าภาวนาดีๆ ก็เห็นจิตมีแต่ความสุข ไม่มีความทุกข์ ไม่สามารถเห็นได้ว่าตัวจิต เป็นตัวทุกข์ เพราะว่าไม่เห็นความเป็นไตรลักษณ์ของจิตผู้รู้ ถ้าเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของจิตผู้รู้ถึงจะเข้าใจความจริง ว่าจิตเองก็ตกอยู่ภายใต้ความทุกข์ ตกอยู่ใต้สภาวะที่เป็นตัวทุกข์ การที่เราเห็นอย่างแจ่มแจ้งว่ากายนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง จิตนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง อันนี้เรียกว่ารู้แจ้งใน “ทุกขสัจ” วันใดเห็นว่าจิตเป็นตัวทุกข์นั่นแหละเรียกว่าเรา “รู้ทุกข์” แจ่มแจ้งแล้ว เป็นภาวะที่จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อเรารู้อริยสัจแจ่มแจ้ง พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่องทุกขสัจเอาไว้ว่า “สังขิตเตนะ ปัฐจุหาทานักขันธา ทุกขา” โดยสรุปอุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ ขันธ์ทั้ง ๕ ย่อลงมาก็คือรูปกับนาม เราต้องเห็นรูปกับนามเป็น ตัวทุกข์ เราถึงจะปล่อยวางรูปนามได้ ถ้าปล่อยวางรูปนามได้ ก็พ้นทุกข์ได้ เบื้องต้นเราได้ยินว่าเกิดแก่เจ็บตายเป็นทุกข์ เราจะคิดว่า คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย เป็นทุกข์ พอเราภาวนาประณีตขึ้น เราก็จะรู้สึกว่าไม่ใช่คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย เป็นทุกข์หรอก ขันธ์ทั้งหลายถ้าเราเข้าไป ยึดมันแล้วจะเป็นทุกข์ จะรู้สึกอย่างนี้ พอได้ยินคําว่า “ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์” ก็คิดว่าถ้ามีอุปาทานในขันธ์ ๕ ก็จะเป็นทุกข์ มีขันธ์ ๕ เฉยๆ ไม่ทุกข์ จะเข้าใจอย่างนี้ แต่ไม่ใช่คนเป็นทุกข์แล้ว ไม่ใช่คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตายแล้ว ขันธ์ของเราเกิด ขันธ์ของเราแก่ ขันธ์ ของเราเจ็บ ขันธ์ของเราตาย ถึงจะทุกข์ นี่ความเข้าใจก็เปลี่ยนไป พอภาวนาต่อไปอีก ก็เห็นว่าขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ จิตจะมีความอยาก จิตจะมีความยึดขันธ์หรือไม่ก็ตาม ขันธ์นั่น แหละเป็นตัวทุกข์ ท่านถึงบอกว่า ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย คำว่า อุปาทานขันธ์ ไม่ใช่แปลว่า ขันธ์ที่ถูกยึดมั่น แต่เป็นขันธ์ซึ่งเป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้ คือขันธ์ที่พวกเราทั้งหลายมีกันอยู่นี่แหละ ขันธ์บางอย่างไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ เช่น โลกุตตรจิต (มรรคจิต, ผลจิต) ทั้งหลายไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ จึงเอามาทำวิปัสสนาไม่ได้ เพราะไม่ใช่ตัวทุกข์ ขันธ์ทั้งหมดไม่ใช่ตัวทุกข์ เฉพาะขันธ์ที่เรียกว่าอุปาทานขันธ์ คือขันธ์ซึ่งสามารถเอาไปยึดมั่นได้ เป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้เท่านั้นที่เป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ต่อเมื่อยึดมั่นแล้วขันธ์จึงจะกลายเป็นตัวทุกข์ ในความเป็นจริง อุปาทานขันธ์ทั้งหมดเป็นตัวทุกข์ จะยึด หรือไม่ยึด มันก็ทุกข์โดยตัวของมันเองอยู่แล้ว ความเข้าใจจากการปฏิบัตินั้นประณีตมากเลย อ่านๆ เอา นึกว่าเข้าใจ แต่เข้าใจไปคนละเรื่อง ถ้าความรู้ความเข้าใจมีแค่ว่า ถ้ามีความอยากมีความยึด แล้วก็มีความทุกข์ขึ้นมา ไปยึดขันธ์แล้วทุกข์ เราจะมุ่งมาในจุดที่ว่า ทําอย่างไรจะไม่ไปยึดขันธ์ จะหาทางไม่ให้ยึดขันธ์ คนศาสนาอื่นเขาก็หาทางที่จะไม่ให้ยึด อย่างพวกที่ทรมาน ร่างกาย มันรักร่างกายเหรอ ทรมานมันไปเลยจะได้ไม่รักมัน ใจมัน อยากกินก็ทรมานไม่กิน หาเรื่องทรมาน ไม่ตามใจกิเลส พยายาม เข้าไปจัดการกับจิตใจซึ่งมันจะเข้าไปอยาก เข้าไปยึดในรูปในนาม ทั้งหลาย นี่เพราะว่าความเข้าใจในอริยสัจไม่แจ่มแจ้ง ลงท้ายวิธี ปฏิบัติก็คลาดเคลื่อน พอเราคิดว่าถ้าอยากถ้ายึดก็ทุกข์ ก็เลยคิดว่าทําอย่างไร จะหายอยาก อยากกินก็ไม่กิน แกล้งมันซะ ต่อไปจะได้ไม่มี ความอยาก มุ่งไปจัดการที่ตัวความอยาก ถ้าเข้าใจแจ่มแจ้ง ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ขันธ์นี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง แต่เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งความอยากให้ขันธ์เป็นสุขจะไม่เกิดขึ้น ความอยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น อยากให้มีสุขไปทําไม อยากให้โง่หรือ มันไม่มีทางมีความสุขได้เพราะมันเป็นตัวทุกข์ อยากให้มันพ้นทุกข์หรือ อยากให้โง่สิ เพราะถึงอย่างไรมันก็ทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ความอยากทั้งหลายแหล่มันก็มีอยู่แค่นี้เอง ความอยากที่ ว่ากิเลส ๑,๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ จริงๆ ก็คืออยากให้ขันธ์เป็นสุข อยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ ย่อๆ ลงมาก็คือรักสุขเกลียดทุกข์นั่นแหละ พอเข้าใจขันธ์เท่านั้น ความอยากดับเอง ไม่ต้องไปทรมาน กายทรมานใจเพื่อจะดับตัณหา ขอให้รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วตัณหา จะดับไปโดยอัตโนมัติเลย ถ้าเราเข้าใจตัวนี้ ความเข้าใจมันจะประณีตมาก จิตมันจะสลัดคืนขันธ์ให้โลกไปเลย พอจิตมันเห็นว่าขันธ์ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ขันธ์นี้เป็นทุกข์ล้วนๆ กระทั่งตัวจิตก็เป็นทุกข์ล้วนๆ จิตมันก็อยู่ใน ขันธ์นั่นเอง อยู่ในวิญญาณขันธ์ พอมันปล่อยขันธ์ทิ้งไป ไม่มีอะไรให้ยึดอีก มันก็พ้นจากอุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ก็กองอยู่อย่างนั้น กองอยู่กับโลกนั้นเอง ไม่ใช่ต้องไปทําลายล้างมัน มันมีเหตุมันก็เกิด หมดเหตุมันก็ดับ บังคับมันไม่ได้ แต่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันแล้ว ที่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันก็เพราะรู้ทุกข์แจ่มแจ้ง รู้ว่าขันธ์ทั้งหลาย ทั้งปวงนี้แหละเป็นตัวทุกข์ ฉะนั้น การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย

ตัวรับรู้ หรือ เซ็นเซอร์ อังกฤษ sensorPassive infrared sensor From Wikipedia, the free encyclopedia Typical residential/commercial PIR-based motion detector (PID). A passive infrared sensor (PIR sensor) is an electronic sensor that measures infrared (IR) light radiating from objects in its field of view. They are most often used in PIR-based motion detectors. Contents [hide] 1 Operating principles 2 Construction 3 PIR-based motion detector 3.1 Operation 3.2 Differential detection 3.3 Product design 3.4 Focusing 3.4.1 Lenses 3.4.2 Mirrors 3.5 Security applications 3.5.1 Placement 4 PIR remote-based thermometer 5 See also 6 Notes 7 External links Operating principles[edit] All objects with a temperature above absolute zero emit heat energy in the form of radiation. Usually this radiation is invisible to the human eye because it radiates at infrared wavelengths, but it can be detected by electronic devices designed for such a purpose. The term passive in this instance refers to the fact that PIR devices do not generate or radiate any energy for detection purposes. They work entirely by detecting the energy given off by other objects.[1] PIR sensors don't detect or measure "heat"; instead they detect the infrared radiation emitted or reflected from an object. [2] Construction[edit] This section does not cite any sources. Please help improve this section by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed. (May 2016) (Learn how and when to remove this template message) Infrared radiation enters through the front of the sensor, known as the 'sensor face'. At the core of a PIR sensor is a solid state sensor or set of sensors, made from pyroelectric materials—materials which generate energy when exposed to heat. Typically, the sensors are approximately 1/4 inch square (40 mm2), and take the form of a thin film. Materials commonly used in PIR sensors include gallium nitride (GaN), caesium nitrate (CsNO3), polyvinyl fluorides, derivatives of phenylpyridine, and cobalt phthalocyanine. The sensor is often manufactured as part of an integrated circuit. PIR-based motion detector [edit] A PIR motion detector used to control an outdoor, automatic light. An indoor light switch equipped with PIR-based occupancy sensor[3] A PIR-based motion detector is used to sense movement of people, animals, or other objects. They are commonly used in burglar alarms and automatically-activated lighting systems. They are commonly called simply "PIR", or sometimes "PID", for "passive infrared detector". Operation[edit] An individual PIR sensor detects changes in the amount of infrared radiation impinging upon it, which varies depending on the temperature and surface characteristics of the objects in front of the sensor.[2] When an object, such as a human, passes in front of the background, such as a wall, the temperature at that point in the sensor's field of view will rise from room temperature to body temperature, and then back again. The sensor converts the resulting change in the incoming infrared radiation into a change in the output voltage, and this triggers the detection. Objects of similar temperature but different surface characteristics may also have a different infrared emission pattern, and thus moving them with respect to the background may trigger the detector as well.[4] PIRs come in many configurations for a wide variety of applications. The most common models have numerous Fresnel lenses or mirror segments, an effective range of about ten meters (thirty feet), and a field of view less than 180 degrees. Models with wider fields of view, including 360 degrees, are available—typically designed to mount on a ceiling. Some larger PIRs are made with single segment mirrors and can sense changes in infrared energy over one hundred feet away from the PIR. There are also PIRs designed with reversible orientation mirrors which allow either broad coverage (110° wide) or very narrow "curtain" coverage, or with individually selectable segments to "shape" the coverage. Differential detection[edit] Pairs of sensor elements may be wired as opposite inputs to a differential amplifier. In such a configuration, the PIR measurements cancel each other so that the average temperature of the field of view is removed from the electrical signal; an increase of IR energy across the entire sensor is self-cancelling and will not trigger the device. This allows the device to resist false indications of change in the event of being exposed to brief flashes of light or field-wide illumination. (Continuous high energy exposure may still be able to saturate the sensor materials and render the sensor unable to register further information.) At the same time, this differential arrangement minimizes common-mode interference, allowing the device to resist triggering due to nearby electric fields. However, a differential pair of sensors cannot measure temperature in this configuration, and therefore is only useful for motion detection. Product design[edit] The PIR sensor is typically mounted on a printed circuit board containing the necessary electronics required to interpret the signals from the sensor itself. The complete assembly is usually contained within a housing, mounted in a location where the sensor can cover area to be monitored. The housing will usually have a plastic "window" through which the infrared energy can enter. Despite often being only translucent to visible light, infrared energy is able to reach the sensor through the window because the plastic used is transparent to infrared radiation. The plastic window reduces the chance of foreign objects (dust, insects, etc.) from obscuring the sensor's field of view, damaging the mechanism, and/or causing false alarms. The window may be used as a filter, to limit the wavelengths to 8-14 micrometres, which is closest to the infrared radiation emitted by humans. It may also serve as a focusing mechanism; see below. Focusing[edit] Different mechanisms can be used to focus the distant infrared energy onto the sensor surface. Lenses[edit] The plastic window covering may have multiple facets molded into it, to focus the infrared energy onto the sensor. Each individual facet is a Fresnel lens. Multi-Fresnel lens type of PIR PIR motion detector housing with cylindrical faceted window. The animation highlights individual facets, each of which is a Fresnel lens, focusing light on the sensor element underneath. PIR front cover only (electronics removed), with point light source behind, to show individual lenses. PIR with front cover removed, showing location of pyroelectric sensor (green arrow). Mirrors[edit] Some PIRs are manufactured with internal, segmented parabolic mirrors to focus the infrared energy. Where mirrors are used, the plastic window cover generally has no Fresnel lenses molded into it. Segmented mirror type of PIR Typical residential/commercial PID using an internal segmented mirror for focusing. Cover removed. Segmented mirror at bottom with PC (printed circuit) board above it. Printed circuit board removed to show segmented mirror. Segmented parabolic mirror removed from housing. Rear of circuit board which faces mirror when in place. Pyroelectric sensor indicated by green arrow. Security applications[edit] When used as part of a security system, the electronics in the PIR typically control a small relay. This relay completes the circuit across a pair of electrical contacts connected to a detection input zone of the burglar alarm control panel. The system is usually designed such that if no motion is being detected, the relay contact is closed—a 'normally closed' (NC) relay. If motion is detected, the relay opens, triggering the alarm. Placement[edit] Manufacturers recommend careful placement of their products to prevent false alarms (i.e., any detection not caused by an intruder). They suggest mounting the PIRs in such a way that the PIR cannot "see" out of a window. Although the wavelength of infrared radiation to which the chips are sensitive does not penetrate glass very well, a strong infrared source (such as from a vehicle headlight or sunlight) can overload the sensor and cause a false alarm. A person moving on the other side of the glass would not be "seen" by the PID. That may be good for a window facing a public sidewalk, or bad for a window in an interior partition. It is also recommended that the PIR not be placed in such a position that an HVAC vent would blow hot or cold air onto the surface of the plastic which covers the housing's window. Although air has very low emissivity (emits very small amounts of infrared energy), the air blowing on the plastic window cover could change the plastic's temperature enough to trigger a false alarm. Sensors are also often designed to "ignore" domestic pets, such as dogs or cats, by setting a higher sensitivity threshold, or by ensuring that the floor of the room remains out of focus. Since PIR sensors have ranges of up to 30 feet, a single detector placed near the entrance is typically all that is necessary for rooms with only a single entrance. PIR-based security systems are also viable in outdoor security and motion-sensitive lighting; one advantage is their low power draw, which allows them to be solar-powered.[5] PIR remote-based thermometer[edit] Designs have been implemented in which a PIR circuit measures the temperature of a remote object.[6] In such a circuit, a non-differential PIR output is used. The output signal is evaluated according to a calibration for the IR spectrum of a specific type of matter to be observed. By this means, relatively accurate and precise temperature measurements may be obtained remotely. Without calibration to the type of material being observed, a PIR thermometer device is able to measure changes in IR emission which correspond directly to temperature changes, but the actual temperature values cannot be calculated.

แบตเตอรี่สองลูกใช้กับมอเตอร์สามเฟส220/380หนึ่งแรงม้าเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

ความรู้อิเล็กทรอนิกส์ 001เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืนเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

รับซ่อมดิจิตอลมัลติมิเตอร์ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใด... ... อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ

คนที่ต้องทำงานกับความคิดมากๆ ทำกรรมฐานอย่างอื่นไม่ได้หรอกเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้น­กายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเร­ื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลร­ูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิ­ตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข­้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในท­ุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตท­ี่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภ­ูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที­่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น

ตราบใดที่เรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิต คือการได้ประสบการณ์ม...เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้น­กายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเร­ื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลร­ูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิ­ตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข­้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในท­ุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตท­ี่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภ­ูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที­่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น

มันเป็นคนไม่สู้คนไปซะแล้ว เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตนจากกามทั้งปวงเ..เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้น­กายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเร­ื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลร­ูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิ­ตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข­้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในท­ุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตท­ี่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภ­ูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที­่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น.

กายนี้ใจนี้ทุกข์ล้วนล้วนเราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น

อายตนะจิตจำสภาวะธรรมได้หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย..คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละคิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง............. ...................................................................................................................................... เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

ทางพ้นทุกข์จิตจำสภาวะธรรมได้หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย..คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละคิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง............. ...................................................................................................................................... เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

ทางสายเอก ทางสายเดียว ความเป็นจริงอันลึกซึ้งจิตจำสภาวะธรรมได้หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย..คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละคิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง............. ...................................................................................................................................... เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

วันจันทร์ที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2559

จิตสัมผัสพระนิพพาน มนุษย์ปรารถนาอิสรภาพ แต่มนุษย์ตกเป็นทาสของตัณหา ซึ่งเป็นเจ้านายที่มองไม่เห็นตัว เมื่อไม่รู้ว่าตนเป็นทาส มนุษย์จึงไม่คิดที่จะผลอดปล่อยตนเองให้เป็นอิสระ มีแต่จะทำตามคำสั่งของเจ้านายเท่านั้น และเจ้านายนั้นก็ดูจะรักและหวังดีต่อเรามาก เพราะจะสั่งให้เราแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ตลอดวันตลอดคืน ซึ่งมีผลให้เราต้องเหนื่อยกายเหนื่อยใจอย่างไม่รู้จักจบสิ้น เนื่องจากความสุขเป็นเพียงภาพลวงตาที่ไขว่คว้าเอาไว้ไม่ได้ ในขณะที่ความทุกข์เป็นสิ่งที่แนบประจำอยู่กับขันธ์นั่นเอง การจะให้ขันธ์มีความสุขหรือพ้นจากความทุกข์อย่างถาวรจึงเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้เลย การดิ้นรนแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ของมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายมีอยู่ ๓ วิธีคือ (๑) การแสวงหาอารมณ์ที่เป็นสุขและหลีกหนีอารมณ์ที่เป็นทุกข์ เพราะคิดว่าอารมณ์เป็นเครื่องกำหนดให้เกิดความสุขหรือความทุกข์อย่างไรก็ตามไม่มีใครสามารถเลือกอารมณ์ได้ตามใจชอบ เพราะอารมณ์ที่มากระทบย่อมเป็นไปตามเหตุตามปัจจัย คือหากกุศลวิบากให้ผลก็ได้ประสบกับอารมณ์ที่ดี หากอกุศลวิบากให้ผลก็ต้องประสบกับอารมณ์ที่ไม่ดี นอกจากนี้อารมณ์ก็เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยง แม้จะได้รับอารมณ์ที่ดีและเป็นสุข ไม่นานอารมณ์ที่ดีและเป็นสุขนั้นก็ผ่านเลยไปจำเป็นต้องดิ้นรนแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ต่อไปอีกดังนั้นวิธีการเลือกรับอารมณ์เพื่อให้เกิดความสุขและพ้นจากความทุกข์จึงไม่ได้ผลจริงตามที่คาดหวังไว้ (๒) การรักษาจิตใจให้สงบสบายในทุกๆ สถานการณ์ เพราะคิดว่าถ้าจิตดีเสียแล้ว ก็สามารถเป็น สุขอยู่ได้แม้จะต้องกระทบกับอารมณ์ที่ไม่ดีก็ตาม และการควบคุมจิตก็ทำได้ง่ายกว่าการควบคุมอารมณ์เนื่องจากอารมณ์มักจะมาจากสิ่งภายนอกซึ่งควบคุมได้ยาก ในขณะที่การควบคุมจิตเป็นสิ่งที่ได้ด้วยตนเอง อย่างไรก็ตามจิตเป็นของไม่เที่ยงและเป็นอนัตตาคือบังคับไม่ได้จริง ดังนั้นแม้จะทำให้จิตสงบหรือมีความสุขก็ทำได้เพียงชั่วคราวด้วยอำนาจของการเพ่ง เมื่อจิตเสื่อมจากการเพ่ง จิตก็กลับมาวุ่นวยและเป็นทุกข์ต่อไปได้อีก (๓) การหลีกเลี่ยงการกระทบอารมณ์ เป็นวิธีการรักษาจิตที่ประณีตยิ่งขึ้นไปอีก เพราะคิดว่าถ้าจิตไม่ต้องรับรู้อารมณ์หยาบๆเสียแล้ว จิตจะมีความสงบสุขโดยอัตโนมัติ ดีกว่าจะต้องคอยรักษาจิตที่ต้องกระทบอารมณ์หยาบๆ อยู่ตลอดเวลา จึงเกิดความพยายามน้อมจิตไปสู่อรูปฌาน หรือแม้กระทั่งการดับความรับรู้ด้วยการเข้าจตุตถฌาน (ตามนัยของพระสูตร) หรือปัญจมฌาน (ตามนัยของพระอภิธรรม) แล้วน้อมจิตไปสู่สัญญสัตตาภูมิหรือพรหมลูกฟักอย่างไรก็ตามเมื่อหมดกำลังเพ่ง จิตก็ถอนออกมารู้อารมณ์ตามปกติต่อไปอีก คนดูแลสัตว์ทั้งหลายพยายามดิ้นรนหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ด้วยวิธีการต่างๆ แต่ไม่มีผู้ใดสามรถหนีพ้นจากความทุกข์ได้จริง เพราะความทุกข์เป็นสิ่งที่แนบประจำอยู่กับขันธ์คือร่างกายและจิตใจนี้เอง มีแต่พระพุทธเจ้าเท่านั้นที่ทรงค้นพบทางรอดอันเป็นทางเอก คือทางสายเดียวที่จะพาผู้ดำเนินตามให้พ้นจากทุกข์ได้จริงทางเอกนี้คือการเจริญวิปัสสนากรรมฐานนั่นเอง การเจริญวิปัสสนากรรมฐานเป็นการหันมาเผชิญหน้าและเรียนรู้ความจริงของทุกข์ เมื่อทุข์อยู่ที่กายก็มีสติระลึกรู้กายตามความเป็นจริง เมื่อทุกข์อยู่ที่จิตก็มีสติตามรู้จิตตามความเป็นจริง จนในที่สุดก็สามารถเข้าถึงความจริงสูงสุดคืออริยสัจจ์ข้อแรกได้ คือการรู้ทุกข์ได้แก่การรู้ความจริงว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ผู้ที่รู้ความจริงนี้เรียกว่าพระโสดาบัน เป็นผู้ละความเห็นผิดว่ากายกับใจคือตัวเรา เมื่อตามรู้กายและตามรู้ใจต่อไปอีก ถึงจุดหนึ่งจิตจะว่างความยึดถือกายและใจลงได้อย่างสิ้นเชิง และไม่หยิบฉวยเอากายและใจขึ้นมาถือไว้ให้เป็นภาระกดถ่วงจิตใจอีกต่อไป เมื่อไม่ยึดถือกายและใจแล้ว ความดิ้นรนทะยานอยากของจิตที่จะให้กายและใจมีความสุขและพ้นจากความทุกข์ ทั้งด้วยการแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดพอใจ การทำความสงบจิต และการหลีกหนีการับรู้อารมณ์หยาบๆ ก็จะหมดสิ้นไป การรู้ทุกข์อย่างแจ่มแจ้งจึงเป็นเครื่องทำลายสมุทัยหรือต้ณหาให้ดับสนิลลงโดยอัตโนมัติ เมื่อปราศจากตัณหา จิตก็ได้ประจักษ์แจ้งถึงนิโรธหรือนิพพานอันเป็นสภาวธรรมซึ่งสงบสันติ ปราศจากทุกข์และกิเลสตัณหาทั้งปวง การรู้ทุกข์จนสมุทัยถูกละไปเองและนิโรธปรากฏให้ประจักษ์โดยไม่ต้องแสวงหานั้น คือมรรคหรือทางเอกนั่นเอง พวกเราควรเจริญมรรคให้มาก คือหมั่นตามรู้กายตามรู้ใจอย่างถูกวิธีเนืองๆ แล้วจะพบความอัศจรรย์ของพระพุทธเจ้า พระธรรม และพระอริยสาวกด้วยตนเอง การรู้ทุกข์หรือการเจริญวิปัสสนานั้นมีหลักการสำคัญดังนี้คือ ๑. ต้องรู้อารมณ์ที่ถูกต้อง คือต้องรู้รุปนาม จะไปรู้อารมณ์อื่นๆที่เป็นสมมุติปัญญัติหรือแม้กระทั่งนิพพานหรือมหาสุญญตาไม่ได้นักปฏิบัติบางท่านพยายามจะรู้นิพพานและพยายามใช้ความว่างๆเป็นอารมณ์ นั่นเป็นทางเดินที่ผิดเพราะบัญญัติและนิพพานไม่ใช่ทุกข์ผู้ปฏิบัติต้องรู้ทุกข์คือรู้รูปนามจึงจะละความเห็นผิดว่ารูปนามเป็นตัวเราได้ในเบื้องต้น และละความถือมั่นในรูปนามได้ในเบื้องปลาย ๒. ต้องมีวิธีที่ถูกต้องในการรู้อารมณ์ คือ ขั้นแรก ต้องมีความรู้สึกตัว ไม่หลงไปอยู่ในโลก ของสมมุติบัญญัติหรือโลกของความคิดฝัน จึงสามารถรู้กายรู้ใจได้ ขั้นที่สอง ต้องรู้รูปที่กำลังปรากฏในปัจจุบันหรือต้องรู้นามที่เพิ่งดับไปสดๆ ร้อนๆ และ ขั้นที่สาม เมื่อรู้แล้วอย่าปรุงแต่งสิ่งใดสิ่งหนึ่งต่อไปอีก รู้แล้วให้จบลงแค่รู้ แต่เมื่อรู้บ่อยเข้าในที่สุดก็จะเกิดปัญญาคือความเข้าใจความเป็นจริงของรูปนามว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ หรือไม่ใช่ตัวเรา เมื่อเข้าใจอย่างนี้ความเห็นผิดว่ารูปนามเป็นตัวเราจะถูกทำลายไปก่อน แล้วควบยึดถือในรูปนามจะถูกทำลายในภายหลัง ต่อไปนี้จะขอเล่าถึงวิธีการปฏิบัติธรรมอย่างง่ายๆ ให้เพื่อนนักปฏิบัติที่ยังไม่ทราบว่าจะลงมือปฏิบัติอย่างไรดีได้ลองนำไปพิจารณาดูดังนี้ ๑. การเลือกอารมณ์กรรมฐานที่ถูกจริต บุคคลที่มีตัณหาจริตคือมีธรรมชาตินิสัยเด่นรักสวยรักงามรักสุขรักสบาย ควรจะรู้กาย แต่ถ้ามีสติปัญญาแก่กล้าแล้วก็ควรเวทนา ส่วนคนที่มีทิฏฐิจริตคือมีธรรมชาตินิสัยเด่นในด้านคิดมาก เจ้าความคิด เจ้าทฤษฎี ชอบศึกษาเปรียบเทียบ ชอบวิพากษ์วิจารณ์ วิเคราะห์โต้แย้ง ฯลฯบุคคลเหล่านี้ควรจะรู้จิต แต่ถ้ามีสติปัญญาแก่กล้าแล้วก็ควรรู้ธรรมคือรูปนาม ๒. การรู้กาย เวทนา จิต หรือธรรม เป็นเรื่องของการรู้หรือรู้สึกๆ เอา ไม่ใช่การคิด และการเพ่ง ๓. เครื่องมือที่ใช้ในการรู้ ประกอบด้วย ๓.1 สติ คือความระลึกได้ถึงความปรากฏของรูปนาม สติเป็นอนัตตาเช่นเดียวกับธรรมทั้งปวง ดังนั้นไม่มีใครที่จะสั่งหรือจงใจให้สติเกิดขึ้นได้ เว้นเสียแต่มีเหตุที่สมควร สติจึงจะเกิดขึ้นโดยไม่ต้องพยายามทำให้เกิด เหตุให้เกิดสติได้แก่การที่จิตรู้จักและจดจำสภาวะของรูปนามได้แม่นยำ เพราะได้เจริญสติปฏฐานหรือตามรู้สภาวะของกาย เวทนา จิต หรือธรรมเนื่องๆ และทันทีที่สติเกิดขึ้น สติจะทำหน้าที่คุ้มครองจิต คืออกุศลจะดับไปแล้วกุศลเกิดขึ้นทันที สติหรือสัมมาสตินี้จะแตกต่างจากมิจฉาสติหรือสติธรรมดาตรงที่สัมมาสตินั้นเป็นเครื่องระลึกรู้อารมณ์ปรมัตถ์ได้แก่รูปนามในชั้นการเจริญมรรคเบื้องต้น และระลึกรู้นิพพานในขณะที่เกิดอริยมรรคส่วนมิจฉาสติเป็นเครื่องระลึกรู้อารมณ์บัญญัติอันเป็นสาธารณกุศลต่างๆผู้เขียนมีข้อสังเกตส่วนตัวที่ขอฝากให้เพื่อนปฏิบัติก็คือ สัมมาสติจะสึกว่าระลึกรู้อารมณ์ เกิดขึ้นแล้วก็ดับไปพร้อมกับจิตเป็นขณะๆส่วนสติธรรมดามักจะเข้าไปตั้งแข็งหรือนอนแช่อยู่ในอารมณ์ และให้ความรู้สึกเหมือนกับว่าสตินั้นเป็นของที่ตั้งอยู่ได้นานๆ โดยไม่เกิดดับ ๓.๒ สัมมาสมาธิ คือความตั้งมั่นของจิตในการระลึกรู้อารมณ์ปรมันต์ ได้แก่ ความตั้งมั่นของจิตในขณะที่รู้รูปนามในชั่นการเจริญมรรคเบื้องต้น และความตั้งมั่นของจิตในขณะที่รู้นิพานเมื่อเกิดอริยมรรค ความตั้งมั่นนี้ไม่ได้หมายความว่าจิตเข้าไปตั้งแช่หรือนอนนิ่งอยู่กับอารมณ์ แต่เป็นสภาวะที่จิตไม่คลาดเคลื่อนจากอารมณ์ปรมัตถ์นั้นๆ แล้วไหลไปสู่อารมณ์บัญญัติแทน พูดง่ายๆ ก็คือในขณะที่รู้รูปนามก็รู้ด้วยความไม่ลืมตัว ไม่หลงไปหาอารมณ์อื่น และไม่เพ่งอารมณ์ที่กำลังรู้นั้นจนลืมตัว จิตจะตั้งมั่นและเป็นกลาง ไม่เผลอไปแต่ก็ไม่เพ่งอารมณ์ไว้ สัมมาสมาธิต่างจากมิจฉาสมาธิ ตรงที่จิตที่ตั้งมั่นอย่างมีสัมมาสมาธินั้นจะมีความเบา ความอ่อน ความควรแก่การงาน ความคล่องแคล่ว และความซื่อตรงในการรู้อารมณ์รูปนามโดยไม่เข้าไปแทรกแซง และเกิดขึ้นได้เพราะจิตมีความสุขในการรู้รูปนาม ซึ่งความสุขนั้นก็เกิดเพราะจิตมีสตินั่นเอง ส่วนมิจฉาสมาธิมักจะเกิดจากโลภะคือความอยากจะรู้อารมณ์ให้ชัดๆ แล้วเกิดการกำหนด การประคอง การเพ่ง การรักษาจิตและอารมณ์ไว้ จิตมักจะเกิดโมหะและโลภะแทรที่จะเกิดปัญญารู้ความจริงของรูปนาม จิตมักมีอาการหนักแทนที่จะเบา แข็งแทนที่จะอ่อน ถูกนิวรณ์ครอบงำแทนที่จะควรแก่การงาน ซึมที่อแทนที่จะปราดเปรียวและเข้าไปแทรกแซงอารมณ์แทนที่จะรู้อารมณ์อย่างซื่อๆ ตรงๆ ๓.๓ ปัญญา คือ ความเข้าใจความเป็นจริงของรูปนามตรงตามที่พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ ปัญญามีสัมมาสมาธิเป็นเหตุใกล้ให้เกิด หมายความว่าเมื่อจิตตั้งมั่นในการรู้อารมณ์รูปนามเนืองๆ แล้วความเข้าใจความเป็นจริงของรูปนามหรือปัญญาก็จะเกิดขึ้น ปัญญาในที่นี้จึงเป็นวิปัสสนาปัญญาเกิดจาการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน ซึ่งไม่ใช่ปัญญาที่เกิดจาการอ่านและการฟังในขั้นการศึกษาพระปริยัติธรรมและไม่ใช่ปัญญาที่เกิดจาการคิด อนึ่ง ยังมีปัญญาขั้นสูงอีกอย่างหนึ่งเรียกว่าโลกุตรปัญญา เป็นปัญญาที่เข้าใจนิพพานในขณะที่เกิดอริยมรรค ๔. วิธีการรู้กาย ทำได้ง่ายๆ คือ เบื้องต้นควรทำสมถกรรมฐานเสียก่อน เพราะการรู้กายเหมาะสมสำหรับสมถยานิก พึงทำสมถกรรมฐานจนจิตตั้งมั่นเป็นหนึ่งและมีอารมณ์เป็นหนึ่ง จิตจึงจะมีกำลังพอที่จะมองทะลุกายอันเป็นอารมณ์บัญญัติ เข้าไปเห็นรูปอันเป็นอารมณ์ประมัตถ์ได้โดยง่าย จากนั้นจึงใช้จิตที่ตั้งมั่นแล้วนั้นไปรูปรูปการรู้รูปไม่ใช่การเผลอไปสู่อารมณ์อื่น ไม่ใช่การคิดเรื่องกาย และไม่ใช่การเพ่งหรือกำหนดกายทั้งกาย หรือกายอันเป็นอวัยวะน้อยใหญชเนลมหายใจ มือ เท้า และท้อง เป็นต้น แต่การรู้รูปเป็นการรู้สึกถึงสภาวะหรืออาการที่กำลังปรากฏของรูป ซึ่งกำลังยืน เดิน นั่ง นอน เหลียวซ้าย แลขวา คู้ เหยียด ก้ม เงย กิน ดื่ม พูด ขับถ่าย หายใจออก และหายใจเข้า และผู้ปฏิบัติจะรู้สึกได้โดยไม่ต้องน้อม คิดว่า สิ่งที่กำลังยืน เดินนั่ง นอน เคลื่อนไหว และหยุดนิ่งอยู่นั้นเป็นสักว่ารูป ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตันตน เรา เขา แต่อย่างใด และที่สำคัญผู้ปฏิบัติจะรู้ถึงจิตที่อาศัยอยู่กับรูปและเป็นผู้รู้รูปด้วย ๕. วิธีการรู้จิต ทำได้ง่ายๆ คือ ให้มีความรู้สึกตัว ไม่ใช่เผลอไม่ใช่คิด ไม่ใช่เพ่ง หากจิตมีความรู้สึกหรืออาการอย่างไรก็ค่อยตามรู้ความรู้สึกหรืออาการนั้น และรู้ความจริงว่านั่นเป็นสักว่านามไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน เรา เขา แต่อย่างใด และที่สำคัญผู้ปฏิบัติจะรู้ถึงรูปอันเป็นที่อาศัยของจิตด้วย อนึ่ง ไม่ว่าเบื้องต้นผู้ปฏิบัติจะรู้กายหรือรู้จิตก่อน แต่สุดท้ายผู้ปฏิบัติก็ย่อมรู้ทั้งกายและจิต จนเห็นความจริงของกายและจิตว่าเป็นไตรลักษณ์ได้ทั้งหมด ๖. ความรู้สึกตัว เป็นสภาวะที่เข้าใจยากมาก ใครๆ ก็คิดว่าตนเองมีความรู้สึกตัวอยู่แล้ว ทั้งที่ในโลกนี้หาคนที่รู้สึกตัวจริงๆ ได้ยากเต็มที เพราะจิตของคนและสัตว์ทั้งหลายเคยชินที่จะส่งออกนอกคือหลงไปทางทวารทั้ง ๖ และเคยชินที่จะรู้บัญญัติเกี่ยวกับอารมณ์ที่ปรากฏทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ น้อยคนนักที่จะรู้สึกตัวและตื่นออกจากโลกของความคิดและสามรถรู้อารมณ์รูปนามที่ปรากฏทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ได้จริง ๗. รู้กับหลงเป็นสิ่งตรงข้ามกัน เมื่อใดจิตหลงดูรูป หลงฟ้งเสียงหลงดมกลิ่น หลงลิ้มรส หลงสัมผัสทางกาย หลงคิด และหลงเพ่งหรือกำหนด เมื่อนั้นจิตจะลืมรูปนาม/กายใจ จิตจะหลับฝันทั้งๆ ที่ร่างกายนี้ลืมตาตื่นอยู่ แต่เมื่อใดจิตจดจำสภาวธรรมได้แม่นยำ จิตจะเกิดสติขึ้นเองเมื่อสภาวธรรมอันนั้นปรากฏขึ้น จิตจะเกิดความรู้สึกตัวเป็นความรู้ ตื่น และเบิกบานขึ้นในฉับพลัน ยกตัวอย่างความหลงที่เกิดบ่อยที่สุดก็คือการหลงคิด เมื่อหลงคิด ผู้นั้นจะรู้เรื่องที่คิดบ้างไม่รู้เรื่องบ้าง แต่เมื่อใดที่ผู้นั้นมีสติรู้ทันสภาวะของจิตว่ากำลังหลงคิดอยู่ ผู้นั้นจะเข้าถึงสภาวะแห่งความคื่นหรือความรู้สึกตัวในฉับพลันผู้ตื่นจะเป็นผู้ที่รู้ของจริงคืออารมณ์ปรมัตถ์ จะเห็นทันทีว่ารูปนาม/กายใจนี้ ไม่ใช่ตัวเราแต่อย่างใด เพราะแท่ที่จริงแล้วความเป็นตัวตนเกิดจากความคิดเท่านั้น เมื่อหลุดออกจากความคิด กายใจนี้ก็แสดงความจริงว่ามันเป็นแค่รูปนาม ไม่ใช่ตัวตนของเราของเขาแต่อย่างใด ๘. การละความเห็นผิด เมื่อมีความรู้สึกตัวและระลึกรู้รูปนามอยู่เนืองๆ จิตจะค่อยๆ สะสมปัญญาคือความรู้ความเข้าใจความเป็นจริงของรูปนามทีละน้อยๆ ถึงจุดหนึ่งจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วเกิดกระบวนการทำลายล้างความเห็นผิดว่ารูปนามเป็นตัวตนอย่างฉับพลัน ผู้ที่ไมเห็นว่ารูปนามเป็นตนหรือตนเป็นรูปนามก็คือผู้ละสักกายทิฏฐิได้ หรือพระโสดาบันบุคคลนั่นเอง ๙. จิตปล่อยวางสิ่งอื่นเข้ามายึดจำเพาะจิต เมื่อตามรู้รูปนามต่อไป สติปัญญาจะยิ่งว่องไวขึ้น กำลังของกิเลสจะเริ่มเบาบางลง จิตจะประจักษ์แจ้งว่าสิ่งทั้งปวงเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ หรือเป็นอนัตตาในโลกนี้หาอะไรเป็นที่พึ่งที่ยึดเหนี่ยวไม่ได้เลย จิตจะปล่อยวางความถือมั่นในสิ่งภายนอก แล้วเข้ามายึดถือเป็นที่พึ่งไว้อย่างเดียวเพราะเห็นว่าถ้าเมื่อใดจิตเกิดความอยากและความยึดถืออารมณ์ทั้งปวง จิตจะเป็นทุกข์ ถ้าไม่อยากและไม่ยึด จิตก็ไม่ทุกข์ จิตจึงจำกัดวงตัวเองเข้ามาอยู่จำเพาะจิต จิตตั้งมั่นมีสมาธิบริบูรณ์อยู่โดยไม่ต้องรักษา ๑๐. การรู้แจ้งอริยสัจจ์ เมื่อสติปัญญาแก่รอบอย่างถึงที่สุดแล้วผู้ปฏิบัติจะเห็นความจริงว่า จิตนั้นเองเป็นธรรมชาติที่ยังมีความแปรปรวน จิตเป็นทุกข์อยู่โดยตัวของมันเอง คือไม่ใช่เป็นทุกข์เมื่อกระทบอารมณ์ที่ไม่ดีเท่านั้น และจิตนั้นเองเป็นสิ่งเดียวกันธรรมชาติที่แวดล้อมอยู่ ธรรมภายในคือจิต กับธรรมภายนอกคือสิ่งอื่นๆทั้งปวงนับตั้งแต่ความรู้สึกนึกคิดทั้งหลายเป็นต้นไปจนถึงโลกและจักวาล ล้วนเป็นของโลก เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ ไม่มีเจ้าของ แล้วฉับพลันนั้น จิตก็ปลดปล่อยความถือทั่นในตัวจิตเอง สลัดคืนจิตให้กับธรรมชาติ ในความรู้สึกจะเหมือนกับว่าจิตพรากออกจากขันธ์สำรองจากขันธ์ ไม่เกาะเกี่ยวขันธ์ ขันธ์ไม่กระทบเข้าถึงจิต จิตใหญ่ครอบโลกธาตุทั้งปวง จึงไม่มีการไปและการมาอีกต่อไป แล้วธรรมอันรุ่งเรืองเร้นลับที่ไม่เคยหายไปไหนก็ปรากฏเต็ฒบริบูรณ์อยู่ต่อหน้าต่อตานั้นเอง ๑๑. ธรรมนี้คือที่สุดแห่งทุกข์ การปฏิบัติธรรมในทางพระพุทธศาสนานั้นเมื่อปฏิบัติถึงที่สุดแล้ว ผู้ปฏิบัติจะรู้สึกได้ว่า ธรรมนี้คือที่สุดแห่งทุกข์ เพราะเป็นที่สุดแห่งขันต์และกิเลสตัณหาทั้งปวง ขอกล่าวกับเพื่อนนักปฏิบัติอีกเพียงไม่กี่ประโยคว่า แท้จริงแล้วการปฏิบัติธรรมเป็นเรื่องง่าย แต่ง่ายจนยากเพราะเราคิดไม่ถึงว่าจะง่ายขนาดนี้ ดังนั้นแทนที่เราจะพยายามปรุงแต่งการปฏิบัติต่างๆ นานาขึ้นมาตั้งมากมายด้วยความยากลำบาก (ซึ่งเกือบทั้งหมดก็คือปุญญาภิสังขาร วึ่งเราสร้างขึ้นเองด้วยอำนาจบงการของอวิชา โดยหวังว่าเมื่อเราปรุงแต่งการปฏิบัติได้ดีถาวรแล้วเราจะบรรลุมรรคผลได้เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่ง) เราก็หันมารู้เท่าทันจิตที่แอบปรุงแต่งสิ่งต่างๆขึ้นมา เมื่อรู้ทันว่าจิตแอบปรุงแต่งแล้ว ความปรุงแต่งทั้งหลายนั้นก็จะดับไปเอง เมื่อความปรุงแต่งทั้งหลายดับลงแล้ว วามรู้สึกเป็นตัวตนจะมีไม่ได้เลย ขันธ์หรือรูปนามจะแสดงความเป็นของสูญต่อหน้าต่อตาเพราะความเป็นตัวตนเองเกิดจากความคิดนึกปรุงแต่งล้วนๆ เมื่อปราศจากความเป็นตัวตนของขันธ์ ก็ปราศจากเครื่องรองรับความทุกข์ทางใจความทุกข์ทางใจก็ตั้งอยู่ไม่ได้ นี้เองเป็นที่สุดแห่งทุกข์ทางใจในปัจจุบันจนตราบถึงวันสิ้นขันต์ก็เป็นอันสิ้นทุกข์อย่างสิ้นเชิงแต่เพียงเท่านั้น

สมาธิเต็มรูปแบบตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้ว ทวนจิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามาทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร เอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่ง ในอรรถกถาบอกว่า คือสัมมาสมาธินั่นเอง เอโกทิภาวะก็คือ สภาวะที่ใจนี้ตั้งมั่น เด่นดวง ขึ้นมา แล้วมันเห็นอารมณ์ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของ ถูกรู้ถูกดู ใจมันเป็นแค่ผู้รู้ผู้ดู เนี่ยถ้าใจเราเข้าไปถึงฌานที่ ๒ ทุติยฌาน เราจะได้ เอโกทิภาวะ ขึ้นมา และถ้าถึง ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ถึงฌานที่ ๘ อะไรเหล่านี้ เอโกทิภาวะก็ยังอยู่ ใจจะตั้งมั่นเด่นอยู่อย่างนั้น พอออกจากฌานแล้ว เอโกทิภาวะ นี้ยังทรงตัวอยู่อีกช่วงหนึ่ง อีกหลายชั่วโมง หรืออีกเป็นวันๆได้ ทรงตัว ถ้าฌานนั้นเกิดจากการเดินจงกรม เราเดินจงกรมอยู่แล้วจิตรวมลงไปถึงฌานที่ ๒ เนี่ย ถอยออกมาแล้วนะ เอโกทิภาวะทรงตัวอยู่ได้นาน เพราะฉะนั้นถ้าเราทำสมาธิด้วยการเดินได้เนี่ย กำลังของความรู้สึกตัวนี้จะทรงอยู่นานมาก จะนานกว่านั่ง เพราะฉะนั้นสมาธิที่เกิดจากการเดินจงกรมจะเข้มแข็ง ทีนี้พอเรามีตัวผู้รู้ขึ้นมา พระป่าท่านจะเรียกว่าตัวผู้รู้นะ ทันทีที่จิตทรงมีตัวผู้รู้ขึ้นมาแล้วเนี่ย เราจะเห็นทันที ว่าร่างกายที่ยืน เดิน นั่ง นอน เนี่ย ไม่ใช่ตัวเรา เห็นมั้ย พอใจทรงตัวขึ้นมา มีสัมมาสมาธิขึ้นมา ปัญญาจะเกิดขึ้นมาทันทีเลย จะเห็นทันทีเลยว่า กายที่ยืนเดินนั่งนอนอยู่นี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่หายใจเข้าหายใจออกนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่พองที่ยุบนี้ไม่ใช่ตัวเรา จะเห็นทันที ไม่ต้องคิดนะ แต่จะเห็นทันที จะรู้สึกทันที เนี่ยถ้าเราฝึกเต็มภูมินะ เราจะเดินมาอย่างนี้ เพราะฉะนั้นกายานุปัสสนานะ หรือเวทนานุปัสสนาก็ตามเนี่ย ในอภิธรรมท่านถึงสอบบอกว่า เหมาะกับคนเล่นฌาน กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จะทำได้ดีถ้าเราทำฌาน และฌานนั้นถ้าจะดีจริงๆต้องถึงฌานที่ ๒ แล้ว จะมีเอโกทิภาวะขึ้นมา แล้วจะเห็นทันทีว่ากายนี้ไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จะเห็นอย่างนั้น

เอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่งตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้ว ทวนจิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามาทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร เอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่ง ในอรรถกถาบอกว่า คือสัมมาสมาธินั่นเอง เอโกทิภาวะก็คือ สภาวะที่ใจนี้ตั้งมั่น เด่นดวง ขึ้นมา แล้วมันเห็นอารมณ์ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของ ถูกรู้ถูกดู ใจมันเป็นแค่ผู้รู้ผู้ดู เนี่ยถ้าใจเราเข้าไปถึงฌานที่ ๒ ทุติยฌาน เราจะได้ เอโกทิภาวะ ขึ้นมา และถ้าถึง ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ถึงฌานที่ ๘ อะไรเหล่านี้ เอโกทิภาวะก็ยังอยู่ ใจจะตั้งมั่นเด่นอยู่อย่างนั้น พอออกจากฌานแล้ว เอโกทิภาวะ นี้ยังทรงตัวอยู่อีกช่วงหนึ่ง อีกหลายชั่วโมง หรืออีกเป็นวันๆได้ ทรงตัว ถ้าฌานนั้นเกิดจากการเดินจงกรม เราเดินจงกรมอยู่แล้วจิตรวมลงไปถึงฌานที่ ๒ เนี่ย ถอยออกมาแล้วนะ เอโกทิภาวะทรงตัวอยู่ได้นาน เพราะฉะนั้นถ้าเราทำสมาธิด้วยการเดินได้เนี่ย กำลังของความรู้สึกตัวนี้จะทรงอยู่นานมาก จะนานกว่านั่ง เพราะฉะนั้นสมาธิที่เกิดจากการเดินจงกรมจะเข้มแข็ง ทีนี้พอเรามีตัวผู้รู้ขึ้นมา พระป่าท่านจะเรียกว่าตัวผู้รู้นะ ทันทีที่จิตทรงมีตัวผู้รู้ขึ้นมาแล้วเนี่ย เราจะเห็นทันที ว่าร่างกายที่ยืน เดิน นั่ง นอน เนี่ย ไม่ใช่ตัวเรา เห็นมั้ย พอใจทรงตัวขึ้นมา มีสัมมาสมาธิขึ้นมา ปัญญาจะเกิดขึ้นมาทันทีเลย จะเห็นทันทีเลยว่า กายที่ยืนเดินนั่งนอนอยู่นี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่หายใจเข้าหายใจออกนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่พองที่ยุบนี้ไม่ใช่ตัวเรา จะเห็นทันที ไม่ต้องคิดนะ แต่จะเห็นทันที จะรู้สึกทันที เนี่ยถ้าเราฝึกเต็มภูมินะ เราจะเดินมาอย่างนี้ เพราะฉะนั้นกายานุปัสสนานะ หรือเวทนานุปัสสนาก็ตามเนี่ย ในอภิธรรมท่านถึงสอบบอกว่า เหมาะกับคนเล่นฌาน กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จะทำได้ดีถ้าเราทำฌาน และฌานนั้นถ้าจะดีจริงๆต้องถึงฌานที่ ๒ แล้ว จะมีเอโกทิภาวะขึ้นมา แล้วจะเห็นทันทีว่ากายนี้ไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จะเห็นอย่างนั้น

จิตหลุดพ้นจากอาสวะตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิตพระธรรมเทศนาของหลวงปู่เทสก์พอถึงขั้นเดินปัญญา มันเป็นขั้นรู้ทุกข์ ไม่ใช่ขั้นมีความสุข ถ้าเราเดินปัญญา .... นี่ภาวนาไปเรื่อยนะ เห็นทุกข์ไปเรื่อย สุดท้ายใจมันเต็มอิ่ม ขึ้นมา ... จิตนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง อันนี้เรียกว่ารู้แจ้งใน “ทุกขสัจ” ... ... ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์

วันเสาร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2559

สมาธิ เป็นเหตุให้เกิดปัญญาพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรคหมวด ๓ [๒๒๘] ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๓ๆ ที่พระผู้มีพระภาคผู้ทรงรู้ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นตรัสไว้โดยชอบแล้วมีอยู่แล พวกเราทั้งหมดด้วยกันพึงสังคายนา ไม่พึงกล่าวแก่งแย่งกันในธรรมนั้นการที่พรหมจรรย์นี้จะพึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมากเพื่อความสุขแก่ชนมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูลเพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๓ๆ เป็นไฉนอกุศลมูล ๓ อย่าง ๑. อกุศลมูล คือ โลภะ ๒. อกุศลมูล คือ โทสะ ๓. อกุศลมูล คือ โมหะกุศลมูล ๓ อย่าง ๑. กุศลมูล คือ อโลภะ ๒. กุศลมูล คือ อโทสะ ๓. กุศลมูล คือ อโมหะทุจริต ๓ อย่าง ๑. กายทุจริต [ความประพฤติชั่วทางกาย] ๒. วจีทุจริต [ความประพฤติชั่วทางวาจา] ๓. มโนทุจริต [ความประพฤติชั่วทางใจ]สุจริต ๓ อย่าง ๑. กายสุจริต [ความประพฤติชอบทางกาย] ๒. วจีสุจริต [ความประพฤติชอบทางวาจา] ๓. มโนสุจริต [ความประพฤติชอบทางใจ]อกุศลวิตก ๓ อย่าง ๑. กามวิตก [ความตริในทางกาม] ๒. พยาปาทวิตก [ความตริในทางพยาบาท] ๓. วิหิงสาวิตก [ความตริในทางเบียดเบียน]กุศลวิตก ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมวิตก [ความตริในทางออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทวิตก [ความตริในทางไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาวิตก [ความตริในทางไม่เบียดเบียน]อกุศลสังกัปปะ ๓ อย่าง ๑. กามสังกัปปะ [ความดำริในทางกาม] ๒. พยาปาทสังกัปปะ [ความดำริในทางพยาบาท] ๓. วิหิงสาสังกัปปะ [ความดำริในทางเบียดเบียน]กุศลสังกัปปะ ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมสังกัปปะ [ความดำริในทางออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทสังกัปปะ [ความดำริในทางไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาสังกัปปะ [ความดำริในทางไม่เบียดเบียน]อกุศลสัญญา ๓ อย่าง ๑. กามสัญญา [ความจำได้ในทางกาม] ๒. พยาปาทสัญญา [ความจำได้ในทางพยาบาท] ๓. วิหิงสาสัญญา [ความจำได้ในทางเบียดเบียน]กุศลสัญญา ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมสัญญา [ความจำได้ในทางออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทสัญญา [ความจำได้ในทางไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาสัญญา [ความจำได้ในทางไม่เบียดเบียน]อกุศลธาตุ ๓ อย่าง ๑. กามธาตุ [ธาตุคือกาม] ๒. พยาปาทธาตุ [ธาตุคือความพยาบาท] ๓. วิหิงสาธาตุ [ธาตุคือความเบียดเบียน]กุศลธาตุ ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมธาตุ [ธาตุคือความออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทธาตุ [ธาตุคือความไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาธาตุ [ธาตุคือความไม่เบียดเบียน]ธาตุอีก ๓ อย่าง ๑. กามธาตุ [ธาตุคือกาม] ๒. รูปธาตุ [ธาตุคือรูป] ๓. อรูปธาตุ [ธาตุคือสิ่งที่ไม่มีรูป]ธาตุอีก ๓ อย่าง ๑. รูปธาตุ [ธาตุคือรูป] ๒. อรูปธาตุ [ธาตุคือสิ่งที่ไม่มีรูป] ๓. นิโรธธาตุ [ธาตุคือความดับทุกข์]ธาตุอีก ๓ อย่าง ๑. หีนธาตุ [ธาตุอย่างเลว] ๒. มัชฌิมธาตุ [ธาตุอย่างกลาง] ๓. ปณีตธาตุ [ธาตุอย่างประณีต]ตัณหา ๓ อย่าง ๑. กามตัณหา [ตัณหาในกาม] ๒. ภวตัณหา [ตัณหาในภพ] ๓. วิภวตัณหา [ตัณหาในปราศจากภพ]ตัณหาอีก ๓ อย่าง ๑. กามตัณหา [ตัณหาในกาม] ๒. รูปตัณหา [ตัณหาในรูป] ๓. อรูปตัณหา [ตัณหาในสิ่งที่ไม่มีรูป]ตัณหาอีก ๓ อย่าง ๑. รูปตัณหา [ตัณหาในรูป] ๒. อรูปตัณหา [ตัณหาในสิ่งที่ไม่มีรูป] ๓. นิโรธตัณหา [ตัณหาในความดับสูญ] [อุจเฉททิฏฐิ]สัญโญชน์ ๓ อย่าง ๑. สักกายทิฏฐิ [ความเห็นเป็นเหตุถือตัวถือตน] ๒. วิจิกิจฉา [ความลังเลสงสัย] ๓. สีลัพพตปรามาส [ความเชื่อถือศักดิ์สิทธิ์ด้วยอำนาจศีลพรต]อาสวะ ๓ อย่าง ๑. กามาสวะ [อาสวะเป็นเหตุอยากได้] ๒. ภวาสวะ [อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น] ๓. อวิชชาสวะ [อาสวะคือความเขลา]ภพ ๓ อย่าง ๑. กามภพ [ภพที่เป็นกามาวจร] ๒. รูปภพ [ภพที่เป็นรูปาวจร] ๓. อรูปภพ [ภพที่เป็นอรูปาวจร]เอสนา ๓ อย่าง ๑. กาเมสนา [การแสวงหากาม] ๒. ภเวสนา [การแสวงหาภพ] ๓. พรหมจริเยสนา [การแสวงหาพรหมจรรย์]วิธา การวางท่า ๓ อย่าง ๑. เสยโยหมสฺมีติวิธา [ถือว่าตัวเราประเสริฐกว่าเขา] ๒. สทิโสหมสฺมีติวิธา [ถือว่าตัวเราเสมอกับเขา] ๓. หีโนหมสฺมีติวิธา [ถือว่าตัวเราเลวกว่าเขา]อัทธา ๓ อย่าง ๑. อดีตอัทธา [ระยะกาลที่เป็นส่วนอดีต] ๒. อนาคตอัทธา [ระยะกาลที่เป็นส่วนอนาคต] ๓. ปัจจุบันนอัทธา [ระยะกาลที่เป็นปัจจุบัน]อันตะ ๓ อย่าง ๑. สักกายอันตะ [ส่วนที่ถือว่าเป็นกายตน] ๒. สักกายสมุทยอันตะ [ส่วนที่ถือว่าเป็นเหตุก่อให้เกิดกายตน] ๓. สักกายนิโรธอันตะ [ส่วนที่ถือว่าเป็นเครื่องดับกายตน]เวทนา ๓ อย่าง ๑. สุขเวทนา [ความเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข] ๒. ทุกขเวทนา [ความเสวยอารมณ์ที่เป็นทุกข์] ๓. อทุกขมสุขเวทนา [ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุข]ทุกขตา ๓ อย่าง ๑. ทุกขทุกขตา [ความเป็นทุกข์เพราะทุกข์] ๒. สังขารทุกขตา [ความเป็นทุกข์เพราะสังขาร] ๓. วิปริณามทุกขตา [ความเป็นทุกข์เพราะความแปรปรวน]ราสี ๓ อย่าง ๑. มิจฉัตตนิยตราสี [กองคือความผิดที่แน่นอน] ๒. สัมมัตตนิยตราสี [กองคือความถูกที่แน่นอน] ๓. อนิยตราสี [กองคือความไม่แน่นอน]กังขา ๓ อย่าง ๑. ปรารภกาลที่ล่วงไปแล้วนานๆ แล้วสงสัย เคลือบแคลง ไม่เชื่อลงไปได้ ไม่เลื่อมใส ๒. ปรารภกาลที่ยังไม่มาถึงนานๆ แล้ว สงสัย เคลือบแคลง ไม่เชื่อลงไปได้ ไม่เลื่อมใส ๓. ปรารภกาลปัจจุบันทุกวันนี้แล้ว สงสัย เคลือบแคลง ไม่เชื่อลงไปได้ ไม่เลื่อมใสข้อที่ไม่ต้องรักษาของพระตถาคต ๓ อย่าง ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมีกายสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิได้มีความประพฤติชั่วทางกายที่พระองค์จะต้องรักษาไว้โดยตั้งพระทัยว่า คนอื่นๆอย่าได้รู้ถึงความประพฤติชั่วทางกายของเรานี้ ดังนี้ ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมีวจีสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิได้มีความประพฤติชั่วทางวาจาที่พระองค์จะต้องรักษาไว้โดยตั้งพระทัยว่า คนอื่นๆ อย่าได้รู้ถึงความประพฤติชั่วทางวาจาของเรานี้ ดังนี้ ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมีมโนสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิได้มีความประพฤติชั่วทางใจที่พระองค์จะต้องรักษาไว้โดยตั้งพระทัยว่า คนอื่นๆอย่าได้รู้ถึงความประพฤติชั่วทางใจของเรานี้ ดังนี้กิญจนะ ๓ อย่าง ๑. ราคกิญจนะ [เครื่องกังวลคือราคะ] ๒. โทสกิญจนะ [เครื่องกังวลคือโทสะ] ๓. โมหกิญจนะ [เครื่องกังวลคือโมหะ]อัคคี ๓ อย่าง ๑. ราคัคคิ [ไฟคือราคะ] ๒. โทสัคคิ [ไฟคือโทสะ] ๓. โมหัคคิ [ไฟคือโมหะ]อัคคีอีก ๓ อย่าง ๑. อาหุเนยยัคคิ [ไฟคืออาหุเนยยบุคคล] ๒. ทักขิเณยยัคคิ [ไฟคือทักขิเณยยบุคคล] ๓. คหปตัคคิ [ไฟคือคฤหบดี]รูปสังคหะ ๓ อย่าง ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆรูป [รูปที่เป็นไปกับด้วยการเห็น ทั้งเป็นไป กับด้วยการกระทบ] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆรูป [รูปที่ไม่มีการเห็น แต่เป็นไปกับด้วย การกระทบ] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆรูป [รูปที่ไม่เห็น ที่ไม่กระทบ]สังขาร ๓ อย่าง ๑. ปุญญาภิสังขาร [อภิสังขารคือบุญ] ๒. อปุญญาภิสังขาร [อภิสังขารคือบาป] ๓. อเนญชาภิสังขาร [อภิสังขารคืออเนญชา]บุคคล ๓ อย่าง ๑. เสกขบุคคล [บุคคลผู้ยังต้องศึกษา] ๒. อเสกขบุคคล [บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา] ๓. เนวเสกขนาเสกขบุคคล [บุคคลผู้ยังต้องศึกษาก็ไม่ใช่ ผู้ไม่ต้อง ศึกษาก็ไม่ใช่]เถระ ๓ อย่าง ๑. ชาติเถระ [พระเถระโดยชาติ] ๒. ธรรมเถระ [พระเถระโดยธรรม] ๓. สมมติเถระ [พระเถระโดยสมมติ]ปุญญกิริยาวัตถุ ๓ อย่าง ๑. ทานมัย [บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน] ๒. สีลมัย [บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล] ๓. ภาวนามัย [บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา]เหตุสำหรับโจทน์ ๓ อย่าง ๑. ทิฏฺเฐน [ด้วยได้เห็น] ๒. สุเตน [ด้วยได้ยินได้ฟัง] ๓. ปริสงฺกาย [ด้วยความรังเกียจ]กามอุปบัติ ๓ อย่าง ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์ประเภทที่มีกามปรากฏมีอยู่ สัตว์เหล่านั้นเมื่อกามปรากฏแล้ว ย่อมยังอำนาจให้เป็นไปในกามทั้งหลายเช่นมนุษย์ เทพดาบางจำพวก และวินิบาตบางจำพวก ฉะนั้น นี้เป็นกามอุปบัติข้อที่หนึ่ง ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์ประเภทที่นิรมิตกามได้มีอยู่ สัตว์เหล่านั้นนิรมิตแล้วๆ ย่อมยังอำนาจให้เป็นไปในกามทั้งหลาย เช่นเทพดาเหล่านิมมานรตีฉะนั้น นี้เป็นกามอุปบัติข้อที่สอง ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์ประเภทที่ผู้อื่นนิรมิตกามให้มีอยู่ สัตว์เหล่านั้น ย่อมยังอำนาจให้เป็นไปในกามที่ผู้อื่นนิรมิตให้แล้ว เช่นเทพดาเหล่าปรนิมมิตวสวตี ฉะนั้น นี้เป็นกามอุปบัติข้อที่สามสุขอุปบัติ ๓ อย่าง ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์พวกที่ยังความสุขให้เกิดขึ้นๆ แล้วย่อมอยู่เป็นสุขมีอยู่ เช่น พวกเทพเหล่าพรหมกายิกา ฉะนั้น นี้เป็นสุขอุปบัติข้อที่หนึ่ง ฯ ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์พวกที่อิ่มเอิบบริบูรณ์ถูกต้องด้วยความสุขมีอยู่ สัตว์เหล่านั้น บางครั้งบางคราว เปล่งอุทานว่า สุขหนอๆ ดังนี้ เช่น พวกเทพเหล่าอาภัสสรา ฉะนั้น นี้เป็นสุขอุปบัติข้อที่สอง ฯ ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์พวกที่อิ่มเอิบบริบูรณ์ถูกต้องด้วยความสุขมีอยู่ สัตว์เหล่านั้นสันโดษ เสวยความสุขทางจิตอันประณีตเท่านั้น เช่น พวกเทพเหล่าสุภกิณหา ฉะนั้น นี้เป็นสุขอุปบัติ ข้อที่สาม ฯปัญญา ๓ อย่าง ๑. เสกขปัญญา [ปัญญาที่เป็นของพระเสขะ] ๒. อเสกขปัญญา [ปัญญาที่เป็นของพระอเสขะ] ๓. เนวเสกขานาเสกขปัญญา [ปัญญาที่เป็นของพระเสขะก็ไม่ใช่ ของพระอเสขะก็ไม่ใช่] ฯปัญญาอีก ๓ อย่าง ๑. จินตามยปัญญา [ปัญญาสำเร็จด้วยการคิด] ๒. สุตมยปัญญา [ปัญญาสำเร็จด้วยการฟัง] ๓. ภาวนามยปัญญา [ปัญญาสำเร็จด้วยการอบรม] ฯอาวุธ ๓ อย่าง ๑. สุตาวุธ [อาวุธคือการฟัง] ๒. ปวิเวกาวุธ [อาวุธคือความสงัด] ๓. ปัญญาวุธ [อาวุธคือปัญญา] ฯอินทรีย์ ๓ อย่าง ๑. อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ [อินทรีย์ที่เกิดแก่ผู้ปฏิบัติด้วยคิดว่าเรา จักรู้ธรรมที่เรายังไม่รู้] ๒. อัญญินทรีย์ [อินทรีย์คือความตรัสรู้] ๓. อัญญาตาวินทรีย์ [อินทรีย์คือความรู้ทั่วถึง] ฯจักษุ ๓ อย่าง ๑. มังสจักขุ [ตาเนื้อ ตาปรกติ] ๒. ทิพพจักขุ [จักษุทิพย์] ๓. ปัญญาจักขุ [จักษุคือปัญญา] ฯสิกขา ๓ อย่าง ๑. อธิศีลสิกขา [สิกขาคือศีลยิ่ง] ๒. อธิจิตตสิกขา [สิกขาคือจิตยิ่ง] ๓. อธิปัญญาสิกขา [สิกขาคือปัญญายิ่ง] ฯภาวนา ๓ อย่าง ๑. กายภาวนา [การอบรมกาย] ๒. จิตตภาวนา [การอบรมจิต] ๓. ปัญญาภาวนา [การอบรมปัญญา] ฯอนุตตริยะ ๓ อย่าง ๑. ทัสสนานุตตริยะ [ความเห็นอย่างยอดเยี่ยม] ๒. ปฏิปทานุตตริยะ [ความปฏิบัติอย่างยอดเยี่ยม] ๓. วิมุตตานุตตริยะ [ความพ้นอย่างยอดเยี่ยม] ฯสมาธิ ๓ อย่าง ๑. สวิตักกวิจารสมาธิ [สมาธิที่ยังมีวิตกวิจาร] ๒. อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ [สมาธิที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจาร] ๓. อวิตักกวิจารสมาธิ [สมาธิที่ไม่มีวิตกวิจาร] ฯสมาธิอีก ๓ อย่าง ๑. สุญญตสมาธิ [สมาธิที่ว่างเปล่า] ๒. อนิมิตตสมาธิ [สมาธิที่หานิมิตมิได้] ๓. อัปปณิหิตสมาธิ [สมาธิที่หาที่ตั้งมิได้] ฯโสเจยยะ ๓ อย่าง ๑. กายโสเจยยะ [ความสะอาดทางกาย] ๒. วจีโสเจยยะ [ความสะอาดทางวาจา] ๓. มโนโสเจยยะ [ความสะอาดทางใจ]โมเนยยะ ๓ อย่าง ๑. กายโมเนยยะ [ธรรมที่ทำให้เป็นมุนีทางกาย] ๒. วจีโมเนยยะ [ธรรมที่ทำให้เป็นมุนีทางวาจา] ๓. มโนโมเนยยะ [ธรรมที่ทำให้เป็นมุนีทางใจ] ฯโกสัลละ ๓ อย่าง ๑. อายโกสัลละ [ความเป็นผู้ฉลาดในเหตุแห่งความเจริญ] ๒. อปายโกสัลละ [ความเป็นผู้ฉลาดในเหตุแห่งความเสื่อม] ๓. อุปายโกสัลละ [ความเป็นผู้ฉลาดในเหตุแห่งความเจริญและความ เสื่อม]มทะ ความเมา ๓ อย่าง ๑. อาโรคยมทะ [ความเมาในความไม่มีโรค] ๒. โยพพนมทะ [ความเมาในความเป็นหนุ่มสาว] ๓. ชาติมทะ [ความเมาในชาติ] ฯอธิปเตยยะ ๓ อย่าง ๑. อัตตาธิปเตยยะ [ความมีตนเป็นใหญ่] ๒. โลกาธิปเตยยะ [ความมีโลกเป็นใหญ่] ๓. ธัมมาธิปเตยยะ [ความมีธรรมเป็นใหญ่] ฯกถาวัตถุ ๓ อย่าง ๑. ปรารภกาลส่วนอดีตกล่าวถ้อยคำว่า กาลที่ล่วงไปแล้วได้มีแล้วอย่างนี้ ๒. ปรารภกาลส่วนอนาคตกล่าวถ้อยคำว่า กาลที่ยังไม่มาถึงจักมีอย่างนี้ ๓. ปรารภกาลส่วนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าในบัดนี้ กล่าวถ้อยคำว่า กาลส่วนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าบัดนี้เป็นอยู่อย่างนี้ ฯวิชชา ๓ อย่าง ๑. บุพเพนิวาสานุสสติญาณวิชชา [วิชชาคือความรู้จักระลึกชาติใน ก่อนได้] ๒. จุตูปปาตญาณวิชชา [วิชชาคือความรู้จักกำหนดจุติ และอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย] ๓. อาสวักขยญาณวิชชา [วิชชาคือความรู้จักทำอาสวะให้สิ้นไป] ฯวิหารธรรม ๓ อย่าง ๑. ทิพยวิหาร [ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของเทพดา] ๒. พรหมวิหาร [ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม] ๓. อริยวิหาร [ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพระอริยะ] ฯปาฏิหาริยะ ๓ อย่าง ๑. อิทธิปาฏิหาริยะ [ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์] ๒. อาเทสนาปาฏิหาริยะ [ดักใจเป็นอัศจรรย์] ๓. อนุสาสนีปาฏิหาริยะ [คำสอนเป็นอัศจรรย์] ฯ ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๓ๆ เหล่านี้แล อันพระผู้มี-*พระภาคผู้ทรงรู้ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นตรัสไว้โดยชอบแล้ว พวกเราทั้งหมดด้วยกันพึงสังคายนา ไม่ควรแก่งแย่งกันในธรรมนั้นการที่พรหมจรรย์นี้พึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความสุขแก่ชนมาก เพื่ออนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯจบหมวด ๓

สมาธิ เป็นเหตุให้เกิดปัญญาพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรคหมวด ๓ [๒๒๘] ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๓ๆ ที่พระผู้มีพระภาคผู้ทรงรู้ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นตรัสไว้โดยชอบแล้วมีอยู่แล พวกเราทั้งหมดด้วยกันพึงสังคายนา ไม่พึงกล่าวแก่งแย่งกันในธรรมนั้นการที่พรหมจรรย์นี้จะพึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมากเพื่อความสุขแก่ชนมาก เพื่อความอนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูลเพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๓ๆ เป็นไฉนอกุศลมูล ๓ อย่าง ๑. อกุศลมูล คือ โลภะ ๒. อกุศลมูล คือ โทสะ ๓. อกุศลมูล คือ โมหะกุศลมูล ๓ อย่าง ๑. กุศลมูล คือ อโลภะ ๒. กุศลมูล คือ อโทสะ ๓. กุศลมูล คือ อโมหะทุจริต ๓ อย่าง ๑. กายทุจริต [ความประพฤติชั่วทางกาย] ๒. วจีทุจริต [ความประพฤติชั่วทางวาจา] ๓. มโนทุจริต [ความประพฤติชั่วทางใจ]สุจริต ๓ อย่าง ๑. กายสุจริต [ความประพฤติชอบทางกาย] ๒. วจีสุจริต [ความประพฤติชอบทางวาจา] ๓. มโนสุจริต [ความประพฤติชอบทางใจ]อกุศลวิตก ๓ อย่าง ๑. กามวิตก [ความตริในทางกาม] ๒. พยาปาทวิตก [ความตริในทางพยาบาท] ๓. วิหิงสาวิตก [ความตริในทางเบียดเบียน]กุศลวิตก ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมวิตก [ความตริในทางออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทวิตก [ความตริในทางไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาวิตก [ความตริในทางไม่เบียดเบียน]อกุศลสังกัปปะ ๓ อย่าง ๑. กามสังกัปปะ [ความดำริในทางกาม] ๒. พยาปาทสังกัปปะ [ความดำริในทางพยาบาท] ๓. วิหิงสาสังกัปปะ [ความดำริในทางเบียดเบียน]กุศลสังกัปปะ ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมสังกัปปะ [ความดำริในทางออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทสังกัปปะ [ความดำริในทางไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาสังกัปปะ [ความดำริในทางไม่เบียดเบียน]อกุศลสัญญา ๓ อย่าง ๑. กามสัญญา [ความจำได้ในทางกาม] ๒. พยาปาทสัญญา [ความจำได้ในทางพยาบาท] ๓. วิหิงสาสัญญา [ความจำได้ในทางเบียดเบียน]กุศลสัญญา ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมสัญญา [ความจำได้ในทางออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทสัญญา [ความจำได้ในทางไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาสัญญา [ความจำได้ในทางไม่เบียดเบียน]อกุศลธาตุ ๓ อย่าง ๑. กามธาตุ [ธาตุคือกาม] ๒. พยาปาทธาตุ [ธาตุคือความพยาบาท] ๓. วิหิงสาธาตุ [ธาตุคือความเบียดเบียน]กุศลธาตุ ๓ อย่าง ๑. เนกขัมมธาตุ [ธาตุคือความออกจากกาม] ๒. อัพยาปาทธาตุ [ธาตุคือความไม่พยาบาท] ๓. อวิหิงสาธาตุ [ธาตุคือความไม่เบียดเบียน]ธาตุอีก ๓ อย่าง ๑. กามธาตุ [ธาตุคือกาม] ๒. รูปธาตุ [ธาตุคือรูป] ๓. อรูปธาตุ [ธาตุคือสิ่งที่ไม่มีรูป]ธาตุอีก ๓ อย่าง ๑. รูปธาตุ [ธาตุคือรูป] ๒. อรูปธาตุ [ธาตุคือสิ่งที่ไม่มีรูป] ๓. นิโรธธาตุ [ธาตุคือความดับทุกข์]ธาตุอีก ๓ อย่าง ๑. หีนธาตุ [ธาตุอย่างเลว] ๒. มัชฌิมธาตุ [ธาตุอย่างกลาง] ๓. ปณีตธาตุ [ธาตุอย่างประณีต]ตัณหา ๓ อย่าง ๑. กามตัณหา [ตัณหาในกาม] ๒. ภวตัณหา [ตัณหาในภพ] ๓. วิภวตัณหา [ตัณหาในปราศจากภพ]ตัณหาอีก ๓ อย่าง ๑. กามตัณหา [ตัณหาในกาม] ๒. รูปตัณหา [ตัณหาในรูป] ๓. อรูปตัณหา [ตัณหาในสิ่งที่ไม่มีรูป]ตัณหาอีก ๓ อย่าง ๑. รูปตัณหา [ตัณหาในรูป] ๒. อรูปตัณหา [ตัณหาในสิ่งที่ไม่มีรูป] ๓. นิโรธตัณหา [ตัณหาในความดับสูญ] [อุจเฉททิฏฐิ]สัญโญชน์ ๓ อย่าง ๑. สักกายทิฏฐิ [ความเห็นเป็นเหตุถือตัวถือตน] ๒. วิจิกิจฉา [ความลังเลสงสัย] ๓. สีลัพพตปรามาส [ความเชื่อถือศักดิ์สิทธิ์ด้วยอำนาจศีลพรต]อาสวะ ๓ อย่าง ๑. กามาสวะ [อาสวะเป็นเหตุอยากได้] ๒. ภวาสวะ [อาสวะเป็นเหตุอยากเป็น] ๓. อวิชชาสวะ [อาสวะคือความเขลา]ภพ ๓ อย่าง ๑. กามภพ [ภพที่เป็นกามาวจร] ๒. รูปภพ [ภพที่เป็นรูปาวจร] ๓. อรูปภพ [ภพที่เป็นอรูปาวจร]เอสนา ๓ อย่าง ๑. กาเมสนา [การแสวงหากาม] ๒. ภเวสนา [การแสวงหาภพ] ๓. พรหมจริเยสนา [การแสวงหาพรหมจรรย์]วิธา การวางท่า ๓ อย่าง ๑. เสยโยหมสฺมีติวิธา [ถือว่าตัวเราประเสริฐกว่าเขา] ๒. สทิโสหมสฺมีติวิธา [ถือว่าตัวเราเสมอกับเขา] ๓. หีโนหมสฺมีติวิธา [ถือว่าตัวเราเลวกว่าเขา]อัทธา ๓ อย่าง ๑. อดีตอัทธา [ระยะกาลที่เป็นส่วนอดีต] ๒. อนาคตอัทธา [ระยะกาลที่เป็นส่วนอนาคต] ๓. ปัจจุบันนอัทธา [ระยะกาลที่เป็นปัจจุบัน]อันตะ ๓ อย่าง ๑. สักกายอันตะ [ส่วนที่ถือว่าเป็นกายตน] ๒. สักกายสมุทยอันตะ [ส่วนที่ถือว่าเป็นเหตุก่อให้เกิดกายตน] ๓. สักกายนิโรธอันตะ [ส่วนที่ถือว่าเป็นเครื่องดับกายตน]เวทนา ๓ อย่าง ๑. สุขเวทนา [ความเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข] ๒. ทุกขเวทนา [ความเสวยอารมณ์ที่เป็นทุกข์] ๓. อทุกขมสุขเวทนา [ความเสวยอารมณ์ที่ไม่ใช่ทุกข์ไม่ใช่สุข]ทุกขตา ๓ อย่าง ๑. ทุกขทุกขตา [ความเป็นทุกข์เพราะทุกข์] ๒. สังขารทุกขตา [ความเป็นทุกข์เพราะสังขาร] ๓. วิปริณามทุกขตา [ความเป็นทุกข์เพราะความแปรปรวน]ราสี ๓ อย่าง ๑. มิจฉัตตนิยตราสี [กองคือความผิดที่แน่นอน] ๒. สัมมัตตนิยตราสี [กองคือความถูกที่แน่นอน] ๓. อนิยตราสี [กองคือความไม่แน่นอน]กังขา ๓ อย่าง ๑. ปรารภกาลที่ล่วงไปแล้วนานๆ แล้วสงสัย เคลือบแคลง ไม่เชื่อลงไปได้ ไม่เลื่อมใส ๒. ปรารภกาลที่ยังไม่มาถึงนานๆ แล้ว สงสัย เคลือบแคลง ไม่เชื่อลงไปได้ ไม่เลื่อมใส ๓. ปรารภกาลปัจจุบันทุกวันนี้แล้ว สงสัย เคลือบแคลง ไม่เชื่อลงไปได้ ไม่เลื่อมใสข้อที่ไม่ต้องรักษาของพระตถาคต ๓ อย่าง ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมีกายสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิได้มีความประพฤติชั่วทางกายที่พระองค์จะต้องรักษาไว้โดยตั้งพระทัยว่า คนอื่นๆอย่าได้รู้ถึงความประพฤติชั่วทางกายของเรานี้ ดังนี้ ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมีวจีสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิได้มีความประพฤติชั่วทางวาจาที่พระองค์จะต้องรักษาไว้โดยตั้งพระทัยว่า คนอื่นๆ อย่าได้รู้ถึงความประพฤติชั่วทางวาจาของเรานี้ ดังนี้ ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระตถาคตมีมโนสมาจารบริสุทธิ์ พระตถาคตมิได้มีความประพฤติชั่วทางใจที่พระองค์จะต้องรักษาไว้โดยตั้งพระทัยว่า คนอื่นๆอย่าได้รู้ถึงความประพฤติชั่วทางใจของเรานี้ ดังนี้กิญจนะ ๓ อย่าง ๑. ราคกิญจนะ [เครื่องกังวลคือราคะ] ๒. โทสกิญจนะ [เครื่องกังวลคือโทสะ] ๓. โมหกิญจนะ [เครื่องกังวลคือโมหะ]อัคคี ๓ อย่าง ๑. ราคัคคิ [ไฟคือราคะ] ๒. โทสัคคิ [ไฟคือโทสะ] ๓. โมหัคคิ [ไฟคือโมหะ]อัคคีอีก ๓ อย่าง ๑. อาหุเนยยัคคิ [ไฟคืออาหุเนยยบุคคล] ๒. ทักขิเณยยัคคิ [ไฟคือทักขิเณยยบุคคล] ๓. คหปตัคคิ [ไฟคือคฤหบดี]รูปสังคหะ ๓ อย่าง ๑. สนิทัสสนสัปปฏิฆรูป [รูปที่เป็นไปกับด้วยการเห็น ทั้งเป็นไป กับด้วยการกระทบ] ๒. อนิทัสสนสัปปฏิฆรูป [รูปที่ไม่มีการเห็น แต่เป็นไปกับด้วย การกระทบ] ๓. อนิทัสสนอัปปฏิฆรูป [รูปที่ไม่เห็น ที่ไม่กระทบ]สังขาร ๓ อย่าง ๑. ปุญญาภิสังขาร [อภิสังขารคือบุญ] ๒. อปุญญาภิสังขาร [อภิสังขารคือบาป] ๓. อเนญชาภิสังขาร [อภิสังขารคืออเนญชา]บุคคล ๓ อย่าง ๑. เสกขบุคคล [บุคคลผู้ยังต้องศึกษา] ๒. อเสกขบุคคล [บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา] ๓. เนวเสกขนาเสกขบุคคล [บุคคลผู้ยังต้องศึกษาก็ไม่ใช่ ผู้ไม่ต้อง ศึกษาก็ไม่ใช่]เถระ ๓ อย่าง ๑. ชาติเถระ [พระเถระโดยชาติ] ๒. ธรรมเถระ [พระเถระโดยธรรม] ๓. สมมติเถระ [พระเถระโดยสมมติ]ปุญญกิริยาวัตถุ ๓ อย่าง ๑. ทานมัย [บุญสำเร็จด้วยการบริจาคทาน] ๒. สีลมัย [บุญสำเร็จด้วยการรักษาศีล] ๓. ภาวนามัย [บุญสำเร็จด้วยการเจริญภาวนา]เหตุสำหรับโจทน์ ๓ อย่าง ๑. ทิฏฺเฐน [ด้วยได้เห็น] ๒. สุเตน [ด้วยได้ยินได้ฟัง] ๓. ปริสงฺกาย [ด้วยความรังเกียจ]กามอุปบัติ ๓ อย่าง ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์ประเภทที่มีกามปรากฏมีอยู่ สัตว์เหล่านั้นเมื่อกามปรากฏแล้ว ย่อมยังอำนาจให้เป็นไปในกามทั้งหลายเช่นมนุษย์ เทพดาบางจำพวก และวินิบาตบางจำพวก ฉะนั้น นี้เป็นกามอุปบัติข้อที่หนึ่ง ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์ประเภทที่นิรมิตกามได้มีอยู่ สัตว์เหล่านั้นนิรมิตแล้วๆ ย่อมยังอำนาจให้เป็นไปในกามทั้งหลาย เช่นเทพดาเหล่านิมมานรตีฉะนั้น นี้เป็นกามอุปบัติข้อที่สอง ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์ประเภทที่ผู้อื่นนิรมิตกามให้มีอยู่ สัตว์เหล่านั้น ย่อมยังอำนาจให้เป็นไปในกามที่ผู้อื่นนิรมิตให้แล้ว เช่นเทพดาเหล่าปรนิมมิตวสวตี ฉะนั้น นี้เป็นกามอุปบัติข้อที่สามสุขอุปบัติ ๓ อย่าง ๑. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์พวกที่ยังความสุขให้เกิดขึ้นๆ แล้วย่อมอยู่เป็นสุขมีอยู่ เช่น พวกเทพเหล่าพรหมกายิกา ฉะนั้น นี้เป็นสุขอุปบัติข้อที่หนึ่ง ฯ ๒. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์พวกที่อิ่มเอิบบริบูรณ์ถูกต้องด้วยความสุขมีอยู่ สัตว์เหล่านั้น บางครั้งบางคราว เปล่งอุทานว่า สุขหนอๆ ดังนี้ เช่น พวกเทพเหล่าอาภัสสรา ฉะนั้น นี้เป็นสุขอุปบัติข้อที่สอง ฯ ๓. ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย สัตว์พวกที่อิ่มเอิบบริบูรณ์ถูกต้องด้วยความสุขมีอยู่ สัตว์เหล่านั้นสันโดษ เสวยความสุขทางจิตอันประณีตเท่านั้น เช่น พวกเทพเหล่าสุภกิณหา ฉะนั้น นี้เป็นสุขอุปบัติ ข้อที่สาม ฯปัญญา ๓ อย่าง ๑. เสกขปัญญา [ปัญญาที่เป็นของพระเสขะ] ๒. อเสกขปัญญา [ปัญญาที่เป็นของพระอเสขะ] ๓. เนวเสกขานาเสกขปัญญา [ปัญญาที่เป็นของพระเสขะก็ไม่ใช่ ของพระอเสขะก็ไม่ใช่] ฯปัญญาอีก ๓ อย่าง ๑. จินตามยปัญญา [ปัญญาสำเร็จด้วยการคิด] ๒. สุตมยปัญญา [ปัญญาสำเร็จด้วยการฟัง] ๓. ภาวนามยปัญญา [ปัญญาสำเร็จด้วยการอบรม] ฯอาวุธ ๓ อย่าง ๑. สุตาวุธ [อาวุธคือการฟัง] ๒. ปวิเวกาวุธ [อาวุธคือความสงัด] ๓. ปัญญาวุธ [อาวุธคือปัญญา] ฯอินทรีย์ ๓ อย่าง ๑. อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์ [อินทรีย์ที่เกิดแก่ผู้ปฏิบัติด้วยคิดว่าเรา จักรู้ธรรมที่เรายังไม่รู้] ๒. อัญญินทรีย์ [อินทรีย์คือความตรัสรู้] ๓. อัญญาตาวินทรีย์ [อินทรีย์คือความรู้ทั่วถึง] ฯจักษุ ๓ อย่าง ๑. มังสจักขุ [ตาเนื้อ ตาปรกติ] ๒. ทิพพจักขุ [จักษุทิพย์] ๓. ปัญญาจักขุ [จักษุคือปัญญา] ฯสิกขา ๓ อย่าง ๑. อธิศีลสิกขา [สิกขาคือศีลยิ่ง] ๒. อธิจิตตสิกขา [สิกขาคือจิตยิ่ง] ๓. อธิปัญญาสิกขา [สิกขาคือปัญญายิ่ง] ฯภาวนา ๓ อย่าง ๑. กายภาวนา [การอบรมกาย] ๒. จิตตภาวนา [การอบรมจิต] ๓. ปัญญาภาวนา [การอบรมปัญญา] ฯอนุตตริยะ ๓ อย่าง ๑. ทัสสนานุตตริยะ [ความเห็นอย่างยอดเยี่ยม] ๒. ปฏิปทานุตตริยะ [ความปฏิบัติอย่างยอดเยี่ยม] ๓. วิมุตตานุตตริยะ [ความพ้นอย่างยอดเยี่ยม] ฯสมาธิ ๓ อย่าง ๑. สวิตักกวิจารสมาธิ [สมาธิที่ยังมีวิตกวิจาร] ๒. อวิตักกวิจารมัตตสมาธิ [สมาธิที่ไม่มีวิตก มีเพียงวิจาร] ๓. อวิตักกวิจารสมาธิ [สมาธิที่ไม่มีวิตกวิจาร] ฯสมาธิอีก ๓ อย่าง ๑. สุญญตสมาธิ [สมาธิที่ว่างเปล่า] ๒. อนิมิตตสมาธิ [สมาธิที่หานิมิตมิได้] ๓. อัปปณิหิตสมาธิ [สมาธิที่หาที่ตั้งมิได้] ฯโสเจยยะ ๓ อย่าง ๑. กายโสเจยยะ [ความสะอาดทางกาย] ๒. วจีโสเจยยะ [ความสะอาดทางวาจา] ๓. มโนโสเจยยะ [ความสะอาดทางใจ]โมเนยยะ ๓ อย่าง ๑. กายโมเนยยะ [ธรรมที่ทำให้เป็นมุนีทางกาย] ๒. วจีโมเนยยะ [ธรรมที่ทำให้เป็นมุนีทางวาจา] ๓. มโนโมเนยยะ [ธรรมที่ทำให้เป็นมุนีทางใจ] ฯโกสัลละ ๓ อย่าง ๑. อายโกสัลละ [ความเป็นผู้ฉลาดในเหตุแห่งความเจริญ] ๒. อปายโกสัลละ [ความเป็นผู้ฉลาดในเหตุแห่งความเสื่อม] ๓. อุปายโกสัลละ [ความเป็นผู้ฉลาดในเหตุแห่งความเจริญและความ เสื่อม]มทะ ความเมา ๓ อย่าง ๑. อาโรคยมทะ [ความเมาในความไม่มีโรค] ๒. โยพพนมทะ [ความเมาในความเป็นหนุ่มสาว] ๓. ชาติมทะ [ความเมาในชาติ] ฯอธิปเตยยะ ๓ อย่าง ๑. อัตตาธิปเตยยะ [ความมีตนเป็นใหญ่] ๒. โลกาธิปเตยยะ [ความมีโลกเป็นใหญ่] ๓. ธัมมาธิปเตยยะ [ความมีธรรมเป็นใหญ่] ฯกถาวัตถุ ๓ อย่าง ๑. ปรารภกาลส่วนอดีตกล่าวถ้อยคำว่า กาลที่ล่วงไปแล้วได้มีแล้วอย่างนี้ ๒. ปรารภกาลส่วนอนาคตกล่าวถ้อยคำว่า กาลที่ยังไม่มาถึงจักมีอย่างนี้ ๓. ปรารภกาลส่วนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าในบัดนี้ กล่าวถ้อยคำว่า กาลส่วนที่เกิดขึ้นเฉพาะหน้าบัดนี้เป็นอยู่อย่างนี้ ฯวิชชา ๓ อย่าง ๑. บุพเพนิวาสานุสสติญาณวิชชา [วิชชาคือความรู้จักระลึกชาติใน ก่อนได้] ๒. จุตูปปาตญาณวิชชา [วิชชาคือความรู้จักกำหนดจุติ และอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย] ๓. อาสวักขยญาณวิชชา [วิชชาคือความรู้จักทำอาสวะให้สิ้นไป] ฯวิหารธรรม ๓ อย่าง ๑. ทิพยวิหาร [ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของเทพดา] ๒. พรหมวิหาร [ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม] ๓. อริยวิหาร [ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพระอริยะ] ฯปาฏิหาริยะ ๓ อย่าง ๑. อิทธิปาฏิหาริยะ [ฤทธิ์เป็นอัศจรรย์] ๒. อาเทสนาปาฏิหาริยะ [ดักใจเป็นอัศจรรย์] ๓. อนุสาสนีปาฏิหาริยะ [คำสอนเป็นอัศจรรย์] ฯ ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ธรรมมีประเภทละ ๓ๆ เหล่านี้แล อันพระผู้มี-*พระภาคผู้ทรงรู้ทรงเห็น เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นตรัสไว้โดยชอบแล้ว พวกเราทั้งหมดด้วยกันพึงสังคายนา ไม่ควรแก่งแย่งกันในธรรมนั้นการที่พรหมจรรย์นี้พึงยั่งยืนตั้งอยู่นาน นั้นพึงเป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความสุขแก่ชนมาก เพื่ออนุเคราะห์แก่โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ฯจบหมวด ๓

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืนเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

ธรรมที่ไม่เนิ่นช้าหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป

โลกว่างเปล่าตรงที่จิตถึงสัจจานุโลมิกญาณหรืออนุโลมญาณ ใจคล้อยตามความจริง(ไตรลักษณ์)แล้ว ตรงนี้มีสามขณะถ้าเต็มรูป มีบริกรรม อุปจาร อนุโลม อนุโลมตัวสุดท้ายเป็นตัวตัด ตัดกระแสการรู้อารมณ์รูปนาม ฉะนั้นเวลาที่จิตรวมเข้าไป จิตเป็นกลางๆไปถึงขีดสุดแล้ว ปัญญาพอแล้ว มันเข้าอัปปนาสมาธิแล้วจะเห็นสภาวะเกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ขณะที่สองหรือขณะที่สามเป็นตัวสุดท้ายนี่มันจะตัด ตัดการรู้รูปนาม ตัดอารมณ์ของฝ่ายโลกียะ เสร็จแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ตัวนี้เองที่ว่าเราจะต้องฝึกจิตของเรา จะต้องฝึกจนมันตั้งมั่น มีเอโกทิภาวะอยู่ มีความตั้งมั่น ฉะนั้นพอมันวางอารมณ์รูปนามนี้ปุ๊บ มันจะหนีไปหาอารมณ์บัญญัติแทน ฉะนั้นใจเราต้องฝึกจนมีเอโกทิภาวะ พอมันรู้จนไม่รู้จะรู้อะไร มันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้อัตโนมัติ เพราะถ้าเจือด้วยความจงใจแม้แต่นิดเดียว มรรคผลจะเกิดไม่ได้ ตรงที่มันดับกระแสของโลกิยะลงไป อนุโลมญาณดับกระแสของโลกิยะลงไปแล้ว มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้เอง ไม่จับโลกียะ แต่ยังไม่เข้าถึงโลกุตตระเป็นโคตรภูญาณ มีจิตทำหน้าที่ตรงนี้อยู่ดวงหนึ่ง พอทวนเข้าถึงอริยมรรค ตัวมรรคนี้เป็นชาติกุศล แต่ตัวผลเป็นชาติวิบาก พอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาชั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

วันศุกร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ทำงานตามปกติยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาดที่ใหญ่สุดที่มีเป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ราคา 400 บาท ครับ TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor Control Applications The 4th Generation Enhancement-Mode High Speed: tf = 0.10 µs (typ.) Low Saturation Voltage: VCE (sat) = 1.75 V (typ.) FRD included between Emitter and collector.Maximum Ratings (Ta 25°C)Characteristic Symbol Rating UnitCollector-emitter voltage VCES 600 VGate-emitter voltage VGES 20 VDC IC 15Collector current 1 ms ICP 30ADC IF 15 A Emitter-collector forward current 1 ms IFM 30 WCollector power dissipation(Tc 25°C) PC 70 WJunction temperature Tj 150 °CStorage temperature range Tstg 55~150 °C Equiท่านที่ส่งงานให้ผมซ่อมให้ส่งเฉพาะแผงวงจร..มาทางไปรษณีย์...ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ...email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Mosfet 2SK2698 2SK2611 TOSHIBA JAPAN แท้ ราคา ตัวละ 35 บาท 3 ตัว 100 บาท สำหรับ ท่านที่ทำงาน ซ่อม ตู้เชื่อม อินเวอร์เตอร์ ครับ.. จำหน่าย TLP3506 TOSHIBA Photocoupler GaAs Ired & Photo-Triac TLP3506 Triac Driver Programmable Controllers. ทีีใช้ในเครื่องซักผ้า ราคาตัวละ 30 บาทครับ...ใช้แทน R23MF1 ไดัครับ. จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

ทำงานตามปกติยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาดที่ใหญ่สุดที่มีเป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ราคา 400 บาท ครับ TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor Control Applications The 4th Generation Enhancement-Mode High Speed: tf = 0.10 µs (typ.) Low Saturation Voltage: VCE (sat) = 1.75 V (typ.) FRD included between Emitter and collector.Maximum Ratings (Ta 25°C)Characteristic Symbol Rating UnitCollector-emitter voltage VCES 600 VGate-emitter voltage VGES 20 VDC IC 15Collector current 1 ms ICP 30ADC IF 15 A Emitter-collector forward current 1 ms IFM 30 WCollector power dissipation(Tc 25°C) PC 70 WJunction temperature Tj 150 °CStorage temperature range Tstg 55~150 °C Equiท่านที่ส่งงานให้ผมซ่อมให้ส่งเฉพาะแผงวงจร..มาทางไปรษณีย์...ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ...email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Mosfet 2SK2698 2SK2611 TOSHIBA JAPAN แท้ ราคา ตัวละ 35 บาท 3 ตัว 100 บาท สำหรับ ท่านที่ทำงาน ซ่อม ตู้เชื่อม อินเวอร์เตอร์ ครับ.. จำหน่าย TLP3506 TOSHIBA Photocoupler GaAs Ired & Photo-Triac TLP3506 Triac Driver Programmable Controllers. ทีีใช้ในเครื่องซักผ้า ราคาตัวละ 30 บาทครับ...ใช้แทน R23MF1 ไดัครับ. จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

แกนพลังงานยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาดที่ใหญ่สุดที่มีเป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ราคา 400 บาท ครับ TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor Control Applications The 4th Generation Enhancement-Mode High Speed: tf = 0.10 µs (typ.) Low Saturation Voltage: VCE (sat) = 1.75 V (typ.) FRD included between Emitter and collector.Maximum Ratings (Ta 25°C)Characteristic Symbol Rating UnitCollector-emitter voltage VCES 600 VGate-emitter voltage VGES 20 VDC IC 15Collector current 1 ms ICP 30ADC IF 15 A Emitter-collector forward current 1 ms IFM 30 WCollector power dissipation(Tc 25°C) PC 70 WJunction temperature Tj 150 °CStorage temperature range Tstg 55~150 °C Equiท่านที่ส่งงานให้ผมซ่อมให้ส่งเฉพาะแผงวงจร..มาทางไปรษณีย์...ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ...email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Mosfet 2SK2698 2SK2611 TOSHIBA JAPAN แท้ ราคา ตัวละ 35 บาท 3 ตัว 100 บาท สำหรับ ท่านที่ทำงาน ซ่อม ตู้เชื่อม อินเวอร์เตอร์ ครับ.. จำหน่าย TLP3506 TOSHIBA Photocoupler GaAs Ired & Photo-Triac TLP3506 Triac Driver Programmable Controllers. ทีีใช้ในเครื่องซักผ้า ราคาตัวละ 30 บาทครับ...ใช้แทน R23MF1 ไดัครับ. จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

TM51 การทำงาน ของวงจรยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาดที่ใหญ่สุดที่มีเป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ราคา 400 บาท ครับ TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor Control Applications The 4th Generation Enhancement-Mode High Speed: tf = 0.10 µs (typ.) Low Saturation Voltage: VCE (sat) = 1.75 V (typ.) FRD included between Emitter and collector.Maximum Ratings (Ta 25°C)Characteristic Symbol Rating UnitCollector-emitter voltage VCES 600 VGate-emitter voltage VGES 20 VDC IC 15Collector current 1 ms ICP 30ADC IF 15 A Emitter-collector forward current 1 ms IFM 30 WCollector power dissipation(Tc 25°C) PC 70 WJunction temperature Tj 150 °CStorage temperature range Tstg 55~150 °C Equiท่านที่ส่งงานให้ผมซ่อมให้ส่งเฉพาะแผงวงจร..มาทางไปรษณีย์...ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ...email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Mosfet 2SK2698 2SK2611 TOSHIBA JAPAN แท้ ราคา ตัวละ 35 บาท 3 ตัว 100 บาท สำหรับ ท่านที่ทำงาน ซ่อม ตู้เชื่อม อินเวอร์เตอร์ ครับ.. จำหน่าย TLP3506 TOSHIBA Photocoupler GaAs Ired & Photo-Triac TLP3506 Triac Driver Programmable Controllers. ทีีใช้ในเครื่องซักผ้า ราคาตัวละ 30 บาทครับ...ใช้แทน R23MF1 ไดัครับ. จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

การก้าวเข้ายุคสู่สันติสุขและรุ่งเรืองยินดีและขอบพระคุณทุกท่าน.มากครับ TOSHIBA GT15J331 ราคา ตัวละ 300 บาท 4 ตัว ราคา ตัวละ 250 บาทครับ บอร์ด drive l6569 บอร์ดละ 100 บาท แกนเฟอไรท์ มีหลาย ขนาดที่ใหญ่สุดที่มีเป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 นิ้ว ราคา 400 บาท ครับ TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT GT15J331High Power Switching ApplicationsMotor Control Applications The 4th Generation Enhancement-Mode High Speed: tf = 0.10 µs (typ.) Low Saturation Voltage: VCE (sat) = 1.75 V (typ.) FRD included between Emitter and collector.Maximum Ratings (Ta 25°C)Characteristic Symbol Rating UnitCollector-emitter voltage VCES 600 VGate-emitter voltage VGES 20 VDC IC 15Collector current 1 ms ICP 30ADC IF 15 A Emitter-collector forward current 1 ms IFM 30 WCollector power dissipation(Tc 25°C) PC 70 WJunction temperature Tj 150 °CStorage temperature range Tstg 55~150 °C Equiท่านที่ส่งงานให้ผมซ่อมให้ส่งเฉพาะแผงวงจร..มาทางไปรษณีย์...ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ...email mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Mosfet 2SK2698 2SK2611 TOSHIBA JAPAN แท้ ราคา ตัวละ 35 บาท 3 ตัว 100 บาท สำหรับ ท่านที่ทำงาน ซ่อม ตู้เชื่อม อินเวอร์เตอร์ ครับ.. จำหน่าย TLP3506 TOSHIBA Photocoupler GaAs Ired & Photo-Triac TLP3506 Triac Driver Programmable Controllers. ทีีใช้ในเครื่องซักผ้า ราคาตัวละ 30 บาทครับ...ใช้แทน R23MF1 ไดัครับ. จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ทำงานไป ภาวนาไป งานในโลกนี้ไม่เคยเสร็จหรอก ถ้าคิดรอให้งานเสร็จแล้วจะภาว.หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­­ล้ว ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”..

ishaq beg with flash back buddan saranam gachchami songหมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­­ล้ว ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

ishaq beg with flash back buddan saranam gachchami songหมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­­ล้ว ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

ปัญญายังไม่พออะเสวะนา จะ พาลานัง, การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑. ปิณฑิตานัญจะ เสวะนา, การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑, ปูชา จะ ปูชะนียานัง, การบูชาชนควรบูชาทั้งหลาย ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด , ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ, การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑. ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา, การเป็นผู้มีบุญ อันทำแล้วในกาลก่อน ๑, อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ, การตั้งตนไว้ชอบ ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด , พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ, การได้ฟังมาแล้วมาก ๑ ศิลปศาสตร์ ๑, วินะโย ตะ สุสิกขิโต, วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑, สุภาสิตา จะ ยา วาจา, วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, มาตาปิตุอุปัฏฐานัง, การบำรุงมารดาและบิดา ๑, ปุตตะทารัสสะ สังคะโห, การสงเคราห์ลูกและเมีย ๑, อะนากุลา จะ กัมมันตา, การงานทั้งหลายไม่อากูล ๑, เอตัมมังตะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ, การให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑, ญาตะกานัญจะ สังคะโห, การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑, อะนะวัชชานะ กัมมานิ, กรรมทั้งหลายไม่มีโทษ ๑. เอตัมมังตะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, อาระตี วีระตี ปาปา, การงดเว้นจากบาป ๑, มัชชะปานา จะ สัญญะโม, การเว้นจากการดื่มน้ำเมา ๑. อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ, ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑. เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, คาระโว จุ นิวาโต จะ, การเคารพ ๑ การไม่จองหอง ๑, สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา, ความยินดีด้วยของอันมีอยู่ ๑ การเป็นผู้รู้ อุปการะ อันท่านทำแล้วแก่ตน ๑, กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง, การฟังธรรมโดยกาล ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ขันตี จะ โสวะจัสสะตา, ความอดทน ๑ การเป็นผู้ว่าง่าย ๑, สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง, การเห็นสมณะทั้งหลาย ๑, กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา, การเจรจาธรรมโดยกาล ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ตะโป จะ พรัหมะ จะริยัญจะ, ความเพียรเผากิเลส ๑ ความประพฤติอย่างพรหม ๑, อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง, การเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑, นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ, การทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง, จิตของผู้ใด อันโลกธรรมทั้งหลาย ยัสสะ นะ กัมปะติ, ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว, อะโสกัง วิระชัง เขมัง, ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, เอตาทิสานิ กัตวานะ, เทพยดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระทำมงคลทั้งหลายเช่นนี้แล้ว, สัพพัตถะ มะปะราชิตา, เป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ในที่ทั้งปวง, สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ, ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง, ตันเตสัง มังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ของเทพยดา และมนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้นแล.

มงคลสูตร ภาษาอินเดียเอวัมเม สุตัง อันข้าพเจ้า (คือพระอานนทเถระ) ได้สดับมาแล้วอย่างนี้, เอกัง สะมะยัง ภะคะวา, สมัยหนึ่งสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า, สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน, เสด็จประทับอยู่ที่เชตวันวิหาร อารามของ อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม, อนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้เมืองสาวัตถี, อะถะ โข อัญญะตะรา เทวะตา, ครั้งนั้นแล เทพยดาองค์ใดองค์หนึ่ง, อะภิกกันตายะ รัตติยา, ครั้นเมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว, อะภิกกันตะวัณณา, มีรัศมีอันงามยิ่งนัก, เกวะละกัปปัง เชตะวะนัง, ยังเชตวันทั้งสิ้นให้สว่าง, โอภาเสตะวา, เยนะ ภะคะวา เตนุปะสังกะมิ, พระพุทธเจ้าเสด็จประทับอยู่ในที่ใด ก็เข้าไปเฝ้าโดยที่นั้น, อุปสังกะมิตวา ภะคะวันตัง อะภิวาเทตวา, ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว จึงถวายอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว, เอกะมันตัง อัฏฐาสิ, ได้ยืนอยู่ในท่ามกลางส่วนข้างหนึ่ง, เอกะมันตัง ฐิตา โข สา เทวะตา, ครั้นเทพยดานั้น ยืนในที่สมควรส่วนข้างหนึ่งแล้วแล, ภะคะวันตัง คาถายะ อัชฌะภาสิ, ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยคาถาว่า, พะหู เทวา มะนุสสา จะ, หมู่เทวดาและมนุษย์เป็นอันมาก, มังคะลานิ อะจินตะยุง อากังขะมานา โสตถานัง, ผู้หวังความสวัสดี ได้คิดหามงคลทั้งหลาย, พรูหิ มังคะละมุตตะมัง. ขอพระองค์จงเทศนา มงคลอันสูงสุด. (ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า) อะเสวะนา จะ พาลานัง, การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑. ปิณฑิตานัญจะ เสวะนา, การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑, ปูชา จะ ปูชะนียานัง, การบูชาชนควรบูชาทั้งหลาย ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด , ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ, การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑. ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา, การเป็นผู้มีบุญ อันทำแล้วในกาลก่อน ๑, อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ, การตั้งตนไว้ชอบ ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด , พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ, การได้ฟังมาแล้วมาก ๑ ศิลปศาสตร์ ๑, วินะโย ตะ สุสิกขิโต, วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑, สุภาสิตา จะ ยา วาจา, วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, มาตาปิตุอุปัฏฐานัง, การบำรุงมารดาและบิดา ๑, ปุตตะทารัสสะ สังคะโห, การสงเคราห์ลูกและเมีย ๑, อะนากุลา จะ กัมมันตา, การงานทั้งหลายไม่อากูล ๑, เอตัมมังตะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ, การให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑, ญาตะกานัญจะ สังคะโห, การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑, อะนะวัชชานะ กัมมานิ, กรรมทั้งหลายไม่มีโทษ ๑. เอตัมมังตะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, อาระตี วีระตี ปาปา, การงดเว้นจากบาป ๑, มัชชะปานา จะ สัญญะโม, การเว้นจากการดื่มน้ำเมา ๑. อัปปะมาโท จะ ธัมเมสุ, ความไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๑. เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, คาระโว จุ นิวาโต จะ, การเคารพ ๑ การไม่จองหอง ๑, สันตุฏฐี จะ กะตัญญุตา, ความยินดีด้วยของอันมีอยู่ ๑ การเป็นผู้รู้ อุปการะ อันท่านทำแล้วแก่ตน ๑, กาเลนะ ธัมมัสสะวะนัง, การฟังธรรมโดยกาล ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ขันตี จะ โสวะจัสสะตา, ความอดทน ๑ การเป็นผู้ว่าง่าย ๑, สะมะณานัญจะ ทัสสะนัง, การเห็นสมณะทั้งหลาย ๑, กาเลนะ ธัมมะสากัจฉา, การเจรจาธรรมโดยกาล ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ตะโป จะ พรัหมะ จะริยัญจะ, ความเพียรเผากิเลส ๑ ความประพฤติอย่างพรหม ๑, อะริยะสัจจานะ ทัสสะนัง, การเห็นอริยสัจทั้งหลาย ๑, นิพพานะสัจฉิกิริยา จะ, การทำพระนิพพานให้แจ้ง ๑, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, ผุฏฐัสสะ โลกะธัมเมหิ จิตตัง, จิตของผู้ใด อันโลกธรรมทั้งหลาย ยัสสะ นะ กัมปะติ, ถูกต้องแล้ว ย่อมไม่หวั่นไหว, อะโสกัง วิระชัง เขมัง, ไม่มีโศก ปราศจากธุลี เกษม, เอตัมมังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด, เอตาทิสานิ กัตวานะ, เทพยดาและมนุษย์ทั้งหลาย กระทำมงคลทั้งหลายเช่นนี้แล้ว, สัพพัตถะ มะปะราชิตา, เป็นผู้ไม่พ่ายแพ้ในที่ทั้งปวง, สัพพัตถะ โสตถิง คัจฉันติ, ย่อมถึงความสวัสดีในที่ทั้งปวง, ตันเตสัง มังคะละมุตตะมัง, ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ของเทพยดา และมนุษย์ทั้งหลายเหล่านั้นแล.

วันพุธที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2559

สิ่งที่อยู่ตรงหน้าเรานี่แหละ คือสิ่งสิ่งนั้นในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้ง...สัจธรรมที่แท้จริงของเรานั้น ไม่ได้หายไปจากเรา แม้ในขณะที่เรากำลังหลงผิดอยู่ด้วยวิชชา และได้รับกลับมาในขณะที่เรามีการตรัสรู้ มันเป็นธรรมชาติแห่งภูตตถตา ในธรรมชาตินี้ ไม่มีทั้งอวิชชา ไม่มีทั้งสัมมาทิฏิ มันเต็มอยู่ในความว่างเป็นเนื้อหาอันแท้จร­ิงของจิตหนึ่งนั้นเมื่อเป็นดังนั้นแล้วอาร­มณ์ต่าง ๆ ที่จิตของเราได้สร้างขึ้น ทั้งฝ่ายนามธรรมและฝ่ายรูปธรรม จะเป็นสิ่งซึ่งอยู่ภายนอกความว่างนั้นได้อ­ย่างไร โดยหลักมูลฐานแล้ว ความว่างนั้น เป็นสิ่งซึ่งปราศจากมิติต่าง ๆ ๆแห่งการกินเนื้อที่คือ ปราศจากกิเลส ปราศจากกรรม ปราศจากอวิชชา และปราศจากสัมมาทิฎฐิ พวกเราต้องทำความเข้าใจอย่างกระจ่างแจ้งว่­า โดยแท้จริงแล้ว ไม่มีอะไรเลย ไม่มีมนุษย์สามัญ ไม่มีพุทธทั้งหลาย เพราะว่าในความว่างนั้น ไม่มีอะไรบรรจุอยู่แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที­่สุด อันเป็นสิ่งซึ่งสามารถจะมองเห็นได้โดยทางม­ิติหรือกฎแห่งการกินเนื้อที่เลย มันไม่ต้องอาศัยอะไร และไม่ติดเนื่องอยู่กับสิ่งใดมันเป็นความง­ามที่ไร้ตำหนิ เป็นสิ่งซึ่งอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง และเป็นสิ่งสูงสุดที่ไม่มีอะไรสร้างขึ้น มันเป็นเพชรพลอยที่อยู่เหนือการตีค่าทั้งป­วงเสียจริง ๆ เราต้องแยก “รูปถอด” ด้วยวิชชา มรรคจิตเหตุต้องละ ผลต้องละ ใช้หนี้ ก็หมด พ้นเหตุเกิด

ซ่อม สร้าง ออกแบบ แก้ไข แผงวงจรเครื่องทอผ้าเขียน ฟังชั่นการทำงาน.และอุปกรณ์ที่ต้องการควบคุมแค่นี้พอ ส่งมาทางemail ที่ sompongindustrial@gmail.com ซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบ­บควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Power Module Power Igbt Power Mosfet Power Transistor สำหรับ ผลิต ซ่อม สร้าง เครื่อง ควบคุมมอเตอร์ เครื่องอินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ และระบบควบคุม ที่ใช้ อุปกรณ์ Power Electronics เช่นเครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า หม้อหุงข้าวคอมพิวเตอร์ หม้อหุงข้าวดิจิตอล เครื่องเชื่อม อินเวอร์เตอร์ แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ https://www.youtube.com/user/MrSompongt https://sites.google.com/site/sompongindustrial/sompong-industrial-electronics/powerelectronics

รับซ่อมบอร์ด INVERTER SERVO CNC ENCODERเขียน ฟังชั่นการทำงาน.และอุปกรณ์ที่ต้องการควบคุมแค่นี้พอ ส่งมาทางemail ที่ sompongindustrial@gmail.com ซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบ­บควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Power Module Power Igbt Power Mosfet Power Transistor สำหรับ ผลิต ซ่อม สร้าง เครื่อง ควบคุมมอเตอร์ เครื่องอินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ และระบบควบคุม ที่ใช้ อุปกรณ์ Power Electronics เช่นเครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า หม้อหุงข้าวคอมพิวเตอร์ หม้อหุงข้าวดิจิตอล เครื่องเชื่อม อินเวอร์เตอร์ แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ https://www.youtube.com/user/MrSompongt https://sites.google.com/site/sompongindustrial/sompong-industrial-electronics/powerelectronics

ออกแบบ สร้าง แก้ไข ซ่อม แผง วงจร เครื่องจักร ซ่อม บอร์ด เครื่องจักรกลเขียน ฟังชั่นการทำงาน.และอุปกรณ์ที่ต้องการควบคุมแค่นี้พอ ส่งมาทางemail ที่ sompongindustrial@gmail.com ซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบ­บควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Power Module Power Igbt Power Mosfet Power Transistor สำหรับ ผลิต ซ่อม สร้าง เครื่อง ควบคุมมอเตอร์ เครื่องอินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ และระบบควบคุม ที่ใช้ อุปกรณ์ Power Electronics เช่นเครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า หม้อหุงข้าวคอมพิวเตอร์ หม้อหุงข้าวดิจิตอล เครื่องเชื่อม อินเวอร์เตอร์ แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ https://www.youtube.com/user/MrSompongt https://sites.google.com/site/sompongindustrial/sompong-industrial-electronics/powerelectronics

ซ่อมอะไหล่ไฟฟ้าเครื่องจักรเขียน ฟังชั่นการทำงาน.และอุปกรณ์ที่ต้องการควบคุมแค่นี้พอ ส่งมาทางemail ที่ sompongindustrial@gmail.com ซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบ­บควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 จำหน่าย Power Module Power Igbt Power Mosfet Power Transistor สำหรับ ผลิต ซ่อม สร้าง เครื่อง ควบคุมมอเตอร์ เครื่องอินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ และระบบควบคุม ที่ใช้ อุปกรณ์ Power Electronics เช่นเครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า หม้อหุงข้าวคอมพิวเตอร์ หม้อหุงข้าวดิจิตอล เครื่องเชื่อม อินเวอร์เตอร์ แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ https://www.youtube.com/user/MrSompongt https://sites.google.com/site/sompongindustrial/sompong-industrial-electronics/powerelectronics

ซ่อมอะไหล่ไฟฟ้าเครื่องจักรเขียน ฟังชั่นการทำงาน.และอุปกรณ์ที่ต้องการควบคุมแค่นี้พอ ส่งมาทางemail ที่ sompongindustrial@gmail.com ซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบ­บควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

จำหน่าย อะไหล่ เครื่อง ควบคุมมอเตอร์สามเฟสจำหน่าย อะไหล่ เครื่อง ควบคุมมอเตอร์สามเฟส

บ่วงแห่งมัจจุราชอันธรรมชาติมาดักไว้เราเดินเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร ได้เห็นหญิงฟ้อนรำคนหนึ่ง ตก แต่งร่างกายด้วยเครื่องอาภรณ์ นุ่งห่มผ้าสวยงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบ ไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ฟ้อนรำอยู่ในวงดนตรีที่ถนนหลวง ท่ามกลาง พระนคร เป็นดุจบ่วงแห่งมัจจุราชอันธรรมชาติมาดักไว้ เพราะฉะนั้น การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย จึงบังเกิดขึ้นแก่เรา อาทีนว- โทษปรากฏแก่เรา ความเบื่อหน่ายก็ตั้งลงมั่น ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลส ขอท่านจงดูความที่แห่งธรรมเป็นธรรมอันดีเลิศ เราได้บรรลุวิชชา ๓ แล้ว ได้ทำกิจพระพุทธศาสนาเสร็จแล้ว.

วันอังคารที่ 21 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ธรรมของพระพุทธเจ้า ลาดลุ่มไปตามลำดับ ไม่โกรกชัน เหมือนเขาขาดเวรัญชสูตร ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิง สถิต ใกล้กรุงเวรัญชา ครั้งนั้น เวรัญชพราหมณ์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึง ที่ประทับ ได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาค ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกัน ไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลว่า ท่านพระโคดม ข้าพเจ้าได้ยินมาว่า พระสมณโคดมไม่ไหว้ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ท่านพระโคดม ข้อนี้เป็นเช่นนั้นจริง เพราะว่าท่านพระโคดมไม่ไหว้ไม่ลุกรับพวกพราหมณ์ ผู้แก่ ผู้เฒ่า ผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยมาโดยลำดับ หรือไม่เชื้อเชิญด้วยอาสนะ ข้อนี้ ไม่สมควรเลย ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรพราหมณ์ ในโลก พร้อมทั้งเทวโลก มาร โลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ พร้อมทั้งสมณพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เรา ไม่เล็งเห็นบุคคลที่เราควรไหว้ ควรลุกรับ หรือควรเชื้อเชิญด้วยอาสนะ เพราะ ว่าตถาคตพึงไหว้ พึงลุกรับ หรือพึงเชื้อเชิญบุคคลใดด้วยอาสนะ แม้ศีรษะของ บุคคลนั้นก็จะพึงขาดตกไป ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดม ไม่เป็นรสชาติ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม ไม่เป็น รสชาติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะรสในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะเหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาล ยอดด้วน ทำให้ไม่มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แลเหตุที่เขากล่าวหาเรา ว่า พระสมณโคดม ไม่เป็นรสชาติ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่าน มุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดมเป็นคนไม่มีโภคะ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาว่า พระสมณโคดมเป็นคนไม่มี โภคะ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะโภคะ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะเหล่านั้น ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาล ยอดด้วน ทำไม่ให้มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แลเหตุที่เขากล่าวหาเรา ว่า พระสมณโคดมเป็นคนไม่มีโภคะ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่าน มุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดมเป็นคนกล่าวการไม่ทำ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคน กล่าวการไม่ทำดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการไม่ทำซึ่งธรรมที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่าพระสมณโคดมเป็นคนกล่าวการไม่ทำ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าว ชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดมเป็นคนกล่าวความขาดสูญ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคน กล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะเรากล่าวความขาดสูญ แห่งราคะ โทสะ โมหะ เรากล่าวความขาดสูญแห่งธรรมที่เป็นบาปอกุศลหลาย อย่าง นี้แลเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนกล่าวความขาดสูญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดมเป็นคนช่างเกลียด ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนช่าง เกลียด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะเรากล่าวการเกลียดกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต เรากล่าวการเกลียดความถึงพร้อมแห่งธรรมที่เป็นบาปอกุศล หลายอย่าง นี้แลเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนช่างเกลียด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดมเป็นคนกำจัด ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนกำจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัดราคะ โทสะ โมหะ แสดงธรรมเพื่อกำจัดธรรมที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แลเหตุที่เขากล่าว หาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนกำจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ ท่านมุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // พระโคดมเป็นคนเผาผลาญ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคน เผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะเรากล่าวธรรมที่เป็นบาปอกุศล คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่าเป็นธรรมควรเผาผลาญ ธรรมที่เป็น บาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญอันผู้ใดละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือน ตาลยอดด้วน ทำให้ไม่มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่าเป็นคน เผาผลาญ ดูกรพราหมณ์ ธรรมทั้งหลายที่เป็นบาปอกุศลซึ่งควรเผาผลาญ ตถาคต ละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มี ไม่ให้ เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แลเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคน เผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งหมายกล่าว ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดมเป็นคนไม่ผุดเกิด ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนไม่ ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ เพราะการนอนในครรภ์ การเกิดใน ภพใหม่ อันผู้ใดละได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำ ไม่ให้มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่า เป็นคนไม่ผุดเกิด ดูกร พราหมณ์ การนอนในครรภ์ การเกิดในภพใหม่ ตถาคตละได้แล้ว ตัดรากขาด แล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำให้ไม่มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แลเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนไม่ผุดเกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าว ชอบ แต่ไม่ใช่เหตุที่ท่านมุ่งหมายกล่าว ดูกรพราหมณ์ เปรียบเหมือนฟองไก่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไก่เหล่านั้น แม่ไก่กกดีแล้ว อบดีแล้ว ฟักดีแล้ว บรรดาลูกไก่เหล่านั้น ลูกไก่ตัวใดทำลายกะเปาะฟองด้วยเล็บเท้าหรือ ด้วยจะงอยปากออกมาได้โดยสวัสดีก่อนกว่าเขา ลูกไก่ตัวนั้นควรเรียกว่ากระไร จะเรียกว่าพี่หรือน้อง ฯ เวรัญชพราหมณ์ // ท่านพระโคดม ควรเรียกว่าพี่ เพราะมันแก่กว่าเขา ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรพราหมณ์ ฉันนั้นเหมือนกันแล บรรดาหมู่สัตว์ผู้ตกอยู่ใน อำนาจอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อแล้ว เราผู้เดียวเท่านั้นได้ ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในโลก เราแลเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะเราปรารภความเพียรไม่ย่อ หย่อน ดำรงสติมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบไม่กระสับกระส่าย จิตดำรงมั่นเป็น เอกัคคตา เรานั้นแล สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ เราบรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็น ธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิด แต่สมาธิอยู่ เรามีอุเบกขา มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็น ผู้มีสติอยู่เป็นสุข เราบรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ เรานั้น เมื่อ จิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อนควรแก่การ งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้แล้ว จึงโน้มน้อมจิตไปเพื่อบุพเพนิวาสานุสสติญาณ เรานั้นย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สอง ชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติ ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบ ชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดวัฎฏกัล์ปเป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัล์ปเป็นอันมากบ้าง ตลอด สังวัฏฏวิวัฏฏกัล์ปเป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนด อายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น เราก็มีชื่ออย่าง นั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์ อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เราย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอุเทศ พร้อมทั้งอาการ ด้วย ประการฉะนี้ ดูกรพราหมณ์ วิชชาที่หนึ่งนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปฐมยามแห่ง ราตรี อวิชชาเรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสง สว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออกครึ่งหนึ่งของเรานี้แล เป็นเหมือนการ ทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลสปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว จึงโน้มน้อมจิตไปเพื่อ ญาณเครื่องรู้จุติและอุปบัติของสัตว์ทั้งหลาย เรานั้นย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วย ทิพจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยะเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ สัตว์เหล่านั้น เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยะเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำ ด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ สัตว์เหล่านั้น เมื่อตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เราย่อมเล็งเห็นหมู่สัตว์ผู้กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อม รู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ซึ่งเป็นไปตามกรรม ด้วยประการฉะนี้ ดูกรพราหมณ์ วิชชาที่สอง นี้แล เราได้บรรลุแล้วในมัชฌิมยามแห่งราตรี อวิชชาเรากำจัดได้แล้ววิชชาเกิด แก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่ บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้นความ ชำแรกออกครั้งที่สองของเรานี้แล เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่ง ลูกไก่ ฉะนั้น ฯ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส ปราศจาก อุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว จึงโน้มน้อม จิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นรู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับทุกข์ นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ เหล่านี้อาสวะ นี้เหตุให้เกิด อาสวะ นี้ความดับอาสวะ นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรารู้เห็นอย่างนี้ จิตหลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ แม้จากภวาสวะ แม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิต หลุดพ้นแล้ว จึงเกิดญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว และรู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ มิได้มี ดูกรพราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชาเรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่าง เกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลส ส่ง จิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออก ครั้งที่สามของเรานี้แล เป็นเหมือนการ ทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น ฯ เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว เวรัญชพราหมณ์ได้กราบทูลว่า ท่าน พระโคดมเป็นผู้เจริญที่สุด ท่านพระโคดมเป็นผู้ประเสริฐที่สุด ข้าแต่ท่าน พระโคดม ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ข้าแต่ท่านพระโคดม ภาษิตของ พระองค์แจ่มแจ้งนัก พระองค์ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือน บุคคลหงายของของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่อง ประทีปในที่มืดด้วยตั้งใจว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้านี้ขอถึง ท่านพระโคดม กับทั้งพระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระองค์โปรด ทรงจำข้าพระพุทธเจ้าว่า เป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้ เป็นต้นไป ฯ สีหสูตร สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฏาคารศาลา ป่า มหาวัน ใกล้นครเวสาลี สมัยนั้นแล เจ้าลิจฉวีผู้มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก นั่ง ประชุมกันที่สัณฐาคาร กล่าวสรรเสริญ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โดย อเนกปริยาย ฯ ก็สมัยนั้นแล สีหเสนาบดี สาวกของนิครนถ์นั่งอยู่ในบริษัทนั้น ลำดับนั้น สีหเสนาบดีได้มีความคิดดังนี้ว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น จักเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยไม่ต้องสงสัย จริงอย่างนั้น เจ้าลิจฉวีผู้มีชื่อจำนวนมาก ประชุมกันที่สัณฐาคาร กล่าวสรรเสริญพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์โดย อเนกปริยาย ผิฉะนั้น เราพึงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้นเถิด ลำดับนั้น สีหเสนาบดีเข้าไปหานิครนถ์นาฏบุตรถึงที่อยู่ ครั้น แล้ว จึงกล่าวกะนิครนถ์นาฏบุตรว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าปรารถนาจะเข้า ไปเฝ้าพระสมณโคดม ฯ นิครนถ์นาฏบุตรกล่าวว่า ดูกรสีหะ ก็ท่านเป็นกิริยวาท จักเข้าไปเฝ้า พระสมณโคดมผู้เป็นอกิริยวาททำไม เพราะพระสมณโคดมเป็นอกิริยวาท จึงแสดง ธรรมเพื่ออกิริยวาท และแนะนำพวกสาวกด้วยอกิริยวาทนั้น ครั้งนั้น การตระ เตรียมที่จะเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคของสีหเสนาบดี ระงับไป ฯ แม้ครั้งที่สอง เจ้าลิฉวีผู้มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก ได้นั่งประชุมกันที่ สัณฐาคาร กล่าวสรรเสริญพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โดยอเนกปริยาย แม้ครั้งที่สอง สีหเสนาบดีก็มีความคิดดังนี้ว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น จัก เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยไม่ต้องสงสัย ... การตระเตรียมที่จะเข้าไป เฝ้าพระผู้มีพระภาคของสีหเสนาบดีระงับไป ฯ แม้ครั้งที่สาม เจ้าลิจฉวีผู้มีชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก นั่งประชุมกันที่ สัณฐาคาร กล่าวสรรเสริญพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โดยอเนกปริยาย แม้ครั้งที่สาม สีหเสนาบดีก็มีความคิดดังนี้ว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น จัก เป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยไม่ต้องสงสัย จริงอย่างนั้น เจ้าลิจฉวีผู้มี ชื่อเสียงเป็นจำนวนมาก นั่งประชุมกันที่สัณฐาคาร กล่าวสรรเสริญพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ โดยอเนกปริยาย พวกนิครนถ์ทั้งหลาย เราจะลาหรือไม่ลา จักทำอะไรเราได้ ผิฉะนั้นเราจะไม่ลาละ พึงเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นเถิด ฯ ลำดับนั้น สีหเสนาบดีออกจากกรุงเวสาลี ในเวลายังวัน พร้อมด้วยรถ ประมาณ ๕๐๐ คัน เพื่อเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ครั้นไปด้วยยานเท่าที่ยานจะ ไปได้ แล้วลงจากยานเดินตรงเข้าไปยังอาราม แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลพระผู้มี พระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ได้สดับมาดังนี้ว่า พระสมณโคดมเป็นอกิริยวาท ย่อมแสดงธรรมเพื่ออกิริยวาท และแนะนำสาวกด้วย อกิริยวาทนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ชนเหล่าใดกล่าวอย่างนี้ว่า พระสมณโคดม เป็นอกิริยวาท ย่อมแสดงธรรมเพื่ออกิริยวาท และแนะนำสาวกด้วยอกิริยวาทนั้น คนเหล่านั้นจะชื่อว่ากล่าวตามที่พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว มิใช่กล่าวตู่พระผู้มี พระภาคด้วยคำอันไม่จริง และพยากรณ์ธรรมสมควรแก่ธรรมหรือ การคล้อยตาม วาทะอันชอบแก่เหตุไรๆ จะไม่มาถึงฐานะอันสมควรติเตียนแลหรือ เพราะ ข้าพระองค์ไม่ประสงค์จะกล่าวตู่พระผู้มีพระภาคเลย ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรสีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอกิริยวาท ผู้กล่าวกรรมอันบุคคลทำอยู่ว่า ไม่เป็นอันทำ แสดงธรรมเพื่ออกิริยวาท และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยอกิริยาวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ นั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นกิริยวาท ผู้กล่าวกรรมอัน บุคคลทำอยู่ว่า เป็นอันทำ ย่อมแสดงธรรมเพื่อกิริยวาทและแนะนำสาวกทั้งหลาย ด้วยกิริยวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอุจเฉทวาท ผู้กล่าวความ ขาดสูญ ย่อมแสดงธรรมเพื่ออุจเฉทวาท และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยอุจเฉทวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นเชคุจฉี คนช่างเกลียด ย่อมแสดงธรรมเพื่อเชคุจฉี และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยเชคุจฉี ดังนี้ ชื่อว่า กล่าวชอบนั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นเวนยิกะ คนกำจัด ย่อม แสดงธรรมเพื่อกำจัด และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการกำจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าว ชอบนั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นตปัสสี คนเผาผลาญ ย่อม แสดงธรรมเพื่อเผาผลาญ และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการเผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอัปปคัพภะ ไม่ผุดไม่เกิด ย่อมแสดงธรรมเพื่อไม่ผุดไม่เกิด และแนะนำพวกสาวกทั้งหลายด้วยการไม่ผุดไม่ เกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ ฯ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอัสสัตถะ คนใจเบา ย่อม แสดงธรรมเพื่อความใจเบา และแนะนำสาวกทั้งหลาย ด้วยการใจเบา ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น มีอยู่ ฯ ดูกรสีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอกิริยวาท ย่อม แสดงธรรมเพื่ออกิริยวาท และแนะนำพวกสาวกด้วยอกิริยวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าว ชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต มโน ทุจริต เรากล่าวการไม่ทำซึ่งธรรมอันเป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แลเป็นเหตุที่ เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอกิริยวาท ย่อมแสดงธรรมเพื่ออกิริยวาท และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยอกิริยวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นกิริยวาท ย่อม แสดงธรรมเพื่อกิริยวาท และแนะนำพวกสาวกด้วยกิริยวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าว ชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเรากล่าวการทำกายสุจริต วจีสุจริต มโน สุจริต กล่าวการทำกุศลธรรมหลายอย่าง นี้แลเป็นเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระ สมณโคดมเป็นกิริยวาท ย่อมแสดงธรรมเพื่อกิริยวาท และแนะนำสาวกทั้งหลาย ด้วยกิริยวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ ก็เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นอุจเฉทวาท ย่อม แสดงธรรมเพื่ออุจเฉทวาท และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยอุจเฉทวาท ดังนี้ ชื่อ ว่ากล่าวชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเรากล่าวความขาดสูญแห่งราคะ โทสะ โมหะ และธรรมอันเป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แลเป็นเหตุที่เขากล่าว หาเราว่าพระสมณโคดมเป็นอุจเฉทวาท ย่อมแสดงธรรมเพื่ออุจเฉทวาทและแนะนำ สาวกทั้งหลายด้วยอุจเฉทวาท ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนช่างเกลียด ย่อมแสดงธรรมเพื่อความช่างเกลียด และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยความ ช่างเกลียด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้นเป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเราเกลียดชัง กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และเกลียดชังการเข้าถึงธรรมอันเป็นบาปอกุศล หลายอย่าง นี้แลเป็นเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนช่างเกลียด ย่อมแสดงธรรมเพื่อความช่างเกลียด และแนะนำสาวกด้วยความช่างเกลียด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนกำจัด ย่อม แสดงธรรมเพื่อกำจัด และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการกำจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าว ชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเราแสดงธรรมเพื่อกำจัดราคะ โทสะ โมหะ และธรรมอันเป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แลเป็นเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนกำจัด ย่อมแสดงธรรมเพื่อกำจัด และแนะนำสาวก ทั้งหลายด้วยการกำจัด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนเผาผลาญ ย่อมแสดงธรรมเพื่อความเผาผลาญ และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการเผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเรากล่าวธรรมอันเป็นบาป อกุศล คือ กายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ว่าเป็นธรรมควรเผาผลาญ ดูกรสีหะ ผู้ใดแลละธรรมอันเป็นบาปอกุศลที่ควรเผาผลาญได้แล้ว ตัดรากขาด แล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่า เป็นผู้เผาผลาญ ดูกรสีหะ ตถาคตละธรรมอันเป็นบาปอกุศล ได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มี ไม่ให้เกิด อีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แลเป็นเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคน เผาผลาญ ย่อมแสดงธรรมเพื่อความเผาผลาญ และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วย การเผาผลาญ ดังนี้ ชื่อว่า กล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ ก็เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนไม่ผุดไม่เกิด ย่อมแสดงธรรมเพื่อความไม่ผุดไม่เกิด และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการไม่ผุด ไม่เกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ ผู้ใดแลละการนอน ในครรภ์ การเกิดในภพใหม่ได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาล ยอดด้วน ทำไม่ให้มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา เรากล่าวผู้นั้นว่า ผู้ไม่ผุด ไม่เกิด ตถาคตละการนอนในครรภ์ การเกิดในภพใหม่ได้แล้ว ตัดรากขาดแล้ว ทำให้เป็นเหมือนตาลยอดด้วน ทำไม่ให้มี ไม่ให้เกิดอีกต่อไปเป็นธรรมดา นี้แล เป็นเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนไม่ผุดไม่เกิด ย่อมแสดงธรรม เพื่อความไม่ผุดไม่เกิด และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการไม่ผุดไม่เกิด ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบ ฯ ดูกรสีหะ ก็เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนใจเบา ย่อมแสดงธรรมเพื่อความใจเบา และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการใจเบา ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวชอบนั้น เป็นไฉน ดูกรสีหะ เพราะเราเป็นคนใจเบา ย่อมแสดงธรรม เพื่อความใจเบา ด้วยความใจเบา(เบาจากกิเลสด้วยมรรค ๔ ผล ๔) อย่างยิ่ง และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการ ใจเบา นี้แลเป็นเหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมเป็นคนใจเบา ย่อม แสดงธรรมเพื่อความใจเบา และแนะนำสาวกทั้งหลายด้วยการใจเบา ดังนี้ ชื่อว่า กล่าวชอบ ฯ ครั้นพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว สีหเสนาบดีได้กราบทูลพระผู้มี พระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ฯลฯ ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่าเป็นอุบาสก ผู้ถึง สรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรสีหะ ท่านจงใคร่ครวญเสียก่อนแล้วจึงกระทำ การใคร่ครวญ ก่อนแล้วกระทำ เป็นความดีของคนที่มีชื่อเสียงเช่นท่าน ฯ สีหเสนาบดี // ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์พอใจชื่นใจอย่างล้นเหลือต่อ พระผู้มีพระภาค แม้ด้วยพระดำรัสที่ตรัสกะข้าพระองค์ว่า ดูกรสีหะ ท่านจง ใคร่ครวญเสียก่อนแล้วจึงกระทำ การใคร่ครวญก่อนแล้วกระทำ เป็นความดีของ คนที่มีชื่อเสียงเช่นท่าน เพราะพวกอัญญเดียรถีย์ได้ข้าพระองค์เป็นสาวกแล้ว พึงยกธงเที่ยวประกาศทั่วเมืองเวสาลีว่า สีหเสนาบดียอมเป็นสาวกพวกเราแล้ว แต่พระผู้มีพระภาคกลับตรัสกะข้าพระองค์อย่างนี้ว่า ดูกรสีหะ ท่านจงใคร่ครวญ เสียก่อนแล้วจึงกระทำ การใคร่ครวญก่อนแล้วกระทำ เป็นความดีของคนที่มีชื่อ เสียงเช่นท่าน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ขอถึงพระผู้มีพระภาค กับทั้ง พระธรรมและภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ เป็นครั้งที่สอง ขอพระผู้มีพระภาคโปรด ทรงจำข้าพระองค์ไว้ว่า เป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรสีหะ ตระกูลของท่านเป็นเสมือนบ่อน้ำของพวกนิครนถ์มา นานแล้ว ท่านควรสำคัญบิณฑบาตที่ท่านจะพึงให้แก่พวกนิครนถ์เหล่านั้นผู้เข้า ไปแล้ว ฯ สีหเสนาบดี // ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์พอใจชื่นใจอย่างล้นเหลือต่อ พระผู้มีพระภาค แม้ด้วยพระดำรัสที่ตรัสกะข้าพระองค์ว่า ดูกรสีหะ ตระกูล ของท่านเป็นเสมือนบ่อน้ำของพวกนิครนถ์มานานแล้ว ท่านควรสำคัญบิณฑบาต ที่ท่านจะพึงให้แก่พวกนิครนถ์เหล่านั้นผู้เข้าไปแล้ว ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้า พระองค์ได้สดับมาดังนี้ว่า พระสมณโคดมตรัสอย่างนี้ว่า ควรให้ทานแก่เราเท่านั้น ไม่ควรให้แก่ผู้อื่น ควรให้ทานแก่สาวกของเราเท่านั้น ไม่ควรให้แก่สาวกของ พวกอื่น ทานที่ให้แก่เราเท่านั้นมีผลมาก ให้แก่พวกอื่นไม่มีผลมาก ให้แก่สาวก ของเราเท่านั้นมีผลมาก ให้แก่สาวกของพวกอื่นไม่มีผลมาก แต่พระผู้มีพระภาค กลับตรัสชักชวนข้าพระองค์ในการให้ทานแม้ในพวกนิครนถ์ด้วย อนึ่ง ข้าพระองค์ จักรู้กาลอันควร ที่จะให้ทานนี้ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์นี้ขอถึง พระผู้มีพระภาค กับทั้งพระธรรม และภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ เป็นครั้งที่สาม ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่าเป็นอุบาสก ผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ฯ ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคตรัสอนุปุพพิกถาโปรดสีหเสนาบดี คือ ทรงประกาศทานกถา ศีลกถา สัคคกถา โทษแห่งกามอันต่ำทรามเศร้าหมอง และอานิสงส์ในเนกขัมมะ เมื่อใด พระผู้มีพระภาคทรงทราบว่า สีหเสนาบดี มีจิตควร อ่อน ปราศจากนิวรณ์ บันเทิง เลื่อมใสแล้ว เมื่อนั้น จึงทรง ประกาศพระธรรมเทศนาที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงยกขึ้นแสดงเอง คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ธรรมจักษุอันปราศจากธุลี ปราศจากมลทิน เกิดขึ้นแก่ สีหเสนาบดี ณ ที่นั่งนั้นเองว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้น ทั้งมวลล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา เปรียบเหมือนผ้าที่สะอาดปราศจากดำ จะพึงย้อมติดดี ฉะนั้น ฯ ครั้งนั้นแล สีหเสนาบดีผู้เห็นธรรมแล้ว บรรลุธรรมแล้ว รู้แจ้งธรรม แล้ว หยั่งซึ้งถึงธรรมแล้ว ข้ามพ้นความสงสัยได้แล้ว ปราศจากความ เคลือบแคลงแล้ว ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้า ไม่ต้องเชื่อผู้อื่น ในพระศาสนา ของพระศาสดา ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระ ผู้มีพระภาคพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์รับนิมนต์ฉันอาหารบิณฑบาตในวันพรุ่งนี้ พระผู้มี พระภาคทรงรับโดยดุษณีภาพ ฯ ครั้งนั้นแล สีหเสนาบดีทราบว่า พระผู้มีพระภาคทรงรับนิมนต์แล้ว ลุกจากที่นั่ง ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค กระทำประทักษิณแล้วหลีกไป ครั้งนั้น แล สีหเสนาบดีเรียกชายคนหนึ่งมาบอกว่า พ่อมหาจำเริญ พ่อจงไปหาเนื้อ เลือกเอาเฉพาะที่ขายทั่วไป พอล่วงราตรีนั้น สีหเสนาบดีสั่งให้จัดขาทนียโภชนียาหารอันประณีตไว้ในนิเวศน์ของตนแล้ว ให้ไปกราบทูลเวลาภัตตาหารแด่ พระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถึงเวลาแล้วพระเจ้าข้า ภัตตาหารใน นิเวศน์ของท่านสีหเสนาบดีสำเร็จแล้ว ฯ ครั้งนั้น ในเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคทรงครองอันตรวาสก ทรงถือบาตร และจีวร เสด็จเข้าไปยังนิเวศน์ของสีหเสนาบดี ประทับนั่งบนอาสนะที่ปูไว้ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ ก็สมัยนั้น นิครนถ์เป็นจำนวนมาก พากันประคองแขน คร่ำครวญตามถนนต่างๆ ตามสี่แยกต่างๆ ในกรุงเวสาลีว่า วันนี้ สีหเสนาบดี ฆ่าสัตว์อ้วนพีปรุงเป็นภัตตาหารถวายพระสมณโคดม พระสมณโคดมทั้งที่รู้ ทรงฉันอุทิศมังสะที่เขาอาศัยตนทำ ฯ ลำดับนั้น บุรุษคนหนึ่งเข้าไปหาสีหเสนาบดีกระซิบบอกว่า พระเดช พระคุณได้โปรดทราบ นิครนถ์เป็นจำนวนมากเหล่านี้ พากันประคองแขน คร่ำครวญตามถนนต่างๆ ตามสี่แยกต่างๆ ในกรุงเวสาลีว่า วันนี้ สีหเสนาบดี ฆ่าสัตว์อ้วนพีปรุงเป็นภัตตาหารถวายพระสมณโคดม พระสมณโคดมทั้งที่รู้อยู่ ทรงฉันอุทิศมังสะที่เขาอาศัยตนทำ ฯ สีหเสนาบดีกล่าวว่า อย่าเลย เพราะเป็นเวลานานมาแล้วที่พระคุณเจ้า เหล่านั้น ใคร่จะกล่าวโทษพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ แต่ท่านเหล่านี้ไม่ กระดากอายเสียเลย ย่อมกล่าวตู่พระผู้มีพระภาคด้วยคำอันไม่เป็นจริง เป็นคำ ไม่มี คำเปล่า คำเท็จ และเราเองก็หาได้แกล้งปลงชีวิตสัตว์ แม้เพราะเหตุแห่ง ชีวิตไม่ ลำดับนั้น สีหเสนาบดีได้อังคาสพระภิกษุสงฆ์มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ให้อิ่มหนำสำราญด้วยขาทนียโภชนียาหารอันประณีตด้วยมือของตน และเมื่อ พระผู้มีพระภาคฉันเสร็จแล้ว ชักพระหัตถ์ออกจากบาตรแล้ว สีหเสนาบดี นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ทรงชี้แจง สีหเสนาบดี ผู้นั่งเรียบร้อยแล้ว ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ รื่นเริงด้วยธรรมีกถา แล้วเสด็จลุกจากที่นั่งหลีกไป ฯ อาชัญญสูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าอาชาไนยตัวประเสริฐของพระราชา ประกอบ ด้วยองค์สมบัติ ๘ ประการ สมควรเป็นม้าต้นม้าทรง ย่อมถึงการนับว่าเป็น ราชพาหนะได้ทีเดียว องค์สมบัติ ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้า อาชาไนยตัวประเสริฐของพระราชาในโลกนี้ ย่อมมีกำเนิดดีทั้ง ๒ ฝ่าย คือ ฝ่ายมารดาและบิดา เกิดในทิศที่ม้าอาชาไนยตัวอื่นเกิดกัน ๑ ย่อมบริโภคของกิน ที่เขาให้สดหรือแห้งก็ตาม เรียบร้อย ไม่เรี่ยราด ๑ ย่อมรังเกียจที่จะนั่งหรือนอน ทับอุจจาระปัสสาวะ ๑ เป็นสัตว์ยินดี มีการอยู่ร่วมเป็นสุข ไม่รบกวนม้าเหล่า อื่น ๑ เป็นสัตว์เผยความโอ้อวดความพยศคดโกงแก่นายสารถีอย่างเปิดเผย ๑ นายสารถีพยายามปราบความพยศคดโกงเหล่านั้นของมันได้ ๑ เป็นสัตว์ลากเข็น ภาระ เกิดความคิดว่าม้าอื่นจะเข็นภาระได้หรือไม่ก็ตาม สำหรับภาระนี้เราเข็นได้ อนึ่ง เมื่อเดินก็เดินตรงตามทาง ๑ เป็นสัตว์มีกำลังวังชา คือ ทรงกำลังไว้อยู่ จนถึงวาระสุดท้ายแห่งชีวิต ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าอาชาไนยตัวประเสริฐ ของพระราชา ประกอบด้วยองค์สมบัติ ๘ ประการนี้แล สมควรเป็นม้าต้นม้าทรง ถึงการนับว่าเป็นพระราชพาหนะได้ดีทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน ภิกษุประกอบด้วยธรรม ๘ ประ การ ย่อมเป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ธรรม ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมระวังในปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยอาจาระและโคจร มีปรกติเห็นภัยใน โทษเพียงเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ๑ ฉันโภชนะที่เขา ถวายเศร้าหมองหรือประณีตก็ตาม โดยเคารพไม่รังเกียจ ๑ เกลียดแต่กาย ทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต และการถึงพร้อมด้วยธรรมอันเป็นบาปอกุศล ๑ เธอยินดีอยู่ มีการอยู่ร่วมเป็นสุข ไม่รบกวนภิกษุเหล่าอื่นให้เดือดร้อน ๑ เปิดเผย ความโอ้อวด ความพยศคดโกงตามเป็นจริง ในพระศาสดาหรือในเพื่อนพรหมจรรย์ผู้รู้แจ้ง พระศาสดาหรือเพื่อนพรหมจรรย์ย่อมพยายามช่วยกำจัดความโอ้อวด เป็นต้นเหล่านั้นของเธอได้ ๑ อนึ่ง ย่อมเป็นผู้ศึกษาสำเหนียก คือ ใฝ่ใจอยู่ว่า ภิกษุเหล่าอื่นจะศึกษาหรือไม่ก็ตาม ข้อนี้เราจักศึกษา เมื่อปฏิบัติย่อมปฏิบัติตามทาง ตรงทีเดียว ในข้อนั้นพึงทราบทางตรงดังนี้ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ ๑ เป็นผู้ปรารภความเพียรอยู่ว่า เลือดเนื้อในร่างกายของเรา จงเหือดแห้งไป จะเหลืออยู่แต่หนัง เอ็น กระดูก ก็ตามที เรายังไม่ได้บรรลุอิฐผลที่จะพึงบรรลุ ได้ด้วยกำลังของบุรุษ ด้วยความเพียรของบุรุษ ด้วยความบากบั่นของบุรุษแล้ว จักไม่หยุดความเพียรเป็นอันขาด ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการนี้แล ย่อมเป็นผู้ควรของคำนับ ฯลฯ เป็นนาบุญของโลก ไม่มี นาบุญอื่นยิ่งกว่า ฯ ขฬุงคสูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงม้าโกง ๘ จำพวก และโทษ ของม้าโกง ๘ ประการ คนโกง ๘ จำพวก และโทษของคนโกง ๘ ประการ เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับพระผู้มี พระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกง ๘ จำพวก และโทษของม้าโกง ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวใน โลกนี้ ที่นายสารถีกล่าวเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมถอยหลัง ดันรถให้กลับหลัง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าประการที่ ๑ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมหกหลังดีดธูปหัก ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกง บางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าโกงประการที่ ๒ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ยกขาขึ้นตะกุยงอนรถ ถีบงอนรถ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าโกงประการที่ ๓ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมเดินผิดทาง ทำให้รถคว่ำ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าโกงประการที่ ๔ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมเชิดกายด้านหน้า เผ่นขึ้นไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าโกงประการที่ ๕ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ไม่คำนึงถึงด้ามประตัก เอาฟันกัดบังเหียน หลีกไปตาม ประสงค์ของมัน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าโกงประการที่ ๖ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ไม่ยอมก้าวไปข้างหน้า ทั้งไม่ถอยหลัง ยืนเฉย เหมือนเสาเขื่อนอยู่ตรงนั้นนั่นเอง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของม้าโกงประการที่ ๗ ฯ อีกประการหนึ่ง ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ คุกเท้าหน้า เท้าหลัง ลงนอนทับเท้าทั้ง ๔ ที่ตรงนั้น นั่นเอง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกงบางตัวในโลกนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษ ของม้าโกงประการที่ ๘ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ม้าโกง ๘ จำพวก และโทษของ ม้าโกง ๘ ประการนี้แล ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็คนโกง ๘ จำพวก และโทษของคนโกง ๘ ประการ เป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในธรรมวินัยนี้ ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุ ผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูกโจทด้วยอาบัติ ย่อมอำพรางอาบัติไว้ว่า ผมนึกไม่ได้ๆ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวบุคคลนี้ เปรียบเหมือนม้าโกงที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมถอยหลัง ดันให้รถกลับหลัง ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของ คนโกงประการที่ ๑ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติ กลับโต้ตอบการโจทนั่นเองว่า จะมีประโยชน์อะไรหนอ ด้วยคำ ที่ท่านซึ่งเป็นคนโง่ไม่ฉลาดกล่าว ท่านเองควรสำนึกถึงคำที่ควรพูด ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย เรากล่าวบุคคลนี้เปรียบเหมือนม้าโกงที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมหกหลัง ดีดธูปหัก ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกงประการที่ ๒ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติ กลับโจทตอบแก่ภิกษุผู้โจทนั่นเองว่า แม้ท่านก็ต้องอาบัติชื่อนี้ ท่านจงทำคืนเสียก่อน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวบุคคลนี้ เปรียบเหมือนม้าโกง ที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมยกขาขึ้นตะกุย งอนรถ ถีบงอนรถ ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกงประการที่ ๓ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติ ย่อมพูดกลบเกลื่อน พูดนอกลู่นอกทาง แสดงความโกรธ ความขัดเคือง และความไม่ยำเกรงให้ปรากฏ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวบุคคล นี้ เปรียบเหมือนม้าโกงที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ย่อมเดินผิดทาง ทำให้รถคว่ำ ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรม วินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกงประการที่ ๔ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติ ยกมือทั้งสองพูดห้ามในท่ามกลางสงฆ์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรา กล่าวบุคคลนี้ เปรียบเหมือนม้าโกงที่นายสารถี เตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วย ประตักเตือนอยู่ ย่อมเชิดกายด้านหน้า เผ่นขึ้นไป ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกงประการที่ ๕ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติ ย่อมไม่เอื้อเฟื้อสงฆ์ ไม่เอื้อเฟื้อผู้โจทก์ ทั้งที่มีอาบัติติดตัวอยู่ เลี่ยงหลีกไปตามประสงค์ของตน ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวบุคคลนี้ เปรียบ เหมือนม้าโกงที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ไม่คำนึง ถึงด้ามประตัก เอาฟันกัดบังเหียน หลีกไปตามประสงค์ของมัน ฉะนั้น ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกง ประการที่ ๖ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติกล่าวว่า ผมไม่ได้ต้องอาบัติเลยๆ เธอใช้ความนิ่งให้อึดอัดใจสงฆ์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวบุคคลนี้ เปรียบเหมือนม้าโกงที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตักเตือนอยู่ ไม่ยอมก้าวไปข้างหน้า ทั้งไม่ถอยหลัง ยืนเฉยเหมือนเสาเขื่อนอยู่ตรงนั้นนั่นเอง ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบาง คนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกงประการที่ ๗ ฯ อีกประการหนึ่ง ภิกษุโจทภิกษุด้วยอาบัติ ภิกษุผู้เป็นจำเลยนั้น เมื่อถูก โจทด้วยอาบัติย่อมกล่าวว่า ทำไมหนอ ท่านผู้มีอายุทั้งหลายจึงชอบหาเรื่องในตัว ผมนัก บัดนี้ ผมกำหนดบอกคืนสิกขาลาเพศแล้ว เธอบอกคืนสิกขาลาเพศแล้ว พูดอย่างนี้ว่า บัดนี้ ขอท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงเบาใจเถิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรา กล่าวบุคคลนี้เปรียบเหมือนม้าโกงที่นายสารถีเตือนว่า จงเดินไป ถูกแทงด้วยประตัก เตือนอยู่ คุกเท้าหน้า เท้าหลัง ลงนอนทับเท้าทั้ง ๔ ฉะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกงบางคนในธรรมวินัยนี้ เป็นเช่นนี้ก็มี นี้เป็นโทษของคนโกงประการที่ ๘ ดูกรภิกษุทั้งหลาย คนโกง ๘ จำพวก และโทษของคนโกง ๘ ประการนี้แล ฯ มลสูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย มลทิน ๘ ประการนี้ ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย มนต์มีการไม่ท่องบ่นเป็นมลทิน ๑ เรือนมีความไม่หมั่นเป็น มลทิน ๑ ความเกียจคร้านเป็นมลทินของผิวพรรณ ๑ ความประมาทเป็นมลทิน ของผู้รักษา ๑ ความประพฤติชั่วเป็นมลทินของหญิง ๑ ความตระหนี่เป็นมลทิน ของผู้ให้ ๑ อกุศลธรรมที่ลามกเป็นมลทินแท้ทั้งโลกนี้และโลกหน้า ๑ เราจะบอก มลทินที่ยิ่งกว่ามลทินนั้น คือ อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย มลทิน ๘ ประการนี้แล ฯ มนต์มีการไม่ท่องบ่นเป็นมลทิน เรือนมีความไม่หมั่นเป็น มลทิน ความเกียจคร้านเป็นมลทินของผิวพรรณ ความ ประมาทเป็นมลทินของผู้รักษา ความประพฤติชั่วเป็นมลทิน ของหญิง ความตระหนี่เป็นมลทินของผู้ให้ ธรรมอันลามก เป็นมลทินแท้ ทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เราจะบอกมลทินที่ ยิ่งกว่านั้น คือ อวิชชาเป็นมลทินอย่างยิ่ง ฯ ทูตสูตร ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการ ควร ไปเป็นทูตได้ ธรรม ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้รับฟัง ๑ ให้ผู้อื่นรับฟัง ๑ เรียนดี ๑ ทรงจำไว้ดี ๑ รู้เอง ๑ ให้ผู้อื่นรู้ ๑ เป็นผู้ฉลาดต่อสิ่งที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ ๑ ไม่ก่อการทะเลาะ ๑ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๘ ประการนี้แล ควรไปเป็นทูตได้ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สารีบุตรประกอบด้วยธรรม ๘ ประการ ควรไปเป็น ทูตได้ ธรรม ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย สารีบุตรในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้รับฟัง ๑ ให้ผู้อื่นรับฟัง ๑ เรียนดี ๑ ทรงจำไว้ดี ๑ รู้เอง ๑ ให้ผู้อื่นรู้ ๑ เป็นผู้ฉลาดต่อสิ่งที่มีประโยชน์และไม่มีประโยชน์ ๑ ไม่ก่อการทะเลาะ ๑ ดูกร ภิกษุทั้งหลาย สารีบุตรประกอบด้วยธรรม ๘ ประการนี้แล ควรไปเป็นทูตได้ ฯ ภิกษุใดแล สอนบริษัทให้เรียนให้อ่าน ไม่สะทกสะท้าน ไม่ให้เสียคำที่พูด ไม่ให้เสียคำสอน ชี้แจงให้เขาหมดสงสัย และเมื่อถูกซักถามก็ไม่โกรธ ภิกษุเช่นนี้นั้นแล ควรไปเป็น ทูตได้ ฯ พันธนสูตรที่ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย หญิงย่อมผูกชายไว้ด้วยอาการ ๘ อย่าง ๘ อย่างเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย หญิงย่อมผูกชายไว้ด้วยรูป ๑ ด้วยการ ยิ้มแย้ม ๑ ด้วยคำพูด ๑ ด้วยเพลงขับ ๑ ด้วยการร้องไห้ ๑ ด้วยอากัปปกิริยา ๑ ด้วยของกำนัล ๑ ด้วยผัสสะ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย หญิงย่อมผูกชายไว้ด้วยอาการ ๘ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่ถูกผูกด้วยอาการ ๘ อย่างนี้แล ชื่อว่าถูก ผูกด้วยบ่วง ฯ พันธนสูตรที่ ๒ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชายย่อมผูกหญิงไว้ด้วยอาการ ๘ อย่าง ๘ อย่างเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชายย่อมผูกหญิงไว้ด้วยรูป ๑ ด้วยการ ยิ้มแย้ม ๑ ด้วยคำพูด ๑ ด้วยเพลงขับ ๑ ด้วยการร้องไห้ ๑ ด้วยอากัปปกิริยา ๑ ด้วยของกำนัล ๑ ด้วยผัสสะ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ชายย่อมผูกหญิงไว้ด้วย อาการ ๘ อย่างนี้แล ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์ที่ถูกผูกด้วยอาการ ๘ อย่างนี้แล ชื่อว่าถูกผูกด้วยบ่วง ฯ ปหาราทสูตร สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ควงไม้สะเดาที่นเฬรุยักษ์สิงสถิต ใกล้กรุงเวรัญชา ครั้งนั้น ท้าวปหาราทะจอมอสูร เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว ยืนอยู่ ณ ที่ควร ส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามท้าวปหาราทะจอมอสูรว่า ดูกรปหาราทะ พวกอสูรย่อมอภิรมย์ในมหาสมุทรบ้างหรือ ท้าวปหาราทะจอมอสูรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พวกอสูรย่อมอภิรมย์ในมหาสมุทร ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรปหาราทะ ในมหาสมุทรมีธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาสัก เท่าไร ที่พวกอสูรเห็นแล้วย่อมอภิรมย์ ฯ ท้าวปหาราทะจอมอสูร // มี ๘ ประการ พระเจ้าข้า ๘ ประการเป็นไฉน ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ มหาสมุทรลาด ลุ่ม ลึกลงไปโดยลำดับ หาได้โกรกชันเหมือนเหวไม่ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่มหาสมุทรลาด ลุ่ม ลึกลงไปโดยลำดับ หาได้โกรก ชันเหมือนเหวไม่ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๑ ใน มหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง มหาสมุทรเต็มเปี่ยมอยู่เสมอ ไม่ล้นฝั่ง ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ข้อที่มหาสมุทรเต็มเปี่ยมอยู่เสมอไม่ล้นฝั่ง นี้เป็นธรรมอันน่าอัศจรรย์อัน ไม่เคยมีมาประการที่ ๒ ในมหาสมุทรที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง มหาสมุทรไม่เกลื่อนด้วยซากศพ เพราะในมหาสมุทร คลื่นย่อมซัดเอาซากศพเข้าหาฝั่งให้ขึ้นบกทันที ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่ มหาสมุทรไม่เกลื่อนด้วยซากศพ และในมหาสมุทรคลื่นย่อมซัดเอาซากศพเข้าหา ฝั่งให้ขึ้นบกทันที นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๓ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง แม่น้ำสายใหญ่ๆ บางสาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี แม่น้ำเหล่านั้นไหลไปถึงมหาสมุทรแล้ว ย่อมละนามและ โคตรเดิมหมด ถึงความนับว่ามหาสมุทรนั่นเอง ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่ แม่น้ำสายใหญ่ๆ บางสาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี แม่น้ำ เหล่านั้นไหลไปถึงมหาสมุทรแล้ว ย่อมเปลี่ยนนามและโคตรเดิมหมด ถึงความ นับว่ามหาสมุทรนั่นเอง นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๔ ใน มหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง แม่น้ำทุกสายในโลก ย่อมไหลไปรวมยังมหาสมุทร และสายฝนจากอากาศตกลงสู่มหาสมุทร มหาสมุทรก็มิได้ปรากฏว่าจะพร่องหรือ เต็มเพราะน้ำนั้นๆ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่แม่น้ำทุกสายในโลกย่อมไหลไป รวมยังมหาสมุทร และสายฝนจากอากาศตกลงสู่มหาสมุทร มหาสมุทรก็มิได้ ปรากฏว่าจะพร่องหรือเต็มเพราะน้ำนั้นๆ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ประการที่ ๕ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง มหาสมุทรมีรสเดียว คือ รสเค็ม ข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ ข้อที่มหาสมุทรมีรสเดียว คือ รสเค็ม นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่ เคยมีมาประการที่ ๖ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง มหาสมุทรมีรัตนะมากมายหลายชนิด ในมหาสมุทรมี รัตนะเหล่านี้ คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่มหาสมุทรมีรัตนะ มากมายหลายชนิด ในมหาสมุทรนั้นมีรัตนะ คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้ว ไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต นี้เป็นธรรมที่ น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๗ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึง อภิรมย์อยู่ ฯ อีกประการหนึ่ง มหาสมุทรเป็นที่พำนักอาศัยของพวกสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ และสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรนั้นมีดังนี้ คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคลา ปลาติมิรมิงคลา พวกอสูร นาค คนธรรพ์ แม้ที่มีร่างกายประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ๒๐๐ โยชน์ ๓๐๐ โยชน์ ๔๐๐ โยชน์ ๕๐๐ โยชน์ ก็มีอยู่ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่ มหาสมุทรเป็นที่พำนักอาศัยของสิ่งที่มีชีวิตใหญ่ๆ และสิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรนั้น มีดังนี้ คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคลา ปลาติมิรมิงคลา พวกอสูร นาค คนธรรพ์ แม้ที่มีร่างกายประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ๒๐๐ โยชน์ ๓๐๐ โยชน์ ๔๐๐ โยชน์ ๕๐๐ โยชน์ ก็มีอยู่ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๘ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นี้แลธรรมที่น่า อัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ๘ ประการ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึง อภิรมย์อยู่ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ภิกษุทั้งหลายย่อมอภิรมย์ในธรรมวินัย นี้บ้างหรือ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // ดูกรปหาราทะ ภิกษุทั้งหลายย่อมอภิรมย์ในธรรมวินัยนี้ ฯ ท้าวปหาราทะจอมอสูร // ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ในธรรมวินัยนี้ มีธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่ เคยมีมาสักเท่าไร ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้ว จึงอภิรมย์อยู่ ฯ พระผู้มีพระภาคะ // มี ๘ ประการ ปหาราทะ ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรปหาราทะ มหาสมุทรลาด ลุ่ม ลึกลงไปโดยลำดับ ไม่โกรกชันเหมือนเหว ฉันใด ใน ธรรมวินัยนี้ก็ฉันนั้นเหมือนกัน มีการศึกษาไปตามลำดับ มีการกระทำไปตามลำดับ มีการปฏิบัติไปตามลำดับ มิใช่ว่าจะมีการบรรลุอรหัตผลโดยตรง ดูกรปหาราทะ ข้อที่ในธรรมวินัยนี้มีการศึกษาไปตามลำดับ มีการกระทำไปตามลำดับ มีการ ปฏิบัติไปตามลำดับ มิใช่ว่าจะมีการบรรลุอรหัตผลโดยทรง นี้เป็นธรรมที่น่า อัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๑ ในธรรมวินัยนี้ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึง อภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ มหาสมุทรเต็มเปี่ยมอยู่เสมอ ไม่ล้นฝั่ง ฉันใด สาวก ทั้งหลายของเราก็ฉันนั้นเหมือนกัน ไม่ล่วงสิกขาบทที่เราบัญญัติไว้แม้เพราะเหตุ แห่งชีวิต ดูกรปหาราทะ ข้อที่สาวกทั้งหลายของเราไม่ล่วงสิกขาบทที่เราบัญญัติ ไว้แม้เพราะเหตุแห่งชีวิต นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๒ ใน ธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ มหาสมุทรไม่เกลื่อนด้วยซากศพ เพราะในมหาสมุทร คลื่นย่อมซัดเอาซากศพเข้าหาฝั่งให้ขึ้นบก ฉันใด ดูกรปหาราทะ ฉันนั้นเหมือนกัน บุคคลผู้ทุศีล มีบาปธรรม มีสมาจารไม่สะอาดน่ารังเกียจ ปกปิดกรรมชั่ว มิใช่ สมณะ แต่ปฏิญญาว่าเป็นสมณะ มิใช่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ แต่ปฏิญญาว่า ประพฤติพรหมจรรย์ เสียใน ชุ่มด้วยราคะ เป็นเพียงดังหยากเยื่อ สงฆ์ย่อม ไม่อยู่ร่วมกับบุคคลนั้น ประชุมกันยกวัตรเธอเสียทันที แม้เขาจะนั่งอยู่ท่ามกลาง ภิกษุสงฆ์ก็จริง ถึงกระนั้น เขาก็ชื่อว่าห่างไกลจากสงฆ์ และสงฆ์ก็ห่างไกลจาก เขา ดูกรปหาราทะ ข้อที่บุคคลผู้ทุศีล มีบาปกรรม มีสมาจารไม่สะอาดน่า รังเกียจ ปกปิดกรรมชั่ว ไม่ใช่สมณะ แต่ปฏิญญาว่าเป็นสมณะ มิใช่ผู้ประพฤติ พรหมจรรย์ แต่ปฏิญญาว่าประพฤติพรหมจรรย์ เสียใน ชุ่มด้วยราคะ เป็นเพียง ดังหยากเยื่อ สงฆ์ย่อมไม่อยู่ร่วมกับบุคคลนั้น ประชุมกันยกวัตรเธอเสียทันที แม้เขาจะนั่งอยู่ในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ก็จริง ถึงกระนั้น เขาก็ชื่อว่าห่างไกลจาก สงฆ์ และสงฆ์ก็ห่างไกลจากเขา นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการ ที่ ๓ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ แม่น้ำสายใหญ่ๆ บางสาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี สรภู มหี แม่น้ำเหล่านั้นไหลไปถึงมหาสมุทรแล้ว ย่อมละนามและ โคตรเดิมหมด ถึงความนับว่ามหาสมุทรนั่นเอง ฉันใด ดูกรปหาราทะ ฉันนั้น เหมือนกัน วรรณะ ๔ เหล่านี้ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ออกบวช เป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยที่ตถาคตประกาศแล้ว ย่อมละนามและโคตรเดิมเสีย ถึงความนับว่าสมณศากยบุตรทั้งนั้น ดูกรปหาราทะ ข้อที่วรรณะ ๔ เหล่านี้ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทร ออกบวชเป็นบรรพชิต ในธรรมวินัยที่ตถาคต ประกาศแล้ว ย่อมละนามและโคตรเดิมเสีย ถึงความนับว่าเป็นสมณศากยบุตร ทั้งนั้น นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๔ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุ ทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ แม่น้ำทุกสายในโลก ย่อมไหลไปรวมยังมหาสมุทร และสายฝนจากอากาศตกลงสู่มหาสมุทร มหาสมุทรก็มิได้ปรากฏว่าจะพร่องหรือ เต็มเพราะน้ำนั้นๆ ฉันใด ดูกรปหาราทะ ฉันนั้นเหมือนกัน ถึงแม้ภิกษุเป็นอัน มากจะปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ นิพพานธาตุก็มิได้ปรากฏว่าจะพร่อง หรือเต็มด้วยภิกษุนั้น ดูกรปหาราทะ ข้อที่ถึงแม้ภิกษุเป็นอันมากจะปรินิพพาน ด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ นิพพานธาตุก็มิได้ปรากฏว่าจะพร่องหรือเต็มด้วย ภิกษุนั้น นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๕ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ มหาสมุทรมีรสเดียว คือ รสเค็ม ฉันใด ดูกรปหาราทะ ฉันนั้นเหมือนกัน ธรรมวินัยนี้มีรสเดียว คือ วิมุตติรส ดูกรปหาราทะ ข้อที่ ธรรมวินัยมีรสเดียว คือ วิมุตติรส นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ประการที่ ๖ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ มหาสมุทรมีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะในมหาสมุทร นั้นมีดังนี้ คือ แก้วมุกดา แก้วมณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงิน ทอง ทับทิม มรกต ฉันใด ดูกรปหาราทะ ฉันนั้นเหมือนกัน ธรรมวินัย นี้ก็มีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะในธรรมวินัยนั้นมีดังนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมี องค์ ๘ ดูกรปหาราทะ ข้อที่ธรรมวินัยนี้มีรัตนะมากมายหลายชนิด รัตนะใน ธรรมวินัยนั้นมีดังนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ประการที่ ๗ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรปหาราทะ มหาสมุทรเป็นที่พำนักอาศัยของสิ่งที่มีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิต ในมหาสมุทรนั้นมีดังนี้ คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคลา ปลาติมิรมิงคลา พวกอสูร นาค คนธรรพ์ แม้ที่มีร่างกายประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ๒๐๐ โยชน์ ๓๐๐ โยชน์ ๔๐๐ โยชน์ ๕๐๐ โยชน์ มีอยู่ ฉันใด ดูกรปหาราทะ ฉันนั้นเหมือนกัน ธรรมวินัยนี้ ก็เป็นที่พำนักอาศัยแห่งสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในธรรมวินัยนี้ มีดังนี้ คือ พระโสดาบัน ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล พระสกทาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งสกทาคามิผล พระอนาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อ กระทำให้แจ้งซึ่งอนาคามิผล พระอรหันต์ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระอรหันต์ ดูกรปหาราทะ ข้อที่ธรรมวินัยนี้เป็นที่พำนักอาศัยแห่งสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งชีวิตมี ในธรรมวินัยนี้มีดังนี้ คือ พระโสดาบัน ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติ ผล พระสกทาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งสกทาคามิผล พระอนาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งอนาคามิผล พระอรหันต์ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความ เป็นพระอรหันต์ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๘ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ดูกรปหาราทะ ในธรรมวินัยนี้ มีธรรมที่น่า อัศจรรย์ อันไม่เคยมีมา ๘ ประการนี้แล ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ อุโปสถสูตร สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ บุพพาราม ปราสาท ของมิคารมารดา ใกล้พระนครสาวัตถี ก็โดยสมัยนั้นพระผู้มีพระภาคมีภิกษุสงฆ์แวด ล้อม ประทับนั่งในวันอุโบสถ ครั้งนั้น เมื่อราตรีล่วงไปแล้ว ปฐมยามผ่านไป แล้ว ท่านพระอานนท์ลุกจากที่นั่ง กระทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ประนม อัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ ราตรีล่วงไปแล้ว ปฐมยามผ่านไปแล้ว ภิกษุสงฆ์นั่งมานานแล้ว ขอพระผู้มีพระภาคทรงพระกรุณาโปรดแสดงปาติโมกข์เถิด เมื่อท่านพระอานนท์ กราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงนิ่งอยู่ ฯ แม้วาระที่ ๒ เมื่อราตรีล่วงไปแล้ว มัชฌิมยามผ่านไปแล้ว ท่าน พระอานนท์ลุกจากที่นั่ง กระทำผ้าอุตราสงค์เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ประนมอัญชลีไปทาง พระผู้มีพระภาค ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ราตรีล่วง ไปแล้ว มัชฌิมยามผ่านไปแล้ว ภิกษุสงฆ์นั่งมานานแล้ว ขอพระผู้มีพระภาค ทรงพระกรุณาโปรดแสดงปาติโมกข์เถิด แม้วาระที่ ๒ พระผู้มีพระภาคก็ทรงนิ่ง อยู่ ฯ แม้วาระที่ ๓ เมื่อราตรีล่วงไปแล้ว ปัจฉิมยามผ่านไปแล้ว แสงเงิน แสงทองขึ้นแล้ว ราตรีสว่างแล้ว ท่านพระอานนท์ลุกจากที่นั่ง กระทำผ้าอุตราสงค์ เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ประนมอัญชลีไปทางพระผู้มีพระภาค ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ราตรีล่วงไปแล้ว ปัจฉิมยามผ่านไปแล้ว แสง เงินแสงทองขึ้นแล้ว ราตรีสว่างแล้ว ภิกษุสงฆ์นั่งมานานแล้ว ขอพระผู้มีพระภาค ทรงพระกรุณาโปรดแสดงปาติโมกข์เถิด พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรอานนท์ บริษัทไม่บริสุทธิ์ ฯ ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้มีความดำริดังนี้ว่า พระผู้มีพระภาค ตรัสอย่างนี้ทรงหมายเอาบุคคลไหนหนอ ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะ กำหนดใจด้วยใจ กระทำจิตภิกษุสงฆ์ทั้งหมดไว้ในใจแล้ว ได้เห็นบุคคลทุศีล มี บาปธรรม มีสมาจารไม่สะอาดน่ารังเกียจ ปกปิดกรรมชั่ว มิใช่สมณะแต่ปฏิญญา ว่าเป็นสมณะ มิใช่ผู้ประพฤติพรหมจรรย์แต่ปฏิญญาว่าประพฤติพรหมจรรย์ เสียใน ชุ่มด้วยราคะ เป็นเพียงดังหยากเยื่อ นั่งอยู่ในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ ครั้นแล้วลุกจาก อาสนะเข้าไปหาบุคคลนั้น กล่าวกะบุคคลนั้นว่า อาวุโส จงลุกไป พระผู้มีพระภาคทรงเห็นเธอแล้ว เธอไม่มีสังวาสกับภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านพระมหาโมคคัลลานะกล่าวอย่างนี้แล้ว บุคคลนั้นนิ่งเฉยเสีย แม้วาระที่ ๒ ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้กล่าวกะบุคคลนั้นว่า อาวุโส จงลุกไป พระผู้มีพระภาคทรงเห็นเธอแล้ว เธอไม่มีสังวาสกับภิกษุทั้งหลาย แม้วาระที่ ๒ บุคคลนั้นก็นิ่งเสีย แม้วาระที่ ๓ ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้กล่าวกะบุคคลนั้นว่า อาวุโส จงลุกไป พระผู้มี พระภาคทรงเห็นเธอแล้ว เธอไม่มีสังวาสกับภิกษุทั้งหลาย แม้วาระที่ ๓ บุคคล นั้นก็นิ่งเฉยเสีย ลำดับนั้น ท่านพระมหาโมคคัลลานะจับแขนบุคคลนั้นฉุดออก มาให้พ้นซุ้มประตูด้านนอกแล้ว ใส่ดาน เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลนั้นข้าพระองค์ฉุดออกไปแล้ว บริษัทบริสุทธิ์แล้ว ขอพระผู้มีพระภาคทรงพระกรุณาโปรดแสดงปาติโมกข์แก่ภิกษุทั้งหลายเถิด ฯ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า น่าอัศจรรย์ โมคคัลลานะ ไม่เคยมีมา โมคคัลลานะ โมฆบุรุษนั้นจักมาร่วม จนต้องฉุดแขนออกไป ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาค ตรัสกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย บัดนี้ เธอทั้งหลายพึงทำอุโบสถเถิด พึงแสดงปาติโมกข์เถิด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ตั้งแต่กาลบัดนี้เป็นต้นไป เราจักไม่ แสดงปาติโมกข์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย การที่พระตถาคตจะพึงแสดงปาติโมกข์ใน บริษัทที่ไม่บริสุทธิ์ นี้มิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในมหาสมุทรมีธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ๘ ประการ ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ ย่อมอภิรมย์ ธรรม ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย มหาสมุทรลาด ลุ่ม ลึกลงไปโดยลำดับ หาได้โกรกชันเหมือนเหวไม่ ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย ข้อที่มหาสมุทรลาด ลุ่ม ลึกลงไปโดยลำดับ หาได้โกรกชันเหมือนเหว ไม่ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๑ ในมหาสมุทร ที่พวก อสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯลฯ อีกประการหนึ่ง มหาสมุทรเป็นที่พำนักอาศัย ของสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรนั้นมีดังนี้ คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคลา ปลาติมิรมิงคลา พวกอสูร นาค คนธรรพ์ แม้ที่มีร่างกายประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ๒๐๐ โยชน์ ๓๐๐ โยชน์ ๔๐๐ โยชน์ ๕๐๐ โยชน์ ก็มีอยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่มหาสมุทรเป็นที่พำนักอาศัยของสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรนั้น มีดังนี้ คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคลา ปลาติมิรมิงคลา พวกอสูร นาค คนธรรพ์ แม้ที่มีร่างกายประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ๒๐๐ โยชน์ ๓๐๐ โยชน์ ๔๐๐ โยชน์ ๕๐๐ โยชน์ ก็มีอยู่ นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๘ ในมหาสมุทร ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในมหาสมุทรมีธรรมที่ น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ๘ ประการนี้แล ที่พวกอสูรเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในธรรมวินัยนี้ มีธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมา ๘ ประการ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ ย่อมอภิรมย์ ธรรม ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย มหาสมุทรลาด ลุ่ม ลึกลงไปโดยลำดับ หาได้โกรกชันเหมือน เหวไม่ ฉันใด ในธรรมวินัยนี้ ก็ฉันนั้นเหมือนกัน มีการศึกษาไปตามลำดับ มีการกระทำไปตามลำดับ มีการปฏิบัติไปตามลำดับ มิใช่ว่าจะมีการบรรลุอรหัตผล โดยตรง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่ในธรรมวินัยนี้ มีการศึกษาไปตามลำดับ มีการ กระทำไปตามลำดับ มีการปฏิบัติไปตามลำดับ มิใช่ว่าจะมีการบรรลุอรหัตผลโดย ตรง นี้เป็นธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๑ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุ ทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯลฯ ๑- ดูกรภิกษุทั้งหลาย มหาสมุทรเป็นที่ พำนักอาศัยของสิ่งมีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในมหาสมุทรนั้นมีดังนี้ คือ ปลาติมิ ปลาติมิงคลา ปลาติมิรมิงคลา พวกอสูร นาค คนธรรพ์ แม้ที่มีร่างกายประมาณ ๑๐๐ โยชน์ ๒๐๐ โยชน์ ๓๐๐ โยชน์ ๔๐๐ โยชน์ ๕๐๐ โยชน์ ก็มีอยู่ ฉันใด ดูกรภิกษุทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน ธรรมวินัยนี้ ก็เป็นที่พำนักอาศัยแห่งสิ่งที่มี ชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในธรรมวินัยนี้มีดังนี้ คือ พระโสดาบัน ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อ กระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล พระสกทาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่ง สกทาคามิผล พระอนาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งอนาคามิผล พระอรหันต์ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระอรหันต์ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่ ธรรมวินัยนี้เป็นที่พำนักอาศัยแห่งสิ่งที่มีชีวิตใหญ่ๆ สิ่งมีชีวิตในธรรมวินัยนี้ มีดังนี้ คือ พระโสดาบัน ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล พระสกทาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งสกทาคามิผล พระอนาคามี ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อกระทำ ให้แจ้งซึ่งอนาคามิผล พระอรหันต์ ท่านผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระอรหันต์ นี้เป็น ธรรมที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคยมีมาประการที่ ๘ ในธรรมวินัยนี้ ที่ภิกษุทั้งหลายเห็น แล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในธรรมวินัยนี้มีสิ่งที่น่าอัศจรรย์อันไม่เคย มีมา ๘ ประการนี้แล ที่ภิกษุทั้งหลายเห็นแล้วๆ จึงอภิรมย์อยู่ ฯ

พระราชพรหมยานเถระนักปฏิบัติใหม่อันดับแรกจะต้องรู้ลมหายใจเข้าอ­อก

พระราชพรหมยานเถระนักปฏิบัติใหม่อันดับแรกจะต้องรู้ลมหายใจเข้าอ­อก

วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ผู้รู้อยู่ตรงไหนจิตก็ตั้งอยู่ตรงนั้นดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 5 อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลง มี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน 5 กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป 5 กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ 5 กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น

การซ่อมตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ตอนภาคจ่ายไฟประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ

การซ่อมตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ตอนภาคจ่ายไฟประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ

ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ

รับซ่อมเครื่องชาร์จแบตเตอรี่เครื่องมือวัดไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ

วันอาทิตย์ที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2559

มันทนสติปัญญาของเราไม่ได้หรอกตัวผู้รู้นี่พอจิตมันเห็นว่าขันธ์ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ขันธ์นี้เป็นทุกข์ล้วนๆ กระทั่งตัวจิตก็เป็นทุกข์ล้วนๆ จิตมันก็อยู่ใน ขันธ์นั่นเอง อยู่ในวิญญาณขันธ์ พอมันปล่อยขันธ์ทิ้งไป ไม่มีอะไรให้ยึดอีก มันก็พ้นจากอุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ก็กองอยู่อย่างนั้น กองอยู่กับโลกนั้นเอง ไม่ใช่ต้องไปทําลายล้างมัน มันมีเหตุมันก็เกิด หมดเหตุมันก็ดับ บังคับมันไม่ได้ แต่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันแล้ว ที่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันก็เพราะรู้ทุกข์แจ­่มแจ้ง รู้ว่าขันธ์ทั้งหลาย ทั้งปวงนี้แหละเป็นตัวทุกข์ ฉะนั้น การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําห­รับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย ทีนี้ถ้าเราไม่นิ่งนอนใจ เราก็คอยรู้เท่าทันจิตใจของเราต่อไป เสร็จแล้วมันจะพ้นสติปัญญาเราไม่ได้หรอก ตัวผู้รู้เนี่ย บางท่านก็จะเห็นว่ามันไม่เที่ยง มันผ่องใสอยู่ ผ่องใสอยู่ทั้งวันทั้งคืนนะ ถึงจุดหนึ่งมันหมองได้ คือมันไม่เที่ยง บางท่านพอเห็นว่าไม่เที่ยงก็ปล่อยวางได้ อย่างนี้เรียกว่า เป็นประเภทหลุดพ้นที่เรียกว่า อนิมิตตวิโมกข์ เห็นแต่ว่าเกิดแล้วดับๆ ตัวผู้รู้ก็เกิดดับ บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์­นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง

วันเสาร์ที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2559

รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข...การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้ ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์ แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้ ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่ การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ) อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ งั้นจิตมันจะพัฒนาไปนะ พวกเราก็ดู การปฏิบัติไม่ยาก สรุปนะการปฏิบัติไม่ยาก มันยากเฉพาะคนไม่ปฏิบัติ คนไม่ปฏิบัติมีสองพวก พวกหนึ่งไม่สนใจการปฏิบัติ พวกที่สองปฏิบัติผิด ปฏิบัติผิดก็คือไม่ได้ปฏิบัตินั่นเอง ไม่ได้ทำตามทางที่พระพุทธเจ้าสอน ต้องจำให้แม่นนะ อยากบรรลุมรรคผลนิพพาน ทิ้งวิปัสสนากรรมฐานไม่ได้ วิปัสสนากรรมฐานคือการเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่การเห็นรูปนามนะ บางคนก็สอนกันเพี้ยนๆนะ เนี่ยเราพูดซื่อๆอย่างนี้นะ เราไม่ได้ว่าสำนักไหนนะ พูดในทางวิชาการจริงๆเลย ถ้าไม่พูดทางวิชาการ อ้อมๆแอ้มๆจะรู้เรื่องเหรอ จะพากันผิดไปหมด ในหลักสูตรนักธรรมเอกมีนะ สอนเรื่องสมถะวิปัสสนา เขาก็เขียนชัดเจนเลย เขียนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ แล้ว บอกว่าวิปัสสนาต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่เห็นรูปนาม เพราะงั้นอย่างเรานั่งดู เห็นร่างกายหายใจออก เห็นร่างกายหายใจเข้า เป็นวิปัสสนาไหม? ยังไม่เป็น ยังไม่เป็น เห็นร่างกายอยู่ยังไม่เป็น ต้องเห็นไตรลักษณ์นะ เห็นเลยตัวที่หายใจออกไม่ใช่ตัวเรา ตัวที่หายใจเข้าไม่ใช่ตัวเรา ตัวที่หายใจออกไม่เที่ยง ตัวที่หายใจเข้าไม่เที่ยง อย่างนี้นะ การหายใจออกนั้นอยู่ได้ชั่วคราว ทนอยู่ไม่ได้ เป็นทุกข์ การหายใจเข้าก็หายใจเข้าได้ชั่วคราว ทนอยู่ไม่ได้ตลอด เนี่ยทุกขัง คือถ้าไม่ได้เห็นไตรลักษณ์ เห็นแต่ร่างกายหายใจอยู่ ฤาษีชีไพรเค้าทำอานาปานสติเค้าก็เห็นเหมือนกัน แต่เค้าไม่ได้เดินปัญญา ไม่ได้ขึ้นมาเห็นไตรลักษณ์ อย่างพวกเราเดินจงกรม เราเห็นร่างกายเดินไปเรื่อย ใจเป็นคนดู เห็นร่างกายเดิน ขึ้นวิปัสสนาหรือยัง? ยัง แต่ถ้ามีความเห็นแจ้งลงไปเลย ตัวที่เดินอยู่นี้ไม่ใช่เราเดินแล้ว เนี่ยเริ่มละความเห็นผิดว่ามีเราเดิน นี่ถึงจะขึ้นวิปัสสนาได้นะ เห็นเลยร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่นี่ไม่คงที่เลย ใจเป็นคนดูอยู่สบายๆ เห็นว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป เกิดขึ้นมาแล้วดับไปต่อหน้าต่อตา การเดินในแต่ละก้าว เกิดขึ้นแล้วก็ดับไปๆ ให้เห็นความเกิดความดับ อย่างนี้จึงจะขึ้นวิปัสสนา งั้นจำหลักให้แม่นนะ ต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามจึงจะขึ้นวิปัสสนา ถ้าไม่ขึ้นวิปัสสนา มรรคผลไม่มี ไม่มีแน่นอน งั้นอย่างภาวนา บางคนบอกน้อมจิตเข้าไปสู่ความว่าง ให้จิตอยู่ในความว่างนานๆ เหมือนไม่มีกิเลสเลย เนี่ยบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นไปได้ไหม? น้อมจิตไปอยู่ในความว่าง มันเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามไหม? ไม่เห็นอะไรเลย คนละเรื่องเลยนะ ต้องระมัดระวังให้ดีนะ หรืออยู่ๆก็บอกตัวเองว่าอย่าไปยึดสิ่งทั้งปวง อะไรๆก็อย่าไปยึด เจออะไรก็บอกไม่ยึดไม่ยึด ใจโล่งว่างไปเลย เป็นวิปัสสนาไหม? เห็นรูปนามไหม? นั่งคิดตลอดเลยว่าอย่าไปยึดโน่นอย่าไปยึดนี่ ไม่ใช่รู้ไม่ใช่การเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม งั้นไม่เป็นวิปัสสนา อยู่ๆก็บอกไม่ยึดอะไรเลยๆ ทำใจให้ว่าง หรือน้อมใจไปสู่ความว่าง ไม่คิดไม่นึก ไม่ปรุงไม่แต่ง ความปรุงแต่งใดๆเกิดขึ้นตัดทิ้งให้หมดเลย ให้จิตพ้นจากความปรุงแต่งไปเลย เนี่ยสอนอย่างนี้เยอะมากเลยนะ เยอะแยะเลยนะ ถ้าพวกเราไม่เรียนให้ดีเราจะหลงเตลิดเปิดเปิง ไปลองทำดูแล้วจะมีความสุข เพราะอะไร? มันเป็นสมถะนะ อย่างน้อมใจไปอยู่ในความว่าง เป็นสมถะชัดๆเลย น้อมใจไปสู่ความไม่ยึดถืออะไรเลย นี่ก็สมถะนะ น้อมใจไปอยู่ในความว่าง ชื่ออากาสานัญจายตนะ น้อมใจเข้าไปสู่ความไม่มีอะไรเลย ชื่ออากิญจัญญายตนะ ไม่มีไตรลักษณ์ให้ดูหรอก เทศน์ดุไปไหมวันนี้? ( J ยิ้ม) ต้องเห็นไตรลักษณ์ ต้องเห็นนะ ไม่ใช่คิดด้วยนะ ต้องเห็น วิปัสสนานะมาจากคำว่า วิ + ปัสสนะ ปัสสนะแปลว่าการเห็น + วิ แจ้งหรือยอดเยี่ยม เห็นอย่างแจ้ง เห็นจริง เห็นอย่างยอดเยี่ยม เห็นอย่างถูกต้อง เห็นอะไร? เห็นไตรลักษณ์สิถึงจะถูกต้อง เห็นอย่างอื่นไม่แจ้ง เรียกว่ายังไม่รู้แจ้ง งั้นต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนาม ทีนี้จะเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามได้ เครื่องมือที่เราต้องพัฒนาขึ้นมานะ อย่างน้อยที่สุดต้องมีสองตัว ตัวที่หนึ่งชื่อสติ ตัวที่สองชื่อสมาธิชนิดตั้งมั่น สมาธิต้องระบุชนิดด้วย วงเล็บไว้ เพราะสมาธิมีหลายประเภท สมาธิโหลยโท่ยเลยก็มีนะ คนจะไปฆ่าเค้ามีสมาธิไหม? จะไปดักยิงหัวใครมีสมาธิไหม? คนคิดจะจั่วไพ่มีสมาธิไหม? มี งั้นสมาธินี่เกิดร่วมกับจิตทุกดวง กระทั่งจิตอกุศลก็มีสมาธิ แต่มันเป็นสมาธิชนิดชั้นเลว สมาธิออกนอกเลย สมาธิอีกชนิดหนึ่ง จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว อันนี้ชื่ออารัมมณูปนิชฌาน จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว นี้ล่ะคือสมาธิที่ใครต่อใครชอบทำกันนักหนา แล้วหยุดอยู่แค่สมาธิชนิดนี้ พุทโธแล้วก็สงบอยู่กับพุทโธ หายใจแล้วก็สงบอยู่กับลมหายใจ ดูท้องพองยุบแล้วสงบอยู่กับท้อง ขยับมือแล้วสงบ ใจสงบนิ่งอยู่กับมือ ทำกรรมฐานอะไรแล้วก็สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว อันนี้เรียกว่าอารัมมณูปนิชฌาน เอาไว้พักผ่อน มีประโยชน์ไหม? มี ถ้าคนไหนทำได้ให้ทำ ถ้าทำไม่ได้อย่างน้อยต้องทำสมาธิชนิดที่สองให้ได้ สมาธิชนิดแรกชื่ออารัมมณูปนิชฌาน เอาไว้พักผ่อนให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว จิตปกตินั้นน่ะสำส่อน โดดจากอารมณ์โน้นที โดดจากอารมณ์นี้ทีตลอดเวลา ฟุ้งซ่านไป ไม่มีความสุข ไม่มีความสงบ น้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์ที่มีความสุขมีความสงบ ใครถนัดพุทโธก็อยู่กับพุทโธ ใครถนัดลมหายใจก็อยู่กับลมหายใจ ใครถนัดท้องพองยุบก็ดูท้องพองยุบไป ให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว พอจิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียวแล้วก็ได้ความสุขได้ความสงบ เป็นที่พักผ่อนทำให้จิตมีเรี่ยวมีแรงนะ สมาธิชนิดที่สองนะ ชื่อลักขณูปนิชฌาน ลักขณูปนิชฌานเนี่ยจิตตั้งมั่นเห็นลักษณะ ลักขณู ลักขณะ คือลักษณะนั่นเอง คือคำว่าไตรลักษณ์นั่นแหละ คือลักษณะ ลักขณูปนิชฌานจิตตั้งมั่นเห็นไตรลักษณ์ เห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ทำไมต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม? รูปนามมีไตรลักษณ์ อย่างอื่นไม่มีไตรลักษณ์ สิ่งที่เหนือจากรูปนามมีสองอย่าง อันหนึ่งเรียกว่าบัญญัติ เรื่องราวที่คิดไม่มีไตรลักษณ์ อีกอันหนึ่งคือนิพพาน นิพพานไม่มีไตรลักษณ์ นิพพานมีเอกลักษณ์ มีอันเดียว มีอันเดียวนะ ลักษณะเป็นไตรลักษณ์ในนิพพานมีหนึ่ง เรียกอนัตตา มีแต่อนัตตา ไม่มีอนิจจัง ทุกขัง งั้นจะดูไตรลักษณ์ได้ต้องดูที่รูปนาม รูปนามที่ดูแล้วเห็นไตรลักษณ์ได้ ต้องเป็นรูปนามในปัจจุบัน รูปนามในอดีตไม่มีแล้ว ตัวมันเองยังไม่มีเลย ให้ไปหาไตรลักษณ์ของรูปนามในอดีตก็เป็นการคิดเอา ไม่เป็นวิปัสสนา รูปนามในอนาคตก็ยังไม่มี จะไปดูไตรลักษณ์ของมันก็ไม่ได้ งั้นจะดูไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องดูรูปนามในปัจจุบันนะ นี่เห็นไหมมันเป็นหลักของการทำวิปัสสนาทั้งหมดเลย อย่างการดูรูปนามนะให้ลงปัจจุบัน ยังมีปัจจุบันสองแบบ งั้นเรื่องที่ต้องเรียนนี่เยอะมากเลยนะ ค่อยๆเรียน ค่อยๆฟังนะ ไปเปิดซีดีนะเทศน์วนไปวนมา เราคอยดูเอา ดูไปเรื่อยๆ

เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเรา...การปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้ ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์ แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้ ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่ การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ) อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ งั้นจิตมันจะพัฒนาไปนะ พวกเราก็ดู การปฏิบัติไม่ยาก สรุปนะการปฏิบัติไม่ยาก มันยากเฉพาะคนไม่ปฏิบัติ คนไม่ปฏิบัติมีสองพวก พวกหนึ่งไม่สนใจการปฏิบัติ พวกที่สองปฏิบัติผิด ปฏิบัติผิดก็คือไม่ได้ปฏิบัตินั่นเอง ไม่ได้ทำตามทางที่พระพุทธเจ้าสอน ต้องจำให้แม่นนะ อยากบรรลุมรรคผลนิพพาน ทิ้งวิปัสสนากรรมฐานไม่ได้ วิปัสสนากรรมฐานคือการเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่การเห็นรูปนามนะ บางคนก็สอนกันเพี้ยนๆนะ เนี่ยเราพูดซื่อๆอย่างนี้นะ เราไม่ได้ว่าสำนักไหนนะ พูดในทางวิชาการจริงๆเลย ถ้าไม่พูดทางวิชาการ อ้อมๆแอ้มๆจะรู้เรื่องเหรอ จะพากันผิดไปหมด ในหลักสูตรนักธรรมเอกมีนะ สอนเรื่องสมถะวิปัสสนา เขาก็เขียนชัดเจนเลย เขียนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ แล้ว บอกว่าวิปัสสนาต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่เห็นรูปนาม เพราะงั้นอย่างเรานั่งดู เห็นร่างกายหายใจออก เห็นร่างกายหายใจเข้า เป็นวิปัสสนาไหม? ยังไม่เป็น ยังไม่เป็น เห็นร่างกายอยู่ยังไม่เป็น ต้องเห็นไตรลักษณ์นะ เห็นเลยตัวที่หายใจออกไม่ใช่ตัวเรา ตัวที่หายใจเข้าไม่ใช่ตัวเรา ตัวที่หายใจออกไม่เที่ยง ตัวที่หายใจเข้าไม่เที่ยง อย่างนี้นะ การหายใจออกนั้นอยู่ได้ชั่วคราว ทนอยู่ไม่ได้ เป็นทุกข์ การหายใจเข้าก็หายใจเข้าได้ชั่วคราว ทนอยู่ไม่ได้ตลอด เนี่ยทุกขัง คือถ้าไม่ได้เห็นไตรลักษณ์ เห็นแต่ร่างกายหายใจอยู่ ฤาษีชีไพรเค้าทำอานาปานสติเค้าก็เห็นเหมือนกัน แต่เค้าไม่ได้เดินปัญญา ไม่ได้ขึ้นมาเห็นไตรลักษณ์ อย่างพวกเราเดินจงกรม เราเห็นร่างกายเดินไปเรื่อย ใจเป็นคนดู เห็นร่างกายเดิน ขึ้นวิปัสสนาหรือยัง? ยัง แต่ถ้ามีความเห็นแจ้งลงไปเลย ตัวที่เดินอยู่นี้ไม่ใช่เราเดินแล้ว เนี่ยเริ่มละความเห็นผิดว่ามีเราเดิน นี่ถึงจะขึ้นวิปัสสนาได้นะ เห็นเลยร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่นี่ไม่คงที่เลย ใจเป็นคนดูอยู่สบายๆ เห็นว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป เกิดขึ้นมาแล้วดับไปต่อหน้าต่อตา การเดินในแต่ละก้าว เกิดขึ้นแล้วก็ดับไปๆ ให้เห็นความเกิดความดับ อย่างนี้จึงจะขึ้นวิปัสสนา งั้นจำหลักให้แม่นนะ ต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามจึงจะขึ้นวิปัสสนา ถ้าไม่ขึ้นวิปัสสนา มรรคผลไม่มี ไม่มีแน่นอน งั้นอย่างภาวนา บางคนบอกน้อมจิตเข้าไปสู่ความว่าง ให้จิตอยู่ในความว่างนานๆ เหมือนไม่มีกิเลสเลย เนี่ยบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นไปได้ไหม? น้อมจิตไปอยู่ในความว่าง มันเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามไหม? ไม่เห็นอะไรเลย คนละเรื่องเลยนะ ต้องระมัดระวังให้ดีนะ หรืออยู่ๆก็บอกตัวเองว่าอย่าไปยึดสิ่งทั้งปวง อะไรๆก็อย่าไปยึด เจออะไรก็บอกไม่ยึดไม่ยึด ใจโล่งว่างไปเลย เป็นวิปัสสนาไหม? เห็นรูปนามไหม? นั่งคิดตลอดเลยว่าอย่าไปยึดโน่นอย่าไปยึดนี่ ไม่ใช่รู้ไม่ใช่การเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม งั้นไม่เป็นวิปัสสนา อยู่ๆก็บอกไม่ยึดอะไรเลยๆ ทำใจให้ว่าง หรือน้อมใจไปสู่ความว่าง ไม่คิดไม่นึก ไม่ปรุงไม่แต่ง ความปรุงแต่งใดๆเกิดขึ้นตัดทิ้งให้หมดเลย ให้จิตพ้นจากความปรุงแต่งไปเลย เนี่ยสอนอย่างนี้เยอะมากเลยนะ เยอะแยะเลยนะ ถ้าพวกเราไม่เรียนให้ดีเราจะหลงเตลิดเปิดเปิง ไปลองทำดูแล้วจะมีความสุข เพราะอะไร? มันเป็นสมถะนะ อย่างน้อมใจไปอยู่ในความว่าง เป็นสมถะชัดๆเลย น้อมใจไปสู่ความไม่ยึดถืออะไรเลย นี่ก็สมถะนะ น้อมใจไปอยู่ในความว่าง ชื่ออากาสานัญจายตนะ น้อมใจเข้าไปสู่ความไม่มีอะไรเลย ชื่ออากิญจัญญายตนะ ไม่มีไตรลักษณ์ให้ดูหรอก เทศน์ดุไปไหมวันนี้? ( J ยิ้ม) ต้องเห็นไตรลักษณ์ ต้องเห็นนะ ไม่ใช่คิดด้วยนะ ต้องเห็น วิปัสสนานะมาจากคำว่า วิ + ปัสสนะ ปัสสนะแปลว่าการเห็น + วิ แจ้งหรือยอดเยี่ยม เห็นอย่างแจ้ง เห็นจริง เห็นอย่างยอดเยี่ยม เห็นอย่างถูกต้อง เห็นอะไร? เห็นไตรลักษณ์สิถึงจะถูกต้อง เห็นอย่างอื่นไม่แจ้ง เรียกว่ายังไม่รู้แจ้ง งั้นต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนาม ทีนี้จะเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามได้ เครื่องมือที่เราต้องพัฒนาขึ้นมานะ อย่างน้อยที่สุดต้องมีสองตัว ตัวที่หนึ่งชื่อสติ ตัวที่สองชื่อสมาธิชนิดตั้งมั่น สมาธิต้องระบุชนิดด้วย วงเล็บไว้ เพราะสมาธิมีหลายประเภท สมาธิโหลยโท่ยเลยก็มีนะ คนจะไปฆ่าเค้ามีสมาธิไหม? จะไปดักยิงหัวใครมีสมาธิไหม? คนคิดจะจั่วไพ่มีสมาธิไหม? มี งั้นสมาธินี่เกิดร่วมกับจิตทุกดวง กระทั่งจิตอกุศลก็มีสมาธิ แต่มันเป็นสมาธิชนิดชั้นเลว สมาธิออกนอกเลย สมาธิอีกชนิดหนึ่ง จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว อันนี้ชื่ออารัมมณูปนิชฌาน จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว นี้ล่ะคือสมาธิที่ใครต่อใครชอบทำกันนักหนา แล้วหยุดอยู่แค่สมาธิชนิดนี้ พุทโธแล้วก็สงบอยู่กับพุทโธ หายใจแล้วก็สงบอยู่กับลมหายใจ ดูท้องพองยุบแล้วสงบอยู่กับท้อง ขยับมือแล้วสงบ ใจสงบนิ่งอยู่กับมือ ทำกรรมฐานอะไรแล้วก็สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว อันนี้เรียกว่าอารัมมณูปนิชฌาน เอาไว้พักผ่อน มีประโยชน์ไหม? มี ถ้าคนไหนทำได้ให้ทำ ถ้าทำไม่ได้อย่างน้อยต้องทำสมาธิชนิดที่สองให้ได้ สมาธิชนิดแรกชื่ออารัมมณูปนิชฌาน เอาไว้พักผ่อนให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว จิตปกตินั้นน่ะสำส่อน โดดจากอารมณ์โน้นที โดดจากอารมณ์นี้ทีตลอดเวลา ฟุ้งซ่านไป ไม่มีความสุข ไม่มีความสงบ น้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์ที่มีความสุขมีความสงบ ใครถนัดพุทโธก็อยู่กับพุทโธ ใครถนัดลมหายใจก็อยู่กับลมหายใจ ใครถนัดท้องพองยุบก็ดูท้องพองยุบไป ให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว พอจิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียวแล้วก็ได้ความสุขได้ความสงบ เป็นที่พักผ่อนทำให้จิตมีเรี่ยวมีแรงนะ สมาธิชนิดที่สองนะ ชื่อลักขณูปนิชฌาน ลักขณูปนิชฌานเนี่ยจิตตั้งมั่นเห็นลักษณะ ลักขณู ลักขณะ คือลักษณะนั่นเอง คือคำว่าไตรลักษณ์นั่นแหละ คือลักษณะ ลักขณูปนิชฌานจิตตั้งมั่นเห็นไตรลักษณ์ เห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ทำไมต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม? รูปนามมีไตรลักษณ์ อย่างอื่นไม่มีไตรลักษณ์ สิ่งที่เหนือจากรูปนามมีสองอย่าง อันหนึ่งเรียกว่าบัญญัติ เรื่องราวที่คิดไม่มีไตรลักษณ์ อีกอันหนึ่งคือนิพพาน นิพพานไม่มีไตรลักษณ์ นิพพานมีเอกลักษณ์ มีอันเดียว มีอันเดียวนะ ลักษณะเป็นไตรลักษณ์ในนิพพานมีหนึ่ง เรียกอนัตตา มีแต่อนัตตา ไม่มีอนิจจัง ทุกขัง งั้นจะดูไตรลักษณ์ได้ต้องดูที่รูปนาม รูปนามที่ดูแล้วเห็นไตรลักษณ์ได้ ต้องเป็นรูปนามในปัจจุบัน รูปนามในอดีตไม่มีแล้ว ตัวมันเองยังไม่มีเลย ให้ไปหาไตรลักษณ์ของรูปนามในอดีตก็เป็นการคิดเอา ไม่เป็นวิปัสสนา รูปนามในอนาคตก็ยังไม่มี จะไปดูไตรลักษณ์ของมันก็ไม่ได้ งั้นจะดูไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องดูรูปนามในปัจจุบันนะ นี่เห็นไหมมันเป็นหลักของการทำวิปัสสนาทั้งหมดเลย อย่างการดูรูปนามนะให้ลงปัจจุบัน ยังมีปัจจุบันสองแบบ งั้นเรื่องที่ต้องเรียนนี่เยอะมากเลยนะ ค่อยๆเรียน ค่อยๆฟังนะ ไปเปิดซีดีนะเทศน์วนไปวนมา เราคอยดูเอา ดูไปเรื่อยๆ

สภาพจิตทีมีคุณภาพเพื่อรู้แจ้งอริยสัจธรรมโดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน..สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ...ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา สติปัฏฐานนั้นเบื้องต้นทำให้เกิดสติ เบื้องปลายทำให้เกิดปัญญา: เราต้องฝึกนะ ฝึกจนสติแท้ๆ เกิดขึ้นมา สติแท้ๆ คือความระลึกได้ สติแท้ๆ เกิดจากจิตจำสภาวะได้ ..ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้าวันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ

สภาพจิตทีมีคุณภาพเพื่อรู้แจ้งอริยสัจธรรมโดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน..สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ...ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา สติปัฏฐานนั้นเบื้องต้นทำให้เกิดสติ เบื้องปลายทำให้เกิดปัญญา: เราต้องฝึกนะ ฝึกจนสติแท้ๆ เกิดขึ้นมา สติแท้ๆ คือความระลึกได้ สติแท้ๆ เกิดจากจิตจำสภาวะได้ ..ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้าวันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานอกุศลธรรมนั้น ๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็น ธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็นอุปสนะอันประเสริฐอย่างยิ่ง. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น. นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญคนมีอยู่ดังนี้ ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญาก็มิใช่มีสัญญาก็มิใช่. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวผี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อมไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ. ไม่ทะเยอทะยาน. แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิดเมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื้อไม่แก่ จักตายได้อย่าง ไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบจักทะเยอทะยานได้อย่างไร. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่นเราอาศัยเนื้อความกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ของเราไว้เถิด. ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้อง ข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืน ตามธรรม เราขอรับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูก่อนภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้นั้น เป็นความเจริญในอริยวินัย. ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสนบทในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ. ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า. พ. ดูก่อนภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยัง ไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย. ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้ากระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร. ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรจีวรอยู่. ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังที่ประทับแล้ว ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตร ชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอนด้วย พระโอวาทย่อ ๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติอย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร. พ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วนเบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็นธรรมดา. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ต่างชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล

เครื่องมือที่เราต้องพัฒนาอย่างน้อยที่สุดต้องมีสองตัวตัวที่หนึ่งชื่อสติตั...การปฎิบัติ คือรู้ท้นจิตที่ปรุงแต่ง . พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา..ถ้าเราภ­าวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะ­เลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่­รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื­่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้­อยเหลือเกิน เราเป็นนักศึกษาเราก็วางใจแค่ว่าวิปัสสนาก­รรมฐานก็เป็นวิชาๆหนึ่ง เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งเท่านั้นเอง ไม่ยากเกินไปที่จะเรียนนะ หัวใจแท้ๆเลยของวิปัสสนากรรมฐานนี่นะ คือทำยังไงเราจะเห็นความจริงของขันธ์ ๕ ของธาตุของขันธ์ ของอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รวมกันเป็นตัวเรา ธาตุต่างๆรวมกันก็เป็นตัวเรา ขันธ์ต่างๆรวมกันก็เป็นตัวเรา แล้วแต่จะมอง จะมองในมุมจะแยกสิ่งที่เรียกว่าตัวเราออกใ­นมุมของขันธ์ ๕ ก็ได้ จะแยกสิ่งที่เรียกว่าตัวเรา ออกในมุมของอายตนะ ๖ ก็ได้ จะแยกสิ่งที่เรียกว่าตัวเรา ออกเป็นธาตุ ๑๘ ธาตุก็ได้ ไม่ใช่ธาตุทางเคมี ธาตุเป็นสภาวะที่มันทรงตัวอยู่ได้ แยกออกไปแล้วมันจะเห็นว่าตัวเราไม่มี ความจริงเลยก็คือตัวเราไม่มีหรอก สิ่งที่เราคิดว่าเป็นตัวเรา เป็นตัวเรา นี่เป็นความคิดของเราเอง

เครื่องมือที่เราต้องพัฒนาอย่างน้อยที่สุดต้องมีสองตัวตัวที่หนึ่งชื่อสติตั...การปฎิบัติ คือรู้ท้นจิตที่ปรุงแต่ง . พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา..ถ้าเราภ­าวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะ­เลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่­รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื­่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้­อยเหลือเกิน

เราเดินอยู่บนขอบเหวแท้ๆเลย เหมือนเราไต่เชือกไต่อะไรอยู่ ประมาทไม่ได้เลยน...ถ้าเห็นอย่างมีวิชา ก็จะเห็นว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง เห็นยากนะ ถ้าสติ สมาธิ ปัญญา ไม่แก่กล้าพอ มันไม่เห็นขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ โดยเฉพาะจิตเนี่ย จิตผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้สงบ สะอาด สว่าง แหมฟังแล้วดีทั้งนั้นเลย ใช่มั้ย จะให้เห็นว่าเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ง่ายนะ ปฎิบัติกันปางตายเลยล่ะ เหมือนเอาชีวิตเข้าแลกเลยนะ ถึงจะเห็น เพราะฉะนั้นทะเลตัวนี้ ทะเลอวิชา เป็นทะเลที่เรียบๆนะ แต่ยากสุดๆเลย ยากมากเลย จับต้นจับปลายไม่ถูก นะ มีแต่เรียนรู้นะ มาตามลำดับๆ รู้กาย รู้ใจมาตามลำดับพอรู้กายถูกต้องแจ่มแจ้งได้พระอนาคาฯ จิตใจก็จะสบายขึ้นเยอะเลย จะไม่แส่ส่ายไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย จะเหลือแต่ความสงบสุขอยู่ภายใน เพลิดเพลินอยู่กับความสงบสุขภายในจิตในใจของเราเอง นี่เองต่อมาสติปัญญาแก่รอบลงมาอีก เห็นเลย ตัวจิตตัวใจที่ว่าสุขว่าสงบเนี่ย เอาเข้าจริงก็เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ ตัวนี้ไม่รู้ว่าจะพูดภาษามนุษย์ยังไงนะ ฟังเอาไว้ก็แล้วกัน มันเห็นเป็นทุกข์ล้วนๆเมื่อไหร่นะ มันจะทิ้งแล้ว จะวาง แต่ถ้ายังเห็นทุกข์บ้างสุขบ้าง มันไม่วางหรอก มันทุกข์ล้วนๆ โอ้ ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ ตัณหาจะดับทันทีเลย เมื่อมันเป็นทุกข์ล้วนๆแล้วจะอยากให้มันสุขได้อย่างไร นะ ของเรามีตัณหาขึ้นมาเพราะอยากให้ขันธ์ ๕ มีความสุข รู้สึกมั้ย อยากให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์แต่วันหนึ่งเรียนจนกระทั่งรู้ชัดเลย ขันธ์ ๕ นี่ทุกข์ล้วนๆน่ะ ไม่มีทางอยากให้มันมีความสุข ไม่มีทางอยากให้มันพ้นทุกข์อีกต่อไปแล้ว มันไม่สมหวัง มันทุกข์ล้วนๆ เนี่ย ใจเข้าถึงตรงนี้ ใจยอมรับตรงนี้จริงๆแล้วจะสลัดคืนเลย จะหมดตัณหาแล้วก็สลัดคืนความยึดถือกายความยึดถือใจให้โลก คืนเจ้าของเดิมนั้นเอง จิตใจก็จะเข้าถึงความสงบ สันติ ที่แท้จริง คือ นิโรธ หรือ นิพพาน บางทีก็มีหลายชื่อนะ อุปสมะ ก็ได้

ทัสนานุตริยะ การเห็นอันประเสริฐ สวนานุตริยะ การฟังอันประเสริฐถ้าเราภาวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้อยเหลือเกิน..ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา.

สำรวมจิตเป็นเหตุให้พ้นเครื่องผูกของมารถ้าเราภาวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้อยเหลือเกิน..ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา.

ก้าวเข้ายุคสู่สันติสุขและรุ่งเรืองเราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ไปพร้อมกันเราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกัน อัลวิน ทอฟเลอร์ (Alvin Toffler) นักวิชาการชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ คลื่นลูกที่สาม หรือ The Third Wave ได้เสนอทฤษฎีคลื่นลูกใหม่ 3 ลูก ในประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงระบบโลกจากอ­­ดีตมาสู่ปัจจุบัน โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีการ­­ผลิตของมนุษย์ในแต่ละยุคอันนำมาสู่ความเจ­ร­ิญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในปัจจุบัน ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคย่อมก­­่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยการแก้ปัญหาด้วยสติปัญญา การเข้าถึงข่าวสารข้อมูลรอบด้าน ความคิดสร้างสรรค์ และด้วยจิตสำนึกที่จะทำให้สังคมโลกดำรงอยู­­่ได้ต่อไปอย่างสันติ ยั่งยืน และสมดุลย์ http://320volt.com/multimetre-olcu-al... http://shaddack.twibright.com/project... http://www.opend.co.za/hardware/freqm... https://www.youtube.com/watch?v=qoczy...

มอเตอร์ไฟฟ้าจำหน่ายอะไหล่ อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ รุ่นใหม่ เช่น chip resister chip capacitor smd transistor smt transistor smd diode smd mosfet smd led Line id:pornpimon 1411 โทรศัพท์ 02-951-1356 081-803-6553 Email sompongindustrila@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

จิตหมดแรงดิ้นการปฎิบัติ คือรู้ท้นจิตที่ปรุงแต่ง . พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา..ถ้าเราภ­าวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะ­เลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่­รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื­่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้­อยเหลือเกิน

MITSUBISHI INTELLIGENT POWER MODULEPower module From Wikipedia, the free encyclopedia This article needs additional citations for verification. Please help improve this article by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed. (December 2009) (Learn how and when to remove this template message) High power IGBTs (here a 3300V, 1200A switch) are obtained by connecting tens of dies in parallel in a power module. Opended IGBT module; different semiconductor dice are connected via wire bonds while external connectors are connected to lead-frame structures A power module or power electronic module provides the physical containment for several power components, usually power semiconductor devices. These power semiconductors (so-called dies) are typically soldered or sintered on a power electronic substrate that carries the power semiconductors, provides electrical and thermal contact and electrical insulation where needed. Compared to discrete power semiconductors in plastic housings as TO-247 or TO-220, power packages provide a higher power density and are in many cases more reliable. Contents [hide] 1 Module Topologies 2 Electrical Interconnection Technologies 3 Current Research and Development 4 Applications 5 History 6 Manufacturers 7 See also 8 References 9 External links Module Topologies[edit] Besides modules that contain a single power electronic switch (as MOSFET, IGBT, BJT, Thyristor, GTO or JFET) or diode, classical power modules contain multiple semiconductor dies that are connected to form an electrical circuit of a certain structure, called topology. Examples of broadly available topologies implemented in modules are: switch (MOSFET, IGBT), with antiparallel Diode; bridge rectifier containing 4 (1-phase) or 6 (3-phase) diodes half bridge[1] (inverter leg, with two switches and their corresponding antiparallel diodes) three-phases inverter (six switches and the corresponding antiparallel diodes) Electrical Interconnection Technologies[edit] Additional to the traditional screw contacts the electrical connection between the module and other parts of the power electronic system can also be achieved by pin contacts (soldered onto a PCB), press-fit contacts pressed into PCB vias, spring contacts that inherently press on contact areas of a PCB or by pure pressure contact where corrosion-proof surface areas are directly pressed together.[2] Press-fit pins achieve a very high reliability and ease the mounting process without the need for soldering.[3] Compared to press-fit connections, spring contacts have the benefit of allowing easy and non-destructive removal of the connection several times, as for inspection or replacement of an module, for instance.[4] Both contact types have rather limited current-carrying capability due to their comparatively low cross-sectional area and small contact surface. Therefore, modules often contain multiple pins or springs for each of the electrical power connections. Current Research and Development[edit] The current focus in R&D is on cost reduction, increase of power density, increase of reliability and reduction of parasitic lumped elements. These parasitics are unwanted capacitances between circuit parts and inductances of circuit traces. Both can have negative effects on the electromagnetic radiation (EMR) of the module if it is operated as an inverter, for instance. Another problem connected to parasitics is their negative impact on the switching behavior and the switching loss of the power semiconductors. Therefore, manufacturers work on minimizing the parasitic elements of their modules while keeping cost low and maintain a high degree of interchangeability of their modules with those of a second source (other manufacturer). A further aspect for optimization is the so-called thermal path between the heat source (the dies) and the heat-sink. The heat has to pass through different physical layers as solder, DCB, baseplate, thermal interface material (TIM) and the bulk of the heat-sink, until it is transferred to a gaseous medium as air or a fluid medium as water or oil. Since modern silicon-carbide power semiconductors show a larger power density, the requirements for heat transfer are rising. Applications[edit] Power modules are widely found in inverters for renewable energies as wind turbines, solar power panels and tidal power plants. They are also heart of electric vehicles (EVs), power plants and industrial machines. History[edit] The first potential-free power module was introduced into the market by Semikron in 1975.[5] It is still in production, which gives an idea about the lifecycles of power modules. Manufacturers[edit] APEI Eltek Danfoss Infineon Mitsubishi Semikron Vincotech- [6] Dynex Semiconductor CREE AT&S See also[edit] Powerpack (drivetrain) Power-egg Prime mover References[edit] Jump up ^ http://www.vincotech.com/products/by-topologies.html Jump up ^ https://www.researchgate.net/publication/260424145_DCB-based_low-inductive_SiC_modules_for_high_frequency_operation Jump up ^ http://www.infineon.com/pressfit-product-information Jump up ^ http://www.semikron.com/dl/service-support/downloads/download/semikron-flyer-skim-2014-04-08.html Jump up ^ http://www.semikron.com/dl/service-support/downloads/download/semikron-application-manual-power-semiconductors-english-en-2010-11.pdf Jump up ^ http://www.vincotech.com Vincotech External links[edit] Wikimedia Commons has media related to IGBT. Semikron Application Manual Power Semiconductors: extensive information about power semiconductor application and power module technology Eltek Flatpack2 48V HE Example of Power module; a high efficiency rectifier

จำหน่าย power module แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่Power module From Wikipedia, the free encyclopedia This article needs additional citations for verification. Please help improve this article by adding citations to reliable sources. Unsourced material may be challenged and removed. (December 2009) (Learn how and when to remove this template message) High power IGBTs (here a 3300V, 1200A switch) are obtained by connecting tens of dies in parallel in a power module. Opended IGBT module; different semiconductor dice are connected via wire bonds while external connectors are connected to lead-frame structures A power module or power electronic module provides the physical containment for several power components, usually power semiconductor devices. These power semiconductors (so-called dies) are typically soldered or sintered on a power electronic substrate that carries the power semiconductors, provides electrical and thermal contact and electrical insulation where needed. Compared to discrete power semiconductors in plastic housings as TO-247 or TO-220, power packages provide a higher power density and are in many cases more reliable. Contents [hide] 1 Module Topologies 2 Electrical Interconnection Technologies 3 Current Research and Development 4 Applications 5 History 6 Manufacturers 7 See also 8 References 9 External links Module Topologies[edit] Besides modules that contain a single power electronic switch (as MOSFET, IGBT, BJT, Thyristor, GTO or JFET) or diode, classical power modules contain multiple semiconductor dies that are connected to form an electrical circuit of a certain structure, called topology. Examples of broadly available topologies implemented in modules are: switch (MOSFET, IGBT), with antiparallel Diode; bridge rectifier containing 4 (1-phase) or 6 (3-phase) diodes half bridge[1] (inverter leg, with two switches and their corresponding antiparallel diodes) three-phases inverter (six switches and the corresponding antiparallel diodes) Electrical Interconnection Technologies[edit] Additional to the traditional screw contacts the electrical connection between the module and other parts of the power electronic system can also be achieved by pin contacts (soldered onto a PCB), press-fit contacts pressed into PCB vias, spring contacts that inherently press on contact areas of a PCB or by pure pressure contact where corrosion-proof surface areas are directly pressed together.[2] Press-fit pins achieve a very high reliability and ease the mounting process without the need for soldering.[3] Compared to press-fit connections, spring contacts have the benefit of allowing easy and non-destructive removal of the connection several times, as for inspection or replacement of an module, for instance.[4] Both contact types have rather limited current-carrying capability due to their comparatively low cross-sectional area and small contact surface. Therefore, modules often contain multiple pins or springs for each of the electrical power connections. Current Research and Development[edit] The current focus in R&D is on cost reduction, increase of power density, increase of reliability and reduction of parasitic lumped elements. These parasitics are unwanted capacitances between circuit parts and inductances of circuit traces. Both can have negative effects on the electromagnetic radiation (EMR) of the module if it is operated as an inverter, for instance. Another problem connected to parasitics is their negative impact on the switching behavior and the switching loss of the power semiconductors. Therefore, manufacturers work on minimizing the parasitic elements of their modules while keeping cost low and maintain a high degree of interchangeability of their modules with those of a second source (other manufacturer). A further aspect for optimization is the so-called thermal path between the heat source (the dies) and the heat-sink. The heat has to pass through different physical layers as solder, DCB, baseplate, thermal interface material (TIM) and the bulk of the heat-sink, until it is transferred to a gaseous medium as air or a fluid medium as water or oil. Since modern silicon-carbide power semiconductors show a larger power density, the requirements for heat transfer are rising. Applications[edit] Power modules are widely found in inverters for renewable energies as wind turbines, solar power panels and tidal power plants. They are also heart of electric vehicles (EVs), power plants and industrial machines. History[edit] The first potential-free power module was introduced into the market by Semikron in 1975.[5] It is still in production, which gives an idea about the lifecycles of power modules. Manufacturers[edit] APEI Eltek Danfoss Infineon Mitsubishi Semikron Vincotech- [6] Dynex Semiconductor CREE AT&S See also[edit] Powerpack (drivetrain) Power-egg Prime mover References[edit] Jump up ^ http://www.vincotech.com/products/by-topologies.html Jump up ^ https://www.researchgate.net/publication/260424145_DCB-based_low-inductive_SiC_modules_for_high_frequency_operation Jump up ^ http://www.infineon.com/pressfit-product-information Jump up ^ http://www.semikron.com/dl/service-support/downloads/download/semikron-flyer-skim-2014-04-08.html Jump up ^ http://www.semikron.com/dl/service-support/downloads/download/semikron-application-manual-power-semiconductors-english-en-2010-11.pdf Jump up ^ http://www.vincotech.com Vincotech External links[edit] Wikimedia Commons has media related to IGBT. Semikron Application Manual Power Semiconductors: extensive information about power semiconductor application and power module technology Eltek Flatpack2 48V HE Example of Power module; a high efficiency rectifier

วันศุกร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ผลกระทบจากความฝันผลกระทบจากความคิดในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่­างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไปอยู่ในโลกของความคิดน­ั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะมันปรุงไม่เล­ิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป

การบรรลุธรรม การฟังธรรม การแสดงธรรม การสาธยายธรรม การพิจารณาธรรม การบรรลุธรรมหรือความหลุดพ้นดังที่พระพุทธ­เจ้าตรัสไว้ในวิมุตตายตนสูตรว่า การบรรลุธรรมมีได้ 5 ประการ อันเป็นเหตุให้หลุดพ้น ( วิมุตตายตนะ )ได้แก่ 1. การฟังธรรม 2. การแสดงธรรม 3. การสาธยายธรรม 4. การพิจารณาธรรม 5. การภาวนาหรือเจริญกรรมฐาน ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร.พระเถระได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าวตอบว่า พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษ­ีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้การ...

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระเถระได้ฟังดังนั้นแล้ว จึงได้กล่าวตอบว่า พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้. จบอธิมุตตเถรคาถา

วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ความจริงมีแต่ทุกข์เท่านั้นเองอานาปานสติสมาธิ อันภิกษุเจริญแล้ว กระทำให้มาก แล้ว พึงบรรลุจตุถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป ทางที่จิตดำเนินไปสู่ความหลุดพ้นเนี่ย มีสามช่องในขั้นสุดท้าย เบื้องต้นของเราเนี่ยนะ คอยรู้กายคอยรู้ใจไว้ พอรู้กายเต็มที่นะ มันจะปล่อยวางกาย มันจะย้อนทวนเข้าหาธาตุรู้ ตัวจิต พอรู้จิตเต็มที่เนี่ย ว่าเป็นอนิจจัง หรือเป็นทุกขัง หรือเป็นอนัตตา ในมุมใดมุมหนึ่งก็ปล่อยวางจิต พอปล่อยวางหมดทั้งกายหมดทั้งจิตนะ จิตใจก็จะพ้นจากความทุกข์จริงๆ พ้นจากขันธ์ นิพพานก็คือจิตมันพรากออกจากขันธ์ มันสำรอกออกจากขันธ์ หลุดออกจากขันธ์ได้ หมายเหตุ วิโมกข์ มี 3 อย่าง คือ สุญญตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา อนิมิตตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนิจจัง อัปปณิหิตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์ทุกขัง

พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตรวิโมกข์: ความพ้น พระอนาคามีนะ ศีลบริบูรณ์ สมาธิบริบูรณ์ มีปัญญาปานกลาง ปัญญาในขั้นกลาง คือรู้ว่าถ้าอยากถ้ายึดเมื่อไหร่ ก็ทุกข์เมื่อนั้น รู้ว่าตัณหาหรือสมุทัยเป็นเหตุให้เกิดทุกข์ ทีนี้ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่เมื่อทำมาถึงตรงนี้ จะรัก จะหวงแหนจิตผู้รู้นี้มากที่สุดเลย เพราะรู้ว่าถ้าเราอยู่กับตัวจิตผู้รู้เนี่ย ความทุกข์จะไม่ข้องแวะ เพราะฉะนั้นจิตจะมีอยู่สองชนิด คือจิตผู้รู้กับจิตผู้หลง จิตผู้รู้นี้มีแต่ความสุข จิตผู้หลงตามอารมณ์ตามกิเลสจะมีแต่ความทุกข์ จะรู้สึกว่ามีอยู่สองอย่าง เพราะฉะนั้นจะหวงแหนถนอมรักษาจิตผู้รู้นะ หวงที่สุด ส่วนมากผู้ปฎิบัติจะจบลงตรงนี้ ไปต่อไม่ได้แล้ว เพราะพอใจแล้ว คล้ายๆคนๆหนึ่งอยากจะเจอเหมืองทอง อยากได้เหมืองทองคำ เดินไปเจอเยาวราชนะ พอใจแล้ว ไม่ไปไหนแล้ว เฝ้ามันอยู่ตรงนี้ล่ะ ไม่ไปหาเหมืองแล้ว ผู้ปฏิบัติจำนวนมาก ก็จะหยุดอยู่ที่ตรงนี้ พอตายไปก็ไปอยู่ในภูมิพรหมโลก ไปเป็นพระพรหม แต่พรหมพวกนี้ไม่เป็นไรไม่ต้องกลับมาเกิดอีกแล้ว จะนิพพานในพรหมโลก ทีนี้ถ้าเราปฏิบัติต่อไปเนี่ย สติปัญญาจะบีบวงแคบเข้ามา เพราะจิตใจมันเด่นดวงขึ้นมาแล้ว มันไม่ได้ออกไปแส่ส่ายหาอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอกนะ ไม่ยุ่ง มีแต่จิตแต่ใจล้วนๆเลย พอจิตใจมันบีบวงเข้ามาอยู่ที่จิตที่ใจเนี่ย ถ้าสติปัญญาเพียงพอ ส่วนมากสติปัญญาไม่เพียงพอหรอก ต้องได้ยินได้ฟังคำสอนของพระพุทธเจ้า หรือว่าช่างสังเกต หรือมีครูบาอาจารย์บอกให้ ถ้าช่างสังเกตก็จะสังเกตได้เหมือนกัน ยกตัวอย่างครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง หลวงปู่มั่น ท่านสังเกตเอา ถ้าตรงนี้ยังนิ่งนอนใจไม่ได้ ยังอิงอาศัยจิตผู้รู้อยู่ นิ่งนอนใจไม่ได้ ยังไม่พ้นทุกข์จริง หรือเรา ถ้าพวกเราช่างสังเกต เราก็จะรู้ว่า จิตเรายังมีสองอย่างอยู่ มีจิตผู้รู้ที่มีความสุข กับจิตผู้หลงที่ไม่มีความสุข ตาบใดที่ยังมีสองยังไม่ใช่ของจริง จำไว้นะ ตราบใดที่ยังเป็นสองยังไม่ใช่ของจริงหรอก ยังหลงอยู่กับสุขกับทุกข์ กับดีกับชั่ว กับสงบฟุ้งซ่านกับภายในภายนอก หยาบละเอียด อะไรๆที่ยังเป็นคู่ๆเนี่ย งานยังไม่เสร็จแน่นอน ถ้างานเสร็จจะเป็นหนึ่งเดียวรวดเลย ฐีติจิต จิตก็เป็นหนึ่งนะ ฐีติธรรม ธรรมก็เป็นหนึ่ง คำที่หลวงปู่มั่นท่านใช้ ทีนี้ถ้าเราไม่นิ่งนอนใจ เราก็คอยรู้เท่าทันจิตใจของเราต่อไป เสร็จแล้วมันจะพ้นสติปัญญาเราไม่ได้หรอก ตัวผู้รู้เนี่ย บางท่านก็จะเห็นว่ามันไม่เที่ยง มันผ่องใสอยู่ ผ่องใสอยู่ทั้งวันทั้งคืนนะ ถึงจุดหนึ่งมันหมองได้ คือมันไม่เที่ยง บางท่านพอเห็นว่าไม่เที่ยงก็ปล่อยวางได้ อย่างนี้เรียกว่า เป็นประเภทหลุดพ้นที่เรียกว่า อนิมิตตวิโมกข์ เห็นแต่ว่าเกิดแล้วดับๆ ตัวผู้รู้ก็เกิดดับ บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป ทางที่จิตดำเนินไปสู่ความหลุดพ้นเนี่ย มีสามช่องในขั้นสุดท้าย เบื้องต้นของเราเนี่ยนะ คอยรู้กายคอยรู้ใจไว้ พอรู้กายเต็มที่นะ มันจะปล่อยวางกาย มันจะย้อนทวนเข้าหาธาตุรู้ ตัวจิต พอรู้จิตเต็มที่เนี่ย ว่าเป็นอนิจจัง หรือเป็นทุกขัง หรือเป็นอนัตตา ในมุมใดมุมหนึ่งก็ปล่อยวางจิต พอปล่อยวางหมดทั้งกายหมดทั้งจิตนะ จิตใจก็จะพ้นจากความทุกข์จริงๆ พ้นจากขันธ์ นิพพานก็คือจิตมันพรากออกจากขันธ์ มันสำรอกออกจากขันธ์ หลุดออกจากขันธ์ได้ หมายเหตุ วิโมกข์ มี 3 อย่าง คือ สุญญตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนัตตา อนิมิตตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์คืออนิจจัง อัปปณิหิตวิโมกข์ ความพ้นที่เกิดจากปัญญาพิจารณาเห็นไตรลักษณ์ทุกขัง

พระโยคาวจรดูก่อนสารีบุตร ในครั้งนั้น เราเป็นพระโพธิสัตว์ ชื่อว่าแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เพราะแสวงหาโพธิสมภารมีทานบารมีเป็นต้นใหญ่โดยวิธีนี้ได้ประพฤติปฏิบัติมาแล้ว เหมือนอย่างที่แสดงแก่เธอในบัดนี้แหละ. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงถึงประโยชน์ที่พระองค์ทรงบำเพ็ญบารมี ทรงกระทำทุกรกิริยาของพระองค์ทั้งที่กล่าวแล้ว และยังไม่ได้กล่าวในที่นี้ อันเป็นไปตลอดกาลนาน ด้วยการบำเพ็ญบารมีให้บริบูรณ์รวมเป็นอันเดียวกัน โดยสังเขปเท่านั้น จึงตรัสคาถานี้ว่า :- เราได้เสวยทุกข์และสมบัติมากมายหลาย อย่าง ในภพน้อยภพใหญ่ ตามนัยที่กล่าวแล้วนี้ แล้วจึงได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. ในบทเหล่านั้น บทว่า เอวํ คือ โดยนัยดังกล่าวแล้วนี้. บทว่า พหุวิธํ ทุกฺขํ คือ ทุกข์หลายอย่างหลายประการ เพราะอาหารมีใบหมากเม่าเป็นต้น เมื่อครั้งเป็นอกิตติบัณฑิตเป็นต้น และด้วยการอดอาหารเป็นต้น เพราะให้ใบหมากเม่านั้นแก่ยาจก. อนึ่ง เมื่อครั้งเป็นพระเจ้ากุรุเป็นต้น สมบัติมีหลายอย่างเช่นกับสมบัติของท้าวสักกะ. บทว่า ภวาภเว คือ ภพน้อยภพใหญ่ หรือเสวยความเจริญและความเสื่อม ในภพน้อยภพใหญ่ ไม่เดือดร้อนด้วยทุกข์หลายอย่าง ไม่ถูกฉุดคร่าด้วยสมบัติหลายอย่าง เป็นผู้ขวนขวายในการบำเพ็ญบารมี ปฏิบัติข้อปฏิบัติอันสมควรแก่บารมีนั้น บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอย่างสูงสุด คือพระสัพพัญญุตญาณ. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงถึงความที่บารมีที่พระองค์ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาสิ้นกาลนาน เพื่อให้บริบูรณ์ให้เต็มเปี่ยมโดยไม่มีเหลือ และความที่ผลที่ควรบรรลุ พระองค์ได้บรรลุแล้ว จึงตรัสคาถามีอาทิว่า :- เราได้ให้ทานอันควรให้ บำเพ็ญศีลโดยหา เศษมิได้ ถึงเนกขัมมบารมีแล้วจึงบรรลุสัมโพธิญาณ อันสูงสุด. เราสอบถามบัณฑิตทั้งหลาย ทำความ เพียรอยู่อย่างอุกฤษฏ์ อย่างถึงขันติบารมีแล้ว จึง บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. เราทำอธิษฐานอย่าง มั่น ตามรักษาสัจวาจา ถึงเมตตาบารมีแล้ว จึงบรรลุ สัมโพธิญาณอันสูงสุด. เราเป็นผู้มีจิตเสมอในลาภ และเสื่อมลาภ ในยศและเสื่อมยศ ในความนับถือ และการดูหมิ่นทั้งปวง แล้วจึงบรรลุสัมโพธิญาณอัน สูงสุด. ในบทเหล่านั้น บทว่า ทตฺวา ทาตพฺพกํ ทานํ ความว่า ในกาลนั้น เราได้สละไทยธรรมมีราชสมบัติเป็นต้นในภายนอก อวัยวะและตาเป็นต้นในภายใน ที่พระโพธิสัตว์ผู้ปฏิบัติปฏิปทาอันเป็นยานเลิศ เพื่อบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ จากนั้นได้บริจาคทานมีประเภทเป็นทานบารมี ทานอุปบารมีและทานปรมัตถบารมี มีการบริจาคใหญ่ ๕ อย่างเป็นที่สุด คือบริจาคราชสมบัติ ๑ บริจาคอวัยวะ ๑ บริจาคนัยน์ตา ๑ บริจาคบุตรภรรยา ๑ บริจาคตน ๑ โดยไม่มีเหลือ. ไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาบุรุษบำเพ็ญทานบารมี ในกาลที่แล้วมา ในจริยานี้มีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นอกิตติพราหมณ์ ในกาลเป็นสังขพราหมณ์ แม้ในกาลที่มิได้มามีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นวิสัยหเศรษฐี ในกาลเป็นเวลามพราหมณ์. ทานบารมีของพระโพธิสัตว์ ครั้งเป็นสสบัณฑิต สละตนอย่างนี้ว่า :- เราเห็นยาจกเข้าไปขออาหาร จึงสละตน ของตน ผู้เสมอด้วยทานของเราไม่มี นี้คือทาน- บารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนั้น พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า ความว่า อันผู้บำเพ็ญศีลของพระโพธิสัตว์ มีอาทิอย่างนี้ คือสำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมทั้งกายวาจา สำรวมอินทรีย์ รู้จักประมาณในกาลบริโภค มีอาชีพบริสุทธิ์ ควรบำเพ็ญบารมี อันมีประเภทเป็นศีลบารมี ศีลอุปบารมี ศีลปรมัตถบารมี ยังศีลทั้งปวงให้บริบูรณ์ คือให้ถึงพร้อมด้วยชอบ โดยไม่มีส่วนเหลือ. แม้ในที่นี้ก็ไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญศีลบารมี ในกาลที่มาแล้วในจริยานี้มีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นศีลวนาคราช ในกาลเป็นจัมเปยยนาคราช และในกาลที่มิได้มามีอาทิอย่างนี้ว่า ในกาลเป็นมหาวานร ในกาลเป็นช้างฉัททันตะ. ศีลบารมีของพระโพธิสัตว์ ครั้งเป็นสังขปาละ สละตนอย่างนี้ว่า :- เราไม่โกรธเคืองพวกบุตรพราน แม้จะ แทงด้วยหลาว แม้จะทิ่มด้วยหอก นี้เป็นศีล- บารมีของเรา ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนี้ พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า เนกฺขมฺเม ปารมึ คนฺตฺวา คือถึงบารมีในการออกบวชครั้งใหญ่ ๓ อย่างอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์สละราชสมบัติยิ่งใหญ่ แล้วบำเพ็ญเนกขัมมบารมี ในกาลที่มาแล้วในจริยานี้อย่างนี้ คือ ในกาลเป็นยุธัญชยบัณฑิต ในกาลเป็นโสมนัสกุมาร และที่มิได้คือในกาลมีอาทิอย่างนี้ ในกาลเป็นหัตถิปาลกุมาร ในกาลเป็นมฆเทวะ. อนึ่ง เนกขัมมบารมีของพระมหาสัตว์นั้นผู้สละราชสมบัติออกบวช เพราะไม่เกี่ยวข้องอย่างนี้ว่า :- เราสละราชสมบัติอันใหญ่หลวงที่อยู่ใน เงื้อมมือ ดุจถ่มก้อนน้ำลาย เมื่อเราสละก็ไม่ เกี่ยวข้อง นี้เป็นเนกขัมมบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนี้ พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า ปณฺฑิเต ปริปุจฺฉิตฺวา ความว่า เราสอบถามถึงการจำแนกธรรมมีกุศลเป็นต้นด้วยนัยมีอาทิว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไรมีโทษ อะไรไม่มีโทษ การจำแนกกรรมและผลของกรรม กรรมศิลปะวิชาอันไม่มีโทษ อันนำมาซึ่งอุปการะแก่สัตว์ทั้งหลาย กะบัณฑิตผู้มีปัญญา. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงถึงปัญญาบารมี. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญปัญญาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นวิธูรบัณฑิต ในกาลเป็นมหาโควินทบัณฑิต ในกาลเป็นกุททาลบัณฑิต ในกาลเป็นอรกบัณฑิต ในกาลเป็นโพธิปริพาชก ในกาลเป็นมโหสถบัณฑิต. อนึ่ง ปัญญาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นผู้แสดงถึงงูที่อยู่ภายในกระสอบว่า :- เราค้นหาด้วยปัญญา ปลดเปลื้องพราหมณ์ จากทุกข์. ผู้เสมอด้วยปัญญาของเราไม่มี นี้เป็น ปัญญาบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า วีริยํ กตฺวาน อุตฺตมํ คือกระทำวีริยบารมีหลายอย่างให้เกิด คือปธานะ วีริยะอันสูงสุดเพราะสามารถให้ถึงสัมมาสัมโพธิญาณได้. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญวีริยบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นมหาศีลวราช ในกาลเป็นปัญจาวุธกุมาร ในกาลเป็นพระยามหาวานร. อนึ่ง วีริยบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นครั้งเป็นพระมหาชนกข้ามมหาสมุทร อย่างนี้ว่า:- เราอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร มองไม่เห็นฝั่ง พวกมนุษย์ทั้งหลายพากันตายหมดแล้ว เราไม่มี จิตเป็นอย่างอื่น นี้เป็นวีริยบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า ขนฺติยา ปารมึ คนฺตฺวา ความว่า เราบรรลุถึงอธิวาสนขันติเป็นต้น อันมีสภาพเป็นขันติชั้นอุกฤษฏ์อย่างยอดเยี่ยม ถึงขันติบารมีชั้นยอด. อธิบายว่า ยังขันติบารมีให้สมบูรณ์. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญขันติบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นพระยาวานร ในกาลเป็นพระยากระบือ ในกาลเป็นรุรุมิคราช ในกาลเป็นธรรมเทพบุตร. อนึ่ง ขันติบารมีของพระมหาสัตว์นั้น ครั้งเป็นขันติวาทีดาบสเสวยทุกข์ใหญ่ ดุจไม่มีจิตใจอย่างนี้ว่า :- เราไม่โกรธพระราชากาสี ผู้โบยเราด้วย ขวานอันคม เหมือนเราไม่มีจิตใจ. นี้เป็นขันติ- บารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า กตฺวา ทฬฺหมธิฏฺฐานํ ความว่า เราทำอธิษฐานสมาทานกุศลอธิษฐานสมาทานบารมีนั้นๆ และสมาทานธรรมเป็นอุปการะแก่บารมีนั้นให้มั่นไม่ให้หย่อน. อธิบายว่า อธิษฐานสมาทานข้อปฏิบัตินั้นๆ โดยไม่มีการกลับกลอก. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณแห่งอัตภาพของพระมหาสัตว์ผู้บำเพ็ญอธิษฐานบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นโชติปาละ ในกาลเป็นสรภังคะ ในกาลเป็นพระเนมิ. อธิษฐานบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นครั้งเป็นพระเตมิยกุมาร อธิษฐานพรตสละชีวิตอย่างนี้ว่า :- เราไม่เกลียดชังพระมารดาและพระบิดา เราไม่เกลียดตัวเรา. พระสัพพัญญุตญาณเป็น ที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงอธิษฐานพรต. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า สจฺจวาจานุรกฺขิย ความว่า เราตามรักษาสัจวาจา รังเกียจโวหารที่ไม่เป็นอริยะ แม้ในเวลามีอันตรายถึงชีวิต ก็คงรักษาไว้ คือรักษาคำพูดที่ไม่ผิดปกติโดยประการทั้งปวง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระมหาสัตว์ที่บำเพ็ญสัจบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้คือ ในกาลเป็นพระยาวานร ในกาลเป็นสัจจดาบส ในกาลเป็นพระยาปลา. อนึ่ง สัจบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นมหาสุตโสม สละชีวิตตามรักษาคำสัตย์อย่างนี้ว่า :- เราตามรักษาสัจวาจา สละชีวิตของเรา ให้โปริสาทปลดปล่อยกษัตริย์ ๑๐๑. นี้เป็น สัจบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า เมตฺตาย ปารมึ คนฺตฺวา ความว่า เราถึงเมตตาบารมีอันมีลักษณะนำสิ่งเป็นประโยชน์ในสรรพสัตว์โดยไม่เจาะจง อันเป็นบารมีชั้นอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระโพธิสัตว์ที่บำเพ็ญเมตตาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นจูฬธรรมปาละ ในกาลเป็นมหาสีลวราช. ในกาลเป็นสามบัณฑิต. อนึ่ง เมตตาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นสุวรรณสาม แผ่เมตตาไม่เหลียวแลแม้ชีวิตอย่างนี้ว่า :- ใครๆ ไม่สะดุ้งหวาดกลัวเรา แม้เราก็ ไม่กลัวใครๆ. อันกำลังแห่งเมตตาอุปถัมภ์ไว้ เราจึงยินดีในป่าใหญ่ ในกาลนั้น. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า สมฺมานนาวมานเน ความว่า เรามีจิตเสมอไม่ผิดปกติ ในการนับถือด้วยการบูชาสักการะเป็นต้น โดยเคารพ ในการดูหมิ่นด้วยการถ่มน้ำลายเป็นต้น และในโลกธรรมทั้งปวง ได้บรรลุพระสัพพัญญุตญาณอันยอดเยี่ยมสูงสุด. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณแห่งอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญอุเบกขาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นพระยามหาวานร ในกาลเป็นพระเจ้ากาสี ในกาลเป็นเขมพราหมณ์ ในกาลเป็นอัฐิเสนปริพาชก. อนึ่ง อุเบกขาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นมหาโลมหังสะแม้เมื่อเด็กชาวบ้านทำให้เกิดสุขและทุกข์ ด้วยการถ่มน้ำลายเป็นต้น และด้วยการนำดอกไม้ของหอมเป็นต้น เข้าไปก็ไม่ละเลยอุเบกขาอย่างนี้ว่า :- เรานอนอยู่ในป่าช้า เอาซากศพอันมีแต่กระดูก ทำเป็นหมอนหนุน. เด็กชาวบ้านพวกหนึ่งพากันเข้า ไปทำความหยาบช้าร้ายกาจนานัปการ. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ด้วยประการฉะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสถึงการบำเพ็ญทุกรกิริยาที่พระองค์ทรงทำแล้วในภัทรกัปนี้ เพื่อบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณโดยสังเขปว่า :- เราได้เสวยทุกข์และสมบัติมากมายหลายอย่าง ในภพน้อยและภพใหญ่ตามนัยที่กล่าวแล้วนี้ แล้วจึง ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. แล้วทรงแสดงบารมี ๑๐ ที่พระองค์ทรงบำเพ็ญแล้วโดยชอบอีกว่า :- ทตฺวา ทาตพฺพกํ ทานํ ฯลฯ ปตฺโต สมฺโพธิมุตฺตมํ เราให้ทานที่ควรให้ ฯลฯ บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด.

ทางแยกไปพุทธภูมิดูก่อนสารีบุตร ในครั้งนั้น เราเป็นพระโพธิสัตว์ ชื่อว่าแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เพราะแสวงหาโพธิสมภารมีทานบารมีเป็นต้นใหญ่โดยวิธีนี้ได้ประพฤติปฏิบัติมาแล้ว เหมือนอย่างที่แสดงแก่เธอในบัดนี้แหละ. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงถึงประโยชน์ที่พระองค์ทรงบำเพ็ญบารมี ทรงกระทำทุกรกิริยาของพระองค์ทั้งที่กล่าวแล้ว และยังไม่ได้กล่าวในที่นี้ อันเป็นไปตลอดกาลนาน ด้วยการบำเพ็ญบารมีให้บริบูรณ์รวมเป็นอันเดียวกัน โดยสังเขปเท่านั้น จึงตรัสคาถานี้ว่า :- เราได้เสวยทุกข์และสมบัติมากมายหลาย อย่าง ในภพน้อยภพใหญ่ ตามนัยที่กล่าวแล้วนี้ แล้วจึงได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. ในบทเหล่านั้น บทว่า เอวํ คือ โดยนัยดังกล่าวแล้วนี้. บทว่า พหุวิธํ ทุกฺขํ คือ ทุกข์หลายอย่างหลายประการ เพราะอาหารมีใบหมากเม่าเป็นต้น เมื่อครั้งเป็นอกิตติบัณฑิตเป็นต้น และด้วยการอดอาหารเป็นต้น เพราะให้ใบหมากเม่านั้นแก่ยาจก. อนึ่ง เมื่อครั้งเป็นพระเจ้ากุรุเป็นต้น สมบัติมีหลายอย่างเช่นกับสมบัติของท้าวสักกะ. บทว่า ภวาภเว คือ ภพน้อยภพใหญ่ หรือเสวยความเจริญและความเสื่อม ในภพน้อยภพใหญ่ ไม่เดือดร้อนด้วยทุกข์หลายอย่าง ไม่ถูกฉุดคร่าด้วยสมบัติหลายอย่าง เป็นผู้ขวนขวายในการบำเพ็ญบารมี ปฏิบัติข้อปฏิบัติอันสมควรแก่บารมีนั้น บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอย่างสูงสุด คือพระสัพพัญญุตญาณ. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงถึงความที่บารมีที่พระองค์ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาสิ้นกาลนาน เพื่อให้บริบูรณ์ให้เต็มเปี่ยมโดยไม่มีเหลือ และความที่ผลที่ควรบรรลุ พระองค์ได้บรรลุแล้ว จึงตรัสคาถามีอาทิว่า :- เราได้ให้ทานอันควรให้ บำเพ็ญศีลโดยหา เศษมิได้ ถึงเนกขัมมบารมีแล้วจึงบรรลุสัมโพธิญาณ อันสูงสุด. เราสอบถามบัณฑิตทั้งหลาย ทำความ เพียรอยู่อย่างอุกฤษฏ์ อย่างถึงขันติบารมีแล้ว จึง บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. เราทำอธิษฐานอย่าง มั่น ตามรักษาสัจวาจา ถึงเมตตาบารมีแล้ว จึงบรรลุ สัมโพธิญาณอันสูงสุด. เราเป็นผู้มีจิตเสมอในลาภ และเสื่อมลาภ ในยศและเสื่อมยศ ในความนับถือ และการดูหมิ่นทั้งปวง แล้วจึงบรรลุสัมโพธิญาณอัน สูงสุด. ในบทเหล่านั้น บทว่า ทตฺวา ทาตพฺพกํ ทานํ ความว่า ในกาลนั้น เราได้สละไทยธรรมมีราชสมบัติเป็นต้นในภายนอก อวัยวะและตาเป็นต้นในภายใน ที่พระโพธิสัตว์ผู้ปฏิบัติปฏิปทาอันเป็นยานเลิศ เพื่อบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ จากนั้นได้บริจาคทานมีประเภทเป็นทานบารมี ทานอุปบารมีและทานปรมัตถบารมี มีการบริจาคใหญ่ ๕ อย่างเป็นที่สุด คือบริจาคราชสมบัติ ๑ บริจาคอวัยวะ ๑ บริจาคนัยน์ตา ๑ บริจาคบุตรภรรยา ๑ บริจาคตน ๑ โดยไม่มีเหลือ. ไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาบุรุษบำเพ็ญทานบารมี ในกาลที่แล้วมา ในจริยานี้มีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นอกิตติพราหมณ์ ในกาลเป็นสังขพราหมณ์ แม้ในกาลที่มิได้มามีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นวิสัยหเศรษฐี ในกาลเป็นเวลามพราหมณ์. ทานบารมีของพระโพธิสัตว์ ครั้งเป็นสสบัณฑิต สละตนอย่างนี้ว่า :- เราเห็นยาจกเข้าไปขออาหาร จึงสละตน ของตน ผู้เสมอด้วยทานของเราไม่มี นี้คือทาน- บารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนั้น พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า ความว่า อันผู้บำเพ็ญศีลของพระโพธิสัตว์ มีอาทิอย่างนี้ คือสำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมทั้งกายวาจา สำรวมอินทรีย์ รู้จักประมาณในกาลบริโภค มีอาชีพบริสุทธิ์ ควรบำเพ็ญบารมี อันมีประเภทเป็นศีลบารมี ศีลอุปบารมี ศีลปรมัตถบารมี ยังศีลทั้งปวงให้บริบูรณ์ คือให้ถึงพร้อมด้วยชอบ โดยไม่มีส่วนเหลือ. แม้ในที่นี้ก็ไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญศีลบารมี ในกาลที่มาแล้วในจริยานี้มีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นศีลวนาคราช ในกาลเป็นจัมเปยยนาคราช และในกาลที่มิได้มามีอาทิอย่างนี้ว่า ในกาลเป็นมหาวานร ในกาลเป็นช้างฉัททันตะ. ศีลบารมีของพระโพธิสัตว์ ครั้งเป็นสังขปาละ สละตนอย่างนี้ว่า :- เราไม่โกรธเคืองพวกบุตรพราน แม้จะ แทงด้วยหลาว แม้จะทิ่มด้วยหอก นี้เป็นศีล- บารมีของเรา ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนี้ พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า เนกฺขมฺเม ปารมึ คนฺตฺวา คือถึงบารมีในการออกบวชครั้งใหญ่ ๓ อย่างอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์สละราชสมบัติยิ่งใหญ่ แล้วบำเพ็ญเนกขัมมบารมี ในกาลที่มาแล้วในจริยานี้อย่างนี้ คือ ในกาลเป็นยุธัญชยบัณฑิต ในกาลเป็นโสมนัสกุมาร และที่มิได้คือในกาลมีอาทิอย่างนี้ ในกาลเป็นหัตถิปาลกุมาร ในกาลเป็นมฆเทวะ. อนึ่ง เนกขัมมบารมีของพระมหาสัตว์นั้นผู้สละราชสมบัติออกบวช เพราะไม่เกี่ยวข้องอย่างนี้ว่า :- เราสละราชสมบัติอันใหญ่หลวงที่อยู่ใน เงื้อมมือ ดุจถ่มก้อนน้ำลาย เมื่อเราสละก็ไม่ เกี่ยวข้อง นี้เป็นเนกขัมมบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนี้ พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า ปณฺฑิเต ปริปุจฺฉิตฺวา ความว่า เราสอบถามถึงการจำแนกธรรมมีกุศลเป็นต้นด้วยนัยมีอาทิว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไรมีโทษ อะไรไม่มีโทษ การจำแนกกรรมและผลของกรรม กรรมศิลปะวิชาอันไม่มีโทษ อันนำมาซึ่งอุปการะแก่สัตว์ทั้งหลาย กะบัณฑิตผู้มีปัญญา. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงถึงปัญญาบารมี. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญปัญญาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นวิธูรบัณฑิต ในกาลเป็นมหาโควินทบัณฑิต ในกาลเป็นกุททาลบัณฑิต ในกาลเป็นอรกบัณฑิต ในกาลเป็นโพธิปริพาชก ในกาลเป็นมโหสถบัณฑิต. อนึ่ง ปัญญาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นผู้แสดงถึงงูที่อยู่ภายในกระสอบว่า :- เราค้นหาด้วยปัญญา ปลดเปลื้องพราหมณ์ จากทุกข์. ผู้เสมอด้วยปัญญาของเราไม่มี นี้เป็น ปัญญาบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า วีริยํ กตฺวาน อุตฺตมํ คือกระทำวีริยบารมีหลายอย่างให้เกิด คือปธานะ วีริยะอันสูงสุดเพราะสามารถให้ถึงสัมมาสัมโพธิญาณได้. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญวีริยบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นมหาศีลวราช ในกาลเป็นปัญจาวุธกุมาร ในกาลเป็นพระยามหาวานร. อนึ่ง วีริยบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นครั้งเป็นพระมหาชนกข้ามมหาสมุทร อย่างนี้ว่า:- เราอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร มองไม่เห็นฝั่ง พวกมนุษย์ทั้งหลายพากันตายหมดแล้ว เราไม่มี จิตเป็นอย่างอื่น นี้เป็นวีริยบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า ขนฺติยา ปารมึ คนฺตฺวา ความว่า เราบรรลุถึงอธิวาสนขันติเป็นต้น อันมีสภาพเป็นขันติชั้นอุกฤษฏ์อย่างยอดเยี่ยม ถึงขันติบารมีชั้นยอด. อธิบายว่า ยังขันติบารมีให้สมบูรณ์. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญขันติบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นพระยาวานร ในกาลเป็นพระยากระบือ ในกาลเป็นรุรุมิคราช ในกาลเป็นธรรมเทพบุตร. อนึ่ง ขันติบารมีของพระมหาสัตว์นั้น ครั้งเป็นขันติวาทีดาบสเสวยทุกข์ใหญ่ ดุจไม่มีจิตใจอย่างนี้ว่า :- เราไม่โกรธพระราชากาสี ผู้โบยเราด้วย ขวานอันคม เหมือนเราไม่มีจิตใจ. นี้เป็นขันติ- บารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า กตฺวา ทฬฺหมธิฏฺฐานํ ความว่า เราทำอธิษฐานสมาทานกุศลอธิษฐานสมาทานบารมีนั้นๆ และสมาทานธรรมเป็นอุปการะแก่บารมีนั้นให้มั่นไม่ให้หย่อน. อธิบายว่า อธิษฐานสมาทานข้อปฏิบัตินั้นๆ โดยไม่มีการกลับกลอก. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณแห่งอัตภาพของพระมหาสัตว์ผู้บำเพ็ญอธิษฐานบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นโชติปาละ ในกาลเป็นสรภังคะ ในกาลเป็นพระเนมิ. อธิษฐานบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นครั้งเป็นพระเตมิยกุมาร อธิษฐานพรตสละชีวิตอย่างนี้ว่า :- เราไม่เกลียดชังพระมารดาและพระบิดา เราไม่เกลียดตัวเรา. พระสัพพัญญุตญาณเป็น ที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงอธิษฐานพรต. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า สจฺจวาจานุรกฺขิย ความว่า เราตามรักษาสัจวาจา รังเกียจโวหารที่ไม่เป็นอริยะ แม้ในเวลามีอันตรายถึงชีวิต ก็คงรักษาไว้ คือรักษาคำพูดที่ไม่ผิดปกติโดยประการทั้งปวง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระมหาสัตว์ที่บำเพ็ญสัจบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้คือ ในกาลเป็นพระยาวานร ในกาลเป็นสัจจดาบส ในกาลเป็นพระยาปลา. อนึ่ง สัจบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นมหาสุตโสม สละชีวิตตามรักษาคำสัตย์อย่างนี้ว่า :- เราตามรักษาสัจวาจา สละชีวิตของเรา ให้โปริสาทปลดปล่อยกษัตริย์ ๑๐๑. นี้เป็น สัจบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า เมตฺตาย ปารมึ คนฺตฺวา ความว่า เราถึงเมตตาบารมีอันมีลักษณะนำสิ่งเป็นประโยชน์ในสรรพสัตว์โดยไม่เจาะจง อันเป็นบารมีชั้นอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระโพธิสัตว์ที่บำเพ็ญเมตตาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นจูฬธรรมปาละ ในกาลเป็นมหาสีลวราช. ในกาลเป็นสามบัณฑิต. อนึ่ง เมตตาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นสุวรรณสาม แผ่เมตตาไม่เหลียวแลแม้ชีวิตอย่างนี้ว่า :- ใครๆ ไม่สะดุ้งหวาดกลัวเรา แม้เราก็ ไม่กลัวใครๆ. อันกำลังแห่งเมตตาอุปถัมภ์ไว้ เราจึงยินดีในป่าใหญ่ ในกาลนั้น. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า สมฺมานนาวมานเน ความว่า เรามีจิตเสมอไม่ผิดปกติ ในการนับถือด้วยการบูชาสักการะเป็นต้น โดยเคารพ ในการดูหมิ่นด้วยการถ่มน้ำลายเป็นต้น และในโลกธรรมทั้งปวง ได้บรรลุพระสัพพัญญุตญาณอันยอดเยี่ยมสูงสุด. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณแห่งอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญอุเบกขาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นพระยามหาวานร ในกาลเป็นพระเจ้ากาสี ในกาลเป็นเขมพราหมณ์ ในกาลเป็นอัฐิเสนปริพาชก. อนึ่ง อุเบกขาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นมหาโลมหังสะแม้เมื่อเด็กชาวบ้านทำให้เกิดสุขและทุกข์ ด้วยการถ่มน้ำลายเป็นต้น และด้วยการนำดอกไม้ของหอมเป็นต้น เข้าไปก็ไม่ละเลยอุเบกขาอย่างนี้ว่า :- เรานอนอยู่ในป่าช้า เอาซากศพอันมีแต่กระดูก ทำเป็นหมอนหนุน. เด็กชาวบ้านพวกหนึ่งพากันเข้า ไปทำความหยาบช้าร้ายกาจนานัปการ. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ด้วยประการฉะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสถึงการบำเพ็ญทุกรกิริยาที่พระองค์ทรงทำแล้วในภัทรกัปนี้ เพื่อบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณโดยสังเขปว่า :- เราได้เสวยทุกข์และสมบัติมากมายหลายอย่าง ในภพน้อยและภพใหญ่ตามนัยที่กล่าวแล้วนี้ แล้วจึง ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. แล้วทรงแสดงบารมี ๑๐ ที่พระองค์ทรงบำเพ็ญแล้วโดยชอบอีกว่า :- ทตฺวา ทาตพฺพกํ ทานํ ฯลฯ ปตฺโต สมฺโพธิมุตฺตมํ เราให้ทานที่ควรให้ ฯลฯ บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด.

มุ่งสู่พุทธภูมิดูก่อนสารีบุตร ในครั้งนั้น เราเป็นพระโพธิสัตว์ ชื่อว่าแสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่ เพราะแสวงหาโพธิสมภารมีทานบารมีเป็นต้นใหญ่โดยวิธีนี้ได้ประพฤติปฏิบัติมาแล้ว เหมือนอย่างที่แสดงแก่เธอในบัดนี้แหละ. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงถึงประโยชน์ที่พระองค์ทรงบำเพ็ญบารมี ทรงกระทำทุกรกิริยาของพระองค์ทั้งที่กล่าวแล้ว และยังไม่ได้กล่าวในที่นี้ อันเป็นไปตลอดกาลนาน ด้วยการบำเพ็ญบารมีให้บริบูรณ์รวมเป็นอันเดียวกัน โดยสังเขปเท่านั้น จึงตรัสคาถานี้ว่า :- เราได้เสวยทุกข์และสมบัติมากมายหลาย อย่าง ในภพน้อยภพใหญ่ ตามนัยที่กล่าวแล้วนี้ แล้วจึงได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. ในบทเหล่านั้น บทว่า เอวํ คือ โดยนัยดังกล่าวแล้วนี้. บทว่า พหุวิธํ ทุกฺขํ คือ ทุกข์หลายอย่างหลายประการ เพราะอาหารมีใบหมากเม่าเป็นต้น เมื่อครั้งเป็นอกิตติบัณฑิตเป็นต้น และด้วยการอดอาหารเป็นต้น เพราะให้ใบหมากเม่านั้นแก่ยาจก. อนึ่ง เมื่อครั้งเป็นพระเจ้ากุรุเป็นต้น สมบัติมีหลายอย่างเช่นกับสมบัติของท้าวสักกะ. บทว่า ภวาภเว คือ ภพน้อยภพใหญ่ หรือเสวยความเจริญและความเสื่อม ในภพน้อยภพใหญ่ ไม่เดือดร้อนด้วยทุกข์หลายอย่าง ไม่ถูกฉุดคร่าด้วยสมบัติหลายอย่าง เป็นผู้ขวนขวายในการบำเพ็ญบารมี ปฏิบัติข้อปฏิบัติอันสมควรแก่บารมีนั้น บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณอย่างสูงสุด คือพระสัพพัญญุตญาณ. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้า เพื่อทรงแสดงถึงความที่บารมีที่พระองค์ทรงบำเพ็ญทุกรกิริยาสิ้นกาลนาน เพื่อให้บริบูรณ์ให้เต็มเปี่ยมโดยไม่มีเหลือ และความที่ผลที่ควรบรรลุ พระองค์ได้บรรลุแล้ว จึงตรัสคาถามีอาทิว่า :- เราได้ให้ทานอันควรให้ บำเพ็ญศีลโดยหา เศษมิได้ ถึงเนกขัมมบารมีแล้วจึงบรรลุสัมโพธิญาณ อันสูงสุด. เราสอบถามบัณฑิตทั้งหลาย ทำความ เพียรอยู่อย่างอุกฤษฏ์ อย่างถึงขันติบารมีแล้ว จึง บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. เราทำอธิษฐานอย่าง มั่น ตามรักษาสัจวาจา ถึงเมตตาบารมีแล้ว จึงบรรลุ สัมโพธิญาณอันสูงสุด. เราเป็นผู้มีจิตเสมอในลาภ และเสื่อมลาภ ในยศและเสื่อมยศ ในความนับถือ และการดูหมิ่นทั้งปวง แล้วจึงบรรลุสัมโพธิญาณอัน สูงสุด. ในบทเหล่านั้น บทว่า ทตฺวา ทาตพฺพกํ ทานํ ความว่า ในกาลนั้น เราได้สละไทยธรรมมีราชสมบัติเป็นต้นในภายนอก อวัยวะและตาเป็นต้นในภายใน ที่พระโพธิสัตว์ผู้ปฏิบัติปฏิปทาอันเป็นยานเลิศ เพื่อบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ จากนั้นได้บริจาคทานมีประเภทเป็นทานบารมี ทานอุปบารมีและทานปรมัตถบารมี มีการบริจาคใหญ่ ๕ อย่างเป็นที่สุด คือบริจาคราชสมบัติ ๑ บริจาคอวัยวะ ๑ บริจาคนัยน์ตา ๑ บริจาคบุตรภรรยา ๑ บริจาคตน ๑ โดยไม่มีเหลือ. ไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาบุรุษบำเพ็ญทานบารมี ในกาลที่แล้วมา ในจริยานี้มีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นอกิตติพราหมณ์ ในกาลเป็นสังขพราหมณ์ แม้ในกาลที่มิได้มามีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นวิสัยหเศรษฐี ในกาลเป็นเวลามพราหมณ์. ทานบารมีของพระโพธิสัตว์ ครั้งเป็นสสบัณฑิต สละตนอย่างนี้ว่า :- เราเห็นยาจกเข้าไปขออาหาร จึงสละตน ของตน ผู้เสมอด้วยทานของเราไม่มี นี้คือทาน- บารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนั้น พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า ความว่า อันผู้บำเพ็ญศีลของพระโพธิสัตว์ มีอาทิอย่างนี้ คือสำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมทั้งกายวาจา สำรวมอินทรีย์ รู้จักประมาณในกาลบริโภค มีอาชีพบริสุทธิ์ ควรบำเพ็ญบารมี อันมีประเภทเป็นศีลบารมี ศีลอุปบารมี ศีลปรมัตถบารมี ยังศีลทั้งปวงให้บริบูรณ์ คือให้ถึงพร้อมด้วยชอบ โดยไม่มีส่วนเหลือ. แม้ในที่นี้ก็ไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญศีลบารมี ในกาลที่มาแล้วในจริยานี้มีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นศีลวนาคราช ในกาลเป็นจัมเปยยนาคราช และในกาลที่มิได้มามีอาทิอย่างนี้ว่า ในกาลเป็นมหาวานร ในกาลเป็นช้างฉัททันตะ. ศีลบารมีของพระโพธิสัตว์ ครั้งเป็นสังขปาละ สละตนอย่างนี้ว่า :- เราไม่โกรธเคืองพวกบุตรพราน แม้จะ แทงด้วยหลาว แม้จะทิ่มด้วยหอก นี้เป็นศีล- บารมีของเรา ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนี้ พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า เนกฺขมฺเม ปารมึ คนฺตฺวา คือถึงบารมีในการออกบวชครั้งใหญ่ ๓ อย่างอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์สละราชสมบัติยิ่งใหญ่ แล้วบำเพ็ญเนกขัมมบารมี ในกาลที่มาแล้วในจริยานี้อย่างนี้ คือ ในกาลเป็นยุธัญชยบัณฑิต ในกาลเป็นโสมนัสกุมาร และที่มิได้คือในกาลมีอาทิอย่างนี้ ในกาลเป็นหัตถิปาลกุมาร ในกาลเป็นมฆเทวะ. อนึ่ง เนกขัมมบารมีของพระมหาสัตว์นั้นผู้สละราชสมบัติออกบวช เพราะไม่เกี่ยวข้องอย่างนี้ว่า :- เราสละราชสมบัติอันใหญ่หลวงที่อยู่ใน เงื้อมมือ ดุจถ่มก้อนน้ำลาย เมื่อเราสละก็ไม่ เกี่ยวข้อง นี้เป็นเนกขัมมบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ส่วนในบารมีนอกนี้ พึงทราบบารมีและอุปบารมีตามสมควร. บทว่า ปณฺฑิเต ปริปุจฺฉิตฺวา ความว่า เราสอบถามถึงการจำแนกธรรมมีกุศลเป็นต้นด้วยนัยมีอาทิว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็นอกุศล อะไรมีโทษ อะไรไม่มีโทษ การจำแนกกรรมและผลของกรรม กรรมศิลปะวิชาอันไม่มีโทษ อันนำมาซึ่งอุปการะแก่สัตว์ทั้งหลาย กะบัณฑิตผู้มีปัญญา. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงถึงปัญญาบารมี. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญปัญญาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นวิธูรบัณฑิต ในกาลเป็นมหาโควินทบัณฑิต ในกาลเป็นกุททาลบัณฑิต ในกาลเป็นอรกบัณฑิต ในกาลเป็นโพธิปริพาชก ในกาลเป็นมโหสถบัณฑิต. อนึ่ง ปัญญาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นผู้แสดงถึงงูที่อยู่ภายในกระสอบว่า :- เราค้นหาด้วยปัญญา ปลดเปลื้องพราหมณ์ จากทุกข์. ผู้เสมอด้วยปัญญาของเราไม่มี นี้เป็น ปัญญาบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า วีริยํ กตฺวาน อุตฺตมํ คือกระทำวีริยบารมีหลายอย่างให้เกิด คือปธานะ วีริยะอันสูงสุดเพราะสามารถให้ถึงสัมมาสัมโพธิญาณได้. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญวีริยบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือในกาลเป็นมหาศีลวราช ในกาลเป็นปัญจาวุธกุมาร ในกาลเป็นพระยามหาวานร. อนึ่ง วีริยบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นครั้งเป็นพระมหาชนกข้ามมหาสมุทร อย่างนี้ว่า:- เราอยู่ท่ามกลางมหาสมุทร มองไม่เห็นฝั่ง พวกมนุษย์ทั้งหลายพากันตายหมดแล้ว เราไม่มี จิตเป็นอย่างอื่น นี้เป็นวีริยบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า ขนฺติยา ปารมึ คนฺตฺวา ความว่า เราบรรลุถึงอธิวาสนขันติเป็นต้น อันมีสภาพเป็นขันติชั้นอุกฤษฏ์อย่างยอดเยี่ยม ถึงขันติบารมีชั้นยอด. อธิบายว่า ยังขันติบารมีให้สมบูรณ์. ในบทนั้นไม่มีปริมาณของอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญขันติบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นพระยาวานร ในกาลเป็นพระยากระบือ ในกาลเป็นรุรุมิคราช ในกาลเป็นธรรมเทพบุตร. อนึ่ง ขันติบารมีของพระมหาสัตว์นั้น ครั้งเป็นขันติวาทีดาบสเสวยทุกข์ใหญ่ ดุจไม่มีจิตใจอย่างนี้ว่า :- เราไม่โกรธพระราชากาสี ผู้โบยเราด้วย ขวานอันคม เหมือนเราไม่มีจิตใจ. นี้เป็นขันติ- บารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า กตฺวา ทฬฺหมธิฏฺฐานํ ความว่า เราทำอธิษฐานสมาทานกุศลอธิษฐานสมาทานบารมีนั้นๆ และสมาทานธรรมเป็นอุปการะแก่บารมีนั้นให้มั่นไม่ให้หย่อน. อธิบายว่า อธิษฐานสมาทานข้อปฏิบัตินั้นๆ โดยไม่มีการกลับกลอก. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณแห่งอัตภาพของพระมหาสัตว์ผู้บำเพ็ญอธิษฐานบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นโชติปาละ ในกาลเป็นสรภังคะ ในกาลเป็นพระเนมิ. อธิษฐานบารมีของพระโพธิสัตว์นั้นครั้งเป็นพระเตมิยกุมาร อธิษฐานพรตสละชีวิตอย่างนี้ว่า :- เราไม่เกลียดชังพระมารดาและพระบิดา เราไม่เกลียดตัวเรา. พระสัพพัญญุตญาณเป็น ที่รักของเรา เพราะฉะนั้น เราจึงอธิษฐานพรต. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า สจฺจวาจานุรกฺขิย ความว่า เราตามรักษาสัจวาจา รังเกียจโวหารที่ไม่เป็นอริยะ แม้ในเวลามีอันตรายถึงชีวิต ก็คงรักษาไว้ คือรักษาคำพูดที่ไม่ผิดปกติโดยประการทั้งปวง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระมหาสัตว์ที่บำเพ็ญสัจบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้คือ ในกาลเป็นพระยาวานร ในกาลเป็นสัจจดาบส ในกาลเป็นพระยาปลา. อนึ่ง สัจบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นมหาสุตโสม สละชีวิตตามรักษาคำสัตย์อย่างนี้ว่า :- เราตามรักษาสัจวาจา สละชีวิตของเรา ให้โปริสาทปลดปล่อยกษัตริย์ ๑๐๑. นี้เป็น สัจบารมีของเรา. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า เมตฺตาย ปารมึ คนฺตฺวา ความว่า เราถึงเมตตาบารมีอันมีลักษณะนำสิ่งเป็นประโยชน์ในสรรพสัตว์โดยไม่เจาะจง อันเป็นบารมีชั้นอุกฤษฏ์อย่างยิ่ง. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณของอัตภาพของพระโพธิสัตว์ที่บำเพ็ญเมตตาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นจูฬธรรมปาละ ในกาลเป็นมหาสีลวราช. ในกาลเป็นสามบัณฑิต. อนึ่ง เมตตาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นสุวรรณสาม แผ่เมตตาไม่เหลียวแลแม้ชีวิตอย่างนี้ว่า :- ใครๆ ไม่สะดุ้งหวาดกลัวเรา แม้เราก็ ไม่กลัวใครๆ. อันกำลังแห่งเมตตาอุปถัมภ์ไว้ เราจึงยินดีในป่าใหญ่ ในกาลนั้น. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. บทว่า สมฺมานนาวมานเน ความว่า เรามีจิตเสมอไม่ผิดปกติ ในการนับถือด้วยการบูชาสักการะเป็นต้น โดยเคารพ ในการดูหมิ่นด้วยการถ่มน้ำลายเป็นต้น และในโลกธรรมทั้งปวง ได้บรรลุพระสัพพัญญุตญาณอันยอดเยี่ยมสูงสุด. ในบทนั้น ไม่มีปริมาณแห่งอัตภาพที่พระมหาสัตว์บำเพ็ญอุเบกขาบารมี ในกาลมีอาทิอย่างนี้ คือ ในกาลเป็นพระยามหาวานร ในกาลเป็นพระเจ้ากาสี ในกาลเป็นเขมพราหมณ์ ในกาลเป็นอัฐิเสนปริพาชก. อนึ่ง อุเบกขาบารมีของพระโพธิสัตว์นั้น ครั้งเป็นมหาโลมหังสะแม้เมื่อเด็กชาวบ้านทำให้เกิดสุขและทุกข์ ด้วยการถ่มน้ำลายเป็นต้น และด้วยการนำดอกไม้ของหอมเป็นต้น เข้าไปก็ไม่ละเลยอุเบกขาอย่างนี้ว่า :- เรานอนอยู่ในป่าช้า เอาซากศพอันมีแต่กระดูก ทำเป็นหมอนหนุน. เด็กชาวบ้านพวกหนึ่งพากันเข้า ไปทำความหยาบช้าร้ายกาจนานัปการ. ชื่อว่า ปรมัตถบารมีโดยส่วนเดียว. ด้วยประการฉะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสถึงการบำเพ็ญทุกรกิริยาที่พระองค์ทรงทำแล้วในภัทรกัปนี้ เพื่อบรรลุสัมมาสัมโพธิญาณโดยสังเขปว่า :- เราได้เสวยทุกข์และสมบัติมากมายหลายอย่าง ในภพน้อยและภพใหญ่ตามนัยที่กล่าวแล้วนี้ แล้วจึง ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด. แล้วทรงแสดงบารมี ๑๐ ที่พระองค์ทรงบำเพ็ญแล้วโดยชอบอีกว่า :- ทตฺวา ทาตพฺพกํ ทานํ ฯลฯ ปตฺโต สมฺโพธิมุตฺตมํ เราให้ทานที่ควรให้ ฯลฯ บรรลุสัมโพธิญาณอันสูงสุด.

มหาสุญญตาสูตรข้อที่ภิกษุเป็นผู้ผู้เดียว หลีกออกจากหมู่อยู่ พึงหวังเป็นผู้ได้สุขเกิดแต่เนกขัมมะ สุขเกิดแต่ความสงัด สุขเกิดแต่ความเข้าไป สงบ สุขเกิดแต่ความตรัสรู้ ตามความปรารถนา โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก นั่นเป็น ฐานะที่มีได้

มหาสุญญตาสูตรข้อที่ภิกษุเป็นผู้ผู้เดียว หลีกออกจากหมู่อยู่ พึงหวังเป็นผู้ได้สุขเกิดแต่เนกขัมมะ สุขเกิดแต่ความสงัด สุขเกิดแต่ความเข้าไป สงบ สุขเกิดแต่ความตรัสรู้ ตามความปรารถนา โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก นั่นเป็น ฐานะที่มีได้

ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน เปลี่ยนอารมณ์สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิด กระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติอันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่แตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะดั้งเดิมของเรานั้น โดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตนแม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบ และไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งสิ่งนี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละ คือสิ่ง สิ่งนั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีก จิตคือพุทธะ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลายเป็นสิ่งที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่ง มันย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด และทุกๆ สิ่งมีเนื้อหาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธะ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น

การค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองสัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิด กระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติอันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่แตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะดั้งเดิมของเรานั้น โดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตนแม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบ และไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งสิ่งนี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละ คือสิ่ง สิ่งนั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีก จิตคือพุทธะ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลายเป็นสิ่งที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่ง มันย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด และทุกๆ สิ่งมีเนื้อหาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธะ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น

ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษสำหรับบุคคลที่ตื่นอยู่ตลอดเวลา หมั่นศึกษาไตรสิกขาทั้งกลางวันและกลางคืน น้อมจิตเข้าหานิพพาน อาสวะทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ไม่ได้'ปาฏิหาริย์แห่งการตื่น' จะเกิดขึ้นได้เมื่อเราตื่นจากฝัน ธรรมชาติแห่งพุทธภาวะ หมายถึง ธรรมชาติอันหนึ่ง ซึ่งทำสัตว์ให้เข้าถึงพุทธภาวะ ... "พุทธภาวะ" อันหมายถึงภาวะแห่งความรู้ ความตื่น ความเบิกบาน สิ่งที่เรียกว่า "ความรู้" ในที่นี้ ...จนเข้าถึงสภาวะพลังงานอันสูงสุด อันเป็นหนึ่งเดียว ของรูป-นาม เมื่อรูป นาม ดับสลาย เข้าสู่สภาวะพลังงานตื่นอันเป็นที่สุด อันเป็นปรมัตถปัญญา - ปัญญาวิมุตติ คือภาวะแห่งพุทธะ การปฎิบัติไม่มีอะไรยาก ง่ายสุด สุด เลย ร่างกายเป็นอย่างไร รู้ว่าเป็น อย่างนั้น จิตใจ รู้ว่าเป็นอย่างนั้น ไม่ใช่ไปดัดแปลงกาย ดัดแปลงใจ..จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

การตรัสรู้คือความไม่มีอะไรให้ระลึกถึง ผู้ถึงได้ก็ไม่พูดแล้วทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่ง­­ทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตของเราเองถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสอง..คนมาติดตรงนี้ครับผม พอปฏิบัติไปแล้ว มันเกิดความสว่างขึ้นเฉยๆ ... มันออกไปแสวง ทุกสิ่งทุกอย่าง จิตออกไปแสวงทั้งนั้น เพราะว่าไม่รู้ถึงจิตแท้ ... ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว อะไรมันขาดไปเอง อะไรทุกสิ่งทุกอย่างมันขาดไปเอง มันรู้ถึงความเป็นจริง แล้วก็ มันหมดความสงสัย แต่ว่า ต้องรู้ถึงความเป็นจริง รู้โดยปัญญา อริยมรรค จิตดูจิตแหละ เอาจิตดูจิต ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว อะไรมันขาดไปเอง.

ฝึกให้มากต่อไปจิตเคลื่อนไปปุ๊บเนี่ย สติจะเกิดเอง เพราะสติจะเกิดได้ไม่ใช่...ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป .ถ้าเราภาวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะ­­เลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่­­รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื­­่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้­­อยเหลือเกิน..ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา.

วันพุธที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยรายประดุจกำแกลบ ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะท่านพระ อุปเสนะว่า ความที่กายของท่านพระอุปเสนะเป็นอย่างอื่น หรือความแปรปรวนแห่ง อินทรีย์ของท่านพระอุปเสนะ เราทั้งหลายยังไม่เห็นเลย เมื่อเป็นเช่นนี้ ท่านพระ อุปเสนะยังพูดอย่างนี้ว่า จงมาเถิด ผู้มีอายุ จงยกกายเรานี้ขึ้นสู่เตียงแล้วนำไป ภายนอก ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยราย ณ ที่นี้ ประดุจกำแกลบเล่า ท่านพระอุปเสนะ กล่าวว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ผู้ใดพึงมีความตรึกอย่างนี้ว่า เราเป็นจักษุ หรือ จักษุเป็นของเรา ฯลฯ เราเป็นจิต หรือจิตเป็นของเรา ความที่กายเป็นอย่างอื่น หรือความแปรปรวนแห่งอินทรีย์พึงมีแก่ผู้นั­้นแน่นอน ดูกรท่านพระสารีบุตร เรามิได้มีความตรึกอย่างนี้ว่า เราเป็นจักษุ หรือจักษุเป็นของเรา ฯลฯ เราเป็นจิตหรือจิตเป็นของเรา ความที่กายจักกลายเป็นอย่างอื่น หรือความแปรปรวนแห่งอินทรีย์จักมีแก่เรานั­้น ได้อย่างไร

อานิสงส์ของการเจริญวิปัสสนาปัญญาการปฏิบัตินะต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องเห็นนะไม่ใช่คิด ต้องเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่คิดเรื่องรูปนาม การคิดเรื่องรูปนามว่าเป็นไตรลักษณ์ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ในโสฬสญาณที่พูดถึงเมื่อกี้ ญาณที่ ๑ นามรูปปริจเฉทญาณ แยกรูปแยกนาม ญาณที่ ๒ ชื่อปัจจัยปริคคหญาณ ดูว่ารูปนามแต่ละตัวๆมีเหตุถึงจะเกิด รู้เหตุเกิดของมัน ไม่มีอะไรที่เกิดลอยๆ ทุกอย่างมีเหตุถึงจะเกิด ถัดมาเป็นญาณที่ ๓ ชื่อสัมมสนญาณ จะเห็นเลยว่ารูปนามทั้งหลายเกิดแล้วดับทั้งสิ้น รูปนามทั้งหลายตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์ แต่เป็นการเห็นด้วยการคิดเปรียบเทียบเอา ยังไม่ได้เห็นความเกิดดับต่อหน้าต่อตา เพราะงั้นอย่างการคิดเรื่องไตรลักษณ์ของรูปนาม ยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐาน ในโสฬสญาณนี่อยู่ในญาณที่ ๓ นะ อย่างเป็นต้นว่าเราส่องกระจกนะ เห็นตีนกาขึ้น ใจก็สลดสังเวชนะ ร่างกายนี้ไม่เที่ยงนะ ปีกลายตีนกายังไม่ขึ้น ปีนี้ตีนกาขึ้นแล้ว ปีหน้าคงเป็นตีนวัวตีนควายอะไรอย่างนี้ ไม่เที่ยง ร่างกายนี้ไม่เที่ยง อย่างนี้ยังไม่ใช่วิปัสสนา ยังเจือด้วยการคิดอยู่ การเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิดเรียกว่าสัมมสนญาณ ขึ้นญาณที่ ๔ ชื่ออุทยัพพยญาณ (อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ) อันนี้เป็นการเห็นความเกิดดับจริงๆ อันนี้ขึ้นวิปัสสนาแล้ว วิปัสสนาญาณขึ้นจากโสฬสญาณ ญาณที่ ๔ นะ แล้วก็ไล่ไปเก้าอัน วิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ งั้นจิตมันจะพัฒนาไปนะ พวกเราก็ดู การปฏิบัติไม่ยาก สรุปนะการปฏิบัติไม่ยาก มันยากเฉพาะคนไม่ปฏิบัติ คนไม่ปฏิบัติมีสองพวก พวกหนึ่งไม่สนใจการปฏิบัติ พวกที่สองปฏิบัติผิด ปฏิบัติผิดก็คือไม่ได้ปฏิบัตินั่นเอง ไม่ได้ทำตามทางที่พระพุทธเจ้าสอน ต้องจำให้แม่นนะ อยากบรรลุมรรคผลนิพพาน ทิ้งวิปัสสนากรรมฐานไม่ได้ วิปัสสนากรรมฐานคือการเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่การเห็นรูปนามนะ บางคนก็สอนกันเพี้ยนๆนะ เนี่ยเราพูดซื่อๆอย่างนี้นะ เราไม่ได้ว่าสำนักไหนนะ พูดในทางวิชาการจริงๆเลย ถ้าไม่พูดทางวิชาการ อ้อมๆแอ้มๆจะรู้เรื่องเหรอ จะพากันผิดไปหมด ในหลักสูตรนักธรรมเอกมีนะ สอนเรื่องสมถะวิปัสสนา เขาก็เขียนชัดเจนเลย เขียนมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๕ แล้ว บอกว่าวิปัสสนาต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ไม่ใช่เห็นรูปนาม เพราะงั้นอย่างเรานั่งดู เห็นร่างกายหายใจออก เห็นร่างกายหายใจเข้า เป็นวิปัสสนาไหม? ยังไม่เป็น ยังไม่เป็น เห็นร่างกายอยู่ยังไม่เป็น ต้องเห็นไตรลักษณ์นะ เห็นเลยตัวที่หายใจออกไม่ใช่ตัวเรา ตัวที่หายใจเข้าไม่ใช่ตัวเรา ตัวที่หายใจออกไม่เที่ยง ตัวที่หายใจเข้าไม่เที่ยง อย่างนี้นะ การหายใจออกนั้นอยู่ได้ชั่วคราว ทนอยู่ไม่ได้ เป็นทุกข์ การหายใจเข้าก็หายใจเข้าได้ชั่วคราว ทนอยู่ไม่ได้ตลอด เนี่ยทุกขัง คือถ้าไม่ได้เห็นไตรลักษณ์ เห็นแต่ร่างกายหายใจอยู่ ฤาษีชีไพรเค้าทำอานาปานสติเค้าก็เห็นเหมือนกัน แต่เค้าไม่ได้เดินปัญญา ไม่ได้ขึ้นมาเห็นไตรลักษณ์ อย่างพวกเราเดินจงกรม เราเห็นร่างกายเดินไปเรื่อย ใจเป็นคนดู เห็นร่างกายเดิน ขึ้นวิปัสสนาหรือยัง? ยัง แต่ถ้ามีความเห็นแจ้งลงไปเลย ตัวที่เดินอยู่นี้ไม่ใช่เราเดินแล้ว เนี่ยเริ่มละความเห็นผิดว่ามีเราเดิน นี่ถึงจะขึ้นวิปัสสนาได้นะ เห็นเลยร่างกายที่เคลื่อนไหวอยู่นี่ไม่คงที่เลย ใจเป็นคนดูอยู่สบายๆ เห็นว่าเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป เกิดขึ้นมาแล้วดับไปต่อหน้าต่อตา การเดินในแต่ละก้าว เกิดขึ้นแล้วก็ดับไปๆ ให้เห็นความเกิดความดับ อย่างนี้จึงจะขึ้นวิปัสสนา งั้นจำหลักให้แม่นนะ ต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามจึงจะขึ้นวิปัสสนา ถ้าไม่ขึ้นวิปัสสนา มรรคผลไม่มี ไม่มีแน่นอน งั้นอย่างภาวนา บางคนบอกน้อมจิตเข้าไปสู่ความว่าง ให้จิตอยู่ในความว่างนานๆ เหมือนไม่มีกิเลสเลย เนี่ยบรรลุมรรคผลนิพพานเป็นไปได้ไหม? น้อมจิตไปอยู่ในความว่าง มันเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามไหม? ไม่เห็นอะไรเลย คนละเรื่องเลยนะ ต้องระมัดระวังให้ดีนะ หรืออยู่ๆก็บอกตัวเองว่าอย่าไปยึดสิ่งทั้งปวง อะไรๆก็อย่าไปยึด เจออะไรก็บอกไม่ยึดไม่ยึด ใจโล่งว่างไปเลย เป็นวิปัสสนาไหม? เห็นรูปนามไหม? นั่งคิดตลอดเลยว่าอย่าไปยึดโน่นอย่าไปยึดนี่ ไม่ใช่รู้ไม่ใช่การเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม งั้นไม่เป็นวิปัสสนา อยู่ๆก็บอกไม่ยึดอะไรเลยๆ ทำใจให้ว่าง หรือน้อมใจไปสู่ความว่าง ไม่คิดไม่นึก ไม่ปรุงไม่แต่ง ความปรุงแต่งใดๆเกิดขึ้นตัดทิ้งให้หมดเลย ให้จิตพ้นจากความปรุงแต่งไปเลย เนี่ยสอนอย่างนี้เยอะมากเลยนะ เยอะแยะเลยนะ ถ้าพวกเราไม่เรียนให้ดีเราจะหลงเตลิดเปิดเปิง ไปลองทำดูแล้วจะมีความสุข เพราะอะไร? มันเป็นสมถะนะ อย่างน้อมใจไปอยู่ในความว่าง เป็นสมถะชัดๆเลย น้อมใจไปสู่ความไม่ยึดถืออะไรเลย นี่ก็สมถะนะ น้อมใจไปอยู่ในความว่าง ชื่ออากาสานัญจายตนะ น้อมใจเข้าไปสู่ความไม่มีอะไรเลย ชื่ออากิญจัญญายตนะ ไม่มีไตรลักษณ์ให้ดูหรอก เทศน์ดุไปไหมวันนี้? ( J ยิ้ม) ต้องเห็นไตรลักษณ์ ต้องเห็นนะ ไม่ใช่คิดด้วยนะ ต้องเห็น วิปัสสนานะมาจากคำว่า วิ + ปัสสนะ ปัสสนะแปลว่าการเห็น + วิ แจ้งหรือยอดเยี่ยม เห็นอย่างแจ้ง เห็นจริง เห็นอย่างยอดเยี่ยม เห็นอย่างถูกต้อง เห็นอะไร? เห็นไตรลักษณ์สิถึงจะถูกต้อง เห็นอย่างอื่นไม่แจ้ง เรียกว่ายังไม่รู้แจ้ง งั้นต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปของนาม ทีนี้จะเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามได้ เครื่องมือที่เราต้องพัฒนาขึ้นมานะ อย่างน้อยที่สุดต้องมีสองตัว ตัวที่หนึ่งชื่อสติ ตัวที่สองชื่อสมาธิชนิดตั้งมั่น สมาธิต้องระบุชนิดด้วย วงเล็บไว้ เพราะสมาธิมีหลายประเภท สมาธิโหลยโท่ยเลยก็มีนะ คนจะไปฆ่าเค้ามีสมาธิไหม? จะไปดักยิงหัวใครมีสมาธิไหม? คนคิดจะจั่วไพ่มีสมาธิไหม? มี งั้นสมาธินี่เกิดร่วมกับจิตทุกดวง กระทั่งจิตอกุศลก็มีสมาธิ แต่มันเป็นสมาธิชนิดชั้นเลว สมาธิออกนอกเลย สมาธิอีกชนิดหนึ่ง จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว อันนี้ชื่ออารัมมณูปนิชฌาน จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว นี้ล่ะคือสมาธิที่ใครต่อใครชอบทำกันนักหนา แล้วหยุดอยู่แค่สมาธิชนิดนี้ พุทโธแล้วก็สงบอยู่กับพุทโธ หายใจแล้วก็สงบอยู่กับลมหายใจ ดูท้องพองยุบแล้วสงบอยู่กับท้อง ขยับมือแล้วสงบ ใจสงบนิ่งอยู่กับมือ ทำกรรมฐานอะไรแล้วก็สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว อันนี้เรียกว่าอารัมมณูปนิชฌาน เอาไว้พักผ่อน มีประโยชน์ไหม? มี ถ้าคนไหนทำได้ให้ทำ ถ้าทำไม่ได้อย่างน้อยต้องทำสมาธิชนิดที่สองให้ได้ สมาธิชนิดแรกชื่ออารัมมณูปนิชฌาน เอาไว้พักผ่อนให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว จิตปกตินั้นน่ะสำส่อน โดดจากอารมณ์โน้นที โดดจากอารมณ์นี้ทีตลอดเวลา ฟุ้งซ่านไป ไม่มีความสุข ไม่มีความสงบ น้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์ที่มีความสุขมีความสงบ ใครถนัดพุทโธก็อยู่กับพุทโธ ใครถนัดลมหายใจก็อยู่กับลมหายใจ ใครถนัดท้องพองยุบก็ดูท้องพองยุบไป ให้จิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว พอจิตสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียวแล้วก็ได้ความสุขได้ความสงบ เป็นที่พักผ่อนทำให้จิตมีเรี่ยวมีแรงนะ สมาธิชนิดที่สองนะ ชื่อลักขณูปนิชฌาน ลักขณูปนิชฌานเนี่ยจิตตั้งมั่นเห็นลักษณะ ลักขณู ลักขณะ คือลักษณะนั่นเอง คือคำว่าไตรลักษณ์นั่นแหละ คือลักษณะ ลักขณูปนิชฌานจิตตั้งมั่นเห็นไตรลักษณ์ เห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม ทำไมต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนาม? รูปนามมีไตรลักษณ์ อย่างอื่นไม่มีไตรลักษณ์ สิ่งที่เหนือจากรูปนามมีสองอย่าง อันหนึ่งเรียกว่าบัญญัติ เรื่องราวที่คิดไม่มีไตรลักษณ์ อีกอันหนึ่งคือนิพพาน นิพพานไม่มีไตรลักษณ์ นิพพานมีเอกลักษณ์ มีอันเดียว มีอันเดียวนะ ลักษณะเป็นไตรลักษณ์ในนิพพานมีหนึ่ง เรียกอนัตตา มีแต่อนัตตา ไม่มีอนิจจัง ทุกขัง งั้นจะดูไตรลักษณ์ได้ต้องดูที่รูปนาม รูปนามที่ดูแล้วเห็นไตรลักษณ์ได้ ต้องเป็นรูปนามในปัจจุบัน รูปนามในอดีตไม่มีแล้ว ตัวมันเองยังไม่มีเลย ให้ไปหาไตรลักษณ์ของรูปนามในอดีตก็เป็นการคิดเอา ไม่เป็นวิปัสสนา รูปนามในอนาคตก็ยังไม่มี จะไปดูไตรลักษณ์ของมันก็ไม่ได้ งั้นจะดูไตรลักษณ์ของรูปนาม ต้องดูรูปนามในปัจจุบันนะ นี่เห็นไหมมันเป็นหลักของการทำวิปัสสนาทั้งหมดเลย อย่างการดูรูปนามนะให้ลงปัจจุบัน ยังมีปัจจุบันสองแบบ งั้นเรื่องที่ต้องเรียนนี่เยอะมากเลยนะ ค่อยๆเรียน ค่อยๆฟังนะ ไปเปิดซีดีนะเทศน์วนไปวนมา เราคอยดูเอา ดูไปเรื่อยๆ

พระพุทธเจ้าท่านสอนทางพ้นทุกข์ด้วย เพราะฉะนั้นคำสอนของท่านจะครอบคลุมในเรื...เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

พระพุทธเจ้าท่านสอนทางพ้นทุกข์ด้วย เพราะฉะนั้นคำสอนของท่านจะครอบคลุมในเรื...

วันอังคารที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ข้ามทะเลทั้งสี่แล้วจะถึงจิตหนึ่งทางสายกลางมีอยู่ ถ้าเราอยากพ้นทุกข์จริงๆ เบื้องต้นหัดรู้สึกตัวไว้ก่อน การที่เราคอยรู้เนื้อรู้ตัวนี่เราจะไม่หลงตามกิเลสไป แต่ให้รู้ ไม่ใช่ให้เพ่ง ไม่ใช่ให้บังคับ ไม่ใช่ให้ดัดแปลง ถ้าเพ่ง ถ้าบังคับ ถ้าดัดแปลง อันนี้คือการบังคับตัวเอง มีผลให้เราได้เป็นมนุษย์ที่ดี เป็นเทวดา เป็นพรหม ถึงวันหนึ่งก็เสื่อมอีก ยังไม่พ้นการเวียนว่ายตายเกิด ...พยายามรู้สึกตัวขึ้นมานะ แล้วมาเรียนรู้ความจริงของรูปของนาม ถ้าจิตใจยังติดใจในรูปในนามอยู่ ก็ยังเวียนว่ายตายเกิดอยู่ ยังก่อภพก่อชาติไปไม่สิ้นสุด แสวงหารูปนามใหม่ๆ ขันธ์ ๕ ใหม่ๆไปเรื่อยๆ เพราะใจยังติดอยู่ แต่ถ้าจิตมีสติปัญญาแก่รอบขึ้นมา เห็นขันธ์ ๕ ไม่ใช่สาระแก่นสาร พอจิตเห็นขันธ์ ๕ ไม่ใช่สาระแก่นสาร ความหวังที่จะให้ขันธ์ ๕ มันดี ขันธ์ ๕ มันสุข ขันธ์ ๕ มันสงบ ไม่มี มันดีไปไม่ได้หรอก มันเป็นตัวทุกข์ มันสุขไปไม่ได้หรอก มันทุกข์ มันสงบ มันก็สงบอยู่ไม่ได้จริงหรอก มันยังถูกความทุกข์บีบคั้นอยู่ตลอด ถ้าเมื่อไหร่เราเห็นขันธ์ ๕ ตกอยู่ใต้ความจริง เห็นความจริงของรูปนาม จิตจะคลายความยึดถือ ความยินดีในขันธ์ ๕ เมื่อจิตหมดความยึดถือ หมดความยินดีในขันธ์ ๕ เชื้อเกิดจะถูกทำลายไป จิตที่ยังเวียนว่ายตายเกิด เป็นจิตที่ยังมีเชื้อเกิดอยู่ เชื้อเกิดนี้มันก็เป็นเชื้อที่ยินดีในขันธ์ ๕ นั่นเอง มันโง่ มันมีอวิชชาซ่อนอยู่ในจิตดวงนี้ มันไม่รู้ความจริงของทุกข์ ไม่รู้ความจริงของสมุทัย ไม่รู้ความจริงของนิโรธ ไม่รู้ความจริงของมรรค ไม่รู้ความจริงของทุกข์ก็คือ ไม่รู้ว่าขันธ์ ๕ นี้เป็นตัวทุกข์ ยังคิดว่าจะหาทางหาขันธ์ ๕ ที่มีความสุขได้ พอไม่รู้ว่าขันธ์ ๕ เป็นตัวทุกข์ ความอยากจะให้ขันธ์ ๕ เป็นสุขก็เกิดขึ้น ความอยากจะให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ก็เกิดขึ้น สมุทัยก็มีขึ้นมา พอมีสมุทัยมีความอยากขึ้นมานี่ จิตก็มีความดิ้นรน จิตที่มีความดิ้นรนอยู่ ไม่มีความสงบสันติคือไม่มีนิพพาน ไม่เห็นนิพพาน งั้นเราต้องมาล้างเชื้อเกิดในใจของเรา ล้างความหลงผิดในใจของเรานั่นเอง ล้างอวิชชานั่นเอง อยากล้างอวิชชาได้ มีสตินี่แหละ รู้ขันธ์ ๕ ตามความเป็นจริง รู้กายรู้ใจนั่นแหละตามความเป็นจริง ดูลงไปเรื่อยเลย กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ไม่ต้องคิดหรอก มันไม่ใช่ของดีของวิเศษมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เราเพียงหลงผิดว่ามันดีมันวิเศษ เราเลยติดอกติดใจเพลิดเพลินอยู่ ถ้าเราดูซ้ำดูซากนะ ดูแล้วดูอีก อยู่ในกายในใจนี้ เราจะเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ ใจนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ พวกเรายังไม่เห็น พวกเราเห็นว่าร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จิตใจนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง เพราะเราเห็นอย่างนี้นะ อวิชชาเรามีอยู่ เมื่อมันยังเห็นว่าร่างกายจิตใจเป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้างได้ มันยังมีทางเลือก มีทางดิ้นต่อ มันก็จะดิ้นหนีความทุกข์ ดิ้นไปแสวงหาความสุข จิตที่ดิ้นรนนั่นแหละ ห่างไกลพระนิพพานไปเรื่อยๆ แต่ถ้าเรารู้ความจริงแจ่มแจ้ง ว่าขันธ์ ๕ หรือรูปนาม หรือกายใจนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มาก กับทุกข์น้อย ไม่ใช่มีทุกข์กับสุข ถ้าเห็นแจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งอย่างนี้ จิตมันจะสลัดคืนหมดความยึดถือขันธ์ ๕ จะรู้สึกเลย ร่างกายนี้เหมือนยืมแผ่นดินมาใช้นะ ยืมธาตุมาใช้ จิตใจก็เหมือนยึมเค้ามาใช้ ไม่ใช่ของเราสักอันเดียว มันสลัดคืนรูปคืนนาม คืนกายคืนใจให้โลกไป ไม่ยึดถือในรูปนามในกายใจนั้นเอง เมื่อเราไม่ยึดถือนะ ความหนักก็ไม่เกิดขึ้นในใจ ใจที่มีความหนัก ใครรู้จักหนักใจบ้าง หนัก หนักทุกวันเลย หนักเพราะเรายึดถือ ถ้าเราไม่ได้ยึดถือรูปนามอยู่ ความหนักใจจะไม่มี ปัญหามีนะ แต่ความหนักใจไม่มี งั้นเรามาเรียนรู้ความจริงของรูปของนามนี้แหละ เรียกว่าการเจริญปัญญา รู้ลงไปที่กายบ่อยๆ รู้ลงไปที่ใจบ่อยๆ จะรู้กายรู้ใจได้ จิตต้องรู้สึกตัวเป็นก่อน อย่าหลง ขั้นต้นเลย ต้องรู้สึกตัวให้เป็น ถ้ารู้สึกตัวไม่ได้ ใจหลงไปอยู่ในโลกของความคิด ลืมกายลืมใจ มีกายก็ลืมกาย มีใจก็ลืมใจนะ ใช้ไม่ได้ เราต้องคอยรู้สึกตัวบ่อยๆ หัดรู้สึกตัวนะ เบื้องต้นจะพุทโธ จะหายใจ หรือทำกรรมฐานอะไรสักอย่างหนึ่งก็ได้ แล้วแต่ถนัด ทำกรรมฐานขึ้นอย่างหนึ่ง แล้วคอยรู้ทันจิตตนเอง จิตไหลไปคิดรู้ทัน จิตไหลไปคิดรู้ทัน จิตก็จะหลุดออกจากโลกของความคิด มาอยู่ในโลกของความรู้สึกตัว จิตที่ไม่รู้สึกตัวนี้ไปหลงอยู่ในโลกของความคิด คนทั้งโลกหลงอยู่ในโลกของความคิดนะ มีเป็นส่วนน้อย ผู้ที่ได้ฟังธรรมแล้ว ผู้ที่มีบุญบารมีแล้วอย่างพวกเรานี้ มันรู้ทันจิตที่ไหลไปคิด แล้วก็ตื่น เกิดภาวะแห่งความรู้สึกตัวขึ้นมา พอเรารู้สึกตัวได้ ก็คือมีกายเราก็รู้ว่ามีอยู่ มีใจเราก็รู้ว่ามีอยู่ เราก็จะเรียนรู้ความจริงของกายของใจได้ ถ้าเราใจลอย เราลืมกายลืมใจ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้ความจริงของกายของใจได้ เพราะงั้นความรู้สึกตัวนี้แหละ เป็นจุดตั้งต้นที่จะเริ่มเดินปัญญานะ ทีนี้พอรู้สึกตัวเป็นแล้ว อย่ารู้สึกอยู่เฉยๆ รู้สึกแล้วมาเรียนรู้ความจริงของกายของใจ ค่อยๆแยก กายก็อยู่ส่วนกาย ใจก็อยู่ส่วนใจนะ แยกกัน กายส่วนกาย ใจส่วนใจ เวทนาคือความรู้สึกสุขทุกข์ก็อยู่ส่วนเวทนา ไม่ใช่กายไม่ใช่ใจ สังขาร ความปรุงดีความปรุงชั่ว เช่นโลภ โกรธ หลงทั้งหลาย ก็อยู่ส่วนโลภ โกรธ หลงทั้งหลาย ไม่ใช่ร่างกาย ไม่ใช่ความสุข ไม่ใช่ความทุกข์ ไม่ใช่จิตใจ นี่หัดแยกธาตุแยกขันธ์ ต้องรู้สึกตัวเป็นก่อน ถึงจะแยกธาตุแยกขันธ์ได้ แต่บางคนรู้สึกตัวแล้วอยู่เฉยๆ ไม่ยอมแยกธาตุแยกขันธ์ อันนั้นต้องช่วยมันคิดพิจารณาแยกธาตุแยกขันธ์ไป เช่นนั่งอยู่ ก็คอยคิดเอา เออร่างกายที่นั่งอยู่นี่เป็นของถูกรู้นะ อะไรอย่างนี้ ค่อยๆคิดไป ดู ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก ผม เป็นของถูกรู้ ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เป็นของถูกรู้ ค่อยๆหัดดูไปอย่างนี้ ต่อไปมันแยกได้เอง ความสุขความทุกข์เกิดขึ้น ก็เป็นของถูกรู้ ความโลภ ความโกรธ ความหลง เกิดขึ้นเป็นของถูกรู้ จิตเป็นคนไปรู้มันเข้า เบื้องต้นอาจจะต้องช่วยมันคิดพิจารณาอย่างนี้ แต่ต่อไปมันแยกได้เอง พอแยกได้เอง เราจะเดินปัญญาอัตโนมัติ มันจะเห็นเลย ร่างกายเคลื่อนไหว แค่รู้สึกนะ แล้วจะรู้เลยร่างกายไม่คงที่ เวทนาเกิดขึ้นในกาย เวทนาเกิดขึ้นในใจ ความสุขความทุกข์นั้นแหละเกิดขึ้นในกายในใจ ก็เห็นเลยมันแค่ผ่านมาแล้วก็ผ่านไป ใจอยู่ต่างๆหาก เวทนานี้ไม่ใช่ตัวเราหรอก เป็นสิ่งที่แปลกปลอมเข้ามาชั่วคราวแล้วก็หายไป กุศลอกุศล ก็เป็นสิ่งที่แปลกปลอมเข้ามาชั่วคราวแล้วก็หายไป จิตเองก็เกิดแล้วก็ดับ เดี๋ยวก็เป็นจิตผู้รู้ เดี๋ยวก็เป็นจิตผู้คิด เดี๋ยวเป็นจิตผู้เพ่ง หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การที่เราเห็นขันธ์ทั้งรูปธรรมนามธรรมทั้งหลายที่ประกอบกันเป็นตัวเรานี้ มีแต่ความหมุนเวียนเปลี่ยนแปลง ทั้งวันทั้งคืน ทั้งหลับทั้งตื่น เป็นอย่างนี้ตลอด มันจะรู้เลย ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ความสุขเกิดขึ้นก็แค่ของชั่วคราว เอาเป็นที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ เดี๋ยวก็ดับ กุศลเกิดขึ้นก็เป็นแค่ของชั่วคราว เอาเป็นที่พึ่งที่อาศัยก็ไม่ได้จริง เดี๋ยวก็ดับ ทุกสิ่งหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้เลยในขันธ์ ๕ มีแต่ของน่าเอือมระอา มีแต่ความทุกข์ นี่จิตเห็นความจริงอย่างนี้ จิตจะคืนขันธ์ ๕ ให้โลก ไม่ยึดถืออีกแล้ว ที่มันคืนไม่ได้ เพราะว่ามันหวง มันห่วง เพราะว่ามันดี นี่เราทำลายเชื้อเกิดได้ พอมันคืนขันธ์ ๕ ไปนะ คล้ายๆมีเมล็ดต้นไม้ เมล็ดมะม่วงสักเมล็ดหนึ่ง แต่ต้นอ่อนข้างในมันตายไปแล้ว ต้นอ่อนที่มันจะงอกขึ้นมาเป็นขันธ์ ๕ ถูกทำลาย ถ้าเราทำลายความเห็นผิดนะ ว่าจิตนี้เป็นของดีของวิเศษ ขันธ์ ๕ เป็นของดีของวิเศษ ทำลายตัวนี้ได้ เชื้อเกิดจะถูกทำลายไป เมื่อขันธ์ ๕ ไม่ใช่ของดีแล้ว ความอยากให้ขันธ์ ๕ มันสุข ให้มันดี ให้มันสงบ ไม่มีแล้ว รู้ว่ามันไม่ดี ความอยากจะพ้นจากทุกข์ ให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ ก็ไม่มี เห็นไหม อยากให้พ้นทุกข์ก็ไม่มีนะ อยากให้สุขก็ไม่มีนะ เพราะรู้แจ้งแล้วว่าทุกข์แน่นอน พอรู้แจ้งอย่างนี้ หมดแรงดิ้น จิตที่หมดแรงดิ้นนี่แหละจะเห็นพระนิพพาน จิตที่ยังดิ้นอยู่ ยังอยากอยู่ นี่มีตัณหาอยู่ ไม่เห็นพระนิพพาน พวกเรามีบุญแล้วนะ ได้ฟังธรรม ฝึกรู้สึกตัวไปบ่อยๆ รู้สึกตัวแล้วอย่ารู้อยู่เฉยๆ ดูรูปดูนาม ดูกายดูใจ ดูขันธ์ ๕ ทำงานเรื่อยไป วันหนึ่งเราก็จะตามพระพุทธเจ้าของเราไปนะ

การใช้โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟสจำหน่าย อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ สำหรับ ซ่อม สร้าง แผงวงจรอินเวอร์เตอร์ เตาแม่เหล็ก ตู้เชื่อม และ รับซ่อม แก้ไข แผงวงจร อินเวอร์เตอร์ เตาแม่เหล็ก ตู้เชื่อม และ รับซ่อม แก้ไข แผงวงจร อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรม 02-951-1356 081-803-6553 Line: pornpimon 1411 Email sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

กายนี้คือทุกข์จิตนี้คือทุกข์อริยสัจเพื่อความพ้นทุกข์ ประมวลจากพระธรรมเทศนาวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔, ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔, ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ พระพุทธเจ้าตรัสถึงสิ่งซึ่งเป็นไปได้ยากหลายอย่าง เช่น การได้เกิดเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์อย่างพวกเรานั้นยาก เกิดมาแล้ว จะได้พบสัตบุรุษคือคนดีคนมีศีลมีธรรมก็เป็นไปได้ยาก พบแล้ว จะมีศรัทธาเข้าใกล้ก็ยาก เข้าใกล้แล้วจะได้ฟังธรรมก็ยาก ได้ฟัง ธรรมแล้วจะปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรมก็ยากขึ้นไปอีก หัดภาวนาใหม่ๆ มันมีความสุขมาก ไม่ได้ทำอะไรก็มีความสุขโชยขึ้นมาแผ่วๆ ความสุขผุดขึ้นมาทั้งวันเลย มีสติทีไรก็มีความสุข ทุกทีเลย ต่อไปพอสติปัญญาแก่กล้าขึ้นมา มันเปลี่ยนนะ ใจไม่ค่อยมีความสุขหวือหวาขึ้นมาอย่างตอนแรกแล้ว มันเริ่มเห็นทุกข์มากขึ้นๆ ยิ่งภาวนายิ่งเห็นทุกข์มากขึ้น เป็นเรื่องแปลก พอเรารู้สึกตัวขึ้นมา จิตตั้งมั่นอยู่กับเนื้อกับตัว ทำไมมีความสุข เพราะว่าเป็นสมถะ สมถะที่มีสมาธิ มีจิตตั้งมั่น จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวก็มีความสุข แต่พอถึงขั้นเดินปัญญา มันเป็นขั้นรู้ทุกข์ ไม่ใช่ขั้นมีความสุข ถ้าเราเดินปัญญา เราเริ่มเห็นทุกข์นานาชนิดหมุนเวียนกันเข้ามา ในกายในใจนี้ตลอดเวลา ไม่ได้เห็นสุขแล้ว แต่จะเห็นทุกข์ โลกนี้เต็มไปด้วยปัญหา คนเต็มไปด้วยความทุกข์ ถ้าคนไม่มีสติปัญญาก็จะแยกไม่ออกว่าปัญหากับความทุกข์เป็น คนละส่วนกัน โลกมันไม่เที่ยง มันเคลื่อนไปเรื่อยๆ ปัญหา ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สุขภาพ เรารักษาเอาไว้ดีแล้ว ไม่นานก็ ป่วยอีก เพราะมันไม่เที่ยง ทุกข์มีหลายแบบ มีหลายขั้น มีหลายตอน ในทางปริยัติ จําแนกไว้ถึง ๑๐ ประการ แต่สําหรับนักปฏิบัติ เรามาเรียนรู้ทุกข์ บางอย่างก็พอแล้ว ทุกข์หยาบที่สุดเรียกว่า “ทุกขเวทนา” อย่าง เจ็บไข้ได้ป่วย ปวดเมื่อย หนาวไป ร้อนไป หิวข้าวก็ทุกข์นะ มีทุกข์ ทางกาย มีทุกข์ทางใจ เรียกว่า “ทุกขเวทนา” อันนี้เป็นทุกข์ทั่วๆ ไป ใครๆ ก็มี สัตว์ก็มีทุกข์กายทุกข์ใจ ถ้าพวกเราภาวนา เราก็จะเห็นทุกขเวทนาเยอะแยะเลย นั่งอยู่ก็เมื่อย หายใจเข้าก็ทุกข์ หายใจออกก็ทุกข์ ถ้าสติเราเร็วพอ สติปัญญามากพอ ก็จะเห็นเลยว่าที่พยายามหายใจอยู่ตลอดเวลา นี่หายใจไปเพื่อแก้ทุกข์เท่านั้นเอง ที่เปลี่ยนอิริยาบถอยู่ตลอดเวลา ก็เพื่อแก้ทุกข์เท่านั้นเอง หายใจเข้าไปเรื่อยๆ ก็ทุกข์ ต้องหายใจออก แก้ทุกข์ หายใจออกไปเรื่อยๆ ก็ทุกข์ ต้องหายใจเข้า แก้ทุกข์ นั่งนานๆ มันเมื่อยมันทุกข์ ก็ต้องเปลี่ยนอิริยาบถไปขยับซ้าย ขยับขวา หรือลุกขึ้นยืน หรือลุกขึ้นเดิน หรือนั่ง เมื่อยมากก็ ลงนอน เปลี่ยนอิริยาบถเพื่อแก้ทุกข์ ในจิตใจก็เหมือนกัน จิตใจมันมีความทุกข์เกิดขึ้นเรื่อยๆ มันก็ดิ้นรนเที่ยวหาความสุขไปเรื่อย เวลามีความอยากเกิดขึ้นทีไร ก็มีความทุกข์เกิดขึ้นทุกที แต่เราไม่เห็นหรอก เราเห็นว่ามันไม่ สบายใจ พอไม่สบายใจ เราก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ มาป้อนมัน ไปดูหนัง ไปฟังเพลง ไปคุยกับเพื่อน ไปดูโน่นดูนี่ หรือหาหนังสือมาอ่านให้เพลินๆ ไปกินเหล้า เปลี่ยนอารมณ์ไป เรื่อยๆ จริงๆ ก็เพื่อแสวงหาความสุข เพื่อหนีความทุกข์ ใจมันไม่มีความสุขหรอก เฝ้ารู้เฝ้าดูไปนะ ไม่ว่าจะอารมณ์ชนิดไหนมันก็อยู่ได้ ชั่วคราว มันทนอยู่ไม่ได้สักอันเดียว เปลี่ยนอิริยาบถมาอยู่ใน อิริยาบถแบบนี้แล้ว นึกว่าจะอยู่สบายก็ไม่สบาย ทนอยู่ไม่ได้อีก จิตใจก็เหมือนกัน ไปกระทบอารมณ์อย่างนี้นึกว่าจะสบาย ก็สบายแป๊บๆ เดี๋ยวก็ทนอยู่ไม่ได้อีก ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของทนอยู่ ไม่ได้ ภาวะแห่งการทนอยู่ไม่ได้นี่แหละคือทุกข์อีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “ทุกขลักษณะ” ไม่ใช่ทุกขเวทนาแล้ว “ทุกขลักษณะ” หมายถึงว่าสิ่งทั้งหลายนั้นมันทนทาน อยู่ไม่ได้จริง ถ้ามันทนอยู่ได้เรื่อยๆ ไปก็ยิ่งทุกข์หนักนะ เกิดทุกขเวทนาหนักเสียอีก สิ่งทั้งหลายมันเปลี่ยนไปเรื่อย ไม่คงที่ เวลาเราภาวนา มากเข้าๆ ไม่ใช่เห็นแค่ทุกข์ทางร่างกาย เราจะเห็นเลยว่าทุกสิ่ง ทุกอย่างที่เกิดขึ้นในกายในใจนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมดเลย มีขึ้นมา แล้วก็หายไป เช่นนั่งอยู่ รูปนั่งก็ทนอยู่ได้ไม่นาน รูปนั่งมันถูกทุกขเวทนาบีบคั้นแล้วมันมีทุกขลักษณะ คือมันไม่สามารถทนอยู่ได้นานในรูปนั่ง ต้องเปลี่ยนเป็นรูปนอน นอนก็อยู่ได้ไม่นานก็ต้อง เปลี่ยนอีก ความสุขเป็นของทนอยู่ไม่ได้ เกิดขึ้นก็อยู่ได้ไม่นานก็ต้องเปลี่ยน ดังนั้นความสุขก็มีทุกขลักษณะ หมายถึงว่ามันทนอยู่ไม่ได้ นี่สติปัญญาของเราเริ่มแก่กล้าขึ้นมา เห็นกระทั่งสุขเป็นตัวทุกข์ ในชีวิตเต็มไปด้วยของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างในโลกนี้ไม่เที่ยง ใจก็จะไม่ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็ส่วนปัญหา แต่ใจไม่ทุกข์ ถ้ายอมรับความจริงไม่ได้ว่าโลก มันไม่เที่ยง เกิดปัญหาขึ้นมา ใจจะทุกข์ มันอยู่ที่ว่าใจเรายอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ ตรงขั้นที่เห็นทุกขเวทนานั่นใครๆ ก็เห็น อันนี้เรื่องธรรมดา เป็นเรื่องโลกๆ ตรงขั้นที่เห็นทุกขลักษณะนี่ขึ้นวิปัสสนากัมมัฏฐานแล้ว ถ้าขึ้นวิปัสสนาจะเห็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) ของรูป นาม ถ้ายังไม่เห็นไตรลักษณ์ แม้จะเห็นรูปนามก็ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา พอเราเห็นไปเรื่อยๆ ต่อไปการเห็นทุกข์มันจะประณีตขึ้น ตรงที่เห็นทุกขลักษณะนี่สามารถบรรลุธรรมได้แล้ว เป็นโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี บรรลุได้เพราะมันเห็นทุกข์ โลกนี้เต็มไปด้วยปัญหา คนเต็มไปด้วยความทุกข์ ถ้าคนไม่มีสติปัญญาก็จะแยกไม่ออกว่าปัญหากับความทุกข์เป็น คนละส่วนกัน โลกมันไม่เที่ยง มันเคลื่อนไปเรื่อยๆ ปัญหา ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สุขภาพ เรารักษาเอาไว้ดีแล้ว ไม่นานก็ ป่วยอีก เพราะมันไม่เที่ยง ในชีวิตเต็มไปด้วยของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างในโลกนี้ไม่เที่ยง ใจก็จะไม่ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็ส่วนปัญหา แต่ใจไม่ทุกข์ ถ้ายอมรับความจริงไม่ได้ว่าโลก มันไม่เที่ยง เกิดปัญหาขึ้นมา ใจจะทุกข์ มันอยู่ที่ว่าใจเรายอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ เรามาหัดเรียนวิปัสสนากัมมัฏฐานกันก็เพื่อให้เห็นความ จริงของโลก ความจริงของชีวิต ความจริงของกายของใจ ให้เห็นว่า มันเป็นของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับได้นะกระทั่งกายนี้ใจนี้ยังไม่เที่ยง สิ่งที่เรียกว่าตัวเรายังไม่เที่ยง “ของเรา” มันก็ไม่มีความหมายอะไร ก็แค่เครื่องอาศัย สามีของเรา ภรรยาของเรา ลูกของเรา บ้านของเรา รถของเรา หน้าที่การงานของเรา มี “ของเรา” เยอะเลย ทั้งหมด ก็เป็นแค่เครื่องอาศัย ถ้าฉลาดก็รู้ว่างานหลักของเราจริงๆ ไม่ใช่งานทํานุบํารุงรักษาสิ่งซึ่งไม่คงที่พวกนี้ ทุ่มเทเท่าไร เหนื่อยยากเท่าไร มันก็แปรปรวน ฉะนั้น เรามาฝึกใจของตัวเองให้ยอมรับความจริงให้ได้ ความจริงก็คือทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่เที่ยงหรอก ทุกสิ่งทุกอย่างแปรปรวนอยู่ตลอดเวลา ไม่คงที่ ให้พาจิตพาใจของเราไปดูความจริงเนืองๆ ดูบ่อยๆ ดูนานๆ พอถึงพระอนาคามี จะเห็นเลยว่ากายนี้ทุกข์ล้วนๆ พวกเรายังไม่เห็น พวกเรายังเห็นว่าร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จิตใจนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง พระอนาคามีท่านเห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เพราะฉะนั้น ท่านไม่ติดอกติดใจในกาย อะไรที่เรียกว่ากาย ตาหูจมูกลิ้นกาย นี่เรียกว่ากาย เมื่อไม่ ติดใจในตาในหูในจมูกในลิ้นในกาย กระทั่งตายังไม่ติดใจ ก็ไม่ติดใจในรูป ไม่ติดใจในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ (สิ่งที่มากระทบกาย) ไม่ติดอกติดใจในรูปก็ไม่มีความยินดียินร้ายในรูป กามและปฏิฆะ ในรูปก็ไม่มี ไม่ติดใจในเสียงก็ไม่ยินดียินร้ายในเสียง กามและปฏิฆะ ในเสียงก็ไม่มี ฯลฯ ถ้าฉลาดก็รู้ว่างานหลักของเราจริงๆ ไม่ใช่งานทํานุบํารุงรักษาสิ่งซึ่งไม่คงที่พวกนี้ ทุ่มเทเท่าไร เหนื่อยยากเท่าไร มันก็แปรปรวน ฉะนั้น เรามาฝึกใจของตัวเองให้ยอมรับความจริงให้ได้ ความจริงก็คือทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่เที่ยงหรอก ทุกสิ่งทุกอย่างแปรปรวนอยู่ตลอดเวลา ไม่คงที่ ให้พาจิตพาใจของเราไปดูความจริงเนืองๆ ดูบ่อยๆ ดูนานๆ นี่ภาวนาไปเรื่อยนะ เห็นทุกข์ไปเรื่อย สุดท้ายใจมันเต็มอิ่ม ขึ้นมา มันไม่หิวโหยหาอารมณ์ภายนอกแล้ว อารมณ์ภายนอก เอามันทําไม มันมีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเลย ใจไม่หิวไปหาอารมณ์ ภายนอก ไม่แส่ส่าย ไม่ฟุ้งซ่านไปสู่อารมณ์ภายนอก เพราะมีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเลย พอใจไม่แส่ส่าย ใจสงบ ใจตั้งมั่น ใจเด่นดวง เป็นผู้รู้ผู้ตื่น ผู้เบิกบานอยู่ ใจก็มีแต่ความสุข เพราะฉะนั้น พระอนาคามีจะเห็น กายเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ยึดถือกาย แต่ยึดถือจิต ที่จริงเห็นมาตั้งแต่ ขั้นพระโสดาบันแล้วว่า จิตไม่ใช่ตัวเรา รู้ว่าเป็นของยืมโลกมาใช้ แต่ว่ามันนำความสุขมาให้ ติดอกติดใจไม่ยอมคืนโลก แล้วไม่เห็นช่องทางที่จะคืนเลย นี่มาถึงตรงนี้นะ มันคือการปฏิบัติในขั้นแตกหักว่า ทําอย่างไรจะปล่อยวางตัวจิตนี้ได้ ถ้าภาวนามาเรื่อยนะ จนรู้สึกว่าใจมันขาดอะไรอย่างหนึ่ง มันจึงไม่สามารถปล่อยวางจิตได้ ปล่อยไปเดี๋ยวก็หยิบขึ้นมา ไม่ปล่อยจริง ในใจรู้แต่ว่ามันขาด แต่ขาดอะไรไม่รู้นะ ภาวนาไปเรื่อยนะ วันหนึ่งก็เข้าใจ มันขาดความเข้าใจอริยสัจ มันไม่เห็นหรอกว่าตัวจิต เป็นตัวทุกข์ มันเห็นว่าจิตนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง ถ้าภาวนาดีๆ ก็เห็นจิตมีแต่ความสุข ไม่มีความทุกข์ ไม่สามารถเห็นได้ว่าตัวจิต เป็นตัวทุกข์ เพราะว่าไม่เห็นความเป็นไตรลักษณ์ของจิตผู้รู้ ถ้าเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของจิตผู้รู้ถึงจะเข้าใจความจริง ว่าจิตเองก็ตกอยู่ภายใต้ความทุกข์ ตกอยู่ใต้สภาวะที่เป็นตัวทุกข์ การที่เราเห็นอย่างแจ่มแจ้งว่ากายนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง จิตนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง อันนี้เรียกว่ารู้แจ้งใน “ทุกขสัจ” วันใดเห็นว่าจิตเป็นตัวทุกข์นั่นแหละเรียกว่าเรา “รู้ทุกข์” แจ่มแจ้งแล้ว เป็นภาวะที่จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อเรารู้อริยสัจแจ่มแจ้ง พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่องทุกขสัจเอาไว้ว่า “สังขิตเตนะ ปัฐจุหาทานักขันธา ทุกขา” โดยสรุปอุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ ขันธ์ทั้ง ๕ ย่อลงมาก็คือรูปกับนาม เราต้องเห็นรูปกับนามเป็น ตัวทุกข์ เราถึงจะปล่อยวางรูปนามได้ ถ้าปล่อยวางรูปนามได้ ก็พ้นทุกข์ได้ เบื้องต้นเราได้ยินว่าเกิดแก่เจ็บตายเป็นทุกข์ เราจะคิดว่า คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย เป็นทุกข์ พอเราภาวนาประณีตขึ้น เราก็จะรู้สึกว่าไม่ใช่คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย เป็นทุกข์หรอก ขันธ์ทั้งหลายถ้าเราเข้าไป ยึดมันแล้วจะเป็นทุกข์ จะรู้สึกอย่างนี้ พอได้ยินคําว่า “ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์” ก็คิดว่าถ้ามีอุปาทานในขันธ์ ๕ ก็จะเป็นทุกข์ มีขันธ์ ๕ เฉยๆ ไม่ทุกข์ จะเข้าใจอย่างนี้ แต่ไม่ใช่คนเป็นทุกข์แล้ว ไม่ใช่คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตายแล้ว ขันธ์ของเราเกิด ขันธ์ของเราแก่ ขันธ์ ของเราเจ็บ ขันธ์ของเราตาย ถึงจะทุกข์ นี่ความเข้าใจก็เปลี่ยนไป พอภาวนาต่อไปอีก ก็เห็นว่าขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ จิตจะมีความอยาก จิตจะมีความยึดขันธ์หรือไม่ก็ตาม ขันธ์นั่น แหละเป็นตัวทุกข์ ท่านถึงบอกว่า ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย คำว่า อุปาทานขันธ์ ไม่ใช่แปลว่า ขันธ์ที่ถูกยึดมั่น แต่เป็นขันธ์ซึ่งเป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้ คือขันธ์ที่พวกเราทั้งหลายมีกันอยู่นี่แหละ ขันธ์บางอย่างไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ เช่น โลกุตตรจิต (มรรคจิต, ผลจิต) ทั้งหลายไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ จึงเอามาทำวิปัสสนาไม่ได้ เพราะไม่ใช่ตัวทุกข์ ขันธ์ทั้งหมดไม่ใช่ตัวทุกข์ เฉพาะขันธ์ที่เรียกว่าอุปาทานขันธ์ คือขันธ์ซึ่งสามารถเอาไปยึดมั่นได้ เป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้เท่านั้นที่เป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ต่อเมื่อยึดมั่นแล้วขันธ์จึงจะกลายเป็นตัวทุกข์ ในความเป็นจริง อุปาทานขันธ์ทั้งหมดเป็นตัวทุกข์ จะยึด หรือไม่ยึด มันก็ทุกข์โดยตัวของมันเองอยู่แล้ว ความเข้าใจจากการปฏิบัตินั้นประณีตมากเลย อ่านๆ เอา นึกว่าเข้าใจ แต่เข้าใจไปคนละเรื่อง ถ้าความรู้ความเข้าใจมีแค่ว่า ถ้ามีความอยากมีความยึด แล้วก็มีความทุกข์ขึ้นมา ไปยึดขันธ์แล้วทุกข์ เราจะมุ่งมาในจุดที่ว่า ทําอย่างไรจะไม่ไปยึดขันธ์ จะหาทางไม่ให้ยึดขันธ์ คนศาสนาอื่นเขาก็หาทางที่จะไม่ให้ยึด อย่างพวกที่ทรมาน ร่างกาย มันรักร่างกายเหรอ ทรมานมันไปเลยจะได้ไม่รักมัน ใจมัน อยากกินก็ทรมานไม่กิน หาเรื่องทรมาน ไม่ตามใจกิเลส พยายาม เข้าไปจัดการกับจิตใจซึ่งมันจะเข้าไปอยาก เข้าไปยึดในรูปในนาม ทั้งหลาย นี่เพราะว่าความเข้าใจในอริยสัจไม่แจ่มแจ้ง ลงท้ายวิธี ปฏิบัติก็คลาดเคลื่อน พอเราคิดว่าถ้าอยากถ้ายึดก็ทุกข์ ก็เลยคิดว่าทําอย่างไร จะหายอยาก อยากกินก็ไม่กิน แกล้งมันซะ ต่อไปจะได้ไม่มี ความอยาก มุ่งไปจัดการที่ตัวความอยาก ถ้าเข้าใจแจ่มแจ้ง ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ขันธ์นี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง แต่เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งความอยากให้ขันธ์เป็นสุขจะไม่เกิดขึ้น ความอยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น อยากให้มีสุขไปทําไม อยากให้โง่หรือ มันไม่มีทางมีความสุขได้เพราะมันเป็นตัวทุกข์ อยากให้มันพ้นทุกข์หรือ อยากให้โง่สิ เพราะถึงอย่างไรมันก็ทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ความอยากทั้งหลายแหล่มันก็มีอยู่แค่นี้เอง ความอยากที่ ว่ากิเลส ๑,๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ จริงๆ ก็คืออยากให้ขันธ์เป็นสุข อยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ ย่อๆ ลงมาก็คือรักสุขเกลียดทุกข์นั่นแหละ พอเข้าใจขันธ์เท่านั้น ความอยากดับเอง ไม่ต้องไปทรมาน กายทรมานใจเพื่อจะดับตัณหา ขอให้รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วตัณหา จะดับไปโดยอัตโนมัติเลย ถ้าเราเข้าใจตัวนี้ ความเข้าใจมันจะประณีตมาก จิตมันจะสลัดคืนขันธ์ให้โลกไปเลย พอจิตมันเห็นว่าขันธ์ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ขันธ์นี้เป็นทุกข์ล้วนๆ กระทั่งตัวจิตก็เป็นทุกข์ล้วนๆ จิตมันก็อยู่ใน ขันธ์นั่นเอง อยู่ในวิญญาณขันธ์ พอมันปล่อยขันธ์ทิ้งไป ไม่มีอะไรให้ยึดอีก มันก็พ้นจากอุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ก็กองอยู่อย่างนั้น กองอยู่กับโลกนั้นเอง ไม่ใช่ต้องไปทําลายล้างมัน มันมีเหตุมันก็เกิด หมดเหตุมันก็ดับ บังคับมันไม่ได้ แต่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันแล้ว ที่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันก็เพราะรู้ทุกข์แจ่มแจ้ง รู้ว่าขันธ์ทั้งหลาย ทั้งปวงนี้แหละเป็นตัวทุกข์ ฉะนั้น การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย

มีแต่ทุกข์ล้วนล้วนจากหนังสืออริยสัจเพื่อความพ้นทุกข์ ประมวลจากพระธรรมเทศนาวันที่ ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๔, ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔, ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ พระพุทธเจ้าตรัสถึงสิ่งซึ่งเป็นไปได้ยากหลายอย่าง เช่น การได้เกิดเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์อย่างพวกเรานั้นยาก เกิดมาแล้ว จะได้พบสัตบุรุษคือคนดีคนมีศีลมีธรรมก็เป็นไปได้ยาก พบแล้ว จะมีศรัทธาเข้าใกล้ก็ยาก เข้าใกล้แล้วจะได้ฟังธรรมก็ยาก ได้ฟัง ธรรมแล้วจะปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรมก็ยากขึ้นไปอีก หัดภาวนาใหม่ๆ มันมีความสุขมาก ไม่ได้ทำอะไรก็มีความสุขโชยขึ้นมาแผ่วๆ ความสุขผุดขึ้นมาทั้งวันเลย มีสติทีไรก็มีความสุข ทุกทีเลย ต่อไปพอสติปัญญาแก่กล้าขึ้นมา มันเปลี่ยนนะ ใจไม่ค่อยมีความสุขหวือหวาขึ้นมาอย่างตอนแรกแล้ว มันเริ่มเห็นทุกข์มากขึ้นๆ ยิ่งภาวนายิ่งเห็นทุกข์มากขึ้น เป็นเรื่องแปลก พอเรารู้สึกตัวขึ้นมา จิตตั้งมั่นอยู่กับเนื้อกับตัว ทำไมมีความสุข เพราะว่าเป็นสมถะ สมถะที่มีสมาธิ มีจิตตั้งมั่น จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวก็มีความสุข แต่พอถึงขั้นเดินปัญญา มันเป็นขั้นรู้ทุกข์ ไม่ใช่ขั้นมีความสุข ถ้าเราเดินปัญญา เราเริ่มเห็นทุกข์นานาชนิดหมุนเวียนกันเข้ามา ในกายในใจนี้ตลอดเวลา ไม่ได้เห็นสุขแล้ว แต่จะเห็นทุกข์ โลกนี้เต็มไปด้วยปัญหา คนเต็มไปด้วยความทุกข์ ถ้าคนไม่มีสติปัญญาก็จะแยกไม่ออกว่าปัญหากับความทุกข์เป็น คนละส่วนกัน โลกมันไม่เที่ยง มันเคลื่อนไปเรื่อยๆ ปัญหา ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สุขภาพ เรารักษาเอาไว้ดีแล้ว ไม่นานก็ ป่วยอีก เพราะมันไม่เที่ยง ทุกข์มีหลายแบบ มีหลายขั้น มีหลายตอน ในทางปริยัติ จําแนกไว้ถึง ๑๐ ประการ แต่สําหรับนักปฏิบัติ เรามาเรียนรู้ทุกข์ บางอย่างก็พอแล้ว ทุกข์หยาบที่สุดเรียกว่า “ทุกขเวทนา” อย่าง เจ็บไข้ได้ป่วย ปวดเมื่อย หนาวไป ร้อนไป หิวข้าวก็ทุกข์นะ มีทุกข์ ทางกาย มีทุกข์ทางใจ เรียกว่า “ทุกขเวทนา” อันนี้เป็นทุกข์ทั่วๆ ไป ใครๆ ก็มี สัตว์ก็มีทุกข์กายทุกข์ใจ ถ้าพวกเราภาวนา เราก็จะเห็นทุกขเวทนาเยอะแยะเลย นั่งอยู่ก็เมื่อย หายใจเข้าก็ทุกข์ หายใจออกก็ทุกข์ ถ้าสติเราเร็วพอ สติปัญญามากพอ ก็จะเห็นเลยว่าที่พยายามหายใจอยู่ตลอดเวลา นี่หายใจไปเพื่อแก้ทุกข์เท่านั้นเอง ที่เปลี่ยนอิริยาบถอยู่ตลอดเวลา ก็เพื่อแก้ทุกข์เท่านั้นเอง หายใจเข้าไปเรื่อยๆ ก็ทุกข์ ต้องหายใจออก แก้ทุกข์ หายใจออกไปเรื่อยๆ ก็ทุกข์ ต้องหายใจเข้า แก้ทุกข์ นั่งนานๆ มันเมื่อยมันทุกข์ ก็ต้องเปลี่ยนอิริยาบถไปขยับซ้าย ขยับขวา หรือลุกขึ้นยืน หรือลุกขึ้นเดิน หรือนั่ง เมื่อยมากก็ ลงนอน เปลี่ยนอิริยาบถเพื่อแก้ทุกข์ ในจิตใจก็เหมือนกัน จิตใจมันมีความทุกข์เกิดขึ้นเรื่อยๆ มันก็ดิ้นรนเที่ยวหาความสุขไปเรื่อย เวลามีความอยากเกิดขึ้นทีไร ก็มีความทุกข์เกิดขึ้นทุกที แต่เราไม่เห็นหรอก เราเห็นว่ามันไม่ สบายใจ พอไม่สบายใจ เราก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ มาป้อนมัน ไปดูหนัง ไปฟังเพลง ไปคุยกับเพื่อน ไปดูโน่นดูนี่ หรือหาหนังสือมาอ่านให้เพลินๆ ไปกินเหล้า เปลี่ยนอารมณ์ไป เรื่อยๆ จริงๆ ก็เพื่อแสวงหาความสุข เพื่อหนีความทุกข์ ใจมันไม่มีความสุขหรอก เฝ้ารู้เฝ้าดูไปนะ ไม่ว่าจะอารมณ์ชนิดไหนมันก็อยู่ได้ ชั่วคราว มันทนอยู่ไม่ได้สักอันเดียว เปลี่ยนอิริยาบถมาอยู่ใน อิริยาบถแบบนี้แล้ว นึกว่าจะอยู่สบายก็ไม่สบาย ทนอยู่ไม่ได้อีก จิตใจก็เหมือนกัน ไปกระทบอารมณ์อย่างนี้นึกว่าจะสบาย ก็สบายแป๊บๆ เดี๋ยวก็ทนอยู่ไม่ได้อีก ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของทนอยู่ ไม่ได้ ภาวะแห่งการทนอยู่ไม่ได้นี่แหละคือทุกข์อีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “ทุกขลักษณะ” ไม่ใช่ทุกขเวทนาแล้ว “ทุกขลักษณะ” หมายถึงว่าสิ่งทั้งหลายนั้นมันทนทาน อยู่ไม่ได้จริง ถ้ามันทนอยู่ได้เรื่อยๆ ไปก็ยิ่งทุกข์หนักนะ เกิดทุกขเวทนาหนักเสียอีก สิ่งทั้งหลายมันเปลี่ยนไปเรื่อย ไม่คงที่ เวลาเราภาวนา มากเข้าๆ ไม่ใช่เห็นแค่ทุกข์ทางร่างกาย เราจะเห็นเลยว่าทุกสิ่ง ทุกอย่างที่เกิดขึ้นในกายในใจนี้เป็นของชั่วคราวทั้งหมดเลย มีขึ้นมา แล้วก็หายไป เช่นนั่งอยู่ รูปนั่งก็ทนอยู่ได้ไม่นาน รูปนั่งมันถูกทุกขเวทนาบีบคั้นแล้วมันมีทุกขลักษณะ คือมันไม่สามารถทนอยู่ได้นานในรูปนั่ง ต้องเปลี่ยนเป็นรูปนอน นอนก็อยู่ได้ไม่นานก็ต้อง เปลี่ยนอีก ความสุขเป็นของทนอยู่ไม่ได้ เกิดขึ้นก็อยู่ได้ไม่นานก็ต้องเปลี่ยน ดังนั้นความสุขก็มีทุกขลักษณะ หมายถึงว่ามันทนอยู่ไม่ได้ นี่สติปัญญาของเราเริ่มแก่กล้าขึ้นมา เห็นกระทั่งสุขเป็นตัวทุกข์ ในชีวิตเต็มไปด้วยของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างในโลกนี้ไม่เที่ยง ใจก็จะไม่ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็ส่วนปัญหา แต่ใจไม่ทุกข์ ถ้ายอมรับความจริงไม่ได้ว่าโลก มันไม่เที่ยง เกิดปัญหาขึ้นมา ใจจะทุกข์ มันอยู่ที่ว่าใจเรายอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ ตรงขั้นที่เห็นทุกขเวทนานั่นใครๆ ก็เห็น อันนี้เรื่องธรรมดา เป็นเรื่องโลกๆ ตรงขั้นที่เห็นทุกขลักษณะนี่ขึ้นวิปัสสนากัมมัฏฐานแล้ว ถ้าขึ้นวิปัสสนาจะเห็นไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา) ของรูป นาม ถ้ายังไม่เห็นไตรลักษณ์ แม้จะเห็นรูปนามก็ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา พอเราเห็นไปเรื่อยๆ ต่อไปการเห็นทุกข์มันจะประณีตขึ้น ตรงที่เห็นทุกขลักษณะนี่สามารถบรรลุธรรมได้แล้ว เป็นโสดาบัน สกิทาคามี อนาคามี บรรลุได้เพราะมันเห็นทุกข์ โลกนี้เต็มไปด้วยปัญหา คนเต็มไปด้วยความทุกข์ ถ้าคนไม่มีสติปัญญาก็จะแยกไม่ออกว่าปัญหากับความทุกข์เป็น คนละส่วนกัน โลกมันไม่เที่ยง มันเคลื่อนไปเรื่อยๆ ปัญหา ก็เกิดขึ้นตลอดเวลา เช่น สุขภาพ เรารักษาเอาไว้ดีแล้ว ไม่นานก็ ป่วยอีก เพราะมันไม่เที่ยง ในชีวิตเต็มไปด้วยของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างในโลกนี้ไม่เที่ยง ใจก็จะไม่ทุกข์ ปัญหาที่เกิดขึ้น ก็ส่วนปัญหา แต่ใจไม่ทุกข์ ถ้ายอมรับความจริงไม่ได้ว่าโลก มันไม่เที่ยง เกิดปัญหาขึ้นมา ใจจะทุกข์ มันอยู่ที่ว่าใจเรายอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ เรามาหัดเรียนวิปัสสนากัมมัฏฐานกันก็เพื่อให้เห็นความ จริงของโลก ความจริงของชีวิต ความจริงของกายของใจ ให้เห็นว่า มันเป็นของไม่เที่ยง ถ้าใจยอมรับได้นะกระทั่งกายนี้ใจนี้ยังไม่เที่ยง สิ่งที่เรียกว่าตัวเรายังไม่เที่ยง “ของเรา” มันก็ไม่มีความหมายอะไร ก็แค่เครื่องอาศัย สามีของเรา ภรรยาของเรา ลูกของเรา บ้านของเรา รถของเรา หน้าที่การงานของเรา มี “ของเรา” เยอะเลย ทั้งหมด ก็เป็นแค่เครื่องอาศัย ถ้าฉลาดก็รู้ว่างานหลักของเราจริงๆ ไม่ใช่งานทํานุบํารุงรักษาสิ่งซึ่งไม่คงที่พวกนี้ ทุ่มเทเท่าไร เหนื่อยยากเท่าไร มันก็แปรปรวน ฉะนั้น เรามาฝึกใจของตัวเองให้ยอมรับความจริงให้ได้ ความจริงก็คือทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่เที่ยงหรอก ทุกสิ่งทุกอย่างแปรปรวนอยู่ตลอดเวลา ไม่คงที่ ให้พาจิตพาใจของเราไปดูความจริงเนืองๆ ดูบ่อยๆ ดูนานๆ พอถึงพระอนาคามี จะเห็นเลยว่ากายนี้ทุกข์ล้วนๆ พวกเรายังไม่เห็น พวกเรายังเห็นว่าร่างกายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จิตใจนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง พระอนาคามีท่านเห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เพราะฉะนั้น ท่านไม่ติดอกติดใจในกาย อะไรที่เรียกว่ากาย ตาหูจมูกลิ้นกาย นี่เรียกว่ากาย เมื่อไม่ ติดใจในตาในหูในจมูกในลิ้นในกาย กระทั่งตายังไม่ติดใจ ก็ไม่ติดใจในรูป ไม่ติดใจในเสียง ในกลิ่น ในรส ในโผฏฐัพพะ (สิ่งที่มากระทบกาย) ไม่ติดอกติดใจในรูปก็ไม่มีความยินดียินร้ายในรูป กามและปฏิฆะ ในรูปก็ไม่มี ไม่ติดใจในเสียงก็ไม่ยินดียินร้ายในเสียง กามและปฏิฆะ ในเสียงก็ไม่มี ฯลฯ ถ้าฉลาดก็รู้ว่างานหลักของเราจริงๆ ไม่ใช่งานทํานุบํารุงรักษาสิ่งซึ่งไม่คงที่พวกนี้ ทุ่มเทเท่าไร เหนื่อยยากเท่าไร มันก็แปรปรวน ฉะนั้น เรามาฝึกใจของตัวเองให้ยอมรับความจริงให้ได้ ความจริงก็คือทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่เที่ยงหรอก ทุกสิ่งทุกอย่างแปรปรวนอยู่ตลอดเวลา ไม่คงที่ ให้พาจิตพาใจของเราไปดูความจริงเนืองๆ ดูบ่อยๆ ดูนานๆ นี่ภาวนาไปเรื่อยนะ เห็นทุกข์ไปเรื่อย สุดท้ายใจมันเต็มอิ่ม ขึ้นมา มันไม่หิวโหยหาอารมณ์ภายนอกแล้ว อารมณ์ภายนอก เอามันทําไม มันมีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเลย ใจไม่หิวไปหาอารมณ์ ภายนอก ไม่แส่ส่าย ไม่ฟุ้งซ่านไปสู่อารมณ์ภายนอก เพราะมีแต่ทุกข์ทั้งนั้นเลย พอใจไม่แส่ส่าย ใจสงบ ใจตั้งมั่น ใจเด่นดวง เป็นผู้รู้ผู้ตื่น ผู้เบิกบานอยู่ ใจก็มีแต่ความสุข เพราะฉะนั้น พระอนาคามีจะเห็น กายเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ยึดถือกาย แต่ยึดถือจิต ที่จริงเห็นมาตั้งแต่ ขั้นพระโสดาบันแล้วว่า จิตไม่ใช่ตัวเรา รู้ว่าเป็นของยืมโลกมาใช้ แต่ว่ามันนำความสุขมาให้ ติดอกติดใจไม่ยอมคืนโลก แล้วไม่เห็นช่องทางที่จะคืนเลย นี่มาถึงตรงนี้นะ มันคือการปฏิบัติในขั้นแตกหักว่า ทําอย่างไรจะปล่อยวางตัวจิตนี้ได้ ถ้าภาวนามาเรื่อยนะ จนรู้สึกว่าใจมันขาดอะไรอย่างหนึ่ง มันจึงไม่สามารถปล่อยวางจิตได้ ปล่อยไปเดี๋ยวก็หยิบขึ้นมา ไม่ปล่อยจริง ในใจรู้แต่ว่ามันขาด แต่ขาดอะไรไม่รู้นะ ภาวนาไปเรื่อยนะ วันหนึ่งก็เข้าใจ มันขาดความเข้าใจอริยสัจ มันไม่เห็นหรอกว่าตัวจิต เป็นตัวทุกข์ มันเห็นว่าจิตนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง ถ้าภาวนาดีๆ ก็เห็นจิตมีแต่ความสุข ไม่มีความทุกข์ ไม่สามารถเห็นได้ว่าตัวจิต เป็นตัวทุกข์ เพราะว่าไม่เห็นความเป็นไตรลักษณ์ของจิตผู้รู้ ถ้าเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของจิตผู้รู้ถึงจะเข้าใจความจริง ว่าจิตเองก็ตกอยู่ภายใต้ความทุกข์ ตกอยู่ใต้สภาวะที่เป็นตัวทุกข์ การที่เราเห็นอย่างแจ่มแจ้งว่ากายนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง จิตนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง อันนี้เรียกว่ารู้แจ้งใน “ทุกขสัจ” วันใดเห็นว่าจิตเป็นตัวทุกข์นั่นแหละเรียกว่าเรา “รู้ทุกข์” แจ่มแจ้งแล้ว เป็นภาวะที่จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อเรารู้อริยสัจแจ่มแจ้ง พระพุทธเจ้าทรงสอนเรื่องทุกขสัจเอาไว้ว่า “สังขิตเตนะ ปัฐจุหาทานักขันธา ทุกขา” โดยสรุปอุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ ขันธ์ทั้ง ๕ ย่อลงมาก็คือรูปกับนาม เราต้องเห็นรูปกับนามเป็น ตัวทุกข์ เราถึงจะปล่อยวางรูปนามได้ ถ้าปล่อยวางรูปนามได้ ก็พ้นทุกข์ได้ เบื้องต้นเราได้ยินว่าเกิดแก่เจ็บตายเป็นทุกข์ เราจะคิดว่า คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย เป็นทุกข์ พอเราภาวนาประณีตขึ้น เราก็จะรู้สึกว่าไม่ใช่คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตาย เป็นทุกข์หรอก ขันธ์ทั้งหลายถ้าเราเข้าไป ยึดมันแล้วจะเป็นทุกข์ จะรู้สึกอย่างนี้ พอได้ยินคําว่า “ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นทุกข์” ก็คิดว่าถ้ามีอุปาทานในขันธ์ ๕ ก็จะเป็นทุกข์ มีขันธ์ ๕ เฉยๆ ไม่ทุกข์ จะเข้าใจอย่างนี้ แต่ไม่ใช่คนเป็นทุกข์แล้ว ไม่ใช่คนเกิด คนแก่ คนเจ็บ คนตายแล้ว ขันธ์ของเราเกิด ขันธ์ของเราแก่ ขันธ์ ของเราเจ็บ ขันธ์ของเราตาย ถึงจะทุกข์ นี่ความเข้าใจก็เปลี่ยนไป พอภาวนาต่อไปอีก ก็เห็นว่าขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ จิตจะมีความอยาก จิตจะมีความยึดขันธ์หรือไม่ก็ตาม ขันธ์นั่น แหละเป็นตัวทุกข์ ท่านถึงบอกว่า ว่าโดยย่อ อุปาทานขันธ์ทั้ง ๕ เป็นตัวทุกข์ การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย คำว่า อุปาทานขันธ์ ไม่ใช่แปลว่า ขันธ์ที่ถูกยึดมั่น แต่เป็นขันธ์ซึ่งเป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้ คือขันธ์ที่พวกเราทั้งหลายมีกันอยู่นี่แหละ ขันธ์บางอย่างไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ เช่น โลกุตตรจิต (มรรคจิต, ผลจิต) ทั้งหลายไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ จึงเอามาทำวิปัสสนาไม่ได้ เพราะไม่ใช่ตัวทุกข์ ขันธ์ทั้งหมดไม่ใช่ตัวทุกข์ เฉพาะขันธ์ที่เรียกว่าอุปาทานขันธ์ คือขันธ์ซึ่งสามารถเอาไปยึดมั่นได้ เป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้เท่านั้นที่เป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ต่อเมื่อยึดมั่นแล้วขันธ์จึงจะกลายเป็นตัวทุกข์ ในความเป็นจริง อุปาทานขันธ์ทั้งหมดเป็นตัวทุกข์ จะยึด หรือไม่ยึด มันก็ทุกข์โดยตัวของมันเองอยู่แล้ว ความเข้าใจจากการปฏิบัตินั้นประณีตมากเลย อ่านๆ เอา นึกว่าเข้าใจ แต่เข้าใจไปคนละเรื่อง ถ้าความรู้ความเข้าใจมีแค่ว่า ถ้ามีความอยากมีความยึด แล้วก็มีความทุกข์ขึ้นมา ไปยึดขันธ์แล้วทุกข์ เราจะมุ่งมาในจุดที่ว่า ทําอย่างไรจะไม่ไปยึดขันธ์ จะหาทางไม่ให้ยึดขันธ์ คนศาสนาอื่นเขาก็หาทางที่จะไม่ให้ยึด อย่างพวกที่ทรมาน ร่างกาย มันรักร่างกายเหรอ ทรมานมันไปเลยจะได้ไม่รักมัน ใจมัน อยากกินก็ทรมานไม่กิน หาเรื่องทรมาน ไม่ตามใจกิเลส พยายาม เข้าไปจัดการกับจิตใจซึ่งมันจะเข้าไปอยาก เข้าไปยึดในรูปในนาม ทั้งหลาย นี่เพราะว่าความเข้าใจในอริยสัจไม่แจ่มแจ้ง ลงท้ายวิธี ปฏิบัติก็คลาดเคลื่อน พอเราคิดว่าถ้าอยากถ้ายึดก็ทุกข์ ก็เลยคิดว่าทําอย่างไร จะหายอยาก อยากกินก็ไม่กิน แกล้งมันซะ ต่อไปจะได้ไม่มี ความอยาก มุ่งไปจัดการที่ตัวความอยาก ถ้าเข้าใจแจ่มแจ้ง ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ขันธ์นี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง แต่เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งความอยากให้ขันธ์เป็นสุขจะไม่เกิดขึ้น ความอยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น อยากให้มีสุขไปทําไม อยากให้โง่หรือ มันไม่มีทางมีความสุขได้เพราะมันเป็นตัวทุกข์ อยากให้มันพ้นทุกข์หรือ อยากให้โง่สิ เพราะถึงอย่างไรมันก็ทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ความอยากทั้งหลายแหล่มันก็มีอยู่แค่นี้เอง ความอยากที่ ว่ากิเลส ๑,๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ จริงๆ ก็คืออยากให้ขันธ์เป็นสุข อยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ ย่อๆ ลงมาก็คือรักสุขเกลียดทุกข์นั่นแหละ พอเข้าใจขันธ์เท่านั้น ความอยากดับเอง ไม่ต้องไปทรมาน กายทรมานใจเพื่อจะดับตัณหา ขอให้รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วตัณหา จะดับไปโดยอัตโนมัติเลย ถ้าเราเข้าใจตัวนี้ ความเข้าใจมันจะประณีตมาก จิตมันจะสลัดคืนขันธ์ให้โลกไปเลย พอจิตมันเห็นว่าขันธ์ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ขันธ์นี้เป็นทุกข์ล้วนๆ กระทั่งตัวจิตก็เป็นทุกข์ล้วนๆ จิตมันก็อยู่ใน ขันธ์นั่นเอง อยู่ในวิญญาณขันธ์ พอมันปล่อยขันธ์ทิ้งไป ไม่มีอะไรให้ยึดอีก มันก็พ้นจากอุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ก็กองอยู่อย่างนั้น กองอยู่กับโลกนั้นเอง ไม่ใช่ต้องไปทําลายล้างมัน มันมีเหตุมันก็เกิด หมดเหตุมันก็ดับ บังคับมันไม่ได้ แต่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันแล้ว ที่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันก็เพราะรู้ทุกข์แจ่มแจ้ง รู้ว่าขันธ์ทั้งหลาย ทั้งปวงนี้แหละเป็นตัวทุกข์ ฉะนั้น การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย

การทำตนให้หลุดพ้นจากสังสารวัฎชั่วขณะจิตหนึ่ง "บุคคลใดสามารถทำจิตว่างจากกิเลสวันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง จะเป็นฆราวาสก็ตาม ผู้หญิงก็ตาม ผู้ชายก็ตาม อันนี้หมายถึงฆราวาสนะ ท่านบอกว่า ถ้าทำได้อย่างนี้ทุกวัน วันหนึ่งสงบนิดเดียว สงบจริง ๆ ไม่นึกถึงอย่างอื่น รู้แค่ลมหายใจเข้าออกหรือคำภาวนา ท่านบอกว่าทำได้อย่างนี้ทุกวันมีอานิสงส์ดีกว่าพระสงฆ์ที่บวชเข้ามาในพระพุทธศาสนา เฉพาะเวลาบวชถึง ๑๐๐ พรรษานะ ไม่ใช่เกิด ๑๐๐ ปี บวชนะ ๑๐๐ ปี มีศีลบริสุทธิ์ทุกสิกขาบท แต่ไม่เคยเจริญสมาธิ แล้วบุคคลที่มีจิตว่างจากกิเลสทำสมาธิ มีจิตว่างจากกิเลสวันหนึ่งชั่วขณะจิตหนึ่ง มีอานิสงส์ดีกว่าพระบวชที่มีศีลบริสุทธิ์มาตั้ง ๑๐๐ ปี ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะศีลจะมีอานุภาพแค่กามาวจรสวรรค์ ไปพรหมไม่ได้ นี่เฉพาะศีลนะ ไปนิพพานก็ยังไม่ได้เป็นพื้นฐานแรก ถ้าการฝึกสมาธิได้วันหนึ่งชั่วขณะจิตเดียว จิตจะรวบรวมกำลังอยู่เสมอ เวลาใกล้จะตายจิตอาจจะเกิดเป็นฌาน พอจิตเป็นฌานสมาบัติก็ไปพรหมโลกได้ ถ้ากำลังจิตเป็นฌานเวลานั้นเกิดมีอารมณ์เบื่อหน่ายร่างกายขึ้นมา ตายวันนั้นไปนิพพานทันที" พระราชพรหมยานมหาเถระ (หลวงพ่อฤๅษี)

วันจันทร์ที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2559

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.

ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิที่ละเอียดขึ้นไปอีกนอกจากการรู้ทุกข์แล้วไม่มีวิธี...บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์­นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

พระพุทธองค์ทรงชี้วิถีพระธรรมนำทางบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า­­ทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น.กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจาร­­ย์มากครับ.เราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ ไปอีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกั­­นเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ

คําสอนพระพุทธเจ้าปริญญา ๓ ===================== การเจริญสติปัฏฐานซึ่งเป็นการอบรมเจริญปัญญาเพื่อรู้แจ้งอริยสัจจธรรมนั้น ทำให้เกิดปริญญาคือปัญญารอบรู้ ๓ ขั้น คือ ญาตปริญญา ตีรณปริญญา ปหานปริญญา ญาตปริญญา คือ ปัญญาที่ประจักษ์ลักษณะของนามธรรมและรูปธรรมที่ปรากฏโดยสภาพไม่ใช่ตัวตน ด้วยนามรูปปริจเฉทญาณ เป็นต้น ไปเป็นพื้นฐานให้น้อมพิจารณาลักษณะของนามธรรมและรูปธรรมอื่นๆ เพิ่มขึ้น รอบรู้ขึ้นตามลักษณะของนามธรรมและรูปธรรมที่ได้ประจักษ์แล้วในนามรูปปริจเฉทญาณ ตีรณปริญญา คือ ปัญญาที่พิจารณาลักษณะของสภาพธรรมที่ปรากฏโดยเสมอกัน โดยรอบรู้ ไม่เจาะจงฝักใฝ่มุ่งหวังนามธรรมและรูปธรรมใดโดยเฉพาะ เพราะรู้ลักษณะของสภาพธรรมที่ปรากฏจนทั่วทั้ง ๖ ทวาร ความสมบูรณ์ของปัญญาที่รู้ชัดในความเสมอกันของนามธรรมและรูปธรรมทำให้ประจักษ์การเกิดขึ้นและดับไปของนามธรรมและรูปธรรมตั้งแต่สัมมสนญาณ เป็นต้นไป ปหานปริญญา คือ เมื่อพิจารณาความดับไปของนามธรรมและรูปธรรม จนประจักษ์แจ้งการดับไปของนามธรรมและรูปธรรมด้วยภังคญาณแล้ว ปัญญารอบรู้เพิ่มขึ้น ก็เริ่มคลายความยินดีในนามธรรมและรูปธรรม เพราะเห็นโทษของนามธรรมและรูปธรรมเพิ่มขึ้นเป็นปหานปริญญา เป็นต้นไป จนถึงมัคคญาณ ในวันหนึ่งๆ ปัจจัยที่จะให้สติปัฏฐานเกิดระลึกรู้ลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏตามปกติตามความเป็นจริงนั้น น้อยกว่าปัจจัยที่จะให้อกุศลธรรมเกิดขึ้นมากเหลือเกิน ฉะนั้น การเจริญขึ้นของโพธิปักขิยธรรม ๓๗ ซึ่งเป็นส่วนประกอบของการรู้แจ้งอริยสัจจธรรม ๔ คือ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมัคค์มีองค์ ๘ รวมเป็นโพธิปักขิยธรรม ๓๗ นั้น จึงต้องสะสมอบรมนานมาก เพราะไม่ใช่เป็นการทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดขึ้นมารู้ แต่เป็นการระลึกรู้ลักษณะของสภาพธรรมที่เป็นอนัตตาที่มีเหตุปัจจจัยเกิดขึ้น ปรากฏแล้วดับไปรวดเร็วเป็นปกติในชีวิตประจำวัน ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในขณะนี้เอง ถ้าขณะนี้ไม่รู้ว่าสติปัฏฐานเป็นอย่างไร ไม่รู้ว่าสิ่งที่กำลังปรากฏทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ โดยสภาพที่เป็นปรมัตถธรรมไม่ใช่ตัวตนนั้นเป็นอย่างไร ก็จะต้องอบรมปัญญาขั้นต้นด้วยการฟังพระธรรมที่พระผู้มีพระภาคทรงแสดงไว้ เพื่อให้พุทธบริษัทเข้าใจลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏ ถูกต้องตรงตามความเป็นจริงตามที่ทรงตรัสรู้ และจะต้องพิจารณาหนทางปฏิบัติ คือการอบรมเจริญปัญญาให้ถูกต้องว่า เหตุต้องสมควรแก่ผล เมื่อผลคือปัญญาที่ประจักษ์แจ้งไตรลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา สภาพที่เกิดขึ้นและดับไปเป็นทุกข์ เพราะไม่ใช่สภาพที่น่ายินดีและเป็นอนัตตาของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏในขณะนี้ ก็ย่อมรู้ว่าไม่มีทางอื่นเลย นอกจากหนทางเดียวคือ สติปัฏฐานเกิดขึ้นระลึกรู้ ศึกษา สังเกตลักษณะของสภาพธรรมที่กำลังปรากฏในขณะนี้ไปเรื่อยๆ จนกว่าสังขารขันธ์ทั้งหลายจะเป็นปัจจัยปรุงแต่งให้ปัญญาที่อบรมสมบูรณ์แล้วเกิดขึ้นเป็นวิปัสสนาญาณแต่ละขั้นๆ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอบรมพระบารมี ๔ อสงไขยแสนกัปป์ หลังจากที่ทรงได้รับพระพุทธพยากรณ์จากพระทีปังกรสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว พระองค์ทรงอบรมเจริญบารมีมาโดยตลอด และได้เฝ้าพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ๒๔ พระองค์ ก่อนที่จะทรงตรัสรู้อริยสัจจธรรมเป็นพระโสดาบันบุคคล พระสกทาคามีบุคคล พระอนาคามีบุคคล แล้วบรรลุพระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า โดยลำดับ ในปัจฉิมยาม ณ โคนต้นพระศรีมหาโพธิ์ในวันเพ็ญเดือน ๖ พระอัครสาวทั้ง ๒ คือ ท่านพระสารีบุตร ผู้เลิศทางปัญญา และท่านพระมหาโมคคัลลานะ ผู้เลิศทางอิทธิฤทธิ์นั้น อบรมเจริญปัญญามาแล้ว ๑ อสงไขยแสนกัปป์ ในชาติสุดท้ายท่านพระสารีบุตรบรรลุเป็นพระโสดาบันบุคคล เมื่อได้ฟังท่านพระอัสสชิแสดงธรรมแก่ท่าน และท่านพระมหาโมคคัลลานะก็ได้บรรลุเป็นพระโสดาบัน เมื่อได้ฟังท่านพระสารีบุตรแสดงธรรมที่ท่านพระอัสสซิได้แสดงแล้วนั้น พระมหาสาวกผู้เป็นเอตทัคคะ คือ เป็นเลิศในทางต่างๆ เช่น ท่านพระมหากัสสปะ ท่านพระอานนท์ ท่านพระอุบาลี ท่านพระอนุรุทธะ เป็นต้น ก็ได้อบรมเจริญปัญญาแล้วแสนกัปป์ พระอรหันตสาวกและพุทธบริษัทก็ได้อบรมเจริญปัญญามาแล้วจนรู้แจ้งอริยสัจจธรรมเป็นพระอริยบุคคลเป็นจำนวนมากในกาลสมบัติ คือสมัยที่พระผู้มีพระภาคยังไม่ทรงดับขันธปรินิพพาน และหลังจากทรงดับขันธปรินิพพานแล้วไม่นานสืบต่อมาจนถึงยุคสมัยปัจจุบัน ซึ่งการรู้แจ้งอริยสัจจธรรมย่อมลดน้อยลงไปตามการศึกษา การเข้าใจพระธรรม และการปฏิบัติธรรมโดยถูกต้อง และโดยเหตุคือการอบรมสะสมเจริญปัญญาที่สมควรแก่ผล ก่อนการตรัสรู้ของพระผู้มีพระภาคนั้น มีผู้อบรมเจริญสมถภาวนาจนสามารถบรรลุคุณวิเศษ กระทำอิทธิปาฏิหาริย์ต่างๆ ได้ แต่ไม่สามารถดับกิเลสได้เป็นสมุจเฉท เมื่อพระผู้มีพระภาคทรงตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณและทรงแสดงพระธรรมแล้ว ก็มีผู้รู้แจ้งอริยสัจจธรรมเป็นจำนวนมาก และบางท่านที่เจริญสมถภาวนาบรรลุฌานจิตมาแล้ว เมื่อเจริญสติปัฏฐาน ก็รู้แจ้งอริยสัจจธรรมด้วย ฉะนั้น พระอริยสาวกจึงมี ๒ ประเภท คือ พระอริยสาวกผู้เป็นสุกขวิปัสสกะและ พระอริยสาวกผู้เป็นเจโตวิมุตติ พระอริยบุคคลผู้เป็นสุกขวิปัสสกะ นั้นบรรลุมัคคจิตโดยไม่มีฌานจิตเป็นบาท คือไม่ได้บรรลุฌานจิต ฌานจิตจึงไม่เกิดขึ้นเป็นอารมณ์ให้พิจารณา และถึงแม้ว่าโลกุตตรจิตประจักษ์แจ้งนิพพานอย่างชัดเจนแนบแน่นเช่นเดียวกับอัปปนาสมาธิที่แนบแน่นในอารมณ์ของฌานจิตขั้นต่างๆ แต่เมื่อพระอริยสุกขวิปัสสกะไม่ได้บรรลุฌาน ก็ไม่สามารถเข้าถึงฌานสมาบัติได้ การนับประเภทจิตโดยนัย ๘๙ ดวง จึงนับโดยนัยของพระอริยบุคคลผู้เป็นสุกขวิปัสสกะ ส่วนพระอริยบุคคลผู้เป็นเจโตวิมุตตินั้น บรรลุมัคคจิตผลจิตโดยมีฌานเป็นบาท ฉะนั้น จึงต้องเป็นผู้บรรลุฌานพร้อมด้วยวสี ฌานจิตจึงเกิดขึ้นเป็นอารมณ์ให้มหากุศลญาณสัมปยุตตจิตพิจารณา จนบรรลุโลกุตตรมัคคจิต ผลจิตได้ด้วยการพิจารณาฌานจิตนั้นเอง พระอริยบุคคลผู้บรรลุมัคค์ผลนิพพานพร้อมด้วยองค์ของฌานขั้นต่างๆ จึงเป็นเจโตวิมุตติเพราะพ้นจากกิเลสด้วยปัญญาและความสงบของฌานขั้นต่าง ๆ การนับประเภทจิตโดยนัย ๑๒๑ ดวงจึงนับโดยนัยของพระอริยบุคคลผู้เป็นเจโตวิมุตติ

การเห็นแจ้งพระนิพพานการเห็นแจ้งพระนิพพาน เรามาเรียนรู้ให้เห็นความจริงของโลกนะ เรียนรู้ให้เห็นความจริงของชีวิตเรา เราจะเห็นเลยว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ปรากฏขึ้นในกายในใจของเราเนี่ย นอกจากทุกข์นะ ไม่มีอะไรเกิดขึ้น นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรตั้งอยู่ นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับไป ถ้าเราเห็นได้อย่างนี้ จิตจะถึงหมดความยึดถือในกายในใจ กายกับใจเป็นตัวทุกข์นะ ถ้าเมื่อไหร่เราสลัดคืนกายคืนใจให้โลกได้ ก็คือทิ้งตัวทุกข์ไปนะ พ้นจากกายจากใจ จากรูปจากนามนี้ไป จะสัมผัสพระนิพพาน มีความสุขที่มหาศาลขึ้นมา

โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะคนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้น

เราเห็นแสงไฟแล้ววิธีปฏิบัติมีเพียงอย่างเดียว คือการมีความรู้สึกตัวแล้วรู้กายและจิตตามความเป็นจริง เมื่อเห็นความจริงแล้วย่อมเบื่อหน่าย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายความกำหนัดยินดีในกายและจิต เมื่อหมดความกำหนัดยินดีย่อมหลุดพ้นจากความยึดถือกายและจิต เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ต้องทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความพ้นทุกข์อย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว นี้เองเป็นที่สุดแห่งทุกข์ หลวงพ่อ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๙ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนว่า รอยเท้าของสัตว์ทั้งหลายย่อมรวมลงในรอยเท้าช้างได้ฉันใด ธรรมทั้งปวงย่อมรวมลงได้ในอริยสัจจ์ฉันนั้น อริยสัจจ์จึงเป็นธรรมที่บริสุทธิ์ลึกซึ้งอย่างถึงที่สุด มีแต่พระอรหันต์เท่านั้นที่จะรู้แจ้งอริยสัจจ์ได้ เพราะความรู้แจ้งอริยสัจจ์คือวิชชา ส่วนความไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์คืออวิชชา อริยสัจจ์ข้อแรกคือทุกข์ ทุกข์คืออะไร - ทุกข์คือรูปนามขันธ์ ๕ หรือกายใจนี้เอง กิจต่อทุกข์มีอย่างไร - กิจต่อทุกข์คือให้รู้ทุกข์ การรู้ทุกข์นั้นทำอย่างไร - เมื่อเราตื่นออกจากโลกของความคิดและเกิดความรู้สึกตัว เราจะรู้กายตามความเป็นจริง และรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เมื่อรู้มากเข้าเราจะเข้าใจความเป็นจริงของกายและใจ ว่าเป็นสภาพธรรมที่ไม่เที่ยงคือมีแล้วไม่มี เป็นทุกข์คือทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตาคือเป็นของโลกไม่ใช่ของเรา การรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงอย่างนี้แหละคือวิธีรู้ทุกข์ อริยสัจจ์ข้อที่ ๒ คือสมุทัย สมุทัยคืออะไร – สมุทัยคือตัณหาหรือความทะยานอยากดิ้นรนของจิต ที่จะแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ ด้วยวิธีการต่างๆ นานา ได้แก่ (๑) ความปรุงแต่งฝ่ายชั่ว ด้วยการเที่ยวแสวงหาอารมณ์มาตอบสนองกิเลส (๒) ความปรุงแต่งฝ่ายดี ด้วยการควบคุมกายควบคุมใจให้ดี และ (๓) ความปรุงแต่งสภาพธรรมที่พ้นจากการกระทบอารมณ์ชั่วคราว กิจต่อสมุทัยมีอย่างไร – กิจต่อสมุทัยคือให้ละสมุทัย การละสมุทัยนั้นทำอย่างไร – เมื่อเรารู้ทุกข์แจ่มแจ้งจนละความเห็นผิดและความยึดถือว่ารูปนามกายใจเป็นตัวเราแล้ว ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดิ้นรนแสวงหาความสุขมาให้ตัวเรา หรือดิ้นรนพาตัวเราให้พ้นจากความทุกข์อีกต่อไป การรู้ทุกข์อย่างแจ่มแจ้งนั่นแหละเป็นทางละสมุทัยโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๓ คือนิโรธ นิโรธคืออะไร – นิโรธคือนิพพานได้แก่ความสงบสันติอันเนื่องมาจากความสิ้นตัณหาหรือความดิ้นรนของจิต กิจต่อนิโรธมีอย่างไร – กิจต่อนิโรธคือการทำให้แจ้ง ทำให้เข้าไปสัมผัสถึง การทำนิโรธให้แจ้งนั้นทำอย่างไร – เมื่อรู้ทุกข์จนสิ้นสมุทัยแล้ว นิโรธก็เป็นอันถูกทำให้แจ้งโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๔ คือมรรค มรรคคืออะไร – มรรคคือวิธีการรู้ทุกข์จนละสมุทัยและทำนิโรธให้แจ้งได้ กิจต่อมรรคคืออะไร – กิจต่อมรรคคือการทำให้เจริญ ทำให้มาก การเจริญมรรคนั้นทำอย่างไร – ทำ(สัมมา)สติให้เกิดเนืองๆ แล้วองค์มรรคที่เหลือจะเกิดตามมาเอง สติเป็นอนัตตา ไม่มีใครสั่งสติให้เกิดได้ แต่ถ้ามีเหตุ ถึงไม่สั่ง สติก็เกิดขึ้นได้เอง เหตุของสติคือการที่จิตจดจำสภาวธรรมคือรูปนามได้แม่นยำ จิตจะจดจำสภาวธรรมได้แม่นยำ ถ้าจิตเคยเห็นสภาวธรรมบ่อยๆ ดังนั้นพึงหัดทำความรู้จักสภาวธรรมให้มากเข้าไว้ เบื้องต้นทำกรรมฐานอันใดอันหนึ่งที่ถนัด เช่นบริกรรมพุทโธ หรือระลึกรู้ลมหายใจ หรือระลึกรู้ท้องพองยุบ หรือระลึกรู้เท้า หรือระลึกรู้มือ หรือระลึกรู้กายทั้งกาย แล้วตามรู้ความเปลี่ยนแปลงของจิตไปเลย เช่นเผลอไปจากอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เพ่งอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เป็นสุขก็รู้ เป็นทุกข์ก็รู้ เกิดกุศลก็รู้ เกิดอกุศลก็รู้ ไม่นานสติจะเกิดถี่ยิบขึ้นได้เพราะจิตรู้จักและจดจำสภาวธรรมได้อย่างแม่นยำ นี้เป็นทางดำเนินของพระอริยเจ้า เรียกว่าอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ คือสัจจญาณได้แก่ความรู้จักตัวอริยสัจจ์ กิจญาณคือความรู้หน้าที่หรือกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อ และกตญาณคือการได้ทำกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อนั้นเรียบร้อยแล้ว รวมมีปริวัติ ๑๒ เพราะมีอริยสัจจ์ ๔ ข้อ แต่ละข้อมีญาณ ๓ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ตราบใดที่พระองค์ท่านยังทรงไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้ พระองค์จะไม่ปฏิญาณพระองค์เป็นพระพุทธเจ้าเลย ต่อเมื่อทรงรู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้แล้ว จึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่าเป็นพระพุทธเจ้า อริยสัจจ์ ๔ สำคัญถึงขนาดนี้ แม้พระอรหันตสาวกก็ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ เพราะตราบใดที่ยังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ ตราบนั้นยังไม่ใช่พระอรหันต์ จึงขอให้ลูกทั้งสองสนใจศึกษาธรรมนี้ให้ดีเถิด หลวงพ่อ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ การทำความเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งเป็นทางพ้นทุกข์ แต่ยากนักที่คนเราจะเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งได้ เพราะคนเรารู้จักความทุกข์เพียงบางอย่าง ได้แก่ทุกขเวทนาทางร่างกายเมื่อยามหิวกระหาย หนาวร้อน ต้องการขับถ่ายและเจ็บป่วย เป็นต้น กับโทมนัสเวทนาทางใจเมื่อประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักที่พอใจ ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขทุกข์ ในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ หรือจิตใจได้รับอารมณ์ที่ดี ก็รู้สึกว่ามีความสุขทางกายหรือโสมนัสเวทนาทางใจ ตราบใดที่ยังรู้สึกว่ากายนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง และใจนี้มีโสมนัสบ้างมีโทมนัสบ้าง ตราบนั้นความดิ้นรนที่จะแสวงหาความสุขโสมนัส และความดิ้นรนที่จะหลีกหนีทุกข์โทมนัสจะไม่หมดไป ตราบใดที่ยังไม่หมดความดิ้นรน ตราบนั้นความทุกข์ก็จะยังมีอยู่ร่ำไป เพราะความดิ้นรนของจิตใจหรือตัณหา เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจากความทุกข์ที่มีอยู่แล้ว ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขสัจจ์ ยังมีความทุกข์อีกชนิดหนึ่งได้แก่สภาพที่ทนได้ยาก เรียกว่าทุกขลักษณะ เป็นสภาวะที่เกิดกับสังขารทั้งปวงที่จะทนอยู่ในสภาพเดิมตลอดไปไม่ได้ ในเวลาที่เราเจริญสตินั้นหากทุกขทุกข์ปรากฏขึ้นก็ให้รับรู้ไป หากทุกขทุกข์ดับไปและรู้สึกเป็นสุขก็ให้รับรู้ไว้ แต่เมื่อเจริญสติปัญญาแก่รอบมากเข้าจะพบว่ากายกับใจเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้างอีกต่อไป มีแต่ทุกขทุกข์คือทุกข์มากกับทุกข์น้อยเท่านั้น ผู้ปฏิบัติจะเห็นอีกว่าถ้าจิตเกิดความอยากและความยึดถือ จิตจะเกิดทุกข์ที่เรียกว่าทุกขสัจจ์ เมื่อจิตปราศจากความอยากและความยึดถือ จิตจะปราศจากความทุกข์มีแต่ความสุขโสมนัสหรืออุเบกขาเท่านั้น แต่เมื่อเจริญสติปัญญาแก่รอบมากเข้าจะพบว่า ไม่ว่าจิตจะอยากและยึดอารมณ์หรือไม่ จิตนั้นแหละเป็นตัวทุกข์ล้วนๆ การเห็นทุกขทุกข์ทำให้จิตเอือมระอาต่อขันธ์ ถึงจุดหนึ่งจิตจะแจ่มแจ้งในทุกขสัจจ์และปล่อยวางความยึดถือรูปนามกายใจและสิ่งทั้งปวงได้ ถึงจุดนั้นความทุกข์ของขันธ์หรือทุกขทุกข์ก็ยังมีอยู่ ทุกขลักษณะคือความทนอยู่ไม่ได้ของสังขารทั้งรูปนามก็ยังมีอยู่ แต่ความทุกข์ของจิตใจอันเกิดแต่ตัณหาจะไม่มีอยู่อีก เพราะปราศจากตัวตนในความรู้สึก ที่จะรองรับความทุกข์ทางใจอันเกิดจากตัณหาเสียแล้ว กล่าวได้ว่าทุกข์ก็มีอยู่ แต่ไม่มีผู้ทุกข์อีกต่อไป เพราะปล่อยวางขันธ์โดยเฉพาะจิตลงได้แล้ว ความสุขโสมนัสของผู้ที่ปล่อยวางจิตได้แล้วนั้นเป็นสิ่งอัศจรรย์ยิ่งกว่าสิ่งอัศจรรย์ในโลก พระนิพพานเป็นความสุขอันเต็มเปี่ยมครอบโลกอยู่ต่อหน้าต่อตา สงบสันติ รุ่งเรืองและเปิดเผย แจ่มจ้าไร้ตำหนิปราศจากแม้แต่ธุลีของความปรุงแต่ง ไม่มีสิ่งใดเข้าไปตั้งอยู่ได้ในพระนิพพานนี้ ปราศจากจุดตั้งต้นและจุดสิ้นสุด ความว่างจากกิเลส จากตัวตน และจากทุกข์ที่ยิ่งกว่าพระนิพพานไม่มี สุขอื่นเสมอด้วยความสงบของพระนิพพานไม่มี ขอให้ลูกทั้งสองจงรู้ทั่วถึงธรรมที่พ่อรู้แล้วในปัจจุบันชาติเถิด หลวงพ่อ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ สำนักใหม่ที่พวกเราช่วยกันสร้างขึ้นมีชื่อว่า “สวนสันติธรรม” คำว่า “สันติธรรม” หมายถึง “นิพพาน” นั่นเองเพราะนิพพานเป็นยอดแห่งสันติสุข เมื่อเราภาวนาคือเจริญสติจนจิตปล่อยวางความถือมั่นในจิตได้แล้ว จิตจะเข้าไปสัมผัสกับนิพพานอันสงบและเป็นสุขอย่างยิ่ง ที่สงบเพราะปราศจากการกระทบกระทั่งทั้งปวง ที่สุขเพราะปราศจากความเสียดแทงทั้งปวง เมื่อแรกเข้าถึงนิพพานนั้น จิตได้ประสบกับความสุขอันแปลกใหม่ที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน เป็นความสุขที่ท่วมท้นจิตใจและธาตุขันธ์จนสะอื้นในอกและน้ำตาตก ระลึกถึงคราวใดก็มีความสุขจนสะอื้นในอกอยู่หลายวัน จิตจึงค่อยๆ คุ้นชินกับความสุขสงบนั้น และเข้าสู่ภาวะแห่งความเป็นปกติธรรมดาที่มีความสุขอย่างยิ่ง ความสงบของนิพพานก็เป็นสิ่งที่เกินพรรณนา เพราะนิพพานนั้นเต็มบริบูรณ์อยู่ต่อหน้าต่อตา ครอบคลุมโลกธาตุทั้งปวงที่กำลังเคลื่อนไหวไว้ทั้งหมด แต่สงบสงัดและไม่มีสิ่งใดปนเปื้อนเข้าถึงนิพพานอันบริสุทธิ์นั้นได้เลย การจะเข้าใจถึงนิพพานเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก แต่ถ้าเข้าใจสภาวะจิตของพระอรหันต์ได้แล้ว ก็พอจะอนุมานถึงสภาวะของนิพพานได้บ้าง จิตของพระอรหันต์ไม่เหมือนจิตของท่านผู้อื่น เพราะแหวกสิ่งห่อหุ้มออกได้หมดแล้วจึงเป็นอิสระและกว้างขวางไร้ขอบเขต มีสภาพคล้ายกับไฟที่ดับลงแล้ว ไม่มีการประทุขึ้นอีก ความร้อนของไฟย่อมกระจายออกไปเต็มโลกธาตุ กล่าวไม่ได้ว่าไฟมีอยู่ หรือไฟดับสูญไปแล้ว เพราะความมีอยู่และความดับสูญยังเป็นธรรมคู่ เป็นเรื่องของโลก ส่วนจิตของพระอรหันต์เข้าถึงธรรมล้วนๆ ไม่มีความเป็นโลกเจือปนอยู่เลย จึงไม่มีปัญหาในเรื่องความมีอยู่ หรือความขาดสูญอีกต่อไป พระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกทั้งหลายเมื่อรูปขันธ์และนามขันธ์แตกทำลายลงแล้ว ไม่ได้คงอยู่และไม่ได้ดับสูญไปไหน หากจิตของผู้ใดเข้าถึงสันติธรรมบริบูรณ์แล้ว เพียงกราบลงตรงหน้าก็คือได้กราบพระบาททั้งคู่ของพระพุทธเจ้าแล้ว วันนี้เป็นวันครบรอบปีที่พ่อมีความสุขมากที่สุด ขอให้ลูกทั้งหลายจงมีความสุขเหมือนพ่อโดยพลันเถิด หลวงพ่อ ๖ มีนาคม ๒๕๔๙

มอเตอร์ ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ประหยัด คุ้มค่า ไม่ต้องดูแลรักษามาก ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ TM51 เป็นตัวเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง จาก แบตเตอรีรถยนต์ สองลูกให้เป็น ไฟฟ้ากระแสตรง 370 โวลต์ สามารถมาไปใช้กับมอเตอร์ แบบแปลงถ่าน เครื่องมือแพทย์ เครื่องใช้ไฟฟ้า ที่ มีวงจร จ่ายไฟฟ้าแบบ สวิทชิ่ง เพาเวอร์ ซัพพลาย ในคลิปนี้ ใช้กับ TM52A เพื่อขับมอเตอร์สามเฟส ตอนนี้ TM52A สินค้าที่ผมไม่มีแล้ว ครับ ให้ใช้ PS21244 ราคาตัวละ 300 บาท แทนครับ....ราคา TM51 พร้อมขดลวดชุดละ 500 บาท ห้าชุดขึ้นไป เหลือ ชุดละ 400 บาท ครับ..

รักและสามัคคีกันไว้ ต้านภัยร่วมกัน ไม่แบ่งชนชั้นเชื้อชาติศาสนารักและสามัคคีกันไว้ ต้านภัยร่วมกัน ไม่แบ่งชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา การสร้าง เครื่อง จักรกลไฟฟ้า ใช้ขับมอเตอร์ สามเฟส ขนาดหนึ่งแรงม้า โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว หรือ จากไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ราคาประมาณ 2000 บาท sompongindustrial@gmail.com 02-951-1356 Line pornpimon 1411

เราเห็นแสงไฟแล้วสติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า

Buddhan Saranam Gachchami- (Ishak Beg)สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า

ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิที่ละเอียดขึ้นไปอีกนอกจากการรู้ทุกข์แล้วไม่มีวิธี...การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย คำว่า อุปาทานขันธ์ ไม่ใช่แปลว่า ขันธ์ที่ถูกยึดมั่น แต่เป็นขันธ์ซึ่งเป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้ คือขันธ์ที่พวกเราทั้งหลายมีกันอยู่นี่แหละ ขันธ์บางอย่างไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ เช่น โลกุตตรจิต (มรรคจิต, ผลจิต) ทั้งหลายไม่จัดเป็นอุปาทานขันธ์ จึงเอามาทำวิปัสสนาไม่ได้ เพราะไม่ใช่ตัวทุกข์ ขันธ์ทั้งหมดไม่ใช่ตัวทุกข์ เฉพาะขันธ์ที่เรียกว่าอุปาทานขันธ์ คือขันธ์ซึ่งสามารถเอาไปยึดมั่นได้ เป็นที่ตั้งของความยึดมั่นได้เท่านั้นที่เป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ต่อเมื่อยึดมั่นแล้วขันธ์จึงจะกลายเป็นตัวทุกข์ ในความเป็นจริง อุปาทานขันธ์ทั้งหมดเป็นตัวทุกข์ จะยึด หรือไม่ยึด มันก็ทุกข์โดยตัวของมันเองอยู่แล้ว ความเข้าใจจากการปฏิบัตินั้นประณีตมากเลย อ่านๆ เอา นึกว่าเข้าใจ แต่เข้าใจไปคนละเรื่อง ถ้าความรู้ความเข้าใจมีแค่ว่า ถ้ามีความอยากมีความยึด แล้วก็มีความทุกข์ขึ้นมา ไปยึดขันธ์แล้วทุกข์ เราจะมุ่งมาในจุดที่ว่า ทําอย่างไรจะไม่ไปยึดขันธ์ จะหาทางไม่ให้ยึดขันธ์ คนศาสนาอื่นเขาก็หาทางที่จะไม่ให้ยึด อย่างพวกที่ทรมาน ร่างกาย มันรักร่างกายเหรอ ทรมานมันไปเลยจะได้ไม่รักมัน ใจมัน อยากกินก็ทรมานไม่กิน หาเรื่องทรมาน ไม่ตามใจกิเลส พยายาม เข้าไปจัดการกับจิตใจซึ่งมันจะเข้าไปอยาก เข้าไปยึดในรูปในนาม ทั้งหลาย นี่เพราะว่าความเข้าใจในอริยสัจไม่แจ่มแจ้ง ลงท้ายวิธี ปฏิบัติก็คลาดเคลื่อน พอเราคิดว่าถ้าอยากถ้ายึดก็ทุกข์ ก็เลยคิดว่าทําอย่างไร จะหายอยาก อยากกินก็ไม่กิน แกล้งมันซะ ต่อไปจะได้ไม่มี ความอยาก มุ่งไปจัดการที่ตัวความอยาก ถ้าเข้าใจแจ่มแจ้ง ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ขันธ์นี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง แต่เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งความอยากให้ขันธ์เป็นสุขจะไม่เกิดขึ้น ความอยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น อยากให้มีสุขไปทําไม อยากให้โง่หรือ มันไม่มีทางมีความสุขได้เพราะมันเป็นตัวทุกข์ อยากให้มันพ้นทุกข์หรือ อยากให้โง่สิ เพราะถึงอย่างไรมันก็ทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ความอยากทั้งหลายแหล่มันก็มีอยู่แค่นี้เอง ความอยากที่ ว่ากิเลส ๑,๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ จริงๆ ก็คืออยากให้ขันธ์เป็นสุข อยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ ย่อๆ ลงมาก็คือรักสุขเกลียดทุกข์นั่นแหละ พอเข้าใจขันธ์เท่านั้น ความอยากดับเอง ไม่ต้องไปทรมาน กายทรมานใจเพื่อจะดับตัณหา ขอให้รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วตัณหา จะดับไปโดยอัตโนมัติเลย ถ้าเราเข้าใจตัวนี้ ความเข้าใจมันจะประณีตมาก จิตมันจะสลัดคืนขันธ์ให้โลกไปเลย พอจิตมันเห็นว่าขันธ์ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ขันธ์นี้เป็นทุกข์ล้วนๆ กระทั่งตัวจิตก็เป็นทุกข์ล้วนๆ จิตมันก็อยู่ใน ขันธ์นั่นเอง อยู่ในวิญญาณขันธ์ พอมันปล่อยขันธ์ทิ้งไป ไม่มีอะไรให้ยึดอีก มันก็พ้นจากอุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ก็กองอยู่อย่างนั้น กองอยู่กับโลกนั้นเอง ไม่ใช่ต้องไปทําลายล้างมัน มันมีเหตุมันก็เกิด หมดเหตุมันก็ดับ บังคับมันไม่ได้ แต่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันแล้ว ที่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันก็เพราะรู้ทุกข์แจ่มแจ้ง รู้ว่าขันธ์ทั้งหลาย ทั้งปวงนี้แหละเป็นตัวทุกข์ ฉะนั้น การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่เครื่องควบคุมความเร็วแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์ https://www.youtube.com/watch?v=qWR3jDnslkQ การหาจุดเสียในแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ร้านแก้ไขซ่อมสร้าง แผงวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ แผงวงจรอุตสาหกรรม 69/6 ปิ่นประภาคม 3 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ระหัสไปรษณีย์ 11000 โทรศัพท์ 029511356 รับออกแบบแก้ไขดัดแปลงซ่อมสร้างแผงวงจรควบ­คุมเครื่องจักรกล ที่ทำงานด้วยระบบสมองกลไฟฟ้าและอิเล็กทรอน­ิกส์ 02-951-1356 081-803-6553 sompongindustrial@gmail.com ,mrsompongt@hotmail.comhttps://www.youtube.com/watch?v=OY1u0...มอเตอร์ไฟฟ้ายุคพัฒนาแล้วเครื่องจักรกลไฟฟ­้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่

ความหลุดพ้นวันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพุทธเจ้า เรามาเรียนรู้ให้เห็นความจริงของโลกนะ เรียนรู้ให้เห็นความจริงของชีวิตเรา เราจะเห็นเลยว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ปรากฏขึ้นในกายในใจของเราเนี่ย นอกจากทุกข์นะ ไม่มีอะไรเกิดขึ้น นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรตั้งอยู่ นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับไป ถ้าเราเห็นได้อย่างนี้ จิตจะถึงหมดความยึดถือในกายในใจ กายกับใจเป็นตัวทุกข์นะ ถ้าเมื่อไหร่เราสลัดคืนกายคืนใจให้โลกได้ ก็คือทิ้งตัวทุกข์ไปนะ พ้นจากกายจากใจ จากรูปจากนามนี้ไป จะสัมผัสพระนิพพาน มีความสุขที่มหาศาลขึ้นมา จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า นิพพานมีอยู่แล้ว แต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่เห็น เพราะจิตเรามีความอยาก จิตเรามีกิเลส จิตเรามีความดิ้นรนปรุงแต่ง เราเลยไม่สามารถจะเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งได้ ขณะใดที่จิตเราหมดตัณหาหมดกิเลสนะ เมื่อสิ้นตัณหาก็สิ้นความปรุงแต่งของจิตด้วย พระนิพพานคือสภาวะที่สิ้นตัณหาสิ้นความปรุงแต่ง ก็จะปรากฏขึ้นให้รับรู้ในขณะนั้นเลย งั้นเมื่อไรรู้ทุกข์ เมื่อนั้นแหละละสมุทัย เมื่อใดละสมุทัย เมื่อนั้นแหละแจ้งนิโรธ เห็นพระนิพพาน การที่เรารู้ทุกข์ ละสมุทัย แจ้งนิโรธ ในขณะนั้นน่ะคือขณะแห่งอริยมรรค งั้นการที่เรารู้ทุกข์ ละสมุมัย แจ้งนิโรธ เจริญมรรคเนี่ย กิจกรรมทั้ง ๔ เนี่ยทำเสร็จในขณะจิตเดียวกัน ในแว๊บเดียวในพริบตาเดียวนั้นเอง ก็ข้ามพ้นจากความทุกข์ไปได้ ธรรมะอย่างนี้นะธรรมะประณีต ลึกซึ้งมาก ต้องภาวนา ถ้าภาวนาเราอยากแค่มีทุกข์น้อยๆ ก็เอาแค่โสดาบัน สกทาคามี เรายังติดใจในกาม ยังห่วงเมีย ห่วงสามี ยังอะไรต่ออะไรอยู่นะ ห่วงทรัพย์สมบัติอยู่ เอาโสดาบัน สกทาคามี ก็พอ ถ้าถึงขึ้นอนาคามีเนี่ยมันพ้นจากกามไป จากปุถุชนเนี่ย ขึ้นไปเป็นพระโสดาบันยากมากนะ คนจำนวนมากอยากได้ แต่มันไปไม่ถูก ที่รู้ทางที่ถูกแล้วก็ขี้เกียจปฏิบัติ ถ้ารู้ทางถูกแล้วขยันปฏิบัตินะมันก็เป็นพระโสดาบัน พระสกทาคามีอะไร ไม่ยาก ทีนี้คนส่วนใหญ่มันติดในความสุข ความหลงโลกอะไรอย่างนั้นไป ไม่ยอมภาวนา ถ้าเราภาวนาเนี่ย พระโสดาบัน พระสกทาคามี ไม่ใช่เรื่องยากเกินวิสัยมนุษย์ธรรมดาอย่างพวกเราจะทำได้ ไม่ต้องละอะไรมากนะ รักษาศีล ๕ ไว้ มีสติ รู้เนื้อรู้ตัว ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวไว้ อย่าให้มันฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้สึกตัวบ่อยๆ นั่นแหละเรียกว่ามีสมาธิ มีสติ มีสมาธิ รักษาศีลไว้ ค่อยดูกายทำงาน ดูใจทำงาน เห็นกายกับใจแยกออกจากกัน เห็นความสุขทุกข์ แยกออกจากร่างกาย แยกออกจากจิตใจ เห็นความปรุงดีปรุงชั่ว เช่นความโลภความโกรธความหลงทั้งหลายเนี่ย แยกออกจากจิตใจ แยกออกเป็นส่วน ๆ ๆ ไป แต่ละอันเนี่ยทำหน้าที่ของมันไป แต่ละอันก็เกิดดับไป เนี่ยฝึกดูอย่างนี้ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปีนะ ก็จะได้ธรรมะขึ้นมา ถ้าบารมีมากก็เป็นพระอรหันต์ บารมีลดลงมาก็ได้อนาคามี สกทาคามี เป็นพระโสดาบัน เป็นลำดับไป ก็พากเพียรเข้า รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้ตัวบ่อยๆ ถัดจากนั้นดูกายทำงาน ดูใจทำงาน ทำอย่างนี้แหละ ให้เวลากับการรู้กายรู้ใจให้เยอะๆหน่อย มรรคผลอะไรไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่ฆราวาสจะทำได้ สมัยพุทธกาล ฆราวาสไม่ได้จีเนียสกว่าพวกเรานะ คนสมองมันก็พอๆกันแหละ มีงานศึกษาอันหนึ่งเคยอ่าน พวกหมอนั่นแหละศึกษาบอก คนสมัยโรมันสมัยกรีกนะ กับคนยุคนี้สมองพอๆกัน ไม่รู้ไปขุดสมองโรมันมาดูได้ไงนะ คนสมัยพุทธกาล กับยุคเรา ก็พอๆกันแหละ ไม่ได้โง่ ไม่ได้ฉลาดกว่ากันน่ะ เค้าทำได้ เราก็ต้องทำได้ มีมือมีตีนเหมือนกันนะ มีใจเหมือนกัน ต้องทำเอาให้ได้ รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว แล้วก็ดูกายทำงาน ดูใจทำงานไปเรื่อยๆ วันหนึ่งก็เข้าใจ เราดูกายดูใจทำงานมากๆ ในที่สุดก็เข้าใจความเป็นจริงของกายของใจ ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ ถ้าเข้าใจในระดับที่เห็นกายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ก็เป็นพระโสดาบัน ถ้าเข้าใจความจริงระดับที่ว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ จะเป็นพระอรหันต์นะ

วันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพ...การเห็นแจ้งพระนิพพาน เรามาเรียนรู้ให้เห็นความจริงของโลกนะ เรียนรู้ให้เห็นความจริงของชีวิตเรา เราจะเห็นเลยว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ปรากฏขึ้นในกายในใจของเราเนี่ย นอกจากทุกข์นะ ไม่มีอะไรเกิดขึ้น นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรตั้งอยู่ นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับไป ถ้าเราเห็นได้อย่างนี้ จิตจะถึงหมดความยึดถือในกายในใจ กายกับใจเป็นตัวทุกข์นะ ถ้าเมื่อไหร่เราสลัดคืนกายคืนใจให้โลกได้ ก็คือทิ้งตัวทุกข์ไปนะ พ้นจากกายจากใจ จากรูปจากนามนี้ไป จะสัมผัสพระนิพพาน มีความสุขที่มหาศาลขึ้นมา จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า

วันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพ...การเห็นแจ้งพระนิพพาน เรามาเรียนรู้ให้เห็นความจริงของโลกนะ เรียนรู้ให้เห็นความจริงของชีวิตเรา เราจะเห็นเลยว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ปรากฏขึ้นในกายในใจของเราเนี่ย นอกจากทุกข์นะ ไม่มีอะไรเกิดขึ้น นอกจากทุกข์ ไม่มีอะไรตั้งอยู่ นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรดับไป ถ้าเราเห็นได้อย่างนี้ จิตจะถึงหมดความยึดถือในกายในใจ กายกับใจเป็นตัวทุกข์นะ ถ้าเมื่อไหร่เราสลัดคืนกายคืนใจให้โลกได้ ก็คือทิ้งตัวทุกข์ไปนะ พ้นจากกายจากใจ จากรูปจากนามนี้ไป จะสัมผัสพระนิพพาน มีความสุขที่มหาศาลขึ้นมา จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเลย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า

วันอาทิตย์ที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2559

กาลเวลากลืนกินทุกสิ่งทุกอย่างแม้แต่ตัวมันเอง นาฬิกาของร่างกาย การทำงานที่แสนมหัศจรรย์ของร่างกายมนุษย์ คุณเคยทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา โดยอวัยวะภายในร่างกายของคนจะทำงานตามการสั่งงานของสมองแบบอัตโนมัติ ฉะนั้นเราจึงควรจะปฏิบัติตัวให้สอดคล้องกับการทำงานของร่างกายดังกล่าว จะได้ไม่ฝืนกับนาฬิกาชีวิต เพื่อสุขภาพที่ดีของร่างกาย ตารางการทำงานของนาฬิกาของร่างกายมีดังนี้ 01.00 น. - 03.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ตับ" ข้อควรปฏิบัติ : นอนหลับพักผ่อนให้สนิท อาหารบำรุง : อาหารที่ช่วยล้างพิษ เช่น งา น้ำผลไม้และน้ำสะอาด 03.00 น. - 05.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ปอด" ข้อควรปฏิบัติ : ตื่นนอน สูดอากาศสดชื่น อาหารบำรุง : อาหารจำพวกเบต้าแคโรทีนและวิตามินเอสูง เช่น ส้ม ผักใบเขียว น้ำผึ้ง หอมใหญ่ 05.00 น. - 07.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ลำไส้ใหญ่" ข้อควรปฏิบัติ : ขับถ่ายอุจจาระ อาหารบำรุง : อาหารที่มีกากใยสูง เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืช 07.00 น. - 09.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "กระเพาะอาหาร" ข้อควรปฏิบัติ : กินอาหารเช้า อาหารบำรุง : ควรมีพลังงานและสารอาหารอย่างน้อย 1 ใน 4 หรือร้อยละ 25 ของปริมาณที่ควรได้รับตลอดวัน 09.00 น. - 11.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ม้าม" ข้อควรปฏิบัติ : พูดน้อย กินน้อย ไม่นอนหลับ อาหารบำรุง : มันเทศสีแดง หรือเหลือง อาหารที่ทำจากบุก 11.00 น. - 13.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "หัวใจ" ข้อควรปฏิบัติ : หลีกเลี่ยงความเครียดทั้งปวง อาหารบำรุง : อาหารที่มีสีแดงตามธรรมชาติ เช่น ถั่วแดงและผลไม้สีแดง น้ำมันปลา วิตามินบีต่างๆ 13.00 น. - 15.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ลำไส้เล็ก" ข้อควรปฏิบัติ : งดกินอาหารทุกประเภท อาหารบำรุง : อาหารไขมันต่ำ น้ำสะอาด 15.00 น. - 17.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "กระเพาะปัสสาวะ" ข้อควรปฏิบัติ : ทำให้เหงื่อออก (ออกกำลังกาย หรือ อบตัว) อาหารบำรุง : ผลไม้เช่น บิลเบอร์รี่ และทานน้ำสะอาดมากๆ 17.00 น. - 19.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ไต" ข้อควรปฏิบัติ : ทำตัวให้สดชื่น ไม่ง่วงหงาวหาวนอน อาหารบำรุง : อาหารที่มีเกลือต่ำ รวมถึงสมุนไพรจีน เช่น ถั่งเฉ้า 17.00 น. - 21.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "เยื่อหุ้มหัวใจ" ข้อควรปฏิบัติ : ทำสมาธิ หรือสวดมนต์ อาหารบำรุง : อาหารจำพวกโปรตีนที่มีไขมันต่ำ รวมถึงวิตามินบีต่างๆ 21.00 น. - 23.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ระบบความร้อนของร่างกาย" ข้อควรปฏิบัติ : ห้ามอาบน้ำเย็น ห้ามตากลม ทำร่างกายให้อบอุ่น อาหารบำรุง : อาหารที่มีรสเผ็ดร้อน เช่น ขิง โสม 23.00 น. - 01.00 น. เป็นช่วงเวลาการทำงานของ "ถุงน้ำดี" ข้อควรปฏิบัติ : ดื่มน้ำก่อนเข้านอน อาหารบำรุง : อาหารที่มีไขมันต่ำ และไม่ทานอาหารกึ่งสุกกึ่งดิบ

มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิต­ของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสู­งอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่­มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แ­ต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ รู้สึกในกาย กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้ความรู้สึกสุข ทุกข์ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้จิตใจ ที่เป็นกุศลอกุศล เรียกจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้กระบวนการทำงานของรูปธรรม นามธรรม เรียกว่าธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องของรูปธรรม นามธรรมทั้งสิ้น กายานุปัสสนาส่วนของกาย เป็นส่วนของรูปธรรม เวทนานุปัสสนา เป็นนามธรรม แต่เวทนาบางทีก็เกิดที่กายใช่ไหม บางทีก็เกิดที่จิต เกิดร่วมกับรูปธรรมก็ได้ เกิดร่วมกับนามธรรมก็ได้ จิตตานุปัสสนาที่ดูจิตที่เป็นกุศล อกุศล กุศลอกุศลเกิดที่จิต แต่กุศลอกุศลก็อาศัย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รวมทั้งใจด้วยไปกระทบอารมณ์ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็กระทบรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ส่วนของรูปธรรม แล้วก็สะเทือนเข้ามาถึงใจ เกิดสุข เกิดทุกข์ กุศล อกุศลขึ้น และกายกับใจก็เนื่องกัน เพราะงั้นเวลาที่เรา ภาวนาจริงๆ มันรู้ทั้งกาย รู้ทั้งใจ ไม่มีหรอกสายกาย สายจิต อะไร

มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิต­ของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสู­งอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่­มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แ­ต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้ รู้สึกในกาย กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้ความรู้สึกสุข ทุกข์ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้จิตใจ ที่เป็นกุศลอกุศล เรียกจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้กระบวนการทำงานของรูปธรรม นามธรรม เรียกว่าธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องของรูปธรรม นามธรรมทั้งสิ้น กายานุปัสสนาส่วนของกาย เป็นส่วนของรูปธรรม เวทนานุปัสสนา เป็นนามธรรม แต่เวทนาบางทีก็เกิดที่กายใช่ไหม บางทีก็เกิดที่จิต เกิดร่วมกับรูปธรรมก็ได้ เกิดร่วมกับนามธรรมก็ได้ จิตตานุปัสสนาที่ดูจิตที่เป็นกุศล อกุศล กุศลอกุศลเกิดที่จิต แต่กุศลอกุศลก็อาศัย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รวมทั้งใจด้วยไปกระทบอารมณ์ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็กระทบรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ส่วนของรูปธรรม แล้วก็สะเทือนเข้ามาถึงใจ เกิดสุข เกิดทุกข์ กุศล อกุศลขึ้น และกายกับใจก็เนื่องกัน เพราะงั้นเวลาที่เรา ภาวนาจริงๆ มันรู้ทั้งกาย รู้ทั้งใจ ไม่มีหรอกสายกาย สายจิต อะไร

วันเสาร์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2559

กรรมฐาน รู้ทันจิตบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า­ทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น.กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจาร­ย์มากครับ.เราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ ไปอีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกั­นเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ

ทางเส้นนี้ไปด้วยการรู้บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า­ทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น.กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจาร­ย์มากครับ.เราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ ไปอีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกั­นเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ

วันศุกร์ที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2559

Ishaq Beg - All Right Live In Pelmadullaอย่าซึมกระทือ หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.ถ้าจิตมันตั้งมั่น รู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญา โดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลใน ทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­ในโลกก่อนนะ

Ishaq Beg - All Right Live In Pelmadullaอย่าซึมกระทือ หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.ถ้าจิตมันตั้งมั่น รู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญา โดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลใน ทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­ในโลกก่อนนะ

จิตผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ ได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า กราบขอบพระคุณ หลวงพ่อ...บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ. เราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ ไปอีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกันเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ ตรงที่จิตเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานนี่ เป็นจุดที่จะแตกหักเลย ว่าเราจะทำวิปัสสนากรรมฐาน เราจะเดินปัญญา ได้หรือไม่ได้ ถ้าจิตเราไม่ตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน เราไม่สามารถจะเจริญวิปัสสนากรรมฐานได้จริงๆ เพราะวิปัสสนากรรมฐานนั้น ทำไปเป็นการเจริญปัญญา ปัญญานั้นมีสมาธิเป็นเหตุใกล้ให้เกิด สมาธินั้นต้องเป็นสมาธิที่จิตตั้งมั่น ในทางตำรา ทางปริยัติเนี่ย คำว่าสมาธิก็แปลว่าความตั้งมั่น แต่พวกเราชอบมักง่าย ไปแปลสมาธิว่าความสงบ คนละตัวกันนะ เราต้องมาฝึกจิตใจให้ตั้งมั่น จิตใจที่ตั้งมั่นคือจิตใจที่อยู่กับเนื้อกับตัว ไม่ลืมเนื้อลืมตัว ตอนหลวงพ่อเป็นโยมนะ หลวงพ่อพยายามฝึก ตอนเด็กๆนะฝึกได้แต่สมาธิสงบ ต่อมาโตขึ้นมานะเจอครูบาอาจารย์ เข้าวัดไปท่านก็พูดแต่คำว่ามีจิตผู้รู้ หลวงปู่ดูลย์พูดบอกว่า ไม่ให้เอาจิตออกนอก ไม่ให้ส่งจิตออกนอก จิตที่ส่งออกนอกก็คือจิตที่มันหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปคิด มันลืมตัวเอง จิตที่ไม่ออกนอกก็คือจิตที่รู้เนื้อรู้ตัวอยู่ งั้นหลวงพ่อก็มาฝึก พยายามให้จิตรู้เนื้อรู้ตัว ไม่ให้ลืมเนื้อลืมตัว จนกระทั่งบางทีนะครูบาอาจารย์บางองค์ อย่างหลวงปู่สิม ที่ถ้ำผาปล่อง เวลาไปกราบท่าน ท่านไม่รู้จักชื่อหลวงพ่อ ไม่เคยบอกท่าน ท่านเรียกหลวงพ่อว่า ผู้รู้ ผู้รู้ ให้ฉายาว่า ผู้รู้ ผู้รู้ ก็คือเรามีจิตที่รู้เนื้อรู้ตัวอยู่ จิตเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานอยู่ เมื่อเราฝึก มันต้องมีวิธีฝึก วิธีฝึกมันจะต่างกับการที่จะฝึกให้จิตสงบ การจะให้จิตสงบนั้น ให้เราน้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว จิตไม่ไปฟุ้งซ่านไปสู่อารมณ์อันอื่น จิตก็สงบ เช่นบางคนมีความสุขที่จะท่องพุทโธ พุทโธๆมีความสุขนะ พอจิตใจมีความสุข จิตจะไม่ฟุ้งไปที่อื่น ก็สงบอยู่กับพุทโธ คนไหนถนัดรู้ลมหายใจ รู้ลมหายใจแล้วมีความสุข รู้ลมหายใจไปเรื่อย หายใจไปรู้สึกตัวนะ หายใจสบาย จิตใจสงบอยู่กับลมหายใจ ไม่ฟุ้งไปที่อื่น ก็ได้ความสงบขึ้นมา คนไหนดูท้องพองยุบแล้วมีความสุข ก็ดูท้องพองยุบไป จิตใจมันก็สงบไม่หนีไปที่อื่น การที่จะฝึกให้จิตสงบนั้น ฝึกโดยการรู้จักเลือกอารมณ์ เราต้องดูว่าตัวเราเองนั้นอยู่กับอารมณ์ชนิดไหนแล้วมีความสุข เราก็อยู่กับอารมณ์ชนิดนั้นบ่อยๆ อยู่กับพุทโธแล้วมีความสุขเราอยู่กับพุทโธไป จิตก็สงบไม่หนีไปที่อื่น เพราะจิตมันพอใจกับพุทโธซะแล้ว มันก็ไม่ไปหาอารมณ์อันอื่น คนไหนหายใจเข้าหายใจออก รู้ลมหายใจเข้าหายใจออกแล้วมีความสุข เราก็อยู่กับลมหายใจไป จิตก็ไม่หนีไปที่อื่น เนี่ยเคล็ดลับของการทำความสงบนะ การทำสมถะ เลือกอารมณ์ ต้องดูของตัวเราเอง เราอยู่กับอารมณ์ชนิดไหนแล้วมีความสุข เราก็อยู่กับอารมณ์ชนิดนั้นบ่อยๆ จิตใจไม่หนีไปหาอารมณ์อย่างอื่น อันนี้แหละ เราได้สมถะกรรมฐาน ทีนี้ฝึกอย่างไรจะให้จิตตั้งมั่น จิตที่ตั้งมั่นนั้นมันตรงข้ามกับจิตที่ไม่ตั้งมั่น จิตที่ไม่ตั้งมั่นมันคือจิตที่ไหลไป มันหลงไป มันไหลไป ตลอดเวลา หลวงปู่ดูลย์เรียกว่าจิตออกนอก เราก็หากรรมฐานมาสักอย่างหนึ่งนะ เบื้องต้นเราต้องมีเครื่องอยู่ให้จิตอยู่สักอย่างหนึ่งก่อน คนไหนเคยพุทโธแล้วสบายใจนะ ก็พุทโธต่อไป แต่ไม่ใช่พุทโธเพื่อให้จิตสงบ เปลี่ยนนิดเดียวจากพุทโธเพื่อให้จิตสงบนะ มาเป็นพุทโธแล้วรู้ทันจิต พุทโธๆจิดหนีไปคิดรู้ทัน พุทโธๆจิตหนีไปคิดแล้วรู้ทัน พุทโธๆแล้วจิตไปเพ่งนิ่งอยู่เฉยๆก็รู้ทัน พุทโธแล้วรู้ทันจิตที่เคลื่อนไป เคลื่อนไปหลงไปคิด เคลื่อนไปเพ่ง ถ้าเรารู้ทันจิตที่เคลื่อนไปนะ จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ คนไหนเคยรู้ลมหายใจแล้วมีความสุขนะ เราก็สงบอยู่กับลมหายใจ เราก็รู้ลมหายใจต่อไป แต่ไม่ใช่รู้เพื่อให้จิตไปอยู่กับลมหายใจ ถ้ารู้แล้วให้จิตไปอยู่กับลมหายใจเราได้สมถะกรรมฐาน ได้ความสงบเฉยๆ เรามาปรับนิดหน่อย เราหายใจไปจิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตไปเพ่งใส่ลมหายใจเรารู้ทัน จิตหนีไปคิดเราก็รู้ หายใจไปจิตหนีไปเรารู้ จิตหนีไปคิดเรารู้ หรือหายใจไปจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจเรารู้ นี่ฝึกอย่างนี้บ่อยๆ จิตเคลื่อนไปแล้วเรารู้ทัน เคลื่อนไปคิดเราก็รู้ทัน เคลื่อนไปเพ่งลมหายใจเราก็รู้ทัน ถ้าเรารู้ทันอย่างนี้ได้ว่าจิตมันเคลื่อนไปนะ จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ใครถนัดดูท้องพองยุบ เคยดูท้องพองยุบ แล้วจิตไปสงบอยู่กับท้องก็เปลี่ยนนิดเดียว ดูท้องพองยุบไป จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปอยู่ที่ท้องก็รู้ทัน คนไหนถนัดเดินจงกรมนะ ก็เดินจงกรมไป จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปอยู่กับเท้าก็รู้ทัน คือรู้ทันจิตที่เคลื่อนไป การที่เราคอยรู้ทันจิตที่เคลื่อนไปนั้นแหละ จะทำให้จิตสงบตั้งมั่น ไม่ใช่สงบเฉยๆ สงบเฉยๆเนี่ยมันจะไหลไปรวมอยู่กับอารมณ์อันเดียว อันนี้มันจะสงบด้วยมันจะตั้งมั่นด้วย จิตมันจะถอนตัวออกจากโลกของความคิด มาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ตรงนี้พวกเราต้องฝึกให้ได้นะ ถ้าพวกเราไม่สามารถจะฝึกจิตให้เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ เรายังทำวิปัสสนากรรมฐานไม่ได้จริงหรอก ถึงจะไปนั่งคิดพิจารณากายเป็นปฏิกูล เป็นอสุภะอะไรอย่างนี้ มันยังไม่ใช่วิปัสสนากรรมฐานหรอก วิปัสสนากรรมฐานนะเราต้องมีสติรู้กายรู้ใจ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง เราจะรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ความเป็นจริงคือไตรลักษณ์ เราจะเห็นไตรลักษณ์ของกายของใจได้ต่อเมื่อเรามีจิตที่ตั้งมั่น มีจิตที่เป็นกลาง ถ้าจิตเรายังหลงอยู่ในโลกของความคิด เราจะไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ มันจะเพ่งกายเพ่งใจเฉยๆ แต่จะไม่เห็นความจริงของกายของใจ คือไม่เห็นไตรลักษณ์หรอก งั้นเราต้องมาฝึกนะให้ใจตั้งมั่นขึ้นมาให้ได้ก่อน ตัวนี้เป็นจุดที่แตกหักเลย ว่าชาตินี้เราจะได้มรรคผลนิพพานหรือไม่ได้ ถ้าจิตใจเราไม่อยู่กับเนื้อกับตัว ชาตินี้เรายังไม่ได้มรรคผลนิพพานแน่นอน แต่ถ้าจิตใจของเราอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว จิตหนีไปเรารู้ทัน จิตหนีไปเรารู้ทัน จิตเราอยู่กับตัวเราเองทั้งวันทั้งคืน โอกาสที่เราจะเห็นความจริงของกายของใจ ก็เป็นไปได้

อาณาจักรพระพุทธองค์ คิดถึงพระพุทธเจ้าครับวิปัสสนาไล่ขึ้นไปเรื่อย ถึงสังขารุเบกขาญาณวิปัสสนาสูงสุดแล้ว สังขารุเบกขาญาณคือจิตมันเห็นความจริงจนกระทั่งมันเป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งปวง เห็นเลยสุขกับทุกข์นั้นเท่าเทียมกัน เพราะว่าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน กุศล อกุศล ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ด้วยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาเหมือนกัน จิตยอมรับความจริงว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นเสมอกันหมด ใจที่ภาวนามาถึงจุดนี้จะรู้สึกโลกนี้ราบเป็นหน้ากลอง เสมอกันไปหมดเลย ดูไปนี่นะใจมันไม่กระเพื่อมขึ้นมานะ ชอบคนนี้เกลียดคนนี้ไม่มีเลย ตัวนั้นน่ะใจเข้าไปสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา ถัดจากนั้นกระบวนการเกิดอริยมรรคถึงจะเกิดขึ้น ก็จะมีตั้งแต่อนุโลมญาณ(สัจจานุโลมิกญาณ) โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ ปัจจเวกขณญาณ ในกระบวนการที่เกิดอริยมรรคก็มีตั้งแต่ อนุโลมญาณ โคตรภูญาณ มัคคญาณ ผลญาณ เนี่ยอยู่ในกระบวนการที่จะเกิดอริยมรรค กระบวนการนี้จบแล้วยังจะเกิดญาณตัวที่สิบหก ปัจจเวกขณญาณ ทวนเข้าไปพิจารณาว่าตอนที่เกิดอริยมรรคนั้นล้างกิเลสอะไรไปบ้าง กิเลสอะไรยังไม่ล้าง จะทวนเข้าไปดู ก็รู้ว่างานยังไม่เสร็จ ถ้างานเสร็จแล้ว ก็ทวนเข้าไปดูเห็นความเสร็จแล้ว จิตจะไปพิจารณานิพพานได้แล้ว ไปทำความรู้แจ้งในตัวนิโรธ ถ้าเราสัมผัสพระนิพพานแล้ว เราจะรู้เลยว่าโลกนี้หาสาระแก่นสารไม่ได้ โลกนี้เหมือนฝัน ความสุขเหมือนกับฝันอยู่เท่านั้นแหละ ไม่ใช่มีของจริงอะไรให้เราดูเลย ความสุขของพระนิพพานนั้นเหมือนกับของจริง มันเหมือนว่าเรากลับบ้านเราได้แล้ว เราเป็นเด็กหลงทางหาทางกลับบ้านไม่เจอ วันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพุทธเจ้าจิตของเรานั้นแหละ กับพระพุทธเจ้า จะหลอมรวมเป็นสิ่งเดียวกัน จิตของเรากับพระธรรมจะหลอมรวมเข้าเป็นสิ่ง­­­­เดียวกัน จิตนั้นแหละก็คือตัวพระสงฆ์ พระรัตนตรัยรวมเข้าเป็นหนึ่งที่จิตนั้นเอง ที่จิตที่บริสุทธิ์จิตที่สะอาด จะมีความสุขที่ไม่มีอะไรเหมือน?

สิ่งนี้เกิดจากจิตที่นอบน้อบพระพุทธเจ้าตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้า อัปปนาสมาธิ โดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแส เข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมา กลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

วันพฤหัสบดีที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ข้ามทะเลทั้งสี่แล้วจะถึงจิตหนึ่งอริยสัจจ์ข้อแรกคือทุกข์ ทุกข์คืออะไร - ทุกข์คือรูปนามขันธ์ 5 หรือกายใจนี้เอง กิจต่อทุกข์มีอย่างไร - กิจต่อทุกข์คือให้รู้ทุกข์ การรู้ทุกข์นั้นทำอย่างไร - เมื่อเราตื่นออกจากโลกของความคิดและเกิดความรู้สึกตัว เราจะรู้กายตามความเป็นจริง และรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เมื่อรู้มากเข้าเราจะเข้าใจความเป็นจริงของกายและใจ ว่าเป็นสภาพธรรมที่ไม่เที่ยงคือมีแล้วไม่มี เป็นทุกข์คือทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตาคือเป็นของโลกไม่ใช่ของเรา การรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงอย่างนี้แหละคือวิธีรู้ทุกข์ อริยสัจจ์ข้อที่ 2 คือสมุทัย สมุทัยคืออะไร – สมุทัยคือตัณหาหรือความทะยานอยากดิ้นรนของจิต ที่จะแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ ด้วยวิธีการต่างๆ นานา ได้แก่ (1) ความปรุงแต่งฝ่ายชั่ว ด้วยการเที่ยวแสวงหาอารมณ์มาตอบสนองกิเลส (2) ความปรุงแต่งฝ่ายดี ด้วยการควบคุมกาบควบคุมใจให้ดี และ (3) ความปรุงแต่งสภาพธรรมที่พ้นจากการกระทบอารมณ์ชั่วคราว กิจต่อสมุทัยมีอย่างไร – กิจต่อสมุทัยคือให้ละสมุทัย การละสมุทัยนั้นทำอย่างไร – เมื่อเรารู้ทุกข์แจ่มแจ้งจนละความเห็นผิดและความยึดถือว่ารูปนามกายใจเป็นตัวเราแล้ว ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดิ้นรนแสวงหาความสุขมาให้ตัวเรา หรือดิ้นรนพาตัวเราให้พ้นจากความทุกข์อีกต่อไป การรู้ทุกข์อย่างแจ่มแจ้งนั่นแหละเป็นทางละสมุทัยโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ 3 คือนิโรธ นิโรธคืออะไร – นิโรธคือนิพพานได้แก่ความสงบสันติอันเนื่องมาจากความสิ้นตัณหาหรือความดิ้นรนของจิต กิจต่อนิโรธมีอย่างไร – กิจต่อนิโรธคือการทำให้แจ้ง ทำให้เข้าไปสัมผัสถึง การทำนิโรธให้แจ้งนั้นทำอย่างไร – เมื่อรู้ทุกข์จนสิ้นสมุทัยแล้ว นิโรธก็เป็นอันถูกทำให้แจ้งโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ 4 คือมรรค มรรคคืออะไร – มรรคคือวิธีการรู้ทุกข์จนละสมุทัยและทำนิโรธให้แจ้งได้ กิจต่อมรรคคืออะไร – กิจต่อมรรคคือการทำให้เจริญ ทำให้มาก การเจริญมรรคนั้นทำอย่างไร – ทำ(สัมมา)สติให้เกิดเนืองๆ แล้วองค์มรรคที่เหลือจะเกิดตามมาเอง สติเป็นอนัตตา ไม่มีใครสั่งสติให้เกิดได้ แต่ถ้ามีเหตุ ถึงไม่สั่ง สติก็เกิดขึ้นได้เอง เหตุของสติคือการที่จิตจดจำสภาวธรรมคือรูปนามได้แม่นยำ จิตจะจดจำสภาวธรรมได้แม่นยำ ถ้าจิตเคยเห็นสภาวธรรมบ่อยๆ ดังนั้นพึงหัดทำความรู้จักสภาวธรรมให้มากเข้าไว้ เบื้องต้นทำกรรมฐานอันใดอันหนึ่งที่ถนัด เช่นบริกรรมพุทโธ หรือระลึกรู้ลมหายใจ หรือระลึกรู้ท้องพองยุบ หรือระลึกรู้เท้า หรือระลึกรู้มือ หรือระลึกรู้กายทั้งกาย แล้วตามรู้ความเปลี่ยนแปลงของจิตไปเลย เช่นเผลอไปจากอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เพ่งอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เป็นสุขก็รู้ เป็นทุกข์ก็รู้ เกิดกุศลก็รู้ เกิดอกุศลก็รู้ ไม่นานสติจะเกิดถี่ยิบขึ้นได้เพราะจิตรู้จักและจดจำสภาวธรรมได้อย่างแม่นยำ นี้เป็นทางดำเนินของพระอริยเจ้า เรียกว่าอริยสัจจ์ 4 อันมีวนรอบ 3 คือสัจจญาณได้แก่ความรู้จักตัวอริยสัจจ์ กิจญาณคือความรู้หน้าที่หรือกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อ และกตญาณคือการได้ทำกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อนั้นเรียบร้อยแล้ว รวมมีปริวัติ 12 เพราะมีอริยสัจจ์ 4 ข้อ แต่ละข้อมีญาณ 3 อย่าง พระพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ตราบใดที่พระองค์ท่านยังทรงไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ 4 อันมีวนรอบ 3 และมีปริวัติ 12 นี้ พระองค์จะไม่ปฏิญาณพระองค์เป็นพระพุทธเจ้าเลย ต่อเมื่อทรงรู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจจ์ 4 อันมีวนรอบ 3 และมีปริวัติ 12 นี้แล้ว จึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่าเป็นพระพุทธเจ้า อริยสัจจ์ 4 สำคัญถึงขนาดนี้ แม้พระอรหันตสาวกก็ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ 4 เพราะตราบใดที่ยังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ 4 ตราบนั้นยังไม่ใช่พระอรหันต์

ความเพี้ยนต่ำ ปรีแอมป์ เยอรมันเนียม ทรานซิสเตอร์ความเพี้ยนต่ำ ปรีแอมป์ เยอรมันเนียม ทรานซิสเตอร์ เปรียบเทียบเสียงระหว่าง silicon transistor รุ่นใหม่ กับ geramanium transistor รุ่นเก่า ประมาณ 70 ปี ท่านทึ่สนใจที่ผมจะเป็น ของ sanyo เบอร์ 2SD 30 2SB 303 2SB 187 ครับ ราคาตัวละ 50 บาท มีอยู่ประมาณ 400 ตัว ครับ ปรีแอมป์ เยอรมันเนียม ทรานซิสเตอร์ 02-951-1356 Email sompongindustrial@gmail.com

ความเพี้ยนต่ำ ปรีแอมป์ เยอรมันเนียม ทรานซิสเตอร์ความเพี้ยนต่ำ ปรีแอมป์ เยอรมันเนียม ทรานซิสเตอร์ เปรียบเทียบเสียงระหว่าง silicon transistor รุ่นใหม่ กับ geramanium transistor รุ่นเก่า ประมาณ 70 ปี ท่านทึ่สนใจที่ผมจะเป็น ของ sanyo เบอร์ 2SD 30 2SB 303 2SB 187 ครับ ราคาตัวละ 50 บาท มีอยู่ประมาณ 400 ตัว ครับ ปรีแอมป์ เยอรมันเนียม ทรานซิสเตอร์ 02-951-1356 Email sompongindustrial@gmail.com

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียิน­ร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรม­ใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่­วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธร­รมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

ญาณข้ามโคตรสู่ครอบครัวพระพุทธเจ้า โดยหลวงพ่อปราโมทย์กราบขอบพระคุณหลางพ่อมากครับ.

มอเตอร์ไฟฟ้าสู้ภัยเศรษฐกิจ นวัตกรรมเทคโนโลยี Inverter อัจฉริยะเปี่ยมประส...

มอเตอร์ไฟฟ้าสู้ภัยเศรษฐกิจ นวัตกรรมเทคโนโลยี Inverter อัจฉริยะเปี่ยมประส...

Buddhan Saranan Gachchami | Teran Nanayakkara | Flash Back | Niyagamaตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลางBUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

Buddhan Saranan Gachchami | Teran Nanayakkara | Flash Back | Niyagamaตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลางBUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันพุธที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2559

จำหน่าย อุปกรณ์ ซ่อม สร้าง เครื่องควบคุม เครื่องจักรและมอเตอร์ไฟฟ้า.6 di 15s050 แพงไปครับทำยากด้วยครับ ไม่เหมาะกับ ภาวะเศรษฐกิจช่วงนี้ครับ แนะนำให้ใช้ ชุด TM 51 PS21244 MC3PHAC ดีกว่า ง่ายกว่า ถูกกว่า ราคา รวม ประมาณ 2000 บาท ใช้ได้กับมอเตอร์ สามเฟส 1-3 แรง ม้าครับ....

industrial motor control thailand service6 di 15s050 แพงไปครับทำยากด้วยครับ ไม่เหมาะกับ ภาวะเศรษฐกิจช่วงนี้ครับ แนะนำให้ใช้ ชุด TM 51 PS21244 MC3PHAC ดีกว่า ง่ายกว่า ถูกกว่า ราคา รวม ประมาณ 2000 บาท ใช้ได้กับมอเตอร์ สามเฟส 1-3 แรง ม้าครับ....

Driving Three Phase Motor on dc Supply6 di 15s050 แพงไปครับทำยากด้วยครับ ไม่เหมาะกับ ภาวะเศรษฐกิจช่วงนี้ครับ แนะนำให้ใช้ ชุด TM 51 PS21244 MC3PHAC ดีกว่า ง่ายกว่า ถูกกว่า ราคา รวม ประมาณ 2000 บาท ใช้ได้กับมอเตอร์ สามเฟส 1-3 แรง ม้าครับ....

พระราชพรหมยานเถระหลวงพ่อฤาษีฌานสมาบัติการสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโย­ชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประ­โยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์บางท่านเห็นว่ามันเป็นทุกข์ พวกที่ทรงสมาธิมากๆ จะเห็นว่ามันเป็นทุกข์ เพราะถ้าท่านไม่เห็นว่าจิตผู้รู้เป็นทุกข์­นะ จะไม่ยอมปล่อย เพราะสมาธิมากตัวผู้รู้มีแต่ความสุขนะ ถ้าปัญญาแก่รอบจริงๆจะเห็นเลย เป็นตัวทุกข์ ทุกข์แบบไม่มีอะไรเหมือน พอเห็นว่าตัวผู้รู้ก็เป็นทุกข์ จิตมีอันเดียวนะ คือจิตที่เป็นทุกข์ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ไม่ใช่ว่าจิตมีทุกข์บ้างสุขบ้าง แต่เดิมเคยเข้าใจว่าจิตนี้ ถ้ารู้ตัวเป็นผู้รู้แล้วมีความสุข ถ้าเป็นผู้หลงแล้วมีความทุกข์ เข้าใจผิด แต่เมื่อไรสติปัญญาแก่รอบ ตัวจิตเองนั้นแหละตัวทุกข์ล้วนๆ จะปล่อยวาง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

วันอังคารที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2559

"รักการอ่าน" เพลง สุดแผ่นดินรักและสามัคคีกันไว้ ต้านภัยร่วมกัน ไม่แบ่งชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา การสร้าง เครื่อง จักรกลไฟฟ้า ใช้ขับมอเตอร์ สามเฟส ขนาดหนึ่งแรงม้า โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว หรือ จากไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ราคาประมาณ 2000 บาท sompongindustrial@gmail.com 02-951-1356 Line pornpimon 1411

"รักการอ่าน" เพลง สุดแผ่นดินรักและสามัคคีกันไว้ ต้านภัยร่วมกัน ไม่แบ่งชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา การสร้าง เครื่อง จักรกลไฟฟ้า ใช้ขับมอเตอร์ สามเฟส ขนาดหนึ่งแรงม้า โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว หรือ จากไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ราคาประมาณ 2000 บาท sompongindustrial@gmail.com 02-951-1356 Line pornpimon 1411

รักและสามัคคีกันไว้ ต้านภัยร่วมกัน ไม่แบ่งชนชั้นเชื้อชาติศาสนารักและสามัคคีกันไว้ ต้านภัยร่วมกัน ไม่แบ่งชนชั้น เชื้อชาติ ศาสนา การสร้าง เครื่อง จักรกลไฟฟ้า ใช้ขับมอเตอร์ สามเฟส ขนาดหนึ่งแรงม้า โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว หรือ จากไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ ราคาประมาณ 2000 บาท sompongindustrial@gmail.com 02-951-1356 Line pornpimon 1411

เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง

เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงTM51 DC TO DC BOOST CONVERTER 48 TO 370 VOLTS TM51 พร้อม ขดลวด ชุดละ 500 บาท ครับ 5 ชุด คิดราคา ชุดละ 400 บาท ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=OY1u0... คลิปนี้ใช้ขับมอเตอร์สามเฟส ครับ...โดยใช้ ร่วมกับ อุปกรณ์ อื่น..ดูรายละเอียดในคลิป.นะครับ..ขอบคุณ.­.ครับ..ดูรายละเอียด จาก คลิป ก่อนหน้านี้ ประกอบการตัดสินใจ ซื้อ นะครับ..ขอบคุณมากครับ...ที่ติดตาม..ขออภั­ย TL105C มีผู้จองหมดแล้วครับ...ตอนนี้ เหลือ PS21244 PS21963 PS219A2 MP6501A 6DI15S-050 GT15J331 ครับ ลงเวลา ณ. 1.25 น. วันที่ 1 ธันวาคม 2558 ลงชื่อ สมพงค์ ทุ่งมีผล http://sompong-industrial.blogspot.co... ราคาและขนาดที่มีจำหน่ายดูจาก Link ข้างบนครับ..ขอบคุณ..มากครับ... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong... https://sites.google.com/site/sompong...

มหาสุญญตาสูตรดูกรอานนท์ ก็อุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ อย่างไร ดูกรอานนท์ ตถาคตอุบัติในโลกนี้ ได้เป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก อย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ตถาคตนั้นย่อมพอใจเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำบนภูเขา ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง และลอมฟาง เมื่อตถาคตนั้นหลีก ออกแล้วอย่างนั้นอยู่ พวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท จะพา กันเข้าไปหา เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท พากัน เข้าไปหาแล้ว ตถาคตนั้นย่อมไม่ปรารถนาอย่างหมกมุ่น ไม่ถึงความวุ่นวาย ไม่ เวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมาก ดูกรอานนท์ ส่วนสาวกของตถาคตผู้ศาสดานั่นแล เมื่อเพิ่มพูนวิเวกตามตถาคตผู้ศาสดา ย่อมพอใจเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำบนภูเขา ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง และลอมฟาง เมื่อสาวกนั้น หลีกออกแล้วอย่างนั้นอยู่ พวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท จะพากันเข้าไปหา เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท พา กันเข้าไปหาแล้ว สาวกนั้นย่อมปรารถนาอย่างหมกมุ่น ถึงความวุ่นวาย เวียนมา เพื่อความเป็นผู้มักมาก ดูกรอานนท์ สาวกนี้เรียกว่าผู้ประพฤติพรหมจรรย์มีอุปัททวะ ด้วยอุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์ อกุศลธรรมอันลามก เศร้าหมอง เป็นเหตุ เกิดในภพใหม่ มีความกระวนกระวาย มีทุกข์เป็นวิบาก เป็นที่ตั้งแห่งชาติ ชรา มรณะต่อไป ได้ฆ่าสาวกนั้นเสียแล้ว ดูกรอานนท์ อย่างนี้แล อุปัททวะของผู้ ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ ฯ ดูกรอานนท์ ในอุปัททวะทั้ง ๓ นั้น อุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์นี้ มีวิบากเป็นทุกข์ มีวิบากเผ็ดร้อนกว่าอุปัททวะของอาจารย์และอุปัททวะของศิษย์ ทั้งเป็นไปเพื่อความตกต่ำด้วย ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงเรียกร้อง เราด้วยความเป็นมิตร อย่าเรียกร้องเราด้วยความเป็นข้าศึก ข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อ ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่พวกเธอตลอดกาลนาน ฯ [๓๕๕] ดูกรอานนท์ ก็เหล่าสาวกย่อมเรียกร้องศาสดาด้วยความเป็น ข้าศึก ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นมิตรอย่างไร ดูกรอานนท์ ศาสดาในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรม แก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้นไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้และประพฤติ หลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา ดูกรอานนท์ อย่างนี้แลเหล่าสาวกชื่อว่าเรียกร้อง ศาสดาด้วยความเป็นข้าศึก ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นมิตร ฯ [๓๕๖] ดูกรอานนท์ ก็เหล่าสาวกย่อมเรียกร้องศาสดาด้วยความเป็นมิตร ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึกอย่างไร ดูกรอานนท์ ศาสดาในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวก ทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่า สาวกของศาสดานั้น ย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้และไม่ประพฤติ หลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา ดูกรอานนท์ อย่างนี้แล เหล่าสาวกชื่อว่าเรียกร้อง ศาสดาด้วยความเป็นมิตร ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึก ฯ ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงเรียกร้องเราด้วยความเป็นมิตร อย่าเรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึก ข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความ สุขแก่พวกเธอตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ เราจักไม่ประคับประคองพวกเธอ เหมือนช่างหม้อประคับประคองภาชนะดินดิบที่ยังดิบๆ อยู่ เราจักข่มแล้วๆ จึงบอก จักยกย่องแล้วๆ จึงบอก ผู้ใดมีแก่นสาร ผู้นั้นจักตั้งอยู่ ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ท่านพระอานนท์จึงชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

มหาสุญญตาสูตร ดูกรอานนท์ ก็อุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ อย่างไร ดูกรอานนท์ ตถาคตอุบัติในโลกนี้ ได้เป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก อย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ตถาคตนั้นย่อมพอใจเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำบนภูเขา ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง และลอมฟาง เมื่อตถาคตนั้นหลีก ออกแล้วอย่างนั้นอยู่ พวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท จะพา กันเข้าไปหา เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท พากัน เข้าไปหาแล้ว ตถาคตนั้นย่อมไม่ปรารถนาอย่างหมกมุ่น ไม่ถึงความวุ่นวาย ไม่ เวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมาก ดูกรอานนท์ ส่วนสาวกของตถาคตผู้ศาสดานั่นแล เมื่อเพิ่มพูนวิเวกตามตถาคตผู้ศาสดา ย่อมพอใจเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำบนภูเขา ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง และลอมฟาง เมื่อสาวกนั้น หลีกออกแล้วอย่างนั้นอยู่ พวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท จะพากันเข้าไปหา เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท พา กันเข้าไปหาแล้ว สาวกนั้นย่อมปรารถนาอย่างหมกมุ่น ถึงความวุ่นวาย เวียนมา เพื่อความเป็นผู้มักมาก ดูกรอานนท์ สาวกนี้เรียกว่าผู้ประพฤติพรหมจรรย์มีอุปัททวะ ด้วยอุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์ อกุศลธรรมอันลามก เศร้าหมอง เป็นเหตุ เกิดในภพใหม่ มีความกระวนกระวาย มีทุกข์เป็นวิบาก เป็นที่ตั้งแห่งชาติ ชรา มรณะต่อไป ได้ฆ่าสาวกนั้นเสียแล้ว ดูกรอานนท์ อย่างนี้แล อุปัททวะของผู้ ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ ฯ ดูกรอานนท์ ในอุปัททวะทั้ง ๓ นั้น อุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์นี้ มีวิบากเป็นทุกข์ มีวิบากเผ็ดร้อนกว่าอุปัททวะของอาจารย์และอุปัททวะของศิษย์ ทั้งเป็นไปเพื่อความตกต่ำด้วย ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงเรียกร้อง เราด้วยความเป็นมิตร อย่าเรียกร้องเราด้วยความเป็นข้าศึก ข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อ ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่พวกเธอตลอดกาลนาน ฯ [๓๕๕] ดูกรอานนท์ ก็เหล่าสาวกย่อมเรียกร้องศาสดาด้วยความเป็น ข้าศึก ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นมิตรอย่างไร ดูกรอานนท์ ศาสดาในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรม แก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้นไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้และประพฤติ หลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา ดูกรอานนท์ อย่างนี้แลเหล่าสาวกชื่อว่าเรียกร้อง ศาสดาด้วยความเป็นข้าศึก ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นมิตร ฯ [๓๕๖] ดูกรอานนท์ ก็เหล่าสาวกย่อมเรียกร้องศาสดาด้วยความเป็นมิตร ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึกอย่างไร ดูกรอานนท์ ศาสดาในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวก ทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่า สาวกของศาสดานั้น ย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้และไม่ประพฤติ หลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา ดูกรอานนท์ อย่างนี้แล เหล่าสาวกชื่อว่าเรียกร้อง ศาสดาด้วยความเป็นมิตร ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึก ฯ ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงเรียกร้องเราด้วยความเป็นมิตร อย่าเรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึก ข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความ สุขแก่พวกเธอตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ เราจักไม่ประคับประคองพวกเธอ เหมือนช่างหม้อประคับประคองภาชนะดินดิบที่ยังดิบๆ อยู่ เราจักข่มแล้วๆ จึงบอก จักยกย่องแล้วๆ จึงบอก ผู้ใดมีแก่นสาร ผู้นั้นจักตั้งอยู่ ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ท่านพระอานนท์จึงชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

ทุกชีวิตที่เกิดมาแต่ละภพแต่ละชาติไม่แน่นอนเลยมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเ­ขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้­งปวงเสีย.

วันจันทร์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่น...แต่พอถึงขั้นเดินปัญญา มันเป็นขั้นรู้ทุกข์ ไม่ใช่ขั้นมีความสุข ถ้าเราเดินปัญญา .... นี่ภาวนาไปเรื่อยนะ เห็นทุกข์ไปเรื่อย สุดท้ายใจมันเต็มอิ่ม ขึ้นมา ... จิตนี้เป็นทุกข์โดยตัวของมันเอง อันนี้เรียกว่ารู้แจ้งใน “ทุกขสัจ” ... ... ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์

อนุสสติ 10 พระธรรมเทศนาโดยหลวงพ่อพระราชพรหมยานเถระทำไมจะต้องดับกิเลส นี่เราใช้อุปสมานุสสติกรรมฐาน ก็ต้องใช้ปัญญา คือบอกแล้วว่าคนโง่ใช้ไม่ได้ คือถามว่าใครฉลาด ก็ต้องบอกว่าตัวเรานี่ฉลาด เพราะบางวันบางเวลามันมีอารมณ์ฉลาด บางเวลามันมีอารมณ์ติดอยู่ใน ราคะ รักสวยรักงาม บางเวลาอารมณ์ติดอยู่ในความโกรธ ที่เรียกว่าโทสะจริต บางเวลามันก็มีอารมณ์อยู่ในความหลงและวิตก คิดอะไรก็ไม่ตกลงใจ บางเวลาก็เกิดสัทธาปสาทะ บางเวลามีอารมณ์จิตผ่องใส นี่เรียกว่า จริตทั้ง ๖ มันมีอยู่กับเราในบุคคลคนเดียวกัน แต่เป็นไปตามเวลา ตามกาล ตามสมัย ทีนี้ถ้าหากใจเราผ่องใส คิดว่าพระนิพพานมีความสุข เกิดเป็นมนุษย์มันมีความทุกข์ เกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็ไม่พ้นความทุกข์ นี่ถ้าอารมณ์คิดอย่างนี้เรียกว่าใจมันสบาย­ใช้ได้ ใช้อุปสมานุสสติกรรมฐานได้ว่า ไอ้มนุษย์มันก็ทุกข์ เป็นความสุขชั่วคราว คือเมื่อหมดอำนาจวาสนาบารมี ก็ต้องกลับมาทุกข์ใหม่ เราก็ไม่เอา เราไปพระนิพพานดีกว่า แล้วการที่ไปพระนิพพานดีกว่ามันต้องคลำหาท­างไปพระนิพพานได้อย่างไร ท่านบอกว่าต้องตัดกิเลสต้องขุดรากขุดเหง้า­ของกิเลสโยนทิ้งไป ขุดรากของความโลภ ขุดรากของความโกรธ ขุดรากของความหลงทิ้งไปเสีย เมื่อทิ้งความโลภ ความโกรธ ความหลง ทั้ง ๓ ประการ หมดไปแล้วจะมีอะไรเหลือ เครื่องเชื่อมกิเลส ตัณหา อุปาทาน อกุศลกรรมไม่มี คือจิตเกิดความเบา จิตมันก็มีความโปร่ง จิตมีความสบาย จิตเป็นอัปปนา จิตไม่กระทบกระทั่งทั้งฝ่ายดีและฝ่ายชั่ว มันเต็มเสียแล้ว เข้าถึงพระนิพพาน

การเกิด ใน อริยวินัย อริยภูมิ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็นกลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญา เมื่อมันเป็นกลางด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิ เพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์ งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

วิธีซ่อมสร้างตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ภาค Power Out Putจำหน่าย อุปกรณ์ POWER ELECTRONICS กำลังสำหรับนำไปสร้าง ซ่อม เตาแม่เหล็กไฟฟ้า เครื่องเชื่อม ชนิดอินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ กระแสสลับสามเฟส ที่ใช้ใน แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ สวิทชิ่่งเพาเวอร์ ซัพพลาย รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ทุกรุ่น.ทุกยี่ห้อ.ทุกอาการ..ครับ..รบกวน..ส่งมาที่ 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 หมู่ 1 ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนท์บุรี ระหัส 11000 ส่งมาทาง ไปรษณีย์ นะครับ...ติดต่อ ที่ Line 081-803-6553 โทรศัพท์ 02-951-1356 ขอบคุณมากครับ..ที่กรุณา...อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่จำหน่าย มีดังนี้ครับ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI ELECTRIC POWER MODULE FOR 3 PHASE INVERTER MOTOR SPEED CONTROL ..ราคาตัวละ 300 บาท.IGBT 15J331 MOSFET 2SK2689 2SK 2611 มีอีกหลายเบอร์ครับ ราคา ตั้งแต่ ตัวละ 15 บาท ถึง 60 บาท มีทั้ง แบบ ไร้ขา SMD และแบบ มีขา TO-92 TO-220 TO-247 ขนาด แรงดัน 20 Volts ถึง 600 Volts ขนาด กระแส สูงจะเป็นแบบแรงดันต่ำครับ ขนาดแรงดันสูงจะเป็นกระแสต่ำ ไม่เกิน20 Amps ครับ... FUJI ELECTRIC POWER MODULE 6DI15S-050C 6DI15S-050D ราคาตัวละ 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคาตัวละ 300 บาท

การตั้งความถี่ MC3PHAC ที่ 50 Hz และ 60Hz

ทำงานตามปกติจำหน่าย อุปกรณ์ POWER ELECTRONICS กำลังสำหรับนำไปสร้าง ซ่อม เตาแม่เหล็กไฟฟ้า เครื่องเชื่อม ชนิดอินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ กระแสสลับสามเฟส ที่ใช้ใน แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ สวิทชิ่่งเพาเวอร์ ซัพพลาย รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ทุกรุ่น.ทุกยี่ห้อ.ทุกอาการ..ครับ..รบกวน..ส่งมาที่ 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 หมู่ 1 ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนท์บุรี ระหัส 11000 ส่งมาทาง ไปรษณีย์ นะครับ...ติดต่อ ที่ Line 081-803-6553 โทรศัพท์ 02-951-1356 ขอบคุณมากครับ..ที่กรุณา...อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่จำหน่าย มีดังนี้ครับ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI ELECTRIC POWER MODULE FOR 3 PHASE INVERTER MOTOR SPEED CONTROL ..ราคาตัวละ 300 บาท.IGBT 15J331 MOSFET 2SK2689 2SK 2611 มีอีกหลายเบอร์ครับ ราคา ตั้งแต่ ตัวละ 15 บาท ถึง 60 บาท มีทั้ง แบบ ไร้ขา SMD และแบบ มีขา TO-92 TO-220 TO-247 ขนาด แรงดัน 20 Volts ถึง 600 Volts ขนาด กระแส สูงจะเป็นแบบแรงดันต่ำครับ ขนาดแรงดันสูงจะเป็นกระแสต่ำ ไม่เกิน20 Amps ครับ... FUJI ELECTRIC POWER MODULE 6DI15S-050C 6DI15S-050D ราคาตัวละ 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคาตัวละ 300 บาท

ก้าวเข้ายุคสู่สันติสุขและรุ่งเรืองจำหน่าย อุปกรณ์ POWER ELECTRONICS กำลังสำหรับนำไปสร้าง ซ่อม เตาแม่เหล็กไฟฟ้า เครื่องเชื่อม ชนิดอินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ กระแสสลับสามเฟส ที่ใช้ใน แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ สวิทชิ่่งเพาเวอร์ ซัพพลาย รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ทุกรุ่น.ทุกยี่ห้อ.ทุกอาการ..ครับ..รบกวน..ส่งมาที่ 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 หมู่ 1 ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนท์บุรี ระหัส 11000 ส่งมาทาง ไปรษณีย์ นะครับ...ติดต่อ ที่ Line 081-803-6553 โทรศัพท์ 02-951-1356 ขอบคุณมากครับ..ที่กรุณา...อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่จำหน่าย มีดังนี้ครับ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI ELECTRIC POWER MODULE FOR 3 PHASE INVERTER MOTOR SPEED CONTROL ..ราคาตัวละ 300 บาท.IGBT 15J331 MOSFET 2SK2689 2SK 2611 มีอีกหลายเบอร์ครับ ราคา ตั้งแต่ ตัวละ 15 บาท ถึง 60 บาท มีทั้ง แบบ ไร้ขา SMD และแบบ มีขา TO-92 TO-220 TO-247 ขนาด แรงดัน 20 Volts ถึง 600 Volts ขนาด กระแส สูงจะเป็นแบบแรงดันต่ำครับ ขนาดแรงดันสูงจะเป็นกระแสต่ำ ไม่เกิน20 Amps ครับ... FUJI ELECTRIC POWER MODULE 6DI15S-050C 6DI15S-050D ราคาตัวละ 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคาตัวละ 300 บาท

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องละ...กามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน เมื่อสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลแล้ว น้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะย่อมได้เจโตวิมุติแ­ละปัญญาวิมุติอันยอดเยี่ยม เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ.ถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชา­วบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของช­าวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุท­ธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็­แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปั­สสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุ­ทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า .ครับ.https://www.youtube.com/watch?v=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtTU0k6Os https://www.youtube.com/watch?v=GTVCebNl0ws https://www.youtube.com/watch?v=xMyutB4khFM https://www.youtube.com/watch?v=ukhEHT89yT8 https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D0HgPSs https://www.youtube.com/watch?v=82qm2zIWTgE https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSkgjVo2A https://www.youtube.com/watch?v=npxT7kzgIf8 https://www.youtube.com/watch?v=BuVhzJCp8PE https://www.youtube.com/watch?v=_MacugT4Yes https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=mLGqlrBJM_g ปฏิปทาของพระโสดาบัน ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลาย สำหรับคืนนี้ ก็เป็นคืน วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ แต่ว่ามองดูเวลา ถ้าทางราชการเขาจะถือว่าเป็นวันที่ ๑๐ แล้ว แต่ว่าทางพระ ก็ยังถือว่าเป็นวันที่ ๙ เพราะยังไม่ได้อรุณดูวันเวลา มันสว่างใกล้จะสว่างเข้ามาทีละน้อยๆ ร่างกายมันไม่อยากจะหลับ อาการทางร่างกายมันเครียดจริงมา ๔ วันเศษ ใกล้จะถึงวันเกิด ก็ดูเหมือนว่าพอจะใกล้จะถึงวันตาย จะเกิดหรือจะตายก็ช่าง มองดูเวลา ๓ นาฬิกาเศษๆ ก็ช่างปะไร เรื่องของร่างกายใจเราไม่เกี่ยว ร่างกายอยากจะหลับก็เชิญหลับ ไม่อยากจะหลับก็แล้วไป มันอยากจะกินก็เชิญมัน มันไม่อยากจะกินก็ช่างมันก็หมดเรื่อง เราตอนนี้ก็ไปนั่งมองดูเวลา มันใกล้จะสว่างนี่ เมื่อตอนก่อนๆ ทุกท่านก็ได้ศึกษาอริยสัจ เฉพาะเรื่องของทุกข์ แล้วก็ศึกษา บารมี ๑๐ ตอนนั้นเขาถือว่าเป็นการเตรียมตัวเพื่อความเป็นพระอริยเจ้า มาวันนี้เราก็มาฝึกกันเพื่อความเป็นพระอริยเจ้ากัน สำหรับการฝึกเป็นพระอริยเจ้านี่ บรรดาเพื่อนภิกษุ สามเณรทั้งหลาย จงอย่าหลงตนว่าเป็นพระอริยเจ้าแล้ว และก็จงอย่าเข้าใจว่าตนเป็นพระอริยเจ้า การจะเป็นพระอริยเจ้าหรือไม่เป็นไม่สำคัญ เอาแต่เพียงว่าท่านมีปฏิปทาแบบไหน เรานำปฏิปทาแบบท่านมาใช้ก็หมดเรื่องใจเราจะได้เป็นสุข อย่างน้อยที่สุดเราก็เป็นคนตกนรกยาก หรือว่าดีไม่ดีเราก็เกิดไม่อยากตกเสียเลยก็ยังได้ นรกน่ะ นิพพานจะไปได้หรือไม่ได้ ก็อยู่ที่ความตายเข้ามาถึง ถ้ายังไม่ตายเราก็ยังไม่ควรพูดกันว่า เราจะไปนิพพานในชาตินี้ แต่เราก็พร้อมเตรียมตัวเพื่อจะไปในชาตินี้อยู่เสมอ ถ้าชาตินี้ไปไม่ได้ ชาติหน้าก็ไปได้ ชาติหน้าไปไม่ได้ ชาติต่อไปก็ไปได้ เป็นอันว่าเราสร้างความสุขใจไว้ก่อนดีกว่า การฝึกฝนตนคล้ายคลึงพระอริยเจ้า จะเป็นหรือไม่เป็นอย่าเข้าไปยุ่ง อย่าไปนึกว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน เป็นพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ ถ้าไปนึกอย่างนั้นเข้า ถ้าไม่เป็นจริงๆ จะยุ่งใหญ่ เพราะว่า..พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า "ความอิ่ม ความเต็มจงอย่ามี จงเป็นผู้ไม่มีความอิ่ม ความเต็มในตบะ เป็นเครื่องเผาผลาญกิเลส" ทีนี้เรามาศึกษาเรื่องความเป็นพระโสดาบันกัน พระโสดาบันท่านเป็นกันอย่างไร บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายเคยมาบอกว่าไปถามพระท่านแล้ว พระท่านบอกว่า พระโสดาบันน่ะเป็นยากแสนยาก แล้วญาติโยมทำไมไม่ถามองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า คือ พระพุทธเจ้าดูบ้าง พระพุทธเจ้าท่านไม่เคยบอกเลยว่าพระโสดาบันเป็นยาก พระโสดาบันตามปฏิปทาที่พระพุทธเจ้าทรงเทศน์ไว้เป็นง่ายจริงๆ ง่ายมาก คือถ้าเราจะตำน้ำพริกสักครก ถ้าเป็นแม่ครัว เป็นพระโสดาบันง่ายกว่าตำน้ำพริกหนึ่งครก เพราะตำน้ำพริกจิ้มหนึ่งครกนี่ ถ้ามือไม่ดี ปรุงไม่ดีจริง รสมันไม่อร่อย แต่พระโสดาบันนี่ไม่ต้องเปลี่ยนรส ใครจะเป็นพระโสดาบันก็รสเดียวเหมือนกันหมด รสที่จะเป็นพระโสดาบันได้มี ๓ รส รสอาหารน่ะ หรือจะเป็นรถขับขี่ก็ตามใจ คือ:- ๑. รสสักกายทิฏฐิ ๒. รสวิจิกิจฉา ๓. รสสีลัพพตปรามาส มีเท่านี้เอง พระโสดาบันมีเท่านี้ แล้วพระสกิทาคามีก็มีเท่านี้ แต่ละเอียดกว่ากันนิด ตอนนี้จะพูดเรื่องพระโสดาบันเสียก่อน พระโสดาบันก็ลองคิดดูว่าถ้าเป็นยากจริงๆ ท่านวิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นเด็กอายุ ๗ ปี ท่านฟังเทศน์จบเดียว ท่านก็เป็นพระโสดาบัน ทีนี้ตามแบบท่านเขียนบอกว่า คนที่จะเป็นพระโสดาบันได้ ต้องตัด สักกายทิฏฐิ ได้เด็ดขาด คือมีความรู้สึกว่าร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเราความจริงแบบท่านเขียนไปไม่ผิด แต่ว่าท่านผู้ร้อยกรองเข้าใจผิด ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะอารมณ์นี้เป็นอารมณ์พระอรหันต์ไม่ใช่อารมณ์พระโสดาบัน อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า มีสมาธิเล็กน้อย และมีปัญญาเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกแต่เพียงว่า ร่างกายนี้จะต้องตามแล้วก็ยังไม่ถึงกับรังเกียจร่างกาย ถ้ารังเกียจร่างกายนี่เป็นอารมณ์พระอนาคามี ตัวอย่างจะเห็นได้ชัดอย่างกับท่าน วิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี พออายุ ๑๖ ปี ท่านเป็นสาวท่านก็แต่งงาน นี่ถ้ารังเกียจร่างกายจริง ๆ จะแต่งงานทำไมเมื่อแต่งงานแล้วก็ไม่ได้แต่งกับตุ๊กตา ท่านแต่งกับคน ท่านก็มีลูกผู้ชายถึง ๑๐ คน ลูกผู้หญิง ๑๐ คน ท่านมีลูกของท่านจริง ๆ ๒๐ คน ก็ลองคิดดูว่า ถ้าคนรังเกียจร่างกายมีลูกตั้ง ๒๐ คน ได้ไหมหรือว่าจะมีลูกสัก ๑ คนได้ไหม ในเมื่อเรามีความรู้สึกว่าร่างกายมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่สนใจกับร่างกายเลย ถ้าไม่สนใจกับร่างกายเลยนี้ ใครเขาแต่งงานกันบ้าง ก็เป็นอันว่า เข้าใจว่าพระโสดาบันมีอารมณ์ไม่สูง ยังมีความรักร่างกายเต็ม ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ร่างกายตนเองก็รัก ร่างกายคนอื่นก็รัก แล้วก็ไม่ใช่รักเฉย ๆ รักวิ่งกระโดดเข้าเป็นคู่ครองกันเสียเลย อย่าง ภรรยาของท่านพรานกุกกุฏมิตร เป็นลูกมหาเศรษฐีเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี เหมือนกัน เห็นพรานที่เป็นเนื้อคู่เก่าในชาติก่อน ทนไม่ไหว เดินไปดักหน้าทางเกวียนเขา ไม่ได้ตาม ดักเลย นี่อารมณ์พระโสดาบันก็เหมือนคนธรรมดา แต่ไม่มีโทษทางศีล ตอนนี้ก็มาคุยกันเล่นๆ ถ้าหากว่าท่านคิดจะฝึกตามแบบฉบับทรงอารมณ์ของพระโสดาบัน ทำแบบสบายๆ อย่ารุกรานกำลังใจ ถ้ารุกรานกำลังใจเป็น อัตตกิลมถานุโยค อย่าลืมนะจะไม่มีผลในทางปฏิบัติ ถ้าจิตใจอยากได้เกินไปเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จิตฟุ้งซ่าน ตกในลักษณะของนิวรณ์ ทำใจให้เป็นสุขเอาแค่ ๑. มีความรู้สึกว่าชีวิตนี้มันต้องตาย ๒. ถ้าชีวิตจะต้องตาย ก่อนจะตายจะต้องเอาที่พึ่งให้ได้แน่นอน คือยอมรับนับถือความดีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และยอมรับพระธรรม ยอมรับพระอริยสงฆ์ ทั้ง ๓ ไตรสรณคมน์นี้ จะไม่ยอมปรามาส จะไม่ยอมดูถูก ดูหมิ่น ไม่เหยียดหยาม แล้วก็ ๓. จะทรงศีล ๕ บริสุทธิ์ สำหรับฆราวาส ภิกษุ สามเณร จำเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุทรงศีล ๒๒๗ สิกขาบทที่เป็นทุกกฎและอภิสมาจาร อาจจะละเมิดบ้างเป็นของธรรมดา แต่ตั้งแต่ปาราชิก ๔ ถึง ปาจิตตีย์ ควรจะยับยั้ง อย่าให้ละเมิด และอาจจะพลาดพลั้งไปได้ ถึงไม่มีเจตนาก็ได้ สามเณรศีล ๑๐ ไม่พอ ต้องมีเสขิยวัตรอีก ๗๕ ไม่ยังงั้นความเป็นเณรไม่มี ที่วัดนี้ที่ไม่ต้องการรับเณรก็เพราะเหตุนี้แหละ หลายวัดบอกว่าเณรก็คือเด็ก เด็กก็คือเณร ถ้าอย่างนั้นจะบวชให้ทำไม มันลงนรก จะไปแนะนำให้เด็กลงนรกมันมีประโยชน์อะไร ตอนนี้เราก็มาคุยกันเล่นๆ แต่ว่าทำจริงๆ มันก็มีผลจริงๆ นะ สมมุติว่า สักกายทิฏฐิ เรามีความเข้าใจว่าชีวิตนี้ต้องตาย แต่ความตายนี่มีจริง แต่ว่าท่านญาติโยมพุทธบริษัทชายหญิง และเพื่อนภิกษุสามเณร แต่คนมักจะมองเห็นคนอื่นตาย แต่ก็ไม่ได้มองดูความตายของตัวเอง อันนี้มีเป็นปกติ อย่างนี้มีเป็นปกติธรรมดาๆ แล้วเราทำไมถึงจะไม่ลืมความตายล่ะ เรามานั่งคุยกัน เราคุยกันแบบธรรมดาๆ ของคนปัญญาโง่ๆ อย่างพวกเรา อย่าลืมว่าเวลานี้กำลังพูดตามสายแนวของ อุทุมพริกสูตร ในแนวของพระพุทธเจ้า ผมยอมรับนับถือองค์เดียว ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าองค์เดียว คนอื่นจะมายุ่งกับผมไม่ได้ ใครจะประกาศตนเป็นพระอรหันต์ แล้วพูดแหวกแนวสวนทางกับพระพุทธเจ้า ผมจะไม่ยอมรับฟังเด็ดขาด ผมฟังแล้ว ผมก็โยนทิ้งลงส้วมไป แต่ว่าผมเลิกวิธีขากถุยเสียแล้วนี่ เมื่อสมัยผมเป็นเด็กๆ ผมไม่ชอบใจ ผมขากถุยเลย เวลานี้ผมแก่แล้ว ผมขากไม่ไหว ถุยไม่ไหว แต่ก็จะยอมทิ้งส้วมไป อรหันต์ประเภทเดินสวนทางกับพระพุทธเจ้าน่ะ ผมไม่ยอมรับนับถือ ผมถือว่าคนนั้นเป็นเปรต หรือเป็นสัตว์นรกของพระพุทธศาสนา ตามคติของเราคิดอย่างนั้น เขาจะเป็นอรหันต์ของเขาก็ช่างปะไร ที่คุยกันนี่เราคุยกันตามแนว อุทุมพริกสูตร อย่าลืมว่า อุทุมพริกสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่า คนที่เขาเข้าถึง กระพี้ นั่นคือ ระลึกชาติได้ ที่เรียกกันตามภาษาบาลีว่า ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หากเราคิดว่าเราจะลืมความรู้สึกว่าเราตาย ก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติ ถอยหลังลงไปว่า เราเคยเกิดมาแล้วกี่ชาติ ลองนับทีแรกสัก ๑๐ ชาติ เป็นอะไรบ้าง ถ้าคล่องตัวดี คราวนี้ไม่ต้องนับแล้ว ปั๊บเดียวเคยเกิดเป็นอย่างนั้นไหม เคยเกิดเป็นอย่างนี้ไหม ภาพจะเกิดทันทีทันใด อันนี้จะต้องฝึกฝน ผมถือว่าทุกองค์ฝึกฝนได้แล้วเพราะครูสอนไว้แล้ว นี่ทำไมเราจะทำไม่ได้ ถ้าทุกท่านทิ้งความดี ผมก็เสียใจ ไม่ใช่เสียใจอย่างที่ชาวบ้านเขาเสียใจ เสียใจนิดหนึ่งว่าความดีมันน้อยสำหรับท่านไป ท่านทั้งหลายนิยมความชั่วที่ผมไม่รู้จะทำยังไงได้ เป็นอันว่าความดีท่านมีไว้ก็แล้วกัน เขาสอนแล้ว วัดนี้ก่อนที่จะเข้ามานี่เขาสอนกันแล้ว ก่อนที่จะบวชก็สอนแล้ว ทำได้หรือไม่ได้ ทรงได้หรือทรงไม่ได้เป็นความดีความชั่วของท่าน เราก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณดูชาติต่างๆ เกิดเป็นคนบ้าง เกิดเป็นสัตว์บ้าง มันก็ตายทุกชาติ มีฐานะดีขนาดไหนก็ตาย มีอำนาจวาสนาดีขนาดไหนก็ตาย ยากจนเข็ญใจขนาดไหนก็ตาย เป็นเพศหญิงเพศชายก็ตาย เป็นภิกษุสามเณรก็ตาย เป็นคนหรือสัตว์ตายยังไม่พอ ถอยหลังไปดูความเป็นเทวดาหรือพรหม ทุกคนที่นั่งฟังอยู่นี่ผมขอยืนยัน ถ้าทุกท่านจะใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เวลานี้ท่านจะได้ทราบว่าตัวของท่านเองน่ะ เคยเป็นเทวดา หรือพรหมมาแล้ว นับชาติไม่ถ้วน เอ้า! ใครแน่ใจก็ลองดู เมื่อเป็นมาแล้ว ดูสิมันเป็นเท่าไรมันถึงต้องจุติ ความจริงสภาพของโลกนี่ไม่มีอะไรดีเลย มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกไม่ดี ไม่มีการทรงตัว มนุษย์เรียกว่า ตาย เทวดาหรือพรหมเรียกว่า จุติ มันก็ตัวตายเหมือนกัน นั่นแหละตัวไป คำว่า "ตาย" ในพุทธศาสนามีศัพท์ว่า มรณัง แต่คนตายจริงๆ พระพุทธเจ้า ท่านตรัสว่า กาลังกัตวา แต่ในอุทุมพริกสูตร ท่านเรียกว่า จุติ เหมือนกัน เคลื่อนหมด ไม่ใช่ตาย มันเคลื่อนไป อยู่ที่นี่ไม่ได้ก็ไปอยู่ที่โน่น เป็นมนุษย์ไม่ได้ก็ไปเกิดเป็นสัตว์ เป็นเปรต เป็นสัตว์นรกไป นี่รวมความว่าถอยหลังไปจริงๆ เราก็จะเบื่อการเกิด แล้วก็จะมั่นใจจริงๆ ว่าชาตินี้มันตาย ตายถ้าพลาดท่าพลาดทาง หันเข้าไปดูอีกสองอัน วิจิกิจฉา กับ สีลัพพตปรามาส บางชาติมีความเคารพในพระไตรสรณคมน์ดี ตายปุ๊บปั๊บไปสวรรค์ ไปเป็นพรหม บางชาติมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณ์ ตายปุ๊บปั๊บไปเป็นเทวดา ไปเป็นพรหม แล้วก็จุติจากเทวดา พรหมมาเป็นคน มีความอุดมสมบูรณ์ทุกอย่าง มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด รูปร่างหน้าตาก็สะสวยบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สิน มีแต่ความสุข บางชาติมีความปรามาสในพระไตรสรณคมน์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น หรือปรามาสในพระธรรม ปรามาสในพระอริยสงฆ์ พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศน์ไว้อย่างนี้ ยักย้ายถ่ายเทไปเทศน์อย่างโน้น ถือมติของตนเองเป็นสำคัญ อย่าง พระกบิล ตายจากความเป็นพระลงอเวจีมหานรก น่ากลัวว่าจะเทศน์ว่าเทวดาไม่มี เทวดาไม่มีความสำคัญ อะไรตามนั้น นี่ตามมติของท่านนะ แต่ในเมื่อพระอรหันต์ทั้งหลายตักเตือน ท่านก็โกรธ แล้วแม่กับน้องสาวก็พาลโกรธด้วย ช่วยกันด่าพระ คือว่าด่าพระที่ตักเตือน เมื่อตายแล้วพากันไปอเวจีทั้ง ๓ คน พระกบิลก็ไปอเวจี แม่กับน้องสาวก็ไปอเวจี นี่การปรามาสพระรัตนตรัย ดัดแปลงคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ใช้มติลัทธิของตนเข้าสอนแทน ตายแล้วก็ต้องไปอบายภูมิอย่างนี้ บางชาติของเราละเมิดศีลก็ลงนรกเช่นเดียวกัน… ก็รวมความว่า เราต้องการจะให้ทรงอารมณ์ความเป็นพระโสดาบัน ถ้าใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณช่วยอย่างเดียวก็เหลือแหล่ในญาณ ๘ พระโสดาบันนี่ง่ายๆ ไม่ต้องถึงญาณ ๘ แล้วไม่ต้องถึง เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี

ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ..ครับ.https://www.youtube.com/watch?v=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtTU0k6Os https://www.youtube.com/watch?v=GTVCebNl0ws https://www.youtube.com/watch?v=xMyutB4khFM https://www.youtube.com/watch?v=ukhEHT89yT8 https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D0HgPSs https://www.youtube.com/watch?v=82qm2zIWTgE https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSkgjVo2A https://www.youtube.com/watch?v=npxT7kzgIf8 https://www.youtube.com/watch?v=BuVhzJCp8PE https://www.youtube.com/watch?v=_MacugT4Yes https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=mLGqlrBJM_g ปฏิปทาของพระโสดาบัน ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลาย สำหรับคืนนี้ ก็เป็นคืน วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ แต่ว่ามองดูเวลา ถ้าทางราชการเขาจะถือว่าเป็นวันที่ ๑๐ แล้ว แต่ว่าทางพระ ก็ยังถือว่าเป็นวันที่ ๙ เพราะยังไม่ได้อรุณดูวันเวลา มันสว่างใกล้จะสว่างเข้ามาทีละน้อยๆ ร่างกายมันไม่อยากจะหลับ อาการทางร่างกายมันเครียดจริงมา ๔ วันเศษ ใกล้จะถึงวันเกิด ก็ดูเหมือนว่าพอจะใกล้จะถึงวันตาย จะเกิดหรือจะตายก็ช่าง มองดูเวลา ๓ นาฬิกาเศษๆ ก็ช่างปะไร เรื่องของร่างกายใจเราไม่เกี่ยว ร่างกายอยากจะหลับก็เชิญหลับ ไม่อยากจะหลับก็แล้วไป มันอยากจะกินก็เชิญมัน มันไม่อยากจะกินก็ช่างมันก็หมดเรื่อง เราตอนนี้ก็ไปนั่งมองดูเวลา มันใกล้จะสว่างนี่ เมื่อตอนก่อนๆ ทุกท่านก็ได้ศึกษาอริยสัจ เฉพาะเรื่องของทุกข์ แล้วก็ศึกษา บารมี ๑๐ ตอนนั้นเขาถือว่าเป็นการเตรียมตัวเพื่อความเป็นพระอริยเจ้า มาวันนี้เราก็มาฝึกกันเพื่อความเป็นพระอริยเจ้ากัน สำหรับการฝึกเป็นพระอริยเจ้านี่ บรรดาเพื่อนภิกษุ สามเณรทั้งหลาย จงอย่าหลงตนว่าเป็นพระอริยเจ้าแล้ว และก็จงอย่าเข้าใจว่าตนเป็นพระอริยเจ้า การจะเป็นพระอริยเจ้าหรือไม่เป็นไม่สำคัญ เอาแต่เพียงว่าท่านมีปฏิปทาแบบไหน เรานำปฏิปทาแบบท่านมาใช้ก็หมดเรื่องใจเราจะได้เป็นสุข อย่างน้อยที่สุดเราก็เป็นคนตกนรกยาก หรือว่าดีไม่ดีเราก็เกิดไม่อยากตกเสียเลยก็ยังได้ นรกน่ะ นิพพานจะไปได้หรือไม่ได้ ก็อยู่ที่ความตายเข้ามาถึง ถ้ายังไม่ตายเราก็ยังไม่ควรพูดกันว่า เราจะไปนิพพานในชาตินี้ แต่เราก็พร้อมเตรียมตัวเพื่อจะไปในชาตินี้อยู่เสมอ ถ้าชาตินี้ไปไม่ได้ ชาติหน้าก็ไปได้ ชาติหน้าไปไม่ได้ ชาติต่อไปก็ไปได้ เป็นอันว่าเราสร้างความสุขใจไว้ก่อนดีกว่า การฝึกฝนตนคล้ายคลึงพระอริยเจ้า จะเป็นหรือไม่เป็นอย่าเข้าไปยุ่ง อย่าไปนึกว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน เป็นพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ ถ้าไปนึกอย่างนั้นเข้า ถ้าไม่เป็นจริงๆ จะยุ่งใหญ่ เพราะว่า..พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า "ความอิ่ม ความเต็มจงอย่ามี จงเป็นผู้ไม่มีความอิ่ม ความเต็มในตบะ เป็นเครื่องเผาผลาญกิเลส" ทีนี้เรามาศึกษาเรื่องความเป็นพระโสดาบันกัน พระโสดาบันท่านเป็นกันอย่างไร บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายเคยมาบอกว่าไปถามพระท่านแล้ว พระท่านบอกว่า พระโสดาบันน่ะเป็นยากแสนยาก แล้วญาติโยมทำไมไม่ถามองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า คือ พระพุทธเจ้าดูบ้าง พระพุทธเจ้าท่านไม่เคยบอกเลยว่าพระโสดาบันเป็นยาก พระโสดาบันตามปฏิปทาที่พระพุทธเจ้าทรงเทศน์ไว้เป็นง่ายจริงๆ ง่ายมาก คือถ้าเราจะตำน้ำพริกสักครก ถ้าเป็นแม่ครัว เป็นพระโสดาบันง่ายกว่าตำน้ำพริกหนึ่งครก เพราะตำน้ำพริกจิ้มหนึ่งครกนี่ ถ้ามือไม่ดี ปรุงไม่ดีจริง รสมันไม่อร่อย แต่พระโสดาบันนี่ไม่ต้องเปลี่ยนรส ใครจะเป็นพระโสดาบันก็รสเดียวเหมือนกันหมด รสที่จะเป็นพระโสดาบันได้มี ๓ รส รสอาหารน่ะ หรือจะเป็นรถขับขี่ก็ตามใจ คือ:- ๑. รสสักกายทิฏฐิ ๒. รสวิจิกิจฉา ๓. รสสีลัพพตปรามาส มีเท่านี้เอง พระโสดาบันมีเท่านี้ แล้วพระสกิทาคามีก็มีเท่านี้ แต่ละเอียดกว่ากันนิด ตอนนี้จะพูดเรื่องพระโสดาบันเสียก่อน พระโสดาบันก็ลองคิดดูว่าถ้าเป็นยากจริงๆ ท่านวิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นเด็กอายุ ๗ ปี ท่านฟังเทศน์จบเดียว ท่านก็เป็นพระโสดาบัน ทีนี้ตามแบบท่านเขียนบอกว่า คนที่จะเป็นพระโสดาบันได้ ต้องตัด สักกายทิฏฐิ ได้เด็ดขาด คือมีความรู้สึกว่าร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเราความจริงแบบท่านเขียนไปไม่ผิด แต่ว่าท่านผู้ร้อยกรองเข้าใจผิด ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะอารมณ์นี้เป็นอารมณ์พระอรหันต์ไม่ใช่อารมณ์พระโสดาบัน อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า มีสมาธิเล็กน้อย และมีปัญญาเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกแต่เพียงว่า ร่างกายนี้จะต้องตามแล้วก็ยังไม่ถึงกับรังเกียจร่างกาย ถ้ารังเกียจร่างกายนี่เป็นอารมณ์พระอนาคามี ตัวอย่างจะเห็นได้ชัดอย่างกับท่าน วิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี พออายุ ๑๖ ปี ท่านเป็นสาวท่านก็แต่งงาน นี่ถ้ารังเกียจร่างกายจริง ๆ จะแต่งงานทำไมเมื่อแต่งงานแล้วก็ไม่ได้แต่งกับตุ๊กตา ท่านแต่งกับคน ท่านก็มีลูกผู้ชายถึง ๑๐ คน ลูกผู้หญิง ๑๐ คน ท่านมีลูกของท่านจริง ๆ ๒๐ คน ก็ลองคิดดูว่า ถ้าคนรังเกียจร่างกายมีลูกตั้ง ๒๐ คน ได้ไหมหรือว่าจะมีลูกสัก ๑ คนได้ไหม ในเมื่อเรามีความรู้สึกว่าร่างกายมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่สนใจกับร่างกายเลย ถ้าไม่สนใจกับร่างกายเลยนี้ ใครเขาแต่งงานกันบ้าง ก็เป็นอันว่า เข้าใจว่าพระโสดาบันมีอารมณ์ไม่สูง ยังมีความรักร่างกายเต็ม ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ร่างกายตนเองก็รัก ร่างกายคนอื่นก็รัก แล้วก็ไม่ใช่รักเฉย ๆ รักวิ่งกระโดดเข้าเป็นคู่ครองกันเสียเลย อย่าง ภรรยาของท่านพรานกุกกุฏมิตร เป็นลูกมหาเศรษฐีเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี เหมือนกัน เห็นพรานที่เป็นเนื้อคู่เก่าในชาติก่อน ทนไม่ไหว เดินไปดักหน้าทางเกวียนเขา ไม่ได้ตาม ดักเลย นี่อารมณ์พระโสดาบันก็เหมือนคนธรรมดา แต่ไม่มีโทษทางศีล ตอนนี้ก็มาคุยกันเล่นๆ ถ้าหากว่าท่านคิดจะฝึกตามแบบฉบับทรงอารมณ์ของพระโสดาบัน ทำแบบสบายๆ อย่ารุกรานกำลังใจ ถ้ารุกรานกำลังใจเป็น อัตตกิลมถานุโยค อย่าลืมนะจะไม่มีผลในทางปฏิบัติ ถ้าจิตใจอยากได้เกินไปเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จิตฟุ้งซ่าน ตกในลักษณะของนิวรณ์ ทำใจให้เป็นสุขเอาแค่ ๑. มีความรู้สึกว่าชีวิตนี้มันต้องตาย ๒. ถ้าชีวิตจะต้องตาย ก่อนจะตายจะต้องเอาที่พึ่งให้ได้แน่นอน คือยอมรับนับถือความดีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และยอมรับพระธรรม ยอมรับพระอริยสงฆ์ ทั้ง ๓ ไตรสรณคมน์นี้ จะไม่ยอมปรามาส จะไม่ยอมดูถูก ดูหมิ่น ไม่เหยียดหยาม แล้วก็ ๓. จะทรงศีล ๕ บริสุทธิ์ สำหรับฆราวาส ภิกษุ สามเณร จำเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุทรงศีล ๒๒๗ สิกขาบทที่เป็นทุกกฎและอภิสมาจาร อาจจะละเมิดบ้างเป็นของธรรมดา แต่ตั้งแต่ปาราชิก ๔ ถึง ปาจิตตีย์ ควรจะยับยั้ง อย่าให้ละเมิด และอาจจะพลาดพลั้งไปได้ ถึงไม่มีเจตนาก็ได้ สามเณรศีล ๑๐ ไม่พอ ต้องมีเสขิยวัตรอีก ๗๕ ไม่ยังงั้นความเป็นเณรไม่มี ที่วัดนี้ที่ไม่ต้องการรับเณรก็เพราะเหตุนี้แหละ หลายวัดบอกว่าเณรก็คือเด็ก เด็กก็คือเณร ถ้าอย่างนั้นจะบวชให้ทำไม มันลงนรก จะไปแนะนำให้เด็กลงนรกมันมีประโยชน์อะไร ตอนนี้เราก็มาคุยกันเล่นๆ แต่ว่าทำจริงๆ มันก็มีผลจริงๆ นะ สมมุติว่า สักกายทิฏฐิ เรามีความเข้าใจว่าชีวิตนี้ต้องตาย แต่ความตายนี่มีจริง แต่ว่าท่านญาติโยมพุทธบริษัทชายหญิง และเพื่อนภิกษุสามเณร แต่คนมักจะมองเห็นคนอื่นตาย แต่ก็ไม่ได้มองดูความตายของตัวเอง อันนี้มีเป็นปกติ อย่างนี้มีเป็นปกติธรรมดาๆ แล้วเราทำไมถึงจะไม่ลืมความตายล่ะ เรามานั่งคุยกัน เราคุยกันแบบธรรมดาๆ ของคนปัญญาโง่ๆ อย่างพวกเรา อย่าลืมว่าเวลานี้กำลังพูดตามสายแนวของ อุทุมพริกสูตร ในแนวของพระพุทธเจ้า ผมยอมรับนับถือองค์เดียว ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าองค์เดียว คนอื่นจะมายุ่งกับผมไม่ได้ ใครจะประกาศตนเป็นพระอรหันต์ แล้วพูดแหวกแนวสวนทางกับพระพุทธเจ้า ผมจะไม่ยอมรับฟังเด็ดขาด ผมฟังแล้ว ผมก็โยนทิ้งลงส้วมไป แต่ว่าผมเลิกวิธีขากถุยเสียแล้วนี่ เมื่อสมัยผมเป็นเด็กๆ ผมไม่ชอบใจ ผมขากถุยเลย เวลานี้ผมแก่แล้ว ผมขากไม่ไหว ถุยไม่ไหว แต่ก็จะยอมทิ้งส้วมไป อรหันต์ประเภทเดินสวนทางกับพระพุทธเจ้าน่ะ ผมไม่ยอมรับนับถือ ผมถือว่าคนนั้นเป็นเปรต หรือเป็นสัตว์นรกของพระพุทธศาสนา ตามคติของเราคิดอย่างนั้น เขาจะเป็นอรหันต์ของเขาก็ช่างปะไร ที่คุยกันนี่เราคุยกันตามแนว อุทุมพริกสูตร อย่าลืมว่า อุทุมพริกสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่า คนที่เขาเข้าถึง กระพี้ นั่นคือ ระลึกชาติได้ ที่เรียกกันตามภาษาบาลีว่า ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หากเราคิดว่าเราจะลืมความรู้สึกว่าเราตาย ก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติ ถอยหลังลงไปว่า เราเคยเกิดมาแล้วกี่ชาติ ลองนับทีแรกสัก ๑๐ ชาติ เป็นอะไรบ้าง ถ้าคล่องตัวดี คราวนี้ไม่ต้องนับแล้ว ปั๊บเดียวเคยเกิดเป็นอย่างนั้นไหม เคยเกิดเป็นอย่างนี้ไหม ภาพจะเกิดทันทีทันใด อันนี้จะต้องฝึกฝน ผมถือว่าทุกองค์ฝึกฝนได้แล้วเพราะครูสอนไว้แล้ว นี่ทำไมเราจะทำไม่ได้ ถ้าทุกท่านทิ้งความดี ผมก็เสียใจ ไม่ใช่เสียใจอย่างที่ชาวบ้านเขาเสียใจ เสียใจนิดหนึ่งว่าความดีมันน้อยสำหรับท่านไป ท่านทั้งหลายนิยมความชั่วที่ผมไม่รู้จะทำยังไงได้ เป็นอันว่าความดีท่านมีไว้ก็แล้วกัน เขาสอนแล้ว วัดนี้ก่อนที่จะเข้ามานี่เขาสอนกันแล้ว ก่อนที่จะบวชก็สอนแล้ว ทำได้หรือไม่ได้ ทรงได้หรือทรงไม่ได้เป็นความดีความชั่วของท่าน เราก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณดูชาติต่างๆ เกิดเป็นคนบ้าง เกิดเป็นสัตว์บ้าง มันก็ตายทุกชาติ มีฐานะดีขนาดไหนก็ตาย มีอำนาจวาสนาดีขนาดไหนก็ตาย ยากจนเข็ญใจขนาดไหนก็ตาย เป็นเพศหญิงเพศชายก็ตาย เป็นภิกษุสามเณรก็ตาย เป็นคนหรือสัตว์ตายยังไม่พอ ถอยหลังไปดูความเป็นเทวดาหรือพรหม ทุกคนที่นั่งฟังอยู่นี่ผมขอยืนยัน ถ้าทุกท่านจะใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เวลานี้ท่านจะได้ทราบว่าตัวของท่านเองน่ะ เคยเป็นเทวดา หรือพรหมมาแล้ว นับชาติไม่ถ้วน เอ้า! ใครแน่ใจก็ลองดู เมื่อเป็นมาแล้ว ดูสิมันเป็นเท่าไรมันถึงต้องจุติ ความจริงสภาพของโลกนี่ไม่มีอะไรดีเลย มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกไม่ดี ไม่มีการทรงตัว มนุษย์เรียกว่า ตาย เทวดาหรือพรหมเรียกว่า จุติ มันก็ตัวตายเหมือนกัน นั่นแหละตัวไป คำว่า "ตาย" ในพุทธศาสนามีศัพท์ว่า มรณัง แต่คนตายจริงๆ พระพุทธเจ้า ท่านตรัสว่า กาลังกัตวา แต่ในอุทุมพริกสูตร ท่านเรียกว่า จุติ เหมือนกัน เคลื่อนหมด ไม่ใช่ตาย มันเคลื่อนไป อยู่ที่นี่ไม่ได้ก็ไปอยู่ที่โน่น เป็นมนุษย์ไม่ได้ก็ไปเกิดเป็นสัตว์ เป็นเปรต เป็นสัตว์นรกไป นี่รวมความว่าถอยหลังไปจริงๆ เราก็จะเบื่อการเกิด แล้วก็จะมั่นใจจริงๆ ว่าชาตินี้มันตาย ตายถ้าพลาดท่าพลาดทาง หันเข้าไปดูอีกสองอัน วิจิกิจฉา กับ สีลัพพตปรามาส บางชาติมีความเคารพในพระไตรสรณคมน์ดี ตายปุ๊บปั๊บไปสวรรค์ ไปเป็นพรหม บางชาติมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณ์ ตายปุ๊บปั๊บไปเป็นเทวดา ไปเป็นพรหม แล้วก็จุติจากเทวดา พรหมมาเป็นคน มีความอุดมสมบูรณ์ทุกอย่าง มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด รูปร่างหน้าตาก็สะสวยบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สิน มีแต่ความสุข บางชาติมีความปรามาสในพระไตรสรณคมน์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น หรือปรามาสในพระธรรม ปรามาสในพระอริยสงฆ์ พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศน์ไว้อย่างนี้ ยักย้ายถ่ายเทไปเทศน์อย่างโน้น ถือมติของตนเองเป็นสำคัญ อย่าง พระกบิล ตายจากความเป็นพระลงอเวจีมหานรก น่ากลัวว่าจะเทศน์ว่าเทวดาไม่มี เทวดาไม่มีความสำคัญ อะไรตามนั้น นี่ตามมติของท่านนะ แต่ในเมื่อพระอรหันต์ทั้งหลายตักเตือน ท่านก็โกรธ แล้วแม่กับน้องสาวก็พาลโกรธด้วย ช่วยกันด่าพระ คือว่าด่าพระที่ตักเตือน เมื่อตายแล้วพากันไปอเวจีทั้ง ๓ คน พระกบิลก็ไปอเวจี แม่กับน้องสาวก็ไปอเวจี นี่การปรามาสพระรัตนตรัย ดัดแปลงคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ใช้มติลัทธิของตนเข้าสอนแทน ตายแล้วก็ต้องไปอบายภูมิอย่างนี้ บางชาติของเราละเมิดศีลก็ลงนรกเช่นเดียวกัน… ก็รวมความว่า เราต้องการจะให้ทรงอารมณ์ความเป็นพระโสดาบัน ถ้าใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณช่วยอย่างเดียวก็เหลือแหล่ในญาณ ๘ พระโสดาบันนี่ง่ายๆ ไม่ต้องถึงญาณ ๘ แล้วไม่ต้องถึง เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ..ครับ.https://www.youtube.com/watch?v=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtTU0k6Os https://www.youtube.com/watch?v=GTVCebNl0ws https://www.youtube.com/watch?v=xMyutB4khFM https://www.youtube.com/watch?v=ukhEHT89yT8 https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D0HgPSs https://www.youtube.com/watch?v=82qm2zIWTgE https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSkgjVo2A https://www.youtube.com/watch?v=npxT7kzgIf8 https://www.youtube.com/watch?v=BuVhzJCp8PE https://www.youtube.com/watch?v=_MacugT4Yes https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=mLGqlrBJM_g ปฏิปทาของพระโสดาบัน ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลาย สำหรับคืนนี้ ก็เป็นคืน วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ แต่ว่ามองดูเวลา ถ้าทางราชการเขาจะถือว่าเป็นวันที่ ๑๐ แล้ว แต่ว่าทางพระ ก็ยังถือว่าเป็นวันที่ ๙ เพราะยังไม่ได้อรุณดูวันเวลา มันสว่างใกล้จะสว่างเข้ามาทีละน้อยๆ ร่างกายมันไม่อยากจะหลับ อาการทางร่างกายมันเครียดจริงมา ๔ วันเศษ ใกล้จะถึงวันเกิด ก็ดูเหมือนว่าพอจะใกล้จะถึงวันตาย จะเกิดหรือจะตายก็ช่าง มองดูเวลา ๓ นาฬิกาเศษๆ ก็ช่างปะไร เรื่องของร่างกายใจเราไม่เกี่ยว ร่างกายอยากจะหลับก็เชิญหลับ ไม่อยากจะหลับก็แล้วไป มันอยากจะกินก็เชิญมัน มันไม่อยากจะกินก็ช่างมันก็หมดเรื่อง เราตอนนี้ก็ไปนั่งมองดูเวลา มันใกล้จะสว่างนี่ เมื่อตอนก่อนๆ ทุกท่านก็ได้ศึกษาอริยสัจ เฉพาะเรื่องของทุกข์ แล้วก็ศึกษา บารมี ๑๐ ตอนนั้นเขาถือว่าเป็นการเตรียมตัวเพื่อความเป็นพระอริยเจ้า มาวันนี้เราก็มาฝึกกันเพื่อความเป็นพระอริยเจ้ากัน สำหรับการฝึกเป็นพระอริยเจ้านี่ บรรดาเพื่อนภิกษุ สามเณรทั้งหลาย จงอย่าหลงตนว่าเป็นพระอริยเจ้าแล้ว และก็จงอย่าเข้าใจว่าตนเป็นพระอริยเจ้า การจะเป็นพระอริยเจ้าหรือไม่เป็นไม่สำคัญ เอาแต่เพียงว่าท่านมีปฏิปทาแบบไหน เรานำปฏิปทาแบบท่านมาใช้ก็หมดเรื่องใจเราจะได้เป็นสุข อย่างน้อยที่สุดเราก็เป็นคนตกนรกยาก หรือว่าดีไม่ดีเราก็เกิดไม่อยากตกเสียเลยก็ยังได้ นรกน่ะ นิพพานจะไปได้หรือไม่ได้ ก็อยู่ที่ความตายเข้ามาถึง ถ้ายังไม่ตายเราก็ยังไม่ควรพูดกันว่า เราจะไปนิพพานในชาตินี้ แต่เราก็พร้อมเตรียมตัวเพื่อจะไปในชาตินี้อยู่เสมอ ถ้าชาตินี้ไปไม่ได้ ชาติหน้าก็ไปได้ ชาติหน้าไปไม่ได้ ชาติต่อไปก็ไปได้ เป็นอันว่าเราสร้างความสุขใจไว้ก่อนดีกว่า การฝึกฝนตนคล้ายคลึงพระอริยเจ้า จะเป็นหรือไม่เป็นอย่าเข้าไปยุ่ง อย่าไปนึกว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน เป็นพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ ถ้าไปนึกอย่างนั้นเข้า ถ้าไม่เป็นจริงๆ จะยุ่งใหญ่ เพราะว่า..พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า "ความอิ่ม ความเต็มจงอย่ามี จงเป็นผู้ไม่มีความอิ่ม ความเต็มในตบะ เป็นเครื่องเผาผลาญกิเลส" ทีนี้เรามาศึกษาเรื่องความเป็นพระโสดาบันกัน พระโสดาบันท่านเป็นกันอย่างไร บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายเคยมาบอกว่าไปถามพระท่านแล้ว พระท่านบอกว่า พระโสดาบันน่ะเป็นยากแสนยาก แล้วญาติโยมทำไมไม่ถามองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า คือ พระพุทธเจ้าดูบ้าง พระพุทธเจ้าท่านไม่เคยบอกเลยว่าพระโสดาบันเป็นยาก พระโสดาบันตามปฏิปทาที่พระพุทธเจ้าทรงเทศน์ไว้เป็นง่ายจริงๆ ง่ายมาก คือถ้าเราจะตำน้ำพริกสักครก ถ้าเป็นแม่ครัว เป็นพระโสดาบันง่ายกว่าตำน้ำพริกหนึ่งครก เพราะตำน้ำพริกจิ้มหนึ่งครกนี่ ถ้ามือไม่ดี ปรุงไม่ดีจริง รสมันไม่อร่อย แต่พระโสดาบันนี่ไม่ต้องเปลี่ยนรส ใครจะเป็นพระโสดาบันก็รสเดียวเหมือนกันหมด รสที่จะเป็นพระโสดาบันได้มี ๓ รส รสอาหารน่ะ หรือจะเป็นรถขับขี่ก็ตามใจ คือ:- ๑. รสสักกายทิฏฐิ ๒. รสวิจิกิจฉา ๓. รสสีลัพพตปรามาส มีเท่านี้เอง พระโสดาบันมีเท่านี้ แล้วพระสกิทาคามีก็มีเท่านี้ แต่ละเอียดกว่ากันนิด ตอนนี้จะพูดเรื่องพระโสดาบันเสียก่อน พระโสดาบันก็ลองคิดดูว่าถ้าเป็นยากจริงๆ ท่านวิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นเด็กอายุ ๗ ปี ท่านฟังเทศน์จบเดียว ท่านก็เป็นพระโสดาบัน ทีนี้ตามแบบท่านเขียนบอกว่า คนที่จะเป็นพระโสดาบันได้ ต้องตัด สักกายทิฏฐิ ได้เด็ดขาด คือมีความรู้สึกว่าร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเราความจริงแบบท่านเขียนไปไม่ผิด แต่ว่าท่านผู้ร้อยกรองเข้าใจผิด ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะอารมณ์นี้เป็นอารมณ์พระอรหันต์ไม่ใช่อารมณ์พระโสดาบัน อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า มีสมาธิเล็กน้อย และมีปัญญาเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกแต่เพียงว่า ร่างกายนี้จะต้องตามแล้วก็ยังไม่ถึงกับรังเกียจร่างกาย ถ้ารังเกียจร่างกายนี่เป็นอารมณ์พระอนาคามี ตัวอย่างจะเห็นได้ชัดอย่างกับท่าน วิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี พออายุ ๑๖ ปี ท่านเป็นสาวท่านก็แต่งงาน นี่ถ้ารังเกียจร่างกายจริง ๆ จะแต่งงานทำไมเมื่อแต่งงานแล้วก็ไม่ได้แต่งกับตุ๊กตา ท่านแต่งกับคน ท่านก็มีลูกผู้ชายถึง ๑๐ คน ลูกผู้หญิง ๑๐ คน ท่านมีลูกของท่านจริง ๆ ๒๐ คน ก็ลองคิดดูว่า ถ้าคนรังเกียจร่างกายมีลูกตั้ง ๒๐ คน ได้ไหมหรือว่าจะมีลูกสัก ๑ คนได้ไหม ในเมื่อเรามีความรู้สึกว่าร่างกายมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่สนใจกับร่างกายเลย ถ้าไม่สนใจกับร่างกายเลยนี้ ใครเขาแต่งงานกันบ้าง ก็เป็นอันว่า เข้าใจว่าพระโสดาบันมีอารมณ์ไม่สูง ยังมีความรักร่างกายเต็ม ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ร่างกายตนเองก็รัก ร่างกายคนอื่นก็รัก แล้วก็ไม่ใช่รักเฉย ๆ รักวิ่งกระโดดเข้าเป็นคู่ครองกันเสียเลย อย่าง ภรรยาของท่านพรานกุกกุฏมิตร เป็นลูกมหาเศรษฐีเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี เหมือนกัน เห็นพรานที่เป็นเนื้อคู่เก่าในชาติก่อน ทนไม่ไหว เดินไปดักหน้าทางเกวียนเขา ไม่ได้ตาม ดักเลย นี่อารมณ์พระโสดาบันก็เหมือนคนธรรมดา แต่ไม่มีโทษทางศีล ตอนนี้ก็มาคุยกันเล่นๆ ถ้าหากว่าท่านคิดจะฝึกตามแบบฉบับทรงอารมณ์ของพระโสดาบัน ทำแบบสบายๆ อย่ารุกรานกำลังใจ ถ้ารุกรานกำลังใจเป็น อัตตกิลมถานุโยค อย่าลืมนะจะไม่มีผลในทางปฏิบัติ ถ้าจิตใจอยากได้เกินไปเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จิตฟุ้งซ่าน ตกในลักษณะของนิวรณ์ ทำใจให้เป็นสุขเอาแค่ ๑. มีความรู้สึกว่าชีวิตนี้มันต้องตาย ๒. ถ้าชีวิตจะต้องตาย ก่อนจะตายจะต้องเอาที่พึ่งให้ได้แน่นอน คือยอมรับนับถือความดีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และยอมรับพระธรรม ยอมรับพระอริยสงฆ์ ทั้ง ๓ ไตรสรณคมน์นี้ จะไม่ยอมปรามาส จะไม่ยอมดูถูก ดูหมิ่น ไม่เหยียดหยาม แล้วก็ ๓. จะทรงศีล ๕ บริสุทธิ์ สำหรับฆราวาส ภิกษุ สามเณร จำเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุทรงศีล ๒๒๗ สิกขาบทที่เป็นทุกกฎและอภิสมาจาร อาจจะละเมิดบ้างเป็นของธรรมดา แต่ตั้งแต่ปาราชิก ๔ ถึง ปาจิตตีย์ ควรจะยับยั้ง อย่าให้ละเมิด และอาจจะพลาดพลั้งไปได้ ถึงไม่มีเจตนาก็ได้ สามเณรศีล ๑๐ ไม่พอ ต้องมีเสขิยวัตรอีก ๗๕ ไม่ยังงั้นความเป็นเณรไม่มี ที่วัดนี้ที่ไม่ต้องการรับเณรก็เพราะเหตุนี้แหละ หลายวัดบอกว่าเณรก็คือเด็ก เด็กก็คือเณร ถ้าอย่างนั้นจะบวชให้ทำไม มันลงนรก จะไปแนะนำให้เด็กลงนรกมันมีประโยชน์อะไร ตอนนี้เราก็มาคุยกันเล่นๆ แต่ว่าทำจริงๆ มันก็มีผลจริงๆ นะ สมมุติว่า สักกายทิฏฐิ เรามีความเข้าใจว่าชีวิตนี้ต้องตาย แต่ความตายนี่มีจริง แต่ว่าท่านญาติโยมพุทธบริษัทชายหญิง และเพื่อนภิกษุสามเณร แต่คนมักจะมองเห็นคนอื่นตาย แต่ก็ไม่ได้มองดูความตายของตัวเอง อันนี้มีเป็นปกติ อย่างนี้มีเป็นปกติธรรมดาๆ แล้วเราทำไมถึงจะไม่ลืมความตายล่ะ เรามานั่งคุยกัน เราคุยกันแบบธรรมดาๆ ของคนปัญญาโง่ๆ อย่างพวกเรา อย่าลืมว่าเวลานี้กำลังพูดตามสายแนวของ อุทุมพริกสูตร ในแนวของพระพุทธเจ้า ผมยอมรับนับถือองค์เดียว ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าองค์เดียว คนอื่นจะมายุ่งกับผมไม่ได้ ใครจะประกาศตนเป็นพระอรหันต์ แล้วพูดแหวกแนวสวนทางกับพระพุทธเจ้า ผมจะไม่ยอมรับฟังเด็ดขาด ผมฟังแล้ว ผมก็โยนทิ้งลงส้วมไป แต่ว่าผมเลิกวิธีขากถุยเสียแล้วนี่ เมื่อสมัยผมเป็นเด็กๆ ผมไม่ชอบใจ ผมขากถุยเลย เวลานี้ผมแก่แล้ว ผมขากไม่ไหว ถุยไม่ไหว แต่ก็จะยอมทิ้งส้วมไป อรหันต์ประเภทเดินสวนทางกับพระพุทธเจ้าน่ะ ผมไม่ยอมรับนับถือ ผมถือว่าคนนั้นเป็นเปรต หรือเป็นสัตว์นรกของพระพุทธศาสนา ตามคติของเราคิดอย่างนั้น เขาจะเป็นอรหันต์ของเขาก็ช่างปะไร ที่คุยกันนี่เราคุยกันตามแนว อุทุมพริกสูตร อย่าลืมว่า อุทุมพริกสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่า คนที่เขาเข้าถึง กระพี้ นั่นคือ ระลึกชาติได้ ที่เรียกกันตามภาษาบาลีว่า ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หากเราคิดว่าเราจะลืมความรู้สึกว่าเราตาย ก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติ ถอยหลังลงไปว่า เราเคยเกิดมาแล้วกี่ชาติ ลองนับทีแรกสัก ๑๐ ชาติ เป็นอะไรบ้าง ถ้าคล่องตัวดี คราวนี้ไม่ต้องนับแล้ว ปั๊บเดียวเคยเกิดเป็นอย่างนั้นไหม เคยเกิดเป็นอย่างนี้ไหม ภาพจะเกิดทันทีทันใด อันนี้จะต้องฝึกฝน ผมถือว่าทุกองค์ฝึกฝนได้แล้วเพราะครูสอนไว้แล้ว นี่ทำไมเราจะทำไม่ได้ ถ้าทุกท่านทิ้งความดี ผมก็เสียใจ ไม่ใช่เสียใจอย่างที่ชาวบ้านเขาเสียใจ เสียใจนิดหนึ่งว่าความดีมันน้อยสำหรับท่านไป ท่านทั้งหลายนิยมความชั่วที่ผมไม่รู้จะทำยังไงได้ เป็นอันว่าความดีท่านมีไว้ก็แล้วกัน เขาสอนแล้ว วัดนี้ก่อนที่จะเข้ามานี่เขาสอนกันแล้ว ก่อนที่จะบวชก็สอนแล้ว ทำได้หรือไม่ได้ ทรงได้หรือทรงไม่ได้เป็นความดีความชั่วของท่าน เราก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณดูชาติต่างๆ เกิดเป็นคนบ้าง เกิดเป็นสัตว์บ้าง มันก็ตายทุกชาติ มีฐานะดีขนาดไหนก็ตาย มีอำนาจวาสนาดีขนาดไหนก็ตาย ยากจนเข็ญใจขนาดไหนก็ตาย เป็นเพศหญิงเพศชายก็ตาย เป็นภิกษุสามเณรก็ตาย เป็นคนหรือสัตว์ตายยังไม่พอ ถอยหลังไปดูความเป็นเทวดาหรือพรหม ทุกคนที่นั่งฟังอยู่นี่ผมขอยืนยัน ถ้าทุกท่านจะใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เวลานี้ท่านจะได้ทราบว่าตัวของท่านเองน่ะ เคยเป็นเทวดา หรือพรหมมาแล้ว นับชาติไม่ถ้วน เอ้า! ใครแน่ใจก็ลองดู เมื่อเป็นมาแล้ว ดูสิมันเป็นเท่าไรมันถึงต้องจุติ ความจริงสภาพของโลกนี่ไม่มีอะไรดีเลย มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกไม่ดี ไม่มีการทรงตัว มนุษย์เรียกว่า ตาย เทวดาหรือพรหมเรียกว่า จุติ มันก็ตัวตายเหมือนกัน นั่นแหละตัวไป คำว่า "ตาย" ในพุทธศาสนามีศัพท์ว่า มรณัง แต่คนตายจริงๆ พระพุทธเจ้า ท่านตรัสว่า กาลังกัตวา แต่ในอุทุมพริกสูตร ท่านเรียกว่า จุติ เหมือนกัน เคลื่อนหมด ไม่ใช่ตาย มันเคลื่อนไป อยู่ที่นี่ไม่ได้ก็ไปอยู่ที่โน่น เป็นมนุษย์ไม่ได้ก็ไปเกิดเป็นสัตว์ เป็นเปรต เป็นสัตว์นรกไป นี่รวมความว่าถอยหลังไปจริงๆ เราก็จะเบื่อการเกิด แล้วก็จะมั่นใจจริงๆ ว่าชาตินี้มันตาย ตายถ้าพลาดท่าพลาดทาง หันเข้าไปดูอีกสองอัน วิจิกิจฉา กับ สีลัพพตปรามาส บางชาติมีความเคารพในพระไตรสรณคมน์ดี ตายปุ๊บปั๊บไปสวรรค์ ไปเป็นพรหม บางชาติมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณ์ ตายปุ๊บปั๊บไปเป็นเทวดา ไปเป็นพรหม แล้วก็จุติจากเทวดา พรหมมาเป็นคน มีความอุดมสมบูรณ์ทุกอย่าง มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด รูปร่างหน้าตาก็สะสวยบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สิน มีแต่ความสุข บางชาติมีความปรามาสในพระไตรสรณคมน์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น หรือปรามาสในพระธรรม ปรามาสในพระอริยสงฆ์ พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศน์ไว้อย่างนี้ ยักย้ายถ่ายเทไปเทศน์อย่างโน้น ถือมติของตนเองเป็นสำคัญ อย่าง พระกบิล ตายจากความเป็นพระลงอเวจีมหานรก น่ากลัวว่าจะเทศน์ว่าเทวดาไม่มี เทวดาไม่มีความสำคัญ อะไรตามนั้น นี่ตามมติของท่านนะ แต่ในเมื่อพระอรหันต์ทั้งหลายตักเตือน ท่านก็โกรธ แล้วแม่กับน้องสาวก็พาลโกรธด้วย ช่วยกันด่าพระ คือว่าด่าพระที่ตักเตือน เมื่อตายแล้วพากันไปอเวจีทั้ง ๓ คน พระกบิลก็ไปอเวจี แม่กับน้องสาวก็ไปอเวจี นี่การปรามาสพระรัตนตรัย ดัดแปลงคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ใช้มติลัทธิของตนเข้าสอนแทน ตายแล้วก็ต้องไปอบายภูมิอย่างนี้ บางชาติของเราละเมิดศีลก็ลงนรกเช่นเดียวกัน… ก็รวมความว่า เราต้องการจะให้ทรงอารมณ์ความเป็นพระโสดาบัน ถ้าใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณช่วยอย่างเดียวก็เหลือแหล่ในญาณ ๘ พระโสดาบันนี่ง่ายๆ ไม่ต้องถึงญาณ ๘ แล้วไม่ต้องถึง เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานบุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ..ครับ.https://www.youtube.com/watch?v=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtTU0k6Os https://www.youtube.com/watch?v=GTVCebNl0ws https://www.youtube.com/watch?v=xMyutB4khFM https://www.youtube.com/watch?v=ukhEHT89yT8 https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D0HgPSs https://www.youtube.com/watch?v=82qm2zIWTgE https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSkgjVo2A https://www.youtube.com/watch?v=npxT7kzgIf8 https://www.youtube.com/watch?v=BuVhzJCp8PE https://www.youtube.com/watch?v=_MacugT4Yes https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=mLGqlrBJM_g ปฏิปทาของพระโสดาบัน ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลาย สำหรับคืนนี้ ก็เป็นคืน วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ แต่ว่ามองดูเวลา ถ้าทางราชการเขาจะถือว่าเป็นวันที่ ๑๐ แล้ว แต่ว่าทางพระ ก็ยังถือว่าเป็นวันที่ ๙ เพราะยังไม่ได้อรุณดูวันเวลา มันสว่างใกล้จะสว่างเข้ามาทีละน้อยๆ ร่างกายมันไม่อยากจะหลับ อาการทางร่างกายมันเครียดจริงมา ๔ วันเศษ ใกล้จะถึงวันเกิด ก็ดูเหมือนว่าพอจะใกล้จะถึงวันตาย จะเกิดหรือจะตายก็ช่าง มองดูเวลา ๓ นาฬิกาเศษๆ ก็ช่างปะไร เรื่องของร่างกายใจเราไม่เกี่ยว ร่างกายอยากจะหลับก็เชิญหลับ ไม่อยากจะหลับก็แล้วไป มันอยากจะกินก็เชิญมัน มันไม่อยากจะกินก็ช่างมันก็หมดเรื่อง เราตอนนี้ก็ไปนั่งมองดูเวลา มันใกล้จะสว่างนี่ เมื่อตอนก่อนๆ ทุกท่านก็ได้ศึกษาอริยสัจ เฉพาะเรื่องของทุกข์ แล้วก็ศึกษา บารมี ๑๐ ตอนนั้นเขาถือว่าเป็นการเตรียมตัวเพื่อความเป็นพระอริยเจ้า มาวันนี้เราก็มาฝึกกันเพื่อความเป็นพระอริยเจ้ากัน สำหรับการฝึกเป็นพระอริยเจ้านี่ บรรดาเพื่อนภิกษุ สามเณรทั้งหลาย จงอย่าหลงตนว่าเป็นพระอริยเจ้าแล้ว และก็จงอย่าเข้าใจว่าตนเป็นพระอริยเจ้า การจะเป็นพระอริยเจ้าหรือไม่เป็นไม่สำคัญ เอาแต่เพียงว่าท่านมีปฏิปทาแบบไหน เรานำปฏิปทาแบบท่านมาใช้ก็หมดเรื่องใจเราจะได้เป็นสุข อย่างน้อยที่สุดเราก็เป็นคนตกนรกยาก หรือว่าดีไม่ดีเราก็เกิดไม่อยากตกเสียเลยก็ยังได้ นรกน่ะ นิพพานจะไปได้หรือไม่ได้ ก็อยู่ที่ความตายเข้ามาถึง ถ้ายังไม่ตายเราก็ยังไม่ควรพูดกันว่า เราจะไปนิพพานในชาตินี้ แต่เราก็พร้อมเตรียมตัวเพื่อจะไปในชาตินี้อยู่เสมอ ถ้าชาตินี้ไปไม่ได้ ชาติหน้าก็ไปได้ ชาติหน้าไปไม่ได้ ชาติต่อไปก็ไปได้ เป็นอันว่าเราสร้างความสุขใจไว้ก่อนดีกว่า การฝึกฝนตนคล้ายคลึงพระอริยเจ้า จะเป็นหรือไม่เป็นอย่าเข้าไปยุ่ง อย่าไปนึกว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน เป็นพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ ถ้าไปนึกอย่างนั้นเข้า ถ้าไม่เป็นจริงๆ จะยุ่งใหญ่ เพราะว่า..พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า "ความอิ่ม ความเต็มจงอย่ามี จงเป็นผู้ไม่มีความอิ่ม ความเต็มในตบะ เป็นเครื่องเผาผลาญกิเลส" ทีนี้เรามาศึกษาเรื่องความเป็นพระโสดาบันกัน พระโสดาบันท่านเป็นกันอย่างไร บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายเคยมาบอกว่าไปถามพระท่านแล้ว พระท่านบอกว่า พระโสดาบันน่ะเป็นยากแสนยาก แล้วญาติโยมทำไมไม่ถามองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า คือ พระพุทธเจ้าดูบ้าง พระพุทธเจ้าท่านไม่เคยบอกเลยว่าพระโสดาบันเป็นยาก พระโสดาบันตามปฏิปทาที่พระพุทธเจ้าทรงเทศน์ไว้เป็นง่ายจริงๆ ง่ายมาก คือถ้าเราจะตำน้ำพริกสักครก ถ้าเป็นแม่ครัว เป็นพระโสดาบันง่ายกว่าตำน้ำพริกหนึ่งครก เพราะตำน้ำพริกจิ้มหนึ่งครกนี่ ถ้ามือไม่ดี ปรุงไม่ดีจริง รสมันไม่อร่อย แต่พระโสดาบันนี่ไม่ต้องเปลี่ยนรส ใครจะเป็นพระโสดาบันก็รสเดียวเหมือนกันหมด รสที่จะเป็นพระโสดาบันได้มี ๓ รส รสอาหารน่ะ หรือจะเป็นรถขับขี่ก็ตามใจ คือ:- ๑. รสสักกายทิฏฐิ ๒. รสวิจิกิจฉา ๓. รสสีลัพพตปรามาส มีเท่านี้เอง พระโสดาบันมีเท่านี้ แล้วพระสกิทาคามีก็มีเท่านี้ แต่ละเอียดกว่ากันนิด ตอนนี้จะพูดเรื่องพระโสดาบันเสียก่อน พระโสดาบันก็ลองคิดดูว่าถ้าเป็นยากจริงๆ ท่านวิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นเด็กอายุ ๗ ปี ท่านฟังเทศน์จบเดียว ท่านก็เป็นพระโสดาบัน ทีนี้ตามแบบท่านเขียนบอกว่า คนที่จะเป็นพระโสดาบันได้ ต้องตัด สักกายทิฏฐิ ได้เด็ดขาด คือมีความรู้สึกว่าร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเราความจริงแบบท่านเขียนไปไม่ผิด แต่ว่าท่านผู้ร้อยกรองเข้าใจผิด ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะอารมณ์นี้เป็นอารมณ์พระอรหันต์ไม่ใช่อารมณ์พระโสดาบัน อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า มีสมาธิเล็กน้อย และมีปัญญาเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกแต่เพียงว่า ร่างกายนี้จะต้องตามแล้วก็ยังไม่ถึงกับรังเกียจร่างกาย ถ้ารังเกียจร่างกายนี่เป็นอารมณ์พระอนาคามี ตัวอย่างจะเห็นได้ชัดอย่างกับท่าน วิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี พออายุ ๑๖ ปี ท่านเป็นสาวท่านก็แต่งงาน นี่ถ้ารังเกียจร่างกายจริง ๆ จะแต่งงานทำไมเมื่อแต่งงานแล้วก็ไม่ได้แต่งกับตุ๊กตา ท่านแต่งกับคน ท่านก็มีลูกผู้ชายถึง ๑๐ คน ลูกผู้หญิง ๑๐ คน ท่านมีลูกของท่านจริง ๆ ๒๐ คน ก็ลองคิดดูว่า ถ้าคนรังเกียจร่างกายมีลูกตั้ง ๒๐ คน ได้ไหมหรือว่าจะมีลูกสัก ๑ คนได้ไหม ในเมื่อเรามีความรู้สึกว่าร่างกายมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่สนใจกับร่างกายเลย ถ้าไม่สนใจกับร่างกายเลยนี้ ใครเขาแต่งงานกันบ้าง ก็เป็นอันว่า เข้าใจว่าพระโสดาบันมีอารมณ์ไม่สูง ยังมีความรักร่างกายเต็ม ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ร่างกายตนเองก็รัก ร่างกายคนอื่นก็รัก แล้วก็ไม่ใช่รักเฉย ๆ รักวิ่งกระโดดเข้าเป็นคู่ครองกันเสียเลย อย่าง ภรรยาของท่านพรานกุกกุฏมิตร เป็นลูกมหาเศรษฐีเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี เหมือนกัน เห็นพรานที่เป็นเนื้อคู่เก่าในชาติก่อน ทนไม่ไหว เดินไปดักหน้าทางเกวียนเขา ไม่ได้ตาม ดักเลย นี่อารมณ์พระโสดาบันก็เหมือนคนธรรมดา แต่ไม่มีโทษทางศีล ตอนนี้ก็มาคุยกันเล่นๆ ถ้าหากว่าท่านคิดจะฝึกตามแบบฉบับทรงอารมณ์ของพระโสดาบัน ทำแบบสบายๆ อย่ารุกรานกำลังใจ ถ้ารุกรานกำลังใจเป็น อัตตกิลมถานุโยค อย่าลืมนะจะไม่มีผลในทางปฏิบัติ ถ้าจิตใจอยากได้เกินไปเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จิตฟุ้งซ่าน ตกในลักษณะของนิวรณ์ ทำใจให้เป็นสุขเอาแค่ ๑. มีความรู้สึกว่าชีวิตนี้มันต้องตาย ๒. ถ้าชีวิตจะต้องตาย ก่อนจะตายจะต้องเอาที่พึ่งให้ได้แน่นอน คือยอมรับนับถือความดีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และยอมรับพระธรรม ยอมรับพระอริยสงฆ์ ทั้ง ๓ ไตรสรณคมน์นี้ จะไม่ยอมปรามาส จะไม่ยอมดูถูก ดูหมิ่น ไม่เหยียดหยาม แล้วก็ ๓. จะทรงศีล ๕ บริสุทธิ์ สำหรับฆราวาส ภิกษุ สามเณร จำเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุทรงศีล ๒๒๗ สิกขาบทที่เป็นทุกกฎและอภิสมาจาร อาจจะละเมิดบ้างเป็นของธรรมดา แต่ตั้งแต่ปาราชิก ๔ ถึง ปาจิตตีย์ ควรจะยับยั้ง อย่าให้ละเมิด และอาจจะพลาดพลั้งไปได้ ถึงไม่มีเจตนาก็ได้ สามเณรศีล ๑๐ ไม่พอ ต้องมีเสขิยวัตรอีก ๗๕ ไม่ยังงั้นความเป็นเณรไม่มี ที่วัดนี้ที่ไม่ต้องการรับเณรก็เพราะเหตุนี้แหละ หลายวัดบอกว่าเณรก็คือเด็ก เด็กก็คือเณร ถ้าอย่างนั้นจะบวชให้ทำไม มันลงนรก จะไปแนะนำให้เด็กลงนรกมันมีประโยชน์อะไร ตอนนี้เราก็มาคุยกันเล่นๆ แต่ว่าทำจริงๆ มันก็มีผลจริงๆ นะ สมมุติว่า สักกายทิฏฐิ เรามีความเข้าใจว่าชีวิตนี้ต้องตาย แต่ความตายนี่มีจริง แต่ว่าท่านญาติโยมพุทธบริษัทชายหญิง และเพื่อนภิกษุสามเณร แต่คนมักจะมองเห็นคนอื่นตาย แต่ก็ไม่ได้มองดูความตายของตัวเอง อันนี้มีเป็นปกติ อย่างนี้มีเป็นปกติธรรมดาๆ แล้วเราทำไมถึงจะไม่ลืมความตายล่ะ เรามานั่งคุยกัน เราคุยกันแบบธรรมดาๆ ของคนปัญญาโง่ๆ อย่างพวกเรา อย่าลืมว่าเวลานี้กำลังพูดตามสายแนวของ อุทุมพริกสูตร ในแนวของพระพุทธเจ้า ผมยอมรับนับถือองค์เดียว ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าองค์เดียว คนอื่นจะมายุ่งกับผมไม่ได้ ใครจะประกาศตนเป็นพระอรหันต์ แล้วพูดแหวกแนวสวนทางกับพระพุทธเจ้า ผมจะไม่ยอมรับฟังเด็ดขาด ผมฟังแล้ว ผมก็โยนทิ้งลงส้วมไป แต่ว่าผมเลิกวิธีขากถุยเสียแล้วนี่ เมื่อสมัยผมเป็นเด็กๆ ผมไม่ชอบใจ ผมขากถุยเลย เวลานี้ผมแก่แล้ว ผมขากไม่ไหว ถุยไม่ไหว แต่ก็จะยอมทิ้งส้วมไป อรหันต์ประเภทเดินสวนทางกับพระพุทธเจ้าน่ะ ผมไม่ยอมรับนับถือ ผมถือว่าคนนั้นเป็นเปรต หรือเป็นสัตว์นรกของพระพุทธศาสนา ตามคติของเราคิดอย่างนั้น เขาจะเป็นอรหันต์ของเขาก็ช่างปะไร ที่คุยกันนี่เราคุยกันตามแนว อุทุมพริกสูตร อย่าลืมว่า อุทุมพริกสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่า คนที่เขาเข้าถึง กระพี้ นั่นคือ ระลึกชาติได้ ที่เรียกกันตามภาษาบาลีว่า ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หากเราคิดว่าเราจะลืมความรู้สึกว่าเราตาย ก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติ ถอยหลังลงไปว่า เราเคยเกิดมาแล้วกี่ชาติ ลองนับทีแรกสัก ๑๐ ชาติ เป็นอะไรบ้าง ถ้าคล่องตัวดี คราวนี้ไม่ต้องนับแล้ว ปั๊บเดียวเคยเกิดเป็นอย่างนั้นไหม เคยเกิดเป็นอย่างนี้ไหม ภาพจะเกิดทันทีทันใด อันนี้จะต้องฝึกฝน ผมถือว่าทุกองค์ฝึกฝนได้แล้วเพราะครูสอนไว้แล้ว นี่ทำไมเราจะทำไม่ได้ ถ้าทุกท่านทิ้งความดี ผมก็เสียใจ ไม่ใช่เสียใจอย่างที่ชาวบ้านเขาเสียใจ เสียใจนิดหนึ่งว่าความดีมันน้อยสำหรับท่านไป ท่านทั้งหลายนิยมความชั่วที่ผมไม่รู้จะทำยังไงได้ เป็นอันว่าความดีท่านมีไว้ก็แล้วกัน เขาสอนแล้ว วัดนี้ก่อนที่จะเข้ามานี่เขาสอนกันแล้ว ก่อนที่จะบวชก็สอนแล้ว ทำได้หรือไม่ได้ ทรงได้หรือทรงไม่ได้เป็นความดีความชั่วของท่าน เราก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณดูชาติต่างๆ เกิดเป็นคนบ้าง เกิดเป็นสัตว์บ้าง มันก็ตายทุกชาติ มีฐานะดีขนาดไหนก็ตาย มีอำนาจวาสนาดีขนาดไหนก็ตาย ยากจนเข็ญใจขนาดไหนก็ตาย เป็นเพศหญิงเพศชายก็ตาย เป็นภิกษุสามเณรก็ตาย เป็นคนหรือสัตว์ตายยังไม่พอ ถอยหลังไปดูความเป็นเทวดาหรือพรหม ทุกคนที่นั่งฟังอยู่นี่ผมขอยืนยัน ถ้าทุกท่านจะใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เวลานี้ท่านจะได้ทราบว่าตัวของท่านเองน่ะ เคยเป็นเทวดา หรือพรหมมาแล้ว นับชาติไม่ถ้วน เอ้า! ใครแน่ใจก็ลองดู เมื่อเป็นมาแล้ว ดูสิมันเป็นเท่าไรมันถึงต้องจุติ ความจริงสภาพของโลกนี่ไม่มีอะไรดีเลย มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกไม่ดี ไม่มีการทรงตัว มนุษย์เรียกว่า ตาย เทวดาหรือพรหมเรียกว่า จุติ มันก็ตัวตายเหมือนกัน นั่นแหละตัวไป คำว่า "ตาย" ในพุทธศาสนามีศัพท์ว่า มรณัง แต่คนตายจริงๆ พระพุทธเจ้า ท่านตรัสว่า กาลังกัตวา แต่ในอุทุมพริกสูตร ท่านเรียกว่า จุติ เหมือนกัน เคลื่อนหมด ไม่ใช่ตาย มันเคลื่อนไป อยู่ที่นี่ไม่ได้ก็ไปอยู่ที่โน่น เป็นมนุษย์ไม่ได้ก็ไปเกิดเป็นสัตว์ เป็นเปรต เป็นสัตว์นรกไป นี่รวมความว่าถอยหลังไปจริงๆ เราก็จะเบื่อการเกิด แล้วก็จะมั่นใจจริงๆ ว่าชาตินี้มันตาย ตายถ้าพลาดท่าพลาดทาง หันเข้าไปดูอีกสองอัน วิจิกิจฉา กับ สีลัพพตปรามาส บางชาติมีความเคารพในพระไตรสรณคมน์ดี ตายปุ๊บปั๊บไปสวรรค์ ไปเป็นพรหม บางชาติมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณ์ ตายปุ๊บปั๊บไปเป็นเทวดา ไปเป็นพรหม แล้วก็จุติจากเทวดา พรหมมาเป็นคน มีความอุดมสมบูรณ์ทุกอย่าง มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด รูปร่างหน้าตาก็สะสวยบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สิน มีแต่ความสุข บางชาติมีความปรามาสในพระไตรสรณคมน์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น หรือปรามาสในพระธรรม ปรามาสในพระอริยสงฆ์ พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศน์ไว้อย่างนี้ ยักย้ายถ่ายเทไปเทศน์อย่างโน้น ถือมติของตนเองเป็นสำคัญ อย่าง พระกบิล ตายจากความเป็นพระลงอเวจีมหานรก น่ากลัวว่าจะเทศน์ว่าเทวดาไม่มี เทวดาไม่มีความสำคัญ อะไรตามนั้น นี่ตามมติของท่านนะ แต่ในเมื่อพระอรหันต์ทั้งหลายตักเตือน ท่านก็โกรธ แล้วแม่กับน้องสาวก็พาลโกรธด้วย ช่วยกันด่าพระ คือว่าด่าพระที่ตักเตือน เมื่อตายแล้วพากันไปอเวจีทั้ง ๓ คน พระกบิลก็ไปอเวจี แม่กับน้องสาวก็ไปอเวจี นี่การปรามาสพระรัตนตรัย ดัดแปลงคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ใช้มติลัทธิของตนเข้าสอนแทน ตายแล้วก็ต้องไปอบายภูมิอย่างนี้ บางชาติของเราละเมิดศีลก็ลงนรกเช่นเดียวกัน… ก็รวมความว่า เราต้องการจะให้ทรงอารมณ์ความเป็นพระโสดาบัน ถ้าใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณช่วยอย่างเดียวก็เหลือแหล่ในญาณ ๘ พระโสดาบันนี่ง่ายๆ ไม่ต้องถึงญาณ ๘ แล้วไม่ต้องถึง เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานละ...กามฉันทะกองเดียวไปนิพพาน พระราชพรหมยาน เมื่อสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลแล้ว น้อมจิตไปเพื่อญาณทัสนะย่อมได้เจโตวิมุติแ­ละปัญญาวิมุติอันยอดเยี่ยม

อำลาพุทธภูมิการเจริญสตินี่แหละเป็นยอดของบุญเลยบุญบารมี ๑๐ อย่างต้องทำนะต้องใช้ในนาทีที่จะแตกหักข้ามภพข้ามชาติ

ไปต่อไม่ได้แล้วจิตต้นกำเนิดหรือจิตอวิชา หรือจิตผู้รู้ ตัวเดียวกัน ที่พวกเราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ ไปอีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกันเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ

ดับเย็น ศีล สมาธิและปัญญา ดับอวิชชา เพราะปุญญา พุทธานุภาพการปฏิบัติธรรมมี ๒ ขั้นตอนคือขั้นการทำลายความเห็นผิดว่ากายและจิตนี้เป็นตัวเรา กับขั้นการทำลายความยึดถือกายและจิต เมื่อไม่เห็นผิดว่ากายและจิตเป็นตัวเรา ก็ได้ต้นทางที่จะปล่อยวางความยึดถือกายและจิตในอนาคต เมื่อปล่อยวางความยึดถือกายและจิตได้แล้ว ก็ไม่มีตัวตนที่จะรองรับความทุกข์อีกต่อไป แม้การปฏิบัติจะมี ๒ ขั้นตอน แต่วิธีปฏิบัติมีเพียงอย่างเดียว คือการมีความรู้สึกตัวแล้วรู้กายและจิตตามความเป็นจริง เมื่อเห็นความจริงแล้วย่อมเบื่อหน่าย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายความกำหนัดยินดีในกายและจิต เมื่อหมดความกำหนัดยินดีย่อมหลุดพ้นจากความยึดถือกายและจิต เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ต้องทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความพ้นทุกข์อย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว นี้เองเป็นที่สุดแห่งทุกข์ หลวงพ่อ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๙ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนว่า รอยเท้าของสัตว์ทั้งหลายย่อมรวมลงในรอยเท้าช้างได้ฉันใด ธรรมทั้งปวงย่อมรวมลงได้ในอริยสัจจ์ฉันนั้น อริยสัจจ์จึงเป็นธรรมที่บริสุทธิ์ลึกซึ้งอย่างถึงที่สุด มีแต่พระอรหันต์เท่านั้นที่จะรู้แจ้งอริยสัจจ์ได้ เพราะความรู้แจ้งอริยสัจจ์คือวิชชา ส่วนความไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์คืออวิชชา อริยสัจจ์ข้อแรกคือทุกข์ ทุกข์คืออะไร - ทุกข์คือรูปนามขันธ์ ๕ หรือกายใจนี้เอง กิจต่อทุกข์มีอย่างไร - กิจต่อทุกข์คือให้รู้ทุกข์ การรู้ทุกข์นั้นทำอย่างไร - เมื่อเราตื่นออกจากโลกของความคิดและเกิดความรู้สึกตัว เราจะรู้กายตามความเป็นจริง และรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เมื่อรู้มากเข้าเราจะเข้าใจความเป็นจริงของกายและใจ ว่าเป็นสภาพธรรมที่ไม่เที่ยงคือมีแล้วไม่มี เป็นทุกข์คือทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตาคือเป็นของโลกไม่ใช่ของเรา การรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงอย่างนี้แหละคือวิธีรู้ทุกข์ อริยสัจจ์ข้อที่ ๒ คือสมุทัย สมุทัยคืออะไร – สมุทัยคือตัณหาหรือความทะยานอยากดิ้นรนของจิต ที่จะแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ ด้วยวิธีการต่างๆ นานา ได้แก่ (๑) ความปรุงแต่งฝ่ายชั่ว ด้วยการเที่ยวแสวงหาอารมณ์มาตอบสนองกิเลส (๒) ความปรุงแต่งฝ่ายดี ด้วยการควบคุมกายควบคุมใจให้ดี และ (๓) ความปรุงแต่งสภาพธรรมที่พ้นจากการกระทบอารมณ์ชั่วคราว กิจต่อสมุทัยมีอย่างไร – กิจต่อสมุทัยคือให้ละสมุทัย การละสมุทัยนั้นทำอย่างไร – เมื่อเรารู้ทุกข์แจ่มแจ้งจนละความเห็นผิดและความยึดถือว่ารูปนามกายใจเป็นตัวเราแล้ว ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดิ้นรนแสวงหาความสุขมาให้ตัวเรา หรือดิ้นรนพาตัวเราให้พ้นจากความทุกข์อีกต่อไป การรู้ทุกข์อย่างแจ่มแจ้งนั่นแหละเป็นทางละสมุทัยโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๓ คือนิโรธ นิโรธคืออะไร – นิโรธคือนิพพานได้แก่ความสงบสันติอันเนื่องมาจากความสิ้นตัณหาหรือความดิ้นรนของจิต กิจต่อนิโรธมีอย่างไร – กิจต่อนิโรธคือการทำให้แจ้ง ทำให้เข้าไปสัมผัสถึง การทำนิโรธให้แจ้งนั้นทำอย่างไร – เมื่อรู้ทุกข์จนสิ้นสมุทัยแล้ว นิโรธก็เป็นอันถูกทำให้แจ้งโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๔ คือมรรค มรรคคืออะไร – มรรคคือวิธีการรู้ทุกข์จนละสมุทัยและทำนิโรธให้แจ้งได้ กิจต่อมรรคคืออะไร – กิจต่อมรรคคือการทำให้เจริญ ทำให้มาก การเจริญมรรคนั้นทำอย่างไร – ทำ(สัมมา)สติให้เกิดเนืองๆ แล้วองค์มรรคที่เหลือจะเกิดตามมาเอง สติเป็นอนัตตา ไม่มีใครสั่งสติให้เกิดได้ แต่ถ้ามีเหตุ ถึงไม่สั่ง สติก็เกิดขึ้นได้เอง เหตุของสติคือการที่จิตจดจำสภาวธรรมคือรูปนามได้แม่นยำ จิตจะจดจำสภาวธรรมได้แม่นยำ ถ้าจิตเคยเห็นสภาวธรรมบ่อยๆ ดังนั้นพึงหัดทำความรู้จักสภาวธรรมให้มากเข้าไว้ เบื้องต้นทำกรรมฐานอันใดอันหนึ่งที่ถนัด เช่นบริกรรมพุทโธ หรือระลึกรู้ลมหายใจ หรือระลึกรู้ท้องพองยุบ หรือระลึกรู้เท้า หรือระลึกรู้มือ หรือระลึกรู้กายทั้งกาย แล้วตามรู้ความเปลี่ยนแปลงของจิตไปเลย เช่นเผลอไปจากอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เพ่งอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เป็นสุขก็รู้ เป็นทุกข์ก็รู้ เกิดกุศลก็รู้ เกิดอกุศลก็รู้ ไม่นานสติจะเกิดถี่ยิบขึ้นได้เพราะจิตรู้จักและจดจำสภาวธรรมได้อย่างแม่นยำ นี้เป็นทางดำเนินของพระอริยเจ้า เรียกว่าอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ คือสัจจญาณได้แก่ความรู้จักตัวอริยสัจจ์ กิจญาณคือความรู้หน้าที่หรือกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อ และกตญาณคือการได้ทำกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อนั้นเรียบร้อยแล้ว รวมมีปริวัติ ๑๒ เพราะมีอริยสัจจ์ ๔ ข้อ แต่ละข้อมีญาณ ๓ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ตราบใดที่พระองค์ท่านยังทรงไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้ พระองค์จะไม่ปฏิญาณพระองค์เป็นพระพุทธเจ้าเลย ต่อเมื่อทรงรู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้แล้ว จึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่าเป็นพระพุทธเจ้า อริยสัจจ์ ๔ สำคัญถึงขนาดนี้ แม้พระอรหันตสาวกก็ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ เพราะตราบใดที่ยังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ ตราบนั้นยังไม่ใช่พระอรหันต์ การทำความเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งเป็นทางพ้นทุกข์ แต่ยากนักที่คนเราจะเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งได้ เพราะคนเรารู้จักความทุกข์เพียงบางอย่าง ได้แก่ทุกขเวทนาทางร่างกายเมื่อยามหิวกระหาย หนาวร้อน ต้องการขับถ่ายและเจ็บป่วย เป็นต้น กับโทมนัสเวทนาทางใจเมื่อประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักที่พอใจ ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขทุกข์ ในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ หรือจิตใจได้รับอารมณ์ที่ดี ก็รู้สึกว่ามีความสุขทางกายหรือโสมนัสเวทนาทางใจ ตราบใดที่ยังรู้สึกว่ากายนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง และใจนี้มีโสมนัสบ้างมีโทมนัสบ้าง ตราบนั้นความดิ้นรนที่จะแสวงหาความสุขโสมนัส และความดิ้นรนที่จะหลีกหนีทุกข์โทมนัสจะไม่หมดไป ตราบใดที่ยังไม่หมดความดิ้นรน ตราบนั้นความทุกข์ก็จะยังมีอยู่ร่ำไป เพราะความดิ้นรนของจิตใจหรือตัณหา เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจากความทุกข์ที่มีอยู่แล้ว ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขสัจจ์ ยังมีความทุกข์อีกชนิดหนึ่งได้แก่สภาพที่ทนได้ยาก เรียกว่าทุกขลักษณะ เป็นสภาวะที่เกิดกับสังขารทั้งปวงที่จะทนอยู่ในสภาพเดิมตลอดไปไม่ได้ เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วครา­­วหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลยพอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของ­­ชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารม­­ณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่­­ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็­­นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ”เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห­­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป

วันสุดท้ายของเรา ทำไมมีเราด้วยเราโดยสมมุติโวหารการปฏิบัติธรรมมี ๒ ขั้นตอนคือขั้นการทำลายความเห็นผิดว่ากายและจิตนี้เป็นตัวเรา กับขั้นการทำลายความยึดถือกายและจิต เมื่อไม่เห็นผิดว่ากายและจิตเป็นตัวเรา ก็ได้ต้นทางที่จะปล่อยวางความยึดถือกายและจิตในอนาคต เมื่อปล่อยวางความยึดถือกายและจิตได้แล้ว ก็ไม่มีตัวตนที่จะรองรับความทุกข์อีกต่อไป แม้การปฏิบัติจะมี ๒ ขั้นตอน แต่วิธีปฏิบัติมีเพียงอย่างเดียว คือการมีความรู้สึกตัวแล้วรู้กายและจิตตามความเป็นจริง เมื่อเห็นความจริงแล้วย่อมเบื่อหน่าย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายความกำหนัดยินดีในกายและจิต เมื่อหมดความกำหนัดยินดีย่อมหลุดพ้นจากความยึดถือกายและจิต เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ต้องทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความพ้นทุกข์อย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว นี้เองเป็นที่สุดแห่งทุกข์ หลวงพ่อ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๙ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนว่า รอยเท้าของสัตว์ทั้งหลายย่อมรวมลงในรอยเท้าช้างได้ฉันใด ธรรมทั้งปวงย่อมรวมลงได้ในอริยสัจจ์ฉันนั้น อริยสัจจ์จึงเป็นธรรมที่บริสุทธิ์ลึกซึ้งอย่างถึงที่สุด มีแต่พระอรหันต์เท่านั้นที่จะรู้แจ้งอริยสัจจ์ได้ เพราะความรู้แจ้งอริยสัจจ์คือวิชชา ส่วนความไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์คืออวิชชา อริยสัจจ์ข้อแรกคือทุกข์ ทุกข์คืออะไร - ทุกข์คือรูปนามขันธ์ ๕ หรือกายใจนี้เอง กิจต่อทุกข์มีอย่างไร - กิจต่อทุกข์คือให้รู้ทุกข์ การรู้ทุกข์นั้นทำอย่างไร - เมื่อเราตื่นออกจากโลกของความคิดและเกิดความรู้สึกตัว เราจะรู้กายตามความเป็นจริง และรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เมื่อรู้มากเข้าเราจะเข้าใจความเป็นจริงของกายและใจ ว่าเป็นสภาพธรรมที่ไม่เที่ยงคือมีแล้วไม่มี เป็นทุกข์คือทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตาคือเป็นของโลกไม่ใช่ของเรา การรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงอย่างนี้แหละคือวิธีรู้ทุกข์ อริยสัจจ์ข้อที่ ๒ คือสมุทัย สมุทัยคืออะไร – สมุทัยคือตัณหาหรือความทะยานอยากดิ้นรนของจิต ที่จะแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ ด้วยวิธีการต่างๆ นานา ได้แก่ (๑) ความปรุงแต่งฝ่ายชั่ว ด้วยการเที่ยวแสวงหาอารมณ์มาตอบสนองกิเลส (๒) ความปรุงแต่งฝ่ายดี ด้วยการควบคุมกายควบคุมใจให้ดี และ (๓) ความปรุงแต่งสภาพธรรมที่พ้นจากการกระทบอารมณ์ชั่วคราว กิจต่อสมุทัยมีอย่างไร – กิจต่อสมุทัยคือให้ละสมุทัย การละสมุทัยนั้นทำอย่างไร – เมื่อเรารู้ทุกข์แจ่มแจ้งจนละความเห็นผิดและความยึดถือว่ารูปนามกายใจเป็นตัวเราแล้ว ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดิ้นรนแสวงหาความสุขมาให้ตัวเรา หรือดิ้นรนพาตัวเราให้พ้นจากความทุกข์อีกต่อไป การรู้ทุกข์อย่างแจ่มแจ้งนั่นแหละเป็นทางละสมุทัยโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๓ คือนิโรธ นิโรธคืออะไร – นิโรธคือนิพพานได้แก่ความสงบสันติอันเนื่องมาจากความสิ้นตัณหาหรือความดิ้นรนของจิต กิจต่อนิโรธมีอย่างไร – กิจต่อนิโรธคือการทำให้แจ้ง ทำให้เข้าไปสัมผัสถึง การทำนิโรธให้แจ้งนั้นทำอย่างไร – เมื่อรู้ทุกข์จนสิ้นสมุทัยแล้ว นิโรธก็เป็นอันถูกทำให้แจ้งโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๔ คือมรรค มรรคคืออะไร – มรรคคือวิธีการรู้ทุกข์จนละสมุทัยและทำนิโรธให้แจ้งได้ กิจต่อมรรคคืออะไร – กิจต่อมรรคคือการทำให้เจริญ ทำให้มาก การเจริญมรรคนั้นทำอย่างไร – ทำ(สัมมา)สติให้เกิดเนืองๆ แล้วองค์มรรคที่เหลือจะเกิดตามมาเอง สติเป็นอนัตตา ไม่มีใครสั่งสติให้เกิดได้ แต่ถ้ามีเหตุ ถึงไม่สั่ง สติก็เกิดขึ้นได้เอง เหตุของสติคือการที่จิตจดจำสภาวธรรมคือรูปนามได้แม่นยำ จิตจะจดจำสภาวธรรมได้แม่นยำ ถ้าจิตเคยเห็นสภาวธรรมบ่อยๆ ดังนั้นพึงหัดทำความรู้จักสภาวธรรมให้มากเข้าไว้ เบื้องต้นทำกรรมฐานอันใดอันหนึ่งที่ถนัด เช่นบริกรรมพุทโธ หรือระลึกรู้ลมหายใจ หรือระลึกรู้ท้องพองยุบ หรือระลึกรู้เท้า หรือระลึกรู้มือ หรือระลึกรู้กายทั้งกาย แล้วตามรู้ความเปลี่ยนแปลงของจิตไปเลย เช่นเผลอไปจากอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เพ่งอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เป็นสุขก็รู้ เป็นทุกข์ก็รู้ เกิดกุศลก็รู้ เกิดอกุศลก็รู้ ไม่นานสติจะเกิดถี่ยิบขึ้นได้เพราะจิตรู้จักและจดจำสภาวธรรมได้อย่างแม่นยำ นี้เป็นทางดำเนินของพระอริยเจ้า เรียกว่าอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ คือสัจจญาณได้แก่ความรู้จักตัวอริยสัจจ์ กิจญาณคือความรู้หน้าที่หรือกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อ และกตญาณคือการได้ทำกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อนั้นเรียบร้อยแล้ว รวมมีปริวัติ ๑๒ เพราะมีอริยสัจจ์ ๔ ข้อ แต่ละข้อมีญาณ ๓ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ตราบใดที่พระองค์ท่านยังทรงไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้ พระองค์จะไม่ปฏิญาณพระองค์เป็นพระพุทธเจ้าเลย ต่อเมื่อทรงรู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้แล้ว จึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่าเป็นพระพุทธเจ้า อริยสัจจ์ ๔ สำคัญถึงขนาดนี้ แม้พระอรหันตสาวกก็ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ เพราะตราบใดที่ยังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ ตราบนั้นยังไม่ใช่พระอรหันต์ การทำความเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งเป็นทางพ้นทุกข์ แต่ยากนักที่คนเราจะเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งได้ เพราะคนเรารู้จักความทุกข์เพียงบางอย่าง ได้แก่ทุกขเวทนาทางร่างกายเมื่อยามหิวกระหาย หนาวร้อน ต้องการขับถ่ายและเจ็บป่วย เป็นต้น กับโทมนัสเวทนาทางใจเมื่อประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักที่พอใจ ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขทุกข์ ในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ หรือจิตใจได้รับอารมณ์ที่ดี ก็รู้สึกว่ามีความสุขทางกายหรือโสมนัสเวทนาทางใจ ตราบใดที่ยังรู้สึกว่ากายนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง และใจนี้มีโสมนัสบ้างมีโทมนัสบ้าง ตราบนั้นความดิ้นรนที่จะแสวงหาความสุขโสมนัส และความดิ้นรนที่จะหลีกหนีทุกข์โทมนัสจะไม่หมดไป ตราบใดที่ยังไม่หมดความดิ้นรน ตราบนั้นความทุกข์ก็จะยังมีอยู่ร่ำไป เพราะความดิ้นรนของจิตใจหรือตัณหา เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจากความทุกข์ที่มีอยู่แล้ว ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขสัจจ์ ยังมีความทุกข์อีกชนิดหนึ่งได้แก่สภาพที่ทนได้ยาก เรียกว่าทุกขลักษณะ เป็นสภาวะที่เกิดกับสังขารทั้งปวงที่จะทนอยู่ในสภาพเดิมตลอดไปไม่ได้ เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วครา­­วหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลยพอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของ­­ชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารม­­ณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่­­ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็­­นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ”เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห­­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป

ดับเย็น ศีล สมาธิและปัญญา ดับอวิชชา เพราะปุญญา พุทธานุภาพโลกมีศาสดาตถาคตอยู่ ผู้ตรัสรู้อริยสัจเป็นอรหันต์ ข้ามวัฏฏะสงสารโดยมิหวั่น ปฐมกาลแห่งพระพุทธองค์ สิ่งใดเล่าคว้าไว้ได้ในพระหัตถ์ ห้ามลมพัดห้ามน้ำไหลห้ามใจลุ่มหลง เลือกเป็นจักรพรรดิหาญทรนง ก้าวสู่แวดวงล้อกงกรรมหมุนตามรอยไป เงาโศกของผู้เสียสละ พร้อมที่จะมอบไอศูรย์ให้ กรำแดดลมทนหนาวไป เมื่ออาทิตย์จวนปลายแสงใกล้สิ้นทิวา ค่ำนี้ดิถีเพ็ญรัชนีผ่อง ตรัสรู้เทพแซ่ซ้องทุกห้องฟ้า สงบเย็นศีลสมาธิและปัญญา ดับอวิชชาเพราะปุญญาพุทธานุภาพ

ทางมนุษย์-เพลง

พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูโลก ทรงเห็นกุลบุตรชื่อว่าปุกกุสาติ ทรงพระดำริว่าข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยัง พระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่ง เถิด นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ใน โรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตาม สบายเถิด ฯ [๖๗๔] ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคด้วยศรัทธา ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ในโรง ของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่าน ปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความ หนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกร ท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด ฯ [๖๗๕] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรง ลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรง พระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่าน ปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรง พระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่า ใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร ฯ [๖๗๖] ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาค พระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุดังนี้ๆ พระผู้มี- *พระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและ จรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้า บวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดา ของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่ไหน ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือ เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่าน เห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ ปุ. ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ [๖๗๗] ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้บวช อุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจัก กล่าวต่อไป ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ ฯ [๖๗๘] พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียก เขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก ฯ [๖๗๙] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั่น เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มี ธาตุ ๖ นั่น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๐] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดน สัมผัส ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั่น เราอาศัย อายตนะดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๑] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึก รูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้ง แห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ... ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหา แล้ว ... ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ... รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึก ธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วง นึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึก โทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีความ หน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๒] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มี สัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูกรภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจดังนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๘๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา ดูกรภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ ฯ [๖๘๔] ดูกรภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่แค่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า ปฐวีธาตุภายใน ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น พึงเห็นปฐวีธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ และจะให้จิต คลายกำหนัดปฐวีธาตุได้ ฯ [๖๘๕] ดูกรภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน คืออาโปธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่เอิบอาบ ซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน ก็อาโป ธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น พึงเห็นอาโปธาตุนั้นด้วย ปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตา ของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุ ได้ ฯ [๖๘๖] ดูกรภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน คือ เตโชธาตุภายในก็มี ภาย นอกก็มี ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้ว ถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้ สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อน กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน ก็เตโชธาตุทั้งภายใน และภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตาม ความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็น แล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้ ฯ [๖๘๗] ดูกรภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน คือ วาโยธาตุภายในก็มี ภายนอก ก็มี ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไป ตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้า หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไรๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน ก็วาโยธาตุ ทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น พึงเห็นวาโยธาตุนั้นด้วยปัญญา ชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้ ฯ [๖๘๘] ดูกรภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบาย ของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่น ไม่ว่าชนิด ไรๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อากาสธาตุ ภายใน ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น พึงเห็น อากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเราไม่ ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้ จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้ ฯ [๖๘๙] ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคล ย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุข บ้าง ดูกรภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ฯ [๖๙๐] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้ สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไป สงบ เพราะไม้สองท่อนนั้นเองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะ นั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อม เกิดอทุกขมสุขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้สึกว่า กำลัง เสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ ต่อนั้น สิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว ฯ [๖๙๑] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือของนายช่างทอง ผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดู ไปเป็นระยะๆ ทองนั้นจะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อน สลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใดๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหู เครื่อง ประดับ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อม อุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และ เจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาล ยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญ- *จายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขา ของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌาน นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อ เป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌาน นั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน บุคคลนั้น ย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรม ควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่ หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า ทุกขเวทนา นั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้สึกว่า อทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็น ของสงบ ฯ [๖๙๒] ดูกรภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่น ย่อมเป็น ประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูกรภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อ เสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อ เสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และ รู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดี กันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึก อย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความ หลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดูกรภิกษุ เพราะสิ่ง ที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วย สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความ ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคลนั้นแล ยังไม่ ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไว้ อุปธิเหล่านั้นเป็นอัน เขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีก ไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละ อย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง อนึ่ง บุคคล นั้นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรม นั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วย ความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อย่างยิ่งประการนี้ ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็น อุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตาม รักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว ฯ [๖๙๓] ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะ เรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ความสำคัญ ตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็น- *สัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็น สัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ดูกรภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนี ผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ข้อที่เรากล่าว ดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลส เครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและ กิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ ของเราไว้เถิด ฯ [๖๙๔] ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูล พระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้า แล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มี- *พระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด ฯ [๖๙๕] พ. ดูกรภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่ เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืนตามธรรม เราขอ รับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูกรภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้ นั่นเป็นความเจริญในอริยวินัย ฯ ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสมบทในสำนักของ พระผู้มีพระภาคเถิด ฯ พ. ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ พ. ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบ อุปสมบทไม่ได้เลย ฯ [๖๙๖] ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้- *มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหา บาตรจีวรอยู่ ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคยังที่ประทับ แล้วถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตรชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มี- *พระภาคตรัสสอนด้วยพระโอวาทย่อๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติ อย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร ฯ [๖๙๗] พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุ ธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูกรภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วน เบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็น ธรรมดา ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นต่างชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ จบ ธาตุวิภังคสูตร ที่ ๑๐

ล้างกิเลสพริบตาเดียวเท่านั้นเองเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้ง ยังจำไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯ ทวนไปถึงนิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรากฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ของเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีก สำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไป จะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคลุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

วันอาทิตย์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559

หลุดพ้นด้วยอาการอย่างนี้เมื่อเราภาวนาคือเจริญสติจนจิตปล่อยวางความถือมั่นในจิตได้แล้ว จิตจะเข้าไปสัมผัสกับนิพพานอันสงบ และเป็นสุขอย่างยิ่ง ที่สงบเพราะปราศจากการกระทบกระทั่งทั้งปวง ที่สุขเพราะปราศจากความเสียดแทงทั้งปวง เมื่อแรกเข้าถึงนิพพานนั้น จิตได้ประสบกับความสุขอันแปลกใหม่ ที่ไม่เคยพบเห็นมาก่อน เป็นความสุขที่ท่วมท้นจิตใจและธาตุขันธ์ จนสะอื้นในอกและน้ำตาตก ระลึกถึงคราวใด ก็มีความสุขจนสะอื้นในอกอยู่หลายวัน จิตจึงค่อยๆ คุ้นชินกับความสุขสงบนั้น และเข้าสู่ภาวะแห่งความเป็นปกติธรรมดา ที่มีความสุขอย่างยิ่ง ความสงบของนิพพานก็เป็นสิ่งที่เกินพรรณนา เพราะนิพพานนั้นเต็มบริบูรณ์อยู่ต่อหน้าต่อตา ครอบคลุมโลกธาตุทั้งปวงที่กำลังเคลื่อนไหว ไว้ทั้งหมด แต่สงบสงัดและ ไม่มีสิ่งใดปนเปื้อนเข้าถึงนิพพานอันบริสุทธิ์นั้นได้เลย การจะเข้าใจถึงนิพพานเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก แต่ถ้าเข้าใจสภาวะจิตของพระอรหันต์ได้แล้ว ก็พอจะอนุมานถึงสภาวะของนิพพานได้บ้าง จิตของพระอรหันต์ ไม่เหมือนจิตของท่านผู้อื่น เพราะแหวกสิ่งห่อหุ้มออกได้หมดแล้วจึงเป็นอิสระและกว้างขวางไร้ขอบเขต มีสภาพคล้ายกับไฟที่ดับลงแล้ว ไม่มีการประทุขึ้นอีก ความร้อนของไฟย่อมกระจายออกไปเต็มโลกธาตุ กล่าวไม่ได้ว่าไฟมีอยู่ หรือไฟดับสูญไปแล้ว เพราะความมีอยู่และความดับสูญ ยังเป็นธรรมคู่ เป็นเรื่องของโลก ส่วนจิตของพระอรหันต์เข้าถึงธรรมล้วนๆ ไม่มีความเป็นโลก เจือปนอยู่เลย จึงไม่มีปัญหาในเรื่องความมีอยู่ หรือความขาดสูญอีกต่อไป

ishaq beg with flash back buddan saranam gachchami songเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

ishaq beg with flash back buddan saranam gachchami songเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

อำลาพุทธภูมิกิเลสไม่กลัวคนที่ต่อสู้กับมันจริงจังหรอก กิเลสกลัวคนที่รู้ทันมัน ยิ่งเราเกลียดมันนะ โดดเข้าไปชกกับมันนะ มันยิ้มหวานเลย หลงกล กิเลสทุกตัวทำหน้าที่อันเดียวกัน หลอกให้เราเลิกรู้สึกตัว พอโทสะเกิดเราก็ไปดูคนที่เราโกรธ ลืมดูว่าจิตมีโทสะ พอโลภะเกิดเราก็ไปดูคนที่เรารัก ลืมรู้ว่าโลภะกำลังเกิด ใจลอยไปหรือสงสัย ความสงสัยเกิดขึ้น คิดหาคำตอบใหญ่เลย ลืมรู้ว่ากำลังสงสัยอยู่ โลภะโทสะโมหะทำหน้าที่เดียวกัน (คือ)หลอกให้เราเลิกรู้สึกตัว มันกลัวมากว่าเราจะรู้ทันถึงจิตถึงใจตัวเอง กิเลสเนี่ยซ่อนอยู่ในจิตใจเรานะ ถ้าเรารู้ทันถึงจิตถึงใจ วันนึงมันซ่อนอยู่ไม่ได้ มันเร่าร้อน มันทุรนทุราย มีคำอยู่คำนึง อาตาปี การเผากิเลสให้เร่าร้อน ไม่ต้องเผาด้วยอะไร เผาด้วยสตินี้แหล่ะ มีสติรู้ลงให้ถึงจิตถึงใจ กิเลสมันทุรนทุรายนะ มันต้องหาทางหลอกเรา ต้องมาพยายามสู้ อย่าไปกลัว กลัวก็หนีไม่พ้น ความจริงท่านสอนของจริง จริงๆ ชีวิตมันทุกข์ คนมองไม่เห็นนะ มันก็คิดว่าชีวิตเป็นสุข หลงระเริงไป ทีนี้พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนแค่ว่ามีทุกข์อย่างเดียว ท่านสอนทางพ้นทุกข์ด้วย เพราะฉะนั้นคำสอนของท่านจะครอบคลุมในเรื่องทุกข์กับความพ้นทุกข์ เพราะฉะนั้นไม่ใช่มองโลกแง่ร้าย ถ้าบอกว่าชีวิตนี้ทุกข์แบบไม่มีทางออก นี่แหละศาสนาพุทธมองโลกแง่ร้าย นี่ท่านไม่ได้สอนแค่นั้น ท่านสอนทุกข์และวิธีที่จะพ้นทุกข์ เพราะฉะนั้นไม่ใช่มองโลกแง่ร้าย ท่านให้เรายอมรับความจริง มีปัญหา มีความทุกข์อยู่จริงๆ แล้วก็สอนวิธีที่เราจะพ้นจากความทุกข์นี้ด้วย เนี่ยพ้นทุกข์ให้ได้นะ มันก็พ้น ค่อยฝึกจิตฝึกใจไป จนมันพ้นกิเลสเมื่อไหร่ มันก็พ้นทุกข์เมื่อนั้นแหละ เราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเจ้า อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้ ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดาบันเท่านั้น จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

อำลาพุทธภูมิเราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเจ้า อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้ ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดาบันเท่านั้น จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

อำลาพุทธภูมิ เราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเจ้า อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้ ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดาบันเท่านั้น จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

วิธีซ่อมสร้างตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ภาค Power Out Putจำหน่าย อะไหล่ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นรุ่นที่ใช้กับเครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์รุ่นปัจจุบัน แบบ ติดตั้งบนพื้นผิว หรือ smd smt มี opamp comparator resistor capacitor transistor diode mosfet diode inductor logic ic pwm control 02-951-1356 line :pornpimon 1411 Email sompongindustrial@gmail.com ติดต่อ ที่ sompongindustrial@gmail.com Line id: PORNPIMON 1411 โทรศัพท์ 02-951-1356

แสง สี เสียง แม่เหล็กไฟฟ้า จำหน่าย อะไหล่ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นรุ่นที่ใช้กับเครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ อิเล็กทรอนิกส์รุ่นปัจจุบัน แบบ ติดตั้งบนพื้นผิว หรือ smd smt มี opamp comparator resistor capacitor transistor diode mosfet diode inductor logic ic pwm control 02-951-1356 line :pornpimon 1411 Email sompongindustrial@gmail.com ติดต่อ ที่ sompongindustrial@gmail.com Line id: PORNPIMON 1411 โทรศัพท์ 02-951-1356

จำหน่าย อุปกรณ์ เพาเวอร์ อิเล็กทรอนิกส์ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า02-951-1356รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2559

อานิสงส์ของการเจริญมรณานุสติกรรมฐานภิกษุ ท. ! มรณสติ (ความระลึกถึงความตาย) อันบุคคลเจริญทำให้ มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด. พวกเธอเจริญมรณสติอยู่บ้างหรือ ? เมื่อรับสั่งดังนั้นแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งทูลขึ้นว่า “แม้ข้าพระองค์ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วเวลากลางวัน. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อหนึ่ง. เราพึง ใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียง ๔ - ๕ คำ. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้ ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์ เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือชั่ว ขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตาม คำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. เมื่อสิ้นคำทูลทั้งหมดแล้ว, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า :- ภิกษุ ท. ! ภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะมี ชีวิตอยู่ได้ เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วเวลา กลางวัน _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อ หนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จ เพียง ๔ - ๕ คำ. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติ ตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่ายังเป็น ผู้ประมาทอยู่ ยังเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะช้าไป. ภิกษุ ท. ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะ มีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว _ _ ” ดังนี้ก็ดี, ว่า “โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้า แล้วหายใจออก หรือชั่วขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่า เป็น ผู้ไม่ประมาทแล้ว, เป็นผู้เจริญมรณสติเพื่อความสิ้น อาสวะ

จิตที่ส่งออกนอกเป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอกเป็นทุกข์ จิตเห็นจิ...กลับมาดูจิตของเรา..อย่า..ตาม..อารมณ์..มันเป็น..วิปัสนูกิเลส เป็น อุปกิเลส ถ้าเราจะกลับมานั้นไม่ยาก..หมายความว่าเราหลงไป.. สุดท้่าย จะเป็นบ้าเอา..ให้..กลับมาดูจิตของเรา.ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้ โดยแว­บเดียวในขณะนั้น และ เราจะเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้อง ในโลกทั­้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่ อีกแ­ม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น

วันศุกร์ที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2559

ผู้สละโลก ทุกข์ในรูปแห่งสุขจิตต้นกำเนิดหรือจิตอวิชา หรือจิตผู้รู้ ตัวเดียวกัน ที่พวกเราต้องฝึกหาจิตผู้รู้นะ ให้มีจิตผู้รู้นะ นั่นแหละจิตผู้รู้นั้นแหละ ยังเป็นจิตอวิชาอยู่ แต่อาศัยมันก่อน แล้ววันหนึ่งก็ค่อยมาทำลายตัวนี้ไป อีกทีหนึ่งก่อน เนี่ยดูแล้วมันละเอี๊ยดละเอียดนะ มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกั­นเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน เบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

บริการซ่อม ระบบ ควบคุม มอเตอร์ อินเวอร์เตอร์ แผงควบคุม อุตสาหกรรมบริการซ่อม แผงวงจร ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ที่ใช้ใน ระบบ ควบคุม มอเตอร์ อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เพาเวอร์ ซัพพลาย และ แผงควบคุม อุตสาหกรรม 02-951-1356 081-803-6553 Line:pornpimon 1411 Email sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com แผงวงจรอุตสาหกรรม ออกแบบ ซ่อม สร้าง เขียน โปรแกรม sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com

วันพฤหัสบดีที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2559

สมบัติของโลก พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน ถ้าเมื่อไหร่เห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ และปล่อยวางความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี การเห็นความจริงของกายของใจ นั่นแหละ เรียกว่า มีดวงตาเห็นธรรม ธรรมะคืออะไร ธรรมะก็คือการที่เราเห็นว่ากายกับใจ รูปนาม ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พระโสดาบันที่ว่ามีดวงตาเห็นธรรมนั้น ท่านเห็นว่าทั้งรูปทั้งนามที่เกิดขึ้นมาล้วนแต่ดับไปทั้งสิ้น ไม่มีตัวเราหรอก นี่เรียกว่าดวงตาเห็นธรรม คือเห็นความจริงนั่นแหละ ความจริงของรูปของนาม ของกายของใจ พอเห็นความจริงได้ ละความเห็นผิดว่า กายกับใจเป็นเรา ก็เป็นพระโสดาบัน รู้กายรู้ใจต่อไปอีกนะ จนเห็นความจริง ของกายลึกซึ้งประณีตยิ่งขึ้นไปอีก กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ นะ ไม่ใช่กายนี้เป็นทุกข์บ้าง เป็นสุขบ้าง พวกเราเห็นแต่ว่ากายนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง จึงปล่อยวางไม่ได้จริง มันจะดิ้นหาแต่ความสุขและดิ้นหนีความทุกข์ไปเรื่อยๆ ถ้าเมื่อไหร่เราเห็นว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย มันจะปล่อยวางความยึดถือกาย ถ้าปล่อยวาง ความยึดถือกายได้ ก็ได้พระอนาคามี สิ่งที่เรียกว่ากายนี้ ถ้ากระจายออกไปให้ละเอียดยิ่งขึ้น ก็คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง คือส่วนที่เป็นรูปธรรม ถ้ากระทั่งตาเรายังไม่ยึดถือ ใจมันก็จะไม่ยึดถือรูป ถ้ากระทั่งหูก็ไม่ยึดถือ ใจมันก็ไม่ยึดถือเสียง มันไม่ยึดถือจมูก มันก็ไม่ยึดถือกลิ่น ไม่ยึดถือลิ้น ก็ไม่ยึดถือรส ไม่ยึดถือกาย ก็ไม่ยึดถือโผฏฐัพพะ เพราะฉะนั้นจิตใจจะเป็นกลางต่อ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ รวมทั้งความคิดคำนึงถึงรูปเสียงกลิ่นรสและโผฏฐัพพะอันเป็นธรรมารมณ์ที่เรียกว่า 'กามธรรม' ด้วย ตรงที่ใจเป็นกลางต่อรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และกามธรรมนี้เป็นภูมิของพระอนาคามี เพราะเมื่อไม่ยินดีไม่ยินร้ายในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะและกามธรรม ก็คือปราศจากกามราคะ และ ปฏิฆะนั่นเอง จิตพ้นจากกามภูมิ หรือกามาวจรภูมิ เพราะฉะนั้นพระอนาคามีจะไม่เวียนมาสู่กามภพ คือไม่เกิดเป็นสัตว์นรก ไม่เกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน ไม่เกิดเป็นอสุรกาย ไม่เป็นเปรต ไม่เป็นมนุษย์ ไม่เป็นเทวดา แต่จะไปเกิดเป็นพรหม เป็นพรหมอัตโนมัตินะ อย่างต่ำที่สุดก็เป็นพรหมที่เรียกว่าพรหมปาริสัชชา อันเป็นพรหมบริวารของท้าวมหาพรหม พรหมมีทั้งหมด 20 ชั้น เป็นรูปพรหม 16 ชั้น เป็นอรูปพรหม 4 ชั้น ไม่ใช่ว่าพระ อนาคามีทุกองค์จะต้องอยู่สุทธาวาสนะ เข้าใจผิด สุทธาวาส เป็นภูมิของพระอนาคามีที่ได้ฌานที่ 4 แล้วมีอินทรีย์ 5 แก่กล้า คือมีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ หรือปัญญาแก่กล้า ถ้าได้ฌาน 4 เฉยๆ อินทรีย์ยังไม่แก่กล้า ก็ไปเป็นพรหมชั้นเวหัปผลา ไม่ต้องรู้ชื่อก็ได้นะ เดี๋ยวฟังแล้วก็ลืม ฟังเล่นๆ ไปอย่างนั้นแหละ เพราะฉะนั้นภูมิที่พระอนาคามีไปเกิดเนี่ย เป็นพรหมชั้นที่ 1 ยันชั้นที่ 20 ไปได้ตลอด ถ้าจะเว้นก็เว้นอยู่ชั้นเดียวคือพรหมลูกฟัก หรือ อสัญญสัตตาพรหม เพราะไม่สามารถเจริญวิปัสสนาได้อีก จะไปเป็นพรหมชั้นใดก็แล้วแต่ว่าได้ฌานชั้นไหน และอินทรีย์แก่กล้าไหม ทำไมต้องไปเป็นพรหม ก็เพราะว่าไม่ยึดถือในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อันเป็นกามคุณอารมณ์นั่นเอง ทีนี้ถ้าพระอนาคามีองค์ไหนไม่นิ่งนอนใจนะ ได้พระอนาคามีไม่ยึดกายแล้ว ก็ยังไม่พ้นทุกข์จริง ยังต้องปฏิบัติต่อไปอีก การปฏิบัติก็จะบีบวงกระชับเข้ามาที่จิต จิตจะรู้เข้ามาที่จิต จะรวมเข้ามาที่จิตอันเดียว ตรงนี้จะมาเห็นอริยสัจแห่งจิต ถ้าเห็นอริยสัจ แห่งจิต ก็พ้นทุกข์ พ้นการเวียนว่ายตายเกิด เพราะเมื่อหมดความยึดถือจิต ก็จะไม่ยึดถือ อะไรในโลกอีก ธรรมะขั้นแรก จะเห็นว่าไม่มีตัวเรา ตัวเราหายไป พอมันเข้ามาถึงจิตถึงใจแล้ว อาสวะกิเลส ที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จิตของเราจะถูก อาสวะห่อหุ้มอยู่ อาสวะย้อมอยู่ แทรกย้อมอยู่ ตรงที่ขณะแห่งอริยมรรคเกิดขึ้น อริยมรรคจะแหวก อาสวะอันนี้ขาดออกจากกัน อาสวะนี้ออกแล้วจิตจะเข้าสัมผัสพระนิพพาน สองสามขณะ พวกที่มีบารมีแก่กล้าสัมผัสพระนิพพานสามขณะ พวกที่ไม่แก่กล้าสัมผัสสองขณะไม่เหมือนกัน บุญบารมียังไม่เท่ากัน โสดาบันไม่เท่ากันเลย โสดาบางคนเกิดอีกชาติเดียวก็จะจบละ บางคนอีกสามชาติจะจบไม่เกิดอีก อีกบางคนเจ็ดชาติถึงจะไม่เกิด กำลังมันไม่เท่ากัน แต่ว่าล้างความเห็นผิดได้เท่ากันว่าตัวตนไม่มี พอถอยออกจากสภาวะนี้ จิตจะกลับเข้ามาอยู่ยังความเป็นมนุษย์ปกติอย่างนี้แหละ แล้วมันจะทวนเข้าไปดูจิต มันจะทวนอัตโนมัติเข้าไปดู มันจะพบว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวไม่ใช่ตนอีกต่อไป ร่างกายนี้ก็ไม่ใช่ตัวใช่ตนอีกต่อไป ที่ไหนๆ ก็ไม่มีตัวตนอีกต่อไป จะกลวงๆ ว่างจากความเป็นตัวตนไปหมด อย่างคำว่าจิตว่าง จิตว่างไม่ใช่ว่างเปล่า ว่างเปล่านั้นมันหมายถึงว่า ไม่มีอะไรเลย มันเป็นมิจฉาทิฏฐิไม่ใช่ทาง คำว่าว่างว่าง ว่างจากความเป็นตัวเป็นตน สภาวะนั้นมีอยู่แต่ไม่ใช่ตัวใช่ตน ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา เพราะงั้นจะมีความรู้สึกว่ามันกลวงๆ มันว่างๆ ไม่มีตัวไม่มีตน แต่มีการกระทำ ยังมีการส่งกระแสจากความไม่มีตัวไม่มีตน จิตที่ไม่ใช่ตัวเรา และยังส่งกระแสไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไปยึดอารมณ์ได้อีก เรียกว่ามีการกระทำแต่ไม่มีผู้กระทำ จะรู้ชัดเลยว่าการกระทำมีอยู่แต่ไม่มีผู้กระทำ จะเห็นอย่างนี้ จนวันที่เป็นพระอรหันต์ผู้กระทำก็ไม่มี การกระทำก็ไม่มี มีแต่กิริยา มีแต่กิริยากระทำ ว่าไม่มีการกระทำ มีเจตนาที่จะกระทำอะไร ธรรมะเป็นของปราณีตลึกซึ้งมาก พวกเราต้องศึกษาต้องเล่าเรียนจะเอาแต่นั่งสมาธิ นิ่งๆ ว่างๆ ไม่ได้กินหรอก ท่านสอนเจริญสติใช่มั๊ย รู้สึกในกาย กายานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้ความรู้สึกสุข ทุกข์ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้จิตใจ ที่เป็นกุศลอกุศล เรียกจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีสติรู้กระบวนการทำงานของรูปธรรม นามธรรม เรียกว่าธรรมานุปัสสนาสติปัฏฐาน ทั้งหมดนี้เป็นเรื่องของรูปธรรม นามธรรมทั้งสิ้น กายานุปัสสนาส่วนของกาย เป็นส่วนของรูปธรรม เวทนานุปัสสนา เป็นนามธรรม แต่เวทนาบางทีก็เกิดที่กายใช่ไหม บางทีก็เกิดที่จิต เกิดร่วมกับรูปธรรมก็ได้ เกิดร่วมกับนามธรรมก็ได้ จิตตานุปัสสนาที่ดูจิตที่เป็นกุศล อกุศล กุศลอกุศลเกิดที่จิต แต่กุศลอกุศลก็อาศัย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รวมทั้งใจด้วยไปกระทบอารมณ์ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ก็กระทบรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ส่วนของรูปธรรม แล้วก็สะเทือนเข้ามาถึงใจ เกิดสุข เกิดทุกข์ กุศล อกุศลขึ้น และกายกับใจก็เนื่องกัน เพราะงั้นเวลาที่เรา ภาวนาจริงๆ มันรู้ทั้งกาย รู้ทั้งใจ ไม่มีหรอกสายกาย สายจิต อะไร ไอ้สายกายสายจิตไรมันเป็นขั้นเบสิค ขั้นต้นเท่านั้นเอง พอสติ ปัญญา อัตโนมัติแล้วมันเลือกไม่ได้หรอกว่ามันจะรู้อะไร บางครั้งสติก็ระลึกรู้รูป รู้กาย บางครั้งสติ รู้เวทนา บางครั้งสติไปรู้ กุศล อกุศล บางครั้งสติไปรู้กระบวนการทำงานของจิต เช่นการปรุงนิวรณ์ขึ้นมา การปรุงโพชฌงค์ขึ้นมาเห็นขันธ์ห้าทำงานตามหน้าที่ของแต่ละขันธ์ขึ้นมา เห็นกระบวนการของปฏิจสมุปบาท คือกระบวนการที่จิตซึ่งมีความไม่รู้ มีอวิชชา ปรุงความทุกข์ขึ้นมา จะเห็นกระบวนการเป็นธรรมมานุปัสสนา ก็เป็นเรื่องรูปธรรม นามธรรม ทั้งสิ้น เฝ้ารู้ลงไปถ้าเราทิ้งการรู้กายรู้ใจ เราไม่มีวันบรรลุมรรคผลนิพพาน ถึงจะนั่งสมาธิเก่งแค่ไหน อย่างเก่งสูงสุดไปพรหมโลกเท่านั้น เราอย่าไปหลงนิมิตไปติดนิมิต เวลานั่งสมาธิไปเห็นโน่นเห็นนี่ สู้เห็นกิเลสไม่ได้เลย มีสติอยู่พระพุทธเจ้าสอนอย่างนี้ว่า เรามีสติอยู่เพียงราตรีเดียว คืนเดียว ชีวิตของเราก็น่าชมละ ดีกว่ามีอายุตั้งร้อยปี ไม่เคยมีสติ งั้นเราไปเห็นนิมิต นิมิตอะไรร้อยปี หาสาระไม่ได้เลย ไม่มีสติ มีสติต้องรู้กาย รู้ใจของเรา เพราะงั้นถ้าเราเป็นชาวพุทธ ต้องรู้ว่าพระพุทธเจ้าสอนอะไร ไม่งั้นมั่วซั่ว ไม่งั้น ก็ไปเป็นแบบฤาษีชีไพรซะส่วนใหญ่ ....... จบ...

อัศจรรย์ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,

อัศจรรย์ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง

เราเป็นลูกพระพุทธเจ้าเราต้องเชื่อพ่อแม่เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยมันมีคำสองคำนะ คำว่า “ตื่น” กับคำว่า “รู้” ไม่ใช่คำเดียวกัน ตื่นเฉยๆแต่ไม่รู้ก็มี รู้แบบไม่ตื่นก็มี ... จะพูดอยู่เรื่อยๆเลยว่าในโลกมันไม่มีคนตื่­นน่ะ หาคนตื่นเนี่ยนับตัวได้เลย หายากจริงๆ มีแต่คนหลับคนฝัน ตื่นเฉพาะร่างกายแต่จิตหลับ จิตไม่เคยตื่น .ในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่­­างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไป อยู่ในโลกของความคิดน­ั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะ มันปรุง ไม่เล­ิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป

ลูกพระพุทธเจ้ามันมีคำสองคำนะ คำว่า “ตื่น” กับคำว่า “รู้” ไม่ใช่คำเดียวกัน ตื่นเฉยๆแต่ไม่รู้ก็มี รู้แบบไม่ตื่นก็มี ... จะพูดอยู่เรื่อยๆเลยว่าในโลกมันไม่มีคนตื่­นน่ะ หาคนตื่นเนี่ยนับตัวได้เลย หายากจริงๆ มีแต่คนหลับคนฝัน ตื่นเฉพาะร่างกายแต่จิตหลับ จิตไม่เคยตื่น .ในโลกนี้ หาคนที่ตื่นขึ้นมา.. ยากที่สุด เราตื่นเฉพาะร่างกาย แต่จิตใจไม่ตื่นหรอก นับตัวได้เลยนะในโลกนี้ ตอนแรกๆที่หลวงพ่อพูดอย่างนี้ คนไม่เชื่อนะ หาว่าดูถูกเหยียดหยามเสียอีก บอกว่า..ถ้าไม่ตื่นแล้วจะขับรถมาวัดได้อย่­­างไร ไม่ตื่นแล้วจะทำมาหากินได้อย่างไร มันตื่นแต่ร่างกาย จิตใจไม่ตื่น จิตใจหลงไปในโลกของความคิดความฝันตลอดเวลา ความทุกข์ทั้งหลายและกิเลสทั้งหลาย เกิดตอนที่ใจเราหลงไป อยู่ในโลกของความคิดน­ั้นเอง เพราะฉะนั้นจะคิดเพลินๆไปนะ คิดดีๆขึ้นมา มีความสุข คิดไม่ดีมีความทุกข์ขึ้นมา หลงไปอย่างนี้เรื่อยๆ แต่ถ้าเราภาวนา จนใจเราตื่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ตื่นแบบแห้งแล้งด้วยนะ ตื่นออกมาจิตใจนี้นุ่มนวล อ่อนโยน จิตใจสว่างไสว มีความสุข มีความเบิกบานผุดขึ้นมาเอง ความสุขที่เราเคยรู้จัก มันต้องเป็นความสุขที่มีสิ่งเร้า มีอะไรมายั่ว เช่น หนุ่มๆไปจีบสาวได้แล้วมีความสุข อะไรอย่างนี้ หรือว่าร่ำรวยขึ้นมามีความสุข ได้อยู่กับคนนี้มีความสุข ได้กินอันนี้มีความสุข ความสุขอย่างโลกๆ เป็นความสุขที่ต้องอาศัยสิ่งเร้าภายนอก แต่ถ้าเรามีสติขึ้นมา เรามีความสุขผุดขึ้นมาจากภายใน ความสุขขึ้นมาเอง ไม่ต้องทำอะไร ทันทีที่จิตหยุดความปรุงแต่ง จิตก็มีความสุขผุดขึ้นมาเลย จิตที่มันทุกข์ทุกวันนี้เพราะ มันปรุง ไม่เล­ิก หลงไปในโลกของความปรุงแต่ง ให้เราคอยหัดรู้สึกนะ รู้สึกอยู่ในกาย รู้สึกอยู่ในใจ จนสติมันเกิด พอจำสภาวะของรูปธรรมนามธรรมได้แม่นแล้ว สติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิด จิตจะตั้งมั่น จิตจะตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู มีสัมมาสมาธิ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้วเนี่ย เราะจะเห็นเลย ทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าความสุขหรือความทุกข์ ไม่ว่ากุศลหรืออกุศลทั้งหลายแหล่ ล้วนแต่เป็นของที่ผ่านมาแล้วผ่านไป

วันพุธที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2559

สร้างเครื่องจักรกลไฟฟ้าราคาประหยัดเราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรค

จากช่างถึงช่างจำหน่าย ออกแบบ สร้าง ซ่อม แผงวงจรเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส 3 phase induction motor speed control จำหน่าย transistor power module igbt power module mosfet power module sompongindustrial@gmail.com Line pornpimon 1411 02-951-1356

วงจรควบคุมมอเตอร์สามเฟสจำหน่าย ออกแบบ สร้าง ซ่อม แผงวงจรเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส 3 phase induction motor speed control จำหน่าย transistor power module igbt power module mosfet power module sompongindustrial@gmail.com Line pornpimon 1411 02-951-1356

รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เกิดขึ้นแล้ว ดับไปรูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาน เกิดขึ้นแล้ว ดับไป พอรู้ว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ ใจจะวาง ไม่ยึดถือ พอไม่ยึดถือขันธ์ห้า ว่าเป็นตัวเราของเราแล้วเนี่ย ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้เป็นสุข ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้พ้นทุกข์ มันจะดับไปโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้นรู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไร สมุทัยจะถูกละโดยอัตโนมัติ พอทันทีที่สมุทัยถูกละ นิโรธคือนิพพานจะปรากฏต่อหน้าต่อตาเรานี่เอง ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­­­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

เมื่อใดที่ท่านมีความทุกข์ ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่าพุทธังสะระณัง คัจฉามิเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

พุทธานุภาพ-เพลงโลกมีศาสดาตถาคตอยู่ ผู้ตรัสรู้อริยสัจเป็นอรหันต์ ข้ามวัฏฏะสงสารโดยมิหวั่น ปฐมกาลแห่งพระพุทธองค์ สิ่งใดเล่าคว้าไว้ได้ในพระหัตถ์ ห้ามลมพัดห้ามน้ำไหลห้ามใจลุ่มหลง เลือกเป็นจักรพรรดิหาญทรนง ก้าวสู่แวดวงล้อกงกรรมหมุนตามรอยไป เงาโศกของผู้เสียสละ พร้อมที่จะมอบไอศูรย์ให้ กรำแดดลมทนหนาวไป เมื่ออาทิตย์จวนปลายแสงใกล้สิ้นทิวา ค่ำนี้ดิถีเพ็ญรัชนีผ่อง ตรัสรู้เทพแซ่ซ้องทุกห้องฟ้า สงบเย็นศีลสมาธิและปัญญา ดับอวิชชาเพราะปุญญาพุทธานุภาพ (ซ้ำทั้งหมด) ดับอวิชชาเพราะปุญญาพุทธานุภาพ

อำลาพุทธภูมิกิเลสไม่กลัวคนที่ต่อสู้กับมันจริงจังหรอก กิเลสกลัวคนที่รู้ทันมัน ยิ่งเราเกลียดมันนะ โดดเข้าไปชกกับมันนะ มันยิ้มหวานเลย หลงกล กิเลสทุกตัวทำหน้าที่อันเดียวกัน หลอกให้เราเลิกรู้สึกตัว พอโทสะเกิดเราก็ไปดูคนที่เราโกรธ ลืมดูว่าจิตมีโทสะ พอโลภะเกิดเราก็ไปดูคนที่เรารัก ลืมรู้ว่าโลภะกำลังเกิด ใจลอยไปหรือสงสัย ความสงสัยเกิดขึ้น คิดหาคำตอบใหญ่เลย ลืมรู้ว่ากำลังสงสัยอยู่ โลภะโทสะโมหะทำหน้าที่เดียวกัน (คือ)หลอกให้เราเลิกรู้สึกตัว มันกลัวมากว่าเราจะรู้ทันถึงจิตถึงใจตัวเอง กิเลสเนี่ยซ่อนอยู่ในจิตใจเรานะ ถ้าเรารู้ทันถึงจิตถึงใจ วันนึงมันซ่อนอยู่ไม่ได้ มันเร่าร้อน มันทุรนทุราย มีคำอยู่คำนึง อาตาปี การเผากิเลสให้เร่าร้อน ไม่ต้องเผาด้วยอะไร เผาด้วยสตินี้แหล่ะ มีสติรู้ลงให้ถึงจิตถึงใจ กิเลสมันทุรนทุรายนะ มันต้องหาทางหลอกเรา ต้องมาพยายามสู้ อย่าไปกลัว กลัวก็หนีไม่พ้น