วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด.

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย หญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต”



ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย หน้าแรกของ YouTubeTH อัปโหลด Analytics เครื่องมือจัดการวิดีโอ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol การตั้งค่าช่อง 117,476 เผยแพร่เมื่อ 3 มิ.ย. 2011 http://www.youtube.com/watch?v=5clHnN...,การเจริญวิปัสสนา พระธรรมเทศนาโดยหลวงพ่อ ปราโมช ปราโมชโช http://www.youtube.com/watch?v=kTlZEw...,ศีลอบรมสมาธิ สมาธิอบรมปัญญา ปัญญาอบรมจิต พระธรรมเทศนาโดย หลวงพ่อพุท ฐานิโย http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A... พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า โดย arm wirekharat 110 วิดีโอ ▶ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า โดย Sompong Tungmepol 2 คิริมานนทสูตร 1 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla 3 คิริมานนทสูตร 2 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla 4 ผู้สละโลก ปลดแอก โดย Sompong Tungmepol 5 ผู้สละโลก ทุกข์ในรูปแห่งสุข โดย Sompong Tungmepol 6 ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลก โดย Sompong Tungmepol 7 ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษ โดย Sompong Tungmepol 8 ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด โดย Sompong Tungmepol 9 ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธา โดย Sompong Tungmepol 10 มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิต โดย Sompong Tungmepol 1:20:08 คิริมานนทสูตร 1 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla ดู 436,018 ครั้ง 1:15:37 ปฏิจจสมุปบาท โดย hiphoplanla ดู 159,812 ครั้ง 1:29:19 พระอานนท์พุทธอนุชา โดย hiphoplanla ดู 307,996 ครั้ง 27:49 เหตุที่บุคคลระลึกชาติไม่ได้ โดย hiphoplanla ดู 95,601 ครั้ง 27 วิดีโอ ธรรมฯพระโพธิญาณเถระโดย hiphoplanla 51:31 ต่อสู้ความกลัว โดย hiphoplanla ดู 364,138 ครั้ง 48:46 มิติโลก 070756 จุดกำเนิดตำนานน้ำท่วมโลก โดย manee tuesday แนะนำสำหรับคุณ 10 วิดีโอ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าโดย Sompong Tungmepolแนะนำสำหรับคุณ 47:46 คำสอนที่ออกจากปากของพระพุทธเจ้า 1-40 โดย thumnong Janjaeng ดู 92,641 ครั้ง 1:18:58 ความรัก ความร้าย โดย hiphoplanla ดู 686,641 ครั้ง 3:30:36 กว่าจะเป็นพระพุทธเจ้า (อ.สนธิชัย) โดย dod946 ดู 68,467 ครั้ง 26:51 พระมหาโมคคัลลานเถระ โดย hiphoplanla ดู 38,906 ครั้ง 42:04 ธรรมคีตะ ศิลปะแห่งการดับทุกข์ โดย Anakaric Dharma ดู 166,826 ครั้ง 1:04:31 กรรม12 หลวงพ่อสุรศักดิ์ โดย Weerayut note ดู 21,348 ครั้ง 1:15:26 กรรมทำให้คนแตกต่างกัน โดย hiphoplanla ดู 464,699 ครั้ง 59:14 บ้านที่แท้จริง โดย hiphoplanla ดู 599,164 ครั้ง 9:09 Buddha Thus Have I Heard - 36 โปรดพกาพรหม โดย hiphoplanla ดู 71,111 ครั้ง 32:11 พระสารีบุตรเถระ.wmv โดย Lek musicday ดู 81,324 ครั้ง 9:40 เว่ยหล่าง-3 โดย pakasit999 ดู 26,823 ครั้ง 1:40:20 พระมหาโมคคัลลานะ โดย sailom admin ดู 371,513 ครั้ง ประวัติการเข้าชม เกี่ยวกับ ข่าว & บล็อก ลิขสิทธิ์ ผู้สร้าง & พาร์ทเนอร์ การโฆษณา นักพัฒนาซอฟต์แวร์ +YouTube ข้อกำหนด ความเป็นส่วนตัว นโยบายและความปลอดภัย ส่งความคิดเห็น ลองสิ่งใหม่!



วันอังคารที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า เศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

พุทธจักรไทยในแดนพุทธภูมิ "สาวัตถี" เศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

Frances Yip ฟรานซิสยิป ใต้ร่มไทร Thai Song..ใต้ร่มไทร... อยู่ใต้ร่มไทรแล้วใจเป็นสุข ลืมความทุกข์หมองเศร้าจนสิ้น มีลมโชยพัดโรยระริน เป็นอาจิณตลอดกาล ร่มไทรในพฤษาริมชายฝั่ง มีสายธารไหลดั่งวิมาน น้ำเจ้าพระยานี้มีมานาน สุดแสนสุขสราญเมื่อมาได้ยล **เราลูกหลานต้นไทร บูชาไว้ในใจทุกคน จะรักษาไว้เพียงกมล ยั่งยืนจวบจนวัฒนา ชีวิตเช่นนี้ไม่มีที่อื่น ธรรมชาติสดชื่นหรรษา ไม่อยากห่างไทรแม้เพียงไกลตา ผูกพันวิญญาชั่วนิรันดร

ต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนิน30 ลิขิตฟ้า 70ต้องฝ่าฝัน ต้องสู้..ต้องสู้ถึงจะชนะ

ต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนินต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนิน

สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุสิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล.....

สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุสิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล.....

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล..... เพลงธรรมะสมัยพุทธกาล 3 แนวทางการบรรลุธรรม ดังที่ปรากฎในพระคัมภีร์ คือ 1.ได้ฟัง 2.ได้คิด 3.ได้ปฏิบัติ ในอรรถกถามังคลัตถทีปนี กล่าวไว้ว่า"การได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้วได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์" ที่อัศจรรย์ คือ "การฟังเพลงหรือเสียงขับ ถ้าผู้ฟังได้พิจารณาไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังบรรลุธรรมได้" ตัวอย่าง เช่น เมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะ ขณะที่ทรงบำเพ็ญบารมี แล้วได้ยินเสียงพิณจากพระอินทร์ เกิดสติปัญญา จนเป็นเหตุพาไปสู่การบรรลุธรรมขั้นสูงสุด ถ้าจะพูดเป็นภาษาปัจจุบัน ก็ว่าพระพุทธเจ้าฟังเพลง Folk Song(ซอสามสาย) พระอินทราธิราชทรงทราบวาระจิตของพระโพธิสัตว์ จึงจัดพิณทิพย์ 3 สาย ดีดเป็นเพลงร้องบรรเลงถวาย พระโพธิสัตว์สดับแจ่มชัดสบายคลายกังขา....มัชฌิมาปฏิปทางสายกลาง ไม่ตึงเกินไป ไม่หย่อนเกินไป ทางนี้แหละถูกทาง ปฏิบัติพอดีจึงดี จึงงดงาม หลังจากนั้นอีกไม่นาน พระโพธิสัตว์จึงตรัสรู้ เป็นพระอนุตระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลังจากนั้นไม่นาน จึงเกิดชุมชน"ทวนกระแส"ขึ้นทั่วทั้งโลกอีกครั้งหนึ่ง เพลงพาไปบรรลุธรรม พระเจ้าพิมพิสารอยากให้พระนางเขมาพระมเหสีได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า เพื่อจะได้เข้าถึงความจริงของชีวิต...... แต่เพราะพระนางเขมาเป็นผู้มีความงดงามเลอเลิศ จึงติดที่พระพุทธเจ้าเทศนาว่ารูปกายของคนไม่สวยไม่งาม พระนางเขมาจึงไม่อยากไปฟังเทศนา.... พระเจ้าพิมพิสารจึงทรงให้คนแต่งเพลงบรรยายความงามของวัดเวฬุวัน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า..... แล้วทรงให้คนขับร้องให้พระนางเขมาฟังทุกวัน จนพระนางเขมาตัดสินใจเสด็จไปวัดเวฬุวัน เพราะเพลงไพเราะจับใจเหลือเกิน จึงได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ทันใด!!!..... บทเพลง 4 บรรทัด บรรลุพระอรหันต์ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!.... แสดงน้อยลง ตอบกลับ · Sompong Tungmepol 1 วินาทีที่ผ่านมา พระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!....

สาวเวียตนามร้องเพลงไทยสิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล.....

สาวเวียตนามร้องเพลงไทยพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!....

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าhttps://www.youtube.com/watch?v=MPgo1ixGmhQ

โอวาทพระอานนท์เถระ "มองทุกข์ให้เห็นจึงเป็นสุข" อธิบายว่า เมื่อเห็นทุกข์กำหนดรู้ทุกข์และค้นหาสมุฏฐานของทุกข์แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์นั้นเสีย เหมือนหมอทำลายเชื้ออันเป็นสาเหตุแห่งโรค ยิ่งทุกข์ลดน้อยลงเท่าใด ความสุขก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเท่านั้น ความทุกข์ที่ลดลงนั้นเองคือความสุข เหมือนทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ถือว่าความเย็นไม่มี มีแต่ความร้อน ความเย็นคือความร้อนที่ลดลง เมื่อความร้อนลดลงถึงที่สุด ก็กลายเป็นความเย็นที่สุด ทำนองเดียวกัน เมื่อความทุกข์ลดลงถึงที่สุดก็กลายเป็นความสุขที่สุด ขั้นแห่งความสุขนั้นมีขึ้นตามแห่งความทุกข์ที่ลดลง คำสอนทางศาสนา เมื่อว่าโดยนัยหนึ่งจึงเป็นเรื่องของ "ศิลปะแห่งการลดทุกข์" นั่นเอง

ฮีตซิงก์ หรือ แผงระบายความร้อน (อังกฤษ: Heat sink) ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นชิ้นส่วนซึ่งทำหน้าที่ลดอุณหภูมิขณะทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เอิเล็กทรอนิกส์ โดยเพิ่มพื้นที่สัมผัสอากาศ ทำให้การพาความร้อนจากตัวอุปกรณ์สู่อากาศโดยรอบทำได้เร็วขึ้น โดยปกติ จะมีการติดตั้งแผงระบายความร้อนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความร้อนสูง เช่นทรานซิสเตอร์กำลัง, ไดโอดเปล่งแสงบางชนิด, หลอดเลเซอร์ และในคอมพิวเตอร์ มักจะมีการติดตั้งแผงระบายความร้อนที่หน่วยประมวลผลกลาง กับที่หน่วยประมวลผลกราฟิกส์ วัสดุที่นิยมนำมาทำแผงระบายความร้อนในปัจจุบันมีอยู่ 3 รูปแบบคือ อะลูมิเนียม, ทองแดง และทองแดง+อะลูมิเนียม ซึ่งมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป อะลูมิเนียม โดยคุณสมบัติของอะลูมิเนียมจะนำความร้อนได้ไม่ดีเท่าทองแดง แต่มีน้ำหนักเบา, มีราคาถูกกว่าและขั้นตอนการผลิตง่ายกว่าจึงทำให้เป็นที่นิยมมากกว่าทองแดง ทองแดง มีคุณสมบัตินำความร้อนได้ดีกว่าอะลูมิเนียม แต่ด้วยขั้นตอนการผลิตที่ยุ่งยาก การประกอบครีบต้องใช้การเชื่อม มีน้ำหนักมากและราคาแพงจึงทำให้เป็นที่นิยมเฉพาะกลุ่มบุคคลที่ชื่นชอบการโอเวอร์คล็อกซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนมากกว่าปกติและต้องการการระบายความร้อนที่รวดเร็ว ซึ่งฮีตซิงก์ทองแดงทำหน้าที่ได้ดีกว่า ทองแดง+อะลูมิเนียม โครงสร้างส่วนใหญ่มักจะมีแกนกลางที่สัมผัสผิวหน้าของซีพียูทำจากทองแดง และครีบทำจากอะลูมิเนียม ซึ่งผิวสัมผัสระหว่างทองแดงและอะลูมิเนียมจะมีสารช่วยนำความร้อนอยู่เพื่อให้ผิวสัมผัสแนบสนิทและถ่ายเทความร้อนได้ดี ทำให้ประสิทธิภาพโดยรวมดีกว่าแบบอะลูมิเนียมทั้งชิ้น, ราคาประหยัด และน้ำหนักเบากว่าแบบทองแดงทั้งชิ้น

การดับขันธ์ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วิธีระงับข้อพิพาทและวิวาทะอธิกรณสมถะ การทำอธิกรณ์ให้สงบระงับ หมายถึง วิธีระงับอธิกรณ์ตามพระธรรมวินัย 7 อย่าง คือ สัมมุขาวินัย ตัดสินในที่พร้อมหน้าทั้ง โจทย์และจำเลยพร้อมพยาน ตามพยานหลักฐาน สติวินัย ถือสติเป็นหลัก การยกเลิกความผิดเพราะเป็นพระอรหันต์หรืออริยบุคคลที่จะไม่ทำผิดวินัยในข้อนั้นได้ อมูฬหวินัย ผู้หายจากเป็นบ้า การเลิกความผิดเพราะผู้กระทำผิดนั้นวิกลจริตหรือเป็นบ้า ปฏิญญาติกรณะ ทำตามที่รับ การตัดสินตามการยอมรับผิด คำสารภาพของผู้กระทำผิด ตัสสปาปิยสิกา ลงโทษแก่ผู้ผิดที่ไม่รับ การลงโทษผู้ที่ไม่ยอมพูดในการสอบสวนของคณะสงฆ์ เยภุยเยสิกา การตัดสินตามมติเสียงข้างมาก ติณวัตถารกะ ดุจกลบไว้ด้วยหญ้า วิธีประณีประนอม การตัดสินยกฟ้อง เลิกแล้วต่อกัน(ในกรณีทะเลาะกัน)

วิธีระงับข้อพิพาทและวิวาทะ กะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว

ผู้รู้อยู่ตรงไหนจิตก็ตั้งอยู่ตรงนั้น ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะมักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลยสันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษมักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อยทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละบางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ

mc3phac epoxy printed circuit board 2015 ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะมักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลยสันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษมักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อยทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละบางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ

คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ

คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย อธิมุตตเถรคาถา ว่าด้วยผู้หลุดพ้นย่อมไม่กลัวตาย พระอธิมุตตเถระถูกพวกโจรจับไว้ มิได้มีความกลัวหวาด หวั่น มีหน้าผ่องใส เมื่อหัวหน้าโจรเห็นดังนั้น เกิดความอัศจรรย์ใจ จึง ได้กล่าวคาถาสรรเสริญ ๒ คาถาว่า เมื่อก่อน เราจะฆ่าสัตว์เหล่าใดเพื่อบูชายัญ หรือเพื่อ ปล้นเอาทรัพย์ สัตว์เหล่านั้นหมดอำนาจ เกิดความกลัว ย่อมพากันหวาดหวั่นและบ่นเพ้อ แต่ความกลัวมิได้มีแก่ ท่านเลย ซ้ำยังมีสีหน้าผ่องใสยิ่งนัก เมื่อภัยใหญ่เห็น ปานนี้ปรากฏแล้ว เหตุไรท่านจึงไม่คร่ำครวญเล่า. ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่ง

มหาสมัยสูตร.mp4

มหาสมัยสูตร.mp4

วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557

1 สมาบัติ8 หลวงพ่อฤาษีลิงดำ

1 สมาบัติ8 หลวงพ่อฤาษีลิงดำ

ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้

คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้

ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้

Test Your Brain

if you are genius solve this

ผู้รู้อยู่ตรงไหนจิตก็ตั้งอยู่ตรงนั้น เบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การดับขันธ์ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้าเมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วิธีวัด Power module ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส ทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Module สำหรับใช้ กับมอเตอร์ สามเฟส ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

ทดสอบแผงวงจรMC3PHACที่ปรับปรุงแล้วบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....

โซล่าเซลล์ขับมอเตอร์สามเฟสควบคุมด้วย PS21244 MC3PHACบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....

วิธีการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....

เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสขนาดไม่เกินหนึ่งแรงม้าครับบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....

สาธิตดินและน้ำแห้งมอเตอร์หมุนเร็วสูบน้ำเข้านาอัตโนมัติบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration

สาธิตดินและน้ำแห้งมอเตอร์หมุนเร็วสูบน้ำเข้านาอัตโนมัติบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration

การดับขันธ์ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า การเสด็จดับขันธปรินิพพานของพระพุทธเจ้า..หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนาให้ก่อเกิดเป็นชีวิตอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์ทรงละวิภวตัณหานั้น เสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน คือเป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบ โดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระองค์ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนืออรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไป เพื่อทรงกระบวนการแห่งการเข้าสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือเข้าสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่า สิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ ! กระบวนการกระทำจิตตนให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่ เผยแจ้งออกสู่สัตว์โลก ให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือปฐมฌานแล้ว จึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อนวิภวตัณหาได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ทุติยฌาน แล้วจึงดับสัญญาขันธ์เลื่อนเข้าสู่ตติยฌาน เมื่อพระองค์ดับสังขารขันธ์หรือสังขารธรรมชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่จตุตถฌาน คงมีแต่เวทนาขันธ์สุดท้ายแห่งชีวิตนั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมใหญ่สุดท้าย ที่มีทั้งสิ้นแล้ว ก็มาดับ เวทนาขันธ์อันเป็นจิตขันธ์ หรือนามขันธ์ที่ในจิตส่วนใน คือภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจากจตุตถฌาน พร้อมกับมาดับจิตขันธ์ หรือนามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้นนี้ พระองค์เข้าสู่นิพพานอย่างจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไร ? ที่ไหนดอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ดับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกติของมนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติ และสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดที่มาครอบงำ อำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป็นภาวะแห่งตนเองอย่างบริบูรณ์ เมื่อเวทนาขันธ์สุดท้ายแท้ๆ จริงๆ ได้ถูกทำลายลงอย่างสนิท จึงเป็นผู้บริสุทธิ์ หมดสิ้นแล้วซึ่งสังขารธรรม และหมดเชื้อจิตขันธ์ หรือนามขันธ์ ทั้งปวงใดๆ ในพระองค์ท่านไม่มีเหลือ คงทิ้งแต่รูปขันธ์ อันจะมีชีวิตนั้นไม่ได้แน่ เพราะรูปไม่ใช่ชีวิตหากสิ้นนามเสียแล้ว ก็คือแท่ง คือก้อนวัตถุหนึ่งเท่านั้นเอง นั่นแล คือลำดับฌาน ที่ท่านพระอนุรุทธมหาเถระเจ้าได้นำฌานจิตเข้าไปดู เป็นวิธีการดับโดยแท้ ดับโดยจริง โดยพระองค์เป็นผู้ดับเองเสียด้วย

จิตหนึ่ง-จิตคือพุทธะจิตคือพุทธะ พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) วัดบูรพาราม อ.เมือง จ.สุรินทร์ คัดลอกมาจาก http://www.geocities.com/pudule/dharma3.htm พระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้นไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจากจิตหนึ่งแล้ว มิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่มิได้เกิดขึ้น และไม่อาจถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียว หรือสีเหลือง และ ไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก ทั้งนี้ เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัด เหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และ เหนือการเปรียบเทียบทั้งหมด จิตหนึ่งนี้ เป็นสิ่งที่เราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้ เป็นเหมือนกับความว่าง อันปราศจากขอบทุกๆ ด้าน ซึ่งไม่อาจจะหยั่ง หรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธะ ไม่มีความแตกต่างระหว่างพุทธะกับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้น เขาจึงแสวงหาพุทธะภาวะจากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นนั่นเอง ทำให้เขาพลาดจากพุทธภาวะ การทำเช่นนั้น เท่ากับ การใช้สิ่งที่เป็นพุทธะ ให้เที่ยวแสวงหาพุทธะ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขา อยู่ตั้งกัปป์หนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถลุถึงพุทธภาวะได้เลย เขาไม่รู้ว่า ถ้าเขาเอง เพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหา เสียเท่านั้น พุทธะก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่า จิต นี้คือ พุทธะ นั่นเอง และ พุทธะ คือ สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายทั้งปวง นั่นเอง สิ่งๆ นี้ เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์ จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่ สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้ง ๖ ก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วน เหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้นจงคิดดูเถิด เมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกกรณีอยู่แล้ว คือเป็น จิตหนึ่ง หรือ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับพุทธะทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งที่สมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้ว อยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน ถ้าเราไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธะ ก็ดี และถ้าเรายัง ยึดมั่นถือมั่น ต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องเข้ารอยกันกับ ทาง ทางโน้นเสียแล้ว จิตหนึ่ง นั่นแหละคือ พุทธะ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิเช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่างหรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรม ซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธะซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่พุทธะของความยึดมั่นถือมั่น การปฏิบัติปารมิตาทั้ง ๖ และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็นพุทธะสักองค์หนึ่งนั้น เป็นการปฏิบัติชนิดที่คืบหน้าทีละขั้นๆ แต่พุทธะซึ่งมีอยู่ตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้น หาใช่พุทธะที่ลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อจิตหนึ่งนั้นเท่านั้น และ ไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสน และความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น ย่อมให้ความสว่างทั่วพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้น มันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อดวงอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่าง และความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิตของพุทธะและของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น ถ้าเรามองดูพุทธะ ว่าเป็นผู้แสดงออก ซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลที่เกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุด ถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปป์นับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้น และไม่มีสิ่งใดแม้แต่อนุภาคเดียวที่จะอิงอาศัยได้ เพราะ จิตนั้นเอง คือ พุทธะ เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่อง ทาง ทางโน้นไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบัง จิต นั้นเสีย ด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหา พุทธะ นอกตัวเราเอง พวกเรายังคงยึดมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลาย ต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใด เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกับไม้หรือก้อนหิน คือภายในนั้นปราศจาก การเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขตหรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรม หรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปได้เลย จิตนี้ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้น พระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ จิตนั่นแหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้น โดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่จะกล่าวว่าจิตนั้นมิใช่จิต ดังนี้นั่นแหละ ย่อมหมายถึง สิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริง สิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้น เราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ถูกตัดขาดไปแล้ว และ พฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิด กระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติอันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่แตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะดั้งเดิมของเรานั้น โดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตนแม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่งสงบเงียบ และไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งสิ่งนี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละ คือสิ่ง สิ่งนั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีก จิตคือพุทธะ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลายเป็นสิ่งที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่ง มันย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด และทุกๆ สิ่งมีเนื้อหาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธะ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น ปราศจากความคิดปรุงแต่งโดยสิ้นเขิง และเป็นสิ่งเดียวกับสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น เราจะได้ลุถึงภาวะแห่งความที่ไม่มีอะไรปรุงแต่งได้อีกต่อไป ฉะนั้น นี่แหละคือหลักธรรมที่เป็นหลักมูลฐานอยู่ในที่นี้ สัมมาสัมโพธิ เป็นชื่อของการเห็นแจ้งชัดว่าไม่มีธรรมใดเลยที่ไม่เป็นโมฆะ ถ้าเราเข้าใจความจริงข้อนี้แล้ว ของหลอกลวงทั้งหลายจะมีประโยชน์อะไรแก่เรา ปรัชญา คือความรู้แจ้ง ความรู้แจ้ง คือจิตต้นกำเนิดดั้งเดิม ซึ่งปราศจากรูป ถ้าเราสามารถทำความเข้าใจได้ว่า ผู้กระทำและสิ่งที่ถูกกระทำ คือจิตและวัตถุเป็นสิ่งๆ เดียวกัน นั่นแหละ จะนำเราไปสู่ความเข้าใจอันลึกซึ้ง และลึกลับเหนือคำพูด และโดยความเข้าใจอันนี้เอง พวกเราจะได้ลืมตาต่อสัจธรรมที่แท้จริงด้วยตัวเราเอง สัจธรรมที่แท้จริงของเรานั้น ไม่ได้หายไปจากเรา แม้ในขณะที่เรากำลังหลงผิดอยู่ด้วยอวิชชา และไม่ได้รับกลับมา ในขณะที่เรามีการตรัสรู้ มันเป็นธรรมชาติแห่งภูตัตถตา ในธรรมชาตินี้ไม่มีทั้งอวิชชา ไม่มีทั้งสัมมาทิฐิ มันเต็มอยู่ในความว่าง เป็นเนื้อหาอันแท้จริงของจิตหนึ่งนั้น เมื่อเป็นดังนี้แล้ว อารมณ์ต่างๆ ที่จิตของเราได้สร้างขึ้น ทั้งฝ่ายนามธรรมและฝ่ายรูปธรรม จะเป็นสิ่งซึ่งอยู่ภายนอกความว่างนั้นได้อย่างไร โดยหลักมูลฐานแล้ว ความว่างนั้นเป็นสิ่งซึ่งปราศจากมิติต่างๆ แห่งการกินเนื้อที่ คือปราศจากกิเลส ปราศจากกรรม ปราศจากอวิชชา และปราศจากสัมมาทิฏฐิ พวกเราต้องทำความเข้าใจอย่างกระจ่างแจ้งว่า โดยแท้จริงแล้ว ไม่มีอะไรเลย ไม่มีมนุษย์สามัญ ไม่มีพุทธทั้งหลาย เพราะว่าในความว่างนั้น ไม่มีอะไรบรรจุอยู่แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที่สุด อันเป็นสิ่งซึ่งสามารถจะมองเห็นได้โดยทางมิติ หรือกฎแห่งการกินเนื้อที่เลย มันไม่ต้องอาศัยอะไร และไม่ติดเนื่องอยู่กับสิ่งใด มันเป็นความงามที่ไร้ตำหนิ เป็นสิ่งซึ่งอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง และเป็นสิ่งสูงสุดที่ไม่มีอะไรสร้างขึ้น มันเป็นเพชรพลอยที่อยู่เหนือการตีค่าทั้งปวงเสียจริงๆ เราต้อง แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เหตุต้องละ ผลต้องละ ใช้หนี้ก็หมด พ้นเหตุเกิด สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในจักรวาล มีนับไม่ถ้วนรวมแล้วมี รูปกับนาม สองอย่างเท่านั้น นามเดิม ก็คือ ความว่างของจักรวาล เข้าคู่กันเป็น เหตุเกิด ตัวอวิชชา เกิดเหตุก่อ ที่ใดมีรูป ที่นั้นต้องมีนาม ที่ใดมีนาม ที่นั้นต้องมีรูป รูปนามรวมกัน เป็นเหตุเกิดปฏิกิริยา ให้เปลี่ยนแปลงตลอดกาล และ เกิดกาลเวลาขึ้น คือรูปย่อมมีความดึงดูดซึ่งกันและกัน จึงเป็นเหตุให้รูปเคลื่อนไหว และหมุนรอบตัวเองตามปัจจัย รูปเคลื่อนไหวได้ ต้องมีนาม ความว่างคั่นระหว่างรูป รูปจึงเคลื่อนไหวได้ เมื่อสภาวธรรมเป็นอย่างนี้ สรรพสิ่งของวัตถุ สสารมีชีวิต และไม่มีชีวิตจึงต้องเปลี่ยนแปลง เป็นไตรลักษณ์ เกิด ดับ สืบต่อทุกขณะจิตไม่มีวันหยุดนิ่งให้คงทนเป็นปัจจุบันได้ จิต วิญญาณ ก็เกิดมาจาก รูปนามของจักรวาล มันเป็นมายาหลอกลวงแล้วเปลี่ยนแปลงให้คนหลง จากรูปนามไม่มีชีวิต เปลี่ยนมาเป็นรูปนามที่มีชีวิต จากรูปนามที่มีชีวิต มาเป็นรูปนามมีชีวิตที่มีจิตวิญญาณ แล้วจิตวิญญาณก็เปลี่ยนแปลงแยกออกจากกัน คงเหลือแต่ นามว่างที่ปราศจากรูป นี้ เป็นจุดสุดยอดของการหลอกลวงของรูปนาม ต้นเหตุเกิดรูปนามของจักรวาลนั้น เป็นเหตุเกิด รูปนามพิภพ ต่างๆ ตลอดจนดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ๕ อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ๕ อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลงมี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน ๕ กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป ๕ กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย ๕ กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ ๕ กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น นี่ พระองค์เข้าสู่นิพพานอย่างจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนดอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ ดับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกติของมนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติและสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดที่มาครอบงำอำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป็นภาวะแห่งตนเองอย่างบริบูรณ์ เมื่อ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแท้ๆ จริงๆ ได้ถูกทำลายลงอย่างสนิท จึงเป็นผู้บริสุทธิ์ หมดสิ้นแล้วซึ่งสังขารธรรม และหมดเชื้อ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ทั้งปวงใดๆ ในพระองค์ท่าน ไม่มีเหลือ คงทิ้งแต่ รูปขันธ์ อันจะมีชีวิตนั้นไม่ได้แน่ เพราะรูปไม่ใช่ชีวิตหากสิ้นนามเสียแล้ว ก็คือแท่ง คือก้อนวัตถุหนึ่ง เท่านั้นเอง นั่นแล คือ ลำดับฌาน ที่พระอนุรุทธเถระเจ้าได้นำฌานจิตเข้าไปดู เป็นวิธีการดับโดยแท้ ดับโดยจริงโดยพระองค์เป็นผู้ดับเองเสียด้วย

วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า เฝ้ารู้อยู่อย่างนี้เรื่อยๆ พอมันไม่มีเราขึ้นมาจริงๆ ความทุกข์มันอยู่ที่ไหน ความทุกข์มีอยู่ เพราะขันธ์ยังมีอยู่ ตัวขันธ์นั่นแหละคือตัวทุกข์ ขันธ์เป็นตัวทุกข์นะ ไม่ใช่ขันธ์เป็นตัวสุข ไม่ใช่ว่าภาวนาแล้ววันหนึ่งขันธ์กลายเป็นตัวสุขขึ้นมาได้ ยังไงก็เป็นตัวทุกข์ เพราะขันธ์มันไม่เที่ยง มันถูกบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา มันบังคับไม่ได้ ไม่อยู่ในอำนาจ ยังไงก็เป็นทุกข์ แต่ว่าเมื่อใจยอมรับความจริง ว่าขันธ์มันเป็นทุกข์นะ ทุกอย่างที่ปรากฏขึ้นที่ขันธ์ก็อยู่ชั่วคราว ตัวขันธ์เองก็อยู่ชั่วคราว การที่เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวเนี่ย เรียกว่าเรารู้ทันความจริงละ เมื่อจิตรู้ทันความจริง เวลาความจริงมาปรากฏให้จิตยอมรับความจริงได้ จิตก็ไม่ทุกข์ ที่จิตทุกข์เพราะจิตยอมรับความจริงไม่ได้ เช่น ร่างกายมันจะแก่ จิตยอมรับความจริงได้ ของธรรมดา มันของชั่วคราว พอใจยอมรับความจริงได้ ใจมันก็ไม่ทุกข์ มันจะเจ็บมันจะตาย จิตใจเราจะพลัดพรากจากสิ่งที่รัก เจอสิ่งที่ไม่รัก เรายอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างชั่วคราว สุขทุกข์ดีชั่ว ของชั่วคราวทั้งหมด เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ตอนนี้พวกเรายังเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งไม่ได้ เพราะจิตเรายังปรุงแต่งอยู่ ที่จิตปรุงแต่งอยู่เพราะยังไม่รู้ความจริงของขันธ์ ยังไม่เห็นหรอกว่า ขันธ์ห้าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยังยอมรับไม่ได้ เวลาเห็นก็เห็นนิดๆ หน่อยๆ แต่ยังยอมรับความจริงไม่ได้ ใจลึกๆ มันก็ยังอยากให้ร่างกายนี้แข็งแรงตลอดกาล เป็นหนุ่มเป็นสาวตลอดกาล ยอมรับไม่ได้ที่จะไม่สมหวัง อยากให้มันสมหวัง อยากให้มันมีความสุข อยากให้มันบรรลุมรรคผล นิพพาน มันอดอยากไม่ได้ งั้นใจที่เรายังมีความอยากอยู่เนี่ย มันดิ้นรนไม่เลิก ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้า วันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ พอไม่มีตัวเราซะอย่างเดียว โลกทั้งโลกไม่มีเจ้าของ แล้วเราค่อยฝึกเอา ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก

หลวงปู่สิม-บุญเก่าหนุนบุญใหม่ รู้แจ้งแล้วละ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า

แผ่นวงจรพิมพ์จะประกอบด้วยส่วนสําคัญ 2 ส่วนคือแผ่นฐานหรือซับสเตรตกับส่วนที่เป็นตัวนํา ในชุดแรกแผ่นวงจรพิมพ์จะ ประกอบขึ้นจากแผ่นฐานที่ทําจากฉนวนบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยสารประเภทเทอร์โมเซตติง เพื่อให้รองรับกับตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์ตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์จะใช้วิธีการพิมพ์หรือเคลือบสิ่งที่สามารถนําไฟฟ้าได้ลง ไปบนแผ่นฐานวงจรพิมพ์ จึงเป็นที่มาของคําว่า PrintedCircuit Board หรือ PCB และยังนิยมใช้คํานี้อยู่จนถึงปัจจุบัน แผ่นวงจรพิมพ์ Printed circuit board (PCB)หรือ Printed circuit wiring board (PWB)เป็นแผ่นฉนวนบางๆ ทําหน้าที่เป็นที่ วางและยึดติดตัวอุปกรณ์มีตัวนําไฟฟ้าเป็นตัวต่อวงจรให้แก่อุปกรณ์ไปด้วยใน ตัว โดยทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวต่ออาจจะทําเป็นหน้าเดียว (Single-sided) หรือสองหน้า(Double-sided)แต่ถ้าวงจรมีความหนาสูงมีความซับซ้อนมากๆ ก็อาจจะต้องทำเป็นหลายๆ ชั้น(Multi-layered) ก็ได้ วิธีการพิมพ์หมึกลงบนแผ่นวงจรพิมพ์นั้น ในการนำมาใช้งานพบว่าหมึกหลุดล่อนได้ง่ายทําให้เกิดความเสียหายต่อวงจร เทคนิคที่นํามา ใช้แทนที่คือ วิธีที่เรียกว่าซับแทร็กตีฟโปรเซส (Suptractive process) หรือ เคมิคอลฟอยล์เอนซึ่ง (chemical foilencing) โดยขั้นแรกจะ ทําการยึดแผ่นทองแดงบางๆ ซึ่งเป็นวัสดุที่นําไฟฟ้าได้ดีกว่าหมึกพิมพ์ และมีความคงทนกว่าเข้ากับผิวหน้าของแผ่นฐานด้วยกาวผลที่ได้จะ เกิดวัสดุที่เรียกว่า “metal clad laminate” แต่เราก็ยังเรียกกันว่า “Printed Circuit Board” อยู่ดีแผ่นฐานจะทํามาจากวัสดุที่เป็นฉนวน น้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงที่นิยมใช้มี 3 ชนิด คือ 1. ฟีนอลิก (phenolic) 2. กลาสอีพอกซี่ (glass epoxy) 3. สารประกอบ อีพอกซี่ (composite epoxy) ในครั้งแรกๆ การใช้งานแผ่นวงจรพิมพ์ แผ่นฐานที่ใช้จะทําจากกระดาษบางๆ ชุบฟีนอลิกแล้วอัดรวมกันให้แข็งแรงแต่แผ่น วงจรพิมพ์ที่ทําจากฟีนอลิกนั้นจะมีลักษณะประเภทแตกหักได้ง่าย มีความแข็งแรงต่ำไม่ค่อยต้านทานความชื้นต่อมาได้มีการนําใยฝ้ายมาใช้ แทนที่กระดาษ ทําให้ได้ความแข็งแรงทางกลสูงขึ้น และมีความต้านทานต่อความชื้นสูงแต่ทําให้ความแข็งแรงทางไฟฟ้าลดลงจากนั้นจึง ได้ มีการนําใยแก้วมาทําเป็นแผ่นฐาน โดยทอใยแก้วชั้นเดียวหรือหลายชั้นเข้าด้วยกัน แล้วยึดด้วยอีพอกซีเรซินจึงเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ว่า กลาสอีพอกซี่ ลักษณะการทอเป็นพื้นของใยแก้ว การแบ่งเกรดของแผ่นวงจรพิมพ์ สมาคมผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อเมริกา (NEVA:National Electrical Manufacturers Association) ได้แบ่งชนิดของ แผ่นวงจรพิมพ์ไว้ถึง 30 ชนิด แต่โดยทั่วไปเราจะพบประมาณ 10 ชนิด ดังต่อไปนี้ เกรด XXX PC แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ ทําขึ้นจากกระดาษยึดรวมตัวกันด้วยฟีนอลิกเรชั่นเป็นชนิดที่ ใช้งานทั่วๆ ไป ทนความชื้นได้ไม่สูงนักมีความต้านทานค่อนข้างตํ่าเมื่อเทียบกับแผ่นวงจร พิมพ์ที่ทําจากสารชนิดอื่นสามารถใช้กับงานความถี่สูงได้ถึงย่าน ความถี่วิทยุ ออกแบบมาเพื่อให้ตัดเจาะได้ที่อุณหภูมิตํ่า เกรด FR-2 ทําจากฟีนอลิก ลักษณะโดยทั่วๆ ไป คล้ายกับ เกรด XXX PC แต่ออกแบบมาให้ติดไฟได้ยากกว่า ทําให้ สามารถนําไปใช้กับงานที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ เกรด FR-3 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ทําจากกระดาษบาง ๆ ยิดติดกันด้วยอีพ็อกซี่เรซินมีความแข็งแรงสูงสามารถใช้กับ งานที่แรงดันสูงและความชื้นสูงได้ ดีกว่าเกรด XXX PC และยังออกแบบมาให้ตัดเจาะได้ง่ายที่อุณหภูมิห้อง เกรด FR-4 พัฒนาขึ้นมาจากเกรด FR-3 ทําจากใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซิน สามารถใช้ได้กับงานหลายประเภท ทน ต่อความชื้นและอุณหภูมิสูง และสามารถใช้งานกับแรงดันสูงได้ดีกว่า เกรด XXX PC, FR-2 และ FR-3 เกรด FR-5 พัฒนาขึ้นจากเกรดFR-4 โดยยังคงใช้เส้นใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซินแต่มีความแข็งแรงสูงกว่าทั้งทางกล และทางไฟฟ้า นอกจากนี้ยังติดไฟได้ยากอีกด้วย เกรด FR-6 ทําจากแผ่นใยแก้วบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยเทอร์โมเซตติงโพลีเอสเตอร์ มีค่าคงที่ทางไดอิเล็กตริกตํ่า มีความ แข็งแรงตํ่า แต่ได้ปรับปรุงคุณสมบัติในด้านการทนต่อความชื้น จึงสามารถใช้กับงานที่ความชื้นสูงได้ เกรด CEM1 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ใช้เซลลูโลสเป็นแกนกลางมีใยแก้วทอเป็นผิวสองด้านยึดติดกันด้วยอีพอกซี่เรซิน เช่นเดิม ทําให้ตัดเจาะได้ง่าย แต่ทนความชื้นได้ตํ่ากว่าเกรด FR-4,FR-5 และ FR-6 เกรด G-10 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ ชนิดอีพอกซี่ไฟเบอร์ไกลาส มีความแข็งแรงทางกลสูง มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าดีเยี่ยม ลักษณะทั่วไปคล้ายกับเกรด FR-4 แต่ติดไฟยากกว่าแผ่นวงจรทั้งหมดที่กล่าวมานั้น ยังใช้วัสดุแบบเดิม ๆ ทําเป็นแผ่นฐาน ซึ่งยังมีแผ่นวงจร พิมพ์ที่ใช้สารที่พัฒนาขึ้นมาใหม่เป็นแผ่นฐาน ได้แก่เกรด G-30 และเกรด G-60 เกรด G-30 ใช้ใยแก้วทอยึดตัวด้วยโพลีอะไมค์เรซินมีความคงตัวสามารถต้านทานต่อความชื้นสูงมีคุณสมบัติทาง ไฟฟ้าดีเยี่ยม เหมาะสําหรับการนํามาใช้ทําแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดมัลติเลเยอร์ เกรด G-60 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดพิเศษที่ใช้สารโพลีซัลโฟนเทอร์โมพลาสติก ทําเป็นแผ่นฐานเนื่องจากมีค่าความ สูญเสียในไดอิเล็กตริกตํ่า สามารถควบคุมคุณสมบัติของไดอิเล็กตริกได้ง่าย นิยมใช้ในงานความถี่สูงมาก ๆ เป็นกิกะเฮิรตซ์ (GHZ) สําหรับ ไมโครชิปเป็นต้น คุณสมบัติทางไดอิเล็กตริกและความสูญเสียในไดอิเล็กตริกของสารโพลีซัลไฟด์ที่ใช้กับย่านความถี่ไมโครเวฟ แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ พีซีบี (PCB ย่อจาก Printed Circuit Board) หรือนิยมเรียกว่า "แผ่นปรินท์ หรือ แผ่นแผงวงจรอิเลคทรอนิกส์" เป็นแผงที่มีลายทองแดงนำไฟฟ้าอยู่ใช้สำหรับต่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประกอบเป็นวงจร แทนการต่อวงจรด้วยสายไฟ ซึ่งมีความซับซ้อนและยุ่งยาก โดยแผงวงจรนี้อาจมีเพียงด้านเดียว (Single side)หรือสองด้าน (Double side)หรือสามารถวางซ้อนกันได้หลายๆ ชั้น (Multi layer) ได้เช่นกัน ตามความต้องการของผู้ออกแบบ PCB ชนิดหน้าเดียว (Single Side) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าอยู่ด้านเดียวและมักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์์อยู่ด้านตรงข้ามกับเส้นลายวงจร และมัก จะมี Silk Screen ด้านเดียวกับอุปกรณ์ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side PCB) แบบนี้จะมีทองแดงเคลือบอยู่ทั้ง 2 ด้าน ส่วนใหญ่ด้านหนึ่งมักจะปล่อยให้เป็นลายทองแดงเต็มแผ่นในลักษณะเป็น กราวน์เพลน (Ground Plane) โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดสัญญาณรบกวน มักใช้ในวงจรเครื่องรับหรือเครื่องส่งวิทยุ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side Plate Through Hole) เป็น ชนิดที่มีลายทองสองด้านซึ่งประกอบไปด้วย ชั้นของแผ่นตัวนำสองด้านคือด้านบนและด้านล่างประกบกับชั้นซัพเตรดอยู่ PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าทั้งสองด้าน และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดงเพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างด้าน และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน วัสดุที่นิยมนำมาใช้คือ ไฟเบอร์กลาสอิพ็อกซี่ แผ่นงวงจรลักษณะนี้จะเหมาะสำหรับงานที่มีตัวอุปกรณ์ที่มีความหนาแน่นมากซึ่ง แผ่น PCB ประเภท Double-sided จะเหมาะสำหรับงานหรือวงจรที่ใช้ความถี่ปานกลางถึงความถี่สูง และยังสามารถเชื่อมต่อแบบ Plat through Hole (PTH) เพื่อให้เส้นทั้งสองเชื่อมต่อกันได้สั้นลงด้วย PCB ชนิดหลายชั้น (Multi Layer) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้า ระหว่างชั้นใน (Inner Layer) 2,4..Layer และชั้นนอก (Outer Layer) และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดง เพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างชั้น และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน เป็น แผ่นวงจรชนิดหลายชั้น แผ่นวงจรชนิดนี้จะประกอบไปด้วยชั้นของแผ่นตัวนำและซัพเตรดมากกว่าสองชั้น ขึ้นไป โดยการอัดชั้นต่างเข้าหากันโดยใช้ความร้อนและเครื่องอัดแรงดันสูงเหมาะ สำหรับงานที่มีความหนาแน่นของตัวอุปกรณ์สูงถึงสูงมาก ชนิด ฟีนอลลิกอัดและชนิด อีพ็อกซี่ไฟเบอร์กลาส ซึ่งชนิด อีพ็อกซี่จะเป็นที่นิยมกันมากเพราะคุณสมบัติที่ดีคือการทนต่ออุณหภูมิที่สูง และไม่บิดงอได้ง่ายเหมือนกับชนิด ฟีนอลลิกซึ่งไม่เป็นที่นิยมและมีความต้านทานความชื้นต่ำทำให้สูญเสียความเป็นฉนวนง่ายจึงไม่เหมาะกับการใช้งานที่มีความถี่สูงๆ แต่ ยังพบเห็นได้บ้างตามงานที่ไม่เน้นคุณภาพที่สูงมากนักเพราะราคาของเจ่าฟีนอ ลลิกนั้นจะมีราคาที่ถูกกว่าชนิดอีพ็อกซี่มากซึ่งเป็นการลดต้นทุนทางการผลิต นอกจากนี้ยังมีการเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ ตามสารที่เป็นพื้นฉนวน เข่น แผ่นวงจรพิมพ์แบบเบกาไลต์ (Bakelite) ซึ่งใช้ เบกาไลต์เป็นฉนวน ส่วนใหญ่มักมีสีน้ำตาล แผ่นวงจรพิมพ์แบบกลาสอีพ๊อกซี่ (Glass Epoxy) ซึ่งจะใช้ใยแก้ว เป็นฉนวน มักมีสีต่าง ๆ แต่ส่วนใหญ่มักทำเป็นสีเขียวหรือสีฟ้า Copper Thickness Measurement Copper 1 Oz = 35 µm (1.4 mil) บันทึกการเข้า นักประดิษฐ์ Global Moderator Hero Member *** กระทู้: 529 Re: แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ PCB « ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 08:50:35 PM » โปรแกรมที่นิยมใช้ออกแบบ Protel,Altium Designer P-CAD OrCAD EAGLE โปรแกรมออกแบบ PCB หนึ่งเดียวที่ทำงานได้ 3 OS

วันศุกร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557

เราเป็นใครจิตของเรามาจากไหนดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 5 อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลง มี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน 5 กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป 5 กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ 5 กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น

พบตัวเองพบธรรมะพาไปพบพระพุทธเจ้าเป็นปริศนา พื้นบ้าน อีสานใต้ คำทำนาย ท่านกล่าวไว้ กาลล่วงหน้า ปราชญ์โบราณ รุ่นสู่รุ่น สืบต่อมา ภูมิปัญญา จากปู่ย่า ถึงโกนเจา 1.ฉนัม นิ ซี เดก ฉนัม พํแนก ซี เฎ็ย ตึ๊ก ลิ๊จ จง ฤเซ็ย แม๊จ ตเร็ย กเรียม ซกา ฯ 2. เมิงกอก เนิงระลม พนมเป็ญ นองระเลือย ปอยสักแก กระจัดกระจาย แสนสบาย อังกัวร์ เวือด ฯ 3.อังกัวร์ ตระเปียงสโน นองโสน โสนแอง มินปะบาก ระนา ตันเลือย นองตันเลือย คะเนียแองฯ 4.นอง เมียน มนึฮ์ เทอรฺร์ เมียนแศล เตียน เดอะ เนือม ตันรอง ตะรอง พะโลว์ เนือมโตว์ จีย์ ชะเนียฮ์ฯ เป็นปริศนาจากรุ่นทวดสมัยปู่ย่าตายายทำนายไว้ เป็นการเปรียบเทียบเปรียบเปรย ความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย อาจแปลได้ไม่สละสลวยจนเห็นภาพเหมือนภาษาเขมรเท่าไหร่ แปลใจความได้ว่า... 1.ปีนี้ได้กินแล้วนอน ปีหน้าได้กินดิน (อาจเพราะไม่มีอะไรจะกิน) น้ำท่วมสูงปลายยอดไผ่ แต่ทำไมปลาแห้งตาย ฯ 2.กรุงเทพฯจะล่ม กรุงพนมเปญจะสลาย ต้นสังแกที่เกาะกลุ่มจะแตกกระจัดกระจาย ผู้คนสุขสบายที่นครวัด ฯ 3.มีนครหนึ่งที่เต็มไปด้วยต้นโสน เป็นที่ราบลุ่ม อันอุดมสมบูรณ์ ไม่เห็นมีคนนอกเข้าไปทำลาย แต่กลับล่มสลายด้วยพวกเดียวกันเอง ฯ 4.จากนั้นจะมีผู้นำที่มีศีลธรรม มีจิตเมตตาชักจูงนำประชา นำไปสู่ทิศทางที่ถูกต้องดีกว่า พาไปสู่ชัยชนะ สร้างความรุ่งเรือง ต่อไป ฯ

วันพฤหัสบดีที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิธีพาจิตกลับบ้าน การปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ... เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน รู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป 

แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่ใช้อินเวอร์เตอร์ควบคุมมอเตอร์อินดัตชั่่น...ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์การติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM51 เหลืออยู่ ประมาณ 1400 ตัว ครับ.... TL105C และ TM52A หมดแล้ว ก็ยังมี PS21244 อยู่ 1000 นิดนิด..ราคา เบา..เบา...ประหยัดดีครับ...400 บาท...ใช้ได้กับมอเตอร์..หนึ่งแรงม้า...ถ้าต้องการ แรงม้าเพิ่ม...ก็....ขนานได้ครับ..... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

POWER MODULE TM52A MC3PHAC ควบคุมมอเตอร์สามเฟสการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM51 เหลืออยู่ ประมาณ 1400 ตัว ครับ.... TL105C และ TM52A หมดแล้ว ก็ยังมี PS21244 อยู่ 1000 นิดนิด..ราคา เบา..เบา...ประหยัดดีครับ...400 บาท...ใช้ได้กับมอเตอร์..หนึ่งแรงม้า...ถ้าต้องการ แรงม้าเพิ่ม...ก็....ขนานได้ครับ..... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

การต่อมอเตอร์สามเฟสกับ TM52A MC3PHACการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM51 เหลืออยู่ ประมาณ 1400 ตัว ครับ.... TL105C และ TM52A หมดแล้ว ก็ยังมี PS21244 อยู่ 1000 นิดนิด..ราคา เบา..เบา...ประหยัดดีครับ...400 บาท...ใช้ได้กับมอเตอร์..หนึ่งแรงม้า...ถ้าต้องการ แรงม้าเพิ่ม...ก็....ขนานได้ครับ..... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

TM52A ที่ต่อโดยตรงจากโซล่าเซลล์ให้ทำตามนี้ครับการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

PS21244 ใช้ได้กับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าครับการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส ควบคุมด้วย MC3PHAC PS21244การติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน คือมองไม่เห็นว่า เจตนาที่จะประคองรักษาจิต ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ ๔ แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้ เรา (พระศาสดา) ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่ เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่ เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่ เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออก..ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น ธรรมตรงนี้ท่านแสดงไว้อย่างชัดเจนถึง กะเปาะฟองที่ห่อหุ้ม (จิต) สิ่งนี้ก็คือห้องขังที่มองไม่เห็น ที่ขังให้จิตติดข้องอยู่ในอาสวกิเลส และทรงกล่าวถึงการชำแรกออก หรือทำลายออกจากกะเปาะนั้น เพราะมีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจจ์ และเห็นแจ้งอาวสกิเลส ฟังผิวเผินเหมือนเป็นถ้อยคำเปรียบเทียบของพระองค์ แต่ผู้ปฏิบัติที่พบเห็นสภาวะ ภพของจิตผู้รู้ อ่านตรงนี้แล้วจะสะดุ้งใจ เพราะจะรู้สึกว่า พระองค์รับสั่งถึงสภาวะอันหนึ่งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด เพราะเห็นชัดว่า จิตถูกขัง ถูกแช่จม อยู่ในขอบเขตอันหนึ่งจริงๆ ผมมีเรื่องอยู่เรื่องหนึ่ง ที่จะเล่าให้พวกเราฟังกันเป็นการภายใน ดังนี้ เมื่อประมาณปี ๒๕๒๖ ผมได้ไปกราบหลวงพ่อพุธ ที่วัดป่าสาลวัน ท่านได้ถามถึงธรรมที่หลวงปู่ดูลย์สอนผม อันเป็นเรื่องการทำลายผู้รู้ แล้วท่านก็กล่าวว่า หลวงปู่ดูลย์ก็สอนท่านอย่างเดียวกันนี้ จากนั้นท่านก็เมตตา ให้โอกาสแก่ผมด้วยกุสโลบาย คือตามธรรมเนียมของผู้ปฏิบัติแล้ว จะไม่ก้าวก่ายเข้าไปสอนศิษย์ของท่านผู้อาวุโสกว่า หลวงพ่อจึงไม่บอกว่า จะสอนธรรมให้แก่ผม แต่กลับบอกว่า "คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกันไว้ ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อน ให้มาบอกวิธีแก่กัน" เมื่อ ๒๕๒๖ ผมมีโอกาสพบท่านอีกครั้งหนึ่ง เข้าไปกราบท่าน รายงานตัวฟื้นความหลังให้ว่าผมเป็นใคร ท่านก็บอกว่า ท่านจำได้ ผมก็กราบเรียนท่านว่า จนป่านนี้ผมยังทำลายจิตผู้รู้ไม่ได้เลย ขออุบายวิธีปฏิบัติจากหลวงพ่อ เพื่อทำลายผู้รู้ด้วยเถิด หลวงพ่อตอบว่า “จิตผู้รู้ก็เหมือนฟองไข่ เมื่อจิตมีปัญญาแก่รอบแล้ว จิตจะทำลายสิ่งห่อหุ้มนั้นออกมาเอง เหมือนลูกไก่ที่โตได้ที่แล้ว เจาะทำลายเปลือกไข่ออกมาเอง”

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่น เรื่องของอาสวกิเลส ผมสังเกตเห็นอย่างหนึ่งว่า พวกเรามักกล่าวถึง กิเลส และนิวรณ์กันบ่อยครั้ง แต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึง อาสวกิเลส กันมากนัก แทบไม่เคยเห็นกล่าวถึงกันทีเดียว แท้ที่จริง อาสวกิเลส เป็นเรื่องสำคัญมาก ถ้าสังเกตธรรมในพระไตรปิฎก จะเห็นได้ชัดเจนว่า เมื่อท่านกล่าวถึงความหลุดพ้น ท่านมักจะกล่าวว่า หลุดพ้นจากอาสวกิเลส ไม่กล่าวว่า หลุดพ้นจากกิเลส หรือนิวรณ์ อันที่จริง กิเลส นิวรณ์ และอาสวกิเลส ต่างก็เป็นกิเลสด้วยกัน แต่มีความหยาบและความละเอียดแตกต่างกัน กิเลส คือราคะ โทสะ และโมหะนั้น เป็นของหยาบๆ มันพลุ่งๆ วูบวาบขึ้นมาครอบงำจิต ในลักษณะเป็นสิ่งแปลกปลอมเข้ามาเป็นครั้งคราว ส่วนนิวรณ์ มักจะแทรกเข้ามานิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้ามา นักปฏิบัติด้วยการดูจิต หรือเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน สามารถรู้เห็นกิเลสได้ไม่ยากเลย แม้แต่ผู้หัดดูจิตวันแรก ก็มักมองเห็นได้แล้ว โดยเฉพาะโทสะนั้น เป็นอารมณ์ที่รุนแรง สังเกตง่ายที่สุด ราคะมีความประณีตกว่าโทสะ แต่ก็ยังเป็นสิ่งแปลกปลอมที่มองเห็นง่าย ส่วนโมหะ เป็นความหมอง ความมัวของจิต เหมือนม่านควันที่ซึมซ่านเข้ามาทำให้จิตเสื่อมคุณภาพในการ "รู้ตามความเป็นจริง" ตัวนี้สังเกตยากขึ้นไปอีกหน่อย สำหรับ "นิวรณ์" มีความละเอียดประณีตยิ่งขึ้นไปอีก เพราะมันซึมซ่านนิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้าครอบงำจิตได้ง่ายๆ โดยไม่ทันระวังตัว บางคราวถ้าไม่ชำนาญ จะดูไม่ออกเสียด้วยซ้ำไปว่ามันเป็นนิวรณ์ ส่วนอาสวกิเลสนั้น ดูยากกว่านิวรณ์มากนัก ในชั้นแรกนี้ ลองมาดูความหมายในทางปริยัติกันก่อน พจนานุกรมของท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก ท่านอธิบายความหมายของอาสวกิเลสไว้ดังนี้ อาสวะ กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ไหลซึมซ่านไปย้อมจิตเมื่อประสบอารมณ์ต่างๆ มี ๓ อย่างคือ กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ ๑. กามาสวะ อาสวะคือกาม (กิเลสดองอยู่ในสันดาน ที่ทำให้เกิดความใคร่ ) ๒. ภวาสวะ อาสวะคือภพ (กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้อยากเป็น อยากเกิด อยากมีอยู่คงอยู่ตลอดไป) ๓. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา (กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้ไม่รู้ตามความเป็นจริง) คราวนี้เราลองหันมาพิจารณา ถึงสภาวะของอาสวกิเลสในมุมมองของนักปฏิบัติบ้าง อาสวกิเลสไม่ได้พลุ่งขึ้นมาเหมือนกิเลสหยาบ ไม่ได้ซึมซ่านเข้ามาเหมือนนิวรณ์อันเป็นกิเลสชั้นกลาง แต่เป็นกิเลสละเอียด ที่จิตจมแช่อยู่มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว โดยจมแช่อยู่ อย่างไม่รู้ตัวว่ากำลังจมแช่อยู่ ถ้าเปรียบเทียบให้เป็นรูปธรรมหยาบๆ ก็คล้ายกับร่างกายนี้ จมแช่อยู่ในอากาศ เราแช่ในอากาศมาตั้งแต่เกิด จนลืม จนไม่เคยนึกถึง ถ้าไม่ลงไปแช่ในของหยาบยิ่งกว่านั้น เช่น แช่น้ำ เราจะรู้สึกเหมือนร่างกายนี้เป็นอิสระ ไม่ได้จมแช่อยู่ในอะไรเลย ทั้งที่ความจริง กายนี้จมแช่อยู่ในอากาศมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว จิตเองก็จมแช่หมักดองอยู่ในอาสวกิเลสโดยไม่รู้ตัว แต่อาสวกิเลสที่จิตจมแช่อยู่นั้น มีถึง ๓ ระดับ หรือ ๓ ชนิด สิ่งแรกคือกาม ถัดไปคือภพและอวิชชา จิตของสรรพสัตว์ที่ยังไม่บรรลุพระอนาคามี ล้วนยังจมแช่อยู่ในกามทั้งสิ้น ถ้าทำใจให้สบาย มีสติปัญญาระลีกรู้ไปในกาย จะเห็นว่าจิตจมแช่อยู่ในกาม ซึมซ่านไปทั่วกายตลอดทุกขุมขน ยินดีพอใจในผัสสะทางกายที่เป็นสุข ระแวดระวัง เกลียดกลัวผัสสะทางกายที่เป็นทุกข์ ไม่ผิดอะไรกับสาวงามที่อาบน้ำใหม่ๆ ทาแป้งและของหอมเรียบร้อย มีความอิ่มเอิบพอใจอยู่ทุกขุมขน และเกลียดกลัวสิ่งสกปรกแม้เพียงเล็กน้อยที่จะมากระทบกาย เครื่องดองชั้นหยาบนี้จะถูกทำลายไปเมื่อจิตบรรลุพระอนาคามี เพราะจิตมีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในกาย เห็นแต่ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอสุภะของกาย จึงหมดยางใยที่จะยึดถือในความสุขและความทุกข์ทางกายลงอย่างเด็ดขาด สำหรับภวาสวกิเลสนั้น พวกเราบางคนก็อาจจะเคยเห็นร่องรอยบ้าง คือเมื่อเรามีสติสัมปชัญญะ มีธรรมเอกหรือจิตผู้รู้ เห็นอารมณ์เกิดดับหมุนเวียนไปเรื่อยๆ คือผ่านภพน้อยภพใหญ่นับไม่ถ้วน ในที่สุดเมื่อจิตวางอารมณ์หยาบทั้งหมด มาหยุดรู้อยู่ที่จิตผู้รู้ ก็ยังเห็นอีกว่า จิตผู้รู้ที่กำลังรู้อยู่นั้น เอาเข้าจริงก็ยังเป็นภพอีกอันหนึ่ง จิตจมแช่อยู่ในภพ โดยไม่เคยเห็นเลยว่า กระทั่งจิตที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดแล้วนั้น เอาเข้าจริงก็ยังหลงอยู่ในภพอันหนึ่ง ที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดนั้น ผมเองเมื่อเจริญสติสัมปชัญญะ และเห็นจิตผู้รู้ จะรู้ชัดว่าจิตยังข้องอยู่ในภพ ยังผูกพันอยู่ในภพ เหมือนคนที่ถูกขังอยู่ในห้องขังที่ฝาและเพดานเป็นกระจกใส หรือเป็นแสงที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ดูผิวเผินเหมือนกับคนที่เป็นอิสระ ไม่ได้ถูกกักขัง แต่เอาเข้าจริงแล้ว จิตไม่ได้เป็นอิสระจริง ผู้ที่เคยเข้าถึงความหลุดพ้นชั่วขณะ จะเห็นจิตที่จมแช่ภวาสวกิเลสได้ชัดเจน เพราะสามารถเทียบกับสภาวะที่จิตเป็นอิสระ หลุดพ้นจากภพ ได้อย่างชัดเจน สำหรับอวิชชาสวกิเลสนั้น โยงใยอยู่กับภวาสวกิเลส คือที่จิตยังติดข้องอยู่ในภพ หรือจมแช่อยู่ด้วยภวาสวกิเลสนั้น ก็เพราะจิตยังถูกย้อมด้วยอวิชชา และปราศจากวิชชา คือยังมองไม่เห็น ทุกข์ มองไม่ออกว่า จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน คือมองไม่เห็นว่า เจตนาที่จะประคองรักษาจิต ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ ๔ แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้ เรา (พระศาสดา) ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่ เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่ เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่ เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออก..ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น ธรรมตรงนี้ท่านแสดงไว้อย่างชัดเจนถึง กะเปาะฟองที่ห่อหุ้ม (จิต) สิ่งนี้ก็คือห้องขังที่มองไม่เห็น ที่ขังให้จิตติดข้องอยู่ในอาสวกิเลส และทรงกล่าวถึงการชำแรกออก หรือทำลายออกจากกะเปาะนั้น เพราะมีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจจ์ และเห็นแจ้งอาวสกิเลส ฟังผิวเผินเหมือนเป็นถ้อยคำเปรียบเทียบของพระองค์ แต่ผู้ปฏิบัติที่พบเห็นสภาวะ ภพของจิตผู้รู้ อ่านตรงนี้แล้วจะสะดุ้งใจ เพราะจะรู้สึกว่า พระองค์รับสั่งถึงสภาวะอันหนึ่งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด เพราะเห็นชัดว่า จิตถูกขัง ถูกแช่จม อยู่ในขอบเขตอันหนึ่งจริงๆ ผมมีเรื่องอยู่เรื่องหนึ่ง ที่จะเล่าให้พวกเราฟังกันเป็นการภายใน ดังนี้ เมื่อประมาณปี ๒๕๒๖ ผมได้ไปกราบหลวงพ่อพุธ ที่วัดป่าสาลวัน ท่านได้ถามถึงธรรมที่หลวงปู่ดูลย์สอนผม อันเป็นเรื่องการทำลายผู้รู้ แล้วท่านก็กล่าวว่า หลวงปู่ดูลย์ก็สอนท่านอย่างเดียวกันนี้ จากนั้นท่านก็เมตตา ให้โอกาสแก่ผมด้วยกุสโลบาย คือตามธรรมเนียมของผู้ปฏิบัติแล้ว จะไม่ก้าวก่ายเข้าไปสอนศิษย์ของท่านผู้อาวุโสกว่า หลวงพ่อจึงไม่บอกว่า จะสอนธรรมให้แก่ผม แต่กลับบอกว่า "คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกันไว้ ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อน ให้มาบอกวิธีแก่กัน" เมื่อ ๒๕๒๖ ผมมีโอกาสพบท่านอีกครั้งหนึ่ง เข้าไปกราบท่าน รายงานตัวฟื้นความหลังให้ว่าผมเป็นใคร ท่านก็บอกว่า ท่านจำได้ ผมก็กราบเรียนท่านว่า จนป่านนี้ผมยังทำลายจิตผู้รู้ไม่ได้เลย ขออุบายวิธีปฏิบัติจากหลวงพ่อ เพื่อทำลายผู้รู้ด้วยเถิด หลวงพ่อตอบว่า “จิตผู้รู้ก็เหมือนฟองไข่ เมื่อจิตมีปัญญาแก่รอบแล้ว จิตจะทำลายสิ่งห่อหุ้มนั้นออกมาเอง เหมือนลูกไก่ที่โตได้ที่แล้ว เจาะทำลายเปลือกไข่ออกมาเอง”

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่น“จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นนิโรธ” “อนึ่ง ตามสภาพที่แท้จริงของจิต ย่อมส่งออกนอกเพื่อรับอารมณ์นั้นๆ โดยธรรมชาติของมันเอง ก็แต่ว่าถ้าจิตส่งออกนอกได้รับอารมณ์แล้ว จิตเกิดหวั่นไหวหรือกระเพื่อมไปตามอารมณ์นั้น เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตหวั่นไหวหรือกระเพื่อมไปตามอารมณ์นั้นๆ เป็นทุกข์ ถ้าจิตที่ส่งออกนอกได้รับอารมณ์แล้ว แต่ไม่หวั่นไหว หรือไม่กระเพื่อมไปตามอารมณ์นั้นๆ มีสติอยู่อย่างสมบูรณ์ เป็ฯมรรคผลอันเกิดจากจิตไม่หวั่นไหว หรือไม่กระเพื่อม เพราะมีสติอยู่อย่างสมบูรณ์ เป็นนิโรธ พระอริยเจ้าทั้งหลายมีจิตไม่ส่งออกนอก จิตไม่หวั่นไหว จิตไม่กระเพื่อม เป็นวิหารธรรม จบอริยสัจจ์ ๔” อริยสัจแห่งจิต เป็นปรมัตถธรรมที่ลึกซึ้งกว้างขวาง และครอบคลุมคำสอนทั้งหมดของหลวงปู่

จิตเห็นจิตเป็นมรรคหลวงปู่ดูลย์ อธิบาย จิตเห็นจิตเป็นมรรค ..ทำญาณให้เห็นจิตเหมือนดั่งตาเห็นรูป... ..เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความตรัสรู้พร้อม เป็นไปเพื่อตรัสรู้ยิ่ง เพื่อพระนิพพาน..ทางตรงอยู่ตรงนี้.. โดยความจริงอันสูงสุดเเล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายในความเป็นตัวตน เเม้เเต่สักปรมาณูเดียว จิตนั้น ไม่มีตัวตนอะไรหรอก.. จิตนั้น โดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต เเต่ถึงกระนั้น..มันก็ยังไม่ใช่ ไม่ใช่จิต ..ย่อมหมายถึง สิ่งบางสิ่ง ที่มีอยู่จริง.. สิ่งนี้ คือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่เเล้ว ทุกเเห่งอันสงบเงียบ ไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุข สิ่งทีอยู่ตรงหน้าเรานี้เเหละ คือ สิ่งสิ่งนั้น ไม่มีอะไร..นอกไปจากนี้อีกเเล้ว...

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ สวนสันติธรรม วันศุกร์ ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๔

คาถาธรรมบทบาลีฮินดีมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น

กรรมฐาน 40 11 กายคตานุสสติกรรมฐาน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ "ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย

กายคตาสติกรรมฐานการพิจารณาร่างกาย "ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย

หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙ "ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย

วันพุธที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2557

คาถาธรรมบทบาลีฮินดี พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ๑๔. พุทธวรรค หมวดพระพุทธเจ้า ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องพระพุทธเจ้า พุทธภาวะ และคำสั่งสอน คำว่า พระพุทธเจ้า คือ ผู้ที่ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณด้วยพระองค์เอง และทรงสามารถสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้ การอุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้า การอุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้าเป็นสิ่งที่หาได้ยากยิ่ง ดังที่ตรัสว่า “กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท” การที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงอุบัติขึ้น ยากยิ่งนัก ผู้ที่จะมาเกิดเป็นพระพุทธเจ้าได้นั้น ถ้าต้องการเกิดเป็นพระพุทธเจ้าผู้เลิศทางปัญญา (ปัญญาธิกะ) ต้องบำเพ็ญบารมี ๓๐ ประการ เป็นเวลานานถึง ๔ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป ถ้าต้องการเกิดเป็นพระพุทธเจ้าผู้เลิศทางศรัทธา (สัทธาธิกะ) ต้องบำเพ็ญบารมีเป็นเวลานานถึง ๘ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป ถ้าต้องการเกิดเป็นพระพุทธเจ้าผู้เลิศทางความเพียร (วิริยาธิกะ) ต้องบำเพ็ญบารมีเป็นเวลานานถึง ๑๖ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป (ดูเทียบกับ ขุ.อป. (แปล) ๓๒/๑-๘๒/๑-๑๒, วิสุทฺธิ. ๒/๔๙-๕๐) พุทธภาวะ คือ คุณสมบัติของพระพุทธเจ้า เช่น ทรงกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ไม่มีร่องรอย ทรงก้าวล่วงมารและเสนามาร สามารถแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ได้ เช่น ยมกปาฏิหาริย์ (การแสดงปาฏิหาริย์เป็นคู่ เช่น เนรมิตสายน้ำกับสายไฟเป็นคู่ ๆ เนรมิตพระพุทธเจ้าเป็น ๒ องค์ ดู ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ ยมกปาฏิหาริยวัตถุ) ทรงเป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของมนุษย์ เพราะทำให้ถึงความหลุดพ้นจากกองทุกข์ทั้งปวง หลักคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ทรงแสดงหลักคำสั่งสอนสำคัญของพระพุทธศาสนาไว้ในธรรมบทวรรคนี้ว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯเปฯ การไม่ทำบาปทั้งปวง การทำกุศลให้ถึงพร้อม การทำจิตของตนให้ผ่องแผ้ว นี้คือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฯลฯอนึ่ง พระองค์ตรัสไว้ว่า บุญที่เกิดจากการบูชาพระพุทธเจ้าหรือพระสาวก ใคร ๆ ไม่สามารถนับได้ว่า เป็นบุญประมาณเท่าไร ๑๕. สุขวรรค หมวดความสุข ในวรรคนี้ ทรงสอนวิธีสร้างความสุขที่แท้จริงให้แก่ชีวิต โดยสรุป คือ ๑. ไม่ก่อเวร ๒. ไม่ทำตนให้เดือดร้อน ๓. กำจัดความกังวล ๔. ละความชนะและความพ่ายแพ้ ๕. แสวงหาความสงบกับนักปราชญ์ ๖. คบหาพระอริยะ อยู่ร่วม ๗. ไม่คบคนพาล ทรงชี้ให้เห็นว่า การแข่งดีมุ่งจะเอาชนะผู้อื่นทำให้ไม่มีความสุข ก่อให้เกิดภัยเวร ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทที่ว่า ชยํ เวรํ ปสวติ ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต อุปสนฺโต สุขํ เสติ หิตฺวา ชยปราชยํ ฯ ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้พ่ายแพ้ย่อมนอนเป็นทุกข์ ผู้ละทั้งความชนะและความพ่ายแพ้ได้แล้ว มีใจสงบ ย่อมนอนเป็นสุขธรรมบทที่แสดงถึงสิ่งสุดยอดต่าง ๆ ในวรรคนี้ คือ ยอดแห่งไฟ : นตฺถิ ราคสโม อคฺคิ ไฟเสมอด้วยราคะไม่มี ยอดแห่งโทษ : นตฺถิ โทสสโม กลิ โทษเสมอด้วยโทสะไม่มี ยอดแห่งทุกข์ : นตฺถิ ขนฺธสมา ทุกฺขา ทุกข์เสมอด้วยขันธ์ ๕ ไม่มี ยอดแห่งสุข : นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ยอดแห่งโรค : ชิคจฺฉา ปรมา โรคา ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง ยอดแห่งทุกข์ : (อีกอย่างหนึ่ง) สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง ยอดแห่งสุข : (อีกอย่างหนึ่ง) นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง ยอดแห่งลาภ : อาโรคฺยปรมา ลาภา ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง ยอดแห่งทรัพย์ : สนฺตุฏฺฐิ ปรมํ ธนํ ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง ยอดแห่งญาติ : วิสฺสาสา ปรมา ญาติ ความคุ้นเคยเป็นญาติอย่างยิ่ง ๑๖. ปิยวรรค หมวดสิ่งอันเป็นที่รัก ในวรรคนี้ ทรงสอนวิธีที่ควรปฏิบัติต่อสิ่งอันเป็นที่รัก คำว่า สิ่งอันเป็นที่รัก มี ๒ ประเภท คือ ๑. ทางโลก หมายถึง รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ(สิ่งที่มากระทบ) และธรรมารมณ์ ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ หรือหมายถึงกิเลสตัณหา ๒. ทางธรรม หมายถึง ศีล สมาธิ ปัญญา นิพพาน บุญกุศล วิธีปฏิบัติต่อสิ่งอันเป็นที่รัก สิ่งอันเป็นที่รักทางโลกเป็นเหตุให้เกิดความเศร้าโศกและภัยต่าง ๆ ผู้ปราศจาก สิ่งอันเป็นที่รักย่อมไม่มีความเศร้าโศกและภัย ฉะนั้น จึงควรหาทางหลุดพ้น หาทางกำจัดกิเลสตัณหาที่จะเกิดขึ้นจากสิ่งอันเป็นที่รักเหล่านั้น ดังที่ตรัสสอนไว้ว่า ปิยโต ชายตี โสโก ปิยโต ชายตี ภยํ ปิยโต วิปฺปมุตฺตสฺส นตฺถิ โสโก กุโต ภยํ ความโศกเกิดจากสิ่งเป็นที่รัก ภัยก็เกิดจากสิ่งเป็นที่รัก ผู้พ้นจากสิ่งเป้ฯที่รักได้เด็ดขาด ย่อมไม่มีความโศกและภัยจากที่ไหนเลยสิ่งอันเป็นที่รักในทางธรรม ทรงสอนให้บำเพ็ญศีล สมาธิ และปัญญา ผู้ประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้ ย่อมจะเป็นที่รักของทุกคน เมื่อจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้าย่อมมีบุญคอยต้อนรับ ๑๗. โกธวรรค หมวดความโกรธ ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความโกรธ โทษแห่งความโกรธ วิธีละความโกรธ ประโยชน์ของการละความโกรธ วิธีละความโกรธ คือ ให้เห็นว่าเป็นโลกธรรม มีมานานแล้ว ทุกยุคทุกสมัย เช่น ความโกรธที่เกิดจากถูกนินทาว่าร้ายทรงสอนว่า “นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต” คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลกหน้าที่ของเราคือ สำรวมกาย วาจา ใจ ไม่ให้กำเริบ มีศีลมั่นคง ดำรงชีวิตให้ปราศจากข้อที่ควรตำหนิ ถ้ามีคนโกรธ พึงปฏิบัติตามธรรมบทที่ว่า อกฺโกเธน ชิเน โกธํ อสาธุ สาธุนา ชิเน ชิเน กทริยํ ทาเนน สจฺเจนาลิกวาทินํ บุคคลพึงชนะคนโกรธด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดีด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ด้วยการให้ พึงชนะคนพูดเหลาะแหละด้วยคำสัตย์ ๑๘. มลวรค หมวดมลทิน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องมลทิน คือ มลทินชองชีวิต ได้แก่ กิเลสและอกุศลกรรม มลทินของมนต์ ได้แก่ การไม่ท่องบ่น มลทินของบ้านเรือน ได้แก่ ความไม่ขยัน มลทินของผิวพรรณ ได้แก่ ความเกียจคร้านชำระร่างกาย มลทินของผู้รักษา ได้แก่ ความประมาท มลทินของคู่สามีภรรยา ได้แก่ การนอกใจกันมลทินดังกล่าวมานี้ ย่อมทำลายชีวิตของผู้ที่มีมลทิน เหมือนสนิมที่เกิดจากเหล็กก็กัดกินเหล็กนั้นนั่นเอง ผู้มีปัญญาควรกำจัดมลทินของตนทีละน้อย ทุกขณะ โดยลำดับ เหมือนช่างทองกำจัดสนิมทอง ๑๙. ธัมมัฏฐวรรค หมวดผู้ตั้งอยู่ในธรรม ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคุณธรรมที่ทำให้ชื่อว่าเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม โดยทรงแสดงไปตามหน้าที่ของแต่ละบุคคลที่ทรงตรัสถึง ดังนี้ คุณธรรมของผู้พิพากษา คือ วินิจฉัยคดี และสาเหตุแห่งคดี ทั้งฝ่ายที่เป็นจริง และไม่เป็นจริง วินิจฉัยโดยไม่ผลีผลาม เที่ยงธรรม (ถูกต้องตามหลักการ ไม่ลำเอียง) และโดยสม่ำเสมอ (เสมอภาคกับทุกคน ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง) คุณธรรมของบัณฑิต คือ มีความเกษม ไม่มีเวร ไม่มีภัย คุณธรรมของผู้ทรงธรรม คือ บุคคลไม่ชื่อว่าผู้ทรงธรรม เพียงเพราะพูดมาก ส่วนผู้ใดได้สดับธรรมน้อย แต่พิจารณาเห็นธรรมด้วยนามกาย ทั้งไม่ประมาทธรรมนั้น ผู้นั้นชื่อว่าผู้ทรงธรรม คุณธรรมของพระเถระ คือ บุคคลไม่ชื่อว่าเป็นเถระ เพียงเพราะมีผมหงอก ผู้ที่แก่แต่วัยเท่านั้น เรียกว่าคนแก่เปล่า ส่วนผู้มีสัจจะ มีธรรม มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม ฝึกตน ละมลทินได้ เป็นปราชญ์ ชื่อว่า เถระ พระบาลีว่า น เตน เถโร โหติ เยนสฺส ปลิตํสิโร ปริปกฺโก วโย ตสฺส โมฆชิณฺโณติ วุจฺจติ ฯเปฯ บุคคลไม่ชื่อว่าเป็นเถระเพียงเพราะมีผมหงอก ผู้ที่แแก่แต่วัยเท่านั้น เรียกว่าคนแก่เปล่า ส่วนผู้มีสัจจะมีธรรม มีอหิงสา สัญญมะ และทมะ คายมลทินได้แล้ว เป็นปราชญ์ ชื่อว่าเถระคุณธรรมของคนดี คือ ละความริษยาได้เด็ดขาด กำจัดโทษได้ มีปัญญา คุณธรรมของสมณะ คือ ผู้ที่ไม่มีวัตร พูดจาเหลาะแหละ แม้มีศีรษะโล้น ก็ไม่ชื่อว่า สมณะ เขาเต็มไปด้วยความปรารถนาและความอยากได้ จะเป็นสมณะได้อย่างไร ส่วนผู้ใดระงับบาปน้อยใหญ่ลงได้โดยสิ้นเชิง ผู้นั้น จึงเรียกว่า สมณะ คุณธรรมของภิกษุ คือ เป็นผู้ลอยบุญและบาปได้ ประพฤติพรหมจรรย์ มีปัญญา คุณธรรมของมุนี คือ บุคคลโง่เขลา ไม่รู้อะไร เพียงแต่นั่งนิ่ง ๆ หาชื่อว่ามุนีไม่ ส่วนบุคคลผู้ฉลาด เลือกชั่งเอาแต่สิ่งที่ดี ละทิ้งสิ่งที่ชั่ว เหมือนบุคคลชั่งสิ่งของ จึงจะชื่อว่า มุนี แท้ ผู้ที่รู้โลกทั้งสอง ก็เรียกว่า มุนี เช่นกัน คุณธรรมของผู้เป็นอริยะ คือ ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๒๐. มัคควรรค หมวดมรรค(ทาง) ในวรรคนี้ ทรงแสดงอริยมรรคมีองค์ ๘ ว่าเป็นทางอันประเสริฐที่สุด ทรงย้ำว่า “ทางเพื่อความหมดจดแห่งทรรศนะ คือทางนี้เท่านั้น มิใช่ทางอื่น เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายจงดำเนินไปตามทางนี้แล เพราะทางนี้เป็นทางลวงมารให้หลง อนึ่ง เธอทั้งหลายดำเนินไปตามทางนี้แล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ เรารู้วิธีถอนลูกศรคือกิเลสแล้ว จึงชี้บอกทางนี้แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายควรทำความเพียรเองเถิด ตถาคตเป็นเพียงผู้ชี้บอกเท่านั้น ผู้บำเพ็ญภาวนา ดำเนินตามทางนี้แล้ว เพ่งพินิจอยู่ จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้”เหตุที่ทำให้ไม่พบทาง (อริยมรรค) คือ ไม่ขยัน เกียจคร้าน มีความคิดใฝ่ต่ำ ปราศจากความเพียร จึงไม่ประสบทางด้วยปัญญา (ปธานกัมมิกติสสเถรวัตถุ) วิธีที่จะทำให้พบทาง คือ รักษากาย วาจา สำรวมใจ และไม่พึงทำความชั่วทางกาย พึงชำระกรรมบถ(กาย วาจา ใจ) ทั้ง ๓ ทางนี้ ให้หมดจดจึงจะพบทางที่พระพุทธเจ้าประกาศไว้ (สูกรเปตวัตถุ) ทรงตักเตือนให้เตรียมทางว่า บุคคลเมื่อถึงคราวจะตาย บุตรทั้งหลายก็ต้านทานไม่ได้ บิดาก็ต้านทานไม่ได้ พวกพ้องก็ต้านทานไม่ได้ แม้ญาติพี่น้องก็ต้านทานไม่ได้ บัณฑิตผู้สำรวมในศีล รู้ความจริงนี้แล้ว พึงรีบเร่งชำระทางอันจะนำไปสู่นิพพาน ๒๑. ปกิณณกวรรค หมวดเบ็ดเตล็ด ในวรรคนี้ ทรงสอนหลักธรรมทั่วไป เช่น -ในเรื่องบุรพกรรมของพระองค์ ทรงสอนให้สละสุขเล็กน้อยเพื่อความสุขอันยิ่งใหญ่ -ในเรื่องกุมาริกากินไข่ไก่ ทรงสอนว่า ผู้หาความสุขจากความทุกข์ของผู้อื่น ไม่พ้นจากเวรไปได้ -ในเรื่องภิกษุโอรสของเจ้าวัชชี ผู้เห็นชาวเมืองจัดงานสมโภช คิดจะสึกไปครองเรือน ทรงสอนว่า การบวชเป็นของยาก ความยินดีในการบำเพ็ญธรรมก็เป็นของยาก เรือนที่ครอบครองไม่ดี ก่อให้เกิดทุกข์ การอยู่ร่วมกับคนเสมอกันเป็นทุกข์ การเดินทางไกล (คือ วัฏฏะ) ก็เป็นทุกข ์เพราะฉะนั้น บุคคลจึงไม่ควรเดินทางไกล และไม่ควรให้ทุกข์ติดตามได้-ในเรื่องจูฬสุภัททา ทรงเปรียบเทียบคนดีกับคนชั่วว่า สัตบุรุษย่อมปรากฏเด่นชัด เหมือนขุนเขาหิมพานต์ ส่วนอสัตบุรุษย่อมไม่ปรากฏ เหมือนลูกศรที่ยิงไปในเวลากลางคืน ๒๒. นิรยวรรค หมวดเรื่องนรก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องนรก ซึ่งเป็นสถานที่รองรับคนชั่ว รวมทั้งผู้ที่ต้องตกนรก ซึ่งเป็นผู้ที่ทำกรรมชั่วต่าง ๆ เช่น ๑. ชอบกล่าวคำไม่จริง ๒. ทำความชั่ว ซ้ำยังโกหกว่าไม่ได้ทำ ๓. เป็นภิกษุ แต่มีธรรมเลวทราม ไม่สำรวม ปฏิบัติไม่ดี ๔. ละอายในสิ่งที่ไม่ควรละอาย ไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย กลัวในสิ่งที่ไม่ควรกลัว ไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว เห็นสิ่งที่ไม่มีโทษว่ามีโทษ เห็นสิ่งที่มีโทษว่าไม่มีโทษ ผู้ที่ทำดีตรงกันข้ามกับความชั่วดังกล่าวมาแล้ว ย่อมไปสู่สวรรค์ แนวทางปฏิบัติในเรื่องความดีความชั่ว ตรัสสอนไว้ว่า อกตํ ทุกฺกตํ เสยฺโย ปจฺฉา ตปฺปติ ทุกฺกตํ กตญฺจ สุกตํ เสยฺโย ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ ความชั่วไม่ทำเสียเลยดีกว่า เพราะระลึกถึงความชั่ว บุคคลย่อมเดือดร้อนในภายหลัง ส่วนความดีทำไว้เถิดดีกว่า เพราะทำแล้วระลึกถึงภายหลัง บุคคลย่อมไม่เดือดร้อน ๒๓. นาควรรค หมวดช้าง ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องการฝึกตนเปรียบเทียบกับการฝึกช้าง เนื่องจากช้างเป็นสัตว์สำคัญในการสงคราม การเดินทาง และเป็นสัตว์ที่ฝึกง่าย เมื่อได้รับการฝึกดีแล้ว ย่อมเป็นสัตว์ฉลาด มีความอดทนสูง ผู้ที่ฝึกตนได้แล้ว ประเสริฐกว่าช้างที่ฝึกแล้ว ครั้งหนึ่ง พระพุทธเจ้าถูกใส่ร้าย ถูกด่าว่าด้วยคำหยาบคาย ท่านพระอานนท์กราบทูลให้เสด็จไปเสียจากที่นั้น พระองค์ตรัสว่า อหํ นาโคว สงฺคาเม จาปาโต ปติตํ สรํ อติวากฺยนฺติติกฺขิสฺสํ ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน เราจักอดกลั้นซึ่งคำล่วงเกิน ดุจช้างอดทนซึ่งลูกศร ที่ออกมาจากแล่งในสงคราม เพราะคนทุศีลมีมาก ผู้ที่ไม่ฝึกฝนตนพระองค์ได้ตรัสเปรียบเทียบกับหมู ดังนี้ มิทฺธี ยทา โหติ มหคฺฆโส จ นิทฺทายิตา สมฺปริวตฺตสายี มหาวราโหว นิวาปปุฏฺโฐ ปุนปฺปุนํ คพฺภมุเปติ มนฺโท เมื่อใด บุคคลผู้ถูกความง่วงเหงาครอบงำ บริโภคมาก ชอบแต่นอนกลิ้งเกลือกไปมา เมื่อนั้น เขาย่อมมีปัญญาเฉื่อยชา ชอบเข้าห้องเป็นอาจิณ เหมือนสุกรอ้วนที่เขาขุนด้วยเศษอาหาร ฉะนั้น วิธีฝึกตน จะแสดงพอเป็นแนวทาง คือ ๑. ให้ฝึกจิตที่ชอบฟุ้งซ่าน เหมือนควาญช้างปราบพยศช้างตกมัน ๒. ฝึกถอนตนออกจากหล่มคือกิเลส เหมือนช้างแก่จมโคลนถอนตัวขึ้นไม่ได้ พอได้ยินเสียงกลองรบก็สามารถถอนตัวขึ้นได้ เพราะเคยฝึกฝนและผ่านสนามรบมาแล้ว .๓. ฝึกคบกับสหายผู้มีปัญญา มีความประพฤติดี เป็นนักปราชญ์ ๔. ฝึกเป็นคนมีความสุข ตามวิธีต่าง ๆ ที่ตรัสไว้ว่า เมื่อมีกิจเกิดขึ้น สหายทั้งหลายนำสุขมาให้ ความยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้ นำสุขมาให้ ในเวลาสิ้นชีวิต บุญนำสุขมาให้ การละทุกข์ได้ทั้งหมด นำสุขมาให้ ในโลก การเกื้อกูลมารดา นำสุขมาให้ การเกื้อกูลบิดา นำสุขมาให้ การเกื้อกูลสมณะ นำสุขมาให้ การเกื้อกูลท่านผู้ประเสริฐ นำสุขมาให้ ศีลนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา ศรัทธาที่ตั้งมั่นแล้ว นำสุขมาให้ การไม่ทำบาปทั้งหลาย ก็นำสุขมาให้ ๒๔. ตัณหาวรรค หมวดตัณหา ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักตัณหา (ความทะยานอยาก) ๓ ประการ คือ (๑) กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม (๒) ภวตัณหา ความอยากเป็น (๓) วิภวตัณหา ความไม่อยากเป็น ตัณหา ๓ ประการนี้ เกิดขึ้นแก่คนที่ประมาท เหมือนเถาย่านทรายเจริญอยู่ในป่า และเกิดแก่ผู้ที่กำหนัดยินดีด้วยราคะ ดังที่ตรัสไว้ในเรื่องพระนางเขมาเถรีว่า “สัตว์ทั้งหลายผู้กำหนัดยินดีด้วยราคะ ย่อมตกไปสู่กระแสตัณหา เหมือนแมงมุมติดใยที่ตนถักไว้เอง” ผลจากการถูกตัณหาครอบงำ ผู้ที่ตกอยู่ใต้อำนาจของตัณหา มีลักษณะ คือ -เร่ร่อนไปมา เหมือนวานรที่ต้องการผลไม้เที่ยวเร่ร่อนไปมาในป่า -เกิดความเศร้าโศก เข้าถึงชาติชราร่ำไป เกิดความทุกข์ -เมื่อถูกตัณหาครอบงำ ย่อมสะดุ้ง ดิ้นรน เหมือนกระต่ายติดบ่วง วิธีกำจัดตัณหา คือ มีปัญญา เจริญฌาน ผลดีจากการกำจัดตัณหาได้ คือ -ทำให้ความโศกสิ้นไป เหมือนหยาดน้ำกลิ้งตกไปจากใบบัว -ละทุกข์ทั้งปวงได้ -ไม่ต้องเกิดอีกต่อไป -ทำให้สิ้นตัณหา ซึ่งเป็นการชนะทุกข์ทั้งปวง ดังที่ตรัสไว้ว่า สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ สพฺพํ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ สพฺพํ รตึ ธมฺมรตี ชินาติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ การให้ธรรม ชนะการให้ทั้งปวง รสแห่งธรรม ชนะรสทั้งปวง ความยินดีในธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง ความสิ้นตัณหา ชนะทุกข์ทั้งปวง -ทานที่ให้แก่คนที่ปราศจากราคะ โทสะ โมหะ และตัณหา มีผลมากกว่าทานที่ให้แก่คนที่มีกิเลสเหล่านั้น ๒๕. ภิกขุวรรค หมวดภิกษุ ในวรรคนี้ ทรงแสดงเรื่องภิกษุ ทรงสอนว่า สิ่งแรกที่ภิกษุผู้มีปัญญาในศาสนานี้ต้องกระทำคือ สำรวมอินทรีย์ มักน้อยสันโดษ ระมัดระวังในวินัยบัญญัติ คบกัลยาณมิตร ผู้ขยันขันแข็ง มีอาชีพสะอาด ทรงสอนไม่ให้เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลาย มุ่งเจริญกรรมฐาน ไม่ถือมั่นในรูป ไม่ประมาท รู้จักตักเตือนตนเอง รู้จักพึ่งตนเอง ดังพระอมตพจน์ที่ว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ อตฺตา หิ อตฺตโน คติ ตสฺมา สญฺญม อตฺตานํ อสฺสํ ภทฺรํว วาณิโช ฯ ตนแล เป็นที่พึ่งของตน ตนแล เป็นคติของตน เพาะฉะนั้น เธอจงสงวนตนให้ดี เหมือนพ่อค้าม้าสงวนม้าพันธุ์ดี ฉะนั้นทรงสอนให้พัฒนาปัญญาว่า นตฺถิ ฌานํ อปญฺญสฺส นตฺถิ ปญฺญา อฌายิโน ฯเปฯ ฌานย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีปัญญา ปัญญาก็ย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีฌาน ผู้ใดมีทั้งฌานและปัญญานั่นแล จึงนับว่าอยู่ใกล้นิพพาน ๒๖. พราหมณวรรค หมวดพราหมณ์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพราหมณ์ ตามพุทธทรรศนะ เดิมที คำว่า พราหมณ์ เป็นคำเรียกวรรณะพราหณ์ของชาวอินเดีย เมื่อพระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้น พระองค์ทรงบัญญัติคุณสมบัติของพราหมณ์ใหม่ ซึ่งก็คือพระขีณาสพนั่นเอง คุณสมบัติของพราหมณ์หรือพระขีณาสพที่ทรงแสดงไว้ในวรรคนี้ เป็นคุณสมบัติและปฏิปทาของพระสาวกแต่ละท่าน เช่น ไม่มีกรรมชั่วทางกาย วาจา ใจ มีความสำรวมระวัง มีสัจจะ มีธรรม เป็นผู้สะอาด ทรงแสดงเพื่อให้เป็นเยี่ยงอย่างในการนำไปปฏิบัติ มีจำนวนพระสูตรถึง ๓๑ สูตร ธรรมบทที่นำมากล่าวไว้นี้ ถ้าหากอ่านด้วยความพิจารณาแล้ว แม้บทเดียวก็ให้ประโยชน์มหาศาล คงพอจะเป็นแนวทางในการนำไปปฏิบัติแก่ท่านที่สนใจ ก่อนจบ ขอฝากธรรมบทบทหนึ่งไว้เตือนใจผู้อ่านว่า วาจาสุภาษิต ย่อมไม่มีผลแก่ผู้ไม่ทำตาม เหมือนดอกไม้งาม มีสีสวย (แต่) ไม่มีกลิ่น วาจาสุภาษิต ย่อมมีผลแก่ผู้ทำตามด้วยดี เหมือนดอกไม้งาม มีทั้งสีและกลิ่น (มีสีสวยกลิ่นหอม) ฉะนั้น ฯ บรรณานุกรม มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๙. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๐. คณะกรรมการแผนกตำรา. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระธัมมปทัฏฐกถาแปลภาค ๑-๘. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏ ราชวิทยาลัย, ๒๕๒๘. เสฐียรพงษ์ วรรณปก. พุทธวจนะในธรรมบท. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ปรินท์ติ้ง จำกัด, ๒๕๓๑. สหภูมิสงฆ์พิจิตร, คาถาพระธรรมบทคำกลอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, ๒๕๓๑. อักษรย่อชื่อคัมภีร์ ม.ม. มัชฌิมนิกาย มัชฌินปัณณาสก์ สํ.ม. สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ขุ.ธ.อ. ขุททกนิกาย ธัมมปทัฏฐกถา วิสุทฺธิ. วิสุทฺธิมคฺค

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

ซอทำนองพม่า เชียงตุง

วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิธีการเข้าถึงธรรมที่พระพุุทธเจ้าทรงสอน

Драйвер для Трёх фазного двигателя

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง โทษของกาม ปัญหา พระพุทธเจ้าทรงอธิบายเปรียบเทียบความสุข อันเกิดแต่กามไว้อย่างไรบ้าง? พุทธดำรัสตอบ “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนสุนัขอันความเพลียเพราะความหิวเบียดเบียนแล้ว พึงเข้าไปยืนอยู่ใกล้เขียงของนายโคฆาต นายโคฆาตหรือลูกมือของนายโคฆาตผู้ฉลาด พึงโยนร่างกระดูกที่เชือดชำแหลออกจนหมดเนื้อแล้วเปื้อนแต่เลือดไปยังสุนัข ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเปรียบด้วยร่างกระดูก มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนแร้งก็ดี นกตะกรุมก็ดี เหยี่ยวก็ดี พาชิ้นเนื้อบินไป แร้งทั้งหลาย หรือนกตะรุมทั้งหลาย หรือเหยี่ยวทั้งหลายจะพึงโผเข้ารุมจิกแย่งชิ้นเนื้อนั้น ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยชิ้นเนื้อ มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงถือคบเพลิงหญ้าอันไฟติดทั่วแล้ว เดินทวนลมไปฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยคบเพลิง มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิงลึกกว่าชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้วยถ่านเพลิงอันปราศจากเปลว ปราศจากควัน บุรุษผู้รักชีวิต ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ พึงมา บุรุษมีกำลังสองคนช่วยกันจับแขนบุรุษนั้นข้างละคน ฉุดเข้าไปยังหลุมถ่านเพลิง ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบเหมือนหลุมถ่ายเพลิง มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงฝันเห็นสวนอันน่ารื่นรมย์ ป่าอันน่ารื่นรมย์ ภาคพื้นอันน่ารื่นรมย์ สระโบกขรณีอันน่ารื่นรมย์ บุรุษนั้นตื่นขึ้นแล้ว ไม่พึงเห็นอะไร ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยความฝัน มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงยืมโภคสมบัติ มีแก้วมณีและกุณฑลอย่างดีบรรทุกยานไป เขาแวดล้อมด้วยทรัพย์สมบัติที่ตนยืมมา พึงเดินไปภายในตลาด คนเห็นเขาเข้าแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนท่านผู้เจริญบุรุษผู้นี้มีโภคสมบัติหนอ ได้ยินว่าชนทั้งหลายผู้มีโภคสมบัติ ย่อมใช้สอยโภคสมบัติอย่างนี้ดังนี้ พวกเจ้าของพึงพบบุรุษนั้น ณ ที่ใดๆ พึงนำเอาของตนคืนไปในที่นั้นๆ ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยของยืม มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนราวป่าใหญ่ที่ไม่ไกลบ้านหรือนิคม ต้นไม้ในราวป่านั้น พึงมีผลรสอร่อย ทั้งมีผลดก แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว บุรุษผู้ต้องการผลไม้ พึงมาเที่ยวเสาะแสวงหาผลไม้ เขาแวะยังราวป่านั้น เห็นต้นไม้อันมีผลรสอร่อย มีผลดกนั้น เขาพึงคิดอย่างนี้ว่าต้นไม้นี้มีผลรสอร่อย มีผลดก แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว แต่เรารู้เพื่อขึ้นต้นไม้ ไฉนหนอ เราพึงขึ้นต้นไม่นี้แล้วกินพออิ่ม และห่อพกไปบ้าง เราขึ้นต้นไม้นั้นแล้ว กินจนอิ่มและห่อพกไว้ ลำดับนั้นบุรุษคนที่สองต้องการผลไม้ ถือขวานอันคมเที่ยวมาเสาะแสวงหาผลไม้เขาแวะยังราวป่านั้นแล้ว เห็นต้นไม้มีผลรสอร่อย มีผลดกนั้น เขาพึงคิดอย่างนี้ว่า ต้นไม้นี้มีผลรสอร่อย แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว และเราก็ไม่รู้เพื่อขึ้นต้นไม้ ไฉนหนอ เราพึงตัดต้นไม้นี้แค่โคนต้นแล้วกินพออิ่ม และห่อพกไปบ้าง เขาพึงตัดต้นนั้นแค่โคนต้น ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยผลไม้ มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง...”

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วิธีส่งจิตใจไปในกายในใจของเราจะพบทางพระนิพพาน"ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย

เรื่องของ บารมี เทศนาธรรมโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ"ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย

หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙"ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ

ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัยและพระสารีบุตร พระธรรมเสนาบดี สารีบุตร แสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ไปที่พัก กลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่ พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้น ตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระ พุทธเจ้าทั้งหลาย จักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพาน ก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุ สังขารของตน รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วัน เท่านั้น พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจีบที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยกำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของ พระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันใน ที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคย กันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมือง คือ พระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิทไม่มีภัย ที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑ - หน้าที่ 429 ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไร ๆ ขอเธอที่เป็นไปทาง กาย หรือทางวาจา ที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญ กาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นใน ลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วย ภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์ และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อม กันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้ว จนถึงน้ำเป็นที่สุด พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูล แล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็น พระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลี ซึ่งรุ่งเรื่องด้วยการ ประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวาย บังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. เมื่อนางพราหมณี เห็นพวกเทวดา เทวดาเหล่านี้ ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป ..................... ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่ พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่า นี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติ ห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดา เที่ยว. บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลัง ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเห็นว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้ว ศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จ ออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่น ไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัส- สนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้า ที่ขยาย ให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณี ดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผล แล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนั้น พ่อไม่ได้ให้ อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้ เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดู สำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วย เหตุเท่านี้ ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้า สมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้ มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพาน ธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลัง เท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อ พวกเราไม่รู้ คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ได้เพื่อให้สร้าง วิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้ว จนถึงอรุณขึ้น.

ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

mc3phac epoxy printed circuit board 2015แผ่นวงจรพิมพ์จะประกอบด้วยส่วนสําคัญ 2 ส่วนคือแผ่นฐานหรือซับสเตรตกับส่วนที่เป็นตัวนํา ในชุดแรกแผ่นวงจรพิมพ์จะ ประกอบขึ้นจากแผ่นฐานที่ทําจากฉนวนบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยสารประเภทเทอร์โมเซตติง เพื่อให้รองรับกับตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์ตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์จะใช้วิธีการพิมพ์หรือเคลือบสิ่งที่สามารถนําไฟฟ้าได้ลง ไปบนแผ่นฐานวงจรพิมพ์ จึงเป็นที่มาของคําว่า PrintedCircuit Board หรือ PCB และยังนิยมใช้คํานี้อยู่จนถึงปัจจุบัน แผ่นวงจรพิมพ์ Printed circuit board (PCB)หรือ Printed circuit wiring board (PWB)เป็นแผ่นฉนวนบางๆ ทําหน้าที่เป็นที่ วางและยึดติดตัวอุปกรณ์มีตัวนําไฟฟ้าเป็นตัวต่อวงจรให้แก่อุปกรณ์ไปด้วยใน ตัว โดยทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวต่ออาจจะทําเป็นหน้าเดียว (Single-sided) หรือสองหน้า(Double-sided)แต่ถ้าวงจรมีความหนาสูงมีความซับซ้อนมากๆ ก็อาจจะต้องทำเป็นหลายๆ ชั้น(Multi-layered) ก็ได้ วิธีการพิมพ์หมึกลงบนแผ่นวงจรพิมพ์นั้น ในการนำมาใช้งานพบว่าหมึกหลุดล่อนได้ง่ายทําให้เกิดความเสียหายต่อวงจร เทคนิคที่นํามา ใช้แทนที่คือ วิธีที่เรียกว่าซับแทร็กตีฟโปรเซส (Suptractive process) หรือ เคมิคอลฟอยล์เอนซึ่ง (chemical foilencing) โดยขั้นแรกจะ ทําการยึดแผ่นทองแดงบางๆ ซึ่งเป็นวัสดุที่นําไฟฟ้าได้ดีกว่าหมึกพิมพ์ และมีความคงทนกว่าเข้ากับผิวหน้าของแผ่นฐานด้วยกาวผลที่ได้จะ เกิดวัสดุที่เรียกว่า “metal clad laminate” แต่เราก็ยังเรียกกันว่า “Printed Circuit Board” อยู่ดีแผ่นฐานจะทํามาจากวัสดุที่เป็นฉนวน น้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงที่นิยมใช้มี 3 ชนิด คือ 1. ฟีนอลิก (phenolic) 2. กลาสอีพอกซี่ (glass epoxy) 3. สารประกอบ อีพอกซี่ (composite epoxy) ในครั้งแรกๆ การใช้งานแผ่นวงจรพิมพ์ แผ่นฐานที่ใช้จะทําจากกระดาษบางๆ ชุบฟีนอลิกแล้วอัดรวมกันให้แข็งแรงแต่แผ่น วงจรพิมพ์ที่ทําจากฟีนอลิกนั้นจะมีลักษณะประเภทแตกหักได้ง่าย มีความแข็งแรงต่ำไม่ค่อยต้านทานความชื้นต่อมาได้มีการนําใยฝ้ายมาใช้ แทนที่กระดาษ ทําให้ได้ความแข็งแรงทางกลสูงขึ้น และมีความต้านทานต่อความชื้นสูงแต่ทําให้ความแข็งแรงทางไฟฟ้าลดลงจากนั้นจึง ได้ มีการนําใยแก้วมาทําเป็นแผ่นฐาน โดยทอใยแก้วชั้นเดียวหรือหลายชั้นเข้าด้วยกัน แล้วยึดด้วยอีพอกซีเรซินจึงเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ว่า กลาสอีพอกซี่ ลักษณะการทอเป็นพื้นของใยแก้ว การแบ่งเกรดของแผ่นวงจรพิมพ์ สมาคมผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อเมริกา (NEVA:National Electrical Manufacturers Association) ได้แบ่งชนิดของ แผ่นวงจรพิมพ์ไว้ถึง 30 ชนิด แต่โดยทั่วไปเราจะพบประมาณ 10 ชนิด ดังต่อไปนี้ เกรด XXX PC แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ ทําขึ้นจากกระดาษยึดรวมตัวกันด้วยฟีนอลิกเรชั่นเป็นชนิดที่ ใช้งานทั่วๆ ไป ทนความชื้นได้ไม่สูงนักมีความต้านทานค่อนข้างตํ่าเมื่อเทียบกับแผ่นวงจร พิมพ์ที่ทําจากสารชนิดอื่นสามารถใช้กับงานความถี่สูงได้ถึงย่าน ความถี่วิทยุ ออกแบบมาเพื่อให้ตัดเจาะได้ที่อุณหภูมิตํ่า เกรด FR-2 ทําจากฟีนอลิก ลักษณะโดยทั่วๆ ไป คล้ายกับ เกรด XXX PC แต่ออกแบบมาให้ติดไฟได้ยากกว่า ทําให้ สามารถนําไปใช้กับงานที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ เกรด FR-3 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ทําจากกระดาษบาง ๆ ยิดติดกันด้วยอีพ็อกซี่เรซินมีความแข็งแรงสูงสามารถใช้กับ งานที่แรงดันสูงและความชื้นสูงได้ ดีกว่าเกรด XXX PC และยังออกแบบมาให้ตัดเจาะได้ง่ายที่อุณหภูมิห้อง เกรด FR-4 พัฒนาขึ้นมาจากเกรด FR-3 ทําจากใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซิน สามารถใช้ได้กับงานหลายประเภท ทน ต่อความชื้นและอุณหภูมิสูง และสามารถใช้งานกับแรงดันสูงได้ดีกว่า เกรด XXX PC, FR-2 และ FR-3 เกรด FR-5 พัฒนาขึ้นจากเกรดFR-4 โดยยังคงใช้เส้นใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซินแต่มีความแข็งแรงสูงกว่าทั้งทางกล และทางไฟฟ้า นอกจากนี้ยังติดไฟได้ยากอีกด้วย เกรด FR-6 ทําจากแผ่นใยแก้วบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยเทอร์โมเซตติงโพลีเอสเตอร์ มีค่าคงที่ทางไดอิเล็กตริกตํ่า มีความ แข็งแรงตํ่า แต่ได้ปรับปรุงคุณสมบัติในด้านการทนต่อความชื้น จึงสามารถใช้กับงานที่ความชื้นสูงได้ เกรด CEM1 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ใช้เซลลูโลสเป็นแกนกลางมีใยแก้วทอเป็นผิวสองด้านยึดติดกันด้วยอีพอกซี่เรซิน เช่นเดิม ทําให้ตัดเจาะได้ง่าย แต่ทนความชื้นได้ตํ่ากว่าเกรด FR-4,FR-5 และ FR-6 เกรด G-10 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ ชนิดอีพอกซี่ไฟเบอร์ไกลาส มีความแข็งแรงทางกลสูง มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าดีเยี่ยม ลักษณะทั่วไปคล้ายกับเกรด FR-4 แต่ติดไฟยากกว่าแผ่นวงจรทั้งหมดที่กล่าวมานั้น ยังใช้วัสดุแบบเดิม ๆ ทําเป็นแผ่นฐาน ซึ่งยังมีแผ่นวงจร พิมพ์ที่ใช้สารที่พัฒนาขึ้นมาใหม่เป็นแผ่นฐาน ได้แก่เกรด G-30 และเกรด G-60 เกรด G-30 ใช้ใยแก้วทอยึดตัวด้วยโพลีอะไมค์เรซินมีความคงตัวสามารถต้านทานต่อความชื้นสูงมีคุณสมบัติทาง ไฟฟ้าดีเยี่ยม เหมาะสําหรับการนํามาใช้ทําแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดมัลติเลเยอร์ เกรด G-60 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดพิเศษที่ใช้สารโพลีซัลโฟนเทอร์โมพลาสติก ทําเป็นแผ่นฐานเนื่องจากมีค่าความ สูญเสียในไดอิเล็กตริกตํ่า สามารถควบคุมคุณสมบัติของไดอิเล็กตริกได้ง่าย นิยมใช้ในงานความถี่สูงมาก ๆ เป็นกิกะเฮิรตซ์ (GHZ) สําหรับ ไมโครชิปเป็นต้น คุณสมบัติทางไดอิเล็กตริกและความสูญเสียในไดอิเล็กตริกของสารโพลีซัลไฟด์ที่ใช้กับย่านความถี่ไมโครเวฟ แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ พีซีบี (PCB ย่อจาก Printed Circuit Board) หรือนิยมเรียกว่า "แผ่นปรินท์ หรือ แผ่นแผงวงจรอิเลคทรอนิกส์" เป็นแผงที่มีลายทองแดงนำไฟฟ้าอยู่ใช้สำหรับต่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประกอบเป็นวงจร แทนการต่อวงจรด้วยสายไฟ ซึ่งมีความซับซ้อนและยุ่งยาก โดยแผงวงจรนี้อาจมีเพียงด้านเดียว (Single side)หรือสองด้าน (Double side)หรือสามารถวางซ้อนกันได้หลายๆ ชั้น (Multi layer) ได้เช่นกัน ตามความต้องการของผู้ออกแบบ PCB ชนิดหน้าเดียว (Single Side) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าอยู่ด้านเดียวและมักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์์อยู่ด้านตรงข้ามกับเส้นลายวงจร และมัก จะมี Silk Screen ด้านเดียวกับอุปกรณ์ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side PCB) แบบนี้จะมีทองแดงเคลือบอยู่ทั้ง 2 ด้าน ส่วนใหญ่ด้านหนึ่งมักจะปล่อยให้เป็นลายทองแดงเต็มแผ่นในลักษณะเป็น กราวน์เพลน (Ground Plane) โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดสัญญาณรบกวน มักใช้ในวงจรเครื่องรับหรือเครื่องส่งวิทยุ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side Plate Through Hole) เป็น ชนิดที่มีลายทองสองด้านซึ่งประกอบไปด้วย ชั้นของแผ่นตัวนำสองด้านคือด้านบนและด้านล่างประกบกับชั้นซัพเตรดอยู่ PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าทั้งสองด้าน และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดงเพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างด้าน และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน วัสดุที่นิยมนำมาใช้คือ ไฟเบอร์กลาสอิพ็อกซี่ แผ่นงวงจรลักษณะนี้จะเหมาะสำหรับงานที่มีตัวอุปกรณ์ที่มีความหนาแน่นมากซึ่ง แผ่น PCB ประเภท Double-sided จะเหมาะสำหรับงานหรือวงจรที่ใช้ความถี่ปานกลางถึงความถี่สูง และยังสามารถเชื่อมต่อแบบ Plat through Hole (PTH) เพื่อให้เส้นทั้งสองเชื่อมต่อกันได้สั้นลงด้วย PCB ชนิดหลายชั้น (Multi Layer) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้า ระหว่างชั้นใน (Inner Layer) 2,4..Layer และชั้นนอก (Outer Layer) และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดง เพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างชั้น และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน เป็น แผ่นวงจรชนิดหลายชั้น แผ่นวงจรชนิดนี้จะประกอบไปด้วยชั้นของแผ่นตัวนำและซัพเตรดมากกว่าสองชั้น ขึ้นไป โดยการอัดชั้นต่างเข้าหากันโดยใช้ความร้อนและเครื่องอัดแรงดันสูงเหมาะ สำหรับงานที่มีความหนาแน่นของตัวอุปกรณ์สูงถึงสูงมาก ชนิด ฟีนอลลิกอัดและชนิด อีพ็อกซี่ไฟเบอร์กลาส ซึ่งชนิด อีพ็อกซี่จะเป็นที่นิยมกันมากเพราะคุณสมบัติที่ดีคือการทนต่ออุณหภูมิที่สูง และไม่บิดงอได้ง่ายเหมือนกับชนิด ฟีนอลลิกซึ่งไม่เป็นที่นิยมและมีความต้านทานความชื้นต่ำทำให้สูญเสียความเป็นฉนวนง่ายจึงไม่เหมาะกับการใช้งานที่มีความถี่สูงๆ แต่ ยังพบเห็นได้บ้างตามงานที่ไม่เน้นคุณภาพที่สูงมากนักเพราะราคาของเจ่าฟีนอ ลลิกนั้นจะมีราคาที่ถูกกว่าชนิดอีพ็อกซี่มากซึ่งเป็นการลดต้นทุนทางการผลิต นอกจากนี้ยังมีการเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ ตามสารที่เป็นพื้นฉนวน เข่น แผ่นวงจรพิมพ์แบบเบกาไลต์ (Bakelite) ซึ่งใช้ เบกาไลต์เป็นฉนวน ส่วนใหญ่มักมีสีน้ำตาล แผ่นวงจรพิมพ์แบบกลาสอีพ๊อกซี่ (Glass Epoxy) ซึ่งจะใช้ใยแก้ว เป็นฉนวน มักมีสีต่าง ๆ แต่ส่วนใหญ่มักทำเป็นสีเขียวหรือสีฟ้า Copper Thickness Measurement Copper 1 Oz = 35 µm (1.4 mil) บันทึกการเข้า นักประดิษฐ์ Global Moderator Hero Member ***** กระทู้: 529 Re: แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ PCB « ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 08:50:35 PM » โปรแกรมที่นิยมใช้ออกแบบ Protel,Altium Designer P-CAD OrCAD EAGLE โปรแกรมออกแบบ PCB หนึ่งเดียวที่ทำงานได้ 3 OS PCB Wizard

มหาสติปัฏฐานสูตร

พบตัวเองพบธรรมะพาไปพบพระพุทธเจ้า

วันจันทร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2557

Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting

Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting

Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting

Thera Gatha - ථේර ගාථා -

Thera Gatha - ථේර ගාථා -

Dhammapada - ' Yamakvaggo- यमकवग्गो ' Pali-Hindi Chanting

วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ

ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓

ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓

ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓

ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเฝ้ารู้อยู่อย่างนี้เรื่อยๆ พอมันไม่มีเราขึ้นมาจริงๆ ความทุกข์มันอยู่ที่ไหน ความทุกข์มีอยู่ เพราะขันธ์ยังมีอยู่ ตัวขันธ์นั่นแหละคือตัวทุกข์ ขันธ์เป็นตัวทุกข์นะ ไม่ใช่ขันธ์เป็นตัวสุข ไม่ใช่ว่าภาวนาแล้ววันหนึ่งขันธ์กลายเป็นตัวสุขขึ้นมาได้ ยังไงก็เป็นตัวทุกข์ เพราะขันธ์มันไม่เที่ยง มันถูกบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา มันบังคับไม่ได้ ไม่อยู่ในอำนาจ ยังไงก็เป็นทุกข์ แต่ว่าเมื่อใจยอมรับความจริง ว่าขันธ์มันเป็นทุกข์นะ ทุกอย่างที่ปรากฏขึ้นที่ขันธ์ก็อยู่ชั่วคราว ตัวขันธ์เองก็อยู่ชั่วคราว การที่เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวเนี่ย เรียกว่าเรารู้ทันความจริงละ เมื่อจิตรู้ทันความจริง เวลาความจริงมาปรากฏให้จิตยอมรับความจริงได้ จิตก็ไม่ทุกข์ ที่จิตทุกข์เพราะจิตยอมรับความจริงไม่ได้ เช่น ร่างกายมันจะแก่ จิตยอมรับความจริงได้ ของธรรมดา มันของชั่วคราว พอใจยอมรับความจริงได้ ใจมันก็ไม่ทุกข์ มันจะเจ็บมันจะตาย จิตใจเราจะพลัดพรากจากสิ่งที่รัก เจอสิ่งที่ไม่รัก เรายอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างชั่วคราว สุขทุกข์ดีชั่ว ของชั่วคราวทั้งหมด เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ตอนนี้พวกเรายังเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งไม่ได้ เพราะจิตเรายังปรุงแต่งอยู่ ที่จิตปรุงแต่งอยู่เพราะยังไม่รู้ความจริงของขันธ์ ยังไม่เห็นหรอกว่า ขันธ์ห้าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยังยอมรับไม่ได้ เวลาเห็นก็เห็นนิดๆ หน่อยๆ แต่ยังยอมรับความจริงไม่ได้ ใจลึกๆ มันก็ยังอยากให้ร่างกายนี้แข็งแรงตลอดกาล เป็นหนุ่มเป็นสาวตลอดกาล ยอมรับไม่ได้ที่จะไม่สมหวัง อยากให้มันสมหวัง อยากให้มันมีความสุข อยากให้มันบรรลุมรรคผล นิพพาน มันอดอยากไม่ได้ งั้นใจที่เรายังมีความอยากอยู่เนี่ย มันดิ้นรนไม่เลิก ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้า วันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ พอไม่มีตัวเราซะอย่างเดียว โลกทั้งโลกไม่มีเจ้าของ แล้วเราค่อยฝึกเอา ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก

วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2557

พระอริยะบุคคล พระอนาคามี เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

วิธีส่งจิตใจไปในกายในใจของเราจะพบทางพระนิพพาน เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

สุวัณณหังสชาดก โลภมากลาภหาย

ปฐมสมโพธิ ; ปฐมเทศนา

วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557

SEMIKRON SEMix241MD008s FIRST TEST

TM35 MC3PHAC CONECTION รวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสทำเองได้ง่ายครับ sompong industrial 1 โซล่าเซลล์สูบน้ํา MC3PHAC POWER MODULES TL105C.flv วิธีวัด Power module ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส เริ่มต้นให้ดีวันนี้วันหน้าค่อยว่ากันใหม่ ใช้โดยตรงจากแผงโซล่าเซลล์ อย่าง น้อย ให้ใช้ suntech 285 watts ห้าแผ่น ถึงแปดแผ่น 180 320 Volts 7 Amp ทำเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสโดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI POWER MODULE เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็กแบบใหม่ การวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส การกลับทางหมุนมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็ก การทดสอบมอเตอร์สองร้อยวัตต์สามเฟส วิธีสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอ์สามเฟสแบบใหม่ โซล่าเซลล์ทดลองใช้ช่วงบ่าย 16.40 น. ฝนหยุดตก ถึงฝนตกฟ้าร้องโซล่าเซลล์ก็พอได้ใช้ 50 วัตต์จาก suntech 5 แผ่น เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส 400 วัตต์ MC3PHAC PS219A2 RW 0 4KW 3 PHASE INDUCTION MOTOR CONTROL induction motor 3 phase อินดัตชั่นมอเตอร์ สามเฟส PS21963 CIRCUIT DIAGRAM PS21244 แก้ไขและปรับปรุงวงจรแล้วครับ PS21244 ทดสอบโอเวอร์โหลดโดยลัดวงจร OUT PUT PS21244 POWER MODULE สำหรับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า แอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ แผงควบคุม มอเตอร์ อินดัตชั่่นสามเฟส ไม่เกิน หนึ่งแรงม้า แนะนำการใช้MC3PHACและ PS21963ในงานควบคุมมอเตอร์สามเฟสครับ power module active high input PS21963 ทดสอบ MITSUBISHI SEMICONDUCTOR Intelligent Power Module. PS21244 มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า PS21244 เพาเวอร์โมดูลสำหรับสร้างซ่อมอินเวอร์เตอร์ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส การต่อสายใช้งาน INTELLIGENT POWER MODULE TM51 TM52A วิธีการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า วิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับTM52A การต่อใช้งาน tm51 tm52a mc3phacเพื่อควบคุมมอเตอร์สูบน้ำสามเฟส 1 ถึง 3 แรงม้า การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสด้วยแสง การตั้งความถี่ MC3PHAC ที่ 50 Hz และ 60Hz TRANSISTOR POWER MODULES MP6501A 6DI15S 050D MC3PHAC TM51 แก้ไขแผงวงจร mc3phac ตอนที่ 1 วิธีควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟสแบบใหม่TM31T SHINDENGEN POWER MODULES DC CONVERTER TM51 DC48VOLTS TO 400 VOLTS MC3PHAC TRANSISTOR POWER MODULES 6DI15S 050D SOLAR CELL IGBT AND MOSFET 3 PHASE MOTOR CONTROL ความรู้เบื้องต้นเรื่องการปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟส การวัดมอสเฟตโมดูล SEMIKRON SEMix241MD008s 250 AMPS 75VOLTS การวัดเพาเวอร์มอสเฟต อินเวอร์เตอร์สามแรงม้าสามเฟสใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว การวัดเพาเวอร์โมดูลอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้งานจริง TM51และ TM52Aเพื่อสูบน้ำเข้านา วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ 2 เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง POWER MODULE ที่ใช้แทนTM52A ครับ.. 3 Phase induction motor 220 Volts runing on 24 vdc การสร้างเครื่องสูบน้ำเข้านาด้วยมอเตอร์สามเฟสใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ วิธีสร้างชุดขับมอเตอร์สามเฟสราคาประหยัดใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 24ถึง300โวลต์ วิธีสร้างอินเวอร์เตอร์คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่12 สูบน้ำเข้านาด้วยไฟฟ้า 24และ 48 โวลต์ วิธีสร้างแอร์อินเวอร์เตอร์สามเฟสใช้เอง 5 TM39 TM52A 1 TM-51 เพิ่มแรงดันไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เครื่องเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง MC3PHAC TM35 3 PHASE MOTOR SPEED CONTROL วิธีสร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่ 10

MC3PHAC TM51 TRANSISTOR MP6501A 6DI15S 050D

MC3PHAC TM51 TRANSISTOR MP6501A 6DI15S 050D รวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสทำเองได้ง่ายครับ sompong industrial 1 โซล่าเซลล์สูบน้ํา MC3PHAC POWER MODULES TL105C.flv วิธีวัด Power module ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส เริ่มต้นให้ดีวันนี้วันหน้าค่อยว่ากันใหม่ ใช้โดยตรงจากแผงโซล่าเซลล์ อย่าง น้อย ให้ใช้ suntech 285 watts ห้าแผ่น ถึงแปดแผ่น 180 320 Volts 7 Amp ทำเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสโดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI POWER MODULE เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็กแบบใหม่ การวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส การกลับทางหมุนมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็ก การทดสอบมอเตอร์สองร้อยวัตต์สามเฟส วิธีสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอ์สามเฟสแบบใหม่ โซล่าเซลล์ทดลองใช้ช่วงบ่าย 16.40 น. ฝนหยุดตก ถึงฝนตกฟ้าร้องโซล่าเซลล์ก็พอได้ใช้ 50 วัตต์จาก suntech 5 แผ่น เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส 400 วัตต์ MC3PHAC PS219A2 RW 0 4KW 3 PHASE INDUCTION MOTOR CONTROL induction motor 3 phase อินดัตชั่นมอเตอร์ สามเฟส PS21963 CIRCUIT DIAGRAM PS21244 แก้ไขและปรับปรุงวงจรแล้วครับ PS21244 ทดสอบโอเวอร์โหลดโดยลัดวงจร OUT PUT PS21244 POWER MODULE สำหรับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า แอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ แผงควบคุม มอเตอร์ อินดัตชั่่นสามเฟส ไม่เกิน หนึ่งแรงม้า แนะนำการใช้MC3PHACและ PS21963ในงานควบคุมมอเตอร์สามเฟสครับ power module active high input PS21963 ทดสอบ MITSUBISHI SEMICONDUCTOR Intelligent Power Module. PS21244 มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า PS21244 เพาเวอร์โมดูลสำหรับสร้างซ่อมอินเวอร์เตอร์ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส การต่อสายใช้งาน INTELLIGENT POWER MODULE TM51 TM52A วิธีการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า วิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับTM52A การต่อใช้งาน tm51 tm52a mc3phacเพื่อควบคุมมอเตอร์สูบน้ำสามเฟส 1 ถึง 3 แรงม้า การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสด้วยแสง การตั้งความถี่ MC3PHAC ที่ 50 Hz และ 60Hz TRANSISTOR POWER MODULES MP6501A 6DI15S 050D MC3PHAC TM51 แก้ไขแผงวงจร mc3phac ตอนที่ 1 วิธีควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟสแบบใหม่TM31T SHINDENGEN POWER MODULES DC CONVERTER TM51 DC48VOLTS TO 400 VOLTS MC3PHAC TRANSISTOR POWER MODULES 6DI15S 050D SOLAR CELL IGBT AND MOSFET 3 PHASE MOTOR CONTROL ความรู้เบื้องต้นเรื่องการปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟส การวัดมอสเฟตโมดูล SEMIKRON SEMix241MD008s 250 AMPS 75VOLTS การวัดเพาเวอร์มอสเฟต อินเวอร์เตอร์สามแรงม้าสามเฟสใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว การวัดเพาเวอร์โมดูลอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้งานจริง TM51และ TM52Aเพื่อสูบน้ำเข้านา วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ 2 เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง POWER MODULE ที่ใช้แทนTM52A ครับ.. 3 Phase induction motor 220 Volts runing on 24 vdc การสร้างเครื่องสูบน้ำเข้านาด้วยมอเตอร์สามเฟสใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ วิธีสร้างชุดขับมอเตอร์สามเฟสราคาประหยัดใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 24ถึง300โวลต์ วิธีสร้างอินเวอร์เตอร์คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่12 สูบน้ำเข้านาด้วยไฟฟ้า 24และ 48 โวลต์ วิธีสร้างแอร์อินเวอร์เตอร์สามเฟสใช้เอง 5 TM39 TM52A 1 TM-51 เพิ่มแรงดันไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เครื่องเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง MC3PHAC TM35 3 PHASE MOTOR SPEED CONTROL วิธีสร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่ 10

ภาวนาถ้าไม่รู้ทันจิตกิเลสหนังไม่ถลอกเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

ตั้งมั่นอยู่ที่ลมหายใจสุดท้ายจะมารู้ที่จิตครับเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตhttp://solardogwp.wordpress.com/2009/08/18/step-by-step/

ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

พระศากยมุนีพุทธเจ้า 釋迦牟尼佛

พระศากยมุนีพุทธเจ้า 釋迦牟尼佛“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น

มหาสติปัฏฐานสูตรดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้ เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง หนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ ฉะนี้แล คำที่เรากล่าวดัง- *พรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายนมรรคนี้กล่าวแล้ว. พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นยินดี ชื่นชม ภาษิต ของพระผู้มี- *พระภาค แล้วแล.

วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557

พระภิกษุบังคลาเทศสวดคาถาชินบัญชรคาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด เริ่มสวด นโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. คำแปล พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ

พระภิกษุบังคลาเทศสวดคาถาชินบัญชรคาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด เริ่มสวด นโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. คำแปล พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ

พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เรื่องนี้คล้ายนิยายอิงธรรมะแต่เป็นเรื่องจริง“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เพชรน้ำเอกในคำสอนของพระตถาคตเจ้า“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

โลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทำอย่างไรใจเราจะไม่ทุกข์“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ธรรมที่พอเหมาะกับคนธรรมดา“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

พระเจ้าปุกกุสาติ“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”วุตโตทัยฉันทศาสตร์ เป็นตำราว่าด้วยแบบบัญญัติการแต่งฉันท์ มีประเภทต่างๆ ตามที่มาในคัมภีร์วุตโตทัย ซึ่งเป็นภาษาบาลีมีอยู่ ๑๐๘ ฉันท์ และได้แปลงเป็นฉันท์ไทยแล้ว ๑๐๘ ฉันท์ เท่ากัน ฉันท์ทั้ง ๑๐๘ ฉันท์นี้ ท่านจัดเป็นสองพวกเรียกว่า ฉันท์วรรณพฤติ และฉันท์มาตราพฤติ ฉันท์ใดกำหนดด้วยตัวอักษรฉันท์นั้น เรียกว่า วรรณพฤติ มี ๘๑ ฉันท์ ฉันท์ใดกำหนด้วยมาตรา ฉันท์นั้นเรียกว่า มาตราพฤติ มี ๒๗ ฉันท์ อาจารย์ ไพฑูรย์ พรหมวิจิตร แปล คัมภีร์วุตโตทัย ไว้ในหนังสือชื่อ ฉันทศาสตร์ไทย ผู้เขียนได้ลองเลือกฉันท์บทที่ชอบ ประพันธ์ไว้เป็นโคลง ได้ ๑๗ บท ดังนี้ ๑. วานวาสิกาฉันท์ อลสสฺส น ชายติ มติ ธนญฺจ มติธเน ยสฺส อสติ อิธ กถํ โส สุขี ปรมฺหิ จ อปิ จ ทุขี ตสฺมา อลโส วตน จ ภเวยฺย เงินทองกองท่วมบ้าน บ่ขยัน ครั้นเกียจกอบโกยปัญ- เญศด้อย สุขังยั่งยืนฉัน- ใดเล่า..สหายเอย สมบัติยศหมื่นร้อย ย่อมรู้โรยรา ปัญญาทรัพย์สมบัติเกิดมีแก่คนเกียจคร้านผู้ใด เมื่อปัญญาและทรัพย์สมบัติไม่มีแก่คนผู้นั้นแล้ว (เสื่อมลง) ความสุขในชาตินี้แลชาติหน้าจักมีด้วยประการฉันใด ยศสมบัติเหล่านั้นนักปราชญ์จักปรารภเอาย่อมไม่มี ๒. จปลาฉันท์ ทานํ ธนพีชํ เส สีลํ สุขพีชํ มิธ มนุชานํ ตสฺมา สุทานทาตา สิยา สุสิโล สหิทกาโก ทานังดั่งพืชให้ โภคทรัพย์ ศีลดั่งพืชให้สรรพ สุขแผ้ว ชนใดใคร่ลิ้มลัพธ์ รมเยศ พึงปลูกหน่อธรรมแล้ว จึ่งรู้รสธรรม ทานเป็นพืชอันบังเกิดข้าวของสมบัติ ศีลเป็นพืชบังเกิดสุขในใจแก่คนทั้งหลายในโลกย์ เหตุนั้นผู้ใดปรารถนาข้าวของสมบัติอันดีแก่ตน พึงให้ทานด้วยความศรัทธาแลมีศีลอันดีเถิด ๓. คีติฉันท์ โมหวนทฺโธ พาโล ตณฺหา วสมา คโต จ โกธวสํ ปาเป สาหส กาลี อปายภูมี นิวาส คติ มสฺส พาโลโมหะคลุ้ง ครอบงำ ตัณหราคะกรรม โกรธแค้น คิดบาปหยาบช้าทำ กระลีโทษ มี นรก รอแม้น มอดม้วยมรณา ชนพาลอันโมหวิชชาครอบงำ ลุอำนาจแห่งตัณหา โกรธแค้นร้ายหนักหนาในบาปกรรม มีอบายภูมินรกเป็นที่อยู่ที่ไปแห่งชนชั้นแล ๔. อุปคีติฉันท์ ปาเณสุ น การุญฺโญ ทลิทฺทเกสุ จ วิเหทูยติ อาธมฺเม นโร ภวติโลเก โย นโร นหิ สาธุ โส ปาณาติบาตสิ้น กรุณา เบียนเบียฑปวงประชา ยากไร้ ลืมธัมมะนำพา ภพสุข หาสิ่งดีไม่ได้ หนักพื้นโลกา คนผู้ใดไม่มีความกรุณาในสัตว์และคนทั้งหลายผู้เข็ญใจ ย่อมเบียดเบียนผู้อื่นให้เป็นทุกข์ คนผู้นั้นจักเป็นผู้หาดีไม่ได้ ชื่อว่าเป็นคนอธรรมในโลกย์ ๕. อาริยาคีติฉันท์ อติมาโน อธิโกโธ อวมาน กโรนํ เวสุ อภวุฑฺเฒ สุ โย พหุสุโตมิ โสปิน บณฺฑิโต พาลํ สมฺมโต อธิโลเก มานะมีมากครั้ง เคืองเคียด ใจจะหยามหมิ่นเกียรติ ทุกผู้ แม้นเรียนร่ำละเอียด เอกอุ ปากที่ฝากกระทู้ ถ่อยสิ้นสัทธรรม คนผู้ใดมีทิฐิมานะใหญ่ยิ่งนัก มีความโกรธเคืองเคียด ย่อมดูหมิ่นบุคคลอันหนุ่มและแก่กว่าตน แม้นผู้นั้นจะเป็นพหูสูตร (ผู้ร่ำเรียนมากเท่าใดก็ดี) จักถือเป็นบัณฑิตก็หามิได้ (เพราะความพาล) ขึ้นชื่อว่าเป็นคนใบ้คนหนึ่งในโลกย์ ๖. เวตาลียฉันท์ อธิปจฺจํโคธ โย นโร ตณฺหามาณว วตฺติโต ปเร ปตาเปติ มตฺตวุฑฺฒิยา ตถานาคเต ทุกฺขตา ปิโต ครองแคว้นแค้นข่มข้า ขุกเข็ญ เพื่อประโยชน์โฉดเป็น ที่ตั้ง ภายหน้าพ่าห์เพียบเพ็ญ พบเพท..ภัยเอย กรรมเก่าเข้าฉุดรั้ง เร่งให้ฉิบหาย บุคคลใดถึงความเป็นใหญ่ในโลกย์ ใช้อำนาจเบียดเบียนผู้อื่นให้เดือดร้อน เพื่อประโยชน์แก่ตน บุคคลนั้นจักเดือดร้อนในกาลหน้า ด้วยกรรมอันตนได้กระทำไว้ ๗. โอปจฺฉนฺทสกฉันท์ การุณิโล สนฺนโรธิปจฺจํ ยธา คโตโส สพฺพปาณเกสุ กโรติ สุขยํ น ปาปิทุกฺขํ สพฺพสุขีโน มานภาว ตสฺส กรุงไกรกษัตริย์เกื้อ กุศล เสริมสง่าการุณพล ไพร่ฟ้า ใจจำกำราบ รณ แรงบาป สุข สรนุกถ้วนหน้า แน่แท้ทุกสมัย คนผู้มี กรุณามาก ได้เป็นใหญ่ ในโลกย์ ในกาลเมื่อใด คนผู้นั้นกระทำความสุขให้แก่สัตว์โลกย์ทั้งหลาย ย่อมไม่กระทำความทุกข์ สัตว์โลกย์ทั้งหลายย่อมมีความสุขด้วยอำนาจของสัตตบุรุษนั้น ๘. อาปาฏลิกาฉันท์ โลภนิสฺสาย วินาโส ภวติ โทสํ จโมหนากํ จ โย นโร สวาฆนกาโม สจิตฺตรกฺขํ ทนฺตหิ กเรยฺย โลภมากกระชากช้ำ ฉิบหาย เหวแห่งจัตุราบาย บ่งรู้ โทโสโม่ห์ละลาย รมยสุข ละเกลศแล้วผู้ จิตพ้นสังสาร ความฉิบหายอาศัยความโลภ ซึ่งเกิดมีแก่สัตว์ทั้งหลาย ใช่แต่เท่านั้น ! ความฉิบหายย่อมอาศัยโทสะโมหะด้วย บุคคลทั้งหลายผู้หวังความเจริญ พึงกระทำการรักษาจิตใจของตนให้พ้นจากความโลภโกรธหลงนั้นเถิด ๙. ทกฺขิณนฺติกาฉันท์ ปหาย โกธํภิขนฺติ มา ทยาลุโก วา เมตฺตาจิตฺตกํ ทยํ จ ปเณสุ สมฺปเร สปญฺญวา น จเรติ ทารุนํ ขันตีนีราศแกล้ว โกรธา ถึงซึ่งเหตุเมตตา ตริถ้วน หลีกเร้นเข่นฆ่าสา- ธุสัตว์ สัปปุรุษเลิศล้วน ละเว้นทารุณ สัตตบุรุษผู้มีปัญญาละเว้นเสียยังความโกรธเป็นผู้ที่มีความอดทน ความกรุณามากนักย่อมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่สัตว์ทั้งหลาย สัตตบุรุษผู้นั้นย่อมไม่กระทำทารุณแก่สัตว์ ๑๐. อุทิจฺจวุติฉันท์ ปรสฺสลาเภ อุปาคเต เนว นินฺเทยฺย มิสฺสุภา ยตํ สภาวโต ยํ อธมฺมิกํ กายเลนฺตํ วนินฺทเย มุนี เศรษฐีมีมากแก้ว- กองทอง ปราชญ์ไป่ริษยาหมอง หม่นไหม้ ทรัพย์ใดใช่สิ่งของ สุจริต ปราชญ์อาจแนะแคะไค้ ข่มได้โดยควร ในเมื่อลาภมาถึงแก่ท่านผู้อื่น ผู้มีปัญญามิพึงติเตียนด้วยความริษยา วัตถุอันใดได้ด้วยมิชอบธรรม ผู้มีปัญญาติเตียนในกาลอันควรแล ๑๑. ปจฺจวุติฉันท์ สกาลา ภูตุปาทนํ ยถา อปฺปกมฺมิ สกลาภเก ตถา สนฺตุฏฺเฐยฺยว ปญฺญวา มา ปรสฺสลาเภ ปิหํ จเร ทุรโภคทุรโชคสร้าง ศฤงคาร- ธนทรัพย์ธนสาร ซึ่งน้อย พึงสันโดษสันดาน บัณฑิต อย่ามักใหญ่ในร้อย ลาภผู้อื่นสงวน การบังเกิดลาภแห่งตนด้วยประการใด แม้น้อยหนึ่งก็ดี ผู้มีปัญญาพึงสันโดษในลาภแห่งตนนั้น บ่มิพึงใคร่ได้ยังลาภแห่งท่านผู้อื่น ๑๒. ปวสฺตกฉันท์ ยโส จลาโภ จ กิตฺติ จ นิจฺจ ธัมฺมิกา เนว โหนฺติกา วินาส ธมฺมา ว ปณฺฑิโต ตาสุ มชฺชโต สพฺพทา ภเว ชื่อเสียงลาภยศเบี้ย บริวาร ฤาอยู่ยั่งยืนนาน เที่ยงแท้ ย่อมอันตรธาน ทุกเมื่อ ปราชญ์ไป่มัวเมาแล้ รีบสร้างทางเขษม ลาภยศบริวารชื่อเสียงก็ดี ไม่มีสภาวะอันมั่นเที่ยง ย่อมมีสภาวะอันรู้ฉิบหายไป เหตุนั้นบัณฑิตไม่พึงมัวเมาในกาลทุกเมื่อ ๑๓. อปรนฺติกาฉันท์ สพฺพโภคมิตฺตา สกานุคา เนว สพฺพฐาเน สยํ กตํ ปุญฺญปาปกมฺมํ สกานุคํ ตํ ปรมิปโลกานิวัตฺตกํ สินทรัพย์กับเพื่อนทั้ง หญิงชาย เคยติดตามยามตาย หมดสิ้น บุญบาป ขนาบกาย เกาะแน่น..นานนา นรชีพลับดับดิ้น บ่รู้ลาหาย ข้าวของทรัพย์สมบัติมิตรสหาย จักตามไปกับตนในสถานทุกแห่งหามิได้ กรรมอันเป็นบาปและบุญที่ตนได้กระทำไว้นั้น ย่อมตามไปกับตนในสถานที่ทุกแห่งแม้ในปรโลกหน้า ๑๔. จารุหาสินีฉันท์ ยทิ อตฺตโน อถฺเมสิโต ปหาย ปาปํว โส นโร ยเทวปุญฺมา ปรายิเก สุขาวหํตํ จเร สทา ชนใดไขว่คว้าสุข ใส่ตน ย่อมละเสียซึ่งผล บาปย้อม บุญบารมีดล แดนเทพ สู่สุขาวดีพร้อม- พรั่งด้วยสมบัติสวรรค์ บุคคลผู้ได้แสวงหาประโยชน์สุขแก่ตน ย่อมละเว้นจากบาปกรรมทั้งมวล กุศลกรรมอันใดซึ่งจักเป็นประโยชน์สุขในเทวโลก บุคคลผู้นั้นพึงกระทำในกาลทุกเมื่อแล ๑๕. อจลธิติ ฉันท์ ติสรณ มคต นรมรุ กลิคหนิ ทุจริต จริธ กลิผล อนุภวติ ตุมปคต นรมรุ นหิ กลิคหนิ สุจริต จริธ สุขผล อนุภวติ แก้วสามดวงเด่นไว้ หว่างทาง ทวยเทพนรชนปาง ปัดทิ้ง ถือทุจริตพลาง พบพิบาก..กรรมเอย ทุกข์ประทุกมากหยิ้ง ย่อมร้อนกลีผล เทวามานุษย์ผู้ พบตรัย..รัตน์เอย ถือสุจริตใจ อร่ามอล้า ดวงแก้วสาดส่องใส สว่างจิต สู่สุขรมย์ในหล้า แหล่งโน้นนีรันดร์ คนและเทวดาซึ่งไม่เข้าสู่ไตรสรณะ แลถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำทุจริต แลได้เสวยวิบากเป็นทุกข์ในโลก คนและเทวดาซึ่งเข้าไปสู่ไตรสรณะ แลไม่ถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำสุจริต แลได้เสวยสุขในโลก ๑๖. วิสิโลกฉันท์ โลกีย สมฺปท ธรติ สทา น สาสนมุตฺตมนฺติ กทาจิ ตสฺมา น เปกขิย โลกโภคํ ธเรยฺย สาสน อาธรนฺติ กุศลสร้างจึ่งพร้อม สมบัติ โลกิยนิทัศน์ ทุกข์ด้วย ศาสนวิวัฒน์ บางคาบ ผู้ใฝ่ธรรมธรรมฉ้วย ชีพรู้รสธรรม โลกียสมบัติตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ก็ด้วยกุศลแห่งสัตว์ทั้งหลาย ศาสนาอันประเสริฐ แห่งพระพุทธเจ้า มิตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ศาสนาตั้งอยู่ในกาลบางคาบ เหตุนั้นผู้มีปัญญามิพึงฝักใฝ่ในสมบัติ พึงฝักใฝ่ ในศาสนานั้นเถิด ๑๗. มตฺตาสมกฉันท์ สรณตฺตยํ สรณคตฺต นรํ วฏ์ฎทุกฺขโต ปโม จ ยนฺเต นาญสรณํ ยทิโย วทิตวา อวํ ติสรณ คเมยฺย นโร สังสารวัฏเวิ้ง ทุกขะ พ้นเพราะไตรสรณะ นั่นแท้ พึ่งไอศวรรยะ ยังยาก พึ่งไตรรัตนนั่นแล้ หลีกล้างราญเข็ญ บุคคลผู้ใดซึ่งถึงไตรสรณะ ย่อมหลุดพ้นทุกข์ในวัฏฏสงสาร ที่พึ่งอันชื่นเช่นท้าวพระยามหาเสนาบดีจักให้หลุดพ้นจากทุกข์ในวัฏฏสงสารหามิได้ เหตุนั้นผู้รู้แล้วด้วยประการดังนี้ พึงถึงซึ่งไตรสรณะเป็นที่พึ่งแก่ตนเพราะวิเศษยิ่งกว่าที่พึ่งอันอื่น

โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะเรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ. เขาเป็นวิชาธร ท่องเที่ยวไป โดยอากาศ. ก็โดยสมัยนั้น พระศาสดา เมื่อจะทรงอนุเคราะห์เขา จึงเปล่งพระ- พุทธรังสีมีวรรณะ ๖ ประทับนั่งที่โคนไม้แห่งหนึ่ง เขาเหาะไปโดยอากาศ เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มีจิตเลื่อมใส ลงจากอากาศ บูชาพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยดอกกรรณิการ์ อันสะอาดบริสุทธิ์ด้วยดี ไพบูลย์ ด้วยพุทธานุภาพ (บันดาลให้) ดอกไม้ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในเบื้องบนของพระศาสดา โดยอาการ ของฉัตร ด้วยพุทธานุภาพนั้น ทำให้เขามีจิตเลื่อมใสยิ่งกว่าประมาณ ต่อมา กระทำกาละแล้ว เกิดในภพดาวดึงส์ เสวยทิพยสมบัติอันโอฬาร ดำรงอยู่ใน ภพดาวดึงส์นั้นจนตลอดอายุ ต่อแต่นั้น ก็ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครราชคฤห์ในพุทธุป- บาทกาลนี้ ได้มีนามว่า อุตตระ. เขาบรรลุนิติภาวะแล้ว ถึงความสำเร็จใน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 3 วิชชาของพราหมณ์ เป็นผู้เกิดมาทำโลกให้เจริญโดยรูป โดยวิชา โดยวัย และโดยศีลาจารวัตร. มหาอำมาตย์แห่งแคว้นมคธ ชื่อว่า วัสสการะ เห็นสมบัติ นั้นของเขาแล้ว เป็นผู้มีความประสงค์จะยกธิดาของตนให้ แจ้งความประสงค์ ของตนแล้ว. เขาปฏิเสธความหวังดีนั้น เพราะความเป็นผู้มีอัธยาศัย น้อมไป ในพระนิพพาน เข้าไปนั่งใกล้พระธรรมเสนาบดี ฟังธรรมในสำนักตามเวลา ที่เหมาะสม ได้เป็นผู้มีศรัทธาบวชแล้ว เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวัตรปฏิบัติพระเถระ. ก็โดยสมัยนั้น อาพาธบางอย่างเกิดแก่พระเถระ. เพื่อจะจัดยาถวาย พระเถระ อุตตรสามเณร จึงถือเอาบาตรจีวรออกจากวิหารไปแต่เช้าทีเดียว วางบาตรไว้ที่ริมฝั่งทะเลสาบ ในระหว่างทางเดินไปใกล้น้ำแล้วล้างหน้า. ลำดับนั้น โจรทำลายอุโมงค์คนหนึ่งถูกเจ้าหน้าที่ติดตาม หนีออกจากพระนคร โดยทางประตูด้านหน้านั่นแหละ ใส่ห่อรัตนะที่ตนลักมาไว้ในบาตรของสามเณร แล้วหนีไป. สามเณรเดินเข้าไปใกล้บาตร พวกราชบุรุษที่ติดตามโจรมา เห็นห่อ ของในบาตรของสามเณร จึงกล่าวว่า สามเณรนี้เป็นโจร สามเณรนี้ประพฤติ เป็นโจร แล้วจับสามเณรมัดมือไพล่หลัง ส่งให้วัสสการพราหมณ์. ก็ใน ครั้งนั้น วัสสการพราหมณ์ ได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งผู้วินิจฉัยคดีของพระราชา สั่งการลงโทษประหารและทรมานได้. เขาไม่ยอมไต่สวน ทวนพยานเลย สั่งให้เอาหลาวเสียบประจานสามเณรทั้งเป็น ๆ เพราะผูกอาฆาตว่า เมื่อก่อน สามเณรไม่เอื้อเฟื้อคำของเรา ไปบวชในลัทธินอกรีตนอกรอย. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรวจดูความแก่รอบแห่งญาณ ของอุตตรสามเณรแล้ว เสด็จไปสู่ที่นั้น ทรงวางพระหัตถ์ ซึ่งมีพระองคุลียาว อ่อนนุ่ม คลุมด้วยเปลวรัศมี ประดุจสายธารทองคำสีแดงธรรมชาติ ที่กำลัง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 4 หลั่งอยู่ เพราะประกอบด้วยรัศมีสีขาว แพรวพราวไปด้วยแสงแห่งแก้วมณี ที่นิ้วมืออันสั่นพริ้วอยู่บนศีรษะของอุตตรสามเณร แล้วตรัสว่า ดูก่อนอุตตระ นี้เป็นผลของกรรมเก่า เกิดขึ้นแล้วแก่เธอ เธอต้องทำความอดกลั้น ด้วยกำลัง แห่งการพิจารณา ในผลของกรรมนั้น ดังนี้ แล้วทรงแสดงธรรมตามสมควร แก่อัธยาศัย. อุตตรสามเณรกลับได้ปีติ และปราโมทย์อันโอฬาร เพราะความ เป็นผู้มีความเลื่อมใส และโสมนัสอันเกิดแล้ว ด้วยสัมผัสแห่งพระหัตถ์ของ พระศาสดา คล้ายกับทรงราดรดด้วยน้ำอมฤต ก้าวขึ้นสู่วิปัสสนามรรค ตาม ที่สั่งสมไว้ ยังกิเลสทั้งปวงให้สิ้นไปแล้ว ตามลำดับแห่งมรรคในทันใดนั้นเอง เพราะถึงความแก่รอบแห่งญาณ และเพราะเทศนาอันงดงามไพเราะของพระ ศาสดา. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า "สุเมธะ" มีพระมหาปุริสลักษณะ อันประเสริฐ ๓๒ ประการ พระองค์ทรงประสงค์ความสงัด จึงเสด็จไปป่า หิมพานต์ พระมุนีผู้เลิศ ประกอบด้วยพระกรุณาเป็น อุดมบุรุษ เสด็จถึงป่าหิมพานต์แล้ว ประทับนั่งขัด- สมาธิ ครั้งนั้น เราเป็นวิทยาธร สัญจรไปในอากาศ เราถือตรีศูล ซึ่งกระทำไว้ดีแล้ว เหาะไปในอัมพร พระพุทธเจ้าส่องสว่างอยู่ในป่า เหมือนกับไฟบนยอด ภูเขา เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญ และเหมือนต้น พระยารังที่มีดอกบาน เราออกจากป่าเหาะไปตาม พระรัศมีของพระพุทธเจ้า เห็นคล้ายกับสีของไฟที่ ไหม้ไม้อ้อ ยังจิตให้เลื่อมใส เราเลือกเก็บดอกไม้อยู่ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 5 ได้เห็นดอกกรรณิการ์ที่มีกลิ่นหอม จึงเก็บเอามา ๓ ดอก บูชาพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้า ครั้งนั้น ดอกไม้ของเราทั้ง ๓ ดอก เอาขั้วขึ้น เอากลีบลง ทำเป็นร่มเงาบังพระศาสดา ด้วยกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์ จำนง เราละร่างมนุษย์แล้ว ได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญ กรรมทำให้อย่างสวยงาม ในดาวดึงส์นั้นปรากฏชื่อว่า กรรณิการ์ แล่งธนูตั้งพันลูกคลีหนังตั้งร้อย คนถือธง สำเร็จด้วยสีเขียวใบไม้ มีประตูหน้าต่างตั้งแสนปรากฏ ในปราสาทของเรา บัลลังก์สำเร็จด้วยทองก็มี สำเร็จ ด้วยแก้วมณีก็มี สำเร็จด้วยแก้วทับทิมก็มี สำเร็จด้วย แก้วผลึกก็มี ตามแต่จะต้องการปรารถนา ที่นอนมี ค่ามาก ยัดด้วยนุ่น มีผ้าลวดลายรูปสัตว์ต่าง ๆ มี ราชสีห์เป็นต้น ผ้าลาดมีชายเดียว มีหมอนพร้อม ปรากฏว่ามีอยู่ในปราสาทของเรา ในเวลาที่เรา ปรารถนาจะออกจากภพ เที่ยวจาริกไปในเทวโลก ย่อมเป็นผู้อันหมู่เทวดาแวดล้อมไป เราสถิตอยู่ภายใต้ ดอกไม้ เบื้องบนเรามีดอกไม้เป็นเครื่องกำบัง สถานที่ โดยรอบ ๑๐๐ โยชน์ ถูกคลุมด้วยดอกกรรณิการ์ ดนตรีหกหมื่น บำรุงเราทั้งเช้าและเย็น ไม่เกียจคร้าน แวดล้อมเราเป็นนิตย์ ตลอดคืนตลอดวัน เรารื่นรมย์ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 6 ด้วยการฟ้อน การขับและด้วยกังสดาล เครื่องประโคม เป็นผู้มักมากด้วยกาม บันเทิงอยู่ด้วยความยินดีในการ เล่น ครั้งนั้น เราบริโภคและดื่มในวิมานนั้น บันเทิง อยู่ในไตรทศ เราพร้อมด้วยหมู่นางเทพอัปสร บันเทิง อยู่ในวิมานอันสูงสุด เราได้เสวยราชสมบัติในเทวโลก ๕๐๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และ ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับ มิได้ เมื่อเรายังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ย่อม ได้โภคทรัพย์มากมาย ความบกพร่องในโภคทรัพย์ ไม่มีแก่เราเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเกิดใน สองสกุล คือ ในสกุลกษัตริย์ หรือสกุลพราหมณ์ ย่อมไม่เกิดในสกุลต่ำทราม นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ยานช้าง ยานม้า และวอคานหาบ นี้เราได้ทุกสิ่ง ทุกอย่างทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา หมู่ทาส หมู่ทาสี และนารีที่ประดับประดาแล้ว เราได้ทุกอย่าง ทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ผ้าแพร ผ้าขนสัตว์ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้ายเราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่ง พุทธบูชา ผ้าใหม่ ผลไม้ใหม่ โภชนะมีรสอันเลิศ ใหม่ ๆ เราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา คำว่า เชิญเคี้ยวสิ่งนี้ เชิญบริโภคสิ่งนี้ เชิญนอนบนที่นอนนี้ เราได้ทั้งนั้น นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเป็นผู้อันเขา บูชาในที่ทุกสถาน เรามียศใหญ่ยิ่ง มีศักดิ์ใหญ่ มี พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 7 บริษัทไม่แตกแยกทุกเมื่อ เราเป็นผู้อุดมกว่าหมู่ญาติ นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราไม่รู้จักหนาว ไม่รู้จักร้อน ไม่มีความกระวนกระวาย อนึ่ง ทุกข์ทางจิต ย่อมไม่มี ในหทัยของเราเลย เราเป็นผู้มีผิวพรรณดังทองคำ เที่ยวไปในภพน้อยภพใหญ่ ความเป็นผู้มีวรรณะผิด- แผกไป เราไม่รู้จักเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว จึงจุติจากเทวโลก มาเกิดใน สกุลพราหมณ์ มหาศาลอันมั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี ละกามคุณ ออกบวชเป็นบรรพชิต เรามีอายุได้ ๗ ขวบแต่กำเนิด ได้บรรลุพระอรหัต พระพุทธเจ้าผู้มี ปัญญาจักษุ ทรงทราบคุณของเรา จึงรับสั่งให้เรา อุปสมบท เรายังหนุ่มก็ควรบูชา นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ทิพยจักษุของเราบริสุทธิ์ เราฉลาดในสมาธิ ถึง ความบริบูรณ์แห่งอภิญญา นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราบรรลุปฏิสัมภิทา ฉลาดหลักแหลมในอิทธิบาท ถึงความบริบูรณ์ในพระสัทธรรม นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ในกัปที่ ๓๐,๐๐๐ เราได้บูชาพระพุทธเจ้าใด ด้วย การบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็อุตตรสามเณร เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ลุกขึ้นจากหลาว แล้วยืนอยู่ใน อากาศ แสดงปาฏิหาริย์ ด้วยความอนุเคราะห์ในผู้อื่น มหาชนได้เกิดมีจิต พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 8 อัศจรรย์ในปรากฏการณ์ที่ไม่เคยมี. แผล (เก่า) ของท่านได้ผุดขึ้นในทันใด นั่นเอง. ท่านอันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านเสวยทุกข์เช่นนั้นอยู่ สามารถขวนขวายวิปัสสนาได้อย่างไร ? เมื่อจะแสดงความว่า ดูก่อนอาวุโส จะป่วยกล่าวไปใย ถึงโทษในสงสารของเรา ก็สภาพของสังขารทั้งหลาย ท่าน ทั้งหลายก็เห็นดีแล้ว เราแม้เสวยทุกข์เช่นนั้น อยู่อย่างนี้ ก็ยังสามารถเจริญ วิปัสสนาแล้วบรรลุพระอรหัตได้ จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า ภพอะไรที่เที่ยงไม่มี แม้สังขารที่เที่ยงก็ไม่มี ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ เราสลัดตน ออกจากกามทั้งปวง บรรลุถึงความสิ้นอาสวะแล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นตฺถิ โกจิ ภโว นิจฺโจ ความว่า ภพทั้งหลาย แยกประเภทออกไปอย่างนี้ คือ กรรมภพ อุปปัตติภพ กามภพ รูปภพ อรูปภพ สัญญีภพ อสัญญีภพ เนวสัญญีนาสัญญีภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ (และ) ปัญจโวการภพ. แม้ในบรรดาภพเหล่านั้น ภพอย่างใด อย่างหนึ่ง ที่จำแนกออกไปอย่างนี้ว่า เลว ปานกลาง อุกฤษฏ์ มีอายุยืน มากด้วยความสุข มีสุขและทุกข์คลุกเคล้ากันไป ดังนี้ จะเที่ยง ยั่งยืน มั่นคง มีอันไม่ต้องเพ่งดูเป็นธรรมดา ไม่มีเลย เพราะต้องอาศัยเหตุนั้น ๆ จึงเกิดขึ้น ประกอบความว่า ก็เพราะการณ์เป็นอย่างนี้แหละ ฉะนั้น แม้สังขารทั้งหลาย จะชื่อว่าเที่ยงไม่มีเลย. สังขารทั้งหลายนั่นแหละ ชื่อว่าเป็นของเกิดแล้ว โดยการกำหนด หมายรู้ เพราะอาศัยเบญจขันธ์ อันได้นามว่าสังขาร เพราะเหตุที่ปัจจัยทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 9 ปรุงแต่งแล้ว ย่อมเปลี่ยนแปลงไปเพราะชราและมรณะ เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า ไม่เที่ยง มีการแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จริงอย่างนั้น วิปริณามธรรมเหล่านั้น ท่านจึงกล่าวว่า สังขาร ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป โดยมีอธิบายว่า เบญจขันธ์ที่ท่านกล่าวไว้โดย ปริยายแห่งภพ และโดยปริยายแห่งสังขารเหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดไปตามปัจจัย และเกิดแล้ว ถูกชราเบียดเบียนบีบคั้น ย่อมเคลื่อน คือ แตกสลายไป. ด้วยบทว่า อุปฺปชฺชนฺติ จ เต ขนฺธา จวนฺติ อปราปร นี้ พระเถระแสดงความหมายว่า เบญจขันธ์ที่ได้ชื่อว่า ภพก็ดี สังขารก็ดี มีการ เกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นสภาพ. เพราะเหตุที่เมื่อพระโยคาวจร ยกเบญจขันธ์ ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้วพิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏชัด ดุจถูกไฟเผาแล้ว จะป่วยกล่าวไปใยถึงสังขารทั้งหลาย ที่พระโยคาวจรรู้อาทีนพ คือ โทษในเบญจขันธ์ที่ปัจจัยปรุงแต่งแล้ว ว่าเป็นเหมือนเรือนที่ถูกไฟไหม้แล้ว ด้วยวิปัสสนาปัญญา เห็นแล้วโดยเป็นอนิจจลักษณะ ย่อมปรากฏชัดกว่า เพราะความที่สังขารเป็นทุกข์ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา. เพราะเหตุที่ เมื่อพระโยคาวจรยกเบญจขันธ์ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้ว พิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏว่ามีภัยเฉพาะหน้าดุจเรือน ที่ถูกไฟไหม้ ฉะนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ภเวนมฺหิ อนตฺถิโก (เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ). ประกอบความว่า ก็แม้เล่ห์เหลี่ยม ที่มุ่งหมายในกามทั้งหลาย ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่ผู้ที่ทำตนให้หมุนกลับจากภพ ทั้งหลายได้โดยประการทั้งปวงอย่างนี้ ด้วยเหตุนั้น พระเถระ จึงกล่าวว่า นิสฺสโฏ สพฺพกาเมหิ เราเป็นผู้สลัดตนออกแล้วจากกามทั้งปวงดังนี้อธิบายว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 10 เราเป็นผู้มีจิตหมุนกลับจากกามทั้งหลายแม้เป็นทิพย์ (เห็น) เป็นเหมือนของ มนุษย์. บทว่า ปตฺโต เม อาสวกฺขโย ความว่า เพราะเหตุที่เราเป็นผู้มี สังขารอันขจัดขัดเกลาดีแล้ว เห็นโทษในภพทั้งหลายโดยชัดเจน และมีใจ ไม่ข้องแวะในกามทั้งหลาย ฉะนั้น ถึงแม้เราจะนั่งอยู่แล้วบนปลายหลาว เราก็ ได้บรรลุ คือ ถึงทับความสิ้นไปแห่งอาสวะ อันได้แก่พระนิพพาน และพระ- อรหัตผล. พระเถระ ให้โอวาทแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ก็เพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย เหล่าอื่น ผู้มีใจยังไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ พึงกระทำความอุตสาหะเพื่อ บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะนั้น. จบอรรถกถาอุตตรเถรคาถา ๒. ปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระปิณโฑลภารทวาชเถระ [๒๕๙] ได้ยินว่า พระปิณโฑลภารทวาชเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้อย่าง นี้ว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไป โดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้ เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาอาหารโดย ทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าว การไหว้ และการบูชาในตระกูลทั้งหลายว่า เป็น เปลือกตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะอันบุรุษชั่วละได้ยาก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 11 อรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา คาถาของท่านพระปิณโฑลภารทวาชเถระ เริ่มต้นว่า นยิท อนเยน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้ เกิดในกำเนิดราชสีห์ ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ อยู่ในถ้ำแห่งภูเขา. พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จเข้าไปสู่ถ้ำเป็นที่นอน ในเวลาที่ราชสีห์หลีกออกไปหากิน เพื่อจะทรง อนุเคราะห์เขา ประทับนั่งเข้านิโรธสมาบัติแล้ว ราชสีห์คาบเอาเหยื่อกลับมา เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ประตูถ้ำ เป็นผู้ร่าเริงยินดี กระทำการบูชาด้วยดอกไม้ ที่เกิดในน้ำและดอกไม้ที่เกิดบนบก ทำใจให้เลื่อมใส บันลือสีหนาทในเวลา ทั้ง ๓ เพื่อให้สัตว์ร้ายในป่าหนีไป เพื่อถวายอารักขาพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ยืน เฝ้าอยู่โดยมีพุทธานุสติเป็นอารมณ์ มันบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าตลอด ๗ วัน เหมือนอย่างที่บูชาในวันแรก. โดยล่วงไปได้ ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติ ทรงพระดำริว่า เท่านี้ก็จะพอเป็นอุปนิสัย เป็นไปแก่ราชสีห์ เมื่อมันเห็นอยู่ นั่นแล เสด็จเหาะขึ้นสู่อากาศ เสด็จไปยังพระวิหารแล้ว. ราชสีห์ ไม่อาจอด กลั้นความทุกข์ อันเกิดจากความพลัดพรากจากพระพุทธเจ้า กระทำกาละแล้ว ดุจช้างปาลิเลยยกะ เกิดในตระกูลของคฤหบดีผู้มีโภคะมาก ในพระนครหงสาวดี เจริญวัยแล้ว ไปสู่พระวิหารพร้อมกับชาวเมือง ฟังพระธรรมเทศนา บำเพ็ญ มหาทานตลอด ๗ วัน แล้วกระทำบุญจนตลอดชีวิต ท่องเที่ยวไป ๆ มา ๆ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 12 อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรปุโรหิต ของพระเจ้าอุเทน ใน พระนครโกสัมพี ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย โดยนาม ชื่อว่า ภารทวาชะ. เขาเจริญวัยแล้ว เรียนจบไตรเพท สอนมนต์กะมาณพ ๕๐๐ ถูก มาณพเหล่านั้นทอดทิ้ง เพราะเป็นผู้มีอาจาระไม่เหมาะสม เพราะเป็นคนจะกละ (กินจุ) ไปสู่พระนครราชคฤห์ เห็นลาภสักการะของพระผู้มีพระภาคเจ้า และ ของภิกษุสงฆ์ จึงบวชในพระศาสนา เป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนะ เที่ยวไป อันพระศาสดาทรงทำให้ตั้งอยู่ ในความเป็นผู้รู้ประมาณได้ด้วยอุบายวิธี เริ่ม ตั้งวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ ในอปทานว่า เมื่อก่อนเราเป็นพรานเนื้อ ครั้งนั้นเราเที่ยวอยู่ใน ป่าใหญ่ ได้เห็นพระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี ทรงรู้จบธรรมทั้งปวง เราเลื่อมใส ได้เอาผลมะหาด มาถวายพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด เป็นเขตแห่งบุญ ผู้แกล้วกล้า ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการ ถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการ ถวายผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระเป็นผู้ได้อภิญญา ๖ แล้ว คิดว่า มรรคผลใด อันสาวก ทั้งหลายพึงบรรลุ เฉพาะพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า มรรคผลนั้นเราก็ บรรลุแล้ว และบันลือสีหนาทในหมู่ภิกษุว่า ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผล พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 13 ผู้นั้นจงถามเรา ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงตั้งท่านไว้ใน เอตทัคคะ ด้วยพระพุทธดำรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นยอดแห่งภิกษุผู้เป็นสาวกของเรา ผู้บันลือสีหนาท. วันหนึ่ง ท่านเมื่อจะอนุเคราะห์พราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ มีความ ตระหนี่ เคยเป็นสหายกันในสมัยเมื่อเป็นคฤหัสถ์ ผู้เข้าไปหาถึงสำนักจึงกล่าว กถาพรรณนาอานิสงส์ของทานแก่พราหมณ์นั้น แม้เมื่อพราหมณ์ จะทำการ ขมวดคิ้วสยิวหน้าว่า พระเถระนี้ ประสงค์จะยังทรัพย์ของเราให้พินาศ แล้ว- กล่าวว่า เราจะถวายภัตรมื้อหนึ่งแก่ท่าน ดังนี้ จึงกล่าวว่า ท่านจงถวายภัตร มื้อหนึ่งนั้นแก่พระสงฆ์ อย่าถวายเราเลย แล้วให้พราหมณ์น้อมนำภัตรนั้น ไป ถวายสงฆ์ เมื่อพราหมณ์แสดงความไม่พอใจอีกด้วยคิดว่า พระเถระนี้ประสงค์ จะให้เราถวายทานแก่ภิกษุจำนวนมาก ดังนี้ พระเถระจึงยังพราหมณ์ให้เลื่อมใส ด้วยการประกาศถึงความที่แห่งทักษิณาทาน ที่ถวายในสงฆ์ โดยพระธรรม เสนาบดีในวันที่สองว่ามีผลมาก คิดว่าพราหมณ์นี้ สำคัญว่า พระเถระนี้ชักชวน ให้เราถวายทาน ด้วยควานอยากในอาหาร เขาไม่รู้ความที่เราควบคุม (กำหนดรู้) อาหารได้แล้วโดยประการทั้งปวง เอาเถิด เราจะทำให้เขารู้ ดังนี้ จึงได้กล่าว คาถา ๒ คาถา ความว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาโดยทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าวการ ไหว้ การบูชา ในตระกูลทั้งหลายว่า เป็นเปลือก ตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะ อันบุรุษชั่วละได้ยาก ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 14 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นยิท อนเยน ชีวิต ความว่า ชีวิต ของเรานี้ ชื่อว่า ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควรคือ โดยการแสวงหาที่ไม่สมควร มีการให้ไม้ไผ่ และการให้ดอกไม้เป็นต้น เพราะไม่มีความใคร่ในชีวิต. บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า ก็อาหารที่เรานำมา ย่อมไม่กระทำหทัย คือ จิต ให้สงบระงับ ดุจมรรคญาณและผลญาณ อธิบายว่า แต่จะกระทำเพียงระงับความหิวได้โดยทันทีอย่างเดียว. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า อาหาร คือ วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความอยากในรส ไม่ได้ทำจิตของเราให้สงบ คือไม่ทำจิตของเราให้ข้อง เพราะไม่มีความอยากในรสนั่นเอง อาจารย์บางพวก กล่าวว่า สนฺติเก ก็มี. อธิบายว่า ผู้ที่มีความจะกละในอาหารนั้น ย่อมต้องขวนขวายหาลาภ สักการะเที่ยวไป อาหารจึง ชื่อว่า มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะต้องใส่ใจถึงอยู่ เนือง ๆ ส่วนผู้ใดรู้เท่าทัน (ควบคุม) อาหารได้ ผู้นั้น ชื่อว่าละฉันทราคะ ในอาหารนั้นได้แล้ว อาหารชื่อว่าไม่มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะไม่มีการกระทำ ไว้ในใจ มีอาทิว่า ทำอย่างไรหนอ ถึงจะได้อาหารดังนี้โดยแท้ เพราะใส่ใจ ถึงปัญหายอกย้อน อันจะมีขึ้นว่า ก็ถ้าท่านไม่มีความใคร่ในชีวิต และความอยาก ในรสอาหารไซร้ เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุไร ท่านจึงเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต ดังนี้ พระเถระจึงกล่าวว่า ร่างกายจะดำรงอยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยว แสวงหาอาหารโดยทางที่ชอบ. อาหาร คือ โภชนะเป็นที่ตั้ง คือ เป็นฐานได้แก่เป็นปัจจัยของร่างกาย นั้น เพราะเหตุนั้น ร่างกายจึงชื่อว่า อาหารัฏฐิติกะมีอาหารเป็นที่ตั้ง อธิบายว่า การสั่งสม คือร่างกาย มีความเป็นไปเนื่องด้วยอาการ เพราะเราเห็นอย่างนี้ รู้อย่างนี้ จึงยกเอาความข้อนี้ไว้ในสมอง ต้องเที่ยวแสวงหา คือ ทำการแสวงหา อาหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 15 พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ท่านไม่ควรคิดในคนเช่นเราอย่างนี้ว่าเข้าไป สู่สกุลเพราะปัจจัยเป็นเหตุ และถูกลาภสักการะ คือการกราบไหว้บูชาในสกุล นั้น ผูกมัดไว้ จึงได้กล่าวคาถาว่า ปงฺโก (การไหว้การบูชาในตระกูลเป็น เปลือกตม). คาถานั้นมีอธิบายว่า เพราะเหตุที่บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้รู้ คือ รู้แจ้ง หรือได้แก่ประกาศการสรรเสริญคุณและการบูชา ของเหล่า บรรพชิตผู้เข้าไปสู่สกุล เพราะมีปัจจัยเป็นเหตุที่จักเป็นไปในตระกูลทั้งหลาย คือ ในหมู่ชาวบ้าน นี้นั้นว่าเป็นเปลือกตม คือเป็นหล่ม เพราะอรรถว่า เป็นเหตุให้บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้วจมลง และเพราะกระทำความ เศร้าหมองให้แก่บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้ว ฉะนั้นการสรรเสริญคุณ และการบูชานั้น จึงไม่เป็นไปเพื่อผูกมัดสัตบุรุษทั้งหลาย จักป่วยกล่าวไปใย ถึงการหวังสักการะเล่า เพราะท่านละได้แล้ว แต่สำหรับอสัตบุรุษ ความหวัง ในสักการะ ย่อมชื่อว่าเป็นลูกศรอันละเอียด รู้ได้ยาก เพราะก่อให้เกิดความ บีบคั้นโดยเป็นสภาพที่รู้ได้โดยยาก และเพราะไม่สามารถจะถอนออกได้เพราะ เจาะลึกเข้าไปในภายใน เพราะเหตุนั้นแล สักการะจึงเป็นของอันบุรุษชั่วนั้น ละได้ยาก คือดึงออกไปได้โดยยาก เพราะไม่ดำเนินปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติ ให้ถึงการละสักการะนั้น ชื่อว่า เป็นคนเลว เพราะไม่ละความหวังในลาภ สักการะ. พราหมณ์ฟังคำเป็นคาถานั้นแล้ว ได้เป็นผู้มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ในพระเถระ. จบอรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 16 ๓. วัลลิยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวัลลิยเถระ [๒๖๐] ได้ยินว่า พระวัลลิยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า วานรเข้าไปอยู่ในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออกทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุดนิ่ง นะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจัก ไปไกลไม่ได้ละ. อรรถกถาวัลลิยเถรคาถา คาถาของท่านพระวัลลิยเถระ เริ่มต้นว่า มกฺกโฏ ปญฺจทฺวาราย. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญมากหลายไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกัป ที่ ๓๑ นับแต่ภัทรกัปนี้ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเข้าไปสู่ป่าด้วยกรณียกิจ บางอย่าง เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่า นารทะ อยู่ที่โคนต้นไม้ในป่านั้น เป็นผู้มีใจเลื่อมใส ทำศาลาด้วยไม้อ้อ มุงบังด้วยหญ้าถวาย และแผ้วถางที่ สำหรับเดินจงกรมของพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น เกลี่ยทรายลง (จนเรียบ) ถวาย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 17 ได้มีนามว่า วัลลิยะ. เขาเจริญวัยแล้ว ถึงความเป็นหนุ่มโดยลำดับ เป็น ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจของอินทรีย์ ท่องเที่ยวไป เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า โดยการแนะนำของกัลยาณมิตร ฟังธรรมแล้ว ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ หารินะ ครั้งนั้นพระสยัมภูพุทธเจ้า นามว่า " นารทะ " อยู่ใกล้ต้นไม้ เราทำเรือนไม้อ้อ มุงด้วยหญ้า เราได้ แผ้วถางทางจงกรม ถวายพระสยัมภู ด้วยกรรมที่เรา ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์จำนงไว้ เราละ ร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ บนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์นั้น วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญกรรมเนรมิตขึ้นอย่างสวยงาม เพราะผล แห่งการสร้างกุฎีไม้อ้อ เรารื่นรมย์อยู่ในเทวโลก ๑๔ กัป ได้เสวยสมบัติในเทวโลก ๗๑ ครั้ง ได้เป็นพระ- เจ้าจักรพรรดิ ๓๔ ครั้ง และได้เป็นเจ้าประเทศราช อันไพบูลย์ โดยคณานับไม่ถ้วน เราขึ้นสู่ปราสาทคือ ธรรมแล้ว เข้าถึงซึ่งอมตธรรมอันประเสริฐ ด้วยอาการ ทั้งปวง อยู่ในศาสนาของพระศากยบุตร ตามปรารถนา ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ทำกรรมใดไว้ใน กาลนั้น ด้วยธรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผล แห่งกุฏิไม้อ้อ. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 18 ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เพราะเหตุที่จิตของตนในเวลา ที่เป็นปุถุชน เป็นไปตามความใคร่ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปารมณ์เป็นต้น บัดนี้ เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล โดยประกาศถึงความที่แห่งอารมณ์มีรูป เป็นต้น อันตนข่มไว้ได้แล้ว ด้วยพระอริยมรรค จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า วานรเข้าไปในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออก ทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุด นิ่งนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจักไปไกลไม่ได้ละ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ฆฏฺฏยนฺโต ความว่า พระโยคาวจร ละอารมณ์อย่างหนึ่ง แล้วไปยึดอารมณ์อีกอย่างหนึ่ง ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปเป็นต้น ด้วยจักษุทวารเป็นต้นนั้น ๆ ไม่พอใจเพื่อจะอยู่นิ่ง ๆ ด้วย สามารถแห่งการยึดมั่นของจิตสันดาน จึงพยายาม คือ ทำอารมณ์ให้ไหวอยู่ เนือง ๆ ย่อมไหวไปตาม คือเที่ยวไปตามความใคร่ ในอารมณ์มีรูปารมณ์ เป็นต้นนั้นแล ดุจลิงเข้าไปหาผลไม้กิน ยังต้นไม้ให้ไหวในที่นั้นหลายครั้ง เพราะละกิ่งไม้กิ่งหนึ่งแล้ว ไปเกาะกิ่งไม้อีกกิ่งหนึ่ง เพราะความหลุกหลิก ของตน ฉะนั้น. ก็ในคาถานี้ ท่านกล่าวความเป็นปัจจุบัน เพราะเป็นเรื่อง ที่ใกล้กับสิ่งที่ดำเนินไปอยู่ ก็เมื่อลิง (คือจิต) วิ่งวนไปมาอยู่อย่างนี้ พระเถระ จึงปรามว่า จงหยุดนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไป หมายความว่า ดูก่อนลิงคือจิต บัดนี้ เจ้าจงหยุด อย่าวิ่งไป คือจำเดิมแต่นี้ไป เจ้าไม่สามรถจะวิ่งต่อไปได้ เพราะ เหตุที่เรือนคืออัตภาพนั้น เจ้าจะเข้าไปคบหาไม่ได้ดังกาลก่อน เพราะปิดประตู เรือนแล้ว ฉะนั้น เจ้าอย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เพราะเหตุไร ? เพราะเรา จับเจ้าได้แล้วด้วยปัญญา คือ เจ้าถูกข่มไว้เรียบร้อยแล้ว ด้วยการตัดอุปาทาน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 19 ๕ กล่าวคือกิเลสมาร และอภิสังขารมาร ด้วยมรรคปัญญา ในบัดนี้ เพราะ เหตุนั้น พระเถระจึงแสดงว่า เจ้าจักไปไกลไม่ได้ คือเจ้าจะไปสู่อัตภาพที่ สองเป็นต้น ซึ่งไกลกว่าอัตภาพนี้ไม่ได้ ได้แก่การไปของเจ้าจะมีได้เพียงแต่ จริมกจิตเท่านั้น. ปาฐะว่า เนโต ทูร ดังนี้ก็มี. ความหมายก็อันนั้น. จบอรรถกถาวัลลิยเถรคาถา ๔. คังคาตีริยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระคังคาตีริยเถระ [๒๖๑] ได้ยินว่า พระคังคาตีริยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อ สำหรับตักน้ำรด ศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง ๒ พรรษา เราพูดเพียงคำเดียวเท่านั้น ในภายใน พรรษาที่ ๓ เราทำลายกองความมืดคืออวิชชาได้แล้ว. อรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา คาถาของท่านพระคังคาตีริยเถระ เริ่มต้นว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้วเป็นผู้มี ความเลื่อมใสอย่างยิ่งในพระศาสนา ได้ถวายน้ำดื่มแด่ภิกษุสงฆ์. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 20 ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของคฤหบดีคนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า ทัตตะ. เขาเจริญวัย แล้วอยู่ครอบครองเรือน ไม่รู้จักความเป็นอคมนียยัฏฐาน จึงทำการล่วงละเมิด ต่อมารู้จักความเป็นอคมนียัฏฐานแล้ว จึงเกิดความสลดใจ บวชแล้ว รังเกียจ กรรมนั้น ดำรงตนตามลูขปฏิปทา (ปฏิบัติอย่างเศร้าหมอง) ถือบังสุกุลจีวร และบาตรดิน มีลักษณะคล้ายหม้อรดน้ำศพ กระทำกุฎีด้วยใบตาล ๓ ใบ อยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงได้สมญานามว่า คังคาตีริยะ. ท่านอธิษฐานจิตว่า เรายังไม่ได้บรรลุพระอรหัต จะไม่สนทนากับใคร ๆ แล้วเป็นผู้นิ่งอยู่ตลอดปีแรก ไม่ยอมทำวจีเภท (ไม่ยอมพูดจา) เลย อยู่แล้ว. ในปีที่สอง ถูกหญิงคนหนึ่งในโคจรคาม ประสงค์จะทดลองว่า เป็นใบ้ หรือเปล่า จึงเมื่อจะเทน้ำนมลงในบาตร แกล้งทำเป็นมือพิการเทราดลงไป เผลอเปล่งวาจาออกไปว่า พอละน้องหญิง แต่ในปีที่ ๓ เพียรพยายามอยู่ บรรลุพระอรหัตแล้วในระหว่างพรรษาทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าว ไว้ในอปทานว่า เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ในภิกษุสงฆ์ ผู้ยอดเยี่ยมของพระพุทธเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ จึงได้ตักน้ำใส่หม้อน้ำฉันจนเต็ม ในเวลาที่เราจะต้อง การน้ำ จะเป็นยอดภูเขา ยอดไม้ ในอากาศ หรือพื้นดิน น้ำย่อมเกิดแก่เราทันที ในกัปที่แสน แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จัก ทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการให้น้ำเป็นทาน. เราเผากิเลส ทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรา กระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 21 ก็พระเถระครั้นเป็นพระอรหันต์แล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล ด้วยมุขคือการชี้แจงข้อปฏิบัติอันเป็นส่วนเบื้องต้นของตน ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อสำหรับรดน้ำศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง๒พรรษา เราพูดเพียงคำเดียว ในภายในพรรษาที่ ๓ เราทำลาย กองความมืด คืออวิชชาได้แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน คงฺคาตีเร กุฏี กตา ความว่า เราสร้างกุฎีไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา เพื่อป้องกันฝนด้วย ใบตาล ๓ ใบ ซึ่งหล่นลงมาจากต้นตาล. พระเถระแสดงความสันโดษด้วย เสนาสนะของตน ด้วยบทนั้น. สมจริงดังคำเป็นคาถาที่พระธรรมเสนาบดี กล่าวไว้ว่า สำหรับภิกษุผู้มีความเพียร นั่งขัดสมาธิ ไม่คุก- เข่า เป็นการเพียงพอที่จะอยู่ได้สบาย. ปาฐะว่า ตาลปตฺตีนปิ ดังนี้ก็มี ความก็อย่างนั้น. บทว่า ฉวสิตฺโตว เม ปตฺโต ความว่า บาตรของเราเหมือนดัง หม้อสำหรับตักน้ำรดศพ อธิบายว่า คล้ายหม้อน้ำสำหรับรดน้ำนมให้คนตาย. บทว่า ปสุกูลญฺจ จีวร ความว่า และจีวรของเรา ก็เป็นดังผ้า คลุกฝุ่น ที่ทำด้วยเศษผ้า (ผ้าขี้ริ้ว) ที่เขาทิ้งแล้วในที่ทั้งหลาย มีระหว่างทาง และป่าช้าเป็นต้น. พระเถระแสดงความสันโดษด้วยบริขาร ด้วยบททั้งสอง. บทว่า ทวินฺน อนฺตรวสฺสาน ความว่า ในระหว่างพรรษาทั้งสอง คือ ในปีที่บรรลุพระอรหัต นับแต่บวชแล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 22 บทว่า เอกา วาจา เม ภาสิตา ความว่า เราพูดเพียงคำเดียว คือ กล่าวห้ามการถวายน้ำนมว่า พอละน้องหญิงเท่านั้น การเปล่งคำพูด อย่างอื่น มิได้มีเลยในพรรษานั้น พระเถระแสดงการสำรวมกายวาจา อย่าง อุกฤษฏ์ด้วยบทนั้น. บทว่า ตติเย อนฺตรวสฺสมฺหิ ความว่า ในระหว่างปีที่ ๓ ได้แก่ ยังไม่ทันครบปีที่ ๓ นั่นเอง. บทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต ความว่า กองแห่งความมืด อันเรา ทำลายแล้ว ด้วยมรรคอันเลิศ อธิบายว่า กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ใน สันดาน คือ อวิชชา อันเราตัดขาดแล้ว. ด้วยบทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต นั้น พระเถระกล่าวถึงการละกิเลสทั้งปวงได้ โดยไม่เหลือ เพราะตั้งอยู่เป็น อันเดียวกันกับอวิชชานั้น. จบอรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา ๕. อชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระอชินเถระ [๒๖๒] ได้ยินว่า พระอชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อมดู หมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใดใน โลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่า บุคคลนั้นจะ เป็นผู้ชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือ ของคน พาลทั้งหลาย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 23 อรรถกภาอชินเถรคาถา คาถาของท่านพระอชินเถระ เริ่มต้นว่า อปิ เจ โหติ เตวิชฺโช. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์- ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว ไปป่าด้วยกรณียกิจบางอย่าง เห็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า นามว่า สุจินติตะ ในป่านั้น ถูกอาพาธเบียดเบียน บีบคั้นนั่งอยู่แล้ว จึงเข้าไปหาไหว้แล้ว เป็นผู้มีจิตเลื่อมใส ได้นำเอาขี้ตะกอน เปรียงเข้าไปถวาย เพื่อประกอบยา. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้ว ท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในสุคติภพเท่านั้น ถือปฏิสนธิในเรือนของพราหมณ์ผู้ยากจน คนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้. ในเวลาคลอด คนทั้งหลาย รับเขาไว้ด้วยหนังเสือ ด้วยเหตุนั้น จึงขนานนานเขาว่า อชินะ นั่นแล. เขาเกิดในตระกูลที่ยากจน เพราะไม่ได้กระทำกรรมอันเป็นเหตุยังโภคะ ให้เป็นไป แม้เจริญวัยแล้ว ก็ยังเป็นผู้มีน้ำและข้าวไม่บริบูรณ์ เที่ยวไป เห็นพุทธานุภาพ ในคราวที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับพระเชตวันมหาวิหาร เป็นผู้มีศรัทธาจิต บวชแล้ว กระทำกรรมในวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีภาคะ ผู้มีเหตุอันดำริดีแล้ว เป็นเชษฐ- บุรุษของโลก ประเสริฐกว่านรชน เข้าไปสู่ป่าใหญ่ ถูกอาพาธอันเกิดแต่ลมเบียดเบียน เราเห็นแล้ว จึง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 24 ทำจิตให้เลื่อมใส นำเอาขี้ตะกอนเปรียงเข้าไปถวาย เพราะเราได้กระทำกุศลและได้บูชาพระพุทธเจ้าเนืองๆ แม่น้ำคงคาชื่อภาคีรถีนี้ มหาสมุทรทั้ง ๔ และพื้นปฐพี ที่น่ากลัว ผ ซึ่งจะประมาณมิได้ นับไม่ถ้วนนี้ ย่อม สำเร็จเป็นเปรียงขึ้นได้ สำหรับ เรา น้ำผึ้ง น้ำตาลกรวด ดังจะรู้ความดำริของเรา เกิดขึ้น ตอไม้ที่งอกขึ้น แต่ แผ่นดินในทิศทั้ง ๔ ดังจะรู้ความดำริของเรา ย่อมเกิด เป็นต้นกัลปพฤกษ์ขึ้น เราได้เป็นจอมเทวดาเสวยราช- สมบัติในเทวโลก ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดย คณานับไม่ถ้วน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งขี้ตะกอนเปรียง. เราเผากิเลสทั้งหลาย แล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จ แล้ว ดังนี้. ก็พระเถระ แม้บรรลุพระอรหัตแล้ว ก็เป็นผู้มีลาภน้อย ไม่ปรากฏ ชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมที่มีในก่อน แม้อุทเทสภัตรและสลากภัตรที่ถึงท่าน ก็ต่ำช้าทั้งนั้น ก็ภิกษุและสามเณรทั้งหลายที่เป็นปุถุชน ย่อมดูหมิ่นท่านว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมนั่นแล พระเถระเมื่อจะยังภิกษุเหล่านั้น ให้สลดใจ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อม ดูหมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใด พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 25 ในโลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะ เป็นคนชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือของคน- พาลทั้งหลาย ดังนี้. ศัพท์ว่า อปิ ในคาถานั้น เป็นนิบาต ลงในอรรถว่า ยกย่องสรรเสริญ ศัพท์ว่า เจ ใช้ในการคาดคะเน. บทว่า โหติ แปลว่า ย่อมเป็น. บุคคลชื่อว่า เตวิชฺโช เพราะ เป็นผู้มีวิชชา ๓. ชื่อว่า มจฺจุหายี เพราะละมัจจุได้. ชื่อว่า ไม่มีอาสวะ เพราะไม่มี อาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ถึงแม้ว่า บุคคล จะเป็นผู้ชื่อว่า มีวิชชา ๓ เพราะบรรลุวิชชา ๓ เหล่านี้ คือ ทิพยจักขุญาณ บุพเพนิวาสญาณ (และ) อาสวักขยญาณ ต่อแต่นั้น ก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น สิ้นไปรอบแล้วโดยประการทั้งปวง ชื่อว่า ละมัจจุแล้ว เพราะไม่มีความตาย โดยที่ไม่ต้องถือเอาภพใหม่อีกต่อไป แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทั้งหลาย คือบุคคลผู้มีปัญญาทราม ย่อมดูหมิ่น บุรุษผู้สูงสุดนั้น แม้ถึงได้บรรลุประโยชน์ของตน ที่กุลบุตรทั้งหลาย ผู้ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มุ่งหมายโดยชอบที่เดียว ว่าเป็นผู้ไม่มี ชื่อเสียง ไม่มีนามปรากฏ เพราะไม่มีลาภที่เกิดขึ้นว่า เป็นผู้กล่าวสอนเรื่อง ธุดงค์ เป็นพหูสูต เป็นพระธรรมกถึก. เพราะเหตุไร ? เพราะไม่รู้ คือ เพราะเหตุแห่งการไม่รู้ ท่านแสดงการไม่รู้คุณทั้งหลายนั่นแลว่าเป็นเหตุใน ข้อนั้น. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ก็คนพาลทั้งหลายย่อมดูหมิ่นแม้ผู้ที่ควร สรรเสริญ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ (เห็นแก่ได้) เพราะไม่รู้คุณทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 26 ฉันใด ก็ย่อมสรรเสริญแม้ผู้ที่ควรดูหมิ่นอย่างนี้ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ เพราะไม่รู้คุณทั้งหลายฉันนั้น ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ไว้. พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๒ ดังต่อไปนี้ บทว่า โย เป็นการกล่าว แสดงถึงความไม่แน่นอน. จ ศัพท์เป็นนิบาตใช้ในพยดิเรก. ด้วย จ ศัพท์นั้น ส่องให้รู้ ถึงความต่างกันที่กำลังกล่าวถึงบุคคลนี้อยู่นั่นแหละ ว่าแผกจากบุคคล ตามที่กล่าวแล้ว ศัพท์ว่า โข เป็นนิบาตลงในอวธารณะ (จำกัดความให้แน่ชัด). บทว่า อนฺนปานสฺส เป็นเพียงตัวอย่าง. บทว่า ลาภี แปลว่า มีลาภ. บทว่า อิธ ความว่า ในโลกนี้. ชื่อว่า บุคคล เพราะเต็มและ กลืนกินสัตตาวาส (ภพเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์) นั้น ๆ ด้วยชราและมรณะ. บทว่า ปาปธมฺโม ได้แก่ ธรรมอันลามก. ก็ในคาถาที่ ๒ นี้ มีอรรถาธิบายว่า ส่วนบุคคลใด ย่อมเป็นผู้มีปกติได้เพียงปัจจัย มีจีวรเป็นต้น เท่านั้น ไม่ได้มรรคผลมีฌานเป็นต้น บุคคลนั้นแม้ถึงจะเป็นผู้มีธรรมอันเลว โดยความเป็นผู้ทุศีล เพราะมีความปรารถนาลามก แต่ก็ยังเป็นผู้อันคนพาล ทั้งหลายในโลกนี้ สักการะ เคารพ เพราะความเป็นผู้หนักในลาภ. จบอรรถกถาอชินเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 27 ๖. เมฬชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระเมฬชินเถระ [๒๖๓] ได้ยินว่า พระเมฬชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เมื่อใดเราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรงแสดง อยู่ เมื่อนั้น เราไม้รู่สึกมีความสงสัย ในพระศาสดาผู้รู้ ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้ว- กล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือ ว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. อรรถกถาเมฬชินเถรคาถา คาถาของท่านพระเมฬชินเถระ เริ่มต้นว่า ยทาห ธมฺมมสฺโสสึ. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญทั้งหลายไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ บรรลุนิติภาวะแล้ว วันหนึ่ง เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผล อาโมทะ มีรสอร่อย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปเกิดในตระกูลกษัตริย์ กรุงพาราณสี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า เมฬชินะ ถึงความสำเร็จในศิลปวิทยา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 28 เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง มีนามกระฉ่อนปรากฏไปทั่วทิศ. เมื่อพระผู้มีพระ- ภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนะ กรุงพาราณสี เขาไปสู่พระวิหาร เข้าเฝ้า พระศาสดา ฟังธรรมแล้วได้ศรัทธาจิต บวชแล้วเริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระ อรหัตในวันนั้นเอง. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้สยัมภู ผู้มีพระรัศมีนับ ด้วยพัน ไม่ทรงพ่ายแพ้อะไร ๆ ทรงออกจากวิเวกแล้ว เสด็จออกโคจรบิณฑบาต เราถือผลไม้อยู่ได้เห็นแล้ว จึงได้เข้าไปเฝ้าพระนราสภ เรามีจิตเลื่อมใส มีใจ โสมนัส ได้ถวายผลไม้ ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว ในเวลาต่อมา อันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านได้บรรลุอุตริมนุสธรรมแล้วหรือ เมื่อจะบันลือสีหนาท ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เมื่อใด เราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรง แสดงอยู่ เมื่อนั้น เราไม่รู้สึกความสงสัยในพระศาสดา ผู้รู้ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้วกล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยทา ได้แก่ ในกาลใด. พระเถระเรียก ตัวเองว่า " เรา ". พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 29 บทว่า ธมฺม ได้แก่ธรรม คือ อริยสัจ ๔. บทว่า อสฺโสสึ แปลว่า ฟังแล้ว. บทว่า สตฺถุโน ความว่า ชื่อว่าศาสดา เพราะอรรถว่า ทรงสั่งสอน เวไนยสัตว์ทั้งหลาย ด้วยประโยชน์ทั้งหลาย มีทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เป็นต้น. บทว่า กงฺข แปลว่า ความสงสัย พระผู้มีพระภาคเจ้าชื่อว่าเป็น สัพพัญญู เพราะอรรถว่า ทรงรู้สังขตธรรมและอสังขคธรรม โดยไม่มีส่วนเหลือ ชื่อว่า อปราชิเต เพราะไม่มีผู้ที่จะทำให้พ่ายแพ้ได้ ไม่ว่าที่ไหน ๆ ชื่อว่า สตฺถวาเห เพราะอรรถว่า ขนสัตว์จากกันดาร คือสงสารไปสู่พระนิพพาน. ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ดังนี้. นับจำเดิมแต่เวลาที่พระศาสดาทรงแสดงธรรม เราได้ฟังคือเข้าไป ทรงจำ ด้วยการแล่นไปตามแห่งโสตทวาร ได้แก่ ได้รับจตุสัจจธรรม เราไม่ มีความสงสัย ในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ชื่อว่า ทรงหยั่งรู้พระสัพพัญญุตญาณ โดยไม่มีอะไรขัดขวาง เพราะทรงรู้สมมติธรรมทั้งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยไม่มีส่วนเหลือ ด้วยสยัมภูญาณ ชื่อว่า ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ เพราะ ความเป็นผู้อันมารเหล่านั้นชนะไม่ได้ โดยที่ทรงครอบงำมารแม้ทั้ง ๕ ไว้ได้ และเพราะความเป็นผู้มีจักรคือธรรม อันใคร ๆ กำจัดไม่ได้ในโลกพร้อมทั้ง เทวโลก ชื่อว่าเป็นผู้นำหมู่ เพราะทรงนำเวไนยสัตว์ให้ผ่านพ้นกันดาร มีโลภ- กันดารเป็นต้น ชื่อว่าแกล้วกล้าเป็นอันมาก เพราะทรงตัดกำกงแห่งสงสาร อันใหญ่หลวงได้เด็ดขาด ชื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐ คือสูงสุดกว่าสารถีทั้งหลาย เพราะทรงเป็นที่พึ่ง คือทรงฝึกบุรุษที่ควรฝึกอันคนอื่นฝึกได้ยาก ได้ด้วยการ ฝึกที่ดีที่สุด ว่าเป็นพระพุทธเจ้า (จริง) หรือหนอ หรือไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะไม่มีความเคลือบแฝงอย่างอื่นเป็นปัจจัย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 30 ก็ข้อกังขา คือความสงสัยในอริยมรรคอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง แสดงแล้วเห็นปานนั้น และในปฏิปทามีศีลเป็นต้น อันเป็นปฏิปทาที่สมควร แก่พระอริยมรรคนั้น ว่า จะเป็นธรรมนำสัตว์ให้พ้นทุกข์ได้จริงหรือไม่หนอ ดังนี้ ย่อมไม่มี คือไม่มีข้อสงสัย. ก็ในบาทคาถานี้ พึงทราบว่า ด้วยการกล่าว ถึงความสงสัยในอริยธรรม ก็เป็นอันท่านกล่าวถึงความสงสัยแม้ในพระอริยสงฆ์ ไว้ด้วยแล้วทีเดียว เพราะความเป็นผู้ตั้งอยู่ในมรรคนั้น โดยไม่มีความเป็น อย่างอื่น ฉะนี้แล. จบอรรถกถาเมฬชินเถรคาถา ๗. ราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระราธเถระ [๒๖๔] ได้ยินว่า พระราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันใด จิตที่ อบรมดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 31 อรรถกถาราธเถรคาถา คาถาของท่านพระราธเถระ เริ่มต้นว่า ยถา อคาร ทุจฺฉนฺน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในพระนครหงสาวดี ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้ แล้วไปสู่วิหาร เข้าไปเฝ้าพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว นั่งอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง เห็นพระศาสดาทรงแต่งตั้งภิกษุรูปหนึ่ง ไว้ในตำแหน่งของภิกษุผู้เลิศกว่าภิกษุ ทั้งหลายผู้มีปฏิภาณ ปรารถนาตำแหน่งนั้นด้วยตนเอง แล้วบำเพ็ญมหาทาน และได้ทำการบูชาแด่พระศาสดาอย่างโอฬาร เขาตั้งปณิธานไว้อย่างนี้ จุติจาก อัตภาพนั้นแล้ว สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดาเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลมะม่วง มี รสหวาน. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดในตระกูลพราหมณ์ ใน พระนครราชคฤห์ ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าแห่งเราทั้งหลาย ได้นามว่า ราธะ เจริญวัยแล้ว อยู่ครองเรือน ในเวลาแก่ตัวลง ถูกลูกเมียลบหลู่ ไปสู่วิหารด้วยคิดว่า ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองเรือนของเรา เราจักบวช เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นเถระ ขอบรรพชา อันภิกษุผู้เถระเหล่านั้น ห้ามว่า พราหมณ์นี้แก่แล้ว ไม่สามารถจะบำเพ็ญวัตรปฏิบัติได้ จึงไปยังสำนักของ พระศาสดา กราบทูลอัธยาศัยของตนให้ทรงทราบ อันพระศาสดาทรงตรวจดู พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 32 ความสมบูรณ์แห่งอุปนิสัยแล้ว ตรัสสั่งให้พระธรรมเสนาบดี จัดแจงบวชให้ เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้ถวายผลมะม่วงกะล่อนทอง แด่พระสัม- พุทธเจ้า ผู้มีพระฉวีวรรณเหมือนทองคำ ผู้สมควรรับ เครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวาย ผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวาย ผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้ . ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เที่ยววนเวียนไปมาอยู่ในสำนัก ของพระบรมศาสดา เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้รู้ปฏิภาณ อันเป็นเหตุให้ มีความเข้าใจพระธรรมเทศนาของพระศาสดาอย่างแจ่มแจ้ง แท้จริง พระธรรม เทศนาใหม่ ๆ ของพระทศพล อาศัยความปรากฏขึ้นแห่งทิฏฐิ ย่อมแจ่มแจ้ง แก่พระเถระ. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระ ราธะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีปฏิภาณ. วันหนึ่ง พระเถระเมื่อจะ ชมเชยภาวนา ว่าสัตว์เหล่านี้อันราคะครอบงำได้ เพราะไม่เจริญภาวนา เมื่อ มีการเจริญภาวนา ราคะก็ครอบงำไม่ได้ ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ฉันใด จิตที่อบรม ดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 33 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อคาร ได้แก่ เรือนชนิดใดชนิดหนึ่ง. บทว่า ทุจฺฉนฺน ได้แก่ มุงไว้ห่าง ๆ คือเป็นช่องน้อยช่องใหญ่. บทว่า สมติวิชฺฌติ ความว่า ฝนที่ตกย่อมรั่วรดได้. บทว่า อภาวิต ความว่า จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว เพราะเว้นจากภาวนา เปรียบเหมือนฝนที่รั่วรดเรือนได้. บทว่า ราโค สมติวิชฺฌติ ความว่า มิใช่ราคะจะรั่วรดได้อย่าง เดียวเท่านั้น แม้สรรพกิเลสมี โทสะ โมหะ และมานะเป็นต้น ก็ย่อมรั่วรด จิตเห็นปานนั้นได้เหมือนกัน. บทว่า สุภาวิต ได้แก่ จิตที่อบรมดีแล้ว ด้วยสมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น ย่อมไม่สามารถจะรั่วรดจิต เห็นปานนั้นได้ เหมือนเรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉะนั้น. จบอรรถกถาราธเถรคาถา ๘. สุราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระสุราธเถระ [๒๖๕] ได้ยินว่า พระสุราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่าย คือ ทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นเราได้ บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 34 อรรถกถาสุราธเถรคาถา คาถาของท่านพระสุราธเถระ เริ่มต้นว่า ขีณา หิ มยฺห ชาติ. เรื่องราวของท่าน เป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า สิขี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดา มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลหมากงั่ว. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว วนไปเวียนมาอยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดเป็นน้องชายของพระราธเถระ ที่ ข้าพเจ้ากล่าวไว้ติดต่อกันเป็นลำดับมา ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า สุราธะ. เมื่อพระราธเถระผู้เป็นพี่ชายบวชแล้ว แม้ท่านเองก็ออกบวช เจริญ วิปัสสนา บรรลุพระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่าน กล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้เห็นสมเด็จพระโลกนาถ ผู้โชติช่วงเหมือน ต้นกรรณิการ์ รุ่งเรืองดังพระจันทร์ในวันเพ็ญ และ เหมือนต้นไม้ประจำทวีปที่โพลงอยู่ เราเลื่อมใส ได้ เอาผลหมากงั่วถวาย แด่พระศาสดาผู้เป็นทักขิไณย- บุคคล เป็นวีรบุรุษ ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วย การถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่ง การถวายผลไม้ เราเผากิเลสแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 35 ก็พระเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล เพื่อแสดงความที่คำสั่งสอนเป็นนิยยานิกธรรม (นำสัตว์ออกจากทุกข์) จึงได้ กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่ายคือทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์อันใด ประโยชน์นั้นเรา ได้บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ขีณา ความว่า ถึงแล้ว ซึ่งความสิ้นไป คือความสิ้นสุด. บทว่า ชาติ ได้แก่ ภพ หรือการบังเกิดในภพ. บทว่า วุสิต ชินสาสน ความว่า คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระ นามว่า ชินะ ได้แก่ มรรคพรหมจรรย์ อันเราอยู่แล้ว คืออยู่จบแล้ว. บทว่า ปหีโน ชาลสงฺขาโต ความว่า ทิฏฐิและอวิชชา ที่มีนามอันได้ แล้วว่า ชาลสังขาตะ เพราะครอบงำสันดานของสัตว์ และไม่ให้ (โอกาส) เพื่อจะถอนขึ้น อันเราละแล้ว คือถอนขึ้นแล้วด้วยมรรค. บทว่า ภวเนตฺติ สมูหตา ความว่า ตัณหาที่หมายรู้กันว่า นำสัตว์ไปสู่ภพ เพราะนำสัตว์ไป สู่ภพมีกามภพเป็นต้น คือ ยังสัตว์ให้หมุนเป็นไป อันเราเพิกถอนแล้ว. บทว่า ยทตฺถาย ปพฺพชิโต ความว่า เราออกบวช คือออกจากเรือน บรรพชา คือบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด คือเพื่อผลอันใด. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 36 อธิบายว่า ประโยชน์ คือประโยชน์อย่างยิ่ง กล่าวคือพระนิพพาน และประโยชน์ของตน กล่าวคือพระอรหัต อันเป็นธรรมเครื่องสิ้นไปแห่ง สังโยชน์ทั้งหลาย ต่างโดยโอรัมภาคิยสังโยชน์และอุทธัมภาคิยสังโยชน์ทั้งปวง อันเป็นเครื่องพันธนาการ อันเราบรรลุแล้วโดยลำดับ คือถึงทับแล้ว. จบอรรถกถาสุราธเถรคาถา ๙. โคตมเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระโคตมเถระ [๒๖๖] ได้ยินว่า พระโคตมเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนี เหล่านั้นย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยากแสน ยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้นอันบุคคลต้องรักษา ทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อ ฆ่าท่าน บัดนี้เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไปถึง พระนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 37 อรรถกถาฌคตมเถรคาถา คาถาของท่านพระโคตมเถระ เริ่มต้นว่า สุข สุปนฺติ. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ เกิดใน เรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า มีใจเลื่อมใส ได้ถวาย ผลอาโมทะ. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดในตระกูลพราหมณ์ กรุงราชคฤห์ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า โคตมะ ในเวลาที่มีอายุได้ ๗ ขวบ ทำ เป็นคนตาพิการเที่ยวขอเงิน ได้ทรัพย์มาพันหนึ่ง เก็บทรัพย์นั้นไว้ในที่ ๆ ปลอดภัย บำเพ็ญพรต ในเวลาที่มีอายุได้ ๑๖- ๑๗ ปี ถูกมิตรชั่วแนะนำไป ในกามารมย์ ให้ของมีราคาหนึ่งพันนั้น แก่หญิงขายตัว (อาศัยรูปเลี้ยงชีพ) คนหนึ่ง สูญเสียพรหมจรรย์ และเมื่อหญิงนั้นแสดงอาการคลายกำหนัด เพราะ เห็นรูปแห่งพรหมจารีของเขา เป็นผู้มีรูปอิดโรยเหนื่อยหน่าย ด้วยการร่วม หลับนอนเพียงคืนเดียวเท่านั้น นึกถึงความสูญเสียพรหมจรรย์ของตน และ การเสียทรัพย์ ได้มีวิปฏิสารว่า เรากระทำกรรมอันไม่สมควรแล้ว. พระศาสดา ทรงทราบเหตุสมบัติ และความฟุ้งซ่านแห่งจิตของเขา จึงแสดงพระองค์ในที่ ใกล้ ๆ เขา. เขาเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใสเข้าไปเฝ้าแล้ว พระผู้มี พระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมแก่เขาแล้ว เขาฟังธรรมแล้วได้เป็นผู้มีจิตศรัทธา บวช บรรลุพระอรหัต ในขณะที่ปลงผมเสร็จทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 38 เราได้ถวายผลอาโมทะ แด่พระสัมพุทธเจ้าผู้มี พระฉวีวรรณปานดังทองคำ ผู้สมควรรับเครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม่ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็สหายผู้เป็นคฤหัสถ์คนหนึ่ง เข้าไปหาพระเถระผู้บรรลุพระอรหัต แล้วยังเวลาให้ล่วงไปด้วยความสุขในฌาน ถามว่า อาวุโส ท่านเมื่อบวชได้ทำ อย่างไรกะทรัพย์ ที่ได้มาเพราะขอเงิน. พระเถระฟังดังนั้นแล้ว ไม่ยอมบอก ว่า เรากระทำกรรมชื่อนี้ ประกาศโทษในมาตุคาม เมื่อจะพยากรณ์พระ- อรหัตผล ด้วยการชี้ถึงความที่ตนเป็นผู้มีราคะไปปราศแล้ว กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนีเหล่านั้น ย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยาก แสนยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้น อันบุคคลต้อง รักษาทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อฆ่าท่าน บัดนี้ เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไป ถึงนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุข สุปนฺติ มุนโย เย อิตฺถีสุ น พชฺฌเร ความว่า มุนีเหล่าใด ไม่ผูกพันในหญิงทั้งหลาย ที่เกิดเป็นอารมณ์ หรือเกิดเป็นนิมิต ด้วยเครื่องผูกพันคือราคะ มุนีเหล่านั้นเป็นผู้มีตบะ มี อินทรีย์อันสำรวมแล้ว ย่อมหลับเป็นสุข คืออยู่เป็นสุข. อธิบายว่า ทุกข์ย่อม ไม่มีแก่มุนีเหล่านั้น. ก็บทว่า สุปนฺติ นี้ เป็นเพียงตัวอย่าง. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 39 บทว่า สทา เว รกฺขิตพฺพาสุ ความว่า อันบุคคลพึงรักษา ตลอดกาลทั้งปวง โดยส่วนเดียว. อธิบายว่า หญิงทั้งหลายแม้จะให้อยู่ใน ปราสาทชั้นบนที่ปราศจากบุรุษถึง ๗ ชั้น แม้จะเก็บรักษาไว้ภายใน (ห้อง) ก็ไม่สามารถจะรักษาไว้ได้ เพราะเหตุนั้น หญิงเหล่านั้นจึงเป็นผู้ที่จะต้องเฝ้า รักษาอยู่ตลอดเวลา ดุจแม่โคตัวกินข้าวกล้าเป็นอาหารฉะนั้น. อีกอย่างหนึ่ง หญิงเหล่านั้น ต้องเฝ้ารักษาตลอดเวลา เพราะความเป็นหญิงนอกใจสามี ด้วย การเพิ่มให้ผ้าและเครื่องประดับเป็นต้น เพราะความเป็นหญิงหลายใจ. หรือ ชื่อว่า ต้องเฝ้ารักษา เพราะความเป็นหญิงที่ต้องคอยถนอมน้ำใจ โดยการ ปกปิดสภาพแห่งร่างกาย ด้วยระเบียบและของหอมเป็นต้น. บทว่า ยาสุ สจฺจ สุทุลฺลภ ความว่า คำสัตย์ไม่สามารถเพื่อจะ หาได้ในหญิงเหล่าใด อธิบายว่า ธรรมดาหญิงทั้งหลาย จะเข้าไปสู่กองไฟก็ได้ จะดื่มยาพิษก็ได้ จะนำศาสตรามาก็ได้ จะผูกคอตายก็ได้ แต่ไม่สามารถจะตั้ง อยู่ในสัจจะได้ เพราะฉะนั้น พระเถระจึงแสดงความว่า มุนีทั้งหลาย เว้นหญิง เห็นปานนี้ แล้วดำรงอยู่ ย่อมเป็นผู้ถึงแล้วซึ่งความสุขหนอ ดังนี้. มุนีทั้งหลาย ยังผูกพันอยู่แม้ในหญิงทั้งหลายเห็นปานนี้ เพราะยัง ละกามใดไม่ได้ บัดนี้ พระเถระเมื่อจะแสดงถึงความที่แห่งกามนั้น อันตน ละได้แล้วด้วยดี และความเป็นผู้ไม่มีความปรารถนาโดยส่วนเดียว จงกล่าว คาถาที่ ๒ ไว้. บทว่า วธ จริมฺห เต กามา ความว่า ดูก่อนกามผู้เจริญ เรา ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อฆ่าท่าน คือ ประพฤติถอนรากโดยส่วนเดียว ด้วย อริยมรรค. ปาฐะว่า เอว จริมฺหเส ดังนี้ก็มี. ความก็ว่า เราได้ประพฤติ มรรคพรหมจรรย์เพื่อฆ่า คือเพื่อประหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 40 บทว่า อณนา ทานิ เต มย ความว่า ดูก่อนกาม บัดนี้ คือ จำเดิมแต่เวลาที่เราได้บรรลุพระอรหัต เราไม่เป็นหนี้ท่าน คือเราไม่แบกหนี้ ของท่าน (ต่อไป). อธิบายว่า ผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะ ย่อมเป็นดุจแบกหนี้ ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าว ล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะ เหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล เราจึงชื่อว่า ไปถึงพระนิพพาน อันเป็นที่ ๆ บุคคล ไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้า โดยประการทั้งปวง อันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. อธิบายว่า บัดนี้ เราถึง คือ ถึงโดยลำดับ ซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานั้นนั่นแล. จบอรรถกถาโคตมเถรคาถา ๑๐. วสภเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวสภเถระ [๒๖๗] ได้ยินว่า พระวสภเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึงฆ่า ผู้อื่น. บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ได้ รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาปกรรมทั้งหลายมีในบุคคลใด บุคคลนั้นเป็นคนดา ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอพระองค์จงทราบอย่างนี้. จบวรรคที่ ๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 41 อรรถกถาวสภเถรคาถา คาถาของท่านพระวสภเถระ เริ่มต้นว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) เจริญวัยแล้ว ถึงความสำเร็จในวิชาและศิลปะของ พราหมณ์ทั้งหลาย ละการอยู่ครองเรือนบวชเป็นดาบส เพราะเป็นผู้มีอัธยาศัย โน้มไปในเนกขัมมะ สร้างอาศรมอยู่ที่ภูเขา ชื่อว่า สมัคคะ ไม่ไกลป่าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว ให้โอวาทและอนุสาสน์แก่ดาบสทั้งหลายอยู่ วันหนึ่ง คิดอย่างนี้ว่า บัดนี้ เราเองเป็นผู้อันดาบสเหล่านี้ สักการะ เคารพ บูชาแล้วอยู่ แต่ยังหาผู้ที่เราควรบูชาไม่ได้ การอยู่โดยไม่มีครูผู้ควรเคารพนี้ เป็นทุกข์ในโลก. ก็ครั้นคิดอย่างนี้แล้ว ระลึกถึงบูชาและสักการะ อันตนกระทำแล้ว ในเจดีย์ ของพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ทั้งหลาย เพราะความเป็นผู้มีอธิการ อันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ว่า ไฉนหนอแล เราพึงก่อ- พระเจดีย์ทราย อุทิศพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ แล้วทำการบูชา ดังนี้ เป็นผู้ ร่าเริงยินดีแล้ว เนรมิตพระสถูปทราย สำเร็จด้วยทอง ด้วยฤทธิ์ กระทำการ บูชาทุก ๆ วัน ด้วยดอกไม้ประมาณ ๓,๐๐๐ อันสำเร็จด้วยทองเป็นต้น กระ ทำบุญจนตลอดอายุ แล้วบังเกิดในพรหมโลก. เขาดำรงอยู่แม้ในพรหมโลกนั้น จนตลอดอายุแล้ว จุติจากพรหมโลก นั้น บังเกิดในดาวดึงส์ ท่องเที่ยววนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 42 เกิดในตระกูลเจ้าลิจฉวี ในกรุงเวสาลี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า วสภะ เจริญวัยแล้ว เห็นพุทธานุภาพ ในคราวเสด็จไปพระนครไพศาลี ของพระผู้มี พระภาคเจ้า ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุ พระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ สมัคคะ เราได้ทำอาศรม สร้างบรรณศาลาไว้ที่ภูเขา นั้น เราเป็นชฎิลผู้มีตบะใหญ่ มีนามว่า นารทะ ศิษย์ สี่หมื่นคนบำรุงเรา ครั้งนั้น เราเป็นผู้หลีกออกเร้นอยู่ คิดอย่างนี้ว่า มหาชนบูชาเรา เราไม่บูชาอะไร ๆ เลย ผู้ที่จะกล่าวสั่งสอนเราก็ไม่มี ใคร ๆ ที่จะตักเตือนเรา ก็ไม่มี เราไม่มีอาจารย์และอุปัชฌาย์ อยู่ในป่า ศิษย์ ผู้ภักดีพุงบำรุงใจครูทั้งคู่ได้ อาจารย์เช่นนั้นของเรา ไม่มี การอยู่ในป่าจึงไม่มีประโยชน์ สิ่งที่ควรบูชา เราควรแสวงหา สิ่งที่ควรเคารพ ก็ควรแสวงหาเหมือน กัน เราจักชื่อว่า เป็นผู้ที่มีที่พึ่งพำนักอยู่ ใครๆ จักไม่ เราได้ ในที่ไม่ไกลอาศรมของเรา มีแม่น้ำซึ่งมี ชายหาด มีท่าน้ำราบเรียบ น่ารื่นรมย์ใจ เกลื่อนกล่น ไปด้วยทรายที่ขาวสะอาด ครั้งนั้น เราได้ไปยังแม่น้ำ ชื่อ อเมริกา กอบโกยเอาทรายมาก่อเป็นพระเจดีย์ทราย พระสถูปของพระสัมพุทธเจ้า ผู้ทำที่สุดภพ เป็นมุนี ที่ได้มีแล้วเป็นเช่นนี้ เราได้ทำพระสถูปนั้นให้เป็น นิมิต เราก่อพระสถูปที่หาดทรายแล้วปิดทอง แล้วเอา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 43 ดอกกระดึงทอง ๓,๐๐๐ ดอกมาบูชา เราเป็นผู้มีความ อิ่มใจ ประนมกรอัญชลี นมัสการทั้งเวลาเย็นเวลาเช้า ไหว้พระเจดีย์ทราย เหมือนถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้า ในที่เฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้น ในเวลาที่กิเลสและความ ตรึก เกี่ยวด้วยกามเกิดขึ้น เราย่อมนึกถึง เพ่งดูสถูป ที่ได้ทำไว้ เราอาศัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นำสัตว์ ออกจากที่กันดาร ผู้นำชั้นพิเศษตักเตือนตนว่า ท่าน ควรระวังกิเลสไว้ ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ การยังกิเลส ให้เกิดขึ้นไม่สมควรแก่ท่าน ครั้งนั้น เมื่อเราคำนึงถึง พระสถูป ย่อมเกิดความเคารพขึ้นพร้อมกัน เราบรร- เทาวิตกที่น่าเกลียดเสียได้ เปรียบเหมือนช้างตัว ประเสริฐ ถูกเครื่องแทงหูเบียดเบียน ฉะนั้น เรา ประพฤติอยู่เช่นนี้ ได้ถูกพระยามัจจุราชย่ำยี เราทำ กาลกิริยา ณ ที่นั้นแล้ว ได้ไปยังพรหมโลก เราอยู่ใน พรหมโลกนั้นตราบเท่าหมดอายุ แล้วมาบังเกิดใน ไตรทิพย์ ได้เป็นจอมเทวดาเสวยราชสมบัติในเทวโลก ๘๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และได้ เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ เราได้เสวยผลของดอกกระดึงทองเหล่านั้น ดอก กระดึงทอง ๒๒,๐๐๐ ดอก แวดล้อมเราทุกภพ เพราะ เราเป็นผู้บำเรอพระสถูป ฝุ่นละอองย่อมไม่ติด ที่ตัวเรา เหงื่อไม่ไหล เรามีรัศมีซ่านออกจากตัว โอ พระสถูปเราได้สร้างไว้ดีแล้ว แม่น้ำอเมริกา เราได้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 44 เห็นดีแล้ว เราได้บรรลุบทอันไม่หวั่นไหว ก็เพราะ ได้ก่อพระสถูปทราย อันสัตว์ผู้ปรารถนาจะกระทำ กุศล ควรยึดเอาสิ่งที่เป็นสาระ ไม่ใช่เป็นด้วยเขต หรือไม่ใช่เขต ความปฏิบัตินั่นเองให้สำเร็จ บุรุษผู้มี กำลัง มีความอุตสาหะที่จะข้ามทะเลหลวง พึงถือเอา ท่อนไม้เล็ก วิ่งไปสู่ทะเลหลวงด้วยคิดว่า เราอาศัย ท่อนไม้นี้ จักข้ามทะเลหลวงไปได้ นรชนพึงข้ามทะเล หลวงไปด้วยความเพียรอุตสาหะ แม้ฉันใด เราก็ฉันนั้น เหมือนกัน อาศัยธรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ได้ทำไว้แล้ว จึงได้ข้ามพ้นสงสารไปได้ เมื่อถึงภพสุดท้าย เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว เกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ที่มั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี มารดาบิดาของเราเป็น คนมีศรัทธา นับถือพระพุทธเจ้า ท่านทั้งสองนี้เป็นผู้ เห็นธรรม ฟังธรรม ประพฤติตามคำสอน ท่านทั้งสอง ถือเอาผ้าลาดสีขาว มีเนื้ออ่อนมากที่ต้นโพธิ มาทำ พระสถูปทอง นมัสการในที่เฉพาะพระพักตร์ แห่ง พระศากยบุตร ทุกค่ำเช้าในวันอุโบสถ ท่านทั้งสอง นำเอาพระสถูปทองออก กล่าวสรรเสริญคุณพระ- พุทธเจ้า ยับยั้งอยู่ตลอด ๓ ยาม เราได้เห็นพระสถูป เสมอ จึงระลึกถึงเจดีย์ทรายขึ้นได้ นั่งบนอาสนะเดียว ได้บรรลุพระอรหัตแล้ว เราแสวงหาพระพุทธเจ้าผู้ เป็นปราชญ์นั้นอยู่ ได้เห็นพระธรรมเสนาบดี จึงออก จากเรือนบรรพชาในสำนักของท่าน เราได้บรรลุพระ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 45 อรหัตแต่อายุ ๗ ขวบ พระพุทธเจ้าผู้มีพระปัญญาจักษุ ทรงทราบถึงคุณวิเศษของเรา จึงให้เราอุปสมบท เรา มีการกระทำอันบริบูรณ์ดีแล้ว แต่ยังเป็นทารกอยู่ ทีเดียว ทุกวันนี้กิจที่ควรทำในศาสนาของพระศากย- บุตร เราทำเสร็จแล้ว ข้าแต่พระฤๅษีผู้มีความเพียร ใหญ่ สาวกของพระองค์เป็นผู้ล่วงพ้นเวรภัยทุกอย่าง ล่วงพ้นความเกี่ยวข้องทั้งปวง นี้เป็นผลแห่งพระ- สถูปทอง. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะทำการอนุเคราะห์ทายก จึงไม่ห้ามปัจจัยทั้งหลายที่ทายกเหล่านั้นนำมาถวาย บริโภคปัจจัยตามที่ได้มา แล้วเท่านั้น. ผู้ที่ยังเป็นปุถุชนสำคัญท่านว่า พระเถระนี้ เป็นผู้มักมากไปด้วย การบำรุงบำเรอร่างกาย ไม่รักษาสภาพจิต จึงพากันดูหมิ่น. พระเถระอยู่อย่างไม่คำนึงถึงการดูหมิ่นนั้นเลย ก็ในที่ไม่ไกล ที่ พระเถระอยู่ มีภิกษุผู้โกหกรูปหนึ่ง เป็นผู้มีความปรารถนาลามก แสดงตน เหมือนเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย เหมือนเป็นผู้สันโดษ เที่ยวลวงโลกอยู่. มหาชนพากันยกย่องภิกษุรูปนั้น เหมือนอย่างพระอรหันต์. ลำดับนั้น ท้าว สักกะผู้เป็นจอมเทพ ทรงทราบพฤติการณ์นั้นของเธอแล้ว จึงเข้าไปหา พระเถระ แล้วถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ภิกษุผู้โกหก กระทำกรรมชื่อไร ? พระเถระเมื่อจะตำหนิความปรารถนาลามก จึงกล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึง ฆ่าผู้อื่น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนก ที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 46 ได้รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลก นั้นไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาป กรรมทั้งหลาย มีในบุคคลใด บุคคลนั้น เป็นคนดำ ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอจงทรงทราบอย่างนี้ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน ความว่า บุคคลผู้โกหก เพื่อลวงโลก ด้วยประพฤติเป็นคนโกหกของตน ชื่อว่า ย่อม ฆ่าตน ด้วยธรรมอันลามก มีความเป็นผู้ปรารถนาลามกเป็นต้น ก่อนทีเดียว คือยังส่วนแห่งความดีของตนให้พินาศไป. บทว่า ปจฺฉา หนติ โส ปเร ความว่า บุคคลผู้โกหกนั้น ฆ่า ตนเอง โดยนัยดังกล่าวแล้ว ก่อนเป็นปฐม ต่อมาภายหลังจึงฆ่าคนทั้งหลาย ผู้สรรเสริญตนว่า ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก เป็นพระอริยะ ดังนี้ แล้วกระทำ สักการะ คือทำสักการะที่เขาถวายตน ให้ไม่มีผลมาก ให้พินาศไป โดยการ พินาศแห่งปัจจัย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า แม้ในการฆ่าทั้งสองอย่าง ของคน โกหกจะมีอยู่ แต่ ข้อแปลกในการฆ่าตนมีดังนี้ จึงกล่าวว่า สหต หนติ อตฺตาน (บุคคลผู้ลวงโลกนั้นย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย). คนโกหกนั้น เมื่อฆ่าตน ย่อมฆ่าคือทำให้พินาศได้ง่ายดาย. ถามว่า เหมือนอะไร ? ตอบว่า เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านกฉะนั้น. นกต่อ ชื่อว่า วีตโส. ด้วยนกต่อนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 47 บทว่า ปกฺขิมา ได้แก่ นายพรานนก. เปรียบเหมือนนายพรานนก ลวงนกเหล่าอื่นไปฆ่าด้วยนกต่อนั้น ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนแม้ในโลกนี้ เพราะเป็น กรรมที่ท่านผู้รู้ตำหนิ และเป็นกรรมที่มีโทษเป็นสภาพเป็นต้น ส่วนในสัมปราย ภพ ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนด้วยความมืดมน มัวหมองของทุคติทีเดียว แต่ในภาย หลัง ก็ไม่สามารถจะฆ่านกเหล่านั้นได้อีก ฉันใด คนโกหกก็ฉันนั้น ลวงโลก ด้วยความเป็นคนโกหก ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนเองแม้ในโลกนี้ เพราะวิปฏิสาร และถูกตำหนิจากวิญญูเป็นต้น. แม้ในปรโลก ก็ชื่อว่าฆ่าตน เพราะความมืด มน มัวหมองของทุคติ ใช่แต่เท่านั้น ยังชื่อว่า ทำทายกผู้ถวายปัจจัยเหล่านั้น ให้ถึงทุกข์ในอบาย อีกด้วย. อีกประการหนึ่ง คนโกหก ท่านกล่าวว่า ย่อมฆ่าทายก เพราะกระทำ ทักษิณาไม่ให้มีผลมากเท่านั้น ไม่ใช่เพราะกระทำทักษิณาทานไม่ให้มีผล. สมจริงดังพระดำรัส ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ทักษิณาทานที่ให้แก่ มนุษย์ทุศีล พึงหวังผลได้พันเท่า ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า บุคคลผู้ตั้งอยู่ในอัตภาพ เพียงทำให้สะอาด ในภายนอกอย่างนี้ หาชื่อว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ แต่จะชื่อว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ เพราะ ความสะอาดในภายในเท่านั้น ดังนี้ จึงกล่าวคาถาที่สองว่า น พฺราหฺมโณ เป็นต้น. คาถาที่ ๒ นั้นมีอธิบายว่า บุคคลหาชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะ เหตุ เพียงสมบัติภายนอก มีการวางท่า (วางมาด) เป็นต้นไม่. ก็วัณณะ ศัพท์ในคาถานี้ มีสมบัติเป็นอรรถ (หมายความถึงสมบัติ). ก็บุคคลย่อมชื่อว่า เป็นพราหมณ์ เพราะสมบัติมีศีลเป็นต้นในภายใน โดยกระทำอธิบายว่า บุคคล ผู้มีบาปอันลอยแล้ว ชื่อว่า พราหมณ์ ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 48 ดูก่อนท่านสุชัมบดี ผู้เป็นจอมเทวัญ เพราะฉะนั้น ท่านจงรู้เถิดว่า บาปคือกรรมอันลามกทั้งหลาย มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นชื่อว่าคนดำ คือเป็นคน เลวทรามโดยส่วนเดียว ดังนี้. ท้าวสักกะฟังดังนั้นแล้ว ทรงคุกคามภิกษุผู้ โกหกแล้วโอวาทว่า ท่านจงประพฤติธรรม ดังนี้แล้ว เสด็จกลับพิภพของ พระองค์. จบอรรถกถาวสภเถรคาถา จบวรรควรรณนาที่ ๑ ในอรรถกถา เถรคาถา ชื่อว่า ปรมัตถทีปนี ในวรรคนี้ รวมพระเถระได้ ๑๐ รูป คือ ๑. พระอุตตรเถระ ๒. พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ๓. พระวัล- ลิยเถระ ๔. พระคังคาตีริยเถระ ๕. พระอชินเถระ ๖. พระเมฬชินเถระ ๗. พระราธเถระ ๘. พระสุราธเถระ ๙. พระโคตมเถระ ๑๐. พระวสภ- เถระ ล้วนมีมหิทธิฤทธิ์ และอรรถกถา. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 49 เถรคาถา เอกนิบาต วรรคที่ ๒ ๑. มหาจุนทเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระมหาจุนเถระ [๒๖๘] ได้ยินว่า พระมหาจุนทเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า การฟังดี เป็นเหตุให้การฟังเจริญ การฟังเป็น เหตุให้เจริญปัญญา บุคคลจะรู้ประโยชนก็เพราะปัญญา ประโยชน์ที่บุคคลรู้แล้ว ย่อมนำสุขมาให้ ภิกษุควรซ่อง เสพเสนาสนะ อันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็นเหตุ ให้จิตหลุดพ้นจากสังโยชน์ ถ้ายังไม่ได้ประสบความ ยินดี ในเสนาสนะอันสงัดและธรรมนั้น ก็ควรเป็นผู้ มีสติรักษาตน อยู่ในหมู่สงฆ์. วรรควรรณนาที่ ๒ อรรถกถามหาจุนทเถรคาถา คาถาของท่านพระมหาจุนทเถระ เริ่มต้นว่า สุสฺสูสา. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลช่างหม้อ ในกาลของ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 50 พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุนิติภาวะแล้ว เลี้ยงชีพด้วยงาน ของนายช่างหม้อ วันหนึ่งเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใส ทำบาตรดินลูก หนึ่ง ตกแต่งเป็นอย่างดี ถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของนางรูปสารีพราหมณี เป็นน้องชายคนเล็ก ของพระเถระชื่อว่า สารีบุตร ในนาลกคาม แคว้นมคธ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า จุนทะ. เขาเจริญวัยแล้ว บวชตามพระธรรมเสนาบดี อาศัยพระธรรมเสนาบดี เริ่มตั้งวิปัสสนา เพียรพยายามอยู่ ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ข้าพระองค์ เป็นช่างหม้ออยู่ในหงสาวดี ได้เห็น พระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี มีโอฆะอันข้ามได้ แล้ว ไม่มีอาสวะ ข้าพระองค์ได้ถวายบาตรดินที่ทำ ดีแล้ว แด่พระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด ครั้นถวายบาตร แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ตรง คงที่แล้ว เมื่อข้าพระองค์ เกิดในภพ ย่อมได้ภาชนะทอง และจานที่ทำด้วยเงิน ทำด้วยทอง และทำด้วยแก้วมณี ข้าพระองค์บริโภค ในถาด นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม ข้าพระองค์เป็นผู้เลิศ กว่าชนทั้งหลายโดยยศ พืชแม้มีน้อย แต่หว่านลงใน นาดี เมื่อฝนยังท่อธารให้ตกลงทั่ว โดยชอบ ผลย่อม ยังชาวนาให้ยินดีได้ฉันใด การถวายบาตรนี้ก็ฉันนั้น ข้าพระองค์ได้หว่านลงในพุทธเขต เมื่อท่อธารคือปีติ ตกลงอยู่ ผลจักทำข้าพระองค์ให้ยินดี เขตคือหมู่และ คณะมีประมาณเท่าใด ที่จะให้ความสุขแก่สรรพสัตว์

โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะเรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ. เขาเป็นวิชาธร ท่องเที่ยวไป โดยอากาศ. ก็โดยสมัยนั้น พระศาสดา เมื่อจะทรงอนุเคราะห์เขา จึงเปล่งพระ- พุทธรังสีมีวรรณะ ๖ ประทับนั่งที่โคนไม้แห่งหนึ่ง เขาเหาะไปโดยอากาศ เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มีจิตเลื่อมใส ลงจากอากาศ บูชาพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยดอกกรรณิการ์ อันสะอาดบริสุทธิ์ด้วยดี ไพบูลย์ ด้วยพุทธานุภาพ (บันดาลให้) ดอกไม้ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในเบื้องบนของพระศาสดา โดยอาการ ของฉัตร ด้วยพุทธานุภาพนั้น ทำให้เขามีจิตเลื่อมใสยิ่งกว่าประมาณ ต่อมา กระทำกาละแล้ว เกิดในภพดาวดึงส์ เสวยทิพยสมบัติอันโอฬาร ดำรงอยู่ใน ภพดาวดึงส์นั้นจนตลอดอายุ ต่อแต่นั้น ก็ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครราชคฤห์ในพุทธุป- บาทกาลนี้ ได้มีนามว่า อุตตระ. เขาบรรลุนิติภาวะแล้ว ถึงความสำเร็จใน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 3 วิชชาของพราหมณ์ เป็นผู้เกิดมาทำโลกให้เจริญโดยรูป โดยวิชา โดยวัย และโดยศีลาจารวัตร. มหาอำมาตย์แห่งแคว้นมคธ ชื่อว่า วัสสการะ เห็นสมบัติ นั้นของเขาแล้ว เป็นผู้มีความประสงค์จะยกธิดาของตนให้ แจ้งความประสงค์ ของตนแล้ว. เขาปฏิเสธความหวังดีนั้น เพราะความเป็นผู้มีอัธยาศัย น้อมไป ในพระนิพพาน เข้าไปนั่งใกล้พระธรรมเสนาบดี ฟังธรรมในสำนักตามเวลา ที่เหมาะสม ได้เป็นผู้มีศรัทธาบวชแล้ว เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวัตรปฏิบัติพระเถระ. ก็โดยสมัยนั้น อาพาธบางอย่างเกิดแก่พระเถระ. เพื่อจะจัดยาถวาย พระเถระ อุตตรสามเณร จึงถือเอาบาตรจีวรออกจากวิหารไปแต่เช้าทีเดียว วางบาตรไว้ที่ริมฝั่งทะเลสาบ ในระหว่างทางเดินไปใกล้น้ำแล้วล้างหน้า. ลำดับนั้น โจรทำลายอุโมงค์คนหนึ่งถูกเจ้าหน้าที่ติดตาม หนีออกจากพระนคร โดยทางประตูด้านหน้านั่นแหละ ใส่ห่อรัตนะที่ตนลักมาไว้ในบาตรของสามเณร แล้วหนีไป. สามเณรเดินเข้าไปใกล้บาตร พวกราชบุรุษที่ติดตามโจรมา เห็นห่อ ของในบาตรของสามเณร จึงกล่าวว่า สามเณรนี้เป็นโจร สามเณรนี้ประพฤติ เป็นโจร แล้วจับสามเณรมัดมือไพล่หลัง ส่งให้วัสสการพราหมณ์. ก็ใน ครั้งนั้น วัสสการพราหมณ์ ได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งผู้วินิจฉัยคดีของพระราชา สั่งการลงโทษประหารและทรมานได้. เขาไม่ยอมไต่สวน ทวนพยานเลย สั่งให้เอาหลาวเสียบประจานสามเณรทั้งเป็น ๆ เพราะผูกอาฆาตว่า เมื่อก่อน สามเณรไม่เอื้อเฟื้อคำของเรา ไปบวชในลัทธินอกรีตนอกรอย. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรวจดูความแก่รอบแห่งญาณ ของอุตตรสามเณรแล้ว เสด็จไปสู่ที่นั้น ทรงวางพระหัตถ์ ซึ่งมีพระองคุลียาว อ่อนนุ่ม คลุมด้วยเปลวรัศมี ประดุจสายธารทองคำสีแดงธรรมชาติ ที่กำลัง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 4 หลั่งอยู่ เพราะประกอบด้วยรัศมีสีขาว แพรวพราวไปด้วยแสงแห่งแก้วมณี ที่นิ้วมืออันสั่นพริ้วอยู่บนศีรษะของอุตตรสามเณร แล้วตรัสว่า ดูก่อนอุตตระ นี้เป็นผลของกรรมเก่า เกิดขึ้นแล้วแก่เธอ เธอต้องทำความอดกลั้น ด้วยกำลัง แห่งการพิจารณา ในผลของกรรมนั้น ดังนี้ แล้วทรงแสดงธรรมตามสมควร แก่อัธยาศัย. อุตตรสามเณรกลับได้ปีติ และปราโมทย์อันโอฬาร เพราะความ เป็นผู้มีความเลื่อมใส และโสมนัสอันเกิดแล้ว ด้วยสัมผัสแห่งพระหัตถ์ของ พระศาสดา คล้ายกับทรงราดรดด้วยน้ำอมฤต ก้าวขึ้นสู่วิปัสสนามรรค ตาม ที่สั่งสมไว้ ยังกิเลสทั้งปวงให้สิ้นไปแล้ว ตามลำดับแห่งมรรคในทันใดนั้นเอง เพราะถึงความแก่รอบแห่งญาณ และเพราะเทศนาอันงดงามไพเราะของพระ ศาสดา. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า "สุเมธะ" มีพระมหาปุริสลักษณะ อันประเสริฐ ๓๒ ประการ พระองค์ทรงประสงค์ความสงัด จึงเสด็จไปป่า หิมพานต์ พระมุนีผู้เลิศ ประกอบด้วยพระกรุณาเป็น อุดมบุรุษ เสด็จถึงป่าหิมพานต์แล้ว ประทับนั่งขัด- สมาธิ ครั้งนั้น เราเป็นวิทยาธร สัญจรไปในอากาศ เราถือตรีศูล ซึ่งกระทำไว้ดีแล้ว เหาะไปในอัมพร พระพุทธเจ้าส่องสว่างอยู่ในป่า เหมือนกับไฟบนยอด ภูเขา เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญ และเหมือนต้น พระยารังที่มีดอกบาน เราออกจากป่าเหาะไปตาม พระรัศมีของพระพุทธเจ้า เห็นคล้ายกับสีของไฟที่ ไหม้ไม้อ้อ ยังจิตให้เลื่อมใส เราเลือกเก็บดอกไม้อยู่ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 5 ได้เห็นดอกกรรณิการ์ที่มีกลิ่นหอม จึงเก็บเอามา ๓ ดอก บูชาพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้า ครั้งนั้น ดอกไม้ของเราทั้ง ๓ ดอก เอาขั้วขึ้น เอากลีบลง ทำเป็นร่มเงาบังพระศาสดา ด้วยกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์ จำนง เราละร่างมนุษย์แล้ว ได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญ กรรมทำให้อย่างสวยงาม ในดาวดึงส์นั้นปรากฏชื่อว่า กรรณิการ์ แล่งธนูตั้งพันลูกคลีหนังตั้งร้อย คนถือธง สำเร็จด้วยสีเขียวใบไม้ มีประตูหน้าต่างตั้งแสนปรากฏ ในปราสาทของเรา บัลลังก์สำเร็จด้วยทองก็มี สำเร็จ ด้วยแก้วมณีก็มี สำเร็จด้วยแก้วทับทิมก็มี สำเร็จด้วย แก้วผลึกก็มี ตามแต่จะต้องการปรารถนา ที่นอนมี ค่ามาก ยัดด้วยนุ่น มีผ้าลวดลายรูปสัตว์ต่าง ๆ มี ราชสีห์เป็นต้น ผ้าลาดมีชายเดียว มีหมอนพร้อม ปรากฏว่ามีอยู่ในปราสาทของเรา ในเวลาที่เรา ปรารถนาจะออกจากภพ เที่ยวจาริกไปในเทวโลก ย่อมเป็นผู้อันหมู่เทวดาแวดล้อมไป เราสถิตอยู่ภายใต้ ดอกไม้ เบื้องบนเรามีดอกไม้เป็นเครื่องกำบัง สถานที่ โดยรอบ ๑๐๐ โยชน์ ถูกคลุมด้วยดอกกรรณิการ์ ดนตรีหกหมื่น บำรุงเราทั้งเช้าและเย็น ไม่เกียจคร้าน แวดล้อมเราเป็นนิตย์ ตลอดคืนตลอดวัน เรารื่นรมย์ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 6 ด้วยการฟ้อน การขับและด้วยกังสดาล เครื่องประโคม เป็นผู้มักมากด้วยกาม บันเทิงอยู่ด้วยความยินดีในการ เล่น ครั้งนั้น เราบริโภคและดื่มในวิมานนั้น บันเทิง อยู่ในไตรทศ เราพร้อมด้วยหมู่นางเทพอัปสร บันเทิง อยู่ในวิมานอันสูงสุด เราได้เสวยราชสมบัติในเทวโลก ๕๐๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และ ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับ มิได้ เมื่อเรายังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ย่อม ได้โภคทรัพย์มากมาย ความบกพร่องในโภคทรัพย์ ไม่มีแก่เราเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเกิดใน สองสกุล คือ ในสกุลกษัตริย์ หรือสกุลพราหมณ์ ย่อมไม่เกิดในสกุลต่ำทราม นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ยานช้าง ยานม้า และวอคานหาบ นี้เราได้ทุกสิ่ง ทุกอย่างทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา หมู่ทาส หมู่ทาสี และนารีที่ประดับประดาแล้ว เราได้ทุกอย่าง ทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ผ้าแพร ผ้าขนสัตว์ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้ายเราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่ง พุทธบูชา ผ้าใหม่ ผลไม้ใหม่ โภชนะมีรสอันเลิศ ใหม่ ๆ เราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา คำว่า เชิญเคี้ยวสิ่งนี้ เชิญบริโภคสิ่งนี้ เชิญนอนบนที่นอนนี้ เราได้ทั้งนั้น นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเป็นผู้อันเขา บูชาในที่ทุกสถาน เรามียศใหญ่ยิ่ง มีศักดิ์ใหญ่ มี พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 7 บริษัทไม่แตกแยกทุกเมื่อ เราเป็นผู้อุดมกว่าหมู่ญาติ นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราไม่รู้จักหนาว ไม่รู้จักร้อน ไม่มีความกระวนกระวาย อนึ่ง ทุกข์ทางจิต ย่อมไม่มี ในหทัยของเราเลย เราเป็นผู้มีผิวพรรณดังทองคำ เที่ยวไปในภพน้อยภพใหญ่ ความเป็นผู้มีวรรณะผิด- แผกไป เราไม่รู้จักเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว จึงจุติจากเทวโลก มาเกิดใน สกุลพราหมณ์ มหาศาลอันมั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี ละกามคุณ ออกบวชเป็นบรรพชิต เรามีอายุได้ ๗ ขวบแต่กำเนิด ได้บรรลุพระอรหัต พระพุทธเจ้าผู้มี ปัญญาจักษุ ทรงทราบคุณของเรา จึงรับสั่งให้เรา อุปสมบท เรายังหนุ่มก็ควรบูชา นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ทิพยจักษุของเราบริสุทธิ์ เราฉลาดในสมาธิ ถึง ความบริบูรณ์แห่งอภิญญา นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราบรรลุปฏิสัมภิทา ฉลาดหลักแหลมในอิทธิบาท ถึงความบริบูรณ์ในพระสัทธรรม นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ในกัปที่ ๓๐,๐๐๐ เราได้บูชาพระพุทธเจ้าใด ด้วย การบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็อุตตรสามเณร เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ลุกขึ้นจากหลาว แล้วยืนอยู่ใน อากาศ แสดงปาฏิหาริย์ ด้วยความอนุเคราะห์ในผู้อื่น มหาชนได้เกิดมีจิต พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 8 อัศจรรย์ในปรากฏการณ์ที่ไม่เคยมี. แผล (เก่า) ของท่านได้ผุดขึ้นในทันใด นั่นเอง. ท่านอันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านเสวยทุกข์เช่นนั้นอยู่ สามารถขวนขวายวิปัสสนาได้อย่างไร ? เมื่อจะแสดงความว่า ดูก่อนอาวุโส จะป่วยกล่าวไปใย ถึงโทษในสงสารของเรา ก็สภาพของสังขารทั้งหลาย ท่าน ทั้งหลายก็เห็นดีแล้ว เราแม้เสวยทุกข์เช่นนั้น อยู่อย่างนี้ ก็ยังสามารถเจริญ วิปัสสนาแล้วบรรลุพระอรหัตได้ จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า ภพอะไรที่เที่ยงไม่มี แม้สังขารที่เที่ยงก็ไม่มี ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ เราสลัดตน ออกจากกามทั้งปวง บรรลุถึงความสิ้นอาสวะแล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นตฺถิ โกจิ ภโว นิจฺโจ ความว่า ภพทั้งหลาย แยกประเภทออกไปอย่างนี้ คือ กรรมภพ อุปปัตติภพ กามภพ รูปภพ อรูปภพ สัญญีภพ อสัญญีภพ เนวสัญญีนาสัญญีภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ (และ) ปัญจโวการภพ. แม้ในบรรดาภพเหล่านั้น ภพอย่างใด อย่างหนึ่ง ที่จำแนกออกไปอย่างนี้ว่า เลว ปานกลาง อุกฤษฏ์ มีอายุยืน มากด้วยความสุข มีสุขและทุกข์คลุกเคล้ากันไป ดังนี้ จะเที่ยง ยั่งยืน มั่นคง มีอันไม่ต้องเพ่งดูเป็นธรรมดา ไม่มีเลย เพราะต้องอาศัยเหตุนั้น ๆ จึงเกิดขึ้น ประกอบความว่า ก็เพราะการณ์เป็นอย่างนี้แหละ ฉะนั้น แม้สังขารทั้งหลาย จะชื่อว่าเที่ยงไม่มีเลย. สังขารทั้งหลายนั่นแหละ ชื่อว่าเป็นของเกิดแล้ว โดยการกำหนด หมายรู้ เพราะอาศัยเบญจขันธ์ อันได้นามว่าสังขาร เพราะเหตุที่ปัจจัยทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 9 ปรุงแต่งแล้ว ย่อมเปลี่ยนแปลงไปเพราะชราและมรณะ เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า ไม่เที่ยง มีการแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จริงอย่างนั้น วิปริณามธรรมเหล่านั้น ท่านจึงกล่าวว่า สังขาร ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป โดยมีอธิบายว่า เบญจขันธ์ที่ท่านกล่าวไว้โดย ปริยายแห่งภพ และโดยปริยายแห่งสังขารเหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดไปตามปัจจัย และเกิดแล้ว ถูกชราเบียดเบียนบีบคั้น ย่อมเคลื่อน คือ แตกสลายไป. ด้วยบทว่า อุปฺปชฺชนฺติ จ เต ขนฺธา จวนฺติ อปราปร นี้ พระเถระแสดงความหมายว่า เบญจขันธ์ที่ได้ชื่อว่า ภพก็ดี สังขารก็ดี มีการ เกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นสภาพ. เพราะเหตุที่เมื่อพระโยคาวจร ยกเบญจขันธ์ ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้วพิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏชัด ดุจถูกไฟเผาแล้ว จะป่วยกล่าวไปใยถึงสังขารทั้งหลาย ที่พระโยคาวจรรู้อาทีนพ คือ โทษในเบญจขันธ์ที่ปัจจัยปรุงแต่งแล้ว ว่าเป็นเหมือนเรือนที่ถูกไฟไหม้แล้ว ด้วยวิปัสสนาปัญญา เห็นแล้วโดยเป็นอนิจจลักษณะ ย่อมปรากฏชัดกว่า เพราะความที่สังขารเป็นทุกข์ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา. เพราะเหตุที่ เมื่อพระโยคาวจรยกเบญจขันธ์ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้ว พิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏว่ามีภัยเฉพาะหน้าดุจเรือน ที่ถูกไฟไหม้ ฉะนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ภเวนมฺหิ อนตฺถิโก (เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ). ประกอบความว่า ก็แม้เล่ห์เหลี่ยม ที่มุ่งหมายในกามทั้งหลาย ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่ผู้ที่ทำตนให้หมุนกลับจากภพ ทั้งหลายได้โดยประการทั้งปวงอย่างนี้ ด้วยเหตุนั้น พระเถระ จึงกล่าวว่า นิสฺสโฏ สพฺพกาเมหิ เราเป็นผู้สลัดตนออกแล้วจากกามทั้งปวงดังนี้อธิบายว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 10 เราเป็นผู้มีจิตหมุนกลับจากกามทั้งหลายแม้เป็นทิพย์ (เห็น) เป็นเหมือนของ มนุษย์. บทว่า ปตฺโต เม อาสวกฺขโย ความว่า เพราะเหตุที่เราเป็นผู้มี สังขารอันขจัดขัดเกลาดีแล้ว เห็นโทษในภพทั้งหลายโดยชัดเจน และมีใจ ไม่ข้องแวะในกามทั้งหลาย ฉะนั้น ถึงแม้เราจะนั่งอยู่แล้วบนปลายหลาว เราก็ ได้บรรลุ คือ ถึงทับความสิ้นไปแห่งอาสวะ อันได้แก่พระนิพพาน และพระ- อรหัตผล. พระเถระ ให้โอวาทแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ก็เพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย เหล่าอื่น ผู้มีใจยังไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ พึงกระทำความอุตสาหะเพื่อ บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะนั้น. จบอรรถกถาอุตตรเถรคาถา ๒. ปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระปิณโฑลภารทวาชเถระ [๒๕๙] ได้ยินว่า พระปิณโฑลภารทวาชเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้อย่าง นี้ว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไป โดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้ เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาอาหารโดย ทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าว การไหว้ และการบูชาในตระกูลทั้งหลายว่า เป็น เปลือกตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะอันบุรุษชั่วละได้ยาก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 11 อรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา คาถาของท่านพระปิณโฑลภารทวาชเถระ เริ่มต้นว่า นยิท อนเยน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้ เกิดในกำเนิดราชสีห์ ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ อยู่ในถ้ำแห่งภูเขา. พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จเข้าไปสู่ถ้ำเป็นที่นอน ในเวลาที่ราชสีห์หลีกออกไปหากิน เพื่อจะทรง อนุเคราะห์เขา ประทับนั่งเข้านิโรธสมาบัติแล้ว ราชสีห์คาบเอาเหยื่อกลับมา เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ประตูถ้ำ เป็นผู้ร่าเริงยินดี กระทำการบูชาด้วยดอกไม้ ที่เกิดในน้ำและดอกไม้ที่เกิดบนบก ทำใจให้เลื่อมใส บันลือสีหนาทในเวลา ทั้ง ๓ เพื่อให้สัตว์ร้ายในป่าหนีไป เพื่อถวายอารักขาพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ยืน เฝ้าอยู่โดยมีพุทธานุสติเป็นอารมณ์ มันบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าตลอด ๗ วัน เหมือนอย่างที่บูชาในวันแรก. โดยล่วงไปได้ ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติ ทรงพระดำริว่า เท่านี้ก็จะพอเป็นอุปนิสัย เป็นไปแก่ราชสีห์ เมื่อมันเห็นอยู่ นั่นแล เสด็จเหาะขึ้นสู่อากาศ เสด็จไปยังพระวิหารแล้ว. ราชสีห์ ไม่อาจอด กลั้นความทุกข์ อันเกิดจากความพลัดพรากจากพระพุทธเจ้า กระทำกาละแล้ว ดุจช้างปาลิเลยยกะ เกิดในตระกูลของคฤหบดีผู้มีโภคะมาก ในพระนครหงสาวดี เจริญวัยแล้ว ไปสู่พระวิหารพร้อมกับชาวเมือง ฟังพระธรรมเทศนา บำเพ็ญ มหาทานตลอด ๗ วัน แล้วกระทำบุญจนตลอดชีวิต ท่องเที่ยวไป ๆ มา ๆ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 12 อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรปุโรหิต ของพระเจ้าอุเทน ใน พระนครโกสัมพี ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย โดยนาม ชื่อว่า ภารทวาชะ. เขาเจริญวัยแล้ว เรียนจบไตรเพท สอนมนต์กะมาณพ ๕๐๐ ถูก มาณพเหล่านั้นทอดทิ้ง เพราะเป็นผู้มีอาจาระไม่เหมาะสม เพราะเป็นคนจะกละ (กินจุ) ไปสู่พระนครราชคฤห์ เห็นลาภสักการะของพระผู้มีพระภาคเจ้า และ ของภิกษุสงฆ์ จึงบวชในพระศาสนา เป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนะ เที่ยวไป อันพระศาสดาทรงทำให้ตั้งอยู่ ในความเป็นผู้รู้ประมาณได้ด้วยอุบายวิธี เริ่ม ตั้งวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ ในอปทานว่า เมื่อก่อนเราเป็นพรานเนื้อ ครั้งนั้นเราเที่ยวอยู่ใน ป่าใหญ่ ได้เห็นพระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี ทรงรู้จบธรรมทั้งปวง เราเลื่อมใส ได้เอาผลมะหาด มาถวายพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด เป็นเขตแห่งบุญ ผู้แกล้วกล้า ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการ ถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการ ถวายผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระเป็นผู้ได้อภิญญา ๖ แล้ว คิดว่า มรรคผลใด อันสาวก ทั้งหลายพึงบรรลุ เฉพาะพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า มรรคผลนั้นเราก็ บรรลุแล้ว และบันลือสีหนาทในหมู่ภิกษุว่า ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผล พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 13 ผู้นั้นจงถามเรา ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงตั้งท่านไว้ใน เอตทัคคะ ด้วยพระพุทธดำรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นยอดแห่งภิกษุผู้เป็นสาวกของเรา ผู้บันลือสีหนาท. วันหนึ่ง ท่านเมื่อจะอนุเคราะห์พราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ มีความ ตระหนี่ เคยเป็นสหายกันในสมัยเมื่อเป็นคฤหัสถ์ ผู้เข้าไปหาถึงสำนักจึงกล่าว กถาพรรณนาอานิสงส์ของทานแก่พราหมณ์นั้น แม้เมื่อพราหมณ์ จะทำการ ขมวดคิ้วสยิวหน้าว่า พระเถระนี้ ประสงค์จะยังทรัพย์ของเราให้พินาศ แล้ว- กล่าวว่า เราจะถวายภัตรมื้อหนึ่งแก่ท่าน ดังนี้ จึงกล่าวว่า ท่านจงถวายภัตร มื้อหนึ่งนั้นแก่พระสงฆ์ อย่าถวายเราเลย แล้วให้พราหมณ์น้อมนำภัตรนั้น ไป ถวายสงฆ์ เมื่อพราหมณ์แสดงความไม่พอใจอีกด้วยคิดว่า พระเถระนี้ประสงค์ จะให้เราถวายทานแก่ภิกษุจำนวนมาก ดังนี้ พระเถระจึงยังพราหมณ์ให้เลื่อมใส ด้วยการประกาศถึงความที่แห่งทักษิณาทาน ที่ถวายในสงฆ์ โดยพระธรรม เสนาบดีในวันที่สองว่ามีผลมาก คิดว่าพราหมณ์นี้ สำคัญว่า พระเถระนี้ชักชวน ให้เราถวายทาน ด้วยควานอยากในอาหาร เขาไม่รู้ความที่เราควบคุม (กำหนดรู้) อาหารได้แล้วโดยประการทั้งปวง เอาเถิด เราจะทำให้เขารู้ ดังนี้ จึงได้กล่าว คาถา ๒ คาถา ความว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาโดยทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าวการ ไหว้ การบูชา ในตระกูลทั้งหลายว่า เป็นเปลือก ตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะ อันบุรุษชั่วละได้ยาก ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 14 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นยิท อนเยน ชีวิต ความว่า ชีวิต ของเรานี้ ชื่อว่า ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควรคือ โดยการแสวงหาที่ไม่สมควร มีการให้ไม้ไผ่ และการให้ดอกไม้เป็นต้น เพราะไม่มีความใคร่ในชีวิต. บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า ก็อาหารที่เรานำมา ย่อมไม่กระทำหทัย คือ จิต ให้สงบระงับ ดุจมรรคญาณและผลญาณ อธิบายว่า แต่จะกระทำเพียงระงับความหิวได้โดยทันทีอย่างเดียว. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า อาหาร คือ วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความอยากในรส ไม่ได้ทำจิตของเราให้สงบ คือไม่ทำจิตของเราให้ข้อง เพราะไม่มีความอยากในรสนั่นเอง อาจารย์บางพวก กล่าวว่า สนฺติเก ก็มี. อธิบายว่า ผู้ที่มีความจะกละในอาหารนั้น ย่อมต้องขวนขวายหาลาภ สักการะเที่ยวไป อาหารจึง ชื่อว่า มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะต้องใส่ใจถึงอยู่ เนือง ๆ ส่วนผู้ใดรู้เท่าทัน (ควบคุม) อาหารได้ ผู้นั้น ชื่อว่าละฉันทราคะ ในอาหารนั้นได้แล้ว อาหารชื่อว่าไม่มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะไม่มีการกระทำ ไว้ในใจ มีอาทิว่า ทำอย่างไรหนอ ถึงจะได้อาหารดังนี้โดยแท้ เพราะใส่ใจ ถึงปัญหายอกย้อน อันจะมีขึ้นว่า ก็ถ้าท่านไม่มีความใคร่ในชีวิต และความอยาก ในรสอาหารไซร้ เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุไร ท่านจึงเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต ดังนี้ พระเถระจึงกล่าวว่า ร่างกายจะดำรงอยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยว แสวงหาอาหารโดยทางที่ชอบ. อาหาร คือ โภชนะเป็นที่ตั้ง คือ เป็นฐานได้แก่เป็นปัจจัยของร่างกาย นั้น เพราะเหตุนั้น ร่างกายจึงชื่อว่า อาหารัฏฐิติกะมีอาหารเป็นที่ตั้ง อธิบายว่า การสั่งสม คือร่างกาย มีความเป็นไปเนื่องด้วยอาการ เพราะเราเห็นอย่างนี้ รู้อย่างนี้ จึงยกเอาความข้อนี้ไว้ในสมอง ต้องเที่ยวแสวงหา คือ ทำการแสวงหา อาหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 15 พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ท่านไม่ควรคิดในคนเช่นเราอย่างนี้ว่าเข้าไป สู่สกุลเพราะปัจจัยเป็นเหตุ และถูกลาภสักการะ คือการกราบไหว้บูชาในสกุล นั้น ผูกมัดไว้ จึงได้กล่าวคาถาว่า ปงฺโก (การไหว้การบูชาในตระกูลเป็น เปลือกตม). คาถานั้นมีอธิบายว่า เพราะเหตุที่บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้รู้ คือ รู้แจ้ง หรือได้แก่ประกาศการสรรเสริญคุณและการบูชา ของเหล่า บรรพชิตผู้เข้าไปสู่สกุล เพราะมีปัจจัยเป็นเหตุที่จักเป็นไปในตระกูลทั้งหลาย คือ ในหมู่ชาวบ้าน นี้นั้นว่าเป็นเปลือกตม คือเป็นหล่ม เพราะอรรถว่า เป็นเหตุให้บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้วจมลง และเพราะกระทำความ เศร้าหมองให้แก่บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้ว ฉะนั้นการสรรเสริญคุณ และการบูชานั้น จึงไม่เป็นไปเพื่อผูกมัดสัตบุรุษทั้งหลาย จักป่วยกล่าวไปใย ถึงการหวังสักการะเล่า เพราะท่านละได้แล้ว แต่สำหรับอสัตบุรุษ ความหวัง ในสักการะ ย่อมชื่อว่าเป็นลูกศรอันละเอียด รู้ได้ยาก เพราะก่อให้เกิดความ บีบคั้นโดยเป็นสภาพที่รู้ได้โดยยาก และเพราะไม่สามารถจะถอนออกได้เพราะ เจาะลึกเข้าไปในภายใน เพราะเหตุนั้นแล สักการะจึงเป็นของอันบุรุษชั่วนั้น ละได้ยาก คือดึงออกไปได้โดยยาก เพราะไม่ดำเนินปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติ ให้ถึงการละสักการะนั้น ชื่อว่า เป็นคนเลว เพราะไม่ละความหวังในลาภ สักการะ. พราหมณ์ฟังคำเป็นคาถานั้นแล้ว ได้เป็นผู้มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ในพระเถระ. จบอรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 16 ๓. วัลลิยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวัลลิยเถระ [๒๖๐] ได้ยินว่า พระวัลลิยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า วานรเข้าไปอยู่ในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออกทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุดนิ่ง นะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจัก ไปไกลไม่ได้ละ. อรรถกถาวัลลิยเถรคาถา คาถาของท่านพระวัลลิยเถระ เริ่มต้นว่า มกฺกโฏ ปญฺจทฺวาราย. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญมากหลายไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกัป ที่ ๓๑ นับแต่ภัทรกัปนี้ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเข้าไปสู่ป่าด้วยกรณียกิจ บางอย่าง เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่า นารทะ อยู่ที่โคนต้นไม้ในป่านั้น เป็นผู้มีใจเลื่อมใส ทำศาลาด้วยไม้อ้อ มุงบังด้วยหญ้าถวาย และแผ้วถางที่ สำหรับเดินจงกรมของพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น เกลี่ยทรายลง (จนเรียบ) ถวาย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 17 ได้มีนามว่า วัลลิยะ. เขาเจริญวัยแล้ว ถึงความเป็นหนุ่มโดยลำดับ เป็น ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจของอินทรีย์ ท่องเที่ยวไป เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า โดยการแนะนำของกัลยาณมิตร ฟังธรรมแล้ว ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ หารินะ ครั้งนั้นพระสยัมภูพุทธเจ้า นามว่า " นารทะ " อยู่ใกล้ต้นไม้ เราทำเรือนไม้อ้อ มุงด้วยหญ้า เราได้ แผ้วถางทางจงกรม ถวายพระสยัมภู ด้วยกรรมที่เรา ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์จำนงไว้ เราละ ร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ บนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์นั้น วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญกรรมเนรมิตขึ้นอย่างสวยงาม เพราะผล แห่งการสร้างกุฎีไม้อ้อ เรารื่นรมย์อยู่ในเทวโลก ๑๔ กัป ได้เสวยสมบัติในเทวโลก ๗๑ ครั้ง ได้เป็นพระ- เจ้าจักรพรรดิ ๓๔ ครั้ง และได้เป็นเจ้าประเทศราช อันไพบูลย์ โดยคณานับไม่ถ้วน เราขึ้นสู่ปราสาทคือ ธรรมแล้ว เข้าถึงซึ่งอมตธรรมอันประเสริฐ ด้วยอาการ ทั้งปวง อยู่ในศาสนาของพระศากยบุตร ตามปรารถนา ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ทำกรรมใดไว้ใน กาลนั้น ด้วยธรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผล แห่งกุฏิไม้อ้อ. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 18 ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เพราะเหตุที่จิตของตนในเวลา ที่เป็นปุถุชน เป็นไปตามความใคร่ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปารมณ์เป็นต้น บัดนี้ เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล โดยประกาศถึงความที่แห่งอารมณ์มีรูป เป็นต้น อันตนข่มไว้ได้แล้ว ด้วยพระอริยมรรค จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า วานรเข้าไปในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออก ทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุด นิ่งนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจักไปไกลไม่ได้ละ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ฆฏฺฏยนฺโต ความว่า พระโยคาวจร ละอารมณ์อย่างหนึ่ง แล้วไปยึดอารมณ์อีกอย่างหนึ่ง ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปเป็นต้น ด้วยจักษุทวารเป็นต้นนั้น ๆ ไม่พอใจเพื่อจะอยู่นิ่ง ๆ ด้วย สามารถแห่งการยึดมั่นของจิตสันดาน จึงพยายาม คือ ทำอารมณ์ให้ไหวอยู่ เนือง ๆ ย่อมไหวไปตาม คือเที่ยวไปตามความใคร่ ในอารมณ์มีรูปารมณ์ เป็นต้นนั้นแล ดุจลิงเข้าไปหาผลไม้กิน ยังต้นไม้ให้ไหวในที่นั้นหลายครั้ง เพราะละกิ่งไม้กิ่งหนึ่งแล้ว ไปเกาะกิ่งไม้อีกกิ่งหนึ่ง เพราะความหลุกหลิก ของตน ฉะนั้น. ก็ในคาถานี้ ท่านกล่าวความเป็นปัจจุบัน เพราะเป็นเรื่อง ที่ใกล้กับสิ่งที่ดำเนินไปอยู่ ก็เมื่อลิง (คือจิต) วิ่งวนไปมาอยู่อย่างนี้ พระเถระ จึงปรามว่า จงหยุดนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไป หมายความว่า ดูก่อนลิงคือจิต บัดนี้ เจ้าจงหยุด อย่าวิ่งไป คือจำเดิมแต่นี้ไป เจ้าไม่สามรถจะวิ่งต่อไปได้ เพราะ เหตุที่เรือนคืออัตภาพนั้น เจ้าจะเข้าไปคบหาไม่ได้ดังกาลก่อน เพราะปิดประตู เรือนแล้ว ฉะนั้น เจ้าอย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เพราะเหตุไร ? เพราะเรา จับเจ้าได้แล้วด้วยปัญญา คือ เจ้าถูกข่มไว้เรียบร้อยแล้ว ด้วยการตัดอุปาทาน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 19 ๕ กล่าวคือกิเลสมาร และอภิสังขารมาร ด้วยมรรคปัญญา ในบัดนี้ เพราะ เหตุนั้น พระเถระจึงแสดงว่า เจ้าจักไปไกลไม่ได้ คือเจ้าจะไปสู่อัตภาพที่ สองเป็นต้น ซึ่งไกลกว่าอัตภาพนี้ไม่ได้ ได้แก่การไปของเจ้าจะมีได้เพียงแต่ จริมกจิตเท่านั้น. ปาฐะว่า เนโต ทูร ดังนี้ก็มี. ความหมายก็อันนั้น. จบอรรถกถาวัลลิยเถรคาถา ๔. คังคาตีริยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระคังคาตีริยเถระ [๒๖๑] ได้ยินว่า พระคังคาตีริยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อ สำหรับตักน้ำรด ศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง ๒ พรรษา เราพูดเพียงคำเดียวเท่านั้น ในภายใน พรรษาที่ ๓ เราทำลายกองความมืดคืออวิชชาได้แล้ว. อรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา คาถาของท่านพระคังคาตีริยเถระ เริ่มต้นว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้วเป็นผู้มี ความเลื่อมใสอย่างยิ่งในพระศาสนา ได้ถวายน้ำดื่มแด่ภิกษุสงฆ์. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 20 ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของคฤหบดีคนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า ทัตตะ. เขาเจริญวัย แล้วอยู่ครอบครองเรือน ไม่รู้จักความเป็นอคมนียยัฏฐาน จึงทำการล่วงละเมิด ต่อมารู้จักความเป็นอคมนียัฏฐานแล้ว จึงเกิดความสลดใจ บวชแล้ว รังเกียจ กรรมนั้น ดำรงตนตามลูขปฏิปทา (ปฏิบัติอย่างเศร้าหมอง) ถือบังสุกุลจีวร และบาตรดิน มีลักษณะคล้ายหม้อรดน้ำศพ กระทำกุฎีด้วยใบตาล ๓ ใบ อยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงได้สมญานามว่า คังคาตีริยะ. ท่านอธิษฐานจิตว่า เรายังไม่ได้บรรลุพระอรหัต จะไม่สนทนากับใคร ๆ แล้วเป็นผู้นิ่งอยู่ตลอดปีแรก ไม่ยอมทำวจีเภท (ไม่ยอมพูดจา) เลย อยู่แล้ว. ในปีที่สอง ถูกหญิงคนหนึ่งในโคจรคาม ประสงค์จะทดลองว่า เป็นใบ้ หรือเปล่า จึงเมื่อจะเทน้ำนมลงในบาตร แกล้งทำเป็นมือพิการเทราดลงไป เผลอเปล่งวาจาออกไปว่า พอละน้องหญิง แต่ในปีที่ ๓ เพียรพยายามอยู่ บรรลุพระอรหัตแล้วในระหว่างพรรษาทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าว ไว้ในอปทานว่า เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ในภิกษุสงฆ์ ผู้ยอดเยี่ยมของพระพุทธเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ จึงได้ตักน้ำใส่หม้อน้ำฉันจนเต็ม ในเวลาที่เราจะต้อง การน้ำ จะเป็นยอดภูเขา ยอดไม้ ในอากาศ หรือพื้นดิน น้ำย่อมเกิดแก่เราทันที ในกัปที่แสน แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จัก ทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการให้น้ำเป็นทาน. เราเผากิเลส ทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรา กระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 21 ก็พระเถระครั้นเป็นพระอรหันต์แล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล ด้วยมุขคือการชี้แจงข้อปฏิบัติอันเป็นส่วนเบื้องต้นของตน ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อสำหรับรดน้ำศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง๒พรรษา เราพูดเพียงคำเดียว ในภายในพรรษาที่ ๓ เราทำลาย กองความมืด คืออวิชชาได้แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน คงฺคาตีเร กุฏี กตา ความว่า เราสร้างกุฎีไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา เพื่อป้องกันฝนด้วย ใบตาล ๓ ใบ ซึ่งหล่นลงมาจากต้นตาล. พระเถระแสดงความสันโดษด้วย เสนาสนะของตน ด้วยบทนั้น. สมจริงดังคำเป็นคาถาที่พระธรรมเสนาบดี กล่าวไว้ว่า สำหรับภิกษุผู้มีความเพียร นั่งขัดสมาธิ ไม่คุก- เข่า เป็นการเพียงพอที่จะอยู่ได้สบาย. ปาฐะว่า ตาลปตฺตีนปิ ดังนี้ก็มี ความก็อย่างนั้น. บทว่า ฉวสิตฺโตว เม ปตฺโต ความว่า บาตรของเราเหมือนดัง หม้อสำหรับตักน้ำรดศพ อธิบายว่า คล้ายหม้อน้ำสำหรับรดน้ำนมให้คนตาย. บทว่า ปสุกูลญฺจ จีวร ความว่า และจีวรของเรา ก็เป็นดังผ้า คลุกฝุ่น ที่ทำด้วยเศษผ้า (ผ้าขี้ริ้ว) ที่เขาทิ้งแล้วในที่ทั้งหลาย มีระหว่างทาง และป่าช้าเป็นต้น. พระเถระแสดงความสันโดษด้วยบริขาร ด้วยบททั้งสอง. บทว่า ทวินฺน อนฺตรวสฺสาน ความว่า ในระหว่างพรรษาทั้งสอง คือ ในปีที่บรรลุพระอรหัต นับแต่บวชแล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 22 บทว่า เอกา วาจา เม ภาสิตา ความว่า เราพูดเพียงคำเดียว คือ กล่าวห้ามการถวายน้ำนมว่า พอละน้องหญิงเท่านั้น การเปล่งคำพูด อย่างอื่น มิได้มีเลยในพรรษานั้น พระเถระแสดงการสำรวมกายวาจา อย่าง อุกฤษฏ์ด้วยบทนั้น. บทว่า ตติเย อนฺตรวสฺสมฺหิ ความว่า ในระหว่างปีที่ ๓ ได้แก่ ยังไม่ทันครบปีที่ ๓ นั่นเอง. บทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต ความว่า กองแห่งความมืด อันเรา ทำลายแล้ว ด้วยมรรคอันเลิศ อธิบายว่า กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ใน สันดาน คือ อวิชชา อันเราตัดขาดแล้ว. ด้วยบทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต นั้น พระเถระกล่าวถึงการละกิเลสทั้งปวงได้ โดยไม่เหลือ เพราะตั้งอยู่เป็น อันเดียวกันกับอวิชชานั้น. จบอรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา ๕. อชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระอชินเถระ [๒๖๒] ได้ยินว่า พระอชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อมดู หมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใดใน โลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่า บุคคลนั้นจะ เป็นผู้ชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือ ของคน พาลทั้งหลาย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 23 อรรถกภาอชินเถรคาถา คาถาของท่านพระอชินเถระ เริ่มต้นว่า อปิ เจ โหติ เตวิชฺโช. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์- ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว ไปป่าด้วยกรณียกิจบางอย่าง เห็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า นามว่า สุจินติตะ ในป่านั้น ถูกอาพาธเบียดเบียน บีบคั้นนั่งอยู่แล้ว จึงเข้าไปหาไหว้แล้ว เป็นผู้มีจิตเลื่อมใส ได้นำเอาขี้ตะกอน เปรียงเข้าไปถวาย เพื่อประกอบยา. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้ว ท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในสุคติภพเท่านั้น ถือปฏิสนธิในเรือนของพราหมณ์ผู้ยากจน คนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้. ในเวลาคลอด คนทั้งหลาย รับเขาไว้ด้วยหนังเสือ ด้วยเหตุนั้น จึงขนานนานเขาว่า อชินะ นั่นแล. เขาเกิดในตระกูลที่ยากจน เพราะไม่ได้กระทำกรรมอันเป็นเหตุยังโภคะ ให้เป็นไป แม้เจริญวัยแล้ว ก็ยังเป็นผู้มีน้ำและข้าวไม่บริบูรณ์ เที่ยวไป เห็นพุทธานุภาพ ในคราวที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับพระเชตวันมหาวิหาร เป็นผู้มีศรัทธาจิต บวชแล้ว กระทำกรรมในวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีภาคะ ผู้มีเหตุอันดำริดีแล้ว เป็นเชษฐ- บุรุษของโลก ประเสริฐกว่านรชน เข้าไปสู่ป่าใหญ่ ถูกอาพาธอันเกิดแต่ลมเบียดเบียน เราเห็นแล้ว จึง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 24 ทำจิตให้เลื่อมใส นำเอาขี้ตะกอนเปรียงเข้าไปถวาย เพราะเราได้กระทำกุศลและได้บูชาพระพุทธเจ้าเนืองๆ แม่น้ำคงคาชื่อภาคีรถีนี้ มหาสมุทรทั้ง ๔ และพื้นปฐพี ที่น่ากลัว ผ ซึ่งจะประมาณมิได้ นับไม่ถ้วนนี้ ย่อม สำเร็จเป็นเปรียงขึ้นได้ สำหรับ เรา น้ำผึ้ง น้ำตาลกรวด ดังจะรู้ความดำริของเรา เกิดขึ้น ตอไม้ที่งอกขึ้น แต่ แผ่นดินในทิศทั้ง ๔ ดังจะรู้ความดำริของเรา ย่อมเกิด เป็นต้นกัลปพฤกษ์ขึ้น เราได้เป็นจอมเทวดาเสวยราช- สมบัติในเทวโลก ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดย คณานับไม่ถ้วน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งขี้ตะกอนเปรียง. เราเผากิเลสทั้งหลาย แล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จ แล้ว ดังนี้. ก็พระเถระ แม้บรรลุพระอรหัตแล้ว ก็เป็นผู้มีลาภน้อย ไม่ปรากฏ ชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมที่มีในก่อน แม้อุทเทสภัตรและสลากภัตรที่ถึงท่าน ก็ต่ำช้าทั้งนั้น ก็ภิกษุและสามเณรทั้งหลายที่เป็นปุถุชน ย่อมดูหมิ่นท่านว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมนั่นแล พระเถระเมื่อจะยังภิกษุเหล่านั้น ให้สลดใจ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อม ดูหมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใด พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 25 ในโลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะ เป็นคนชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือของคน- พาลทั้งหลาย ดังนี้. ศัพท์ว่า อปิ ในคาถานั้น เป็นนิบาต ลงในอรรถว่า ยกย่องสรรเสริญ ศัพท์ว่า เจ ใช้ในการคาดคะเน. บทว่า โหติ แปลว่า ย่อมเป็น. บุคคลชื่อว่า เตวิชฺโช เพราะ เป็นผู้มีวิชชา ๓. ชื่อว่า มจฺจุหายี เพราะละมัจจุได้. ชื่อว่า ไม่มีอาสวะ เพราะไม่มี อาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ถึงแม้ว่า บุคคล จะเป็นผู้ชื่อว่า มีวิชชา ๓ เพราะบรรลุวิชชา ๓ เหล่านี้ คือ ทิพยจักขุญาณ บุพเพนิวาสญาณ (และ) อาสวักขยญาณ ต่อแต่นั้น ก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น สิ้นไปรอบแล้วโดยประการทั้งปวง ชื่อว่า ละมัจจุแล้ว เพราะไม่มีความตาย โดยที่ไม่ต้องถือเอาภพใหม่อีกต่อไป แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทั้งหลาย คือบุคคลผู้มีปัญญาทราม ย่อมดูหมิ่น บุรุษผู้สูงสุดนั้น แม้ถึงได้บรรลุประโยชน์ของตน ที่กุลบุตรทั้งหลาย ผู้ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มุ่งหมายโดยชอบที่เดียว ว่าเป็นผู้ไม่มี ชื่อเสียง ไม่มีนามปรากฏ เพราะไม่มีลาภที่เกิดขึ้นว่า เป็นผู้กล่าวสอนเรื่อง ธุดงค์ เป็นพหูสูต เป็นพระธรรมกถึก. เพราะเหตุไร ? เพราะไม่รู้ คือ เพราะเหตุแห่งการไม่รู้ ท่านแสดงการไม่รู้คุณทั้งหลายนั่นแลว่าเป็นเหตุใน ข้อนั้น. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ก็คนพาลทั้งหลายย่อมดูหมิ่นแม้ผู้ที่ควร สรรเสริญ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ (เห็นแก่ได้) เพราะไม่รู้คุณทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 26 ฉันใด ก็ย่อมสรรเสริญแม้ผู้ที่ควรดูหมิ่นอย่างนี้ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ เพราะไม่รู้คุณทั้งหลายฉันนั้น ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ไว้. พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๒ ดังต่อไปนี้ บทว่า โย เป็นการกล่าว แสดงถึงความไม่แน่นอน. จ ศัพท์เป็นนิบาตใช้ในพยดิเรก. ด้วย จ ศัพท์นั้น ส่องให้รู้ ถึงความต่างกันที่กำลังกล่าวถึงบุคคลนี้อยู่นั่นแหละ ว่าแผกจากบุคคล ตามที่กล่าวแล้ว ศัพท์ว่า โข เป็นนิบาตลงในอวธารณะ (จำกัดความให้แน่ชัด). บทว่า อนฺนปานสฺส เป็นเพียงตัวอย่าง. บทว่า ลาภี แปลว่า มีลาภ. บทว่า อิธ ความว่า ในโลกนี้. ชื่อว่า บุคคล เพราะเต็มและ กลืนกินสัตตาวาส (ภพเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์) นั้น ๆ ด้วยชราและมรณะ. บทว่า ปาปธมฺโม ได้แก่ ธรรมอันลามก. ก็ในคาถาที่ ๒ นี้ มีอรรถาธิบายว่า ส่วนบุคคลใด ย่อมเป็นผู้มีปกติได้เพียงปัจจัย มีจีวรเป็นต้น เท่านั้น ไม่ได้มรรคผลมีฌานเป็นต้น บุคคลนั้นแม้ถึงจะเป็นผู้มีธรรมอันเลว โดยความเป็นผู้ทุศีล เพราะมีความปรารถนาลามก แต่ก็ยังเป็นผู้อันคนพาล ทั้งหลายในโลกนี้ สักการะ เคารพ เพราะความเป็นผู้หนักในลาภ. จบอรรถกถาอชินเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 27 ๖. เมฬชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระเมฬชินเถระ [๒๖๓] ได้ยินว่า พระเมฬชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เมื่อใดเราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรงแสดง อยู่ เมื่อนั้น เราไม้รู่สึกมีความสงสัย ในพระศาสดาผู้รู้ ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้ว- กล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือ ว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. อรรถกถาเมฬชินเถรคาถา คาถาของท่านพระเมฬชินเถระ เริ่มต้นว่า ยทาห ธมฺมมสฺโสสึ. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญทั้งหลายไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ บรรลุนิติภาวะแล้ว วันหนึ่ง เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผล อาโมทะ มีรสอร่อย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปเกิดในตระกูลกษัตริย์ กรุงพาราณสี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า เมฬชินะ ถึงความสำเร็จในศิลปวิทยา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 28 เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง มีนามกระฉ่อนปรากฏไปทั่วทิศ. เมื่อพระผู้มีพระ- ภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนะ กรุงพาราณสี เขาไปสู่พระวิหาร เข้าเฝ้า พระศาสดา ฟังธรรมแล้วได้ศรัทธาจิต บวชแล้วเริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระ อรหัตในวันนั้นเอง. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้สยัมภู ผู้มีพระรัศมีนับ ด้วยพัน ไม่ทรงพ่ายแพ้อะไร ๆ ทรงออกจากวิเวกแล้ว เสด็จออกโคจรบิณฑบาต เราถือผลไม้อยู่ได้เห็นแล้ว จึงได้เข้าไปเฝ้าพระนราสภ เรามีจิตเลื่อมใส มีใจ โสมนัส ได้ถวายผลไม้ ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว ในเวลาต่อมา อันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านได้บรรลุอุตริมนุสธรรมแล้วหรือ เมื่อจะบันลือสีหนาท ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เมื่อใด เราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรง แสดงอยู่ เมื่อนั้น เราไม่รู้สึกความสงสัยในพระศาสดา ผู้รู้ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้วกล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยทา ได้แก่ ในกาลใด. พระเถระเรียก ตัวเองว่า " เรา ". พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 29 บทว่า ธมฺม ได้แก่ธรรม คือ อริยสัจ ๔. บทว่า อสฺโสสึ แปลว่า ฟังแล้ว. บทว่า สตฺถุโน ความว่า ชื่อว่าศาสดา เพราะอรรถว่า ทรงสั่งสอน เวไนยสัตว์ทั้งหลาย ด้วยประโยชน์ทั้งหลาย มีทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เป็นต้น. บทว่า กงฺข แปลว่า ความสงสัย พระผู้มีพระภาคเจ้าชื่อว่าเป็น สัพพัญญู เพราะอรรถว่า ทรงรู้สังขตธรรมและอสังขคธรรม โดยไม่มีส่วนเหลือ ชื่อว่า อปราชิเต เพราะไม่มีผู้ที่จะทำให้พ่ายแพ้ได้ ไม่ว่าที่ไหน ๆ ชื่อว่า สตฺถวาเห เพราะอรรถว่า ขนสัตว์จากกันดาร คือสงสารไปสู่พระนิพพาน. ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ดังนี้. นับจำเดิมแต่เวลาที่พระศาสดาทรงแสดงธรรม เราได้ฟังคือเข้าไป ทรงจำ ด้วยการแล่นไปตามแห่งโสตทวาร ได้แก่ ได้รับจตุสัจจธรรม เราไม่ มีความสงสัย ในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ชื่อว่า ทรงหยั่งรู้พระสัพพัญญุตญาณ โดยไม่มีอะไรขัดขวาง เพราะทรงรู้สมมติธรรมทั้งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยไม่มีส่วนเหลือ ด้วยสยัมภูญาณ ชื่อว่า ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ เพราะ ความเป็นผู้อันมารเหล่านั้นชนะไม่ได้ โดยที่ทรงครอบงำมารแม้ทั้ง ๕ ไว้ได้ และเพราะความเป็นผู้มีจักรคือธรรม อันใคร ๆ กำจัดไม่ได้ในโลกพร้อมทั้ง เทวโลก ชื่อว่าเป็นผู้นำหมู่ เพราะทรงนำเวไนยสัตว์ให้ผ่านพ้นกันดาร มีโลภ- กันดารเป็นต้น ชื่อว่าแกล้วกล้าเป็นอันมาก เพราะทรงตัดกำกงแห่งสงสาร อันใหญ่หลวงได้เด็ดขาด ชื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐ คือสูงสุดกว่าสารถีทั้งหลาย เพราะทรงเป็นที่พึ่ง คือทรงฝึกบุรุษที่ควรฝึกอันคนอื่นฝึกได้ยาก ได้ด้วยการ ฝึกที่ดีที่สุด ว่าเป็นพระพุทธเจ้า (จริง) หรือหนอ หรือไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะไม่มีความเคลือบแฝงอย่างอื่นเป็นปัจจัย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 30 ก็ข้อกังขา คือความสงสัยในอริยมรรคอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง แสดงแล้วเห็นปานนั้น และในปฏิปทามีศีลเป็นต้น อันเป็นปฏิปทาที่สมควร แก่พระอริยมรรคนั้น ว่า จะเป็นธรรมนำสัตว์ให้พ้นทุกข์ได้จริงหรือไม่หนอ ดังนี้ ย่อมไม่มี คือไม่มีข้อสงสัย. ก็ในบาทคาถานี้ พึงทราบว่า ด้วยการกล่าว ถึงความสงสัยในอริยธรรม ก็เป็นอันท่านกล่าวถึงความสงสัยแม้ในพระอริยสงฆ์ ไว้ด้วยแล้วทีเดียว เพราะความเป็นผู้ตั้งอยู่ในมรรคนั้น โดยไม่มีความเป็น อย่างอื่น ฉะนี้แล. จบอรรถกถาเมฬชินเถรคาถา ๗. ราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระราธเถระ [๒๖๔] ได้ยินว่า พระราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันใด จิตที่ อบรมดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 31 อรรถกถาราธเถรคาถา คาถาของท่านพระราธเถระ เริ่มต้นว่า ยถา อคาร ทุจฺฉนฺน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในพระนครหงสาวดี ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้ แล้วไปสู่วิหาร เข้าไปเฝ้าพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว นั่งอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง เห็นพระศาสดาทรงแต่งตั้งภิกษุรูปหนึ่ง ไว้ในตำแหน่งของภิกษุผู้เลิศกว่าภิกษุ ทั้งหลายผู้มีปฏิภาณ ปรารถนาตำแหน่งนั้นด้วยตนเอง แล้วบำเพ็ญมหาทาน และได้ทำการบูชาแด่พระศาสดาอย่างโอฬาร เขาตั้งปณิธานไว้อย่างนี้ จุติจาก อัตภาพนั้นแล้ว สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดาเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลมะม่วง มี รสหวาน. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดในตระกูลพราหมณ์ ใน พระนครราชคฤห์ ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าแห่งเราทั้งหลาย ได้นามว่า ราธะ เจริญวัยแล้ว อยู่ครองเรือน ในเวลาแก่ตัวลง ถูกลูกเมียลบหลู่ ไปสู่วิหารด้วยคิดว่า ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองเรือนของเรา เราจักบวช เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นเถระ ขอบรรพชา อันภิกษุผู้เถระเหล่านั้น ห้ามว่า พราหมณ์นี้แก่แล้ว ไม่สามารถจะบำเพ็ญวัตรปฏิบัติได้ จึงไปยังสำนักของ พระศาสดา กราบทูลอัธยาศัยของตนให้ทรงทราบ อันพระศาสดาทรงตรวจดู พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 32 ความสมบูรณ์แห่งอุปนิสัยแล้ว ตรัสสั่งให้พระธรรมเสนาบดี จัดแจงบวชให้ เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้ถวายผลมะม่วงกะล่อนทอง แด่พระสัม- พุทธเจ้า ผู้มีพระฉวีวรรณเหมือนทองคำ ผู้สมควรรับ เครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวาย ผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวาย ผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้ . ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เที่ยววนเวียนไปมาอยู่ในสำนัก ของพระบรมศาสดา เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้รู้ปฏิภาณ อันเป็นเหตุให้ มีความเข้าใจพระธรรมเทศนาของพระศาสดาอย่างแจ่มแจ้ง แท้จริง พระธรรม เทศนาใหม่ ๆ ของพระทศพล อาศัยความปรากฏขึ้นแห่งทิฏฐิ ย่อมแจ่มแจ้ง แก่พระเถระ. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระ ราธะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีปฏิภาณ. วันหนึ่ง พระเถระเมื่อจะ ชมเชยภาวนา ว่าสัตว์เหล่านี้อันราคะครอบงำได้ เพราะไม่เจริญภาวนา เมื่อ มีการเจริญภาวนา ราคะก็ครอบงำไม่ได้ ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ฉันใด จิตที่อบรม ดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 33 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อคาร ได้แก่ เรือนชนิดใดชนิดหนึ่ง. บทว่า ทุจฺฉนฺน ได้แก่ มุงไว้ห่าง ๆ คือเป็นช่องน้อยช่องใหญ่. บทว่า สมติวิชฺฌติ ความว่า ฝนที่ตกย่อมรั่วรดได้. บทว่า อภาวิต ความว่า จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว เพราะเว้นจากภาวนา เปรียบเหมือนฝนที่รั่วรดเรือนได้. บทว่า ราโค สมติวิชฺฌติ ความว่า มิใช่ราคะจะรั่วรดได้อย่าง เดียวเท่านั้น แม้สรรพกิเลสมี โทสะ โมหะ และมานะเป็นต้น ก็ย่อมรั่วรด จิตเห็นปานนั้นได้เหมือนกัน. บทว่า สุภาวิต ได้แก่ จิตที่อบรมดีแล้ว ด้วยสมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น ย่อมไม่สามารถจะรั่วรดจิต เห็นปานนั้นได้ เหมือนเรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉะนั้น. จบอรรถกถาราธเถรคาถา ๘. สุราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระสุราธเถระ [๒๖๕] ได้ยินว่า พระสุราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่าย คือ ทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นเราได้ บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 34 อรรถกถาสุราธเถรคาถา คาถาของท่านพระสุราธเถระ เริ่มต้นว่า ขีณา หิ มยฺห ชาติ. เรื่องราวของท่าน เป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า สิขี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดา มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลหมากงั่ว. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว วนไปเวียนมาอยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดเป็นน้องชายของพระราธเถระ ที่ ข้าพเจ้ากล่าวไว้ติดต่อกันเป็นลำดับมา ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า สุราธะ. เมื่อพระราธเถระผู้เป็นพี่ชายบวชแล้ว แม้ท่านเองก็ออกบวช เจริญ วิปัสสนา บรรลุพระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่าน กล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้เห็นสมเด็จพระโลกนาถ ผู้โชติช่วงเหมือน ต้นกรรณิการ์ รุ่งเรืองดังพระจันทร์ในวันเพ็ญ และ เหมือนต้นไม้ประจำทวีปที่โพลงอยู่ เราเลื่อมใส ได้ เอาผลหมากงั่วถวาย แด่พระศาสดาผู้เป็นทักขิไณย- บุคคล เป็นวีรบุรุษ ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วย การถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่ง การถวายผลไม้ เราเผากิเลสแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 35 ก็พระเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล เพื่อแสดงความที่คำสั่งสอนเป็นนิยยานิกธรรม (นำสัตว์ออกจากทุกข์) จึงได้ กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่ายคือทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์อันใด ประโยชน์นั้นเรา ได้บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ขีณา ความว่า ถึงแล้ว ซึ่งความสิ้นไป คือความสิ้นสุด. บทว่า ชาติ ได้แก่ ภพ หรือการบังเกิดในภพ. บทว่า วุสิต ชินสาสน ความว่า คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระ นามว่า ชินะ ได้แก่ มรรคพรหมจรรย์ อันเราอยู่แล้ว คืออยู่จบแล้ว. บทว่า ปหีโน ชาลสงฺขาโต ความว่า ทิฏฐิและอวิชชา ที่มีนามอันได้ แล้วว่า ชาลสังขาตะ เพราะครอบงำสันดานของสัตว์ และไม่ให้ (โอกาส) เพื่อจะถอนขึ้น อันเราละแล้ว คือถอนขึ้นแล้วด้วยมรรค. บทว่า ภวเนตฺติ สมูหตา ความว่า ตัณหาที่หมายรู้กันว่า นำสัตว์ไปสู่ภพ เพราะนำสัตว์ไป สู่ภพมีกามภพเป็นต้น คือ ยังสัตว์ให้หมุนเป็นไป อันเราเพิกถอนแล้ว. บทว่า ยทตฺถาย ปพฺพชิโต ความว่า เราออกบวช คือออกจากเรือน บรรพชา คือบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด คือเพื่อผลอันใด. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 36 อธิบายว่า ประโยชน์ คือประโยชน์อย่างยิ่ง กล่าวคือพระนิพพาน และประโยชน์ของตน กล่าวคือพระอรหัต อันเป็นธรรมเครื่องสิ้นไปแห่ง สังโยชน์ทั้งหลาย ต่างโดยโอรัมภาคิยสังโยชน์และอุทธัมภาคิยสังโยชน์ทั้งปวง อันเป็นเครื่องพันธนาการ อันเราบรรลุแล้วโดยลำดับ คือถึงทับแล้ว. จบอรรถกถาสุราธเถรคาถา ๙. โคตมเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระโคตมเถระ [๒๖๖] ได้ยินว่า พระโคตมเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนี เหล่านั้นย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยากแสน ยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้นอันบุคคลต้องรักษา ทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อ ฆ่าท่าน บัดนี้เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไปถึง พระนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 37 อรรถกถาฌคตมเถรคาถา คาถาของท่านพระโคตมเถระ เริ่มต้นว่า สุข สุปนฺติ. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ เกิดใน เรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า มีใจเลื่อมใส ได้ถวาย ผลอาโมทะ. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดในตระกูลพราหมณ์ กรุงราชคฤห์ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า โคตมะ ในเวลาที่มีอายุได้ ๗ ขวบ ทำ เป็นคนตาพิการเที่ยวขอเงิน ได้ทรัพย์มาพันหนึ่ง เก็บทรัพย์นั้นไว้ในที่ ๆ ปลอดภัย บำเพ็ญพรต ในเวลาที่มีอายุได้ ๑๖- ๑๗ ปี ถูกมิตรชั่วแนะนำไป ในกามารมย์ ให้ของมีราคาหนึ่งพันนั้น แก่หญิงขายตัว (อาศัยรูปเลี้ยงชีพ) คนหนึ่ง สูญเสียพรหมจรรย์ และเมื่อหญิงนั้นแสดงอาการคลายกำหนัด เพราะ เห็นรูปแห่งพรหมจารีของเขา เป็นผู้มีรูปอิดโรยเหนื่อยหน่าย ด้วยการร่วม หลับนอนเพียงคืนเดียวเท่านั้น นึกถึงความสูญเสียพรหมจรรย์ของตน และ การเสียทรัพย์ ได้มีวิปฏิสารว่า เรากระทำกรรมอันไม่สมควรแล้ว. พระศาสดา ทรงทราบเหตุสมบัติ และความฟุ้งซ่านแห่งจิตของเขา จึงแสดงพระองค์ในที่ ใกล้ ๆ เขา. เขาเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใสเข้าไปเฝ้าแล้ว พระผู้มี พระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมแก่เขาแล้ว เขาฟังธรรมแล้วได้เป็นผู้มีจิตศรัทธา บวช บรรลุพระอรหัต ในขณะที่ปลงผมเสร็จทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 38 เราได้ถวายผลอาโมทะ แด่พระสัมพุทธเจ้าผู้มี พระฉวีวรรณปานดังทองคำ ผู้สมควรรับเครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม่ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็สหายผู้เป็นคฤหัสถ์คนหนึ่ง เข้าไปหาพระเถระผู้บรรลุพระอรหัต แล้วยังเวลาให้ล่วงไปด้วยความสุขในฌาน ถามว่า อาวุโส ท่านเมื่อบวชได้ทำ อย่างไรกะทรัพย์ ที่ได้มาเพราะขอเงิน. พระเถระฟังดังนั้นแล้ว ไม่ยอมบอก ว่า เรากระทำกรรมชื่อนี้ ประกาศโทษในมาตุคาม เมื่อจะพยากรณ์พระ- อรหัตผล ด้วยการชี้ถึงความที่ตนเป็นผู้มีราคะไปปราศแล้ว กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนีเหล่านั้น ย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยาก แสนยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้น อันบุคคลต้อง รักษาทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อฆ่าท่าน บัดนี้ เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไป ถึงนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุข สุปนฺติ มุนโย เย อิตฺถีสุ น พชฺฌเร ความว่า มุนีเหล่าใด ไม่ผูกพันในหญิงทั้งหลาย ที่เกิดเป็นอารมณ์ หรือเกิดเป็นนิมิต ด้วยเครื่องผูกพันคือราคะ มุนีเหล่านั้นเป็นผู้มีตบะ มี อินทรีย์อันสำรวมแล้ว ย่อมหลับเป็นสุข คืออยู่เป็นสุข. อธิบายว่า ทุกข์ย่อม ไม่มีแก่มุนีเหล่านั้น. ก็บทว่า สุปนฺติ นี้ เป็นเพียงตัวอย่าง. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 39 บทว่า สทา เว รกฺขิตพฺพาสุ ความว่า อันบุคคลพึงรักษา ตลอดกาลทั้งปวง โดยส่วนเดียว. อธิบายว่า หญิงทั้งหลายแม้จะให้อยู่ใน ปราสาทชั้นบนที่ปราศจากบุรุษถึง ๗ ชั้น แม้จะเก็บรักษาไว้ภายใน (ห้อง) ก็ไม่สามารถจะรักษาไว้ได้ เพราะเหตุนั้น หญิงเหล่านั้นจึงเป็นผู้ที่จะต้องเฝ้า รักษาอยู่ตลอดเวลา ดุจแม่โคตัวกินข้าวกล้าเป็นอาหารฉะนั้น. อีกอย่างหนึ่ง หญิงเหล่านั้น ต้องเฝ้ารักษาตลอดเวลา เพราะความเป็นหญิงนอกใจสามี ด้วย การเพิ่มให้ผ้าและเครื่องประดับเป็นต้น เพราะความเป็นหญิงหลายใจ. หรือ ชื่อว่า ต้องเฝ้ารักษา เพราะความเป็นหญิงที่ต้องคอยถนอมน้ำใจ โดยการ ปกปิดสภาพแห่งร่างกาย ด้วยระเบียบและของหอมเป็นต้น. บทว่า ยาสุ สจฺจ สุทุลฺลภ ความว่า คำสัตย์ไม่สามารถเพื่อจะ หาได้ในหญิงเหล่าใด อธิบายว่า ธรรมดาหญิงทั้งหลาย จะเข้าไปสู่กองไฟก็ได้ จะดื่มยาพิษก็ได้ จะนำศาสตรามาก็ได้ จะผูกคอตายก็ได้ แต่ไม่สามารถจะตั้ง อยู่ในสัจจะได้ เพราะฉะนั้น พระเถระจึงแสดงความว่า มุนีทั้งหลาย เว้นหญิง เห็นปานนี้ แล้วดำรงอยู่ ย่อมเป็นผู้ถึงแล้วซึ่งความสุขหนอ ดังนี้. มุนีทั้งหลาย ยังผูกพันอยู่แม้ในหญิงทั้งหลายเห็นปานนี้ เพราะยัง ละกามใดไม่ได้ บัดนี้ พระเถระเมื่อจะแสดงถึงความที่แห่งกามนั้น อันตน ละได้แล้วด้วยดี และความเป็นผู้ไม่มีความปรารถนาโดยส่วนเดียว จงกล่าว คาถาที่ ๒ ไว้. บทว่า วธ จริมฺห เต กามา ความว่า ดูก่อนกามผู้เจริญ เรา ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อฆ่าท่าน คือ ประพฤติถอนรากโดยส่วนเดียว ด้วย อริยมรรค. ปาฐะว่า เอว จริมฺหเส ดังนี้ก็มี. ความก็ว่า เราได้ประพฤติ มรรคพรหมจรรย์เพื่อฆ่า คือเพื่อประหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 40 บทว่า อณนา ทานิ เต มย ความว่า ดูก่อนกาม บัดนี้ คือ จำเดิมแต่เวลาที่เราได้บรรลุพระอรหัต เราไม่เป็นหนี้ท่าน คือเราไม่แบกหนี้ ของท่าน (ต่อไป). อธิบายว่า ผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะ ย่อมเป็นดุจแบกหนี้ ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าว ล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะ เหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล เราจึงชื่อว่า ไปถึงพระนิพพาน อันเป็นที่ ๆ บุคคล ไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้า โดยประการทั้งปวง อันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. อธิบายว่า บัดนี้ เราถึง คือ ถึงโดยลำดับ ซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานั้นนั่นแล. จบอรรถกถาโคตมเถรคาถา ๑๐. วสภเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวสภเถระ [๒๖๗] ได้ยินว่า พระวสภเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึงฆ่า ผู้อื่น. บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ได้ รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาปกรรมทั้งหลายมีในบุคคลใด บุคคลนั้นเป็นคนดา ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอพระองค์จงทราบอย่างนี้. จบวรรคที่ ๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 41 อรรถกถาวสภเถรคาถา คาถาของท่านพระวสภเถระ เริ่มต้นว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) เจริญวัยแล้ว ถึงความสำเร็จในวิชาและศิลปะของ พราหมณ์ทั้งหลาย ละการอยู่ครองเรือนบวชเป็นดาบส เพราะเป็นผู้มีอัธยาศัย โน้มไปในเนกขัมมะ สร้างอาศรมอยู่ที่ภูเขา ชื่อว่า สมัคคะ ไม่ไกลป่าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว ให้โอวาทและอนุสาสน์แก่ดาบสทั้งหลายอยู่ วันหนึ่ง คิดอย่างนี้ว่า บัดนี้ เราเองเป็นผู้อันดาบสเหล่านี้ สักการะ เคารพ บูชาแล้วอยู่ แต่ยังหาผู้ที่เราควรบูชาไม่ได้ การอยู่โดยไม่มีครูผู้ควรเคารพนี้ เป็นทุกข์ในโลก. ก็ครั้นคิดอย่างนี้แล้ว ระลึกถึงบูชาและสักการะ อันตนกระทำแล้ว ในเจดีย์ ของพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ทั้งหลาย เพราะความเป็นผู้มีอธิการ อันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ว่า ไฉนหนอแล เราพึงก่อ- พระเจดีย์ทราย อุทิศพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ แล้วทำการบูชา ดังนี้ เป็นผู้ ร่าเริงยินดีแล้ว เนรมิตพระสถูปทราย สำเร็จด้วยทอง ด้วยฤทธิ์ กระทำการ บูชาทุก ๆ วัน ด้วยดอกไม้ประมาณ ๓,๐๐๐ อันสำเร็จด้วยทองเป็นต้น กระ ทำบุญจนตลอดอายุ แล้วบังเกิดในพรหมโลก. เขาดำรงอยู่แม้ในพรหมโลกนั้น จนตลอดอายุแล้ว จุติจากพรหมโลก นั้น บังเกิดในดาวดึงส์ ท่องเที่ยววนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 42 เกิดในตระกูลเจ้าลิจฉวี ในกรุงเวสาลี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า วสภะ เจริญวัยแล้ว เห็นพุทธานุภาพ ในคราวเสด็จไปพระนครไพศาลี ของพระผู้มี พระภาคเจ้า ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุ พระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ สมัคคะ เราได้ทำอาศรม สร้างบรรณศาลาไว้ที่ภูเขา นั้น เราเป็นชฎิลผู้มีตบะใหญ่ มีนามว่า นารทะ ศิษย์ สี่หมื่นคนบำรุงเรา ครั้งนั้น เราเป็นผู้หลีกออกเร้นอยู่ คิดอย่างนี้ว่า มหาชนบูชาเรา เราไม่บูชาอะไร ๆ เลย ผู้ที่จะกล่าวสั่งสอนเราก็ไม่มี ใคร ๆ ที่จะตักเตือนเรา ก็ไม่มี เราไม่มีอาจารย์และอุปัชฌาย์ อยู่ในป่า ศิษย์ ผู้ภักดีพุงบำรุงใจครูทั้งคู่ได้ อาจารย์เช่นนั้นของเรา ไม่มี การอยู่ในป่าจึงไม่มีประโยชน์ สิ่งที่ควรบูชา เราควรแสวงหา สิ่งที่ควรเคารพ ก็ควรแสวงหาเหมือน กัน เราจักชื่อว่า เป็นผู้ที่มีที่พึ่งพำนักอยู่ ใครๆ จักไม่ เราได้ ในที่ไม่ไกลอาศรมของเรา มีแม่น้ำซึ่งมี ชายหาด มีท่าน้ำราบเรียบ น่ารื่นรมย์ใจ เกลื่อนกล่น ไปด้วยทรายที่ขาวสะอาด ครั้งนั้น เราได้ไปยังแม่น้ำ ชื่อ อเมริกา กอบโกยเอาทรายมาก่อเป็นพระเจดีย์ทราย พระสถูปของพระสัมพุทธเจ้า ผู้ทำที่สุดภพ เป็นมุนี ที่ได้มีแล้วเป็นเช่นนี้ เราได้ทำพระสถูปนั้นให้เป็น นิมิต เราก่อพระสถูปที่หาดทรายแล้วปิดทอง แล้วเอา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 43 ดอกกระดึงทอง ๓,๐๐๐ ดอกมาบูชา เราเป็นผู้มีความ อิ่มใจ ประนมกรอัญชลี นมัสการทั้งเวลาเย็นเวลาเช้า ไหว้พระเจดีย์ทราย เหมือนถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้า ในที่เฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้น ในเวลาที่กิเลสและความ ตรึก เกี่ยวด้วยกามเกิดขึ้น เราย่อมนึกถึง เพ่งดูสถูป ที่ได้ทำไว้ เราอาศัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นำสัตว์ ออกจากที่กันดาร ผู้นำชั้นพิเศษตักเตือนตนว่า ท่าน ควรระวังกิเลสไว้ ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ การยังกิเลส ให้เกิดขึ้นไม่สมควรแก่ท่าน ครั้งนั้น เมื่อเราคำนึงถึง พระสถูป ย่อมเกิดความเคารพขึ้นพร้อมกัน เราบรร- เทาวิตกที่น่าเกลียดเสียได้ เปรียบเหมือนช้างตัว ประเสริฐ ถูกเครื่องแทงหูเบียดเบียน ฉะนั้น เรา ประพฤติอยู่เช่นนี้ ได้ถูกพระยามัจจุราชย่ำยี เราทำ กาลกิริยา ณ ที่นั้นแล้ว ได้ไปยังพรหมโลก เราอยู่ใน พรหมโลกนั้นตราบเท่าหมดอายุ แล้วมาบังเกิดใน ไตรทิพย์ ได้เป็นจอมเทวดาเสวยราชสมบัติในเทวโลก ๘๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และได้ เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ เราได้เสวยผลของดอกกระดึงทองเหล่านั้น ดอก กระดึงทอง ๒๒,๐๐๐ ดอก แวดล้อมเราทุกภพ เพราะ เราเป็นผู้บำเรอพระสถูป ฝุ่นละอองย่อมไม่ติด ที่ตัวเรา เหงื่อไม่ไหล เรามีรัศมีซ่านออกจากตัว โอ พระสถูปเราได้สร้างไว้ดีแล้ว แม่น้ำอเมริกา เราได้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 44 เห็นดีแล้ว เราได้บรรลุบทอันไม่หวั่นไหว ก็เพราะ ได้ก่อพระสถูปทราย อันสัตว์ผู้ปรารถนาจะกระทำ กุศล ควรยึดเอาสิ่งที่เป็นสาระ ไม่ใช่เป็นด้วยเขต หรือไม่ใช่เขต ความปฏิบัตินั่นเองให้สำเร็จ บุรุษผู้มี กำลัง มีความอุตสาหะที่จะข้ามทะเลหลวง พึงถือเอา ท่อนไม้เล็ก วิ่งไปสู่ทะเลหลวงด้วยคิดว่า เราอาศัย ท่อนไม้นี้ จักข้ามทะเลหลวงไปได้ นรชนพึงข้ามทะเล หลวงไปด้วยความเพียรอุตสาหะ แม้ฉันใด เราก็ฉันนั้น เหมือนกัน อาศัยธรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ได้ทำไว้แล้ว จึงได้ข้ามพ้นสงสารไปได้ เมื่อถึงภพสุดท้าย เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว เกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ที่มั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี มารดาบิดาของเราเป็น คนมีศรัทธา นับถือพระพุทธเจ้า ท่านทั้งสองนี้เป็นผู้ เห็นธรรม ฟังธรรม ประพฤติตามคำสอน ท่านทั้งสอง ถือเอาผ้าลาดสีขาว มีเนื้ออ่อนมากที่ต้นโพธิ มาทำ พระสถูปทอง นมัสการในที่เฉพาะพระพักตร์ แห่ง พระศากยบุตร ทุกค่ำเช้าในวันอุโบสถ ท่านทั้งสอง นำเอาพระสถูปทองออก กล่าวสรรเสริญคุณพระ- พุทธเจ้า ยับยั้งอยู่ตลอด ๓ ยาม เราได้เห็นพระสถูป เสมอ จึงระลึกถึงเจดีย์ทรายขึ้นได้ นั่งบนอาสนะเดียว ได้บรรลุพระอรหัตแล้ว เราแสวงหาพระพุทธเจ้าผู้ เป็นปราชญ์นั้นอยู่ ได้เห็นพระธรรมเสนาบดี จึงออก จากเรือนบรรพชาในสำนักของท่าน เราได้บรรลุพระ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 45 อรหัตแต่อายุ ๗ ขวบ พระพุทธเจ้าผู้มีพระปัญญาจักษุ ทรงทราบถึงคุณวิเศษของเรา จึงให้เราอุปสมบท เรา มีการกระทำอันบริบูรณ์ดีแล้ว แต่ยังเป็นทารกอยู่ ทีเดียว ทุกวันนี้กิจที่ควรทำในศาสนาของพระศากย- บุตร เราทำเสร็จแล้ว ข้าแต่พระฤๅษีผู้มีความเพียร ใหญ่ สาวกของพระองค์เป็นผู้ล่วงพ้นเวรภัยทุกอย่าง ล่วงพ้นความเกี่ยวข้องทั้งปวง นี้เป็นผลแห่งพระ- สถูปทอง. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะทำการอนุเคราะห์ทายก จึงไม่ห้ามปัจจัยทั้งหลายที่ทายกเหล่านั้นนำมาถวาย บริโภคปัจจัยตามที่ได้มา แล้วเท่านั้น. ผู้ที่ยังเป็นปุถุชนสำคัญท่านว่า พระเถระนี้ เป็นผู้มักมากไปด้วย การบำรุงบำเรอร่างกาย ไม่รักษาสภาพจิต จึงพากันดูหมิ่น. พระเถระอยู่อย่างไม่คำนึงถึงการดูหมิ่นนั้นเลย ก็ในที่ไม่ไกล ที่ พระเถระอยู่ มีภิกษุผู้โกหกรูปหนึ่ง เป็นผู้มีความปรารถนาลามก แสดงตน เหมือนเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย เหมือนเป็นผู้สันโดษ เที่ยวลวงโลกอยู่. มหาชนพากันยกย่องภิกษุรูปนั้น เหมือนอย่างพระอรหันต์. ลำดับนั้น ท้าว สักกะผู้เป็นจอมเทพ ทรงทราบพฤติการณ์นั้นของเธอแล้ว จึงเข้าไปหา พระเถระ แล้วถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ภิกษุผู้โกหก กระทำกรรมชื่อไร ? พระเถระเมื่อจะตำหนิความปรารถนาลามก จึงกล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึง ฆ่าผู้อื่น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนก ที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 46 ได้รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลก นั้นไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาป กรรมทั้งหลาย มีในบุคคลใด บุคคลนั้น เป็นคนดำ ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอจงทรงทราบอย่างนี้ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน ความว่า บุคคลผู้โกหก เพื่อลวงโลก ด้วยประพฤติเป็นคนโกหกของตน ชื่อว่า ย่อม ฆ่าตน ด้วยธรรมอันลามก มีความเป็นผู้ปรารถนาลามกเป็นต้น ก่อนทีเดียว คือยังส่วนแห่งความดีของตนให้พินาศไป. บทว่า ปจฺฉา หนติ โส ปเร ความว่า บุคคลผู้โกหกนั้น ฆ่า ตนเอง โดยนัยดังกล่าวแล้ว ก่อนเป็นปฐม ต่อมาภายหลังจึงฆ่าคนทั้งหลาย ผู้สรรเสริญตนว่า ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก เป็นพระอริยะ ดังนี้ แล้วกระทำ สักการะ คือทำสักการะที่เขาถวายตน ให้ไม่มีผลมาก ให้พินาศไป โดยการ พินาศแห่งปัจจัย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า แม้ในการฆ่าทั้งสองอย่าง ของคน โกหกจะมีอยู่ แต่ ข้อแปลกในการฆ่าตนมีดังนี้ จึงกล่าวว่า สหต หนติ อตฺตาน (บุคคลผู้ลวงโลกนั้นย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย). คนโกหกนั้น เมื่อฆ่าตน ย่อมฆ่าคือทำให้พินาศได้ง่ายดาย. ถามว่า เหมือนอะไร ? ตอบว่า เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านกฉะนั้น. นกต่อ ชื่อว่า วีตโส. ด้วยนกต่อนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 47 บทว่า ปกฺขิมา ได้แก่ นายพรานนก. เปรียบเหมือนนายพรานนก ลวงนกเหล่าอื่นไปฆ่าด้วยนกต่อนั้น ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนแม้ในโลกนี้ เพราะเป็น กรรมที่ท่านผู้รู้ตำหนิ และเป็นกรรมที่มีโทษเป็นสภาพเป็นต้น ส่วนในสัมปราย ภพ ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนด้วยความมืดมน มัวหมองของทุคติทีเดียว แต่ในภาย หลัง ก็ไม่สามารถจะฆ่านกเหล่านั้นได้อีก ฉันใด คนโกหกก็ฉันนั้น ลวงโลก ด้วยความเป็นคนโกหก ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนเองแม้ในโลกนี้ เพราะวิปฏิสาร และถูกตำหนิจากวิญญูเป็นต้น. แม้ในปรโลก ก็ชื่อว่าฆ่าตน เพราะความมืด มน มัวหมองของทุคติ ใช่แต่เท่านั้น ยังชื่อว่า ทำทายกผู้ถวายปัจจัยเหล่านั้น ให้ถึงทุกข์ในอบาย อีกด้วย. อีกประการหนึ่ง คนโกหก ท่านกล่าวว่า ย่อมฆ่าทายก เพราะกระทำ ทักษิณาไม่ให้มีผลมากเท่านั้น ไม่ใช่เพราะกระทำทักษิณาทานไม่ให้มีผล. สมจริงดังพระดำรัส ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ทักษิณาทานที่ให้แก่ มนุษย์ทุศีล พึงหวังผลได้พันเท่า ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า บุคคลผู้ตั้งอยู่ในอัตภาพ เพียงทำให้สะอาด ในภายนอกอย่างนี้ หาชื่อว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ แต่จะชื่อว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ เพราะ ความสะอาดในภายในเท่านั้น ดังนี้ จึงกล่าวคาถาที่สองว่า น พฺราหฺมโณ เป็นต้น. คาถาที่ ๒ นั้นมีอธิบายว่า บุคคลหาชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะ เหตุ เพียงสมบัติภายนอก มีการวางท่า (วางมาด) เป็นต้นไม่. ก็วัณณะ ศัพท์ในคาถานี้ มีสมบัติเป็นอรรถ (หมายความถึงสมบัติ). ก็บุคคลย่อมชื่อว่า เป็นพราหมณ์ เพราะสมบัติมีศีลเป็นต้นในภายใน โดยกระทำอธิบายว่า บุคคล ผู้มีบาปอันลอยแล้ว ชื่อว่า พราหมณ์ ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 48 ดูก่อนท่านสุชัมบดี ผู้เป็นจอมเทวัญ เพราะฉะนั้น ท่านจงรู้เถิดว่า บาปคือกรรมอันลามกทั้งหลาย มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นชื่อว่าคนดำ คือเป็นคน เลวทรามโดยส่วนเดียว ดังนี้. ท้าวสักกะฟังดังนั้นแล้ว ทรงคุกคามภิกษุผู้ โกหกแล้วโอวาทว่า ท่านจงประพฤติธรรม ดังนี้แล้ว เสด็จกลับพิภพของ พระองค์. จบอรรถกถาวสภเถรคาถา จบวรรควรรณนาที่ ๑ ในอรรถกถา เถรคาถา ชื่อว่า ปรมัตถทีปนี ในวรรคนี้ รวมพระเถระได้ ๑๐ รูป คือ ๑. พระอุตตรเถระ ๒. พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ๓. พระวัล- ลิยเถระ ๔. พระคังคาตีริยเถระ ๕. พระอชินเถระ ๖. พระเมฬชินเถระ ๗. พระราธเถระ ๘. พระสุราธเถระ ๙. พระโคตมเถระ ๑๐. พระวสภ- เถระ ล้วนมีมหิทธิฤทธิ์ และอรรถกถา. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 49 เถรคาถา เอกนิบาต วรรคที่ ๒ ๑. มหาจุนทเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระมหาจุนเถระ [๒๖๘] ได้ยินว่า พระมหาจุนทเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า การฟังดี เป็นเหตุให้การฟังเจริญ การฟังเป็น เหตุให้เจริญปัญญา บุคคลจะรู้ประโยชนก็เพราะปัญญา ประโยชน์ที่บุคคลรู้แล้ว ย่อมนำสุขมาให้ ภิกษุควรซ่อง เสพเสนาสนะ อันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็นเหตุ ให้จิตหลุดพ้นจากสังโยชน์ ถ้ายังไม่ได้ประสบความ ยินดี ในเสนาสนะอันสงัดและธรรมนั้น ก็ควรเป็นผู้ มีสติรักษาตน อยู่ในหมู่สงฆ์. วรรควรรณนาที่ ๒ อรรถกถามหาจุนทเถรคาถา คาถาของท่านพระมหาจุนทเถระ เริ่มต้นว่า สุสฺสูสา. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลช่างหม้อ ในกาลของ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 50 พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุนิติภาวะแล้ว เลี้ยงชีพด้วยงาน ของนายช่างหม้อ วันหนึ่งเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใส ทำบาตรดินลูก หนึ่ง ตกแต่งเป็นอย่างดี ถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของนางรูปสารีพราหมณี เป็นน้องชายคนเล็ก ของพระเถระชื่อว่า สารีบุตร ในนาลกคาม แคว้นมคธ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า จุนทะ. เขาเจริญวัยแล้ว บวชตามพระธรรมเสนาบดี อาศัยพระธรรมเสนาบดี เริ่มตั้งวิปัสสนา เพียรพยายามอยู่ ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ข้าพระองค์ เป็นช่างหม้ออยู่ในหงสาวดี ได้เห็น พระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี มีโอฆะอันข้ามได้ แล้ว ไม่มีอาสวะ ข้าพระองค์ได้ถวายบาตรดินที่ทำ ดีแล้ว แด่พระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด ครั้นถวายบาตร แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ตรง คงที่แล้ว เมื่อข้าพระองค์ เกิดในภพ ย่อมได้ภาชนะทอง และจานที่ทำด้วยเงิน ทำด้วยทอง และทำด้วยแก้วมณี ข้าพระองค์บริโภค ในถาด นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม ข้าพระองค์เป็นผู้เลิศ กว่าชนทั้งหลายโดยยศ พืชแม้มีน้อย แต่หว่านลงใน นาดี เมื่อฝนยังท่อธารให้ตกลงทั่ว โดยชอบ ผลย่อม ยังชาวนาให้ยินดีได้ฉันใด การถวายบาตรนี้ก็ฉันนั้น ข้าพระองค์ได้หว่านลงในพุทธเขต เมื่อท่อธารคือปีติ ตกลงอยู่ ผลจักทำข้าพระองค์ให้ยินดี เขตคือหมู่และ คณะมีประมาณเท่าใด ที่จะให้ความสุขแก่สรรพสัตว์

โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะได้ยินว่า ท่านพระอุตตรเถระได้ภาษิตคาถาไว้ ๒ คาถาอย่างนี้ว่า ภพอะไร ที่เที่ยงไม่มี แม้สังขารที่เที่ยงก็ไม่มี ขันธ์เหล่านั้นย่อมเวียนเกิดและ เวียนดับไป เรารู้โทษอย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ เราสลัด ตนออกจากกามทั้งปวง บรรลุถึงความสิ้นอาสวะแล้ว.

วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557

กามชาดก เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วย ปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็น โทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วย ปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่ เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหา ย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มี ความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญา เปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกาม ทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประ- กอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ ดี ๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้ว ย่อมมีความสุข ฉันใดเราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรา- รถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. คาถาทั้งหมด ๘ คาถา ที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ ๘ พันนี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้ เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ.

Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting

Dhammapada - ' Yamakvaggo- यमकवग्गो ' Pali-Hindi Chantingมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา, มโนเสฏฐา มโนมยา. มนสา เจ ปทุฏฺเฐน, ภาสติ วา กโรติ วา. ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ, จกฺกํ ว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ

Dhammapada - ' Yamakvaggo- यमकवग्गो ' Pali-Hindi Chantingมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา, มโนเสฏฐา มโนมยา. มนสา เจ ปทุฏฺเฐน, ภาสติ วา กโรติ วา. ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ, จกฺกํ ว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าบาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”

คัมภีร์เล่มสุดท้ายคือกายกับใจของเรานี่เอง เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

สร้างอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในแอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้าเครื่องล้างจานระบบอินเวอร์เตอร์ INVERTER ดียังไง ระบบอินเวอร์เตอร์(Inverter) คือ ระบบที่นำเอาความรู้ทางด้านอิเลคทรอนิกส์ที่ควบคุมการทำงานด้วยคำสั่งจาก ไมโครคอมพิวเตอร์ที่สั่งงานโดยตรงจากรีโมทคอนโทรนและนำคำสั่งดังกล่าวมาใช้ ควบคุมการทำงานของระบบเครื่องปรับอากาศ ให้ทำงาน ปรับอุณหภูมิ ควบคุมความชื้น ควบคุมความเย็น ให้ทำงานได้โดยอัตโนมัติ โดยใช้คำสั่งจากโมโครคอมพิวเตอร์ ระบบอินเวอร์เตอร์ทำงานอย่างไร ใน การทำงานของระบบ หลังจากที่เดินระบบให้แอร์คอนดิชั่นเนอร์ทำงานแล้ว ไมโครคอมพิวเตอร์ก็จะทำการตรวจสอบอุณหภูมิโดนทันที แล้วเลือกการทำงานเองว่าจะทำงานอย่างไรโดยการประมวลผลคำสั่งจากที่เราสั่ง การทำงานให้แอร์คอนจากรีโมทคอนโทรน ทำการตรวจสอบ และเลือกการทำงานเองว่าจะทำอย่างไร จะทำความเย็น จะไล่ระบบความชื้นในห้อง หรือ ฯลฯ ได้โดยอัตโนมัติ โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละยี่ห้อนั้นๆว่ามีเซนเซอร์ใช้ตรวจสอบการทำงานอะไร ประหยัดไฟได้อย่างไร เพราะว่าผลจากการทำงานของระบบอิน เวอร์เตอร์ มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิโดยตรงภายในห้องต่อมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ทำให้ไมโครคอมสั่งการเปลี่ยนความถี่ของไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์อยู่ตลอดเวลา มีผลทำให้ความเร็วรอบของมอเตอร์ลดลง ส่งผลให้ปริมาตรการดูดน้ำยาลดลง การกินไฟของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ก็จะลดลงตามไปด้วย ทำให้เราสามารถประหยัดไฟฟ้าได้ แม่ว่ามอเตอร์จะทำงานอยู่ก็ตามแต่ก็เป็นการทำงานตามคำสั่งของไมโคร คอมพิวเตอร์ที่ควบคุมความถี่ของไฟฟ้าเท่านั้น ต่างกับระบบเดิมตรงไหน นอก จากการทำงานจะสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้แล้วดังที่กล่าวข้างต้นแม้ว่า การทำงานของคอมเพรสเซอร์จะทำงานอยู่ตลอดเวลาด้วยความเร็วรอบที่ช้าลงอันเป็น ผลจากการควบคุมความถี่ไฟฟ้าจากการทำงานโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ชึ่งเป็นผลจากการประมวลผลของไมโครคอมพิวเตอร์ และก็ธรรมดาที่อุปกรณ์ภายในตัวคอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ย่อมแตกต่างจากคอมแบบเดิม ไปบ้างด้วยหลักการดังกล่าว โดยที่ระบบเดิมใช้การควบคุมการทำงานโดยการควบคุมแบบเทอร์โมสตั๊ด ควบคุมการทำงานของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และทำงานด้วยความถี่ไฟฟ้าเดียวตลอด ทำให้การกินกระแสไฟฟ้ามากตามไปด้วย ซึ่งแตกต่างจากระบบอินเวอร์เตอร์ที่มีการกินของกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตาม ความถี่ของไฟฟ้า โดยการควบคุมการทำงานของไมโครคอมพิวส์เตอร์ที่ใช้ในการควบคุมความถี่ไฟฟ้า และสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้ ด้วยหลักการทำงานดังกล่าว คุณสมบัติเด่น แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter 1.ประหยัดไฟกว่า 20 -30 % เนื่องจากระบบคอมเพรสเซอร์ทำงานลดรอบ (ความถี่) หลักการทำงาน เช่น แอร์บ้าน 12000 BTU พอห้องเย็นตามอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ระบบจะลดรอบการทำงานลงจะทำความเย็น อยู่ที่ 3000 BTU เท่านั้น เป็นการประหยัดไฟ 2.เย็นเร็วทันใจ ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter ตอนเปิดเครื่องแรกๆ คอมเพรสเซอร์จะทำงานในรอบสูงสุด คือเท่าคอมย็นที่ 110% เช่น แอร์บ้าน ขนาด 12000 BTU จะทำความเย็นสูงสุดประมาณ 13500 BTU จะทำให้ห้องเย็นเร็วทันใจกว่า 3.รักษาอุณหภูมิห้องได้คงที่ การที่ระบบ อินเวอร์เตอร์ Inverter ทำงานต่อเนื่องโดยการเพิ่มหรือลดรอบการทำงานคอมเพรสเซอร์ไม่มีหยุดเป็นช่วงๆ ทำให้อุณหภูมิจะนิ่งมาก รักษาอุณหภูมิได้คงที่กว่าไม่รู้สึกร้อนๆ หนาวๆ เหมือนระบบ แอร์บ้านธรรมดา 4.เสียงของเครื่องทำงานเงียบกว่า เนื่องจากคอมเพลสเซอร์มีการลดรอบการทำงาน ดั้งนั้นตอนที่ห้องเย็นดีแล้วคอล์ยเย็นและระบบฉีดน้ำยาจะลดเสียงการทำงานทำให้เสียงที่เกิดขึ้นเงียบกว่า แอร์บ้าน รุ่นธรรมดา 5.อากาศสดชื่นกว่า เนื่องจากคอมเพรสเซอร์ระบบรุ่นธรรมดา เวลาคอมเพรสเซอร์ตัด อากาศในห้องจะมีกลิ่นอับชื้น แต่ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter คอมเพรสเซอร์ไม่ตัดจะเป็นการลดรอบความเย็น จะไม่มีกลิ่นอับชื้น ทำให้อากาศสดชื่นตลอดการใช้งาน 6.เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กับน้ำยาตัวใหม่ R410A ไม่ทำลายชั้นโอโซชั้นบรรยากาศเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบบนี้ ปี 2555 จะมีข้อบังคับในการใช้น้ำยาตัวใหม่ R410A สำหรับแอร์บ้านทุกเครื่อง ดั้งนั้นจะพูดได้ว่า แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter เป็นแอร์อนาคต ที่ผู้บริโภคเลือกแล้วได้ประโยชน์คุ้มสุด หมายเหตุ การตัดและเริ่มสตาร์ทของคอมเพรสเซอร์สำหรับแอร์บ้าน ระบบธรรมดา ช่วงออกตัวจะกินไฟสูงกว่าถึง 200 - 300 % การเปรียบเทียบค่าไฟระหว่าง ระบบ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) กับ ระบบธรรมดา ประหยัดกว่า 20-30%

แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่ใช้อินเวอร์เตอร์ควบคุมมอเตอร์อินดัตชั่่น...ระบบอินเวอร์เตอร์ INVERTER ดียังไง ระบบอินเวอร์เตอร์(Inverter) คือ ระบบที่นำเอาความรู้ทางด้านอิเลคทรอนิกส์ที่ควบคุมการทำงานด้วยคำสั่งจาก ไมโครคอมพิวเตอร์ที่สั่งงานโดยตรงจากรีโมทคอนโทรนและนำคำสั่งดังกล่าวมาใช้ ควบคุมการทำงานของระบบเครื่องปรับอากาศ ให้ทำงาน ปรับอุณหภูมิ ควบคุมความชื้น ควบคุมความเย็น ให้ทำงานได้โดยอัตโนมัติ โดยใช้คำสั่งจากโมโครคอมพิวเตอร์ ระบบอินเวอร์เตอร์ทำงานอย่างไร ใน การทำงานของระบบ หลังจากที่เดินระบบให้แอร์คอนดิชั่นเนอร์ทำงานแล้ว ไมโครคอมพิวเตอร์ก็จะทำการตรวจสอบอุณหภูมิโดนทันที แล้วเลือกการทำงานเองว่าจะทำงานอย่างไรโดยการประมวลผลคำสั่งจากที่เราสั่ง การทำงานให้แอร์คอนจากรีโมทคอนโทรน ทำการตรวจสอบ และเลือกการทำงานเองว่าจะทำอย่างไร จะทำความเย็น จะไล่ระบบความชื้นในห้อง หรือ ฯลฯ ได้โดยอัตโนมัติ โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละยี่ห้อนั้นๆว่ามีเซนเซอร์ใช้ตรวจสอบการทำงานอะไร ประหยัดไฟได้อย่างไร เพราะว่าผลจากการทำงานของระบบอิน เวอร์เตอร์ มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิโดยตรงภายในห้องต่อมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ทำให้ไมโครคอมสั่งการเปลี่ยนความถี่ของไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์อยู่ตลอดเวลา มีผลทำให้ความเร็วรอบของมอเตอร์ลดลง ส่งผลให้ปริมาตรการดูดน้ำยาลดลง การกินไฟของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ก็จะลดลงตามไปด้วย ทำให้เราสามารถประหยัดไฟฟ้าได้ แม่ว่ามอเตอร์จะทำงานอยู่ก็ตามแต่ก็เป็นการทำงานตามคำสั่งของไมโคร คอมพิวเตอร์ที่ควบคุมความถี่ของไฟฟ้าเท่านั้น ต่างกับระบบเดิมตรงไหน นอก จากการทำงานจะสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้แล้วดังที่กล่าวข้างต้นแม้ว่า การทำงานของคอมเพรสเซอร์จะทำงานอยู่ตลอดเวลาด้วยความเร็วรอบที่ช้าลงอันเป็น ผลจากการควบคุมความถี่ไฟฟ้าจากการทำงานโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ชึ่งเป็นผลจากการประมวลผลของไมโครคอมพิวเตอร์ และก็ธรรมดาที่อุปกรณ์ภายในตัวคอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ย่อมแตกต่างจากคอมแบบเดิม ไปบ้างด้วยหลักการดังกล่าว โดยที่ระบบเดิมใช้การควบคุมการทำงานโดยการควบคุมแบบเทอร์โมสตั๊ด ควบคุมการทำงานของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และทำงานด้วยความถี่ไฟฟ้าเดียวตลอด ทำให้การกินกระแสไฟฟ้ามากตามไปด้วย ซึ่งแตกต่างจากระบบอินเวอร์เตอร์ที่มีการกินของกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตาม ความถี่ของไฟฟ้า โดยการควบคุมการทำงานของไมโครคอมพิวส์เตอร์ที่ใช้ในการควบคุมความถี่ไฟฟ้า และสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้ ด้วยหลักการทำงานดังกล่าว คุณสมบัติเด่น แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter 1.ประหยัดไฟกว่า 20 -30 % เนื่องจากระบบคอมเพรสเซอร์ทำงานลดรอบ (ความถี่) หลักการทำงาน เช่น แอร์บ้าน 12000 BTU พอห้องเย็นตามอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ระบบจะลดรอบการทำงานลงจะทำความเย็น อยู่ที่ 3000 BTU เท่านั้น เป็นการประหยัดไฟ 2.เย็นเร็วทันใจ ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter ตอนเปิดเครื่องแรกๆ คอมเพรสเซอร์จะทำงานในรอบสูงสุด คือเท่าคอมย็นที่ 110% เช่น แอร์บ้าน ขนาด 12000 BTU จะทำความเย็นสูงสุดประมาณ 13500 BTU จะทำให้ห้องเย็นเร็วทันใจกว่า 3.รักษาอุณหภูมิห้องได้คงที่ การที่ระบบ อินเวอร์เตอร์ Inverter ทำงานต่อเนื่องโดยการเพิ่มหรือลดรอบการทำงานคอมเพรสเซอร์ไม่มีหยุดเป็นช่วงๆ ทำให้อุณหภูมิจะนิ่งมาก รักษาอุณหภูมิได้คงที่กว่าไม่รู้สึกร้อนๆ หนาวๆ เหมือนระบบ แอร์บ้านธรรมดา 4.เสียงของเครื่องทำงานเงียบกว่า เนื่องจากคอมเพลสเซอร์มีการลดรอบการทำงาน ดั้งนั้นตอนที่ห้องเย็นดีแล้วคอล์ยเย็นและระบบฉีดน้ำยาจะลดเสียงการทำงานทำให้เสียงที่เกิดขึ้นเงียบกว่า แอร์บ้าน รุ่นธรรมดา 5.อากาศสดชื่นกว่า เนื่องจากคอมเพรสเซอร์ระบบรุ่นธรรมดา เวลาคอมเพรสเซอร์ตัด อากาศในห้องจะมีกลิ่นอับชื้น แต่ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter คอมเพรสเซอร์ไม่ตัดจะเป็นการลดรอบความเย็น จะไม่มีกลิ่นอับชื้น ทำให้อากาศสดชื่นตลอดการใช้งาน 6.เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กับน้ำยาตัวใหม่ R410A ไม่ทำลายชั้นโอโซชั้นบรรยากาศเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบบนี้ ปี 2555 จะมีข้อบังคับในการใช้น้ำยาตัวใหม่ R410A สำหรับแอร์บ้านทุกเครื่อง ดั้งนั้นจะพูดได้ว่า แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter เป็นแอร์อนาคต ที่ผู้บริโภคเลือกแล้วได้ประโยชน์คุ้มสุด หมายเหตุ การตัดและเริ่มสตาร์ทของคอมเพรสเซอร์สำหรับแอร์บ้าน ระบบธรรมดา ช่วงออกตัวจะกินไฟสูงกว่าถึง 200 - 300 % การเปรียบเทียบค่าไฟระหว่าง ระบบ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) กับ ระบบธรรมดา ประหยัดกว่า 20-30%

สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปพระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้น ไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจาก จิตหนึ่ง แล้วมิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้น และไม่อาจจะถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียวหรือสีเหลือง และไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งทั้งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือของเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก ทั้งนี้เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัดเหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบทั้งหมดทั้งสิ้น จิตหนึ่ง นี้เป็นสิ่งซึ่งเราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้เป็นเหมือนกับความว่างอันปราศจากขอบทุกๆ ด้านซึ่งไม่อาจจะหยั่งหรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง พุทธ กับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้นเขาจึงแสวงหา พุทธภาวะ จากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นเองทำให้เขาพลาดจาก พุทธภาวะ การทำเช่นนั้นเท่ากับการใช้สิ่งซึ่งเป็น พุทธ ให้เที่ยวแสวงหา พุทธ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขาอยู่ตั้งกัปป์หนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถบรรลุถึงพุทธภาวะได้เลย เขาไม่รู้ว่าถ้าเขาเองเพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวาย เพราะการแสวงหาเสียเท่านั้น พุทธ ก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่าจิตนี้คือ พุทธ นั่นเอง และ พุทธ ก็คือสิ่งมีชีวิตทั้งหลายทั้งปวงนั่นเอง สิ่งๆ นี้เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่ สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้งหกก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วนเหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้น จงคิดดูเถิดเมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกๆ กรณีอยู่แล้ว คือเป็นจิตหนึ่ง หรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธ ทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งซึ่งสมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำ ก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้วอยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน ถ้าเรายังไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธ ก็ดี และถ้าเรายังยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องรอยกันกับทางๆ โน้นเสียเลย จิตหนึ่ง นั่นแหละ คือ พุทธ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิ เช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่าง หรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันไปต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรมซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธ ซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่ พุทธ ของความยึดมั่นถือมั่น การปฏิบัติปารมิตาทั้งหก และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็น พุทธ สักองค์หนึ่งนั้นเป็นการปฏิบัติชนิดคืบหน้าทีละขั้นๆ แต่ พุทธ ซึ่งมีตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้นหาใช่ พุทธ ที่บรรลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อ จิตหนึ่ง นั้นเท่านั้น และไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละ คือ พุทธที่แท้จริง พุทธ และสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสนและความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อพระอาทิตย์ขึ้นย่อมให้ความสว่างทั่วทั้งพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้นมันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อพระอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่างและความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิต ของ พุทธ และของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น ถ้าเรามองดู พุทธ ว่าเป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลเกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุดถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปป์นับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้นและไม่มีสิ่งอื่นใดแม้แต่อนุภาคเดียว ที่จะอิงอาศัยได้ เพราะจิตนั้นเองคือ พุทธะ เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่องทางโน้น ถ้าไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบังจิตนั้นเสียด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหาพุทธนอกตัวเราเอง พวกเรายังยึดมั่นถือมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลายต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใดเลย เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกันไม้หรือก้อนหิน คือ ภายในนั้นปราศจากความเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขต หรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรมหรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปไหนได้เลย จิตนี้ ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้นพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้ว ก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย จิตนี่แหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้นโดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่กล่าวว่าจิตนั้น มิใช่จิตดังนี้ นั่นแหละ ย่อมหมายถึงสิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริงสิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้นเราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ผูกตัดขาดไปแล้ว และพฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิดกระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติ อันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่มีแตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวง ทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็น พุทธ ดั้งเดิมของเรานั้นโดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตน แม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบและไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งๆ นี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละคือ สิ่งๆ นั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีกแล้ว จิต คือ พุทธ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลาย เป็นที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานอยู่ด้วยอีก และแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่งมันย่อมมีส่วนแห่งความเป็น พุทธ เท่ากันหมดและทุกสิ่งมีเนื้อหาเป็นอันเดียวกันกับ พุทธ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ

สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปพระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้น ไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจาก จิตหนึ่ง แล้วมิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้น และไม่อาจจะถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียวหรือสีเหลือง และไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งทั้งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือของเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก ทั้งนี้เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัดเหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบทั้งหมดทั้งสิ้น จิตหนึ่ง นี้เป็นสิ่งซึ่งเราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้เป็นเหมือนกับความว่างอันปราศจากขอบทุกๆ ด้านซึ่งไม่อาจจะหยั่งหรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง พุทธ กับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้นเขาจึงแสวงหา พุทธภาวะ จากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นเองทำให้เขาพลาดจาก พุทธภาวะ การทำเช่นนั้นเท่ากับการใช้สิ่งซึ่งเป็น พุทธ ให้เที่ยวแสวงหา พุทธ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขาอยู่ตั้งกัปป์หนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถบรรลุถึงพุทธภาวะได้เลย เขาไม่รู้ว่าถ้าเขาเองเพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวาย เพราะการแสวงหาเสียเท่านั้น พุทธ ก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่าจิตนี้คือ พุทธ นั่นเอง และ พุทธ ก็คือสิ่งมีชีวิตทั้งหลายทั้งปวงนั่นเอง สิ่งๆ นี้เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่ สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้งหกก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วนเหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้น จงคิดดูเถิดเมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกๆ กรณีอยู่แล้ว คือเป็นจิตหนึ่ง หรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธ ทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งซึ่งสมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำ ก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้วอยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน ถ้าเรายังไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธ ก็ดี และถ้าเรายังยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องรอยกันกับทางๆ โน้นเสียเลย จิตหนึ่ง นั่นแหละ คือ พุทธ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิ เช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่าง หรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันไปต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรมซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธ ซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่ พุทธ ของความยึดมั่นถือมั่น การปฏิบัติปารมิตาทั้งหก และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็น พุทธ สักองค์หนึ่งนั้นเป็นการปฏิบัติชนิดคืบหน้าทีละขั้นๆ แต่ พุทธ ซึ่งมีตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้นหาใช่ พุทธ ที่บรรลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อ จิตหนึ่ง นั้นเท่านั้น และไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละ คือ พุทธที่แท้จริง พุทธ และสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสนและความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อพระอาทิตย์ขึ้นย่อมให้ความสว่างทั่วทั้งพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้นมันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อพระอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่างและความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิต ของ พุทธ และของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น ถ้าเรามองดู พุทธ ว่าเป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลเกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุดถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปป์นับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้นและไม่มีสิ่งอื่นใดแม้แต่อนุภาคเดียว ที่จะอิงอาศัยได้ เพราะจิตนั้นเองคือ พุทธะ เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่องทางโน้น ถ้าไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบังจิตนั้นเสียด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหาพุทธนอกตัวเราเอง พวกเรายังยึดมั่นถือมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลายต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใดเลย เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกันไม้หรือก้อนหิน คือ ภายในนั้นปราศจากความเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขต หรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรมหรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปไหนได้เลย จิตนี้ ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้นพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้ว ก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย จิตนี่แหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้นโดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่กล่าวว่าจิตนั้น มิใช่จิตดังนี้ นั่นแหละ ย่อมหมายถึงสิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริงสิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้นเราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ผูกตัดขาดไปแล้ว และพฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิดกระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติ อันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่มีแตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวง ทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็น พุทธ ดั้งเดิมของเรานั้นโดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตน แม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบและไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งๆ นี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละคือ สิ่งๆ นั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีกแล้ว จิต คือ พุทธ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลาย เป็นที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานอยู่ด้วยอีก และแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่งมันย่อมมีส่วนแห่งความเป็น พุทธ เท่ากันหมดและทุกสิ่งมีเนื้อหาเป็นอันเดียวกันกับ พุทธ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ

ปฐมชนสูตร สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยูณ พระวิหาร เชตวัน อารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีใกลพระนครสาวัตถีครั้ง นั้นแล พราหมณ๒ คน เปนคนชรา แกเฒา ลวงกาลผานวัยมาโดย ลําดับ มีอายุได๑๒๐ ปแตกําเนิด ไดชวนกันไปเฝาพระผูมีพระภาค เจาถึงที่ประทับ ไดปราศรัยกับพระผูมีพระภาคเจา ครั้นผานการ ปราศรัยพอใหระลึกถึงกันไปแลว จึงนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้น แลวไดกราบทูลวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ พวกขาพระองคเปน พราหมณชรา แกเฒา ลวงกาลผานวัยมาโดยลําดับ มีอายุได๑๒๐ ปแตกําเนิด แตมิไดสรางความดีมิไดทํากุศล มิไดทํากรรมอันเปน ที่ตานทานความขลาดไวขอพระโคดมผูเจริญ ทรงโอวาทสั่งสอน พวกขาพระองคถึงขอที่จะพึงเปนไป เพื่อประโยชนและความสุขแก พวกขาพระองคสิ้นกาลนานเถิด. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ดูกอนพราหมณที่แทพวกทาน เปนคนชรา แกเฒา ลวงกาลผานวัยมาโดยลําดับ มีอายุได๑๒๐ ป แตกําเนิด แตมิไดสรางความดีมิไดทํากุศล มิไดทํากรรมอันเปนที่ ตานทานความขลาดไวดูกอนพราหมณโลกนี้ถูกชรา พยาธิมรณะ นําเขาไปอยูแล เมื่อโลกถูกชรา พยาธิมรณะ นําเขาไปอยูเชนนี้ ความสํารวมทางกาย ความสํารวมทางวาจา ความสํารวมทางใจใน โลกนี้ยอมเปนที่ตานทาน เปนที่เรน เปนเกาะ เปนที่พึ่ง เปนที่ยึด หนวงของเขาผูละไปแลว. ชีวิตถูกชรานําเขาไปใกลความมีอายุสั้น ผูที่ถูกชรานําเขาไปใกลแลว ยอมไมมีที่ ตานทาน เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความ ตายนี้ ควรทําบุญทั้งหลายอันนําความ สุขมาใหความสํารวมทางกาย ทางวาจา และทางใจในโลกนี้ยอมเปนไปเพื่อความ สุขไวผูที่ละโลกนี้ไปแลว ผูซึ่งสรางสม บุญไวแตเมื่อยังมีชีวิตอยู.

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐจากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้.

พระอานนท์ พระพุทธอนุชา บทนำเรื่อง ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใ­จของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรว­ดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะป­ระสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปร­าชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอ­าแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุก­ต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่า­ว­อธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป

เพลง เด็กเอ๋ยเด็กดี

วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ปกิณกธรรม อิทธิบาท 4 , บารมี 10 01 อิทธิบาท 4, บารมี 10 หลวงพ่อฤาษีล...

ละนันทิ จิตหลุดพ้นด้วยดี [ปฏิปทาเดียวถึงนิพพาน]

วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.

ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.

โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.

โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.

วันเสาร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2557

สิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้วแต่จิตมันก็ไม่พอซักที

จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้วให้ดูตอนเช้าประมาณ ตีสาม พอเค้ามาเราจะรู้ ให้กลับมาทีลมหายใจของเราให้ได้ เชื่อเถอะครับมรรคผล นิพพาน มีอยู่ตลอดเวลา ความเพียรพยายามเราต้องทำเองครั­­­บ ถ้าจะให้เร็ว สั่งให้ร่างกายเราลุกขึ้น ทันที่ ที่เริ่มเปลี่ยน เรื่องฝัน(ตัวนึกคิดปรุงแต่ง)ถึ­­­งจะเหนื่อยก็คุ้มค่ากับการที่­ไ­ด­้ปรารภความเพียรครับ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”

วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ จากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้.

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใ­จของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรว­ดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะป­ระสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปร­าชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอ­าแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุก­ต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าว­อธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป

วิวัฒนาการ อวัยวะภายใน มนุษย์ HD

วิธีสร้างเครื่องอินเวอร์เตอร์สำหรับมอเตอร์สามเฟสใช้เองเพื่อสูบน้ำบาดาลด้...วิธีสร้างเครื่องอินเวอร์เตอร์สำหรับมอเตอร์สามเฟสใช้เองเพื่อสูบน้ำบาดาลด้วยไฟฟ้า

มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิตโคม่า (อังกฤษ: Coma) คือภาวะที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกมากกว่า 6 ชั่วโมง โดยความไม่รู้สึกตัวนี้คือ ปลุกไม่ตื่น กระตุ้นด้วยความรู้สึกเจ็บ แสง เสียง แล้วไม่ตอบสนอง ไม่มีวงจรหลับ-ตื่น ตามปกติ

มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิต มีสติตั้งมั่นที่ลมหายใจของเราเองแล้วให้สังเกตุว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในใจเป็นสิ่งแปลกปลอมทั้งสิ้น.ช้า..ช้า..ไม่ต้องรีบแป็นพระอรหันต์

มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิตมหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิต เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจาก ความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ภิกษุนั้น น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า 'นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ๒ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา' เมื่อเธอรู้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า 'หลุดพ้นแล้ว' รู้ชัดว่า 'ชาติ สิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว๓ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว๔ ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็น อย่างนี้อีกต่อไป๕' http://nkgen.com/41.htm

ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

ผู้สละโลก ปลดแอก การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิธีตัดกามราคะ ๒ เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วย ปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็น โทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วย ปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่ เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหา ย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มี ความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญา เปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกาม ทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประ- กอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ ดี ๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้ว ย่อมมีความสุข ฉันใดเราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรา- รถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. คาถาทั้งหมด ๘ คาถา ที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ ๘ พันนี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้ เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ.

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเราติเตียนกระท่อม คือสรีระร่างอันสำเร็จด้วยโครงกระดูก อันฉาบทา ด้วยเนื้อ ร้อยรัดด้วยเส้นเอ็น เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น น่าเกลียด ที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจว่าเป็นของผู้อื่นและเป็นของตน ในร่างกาย ของเธอเช่นกับถุงอันเต็มไปด้วยคูถ มีหนังหุ้มห่อปกปิดไว้เหมือนนาง- ปีศาจ มีฝีที่อก มีช่องเก้าช่องเป็นที่ไหลออกเนืองนิตย์ ภิกษุควรละเว้น สรีระของเธออันมีช่องเก้าช่อง เต็มไปด้วยกลิ่นเหม็น ดังชายหนุ่มผู้ชอบ สะอาด หลีกเลี่ยงมูตรคูถไปจนห่างไกล ฉะนั้น หากว่าคนพึงรู้จักสรีระ ของเธอเช่นเดียวกับฉันรู้จัก ก็จะพากันหลบหลีกเธอไปเสียห่างไกล เหมือนบุคคลผู้ชอบสะอาดเห็นหลุมคูถในฤดูฝนแล้ว หลีกเลี่ยงไปเสีย ห่างไกล ฉะนั้น.

อาจารย์โกเอนก้าถึงแก่กรรม

วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557

อานิสงส์ของการเจริญมรณานุสติกรรมฐานภิกษุ ท. ! มรณสติ (ความระลึกถึงความตาย) อันบุคคลเจริญทำให้ มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด. พวกเธอเจริญมรณสติอยู่บ้างหรือ ? เมื่อรับสั่งดังนั้นแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งทูลขึ้นว่า “แม้ข้าพระองค์ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วเวลากลางวัน. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อหนึ่ง. เราพึง ใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียง ๔ - ๕ คำ. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้ ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์ เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือชั่ว ขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตาม คำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. เมื่อสิ้นคำทูลทั้งหมดแล้ว, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า :- ภิกษุ ท. ! ภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะมี ชีวิตอยู่ได้ เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วเวลา กลางวัน _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อ หนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จ เพียง ๔ - ๕ คำ. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติ ตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่ายังเป็น ผู้ประมาทอยู่ ยังเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะช้าไป. ภิกษุ ท. ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะ มีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว _ _ ” ดังนี้ก็ดี, ว่า “โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้า แล้วหายใจออก หรือชั่วขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่า เป็น ผู้ไม่ประมาทแล้ว, เป็นผู้เจริญมรณสติเพื่อความสิ้น อาสวะ

เจริญสติเพื่อความสิ้นแห่งทุกข์ถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง

กุญแจแห่งความรู้สึกตัวพิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพาน สำหรับบุคคลที่ตื่นอยู่ตลอดเวลา หมั่นศึกษาไตรสิกขาทั้งกลางวันและกลางคืน น้อมจิตเข้าหานิพพาน อาสวะทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ไม่ได้

วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การเข้าณาน

พุทโธจิตหนีไปคิดรู้ทันจิตรู้ทันกิเลสรู้ให้เร็วทีละขณะทุกวินาที..ธรรมสนทนาของหลวงปู่ดูลย์ (ท่านมีอายุได้ ๙๐ ปี และได้เข้าพักที่ พระตำหนักทรงพรต วัดบวรฯ) ถาม : พุทโธ เป็นอย่างไร หลวงปู่ : เวลาภาวนาอย่าส่งจิตออกนอก ความรู้อะไรทั้งหลาย อย่าไปยึด ความรู้ที่เราเรียน กับตำรา หรือครูอาจารย์ อย่าเอามายุ่งเลย ให้ตัดอารมณ์ ออกให้หมด แล้วเวลาภาวนาไปให้มันรู้ รู้จากจิตของเรานี่แหละ จิตของเราสงบ เราจะรู้เอง ต้องภาวนาให้มากๆ เข้า เวลามันจะเป็น จะเป็นของมันเอง แล้วก็ความรู้อะไรๆ ให้มันออกมาจากจิตของเรา ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอก ศาสนาเป็นอย่างไร เรารู้ของเราเอง อย่าปล่อยให้มันปรุงแต่งมากนัก ข้อสำคัญ ให้รู้จักจิตของเราเท่านั้นเอง เพราะว่าจิตคือ ตัวหลักธรรม นอกจากจิตแล้วไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย ถาม : การภาวนาเข้าไปเห็นจิตผู้รู้นั้น ทำอย่างไรครับ หลวงปู่ : ทำให้มากๆ ทำให้บ่อยๆ ถาม : เห็นจิตครั้งเดียวนี้ ใช้ได้ไหมครับ หลวงปู่ : เห็นครั้งเดียวถ้าชัดเจนแล้วไม่ลืม ทำให้ชำนาญ เมื่อเกิดความสงบแล้วก็พิจารณาความสงบ หัดเข้าหัดออกให้ชำนาญ เมื่อเวลาภาวนา จิตสงบแล้ว พิจารณา รู้ว่าเป็นอย่างนี้ๆ เมื่อถึงเวลาคับขัน สิ่งที่พร้อมอยู่แล้วมันก็ย่อมเป็นไปเอง ก็มีเท่านั้นเอง ไม่มีอะไรมากมาย ถาม : ในเวลาคับขันเกิดจะตายขึ้นมากะทันหัน และเราเข้าสมาธิไม่ทัน จะทำอย่างไรครับ หลวงปู่ : นั่นแหละ ต้องหัดเข้าให้ชำนาญ ถ้าชำนาญแล้วอะไรมาปิดบังไม่ได้หรอก ถาม : หลวงปู่ครับ ความสงบนั้นเราจะทำอย่างไรให้มีตลอดไป หลวงปู่ : ความสงบ รึ ภาวนานั่นเอง ภาวนาให้จิตเกิด ถาม : การงดเว้นจากการทำภาวนา จิตเราจะเสื่อมไหมครับ หลวงปู่ : ถ้าหากเรารู้ถึงความเป็นจริงแล้ว ไม่เสื่อม ถ้ารู้ไม่ถึงความเป็นจริงมักจะเสื่อม ถาม : คิดๆ ไป ทั้งที่คิดไปเห็นแต่กลับไม่เห็นอีก หลวงปู่ : มันจะเห็นมาจากไหน ไปหาให้มันเห็น มันไม่เคยให้ใครเห็นหรอก เลิกหา เลิกคิดของเก่าที่เคยเห็น ทำเอาใหม่ ให้เลิกอยากรู้อยากเห็นของเก่า ทำใหม่อีกมันก็เกิดใหม่อีก อย่าไปยึดสิ่งที่เคยเป็นแล้วเกิดใหม่อีก ทำใหม่อีก ดูแต่จิตอย่างเดียว อะไรๆ ออกจากจิตอย่างเดียวเท่านั้น ถาม : ดูจิตแล้วเห็นปรุงแต่งเรื่องราวมากมาย ไม่ชนะ จะตามดับ หลวงปู่ : ต้องลำบากไปตามดับมันทำไม ดูแต่จิตอย่างเดียวมันก็ดับไปเอง มันออกไปปรุงแต่งข้างนอก มันเกิดจากต้นตอที่จิตทั้งนั้นหาแต่ต้นตอให้พบ ก็จะรู้แจ้งหมด อะไรก็ไปจากนี้ อะไรๆ ก็มารวมอยู่ที่นี้ทั้งหมด (ท่านพูดพลางเอาหัวแม่มือชี้ที่หน้าอก) สิ่งที่ได้รู้ได้เห็น แล้วอยากรู้อยากเห็นอีก นั่นแหละคือตัวกิเลส ถาม : เมื่อถึงโลกุตตระแล้ว มีเมตตา กรุณาอะไรไหมครับ หลวงปู่ : ไม่มีหรอก ความเมตตา กรุณา อยู่เหนือสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา อยู่ในโลกทั้งหมด จิตสูงสุดหลุดพ้น อยู่เหนือโลกทั้งหมด ถาม : ไม่มีเมตตาหรือครับ หลวงปู่ : มีก็ไม่ว่า ไม่มีก็ไม่ว่า เลิกพูดเลิกว่า เลิกอะไรๆ ทั้งหมด มันเป็นเพียงคำพูดแท้ๆ ให้ดูจิตอย่างเดียวเท่านั้น ความเป็นจริงแล้ว เป็นแต่เพียงคำพูด สลัดทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งเป็นมายาออกเสีย ตัวผู้ที่รู้และเข้าใจอันนี้แหละคือตัว พุทธะ หมดภารกิจ หมดทุกอย่างที่จะทำอะไรต่อไปอีก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมลงอยู่ที่นี่ จบอยู่ที่นี่ ไม่มียาวต่อไปอีกไม่มีเล็ก...ใหญ่...หญิง...ชาย...อยู่ว่างเปล่า ไม่มีคำพูด เปล่า เปล่า บริสุทธิ์ (เสียงระฆังวัดบวรฯ ทำวัตรเย็นดังขึ้น รับประโยคสุดท้ายของหลวงปู่)

วิธีพาจิตกลับบ้านรู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป

มีสติรู้กายรู้ใจในขณะปัจจุบันด้วยจิตตั้งมั่นและเป็นกลาง...รู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป .

มีสติรู้กายรู้ใจในขณะปัจจุบันด้วยจิตตั้งมั่นและเป็นกลาง...รู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป .

Buddan Saranam - Himasha Manupriya (New)BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI

BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI

BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMIBUDDHAM SARANAM GACCHÃMI พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ - เพลงไตรสรณคมน์ (Angulimal...

วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2557

พระอานนท์เถระเจ้า ลำดับที่ 1ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใ­จของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรว­ดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะป­ระสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปร­าชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอ­าแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุก­ต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าว­อธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป

ผู้สละโลก ปลดแอกเพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องการกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าการกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า

คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายการกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า

อาจารย์สอนอภิธรรม แชร์ประสบการณ์ ๑๕ ปีที่เดินทางผิด หันมาเดินตามคำสอนพระ...

คนเราเจริญทั้งทางโลก และทางธรรมได้อย่างไร?

วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องปัญหาที่เผชิญอยู่เบื้องหน้าของทุกๆคน คือ ปัญหาเรื่องทุกข์และความดับทุกข์ มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ถูกความทุกข์เสียบอยู่ทั้งทางกายและใจ อุปมาเหมือนผู้ถูกยิงด้วยศร ซึ่งกำซาบด้วยยาพิษแล้ว ญาติมิตรเห็นเข้าเกิดความกรุณา จึงพยายามช่วยถอนลูกศรนั้นแต่บุรุษผู้โง่เขลาบอกว่าต้องไปสืบให้ได้เสียก่อนว่าใครเป็นคนยิง และยิงมาจากทิศไหน ลูกศรทำด้วยอะไร แล้วจึงค่อยมาถอนลูกศรออก ภิกษุทั้งหลาย บุรุษนั้นต้องตายเสียก่อนเป็นแน่แท้ ความจริงเมื่อถูกยิงแล้วหน้าที่ของเขาคือควรพยายามถอนลูกศรออกเสียทันที ชำระแผลให้สะอาดแล้วใส่ยารักษาแผลให้หายสนิท หรืออีกอุปมาหนึ่งบุคคลที่ไฟไหม้อยู่บนศีษะ ควรรีบดับเสียโดยพลันไม่ควรเที่ยววิ่งหาคนผู้เอาไฟมาเผาศรีษะตน ทั้งๆที่ไฟลุกไหม้อยู่” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังสารวัฏฏ์นี้เต็มไปด้วยเพลิงทุกข์นานาประการโหมให้ร้อนอยู่โดยทั่ว สัตว์ทั้งหลายยังวิ่งอยู่ในกองทุกข์แห่งสังสารวัฏฏ์ ใครเล่าจะเป็นผู้ดับ ถ้าทุกคนไม่ช่วยกันดับทุกข์แห่งตน อุปมาเหมือนบุรุษสตรีผู้รวมกันอยู่ในบริเวณกว้างแห่งหนึ่งและต่างคนต่างถือดุ้นไฟลุกโพลงอยู่ทั่วแล้ว ต่างคนต่างก็วิ่งวนกันอยู่ในบริเวณนั้น และร้องกันว่าร้อน ร้อน ภิกษุทั้งหลาย คราวนั้นมีบุรุษผู้หนึ่งเป็นผู้ฉลาดร้องบอกให้ทุกๆ คนทิ้งดุ้นไฟในมือของตนเสีย ผู้ที่ยอมเชื่อทิ้งดุ้นไฟก็ได้ประสบความเย็น ส่วนผู้ไม่เชื่อ ก็ยังคงวิ่งถือดุ้นไฟพร้อมร้องตะโกนว่า ร้อน ร้อน อยู่นั่นเอง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตได้ทิ้งดุ้นไฟแล้ว และร้องบอกให้เธอทั้งหลายทิ้งเสียด้วย ดุ้นไฟที่กล่าวถึงนี้ คือกิเลสทั้งมวลอันเป็นสิ่งที่เผาลนสัตว์ให้เร่าร้อนกระวนกระวาย” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย อายนะภายในหกคือ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ อายตนะภายนอกหกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพพะ และธัมมารมณ์ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ คือราคะบ้าง โทษะบ้าง โมหะบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่พิจรนาเห็น รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ใดๆ ที่จะครอบงำรัดตรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะแห่งสรี ภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจรณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะใดๆ ที่สามารถครอบงำรัดตรึงใจของสตรีได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และ โผฏฐัพพะแห่งบุรุษ” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณนี้เรากล่าวว่าเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นพวงดอกไม้แห่งมาร เป็นกำลังพลแห่งมารภิกษุผู้ปรารถนา พึงสลัดเหยื่อมาร ขยี้พวงดอกไม้แห่งมารและทำลายพลกำลังแห่งมารเสีย ภิกษุทั้งหลาย เราเคยเยาะเย้ยกามคุณ ณ โพธิมมณฑลในวันที่เราตรัสรู้นั้นเองว่า ดูก่อนกาม เราได้เห็นต้นเค้าของเจ้าแล้วเจ้าเกิดความดำริคำนึงถึงนั่นเอง เราจักไม่ดำริถึงเจ้าอีก ด้วยประการฉนี้ กามเอย เจ้าจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้”

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกปัญหาที่เผชิญอยู่เบื้องหน้าของทุกๆคน คือ ปัญหาเรื่องทุกข์และความดับทุกข์ มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ถูกความทุกข์เสียบอยู่ทั้งทางกายและใจ อุปมาเหมือนผู้ถูกยิงด้วยศร ซึ่งกำซาบด้วยยาพิษแล้ว ญาติมิตรเห็นเข้าเกิดความกรุณา จึงพยายามช่วยถอนลูกศรนั้นแต่บุรุษผู้โง่เขลาบอกว่าต้องไปสืบให้ได้เสียก่อนว่าใครเป็นคนยิง และยิงมาจากทิศไหน ลูกศรทำด้วยอะไร แล้วจึงค่อยมาถอนลูกศรออก ภิกษุทั้งหลาย บุรุษนั้นต้องตายเสียก่อนเป็นแน่แท้ ความจริงเมื่อถูกยิงแล้วหน้าที่ของเขาคือควรพยายามถอนลูกศรออกเสียทันที ชำระแผลให้สะอาดแล้วใส่ยารักษาแผลให้หายสนิท หรืออีกอุปมาหนึ่งบุคคลที่ไฟไหม้อยู่บนศีษะ ควรรีบดับเสียโดยพลันไม่ควรเที่ยววิ่งหาคนผู้เอาไฟมาเผาศรีษะตน ทั้งๆที่ไฟลุกไหม้อยู่” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังสารวัฏฏ์นี้เต็มไปด้วยเพลิงทุกข์นานาประการโหมให้ร้อนอยู่โดยทั่ว สัตว์ทั้งหลายยังวิ่งอยู่ในกองทุกข์แห่งสังสารวัฏฏ์ ใครเล่าจะเป็นผู้ดับ ถ้าทุกคนไม่ช่วยกันดับทุกข์แห่งตน อุปมาเหมือนบุรุษสตรีผู้รวมกันอยู่ในบริเวณกว้างแห่งหนึ่งและต่างคนต่างถือดุ้นไฟลุกโพลงอยู่ทั่วแล้ว ต่างคนต่างก็วิ่งวนกันอยู่ในบริเวณนั้น และร้องกันว่าร้อน ร้อน ภิกษุทั้งหลาย คราวนั้นมีบุรุษผู้หนึ่งเป็นผู้ฉลาดร้องบอกให้ทุกๆ คนทิ้งดุ้นไฟในมือของตนเสีย ผู้ที่ยอมเชื่อทิ้งดุ้นไฟก็ได้ประสบความเย็น ส่วนผู้ไม่เชื่อ ก็ยังคงวิ่งถือดุ้นไฟพร้อมร้องตะโกนว่า ร้อน ร้อน อยู่นั่นเอง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตได้ทิ้งดุ้นไฟแล้ว และร้องบอกให้เธอทั้งหลายทิ้งเสียด้วย ดุ้นไฟที่กล่าวถึงนี้ คือกิเลสทั้งมวลอันเป็นสิ่งที่เผาลนสัตว์ให้เร่าร้อนกระวนกระวาย” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย อายนะภายในหกคือ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ อายตนะภายนอกหกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพพะ และธัมมารมณ์ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ คือราคะบ้าง โทษะบ้าง โมหะบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่พิจรนาเห็น รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ใดๆ ที่จะครอบงำรัดตรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะแห่งสรี ภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจรณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะใดๆ ที่สามารถครอบงำรัดตรึงใจของสตรีได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และ โผฏฐัพพะแห่งบุรุษ” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณนี้เรากล่าวว่าเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นพวงดอกไม้แห่งมาร เป็นกำลังพลแห่งมารภิกษุผู้ปรารถนา พึงสลัดเหยื่อมาร ขยี้พวงดอกไม้แห่งมารและทำลายพลกำลังแห่งมารเสีย ภิกษุทั้งหลาย เราเคยเยาะเย้ยกามคุณ ณ โพธิมมณฑลในวันที่เราตรัสรู้นั้นเองว่า ดูก่อนกาม เราได้เห็นต้นเค้าของเจ้าแล้วเจ้าเกิดความดำริคำนึงถึงนั่นเอง เราจักไม่ดำริถึงเจ้าอีก ด้วยประการฉนี้ กามเอย เจ้าจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้”

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องอารมณ์ยั่วยวนให้เกิดความเมามี ๑๐ อย่างคือ ๑.สมบัติแห่งชาติสกุล ๒.อิสริยะ ๓.บริวาร ๔.ลาภ ๕.ยศ ๖.สรรเสริญ ๗.สุข ๘.เยาว์วัย ๙.ความหาโรคมิได้ ๑๐.ชีวิต

ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่มีใจเป็นหัวหน้าสำเร็จด้วยใจอารมณ์ยั่วยวนให้เกิดความเมามี ๑๐ อย่างคือ ๑.สมบัติแห่งชาติสกุล ๒.อิสริยะ ๓.บริวาร ๔.ลาภ ๕.ยศ ๖.สรรเสริญ ๗.สุข ๘.เยาว์วัย ๙.ความหาโรคมิได้ ๑๐.ชีวิต

ลูกพระพุทธเจ้า ศิษย์ตถาคต เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด

spirit of india เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด

ทางมนุษย์-เพลง เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้แลเรียกว่าอาทิตตปริยาย และธรรมปริยาย ฉะนี้แล ฯ

ทดสอบภาค base drive 6di15s 050เราจะใช้ Power Supply 12-20 VDC 1 Amps เพียงชุดเดียว จ่ายให้ ภาด Control ซึ่งก็คือ ยังคงใช้ MC3PHAC เหมือนเดิมไม่เปลี่ยน..IC เป็นเบอร์อื่น..และ..ภาค Drive ใช้ Logic Level N-Channel Mosfet STU418S หรือเบอร์อื่นก็ได้ครับ...STU418S มีจำหน่ายที่ ผมครับ ราคา ตัวละ 20 บาท...ครับ..หม้อแปลง..ใช้..แบบ..แกนเหล็ก..EI เพราะเป็น PWM ความถี่ต่ำ 2 Khz ไม่เกิน 5 Khz ครับ..

ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557

ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขภิกษุ ผู้มีฉันทะเกิดแล้ว ในพระนิพพานอันใครๆ บอกไม่ได้ พึงเป็นผู้อันใจถูกต้องแล้วก็ดี ผู้มีจิต ไม่เกี่ยวเกาะในกามทั้งหลายก็ดี ท่านเรียกว่า ผู้มีกระแสในเบื้องบน

ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขภิกษุ ผู้มีฉันทะเกิดแล้ว ในพระนิพพานอันใครๆ บอกไม่ได้ พึงเป็นผู้อันใจถูกต้องแล้วก็ดี ผู้มีจิต ไม่เกี่ยวเกาะในกามทั้งหลายก็ดี ท่านเรียกว่า ผู้มีกระแสในเบื้องบน

เรื่องโลกเรื่องจิตและจักรวาล..เทวดาผู้มีหน้าที่ป่าวประกาศเหล่านี้ มีกำหนดเวลาร้อยปี ลงมาบอกยังโลกมนุษย์หนึ่งครั้ง เมื่อเหล่ามนุษย์และเทพยดาได้ยินข้าวก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน รีบบำเพ็ญบุญกุศลประการต่าง ๆ โดยเฉพาะบำเพ็ญภาวนาเจริญพรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ให้ได้ฌานสมาบัติ แล้วพากันไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่สูงกว่าที่จะถูกทำลาย แม้แต่สัตว์ในอบายภูมิทั้งปวง เมื่อมีอกุศลเบาบางลง ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบบำเพ็ญบุญกุศลดังกล่าวแล้ว พากันไปเกิดในพรหมโลกทำนองเดียวกัน ( ยกเว้นพวกที่มีความเห็นผิดแน่นแฟ้นแก้ไขตนเองไม่ได้ จะต้องอยู่ในอบายภูมิ พวกนี้จะตายแล้วไปเกิดในอบายภูมิของจักรวาลอื่นที่ยังไม่พินาศ) แต่ตามความเป็นจริงแล้ว คนที่เป็นมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นผิด มักจะเป็นเฉพาะเวลามีชีวิตเป็นมนุษย์อยู่ เมื่อตายไปอยู่ในนรก ถูกลงโทษทุกข์ทรมาน ย่อมทราบแจ่มแจ้งถึงความเห็นผิดของตน รู้สำนึก ละทิฏฐิเลวทรามเหล่านั้นได้ เมื่อพ้นโทษได้เกิดเป็นมนุษย์ ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบเร่งบำเพ็ญฌาน เพื่อไปเกิดในพรหมโลก เมื่อโลกเริ่มพินาศ จะไม่มีฝนตกเลยเป็นเวลาช้านาน ต้นไม้น้อยใหญ่พากันเหี่ยวแห้งล้มตาย ล่วงเวลาต่อมา เมื่อดวงอาทิตย์โคจรลับฟ้าไปแล้ว ควรจะเป็นเวลากลางคืน แต่กลับไม่มี เพราะจะบังเกิดดวงอาทิตย์ใหม่ขึ้นมาอีกดวงหนึ่ง ในจักรวาลเวลานั้นจึงไม่มีกลางคืนอีกต่อไป และดวงอาทิตย์ดวงใหม่นี้ ไม่มีสุริยเทพบุตรอยู่ประจำเหมือนดวงอาทิตย์ดวงเดิม จึงมีความร้อนรุนแรงกว่า ( ในหลักวิทยาศาสตร์ ดวงอาทิตย์ดวงใหม่อาจเป็นดาวดวงอื่นที่ยังมีความร้อนลุกเป็นไฟอยู่ โคจรเข้ามาในจักรวาลที่กำลังเริ่มพินาศ) ส่วนเหล่าสุริยเทพบุตรในดวงอาทิตย์ดวงเดิม ก็เร่งรีบทำความเพียร เจริญภาวนาให้ได้ฌาน หนีไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นสูงกันทั้งหมด เมื่อมีดวงอาทิตย์เป็นสองดวงดังนี้แล้ว ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ท้องฟ้าจึงไม่มีเมฆหมอกใด ๆ เหลืออยู่เลย ในชมพูทวีปยังเหลือแม่น้ำใหญ่ที่พอมีน้ำอยู่ ๕ สาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหิ และสรภู นอกนั้นเหือดแห้งหมด คนทั้งหลายไม่มีชีวิตเหลืออยู่อีก ต่างไปบังเกิดในพรหมโลกกันหมด ล่วงเวลาต่อมาอีกช้านาน ดวงอาทิตย์ดวงที่ ๓ จึงบังเกิดขึ้น แม่น้ำทั้ง ๕ แห้งหมด เมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๔ บังเกิด สระใหญ่บริเวณป่าหิมพานต์ ( แถบภูเขาหิมาลัยซึ่งมีน้ำละลายจากหิมะขังอยู่แห้งทั้งหมด น้ำในมหาสมุทรของจักรวาลเริ่มแห้งงวดลงเป็นลำดับ พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๕ บังเกิด น้ำในมหาสมุทรแห้งหมด ไม่เหลือแม้องคุลี พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๖ บังเกิด แผ่นดินภูเขาทั้งหลายก็สิ้นธาตุน้ำ อันเป็นยางเหนียวเกาะกุมก็หลุดกระจาย กลายเป็นฝุ่นเป็นควันคลุ้งตลบ ดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเปรียบไว้ว่า เหมือนช่างปั้นหม้อเรียงภาชนะดินดิบใส่เข้าเตาเผา พอจุดไฟเผาก็เกิดควันฟุ้งตลบไปทั่วเตา ถ้าจักรวาลจะพินาศพร้อมกันทั้งแสนโกฏิจักรวาล ฝุ่นควันก็จะฟุ้งไปทั่วทั้งแสนโกฏิจักรวาล เป็นอยู่ดังนี้ยาวนานนับเวลาไม่ได้ ครั้นแล้วเมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๗ บังเกิด โลกธาตุทั้งแสนโกฏิจักรวาลก็รุ่งโจรน์โชตินาการลุกเป็นไฟขึ้นพร้อมกัน มีเสียงดังสนั่นด้วยการระเบิดกึกก้องกัมปนาทน่าสะพรึงกลัว ยอดเขาพระสุเมรุก็ถอดถอนหลุดลุ่ยกระจักกระจายสูญหายไปในอากาศ เปลวไฟประลัยกัลป์เกิดที่มนุษยโลกก่อน แล้วลุกลามไปยังเทวโลกชั้น จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตตี หมดทั้ง ๖ ชั้น แล้วต่อขึ้นไปยังพรหมโลกชั้นต้น ปฐมฌานภูมิ ๓ คือ พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา แล้วหยุดอยู่เพียงนั้น ถ้าครั้งใดจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ จะพินาศไปถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิ ถ้าถูกทำลายด้วยลม ก็พินาศเพิ่มไปจนถึงพรหมโลกตติยฌานภูมิ พรหมภูมิที่เหนือจากตติยฌานภูมิ ไม่มีสิ่งใดทำลายได้ ไม่ว่าอยู่ในจักรวาลใด เว้นแต่ต้องจุติตามอายุขัย คือ ๕๐๐, ๑, ๐๐๐, ๒, ๐๐๐ ไปจนถึง ๘๔, ๐๐๐ มหากัป ( เป็นอายุของพรหมตั้งแต่ชั้นเวหัปผลา จนถึงอรูปพรหมชั้นสุดท้าย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ไฟประลัยกัลป์ที่กล่าวถึงนี้ไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน ไม่มีสิ่งใดเหลืออยู่เลยแม้เพียงอณูเดียว เมื่อหมดสิ้นเชื้อเพลิงแล้ว ไฟก็ดับเอง เหลือแต่อากาศว่างเปล่าโล่งตลอดถึงกันหมด มีสภาพดังนี้ไปนานแสนนาน ถ้าจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ ไม่มีดวงอาทิตย์ดวงอื่น ๆ เกิดขึ้น แต่มีฝนตกแทนฝนมาจากเมฆน้ำกรด ( เมฆคงรวมสารเคมีอันตรายไว้) ตกทีละน้อยแล้วมากขึ้น ๆ จนเต็มไปทั้งจักรวาล และแสนโกฏิจักรวาล น้ำกรดจะละลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือ โดยมีลมพัดห่อหุ้มไม่ให้ไหลไปทางอื่น ให้ไหลสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนท่วมถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิขึ้นไปจรดชั้นสุภกิณหาจึงหยุด เมื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือแม้แต่อณูเดียวแล้ว น้ำกรดนั้นจึงยุบแห้งอันตรธานไป อากาศเบื้องบนกับเบื้องล่างก็ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันโล่งตลอด.

สรรญเสริญพระพุทธเจ้า วัดไทยไวศาลี..เทวดาผู้มีหน้าที่ป่าวประกาศเหล่านี้ มีกำหนดเวลาร้อยปี ลงมาบอกยังโลกมนุษย์หนึ่งครั้ง เมื่อเหล่ามนุษย์และเทพยดาได้ยินข้าวก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน รีบบำเพ็ญบุญกุศลประการต่าง ๆ โดยเฉพาะบำเพ็ญภาวนาเจริญพรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ให้ได้ฌานสมาบัติ แล้วพากันไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่สูงกว่าที่จะถูกทำลาย แม้แต่สัตว์ในอบายภูมิทั้งปวง เมื่อมีอกุศลเบาบางลง ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบบำเพ็ญบุญกุศลดังกล่าวแล้ว พากันไปเกิดในพรหมโลกทำนองเดียวกัน ( ยกเว้นพวกที่มีความเห็นผิดแน่นแฟ้นแก้ไขตนเองไม่ได้ จะต้องอยู่ในอบายภูมิ พวกนี้จะตายแล้วไปเกิดในอบายภูมิของจักรวาลอื่นที่ยังไม่พินาศ) แต่ตามความเป็นจริงแล้ว คนที่เป็นมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นผิด มักจะเป็นเฉพาะเวลามีชีวิตเป็นมนุษย์อยู่ เมื่อตายไปอยู่ในนรก ถูกลงโทษทุกข์ทรมาน ย่อมทราบแจ่มแจ้งถึงความเห็นผิดของตน รู้สำนึก ละทิฏฐิเลวทรามเหล่านั้นได้ เมื่อพ้นโทษได้เกิดเป็นมนุษย์ ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบเร่งบำเพ็ญฌาน เพื่อไปเกิดในพรหมโลก เมื่อโลกเริ่มพินาศ จะไม่มีฝนตกเลยเป็นเวลาช้านาน ต้นไม้น้อยใหญ่พากันเหี่ยวแห้งล้มตาย ล่วงเวลาต่อมา เมื่อดวงอาทิตย์โคจรลับฟ้าไปแล้ว ควรจะเป็นเวลากลางคืน แต่กลับไม่มี เพราะจะบังเกิดดวงอาทิตย์ใหม่ขึ้นมาอีกดวงหนึ่ง ในจักรวาลเวลานั้นจึงไม่มีกลางคืนอีกต่อไป และดวงอาทิตย์ดวงใหม่นี้ ไม่มีสุริยเทพบุตรอยู่ประจำเหมือนดวงอาทิตย์ดวงเดิม จึงมีความร้อนรุนแรงกว่า ( ในหลักวิทยาศาสตร์ ดวงอาทิตย์ดวงใหม่อาจเป็นดาวดวงอื่นที่ยังมีความร้อนลุกเป็นไฟอยู่ โคจรเข้ามาในจักรวาลที่กำลังเริ่มพินาศ) ส่วนเหล่าสุริยเทพบุตรในดวงอาทิตย์ดวงเดิม ก็เร่งรีบทำความเพียร เจริญภาวนาให้ได้ฌาน หนีไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นสูงกันทั้งหมด เมื่อมีดวงอาทิตย์เป็นสองดวงดังนี้แล้ว ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ท้องฟ้าจึงไม่มีเมฆหมอกใด ๆ เหลืออยู่เลย ในชมพูทวีปยังเหลือแม่น้ำใหญ่ที่พอมีน้ำอยู่ ๕ สาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหิ และสรภู นอกนั้นเหือดแห้งหมด คนทั้งหลายไม่มีชีวิตเหลืออยู่อีก ต่างไปบังเกิดในพรหมโลกกันหมด ล่วงเวลาต่อมาอีกช้านาน ดวงอาทิตย์ดวงที่ ๓ จึงบังเกิดขึ้น แม่น้ำทั้ง ๕ แห้งหมด เมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๔ บังเกิด สระใหญ่บริเวณป่าหิมพานต์ ( แถบภูเขาหิมาลัยซึ่งมีน้ำละลายจากหิมะขังอยู่แห้งทั้งหมด น้ำในมหาสมุทรของจักรวาลเริ่มแห้งงวดลงเป็นลำดับ พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๕ บังเกิด น้ำในมหาสมุทรแห้งหมด ไม่เหลือแม้องคุลี พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๖ บังเกิด แผ่นดินภูเขาทั้งหลายก็สิ้นธาตุน้ำ อันเป็นยางเหนียวเกาะกุมก็หลุดกระจาย กลายเป็นฝุ่นเป็นควันคลุ้งตลบ ดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเปรียบไว้ว่า เหมือนช่างปั้นหม้อเรียงภาชนะดินดิบใส่เข้าเตาเผา พอจุดไฟเผาก็เกิดควันฟุ้งตลบไปทั่วเตา ถ้าจักรวาลจะพินาศพร้อมกันทั้งแสนโกฏิจักรวาล ฝุ่นควันก็จะฟุ้งไปทั่วทั้งแสนโกฏิจักรวาล เป็นอยู่ดังนี้ยาวนานนับเวลาไม่ได้ ครั้นแล้วเมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๗ บังเกิด โลกธาตุทั้งแสนโกฏิจักรวาลก็รุ่งโจรน์โชตินาการลุกเป็นไฟขึ้นพร้อมกัน มีเสียงดังสนั่นด้วยการระเบิดกึกก้องกัมปนาทน่าสะพรึงกลัว ยอดเขาพระสุเมรุก็ถอดถอนหลุดลุ่ยกระจักกระจายสูญหายไปในอากาศ เปลวไฟประลัยกัลป์เกิดที่มนุษยโลกก่อน แล้วลุกลามไปยังเทวโลกชั้น จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตตี หมดทั้ง ๖ ชั้น แล้วต่อขึ้นไปยังพรหมโลกชั้นต้น ปฐมฌานภูมิ ๓ คือ พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา แล้วหยุดอยู่เพียงนั้น ถ้าครั้งใดจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ จะพินาศไปถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิ ถ้าถูกทำลายด้วยลม ก็พินาศเพิ่มไปจนถึงพรหมโลกตติยฌานภูมิ พรหมภูมิที่เหนือจากตติยฌานภูมิ ไม่มีสิ่งใดทำลายได้ ไม่ว่าอยู่ในจักรวาลใด เว้นแต่ต้องจุติตามอายุขัย คือ ๕๐๐, ๑, ๐๐๐, ๒, ๐๐๐ ไปจนถึง ๘๔, ๐๐๐ มหากัป ( เป็นอายุของพรหมตั้งแต่ชั้นเวหัปผลา จนถึงอรูปพรหมชั้นสุดท้าย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ไฟประลัยกัลป์ที่กล่าวถึงนี้ไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน ไม่มีสิ่งใดเหลืออยู่เลยแม้เพียงอณูเดียว เมื่อหมดสิ้นเชื้อเพลิงแล้ว ไฟก็ดับเอง เหลือแต่อากาศว่างเปล่าโล่งตลอดถึงกันหมด มีสภาพดังนี้ไปนานแสนนาน ถ้าจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ ไม่มีดวงอาทิตย์ดวงอื่น ๆ เกิดขึ้น แต่มีฝนตกแทนฝนมาจากเมฆน้ำกรด ( เมฆคงรวมสารเคมีอันตรายไว้) ตกทีละน้อยแล้วมากขึ้น ๆ จนเต็มไปทั้งจักรวาล และแสนโกฏิจักรวาล น้ำกรดจะละลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือ โดยมีลมพัดห่อหุ้มไม่ให้ไหลไปทางอื่น ให้ไหลสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนท่วมถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิขึ้นไปจรดชั้นสุภกิณหาจึงหยุด เมื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือแม้แต่อณูเดียวแล้ว น้ำกรดนั้นจึงยุบแห้งอันตรธานไป อากาศเบื้องบนกับเบื้องล่างก็ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันโล่งตลอด.

สรรญเสริญพระพุทธเจ้า วัดไทยไวศาลี..เทวดาผู้มีหน้าที่ป่าวประกาศเหล่านี้ มีกำหนดเวลาร้อยปี ลงมาบอกยังโลกมนุษย์หนึ่งครั้ง เมื่อเหล่ามนุษย์และเทพยดาได้ยินข้าวก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน รีบบำเพ็ญบุญกุศลประการต่าง ๆ โดยเฉพาะบำเพ็ญภาวนาเจริญพรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ให้ได้ฌานสมาบัติ แล้วพากันไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่สูงกว่าที่จะถูกทำลาย แม้แต่สัตว์ในอบายภูมิทั้งปวง เมื่อมีอกุศลเบาบางลง ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบบำเพ็ญบุญกุศลดังกล่าวแล้ว พากันไปเกิดในพรหมโลกทำนองเดียวกัน ( ยกเว้นพวกที่มีความเห็นผิดแน่นแฟ้นแก้ไขตนเองไม่ได้ จะต้องอยู่ในอบายภูมิ พวกนี้จะตายแล้วไปเกิดในอบายภูมิของจักรวาลอื่นที่ยังไม่พินาศ) แต่ตามความเป็นจริงแล้ว คนที่เป็นมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นผิด มักจะเป็นเฉพาะเวลามีชีวิตเป็นมนุษย์อยู่ เมื่อตายไปอยู่ในนรก ถูกลงโทษทุกข์ทรมาน ย่อมทราบแจ่มแจ้งถึงความเห็นผิดของตน รู้สำนึก ละทิฏฐิเลวทรามเหล่านั้นได้ เมื่อพ้นโทษได้เกิดเป็นมนุษย์ ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบเร่งบำเพ็ญฌาน เพื่อไปเกิดในพรหมโลก เมื่อโลกเริ่มพินาศ จะไม่มีฝนตกเลยเป็นเวลาช้านาน ต้นไม้น้อยใหญ่พากันเหี่ยวแห้งล้มตาย ล่วงเวลาต่อมา เมื่อดวงอาทิตย์โคจรลับฟ้าไปแล้ว ควรจะเป็นเวลากลางคืน แต่กลับไม่มี เพราะจะบังเกิดดวงอาทิตย์ใหม่ขึ้นมาอีกดวงหนึ่ง ในจักรวาลเวลานั้นจึงไม่มีกลางคืนอีกต่อไป และดวงอาทิตย์ดวงใหม่นี้ ไม่มีสุริยเทพบุตรอยู่ประจำเหมือนดวงอาทิตย์ดวงเดิม จึงมีความร้อนรุนแรงกว่า ( ในหลักวิทยาศาสตร์ ดวงอาทิตย์ดวงใหม่อาจเป็นดาวดวงอื่นที่ยังมีความร้อนลุกเป็นไฟอยู่ โคจรเข้ามาในจักรวาลที่กำลังเริ่มพินาศ) ส่วนเหล่าสุริยเทพบุตรในดวงอาทิตย์ดวงเดิม ก็เร่งรีบทำความเพียร เจริญภาวนาให้ได้ฌาน หนีไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นสูงกันทั้งหมด เมื่อมีดวงอาทิตย์เป็นสองดวงดังนี้แล้ว ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ท้องฟ้าจึงไม่มีเมฆหมอกใด ๆ เหลืออยู่เลย ในชมพูทวีปยังเหลือแม่น้ำใหญ่ที่พอมีน้ำอยู่ ๕ สาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหิ และสรภู นอกนั้นเหือดแห้งหมด คนทั้งหลายไม่มีชีวิตเหลืออยู่อีก ต่างไปบังเกิดในพรหมโลกกันหมด ล่วงเวลาต่อมาอีกช้านาน ดวงอาทิตย์ดวงที่ ๓ จึงบังเกิดขึ้น แม่น้ำทั้ง ๕ แห้งหมด เมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๔ บังเกิด สระใหญ่บริเวณป่าหิมพานต์ ( แถบภูเขาหิมาลัยซึ่งมีน้ำละลายจากหิมะขังอยู่แห้งทั้งหมด น้ำในมหาสมุทรของจักรวาลเริ่มแห้งงวดลงเป็นลำดับ พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๕ บังเกิด น้ำในมหาสมุทรแห้งหมด ไม่เหลือแม้องคุลี พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๖ บังเกิด แผ่นดินภูเขาทั้งหลายก็สิ้นธาตุน้ำ อันเป็นยางเหนียวเกาะกุมก็หลุดกระจาย กลายเป็นฝุ่นเป็นควันคลุ้งตลบ ดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเปรียบไว้ว่า เหมือนช่างปั้นหม้อเรียงภาชนะดินดิบใส่เข้าเตาเผา พอจุดไฟเผาก็เกิดควันฟุ้งตลบไปทั่วเตา ถ้าจักรวาลจะพินาศพร้อมกันทั้งแสนโกฏิจักรวาล ฝุ่นควันก็จะฟุ้งไปทั่วทั้งแสนโกฏิจักรวาล เป็นอยู่ดังนี้ยาวนานนับเวลาไม่ได้ ครั้นแล้วเมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๗ บังเกิด โลกธาตุทั้งแสนโกฏิจักรวาลก็รุ่งโจรน์โชตินาการลุกเป็นไฟขึ้นพร้อมกัน มีเสียงดังสนั่นด้วยการระเบิดกึกก้องกัมปนาทน่าสะพรึงกลัว ยอดเขาพระสุเมรุก็ถอดถอนหลุดลุ่ยกระจักกระจายสูญหายไปในอากาศ เปลวไฟประลัยกัลป์เกิดที่มนุษยโลกก่อน แล้วลุกลามไปยังเทวโลกชั้น จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตตี หมดทั้ง ๖ ชั้น แล้วต่อขึ้นไปยังพรหมโลกชั้นต้น ปฐมฌานภูมิ ๓ คือ พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา แล้วหยุดอยู่เพียงนั้น ถ้าครั้งใดจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ จะพินาศไปถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิ ถ้าถูกทำลายด้วยลม ก็พินาศเพิ่มไปจนถึงพรหมโลกตติยฌานภูมิ พรหมภูมิที่เหนือจากตติยฌานภูมิ ไม่มีสิ่งใดทำลายได้ ไม่ว่าอยู่ในจักรวาลใด เว้นแต่ต้องจุติตามอายุขัย คือ ๕๐๐, ๑, ๐๐๐, ๒, ๐๐๐ ไปจนถึง ๘๔, ๐๐๐ มหากัป ( เป็นอายุของพรหมตั้งแต่ชั้นเวหัปผลา จนถึงอรูปพรหมชั้นสุดท้าย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ไฟประลัยกัลป์ที่กล่าวถึงนี้ไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน ไม่มีสิ่งใดเหลืออยู่เลยแม้เพียงอณูเดียว เมื่อหมดสิ้นเชื้อเพลิงแล้ว ไฟก็ดับเอง เหลือแต่อากาศว่างเปล่าโล่งตลอดถึงกันหมด มีสภาพดังนี้ไปนานแสนนาน ถ้าจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ ไม่มีดวงอาทิตย์ดวงอื่น ๆ เกิดขึ้น แต่มีฝนตกแทนฝนมาจากเมฆน้ำกรด ( เมฆคงรวมสารเคมีอันตรายไว้) ตกทีละน้อยแล้วมากขึ้น ๆ จนเต็มไปทั้งจักรวาล และแสนโกฏิจักรวาล น้ำกรดจะละลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือ โดยมีลมพัดห่อหุ้มไม่ให้ไหลไปทางอื่น ให้ไหลสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนท่วมถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิขึ้นไปจรดชั้นสุภกิณหาจึงหยุด เมื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือแม้แต่อณูเดียวแล้ว น้ำกรดนั้นจึงยุบแห้งอันตรธานไป อากาศเบื้องบนกับเบื้องล่างก็ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันโล่งตลอด.

สรรญเสริญพระพุทธเจ้า วัดไทยไวศาลี

ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ด้วยเครียรเกล้าพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” แสดงน้อยลง

วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

PS21244 ใช้ได้กับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าครับTM52A หมดแล้ว ครับ..PS21244 มีสินค้าประมาณ 1000 ตัวครับ ราคา ตัวละ 400 บาท ครับ ขอบคุุณ...มากครับ...

"Budunge Ama Darme" Song By. Mohideen Beg เหตุที่ธนิยะท้าทายฝนให้ตกด้วยคำเป็นต้นว่า “ปกฺโกทโน ข้าวสุกเราหุงสุกแล้ว ทุทฺธขีโร นมเราก็รีดไว้แล้ว เราอยู่ริมแม่น้ำเสมอ กระท่อมเรามุงดีแล้ว ไฟเราก่อไว้แล้ว ฝนจะตกก็ตกเถิด.” พระองค์ตรัสว่า “ อกฺโกธโน เราไม่โกรธ วิคตขีโล ตะปูที่ตรึงใจของเราก็ไปปราศจากแล้ว เราอยู่ริมแม่น้ำเพียงคืนเดียว กระท่อมเราก็เปิดหลังคาเสียแล้ว ไฟก็ดับ ฝนจะตกก็ตกเถิด.” นายธนิยะกล่าวต่อไปว่า “ เหลือบยุงก็ไม่มี โคของเราก็ไปในที่ชุ่มชื่น มีหญ้างาม พึงทนต่อฝนได้ ฝนจะตกก็ตกเถิด.” พระองค์จึงตรัสต่อไปว่า “ แพของเราก็ผูกเตรียมไว้ดีแล้ว แต่เราข้ามห้วงน้ำถึงฝั่งเสียแล้ว ความต้องการด้วยแพนั้นย่อมไม่มี ฝนจะตกก็ตกเถิด.”

วิธีหาจิต 2 ; หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

27 อริยสัจ 4 อายตนะ 6 ;หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

27 อริยสัจ 4 อายตนะ 6 ;หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี

13 16มหาสติปัฏฐานสูตร อายตนะ 6 หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ

หลวงปู่เทสก์370 สติปัฏฐาน4 จิตตานุปัสสนา

ก่อนจะสวดปาฎิโมกข์คาถาโอวาทปาติโมกข์และคำแปล คาถาต้นฉบับ คำแปล ๏ ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโตฯ ๏ ขันติ คือความอดกลั้น เป็นตบะอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า นิพพานเป็นบรมธรรม ผู้ทำร้ายคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต ผู้เบียดเบียนคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ ๏ สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธานสาสนํฯ ๏ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง 1 การบำเพ็ญแต่ความดี 1 การทำจิตของตนให้ผ่องใส 1 นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๏ อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สํวโร มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺตญฺจ สยนาสนํ อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ ๏ การไม่กล่าวร้าย 1 การไม่ทำร้าย 1 ความสำรวมในปาติโมกข์ 1 ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร 1 ที่นั่งนอนอันสงัด 1 ความเพียรในอธิจิต 1 นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย

วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557

การสวดปาฏิโมกข์

การสวดปาฏิโมกข์

ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

รู้เฉยๆจะช่วยเผากิเลสได้อย่างไรการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

การปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ... เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

วิธีพาจิตกลับบ้านการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ... เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙ นิพพิทาญาณ นิพพิทา หมายถึง ความหน่ายที่เกิดขึ้นจากปัญญาพิจารณาเห็นความจริง จึงมีความเบื่อหน่ายในกองทุกข์, ความหน่ายจากการไปรู้เห็นความจริงในการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ หรือความเบื่อหน่ายในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์ ที่ไม่รู้วันจบ,ไม่รู้วันสิ้น จึงเป็นความหน่ายที่ประกอบด้วยปัญญา จึงย่อมแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับความเบื่อหน่ายโดยทั่วๆไปหรือในทางโลกหรืออย่างโลกิยะ ที่ย่อมประกอบด้วยตัณหา ดังในพจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่านพระเดชพระคุณเจ้า พระพรหมคุณาภรณ์ (พระธรรมปิฎก) ได้แสดงถึงความเบื่อหน่ายในทางโลกหรือโลกิยะไว้ดังนี้ว่า "ถ้าหญิงชายอยู่กินกันเกิดหน่ายกัน เพราะความประพฤติไม่ดีต่อกัน หรือหน่ายในมรรยาทของกันและกัน อย่างนี้ไม่จัดเป็นนิพพิทา" ดังนั้น ความเบื่อหน่ายในทางโลก จึงมีความหมายถึง ความเบื่อหน่ายหรือหน่ายกัน เหตุพราะมีกิเลสตัณหามาพัวพัน อย่างเช่น หญิงชายเกิดหน่ายกันดังข้างต้น ก็เกิดมาแต่มีกิเลสตัณหาอื่นๆเข้ามาแทรกนั่นเอง ไม่ได้เกิดแต่ปัญญาไปเห็นความจริง ดังเช่น เกิดการหน่ายขึ้นเพราะไปมีคนรักใหม่ หรือมีตัณหาหรือกิเลสใดๆขึ้น เช่น ไม่ชอบไม่อยากให้คู่หรือคนรักของตนเป็นอย่างนั้น,เป็นอย่างนี้ หรืออยากให้เป็นดังนั้น,เป็นดังนี้ เมื่อไม่เป็นไปตามปรารถนา(ตัณหา)ก็เกิดความเบื่อความหน่ายกันขึ้น, หรือดังได้รถใหม่ แล้วเกิดความเบื่อหน่ายขึ้นในภายหลัง เนื่องจากมันเก่ามันเสียมันรวนอยู่เสมอๆจึงเกิดกิเลสความขุ่นมัว จึงเกิดตัณหาอยากได้คันใหม่ จึงเบื่อหน่ายในรถคันเดิม, หรืออาจเกิดจากตัณหาอยากได้รุ่นใหม่ที่ดีกว่า สวยกว่า จึงเบื่อหน่ายในรถคันเก่า, หรือความเบื่อหน่ายเพราะไม่อยากรอคอย ฯลฯ. อย่างนี้เป็นต้น ล้วนเป็นความเบื่อหน่ายในทางโลกๆ ที่มีพื้นฐานหรือเชื้อไฟอันมาแต่กิเลสตัณหา จึงย่อมไม่ใช่นิพพิทา ความหน่ายอันเกิดจากปัญญาไปเห็นความจริงอย่างปรมัตถ์ นิพพิทาญาณ ญาณ แปลว่า ความรู้ ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง, นิพพิทาญาณ จึงหมายถึง ความรู้ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งที่ทำให้เบื่อหน่ายในสังสารวัฏหรือกองทุกข์, ความปรีชาหยั่งเห็นสังขารตามความจริง จึงเกิดความหน่ายในสังขารทั้งปวงว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่ทุกข์และโทษมากมาย แต่ไม่ใช่การทำลายตนเองเพราะเบื่อสังขารด้วยตัณหา, นิพพิทาญาณจัดเป็นหนึ่งในญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณ ส่วน นิพพิทานุปัสสนาญาณ เป็นการจำแนกแบบวิปัสสนาญาณ ๙ หมายถึง ความปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่โทษมากมาย หรือก็คือนิพพิทาญาณดังกล่าวข้างต้นนั่นเองเพียงแต่จำแนกแตกธรรมในแบบญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณเท่านั้นเอง อนึ่งพึงระลึกรู้ด้วยว่า การปฏิบัติทุกรูปแบบ ในที่สุดเมื่อเกิดความรู้ความเข้าใจใดๆ หรือธรรมสามัคคีใดๆอันย่อมเบิกบานเป็นผู้รู้ผู้ตื่น แต่ในที่สุดแล้วต้องประกอบด้วยนิพพิทาในธรรมหรือสิ่งต่างๆ นิพพิทา จึงมีความหมายว่า ความหน่ายที่เกิดขึ้นมาจากการมีปัญญาไปรู้ไปเข้าใจตามความเป็นจริงในสิ่งต่างๆ(ธรรม)ตามความจริงอย่างปรมัตถ์ เช่น เกิดนิพพิทาจาก ปัญญาหรือปรีชาไปเห็นเข้าใจในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์หรือสังสารวัฏ ในปฏิจจสมุปบาทธรรม จึงเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่ง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนิจจัง ความไม่เที่ยง ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่งทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขัง ความคงทนอยู่ไม่ได้ จึงต้องดับไปของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนัตตา ว่าล้วนไม่มีตัวตนเป็นแก่นสาร ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาการไปเห็นเข้าใจในสังขารสิ่งปรุงแต่ง ล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัย จึงล้วนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขอริยสัจ ว่าล้วนหนีไม่พ้น ช่างล้วนเป็นทุกข์ จนเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร ฯลฯ. เมื่อเห็นเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งในธรรมต่างๆเหล่าใดเหล่านั้น อันเป็นธรรมใดก็ได้ ตามจริต สติ สมาธิ ปัญญา ตลอดจนแนวทางของการศึกษาปฏิบัติ อันเมื่อถูกต้อง ย่อมล้วนทำให้เกิดความหน่าย เมื่อหน่าย จึงย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดในสิ่งต่างๆหรือสังขารทั้งปวงลงไป เป็นของคู่กัน เป็นปฏิจจสมุปบันธรรม หรือเพื่อให้เกิดนิพพิทาในเรื่องนั้นๆตามจริตของนักปฏิบัติเองเป็นสำคัญก็ได้ ดังเช่น อสุภกรรมฐาน ก็เป็นการเอาอสุภมาเป็นกสิณ(อสุภนิมิต) ในการพิจารณาร่างกายว่าล้วนแต่เป็นอสุภ เน่าเสีย หรือปฏิกูลเหมือนกันล้วนสิ้น ก็เพื่อจุดประสงค์ให้เห็นในความจริงของร่างกายตัวตนว่า ล้วนเป็นเช่นนี้เอง ที่สวยงาม ที่ถูกใจนั้น ล้วนไม่เที่ยง ทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตา จึงย่อมเกิดอุปาทานทุกข์ขึ้น ถ้าไปอยากด้วยตัณหาหรือไปยึดด้วยอุปาทานว่าเป็นของตัวของตน ก็เพื่อให้เกิดปัญญาเข้าใจยิ่งในสังขารร่างกายตามความเป็นจริงอย่างลึกซึ้ง อย่างจดจำ จนเกิดนิพพิทาความหน่ายในสังขารร่างกายอันเน่าเฟะที่เพียรเพ่งหรือนิมิตขึ้น จึงย่อมคลายความอยาก คลายตัณหาความกำหนัดในสังขารร่างกายอันสวยงามต่างๆลงไปทั้งในของตนเองและบุคคลอื่นลงไป หรือคลายราคะจริตในเรื่องเพศลงไปโดยตรงๆนั่นเอง เมื่อหน่าย ย่อมเป็นไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมกล่าวคือย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดอันคือดับตัณหาเสียนั่นเอง...จึงย่อมคลายความยึดมั่นในกิเลสหรือในความพึงพอใจของตัวตนอันเป็นอุปาทานตามมาโดยธรรม กล่าวคือ นิพพิทาเป็นปฏิปักษ์หรือธรรมคู่ปรับกันโดยธรรมหรือธรรมชาติกับตัณหาโดยตรงนั่นเอง, จึงย่อมดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาท ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายนิโรธวาร กล่าวคือ เมื่อตัณหาดับ อุปาทานดับ ภพดับ ชาติดับ ชรา-มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ล้วนย่อมดับไปตามธรรมคือสภาวธรรม จึงเป็นการดับไปของกองทุกข์ ความหน่ายหรือความเบื่อหน่ายที่เกิดแต่นิพพิทาญาณนี้ จึงมีความแตกต่างกันอย่างยิ่งกับความหน่าย ความเบื่อ หรือความเบื่อหน่ายอันเกิดแต่กิเลสหรือตัณหาหรือวิภวตัณหาก็ตามที ความหน่ายจากการรู้ความจริงหรือนิพพิทาจึงคลายกำหนัดหรือตัณหานั้นเป็นความหน่าย ที่เบาโล่งสบาย เพราะขาดด้วยกิเลสตัณหาอันเร่าร้อนนั่นเอง ส่วนความเบื่อหน่ายโดยทั่วไปหรือทางโลกนั้นเป็นความเบื่อหน่ายที่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงไร้สุขหรือยังความหดหู่มาให้ก็เนื่องจากกิเลสหรือตัณหาต่างๆที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆนั่นเอง กล่าวคือเกิดภวตัณหาหรือวิภวตัณหาเข้าแทรกแซงปรุงแต่งนั่นเอง เมื่อไม่ได้ตามตัณหาก็เกิดเป็นอุปาทานทุกข์ เป็นการดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร หรือฝ่ายเป็นทุกข์นั่นเอง นิพพิทาญาณ จัดเป็นเครื่องวัดในการปฏิบัติได้เป็นอย่างดีว่า ดำเนินมาอย่างถูกต้องหรือไม่? กล่าวคือ ถ้าปฏิบัติแล้วเกิดนิพพิทาหรือนิพพิทาญาณก็เป็นเครื่องชี้นำได้อย่างดีว่าได้ปฏิบัติมาอย่างถูกต้องแนวทางดีแล้ว แต่ถ้าปฎิบัติแล้วมีความรู้สึกอวดดี อวดเก่ง อวดรู้ อวดกล้า มีฤทธิ์มีเดช มีอำนาจ ถือดี วางตัวเป็นผู้รู้ เยี่ยงนี้แล้วให้โยนิโสมนสิการในข้อปฏิบัติของตนให้ดีว่า ได้ปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดพลาดไปเสียแล้วอย่างแน่นอนเพราะสิ่งเหล่านี้เป็นวิปัสสนูปกิเลสอันเกิดขึ้นมาจากการปฏิบัติเป็นธรรมดา จึงเนื่องด้วยวิปัสสนูปกิเลสแบบใดเป็นสำคัญเท่านั้นเอง แล้วแก้ไขเสีย กล่าวคือ วางฌานสมาธิลงเสีย แล้วเจริญแต่วิปัสสนาเป็นสำคัญ ด้วยเหตุดังกล่าวเหล่านี้ นิพพิทาญาณ จึงจัดเป็น หนึ่งในญาณหรือความรู้ยิ่งในการปฏิบัติวิปัสสนา คือ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ในวิปัสสนาญาณ ๙ เป็นญาณอันสำคัญยิ่งที่ต้องเจริญหรือภาวนาให้เกิดขึ้น(ภาวนาปธาน)ให้ได้ในที่สุด มิฉนั้นก็กล่าวได้ว่าการปฏิบัติที่ผ่านมานั้นยังเป็นไปอย่างไม่ถูกต้องแนวทาง เพราะเป็นญาณหรือความปรีชาที่เป็นปฏิปักษ์โดยตรงต่อตัณหา อันเป็นสมุทัยหรือเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งถ้ากล่าวอย่างปรมัตถ์แล้ว สมุทัยก็คือเหตุแห่งอุปาทานทุกข์นั่นเอง อนึ่งพึงพิจารณาโดยแยบคายด้วยว่า นิพพิทาญาณเป็นวิปัสสนาญาณที่เป็นไปทางปัญญา เพื่อการหลุดพ้นจากกิเลสอย่างถาวร ส่วนฌานสมาธิที่เมื่อปฏิบัติแต่ฝ่ายเดียวไม่เน้นการวิปัสสนาอย่างจริงจังนั้น แม้จะยังให้เกิดความสุข,สงบ,สบาย ที่แลดูหรือรู้สึกราวกับว่าเป็นสุขกว่านิพพิทานั้น แต่ตามความเป็นจริงกลับตรงกันข้าม ฌานสมาธิแม้จะเกิดความสุขความสงบความสบายอันเกิดแต่การระงับไปของกิเลสในนิวรณ์ทั้ง ๕ แต่ก็จะเกิดมานะทิฏฐิสูง มีความอวดเก่ง ความอวดกล้าจนบางครั้งก้าวร้าวอยู่ในจิตเป็นเครื่องแทรกอยู่เสมอๆ และยังเป็นเหตุปัจจัยสำคัญที่สุดในการเกิดวิปัสนูปกิเลส จากการติดเพลินหรือเพลิดเพลินในองค์ฌานหรือสมาธิโดยไม่รู้ตัวที่เรียกทั่วไปว่าติดสุข ซึ่งมีอาการของจิตส่งในเป็นเครื่องเคียงหรือเครื่องร่วมเสมอๆ อันจักยังให้โทษทั้งต่อธาตุขันธ์และจิตขันธ์ในที่สุด และยังไม่เป็นการดับทุกข์ไปอย่างถาวร พระองค์ท่านจัดเป็นความสุขอันเกิดแต่ฌานหรือสมาธิว่าเป็นแบบโลกิยวิมุตติหรือวิกขัมภนวิมุตติที่ยังไม่เที่ยง สามารถกลับกลายหายสูญได้ ดังนั้นเมื่อปฏิบัติฌานสมาธิแล้วต้องดำเนินการเจริญวิปัสสนากำกับด้วยทุกครั้งทุกทีไป กล่าวคือนำความสุขสงบสบายอันเป็นเครื่องอยู่เป็นกำลังสำคัญของจิตไปเป็นเครื่องหนุนการเจริญวิปัสสนาเสียนั่นเอง เพื่อให้เกิดปัญญาวิมุตติจึงทำให้ไม่กลับกลายหายสูญ ส่วนนิพพิทา ความหน่ายที่ฟังจากชื่อแล้ว ชวนทำให้เข้าใจผิดไปว่า เมื่อเป็นความหน่ายจึงเป็นความทุกข์นั้น แต่ตามความจริงกลับยังให้เกิดความสุขอันยิ่งตามมา เพราะเป็นเพียงการหน่ายในอารมณ์ที่ผัสสะเนื่องจากปัญญาหรือปรีชารู้ความจริง ดังนั้นเมื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัดหรือความอยากหรือตัณหานั่นเอง และเมื่อคลายกำหนัดจึงไม่เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทานขึ้นนั่นเอง อันเป็นการดำเนินไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวารหรือฝ่ายดับทุกข์นั่นเอง เมื่อไม่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงเป็นสุขอันยิ่ง และเป็นสุข ชนิด สะอาด สงบ และบริสุทธ์ อย่างแท้จริง นิพพิทาจึงเป็นของดี ไม่ใช่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ นิพพิทา จึงเป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อการตัดทำลายวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร นิพพิทา จึงไม่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อโลกุตตรสุข อันเป็นสุขยิ่ง นิพพิทาสูตร

หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙นิพพิทาญาณ กระดานธรรม ๓ คลิกขวาเมนู นิพพิทา หมายถึง ความหน่ายที่เกิดขึ้นจากปัญญาพิจารณาเห็นความจริง จึงมีความเบื่อหน่ายในกองทุกข์, ความหน่ายจากการไปรู้เห็นความจริงในการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ หรือความเบื่อหน่ายในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์ ที่ไม่รู้วันจบ,ไม่รู้วันสิ้น จึงเป็นความหน่ายที่ประกอบด้วยปัญญา จึงย่อมแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับความเบื่อหน่ายโดยทั่วๆไปหรือในทางโลกหรืออย่างโลกิยะ ที่ย่อมประกอบด้วยตัณหา ดังในพจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่านพระเดชพระคุณเจ้า พระพรหมคุณาภรณ์ (พระธรรมปิฎก) ได้แสดงถึงความเบื่อหน่ายในทางโลกหรือโลกิยะไว้ดังนี้ว่า "ถ้าหญิงชายอยู่กินกันเกิดหน่ายกัน เพราะความประพฤติไม่ดีต่อกัน หรือหน่ายในมรรยาทของกันและกัน อย่างนี้ไม่จัดเป็นนิพพิทา" ดังนั้น ความเบื่อหน่ายในทางโลก จึงมีความหมายถึง ความเบื่อหน่ายหรือหน่ายกัน เหตุพราะมีกิเลสตัณหามาพัวพัน อย่างเช่น หญิงชายเกิดหน่ายกันดังข้างต้น ก็เกิดมาแต่มีกิเลสตัณหาอื่นๆเข้ามาแทรกนั่นเอง ไม่ได้เกิดแต่ปัญญาไปเห็นความจริง ดังเช่น เกิดการหน่ายขึ้นเพราะไปมีคนรักใหม่ หรือมีตัณหาหรือกิเลสใดๆขึ้น เช่น ไม่ชอบไม่อยากให้คู่หรือคนรักของตนเป็นอย่างนั้น,เป็นอย่างนี้ หรืออยากให้เป็นดังนั้น,เป็นดังนี้ เมื่อไม่เป็นไปตามปรารถนา(ตัณหา)ก็เกิดความเบื่อความหน่ายกันขึ้น, หรือดังได้รถใหม่ แล้วเกิดความเบื่อหน่ายขึ้นในภายหลัง เนื่องจากมันเก่ามันเสียมันรวนอยู่เสมอๆจึงเกิดกิเลสความขุ่นมัว จึงเกิดตัณหาอยากได้คันใหม่ จึงเบื่อหน่ายในรถคันเดิม, หรืออาจเกิดจากตัณหาอยากได้รุ่นใหม่ที่ดีกว่า สวยกว่า จึงเบื่อหน่ายในรถคันเก่า, หรือความเบื่อหน่ายเพราะไม่อยากรอคอย ฯลฯ. อย่างนี้เป็นต้น ล้วนเป็นความเบื่อหน่ายในทางโลกๆ ที่มีพื้นฐานหรือเชื้อไฟอันมาแต่กิเลสตัณหา จึงย่อมไม่ใช่นิพพิทา ความหน่ายอันเกิดจากปัญญาไปเห็นความจริงอย่างปรมัตถ์ นิพพิทาญาณ ญาณ แปลว่า ความรู้ ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง, นิพพิทาญาณ จึงหมายถึง ความรู้ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งที่ทำให้เบื่อหน่ายในสังสารวัฏหรือกองทุกข์, ความปรีชาหยั่งเห็นสังขารตามความจริง จึงเกิดความหน่ายในสังขารทั้งปวงว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่ทุกข์และโทษมากมาย แต่ไม่ใช่การทำลายตนเองเพราะเบื่อสังขารด้วยตัณหา, นิพพิทาญาณจัดเป็นหนึ่งในญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณ ส่วน นิพพิทานุปัสสนาญาณ เป็นการจำแนกแบบวิปัสสนาญาณ ๙ หมายถึง ความปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่โทษมากมาย หรือก็คือนิพพิทาญาณดังกล่าวข้างต้นนั่นเองเพียงแต่จำแนกแตกธรรมในแบบญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณเท่านั้นเอง อนึ่งพึงระลึกรู้ด้วยว่า การปฏิบัติทุกรูปแบบ ในที่สุดเมื่อเกิดความรู้ความเข้าใจใดๆ หรือธรรมสามัคคีใดๆอันย่อมเบิกบานเป็นผู้รู้ผู้ตื่น แต่ในที่สุดแล้วต้องประกอบด้วยนิพพิทาในธรรมหรือสิ่งต่างๆ นิพพิทา จึงมีความหมายว่า ความหน่ายที่เกิดขึ้นมาจากการมีปัญญาไปรู้ไปเข้าใจตามความเป็นจริงในสิ่งต่างๆ(ธรรม)ตามความจริงอย่างปรมัตถ์ เช่น เกิดนิพพิทาจาก ปัญญาหรือปรีชาไปเห็นเข้าใจในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์หรือสังสารวัฏ ในปฏิจจสมุปบาทธรรม จึงเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่ง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนิจจัง ความไม่เที่ยง ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่งทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขัง ความคงทนอยู่ไม่ได้ จึงต้องดับไปของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนัตตา ว่าล้วนไม่มีตัวตนเป็นแก่นสาร ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาการไปเห็นเข้าใจในสังขารสิ่งปรุงแต่ง ล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัย จึงล้วนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขอริยสัจ ว่าล้วนหนีไม่พ้น ช่างล้วนเป็นทุกข์ จนเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร ฯลฯ. เมื่อเห็นเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งในธรรมต่างๆเหล่าใดเหล่านั้น อันเป็นธรรมใดก็ได้ ตามจริต สติ สมาธิ ปัญญา ตลอดจนแนวทางของการศึกษาปฏิบัติ อันเมื่อถูกต้อง ย่อมล้วนทำให้เกิดความหน่าย เมื่อหน่าย จึงย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดในสิ่งต่างๆหรือสังขารทั้งปวงลงไป เป็นของคู่กัน เป็นปฏิจจสมุปบันธรรม หรือเพื่อให้เกิดนิพพิทาในเรื่องนั้นๆตามจริตของนักปฏิบัติเองเป็นสำคัญก็ได้ ดังเช่น อสุภกรรมฐาน ก็เป็นการเอาอสุภมาเป็นกสิณ(อสุภนิมิต) ในการพิจารณาร่างกายว่าล้วนแต่เป็นอสุภ เน่าเสีย หรือปฏิกูลเหมือนกันล้วนสิ้น ก็เพื่อจุดประสงค์ให้เห็นในความจริงของร่างกายตัวตนว่า ล้วนเป็นเช่นนี้เอง ที่สวยงาม ที่ถูกใจนั้น ล้วนไม่เที่ยง ทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตา จึงย่อมเกิดอุปาทานทุกข์ขึ้น ถ้าไปอยากด้วยตัณหาหรือไปยึดด้วยอุปาทานว่าเป็นของตัวของตน ก็เพื่อให้เกิดปัญญาเข้าใจยิ่งในสังขารร่างกายตามความเป็นจริงอย่างลึกซึ้ง อย่างจดจำ จนเกิดนิพพิทาความหน่ายในสังขารร่างกายอันเน่าเฟะที่เพียรเพ่งหรือนิมิตขึ้น จึงย่อมคลายความอยาก คลายตัณหาความกำหนัดในสังขารร่างกายอันสวยงามต่างๆลงไปทั้งในของตนเองและบุคคลอื่นลงไป หรือคลายราคะจริตในเรื่องเพศลงไปโดยตรงๆนั่นเอง เมื่อหน่าย ย่อมเป็นไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมกล่าวคือย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดอันคือดับตัณหาเสียนั่นเอง...จึงย่อมคลายความยึดมั่นในกิเลสหรือในความพึงพอใจของตัวตนอันเป็นอุปาทานตามมาโดยธรรม กล่าวคือ นิพพิทาเป็นปฏิปักษ์หรือธรรมคู่ปรับกันโดยธรรมหรือธรรมชาติกับตัณหาโดยตรงนั่นเอง, จึงย่อมดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาท ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายนิโรธวาร กล่าวคือ เมื่อตัณหาดับ อุปาทานดับ ภพดับ ชาติดับ ชรา-มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ล้วนย่อมดับไปตามธรรมคือสภาวธรรม จึงเป็นการดับไปของกองทุกข์ ความหน่ายหรือความเบื่อหน่ายที่เกิดแต่นิพพิทาญาณนี้ จึงมีความแตกต่างกันอย่างยิ่งกับความหน่าย ความเบื่อ หรือความเบื่อหน่ายอันเกิดแต่กิเลสหรือตัณหาหรือวิภวตัณหาก็ตามที ความหน่ายจากการรู้ความจริงหรือนิพพิทาจึงคลายกำหนัดหรือตัณหานั้นเป็นความหน่าย ที่เบาโล่งสบาย เพราะขาดด้วยกิเลสตัณหาอันเร่าร้อนนั่นเอง ส่วนความเบื่อหน่ายโดยทั่วไปหรือทางโลกนั้นเป็นความเบื่อหน่ายที่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงไร้สุขหรือยังความหดหู่มาให้ก็เนื่องจากกิเลสหรือตัณหาต่างๆที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆนั่นเอง กล่าวคือเกิดภวตัณหาหรือวิภวตัณหาเข้าแทรกแซงปรุงแต่งนั่นเอง เมื่อไม่ได้ตามตัณหาก็เกิดเป็นอุปาทานทุกข์ เป็นการดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร หรือฝ่ายเป็นทุกข์นั่นเอง นิพพิทาญาณ จัดเป็นเครื่องวัดในการปฏิบัติได้เป็นอย่างดีว่า ดำเนินมาอย่างถูกต้องหรือไม่? กล่าวคือ ถ้าปฏิบัติแล้วเกิดนิพพิทาหรือนิพพิทาญาณก็เป็นเครื่องชี้นำได้อย่างดีว่าได้ปฏิบัติมาอย่างถูกต้องแนวทางดีแล้ว แต่ถ้าปฎิบัติแล้วมีความรู้สึกอวดดี อวดเก่ง อวดรู้ อวดกล้า มีฤทธิ์มีเดช มีอำนาจ ถือดี วางตัวเป็นผู้รู้ เยี่ยงนี้แล้วให้โยนิโสมนสิการในข้อปฏิบัติของตนให้ดีว่า ได้ปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดพลาดไปเสียแล้วอย่างแน่นอนเพราะสิ่งเหล่านี้เป็นวิปัสสนูปกิเลสอันเกิดขึ้นมาจากการปฏิบัติเป็นธรรมดา จึงเนื่องด้วยวิปัสสนูปกิเลสแบบใดเป็นสำคัญเท่านั้นเอง แล้วแก้ไขเสีย กล่าวคือ วางฌานสมาธิลงเสีย แล้วเจริญแต่วิปัสสนาเป็นสำคัญ ด้วยเหตุดังกล่าวเหล่านี้ นิพพิทาญาณ จึงจัดเป็น หนึ่งในญาณหรือความรู้ยิ่งในการปฏิบัติวิปัสสนา คือ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ในวิปัสสนาญาณ ๙ เป็นญาณอันสำคัญยิ่งที่ต้องเจริญหรือภาวนาให้เกิดขึ้น(ภาวนาปธาน)ให้ได้ในที่สุด มิฉนั้นก็กล่าวได้ว่าการปฏิบัติที่ผ่านมานั้นยังเป็นไปอย่างไม่ถูกต้องแนวทาง เพราะเป็นญาณหรือความปรีชาที่เป็นปฏิปักษ์โดยตรงต่อตัณหา อันเป็นสมุทัยหรือเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งถ้ากล่าวอย่างปรมัตถ์แล้ว สมุทัยก็คือเหตุแห่งอุปาทานทุกข์นั่นเอง อนึ่งพึงพิจารณาโดยแยบคายด้วยว่า นิพพิทาญาณเป็นวิปัสสนาญาณที่เป็นไปทางปัญญา เพื่อการหลุดพ้นจากกิเลสอย่างถาวร ส่วนฌานสมาธิที่เมื่อปฏิบัติแต่ฝ่ายเดียวไม่เน้นการวิปัสสนาอย่างจริงจังนั้น แม้จะยังให้เกิดความสุข,สงบ,สบาย ที่แลดูหรือรู้สึกราวกับว่าเป็นสุขกว่านิพพิทานั้น แต่ตามความเป็นจริงกลับตรงกันข้าม ฌานสมาธิแม้จะเกิดความสุขความสงบความสบายอันเกิดแต่การระงับไปของกิเลสในนิวรณ์ทั้ง ๕ แต่ก็จะเกิดมานะทิฏฐิสูง มีความอวดเก่ง ความอวดกล้าจนบางครั้งก้าวร้าวอยู่ในจิตเป็นเครื่องแทรกอยู่เสมอๆ และยังเป็นเหตุปัจจัยสำคัญที่สุดในการเกิดวิปัสนูปกิเลส จากการติดเพลินหรือเพลิดเพลินในองค์ฌานหรือสมาธิโดยไม่รู้ตัวที่เรียกทั่วไปว่าติดสุข ซึ่งมีอาการของจิตส่งในเป็นเครื่องเคียงหรือเครื่องร่วมเสมอๆ อันจักยังให้โทษทั้งต่อธาตุขันธ์และจิตขันธ์ในที่สุด และยังไม่เป็นการดับทุกข์ไปอย่างถาวร พระองค์ท่านจัดเป็นความสุขอันเกิดแต่ฌานหรือสมาธิว่าเป็นแบบโลกิยวิมุตติหรือวิกขัมภนวิมุตติที่ยังไม่เที่ยง สามารถกลับกลายหายสูญได้ ดังนั้นเมื่อปฏิบัติฌานสมาธิแล้วต้องดำเนินการเจริญวิปัสสนากำกับด้วยทุกครั้งทุกทีไป กล่าวคือนำความสุขสงบสบายอันเป็นเครื่องอยู่เป็นกำลังสำคัญของจิตไปเป็นเครื่องหนุนการเจริญวิปัสสนาเสียนั่นเอง เพื่อให้เกิดปัญญาวิมุตติจึงทำให้ไม่กลับกลายหายสูญ ส่วนนิพพิทา ความหน่ายที่ฟังจากชื่อแล้ว ชวนทำให้เข้าใจผิดไปว่า เมื่อเป็นความหน่ายจึงเป็นความทุกข์นั้น แต่ตามความจริงกลับยังให้เกิดความสุขอันยิ่งตามมา เพราะเป็นเพียงการหน่ายในอารมณ์ที่ผัสสะเนื่องจากปัญญาหรือปรีชารู้ความจริง ดังนั้นเมื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัดหรือความอยากหรือตัณหานั่นเอง และเมื่อคลายกำหนัดจึงไม่เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทานขึ้นนั่นเอง อันเป็นการดำเนินไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวารหรือฝ่ายดับทุกข์นั่นเอง เมื่อไม่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงเป็นสุขอันยิ่ง และเป็นสุข ชนิด สะอาด สงบ และบริสุทธ์ อย่างแท้จริง นิพพิทาจึงเป็นของดี ไม่ใช่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ นิพพิทา จึงเป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อการตัดทำลายวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร นิพพิทา จึงไม่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อโลกุตตรสุข อันเป็นสุขยิ่ง นิพพิทาสูตร

คำสอนจากปากพระพุทธเจ้าโดยตรงคาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

คำสอนจากปากพระพุทธเจ้าโดยตรงคาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

ไอน์สไตล์พบพระพุทธเจ้าเห็น (Full 5ชั่วโมง)คาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

คาถาธรรมบทว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าคาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557

เพาะถั่วงอกง่ายๆ -ฉบับจบบริบูรณ์

เพาะถั่วงอกง่ายๆ -ฉบับจบบริบูรณ์

20วัดไทยสาวัตถีเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

เจดีย์ทอง แดนมหามงคล เมืองสาวัตถีเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

เจดีย์ทอง แดนมหามงคล เมืองสาวัตถีเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลสเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลสวันประชุมชาดก สุภาษิตชี้โทษแห่งบ่วงมัจจุราช เราเดินเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร ได้เห็นหญิงฟ้อนรำคนหนึ่ง ตก แต่งร่างกายด้วยเครื่องอาภรณ์ นุ่งห่มผ้าสวยงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบ ไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ฟ้อนรำอยู่ในวงดนตรีที่ถนนหลวง ท่ามกลาง พระนคร เป็นดุจบ่วงแห่งมัจจุราชอันธรรมชาติมาดักไว้ เพราะฉะนั้น การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย จึงบังเกิดขึ้นแก่เรา อาทีนว- โทษปรากฏแก่เรา ความเบื่อหน่ายก็ตั้งลงมั่น ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลส ขอท่านจงดูความที่แห่งธรรมเป็นธรรมอันดีเลิศ เราได้บรรลุวิชชา ๓ แล้ว ได้ทำกิจพระพุทธศาสนาเสร็จแล้ว.

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับhttp://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part2.html จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่งความปรุงแต่งจิตความอยากความกระหายทางจิตเกิดขึ้นให้รู้ทัน ตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน

The Ventures - PIPELINE สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ 

The Ventures - Walk Don't Run สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ 

The Ventures - Wipe Out สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ 

สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ 

วิธีทรงอารมณ์สมาธีให้ได้เร็วๆ

วิธีทรงอารมณ์สมาธีให้ได้เร็วๆ

วิธีทรงอารมณ์สมาธีให้ได้เร็วๆ

วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557

จงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบเมืองโบราณสมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน...

ธรรมชาติบําบัด ล้างพิษตับและนํ้ามันมะพร้าว ตอนที่2 อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์

พลังงานแสงอาทิตย์หนองกี่โซล่าเซลล์ ติดที่อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ ใช้ตูเย...หนองกี่โซล่าเซลล์ รับติดตั้งโซล่าเซลล์หรือพลังงานแสงอาทิตย­์ ทั่วประเทศไทย สนใจติดต่อได้ที่ โทร.044-641066,DTAC:083-7215111,12Call:0­88-3520989 www.nongkisolarcell@hotmail.com

วิธีรักษาอาการนิ้วล็อคระยะแรก ด้วยน้ำส้มสายชูใช้น้ำส้มสายชู..ชุบกระดาษทิชชู,,,พันไว้..15 วัน...ตอนนี้หายล๊อค..แล้วครับ...ขอบคุณ...มากคับ

วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557

หลวงพ่อ ฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง อ เมือง จ อุทัยธานี"เมื่อคืนปลุกเสกพระหมาไม่หอน งวดนี้ไม่ให้หมาเห็น เพราะ 2งวดก่อนมาให้หมาเห็นเห่ากันเจี๊ยวจ๊าว รุ่นนี้แอบไม่ให้หมาเห็น เมื่อคืนปลุกเสกรุ่นยันกลับ (ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด)" 

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องเรื่อง ความสุขของหลวงพ่อ "ความสุขรื่นเริงใจจริง ๆ ของพ่อก็คือ ๑. ถ้าเห็นลูกรักทั้งหมดของพ่อ มีจิต เมตตาปรานี ปรารถนาสงเคราะห์คน และสัตว์ให้มี ความสุข ๒. เห็นลูกบริบูรณ์ไปด้วย สีลาจารวัตร ๓. ลูกของพ่อรู้จักตัด นิวรณ์ ๕ ประการ ๔. ลูกมีกำลังจิตเข้าประหัตประหารกิเลส สร้าง สังขารุเปกขาญาณ ให้เกิด" คำสอน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องรอชาวบ้านสรรเสริญเป็นอารมณ์ของความชั่ว "พระพุทธเจ้าทรงให้รักษา กำลังใจ เป็นสำคัญว่าควบคุมกำลังใจให้ดีไว้แล้วมันดีเอง ไม่ต้องไปฟังคำชาวบ้านเขา การที่ เราดี เพราะรอให้ชาวบ้านสรรเสริญนั่นมันเป็นอารมณ์ของความชั่ว"

สิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้วแต่จิตมันก็ไม่พอซักทีจิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางที จิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว

การเห็นกายในกายเห็นจิตในจิต พุทธะเเปลว่าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ธรรมะอยู่ที่ไหน ธรรมะคือลักษณะจิตใจของคนทุกคนนี่แหละ นี่ ! มันมีลักษณะสะอาด สว่าง สงบ มีแล้ว สะอาด คือจิตใจของเราไม่เคยสกปรกเลย สว่าง คือเราเห็นต้นตอของชีวิตจิตใจของเรา สงบก็หมายถึงหยุดแล้ว อันนี้อาตมาพูดตามภาษาอาตมา หยุดแล้ว ไม่ต้องไปศึกษาที่ไหนแล้ว ไม่ต้องไปหาอะไรแล้ว จะไปเรียนมาทำไม มีประโยชน์อะไร เข้าใจอย่างนี้ แปลว่า หยุด หยุด แปลว่าเซาเนี่ยะ บ้านอาตมาเรียกว่า..เซา หยุดแล้ว ก็เรียกว่าสงบนี่ เนี่ยะ..สะอาด สว่าง สงบ

เสียงที่ทำให้จิตหลุดพ้นจากอาสวะโลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์ สุภัททะ ! ในธรรมวินัยใด ไม่มีอริยมรรคมีองค์แปด สมณะที่หนึ่ง (พระโสดาบัน) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น; แม้สมณะที่สอง (พระสกทาคามี) ก็หาไม่ได้; แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาไม่ได้; แม้สมณะที่สี่ (พระอรหันต์) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น. สุภัททะ ! ในธรรมวินัยนี้แล มีอริยมรรคมีองค์แปด สมณะที่หนึ่ง (พระโสดาบัน) ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้; แม้สมณะที่สอง (พระสกทาคามี) ก็หาได้; แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาได้; แม้สมณะที่สี่ (พระอรหันต์) ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้. สุภัททะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้จะพึงอยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย แล.

พุทโธจิตหนีไปคิดรู้ทันจิตรู้ทันกิเลสรู้ให้เร็วทีละขณะทุกวินาที..ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้นให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆ ก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้

ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

เพลงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดา

แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

พระปริตรและอนุโมทนาคาถา แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เพลงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดา แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

แม่จ๋า, คำคน - คอนเสิร์ต ธานินทร์ อินทรเทพ

แม่จ๋า, คำคน - คอนเสิร์ต ธานินทร์ อินทรเทพ

วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การปรับอัตราเร่งและลดความเร็วมอเตอร์สามเฟสที่ใช้ MC3PHAC ครับ ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส ควบคุมด้วย MC3PHAC PS21244 ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

โซล่าเซลล์ใช้กับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้ากำลังพอดีครับทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Module สำหรับใช้ กับมอเตอร์ สามเฟส ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่ พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

วิธีสร้างอินเวอร์เตอร์สามเฟสใช้เอง 4เครื่องปรับอากาศตู้เย็นเครื่องซักผ้ารวมทั้งเครื่องใช้ที่มีมอเตอร์สามเฟสและอินเวอร์เตอร์เป็นเทคโนโลยีที่ได้พัฒนาขึ้นเพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าประมาณ 30-40 % จากเครื่องธรรมดาซึ่งหลักการทำงานจะแตกต่างที่ตัวมอเตอร์และชุดควบคุมโดยใช้ทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Moduleท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อ ที่ พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ จิต คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้น พระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ จิต ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วยจิตอย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา ) อายตนะทั้งหลายเป็นเครื่องวัด จิต ของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบ จิต ของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้วก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ใจ ที่เป็นกลางๆ ๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลกด้วยประการอย่างนี้

เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิตพระธรรมเทศนาของหลวงปู่เทสก์ เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายหญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต”

พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” แสดงน้อยลง

พระพุทธเจ้าตรัสว่าแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” แสดงน้อยลง

พระเทศน์เป็นจังหวะ Rock (Original)หน้าที่ของเรา..คือ...พาตัวเราเอง..ออกจากสังสารวัฎ...

พระเทศน์เป็นจังหวะ Rock (Original) อย่างนี้แหละ..เรียกว่า.เขย่า..ธาตุรู้..ทำให้จิตตื่น..แล้ว...กลับ..มารู้...ที่กาย..ที่ใจ..ของเรา

พระเทศน์เป็นจังหวะ Rock (Original) แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เพลงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดาแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

มงคลสูตรชีวิตที่มีมงคลสามสิบแปดประการนอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

คาถาชนะมารเสียงสาธยายพระคาถาชนะกิเลสมารในตัวเราเองนอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

วุตโตทัยนอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเล่ากันมาอย่างนี้ ได้ยินมาอย่างนี้ ดูกรท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า ที่ภูเขา หิมพานต์ อันทรงไว้ซึ่งแผ่นดินซึ่งมีโอสถทุกชนิด ดาดาษไปด้วยดอกไม้และของหอมมากมาย หลายพันธุ์ เป็นที่สัญจรไปมาแห่งช้าง โค กระบือ กวางทอง จามรี เนื้อฟาน แรด ระมาด ราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง หมี หมาไน เสือดาว นาค ชะมด เสือปลา กระต่าย และ วัวกระทิง เป็นที่อยู่อาศัยแห่งหมู่ช้างใหญ่ ช้างตระกูลอันประเสริฐ เกลื่อนกล่นอยู่ทั่วปริมณฑล อันราบเรียบ มีค่าง ลิง อีเห็น ละมั่ง เนื้อสมัน เนื้อฟาน ม้า และลา กินนร ยักษ์ และรากษส อยู่อาศัย ดาดาษไปด้วยหมู่ไม้นับไม่ถ้วน ทรงไว้ซึ่งดอกตูมและก้าน มีดอกบานตลอดปลาย มี นกเขา นกโพระโดก นกหัสดีลิงค์ นกยูง นกพิราบ นกพริก นกกระจาบ นกยาง นกแขก เต้า และนกการะเวก ส่งเสียงร้องกึกก้องไพเราะ เป็นประเทศที่ประดับไปด้วยแร่ธาตุหลายร้อย ชนิดเป็นต้นว่า อัญชัน มโนศิลา หรดาล มหาหิงค์ ทอง เงินและทองคำ เป็นไพรสัณฑ์อัน น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าชื่อกุณาละ มีตัว ปีกและขนงดงามยิ่งนัก อาศัยอยู่ และนก ดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น มีนางนกดุเหว่าเป็นนางบำเรอประมาณ ๓๕๐๐ ตัว นางนกดุเหว่าสองตัวเอา ปากคาบท่อนไม้ให้นกดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น จับตรงกลางแล้วพากันบินไป ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่ากุณาละนั้น อย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐๐ ตัว บิน ไปเบื้องต่ำด้วยความประสงค์ว่า ถ้านกกุณาละนี้จะตกจากคอน พวกเราจะเอาปีกรับไว้ นางนก ดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แดดอย่าได้ส่งถูกนกกุณาละเลย นาง นกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ละออง ลม หรือน้ำค้าง อย่าได้ถูกนกกุณาละนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไป ข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำ การงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกกุณาละนั้นด้วยท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน กระบอง ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย นกกุณาละนี้อย่าได้กระทบด้วยกอไม้ เครือเถา ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือพวกนกที่มีกำลังกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัวบินไปข้างหลังเจรจาด้วยถ้อยคำอัน เกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้ อย่าได้เงียบเหงาอยู่ บนคอนนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพานกกุณาละนั้นจากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จากสวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวนมะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จาก สวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จาก สวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้องการให้ร่าเริง ยินดี นกกุณาละอัน นางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกๆ วันอย่างนี้ ยังรุกรานอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อย ละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเรอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม. [๒๙๗] ดูกรท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า ณ ด้านทิศบูรพาแห่งขุนเขาหิมพานต์มีแม่น้ำอันไหล มาแต่ซอกเขาอันละเอียดสุขุม มีสีเขียว ณ ภูเขาหิมพานต์อันเป็นประเทศที่น่ารื่นเริงบันเทิงใจ ด้วยกลิ่นหอม อันเกิดเดี๋ยวนั้น จากดอกอุบล ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกบัวขม ดอกบัวผัน ดอกจงกลณี และดอกบัวเผื่อน เป็นป่าทึบมากไปด้วยไม้ต่างๆ ชนิด คือ ไม้โกฏดำ ไม้จิก ไม้เกต ไม้ยางทราย ไม้อ้อยช้าง ต้นบุนนาค ต้นพิกุล ต้นหมากหอม ต้นประยงค์ ต้นขมิ้น ต้นสาละ ต้นสน ต้นจำปา ต้นอโศก ต้นกากะทิง ต้นหงอนไก่ ต้นราชดัด ต้นโลทนง และต้นจันทน์ เป็นราวป่าที่สล้างไปด้วยต้นกฤษณาดำ ต้นปทุม ต้นประยงค์ ต้นเทพทาโร และต้นกล้วย ทรงไว้ ซึ่งต้นรกฟ้า ต้นมวกเหล็ก ต้นปรู ต้นทราก ต้นกัณณิการ์ ต้นชะบา ต้นว่านหางช้าง ต้นทองหลาง ต้นทองกวาว ต้นคัดเค้า ต้นมะลิป่า ต้นแก้ว ต้นซึกและต้นขานางอันงามยิ่งนัก และมีไม้ดอก สำหรับร้อยเป็นพวงมาลัยดาดาษไปด้วยดอกมะลิ ว่านเปราะหอม ต้นคนธา ต้นกำยาน ต้นแฝก หอม ต้นกระเบา และไม้กอ เป็นประเทศอันประดับไปด้วยลดาวัลย์ดาดาษยิ่งนัก มีหมู่หงส์ นก นางนวล นกกาน้ำ และนกเป็ดน้ำ ส่งเสียงร้องกึกก้อง เป็นที่สถิตอยู่แห่งหมู่ฤาษีสิทธิ์วิทยาธร สมณะ และดาบส เป็นประเทศที่ท่องเที่ยวไปแห่งหมู่มนุษย์ เทพยดา ยักษ์ รากษส ทานพ คนธรรพ์ กินนร และพญานาค เป็นไพรสณฑ์ที่น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าขาวชื่อ ปุณณมุขะ มีถ้อยคำอันไพเราะยิ่งนัก มีนัยน์ตาแดงดังนัยน์ตาคนเมาสอดส่ายไปมา อาศัยอยู่ ได้ยินว่า พระยา นกปุณณมุขะนี้ มีนางนกดุเหว่าบำเรอ ๓๕๐ ตัว เล่ากันมาว่า นางนกดุเหว่า ๒ ตัว เอาปากคาบ ท่อนไม้ให้พระยานกปุณณมุขะนั้นจับตรงกลางพาบินไป ด้วยความประสงค์ว่า พระยานกปุณณ มุขะนั้นอย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐ ตัว บินไปเบื้องต่ำด้วย ความประสงค์ว่า ถ้าพระยานกปุณณมุขะนี้จักพลาดจากคอน พวกเราจักเอาปีกทั้งสองรับไว้ นาง นกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แสงแดดอย่าได้แผดเผานกดุเหว่าขาว ชื่อปุณณมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ธุลี หรือน้ำค้าง อย่าได้ตกต้องนกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้นด้วย ท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน ไม้ฆ้อน ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย และนกดุเหว่า ขาวชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้กระทบกับกอไม้ เถาวัลย์ ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือกับนก ที่มีกำลังมากกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปข้างหลังเจรจาด้วยวาจาอันเกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนี้อย่าเงียบเหงา บนคอนเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำเอาผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้น พานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้น จากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จาก สวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวน มะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จากสวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จากสวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้อง การให้ร่าเริง ได้ยินว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะ อันนางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกวัน ๆ ย่อมสรรเสริญอย่างนี้ว่า ดีละๆ น้องหญิงทั้งหลาย การที่เธอทั้งหลายบำรุงบำเรอสามีอย่างนี้ สมควรแก่เธอทั้งหลายผู้เป็นกุลธิดา. [๒๙๘] ได้ยินว่า ในกาลต่อมา นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะได้เข้าไปหาพระยานกกุณาละ ถึงที่อยู่ พวกนางนกดุเหว่าบริจาริกาของพระยานกกุณาละ ได้เห็นพระยานกปุณณมุขะนั้นกำลัง บินมาแต่ไกล จึงพากันเข้าไปหา แล้วพูดกะพระยานกปุณณมุขะนั้นว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ พระ ยานกกุณาละนี้ เป็นนกหยาบช้า มีวาจาหยาบคายเหลือเกิน แม้ไฉน พวกเราจะพึงได้วาจาอันน่ารัก เพราะอาศัยท่านบ้าง พระยานกปุณณมุขะจึงตอบว่า บางทีจะได้กระมังน้องหญิงทั้งหลาย แล้ว เข้าไปหาพระยานกกุมาละกล่าวสัมโมทนียกถากับพระยานกกุณาละแล้ว สถิตอยู่ ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระยานกปุณณมุขะได้กล่าวกะพระยานกกุณาละว่า ดูกรสหายกุณาละ เพราะ เหตุไร ท่านจึงปฏิบัติผิดต่อนางนกทั้งหลายผู้มีชาติเสมอกัน เป็นลูกของผู้มีสกุล ซึ่งปฏิบัติดีต่อท่าน เล่า ดูกรสหายกุณาละ นางนกทั้งหลายถึงเขาจะไม่พูดไม่ถูกใจ เราก็ควรจะพูดให้ถูกใจ จะป่วย กล่าวไปไยถึงนางนกที่พูดถูกใจเล่า เมื่อพระยานกปุณณมุขะกล่าวอย่างนี้แล้ว พระยานกกุณาละ ได้รุกรานพระยานกปุณณมุขะอย่างนี้ว่า แนะสหายลามกชั่วถ่อย เจ้าฉิบหาย เจ้าละลาย ใครจะเป็นผู้ฉลาดด้วยการชนะเมียยิ่งไปกว่าเจ้า ก็แหละพระยานกปุณณมุขะถูกรุกรานอย่างนี้แล้ว ก็กลับไปเสียจากที่นั้น. [๒๙๙] ได้ยินว่า สมัยต่อมา โดยกาลล่วงไปไม่นานนัก อาพาธอันแรงกล้าเกิดขึ้นแก่ พระยานกปุณณมุขะ คือ ลงเป็นโลหิต เกิดเวทนากล้าแข็ง จวนจะตาย ครั้งนั้น พวกนางนก ดุเหว่า ผู้เป็นบริจาริกาของพระยานกปุณณมุขะ เกิดความปริวิตกว่า พระยานกปุณณมุขะนี้ อาพาธ หนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธนี้หนอ นางนกดุเหว่าเหล่านั้น ละทิ้งพระยานกปุณณ- *มุขะไว้แต่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อนสอง พากันเข้าไปหาพระยานกกุณาละ พระยานกกุณาละได้เห็นนาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพากันมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้กล่าวกะนางนกดุเหว่าเหล่านั้นว่า พวกอีถ่อย ผัวของ เจ้าไปไหนเสียเล่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้นจึงตอบว่า ท่านสหายกุณาละ พระยานกปุณณมุขะ อาพาธหนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธหนักนั้น เมื่อนางนกดุเหว่าเหล่านั้นกล่าวอย่างนี้ แล้ว พระยานกกุณาละได้รุกรานนางนกดุเหว่าเหล่านั้นอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อยละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเลอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม ครั้น กล่าวรุกรานแล้ว ได้เข้าไปหาพระยานกปุณณมุขะ แล้วร้องเรียกว่า เฮ้ยสหายปุณณมุขะ พระยานกปุณณมุขะขานรับว่า หาสหายกุณาละ ได้ยินว่า พระยานกกุณาละเข้าไปประคบ ประหงมพระยานกปุณณมุขะด้วยปีกและจะงอยปาก พอให้ลุกขึ้นได้แล้วให้ดื่มยาต่างๆ อาพาธ ของพระยานกปุณณมุขะก็สงบระงับ. [๓๐๐] ได้ยินว่า พระยานกกุณาละได้กล่าวกะพระยานกปุณณมุขะผู้หายจากไข้ยังไม่ นานนักว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางกัณหาสองพ่อ นางมีผัว ๕ คน ยังมีจิต ปฏิพัทธ์ในบุรุษคนที่ ๖ ซึ่งเป็นคนเปลี้ย เหมือนตัวกระพันธ์. และในเรื่องนี้มีคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า ครั้งนั้น นางคนหนึ่งล่วงละเมิดสามี ๕ คน คือ พระเจ้าอัชชุนะ พระเจ้า นกุละ พระเจ้าภีมเสน พระเจ้ายุธิษฐิล และพระเจ้าสหเทพ แล้วได้ กระทำลามกกับบุรุษเปลี้ยแคระ. ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางสมณีชื่อปัญจตปาวี อยู่ในท่ามกลางป่าช้า อดอาหาร ๔ วันจึงบริโภคครั้งหนึ่ง ได้กระทำกรรมอันลามกกับนักเลงสุรา ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางเทวีนามว่า กากวดี อยู่ในท่ามกลางสมุทร เป็นภรรยาของพระยาครุฑชื่อว่า ท้าวเวนไตรย ได้กระทำกรรมอันลามกกับกุเวรผู้เจนจบในการฟ้อน ดูกรสหายปุณณมุขะ เรา เห็นมาแล้ว นางขนงามนามว่า กุรุงคเทวี รักใคร่ได้เสียกับเอฬกกุมาร ได้กระทำกรรมอัน ลามกกับฉฬังคกุมารเสนาบดี และธนันเตวาสีผู้เป็นคนใช้ของฉฬังคกุมาร เป็นความจริง เราได้ รู้มาอย่างนี้แล พระมารดาของพระเจ้าพรหมทัตต์ ทรงทอดทิ้งพระเจ้าโกศลราช ได้ทรงกระทำ กรรมอันลามกกับพราหมณ์ชื่อปัญจาลจัณฑะ หญิง ๕ คนนี้ก็ดี หญิงอื่นก็ดี ได้กระทำมาแล้วซึ่งกรรมอันลามก เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะ ไม่สรรเสริญหญิงทั้งหลาย มหาปฐพี อันทรงไว้ซึ่งสรรพสัตว์ ย้อมแล้วเสมอกัน เป็นที่รับรองสิ่งดีและสิ่งชั่ว ทนทานได้หมด ไม่ดิ้นรน ไม่หวั่นไหว ฉันใด หญิงทั้งหลายก็เหมือนกัน นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านี้ ราชสีห์ซึ่งเป็นสัตว์ดุร้าย กิน เนื้อและเลือดเป็นอาหารมีอาวุธ ๕ อย่าง เป็นสัตว์หยาบช้า ยินดีในการ เบียดเบียนสัตว์อื่น ข่มขี่สัตว์ทั้งหลายกิน ฉันใด หญิงทั้งหลายก็ฉันนั้น นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านั้น. ดูกรปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงทั้งหลายไม่ใช่แพศยา ไม่ใช่นางงาม ไม่ใช่หญิงสัญจร ชื่อทั้ง ๓ นี้ ไม่ใช่ชื่อโดยกำเนิด ชื่อโดยกำเนิดว่าแพศยา ว่านางงาม ว่าหญิงสัญจร ก็คือเป็น ผู้ฆ่าหญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนพวกโจร ประทุษร้ายเป็นพิษเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวด เหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือน หลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยากเหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปโดย ส่วนเดียวเหมือนพระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตาม ปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนโจร ประทุษร้ายเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวดเหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือนหลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยาก เหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปส่วนเดียวเหมือน พระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตามปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ หญิงทั้งหลายเป็นผู้กำสัตว์ไว้ในมือ จนนับไม่ถ้วน ทำโภคสมบัติในเรือนให้พินาศ. [๓๐๑] ดูกรปุณณมุขะ ทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ โคนม ยาน ภรรยา ไม่ควร ให้อยู่ในสกุลอื่น บัณฑิตไม่พึงรักษาทรัพย์ ๔ อย่างนี้ให้อยู่พลาดจากเรือน. คนฉลาดย่อมไม่ฝากทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ ๑ โคนม ๑ ยาน พาหนะ ๑ ภรรยา ๑ ไว้ในตระกูลญาติ เพราะว่า คนที่ไม่มียานพาหนะ ย่อมใช้รถที่ฝากไว้ ย่อมฆ่าโคผู้เสีย เพราะใช้ลากเข็นเกินกำลัง ย่อม ฆ่าลูกโคเพราะรีดนม ภรรยาย่อมประทุษร้ายในตระกูลญาติ. [๓๐๒] ดูกรสหายปุณณมุขะ สิ่งของ ๖ อย่างนี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์อะไร ไม่ได้ คือ ธนูไม่มีสาย ๑ ภรรยาอยู่ในตระกูลญาติ ๑ เรือที่ฝั่งโน้น ๑ ยาน พาหนะที่เพลาหัก ๑ มิตรอยู่ไกล ๑ สหายลามก ๑ สิ่งของทั้ง ๖ นี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์ไม่ได้. [๓๐๓] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมดูหมิ่นสามีเพราะเหตุการ ๘ ประการ คือ เพราะสามีเป็นคนจน ๑ เพราะสามีเจ็บกระเสาะกระแสะ ๑ เพราะสามีเป็นคนแก่ ๑ เพราะสามีเป็นนักเลงสุรา ๑ เพราะสามีเป็นคนโง่ ๑ เพราะสามีเป็นคนมัวเมา ๑ เพราะคล้อย ตามในกิจทุกอย่าง ๑ เพราะไม่ก่อให้ทรัพย์ทุกอย่างเกิดขึ้น ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการนี้. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการ คือ ความจน ๑ เจ็บ กระเสาะกระแสะ ๑ เป็นคนแก่ ๑ เป็นนักเลงสุรา ๑ เป็นคนโง่ ๑ เป็นคนมัวเมา ๑ คล้อยตามในกิจทุกอย่าง ๑ ไม่ก่อสิ่งปรารถนาทุกอย่าง ให้เกิดขึ้น ๑. [๓๐๔] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการ คือ หญิงเป็นคนมักไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหา ตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมอง หน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมา ให้สามีเพราะเหตุ ๙ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการนี้ คือ มัก ไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหาตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมองหน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ [๓๐๕] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการคือ ดัดกายหนึ่ง ก้มตัว กรีดกราย ทำอาย แกะเล็บ เอาเท้าเหยียบกัน เอาไม้ขีดแผ่นดิน ทำกระโดดเอง ให้เด็กกระโดด เล่นเอง ให้เด็กเล่น จุมพิตเด็ก ให้เด็กจุมพิต กินเอง ให้เด็กกิน ให้ของแก่เด็ก ขอของจากเด็ก ทำตามที่เด็กกระทำ พูดเสียงสูง พูดเสียงต่ำ พูดเปิดเผย พูดกระซิบ ทำซิกซี้ด้วยการฟ้อน การขับ การประโคม ร้องไห้ กรีดกราย ด้วยการแต่งกาย ทำปึ่ง ยักเอว ส่ายผ้าที่ปิดของลับ เลิกขา ปิดขา ให้เห็นนม ให้เห็นรักแร้ ให้เห็น ท้องน้อย หลิ่วตา เลิกคิ้ว เม้มปาก แลบลิ้น ขยายผ้า กลับนุ่งผ้า สยายผม มุ่นผม ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการนี้แล. [๓๐๖] ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการ คือ ย่อมพรรณนาการไปแรมคืนของสามี ย่อมไม่ระลึกถึงสามีที่ไปแรมคืน ย่อมไม่ ยินดีกะสามีที่มาแล้ว ย่อมกล่าวโทษสามี ไม่กล่าวคุณแห่งสามี ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็น ประโยชน์แก่สามี ย่อมไม่ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมคลุมหัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น ย่อมนอนพลิก กลับไปมา ย่อมทำวุ่นวายนอนถอนหายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระ ปัสสาวะบ่อยๆ ย่อมประพฤติตรงกันข้าม ได้ยินเสียงชายอื่นย่อมเงี่ยหูฟัง ย่อมล้างผลาญทรัพย์สมบัติ ย่อมทอด สนิทชิดชอบกับชายผู้คุ้นเคย ย่อมออกนอกบ้านเสมอ ประพฤติผิดจากความดี ย่อมประพฤติ นอกใจไม่เคารพในสามี มีใจประทุษร้าย ย่อมยืนอยู่ที่ประตูเนืองๆ ย่อมทำให้เห็นรักแร้ นม ย่อม ไปเพ่งดูทิศต่างๆ ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมพรรณนาการไปแรมทางไกลของสามี ย่อมไม่เศร้าโศกถึงการไป ของสามี ครั้นเห็นสามีกลับมาก็ไม่แสดงความยินดี ย่อมไม่กล่าวคุณ แห่งสามีในกาลไหนๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงผู้ไม่สำรวม ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมทำ ประโยชน์ของสามีให้เสื่อม ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมคลุม หัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิง ผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมนอนพลิกกลับไปมา ย่อมทำวุ่นวาย นอนถอน หายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระปัสสาวะบ่อยๆ อาการ เหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมประพฤติตรงกันข้าม ไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมเงี่ยหูฟังเมื่อชายอื่นพูด ล้างผลาญ โภคสมบัติ กระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายอื่น อาการเหล่านี้ เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมทำทรัพย์สมบัติที่สามีได้มา โดยความลำบาก หามาได้โดยฝืดเคือง เก็บสะสมไว้ได้ด้วยความยาก แค้นให้พินาศ อนึ่ง ย่อมกระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายที่คุ้นเคย กัน อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงออกนอกบ้าน เสมอ ประพฤติผิดจากความดี มีใจคิดประทุษร้ายในสามีอยู่เป็นนิตย์ เป็นผู้ประพฤตินอกใจ ปราศจากความเคารพ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมยืนอยู่ที่ใกล้ประตูเนืองๆ แสดงนมบ้าง รักแร้บ้างให้เห็น มีจิตวอกแวกเพ่งดูทิศต่างๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย แม่น้ำทั้งปวงมีทางคดเคี้ยว และป่าทั้งปวงรกเรี้ยว ด้วยต้นไม้ ฉันใด หญิงทั้งปวงเมื่อได้ช่อง (ที่ลับ) พึงกระทำกรรมอัน ลามกฉันนั้น ถ้าว่าพึงได้โอกาส ที่ลับ หรือพึงได้ช่องเช่นนั้น หญิง ทั้งปวงพึงกระทำกรรมอันลามกเป็นแน่ ไม่ได้ชายที่สมบูรณ์อื่น ก็ย่อม ทำกับคนเปลี้ย ในพวกนารีที่หลายใจ เป็นผู้กระทำความยั่วยวนแก่ชาย ทั้งหลาย ไม่มีใครข่มขี่ได้ ถ้านารีเหล่าใดแม้จะทำให้พอใจโดยประการ ทั้งปวง ก็ไม่ควรวางใจในนารีเหล่านั้น เพราะว่า นารีเหล่านั้นเสมอด้วย ท่าน้ำ. [๓๐๗] บัณฑิตได้เห็นเรื่องอย่างไร ของพระเจ้ากินนรและพระนางกินนรีเทวี แล้วพึงรู้เถิดว่า หญิงทั้งปวงย่อมไม่ยินดีในเรือนของตน พระนาง กินนรีเทวีทรงเห็นบุรุษอื่น แม้จะเป็นคนง่อยเปลี้ย ยังละทิ้งพระราช- สวามีเช่นพระเจ้ากินนร ไปทำกรรมอันลามกกับบุรุษเปลี้ยนั้นได้. [๓๐๘] พระเจ้าพกะและพระเจ้าพาวรีย์ ทรงหมกมุ่นอยู่ในกามเกินส่วน พระ มเหสียังประพฤติอนาจารกับคนรับใช้ใกล้ชิด ซ้ำตกอยู่ในอำนาจ พึงมีหรือที่ หญิงจะไม่ประพฤติล่วงชายอื่น นอกจากคนนั้น. [๓๐๙] พระนางปิงคิยานีพระนางมเหสีที่รักของพระเจ้าพรหมทัตผู้เป็นใหญ่ในโลก ทั้งปวง ได้ประพฤติอนาจารกับคนเลี้ยงม้าผู้ใกล้ชิดและเป็นไปในอำนาจ พระนางปิงคิยานีผู้ใคร่กามนั้น ไม่ได้ประสบความใคร่ทั้งสองราย. [๓๑๐] บุรุษผู้ไม่ถูกผีสิง ไม่ควรเชื่อหญิงทั้งหลายผู้หยาบช้า ใจเบา อกตัญญู ประทุษร้ายมิตร หญิงเหล่านั้นไม่รู้จักสิ่งที่กระทำแล้ว สิ่งที่ควรกระทำ ไม่รู้จักมารดาบิดาหรือพี่น้อง ไม่มีละอาย ล่วงเสียซึ่งธรรม ย่อมเป็น ไปตามอำนาจจิตของตนเมื่อมีอันตราย และเมื่อกิจเกิดขึ้น ย่อมละทิ้ง สามีแม้จะอยู่ด้วยกันมานาน เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่อนุเคราะห์ แม้เสมอกับชีวิต เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย จริง อยู่ จิตของหญิงเหมือนจิตของวานร ลุ่มๆ ดอนๆ เหมือนเงาไม้ หัวใจของหญิงไหวไปไหวมา เหมือนล้อรถที่กำลังหมุน เมื่อใด หญิง ทั้งหลายผู้มุ่งหวัง เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรจะถือเอาได้ เมื่อนั้น ก็ใช้ วาจาอ่อนหวานชักนำบุรุษไปได้ เหมือนชาวกัมโพชลวงม้าด้วยสาหร่าย ฉะนั้น เมื่อใด หญิงทั้งหลายผู้มุ่งหวัง ไม่เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรถือ เอาได้ เมื่อนั้น ย่อมละทิ้งบุรุษนั้นไป เหมือนคนข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้ว ละทิ้งแพไป ฉะนั้น หญิงทั้งหลายเปรียบด้วยเครื่องผูกรัด กินทุกอย่าง เหมือนเปลวไฟ มีมายากล้าแข็ง เหมือนแม่น้ำมีกระแสเชี่ยว ย่อมคบ บุรุษได้ ทั้งที่น่ารัก ทั้งที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดไม่เลือกฝั่งนี้ฝั่งโน้น ฉะนั้น หญิงทั้งหลายไม่ใช่ของบุรุษคนเดียวหรือสองคน ย่อมรับรองทั่ว ไปเหมือนร้านตลาด ผู้ใดสำคัญมั่นหมายหญิงเหล่านั้นว่าของเรา ก็ เท่ากับดักลมด้วยตาข่าย แม่น้ำ หนทาง ร้านเหล้า สภาและบ่อน้ำ ฉันใด หญิงในโลกก็ฉันนั้น เขตแดนของหญิงเหล่านั้นไม่มี หญิงทั้ง หลายเสมอด้วยไฟกินเปรียง เปรียบด้วยงูเห่า ย่อมเลือกคบแต่บุรุษที่ มีทรัพย์ เหมือนโคเลือกกินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก ฉะนั้น ไฟกิน เปรียง ๑ ช้างสาร ๑ งูเห่า ๑ พระราชาผู้ได้รับมูรธาภิเษกแล้ว ๑ หญิง ทั้งปวง ๑ สิ่งทั้ง ๕ นี้ นรชนพึงคบด้วยความระวังเป็นนิตย์ เพราะ สิ่งทั้ง ๕ นี้ มีความแน่นอนที่รู้ได้ยากแท้ หญิงที่งามเกินไป ๑ หญิง ที่คนหมู่มากไม่รักใคร่ ๑ หญิงที่เหมือนมือขวา ๑ หญิงที่เป็นภรรยาคน อื่น ๑ หญิงที่คบหาด้วยเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ๑ หญิง ๕ จำพวกนี้ ไม่ ควรคบ. [๓๑๑] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญาแร้งชื่ออานนท์ รู้แจ้งซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ของพญานกกุณาละแล้ว ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ถ้าบุรุษจะพึงให้แผ่นดินอันเต็มด้วยทรัพย์นี้ แก่หญิงที่ตนนับถือไซร้ หญิงนั้นได้โอกาสก็จะพึงดูหมิ่นบุรุษนั้น เราจึงไม่ยอมตกอยู่ในอำนาจ ของพวกหญิงเผลอเรอ เมื่อมีอันตรายและเมื่อกิจธุระเกิดขึ้น หญิงย่อม ละทิ้งผัวหนุ่มผู้หมั่นขยัน มีความประพฤติไม่เหลาะแหละ เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เพราะฉะนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย บุรุษไม่ ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ปรารถนาเรา ไม่ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ร้องไห้ กระซิกกระซี้เรา เพราะว่า หญิงทั้งหลายย่อมคบได้ทั้งบุรุษที่น่ารัก ทั้ง บุรุษที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดได้ทั้งฝั่งโน้นฝั่งนี้ ฉะนั้น ไม่ควรวิสาสะ กะใบไม้ลาดที่เก่า ไม่ควรวิสาสะกะมิตรเก่าที่เป็นโจร ไม่ควรวิสาสะกะ พระราชาว่า เป็นเพื่อนของเรา ไม่ควรวิสาสะกะหญิงแม้จะมีลูก ๑๐ คน แล้ว ไม่ควรวิสาสะในหญิงที่กระทำความยินดีให้ เป็นผู้ล่วงศีล ไม่ สำรวม ถึงแม้ภรรยาจะพึงเป็นผู้มีความรักแน่นแฟ้น ก็ไม่ควรวางใจ เพราะว่าหญิงทั้งหลายเสมอกับท่าน้ำ หญิงทั้งหลายพึงฆ่าชายก็ได้ พึงตัด เองก็ได้ พึงใช้ให้ผู้อื่นตัดก็ได้ พึงตัดคอแล้วดื่มเลือดกินก็ได้ อย่าพึง กระทำความสิเนหาในหญิงผู้มีความรักใคร่อันเลวทราม ผู้ไม่สำรวม ผู้ เปรียบเทียบด้วยท่าน้ำ คำเท็จของหญิงเหมือนคำจริง คำจริงของหญิง เหมือนคำเท็จ หญิงทั้งหลายย่อมเลือกคบแต่ชายที่มีทรัพย์ ดังโคเลือก กินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก หญิงทั้งหลายย่อมประเล้าประโลมชายด้วย การเดิน การจ้องดู ยิ้มแย้ม นุ่งผ้าหลุดๆ ลุ่ยๆ และพูดเพราะ หญิง ทั้งหลายเป็นโจร หัวใจแข็ง ดุร้าย เป็นน้ำตาลกรวด ย่อมไม่รู้อะไรๆ ว่าเป็นเครื่องล่อลวงในมนุษย์ธรรมดาหญิงในโลกเป็นคนลามก ไม่มีเขต แดน กำหนัดนักทุกเมื่อ และคะนอง กินไม่ควร เหมือนเปลวไฟ ไหม้เชื้อทุกอย่าง บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รักก็ไม่มี เพราะหญิงทั้งหลาย ย่อมคบบุรุษได้ทั้งที่รักทั้งที่ไม่รัก เหมือนเรือจอด ได้ทั้งฝั่งนี้และฝั่งโน้น บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รัก ก็ไม่มี หญิง ย่อมผูกพันชายเพราะต้องการทรัพย์เหมือนเถาวัลย์พันไม้ หญิงทั้งหลาย ย่อมติดตามชายที่มีทรัพย์ ถึงจะเป็นคนเลี้ยงช้าง เลี้ยงม้า เลี้ยงโค คนจัณฑาล สัปเหร่อ คนเทหยากเยื่อ ก็ช่าง หญิงทั้งหลาย ย่อมละทิ้งชายผู้มีตระกูล แต่ไม่มีอะไร เหมือนซากศพ แต่ติดตามชายเช่นนั้นได้เพราะเหตุแห่งทรัพย์. [๓๑๒] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พราหมณ์ผู้ประเสริฐชื่อนารทะ รู้ชัดซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุดของพญาแร้งอานนท์แล้ว ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ดูกรพญานก ท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้ากล่าว มหาสมุทร ๑ พราหมณ์ ๑ พระราชา ๑ หญิง ๑ สี่อย่างนี้ ย่อมไม่ เต็มแม่น้ำสายใด สายหนึ่งอาศัย แผ่นดิน ไหลไปสู่มหาสมุทร แม่น้ำเหล่านั้นก็ยังมหาสมุทรให้เต็มไม่ได้ เพราะฉะนั้นมหาสมุทรชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง ส่วนพราหมณ์เรียน เวทอันมีการบอกเป็นที่ห้าได้แล้ว ยังปรารถนาการเรียนยิ่งขึ้นไปอีก เพราะฉะนั้น พราหมณ์จึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง พระราชาทรง ชนะแผ่นดินทั้งหมด อันบริบูรณ์ด้วยรัตนะนับไม่ถ้วน พร้อมทั้ง มหาสมุทรและภูเขา ครอบครองอยู่ ก็ยังปรารถนามหาสมุทรฝั่งโน้นอีก เพราะฉะนั้น พระราชาจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงคนหนึ่งๆ มีสามีคนละ ๘ คน สามีล้วนเป็นคนแกล้วกล้า มีกำลังสามารถนำมาซึ่ง กามรสทุกอย่าง หญิงยังกระทำความพอใจในชายคนที่ ๙ อีก เพราะฉะนั้น หญิงจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงทุกคนกินทุกอย่างเหมือน เปลวไฟ พาไปได้ทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ เหมือนกิ่งไม้มีหนาม ย่อมละ ชายไปเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ชายใดพึงวางความรักทั้งหมดในหญิง ชาย นั้นเหมือนดักลมด้วยตาข่าย เหมือนตักน้ำใส่มหาสมุทรด้วยมือข้างเดียว จะพึงได้ยินแต่เสียงมือของตน ภาวะของหญิงที่เป็นโจร รู้มาก หาความ จริงได้ยาก เป็นอาการที่ใครๆ รู้ได้ยาก เหมือนรอยทางปลาในน้ำฉะนั้น หญิงไม่มีความพอ อ่อนโยน พูดเพราะ ให้เต็มได้ยาก เสมอแม่น้ำ ทำ ให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล หญิงเป็นเหมือน น้ำวน มีมายามาก ทำพรหมจรรย์ให้กำเริบ ทำให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้ แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล เมื่อหญิงคบบุรุษใด เพราะความพอใจ หรือเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ย่อมเผาบุรุษนั้นโดยพลัน เหมือนไฟป่าเผา สถานที่เกิดของตน ฉะนั้น. [๓๑๓] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญานกกุณาละรู้แจ้งแล้ว ซึ่งเบื้องต้นท่ามกลาง และที่สุดแห่งคาถา ของนารทพราหมณ์ผู้ประเสริฐ จึงได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า บัณฑิตพึงเจรจากับบุรุษผู้ถือดาบอย่างคมกล้า พึงเจรจากับปีศาจผู้ดุร้าย แม้จะพึงเข้าไปนั่งใกล้งูพิษร้าย แต่ไม่ควรเจรจากับหญิงตัวต่อตัว เพราะ ว่าหญิงเป็นผู้ย่ำยีจิตของโลก ถืออาวุธ คือ การฟ้อนรำ ขับร้องและการ เจรจา ย่อมเบียดเบียนบุรุษผู้ไม่ตั้งสติไว้ เหมือนหมู่รากษสที่เกาะเบียด เบียนพวกพ่อค้าฉะนั้น หญิงไม่มีวินัย ไม่มีสังวร ยินดีในน้ำเมาและ เนื้อสัตว์ ไม่สำรวม ผลาญทรัพย์ที่บุรุษหามาได้โดยยากให้ฉิบหาย เหมือนปลาติมิงคละกลืนกินมังกรในทะเล ฉะนั้น หญิงมีกามคุณ ๕ อัน น่ายินดี เป็นทำเลหากิน เป็นคนหยิ่ง จิตไม่เที่ยงตรง ไม่สำรวม ย่อม เข้าไปหาชายผู้ประมาทเหมือนแม่น้ำทั้งหลาย อันไหลไปสู่มหาสมุทร ฉะนั้น หญิงได้ชื่อว่าฆ่าชายด้วยราคะ และโทสะ เข้าไปหาชายคนใด เพราะความพอใจ เพราะความกำหนัด หรือเพราะต้องการทรัพย์ ย่อม เผาชายเช่นนั้นเสีย เช่นดังเปลวไฟ หญิงรู้ว่าชายมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก ย่อมเข้าไปหาชาย ยอมให้ทั้งทรัพย์และตนเอง ย่อมเกาะชายที่มีจิตถูก ราคะย้อม เหมือนเถาย่านทรายเกาะไม้สาละในป่า ฉะนั้น หญิงประดับ ร่างกายหน้าตาให้สวย เข้าไปหาชายด้วยความพอใจมีประการต่างๆ ทำ ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่ ใช้มารยาตั้งร้อย เหมือนดังคนเล่นกลและอสุรินทรราหู หญิงประดับประดาด้วยทอง แก้วมณีและมุกดา ถึงจะมีคนสักการะและ รักษาไว้ในตระกูลสามี ก็ยังประพฤตินอกใจสามี ดังหญิงที่อยู่ใน ทรวงอก ประพฤตินอกใจทานพ ฉะนั้น จริงอยู่ นรชนผู้มีปัญญาเครื่อง พิจารณา แม้จะมีเดช มีมหาชนสักการะบูชา ถ้าตกอยู่ในอำนาจของ หญิงแล้ว ย่อมไม่รุ่งเรือง เหมือนพระจันทร์ ถูกราหูจับฉะนั้น โจรผู้มี จิตโกรธ คิดประทุษร้าย พึงกระทำแก่โจรอื่นซึ่งเป็นข้าศึกที่มาประจัญ หน้า ส่วนผู้ตกอยู่ในอำนาจหญิง ไม่มีอุเบกขา ย่อมเข้าถึงความ พินาศยิ่งกว่านั้นอีก หญิงถึงจะถูกชายฉุดกระชากลากผมและหยิกข่วน ด้วยเล็บ คุกคามทุบตีด้วยเท้า ด้วยมือและท่อนไม้ ก็กลับวิ่งเข้าหา เหมือนหมู่แมลงวันที่ซากศพ ฉะนั้น บุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดักไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. [๓๑๔] พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล.

แม้ความพอใจในเมถุน ไม่ได้มีแล้ว เพราะเห็น นางตัณหา นางอรดี และนางราคา, เพราะเห็นสรีระแห่ง ธิดาของท่านนี้ ซึ่งเต็มไปด้วยมูตร(ปัสสาวะ)และกรีส(อุจจาระ), (เราจักมี ความพอใจในเมถุนอย่างไรได้?) เราย่อมไม่ปรารถนา เพื่อจะแตะต้องสรีระธิดาของท่านนั้น แม้ด้วยเท้า. ในเวลาจบเทศนา เมียผัวทั้งสองตั้งอยู่แล้วในอนาคามิผล ดังนี้แล.

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเล่ากันมาอย่างนี้ ได้ยินมาอย่างนี้ ดูกรท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า ที่ภูเขา หิมพานต์ อันทรงไว้ซึ่งแผ่นดินซึ่งมีโอสถทุกชนิด ดาดาษไปด้วยดอกไม้และของหอมมากมาย หลายพันธุ์ เป็นที่สัญจรไปมาแห่งช้าง โค กระบือ กวางทอง จามรี เนื้อฟาน แรด ระมาด ราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง หมี หมาไน เสือดาว นาค ชะมด เสือปลา กระต่าย และ วัวกระทิง เป็นที่อยู่อาศัยแห่งหมู่ช้างใหญ่ ช้างตระกูลอันประเสริฐ เกลื่อนกล่นอยู่ทั่วปริมณฑล อันราบเรียบ มีค่าง ลิง อีเห็น ละมั่ง เนื้อสมัน เนื้อฟาน ม้า และลา กินนร ยักษ์ และรากษส อยู่อาศัย ดาดาษไปด้วยหมู่ไม้นับไม่ถ้วน ทรงไว้ซึ่งดอกตูมและก้าน มีดอกบานตลอดปลาย มี นกเขา นกโพระโดก นกหัสดีลิงค์ นกยูง นกพิราบ นกพริก นกกระจาบ นกยาง นกแขก เต้า และนกการะเวก ส่งเสียงร้องกึกก้องไพเราะ เป็นประเทศที่ประดับไปด้วยแร่ธาตุหลายร้อย ชนิดเป็นต้นว่า อัญชัน มโนศิลา หรดาล มหาหิงค์ ทอง เงินและทองคำ เป็นไพรสัณฑ์อัน น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าชื่อกุณาละ มีตัว ปีกและขนงดงามยิ่งนัก อาศัยอยู่ และนก ดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น มีนางนกดุเหว่าเป็นนางบำเรอประมาณ ๓๕๐๐ ตัว นางนกดุเหว่าสองตัวเอา ปากคาบท่อนไม้ให้นกดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น จับตรงกลางแล้วพากันบินไป ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่ากุณาละนั้น อย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐๐ ตัว บิน ไปเบื้องต่ำด้วยความประสงค์ว่า ถ้านกกุณาละนี้จะตกจากคอน พวกเราจะเอาปีกรับไว้ นางนก ดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แดดอย่าได้ส่งถูกนกกุณาละเลย นาง นกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ละออง ลม หรือน้ำค้าง อย่าได้ถูกนกกุณาละนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไป ข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำ การงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกกุณาละนั้นด้วยท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน กระบอง ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย นกกุณาละนี้อย่าได้กระทบด้วยกอไม้ เครือเถา ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือพวกนกที่มีกำลังกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัวบินไปข้างหลังเจรจาด้วยถ้อยคำอัน เกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้ อย่าได้เงียบเหงาอยู่ บนคอนนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพานกกุณาละนั้นจากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จากสวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวนมะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จาก สวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จาก สวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้องการให้ร่าเริง ยินดี นกกุณาละอัน นางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกๆ วันอย่างนี้ ยังรุกรานอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อย ละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเรอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม. [๒๙๗] ดูกรท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า ณ ด้านทิศบูรพาแห่งขุนเขาหิมพานต์มีแม่น้ำอันไหล มาแต่ซอกเขาอันละเอียดสุขุม มีสีเขียว ณ ภูเขาหิมพานต์อันเป็นประเทศที่น่ารื่นเริงบันเทิงใจ ด้วยกลิ่นหอม อันเกิดเดี๋ยวนั้น จากดอกอุบล ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกบัวขม ดอกบัวผัน ดอกจงกลณี และดอกบัวเผื่อน เป็นป่าทึบมากไปด้วยไม้ต่างๆ ชนิด คือ ไม้โกฏดำ ไม้จิก ไม้เกต ไม้ยางทราย ไม้อ้อยช้าง ต้นบุนนาค ต้นพิกุล ต้นหมากหอม ต้นประยงค์ ต้นขมิ้น ต้นสาละ ต้นสน ต้นจำปา ต้นอโศก ต้นกากะทิง ต้นหงอนไก่ ต้นราชดัด ต้นโลทนง และต้นจันทน์ เป็นราวป่าที่สล้างไปด้วยต้นกฤษณาดำ ต้นปทุม ต้นประยงค์ ต้นเทพทาโร และต้นกล้วย ทรงไว้ ซึ่งต้นรกฟ้า ต้นมวกเหล็ก ต้นปรู ต้นทราก ต้นกัณณิการ์ ต้นชะบา ต้นว่านหางช้าง ต้นทองหลาง ต้นทองกวาว ต้นคัดเค้า ต้นมะลิป่า ต้นแก้ว ต้นซึกและต้นขานางอันงามยิ่งนัก และมีไม้ดอก สำหรับร้อยเป็นพวงมาลัยดาดาษไปด้วยดอกมะลิ ว่านเปราะหอม ต้นคนธา ต้นกำยาน ต้นแฝก หอม ต้นกระเบา และไม้กอ เป็นประเทศอันประดับไปด้วยลดาวัลย์ดาดาษยิ่งนัก มีหมู่หงส์ นก นางนวล นกกาน้ำ และนกเป็ดน้ำ ส่งเสียงร้องกึกก้อง เป็นที่สถิตอยู่แห่งหมู่ฤาษีสิทธิ์วิทยาธร สมณะ และดาบส เป็นประเทศที่ท่องเที่ยวไปแห่งหมู่มนุษย์ เทพยดา ยักษ์ รากษส ทานพ คนธรรพ์ กินนร และพญานาค เป็นไพรสณฑ์ที่น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าขาวชื่อ ปุณณมุขะ มีถ้อยคำอันไพเราะยิ่งนัก มีนัยน์ตาแดงดังนัยน์ตาคนเมาสอดส่ายไปมา อาศัยอยู่ ได้ยินว่า พระยา นกปุณณมุขะนี้ มีนางนกดุเหว่าบำเรอ ๓๕๐ ตัว เล่ากันมาว่า นางนกดุเหว่า ๒ ตัว เอาปากคาบ ท่อนไม้ให้พระยานกปุณณมุขะนั้นจับตรงกลางพาบินไป ด้วยความประสงค์ว่า พระยานกปุณณ มุขะนั้นอย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐ ตัว บินไปเบื้องต่ำด้วย ความประสงค์ว่า ถ้าพระยานกปุณณมุขะนี้จักพลาดจากคอน พวกเราจักเอาปีกทั้งสองรับไว้ นาง นกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แสงแดดอย่าได้แผดเผานกดุเหว่าขาว ชื่อปุณณมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ธุลี หรือน้ำค้าง อย่าได้ตกต้องนกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้นด้วย ท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน ไม้ฆ้อน ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย และนกดุเหว่า ขาวชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้กระทบกับกอไม้ เถาวัลย์ ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือกับนก ที่มีกำลังมากกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปข้างหลังเจรจาด้วยวาจาอันเกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนี้อย่าเงียบเหงา บนคอนเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำเอาผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้น พานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้น จากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จาก สวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวน มะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จากสวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จากสวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้อง การให้ร่าเริง ได้ยินว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะ อันนางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกวัน ๆ ย่อมสรรเสริญอย่างนี้ว่า ดีละๆ น้องหญิงทั้งหลาย การที่เธอทั้งหลายบำรุงบำเรอสามีอย่างนี้ สมควรแก่เธอทั้งหลายผู้เป็นกุลธิดา. [๒๙๘] ได้ยินว่า ในกาลต่อมา นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะได้เข้าไปหาพระยานกกุณาละ ถึงที่อยู่ พวกนางนกดุเหว่าบริจาริกาของพระยานกกุณาละ ได้เห็นพระยานกปุณณมุขะนั้นกำลัง บินมาแต่ไกล จึงพากันเข้าไปหา แล้วพูดกะพระยานกปุณณมุขะนั้นว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ พระ ยานกกุณาละนี้ เป็นนกหยาบช้า มีวาจาหยาบคายเหลือเกิน แม้ไฉน พวกเราจะพึงได้วาจาอันน่ารัก เพราะอาศัยท่านบ้าง พระยานกปุณณมุขะจึงตอบว่า บางทีจะได้กระมังน้องหญิงทั้งหลาย แล้ว เข้าไปหาพระยานกกุมาละกล่าวสัมโมทนียกถากับพระยานกกุณาละแล้ว สถิตอยู่ ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระยานกปุณณมุขะได้กล่าวกะพระยานกกุณาละว่า ดูกรสหายกุณาละ เพราะ เหตุไร ท่านจึงปฏิบัติผิดต่อนางนกทั้งหลายผู้มีชาติเสมอกัน เป็นลูกของผู้มีสกุล ซึ่งปฏิบัติดีต่อท่าน เล่า ดูกรสหายกุณาละ นางนกทั้งหลายถึงเขาจะไม่พูดไม่ถูกใจ เราก็ควรจะพูดให้ถูกใจ จะป่วย กล่าวไปไยถึงนางนกที่พูดถูกใจเล่า เมื่อพระยานกปุณณมุขะกล่าวอย่างนี้แล้ว พระยานกกุณาละ ได้รุกรานพระยานกปุณณมุขะอย่างนี้ว่า แนะสหายลามกชั่วถ่อย เจ้าฉิบหาย เจ้าละลาย ใครจะเป็นผู้ฉลาดด้วยการชนะเมียยิ่งไปกว่าเจ้า ก็แหละพระยานกปุณณมุขะถูกรุกรานอย่างนี้แล้ว ก็กลับไปเสียจากที่นั้น. [๒๙๙] ได้ยินว่า สมัยต่อมา โดยกาลล่วงไปไม่นานนัก อาพาธอันแรงกล้าเกิดขึ้นแก่ พระยานกปุณณมุขะ คือ ลงเป็นโลหิต เกิดเวทนากล้าแข็ง จวนจะตาย ครั้งนั้น พวกนางนก ดุเหว่า ผู้เป็นบริจาริกาของพระยานกปุณณมุขะ เกิดความปริวิตกว่า พระยานกปุณณมุขะนี้ อาพาธ หนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธนี้หนอ นางนกดุเหว่าเหล่านั้น ละทิ้งพระยานกปุณณ- *มุขะไว้แต่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อนสอง พากันเข้าไปหาพระยานกกุณาละ พระยานกกุณาละได้เห็นนาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพากันมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้กล่าวกะนางนกดุเหว่าเหล่านั้นว่า พวกอีถ่อย ผัวของ เจ้าไปไหนเสียเล่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้นจึงตอบว่า ท่านสหายกุณาละ พระยานกปุณณมุขะ อาพาธหนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธหนักนั้น เมื่อนางนกดุเหว่าเหล่านั้นกล่าวอย่างนี้ แล้ว พระยานกกุณาละได้รุกรานนางนกดุเหว่าเหล่านั้นอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อยละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเลอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม ครั้น กล่าวรุกรานแล้ว ได้เข้าไปหาพระยานกปุณณมุขะ แล้วร้องเรียกว่า เฮ้ยสหายปุณณมุขะ พระยานกปุณณมุขะขานรับว่า หาสหายกุณาละ ได้ยินว่า พระยานกกุณาละเข้าไปประคบ ประหงมพระยานกปุณณมุขะด้วยปีกและจะงอยปาก พอให้ลุกขึ้นได้แล้วให้ดื่มยาต่างๆ อาพาธ ของพระยานกปุณณมุขะก็สงบระงับ. [๓๐๐] ได้ยินว่า พระยานกกุณาละได้กล่าวกะพระยานกปุณณมุขะผู้หายจากไข้ยังไม่ นานนักว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางกัณหาสองพ่อ นางมีผัว ๕ คน ยังมีจิต ปฏิพัทธ์ในบุรุษคนที่ ๖ ซึ่งเป็นคนเปลี้ย เหมือนตัวกระพันธ์. และในเรื่องนี้มีคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า ครั้งนั้น นางคนหนึ่งล่วงละเมิดสามี ๕ คน คือ พระเจ้าอัชชุนะ พระเจ้า นกุละ พระเจ้าภีมเสน พระเจ้ายุธิษฐิล และพระเจ้าสหเทพ แล้วได้ กระทำลามกกับบุรุษเปลี้ยแคระ. ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางสมณีชื่อปัญจตปาวี อยู่ในท่ามกลางป่าช้า อดอาหาร ๔ วันจึงบริโภคครั้งหนึ่ง ได้กระทำกรรมอันลามกกับนักเลงสุรา ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางเทวีนามว่า กากวดี อยู่ในท่ามกลางสมุทร เป็นภรรยาของพระยาครุฑชื่อว่า ท้าวเวนไตรย ได้กระทำกรรมอันลามกกับกุเวรผู้เจนจบในการฟ้อน ดูกรสหายปุณณมุขะ เรา เห็นมาแล้ว นางขนงามนามว่า กุรุงคเทวี รักใคร่ได้เสียกับเอฬกกุมาร ได้กระทำกรรมอัน ลามกกับฉฬังคกุมารเสนาบดี และธนันเตวาสีผู้เป็นคนใช้ของฉฬังคกุมาร เป็นความจริง เราได้ รู้มาอย่างนี้แล พระมารดาของพระเจ้าพรหมทัตต์ ทรงทอดทิ้งพระเจ้าโกศลราช ได้ทรงกระทำ กรรมอันลามกกับพราหมณ์ชื่อปัญจาลจัณฑะ หญิง ๕ คนนี้ก็ดี หญิงอื่นก็ดี ได้กระทำมาแล้วซึ่งกรรมอันลามก เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะ ไม่สรรเสริญหญิงทั้งหลาย มหาปฐพี อันทรงไว้ซึ่งสรรพสัตว์ ย้อมแล้วเสมอกัน เป็นที่รับรองสิ่งดีและสิ่งชั่ว ทนทานได้หมด ไม่ดิ้นรน ไม่หวั่นไหว ฉันใด หญิงทั้งหลายก็เหมือนกัน นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านี้ ราชสีห์ซึ่งเป็นสัตว์ดุร้าย กิน เนื้อและเลือดเป็นอาหารมีอาวุธ ๕ อย่าง เป็นสัตว์หยาบช้า ยินดีในการ เบียดเบียนสัตว์อื่น ข่มขี่สัตว์ทั้งหลายกิน ฉันใด หญิงทั้งหลายก็ฉันนั้น นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านั้น. ดูกรปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงทั้งหลายไม่ใช่แพศยา ไม่ใช่นางงาม ไม่ใช่หญิงสัญจร ชื่อทั้ง ๓ นี้ ไม่ใช่ชื่อโดยกำเนิด ชื่อโดยกำเนิดว่าแพศยา ว่านางงาม ว่าหญิงสัญจร ก็คือเป็น ผู้ฆ่าหญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนพวกโจร ประทุษร้ายเป็นพิษเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวด เหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือน หลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยากเหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปโดย ส่วนเดียวเหมือนพระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตาม ปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนโจร ประทุษร้ายเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวดเหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือนหลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยาก เหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปส่วนเดียวเหมือน พระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตามปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ หญิงทั้งหลายเป็นผู้กำสัตว์ไว้ในมือ จนนับไม่ถ้วน ทำโภคสมบัติในเรือนให้พินาศ. [๓๐๑] ดูกรปุณณมุขะ ทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ โคนม ยาน ภรรยา ไม่ควร ให้อยู่ในสกุลอื่น บัณฑิตไม่พึงรักษาทรัพย์ ๔ อย่างนี้ให้อยู่พลาดจากเรือน. คนฉลาดย่อมไม่ฝากทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ ๑ โคนม ๑ ยาน พาหนะ ๑ ภรรยา ๑ ไว้ในตระกูลญาติ เพราะว่า คนที่ไม่มียานพาหนะ ย่อมใช้รถที่ฝากไว้ ย่อมฆ่าโคผู้เสีย เพราะใช้ลากเข็นเกินกำลัง ย่อม ฆ่าลูกโคเพราะรีดนม ภรรยาย่อมประทุษร้ายในตระกูลญาติ. [๓๐๒] ดูกรสหายปุณณมุขะ สิ่งของ ๖ อย่างนี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์อะไร ไม่ได้ คือ ธนูไม่มีสาย ๑ ภรรยาอยู่ในตระกูลญาติ ๑ เรือที่ฝั่งโน้น ๑ ยาน พาหนะที่เพลาหัก ๑ มิตรอยู่ไกล ๑ สหายลามก ๑ สิ่งของทั้ง ๖ นี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์ไม่ได้. [๓๐๓] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมดูหมิ่นสามีเพราะเหตุการ ๘ ประการ คือ เพราะสามีเป็นคนจน ๑ เพราะสามีเจ็บกระเสาะกระแสะ ๑ เพราะสามีเป็นคนแก่ ๑ เพราะสามีเป็นนักเลงสุรา ๑ เพราะสามีเป็นคนโง่ ๑ เพราะสามีเป็นคนมัวเมา ๑ เพราะคล้อย ตามในกิจทุกอย่าง ๑ เพราะไม่ก่อให้ทรัพย์ทุกอย่างเกิดขึ้น ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการนี้. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการ คือ ความจน ๑ เจ็บ กระเสาะกระแสะ ๑ เป็นคนแก่ ๑ เป็นนักเลงสุรา ๑ เป็นคนโง่ ๑ เป็นคนมัวเมา ๑ คล้อยตามในกิจทุกอย่าง ๑ ไม่ก่อสิ่งปรารถนาทุกอย่าง ให้เกิดขึ้น ๑. [๓๐๔] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการ คือ หญิงเป็นคนมักไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหา ตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมอง หน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมา ให้สามีเพราะเหตุ ๙ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการนี้ คือ มัก ไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหาตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมองหน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ [๓๐๕] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการคือ ดัดกายหนึ่ง ก้มตัว กรีดกราย ทำอาย แกะเล็บ เอาเท้าเหยียบกัน เอาไม้ขีดแผ่นดิน ทำกระโดดเอง ให้เด็กกระโดด เล่นเอง ให้เด็กเล่น จุมพิตเด็ก ให้เด็กจุมพิต กินเอง ให้เด็กกิน ให้ของแก่เด็ก ขอของจากเด็ก ทำตามที่เด็กกระทำ พูดเสียงสูง พูดเสียงต่ำ พูดเปิดเผย พูดกระซิบ ทำซิกซี้ด้วยการฟ้อน การขับ การประโคม ร้องไห้ กรีดกราย ด้วยการแต่งกาย ทำปึ่ง ยักเอว ส่ายผ้าที่ปิดของลับ เลิกขา ปิดขา ให้เห็นนม ให้เห็นรักแร้ ให้เห็น ท้องน้อย หลิ่วตา เลิกคิ้ว เม้มปาก แลบลิ้น ขยายผ้า กลับนุ่งผ้า สยายผม มุ่นผม ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการนี้แล. [๓๐๖] ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการ คือ ย่อมพรรณนาการไปแรมคืนของสามี ย่อมไม่ระลึกถึงสามีที่ไปแรมคืน ย่อมไม่ ยินดีกะสามีที่มาแล้ว ย่อมกล่าวโทษสามี ไม่กล่าวคุณแห่งสามี ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็น ประโยชน์แก่สามี ย่อมไม่ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมคลุมหัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น ย่อมนอนพลิก กลับไปมา ย่อมทำวุ่นวายนอนถอนหายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระ ปัสสาวะบ่อยๆ ย่อมประพฤติตรงกันข้าม ได้ยินเสียงชายอื่นย่อมเงี่ยหูฟัง ย่อมล้างผลาญทรัพย์สมบัติ ย่อมทอด สนิทชิดชอบกับชายผู้คุ้นเคย ย่อมออกนอกบ้านเสมอ ประพฤติผิดจากความดี ย่อมประพฤติ นอกใจไม่เคารพในสามี มีใจประทุษร้าย ย่อมยืนอยู่ที่ประตูเนืองๆ ย่อมทำให้เห็นรักแร้ นม ย่อม ไปเพ่งดูทิศต่างๆ ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมพรรณนาการไปแรมทางไกลของสามี ย่อมไม่เศร้าโศกถึงการไป ของสามี ครั้นเห็นสามีกลับมาก็ไม่แสดงความยินดี ย่อมไม่กล่าวคุณ แห่งสามีในกาลไหนๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงผู้ไม่สำรวม ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมทำ ประโยชน์ของสามีให้เสื่อม ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมคลุม หัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิง ผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมนอนพลิกกลับไปมา ย่อมทำวุ่นวาย นอนถอน หายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระปัสสาวะบ่อยๆ อาการ เหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมประพฤติตรงกันข้าม ไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมเงี่ยหูฟังเมื่อชายอื่นพูด ล้างผลาญ โภคสมบัติ กระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายอื่น อาการเหล่านี้ เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมทำทรัพย์สมบัติที่สามีได้มา โดยความลำบาก หามาได้โดยฝืดเคือง เก็บสะสมไว้ได้ด้วยความยาก แค้นให้พินาศ อนึ่ง ย่อมกระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายที่คุ้นเคย กัน อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงออกนอกบ้าน เสมอ ประพฤติผิดจากความดี มีใจคิดประทุษร้ายในสามีอยู่เป็นนิตย์ เป็นผู้ประพฤตินอกใจ ปราศจากความเคารพ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมยืนอยู่ที่ใกล้ประตูเนืองๆ แสดงนมบ้าง รักแร้บ้างให้เห็น มีจิตวอกแวกเพ่งดูทิศต่างๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย แม่น้ำทั้งปวงมีทางคดเคี้ยว และป่าทั้งปวงรกเรี้ยว ด้วยต้นไม้ ฉันใด หญิงทั้งปวงเมื่อได้ช่อง (ที่ลับ) พึงกระทำกรรมอัน ลามกฉันนั้น ถ้าว่าพึงได้โอกาส ที่ลับ หรือพึงได้ช่องเช่นนั้น หญิง ทั้งปวงพึงกระทำกรรมอันลามกเป็นแน่ ไม่ได้ชายที่สมบูรณ์อื่น ก็ย่อม ทำกับคนเปลี้ย ในพวกนารีที่หลายใจ เป็นผู้กระทำความยั่วยวนแก่ชาย ทั้งหลาย ไม่มีใครข่มขี่ได้ ถ้านารีเหล่าใดแม้จะทำให้พอใจโดยประการ ทั้งปวง ก็ไม่ควรวางใจในนารีเหล่านั้น เพราะว่า นารีเหล่านั้นเสมอด้วย ท่าน้ำ. [๓๐๗] บัณฑิตได้เห็นเรื่องอย่างไร ของพระเจ้ากินนรและพระนางกินนรีเทวี แล้วพึงรู้เถิดว่า หญิงทั้งปวงย่อมไม่ยินดีในเรือนของตน พระนาง กินนรีเทวีทรงเห็นบุรุษอื่น แม้จะเป็นคนง่อยเปลี้ย ยังละทิ้งพระราช- สวามีเช่นพระเจ้ากินนร ไปทำกรรมอันลามกกับบุรุษเปลี้ยนั้นได้. [๓๐๘] พระเจ้าพกะและพระเจ้าพาวรีย์ ทรงหมกมุ่นอยู่ในกามเกินส่วน พระ มเหสียังประพฤติอนาจารกับคนรับใช้ใกล้ชิด ซ้ำตกอยู่ในอำนาจ พึงมีหรือที่ หญิงจะไม่ประพฤติล่วงชายอื่น นอกจากคนนั้น. [๓๐๙] พระนางปิงคิยานีพระนางมเหสีที่รักของพระเจ้าพรหมทัตผู้เป็นใหญ่ในโลก ทั้งปวง ได้ประพฤติอนาจารกับคนเลี้ยงม้าผู้ใกล้ชิดและเป็นไปในอำนาจ พระนางปิงคิยานีผู้ใคร่กามนั้น ไม่ได้ประสบความใคร่ทั้งสองราย. [๓๑๐] บุรุษผู้ไม่ถูกผีสิง ไม่ควรเชื่อหญิงทั้งหลายผู้หยาบช้า ใจเบา อกตัญญู ประทุษร้ายมิตร หญิงเหล่านั้นไม่รู้จักสิ่งที่กระทำแล้ว สิ่งที่ควรกระทำ ไม่รู้จักมารดาบิดาหรือพี่น้อง ไม่มีละอาย ล่วงเสียซึ่งธรรม ย่อมเป็น ไปตามอำนาจจิตของตนเมื่อมีอันตราย และเมื่อกิจเกิดขึ้น ย่อมละทิ้ง สามีแม้จะอยู่ด้วยกันมานาน เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่อนุเคราะห์ แม้เสมอกับชีวิต เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย จริง อยู่ จิตของหญิงเหมือนจิตของวานร ลุ่มๆ ดอนๆ เหมือนเงาไม้ หัวใจของหญิงไหวไปไหวมา เหมือนล้อรถที่กำลังหมุน เมื่อใด หญิง ทั้งหลายผู้มุ่งหวัง เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรจะถือเอาได้ เมื่อนั้น ก็ใช้ วาจาอ่อนหวานชักนำบุรุษไปได้ เหมือนชาวกัมโพชลวงม้าด้วยสาหร่าย ฉะนั้น เมื่อใด หญิงทั้งหลายผู้มุ่งหวัง ไม่เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรถือ เอาได้ เมื่อนั้น ย่อมละทิ้งบุรุษนั้นไป เหมือนคนข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้ว ละทิ้งแพไป ฉะนั้น หญิงทั้งหลายเปรียบด้วยเครื่องผูกรัด กินทุกอย่าง เหมือนเปลวไฟ มีมายากล้าแข็ง เหมือนแม่น้ำมีกระแสเชี่ยว ย่อมคบ บุรุษได้ ทั้งที่น่ารัก ทั้งที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดไม่เลือกฝั่งนี้ฝั่งโน้น ฉะนั้น หญิงทั้งหลายไม่ใช่ของบุรุษคนเดียวหรือสองคน ย่อมรับรองทั่ว ไปเหมือนร้านตลาด ผู้ใดสำคัญมั่นหมายหญิงเหล่านั้นว่าของเรา ก็ เท่ากับดักลมด้วยตาข่าย แม่น้ำ หนทาง ร้านเหล้า สภาและบ่อน้ำ ฉันใด หญิงในโลกก็ฉันนั้น เขตแดนของหญิงเหล่านั้นไม่มี หญิงทั้ง หลายเสมอด้วยไฟกินเปรียง เปรียบด้วยงูเห่า ย่อมเลือกคบแต่บุรุษที่ มีทรัพย์ เหมือนโคเลือกกินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก ฉะนั้น ไฟกิน เปรียง ๑ ช้างสาร ๑ งูเห่า ๑ พระราชาผู้ได้รับมูรธาภิเษกแล้ว ๑ หญิง ทั้งปวง ๑ สิ่งทั้ง ๕ นี้ นรชนพึงคบด้วยความระวังเป็นนิตย์ เพราะ สิ่งทั้ง ๕ นี้ มีความแน่นอนที่รู้ได้ยากแท้ หญิงที่งามเกินไป ๑ หญิง ที่คนหมู่มากไม่รักใคร่ ๑ หญิงที่เหมือนมือขวา ๑ หญิงที่เป็นภรรยาคน อื่น ๑ หญิงที่คบหาด้วยเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ๑ หญิง ๕ จำพวกนี้ ไม่ ควรคบ. [๓๑๑] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญาแร้งชื่ออานนท์ รู้แจ้งซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ของพญานกกุณาละแล้ว ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ถ้าบุรุษจะพึงให้แผ่นดินอันเต็มด้วยทรัพย์นี้ แก่หญิงที่ตนนับถือไซร้ หญิงนั้นได้โอกาสก็จะพึงดูหมิ่นบุรุษนั้น เราจึงไม่ยอมตกอยู่ในอำนาจ ของพวกหญิงเผลอเรอ เมื่อมีอันตรายและเมื่อกิจธุระเกิดขึ้น หญิงย่อม ละทิ้งผัวหนุ่มผู้หมั่นขยัน มีความประพฤติไม่เหลาะแหละ เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เพราะฉะนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย บุรุษไม่ ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ปรารถนาเรา ไม่ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ร้องไห้ กระซิกกระซี้เรา เพราะว่า หญิงทั้งหลายย่อมคบได้ทั้งบุรุษที่น่ารัก ทั้ง บุรุษที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดได้ทั้งฝั่งโน้นฝั่งนี้ ฉะนั้น ไม่ควรวิสาสะ กะใบไม้ลาดที่เก่า ไม่ควรวิสาสะกะมิตรเก่าที่เป็นโจร ไม่ควรวิสาสะกะ พระราชาว่า เป็นเพื่อนของเรา ไม่ควรวิสาสะกะหญิงแม้จะมีลูก ๑๐ คน แล้ว ไม่ควรวิสาสะในหญิงที่กระทำความยินดีให้ เป็นผู้ล่วงศีล ไม่ สำรวม ถึงแม้ภรรยาจะพึงเป็นผู้มีความรักแน่นแฟ้น ก็ไม่ควรวางใจ เพราะว่าหญิงทั้งหลายเสมอกับท่าน้ำ หญิงทั้งหลายพึงฆ่าชายก็ได้ พึงตัด เองก็ได้ พึงใช้ให้ผู้อื่นตัดก็ได้ พึงตัดคอแล้วดื่มเลือดกินก็ได้ อย่าพึง กระทำความสิเนหาในหญิงผู้มีความรักใคร่อันเลวทราม ผู้ไม่สำรวม ผู้ เปรียบเทียบด้วยท่าน้ำ คำเท็จของหญิงเหมือนคำจริง คำจริงของหญิง เหมือนคำเท็จ หญิงทั้งหลายย่อมเลือกคบแต่ชายที่มีทรัพย์ ดังโคเลือก กินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก หญิงทั้งหลายย่อมประเล้าประโลมชายด้วย การเดิน การจ้องดู ยิ้มแย้ม นุ่งผ้าหลุดๆ ลุ่ยๆ และพูดเพราะ หญิง ทั้งหลายเป็นโจร หัวใจแข็ง ดุร้าย เป็นน้ำตาลกรวด ย่อมไม่รู้อะไรๆ ว่าเป็นเครื่องล่อลวงในมนุษย์ธรรมดาหญิงในโลกเป็นคนลามก ไม่มีเขต แดน กำหนัดนักทุกเมื่อ และคะนอง กินไม่ควร เหมือนเปลวไฟ ไหม้เชื้อทุกอย่าง บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รักก็ไม่มี เพราะหญิงทั้งหลาย ย่อมคบบุรุษได้ทั้งที่รักทั้งที่ไม่รัก เหมือนเรือจอด ได้ทั้งฝั่งนี้และฝั่งโน้น บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รัก ก็ไม่มี หญิง ย่อมผูกพันชายเพราะต้องการทรัพย์เหมือนเถาวัลย์พันไม้ หญิงทั้งหลาย ย่อมติดตามชายที่มีทรัพย์ ถึงจะเป็นคนเลี้ยงช้าง เลี้ยงม้า เลี้ยงโค คนจัณฑาล สัปเหร่อ คนเทหยากเยื่อ ก็ช่าง หญิงทั้งหลาย ย่อมละทิ้งชายผู้มีตระกูล แต่ไม่มีอะไร เหมือนซากศพ แต่ติดตามชายเช่นนั้นได้เพราะเหตุแห่งทรัพย์. [๓๑๒] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พราหมณ์ผู้ประเสริฐชื่อนารทะ รู้ชัดซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุดของพญาแร้งอานนท์แล้ว ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ดูกรพญานก ท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้ากล่าว มหาสมุทร ๑ พราหมณ์ ๑ พระราชา ๑ หญิง ๑ สี่อย่างนี้ ย่อมไม่ เต็มแม่น้ำสายใด สายหนึ่งอาศัย แผ่นดิน ไหลไปสู่มหาสมุทร แม่น้ำเหล่านั้นก็ยังมหาสมุทรให้เต็มไม่ได้ เพราะฉะนั้นมหาสมุทรชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง ส่วนพราหมณ์เรียน เวทอันมีการบอกเป็นที่ห้าได้แล้ว ยังปรารถนาการเรียนยิ่งขึ้นไปอีก เพราะฉะนั้น พราหมณ์จึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง พระราชาทรง ชนะแผ่นดินทั้งหมด อันบริบูรณ์ด้วยรัตนะนับไม่ถ้วน พร้อมทั้ง มหาสมุทรและภูเขา ครอบครองอยู่ ก็ยังปรารถนามหาสมุทรฝั่งโน้นอีก เพราะฉะนั้น พระราชาจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงคนหนึ่งๆ มีสามีคนละ ๘ คน สามีล้วนเป็นคนแกล้วกล้า มีกำลังสามารถนำมาซึ่ง กามรสทุกอย่าง หญิงยังกระทำความพอใจในชายคนที่ ๙ อีก เพราะฉะนั้น หญิงจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงทุกคนกินทุกอย่างเหมือน เปลวไฟ พาไปได้ทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ เหมือนกิ่งไม้มีหนาม ย่อมละ ชายไปเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ชายใดพึงวางความรักทั้งหมดในหญิง ชาย นั้นเหมือนดักลมด้วยตาข่าย เหมือนตักน้ำใส่มหาสมุทรด้วยมือข้างเดียว จะพึงได้ยินแต่เสียงมือของตน ภาวะของหญิงที่เป็นโจร รู้มาก หาความ จริงได้ยาก เป็นอาการที่ใครๆ รู้ได้ยาก เหมือนรอยทางปลาในน้ำฉะนั้น หญิงไม่มีความพอ อ่อนโยน พูดเพราะ ให้เต็มได้ยาก เสมอแม่น้ำ ทำ ให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล หญิงเป็นเหมือน น้ำวน มีมายามาก ทำพรหมจรรย์ให้กำเริบ ทำให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้ แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล เมื่อหญิงคบบุรุษใด เพราะความพอใจ หรือเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ย่อมเผาบุรุษนั้นโดยพลัน เหมือนไฟป่าเผา สถานที่เกิดของตน ฉะนั้น. [๓๑๓] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญานกกุณาละรู้แจ้งแล้ว ซึ่งเบื้องต้นท่ามกลาง และที่สุดแห่งคาถา ของนารทพราหมณ์ผู้ประเสริฐ จึงได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า บัณฑิตพึงเจรจากับบุรุษผู้ถือดาบอย่างคมกล้า พึงเจรจากับปีศาจผู้ดุร้าย แม้จะพึงเข้าไปนั่งใกล้งูพิษร้าย แต่ไม่ควรเจรจากับหญิงตัวต่อตัว เพราะ ว่าหญิงเป็นผู้ย่ำยีจิตของโลก ถืออาวุธ คือ การฟ้อนรำ ขับร้องและการ เจรจา ย่อมเบียดเบียนบุรุษผู้ไม่ตั้งสติไว้ เหมือนหมู่รากษสที่เกาะเบียด เบียนพวกพ่อค้าฉะนั้น หญิงไม่มีวินัย ไม่มีสังวร ยินดีในน้ำเมาและ เนื้อสัตว์ ไม่สำรวม ผลาญทรัพย์ที่บุรุษหามาได้โดยยากให้ฉิบหาย เหมือนปลาติมิงคละกลืนกินมังกรในทะเล ฉะนั้น หญิงมีกามคุณ ๕ อัน น่ายินดี เป็นทำเลหากิน เป็นคนหยิ่ง จิตไม่เที่ยงตรง ไม่สำรวม ย่อม เข้าไปหาชายผู้ประมาทเหมือนแม่น้ำทั้งหลาย อันไหลไปสู่มหาสมุทร ฉะนั้น หญิงได้ชื่อว่าฆ่าชายด้วยราคะ และโทสะ เข้าไปหาชายคนใด เพราะความพอใจ เพราะความกำหนัด หรือเพราะต้องการทรัพย์ ย่อม เผาชายเช่นนั้นเสีย เช่นดังเปลวไฟ หญิงรู้ว่าชายมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก ย่อมเข้าไปหาชาย ยอมให้ทั้งทรัพย์และตนเอง ย่อมเกาะชายที่มีจิตถูก ราคะย้อม เหมือนเถาย่านทรายเกาะไม้สาละในป่า ฉะนั้น หญิงประดับ ร่างกายหน้าตาให้สวย เข้าไปหาชายด้วยความพอใจมีประการต่างๆ ทำ ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่ ใช้มารยาตั้งร้อย เหมือนดังคนเล่นกลและอสุรินทรราหู หญิงประดับประดาด้วยทอง แก้วมณีและมุกดา ถึงจะมีคนสักการะและ รักษาไว้ในตระกูลสามี ก็ยังประพฤตินอกใจสามี ดังหญิงที่อยู่ใน ทรวงอก ประพฤตินอกใจทานพ ฉะนั้น จริงอยู่ นรชนผู้มีปัญญาเครื่อง พิจารณา แม้จะมีเดช มีมหาชนสักการะบูชา ถ้าตกอยู่ในอำนาจของ หญิงแล้ว ย่อมไม่รุ่งเรือง เหมือนพระจันทร์ ถูกราหูจับฉะนั้น โจรผู้มี จิตโกรธ คิดประทุษร้าย พึงกระทำแก่โจรอื่นซึ่งเป็นข้าศึกที่มาประจัญ หน้า ส่วนผู้ตกอยู่ในอำนาจหญิง ไม่มีอุเบกขา ย่อมเข้าถึงความ พินาศยิ่งกว่านั้นอีก หญิงถึงจะถูกชายฉุดกระชากลากผมและหยิกข่วน ด้วยเล็บ คุกคามทุบตีด้วยเท้า ด้วยมือและท่อนไม้ ก็กลับวิ่งเข้าหา เหมือนหมู่แมลงวันที่ซากศพ ฉะนั้น บุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดักไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. [๓๑๔] พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล

"ดูก่อนอุปกะ" พระศาสดาตรัสตอบ "เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน" พอได้ยินคำว่า "อุปกะ" เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่งเมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน "อุปกะ" พระองค์ตรัสต่อไป "หลังจาก จากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?" อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอด แล้วทูลเพิ่มเติมว่า "พระองค์ผู้เจริญ! ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลก โปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด" พูดเท่านั้นแล้วเขาก็ซบศีรษะลงแทบพระบาทมูลแห่งพระศาสดา พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า "ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากมาย การอยู่ร่วมกับคนพาล เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย! เครื่องจองจำที่ทำด้วยเชือก เหล็กหรือโซ่ตรวนใดๆ เราไม่กล่าวว่าเป็นเครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพอันไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูปเป็นต้นนั้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อยๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด

“ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง”

อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก “เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง” ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’ ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ - มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู - ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา - แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว - สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น - ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ - ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า “ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง” นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9ปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก “เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง” ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’ ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ - มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู - ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา - แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว - สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น - ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ - ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า “ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง” นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน เขาจึงลามารดาไปหาอาจารย์ กราบเรียนให้อาจารย์ทราบว่ายังมีมนต์สำคัญอยู่อย่างหนึ่งซึ่งเขายังมิได้เรียนจากอาจารย์ มารดาของเขาขอร้องไห้มาเรียนอสาตมนต์ อาจารย์ได้ทราบดังนั้นยินดียิ่งนัก จึงกล่าวว่า “มานพ เวลานี้เรามาพักอยู่ในป่า ไม่มีใครเลยนอกจากเราและมารดาผู้ชราของเรา เธอจงปฏิบัติบำรุงมารดาของเราสักชั่วระยะเวลาหนึ่ง แล้วเราจะบอกอสาตมนต์ให้

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9 "ดูก่อนอุปกะ" พระศาสดาตรัสตอบ "เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน" พอได้ยินคำว่า "อุปกะ" เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่งเมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน "อุปกะ" พระองค์ตรัสต่อไป "หลังจาก จากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?" อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอด แล้วทูลเพิ่มเติมว่า "พระองค์ผู้เจริญ! ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลก โปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด" พูดเท่านั้นแล้วเขาก็ซบศีรษะลงแทบพระบาทมูลแห่งพระศาสดา พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า "ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากมาย การอยู่ร่วมกับคนพาล เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย! เครื่องจองจำที่ทำด้วยเชือก เหล็กหรือโซ่ตรวนใดๆ เราไม่กล่าวว่าเป็นเครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพอันไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูปเป็นต้นนั้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อยๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9 "ดูก่อนอุปกะ" พระศาสดาตรัสตอบ "เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน" พอได้ยินคำว่า "อุปกะ" เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่งเมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน "อุปกะ" พระองค์ตรัสต่อไป "หลังจาก จากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?" อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอด แล้วทูลเพิ่มเติมว่า "พระองค์ผู้เจริญ! ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลก โปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด" พูดเท่านั้นแล้วเขาก็ซบศีรษะลงแทบพระบาทมูลแห่งพระศาสดา พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า "ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากมาย การอยู่ร่วมกับคนพาล เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย! เครื่องจองจำที่ทำด้วยเชือก เหล็กหรือโซ่ตรวนใดๆ เราไม่กล่าวว่าเป็นเครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพอันไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูปเป็นต้นนั้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อยๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง "เมื่อคืนปลุกเสกพระหมาไม่หอน งวดนี้ไม่ให้หมาเห็น เพราะ 2งวดก่อนมาให้หมาเห็นเห่ากันเจี๊ยวจ๊าว รุ่นนี้แอบไม่ให้หมาเห็น เมื่อคืนปลุกเสกรุ่นยันกลับ (ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด)" 

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิดการเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม

ก ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม

การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนามประวัติ พระโมฆราชเถระ ๑. สถานะเดิม พระโมฆราชเถระ ชื่อเดิม โมฆราช เป็นวรรณะกษัตริย์ เป็นชาวโกศล บิดาและมารดาไม่ปรากฎชื่อ เพราะมีโรคประจำตัวที่รักษาไม่หาย ได้รับความทุกข์ทรมานมาก แม้จะเป็นคนใหญ่โตและมีทรัพย์สมบัติมากมายก็ช่วยไม่ได้ จึงได้ชื่อว่า โมฆราช แปลว่า ราชาผู้หาความสุขไม่ได้ ๒. ชีวิตก่อนบวชในพระพุทธศาสนา เพราะท่านได้เห็นโทษของร่างกาย จึงออกบวชเป็นฤาษีมอบตัวเป็นศิษย์ของพราหมณ์พาวรี พราหมณ์พาวรีนั้นมีศิษย์เป็นจำนวนมาก ท่านกล่าวว่ามีถึง ๑๖,๐๐๐ คน แต่ที่เป็นศิษย์ผู้ใหญ่มีอยู่ ๑๖ คน คือ อชิตะ ติสสะ เมตเตยยะ ปุณณกะ เมตตคู โธตกะ อุปสีวะ นันทะ เหมกะ โตเทยยะ กัปป์ปะ ชาตุกัณณี ภัทราวุธ อุทยะ โปสาละ โมฆราช ปิงคิยะ ๓. มูลเหตุแห่งการบวชในพระพุทธศาสนา พราหมณ์พาวรีได้ทราบข่าวว่า พระสิทธัตถกุมารเสด็จออกบรรพชา ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ สนใจใคร่จะสอบสวนหาความจริง จึงเรียกศิษย์ทั้ง ๑๖ คน มีอชิตะเป็นหัวหน้า ผูกปัญหาให้คนละหมวด ส่งไปเฝ้าพระศาสดาซึ่งประทับอยู่ที่ปาสาณเจดีย์ เพื่อทูลถามปัญหา ศิษย์ทั้ง ๑๖ คน ได้ปฏิบัติตามคำของอาจารย์ เมื่อพระศาสดาแก้ปัญหาของพวกเขาจบลง ๑๕ คน ได้บรรลุพระอรหัตผล ส่วนปิงคิยมาณพได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผล เพราะจิตใจสับสนไม่แน่วแน่ ห่วงแต่พราหมณ์พาวรี ผู้ที่เป็นทั้งลุงและอาจารย์ ไม่ได้ส่งญาณตามเทศนาโดยตลอด เฉพาะโมฆราชมาณพได้ทูลถามปัญหาว่า ข้าพระองค์จะพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่เห็น พระศาสดาได้ตรัสตอบว่า ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวตนเสีย บุคคลพึงข้ามพ้นมัจจุราชไปได้ด้วยอุบายเช่นนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงจะไม่เห็น ๔. วิธีอุปสมบท เมื่อโมฆราชมาณพฟังพระศาสดาแก้ปัญหาจบลง จิตของเขาก็หลุดพ้นจากอาสวะ ทั้งปวง ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน จึงได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทกับพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์ พึงได้บรรพชาอุปสมบทในสำนักของพระผู้มีพระภาค พระศาสดาตรัสแก่เขาว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมวินัยเรากล่าวไว้ดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด ๕. งานประกาศพระศาสนา พระโมฆราชเถระ เพราะท่านมีร่างกายเป็นแผลที่รักษาไม่หาย จึงถูกกีดกันไม่ให้เข้าอยู่ในเสนาสนะของสงฆ์ ท่านจึงอยู่ตามโคนไม้และที่แจ้ง ไปเก็บผ้าตามกองขยะมาทำไตรจีวรนุ่งห่ม ทำให้เป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของบุคคลประเภทลูขัปปมาณิกา คือผู้ศรัทธาเลื่อมใสหนักไปทางใช้ชีวิตปอน ๆ นับว่าท่านได้เป็นกำลังสำคัญรูปหนึ่งในการประกาศพระศาสนาด้วยปฏิปทาปอน ๆ ของท่านทั้งในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ และเป็นทิฏฐานุคติแก่คนที่เกิดมาภายหลัง เมื่อท่านนิพพานไปแล้ว ๖. เอตทัคคะ พระโมฆราชเถระนี้ ตั้งแต่บวชในพระพุทธศาสนา ได้ใช้จีวรที่ปอนมาตลอด ต่อมาพระศาสดาประทับอยู่ที่พระเชตวัน ทรงตั้งพระเถระทั้งหลายไว้ในฐานันดรต่าง ๆ ได้ตั้งท่านไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรอันเศร้าหมองในศาสนาของพระองค์ ๗. บุญญาธิการ พระโมฆราชเถระ ได้สร้างสมคุณความดีที่เป็นเหตุแห่งนิพพานมาสิ้นกาลนาน ในสมัย พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ ได้เห็นพระศาสดาทรงตั้งภิกษุรูปหนึ่งไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรบังสุกุล จึงได้สร้างสมคุณความดีแลัวปรารถนาตำแหน่งนั้น ได้ทำบุญมาตลอดหลายพุทธันดร จนชาติสุดท้ายได้ถือกำเนิดเกิดในเรือนพราหมณ์ในพระนครสาวัตถี ก่อนที่พระทศพลของเราทั้งหลายจะเสด็จอุบัติ และได้ถึงฝั่งแห่งสาวกบารมีญาณตามปณิธานที่ได้ตั้งเอาไว้ดังกล่าวแล้ว ๘. ธรรมวาทะ เราได้ฟังพุทธพยากรณ์นั้นแล้ว ก็เบิกบานใจ ถวายบังคมพระพิชิตมารด้วยเศียรเกล้าทำแต่กรรมที่ดีงามในศาสนาของพระชินเจ้าตราบเท่าสิ้นชีวิต เพราะกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และเพราะการตั้งเจตน์จำนงเอาไว้ เราละร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพราะกรรมคือการเอาไฟเผาลนพื้นหอฉัน เราจึงถูกทุกขเวทนาเบียดเบียน ไหม้ในนรกพันปี ด้วยเศษกรรมนั้นที่ยังเหลือ เราเกิดเป็นมนุษย์ ต้องมีรอยตำหนิในร่างกายถึง ๕๐๐ ชาติ เพราะอำนาจของกรรมนั้น เราเป็นโรคเรื้อนอย่างหนัก เสวยมหันตทุกข์ถึง ๕๐๐ ชาติ ๙. นิพพาน พระโมฆราชเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตผลอันเป็นประธาน และได้ช่วยพระศาสดาประกาศพุทธศาสนาตามความสามารถแล้ว ก็ได้นิพพานไปตามสัจธรรมของชีวิต

สยามประเทศในปี 2511ประวัติ พระโมฆราชเถระ ๑. สถานะเดิม พระโมฆราชเถระ ชื่อเดิม โมฆราช เป็นวรรณะกษัตริย์ เป็นชาวโกศล บิดาและมารดาไม่ปรากฎชื่อ เพราะมีโรคประจำตัวที่รักษาไม่หาย ได้รับความทุกข์ทรมานมาก แม้จะเป็นคนใหญ่โตและมีทรัพย์สมบัติมากมายก็ช่วยไม่ได้ จึงได้ชื่อว่า โมฆราช แปลว่า ราชาผู้หาความสุขไม่ได้ ๒. ชีวิตก่อนบวชในพระพุทธศาสนา เพราะท่านได้เห็นโทษของร่างกาย จึงออกบวชเป็นฤาษีมอบตัวเป็นศิษย์ของพราหมณ์พาวรี พราหมณ์พาวรีนั้นมีศิษย์เป็นจำนวนมาก ท่านกล่าวว่ามีถึง ๑๖,๐๐๐ คน แต่ที่เป็นศิษย์ผู้ใหญ่มีอยู่ ๑๖ คน คือ อชิตะ ติสสะ เมตเตยยะ ปุณณกะ เมตตคู โธตกะ อุปสีวะ นันทะ เหมกะ โตเทยยะ กัปป์ปะ ชาตุกัณณี ภัทราวุธ อุทยะ โปสาละ โมฆราช ปิงคิยะ ๓. มูลเหตุแห่งการบวชในพระพุทธศาสนา พราหมณ์พาวรีได้ทราบข่าวว่า พระสิทธัตถกุมารเสด็จออกบรรพชา ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ สนใจใคร่จะสอบสวนหาความจริง จึงเรียกศิษย์ทั้ง ๑๖ คน มีอชิตะเป็นหัวหน้า ผูกปัญหาให้คนละหมวด ส่งไปเฝ้าพระศาสดาซึ่งประทับอยู่ที่ปาสาณเจดีย์ เพื่อทูลถามปัญหา ศิษย์ทั้ง ๑๖ คน ได้ปฏิบัติตามคำของอาจารย์ เมื่อพระศาสดาแก้ปัญหาของพวกเขาจบลง ๑๕ คน ได้บรรลุพระอรหัตผล ส่วนปิงคิยมาณพได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผล เพราะจิตใจสับสนไม่แน่วแน่ ห่วงแต่พราหมณ์พาวรี ผู้ที่เป็นทั้งลุงและอาจารย์ ไม่ได้ส่งญาณตามเทศนาโดยตลอด เฉพาะโมฆราชมาณพได้ทูลถามปัญหาว่า ข้าพระองค์จะพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่เห็น พระศาสดาได้ตรัสตอบว่า ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวตนเสีย บุคคลพึงข้ามพ้นมัจจุราชไปได้ด้วยอุบายเช่นนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงจะไม่เห็น ๔. วิธีอุปสมบท เมื่อโมฆราชมาณพฟังพระศาสดาแก้ปัญหาจบลง จิตของเขาก็หลุดพ้นจากอาสวะ ทั้งปวง ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน จึงได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทกับพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์ พึงได้บรรพชาอุปสมบทในสำนักของพระผู้มีพระภาค พระศาสดาตรัสแก่เขาว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมวินัยเรากล่าวไว้ดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด ๕. งานประกาศพระศาสนา พระโมฆราชเถระ เพราะท่านมีร่างกายเป็นแผลที่รักษาไม่หาย จึงถูกกีดกันไม่ให้เข้าอยู่ในเสนาสนะของสงฆ์ ท่านจึงอยู่ตามโคนไม้และที่แจ้ง ไปเก็บผ้าตามกองขยะมาทำไตรจีวรนุ่งห่ม ทำให้เป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของบุคคลประเภทลูขัปปมาณิกา คือผู้ศรัทธาเลื่อมใสหนักไปทางใช้ชีวิตปอน ๆ นับว่าท่านได้เป็นกำลังสำคัญรูปหนึ่งในการประกาศพระศาสนาด้วยปฏิปทาปอน ๆ ของท่านทั้งในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ และเป็นทิฏฐานุคติแก่คนที่เกิดมาภายหลัง เมื่อท่านนิพพานไปแล้ว ๖. เอตทัคคะ พระโมฆราชเถระนี้ ตั้งแต่บวชในพระพุทธศาสนา ได้ใช้จีวรที่ปอนมาตลอด ต่อมาพระศาสดาประทับอยู่ที่พระเชตวัน ทรงตั้งพระเถระทั้งหลายไว้ในฐานันดรต่าง ๆ ได้ตั้งท่านไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรอันเศร้าหมองในศาสนาของพระองค์ ๗. บุญญาธิการ พระโมฆราชเถระ ได้สร้างสมคุณความดีที่เป็นเหตุแห่งนิพพานมาสิ้นกาลนาน ในสมัย พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ ได้เห็นพระศาสดาทรงตั้งภิกษุรูปหนึ่งไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรบังสุกุล จึงได้สร้างสมคุณความดีแลัวปรารถนาตำแหน่งนั้น ได้ทำบุญมาตลอดหลายพุทธันดร จนชาติสุดท้ายได้ถือกำเนิดเกิดในเรือนพราหมณ์ในพระนครสาวัตถี ก่อนที่พระทศพลของเราทั้งหลายจะเสด็จอุบัติ และได้ถึงฝั่งแห่งสาวกบารมีญาณตามปณิธานที่ได้ตั้งเอาไว้ดังกล่าวแล้ว ๘. ธรรมวาทะ เราได้ฟังพุทธพยากรณ์นั้นแล้ว ก็เบิกบานใจ ถวายบังคมพระพิชิตมารด้วยเศียรเกล้าทำแต่กรรมที่ดีงามในศาสนาของพระชินเจ้าตราบเท่าสิ้นชีวิต เพราะกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และเพราะการตั้งเจตน์จำนงเอาไว้ เราละร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพราะกรรมคือการเอาไฟเผาลนพื้นหอฉัน เราจึงถูกทุกขเวทนาเบียดเบียน ไหม้ในนรกพันปี ด้วยเศษกรรมนั้นที่ยังเหลือ เราเกิดเป็นมนุษย์ ต้องมีรอยตำหนิในร่างกายถึง ๕๐๐ ชาติ เพราะอำนาจของกรรมนั้น เราเป็นโรคเรื้อนอย่างหนัก เสวยมหันตทุกข์ถึง ๕๐๐ ชาติ ๙. นิพพาน พระโมฆราชเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตผลอันเป็นประธาน และได้ช่วยพระศาสดาประกาศพุทธศาสนาตามความสามารถแล้ว ก็ได้นิพพานไปตามสัจธรรมของชีวิต

สยามประเทศในปี 2511 ข้าพระองค์จะพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่เห็น พระศาสดาได้ตรัสตอบว่า ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวตนเสีย บุคคลพึงข้ามพ้นมัจจุราชไปได้ด้วยอุบายเช่นนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงจะไม่เห็น

สยามประเทศในปี 2511ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-เปลี่ยนแปลง-แล้วดับไปทั้งสิ้น ... เกิดขึ้นและดับไปอย่างบริสุทธิ์

รถรางวันสุดท้ายในกรุงเทพมหานคร 2511ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-เปลี่ยนแปลง-แล้วดับไปทั้งสิ้น ... เกิดขึ้นและดับไปอย่างบริสุทธิ์

ถ่สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ านไฟฉายตรากบ

โสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ฆษณาแป้งน้ำสมใจนึก ก้อง กำจาย

Pสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ apa -- Paul Anka -- Lyrics [Kara + Vietsub HD]

สุรชัย 3ช่าคอนเสริตคาราบาว 3ช่าเพลง : สุรชัยสามช่า ศิลปิน : แอ๊ด คาราบาว feat.หงา คาราวาน Karaoke ขนาดอักษร A A A A สีเนื้อร้อง Karaoke มาละเหวย มาละวา ตีกลองสามช่า สุรชัยจะร้องเพลง เพื่อนฉันเป็นลาว ตัวขาวน้อยมนมน ฐานะยากจน แต่เป็นคนน้ำใจไมตรี เนื้อตัวก็ใสสะอาด ขาวผ่องผาดสง่าราศี น้ำใจยิ่งดูเข้าที ก็เพราะมีความหวังตั้งใจ ∗ น้ำโขงไม่เคยขวางกั้น น้ำจันไม่คดโกงใคร น้ำใจสามัคคีเมื่อไร ยกจอกย้อมใจสัมพันธไมตรี เอ้า กรึ๊บ การารึบ กรึ๊บ กรึ๊บ น้ำโขงไม่เคย คั่นความสัมพันธ์ น้ำจันไม่เคย แบ่งชาติชนใด มาละเหวย มาละวา ตีกลองสามช่า สุรชัยจะร้องต่อ เพื่อนฉันเป็นญวน ชอบชวนฉันเล่นเปลไกว เพื่อนญวนฉลาดหัวไว สมองใสขยันการงาน ปลูกผักสวนครัวขายส่ง ฐานะมั่นคงไม่อดอาหาร สาวญวนยิ่งดูชื่นบาน มีชื่อมานาน ผิวนวล ผิวนวล ( ∗ ) เอ้า มาละเหวย มาละวา ตีกลองสามช่า สุรชัยจะโซโล่ น้ำโขงไม่เคยคิดแบ่ง เป็นกำแพงชนชาติชนชั้น น้ำโขงเมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์จะคล้องคอเธอ เพื่อนฉันขะแมร์ รักจริงไม่แพ้ลาวญวน น้ำคำคร่ำครวญ ชอบชักชวนร้องรำทำเพลง ทำนาประสาบ้านนอก ใส่เสื้อดอก ตะกรุดของขลัง สู้การสู้งานจริงจัง ไม่หักหลังคดโกงผู้ใด ไทยเขมรลาวญวน ชักชวนคบหากันไป แหลมอินโดจีนและไทย ใช่อื่นไกล เชื้อสายสัมพันธ์ น้ำโขงไม่เคยคิดแบ่ง เป็นกำแพงชนชาติชนชั้น น้ำโขง เมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์จะคล้องคอเธอ น้ำโขง เมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์ จะคล้องคอเธอ น้ำโขง เมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์ จะคล้องคอเธอ ไปละเหวย ไปละวา สุรชัย สามช่า ขออำลา ขอลาไปก่อน ไปละเหวย ไปละวา สุรชัย สามช่า ขออำลา ขอตัวไปก่อน

สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ สุรชัย 3ช่าคอนเสริตคาราบาว 3ช่า

สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ กระถางดอกไม้ให้คุณ คาราบาว

จสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ จดหมายถึงพ่อ อี๊ด ฟุตบาธ & Family

Aเขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะbba - SOS

เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะAbba - Mamma Mia

เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะThree Degrees - When Will I See You Again (1974) HQ 0815007

เข่ยาธาตูรู้ กูก็จะแพ่ง...Christie: Iron Horse

เข่ยาธาตูรู้ กูก็จะแพ่ง...Christie - Yellow River - 1970

เข่ยาธาตูรู้ กูก็จะแพ่ง...

Brownsville Station - Lightnin' Bar Blues

Tony Orlando - Lonely Tomorrows

Tony Orlando - Lonely Tomorrows

Tony Orlando and Dawn - Cupid

Tony Orlando and Dawn - Cupid

Helen Reddy - Music Is My LifeMusic Is My Life

วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องคหบดี ! ในบรรดากามโภคี (ฆราวาส) เหล่านั้น กามโภคีผู้ใด แสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด (เกินไปจนทรมานตน) ด้วย, ครั้นแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรมโดยไม่เครียดครัดแล้ว ทำตนให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำด้วย, แบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญด้วย, ไม่กำหนัด ไม่มัวเมาไม่ลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้นอยู่ด้วย; คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่ คือ :- ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่หนึ่ง ในข้อที่เขาแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สอง ในข้อที่เขาทำตนให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สาม ในข้อที่เขาแบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สี่ ในข้อที่เขาไม่กำหนัด ไมมั่วเมา ไมลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญา เป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้น. คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่เหล่านี้. คหบดี ! กามโภคีจำพวกนี้ เป็นกามโภคีชั้นเลิศ ชั้นประเสริฐ ชั้นหัวหน้า ชั้นสูงสุด ชั้นบวรกว่ากามโภคีทั้งหลาย, เปรียบเสมือนนมสดเกิดจากแม่โค นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส; หัวเนยใสปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดารสอันเกิดจากโคทั้งหลายเหล่านั้น, ข้อนี้ฉันใด; กามโภคีจำพวกนี้ ก็ปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดากามโภคีทั้งหลายเหล่านั้น ฉันนั้น แล. ทสก. อํ. ๒๔/๑๙๔/๙๑.

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคหบดี ! ในบรรดากามโภคี (ฆราวาส) เหล่านั้น กามโภคีผู้ใด แสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด (เกินไปจนทรมานตน) ด้วย, ครั้นแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรมโดยไม่เครียดครัดแล้ว ทำตนให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำด้วย, แบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญด้วย, ไม่กำหนัด ไม่มัวเมาไม่ลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้นอยู่ด้วย; คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่ คือ :- ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่หนึ่ง ในข้อที่เขาแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สอง ในข้อที่เขาทำตนให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สาม ในข้อที่เขาแบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สี่ ในข้อที่เขาไม่กำหนัด ไมมั่วเมา ไมลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญา เป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้น. คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่เหล่านี้. คหบดี ! กามโภคีจำพวกนี้ เป็นกามโภคีชั้นเลิศ ชั้นประเสริฐ ชั้นหัวหน้า ชั้นสูงสุด ชั้นบวรกว่ากามโภคีทั้งหลาย, เปรียบเสมือนนมสดเกิดจากแม่โค นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส; หัวเนยใสปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดารสอันเกิดจากโคทั้งหลายเหล่านั้น, ข้อนี้ฉันใด; กามโภคีจำพวกนี้ ก็ปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดากามโภคีทั้งหลายเหล่านั้น ฉันนั้น แล. ทสก. อํ. ๒๔/๑๙๔/๙๑.

มหาสุญญตาสูตร "ภิกษุ ท.! พวกภิกษุบริษัทในกรณีนี้, สุตตันตะเหล่าใด ที่กวีแต่งขึ้นใหม่เป็นคำร้อยกรองประเภทกาพย์กลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตรเป็นเรื่องแนวนอก เป็นคำกล่าวของสาวก เมื่อมีผู้นำสุตันตะเหล่านั้นมากล่าวอยู่เธอจักไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยหูฟัง ไม่ตั้งจิตเพื่อจะรู้ทั่วถึง และ จักไม่สำคัญว่าเป็นสิ่งที่ตนควรศึกษาเล่าเรียน." "ภิกษุ ท.! ส่วน สุตตันตะเหล่าใด ที่เป็นคำของตถาคต เป็นข้อความลึก มีความหมายซึ้ง เป็นชั้นโลกุตตระ ว่าเฉพาะด้วยเรื่องสุญญตา,เมื่อมีผู้นำสุตตันตะเหล่านั้นมากล่าวอยู่; เธอย่อมฟังด้วยดี ย่อมเงี่ยหูฟังย่อมตั้งจิตเพื่อจะรู้ทั่วถึง และย่อมสำคัญว่าเป็นสิ่งที่ตนควรศึกษาเล่าเรียนจึงพากันเล่าเรียน ไต่ถาม ทวนถามแก่กันและกันอยู่ว่า ข้อนี้เป็นอย่างไร ? มีความหมายกี่นัย ? ” ดังนี้. ด้วยการทำดังนี้ เธอย่อมเปิดธรรมที่ถูกปิดไว้ได้. ธรรมที่ยัง ไม่ปรากฏ เธอก็ทำให้ปรากฏได้, ความสงสัยในธรรมหลายประการที่น่าสงสัย เธอก็บรรเทาลงได้."

มหาสุญญตาสูตร ส่วนข้อที่ภิกษุเป็นผู้ผู้เดียว หลีกออกจากหมู่อยู่ พึงหวังเป็นผู้ได้สุขเกิดแต่เนกขัมมะ สุขเกิดแต่ความสงัด สุขเกิดแต่ความเข้าไป สงบ สุขเกิดแต่ความตรัสรู้ ตามความปรารถนา โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก นั่นเป็น ฐานะที่มีได้

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ จากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้. แสดงน้อยลง

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐพระสมณโคดมไม่บัญญัติความ กำหนดรู้กามทั้งหลาย ไม่บัญญัติความกำหนดรู้รูปทั้งหลาย ไม่บัญญัติความ กำหนดรู้เวทนาทั้งหลาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมบัญญัติความกำหนดรู้กาม ทั้งหลายด้วย ย่อมบัญญัติความกำหนดรู้รูปทั้งหลายด้วย ย่อมบัญญัติความกำหนด รู้เวทนาทั้งหลายด้วย เราเป็นผู้หายหิวแล้ว ดับแล้ว เย็นแล้ว ย่อมบัญญัติ อนุปาทาปรินิพพานในปัจจุบัน

วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

คาถาชนะมารเสียงสาธยายพระคาถาชนะกิเลสมารในตัวเราเองพาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต

วิปัจจิตัญญูบุคคล กุลบุตรได้ทำกิจที่ทำได้ยากเพรา­­ะความเคารพในเรา ละราชสมบัติเกินหนึ่งร้อยโยชน์ ไม่ถือเศษผ้า โดยที่สุดแม้คนผู้ให้น้ำบ้วนปาก ออกไปเพียงคนเดียว ดังนี้ ไม่ตรัสอะไรในพระเถระทั้งหลายมี­­พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป­็­นต้น พระองค์เองทรงถือบาตรและจีวรของ­­พระองค์ เสด็จออกไปเพียงพระองค์เดียว และเมื่อเสด็จไป ก็ไม่ได้ทรงเหาะไป ไม่ทรงย่นแผ่นดิน

ผู้สละโลก ผลงานของ ท่านอาจารย์ วศินอินทสระสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระอนุรุทธะอยู่ ที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์ ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกเร้นอยู่ ในที่ลับ เกิดความปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วย หมู่คณะ ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ของบุคคลผู้ มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคล ผู้มีจิตไม่มั่นคง ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ฯ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกทางใจของท่านพระอนุรุทธะ แล้ว เสด็จจากเภสกลามิคทายวัน แขวงสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ไป ปรากฏเฉพาะหน้าท่านอนุรุทธะที่วิหารปาจีนวังสทายวัน เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลัง เหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะ ที่จัดไว้ถวายแล้ว แม้ท่านพระอนุรุทธะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่าธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มี ปัญญาทราม ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอจงตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ ทำให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำ ให้เนิ่นช้า ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึก มหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตก วิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในการนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ในกาลใดแล เธอ จักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุ จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้มีปรกติได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่ง ฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุล จีวรจักปรากฏแก่เธอ ผู้สันโดษ อยู่ด้วยความยินดี ด้วยความไม่หวาดเสียว ด้วย ความอยู่เป็นสุข ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนหีบใส่ผ้าของคฤหบดี หรือบุตรแห่งคฤหบดี อันเต็มไปด้วยผ้าสีต่างๆ ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใด แล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน ปัจจุบัน ในกาลนั้น โภชนะ คือ คำข้าวที่ได้มาด้วยปลีแข้ง จักปรากฏแก่เธอผู้ สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนข้าวสุก (หุงจาก) ข้าวสาลี คัดเอาดำออกแล้ว มีแกงและกับหลายอย่าง ของคฤหบดีและบุตรแห่งคฤหบดี ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และ จักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิต ยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น เสนาสนะ คือ โคนไม้ จัก ปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเรือนยอด ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉาบทาไว้ดีแล้ว ปราศจากลม ลงลิ่มสลักมิด ชิด ปิดหน้าต่างสนิท ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริส- *วิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ที่นอน ที่นั่งอันลาดด้วยหญ้า จักปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนบัลลังก์ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี อันลาดด้วยผ้าโกเชาว์ขน ยาว ลาดด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยผ้าสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ มีเครื่องลาดอย่างดี ทำด้วยหนังชะมด มีเครื่องลาดเพดานแดง มีหมอนข้างแดงสองข้าง ฉะนั้น ดูกร อนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า จักปรากฏ แก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเภสัชต่างๆ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉะนั้น ฯ ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอพึงอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นี้แหละ ต่อไปอีกเถิด ท่านพระอนุรุทธะทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสสอนท่านพระอนุรุทธะด้วยพระโอวาทนี้แล้ว เสด็จจากวิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นคร ไปปรากฏที่ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคะ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่จัดไว้ถวายแล้ว ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาปุริสวิตก ๘ ประการ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มหาปุริสวิตก ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑ ธรรมนี้เป็นของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคล ผู้เกียจคร้าน ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของผู้มีสติหลงลืม ๑ ธรรมนี้ ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มี ปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบ ใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนา น้อยย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย เป็นผู้ สันโดษย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ ตั้งมั่นย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้าย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจ ในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ดังนี้ เรา อาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของ บุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อม แห่งกุศลธรรม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม ข้อที่ เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของ บุคคลผู้เกียจคร้าน ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง ระลึกนึกถึง กิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคล ผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและ ความดับ เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เรา อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น ข้อที่เรา กล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้ กล่าวแล้ว ฯ ครั้งนั้นแล ท่านพระอนุรุทธะอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้น เจดีย์นครนั้นนั่นแล ต่อไปอีก ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกจากหมู่อยู่ ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ไม่นานนัก ก็กระทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกบวชเป็นบรรพชิต โดยชอบต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติ สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ก็ท่านพระอนุรุทธะได้เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งในจำนวนพระ- *อรหันต์ทั้งหลาย ลำดับนั้น ท่านพระอนุรุทธะบรรลุอรหัตแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ไว้ ในเวลานั้นว่า พระศาสดาผู้เป็นเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดำริของเราแล้ว ได้เข้ามาหาเราด้วยฤทธิ์ทางพระกายอันสำเร็จแต่พระหฤทัย พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอันยิ่งกว่าความดำริของเราเท่าที่ดำริ ไว้ พระพุทธเจ้าผู้ยินดีแล้วในธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ได้ทรงแสดงซึ่งธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เราได้รู้ทั่วถึง ธรรมของพระองค์แล้ว ยินดีในศาสนาอยู่ เราได้บรรลุ วิชชา ๓ แล้วโดยลำดับ คำสอนของพระพุทธเจ้าเรา กระทำแล้ว ฯ

ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษเพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

จริยาของพระสกิทาคามีมรรคสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฎาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วจึงกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สิกขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้ ย่อมมาสู่อุเทศ (สวด) ทุกกึ่งเดือน ข้าพระองค์ไม่สามารถที่จะศึกษาในสิกขาบทเหล่านี้ พระเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า “ดูก่อนภิกษุ ! ก็เธอสามารถจะศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ ได้หรือ ?” ภิกษุวัชชีบุตรกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์สามารถจะศึกษาได้ในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ พระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุ ! เพราะฉะนั้นแล เธอจงศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ เมื่อใดเธอจักศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี จักศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และจักศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี เมื่อนั้น เมื่อเธอนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาอยู่ก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาอยู่ก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาอยู่ก็ดี จักละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เพราะละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เธอนั้นจักไม่กระทำกรรมอันเป็นอกุศล จักไม่เสพกรรมที่เป็นบาป” ครั้นสมัยต่อมา ภิกษุนั้นศึกษาแล้ว ทั้งอธิศีลสิกขา ทั้งอธิจิตตสิกขา และทั้งอธิปัญญาสิกขา เมื่อภิกษุนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี ย่อมละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว เพราะละราคะ โทสะ และ โมหะเสียได้ เธอมิได้ทำกรรมที่เป็นอกุศล มิได้เสพกรรมที่เป็นบาป ฯ วัชชีปุตตสูตร ๒๐/๒๖๐

PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI POWER MODULEจำหน่าย Power Module สำหรับ ซ่อม สร้าง เครื่อง ปรับรอบมอเตอร์ สามเฟส หนึ่งแรงมัา โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวและรับ ซ่อม แผงวงจร เครื่องควบคุม ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ติดต่อที่ 02-951-1356 081-803-6553

กราบนมัสการพระบรมสารีริกธาตุที่สารนาถครับสังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ

วุตโตทัย หมายถึง แหล่งกำเนิดของคาถา เป็นฉันทลักษณ์บาลีฉบับแรกซึ่งเป็นที่นิยมศึกษาท่องจำมากที่สุด ท่านผู้ประพันธ์คัมภีร์นี้คือ พระสังฆรักขิต บุคคลผู้ใดซึ่งถึงไตรสรณะ ย่อมหลุดพ้นทุกข์ในวัฏฏสงสาร ที่พึ่งอันชื่นเช่นท้าวพระยามหาเสนาบดีจักให้หลุดพ้นจากทุกข์ในวัฏฏสงสารหามิได้ เหตุนั้นผู้รู้แล้วด้วยประการดังนี้ พึงถึงซึ่งไตรสรณะเป็นที่พึ่งแก่ตนเพราะวิเศษยิ่งกว่าที่พึ่งอันอื่น

ความประพฤติของพระโพธิสัตว์ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของ พระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันใน ที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคย กันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมือง คือ พระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิทไม่มีภัย ที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว

คาถาของพระอิสิทาสีเถรีวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

เจริญสติเพื่อความสิ้นแห่งทุกข์วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

เส้นทางแห่งความบริสุทธิ์หลุดพ้นวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

โอวาทพระอานนท์เถระวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์

วันทา (บทขอขมา) วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

วันทา (บทขอขมา) วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

สมาธิ สมถะ วิปัสสนา หลวงพ่อฤาษีวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วิธีสร้างความผ่องใสให้กับจิตใจถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

วิธีระงับความฟุ้งซ่านของจิตถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟังถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

"เมื่อคืนปลุกเสกพระหมาไม่หอน งวดนี้ไม่ให้หมาเห็น เพราะ 2งวดก่อนมาให้หมาเห็นเห่ากันเจี๊ยวจ๊าว รุ่นนี้แอบไม่ให้หมาเห็น เมื่อคืนปลุกเสกรุ่นยันกลับ (ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด)"

ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีสร้างเครื่่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าโดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว วิธีสร้างเครื่่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่่งแรงม้า 220/380 โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว220เป็นวงจรที่ใช้ในแอร์อินเวอร์เตอร์ครับ.ตัวที่เสียในแอร์อินเวอร์เตอร์..ส่วนใหญ่ คือ POWER MODULE. ที่ใช้ขับมอเตอร์..สามเฟส ที่ใช้ขับคอมเพรสเซอร์ครับ เบอร์ที่ผมมีจำหน่าย มีหลายเบอร์ครับ..เช่น TM32A TL105C ส่วนเบอร์เก่า TM31T TM35 TM39 ให้ใช้ TM52A แทนได้ครับ.. จำหน่าย PS21244-E. INTEGRATED POWER FUNCTIONS. 4th generation (planar) IGBT inverter bridge for 3 phase. DC-to-AC power conversion. APPLICATION ราคาตัวละ 500 บาทครับ.. 6DI15S-050D 6DI15S-050C MP6501A POWER TRANSISTOR MODULE ราคาตัวละ 500 บาท...mrsompongt@hotmail.com 02-9511356 081-8036553

ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ.อนุโมทนาวิธี อนุโมทนารัมภคาถา ยะถา วาริวะหา ปูราปะริปูเรนติ สาคะรัง, ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสมุทร สาครให้บริบูรณ์ได้ฉันใด, เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ, ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วในโลกนี้, ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ฉันนั้น, อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง, ขออิฏฐะผลที่ท่านปรารถนาแล้ว ตั้งใจแล้ว, ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ, จงสำเร็จโดยฉับพลัน, สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา, ขอความดำริทั้งปวงจงเต็มที่, จันโท ปัณณะระโส ยะถา, เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญ, มะณิ โชติระโส ยะถา, เหมือนแก้วมณี อันสว่างไสวควรยินดี, สามัญญานุโมทนาวิธี สัพพีติโย วิวัชชันตุ, ความจัญไรทั้งปวงจงบำราศไป, สัพพะโรโค วินัสสะตุ, โรคทั้งปวงของท่านจงหาย, มา เต ภะวัตวันตะราโย, อันตรายอย่ามีแก่ท่าน, สุขี ทีฆายุโก ภะวะ, ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุยืน, อภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง. พรสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจริญแก่บุคคล, ผู้มีปกติไหว้กราบ มีปกติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ เป็นนิตย์ ด้วยประการฉะนี้แล. อัคคัปปสาทสุตตคาถา อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง, เมื่อบุคคลรู้จักธรรมอันเลิศ เลื่อมใสแล้วโดยความเป็นของเลิศ, อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ, ทักขิเณยเย อะนุตตะเร, ซึ่งเป็นทักษิเณยยะบุคคลอันเยี่ยมยอด, อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระธรรมอันเลิศ, วิราคูปะสะเม สุเข, ซึ่งเป็นธรรมปราศจากกามะราคะ สงบระงับ เป็นสุข, อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระสงฆ์ ผู้เลิศ, ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร, ซึ่งเป็นบุญญะเขตอย่างยอดเยี่ยม, อัคคัส๎มิง ทานัง ทะทะตัง, ถวายทานในท่านผู้เลิศ, อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, บุญที่เลิศย่อมเจริญ, อังคัง อายุ จะ วัณโณ จะ, อายุ วรรณะที่เลิศ, ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง, และยศเกียรติคุณ สุขะ พละ ที่เลิศย่อมเจริญ, อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี, ผู้มีปัญญาตั้งมั่นในธรรมอันเลิศ, อัคคะธัมมะสะมาหิโต, และให้ทานแก่ท่านผู้มีธรรมอันเลิศ, เทวะ ภูโต มะนุสโส วา, จะไปเกิดเป็นเทวดา หรือเป็นมนุษย์ก็ตาม, อัคคัปปัตโต ปะโมทะตี ติ. ย่อมถึงความเป็นผู้เลิศอันบันเทิง, อยู่ดังนี้แล. ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาคคาถา อะทาสิ เม อะกาสิ เม, ญาติมิตตา สะขา จะ เม เปตานัง ทักขิณัง, ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง, บุคคลมาระลึก ถึงอุปการะ, อันท่านได้ทำแล้วแก่ตน, ในกาลก่อนว่าผู้นี้ให้สิ่งนี้แก่เรา, ผู้นี้ได้ทำกิจนี้ของเรา, ให้แก่เรา, ผู้นี้เป็นญาติเป็นมิตรของเราดังนี้, ก็ควรให้ทักษิณาทาน, เพื่อผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้ว, นะ หิ รุณณัง วา โสโก วายาวัญญา ปะริเทวะนา, การร้องไห้ก็ดี, การเศร้าโศกก็ดี, หรือร่ำไรรำพันอย่างอื่นก็ดี, บุคคลไม่ควรทำทีเดียว, นะ ตัง เปตานะมัตถายะ, เพราะว่าการร้องไห้ เป็นต้นนั้น, ไม่เป็นประโยชน์ แก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย, ญาติทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ อย่างนั้น, อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา, ก็ทักษิณานุปาทานนี้, แลอันท่านให้แล้ว, สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ประดิษฐานไว้ดีแล้วในสงฆ์, ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ, ย่อมสำเร็จประโยชน์เกื้อกูล แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วนั้น, ตลอดกาลนานตามฐานะ, โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต, ญาติธรรมนี้นั้น, ท่านได้แสดง, ให้ปรากฏแล้วแก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา, แลบูชาอย่างยิ่ง, ท่านก็ได้ทำแล้วแก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง, กำลังแห่งท่านภิกษุทั้งหลายชื่อว่าท่านได้เพิ่มให้แล้วด้วย, ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ. ด้วยบุญไม่น้อย, ท่านได้ขวนขวายแล้วดังนี้. โภชะนะทานุโมทะนาคาถา อายุโท พะละโท ธีโร, ผู้มีปัญญาให้อายุให้กำลัง, วัณณะโท ปะฏิภาณะโท, ให้วรรณะ ให้ปฏิภาณ, สุขัสสะ ทาตา เมธาวี, ผู้มีปัญญา ให้ความสุข, สุขัง โส อะธิคัจฉะติ, ย่อมได้ประสบสุข, อายุง ทัต๎วา พะลัง วัณณัง สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท, บุคคลผู้ให้อายุ พละ วรรณะ สุข และ ปฏิภาณ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปัชชะตีติ. ไปเกิดในที่ใดๆ, ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน, มียศในที่นั้นๆ ดังนี้. สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะโรคะวินิมุตโต, จงพ้นจากสรรพโรคทั้งปวง, สัพพะ สันตา ปะวัชชิโต, จงเว้นจาก ความเดือดร้อนทั้งปวง, สัพพะ เวระ มะติกกันโต, จงล่วงเสียซึ่งเวรทั้งปวง, นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ, จงดับเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวงแก่ท่านทั้งหลาย, ................................................................................................................................... สัจเจนะ จะ, ด้วยสัจจะก็ดี, สีเลนะ จะ, ด้วยศีลก็ดี, ขันติเมตตา พะเลนะ จะ, ด้วยกำลังแห่งขันติ และเมตตาก็ดี, เตสัง พุทธานัง, แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย, อะนุรักขันตุ, (เต,) จงรักษาท่าน, อะโรคะเยนะ จะ, ด้วยสภาวะหาโรคมิได้ก็ดี, สุเขนะ จะ, ด้วยความสุขก็ดี, โหนฺตุ เต. จงมีแก่ท่านทั้งหลาย ทุกเมื่อ เทอญ. โส อัตถะลัทโธ โส อัตถะลัทโธ สุขิโต, ท่านชาย จงเป็นผู้มีประโยชน์ อันได้แล้ว ถึงแล้วซึ่งความสุข, วิรุฬโห พุทธะสาสะเน, เจริญในพระพุทธศาสนา, อะโรโค สุขิโต โหหิ, ไม่มีโรคถึงแล้วซึ่งความสุข, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ, พร้อมกับด้วยญาติทั้งหลาย, สา อัตถะลัทธา สุขิตา, ท่านหญิง จงเป็นผู้มีประโยชน์ อันได้แล้ว ถึงแล้วซึ่งความสุข, วิรุฬหา พุทธะสาสะเน, เจริญในพระพุทธศาสนา, อะโรคา สุขิตา โหหิ, ไม่มีโรคถึงแล้วซึ่งความสุข, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ, พร้อมกับด้วยญาติทั้งหลาย, เต อัตถะลัทธา สุขิตา, ท่านทั้งหลาย ทั้งชายและหญิง, จงเป็นผู้มีประโยชน์อันได้แล้วถึงแล้วซึ่งความสุข, วิรุฬหา พุทธะสาสะเน, เจริญในพระพุทธศาสนา, อะโรคา สุขิตา โหถะ, ไม่มีโรคถึงแล้วซึ่งความสุข, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ. พร้อมกับด้วยญาติทั้งหลายทั้งชายและหญิง, จงรักษาศีลให้บริบูรณ์. กาลทานสุตตะคาถา กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญญู วีตะมัจฉะรา, นรชนผู้มีปัญญาประกอบ ด้วยศรัทธา เป็นอันดี, มีตระหนี่อันปราศไปแล้ว ได้บริจาคทาน, ในกาลเมื่อปฏิคาหกขัดสนมีความปรารถนา เช่นนี้, กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิสุ, ทานที่ท่านผู้บริจาคได้ให้แล้วในพระอริยเจ้าทั้งหลาย ผู้ปฏิบัติซื่อตรงด้วยดีต่อธรรมวินัยอยู่เสมอ, ไม่เสื่อมจากคุณที่ได้แล้ว, วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา, ทานเครื่องเจริญความสุขของท่านผู้นั้น, เป็นของที่บุคคลทั้งหลาย ควรมีใจชื่นชมยินดี, เพราะว่าเป็นทักษิณาทาน, ที่เต็มไปด้วยวิบากกรรม สมบัติอันพิเศษไพบูลย์ยิ่งนัก, เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา, ชนทั้งหลายที่มิใช่เจ้าของทาน, เป็นแต่มีความยินดี, ร่าเริงบันเทิงจิตตามในกองทานนั้นก็ดี, และบุคคลที่ช่วยกระทำการขวนขวายในทานนั้นก็ดี, นะ เตนะ ทักขิณา โอนา เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน, ย่อมเป็นผู้ได้ส่วนบุญด้วยอนุโมทนามัย, แลไวยาวัจมัยในทานนั้น, ส่วนทักษิณาทานนั้นเล่าก็มิได้บกพร่องไปด้วยเหตุนั้น, ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะ จิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง, ดังนั้น บัณฑิตชนผู้มีศรัทธามั่น,พึงทำความยินดีในทักษิณาทาน, ที่ตนได้บริจาคแล้วนั้นเถิด, เพราะว่า ผลของทานนั้นใหญ่หลวงยิ่งนัก, ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ. ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย, กุศลบุญที่ท่านทั้งหลายได้ทำไว้แล้วนั้น, ย่อมเป็นที่พึ่งแห่งท่านทั้งหลาย, ในโลกเบื้องหน้าดังนี้แล. ทานานุโมทนาคาถา อันนัง ปานัง วัตถัง ยานัง มาลา คันธัง วิเลปะนัง เสยยาวะสะถัง ปะทีเปยยัง ทานาวัตถู อิเม ทะสะ, ทานวัตถุ ๑๐ อย่างเหล่านี้ คือข้าว, น้ำ, ผ้า, ยานพาหนะ, ระเบียบ ดอกไม้, ของหอม, เครื่องลูบไล้, ที่นอน, ที่พักอาศัย และเครื่องประทีป, อันนะโท พะละโท โหติ, ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง, วัตถะโท โหติ วัณณะโท, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้วรรณะ, ยานะโท สุขะโท โหติ, ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ทีปะโท โหติ จักขุโท, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้ดวงตา, มะนาปะทายี ละภะเต มะนาปัง, ผู้ให้ของที่พอใจ ย่อมได้ของที่พอใจ, อัคคัสสะ ทาตา ละภะเต ปุนัคคัง, ผู้ให้วัตถุอันเลิศย่อมได้วัตถุอันเลิศ, วะรัสสะ ทาตา วะระลาภิ โหติ, ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี, เสฏฐันทะโท เสฏฐะมุเปติ ฐานัง, ผู้ให้ฐานะอันประเสริฐ ย่อมเข้าถึงฐานะอันประเสริฐ, อัคคะทายี วะระทายี เสฏฐะทายี จะ โย นะโร, นรชนใดให้ของที่เลิศให้ของที่ดีและให้ฐานะอันประเสริฐ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปัชชะตี ติ, นรชนนั้น ไปเกิดในที่ใดๆ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศ ในที่นั้นๆ, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, ด้วยสัจจะวาจาภาษิตนี้, สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา อาโรคิยะสุขัญเจวะ กุสะลัญจะ อะนามะยัง. ขอความสุข ความสวัสดี ความไม่มีโรค และอนามัยเป็นอันดี จงมีแก่ท่านทั้งหลายทุกเมื่อ. ................................................................................................................................... สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ ขอผลทั้งนี้ จงเป็นผลสำเร็จ สิทธะมัตถุ อิทัง ผะลัง จงเป็นผลสำเร็จ จงเป็นผลสำเร็จ เอตัส๎มิง ระตะนัตตะ ยัส๎มิง สัมปะสาทะ นะเจตะโส. แก่ท่านผู้มีใจเลื่อมใสในพระรัตนตรัยนั้นเทอญ. สุภาษิตคาถา สาธุรูโป จะปาสังโส ท๎วารัตตะเยนะ สัจจะวา, ผู้มีความสัตย์ ด้วยทวารทั้งสาม, ครบทั้งกาย วาจา ใจ ดีจริง ควรสรรเสริญ, ฉันโท จะวิริยัง จิตตัง วิมังสา จาตถะสาธิกา, ความชอบใจอยากทำหนึ่ง ความเพียรหนึ่ง, จิตที่ดีหนึ่ง ปัญญาที่รู้เลือกเฟ้นหนึ่ง, ทั้งสี่สิ่งนี้ให้ประโยชน์นั้นๆ สำเร็จทุกกิจการ, ทะทายะ อิริตา วาจา, วาจาที่บุคคลกล่าวด้วยเอ็นดูกรุณา, โสตุนา อะนุการินา, ควรที่ผู้ฟังจะทำตาม, โสตูหิ อะนุกาตัพพา เมตตะ จิตเตนะภาสิตา, วาจาที่ผู้มีจิตเมตตากล่าว, ผู้ฟังทั้งหลายพึงทำตาม, โสตูหิ สุฏฐุ โสตัพพา อัตถะกาเมนะ ภาสิตา, วาจาที่ผู้ปรารถนาประโยชน์กล่าว, ผู้ฟังพึงฟังให้ดี โดยเคารพเถิด, กะตัสสะ นัตถิ ปะฏิการัง, สิ่งที่ตนทำแล้วจะทำคืนไม่ได้, ปะเควะตัง ปะริกขิตัง, ให้ผู้จะทำ พิจารณาเสียก่อนจึงทำ, อะวิจินติยะกะตัง กัมมัง, กรรมที่บุคคลไม่ได้คิดแล้วทำ, ปัจฉาตาปายะ วัตตะเต, เป็นไปเพื่อเดือดร้อนเมื่อภายหลัง, กะยิรา เจ กะยิราเถนัง, ถ้าจะทำแล้วก็ให้ทำจริงๆ จึงจะดี, เอวันตัง ตัง สะมิชฌะติ, อย่างนี้กิจนั้นนั้น ก็จะสำเร็จได้โดยประสงค์, รักเขยยะ อัตตะโน สาธุง, ให้รักษาคุณความดีของตนไว้, ละวะณัง โลณะตัง ยะถา, ดังเกลือรักษาความเค็ม ของเกลือไว้, สัมมาปะฏิเวกขิต๎วา ตังตัง กะเรยยะอิสสะโร, คนใหญ่ให้พิจารณาให้ดีให้ชอบเสียก่อน, จึงค่อยทำกิจการนั้นๆ, กะเรยยัง กิญจิ ปาสังสัง, จะทำอะไรให้ผู้รู้ชมสรรเสริญ, เอวัง โนสสานุตัปปะนัง, อย่างนี้จึงจะไม่มีความร้อนใจเมื่อภายหลัง, สัมมุขา ยาทิสัง จิณณัง, ต่อหน้าคนประพฤติเช่นไร, ปะรัมมุขาปิ ตาทิสัง, ถึงลับหลังคนก็ให้ประพฤติเช่นนั้น, ภูมิเว สาธุรูปานัง กะตัญญู กะตะเวทิตา, ความเป็นผู้กตัญญูกตเวทีเป็นพื้นของคนดีทั้งหลายในโลก, สุทาชชะโว อะโนลิโน, ผู้ซื่อตรงดีไม่ท้อถอย, กุพพัง ปะรัมมุขา อะปิ, เมื่อทำกิจการแม้ ณ ที่ลับหลัง, รักขะมาโน สะโต รักเข, ผู้จะรักษาให้มีสติระวังรักษา, อัปปัต โตโน จะ อุลละเป, อนึ่ง เมื่อยังไม่ถึงอย่าพึงพูดอวด, อัตตาหิ อัตตะโน นาโถ, ตนเป็นที่พึ่งของตน, โกหิ นาโถ ปะโร สิยา, ใครผู้อื่นจะเป็นที่พึ่งแก่ตนได้, ปะฏิกัจเจวะตัง กะยิรา ยังชัญญา หิตะมัต ตะโน, ถ้ารู้ว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์แก่ตนแล้ว, พึงทำกิจนั้นๆ แต่เดิมทีเดียว, สะทัตถะ ปะสุโต สิยา, พึงเป็นผู้ขวนขวายในประโยชน์ของตนเถิด, สะทัตถะ ปะระมา อัตถา, ประโยชน์ทั้งหลาย มีประโยชน์ของตนเป็นอย่างยิ่ง, ขันตะยาภิยโย นะ วิชชะติ, สิ่งอื่นๆ ไม่มียิ่งกว่าขันติความอดทน, สามัญเญ สะมะโณ ติฏเฐ, ตนเป็นสมณะ พึงตั้งอยู่ในธรรมของสมณะ, ปูเรยยะ ธัมมะมัตตะโน, พึงบำเพ็ญธรรมของตนๆ ให้บริบูรณ์เถิด, อุจโจหิ อุจจะตัง รักขัง, ตนเป็นคนสูง ให้รักษาความสูงของตนไว้, คุณะวา จาตตะโน คุณัง, ผู้มีคุณความดีให้รักษาคุณความดีของตนไว้ให้ดี, สาธุโข ทุลละโภ โลเก, คุณความดีหายากยิ่งนักในโลก, อะสาธุ สุละโภ สะทา. สิ่งที่ไม่ดีไม่ชอบหาง่ายทุกเมื่อ. มงคลจักรวาลน้อย สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง, ติณณังระตะนานัง อานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนะสามคือ, พุทธรัตนะ ธัมมะรัตนะ สังฆรัตนะ, จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์ ๘ หมื่น ๔ พัน, ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระไตรปิฎก, ด้วยอานุภาพแห่งพระสาวกของพระชินเจ้า, สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต ภะยา, สรรพโรคทั้งหลายของท่าน, สรรพภัยทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปัททะวา, สรรพอันตรายทั้งหลายของท่าน, สรรพอุปัทวะ ทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต อะวะมังคะลา, สรรพนิมิตร้ายทั้งหลายของท่าน, สรรพอวมงคลทั้งหลายของท่าน, วินัสสันตุ, จงพินาศไป, อายุวัฑฒะโก ธะนะวัฑฒะโก, ความเจริญอายุ ความเจริญทรัพย์, สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก, ความเจริญสิริ ความเจริญยศ, พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก, ความเจริญกำลัง ความเจริญวรรณะ, สุขะวัฑฒะโก โหนตุ สัพพะทา, ความเจริญสุข จงมีแก่ท่านในกาลทั้งปวง, ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัท๎วา, ทุกข์โรคภัยและเวรทั้งหลาย, ความโศก ศัตรู และอุปัทวะทั้งหลาย, อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา, ทั้งอันตรายทั้งหลายเป็นอเนก, จงพินาศไปด้วยเดชะ, ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง, ความชนะ ความสำเร็จ ทรัพย์และลาภ, โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง, ความสวัสดี ความมีโชค ความสุขมีกำลัง, สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา, สิริ อายุ วรรณะ โภคะ, ความเจริญ และความเป็นผู้มียศ, สะตะวัสสา จะ อายู จะ, แลอายุยืนร้อยปี, ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต. ความสำเร็จกิจ ในความเป็นอยู่ จงมีแก่ท่าน. สัพพะพุทธานุภาเวนะ (ย่อ) สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ขอความสวัสดีทั้งหลาย, จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ. ภะวะตุ สัพ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน, รักขันตุ สัพพะเทวะตา, ขอเหล่าเทวดา จงรักษาท่าน, สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ขอความสวัสดีทั้งหลาย, จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ. ปัจฉิมพุทธโอวาทปาฐะ หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยา มิโว, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้, เราขอเตือนท่านทั้งหลายว่า, วะยะธัมมา สังขารา, สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา, อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ท่านทั้งหลาย, จงทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด, อะยังตะถาคะตัสสะ ปัจฉิมา วาจา. นี่เป็นวาจามีในครั้งสุด ท้ายของพระตถาคตเจ้า

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับ สามารถเมตตาได้กระทั่งตัวเองไปจนถึงขอบปากของจักรวาลก็ยังได้" ฉะนั้นในทางพระพุทธศาสนาจึงมีลักษณะจิตของพระอรหันต์อยู่อย่างหนึ่งว่า พระอรหันต์เป็นผู้ที่มี " วิมริยาทิกตจิต ผู้ที่เปี่ยมด้วยพลังแห่งเมตตานี้ในขั้นสมบูรณ์ที่สุดคือพระอรหันต์ จะมีภาวะจิตอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “วิมริยาทิกตจิต” คือ จิตใจไร้พรมแดน ซึ่งหมายถึง .. วิมริยาทิกตํ จิตฺตํ ความว่า จิตของเราอันเรากระทำให้มี ที่สุดไปปราศแล้ว คือให้ถึงความไม่ต้องเกิดต่อไปเป็นธรรมดา อธิบายว่า เพราะเหตุนั้นแล จิตของเราจักดับอยู่ในภพนี้เอง

พระเจ้าปุกกุสาติพระปุกกุสาติ ท่านเป็นชาวแคว้นคันธาระโดยกำเนิด เรื่องราว ของท่านดังนี้ สถานะเดิม เกิดในราชตระกูลในกรุงตักกสิลา เป็นพระราชาพระนามว่า ปุกกุสาติ การออกบวช ออกบวชอุทิศแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่พระปุกกุสาติไม่รู้จักพระผู้มีพระภาคเจ้ามาก่อน สาเหตุที่ออกบวชเพราะเลื่อมใสในกิตติศัพท์อันงามที่ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ การบรรลุธรรม สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อ ภัคควะ ยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า "ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" นายภัคควะทูลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด" สำหรับบรรพชิตที่พักอยู่ก่อนแล้วก็คือท่านปุกกุสาตินั่นเอง ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด" เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง" ต่อนั้นพระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น" พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้นประทับอยู่ที่ไหน ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือเดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ" พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถามต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา" ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า "ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ" ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงธรรมจบลง ท่านปุกกุสาติได้บรรลุอนาคามิผลและทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษให้ ครั้นแล้วท่านปุกกุสาติก็ขอบวชในพระพุทธศาสนา แต่พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ" พระพุทธองค์จึงตรัสต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย" ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้วหลีกไปหาบาตรและจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรและจีวรอยู่นั่นเอง บั้นปลายชีวิต หลังจากบรรลุอนาคามิผลแล้วได้ไม่ถึงวันก็สิ้นชีพโดยถูกแม่โคตัวเดียวกับที่ขวิดท่านพระพาหิยะขวิดตายขณะที่ท่านกำลังแสวงหาบาตรและจีวร ทั้งนี้ด้วยเป็นเพราะบาปกรรมเก่าในอดีตชาติตามมาให้ผล กรรมเก่านั้น คือ ท่านร่วมกับเพื่อนลวงโสเภณีนางหนึ่งไปฆ่าชิงทรัพย์ เรื่องมีว่า ในชาตินั้นท่านเกิดเป็นเพื่อนกับลูกเศรษฐี วันหนึ่งท่านได้ร่วมกับพวกและบุตรเศรษฐี ๓ คนรวมท่านด้วยเป็น ๔ คน ได้ว่าจ้างโสเภณีนางหนึ่งไปหาความสุขสำราญกันในสวน ซึ่งเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจด้วยราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ ตกเย็นครั้นจ่ายค่าตัวให้นางแล้ว รู้สึกเสียดายจึงวางแผนฆ่านางทิ้งแล้วชิงเอาเงินคืนพร้อมทั้งปลดเอาเครื่องประดับในตัวนางไปด้วย ฝ่ายโสเภณีเมื่อรู้ว่าจะถูกฆ่าแน่ ทั้งที่ตัวเองไม่มีความผิด ก็อ้อนวอนขอชีวิต แต่ก็ไร้ผล ก่อนจะสิ้นชีวิต นางได้ตั้งจิตอธิษฐาน ขอให้ได้ฆ่าคนเหล่านั้นเป็นการแก้แค้นบ้างในชาติหน้า แรงอาฆาตทำให้นางไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายพระปุกกุสาติและเพื่อนอีก ๓ คนนั้น เวียนว่ายตายเกิดและตกนรกเพราะกรรมนั้นส่งผล แล้วมาในชาตินี้พระปุกกุสาติก็มาเกิดเป็นมนุษย์ นางยักษิณีอดีตโสเภณีจึงได้แปลงเป็นแม่โคมาขวิดตายหมดทุกคน โดยเพื่อนของท่าน ๓ คน คือ ท่านพระพาหิยะทารุจิริยะ เพชฌฆาตตัมพทาฐิกะ (โจรเคราแดง) และ สุปปพุทธกุฏฐิ (ชายขอทานขี้เรื้อน) เอตทัคคะ-อดีตชาติ ท่านไม่ได้ตำแหน่งเอตทัคคะใดๆ และยังต้องบำเพ็ญกิจของพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ เพื่อบรรลุอรหัตผลที่พรหมโลกชั้นปัญจสุทธาวาส ชาติที่ท่านพบพระพุทธเจ้ากัสสปะนั้น หลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสปะเสด็จดับขันธปรินิพพานได้นานแล้ว ช่วงเวลาที่พระพุทธศาสนากำลังใกล้สูญสิ้นไปจากโลก ท่านได้ออกบวชและได้เห็นพุทธบริษัท ๔ เป็นจำนวนมากต่างทอดทิ้งพระธรรมคำสอน จึงเกิดความสลดใจ ท่านพร้อมกับเพื่อนพระอีก ๖ รูป (รวมเป็น ๗ รูป) คิดว่า ตราบใดที่พระศาสนายังไม่เสื่อมสิ้นไป พวกเราจงเป็นที่พึ่งแก่ตนเองเถิด จึงพากันไปสักการะพระสุวรรณเจดีย์สูงหนึ่งโยชน์ที่มหาชนได้ร่วมกันสร้างเมื่อครั้งพระกัสสปพุทธเจ้าทรงปรินิพพานแล้ว ได้มองเห็นภูเขาสูงชันลูกหนึ่ง จึงชวนกันขึ้นไปปฏิบัติธรรมอยู่บนภูเขาลูกนั้น โดยตั้งใจว่าถ้าไม่สำเร็จมรรคผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะยอมสิ้นชีวิตอยู่บนนั้น แล้วจึงตัดไม้ไผ่มาทำเป็นพะอง (บันไดไม้) เพื่อปีนป่ายขึ้นไปตามหน้าผาของภูเขานั้น เมื่อทั้งหมดพากันขึ้นไปยังยอดสูงของภูเขาลูกนั้นแล้ว ก็ผลักพะองให้ตกหน้าผาไปเพื่อไม่ให้มีทางกลับลงมาได้ แล้วต่างก็บำเพ็ญสมณธรรมอยู่บนนั้น ในบรรดาภิกษุทั้ง ๗ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้อาวุโสสูงสุด ก็ได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยอภิญญา ๖ ในคืนนั้นเอง ครั้นรุ่งเช้าพระมหาเถระจึงเหาะไปสู่ หิมวันตประเทศด้วยฤทธิ์ ล้างหน้าที่สระอโนดาต เที่ยวไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีป ฉันอาหารเสร็จแล้วได้ไปยังที่อื่นต่อไป ได้ภัตตาหารเต็มบาตรแล้ว เอาน้ำที่ สระอโนดาตล้างหน้าแล้วและเคี้ยวไม้สีฟันชื่อ อนาคลดา แล้วจึงนำภัตและสิ่งของเหล่านั้นมายังพระภิกษุเหล่านั้นที่ยังไม่บรรลุธรรมอันวิเศษ แล้วกล่าวว่า อาวุโส ทั้งหลาย บิณฑบาตนี้ผมนำมาจากแคว้นอุตรกุรุ น้ำและไม้สีฟันนี้นำมาจากหิมวันตประเทศ ท่านทั้งหลายจงฉันภัตตาหารนี้บำเพ็ญ สมณธรรมเถิด ผมจะอุปัฏฐากพวกท่านอย่างนี้ตลอดไป ภิกษุเหล่านั้นได้ฟัง แล้วจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ พระคุณเจ้าทำกิจเสร็จแล้ว พวกกระผม แม้เพียงสนทนากับพระคุณเจ้าก็เสียเวลาอยู่แล้ว บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าอย่ามาหา พวกกระผมอีกเลย พระมหาเถระนั้นเมื่อไม่สามารถจะให้ภิกษุเหล่านั้นยินยอม ได้โดยวิธีใด ๆ ก็หลีกไป แต่นั้นบรรดาภิกษุเหล่านั้นรูปหนึ่ง โดยล่วงไป ๒-๓ วันได้เป็น พระอนาคามีได้อภิญญา ๕ ภิกษุนั้นก็ได้ทำเหมือนอย่างเช่นที่พระเถระที่บรรลุพระอรหัตทำเหมือนกัน ครั้นถูกภิกษุที่เหลือที่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ ห้าม ก็กลับไปเช่นเดียวกัน ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษใด ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา จนมาถึงพุทธุปบาทกาลของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน (พระพุทธเจ้าโคดม) ทั้งหมดนั้นได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั่นเอง วาจานุสรณ์ ไม่มีกล่าววาจาใดไว้เป็นอนุสรณ์เพราะด่วนสิ้นชีวิต

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานพระปุกกุสาติ ท่านเป็นชาวแคว้นคันธาระโดยกำเนิด เรื่องราว ของท่านดังนี้ สถานะเดิม เกิดในราชตระกูลในกรุงตักกสิลา เป็นพระราชาพระนามว่า ปุกกุสาติ การออกบวช ออกบวชอุทิศแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่พระปุกกุสาติไม่รู้จักพระผู้มีพระภาคเจ้ามาก่อน สาเหตุที่ออกบวชเพราะเลื่อมใสในกิตติศัพท์อันงามที่ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ การบรรลุธรรม สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อ ภัคควะ ยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า "ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" นายภัคควะทูลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด" สำหรับบรรพชิตที่พักอยู่ก่อนแล้วก็คือท่านปุกกุสาตินั่นเอง ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด" เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง" ต่อนั้นพระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น" พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้นประทับอยู่ที่ไหน ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือเดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ" พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถามต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา" ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า "ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ" ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงธรรมจบลง ท่านปุกกุสาติได้บรรลุอนาคามิผลและทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษให้ ครั้นแล้วท่านปุกกุสาติก็ขอบวชในพระพุทธศาสนา แต่พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ" พระพุทธองค์จึงตรัสต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย" ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้วหลีกไปหาบาตรและจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรและจีวรอยู่นั่นเอง บั้นปลายชีวิต หลังจากบรรลุอนาคามิผลแล้วได้ไม่ถึงวันก็สิ้นชีพโดยถูกแม่โคตัวเดียวกับที่ขวิดท่านพระพาหิยะขวิดตายขณะที่ท่านกำลังแสวงหาบาตรและจีวร ทั้งนี้ด้วยเป็นเพราะบาปกรรมเก่าในอดีตชาติตามมาให้ผล กรรมเก่านั้น คือ ท่านร่วมกับเพื่อนลวงโสเภณีนางหนึ่งไปฆ่าชิงทรัพย์ เรื่องมีว่า ในชาตินั้นท่านเกิดเป็นเพื่อนกับลูกเศรษฐี วันหนึ่งท่านได้ร่วมกับพวกและบุตรเศรษฐี ๓ คนรวมท่านด้วยเป็น ๔ คน ได้ว่าจ้างโสเภณีนางหนึ่งไปหาความสุขสำราญกันในสวน ซึ่งเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจด้วยราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ ตกเย็นครั้นจ่ายค่าตัวให้นางแล้ว รู้สึกเสียดายจึงวางแผนฆ่านางทิ้งแล้วชิงเอาเงินคืนพร้อมทั้งปลดเอาเครื่องประดับในตัวนางไปด้วย ฝ่ายโสเภณีเมื่อรู้ว่าจะถูกฆ่าแน่ ทั้งที่ตัวเองไม่มีความผิด ก็อ้อนวอนขอชีวิต แต่ก็ไร้ผล ก่อนจะสิ้นชีวิต นางได้ตั้งจิตอธิษฐาน ขอให้ได้ฆ่าคนเหล่านั้นเป็นการแก้แค้นบ้างในชาติหน้า แรงอาฆาตทำให้นางไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายพระปุกกุสาติและเพื่อนอีก ๓ คนนั้น เวียนว่ายตายเกิดและตกนรกเพราะกรรมนั้นส่งผล แล้วมาในชาตินี้พระปุกกุสาติก็มาเกิดเป็นมนุษย์ นางยักษิณีอดีตโสเภณีจึงได้แปลงเป็นแม่โคมาขวิดตายหมดทุกคน โดยเพื่อนของท่าน ๓ คน คือ ท่านพระพาหิยะทารุจิริยะ เพชฌฆาตตัมพทาฐิกะ (โจรเคราแดง) และ สุปปพุทธกุฏฐิ (ชายขอทานขี้เรื้อน) เอตทัคคะ-อดีตชาติ ท่านไม่ได้ตำแหน่งเอตทัคคะใดๆ และยังต้องบำเพ็ญกิจของพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ เพื่อบรรลุอรหัตผลที่พรหมโลกชั้นปัญจสุทธาวาส ชาติที่ท่านพบพระพุทธเจ้ากัสสปะนั้น หลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสปะเสด็จดับขันธปรินิพพานได้นานแล้ว ช่วงเวลาที่พระพุทธศาสนากำลังใกล้สูญสิ้นไปจากโลก ท่านได้ออกบวชและได้เห็นพุทธบริษัท ๔ เป็นจำนวนมากต่างทอดทิ้งพระธรรมคำสอน จึงเกิดความสลดใจ ท่านพร้อมกับเพื่อนพระอีก ๖ รูป (รวมเป็น ๗ รูป) คิดว่า ตราบใดที่พระศาสนายังไม่เสื่อมสิ้นไป พวกเราจงเป็นที่พึ่งแก่ตนเองเถิด จึงพากันไปสักการะพระสุวรรณเจดีย์สูงหนึ่งโยชน์ที่มหาชนได้ร่วมกันสร้างเมื่อครั้งพระกัสสปพุทธเจ้าทรงปรินิพพานแล้ว ได้มองเห็นภูเขาสูงชันลูกหนึ่ง จึงชวนกันขึ้นไปปฏิบัติธรรมอยู่บนภูเขาลูกนั้น โดยตั้งใจว่าถ้าไม่สำเร็จมรรคผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะยอมสิ้นชีวิตอยู่บนนั้น แล้วจึงตัดไม้ไผ่มาทำเป็นพะอง (บันไดไม้) เพื่อปีนป่ายขึ้นไปตามหน้าผาของภูเขานั้น เมื่อทั้งหมดพากันขึ้นไปยังยอดสูงของภูเขาลูกนั้นแล้ว ก็ผลักพะองให้ตกหน้าผาไปเพื่อไม่ให้มีทางกลับลงมาได้ แล้วต่างก็บำเพ็ญสมณธรรมอยู่บนนั้น ในบรรดาภิกษุทั้ง ๗ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้อาวุโสสูงสุด ก็ได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยอภิญญา ๖ ในคืนนั้นเอง ครั้นรุ่งเช้าพระมหาเถระจึงเหาะไปสู่ หิมวันตประเทศด้วยฤทธิ์ ล้างหน้าที่สระอโนดาต เที่ยวไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีป ฉันอาหารเสร็จแล้วได้ไปยังที่อื่นต่อไป ได้ภัตตาหารเต็มบาตรแล้ว เอาน้ำที่ สระอโนดาตล้างหน้าแล้วและเคี้ยวไม้สีฟันชื่อ อนาคลดา แล้วจึงนำภัตและสิ่งของเหล่านั้นมายังพระภิกษุเหล่านั้นที่ยังไม่บรรลุธรรมอันวิเศษ แล้วกล่าวว่า อาวุโส ทั้งหลาย บิณฑบาตนี้ผมนำมาจากแคว้นอุตรกุรุ น้ำและไม้สีฟันนี้นำมาจากหิมวันตประเทศ ท่านทั้งหลายจงฉันภัตตาหารนี้บำเพ็ญ สมณธรรมเถิด ผมจะอุปัฏฐากพวกท่านอย่างนี้ตลอดไป ภิกษุเหล่านั้นได้ฟัง แล้วจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ พระคุณเจ้าทำกิจเสร็จแล้ว พวกกระผม แม้เพียงสนทนากับพระคุณเจ้าก็เสียเวลาอยู่แล้ว บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าอย่ามาหา พวกกระผมอีกเลย พระมหาเถระนั้นเมื่อไม่สามารถจะให้ภิกษุเหล่านั้นยินยอม ได้โดยวิธีใด ๆ ก็หลีกไป แต่นั้นบรรดาภิกษุเหล่านั้นรูปหนึ่ง โดยล่วงไป ๒-๓ วันได้เป็น พระอนาคามีได้อภิญญา ๕ ภิกษุนั้นก็ได้ทำเหมือนอย่างเช่นที่พระเถระที่บรรลุพระอรหัตทำเหมือนกัน ครั้นถูกภิกษุที่เหลือที่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ ห้าม ก็กลับไปเช่นเดียวกัน ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษใด ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา จนมาถึงพุทธุปบาทกาลของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน (พระพุทธเจ้าโคดม) ทั้งหมดนั้นได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั่นเอง วาจานุสรณ์ ไม่มีกล่าววาจาใดไว้เป็นอนุสรณ์เพราะด่วนสิ้นชีวิต

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานพระปุกกุสาติ ท่านเป็นชาวแคว้นคันธาระโดยกำเนิด เรื่องราว ของท่านดังนี้ สถานะเดิม เกิดในราชตระกูลในกรุงตักกสิลา เป็นพระราชาพระนามว่า ปุกกุสาติ การออกบวช ออกบวชอุทิศแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่พระปุกกุสาติไม่รู้จักพระผู้มีพระภาคเจ้ามาก่อน สาเหตุที่ออกบวชเพราะเลื่อมใสในกิตติศัพท์อันงามที่ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ การบรรลุธรรม สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อ ภัคควะ ยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า "ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" นายภัคควะทูลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด" สำหรับบรรพชิตที่พักอยู่ก่อนแล้วก็คือท่านปุกกุสาตินั่นเอง ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด" เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง" ต่อนั้นพระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น" พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้นประทับอยู่ที่ไหน ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือเดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ" พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถามต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา" ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า "ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ" ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงธรรมจบลง ท่านปุกกุสาติได้บรรลุอนาคามิผลและทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษให้ ครั้นแล้วท่านปุกกุสาติก็ขอบวชในพระพุทธศาสนา แต่พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ" พระพุทธองค์จึงตรัสต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย" ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้วหลีกไปหาบาตรและจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรและจีวรอยู่นั่นเอง บั้นปลายชีวิต หลังจากบรรลุอนาคามิผลแล้วได้ไม่ถึงวันก็สิ้นชีพโดยถูกแม่โคตัวเดียวกับที่ขวิดท่านพระพาหิยะขวิดตายขณะที่ท่านกำลังแสวงหาบาตรและจีวร ทั้งนี้ด้วยเป็นเพราะบาปกรรมเก่าในอดีตชาติตามมาให้ผล กรรมเก่านั้น คือ ท่านร่วมกับเพื่อนลวงโสเภณีนางหนึ่งไปฆ่าชิงทรัพย์ เรื่องมีว่า ในชาตินั้นท่านเกิดเป็นเพื่อนกับลูกเศรษฐี วันหนึ่งท่านได้ร่วมกับพวกและบุตรเศรษฐี ๓ คนรวมท่านด้วยเป็น ๔ คน ได้ว่าจ้างโสเภณีนางหนึ่งไปหาความสุขสำราญกันในสวน ซึ่งเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจด้วยราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ ตกเย็นครั้นจ่ายค่าตัวให้นางแล้ว รู้สึกเสียดายจึงวางแผนฆ่านางทิ้งแล้วชิงเอาเงินคืนพร้อมทั้งปลดเอาเครื่องประดับในตัวนางไปด้วย ฝ่ายโสเภณีเมื่อรู้ว่าจะถูกฆ่าแน่ ทั้งที่ตัวเองไม่มีความผิด ก็อ้อนวอนขอชีวิต แต่ก็ไร้ผล ก่อนจะสิ้นชีวิต นางได้ตั้งจิตอธิษฐาน ขอให้ได้ฆ่าคนเหล่านั้นเป็นการแก้แค้นบ้างในชาติหน้า แรงอาฆาตทำให้นางไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายพระปุกกุสาติและเพื่อนอีก ๓ คนนั้น เวียนว่ายตายเกิดและตกนรกเพราะกรรมนั้นส่งผล แล้วมาในชาตินี้พระปุกกุสาติก็มาเกิดเป็นมนุษย์ นางยักษิณีอดีตโสเภณีจึงได้แปลงเป็นแม่โคมาขวิดตายหมดทุกคน โดยเพื่อนของท่าน ๓ คน คือ ท่านพระพาหิยะทารุจิริยะ เพชฌฆาตตัมพทาฐิกะ (โจรเคราแดง) และ สุปปพุทธกุฏฐิ (ชายขอทานขี้เรื้อน) เอตทัคคะ-อดีตชาติ ท่านไม่ได้ตำแหน่งเอตทัคคะใดๆ และยังต้องบำเพ็ญกิจของพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ เพื่อบรรลุอรหัตผลที่พรหมโลกชั้นปัญจสุทธาวาส ชาติที่ท่านพบพระพุทธเจ้ากัสสปะนั้น หลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสปะเสด็จดับขันธปรินิพพานได้นานแล้ว ช่วงเวลาที่พระพุทธศาสนากำลังใกล้สูญสิ้นไปจากโลก ท่านได้ออกบวชและได้เห็นพุทธบริษัท ๔ เป็นจำนวนมากต่างทอดทิ้งพระธรรมคำสอน จึงเกิดความสลดใจ ท่านพร้อมกับเพื่อนพระอีก ๖ รูป (รวมเป็น ๗ รูป) คิดว่า ตราบใดที่พระศาสนายังไม่เสื่อมสิ้นไป พวกเราจงเป็นที่พึ่งแก่ตนเองเถิด จึงพากันไปสักการะพระสุวรรณเจดีย์สูงหนึ่งโยชน์ที่มหาชนได้ร่วมกันสร้างเมื่อครั้งพระกัสสปพุทธเจ้าทรงปรินิพพานแล้ว ได้มองเห็นภูเขาสูงชันลูกหนึ่ง จึงชวนกันขึ้นไปปฏิบัติธรรมอยู่บนภูเขาลูกนั้น โดยตั้งใจว่าถ้าไม่สำเร็จมรรคผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะยอมสิ้นชีวิตอยู่บนนั้น แล้วจึงตัดไม้ไผ่มาทำเป็นพะอง (บันไดไม้) เพื่อปีนป่ายขึ้นไปตามหน้าผาของภูเขานั้น เมื่อทั้งหมดพากันขึ้นไปยังยอดสูงของภูเขาลูกนั้นแล้ว ก็ผลักพะองให้ตกหน้าผาไปเพื่อไม่ให้มีทางกลับลงมาได้ แล้วต่างก็บำเพ็ญสมณธรรมอยู่บนนั้น ในบรรดาภิกษุทั้ง ๗ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้อาวุโสสูงสุด ก็ได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยอภิญญา ๖ ในคืนนั้นเอง ครั้นรุ่งเช้าพระมหาเถระจึงเหาะไปสู่ หิมวันตประเทศด้วยฤทธิ์ ล้างหน้าที่สระอโนดาต เที่ยวไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีป ฉันอาหารเสร็จแล้วได้ไปยังที่อื่นต่อไป ได้ภัตตาหารเต็มบาตรแล้ว เอาน้ำที่ สระอโนดาตล้างหน้าแล้วและเคี้ยวไม้สีฟันชื่อ อนาคลดา แล้วจึงนำภัตและสิ่งของเหล่านั้นมายังพระภิกษุเหล่านั้นที่ยังไม่บรรลุธรรมอันวิเศษ แล้วกล่าวว่า อาวุโส ทั้งหลาย บิณฑบาตนี้ผมนำมาจากแคว้นอุตรกุรุ น้ำและไม้สีฟันนี้นำมาจากหิมวันตประเทศ ท่านทั้งหลายจงฉันภัตตาหารนี้บำเพ็ญ สมณธรรมเถิด ผมจะอุปัฏฐากพวกท่านอย่างนี้ตลอดไป ภิกษุเหล่านั้นได้ฟัง แล้วจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ พระคุณเจ้าทำกิจเสร็จแล้ว พวกกระผม แม้เพียงสนทนากับพระคุณเจ้าก็เสียเวลาอยู่แล้ว บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าอย่ามาหา พวกกระผมอีกเลย พระมหาเถระนั้นเมื่อไม่สามารถจะให้ภิกษุเหล่านั้นยินยอม ได้โดยวิธีใด ๆ ก็หลีกไป แต่นั้นบรรดาภิกษุเหล่านั้นรูปหนึ่ง โดยล่วงไป ๒-๓ วันได้เป็น พระอนาคามีได้อภิญญา ๕ ภิกษุนั้นก็ได้ทำเหมือนอย่างเช่นที่พระเถระที่บรรลุพระอรหัตทำเหมือนกัน ครั้นถูกภิกษุที่เหลือที่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ ห้าม ก็กลับไปเช่นเดียวกัน ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษใด ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา จนมาถึงพุทธุปบาทกาลของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน (พระพุทธเจ้าโคดม) ทั้งหมดนั้นได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั่นเอง วาจานุสรณ์ ไม่มีกล่าววาจาใดไว้เป็นอนุสรณ์เพราะด่วนสิ้นชีวิต

วิปัสสนา ภาคปฏิบัติ (อ.วรรณสิทธิ์ ไวทยะเสวี)ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

การเจริญสติปัฏฐานที่ถูกต้องให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

วิถีแห่งโลกุตตระชนให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก...พระสาวกพระวิหารอันมีชนทุกหมู่เหล่า น่าดูน่าชม พระอิริยาบถ 002 หายไปหมดสิ้นแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระเวสสภู 003 ศาสดาชินเจ้าผู้ประเสริฐ เสด็จนิพพานที่เขมาราม พระธาตุของ 004 พระองค์แผ่ไปกว้างขวางในประเทศนั้นๆ ฉะนี้แล. 005 จบเวสสภูพุทธวงศ์ที่ ๒๑ 006 กุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒ 007 ว่าด้วยพระประวัติพระกกุสันธพุทธเจ้า 008 [๒๓] สมัยต่อมาจากพระเวสสภูพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ 009 พระนามว่า กุกกุสันธะ มีพระคุณประมาณมิได้ยากที่จะเทียมถึง 010 ทรงเพิกภพทั้งปวง ถึงที่สุดแห่งจริยา ทรงทำลายกิเลสดังราชสีห์ทำ 011 ลายกรงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระกุกกุสันธะ 012 พุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย 013 ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สี่หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงแผลงฤทธิ์ 014 กระทำยมกปาฏิหาริย์ในอากาศ พระองค์ทรงยังเทวดาและมนุษย์ให้ 015 ตรัสรู้สามหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อทรงประกาศจตุราริยสัจ แก่มนุษย์ 016 เทวดาและยักษ์ ธรรมาภิสมัยครั้งนั้น จะคำนวณนับมิได้ พระผู้มี 017 พระภาคกุกกุสันธะ ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ปราศจาก 018 มนทิน ผู้มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียวในกาลนั้น พระภิกษุขีณาสพ 019 ผู้บรรลุถึงภูมิที่ฝึกแล้ว เพราะสิ้นกิเลสเหตุให้เป็นหมู่คณะมีอาสวะ 020 เป็นต้น มาประชุมกันสี่หมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์ มีพระนามว่า 021 เขมะ เราได้ถวายทานมิใช่น้อยแด่พระตถาคตและพระสาวก เรา 022 ถวายบาตร จีวร ยาหยอดตา ชะเอมเครือ เราถวายของดีๆ ทุกอย่าง 023 ตามที่ภิกษุสงฆ์ปรารถนา แม้พระมุนีกุกกุสันธะผู้เป็นนายกชั้นพิเศษ 358 001 พระองค์นั้น ก็ทรงพยากรณ์เราว่าในภัทรกัปนี้ ผู้นี้จักได้เป็นพระ 002 พุทธเจ้าในโลก ....... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธ 003 พยากรณ์แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราอธิษฐานวัตร 004 ในการบำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการยิ่งขึ้น นครชื่อว่าเขมวดี ในกาลนั้น 005 เรามีชื่อว่าเขมะ เมื่อแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณจึงออกบวชใน 006 สำนักของพระองค์ พราหมณ์นามว่าอัคคิทัตตะเป็นพุทธบิดา 007 นางพราหมณีชื่อว่าวิสาขา เป็นพุทธมารดา ตระกูลใหญ่ของพระ 008 สัมพุทธเจ้าเป็นตระกูลที่ประเสริฐสุดกว่าตระกูลอื่นๆ มีชาติสูง 009 มียศมาก อยู่ในเขมนครนั้น พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่ 010 สี่พันปี มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อกามวัฑฒะ กามสุทธิ 011 และรติวัฑฒนะ มีนางสาวนารีสามหมื่นนาง บุตรชายนามว่าอุตระ 012 พระพิชิตมารทรงเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยรถอันเป็น 013 ยานพาหนะ บำเพ็ญเพียรอยู่ ๘ เดือนเต็ม พระกุกกุสันธมหาวีรเจ้า 014 ผู้อุดมกว่านรชน ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมี 015 พระวิธุรเถระและพระสัญชีวนามเถระเป็นพระอัครสาวก พระเถระ 016 ชื่อว่าพุทธิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสามาเถรีและพระจัมปนามา 017 เถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่าไม้ซึก 018 อัจจุคตอุบาสก และสุมนอุบาสกเป็นอัครอุปัฏฐาก นันทาอุบาสิกา 019 และสุนันทาอุบาสิกา เป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระมหามุนีมีพระองค์ 020 สูง ๔๐ ศอก พระรัศมีสีเปล่งปลั่งดังทองคำ เปล่งออกไป ๑๐ โยชน์ 021 โดยรอบ พระองค์มีพระชนมายุสี่หมื่นปี เมื่อทรงดำรงอยู่เท่านั้น 022 ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย ทรงแจกจ่าย 023 ตลาดธรรมให้แก่บุรุษและสตรี ทรงบันลือสีหนาทในโลกพร้อมทั้ง 024 เทวโลกแล้ว เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก พระองค์ ทรงถึง 359 001 พร้อมด้วยพระดำรัสมีองค์ ๘ ไม่มีช่องเนืองนิตย์ ทุกอย่างหายไป 002 หมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระกุกกุสันธชินเจ้าผู้ 003 ประเสริฐเสด็จนิพพานที่เขมาราม พระสถูปอันประเสริฐของ 004 พระองค์สูงคาวุตหนึ่ง ประดิษฐานอยู่ ณ เขมารามนั้น ฉะนี้แล. 005 จบกุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒ 006 โกนาคมนพุทธวงศ์ที่ ๒๓ 007 ว่าด้วยพระประวัติพระโกนาคมนพุทธเจ้า 008 [๒๔] สมัยต่อมาจากพระกุกกุสันธพุทธเจ้า พระสัมพุทธนราสภชินเจ้าผู้ 009 อุดมกว่าสัตว์ เชษฐบุรุษของโลก พระนามว่าโกนาคมนะ ทรง 010 บำเพ็ญธรรม ๑๐ ประการบริบูรณ์ ข้ามทางกันดารได้แล้ว ทรงลอย 011 มลทินทั้งปวงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระองค์ผู้ 012 เป็นนายกชั้นพิเศษของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย 013 ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สามหมื่นโกฏิ และในคราวเมื่อพระองค์ 014 ทรงทำปฏิหาริย์ย่ำยีวาทะของผู้อื่น ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ ได้มีแก่ 015 สัตว์สองหมื่นโกฏิ ต่อแต่นั้น พระมุนีสัมพุทธชินเจ้าทรงแผลงฤทธิ์ 016 ต่างๆ เสด็จไปยังดาวดึงส์เทวโลก ประทับเหนือบัณฑุกัมพลศิลา 017 อาสน์ ทรงจำพรรษาอยู่ ณ ดาวดึงส์นั้น ทรงแสดงพระอภิธรรม ๗ 018 คัมภีร์ ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ ได้มีแก่ทวยเทพหมื่นโกฏิ แม้ 019 พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ก็ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ 020 ปราศจากมลทิน ผู้มีจิตสงบระงับ คงที่ ครั้งเดียว ในกาลนั้น 021 พระภิกษุขีณาสพผู้ล่วงโอฆะทั้งหลายและทำลายมัจจุราชแล้ว มา 022 ประชุมกันสามหมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์พระนามว่าบรรพต 023 ถึงพร้อมด้วยมิตรและอำมาตย์ มีพลนิกายและพาหนะมากมาย เรา 360 001 ไปเฝ้าพระสัมพุทธเจ้าได้ฟังธรรมอันยอดเยี่ยมแล้ว นิมนต์พระสงฆ์ 002 พร้อมด้วยพระชินเจ้า ได้ถวายทานตามปรารถนา เราได้ถวายผ้า 003 ปัตตุณณะ ผ้าเมืองจีน ผ้าไหม ผ้ากัมพล และรองเท้าทอง แก่ 004 พระศาสดาและพระสาวก แม้พระมุนีพระองค์นั้น ก็ประทับนั่ง 005 ท่ามกลางสงฆ์ตรัสพยากรณ์เราว่า ในภัทรกัปนี้ผู้นี้จักได้เป็นพระพุทธ 006 เจ้าในโลก .... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธพยากรณ์ 007 แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราได้อธิษฐานวัตรในการ 008 บำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการให้ยิ่งขึ้นไป เราผู้อุดมกว่านรชน เมื่อ 009 แสวงหาพระสัพพัญญุตญาณ จึงให้ทาน ละราชสมบัติอันใหญ่หลวง 010 บวชในพระสำนักพระชินเจ้า พระนครชื่อว่าโสภวดี พระบรมกษัตริย์ 011 พระนามว่าโสภะ ตระกูลใหญ่ของพระสัมพุทธเจ้าอยู่ในพระนครนั้น 012 ยัญทัตตพราหมณ์เป็นพุทธบิดา นางอุตราพราหมณีเป็นพุทธมารดา 013 พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่สามหมื่นปี มีปราสาทอันประเสริฐ 014 ๓ ปราสาท ชื่อดุสิต สันดุสิต และสันตุฏฐะ มีนางสาวนารี หมื่น 015 หกพันนาง ล้วนประดับประดาสวยงาม นางรุจิคุตตาพราหมณีเป็น 016 ภรรยา บุตรชายนามว่าสัตถวาหะ พระองค์ผู้เป็นอุดมบุรุษได้เห็น 017 นิมิต ๔ ประการ จึงออกบวชด้วยยานช้างยานพาหนะ บำเพ็ญเพียร 018 อยู่ ๖ เดือน พระโกนาคมนมหาวีรเจ้า นายกของโลก ผู้อุดมกว่า 019 นรชน อันพรหมทูลอาราธนาแล้ว ทรงประกาศพระธรรมจักรที่ 020 มฤคทายวัน ทรงมีพระภิยโยสเถระ และพระอุตรเถระเป็นพระอัคร 021 สาวก พระเถระชื่อว่าโสตถิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสมุททา 022 เถรีและพระอุตราเถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์ 023 เรียกชื่อว่า ไม้มะเดื่อ อุคคอุบาสกและโสมเทวอุบาสกเป็นอัคร- 024 อุปัฏฐาก สีวลาอุบาสิกาและสามาอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา 361 001 พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น มีพระองค์สูง ๓๐ ศอก ประดับด้วย 002 พระรัศมีเปล่งปลั่ง ดังทองที่ปากเบ้า พระองค์มีพระชนมายุในขณะ 003 นั้นสามหมื่นปี ทรงดำรงอยู่เท่านั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้น 004 วัฏสงสารได้มากมาย ทรงยกธรรมเจดีย์อันประดับด้วยผ้าคือธรรม 005 ขึ้นแล้ว ทรงร้อยพวงดอกไม้คือธรรมเสร็จแล้ว เสด็จนิพพานพร้อม 006 ด้วยพระสาวก พระองค์มีพระลีลาอันใหญ่มีธรรมอันเป็นสิริเป็นเครื่อง 007 ปรากฏ สิ่งทั้งปวงหายไปหมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระ 008 โคนาคมนสัมพุทธเจ้า เสด็จนิพพาน ณ ปัพพตาราม พระธาตุของ 009 พระองค์แผ่กว้างไปในประเทศนั้นๆ ฉะนี้แล. 010 จบโกนาคมนพุทธวงศ์ที่ ๒๓ 011 กัสสปพุทธวงศ์ที่ ๒๔ 012 ว่าด้วยพระประวัติพระกัสสปพุทธเจ้า 013 [๒๕] สมัยต่อมาพระโกนาคมนพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ 014 เป็นพระธรรมราชา มีพระรัสมีสว่างไสวทรงพระนามว่า กัสสปะ 015 ทรัพย์อันเป็นต้นทุนของตระกูล ที่สัตว์เป็นอันมากบูชา พระองค์ 016 ทรงละทิ้งเสียแล้วทรงเป็นทายกผู้องอาจให้ทาน ยังฉันทะให้เต็ม ทรง 017 ทำลายกิเลสดังสัตว์ร้ายแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อ 018 พระกัสสปะผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมา 019 ภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สองหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระพุทธเจ้า 020 เสด็จจาริกไปในโลกตลอด ๔ เดือน ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ ได้มี 021 แก่สัตว์หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงทำยมกปาฏิหาริย์แสดง 022 ฤทธิ์ต่างๆ ทรงประกาศพระญาณธาตุ ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ ได้มี 362 001 แก่สัตว์ห้าพันโกฏิ ในคราวที่พระองค์ทรงแสดงธรรม ณ สุธรรมเทพ 002 นครอันรื่นรมย์ พระชินเจ้าทรงทำให้เทวดาสามพันโกฏิได้ตรัสรู้ 003 และในคราวทรงแสดงธรรมแก่มนุษย์ เทวดา และยักษ์อีกครั้งหนึ่ง 004 มนุษย์เป็นต้นผู้ได้ตรัสรู้ธรรมนั้นจะคณนานับมิได้ แม้พระพุทธเจ้า 005 พระองค์นั้นก็ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพ ผู้ปราศจากมลทิน 006 มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียว ครั้งนั้นพระภิกษุขีณาสพผู้ล่วง 007 สุดภพแล้ว ผู้คงที่ด้วยหิริและศีลมาประชุมกันสองหมื่น ในกาลนั้น 008 เราเป็นมาณพ มีชื่อปรากฏ ว่าโชติปาละ เป็นผู้เล่าเรียน ทรงมนต์ 009 รู้จบไตรเพทถึงที่สุดในคำภีร์ทำนายลักษณะและคัมภีร์อิติหาสะ เป็น 010 ผู้ฉลาดในวิชาดูพื้นที่และอากาศ เป็นผู้ใช้วิชา ไม่มีทุกข์ ฆฏิการ 011 อุบาสกผู้อุปัฏฐากแห่งพระผู้มีพระภาคกัสสปะ เป็นผู้มีความเคารพ 012 ยำเกรง เป็นพระอนาคามี ฆฏิการอุบาสกได้พาเราเข้าไปเฝ้าพระ 013 กัสสปชินเจ้า เราได้ฟังธรรมของพระองค์แล้วบวชในสำนักของ 014 พระองค์ เราเป็นผู้ปรารภความเพียร ฉลาดในวัตรและมิใช่วัตร 015 ไม่เสื่อมในที่ไหนๆ ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระชินเจ้าบริบูรณ์ 016 เล่าเรียนนวังคสัตถุศาสน์เท่าที่พระพุทธเจ้าตรัสแล้วทุกอย่าง ยัง 017 พระศาสนาของพระพิชิตมารให้งดงาม แม้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น 018 ทรงเห็นความอัศจรรย์ของเราแล้ว จึงทรงพยากรณ์ว่า ในภัทรกัปนี้ 019 ผู้นี้จักได้เป็นพระพุทธเจ้าในโลก ...... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น 020 เราได้ฟังพระพุทธพยากรณ์แม้นั้นแล้วยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เรา 021 อธิษฐานวัตรในการบำเพ็ญเพียรบารมี ๑๐ ประการ การให้ยิ่งขึ้นไป 022 เรานึกถึงพระพุทธพยากรณ์อย่างนี้แล้ว งดเว้นอนาจาร กระทำกรรม 023 ที่ทำได้ยาก เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น พระนครชื่อว่า 024 พาราณสี พระบรมกษัตริย์ พระนามว่ากิกี ตระกูลใหญ่ของพระ- 363 001 สัมพุทธเจ้าอยู่ในพระนครนั้น พรหมทัตตพราหมณ์เป็นพุทธบิดา 002 นางธนวดีพราหมณีเป็นพุทธมารดา พระองค์ทรงครอบครองอาคาร 003 สถานอยู่สองพันปี ทรงมีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อหังษะ 004 ยสะ และสิริจันทะ มีนางสาวนารีสี่หมื่นแปดพันนางล้วนประดับ 005 ประดาสวยงาม นางสุนันทาพราหมณีเป็นภรรยา บุตรชายนามว่า 006 วิชิตเสน พระองค์ผู้เป็นบุรุษอุดม ได้เห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออก 007 บวชพร้อมด้วยปราสาท ทรงบำเพ็ญเพียรอยู่ ๗ วัน พระกัสสปมหา 008 วีรเจ้าผู้เป็นนายกของโลกผู้อุดมกว่านรชน อันพรหมทูลอาราธนาแล้ว 009 ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมีพระติสสเถระและ 010 พระภารทวาชเถระ เป็นพระอัครสาวก พระเถระชื่อว่าสรรพมิตตะ 011 เป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระอนุลาเถรีและพระอุรุเวลาเถรีเป็นพระ 012 อัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่านิโครธ สุมังคล 013 อุบาสกและฆฏิการอุบาสก เป็นอัครอุปัฏฐาก วิชิตเสนาอุบาสก และ 014 ภัททาอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น มี 015 พระองค์สูง ๒๐ ศอก มีพระรัศมีเปล่งปลั่งดังสายฟ้าในอากาศ 016 ดุจพระจันทร์เต็มดวง พระองค์มีพระชนมายุสองหมื่นปี เมื่อทรง 017 ดำรงอยู่เพียงนั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย 018 ทรงสร้างสระน้ำคือธรรมไว้ ทรงประทานเครื่องลูบไล้ คือ ศีล 019 ทรงจัดผ้าคือธรรมไว้นุ่งห่ม ทรงแจกพวงมาลัยคือธรรม ทรงตั้ง 020 กระจกเงาอันไร้มลทินคือธรรมไว้ให้มหาชน ด้วยทรงหวังว่า ชน 021 บางพวกปรารถนานิพพาน จงเห็นเครื่องประดับของเรา ทรงจัดเสื้อ 022 คือศีล เกราะหนังคือญาณ ทรงจัดหนังคือธรรมไว้ให้คลุม และ 023 เครื่องรบอย่างดีเลิศให้ ทรงจัดโล่ห์คือสติ หอกคือญาณอันคมกล้า 024 ดาบอย่างดีคือธรรม และศาตราวุธเครื่องย่ำยีศัตรูคือศีลไว้ให้ ทรงจัด 364 001 ภูษา คือไตรวิชา พวงมาลัยสวมศีรษะคือผล ๔ เครื่องอาภรณ์ คือ 002 อภิญญา ๖ และดอกไม้เครื่องประดับคือธรรม ร่มขาวคือพระสัทธรรม 003 อันเป็นเครื่องป้องกันบาป ทรงนิรมิตดอกไม้ คือ ความไม่มีเวรภัย 004 ไว้ให้เสร็จแล้ว พระองค์ก็เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก แท้ 005 จริง พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระคุณหาประมาณมิได้ ยากที่จะรู้ได้ 006 พระธรรมรัตนะที่ตรัสไว้ดีแล้วควรเรียกให้มาดู พระสังฆรัตนะผู้ 007 ปฏิบัติดี ไม่มีผู้อื่นยิ่งไปกว่า ทั้ง ๓ รัตนะนี้ หายไปหมดทุกอย่างแล้ว 008 สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระมหากัสสปชินศาสดา เสด็จนิพพาน 009 ที่เสตัพยาราม ทระสถูปของพระองค์ สูงหนึ่งโยชน์ ประดิษฐานอยู่ 010 ณ เสตัพยารามนั้น ฉะนี้แล. 011 จบกัสสปพุทธวงศ์ที่ ๒๔ 012 โคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ 013 ว่าด้วยพระประวัติพระโคตมพุทธเจ้า 014 [๒๖] บัดนี้ เราเป็นพระสัมพุทธเจ้านามว่า โคดม เจริญในศากยสกุล 015 เราบำเพ็ญเพียรแล้ว ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม พรหมอาราธนา 016 แล้ว ประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์ 017 ๑๘ โกฏิ ต่อแต่นั้น เมื่อเราแสดงธรรมในสมาคมมนุษย์และเทวดา 018 ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ ในคราวที่เรา 019 กล่าวสอนราหุลบุตรของเราบัดนี้ ณ ที่นี้แล ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ 020 จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ เรามีการประชุมพระสาวกผู้แสวงหา 021 คุณใหญ่ครั้งเดียว ภิกษุที่ประชุมกันมี ๑๒๕๐ รูป เราผู้ปราศจาก 022 มลทินรุ่งเรือนอยู่ในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ เราให้สิ่งที่ปรารถนาทุกอย่าง 023 เหมือนแก้วมณีให้สิ่งที่ต้องการทั้งปวง ฉะนั้น เราประกาศจตุราริยสัจ 365 001 เพื่ออนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้หวังผล ผู้แสวงหาธรรมเครื่องละ 002 ความพอใจในภพ ธรรมาภิสมัยได้มีแก่สัตว์สองแสน ธรรมาภิสมัย 003 ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ได้มีแก่สัตว์โดยจะคณนานับมิได้ คำสั่งสอน 004 ของเราผู้เป็นศากยมุนี กว้างขวางเจริญแพร่หลายงอกงามดี บริสุทธิ์ 005 ผ่องแผ้ว เป็นประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก ภิกษุหลายร้อยล้วนเป็น 006 ผู้ไม่มีอาสวะ ปราศจากราคะมีจิตสงบระงับมั่นคงแวดล้อมเราอยู่ทุก 007 เมื่อในกาลบัดนี้ ภิกษุเหล่าใด เป็นพระเสขะยังมิได้บรรลุอรหัต 008 ละภพมนุษย์ไป ภิกษุเหล่านั้น วิญญูชนตำหนิ ชนทั้งหลายผู้ชอบใจ 009 ทางพระอริยเจ้า ยินดีในธรรมทุกเมื่อ มีปัญญารุ่งเรือง ถึงจะยัง 010 ท่องเที่ยวอยู่ในสงสาร ก็จักตรัสรู้ได้ นครของเราชื่อกบิลพัสดุ์ 011 พระเจ้าสุทโธทนะเป็นโยมบิดาของเรา โยมมารดาบังเกิดเกล้าของเรา 012 เรียกพระนามว่า มายาเทวี เราครอบครองอาคารสถานอยู่ ๒๙ ปี 013 มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อสุจันทะ โกกนุทะ และ 014 โกญจะ มีสนมนารีกำนัลในแปดหมื่นสี่พันนาง ล้วนประดับประดา 015 สวยงาม มเหสีของเรานามว่า ยโสธรา บุตรชายของเราชื่อว่าราหุล 016 เราเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยอัสวราชยาน ได้บำเพ็ญ 017 เพียรประพฤติทุกกรกิริยาอยู่ ๖ ปี เราประกาศธรรมจักที่ป่าอิสิปตน 018 มฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เราเป็นพระสัมพุทธเจ้าชื่อว่าโคดม 019 เป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งปวง ภิกษุ ๒ รูป ชื่ออุปติสสะและโกลิตะ 020 เป็นอัครสาวกของเรา ภิกษุชื่ออานนทะ เป็นอุปัฏฐาก อยู่ในสำนัก 021 ของเรา ภิกษุณีชื่อเขมาและอุบลวรรณาเป็นอัครสาวิกา จิตต 022 คฤหบดีและหัตถกอุบาสกชาวเมืองอาฬวี เป็นอัครอุปัฏฐาก นันท 023 มาดาและอุตราอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา เราบรรลุสัมโพธิญาณ- 024 อันอุดม ที่ควงไม้อัสสัตถพฤกษ์ เรามีรัศมีซ่านออกด้านละวาทุกเมื่อ 366 001 สูงขึ้นไป ๑๖ ศอก บัดนี้ อายุของเราน้อย มี ๑๐๐ ปี ถึงเราจะดำรง 002 อยู่เพียงนั้น ก็ช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย เราตั้งคบ 003 เพลิงคือธรรมไว้สำหรับให้คนภายหลังได้ตรัสรู้ อีกไม่นานเลย แม้ 004 เรากับสงฆ์สาวกก็จักนิพพาน ณ ที่นี้แลเพราะสิ้นอาหาร เหมือน 005 ไฟสิ้นเชื้อ ฉะนั้น เรามีร่างกายเป็นเครื่องทรงคุณ คือ เดชอันไม่มี 006 เทียบเคียง ยศ กำลังและฤทธิ์เหล่านี้ วิจิตด้วยลักษณะอันประเสริฐ 007 ๓๒ ประการ มีรัศมี ๖ ประการ สว่างไสวไปทั่วทิศน้อยใหญ่ ดุจ 008 พระอาทิตย์ ทุกอย่างจักหายไปหมดสิ้น สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ 009 ฉะนี้แล. 010 จบโคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ 011 พุทธปกิรณกกัณฑ์ 012 ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 013 [๒๗] ในกัปอันประมาณมิได้แก่ภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกชั้น 014 พิเศษ ๔ พระองค์ คือ พระตัณหังกรสัมพุทธเจ้า ๑ 015 พระเมธังกรสัมพุทธเจ้า ๑ พระสรณังกรสัมพุทธเจ้า ๑ และพระ 016 ทีปังกรสัมพุทธเจ้า ๑ ท่านเหล่านั้นเสด็จอุบัติในกัปเดียวกัน ต่อจาก 017 ที่พระทีปังกรสัมพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่าโกณฑัญญะ 018 พระองค์เดียวเสด็จอุบัติกัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสาร 019 ได้มากมาย ระหว่างพระผู้มีพระภาคทีปังกร และพระโกณฑัญญะ 020 บรมศาสดา เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิได้ ต่อจากพระโกณ 021 ฑัญญะบรมศาสดา มีพระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ แม้ระหว่าง 022 พระโกณฑัญญะและพระมังคละพุทธเจ้านั้น ก็เป็นอันตรกัป โดยจะ 023 คำนวณนับมิได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ สุมนะ เรวตะ และ 024 โสภิตะ ผู้เป็นมุนี มีจักษุ มีพระรัศมีสว่างไสว แม้พระพุทธเจ้า ๔ 025 พระองค์นั้นก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว กันต่อจากพระโสภิตพุทธเจ้า 367 001 มีพระมหามุนีพระนามว่าอโนมทัสสี แม้ระหว่างพระพุทธเจ้าพระนาม 002 ว่าโสภิตะ และอโนมทัสสีนั้นก็เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิ 003 ได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่าอโนมทัสสี ปทุมะ และนารทะ ผู้เป็น 004 มุนีกระทำที่สุดความมืด ก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว ต่อจากพระ 005 นารทสัมพุทธเจ้า มีพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ เสด็จอุบัติใน 006 กัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย แม้ระหว่าง 007 พระผู้มีพระภาคนารทะและพระปทุมุตรศาสดานั้น ก็เป็นอันตรกัป 008 โดยจะคำนวณนับมิได้ในแสนกัป มีพระมหามุนีพระองค์เดียว คือ 009 พระปทุมุตระผู้รู้แจ้งโลก ผู้สมควรรับเครื่องบูชา ในสามหมื่นกัป 010 ต่อจากพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ มีพระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ 011 คือ พระสุเมธะและพระสุชาตะ ในพันแปดร้อยกัป (แต่กัปนี้) มี 012 พระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระปิยทัสสี พระอัตถทัสสี และ 013 พระธรรมทัสสี ต่อจากพระสุชาตพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าผู้อุดม 014 กว่าสัตว์ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบในโลก ๓ พระองค์นั้น เสด็จอุบัติใน 015 กัปเดียวกัน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระมหามุนีพระองค์เดียว 016 คือ พระสิทธัตถะ ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ยอดเยี่ยมโดยมีบุญสิริ ในกัป 017 ที่ ๙๒ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระสัมพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระติสสะ 018 และพระปุสสะ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบเสมอ ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ 019 มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ผู้มีพระกรุณาพระนามว่าวิปัสสี 020 ทรงเปลื้องสัตว์ทั้งหลายจากเครื่องผูก ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ มี 021 พระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระสิขีและพระเวสสภู ผู้ไม่มีบุคคล 022 เปรียบเสมอ ในภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระ 023 กุกกุสันธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ บัดนี้เราเป็นพระ 024 สัมพุทธเจ้าและจักมีพระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้า แม้พระพุทธเจ้า ๕ 368 001 พระองค์นี้ ก็เป็นนักปราชญ์ อนุเคราะห์โลก บรรดาพระพุทธเจ้า 002 ผู้เป็นธรรมราชาเหล่านี้ พระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้าจักตรัสบอกมรรคา 003 นั้นแก่ผู้อื่นหลายโกฏิ แล้วจักเสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก 004 ฉะนี้แล. 005 จบพุทธปกิรณกกัณฑ์. 006 ธาตุภาชนียกถา 007 ว่าด้วยการแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ 008 [๒๘] พระมหาโคดมชินเจ้าผู้ประเสริฐ เสด็จนิพพานที่นครกุสินารา 009 พระธาตุของพระองค์ เรี่ยรายแผ่ไปในประเทศนั้นๆ พระธาตุ 010 ทะนานหนึ่ง พระเจ้าอชาตศัตรูทรงนำไปไว้ในพระนครราชคฤห์ 011 ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองเวสาสี ทะนานหนึ่งอยู่ในนครกบิลพัสดุ์ 012 ทะนานหนึ่งอยู่ในอัลลากัปปนคร ทะนานหนึ่งอยู่ในรามคาบ 013 ทะนานหนึ่งอยู่ในเวฏฐาทีปกนคร ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองปาวาของ 014 มัลลกษัตริย์ ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองกุสินารา โทณพราหมณ์ให้ช่าง 015 สร้างสถูป บรรลุทะนานทอง กษัตริย์โมริยะผู้มีหทัยยินดี รับสั่งให้ 016 สร้างสถูปบรรจุพระอังคาร พระสถูปบรรจุพระสารีริกธาตุ ๘ แห่ง 017 เป็น ๙ แห่ง ทั้งตุมพเจดีย์ รวมพระอังคารสถูปด้วยเป็น ๑๐ แห่ง 018 ประดิษฐานอยู่แล้วในกาลนั้น พระทาฐธาตุข้างหนึ่งอยู่ในดาวดึงส 019 พิภพ ข้างหนึ่งอยู่ในนาคบุรี ข้างหนึ่งอยู่ในเมืองคันธารวิสัย ข้าง 020 หนึ่งอยู่ในเมืองกาลิงคราช พระทันตธาตุ ๔๐ พระเกศธาตุและพระ 021 โลมาทั้งหมด เทวดานำไปไว้ในจักรวาลหนึ่งๆ จักรวาลละอย่าง 022 บาตรไม้เท้าและจีวรของพระผู้มีพระภาค อยู่ในวชิรานครสงบอยู่ใน 023 กุลฆรนคร ผ้าปัจจัตถรณะอยู่ในสีหฬ ธมกรกและประคตเอว อยู่ 024 ในนครปาฏลิบุตร ผ้าอาบน้ำอยู่ในจำปานคร อุณณาโลมอยู่ใน 025 แคว้นโกศล ผ้ากาสาวพัสตร์อยู่ในพรหมโลก ผ้าโพกอยู่ในดาวดึงส์ 369 001 (รอยพระบาทอันประเสริฐที่หิน เหมือนมีอยู่ที่กัจฉตบุรี) ผ้านิสีทนะ 002 อยู่ในอวันตีชนบท ผ้าลาดอยู่ในดาวดึงส์ ไม้สีไฟอยู่ในมิถิลานคร 003 ผ้ากรองน้ำอยู่ในวิเทหรัฐ มีดและกล่องเข็มอยู่ในอินทปัตถนคร ใน 004 กาลนั้น บริขารที่เหลือ อยู่ในชนบท ๓ แห่งในกาลนั้น หมู่ 005 มนุษย์ในกาลนั้นจักบูชาบริขารที่พระมุนีทรงบริโภค พระธาตุของ 006 พระโคดมผู้แสวงหาคุณอันใหญ่หลวง กระจายแผ่กว้างไป เพื่อ 007 อนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลายเป็นของเก่าในกาลนั้น ฉะนี้แล. 008 จบธาตุภาชนียกถา. 009 จบพุทธวงศ์ 010 ---------------- 370 001 จริยาปิฎก 002 ๑. การบำเพ็ญทานบารมี 003 อกิตติจริยาที่ ๑ 004 ว่าด้วยจริยาวัตรของอกิตติดาบส 005 [๑] ในสี่อสงไขยแสนกัป ความประพฤติอันใดในระหว่างนี้ ความ 006 ประพฤติทั้งหมดนั้น เป็นเครื่องบ่มพระโพธิญาณ เราจักเว้นความ 007 ประพฤติในภพน้อยใหญ่ในกัปเสีย จักบอกความประพฤติในกัปนี้ 008 จงฟังเรา ในกาลใด เราเป็นดาบสชื่ออกิตติ เข้าไปอาศัยอยู่ในป่า 009 ใหญ่อันว่างเปล่า สงัดเงียบปราศจากเสียงอื้ออึง ในกาลนั้น ด้วย 010 เดชแห่งการประพฤติตบะของเรา สมเด็จอัมรินทร์ผู้ครองไตรทิพย์ 011 ทรงร้อนพระทัย ทรงแปลงเพศเป็นพราหมณ์เข้ามาหาเราเพื่อภิกษา 012 เราได้เห็นอินทพราหมณ์มายืนอยู่ใกล้ประตูบรรณศาลาของเรา จึง 013 เอาใบหมากเม่าที่เรานำมาแต่ป่า อันไม่มีน้ำมัน ทั้งไม่เค็ม ให้หมด 014 พร้อมกับภาชนะ ครั้นได้ให้หมากเม่าแก่อินทพราหมณ์นั้นแล้ว 015 เราจึงคว่ำภาชนะ ละการแสวงหาใบหมากเม่าใหม่ เข้าไปยังบรรณ 016 ศาลา แม้ในวันที่ ๒ แม้ในวันที่ ๓ อินทพราหมณ์ก็เข้ามายังสำนัก 017 ของเรา เราไม่หวั่นไหว ไม่อาลัยในชีวิต ได้ให้หมดสิ้นเช่น 018 วันก่อนเหมือนกัน ในสรีระของเราไม่มีความหมองศรีเพราะการอด 019 อาหารนั้นเป็นปัจจัย เรายับยั้งอยู่ตลอดวันนั้นๆ ด้วยปีติ สุข และ 020 ความยินดี (อันเกิดแต่ความยินดี) ถ้าเราพึงได้ทักขิเณยยบุคคลผู้ 021 ประเสริฐ แม้เดือนหนึ่งสองเดือนเราก็ไม่หวั่นไหว ไม่ท้อแท้ใจ 022 พึงให้ทานอันอุดม เมื่อให้ทานแก่อินทพราหมณ์นั้น เราจะได้ 371 001 ปรารถนายศและลาภก็หามิได้ เราปรารถนาพระสัพพัญญุตญาณ 002 (เท่านั้น) จึงได้ประพฤติกรรมเหล่านั้น ฉะนี้. 003 จบอกิตติจริยาที่ ๑ 004 สังขพราหมณจริยาที่ ๒ 005 ว่าด้วยจริยาวัตรของสังขพราหมณ์ 006 [๒] อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อเราเป็นพราหมณ์มีนามว่าสังขะ ต้องการจะข้าม 007 มหาสมุทรไปอาศัยปัฏฏนคามอยู่ ในกาลนั้น เราได้เห็นพระปัจเจก 008 พุทธเจ้าผู้รู้เอง ใครๆ ชนะไม่ได้ ซึ่งเดินสวนทางมาตามทางกันดาร 009 บนภาคพื้นอันแข็ง ร้อนจัด ครั้นเราเห็นท่านเดินสวนทางมา จึงคิด 010 เนื้อความนี้ว่า บุญเขตนี้มาถึงแก่เราผู้เป็นสัตว์ที่ต้องการบุญเปรียบ 011 เหมือนบุรุษชาวนาเห็นนาอันเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ (เป็นที่น่ายินดีมาก) ไม่ 012 ปลูกพืชลงในนานั้น เขาชื่อว่าเป็นผู้ไม่ต้องการด้วยข้าวเปลือกฉันใด 013 เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ต้องการบุญ เห็นเขตบุญอันประเสริฐ 014 สุดแล้ว ถ้าไม่ทำบุญ (สักการะ) เราก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ต้องการบุญ 015 เปรียบเหมือนอำมาตย์ต้องการจะให้ชนชาวเมืองของพระราชายินดี 016 แต่ไม่ให้ทรัพย์และข้าวเปลือกแก่เขา ก็ย่อมเสื่อมจากความยินดี 017 ฉันใด เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ต้องการบุญ เห็นทักขิเณยย 018 บุคคลอันไพบูลย์แล้ว ถ้าไม่ให้ทานในทักขิเณยยบุคคลนั้นก็จัก 019 เสื่อมจากบุญ ครั้นเราคิดอย่างนี้แล้วจึงถอดรองเท้า ไหว้เท้าของ 020 ท่านแล้ว ได้ถวายร่มและรองเท้า เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้ละเอียด 021 อ่อนเจริญสุขได้ร้อยเท่าพันทวี อนึ่ง เมื่อเราบำเพ็ญทานให้บริบูรณ์ 022 ได้ถวายแก่ท่านนั้น อย่างนี้แล. 023 จบสังขพราหมณจริยาที่ ๒ 372 001 กุรุธรรมจริยาที่ ๓ 002 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าธนญชัย 003 [๓] อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อเราเป็นพระราชามีนามว่าธนญชัย อยู่ใน 004 อินทปัตถบุรีอันอุดม ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ 005 ในกาลนั้น พวกพราหมณ์ชาวกาลิงครัฐ ได้มาหาเรา ขอพระยาคช 006 สารทรง อันประกอบด้วยมงคลหัตถี กะเราว่าชนบทฝนไม่ตกเลย 007 เกิดทุพภิกขภัย อดอยากอาหารมาก ขอพระองค์จงทรงพระราชทาน 008 พระยาคชสารตัวประเสริฐมีสีกายเขียวชื่ออัญชนะเถิด เราคิดว่า 009 การห้ามยาจกทั้งหลายที่มาถึงแล้ว ไม่สมควรแก่เราเลย กุศล 010 สมาทานของเราอย่าทำลายเสียเลย เราจักให้คชสารตัวประเสริฐ 011 เราได้รับงวงพระยาคชสาร วางลงบนมือพราหมณ์ แล้วจึงหลั่งน้ำใน 012 เต้าทองลงบนมือได้ให้พระยาคชสารแก่พราหมณ์ เมื่อเราได้ให้ 013 พระยาคชสารแล้ว พวกอำมาตย์ได้กล่าวดังนี้ว่า เหตุไรหนอพระองค์ 014 จึงพระราชทานพระยาคชสารตัวประเสริฐ อันประกอบด้วยธัญญ 015 ลักษณ์ สมบูรณ์ด้วยมงคล ชนะในสงครามอันสูงสุด แก่ยาจก 016 เมื่อพระองค์ทรงพระราชทานคชสารแล้ว พระองค์จักเสวยราชสมบัติ 017 ได้อย่างไร [เราได้ตอบว่า] แม้ราชสมบัติทั้งหมดเราก็พึงให้ ถึง 018 สรีระของตน เราก็พึงให้ เพราะสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา 019 ฉะนั้น เราจึงได้ให้พระยาคชสาร ดังนี้แล. 020 จบกุรุธรรมจริยาที่ ๓ 021 มหาสุทัสนจริยาที่ ๔ 022 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระมหาสุทัสนจักรพรรดิ 023 [๔] ในเมื่อเราเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ทรงพระนามว่ามหาสุทัสนะ 373 001 มีพลานุภาพมาก ได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน เสวยราชสมบัติในพระนคร 002 กุสาวดี ในกาลนั้น เราได้สั่งให้ประกาศทุกๆ วัน วันละ ๓ ครั้งว่า 003 ใครอยากปรารถนาอะไร เราจะให้ทรัพย์อะไรแก่ใคร ใครหิว ใคร 004 กระหาย ใครต้องการดอกไม้ ใครต้องการเครื่องลูบไล้ ใครขาด 005 แคลนผ้าสีต่างๆ ก็จงมาถือเอาไปนุ่งห่ม ใครต้องการร่มไปในหนทาง 006 ก็จงมารับเอาไป ใครต้องการรองเท้าอันอ่อนงาม ก็จงมารับเอาไป 007 เราให้ประกาศดังนี้ทั้งเวลาเย็น ทั้งเวลาเช้า ทุกวัน ทานนั้นมิใช่เรา 008 ตกแต่งไว้ในที่ ๑๐ แห่ง หรือมิใช่ ๑๐๐ แห่งเราตกแต่งทรัพย์ไว้ 009 สำหรับยาจกในที่หลายร้อยแห่ง วณิพกจะมาในเวลากลางวันก็ตาม 010 หรือในเวลากลางคืนก็ตามก็ได้โภคะตามความปรารถนา พอเต็มมือ 011 กลับไป เราได้ให้มหาทานเห็นปานนี้จนตราบเท่าสิ้นชีวิต เราได้ให้ 012 ทรัพย์ที่น่าเกลียดก็หามิได้ และเราไม่มีการสั่งสมก็หามิได้ เปรียบ 013 เหมือนคนไข้กระสับกระส่าย เพื่อจะพ้นจากโรค ต้องการให้หมอ 014 พอใจด้วยทรัพย์จึงหายจากโรคได้ ฉันใด เราก็ฉันนั้น รู้อยู่ (ว่า ทาน 015 บริจาคเป็นอุบายเครื่องเปลื้องตนและสัตว์โลกทั้งสิ้น ให้พ้นจากโลก 016 คือสังขารทุกข์ทั้งสิ้นได้) จึงบำเพ็ญทานให้บริบูรณ์โดยไม่มีเศษเหลือ 017 เพื่อยังใจที่บกพร่องให้เต็มเราจึงให้ทานแก่วณิพกเรามิได้อาลัย มิได้ 018 หวังอะไร ได้ให้ทานเพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้แล. 019 จบมหาสุทัสนจริยาที่ ๔ 020 มหาโควินทจริยาที่ ๕ 021 ว่าด้วยจริยาวัตรของโควินทพราหมณ์ 022 [๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นพราหมณ์นามว่ามหาโควินท์เป็น 023 ปุโรหิตของพระราชา ๗ พระองค์ อันนรชนและเทวดาบูชา ใน 374 001 กาลนั้น เครื่องบรรณาการอันใดในราชอาณาจักรทั้ง ๗ ได้มีแล้วแก่ 002 เรา เราได้ให้มหาทานร้อยล้านแสนโกฏิเปรียบด้วยสาครด้วย 003 บรรณาการนั้น เราจะเกลียดทรัพย์และข้าวเปลือกก็หามิได้ และ 004 เราจะไม่มีการสั่งสมก็หามิได้ แต่พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของ 005 เรา ฉะนั้น เราจึงให้ทานอย่างประเสริฐ ฉะนี้แล. 006 จบมหาโควินทจริยาที่ ๕ 007 เนมิราชจริยา ที่ ๖ 008 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าเนมิราช 009 [๖] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นมหาราชาพระนามว่าเนมิเป็นบัณฑิต 010 ต้องการกุศลอยู่ในพระนครมิถิลาอันอุดมในกาลนั้น เราได้สร้าง 011 ศาลา ๔ แห่ง อันมีหน้ามุขหลังละสี่ๆ เรายังทานให้เป็นไปในศาลา 012 นั้นแก่ เนื้อ นก และนรชนเป็นต้น ยังมหาทาน คือ เครื่อง 013 นุ่งห่ม ที่นอน และโภชนะ คือ ข้าว และน้ำ ให้เป็นไปแล้วไม่ 014 ขาดสาย เปรียบเหมือนเสวก เข้าไปหานายเพราะเหตุแห่งทรัพย์ 015 ย่อมแสวงหานายที่พึงให้ยินดีได้ ด้วยกายกรรม วจีกรรม และ 016 มโนกรรมฉันใด เราก็ฉันนั้น จักแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณใน 017 ภพทั้งปวง จึงยังสัตว์ทั้งหลายให้อิ่มหนำด้วยทาน แล้วปรารถนา 018 โพธิญาณอันอุดม ฉะนี้แล. 019 จบเนมิราชจริยาที่ ๖ 020 จันทกุมารจริยาที่ ๗ 021 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระจันทกุมาร 022 [๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นโอรสของพระเจ้าเอกราชมีนามว่า 023 จันทกุมาร อยู่ในพระนครปุบผวดี ในกาลนั้นเราพ้นจากการบูชายัญ 024 แล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้นยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้วยัง 375 001 มหาทานให้เป็นไป เราไม่ให้ทานแก่ทักขิเณยยบุคคลแล้วย่อมไม่ 002 ดื่มน้ำ ไม่เคี้ยวของเคี้ยว และไม่บริโภคโภชนะ ๕-๖ ราตรีบ้าง 003 เปรียบเหมือนพ่อค้า รวบรวมสินค้าไว้แล้ว ในที่ใดจะมีลาภมาก 004 (ได้กำไรมาก) ก็นำสินค้าไปในที่นั้น ฉันใดแม้อาหารของตนที่เรา 005 ให้แล้วแก่คนอื่น มีกำลังมาก (มากมาย) ฉันนั้น (สิ่งของที่เราให้ผู้ 006 อื่น มีกำลังมากกว่าสิ่งของที่ตนใช้เอง ฉันนั้น) เพราะฉะนั้น พาน 007 ที่เราให้ผู้อื่นจักเป็นส่วนร้อย เรารู้อำนาจประโยชน์นี้ จึงให้ทาน 008 ในภพน้อยภพใหญ่ เราไม่ถอยกลับ (ไม่ท้อถอย) จากการให้ทาน 009 เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้แล. 010 จบจันทกุมารจริยาที่ ๗ 011 สีวีราชจริยาที่ ๘ 012 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าสีวีราช 013 [๘] ในกาลเมื่อเราเป็นกษัตริย์พระนามว่าสีวี อยู่ในพระนครอันมีนามว่า 014 อริฏฐะ เรานั่งอยู่ในปราสาทอันประเสริฐ ได้ดำริอย่างนี้ว่า ทานที่ 015 มนุษย์พึงให้อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เราไม่ได้ให้แล้วไม่มี แม้ผู้ใดพึงขอ 016 จักษุกะเรา เราก็พึงให้ไม่หวั่นใจเลย ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่า 017 ทวยเทพทรงทราบความดำริของเราแล้ว ประทับนั่งในเทพบริษัท 018 ได้ตรัสพระดำรัสนี้ว่าพระเจ้าสีวีผู้มีฤทธิ์มาก ประทับนั่งในปราสาท 019 อันประเสริฐ พระองค์ทรงดำริถึงทานต่างๆ ไม่ทรงเห็นสิ่งที่ยังมิได้ 020 ให้ข้อนั้นจะเป็นจริงหรือไม่หนอ ผิฉะนั้น เราจักทดลองพระองค์ดู 021 ท่านทั้งหลายพึงคอยอยู่สักครู่หนึ่ง เพียงเรารู้น้ำใจของพระเจ้าสีรี 022 เท่านั้น ท้าวสักกะจึงทรงแปลงเพศเป็นคนตาบอด มีกายสั่น ศีรษะ 023 หงอก หนังหย่อน กระสับกระส่าย เพราะชรา เข้าไปเฝ้าพระราชา 024 ในกาลนั้น อินทพราหมณ์นั้น ประคองพระพาหาเบื้องซ้ายขวา 376 001 ประนมกรอัญชลีเหนือเศียรได้กล่าวคำนี้ว่า ข้าแต่พระมหาราชาผู้ 002 ทรงธรรม ทรงปกครองรัฐให้เจริญ ข้าพระองค์จะขอกะพระองค์ 003 เกียรติคุณคือความยินดีในทานของพระองค์ ขจรไปในเทวดาและ 004 มนุษย์หน่วยตาแม้ทั้งสองของข้าพระองค์บอดเสียแล้ว ขอจงพระ 005 ราชทานพระเนตรข้างหนึ่งแก่ข้าพระองค์เถิด แม้พระองค์จักทรงยัง 006 อัตภาพให้เป็นไปด้วยพระเนตรข้างหนึ่ง เราได้ฟังคำของพราหมณ์ 007 นั้นแล้ว ทั้งดีใจและสลดใจประคองอัญชลี มีปีติและปราโมทย์ ได้ 008 กล่าวคำนี้ว่า เราคิดแล้วลงจากปราสาทมาถึงที่นี้บัดนี้เอง ท่านรู้จิต 009 ของเราแล้ว มาขอนัยน์ตา โอ ความปรารถนาของเราสำเร็จแล้ว 010 ความดำริของเราบริบูรณ์แล้ว วันนี้ เราจักให้ทานอันประเสริฐ ซึ่ง 011 เราไม่เคยให้ แก่ยาจก มานี่แน่ะหมอสิวิกะ จงขมีขมันอย่าชักช้า 012 อย่าครั่นคร้าม จงควักนัยน์ตาแม้ทั้งสองข้างออกให้แก่วณิพกนี้ 013 เดี๋ยวนี้ หมอสิวิกะนั้นเราเตือนแล้ว เชื่อฟังคำของเรา ได้ควัก 014 นัยน์ตาทั้งสองออกให้แก่ยาจกทันที เมื่อเราจะให้ก็ดี กำลังให้ก็ดี 015 ให้แล้วก็ดี จิตของเราไม่เป็นอย่างอื่น เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณ 016 นั้นเอง จักษุทั้งสองเราจะเกลียดชังก็หามิได้ แม้ตนเราก็มิได้ 017 เกลียดชัง แต่พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา ฉะนั้น เราจึง 018 ได้ให้จักษุ ฉะนี้แล. 019 จบสีวีราชจริยาที่ ๘ 020 เวสสันตรจริยาที่ ๙ 021 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเวสสันดร 022 [๙] นางกษัตริย์พระนามว่าผุสสดีพระชนนีของเรา พระนางเป็นมเหสี

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับเราต้องพึ่งตัวเราเอง คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ บุคคลผู้ฝึกตนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้แสนยาก

เสียงที่ทำให้จิตเข้าถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ ฟังเพลง บรรลุธรรม เอนทรี่ก่อนได้พูดถึงแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก... ฟังเพลง บรรลุธรรม เอนทรี่ก่อนได้พูดถึงแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธาดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอปริหานิยธรรม ๗ อีกหมวดหนึ่ง แก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับ พระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ๑. พวกภิกษุจักเจริญอนิจจสัญญา... ๒. ...อนัตตสัญญา... ๓. ...อสุภสัญญา... ๔. ...อาทีนวสัญญา... ๕. ...ปหานสัญญา ๖. ...วิราคสัญญา... ๗. พวก ภิกษุจักเจริญนิโรธสัญญา อยู่เพียงใด พึงหวังได้ซึ่งความเจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อม เพียงนั้น

วิธีละความยินดีในโลกียสุขของพระอนาคามีบุคคลข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก- *เศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ภิกษุมากรูปด้วยกัน ในตอนเช้า นุ่งแล้ว ถือบาตร และจีวรเข้าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี ภิกษุเหล่านั้นต่างมีความคิดร่วมกันว่า ยังเช้าอยู่นัก อย่าเพิ่งเข้าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถีเลย ทางที่ดี พวกเราควรเข้าไปยังอารามของพวกปริพาชก อัญญเดียรถีย์เถิด ดังนี้แล้ว ต่างก็มุ่งตรงไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ ครั้นแล้ว ได้สนทนาปราศรัยกับพวกปริพาชก อัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกัน ไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พวกปริพาชก อัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ได้กล่าวกะพวก ภิกษุผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งดังนี้ว่า ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนด รู้กามได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้กามได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนด รู้รูปได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้รูปได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้ เวทนาได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้เวทนาได้ ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ในเรื่องนี้ อะไร เล่า เป็นข้อแปลกกัน อะไรเป็นผลที่มุ่งหมาย หรือกระทำให้ต่างกันระหว่างพระสมณโคดมกับ พวกข้าพเจ้า เช่นการแสดงธรรมกับการแสดงธรรม หรืออนุสาสนีกับอนุสาสนี พวกภิกษุเหล่า นั้นไม่ยินดี ไม่คัดค้านคำที่พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นกล่าวแล้ว ครั้นแล้วลุกจากที่นั่งหลีก ไป ด้วยคิดว่า เราจักทราบข้อความแห่งภาษิตนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค. [๑๙๕] ครั้งนั้นแล ภิกษุเหล่านั้นเที่ยวบิณฑบาตไปในพระนครสาวัตถีกลับจากบิณฑบาต ในเวลาปัจฉาภัตแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพระ- *องค์ขอประทานพระวโรกาส เช้าวันนี้ พวกข้าพระองค์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาต ในพระนครสาวัตถี พวกข้าพระองค์ต่างมีความคิดร่วมกันว่า ยังเช้าอยู่นัก อย่าเพิ่งเข้าไปบิณฑบาต ในพระนครสาวัตถีเลย ทางที่ดี พวกเราควรเข้าไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เถิด พวกข้าพระองค์ต่างก็มุ่งตรงไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ ครั้นแล้วได้สนทนาปราศรัย กับพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์นั้นเหล่า ได้กล่าวกะพวกข้าพระองค์ ผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งดังนี้ว่า ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้กามได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้กามได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้รูปได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้รูปได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้เวทนาได้ แม้ พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้เวทนาได้ ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ในเรื่องนี้ อะไรเล่าเป็นข้อ แปลกกัน อะไรเป็นผลที่มุ่งหมาย หรือกระทำให้ต่างกัน ระหว่างพระสมณโคดมกับพวกข้าพเจ้า เช่นการแสดงธรรมกับการแสดงธรรม หรืออนุสาสนีกับอนุสาสนี พวกข้าพระองค์ไม่ยินดี ไม่คัดค้านคำที่พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นกล่าวแล้ว ครั้นแล้วลุกจากที่นั่งหลีกไปด้วยคิดว่า เราจักทราบข้อความแห่งภาษิตนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค. คุณและโทษของกาม [๑๙๖] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผู้มีวาทะ อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็อะไรเล่าเป็นคุณ อะไรเป็นโทษ อะไร เป็นการถ่ายถอนของกามทั้งหลาย คือ อะไรเป็นคุณ อะไรเป็นโทษ อะไรเป็นการถ่ายถอนของรูป ทั้งหลาย อะไรเป็นคุณ อะไรเป็นโทษ อะไรเป็นการถ่ายถอนของเวทนาทั้งหลาย? ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ถูกพวกเธอถามอย่างนี้ จักไม่พอใจเลย และจักต้องคับแค้น อย่างยิ่ง ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร? เพราะข้อนั้นมิใช่วิสัย ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราไม่เห็นผู้ที่จะพึง ยังจิตให้ยินดีด้วยการพยากรณ์ปัญหาเหล่านี้ ในโลกเป็นไปกับด้วยเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ เป็นไปกับด้วยสมณะ และพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เว้นไว้แต่ตถาคต หรือสาวก ของตถาคต หรือมิฉะนั้นก็ฟังจากนี้. [๑๙๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นคุณของกามทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ รูปที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ น่าปรารถนา น่าใคร่ น่า- *พอใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด เสียงที่พึงรู้แจ้งด้วยโสต ... กลิ่นที่พึงรู้แจ้ง ด้วยฆานะ ... รสที่พึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ... โผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้งด้วยกาย น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณ ๕ ประการ เหล่านี้แล ความสุข ความโสมนัสใดเล่า อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้เกิดขึ้น นี้เป็นคุณของกาม ทั้งหลาย. [๑๙๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นโทษของกามทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรในโลกนี้ เลี้ยงชีวิตด้วยความขยันประกอบศิลปใด คือ ด้วยการนับคะแนนก็ดี ด้วยการ คำนวณก็ดี ด้วยการนับจำนวนก็ดี ด้วยการไถก็ดี ด้วยการค้าขายก็ดี ด้วยการเลี้ยงโคก็ดี ด้วย การยิงธนูก็ดี ด้วยการเป็นราชบุรุษก็ดี ด้วยศิลปอย่างใดอย่างหนึ่งก็ดี ต้องตรากตรำต่อความหนาว ต้องตรากตรำต่อความร้อน งุ่นง่านอยู่ด้วยสัมผัสแต่เหลืบ ยุง ลม แดด และสัตว์เสือกคลาน ต้องตายด้วยความหิวระหาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ ที่เห็นๆ กันอยู่ มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม ทั้งหลายทั้งนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อ พยายามอยู่อย่างนี้ โภคะ เหล่านั้นก็ไม่สำเร็จผล เขาย่อมเศร้าโศก ลำบาก รำพัน ตีอก คร่ำครวญ ถึงความหลงเลือนว่า ความขยันของเราเป็นโมฆะหนอ ความพยายามของเราไม่มีผลหนอ ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ก็เป็น โทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อ พยายามอยู่อย่างนี้ โภคะเหล่านั้น สำเร็จผล เขากลับเสวยทุกข์ โทมนัส ที่มีการคอยรักษาโภคะเหล่านั้นเป็นตัวบังคับว่า ทำอย่างไร พระราชาทั้งหลาย ไม่พึงริบโภคะเหล่านั้นไปได้ พวกโจรพึงปล้นไม่ได้ ไฟไม่พึงไหม้ น้ำไม่พึงพัด ทายาทอัปรีย์พึงนำไปไม่ได้ เมื่อกุลบุตรนั้นคอยรักษาคุ้มครองอยู่อย่างนี้ พระราชาทั้งหลาย ริบโภคะเหล่านั้นไปเสียก็ดี พวกโจรปล้นเอาไปเสียก็ดี ไฟไหม้เสียก็ดี น้ำพัดไปเสียก็ดี ทายาท อัปรีย์นำไปเสียก็ดี เขาย่อมเศร้าโศก ลำบาก รำพัน ตีอก คร่ำครวญ ถึงความหลงเลือนว่า สิ่งใดเคยเป็นของเรา แม้สิ่งนั้นก็ไม่เป็นของเรา ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกาม ทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัว บังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล แม้พระราชาทั้งหลายก็วิวาทกันกับพวกพระราชา แม้ พวกกษัตริย์ก็วิวาทกันกับพวกกษัตริย์ แม้พวกพราหมณ์ก็วิวาทกันกับพวกพราหมณ์ แม้คฤหบดี ก็วิวาทกันกับพวกคฤหบดี แม้มารดาก็วิวาทกับบุตร แม้บุตรก็วิวาทกับมารดา แม้บิดาก็วิวาทกับ- *บุตร แม้บุตรก็วิวาทกับบิดา แม้พี่ชายน้องชายก็วิวาทกันกับพี่ชายน้องชาย แม้พี่ชายก็วิวาทกับ น้องสาว แม้น้องสาวก็วิวาทกับพี่ชาย แม้สหายก็วิวาทกับสหาย ชนเหล่านั้นต่างถึงการทะเลาะ แก่งแย่ง วิวาทกันในที่นั้นๆ ทำร้ายซึ่งกันและกัน ด้วยฝ่ามือบ้าง ด้วยก้อนดินบ้าง ด้วยท่อนไม้ บ้าง ด้วยศาตราบ้าง ถึงความตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตายบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนต่างถือดาบและโล่ห์สอดแล่งธนู วิ่งเข้าสู่สงคราม ปะทะ กันทั้ง ๒ ข้าง เมื่อลูกศรทั้งหลายถูกยิงไปบ้าง เมื่อหอกทั้งหลายถูกพุ่งไปบ้าง เมื่อดาบทั้งหลาย ถูกกวัดแกว่งอยู่บ้าง ฝูงชนเหล่านั้นต่างก็ถูกลูกศรแทงเอาบ้าง ถูกหอกแทงเอาบ้าง ถูกดาบตัด- *ศีรษะเสียบ้าง ในที่นั้น พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตายบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัว บังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนถือดาบและโล่ห์สอดแล่งธนู ตรูกันเข้าไปสู่ เชิงกำแพงที่ฉาบด้วยเปือกตมร้อน เมื่อลูกศรถูกยิงไปบ้าง เมื่อหอกถูกพุ่งไปบ้าง เมื่อดาบถูกกวัด- *แกว่งบ้าง ชนเหล่านั้นต่างถูกลูกศรแทงบ้าง ถูกหอกแทงบ้าง ถูกรดด้วยโคมัยร้อนบ้าง ถูกสับ ด้วยคราดบ้าง ถูกตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง ในที่นั้น พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตาย บ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนตัดที่ต่อบ้าง ปล้นอย่างกวาดล้างบ้าง กระทำการปล้น เรือนหลังเดียวบ้าง ดักปล้นในหนทางบ้าง สมสู่ภรรยาคนอื่นบ้าง พระราชาทั้งหลาย จับคนนั้นๆ ได้แล้ว ให้กระทำกรรมกรณ์ต่างๆ เฆี่ยนด้วยแซ่บ้าง เฆี่ยนด้วยหวายบ้าง ตีด้วยไม้ค้อนบ้าง ตัดมือเสียบ้าง ตัดเท้าเสียบ้าง ตัดทั้งมือทั้งเท้าเสียบ้าง ตัดหูเสียบ้าง ตัดจมูกเสียบ้าง ตัดทั้งหู ทั้งจมูกเสียบ้าง กระทำกรรมกรณ์ ชื่อพิลังคถาลิก [หม้อเคี่ยวน้ำส้ม] บ้าง ชื่อสังขมุณฑกะ [ขอดสังข์] บ้าง ชื่อราหูมุข [ปากราหู] บ้าง ชื่อโชติมาลิก [พุ่มเพลิง] บ้าง ชื่อหัตถปัชโชติก [มือไฟ] บ้าง ชื่อเอรกวัตติก [นุ่งหนังช้าง] บ้าง ชื่อจีรกวาสิก [นุ่งสร่าย] บ้าง ชื่อเอเณยยกะ [ยืนกวาง] บ้าง ชื่อพลิสมังสิก [กระชากเนื้อด้วยเบ็ด]บ้าง ชื่อกหาปณกะ [ควักเนื้อทีละ- *กหาปณะ] บ้าง ชื่อขาราปฏิจฉก [แปรงแสบ] บ้าง ชื่อปลิฆปริวัตติก [วนลิ่ม] บ้าง ชื่อปลาลปีฐก [ตั่งฝาง] บ้าง รดด้วยน้ำมันที่ร้อนบ้าง ให้สุนัขกัดกินบ้าง เสียบที่หลาวทั้งเป็นบ้าง ใช้ดาบตัด ศีรษะเสียบ้าง คนเหล่านั้นถึงตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตายบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นๆ กันอยู่ มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนต่างประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ชนเหล่านั้น ครั้นประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึง อบาย ทุคติ วินิบาตนรก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ ในสัมปรายภพ มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม ทั้งหลายทั้งนั้น. [๑๙๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นการถ่ายถอนของกามทั้งหลาย? ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย การกำจัดฉันทราคะในกามทั้งหลาย การละฉันทราคะในกามทั้งหลายใด นี้เป็นการถ่าย- *ถอนของกามทั้งหลาย. [๒๐๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่รู้ชัดคุณของกาม ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของกามทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของกามทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นน่ะหรือ จักรอบรู้กามทั้ง- *หลายด้วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อื่น เพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้กามทั้งหลาย ได้ ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง รู้ชัดคุณของกามทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของกามทั้งหลาย โดยความเป็นโทษและการถ่ายถอน กามทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นแหละหนอ จักรอบรู้กามทั้งหลายด้วยตนเองได้ หรือจักชักจูงผู้อื่น เพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้ กามทั้งหลายได้ ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้. [๒๐๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นคุณของรูปทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า นางสาวเผ่ากษัตริย์ เผ่าพราหมณ์ หรือเผ่าคฤหบดีมีอายุระบุได้ว่า ๑๕ ปี หรือ ๑๖ ปี ไม่สูงเกินไป ไม่ต่ำเกินไป ไม่ผอมเกินไป ไม่อ้วนเกินไป ไม่ดำเกินไป ไม่ขาวเกินไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้นนางคนนั้น งดงามเปล่งปลั่งเป็นอย่างยิ่ง ใช่หรือไม่เล่า? พวกภิกษุ พากันกราบทูลว่าเป็นเช่นนั้นพระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความสุข ความโสมนัสอันใดแล ที่บังเกิดขึ้นเพราะอาศัยความงามเปล่งปลั่ง นี้เป็นคุณของรูปทั้งหลาย. [๒๐๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นโทษของรูปทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละในโลกนี้ โดยสมัยอื่น มีอายุ ๘๐-๙๐ หรือ ๑๐๐ ปี โดยกำเนิด เป็นยายแก่ มีซี่โครงคดดังกลอนเรือนร่างขดงอ ถือไม้เท้ากระงกกระเงิ่น เดินสั่นระทวย กระสับกระส่าย ผ่านวัยเยาว์ไปแล้วมีฟันหลุด ผมหงอก ผมโกร๋น ศีรษะล้าน เนื้อเหี่ยว มีตัว ตกกระ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มี ในครั้งก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละมีอาพาธ มีทุกข์ เจ็บหนัก นอนจมมูตรคูถของตน ต้องให้คนอื่นพยุงลุก ต้องให้คนอื่นคอยประคอง ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย เธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็นซากศพ ถูกทิ้งไว้ในป่าช้า ตายได้ ๑ วันก็ดี ตายได้ ๒ วันก็ดี ตายได้ ๓ วันก็ดี เป็นซากศพขึ้นพอง ก็ดี มีสีเขียวก็ดี เกิดหนอนชอนไชก็ดี ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็นซากศพถูกทิ้ง ไว้ในป่าช้า ฝูงการุมกันจิกกินบ้าง ฝูงแร้งรุมกันจิกกินบ้าง ฝูงนกเค้ารุมกันจิกกินบ้าง ฝูงสุนัขรุม กันกัดกินบ้าง ฝูงสุนัขจิ้งจอกรุมกันกัดกินบ้าง ฝูงปาณกชาติต่างๆ รุมกันกัดกินบ้าง ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็นซากศพถูกทิ้งไว้ ในป่าช้า มีแต่โครงกระดูก มีเนื้อและเลือดติดอยู่ มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ มีแต่โครงกระดูก ปราศจาก เนื้อเปื้อนเลือด มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ มีแต่โครงกระดูกปราศจากเนื้อและเลือด มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ เป็นแต่กระดูก ปราศจากเอ็นยึด กระจัดกระจายไปในทิศน้อยทิศใหญ่ คือ กระดูกมือทางหนึ่ง กระดูกเท้าทางหนึ่ง กระดูกแข้งทางหนึ่ง กระดูกขาทางหนึ่ง กระดูกสะเอวทางหนึ่ง กระดูกสันหลัง ทางหนึ่ง กระดูกซี่โครงทางหนึ่ง กระดูกหน้าอกทางหนึ่ง กระดูกแขนทางหนึ่ง กระดูกไหล่ทาง หนึ่ง กระดูกคอทางหนึ่ง กระดูกคางทางหนึ่ง กระดูกฟันทางหนึ่ง หัวกระโหลกทางหนึ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่งที่มีในก่อนนั้น หายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวนั้นแหละ เป็นซากศพถูก ทิ้งไว้ในป่าช้า เหลือแต่กระดูกสีขาว เปรียบเทียบได้กับสีสังข์ ฯลฯ เหลือแต่กระดูกตกค้างแรมปี เรียงรายเป็นหย่อมๆ ฯลฯ เหลือแต่กระดูกผุแหลกยุ่ย ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญ ข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. [๒๐๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นการถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย? ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย การกำจัดฉันทราคะในรูปทั้งหลาย การละฉันทราคะในรูปทั้งหลาย นั้นใด นี้เป็นการ ถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย. กำหนดรู้รูป [๒๐๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่รู้ชัดคุณของรูป ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นน่ะหรือ จักรอบรู้รูปทั้งหลาย ด้วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อื่น เพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้รูปทั้งหลายได้ ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าหนึ่ง รู้ชัดคุณของรูป ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นแหละหนอ จักรอบรู้รูป ทั้งหลายด้วยตนเองได้ หรือจักชักจูงผู้อื่นเพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้รูปทั้งหลายได้ ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้. [๒๐๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นคุณของเวทนาทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่วิเวกอยู่ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายตน ย่อมไม่ คิดเพื่อจะทำลายผู้อื่น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายทั้งสองฝ่าย ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนา อันไม่มี ความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวคุณของเวทนาทั้งหลายว่า มีความ ไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในสมัยใด ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนา อันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวคุณของเวทนา ทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุข ด้วยกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ฯลฯ ในสมัยใด ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลาย ตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนาอันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวคุณแห่งเวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะ ละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในสมัยใด ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวย เวทนาอันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวคุณแห่งเวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง [๒๐๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นโทษของเวทนาทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดานี้เป็น โทษของเวทนาทั้งหลาย. [๒๐๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นการถ่ายถอนของเวทนา? ทั้งหลาย ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย การกำจัด การละฉันทราคะ ของเวทนาทั้งหลายเสียได้ นี้เป็นการถ่ายถอนของเวทนา ทั้งหลาย. กำหนดรู้เวทนา [๒๐๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่รู้ชัดคุณของเวทนา ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นโทษและการถ่ายถอนของเวทนา ทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวมานี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นน่ะหรือจัก รอบรู้เวทนาทั้งหลายด้วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อื่นเพื่อเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้ว จักรอบรู้เวทนา ทั้งหลายได้ ข้อนี้มิใช่ฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่า- *หนึ่ง รู้ชัดคุณของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นคุณ โทษของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวมานี้ ตามความเป็น จริง พวกนั้นแหละหนอ จักรอบรู้เวทนาทั้งหลาย ด้วยตนเองได้หรือจักชักจูงผู้อื่นเพื่อความเป็น อย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้ว จักรอบรู้เวทนาทั้งหลายก็ได้ ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจชื่นชมยินดีพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล้วแล.

วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียวโลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียว

จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียวโลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียว

ดีใจพระโพธิสัตว์ บุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ต้องประกอบด้วยองค์ธรรม ซึ่งเรียกว่าธรรมสโมธาน (การประชุมธรรม) ๕ ประการ ๓ คือ:- ๑. ความเป็นมนุษย์ (มนุสฺสตฺตํ) คือ ในชาติที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ต้องเป็นมนุษย์เท่านั้น เป็นเทวดาไม่ได้ ไม่ต้องกล่าวถึงเป็นสัตว์นรก สัตว์เดรัจฉาน เปรต หรือ อสุรกาย ๒. ความถึงพร้อมด้วยเพศ (ลิงฺคสมฺปตฺติ) คือ เป็นเพศชายเท่านั้น จะเป็นผู้หญิง กะเทยและอุภโตพยัญชนก (บุคคลที่มี ๒ เพศในคนเดียวกัน) ไม่ได้ แต่กระนั้น ผู้หญิงสามารถเป็นมารดาของผู้ที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าได้ ๓. การเห็นท่านผู้ปราศจากอาสวกิเลสทั้งหลาย (วิคตาสวทสฺสนํ) คือ การเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าหรือพระอนุพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง ๔. อธิการ (อธิกาโร) คือกระทำอันยิ่ง ต้องบริจาคชีวิตของตนเองแล้วจึงตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ๕. ความพอใจ (ฉนฺทตา) คือ ความเป็นผู้ปรารถนาเพื่อทำให้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า แม้ว่าจะยากลำบากประสบพบปัญหาอุปสรรคมากเพียงใดก็ตาม อาทิเช่น มีคนกล่าวว่า ใครก็ตามที่สามารถเหยียบสากลจักรวาล อันเต็มไปด้วยถ่านเพลิงที่ปราศจากเปลวไฟได้ ใครก็ตามที่สามารถเหยียบข้ามสากลจักวาลอันเกลื่อนกล่นด้วยหอกและหลาวได้ ใครก็ตามที่สามารถลุยข้ามสากลจักรวาลอันเต็มไปด้วยน้ำปริ่มฝั่งได้ ใครก็ตามที่สามารถก้าวล่วงสากลจักรวาลซึ่งดารดาษด้วยกอไผ่ชั่วนิรันดรได้ จึงตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าได้ บุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าบอกว่า "เราสามารถทำเช่นนั้นได้" มีคาถาแสดงไว้ว่า "มนุสฺสตฺตํ ลิงฺคสมฺปตฺติ วิคตาสวทสฺสนํ อธิกาโร ฉนฺทตา เอเต อภินีหารการณาฯ" "มีเหตุแห่งปณิธานขึ้นพื้นฐาน (ก็เพราะธรรมสโมธาน ๕ ประการ) เหล่านี้ คือ ความเป็นมนุษย์, ความถึงพร้อมด้วยเพศ,การเห็นท่านผู้ปราศจากอาสวะ, อธิการและความพอใจ" แต่สำหรับบุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต้องประกอบด้วยองค์ธรรมซึ่งเรียกว่า ธรรมสโมธาน ๘ ประการ๔ คือ:- ๑. ความเป็นมนุษย์ (มนุสฺสตฺตํ) มีนัยเดียวกับองค์ธรรมของบุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ๒. ความถึงพร้อมด้วยเพศ (ลิงฺสมฺปตฺติ) ก็มีนัยเดียกัน ๓. เหตุ (เหตุ) คือ ความถึงพร้อมด้วยอุปนิสัยแห่งพระอรหันต์ ในชาติที่ตั้งปณิธานเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าพยายามอย่างเต็มกำลัง จะสามารถเป็นพระอรหันต์ได้ ๔. การเห็นพระศาสดา (สตฺถารทสฺสนํ) คือการเห็นเฉพาะพระพักตร์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง อาทิเช่นสุเมธบัณฑิตได้เห็นพระทีปังกรพุทธเจ้าเฉพาะพระพักตร์แล้วจึงตั้งปณิธาน ๕. การบรรพชา (ปพฺพชฺชา) คือ ความเป็นอนาคาริก ต้องเป็นนักบวชผู้เป็นกรรมวาทีและกิริยวาที อาทิเช่น สุเมธบัณฑิตเป็นดาบสชื่อสุเมธ จึงตั้งปณิธาน ๖. ความถึงพร้อมแห่งคุณ (คุณสมฺปตฺติ) คือการได้คุณธรรมหรือธรรมวิเศษมีฌานเป็นต้น อาทิเช่น สุเมธบัณฑิตได้อภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ แล้วจึงตั้งปณิธาน ๗. อธิการ (อธิกาโร) มีนัยเดียวกัน ๘. ความพอใจ (ฉนฺทตา) ก็มีนัยเหมือนกัน

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นhttp://www.dhamma.com/ เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นhttp://www.dhamma.com/ เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

วิธีนั่งสมาธิและนั่งวิปัสสนาตรัสรู้หรือบรรลุธรรมได้หรือเหตุแห่งการบรรลุธรรม(วิมุตติ) ธรรมะเหตุหรืออาการที่บรรลุ ๑.ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ๒.ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุธรรม ๓.ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ๔.ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม ๕.สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งเธอเล่าเรียนมาด้วยดีทำไว้ในใจด้วยดีทรงไว้ด้วยดีแทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญา ก็บรรลุธรรม

วิธีนั่งสมาธิและนั่งวิปัสสนาตรัสรู้หรือบรรลุธรรมได้หรือเหตุแห่งการบรรลุธรรม(วิมุตติ) ธรรมะเหตุหรืออาการที่บรรลุ ๑.ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ๒.ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุธรรม ๓.ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ๔.ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม ๕.สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งเธอเล่าเรียนมาด้วยดีทำไว้ในใจด้วยดีทรงไว้ด้วยดีแทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญา ก็บรรลุธรรม

จริยาของพระสกิทาคามีมรรคเธอ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอยู่ในขณะแห่งปฐมฌานนั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรคเป็นดังหัวฝี เป็นดังลูกศร ไม่มีสุข เป็นอาพาธ เป็นของผู้อื่น เป็นของชำรุดว่างเปล่า เป็นอนัตตา เธอย่อมยังจิตให้ตั้งอยู่ด้วยธรรมเหล่านั้น ครั้นแล้ว เธอย่อมโน้มจิตไปเพื่ออมตธาตุว่า นั่นสงบ นั่นประณีต คือ ธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง ความสละคืนอุปธิทั้งปวง ความสิ้นตัณหา ความคลายกำหนัด ความดับ นิพพาน เธอตั้งอยู่ในปฐมฌานนั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ......ถ้ายังไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เธอย่อมเป็นอุปปาติกะจักปรินิพพานในภพนั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป

การได้ไปสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล ทำกาละแล้วจักถึงสุคติโลกสวรรค์จริงหรือไม่?สังเวชนียสถานภายหลังพุทธปรินิพพาน “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! แต่ก่อนนี้ ภิกษุทั้งหลายที่จำพรรษาในทิศต่าง ๆ แล้วย่อมมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า. พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ได้มีโอกาสเห็นภิกษุทั้งหลายผู้น่เจริญใจเหล่านั้นได้มีโอกาสเข้าพบปะภิกษุทั้งหลายผู้น่าเจริญใจเหล่านั้น. ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าล่วงลับไปแล้ว พวกข้าพระองค์ทั้งหลายย่อมหมดโอกาสที่จะได้เห็น หรือได้เข้าพบปะภิกษุทั้งหลายผู้น่าเจริญใจเหล่านั้นอีกต่อไป”. พระอานนท์ กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าในวันปรินิพพาน. ดูก่อนอานนท์! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตร ผู้มีศรัทธา มีอยู่ ๔ ตำบล. ๔ ตำบลอะไรเล่า? ดูก่อนอานนท์! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่า **พระตถาคตประสูติแล้ว ณ ที่นี้ ๑, **สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าพระตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ณ ที่นี้ ๑, **สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าพระตถาคตได้ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว ณ ที่นี้ ๑, **สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าพระตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุแล้ว ณ ที่นี้ ๑. อานนท์! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความ สังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา มี๔ ตำบลเหล่านี้แล. อานนท์! ภิกษุทั้งหลาย หรือภิกษุณีทั้งหลาย หรืออุบาสกทั้งหลาย หรืออุบาสิกาทั้งหลาย ผู้มีศรัทธา จักพากันมาสู่สถานที่ ๔ ตำบลเหล่านี้โดยหมายใจว่า พระตถาคตได้ประสูติแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, พระตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, พระตถาคตได้ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, พระตถาคตได้ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ณ ที่นี้บ้าง ดังนี้. การได้ไปสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล ทำกาละแล้วจักถึงสุคติโลกสวรรค์จริงหรือไม่? ............................................. อานนท์ ! ชนเหล่าใดเที่ยวไปตามเจดียสถานจักมีจิตเลื่อมใส ทำกาละ แล้ว ชนเหล่านั้นจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้.

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Buddang Saranang

Buddang Saranang

Buddang Saranang

Buddhan Saranam Gachchami- (Ishak Beg)

จิตสงบพบจิตปรุงแต่งดังนั้น หนทางแห่งการรู้แจ้ง เพื่อดับทุกข์มีประการเดียว คือ เห็นความคิดปรุงแต่งว่าไม่มีใครในความคิดปรุงแต่งนั้น หรือไม่เป็นความคิดปรุงแต่งของใคร เป็นแต่เพียงสภาวธรรมหนึ่งเท่านั้น

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับ สุดท้ายยกเครื่องฉายหนังทิ้งคืนกายคืนใจให้ธรรมชาติจบกิจไม่ต้องเกิดอีกต่อไป เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

อรหันต์ตั๊กม้อ 2/8ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น ถ้าเรามีสติเรื่อยๆ นะ ... (หลวงพ่อชูพัดให้ดู) ไม่มี เพราะอะไร เพราะมันเป็นของถูกรู้ถูกดู มันอยู่ห่างๆ นึกออกไหม ... ทำอัปปนาสมาธิได้ก็ทำ ถ้าทำไม่ได้ก็อย่าฝืน มันจะกลายเป็นอัปลักษณ์สมาธิ.

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น ถ้าเรามีสติเรื่อยๆ นะ ... (หลวงพ่อชูพัดให้ดู) ไม่มี เพราะอะไร เพราะมันเป็นของถูกรู้ถูกดู มันอยู่ห่างๆ นึกออกไหม ... ทำอัปปนาสมาธิได้ก็ทำ ถ้าทำไม่ได้ก็อย่าฝืน มันจะกลายเป็นอัปลักษณ์สมาธิ.

พระอริยะบุคคล พระอนาคามี นาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า นาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ

วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ศาสตร์ที่ว่าด้วยความพ้นทุกข์ที่ไม่มีอะไรเสมอเหมือนไม่มีใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตเขาบรรลุของเขาเอง ... เกิดตัณหา เกิดอยากให้มันดี อยากให้มันสุข อยากให้มันสงบ เกิดการกระทำกรรมการสร้างภพ ... มีแต่คำว่า อยาก กับคำว่า ตัวเรา พอมีความอยากเกิดขึ้นจิตใจก็ดิ้นรนทำงาน ทำอย่างนี้น่าจะดีๆ ...

กุญแจแห่งความรู้สึกตัวพิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพานไม่มีใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตเขาบรรลุของเขาเอง ... เกิดตัณหา เกิดอยากให้มันดี อยากให้มันสุข อยากให้มันสงบ เกิดการกระทำกรรมการสร้างภพ ... มีแต่คำว่า อยาก กับคำว่า ตัวเรา พอมีความอยากเกิดขึ้นจิตใจก็ดิ้นรนทำงาน ทำอย่างนี้น่าจะดีๆ ...

คำพูดบรรยายไม่หมด ได้แต่รู้กันด้วยใจไม่มีใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตเขาบรรลุของเขาเอง ... เกิดตัณหา เกิดอยากให้มันดี อยากให้มันสุข อยากให้มันสงบ เกิดการกระทำกรรมการสร้างภพ ... มีแต่คำว่า อยาก กับคำว่า ตัวเรา พอมีความอยากเกิดขึ้นจิตใจก็ดิ้นรนทำงาน ทำอย่างนี้น่าจะดีๆ ...

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับสุดท้ายยกเครื่องฉายหนังทิ้งคืนกายคืนใจให้ธรรมชาติจบกิจไม่ต้องเกิดอีกต่อไป เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs..เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

spirit of indiaเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด

บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้นยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก... เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้วทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด ...

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้วทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด ...

วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้านาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้านาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

นิพพานัง ปรมัง สุขังเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้นภิกษุประคองตั้งจิตว่า เมื่อลูกศรคือตัณหาเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจักไม่กิน จักไม่ดื่ม จักไม่ ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า จิตของเราจักไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่น เพียงใด ..... การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี พิจารณา ถึงความอยู่แห่งบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ ..

วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

พระอริยะบุคคล พระอนาคามี.วิธีบรรพชาอุปสมบทแบบเอสาหัง กุลบุตรผู้มีศรัทธามุ่งอุปสมบท พึงรับผ้าไตรอุ้มประนมมือเข้าไปใน สังฆสันนิบาต วางผ้าไตรไว้ข้างตัวด้านซ้าย รับเครื่องสักการะถวายพระ อุปัชฌายะ แล้วกราบลงด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้งแล้วนั่งคุกเข้าอุ้มผ้าไตร ประนมมือเปล่งวาจา ถึงสรณะและขอบรรพชาด้วยคำมคธ หยุดตามจุดจุลภาค ว่า .........เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะ- วะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง .........ทุติยัมปาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระ- ณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง .........ตะติยัมปาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต,ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสังปะทัง .........อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหตวา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายามิ วัตถานิ คะเหตวา, ปัพพเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหตวา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ถ้าบวชเป็นสามเณร ยกคำว่า ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง ออกเสีย .........ในลำดับนั้น พระอุปัชฌายะรับเอาผ้าไตรจากผู้มุ่งบรรพชาวางไว้ตรง หน้าตัก แล้วกล่าวสอนถึงพระรัตนตรัยเป็นต้น และบอก ตะจะปัญจะกะกัม- มัฏฐาน ให้ว่าตามไปทีละบท โดยอนุโลมและปฏิโลม ดังนี้ .........เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ (อนุโลม) .........ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา (ปฏิโลม) .........ครั้นสอนแล้วพระอุปัชฌายะชังอังสะออกจากไตร สวมให้แล้ว สั่งให้ ออกไปครองไตรจีวรตามระเบียบ ครั้นเสร็จแล้วเข้าไปหาพระอาจารย์ รับ เครื่องสักการะถวายท่านแล้วกราบ ๓ หน นั่งคุกเข่า ประนมมือเปล่งวาจา ขอสรณะและศีลดังนี้ ........................อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ .........ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ .........ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ .........ลำดับนั้น พระอาจารย์กล่าวคำนมัสการนำให้ผู้มุ่งบรรพชาว่าตามไป ดังนี้ .........นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสสะ ว่า ๓ หน .........แต่นั้นท่านจะสั่งด้วยคำว่า เอวัง วะเทหิ หรือ ยะมะหัง วะทามิ ตัง วะเทหิ พึงรับว่า อามะ ภันเต .........ครั้นแล้วท่านนำให้เปล่งวาจาว่าสรณคมน์ตามไปทีละพากย์ดังนี้ ..................พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ..................สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ .........เมื่อจบแล้ว ท่านบอกว่า ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง พึงรับว่า อามะ ภันเต ลำดับนั้นพระอาจารย์จะบอกให้รู้ว่า การบรรพชาเป็น สามเณรสำเร็จด้วยสรณคมน์เพียงเท่านี้ ทีนั้นพึงสมาทานสิกขาบท ๑๐ ประการ ว่าตามท่านไปดังนี้ ..................ปาณาติปาตา เวระมะณี ..................อะทินนาทานา เวระมะณี ..................อะพรัหมะจะริยา เวระมะณี ..................มุสาวาทา เวระมะณี ..................สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี ..................วิกาละโภชะนา เวระมะณี ..................นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา เวระมะณี ..................มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี ..................อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี ..................ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา เวระมะณี ..................อิมานิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ ฯ (ว่า ๓ หน) .........ในลำดับนั้น สามเณรพึงรับบาตร อุ้มเข้าไปหาพระอุปัชฌายะใน สังฆสันนิบาตวางไว้ข้างตัวด้านซ้าย รับเครื่องสักการะถวายท่าน แล้วกราบ ๓ หน นั่งคุกเข่าประนมมือกล่าวคำขอนิสัย ว่าดังนี้ ...........................อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ..................ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ..................ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ..................อุปัชฌาโย เม ภันเต, โหหิ ว่า ๓ หน .........พระอุปัชฌายะกล่าวว่า โอปายิกัง, ปะฏิรูปัง, ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ บทใดบทหนึ่งพึงรับว่า สาธุ ภันเต ทุกบทไป แต่นั้น สามเณรพึงกล่าวรับเป็นธุระให้ท่านว่าดังนี้ .........อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะภาโร ...........................ว่า ๓ หน เสร็จแล้วกราบลง ๓ หน .........ลำดับนั้น พระอุปัชฌายะแนะนำสามเณรไปตามระเบียบแล้ว พระ อาจารย์ผู้เป็นกรรมวาจา เอาบาตรมีสายคล้องตัวผู้มุ่งอุปสมบท บอกบาตร และจีวร ผู้มุ่งอุปสมบทพึงรับว่า อามะ ภันเต ๔ หนดังนี้ คำบอกบาตรจีวร คำรับ คำบอกบาตรจีวร ๑. อะยันเต ปัตโต ๒. อะยัง สังฆาฏิ ๓. อะยัง อุตตะราสังโค ๔. อะยัง อันตะระวาสะโก.................. คำรับ อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต .........ต่อจากนั้นพระอาจารย์ท่านบอกให้ออกไปข้างนอกว่า คัจฉะ อะมุมหิ โอกาเส ติฏฐาหิ พึงถอยออกลุกขึ้นเดินไปยืนอยู่ในที่ที่กำหนดไว้ พระอาจารย์ท่านแสดงสมมติตนเป็นผู้สอนซ้อม แล้วออกไปสวดถามอันตรา- ยิกกรรม พึงรับว่า นัตถิ ภันเต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน ดังนี้ ...........ถาม ๑. กุฏฐัง ๒. คัณโฑ ๓. กิลาโส ๔. โสโส ๕. อะปะมาโร ๑. มะนุสโสสิ๊ ๒. ปริโสสิ๊ ๓. ภุชิสโสสิ๊ ๔. อะนะโณสิ๊ ๕. นะสิ๊ ราชะภะโฏ ๖. อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ ๗. ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊ ๘. ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง....... ๑. กินนาโมสิ . ๒. โก นามะ เต อุปัชฌาโย .1 2 ตอบ นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อะหัง ภันเต........................ นามะ อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัสมา............................. นามะ .........ถ้าตอบพร้อมกันให้เปลี่ยน เม เป็น โน ช่องที่...ไว้ พระอุปัชฌายะหรืออาจารย์ท่านจะตั้งชื่อของ อุปสัม- ปทาเปกขะ กรอกลงช่องให้ไว้ก่อนวันบวช และช่องที่ ... ไว้ในช่องชื่อของ พระอุปัชฌาย์ ก็เช่นเดียวกัน ให้กรอกตามชื่อของพระอุปัชฌายะ ซึ่งท่านจะ บอกและกรอกให้ไว้ก่อนวันบวช .........ครั้นสวดสอนซ้อมแล้ว ท่านกลับเข้ามาสวดขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะ เข้ามา อุปสัมปทาเปกขะ พึงเข้ามาในสังฆสันนิบาต กราบลงตรงหน้า พระอุปัชฌายะ ๓ หน แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือ เปล่งวาจาขออุปสมบท ว่าดังนี้ .........สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตู มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปายทายะ .........ทุติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปทายะ .........ตะติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ถ้าว่าพร้อมกันให้เปลี่ยน ยาจามิ เป็น ยาจามะ เปลี่ยน มัง เป็น โน .........ในลำดับนั้น พระอุปัชฌายะกล่าวเผดียงสงฆ์แล้ว และพระอาจารย์ สวดสมมติตน ถามอันตรายิกธรรมอุปสัมปทาเปกขะ พึงรับว่า นัถติ ภันเต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน ตอบชื่อตนและอุปัชฌายะรวม ๒ หนโดย นัยหนหลัง แต่นั้นนั่งฟังท่านสวดกรรมวาจาอุปสมบทไปจนจบ ครั้นจบ แล้วท่านเอายาตรออกจากตัง แล้วพึงกราบ ๓ หน นั่งพับเพียบประนมมือนั่ง พระอุปัชฌายะบอกอนุศาสน์ไปจนจบแล้วรับว่า อามะ ภันเต แล้วกราบ ๓ หน ถวายไทยทาน กรวดน้ำ เหมือนกล่าวแล้วในแบบ อุกาสะ จบวิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ พระเถระย่อมทูลถามถึง ความบริสุทธิ์แห่งศีลและวัตรว่า ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า เมื่อลูกศรคือตัณหาเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจักไม่กิน จักไม่ดื่ม จักไม่ ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า จิตของเราจักไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่น เพียงใด ..... การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี พิจารณา ถึงความอยู่แห่งบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ ..

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ พระเถระย่อมทูลถามถึง ความบริสุทธิ์แห่งศีลและวัตรว่า ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า เมื่อลูกศรคือตัณหาเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจักไม่กิน จักไม่ดื่ม จักไม่ ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า จิตของเราจักไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่น เพียงใด ..... การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี พิจารณา ถึงความอยู่แห่งบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ ..

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การปฎิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส กะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า มีอสรพิษ ๔ จำพวก ซึ่ง มีฤทธิ์เดชแรงกล้า ถ้ามีบุรุษรักชีวิต ผู้ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ ชน ทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน อสรพิษ ๔ จำพวกนี้ มีฤทธิ์เดชแรง กล้า ท่านพึงปลุกให้ลุกตามเวลา ให้อาบน้ำตามเวลา ให้กินอาหารตามเวลา ให้ เข้าสู่ที่อยู่ตามเวลา เวลาใดอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกนี้ ตัวใดตัวหนึ่งโกรธขึ้น เวลา นั้น ท่านก็จะพึงถึงความตาย หรือถึงทุกข์แทบปางตาย กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำ กิจนั้นเสีย ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกนั้น จึงหนีไปในที่อื่น ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีเพชฌฆาตผู้ เป็นข้าศึกอยู่ ๕ คน ได้ติดตามมาข้างหลังท่าน พบท่านในที่ใด ก็จะฆ่าท่านเสีย ในที่นั้น กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้นแล บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวก และกลัว เพชฌฆาตผู้เป็นข้าศึกทั้ง ๕ คนนั้น จึงหนีไปในที่อื่น ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขา อย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีเพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศ เงื้อดาบติดตาม มาข้างหลังท่าน พบท่านในที่ใด ก็จะตัดศีรษะของท่านเสียในที่นั้น กิจใดที่ท่าน ควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกซึ่งมีฤทธิ์เดชแรงกล้า กลัวเพชฌฆาตผู้เป็นข้าศึกทั้ง ๕ และกลัวเพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศ เงื้อดาบอยู่ จึงหนีไปในที่อื่น เขาพบบ้านร้างเข้า จึงเข้าไปสู่เรือนร้างว่างเปล่า หลังหนึ่ง ลูบคลำภาชนะว่างเปล่าชนิดหนึ่ง ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีโจรทั้งหลายคอยฆ่าชาวบ้าน เข้ามาสู่บ้านร้างนี้เสมอ กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ กลัวเพชฌฆาตทั้ง ๕ กลัว เพชฌฆาตคนที่ ๖ และกลัวโจรผู้คอยฆ่าชาวบ้าน จึงหนีไปในที่อื่น เขาไปพบ ห้วงน้ำใหญ่แห่งหนึ่ง ฝั่งข้างนี้น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย ฝั่งข้างโน้น เป็นที่เกษมปลอดภัย เรือแพ หรือสะพานที่จะข้ามไปฝั่งโน้นไม่มี ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นมีความคิดอย่างนี้ว่า ห้วงน้ำนี้ใหญ่นัก ฝั่งข้าง นี้เป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษมปลอดภัยเรือ แพ หรือสะพานที่จะข้ามไปฝั่งโน้นก็ไม่มี ผิฉะนั้น เราควรจะมัดหญ้ากิ่งไม้และ ใบไม้ ผูกเป็นแพ เกาะแพนั้น พยายามไปด้วยมือและด้วยเท้า ก็พึงถึงฝั่งโน้น ได้โดยความสวัสดี ครั้นแล้ว บุรุษนั้นทำตามความคิดของตน ก็ว่ายข้ามฟากถึง ฝั่งข้างโน้นแล้ว เป็นพราหมณ์ขึ้นบกไป ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้ออุปมานี้ เราสมมติขึ้นเพื่อจะให้รู้เนื้อความ โดยง่าย ในข้อนั้นมีเนื้อความดังนี้ คำว่า อสรพิษที่มีฤทธิ์แรงกล้าทั้ง ๔ จำพวก นั้น เป็นชื่อแห่งมหาภูตรูป ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม คำว่า เพชฌฆาตทั้ง ๕ คนที่เป็นข้าศึกนั้น เป็นชื่อแห่งอุปาทานขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ คำว่า เพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศเงื้อดาบอยู่นั้น เป็นชื่อแห่งนันทิราคะ คำว่า บ้านร้างนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายใน ๖ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้บัณฑิตผู้ฉลาด มีปัญญาใคร่ครวญ อายตนะภายใน ๖ นั้น ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็จะปรากฏว่าเป็นของ ว่าง เปล่า สูญทั้งนั้น ฯ คำว่า โจรผู้ฆ่าชาวบ้านนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายนอก ๖ ตาย่อม เดือดร้อนเพราะรูปเป็นที่พอใจและไม่พอใจ หูย่อมเดือดร้อน เพราะเสียงเป็นที่ พอใจและไม่พอใจ จมูกย่อมเดือดร้อนเพราะกลิ่นเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ลิ้น ย่อมเดือดร้อนเพราะรสเป็นที่พอใจและไม่พอใจ กายย่อมเดือดร้อนเพราะโผฏ- *ฐัพพะเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ใจย่อมเดือดร้อนเพราะธรรมารมณ์เป็นที่พอใจและ ไม่พอใจ คำว่า ห้วงน้ำใหญ่นั้น เป็นชื่อแห่งโอฆะทั้ง ๔ คือ กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ อวิชโชฆะ คำว่า ฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย นั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ คำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่ง วิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อ แห่งพระอรหันต์ ฯ

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นด้วยเศียรเกล้าพระสังคิณี บาลี คำอ่าน กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา อพฺยากตา ธมฺมา, กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา, กตเม ธมฺมา กุสลา, ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสลํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ โหติ โสมนสฺสสหคตํ กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง าณสมฺปยุตฺตํ รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา คัณธารัมมะณัง วา ระสารัมมะนัง วา โผฏฺพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา โผฏฐัพพา รัมมะณัง วา ธัมมา รัมมะณัง วา ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ตสฺมึ สมเย ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผสฺโส โหติ อวิกฺเขโป โหติ เย วา ปน ตสฺมึ ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมิง สมเย อญฺเปิ อตฺถิ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปฏิจจะสะมุปปันนา อรูปิโน ธมฺมา อิเม ธมฺมา กุสลา ฯ อรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา. พระสังคิณี (แปล) ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล ในสมัยใด กามาวจรกุศลจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุคด้วยญาณ เกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใดๆ จะเป็นรุปารมณ์ก็ดี สัททารมณ์ก็ดี คันธารมณ์ก็ดี รสารมณ์ก็ดี โผฏฐัพพารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ก็ดี ในสมัยนั้น ผัสสะ ความฟุ้งซ้านย่อมมี อีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใดแม้อื่น มีอยู่ เป็นธรรมที่ไม่มีรูป อาศัยกันและกันเกิดขึ้น ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล. พระวิภังค์ บาลี คำอ่าน ปญฺจกฺขนฺธา รูปกฺขนฺโธ เวทนากฺขนฺโธ สญฺากฺขนฺโธ ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญฺาณกฺขนฺโธ ฯ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, ตตฺถ กตโม รูปกฺขนฺโธ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, ยงฺกิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะ ตะปัจจุปปันนัง อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา อัชฌัตตัง วา พะหิตธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร สันติเก วา ตเทกชฺฌํ อภิสญฺูหิตฺวา อภิสงฺขิปิตฺวา ตะเทกัชฌัง อภิสัญญูหิตวา อภิสังขิปิตวา อยํ วุจฺจติ รูปกฺขนฺโธ ฯ อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ. พระวิภังค์ (แปล) ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ บรรดาขันธ์ทั้งหมด รูปขันธ์เป็นอย่างไร รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุปัน ภายในก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม นั้นกล่าวรวมกันเรียกว่ารูปขันธ์ พระธาตุกถา บาลี คำอ่าน สงฺคโห อสงฺคโห , สังคะโห อะสังคะโห, สงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน สงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สงฺคหิเตน สงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง สมฺปโยโค วิปฺปโยโค สมฺปยุตฺเตน วิปฺปยุตฺตํ สัมปะโยโค วิปปะโยโค, สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปฺปยุตฺเตน สมฺปยุตฺตํ อสงฺคหิตํ ฯ วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง. พระธาตุกถา (แปล) การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ สิ่งที่ไม่ให้สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้ สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ การอยู่ด้วยกัน การพลัดพรากคือ การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไปจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้. พระปุคคะละปัญญัตติ บาลี คำอ่าน ฉ ปญฺตฺติโย ขนฺธปญฺตฺติ อายตนปญฺตฺติ ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปญฺตฺติ สจฺจปญฺตฺติ อินฺทฺริยปญฺตฺติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคฺคลปญฺตฺติ ฯ ปุคคะละปัญญัตติ, กิตตาวะตา กิตฺตาวตา ปุคฺคลานํ ปุคฺคลปญฺตฺติ, ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, สมยวิมุตฺโต อสมยวิมุตฺโต สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปฺปธมฺโม อกุปฺปธมฺโม กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปริหานธมฺโม อปริหานธมฺโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตนาภพฺโพ อนุรกฺขนาภพฺโพ เจตะนาภัพโพ อนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชฺชโน โคตฺรภู ภยูปรโต อภยูปรโต ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภพฺพาคมโน อภพฺพาคมโน นิยโต อนิยโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปฏิปนฺนโก ผเลฏฺิโต อรหา อรหตฺตาย ปฏิปนฺโน ฯ ปฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปฏิปันโน. พระปุคคะละปัญญัตติ (แปล) บัญญัติ ๖ คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทรีย์บัญญัติ บุคคลบัญญัติ บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร มีการพ้นจากสิ่งที่ควรรู้ การพ้นจากสิ่งที่ไม่ควรรู้ ผู้มีธรรมที่กำเริบได้ ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้ ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา ผู้ที่เป็นปุถุชน ผู้รู้ตระกูลโคตร ผู้เข้าถึงภัย ผู้เข้าถึงอภัย ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ควร ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ไม่ควร ผู้เที่ยง ผู้ไม่เที่ยง ผู้ปฏิบัติ ผู้ตั้งอยู่ในผล ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ปฏิบัติเพื่อพระอรหันต์. พระกถาวัตถุ บาลี คำอ่าน ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัฏฐะปะระมัตเฐนาติ อามนฺตา ฯ อามันตา, โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, น เหวํ วตฺตพฺเพ ฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคฺคหํ หญฺจิ ปุคฺคโล อุปลพฺภติ อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเน เตน วต เร สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนะ เตนะ วะตะ เร วตฺตพฺเพ โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส วัตตัพเพ โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ มิจฺฉา ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, มิจฉา. พระกถาวัตถุ (แปล) (ถาม) ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ ความหมายที่แท้จริงหรือ (ตอบ) ใช่... ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายที่แท้จริง (ถาม) ปรมัตถ์ คือ ความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ (ตอบ) ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนี้ ท่านจงรู้นิคคะหะเถิด ว่าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายอันแท้จริงแล้ว ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น คำตอบของท่านที่ว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือ โดยความหมายอันแท้จริงนั้นจึงผิด. พระยะมะกะ บาลี คำอ่าน เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา, เย วา ปน กุสลมูลา สพฺเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูเลน เอกมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, เย วา ปน กุสลมูเลน เอกมูลา สพฺเพ เต เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ ธัมมา กุสะลา. พระยะมะกะ (แปล) ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล อีกอย่าง ธรรมเหล่าใดมีกุศลเป็นมูล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล อีกอย่างหนึ่ง ธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล. พระมหาปัฏฐาน บาลี คำอ่าน เหตุปจฺจโย อารมฺมณปจฺจโย อธิปติปจฺจโย เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อธิปะติปัจจะโย อนนฺตรปจฺจโย สมนนฺตรปจฺจโย อนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สหชาตปจฺจโย อญฺมญฺปจฺจโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสฺสยปจฺจโย อุปนิสฺสยปจฺจโย ปุเรชาตปจฺจโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปจฺฉาชาตปจฺจโย อาเสวนปจฺจโย กมฺมปจฺจโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากปจฺจโย อาหารปจฺจโย อินฺทฺริยปจฺจโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานปจฺจโย มคฺคปจฺจโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สมฺปยุตฺตปจฺจโย วิปฺปยุตฺตปจฺจโย อตฺถิปจฺจโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นตฺถิปจฺจโย วิคตปจฺจโย อวิคตปจฺจโย ฯ นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย. พระมหาปัฏฐาน (แปล) ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัยหาที่สุดมิได้ ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดก่อนเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดภายหลังเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย ธรรมทีมีฌานเป็นปัจจัย ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัย ธรรมที่ไม่มีปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่ไม่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย.

วุตโตทัย๑. วานวาสิกาฉันท์ อลสสฺส น ชายติ มติ ธนญฺจ มติธเน ยสฺส อสติ อิธ กถํ โส สุขี ปรมฺหิ จ อปิ จ ทุขี ตสฺมา อลโส วตน จ ภเวยฺย เงินทองกองท่วมบ้าน บ่ขยัน ครั้นเกียจกอบโกยปัญ- เญศด้อย สุขังยั่งยืนฉัน- ใดเล่า..สหายเอย สมบัติยศหมื่นร้อย ย่อมรู้โรยรา ปัญญาทรัพย์สมบัติเกิดมีแก่คนเกียจคร้านผู้ใด เมื่อปัญญาและทรัพย์สมบัติไม่มีแก่คนผู้นั้นแล้ว (เสื่อมลง) ความสุขในชาตินี้แลชาติหน้าจักมีด้วยประการฉันใด ยศสมบัติเหล่านั้นนักปราชญ์จักปรารภเอาย่อมไม่มี ๒. จปลาฉันท์ ทานํ ธนพีชํ เส สีลํ สุขพีชํ มิธ มนุชานํ ตสฺมา สุทานทาตา สิยา สุสิโล สหิทกาโก ทานังดั่งพืชให้ โภคทรัพย์ ศีลดั่งพืชให้สรรพ สุขแผ้ว ชนใดใคร่ลิ้มลัพธ์ รมเยศ พึงปลูกหน่อธรรมแล้ว จึ่งรู้รสธรรม ทานเป็นพืชอันบังเกิดข้าวของสมบัติ ศีลเป็นพืชบังเกิดสุขในใจแก่คนทั้งหลายในโลกย์ เหตุนั้นผู้ใดปรารถนาข้าวของสมบัติอันดีแก่ตน พึงให้ทานด้วยความศรัทธาแลมีศีลอันดีเถิด ๓. คีติฉันท์ โมหวนทฺโธ พาโล ตณฺหา วสมา คโต จ โกธวสํ ปาเป สาหส กาลี อปายภูมี นิวาส คติ มสฺส พาโลโมหะคลุ้ง ครอบงำ ตัณหราคะกรรม โกรธแค้น คิดบาปหยาบช้าทำ กระลีโทษ มี นรก รอแม้น มอดม้วยมรณา ชนพาลอันโมหวิชชาครอบงำ ลุอำนาจแห่งตัณหา โกรธแค้นร้ายหนักหนาในบาปกรรม มีอบายภูมินรกเป็นที่อยู่ที่ไปแห่งชนชั้นแล ๔. อุปคีติฉันท์ ปาเณสุ น การุญฺโญ ทลิทฺทเกสุ จ วิเหทูยติ อาธมฺเม นโร ภวติโลเก โย นโร นหิ สาธุ โส ปาณาติบาตสิ้น กรุณา เบียนเบียฑปวงประชา ยากไร้ ลืมธัมมะนำพา ภพสุข หาสิ่งดีไม่ได้ หนักพื้นโลกา คนผู้ใดไม่มีความกรุณาในสัตว์และคนทั้งหลายผู้เข็ญใจ ย่อมเบียดเบียนผู้อื่นให้เป็นทุกข์ คนผู้นั้นจักเป็นผู้หาดีไม่ได้ ชื่อว่าเป็นคนอธรรมในโลกย์ ๕. อาริยาคีติฉันท์ อติมาโน อธิโกโธ อวมาน กโรนํ เวสุ อภวุฑฺเฒ สุ โย พหุสุโตมิ โสปิน บณฺฑิโต พาลํ สมฺมโต อธิโลเก มานะมีมากครั้ง เคืองเคียด ใจจะหยามหมิ่นเกียรติ ทุกผู้ แม้นเรียนร่ำละเอียด เอกอุ ปากที่ฝากกระทู้ ถ่อยสิ้นสัทธรรม คนผู้ใดมีทิฐิมานะใหญ่ยิ่งนัก มีความโกรธเคืองเคียด ย่อมดูหมิ่นบุคคลอันหนุ่มและแก่กว่าตน แม้นผู้นั้นจะเป็นพหูสูตร (ผู้ร่ำเรียนมากเท่าใดก็ดี) จักถือเป็นบัณฑิตก็หามิได้ (เพราะความพาล) ขึ้นชื่อว่าเป็นคนใบ้คนหนึ่งในโลกย์ ๖. เวตาลียฉันท์ อธิปจฺจํโคธ โย นโร ตณฺหามาณว วตฺติโต ปเร ปตาเปติ มตฺตวุฑฺฒิยา ตถานาคเต ทุกฺขตา ปิโต ครองแคว้นแค้นข่มข้า ขุกเข็ญ เพื่อประโยชน์โฉดเป็น ที่ตั้ง ภายหน้าพ่าห์เพียบเพ็ญ พบเพท..ภัยเอย กรรมเก่าเข้าฉุดรั้ง เร่งให้ฉิบหาย บุคคลใดถึงความเป็นใหญ่ในโลกย์ ใช้อำนาจเบียดเบียนผู้อื่นให้เดือดร้อน เพื่อประโยชน์แก่ตน บุคคลนั้นจักเดือดร้อนในกาลหน้า ด้วยกรรมอันตนได้กระทำไว้ ๗. โอปจฺฉนฺทสกฉันท์ การุณิโล สนฺนโรธิปจฺจํ ยธา คโตโส สพฺพปาณเกสุ กโรติ สุขยํ น ปาปิทุกฺขํ สพฺพสุขีโน มานภาว ตสฺส กรุงไกรกษัตริย์เกื้อ กุศล เสริมสง่าการุณพล ไพร่ฟ้า ใจจำกำราบ รณ แรงบาป สุข สรนุกถ้วนหน้า แน่แท้ทุกสมัย คนผู้มี กรุณามาก ได้เป็นใหญ่ ในโลกย์ ในกาลเมื่อใด คนผู้นั้นกระทำความสุขให้แก่สัตว์โลกย์ทั้งหลาย ย่อมไม่กระทำความทุกข์ สัตว์โลกย์ทั้งหลายย่อมมีความสุขด้วยอำนาจของสัตตบุรุษนั้น ๘. อาปาฏลิกาฉันท์ โลภนิสฺสาย วินาโส ภวติ โทสํ จโมหนากํ จ โย นโร สวาฆนกาโม สจิตฺตรกฺขํ ทนฺตหิ กเรยฺย โลภมากกระชากช้ำ ฉิบหาย เหวแห่งจัตุราบาย บ่งรู้ โทโสโม่ห์ละลาย รมยสุข ละเกลศแล้วผู้ จิตพ้นสังสาร ความฉิบหายอาศัยความโลภ ซึ่งเกิดมีแก่สัตว์ทั้งหลาย ใช่แต่เท่านั้น ! ความฉิบหายย่อมอาศัยโทสะโมหะด้วย บุคคลทั้งหลายผู้หวังความเจริญ พึงกระทำการรักษาจิตใจของตนให้พ้นจากความโลภโกรธหลงนั้นเถิด ๙. ทกฺขิณนฺติกาฉันท์ ปหาย โกธํภิขนฺติ มา ทยาลุโก วา เมตฺตาจิตฺตกํ ทยํ จ ปเณสุ สมฺปเร สปญฺญวา น จเรติ ทารุนํ ขันตีนีราศแกล้ว โกรธา ถึงซึ่งเหตุเมตตา ตริถ้วน หลีกเร้นเข่นฆ่าสา- ธุสัตว์ สัปปุรุษเลิศล้วน ละเว้นทารุณ สัตตบุรุษผู้มีปัญญาละเว้นเสียยังความโกรธเป็นผู้ที่มีความอดทน ความกรุณามากนักย่อมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่สัตว์ทั้งหลาย สัตตบุรุษผู้นั้นย่อมไม่กระทำทารุณแก่สัตว์ ๑๐. อุทิจฺจวุติฉันท์ ปรสฺสลาเภ อุปาคเต เนว นินฺเทยฺย มิสฺสุภา ยตํ สภาวโต ยํ อธมฺมิกํ กายเลนฺตํ วนินฺทเย มุนี เศรษฐีมีมากแก้ว- กองทอง ปราชญ์ไป่ริษยาหมอง หม่นไหม้ ทรัพย์ใดใช่สิ่งของ สุจริต ปราชญ์อาจแนะแคะไค้ ข่มได้โดยควร ในเมื่อลาภมาถึงแก่ท่านผู้อื่น ผู้มีปัญญามิพึงติเตียนด้วยความริษยา วัตถุอันใดได้ด้วยมิชอบธรรม ผู้มีปัญญาติเตียนในกาลอันควรแล ๑๑. ปจฺจวุติฉันท์ สกาลา ภูตุปาทนํ ยถา อปฺปกมฺมิ สกลาภเก ตถา สนฺตุฏฺเฐยฺยว ปญฺญวา มา ปรสฺสลาเภ ปิหํ จเร ทุรโภคทุรโชคสร้าง ศฤงคาร- ธนทรัพย์ธนสาร ซึ่งน้อย พึงสันโดษสันดาน บัณฑิต อย่ามักใหญ่ในร้อย ลาภผู้อื่นสงวน การบังเกิดลาภแห่งตนด้วยประการใด แม้น้อยหนึ่งก็ดี ผู้มีปัญญาพึงสันโดษในลาภแห่งตนนั้น บ่มิพึงใคร่ได้ยังลาภแห่งท่านผู้อื่น ๑๒. ปวสฺตกฉันท์ ยโส จลาโภ จ กิตฺติ จ นิจฺจ ธัมฺมิกา เนว โหนฺติกา วินาส ธมฺมา ว ปณฺฑิโต ตาสุ มชฺชโต สพฺพทา ภเว ชื่อเสียงลาภยศเบี้ย บริวาร ฤาอยู่ยั่งยืนนาน เที่ยงแท้ ย่อมอันตรธาน ทุกเมื่อ ปราชญ์ไป่มัวเมาแล้ รีบสร้างทางเขษม ลาภยศบริวารชื่อเสียงก็ดี ไม่มีสภาวะอันมั่นเที่ยง ย่อมมีสภาวะอันรู้ฉิบหายไป เหตุนั้นบัณฑิตไม่พึงมัวเมาในกาลทุกเมื่อ ๑๓. อปรนฺติกาฉันท์ สพฺพโภคมิตฺตา สกานุคา เนว สพฺพฐาเน สยํ กตํ ปุญฺญปาปกมฺมํ สกานุคํ ตํ ปรมิปโลกานิวัตฺตกํ สินทรัพย์กับเพื่อนทั้ง หญิงชาย เคยติดตามยามตาย หมดสิ้น บุญบาป ขนาบกาย เกาะแน่น..นานนา นรชีพลับดับดิ้น บ่รู้ลาหาย ข้าวของทรัพย์สมบัติมิตรสหาย จักตามไปกับตนในสถานทุกแห่งหามิได้ กรรมอันเป็นบาปและบุญที่ตนได้กระทำไว้นั้น ย่อมตามไปกับตนในสถานที่ทุกแห่งแม้ในปรโลกหน้า ๑๔. จารุหาสินีฉันท์ ยทิ อตฺตโน อถฺเมสิโต ปหาย ปาปํว โส นโร ยเทวปุญฺมา ปรายิเก สุขาวหํตํ จเร สทา ชนใดไขว่คว้าสุข ใส่ตน ย่อมละเสียซึ่งผล บาปย้อม บุญบารมีดล แดนเทพ สู่สุขาวดีพร้อม- พรั่งด้วยสมบัติสวรรค์ บุคคลผู้ได้แสวงหาประโยชน์สุขแก่ตน ย่อมละเว้นจากบาปกรรมทั้งมวล กุศลกรรมอันใดซึ่งจักเป็นประโยชน์สุขในเทวโลก บุคคลผู้นั้นพึงกระทำในกาลทุกเมื่อแล ๑๕. อจลธิติ ฉันท์ ติสรณ มคต นรมรุ กลิคหนิ ทุจริต จริธ กลิผล อนุภวติ ตุมปคต นรมรุ นหิ กลิคหนิ สุจริต จริธ สุขผล อนุภวติ แก้วสามดวงเด่นไว้ หว่างทาง ทวยเทพนรชนปาง ปัดทิ้ง ถือทุจริตพลาง พบพิบาก..กรรมเอย ทุกข์ประทุกมากหยิ้ง ย่อมร้อนกลีผล เทวามานุษย์ผู้ พบตรัย..รัตน์เอย ถือสุจริตใจ อร่ามอล้า ดวงแก้วสาดส่องใส สว่างจิต สู่สุขรมย์ในหล้า แหล่งโน้นนีรันดร์ คนและเทวดาซึ่งไม่เข้าสู่ไตรสรณะ แลถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำทุจริต แลได้เสวยวิบากเป็นทุกข์ในโลก คนและเทวดาซึ่งเข้าไปสู่ไตรสรณะ แลไม่ถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำสุจริต แลได้เสวยสุขในโลก ๑๖. วิสิโลกฉันท์ โลกีย สมฺปท ธรติ สทา น สาสนมุตฺตมนฺติ กทาจิ ตสฺมา น เปกขิย โลกโภคํ ธเรยฺย สาสน อาธรนฺติ กุศลสร้างจึ่งพร้อม สมบัติ โลกิยนิทัศน์ ทุกข์ด้วย ศาสนวิวัฒน์ บางคาบ ผู้ใฝ่ธรรมธรรมฉ้วย ชีพรู้รสธรรม โลกียสมบัติตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ก็ด้วยกุศลแห่งสัตว์ทั้งหลาย ศาสนาอันประเสริฐ แห่งพระพุทธเจ้า มิตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ศาสนาตั้งอยู่ในกาลบางคาบ เหตุนั้นผู้มีปัญญามิพึงฝักใฝ่ในสมบัติ พึงฝักใฝ่ ในศาสนานั้นเถิด ๑๗. มตฺตาสมกฉันท์ สรณตฺตยํ สรณคตฺต นรํ วฏ์ฎทุกฺขโต ปโม จ ยนฺเต นาญสรณํ ยทิโย วทิตวา อวํ ติสรณ คเมยฺย นโร สังสารวัฏเวิ้ง ทุกขะ พ้นเพราะไตรสรณะ นั่นแท้ พึ่งไอศวรรยะ ยังยาก พึ่งไตรรัตนนั่นแล้ หลีกล้างราญเข็ญ บุคคลผู้ใดซึ่งถึงไตรสรณะ ย่อมหลุดพ้นทุกข์ในวัฏฏสงสาร ที่พึ่งอันชื่นเช่นท้าวพระยามหาเสนาบดีจักให้หลุดพ้นจากทุกข์ในวัฏฏสงสารหามิได้ เหตุนั้นผู้รู้แล้วด้วยประการดังนี้ พึงถึงซึ่งไตรสรณะเป็นที่พึ่งแก่ตนเพราะวิเศษยิ่งกว่าที่พึ่งอันอื่น

พุทธธรรม เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

กุญแจแห่งความรู้สึกตัวพิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพาน ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.

อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.

อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนุตริยะ ๖ ประการนี้. ๖ ประการเป็นไฉน? คือ - ๑. ทัสนานุตริยะ - การเห็นอันประเสริฐ, ๒. สวนานุตริยะ - การฟังอันประเสริฐ, ๓. ลาภานุตริยะ - การได้อันประเสริฐ, ๔. สิกขานุตริยะ - การศึกษาอันประเสริฐ, ๕. ปาริจริยานุตริยะ - การบำรุงอันประเสริฐ, ๖. อนุสตานุตริยะ - อนุสติอันประเสริฐ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทัสนานุตริยะเป็นไฉน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อจะดูช้างแก้วบ้าง, ม้าแก้วบ้าง, แก้วมณี บ้าง, ของใหญ่ของเล็ก หรือสมณพรหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทัสนะมีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าทัสนะนี้นั้นแลเป็น ทัสนะอันเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน มิใช่ ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไป เพื่อเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อ ความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปเพื่อจะเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การเห็นนี้ยอดเยี่ยมกว่า การเห็นทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย- ธรรม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ไปเห็นพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคตนี้ เราเรียกว่าทัสนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สวนานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อฟังเสียงกลองบ้าง เสียงพิณบ้าง เสียงเพลง บ้าง หรือเสียงสูงๆ ต่ำๆ ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของสมณ- พราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้มีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี ก็แต่ว่าการฟังนี้เป็นการฟังอันเลว ฯลฯ ไม่เป็น ไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลมีสัทธา ตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความ เลื่อมใสยิ่ง ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของตถาคต หรือของ สาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้ประเสริฐกว่าการ ฟังทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้ง หลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปฟังธรรมของตถาคตหรือของสาวกของพระ ตถาคต นี้ เราเรียกว่าสวนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็ลาภานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุ บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อมได้บุตร บ้าง ภรรยาบ้าง ทรัพย์บ้าง หรือลาภมากบ้าง น้อยบ้าง หรือได้สัทธาในสมณพราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่า ลาภคือการได้นี้ เป็นลาภเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลเป็นผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคต หรือ สาวกของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้เป็นลาภ อันประเสริฐกว่าลาภทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความ บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่ง พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต นี้ เราเรียกว่าลาภานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สิกขานุตตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อม ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับช้างบ้าง ม้าบ้าง รถบ้าง ธนูบ้าง ดาบบ้าง หรือศึกษาศิลปะชั้นสูงชั้นต่ำ ย่อมศึกษาต่อ สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การศึกษานี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าการศึกษานั้น เป็น การศึกษาที่เลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้ว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้ประเสริฐกว่า การศึกษาทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้วนี้ เราเรียกว่าสิกขานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ เป็นดังนี้. ก็ปาริจริยานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมบำรุงกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์บ้าง, คฤหบดีบ้าง, ก็หรือว่า ย่อมบำรุงบุคคลชั้นสูงและต่ำ, หรือย่อมบำรุง สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การบำรุงไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่การบำรุงนี้แลเป็นการ บำรุงอันเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มี ความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของ พระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้ประเสริฐกว่า การบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิแห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้เรา เรียกว่าปาริจริยานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ ปาริจริยานุตริยะ เป็นดังนี้. ก็อนุสตานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมระลึกถึงการได้บุตรบ้าง การได้ภรรยาบ้าง การ ได้ทรัพย์บ้าง ก็หรือว่าย่อมระลึกถึงการได้มากบ้าง น้อยบ้าง, หรือระลึกถึงสมณพรหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่า การระลึกถึงนี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่ว่า การระลึกถึงนี้นั้น แลเป็นการระลึกถึงอันเลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อ พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวก ของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้ประเสริฐ กว่าการระลึกถึงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์ แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้ เราเรียกว่า อนุสตานุตริยะ.

จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้วดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนุตริยะ ๖ ประการนี้. ๖ ประการเป็นไฉน? คือ - ๑. ทัสนานุตริยะ - การเห็นอันประเสริฐ, ๒. สวนานุตริยะ - การฟังอันประเสริฐ, ๓. ลาภานุตริยะ - การได้อันประเสริฐ, ๔. สิกขานุตริยะ - การศึกษาอันประเสริฐ, ๕. ปาริจริยานุตริยะ - การบำรุงอันประเสริฐ, ๖. อนุสตานุตริยะ - อนุสติอันประเสริฐ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทัสนานุตริยะเป็นไฉน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อจะดูช้างแก้วบ้าง, ม้าแก้วบ้าง, แก้วมณี บ้าง, ของใหญ่ของเล็ก หรือสมณพรหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทัสนะมีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าทัสนะนี้นั้นแลเป็น ทัสนะอันเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน มิใช่ ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไป เพื่อเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อ ความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปเพื่อจะเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การเห็นนี้ยอดเยี่ยมกว่า การเห็นทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย- ธรรม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ไปเห็นพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคตนี้ เราเรียกว่าทัสนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สวนานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อฟังเสียงกลองบ้าง เสียงพิณบ้าง เสียงเพลง บ้าง หรือเสียงสูงๆ ต่ำๆ ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของสมณ- พราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้มีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี ก็แต่ว่าการฟังนี้เป็นการฟังอันเลว ฯลฯ ไม่เป็น ไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลมีสัทธา ตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความ เลื่อมใสยิ่ง ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของตถาคต หรือของ สาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้ประเสริฐกว่าการ ฟังทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้ง หลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปฟังธรรมของตถาคตหรือของสาวกของพระ ตถาคต นี้ เราเรียกว่าสวนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็ลาภานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุ บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อมได้บุตร บ้าง ภรรยาบ้าง ทรัพย์บ้าง หรือลาภมากบ้าง น้อยบ้าง หรือได้สัทธาในสมณพราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่า ลาภคือการได้นี้ เป็นลาภเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลเป็นผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคต หรือ สาวกของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้เป็นลาภ อันประเสริฐกว่าลาภทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความ บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่ง พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต นี้ เราเรียกว่าลาภานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สิกขานุตตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อม ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับช้างบ้าง ม้าบ้าง รถบ้าง ธนูบ้าง ดาบบ้าง หรือศึกษาศิลปะชั้นสูงชั้นต่ำ ย่อมศึกษาต่อ สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การศึกษานี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าการศึกษานั้น เป็น การศึกษาที่เลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้ว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้ประเสริฐกว่า การศึกษาทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้วนี้ เราเรียกว่าสิกขานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ เป็นดังนี้. ก็ปาริจริยานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมบำรุงกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์บ้าง, คฤหบดีบ้าง, ก็หรือว่า ย่อมบำรุงบุคคลชั้นสูงและต่ำ, หรือย่อมบำรุง สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การบำรุงไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่การบำรุงนี้แลเป็นการ บำรุงอันเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มี ความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของ พระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้ประเสริฐกว่า การบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิแห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้เรา เรียกว่าปาริจริยานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ ปาริจริยานุตริยะ เป็นดังนี้. ก็อนุสตานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมระลึกถึงการได้บุตรบ้าง การได้ภรรยาบ้าง การ ได้ทรัพย์บ้าง ก็หรือว่าย่อมระลึกถึงการได้มากบ้าง น้อยบ้าง, หรือระลึกถึงสมณพรหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่า การระลึกถึงนี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่ว่า การระลึกถึงนี้นั้น แลเป็นการระลึกถึงอันเลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อ พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวก ของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้ประเสริฐ กว่าการระลึกถึงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์ แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้ เราเรียกว่า อนุสตานุตริยะ.

วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Bhagwan Buddha เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ

Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs.. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs.. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ศาสตร์ที่ว่าด้วยความพ้นทุกข์ที่ไม่มีอะไรเสมอเหมือนhttps://www.youtube.com/watch?v=vVk6l2MBV2s

เจอปัญหาต้องแก้อย่าอ้างทางสายกลาง หลวงพ่อปราโมทย์พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วง ของหมอชีวก ใกล้กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ คืนวันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ อันเป็นวันอุโบสถ เดือน ๑๒ พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จไปเฝ้า ทูลถามถึงผลดีของความเป็น สมณะ ที่เห็นได้ในปัจจุบัน และตรัสเล่าว่าเคยไปถามครูทั้ง ๖ มาแล้ว แต่ตอบไม่ตรงคำถาม เปรียบเหมือนถามถึงเรื่องมะม่วง แต่ไปตอบเรื่องขนุน จึงต้องกลับ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นข้อ ๆ ดังนี้ ๑. ผู้เคยเป็นทาส หรือกรรมกรของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่อออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปเป็นทาสหรือกรรมกรตามเดิมหรือไม่ พระเจ้าอชาตศัตรูตรัสตอบว่าไม่เรียกกลับ แต่จะแสดงความเคารพถวายปัจจัย ๔ และถวายความคุ้มครองอันเป็นธรรม ตรัสสรุปว่า นี่เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๒. คนทำนาของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่ออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปทำนาให้ตามเดิมหรือไม่ ตรัสตอบเหมือนข้อแรก จึงนับเป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๓. คฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี ฟังธรรมเลื่อมในแล้วออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ สมบูรณ์ด้วยศีล สำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้บาปอกุศลเกิดขึ้นท่วมทับจิต มีสติสัมปชัญญะ มีความสันโดษ ยินดีด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ ออกป่าบำเพ็ญสมาธิ ละกิเลสที่เรียกว่านิวรณ์ ๕ เสียได้ จึงได้บรรลุ ฌานที่ ๑ นี่ก็เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๔. ได้บรรลุฌานที่ ๒ ๕. ได้บรรลุฌานที่ ๓ ๖. ได้บรรลุฌานที่ ๔ ๗. น้อมจิตไปเพื่อเกิดความรู้เป็นด้วยปัญญา (ญาณทัสสนะ) ว่า กายมีความแตกทำลายไปเป็นธรรมดา วิญญาณก็อาศัยและเนื่องในกายนี้ ( วิปัสสนาญาณ ญาณอันทำให้เป็นแจ้ง) ๘. นิรมิตร่างกายอื่นจากการนี้ได้ (มโนมยิทธิ คือฤทธิ์ทางใจ) ๙. แสดงฤทธิ์ได้ เช่น น้อยคนทำให้เป็นมากคน มากคนทำให้เป็นน้อยคน เดินน้ำ ดำดินเป็นต้น ( อิทธิวิธิ) ๑๐.มีหูทิพย์ได้ยินเสียงใกล้ไกล ที่เกินวิสัยหูของมนุษย์ธรรมดา (ทิพยโสต) ๑๒.ระลึกชาติในอดีตได้ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ) ๑๓. เห็นสัตว์อื่นตายเกิดด้วยตาทิพย์ (เรียกว่าทิพยจักษุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ญาณรู้ความตายและความเกิดของสัตว์) ๑๔.รู้จักทำอาสวะคือ กิเลสที่หมักหมม หรือ หมักดองในสันดานให้สิ้นไป (อาสาวักขยญาณ) แล้วตรัสสรุปในที่สุดแห่งทุกข้อแม้ว่า เป็นผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันสูงกว่ากันเป็นลำดับ (เมื่อจะย่อผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันทั้ง ๑๔ ข้อนี้เป็นหมวด ๆ ก็อาจย่อได้ ๓ หมวด คือ หมวดที่ ๑ ทำให้พ้นจากฐานะเดิม คือ พ้นจากความเป็นทาส เป็นกรรมกร พ้นจากความเป็นชาวนา ได้รับการปฏิบัติด้วยดี แม้จากพระมหากษัตริย์ คือ ผลข้อ ๑ กับข้อ ๒ หมวดที่ ๒ เมื่ออบรมจิตใจจนเป็นสมาธิ ก็เป็นเหตุให้ได้ฌานที่ ๑ ถึง ๔ อันทำให้ละกิเลสอย่างกลางได้ คือ ผลข้อ ๓, ๔, ๕, ๖. หมวดที่ ๓ ทำให้ได้วิชชา ๘ อันเริ่มแต่ข้อ ๗ ได้วิปัสสนาญาณ จนถึงข้อ ๑๔ ได้ อาสาวักขยญาณ พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงเลื่อมใส ปฏิญญาพระองค์เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต แล้วกราบทูลขอขมาในการที่ทรงปลงพระชนม์ชีพพระราชบิดา (คือพระเจ้าพิมพิสาร) ซึ่งพระผู้มีพระภาคก็ตรัสรับขมา เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จกลับแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าพระเจ้าอชาตศัตรูไม่ปลงพระชนม์พระราชบิดา ก็จะได้ดวงตาเห็นธรรม (เป็นพระโสดาบัน) สรุปหลักธรรมในสามัญญผลสูตรที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การละกิเลสคือนิวรณ์ ๕ คือ ๑. กามฉันท์ ความอยากได้อยากเอา (แปลตามศัพท์ว่าความพอใจในกาม) หรืออภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้ หมายถึงความอยากได้ในกามคุณทั้ง ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะ ที่น่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณืต่าง ๆ คิดอยากได้โน่นอยากได้นี่ ติดใจโน่นติดใจนี่ คอยเขวออกไปหาอารมณ์อื่น ครุ่นข้องอยู่ ย่อมไม่ตั้งมั่น ไม่เดินเรียบไป ไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๒. พยาบาท คือ ความขัดเคืองแค้นใจ ได้แก่ ความขัดใจ แค้นเคือง เกลียดชัง ความผูก ใจเจ็บ การมองในแง่ร้าย การคิดร้าย มองเห็นคนอื่นเป็นศัตรู ตลอดจนความโกรธ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว ความรู้สึกขัดใจ ไม่พอใจต่าง ๆ จิตที่มัวกระทบนั่นกระทบนี่ สะดุดนั่นสะดุดนี่ เดินไม่เรียบ ไม่ไหลเนื่อง ย่อมไม่อาจเป็นสมาธิ ๓. ถีนมิทธะ คือ ความหดหู่และเซื่องซึม หรือเซ็งและซึม แยกเป็นถีนะ ความหดหู่ ห่อเหี่ยว ถดถอย ระย่อ ท้อแท้ ความซบเซา เหงาหงอย ละเหี่ย ที่เป็นอาการของจิตใจ กับมิทธะ ความเซื่องซึม เฉื่อยชา ง่วงเหงาหาวนอน โงกง่วง อืดอาด มึนมัว ตื้อตัน อาการซึม ๆ เฉา ๆ ที่เป็นไปทางกาย จิตที่ถูกอาการทางกายและทางใจอย่างนี้ครอบงำย่อมไม่เข้มแข็ง ไม่คล่องตัว ไม่เหมาะแก่การใช้งาน จึงไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและเดือดร้อนใจ แยกเป็นอุทธัจจะ ความที่จิตฟุ้งซ่าน ไม่สงบ ส่าย พร่า พล่านไป กับกุกกุจจะ ความวุ่นวายใจ รำคาญใจ ระแวง เดือดร้อนใจ ยุ่งใจ กลุ้มใจ กังวลใจ จิตที่ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงำ ย่อมพล่าน ย่อมคว้างไป ไม่อาจสงบลงได้ จึงไม่เป็นสมาธิ ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ได้แก่ ความเคลือบแคลง ไม่แน่ใจสงสัย เกี่ยวกับพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ เกี่ยวกับสิกขา เป็นต้น พูดสั้น ๆ ว่าคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลาย ตัดสินไม่ได้ เช่นว่า ธรรมนี้มีคุณค่า มีประโยชน์ควรแก่การปฏิบัติหรือไม่ จะได้ผลจริงหรือไม่ คิดแยกไปสองทาง กำหนดไม่ลง จิตที่ถูกวิจิกิจฉาขัดไว้กวนไว้ให้ค้างให้พร่าลังเลอยู่ ย่อมไม่อาจแน่วแน่เป็นสมาธิ การบรรลุฌาน ๘ ๑.รูปฌาน ๔ ได้แก่ ปฐมฌาน มีองค์ประกอบ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ทุติยฌาน มีองค์ประกอบ ๓ คือ ปีติ สุข เอกัคคตา ตติยฌาน มีองค์ประกอบ ๒ คือ สุข เอกัคคตา ๒. อรูปฌาน ๔ อากาสานัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดอากาศ วิญญาณัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดวิญญาณ อากิญจัญญายตนะ คือ กำหดภาวะที่ไม่มีสิ่งใด ๆ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ เลิกกำหนดสิ่งใด ๆ โดยประการทั้งปวง

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ศาสตร์ที่ว่าด้วยความพ้นทุกข์ที่ไม่มีอะไรเสมอเหมือน จิตที่ตั้งมั่น จะเห็นความจริง เกิดปัญญา หลวงพ่อปราโมทย์: ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา

วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สถานที่ปรินิพพาน อินเดียข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอยู่จำพรรษาแล้ว เสด็จออกจากหมู่บ้านเวฬุวะ ทรงดำริว่า เราจะไปเมืองสาวัตถี แล้วเสด็จกลับจากทางที่เสด็จมานั่นเทียว ถึงเมืองสาวัตถีโดยลำดับแล้วเสด็จไปพระเชตวัน. พระธรรมเสนาบดีแสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วไปที่พักกลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้นตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายจักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพานก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุสังขารของตน. รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จึงคิดว่า เราจะปรินิพพานที่ไหน. ลำดับนั้นจึงคิดแล้วคิดอีกว่า พระราหุลปรินิพพานในดาวดึงส์พิภพ พระอัญญาโกณฑัญญเถระปรินิพพานที่สระฉัททันต์ เราจะปรินิพพานที่ไหน ดังนี้ จึงเกิดความสังเวชปรารภมารดาว่า มารดาของเราก็เป็นมารดาของพระอรหันต์ถึง ๗ องค์ ยังไม่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์เลย ท่านมีอุปนิสัยหรือไม่หนอ ได้เห็นอุปนิสัยแห่งพระโสดาปัตติมรรค จึงตรวจดูว่าจักบรรลุด้วยเทศนาของใคร ทราบว่าจักบรรลุด้วยธรรมเทศนาของเราเท่านั้น มิใช่ของใครอื่น ก็ถ้าเราพึงขวนขวายน้อย ก็จักมีคนกล่าวกับเราว่า พระสารีบุตรเถระเป็นที่พึ่งของคนที่เหลือทั้งหลาย. จริงอย่างนั้น ในวันแสดงสมจิตตสูตรของท่าน เทวดาพันโกฏิบรรลุพระอรหัต เทวดาที่แทงตลอดมรรคทั้ง ๓ ก็นับไม่ถ้วน ปรากฏการตรัสรู้ในที่อื่นๆ อีกมาก และตระกูลแปดหมื่นทำใจให้เลื่อมใสในพระเถระ ก็ได้เกิดในสวรรค์ทั้งนั้น บัดนี้ ท่านไม่อาจที่จะเปลื้องแม้เพียงความเห็นผิดของมารดาของตนได้ เพราะฉะนั้น จึงตกลงใจว่า เราจักเปลื้องมารดาจากความเห็นผิด แล้วปรินิพพานในห้องที่เกิดนั่นแหละ จึงคิดแล้วว่า วันนี้เทียว เราจะขออนุญาตพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วออกไป ดังนี้ จึงเรียกพระจุนทเถระมาว่า จุนทะ เธอจงให้สัญญาแก่ภิกษุบริษัท ๕๐๐ รูปของเราว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงถือเอาบาตรและจีวรไป พระธรรมเสนาบดีประสงค์จะไปบ้านนาฬกะ. พระเถระก็ได้ทำอย่างนั้น. ภิกษุทั้งหลายจึงเก็บเสนาสนะถือบาตรและจีวรไปสำนักพระเถระ. พระเถระเก็บเสนาสนะ กวาดที่พักกลางวันและยืนที่ประตูที่พักกลางวัน ตรวจดูที่พักกลางวัน คิดว่า บัดนี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย จะไม่มีการมาอีกแล้ว มีภิกษุ ๕๐๐ รูปแวดล้อมเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตข้าพระองค์ ขอพระสุคตเจ้าทรงอนุญาต นี้เป็นกาลปรินิพพานของข้าพระองค์ อายุสังขารข้าพระองค์ปลงลงแล้ว. ก็เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เมื่อตรัสว่า เธอจงปรินิพพาน ก็จะกลายเป็นสรรเสริญความตาย. เมื่อตรัสว่า เธออย่าปรินิพพาน คนผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิก็จะยกโทษว่า กล่าวสรรเสริญคุณของวัฏฏะ ฉะนั้น จึงไม่ตรัสคำแม้ทั้งสอง เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เธอจักปรินิพพานที่ไหน สารีบุตร. เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักปรินิพพานในห้องที่ข้าพระองค์เกิดในบ้านนาฬกะ แคว้นมคธนั้น จึงตรัสว่า สารีบุตร เธอจงสำคัญเวลาในบัดนี้ ก็การเห็นภิกษุเช่นเธอ ของภิกษุผู้เป็นทั้งพี่และน้องของเธอจักหาได้ยากในบัดนี้ เธอจงแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น. พระเถระรู้แล้วว่า พระศาสดาทรงหวังเฉพาะการแสดงธรรมที่ขึ้นต้นด้วยการแสดงฤทธิ์ของเรา ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเหาะขึ้นไปประมาณชั่วต้นตาล เหาะลงแล้วถวายบังคมพระบาทพระทศพล และเหาะขึ้นไปประมาณสองชั่วลำตาลอีกลงแล้ว ถวายบังคมพระบาทพระทศพล แล้วเหาะขึ้นไปประมาณเจ็ดชั่วลำตาลโดยทำนองนี้ แสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างแล้วปรารภธรรมกถา. พระเถระกล่าวธรรมกถาด้วยกายที่ปรากฏบ้าง ไม่ปรากฏบ้าง ด้วยการเบื้องบน เบื้องล่าง หรือครึ่งกาย บางทีก็แสดงเป็นรูปพระจันทร์โดยไม่มีใครเห็น บางครั้งก็เป็นรูปพระอาทิตย์ บางครั้งก็เป็นรูปภูเขา บางทีก็เป็นรูปทะเล บางทีก็เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บางทีก็เป็นเวสวัณมหาราช บางทีก็เป็นท้าวสักกมหาราช บางทีก็เป็นท้าวมหาพรหม เมื่อแสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างอย่างนี้ พระเถระจึงกล่าวธรรมกถา ชาวพระนครทั้งสิ้นประชุมกันแล้ว พระเถระเหาะลงแล้ว ได้ยืนถวายบังคมพระบาทพระทศพล. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกะพระเถระนั้นว่า สารีบุตร ธรรมปริยายนี้ ชื่ออะไร. ส. ชื่อ สีหนิกีฬิตะ พระเจ้าข้า. พ. สารีบุตร เอาเถิด ธรรมปริยายนี้ ชื่อว่าสีหนิกีฬิตะ สารีบุตร เอาเถิด กระบวนธรรมนี้ชื่อว่า สีหนิกีฬิตะ. พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจับที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพอถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นในลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วยภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อมกันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้วจนถึงน้ำเป็นที่สุด. เทพมโหระทึกในอากาศก็บรรเลงขึ้น มหาเมฆตั้งขึ้นแล้วให้ฝนโบกขรพรรษตกแล้ว. พระศาสดาทรงดำริว่า เราจักให้พระธรรมเสนาบดีแสดงโดยเฉพาะ ดังนี้แล้ว จึงทรงลุกขึ้นจากที่ฟังธรรม เสด็จมุ่งหน้าต่อพระคันธกุฎี ได้ประทับยืนบนแผ่นแก้ว. พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็นพระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลีซึ่งรุ่งเรืองด้วยการประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวายบังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะเหล่าภิกษุที่ยืนแวดล้อมว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงติดตามพี่ชายของพวกเธอเถิด. ขณะนั้น บริษัท ๔ ละพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้พระองค์เดียวในพระเชตวัน ออกไปไม่เหลือเลย. ฝ่ายชาวพระนครสาวัตถีพากันพูดว่า ข่าวว่า พระสารีบุตรเถระทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ประสงค์จะปรินิพพานออกไปแล้ว พวกเราจะไปเยี่ยมท่าน พากันถือเอาของหอมและพวงมาลัยเป็นต้นออกไปจนแน่นประตูเมือง สยายผม ร้องไห้ คร่ำครวญ โดยนัยเป็นต้นว่า บัดนี้พวกเราเมื่อถามว่า ท่านผู้มีปัญญามากนั่งที่ไหน พระธรรมเสนาบดีนั่งที่ไหน ดังนี้ จะไปสำนักของใคร จะไปวางสักการะในมือของใคร พระเถระหลีกไปแล้ว จึงได้ติดตามพระเถระ. พระเถระเพราะความที่ตนดำรงอยู่ในปัญญามาก คิดแล้วว่า ทางนี้คนทั้งหมดไม่ควรก้าวเลยมา แล้วโอวาทมหาชนว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้พวกท่านจงหยุด อย่าถึงความประมาทในพระทศพลเลย แล้วให้หมู่ภิกษุกลับ หลีกไปกับบริษัทของตน. พวกมนุษย์เหล่าใดต่างคร่ำครวญว่า ครั้งก่อน พระผู้เป็นเจ้าเที่ยวจารึกไปแล้วก็กลับมา บัดนี้ การไปนี้เป็นการไปเพื่อไม่กลับมาอีก จึงพากันติดตามอยู่อย่างนั้น. พระเถระกล่าวกะมนุษย์เหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าสังขารทั้งหลายย่อมเป็นอย่างนี้ จึงให้กลับแล้ว. ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรทำการสงเคราะห์พวกมนุษย์ตลอดเจ็ดวัน ในระหว่างทางพักแรมคืนเดียวในที่ทุกแห่ง ถึงบ้านนาฬกะเวลาเย็น ได้ยืนที่โคนต้นนิโครธใกล้ประตูบ้าน. ลำดับนั้น หลานของพระเถระ ชื่อว่าอุปเรวตะ ไปนอกบ้าน ได้เห็นพระเถระแล้ว จึงเข้าไปยืนไหว้อยู่แล้ว. พระเถระจึงกล่าวกับเขาว่า ยายของเธออยู่ในเรือนหรือ. อุ. ครับ ท่านผู้เจริญ. ส. เธอจงไปบอกว่าเรามาที่นี้ เมื่อยายกล่าวว่า มาเพราะเหตุอะไร จงกล่าวว่า ข่าวว่า พระเถระจะอยู่ในบ้านตลอดวันหนึ่งในวันนี้ ท่านจงจัดแจงห้องที่พระเถระเกิด และข่าวว่า ท่านจงรู้ที่เป็นที่อยู่ของภิกษุ ๕๐๐ รูป. เขาไปแล้วบอกว่า ยาย ลุงของผมมาแล้ว. ยาย. เวลานี้ อยู่ที่ไหน. อุ. ประตูบ้าน. ย. มีใครอื่นมาบ้างไหม. อุ. มีภิกษุ ๕๐๐ รูป. ย. มาทำไม. เขาบอกความเป็นไปนั้น. นางพราหมณีคิดอยู่ว่า ลูกชายเราทำไมจึงให้เตรียมที่อยู่แก่พวกภิกษุเท่านี้ ท่านบวชมาตั้งแต่หนุ่ม ตอนแก่อยากจะสึกละกระมัง จึงให้จัดแจงห้องคลอด ให้ทำที่เป็นที่พักของภิกษุ ๕๐๐ รูปให้จุดเทียนและตะเกียงส่งไปถวายพระเถระๆ พร้อมกับพวกภิกษุขึ้นปราสาท เข้าไปนั่งยังห้องคลอด พอนั่งลงแล้วก็ส่งพวกภิกษุไปว่า พวกท่านจงไปพักผ่อนกันเถิด. พอพวกภิกษุไปแล้วเท่านั้น อาพาธอย่างกล้าก็เกิดขึ้นแก่พระเถระ เวทนาปางตายเพราะถ่ายเป็นโลหิต ต้องเอาภาชนะหนึ่งเข้าไป (รองรับ) เอาภาชนะหนึ่งออกมา. นางพราหมณีคิดว่า เราไม่ชอบใจความเป็นไปแห่งบุตรของเราเลย ได้ยืนพิงประตูห้องที่อยู่ของตน. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ตรวจดูอยู่ว่า พระธรรมเสนาบดีอยู่ที่ไหน เห็นแล้วว่า นอนบนเตียงเป็นที่ปรินิพพาน. ในห้องที่ตนคลอดในบ้านนาฬกะ พวกเราจักไปเยี่ยมเป็นครั้งสุดท้าย มาแล้วได้ยืนไหว้อยู่แล้ว. สารีบุตร. พวกท่านเป็นใคร. มหาราช. เป็นท้าวมหาราชขอรับ. สารีบุตร. มาเพราะเหตุไร. มหาราช. จักบำรุงท่านผู้เป็นไข้. ส. ช่างเถิด ผู้บำรุงเราผู้เป็นไข้มีอยู่ พวกท่านจงไปเถิด แล้วได้ส่งไป คล้อยหลังท้าวมหาราชทั้ง ๔ ไปแล้ว ท้าวสักกะจอมเทพก็มาแล้วโดยนัยนั้นนั่นแหละ ก็เมื่อท้าวสักกะไปแล้ว ท้าวมหาพรหมก็มา พระเถระก็ได้ส่งท่านเหล่านั้นไป เหมือนอย่างนั้นนั่นแล. เมื่อนางพราหมณีเห็นพวกเทวดาพากันมาจึงคิดว่า เทวดาเหล่านี้ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป เพราะเหตุอะไรหนอแล จึงไปยังประตูห้องพระเถระแล้วถามว่า พ่อจุนทะมีความเป็นไปอย่างไร. พระจุนทะบอกความเป็นไปนั้นแล้วจึงเรียนพระเถระว่า ท่านผู้เจริญ มหาอุบาสิกมา. พระเถระจึงถามว่า เพราะเหตุไรจึงมาในเวลาไม่เหมาะ. นางจึงกล่าวว่า พ่อ แม่มาเพื่อเยี่ยมลูก แล้วจึงถามว่า พ่อ พวกใครมาก่อน. สารีบุตร. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ มหาอุบาสิกา. มารดา. เจ้าใหญ่กว่าท้าวมหาราชทั้ง ๔ หรือพ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เหมือนเด็กวัด ตั้งแต่พระศาสดาของพวกเราถือปฏิสนธิ ก็ถือพระขรรค์ รักษาแล้ว. ม. พ่อ คล้อยหลังท้าวมหาราชไปแล้วใครมาเล่า. ส. ท้าวสักกะจอมเทพ. ม. เจ้าใหญ่กว่าจอมเทพหรือ พ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวสักกะก็เช่นเดียวกับสามเณรผู้ถือสิ่งของเวลาที่พระศาสดาของพวกเรา เสด็จลงจากดาวดึงสพิภพ ก็ได้ถือบาตรจีวรตามลงมา. ม. พ่อ หลังจากที่ ท้าวสักกะนั้นไปแล้ว ดูเหมือนสว่างไสว ใครมา. ส. อุบาสิกา นั่นก็คือมหาพรหม ผู้เป็นพระเจ้าและศาสดาของโยม. ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่านี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดาเทียว บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลังคิดอะไร. ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเหตุนี้ว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้วศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่นไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัสสนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้าที่ขยายให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณีดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผลแล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนี้ พ่อไม่ได้ให้อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดูสำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วยเหตุเท่านี้ จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านจงไปเถิด ส่งนางพราหมณีไป จึงกล่าวว่า จุนทะ เวลาเท่าไร. จุนทะ. จวนสว่างแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประชุมภิกษุสงฆ์. จ. ภิกษุสงฆ์ประชุมกันแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประคองเราให้นั่ง จุนทะ. พระจุนทะประคองให้นั่งแล้ว พระเถระจึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า อาวุโส เมื่อพวกท่านทั้งหลายเที่ยวไปกับผมตลอด ๔๔ ปี กรรมใดของผมที่เป็นไปทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ซึ่งพวกท่านไม่ชอบใจ ขอให้พวกท่านจงอดโทษแก่ผมด้วย. ภิกษุ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขึ้นชื่อว่าสิ่งที่ไม่น่าพอใจ ย่อมไม่มีแก่พวกข้าพเจ้าผู้ไม่ละท่านเที่ยวไป ดุจเงาของท่านตลอดกาลเท่านี้. แต่ว่า ขอท่านจงอดโทษให้แก่พวกข้าพเจ้าเถิด. ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้าสมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าตั้งต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลังเท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อพวกเราไม่รู้คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุหลายร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ไม่ได้เพื่อให้สร้างวิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้วจนถึงอรุณขึ้น. เมื่ออรุณพอขึ้นเท่านั้น นางก็ให้เรียกช่างทองมาให้เปิดห้องเก็บทอง ให้ชั่งด้วยตาชั่งใหญ่ส่งไปด้วยกล่าวว่า พ่อทั้งหลาย จงทำเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. ฝ่ายท้าวสักกเทวราชตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมาตรัสว่า พ่อ พระธรรมเสนาบดีปรินิพพานแล้ว พ่อจงเนรมิตเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. เรือนที่มหาอุบาสิกาให้สร้างแล้ว รวมกับที่พระวิษณุกรรมเนรมิตเข้าด้วยกันเป็นสองพัน ด้วยประการฉะนี้. ลำดับนั้น คนทั้งหลายจึงให้สร้างมหามณฑปล้วนด้วยของสาระ วางเรือนยอดใหญ่ไว้ท่ามกลางมณฑป แล้ววางของที่เหลือโดยสังเขปว่าเป็นบริวาร ปรารภการเล่นอย่างดีระหว่างพวกเทวดาได้มีเหล่ามนุษย์ ระหว่างเหล่ามนุษย์ได้มีพวกเทวดา. อุปัฏฐายิกาของพระเถระคนหนึ่งชื่อเรวดี คิดว่าเราจักบูชาพระเถระ จึงให้ทำเสาดอกไม้ทอง ๓ ต้น. ท้าวสักกเทวราชคิดว่าเราจักบูชาพระเถระ มีนักฟ้อนสองโกฏิห้าแวดล้อม เสด็จลงแล้ว. มหาชนหันหน้ากลับด้วยคิดว่า ท้าวสักกะเสด็จลง. แม้อุบาสิกานั้นในที่นั้นถอยกลับอยู่ เพราะมีภาระหนัก ไม่อาจจะถอยไป ณ ที่ควรข้างหนึ่ง ล้มลงแล้วในระหว่างพวกมนุษย์. พวกมนุษย์ไม่เห็นอยู่ได้เหยียบอุบาสิกานั้นแหละไปแล้ว นางตายในที่นั้น เกิดในวิมานทอง ภพชั้นดาวดึงส์. ขณะที่เกิดนั่นเทียว นางได้มีอัตภาพ ๓ คาวุตโดยประมาณ เหมือนท่อนแก้ว นางประดับด้วยเครื่องประดับประมาณเต็มหกสิบเล่มเกวียน มีนางฟ้าพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว. นางฟ้าทั้งหลายจึงวางกระจกสำหรับกายทั้งหมด อันเป็นทิพย์ไว้ข้างหน้านาง. นางเห็นสิริสมบัติของตน คิดอยู่ว่า เราทำกรรมอะไรหนอด้วยสมบัติอันมาก ได้เห็นแล้วว่า เราได้ทำการบูชาพระเถระด้วยเสาดอกไม้ทองสามต้น ในที่ปรินิพพานของพระสารีบุตรเถระ มหาชนเหยียบเราแล้ว แต่นั้น เราได้ตายในที่นั้นเกิดแล้วในที่นี้ เราจะกล่าวผลบุญที่เราอาศัยพระเถระ ได้แล้วในบัดนี้แก่พวกมนุษย์ จึงลงมาพร้อมทั้งวิมานทีเดียว. มหาชนเห็นแต่ไกล แลดูสำคัญอยู่ว่า ดวงอาทิตย์โผล่ขึ้นสองดวงหรือหนอ เมื่อวิมานมาอยู่ ลักษณะเรือนยอดก็ปรากฏ. กล่าวกันแล้วว่า นี่มิใช่ดวงอาทิตย์ นั่นเป็นวิมานหลังหนึ่ง. แม้วิมานนั้นมาแล้วในขณะนั้น ลอยอยู่เหนือเชิงตะกอนไม้ของพระเถระ. เทพธิดาจึงหยุดวิมานไว้ในอากาศนั่นแล แล้วลงมาสู่แผ่นดิน. มหาชนถามแล้วว่า ผู้เป็นเจ้า ท่านเป็นใคร. เราชื่อนางเรวดี บูชาพระเถระด้วยเสาประดับด้วยดอกไม้ทอง ๓ ต้น ถูกพวกมนุษย์เหยียบแล้วตายไป เกิดในดาวดึงสพิภพ เชิญท่านทั้งหลายดูสิริสมบัติของเรา บัดนี้ ถึงพวกท่านก็จงให้ทานทำบุญเถิด. ครั้นนางกล่าวสรรเสริญการทำกุศล แล้วประทักษิณเชิงตะกอนพระเถระแล้ว ได้ไปเทวสถานของตนนั่นเทียว. ฝ่ายมหาชนเล่นอย่างเรียบร้อยอยู่ ๗ วันแล้ว ได้ทำเชิงตะกอนด้วยของหอมทั้งปวง. เชิงตะกอนประกอบด้วยแก้ว ๙๙ ชนิด. คนทั้งหลายจึงยกสรีระของพระเถระขึ้นเชิงตะกอนแล้ว เผาด้วยกำหญ้าแฝก การฟังธรรมย่อมเป็นไปตลอดราตรีทั้งหมดในป่าช้า. พระอนุรุทธเถระจึงเอาน้ำหอมทุกชนิดดับเชิงตะกอนพระเถระ. พระจุนทเถระใส่ธาตุลงในผ้ากรองน้ำแล้ว คิดว่าบัดนี้เราไม่อาจจะเก็บไว้ที่นี้ได้ จักกราบทูลว่า พระสารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี พี่ชายของเราปรินิพพานแล้ว แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ถือเอาผ้ากรองน้ำที่ห่อธาตุและบาตรจีวรพระเถระ ไปเมืองสาวัตถี. และไม่พักเกิน ๒ คืนในที่หนึ่งๆ ถึงเมืองสาวัตถีด้วยการอยู่ที่ละคืนหนึ่งในที่ทั้งปวงนั่นเทียว. เพื่อแสดงเนื้อความนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า ครั้งนั้นแล สามเณรจุนทะ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เยนายสฺมา ท่านพระอานนท์โดยทิศใด. ความว่า ท่านได้เข้าไปหาโดยทิศที่ท่านพระอานนท์ผู้เป็นขุนคลังแห่งธรรมอุปัชฌาย์ของตนอยู่. ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระจุนทะนั้นจึงไม่ตรงไปสำนักพระศาสดา (แต่) ไปสำนักพระเถระเล่า. ตอบว่า เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. ได้ยินว่า พระจุนทเถระนั้นได้อาบน้ำที่สระโบกขรณีในพระเชตวันมหาวิหาร ขึ้นแล้วนุ่งห่มอย่างดี มีความคิดว่า ขึ้นชื่อว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายหนักเหมือนฉัตรหินใหญ่ และเหมือนงูแผ่พังพาน ราชสีห์ เสือและช้างตกมันเป็นต้น เข้าใกล้ได้ยาก เราไม่อาจจะตรงไปยังสำนักพระศาสดาทีเดียว ควรไปสำนักของใครหนอ. ลำดับนั้นจึงคิดว่า อุปัชฌาย์ของเราผู้เป็นขุนคลังแห่งพระธรรม เป็นสหายผู้ประเสริฐของพระเถระพี่ชาย เราจะไปสำนักของท่านพาไปกราบทูลพระศาสดา จึงได้เข้าไปหา เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. บทว่า นี้บาตรจีวรของท่าน ความว่า พระเถระกราบทูลแต่ละอย่างดังนี้ว่า นี้บาตรสำหรับใช้สอยของท่าน นี้ผ้ากรองน้ำห่อธาตุของท่าน. แต่ในบาลีท่านกล่าวเพียงเท่านี้ว่า นี้บาตรจีวรของท่าน. คำว่า ถ้อยคำอันดั้งเดิม คือ ถ้อยคำที่เป็นต้นทุน. มูล ท่านเรียกว่าต้นทุน ดุจที่ท่านกล่าวไว้ว่า ผู้มีปัญญาพิจารณาแล้ว ย่อมตั้งตนได้ด้วย ต้นทุนแม้น้อย เหมือนคนก่อไฟน้อยฉะนั้น

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอยู่จำพรรษาแล้ว เสด็จออกจากหมู่บ้านเวฬุวะ ทรงดำริว่า เราจะไปเมืองสาวัตถี แล้วเสด็จกลับจากทางที่เสด็จมานั่นเทียว ถึงเมืองสาวัตถีโดยลำดับแล้วเสด็จไปพระเชตวัน. พระธรรมเสนาบดีแสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วไปที่พักกลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้นตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายจักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพานก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุสังขารของตน. รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จึงคิดว่า เราจะปรินิพพานที่ไหน. ลำดับนั้นจึงคิดแล้วคิดอีกว่า พระราหุลปรินิพพานในดาวดึงส์พิภพ พระอัญญาโกณฑัญญเถระปรินิพพานที่สระฉัททันต์ เราจะปรินิพพานที่ไหน ดังนี้ จึงเกิดความสังเวชปรารภมารดาว่า มารดาของเราก็เป็นมารดาของพระอรหันต์ถึง ๗ องค์ ยังไม่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์เลย ท่านมีอุปนิสัยหรือไม่หนอ ได้เห็นอุปนิสัยแห่งพระโสดาปัตติมรรค จึงตรวจดูว่าจักบรรลุด้วยเทศนาของใคร ทราบว่าจักบรรลุด้วยธรรมเทศนาของเราเท่านั้น มิใช่ของใครอื่น ก็ถ้าเราพึงขวนขวายน้อย ก็จักมีคนกล่าวกับเราว่า พระสารีบุตรเถระเป็นที่พึ่งของคนที่เหลือทั้งหลาย. จริงอย่างนั้น ในวันแสดงสมจิตตสูตรของท่าน เทวดาพันโกฏิบรรลุพระอรหัต เทวดาที่แทงตลอดมรรคทั้ง ๓ ก็นับไม่ถ้วน ปรากฏการตรัสรู้ในที่อื่นๆ อีกมาก และตระกูลแปดหมื่นทำใจให้เลื่อมใสในพระเถระ ก็ได้เกิดในสวรรค์ทั้งนั้น บัดนี้ ท่านไม่อาจที่จะเปลื้องแม้เพียงความเห็นผิดของมารดาของตนได้ เพราะฉะนั้น จึงตกลงใจว่า เราจักเปลื้องมารดาจากความเห็นผิด แล้วปรินิพพานในห้องที่เกิดนั่นแหละ จึงคิดแล้วว่า วันนี้เทียว เราจะขออนุญาตพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วออกไป ดังนี้ จึงเรียกพระจุนทเถระมาว่า จุนทะ เธอจงให้สัญญาแก่ภิกษุบริษัท ๕๐๐ รูปของเราว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงถือเอาบาตรและจีวรไป พระธรรมเสนาบดีประสงค์จะไปบ้านนาฬกะ. พระเถระก็ได้ทำอย่างนั้น. ภิกษุทั้งหลายจึงเก็บเสนาสนะถือบาตรและจีวรไปสำนักพระเถระ. พระเถระเก็บเสนาสนะ กวาดที่พักกลางวันและยืนที่ประตูที่พักกลางวัน ตรวจดูที่พักกลางวัน คิดว่า บัดนี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย จะไม่มีการมาอีกแล้ว มีภิกษุ ๕๐๐ รูปแวดล้อมเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตข้าพระองค์ ขอพระสุคตเจ้าทรงอนุญาต นี้เป็นกาลปรินิพพานของข้าพระองค์ อายุสังขารข้าพระองค์ปลงลงแล้ว. ก็เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เมื่อตรัสว่า เธอจงปรินิพพาน ก็จะกลายเป็นสรรเสริญความตาย. เมื่อตรัสว่า เธออย่าปรินิพพาน คนผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิก็จะยกโทษว่า กล่าวสรรเสริญคุณของวัฏฏะ ฉะนั้น จึงไม่ตรัสคำแม้ทั้งสอง เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เธอจักปรินิพพานที่ไหน สารีบุตร. เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักปรินิพพานในห้องที่ข้าพระองค์เกิดในบ้านนาฬกะ แคว้นมคธนั้น จึงตรัสว่า สารีบุตร เธอจงสำคัญเวลาในบัดนี้ ก็การเห็นภิกษุเช่นเธอ ของภิกษุผู้เป็นทั้งพี่และน้องของเธอจักหาได้ยากในบัดนี้ เธอจงแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น. พระเถระรู้แล้วว่า พระศาสดาทรงหวังเฉพาะการแสดงธรรมที่ขึ้นต้นด้วยการแสดงฤทธิ์ของเรา ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเหาะขึ้นไปประมาณชั่วต้นตาล เหาะลงแล้วถวายบังคมพระบาทพระทศพล และเหาะขึ้นไปประมาณสองชั่วลำตาลอีกลงแล้ว ถวายบังคมพระบาทพระทศพล แล้วเหาะขึ้นไปประมาณเจ็ดชั่วลำตาลโดยทำนองนี้ แสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างแล้วปรารภธรรมกถา. พระเถระกล่าวธรรมกถาด้วยกายที่ปรากฏบ้าง ไม่ปรากฏบ้าง ด้วยการเบื้องบน เบื้องล่าง หรือครึ่งกาย บางทีก็แสดงเป็นรูปพระจันทร์โดยไม่มีใครเห็น บางครั้งก็เป็นรูปพระอาทิตย์ บางครั้งก็เป็นรูปภูเขา บางทีก็เป็นรูปทะเล บางทีก็เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บางทีก็เป็นเวสวัณมหาราช บางทีก็เป็นท้าวสักกมหาราช บางทีก็เป็นท้าวมหาพรหม เมื่อแสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างอย่างนี้ พระเถระจึงกล่าวธรรมกถา ชาวพระนครทั้งสิ้นประชุมกันแล้ว พระเถระเหาะลงแล้ว ได้ยืนถวายบังคมพระบาทพระทศพล. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกะพระเถระนั้นว่า สารีบุตร ธรรมปริยายนี้ ชื่ออะไร. ส. ชื่อ สีหนิกีฬิตะ พระเจ้าข้า. พ. สารีบุตร เอาเถิด ธรรมปริยายนี้ ชื่อว่าสีหนิกีฬิตะ สารีบุตร เอาเถิด กระบวนธรรมนี้ชื่อว่า สีหนิกีฬิตะ. พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจับที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพอถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นในลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วยภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อมกันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้วจนถึงน้ำเป็นที่สุด. เทพมโหระทึกในอากาศก็บรรเลงขึ้น มหาเมฆตั้งขึ้นแล้วให้ฝนโบกขรพรรษตกแล้ว. พระศาสดาทรงดำริว่า เราจักให้พระธรรมเสนาบดีแสดงโดยเฉพาะ ดังนี้แล้ว จึงทรงลุกขึ้นจากที่ฟังธรรม เสด็จมุ่งหน้าต่อพระคันธกุฎี ได้ประทับยืนบนแผ่นแก้ว. พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็นพระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลีซึ่งรุ่งเรืองด้วยการประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวายบังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะเหล่าภิกษุที่ยืนแวดล้อมว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงติดตามพี่ชายของพวกเธอเถิด. ขณะนั้น บริษัท ๔ ละพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้พระองค์เดียวในพระเชตวัน ออกไปไม่เหลือเลย. ฝ่ายชาวพระนครสาวัตถีพากันพูดว่า ข่าวว่า พระสารีบุตรเถระทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ประสงค์จะปรินิพพานออกไปแล้ว พวกเราจะไปเยี่ยมท่าน พากันถือเอาของหอมและพวงมาลัยเป็นต้นออกไปจนแน่นประตูเมือง สยายผม ร้องไห้ คร่ำครวญ โดยนัยเป็นต้นว่า บัดนี้พวกเราเมื่อถามว่า ท่านผู้มีปัญญามากนั่งที่ไหน พระธรรมเสนาบดีนั่งที่ไหน ดังนี้ จะไปสำนักของใคร จะไปวางสักการะในมือของใคร พระเถระหลีกไปแล้ว จึงได้ติดตามพระเถระ. พระเถระเพราะความที่ตนดำรงอยู่ในปัญญามาก คิดแล้วว่า ทางนี้คนทั้งหมดไม่ควรก้าวเลยมา แล้วโอวาทมหาชนว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้พวกท่านจงหยุด อย่าถึงความประมาทในพระทศพลเลย แล้วให้หมู่ภิกษุกลับ หลีกไปกับบริษัทของตน. พวกมนุษย์เหล่าใดต่างคร่ำครวญว่า ครั้งก่อน พระผู้เป็นเจ้าเที่ยวจารึกไปแล้วก็กลับมา บัดนี้ การไปนี้เป็นการไปเพื่อไม่กลับมาอีก จึงพากันติดตามอยู่อย่างนั้น. พระเถระกล่าวกะมนุษย์เหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าสังขารทั้งหลายย่อมเป็นอย่างนี้ จึงให้กลับแล้ว. ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรทำการสงเคราะห์พวกมนุษย์ตลอดเจ็ดวัน ในระหว่างทางพักแรมคืนเดียวในที่ทุกแห่ง ถึงบ้านนาฬกะเวลาเย็น ได้ยืนที่โคนต้นนิโครธใกล้ประตูบ้าน. ลำดับนั้น หลานของพระเถระ ชื่อว่าอุปเรวตะ ไปนอกบ้าน ได้เห็นพระเถระแล้ว จึงเข้าไปยืนไหว้อยู่แล้ว. พระเถระจึงกล่าวกับเขาว่า ยายของเธออยู่ในเรือนหรือ. อุ. ครับ ท่านผู้เจริญ. ส. เธอจงไปบอกว่าเรามาที่นี้ เมื่อยายกล่าวว่า มาเพราะเหตุอะไร จงกล่าวว่า ข่าวว่า พระเถระจะอยู่ในบ้านตลอดวันหนึ่งในวันนี้ ท่านจงจัดแจงห้องที่พระเถระเกิด และข่าวว่า ท่านจงรู้ที่เป็นที่อยู่ของภิกษุ ๕๐๐ รูป. เขาไปแล้วบอกว่า ยาย ลุงของผมมาแล้ว. ยาย. เวลานี้ อยู่ที่ไหน. อุ. ประตูบ้าน. ย. มีใครอื่นมาบ้างไหม. อุ. มีภิกษุ ๕๐๐ รูป. ย. มาทำไม. เขาบอกความเป็นไปนั้น. นางพราหมณีคิดอยู่ว่า ลูกชายเราทำไมจึงให้เตรียมที่อยู่แก่พวกภิกษุเท่านี้ ท่านบวชมาตั้งแต่หนุ่ม ตอนแก่อยากจะสึกละกระมัง จึงให้จัดแจงห้องคลอด ให้ทำที่เป็นที่พักของภิกษุ ๕๐๐ รูปให้จุดเทียนและตะเกียงส่งไปถวายพระเถระๆ พร้อมกับพวกภิกษุขึ้นปราสาท เข้าไปนั่งยังห้องคลอด พอนั่งลงแล้วก็ส่งพวกภิกษุไปว่า พวกท่านจงไปพักผ่อนกันเถิด. พอพวกภิกษุไปแล้วเท่านั้น อาพาธอย่างกล้าก็เกิดขึ้นแก่พระเถระ เวทนาปางตายเพราะถ่ายเป็นโลหิต ต้องเอาภาชนะหนึ่งเข้าไป (รองรับ) เอาภาชนะหนึ่งออกมา. นางพราหมณีคิดว่า เราไม่ชอบใจความเป็นไปแห่งบุตรของเราเลย ได้ยืนพิงประตูห้องที่อยู่ของตน. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ตรวจดูอยู่ว่า พระธรรมเสนาบดีอยู่ที่ไหน เห็นแล้วว่า นอนบนเตียงเป็นที่ปรินิพพาน. ในห้องที่ตนคลอดในบ้านนาฬกะ พวกเราจักไปเยี่ยมเป็นครั้งสุดท้าย มาแล้วได้ยืนไหว้อยู่แล้ว. สารีบุตร. พวกท่านเป็นใคร. มหาราช. เป็นท้าวมหาราชขอรับ. สารีบุตร. มาเพราะเหตุไร. มหาราช. จักบำรุงท่านผู้เป็นไข้. ส. ช่างเถิด ผู้บำรุงเราผู้เป็นไข้มีอยู่ พวกท่านจงไปเถิด แล้วได้ส่งไป คล้อยหลังท้าวมหาราชทั้ง ๔ ไปแล้ว ท้าวสักกะจอมเทพก็มาแล้วโดยนัยนั้นนั่นแหละ ก็เมื่อท้าวสักกะไปแล้ว ท้าวมหาพรหมก็มา พระเถระก็ได้ส่งท่านเหล่านั้นไป เหมือนอย่างนั้นนั่นแล. เมื่อนางพราหมณีเห็นพวกเทวดาพากันมาจึงคิดว่า เทวดาเหล่านี้ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป เพราะเหตุอะไรหนอแล จึงไปยังประตูห้องพระเถระแล้วถามว่า พ่อจุนทะมีความเป็นไปอย่างไร. พระจุนทะบอกความเป็นไปนั้นแล้วจึงเรียนพระเถระว่า ท่านผู้เจริญ มหาอุบาสิกมา. พระเถระจึงถามว่า เพราะเหตุไรจึงมาในเวลาไม่เหมาะ. นางจึงกล่าวว่า พ่อ แม่มาเพื่อเยี่ยมลูก แล้วจึงถามว่า พ่อ พวกใครมาก่อน. สารีบุตร. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ มหาอุบาสิกา. มารดา. เจ้าใหญ่กว่าท้าวมหาราชทั้ง ๔ หรือพ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เหมือนเด็กวัด ตั้งแต่พระศาสดาของพวกเราถือปฏิสนธิ ก็ถือพระขรรค์ รักษาแล้ว. ม. พ่อ คล้อยหลังท้าวมหาราชไปแล้วใครมาเล่า. ส. ท้าวสักกะจอมเทพ. ม. เจ้าใหญ่กว่าจอมเทพหรือ พ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวสักกะก็เช่นเดียวกับสามเณรผู้ถือสิ่งของเวลาที่พระศาสดาของพวกเรา เสด็จลงจากดาวดึงสพิภพ ก็ได้ถือบาตรจีวรตามลงมา. ม. พ่อ หลังจากที่ ท้าวสักกะนั้นไปแล้ว ดูเหมือนสว่างไสว ใครมา. ส. อุบาสิกา นั่นก็คือมหาพรหม ผู้เป็นพระเจ้าและศาสดาของโยม. ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่านี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดาเทียว บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลังคิดอะไร. ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเหตุนี้ว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้วศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่นไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัสสนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้าที่ขยายให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณีดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผลแล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนี้ พ่อไม่ได้ให้อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดูสำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วยเหตุเท่านี้ จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านจงไปเถิด ส่งนางพราหมณีไป จึงกล่าวว่า จุนทะ เวลาเท่าไร. จุนทะ. จวนสว่างแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประชุมภิกษุสงฆ์. จ. ภิกษุสงฆ์ประชุมกันแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประคองเราให้นั่ง จุนทะ. พระจุนทะประคองให้นั่งแล้ว พระเถระจึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า อาวุโส เมื่อพวกท่านทั้งหลายเที่ยวไปกับผมตลอด ๔๔ ปี กรรมใดของผมที่เป็นไปทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ซึ่งพวกท่านไม่ชอบใจ ขอให้พวกท่านจงอดโทษแก่ผมด้วย. ภิกษุ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขึ้นชื่อว่าสิ่งที่ไม่น่าพอใจ ย่อมไม่มีแก่พวกข้าพเจ้าผู้ไม่ละท่านเที่ยวไป ดุจเงาของท่านตลอดกาลเท่านี้. แต่ว่า ขอท่านจงอดโทษให้แก่พวกข้าพเจ้าเถิด. ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้าสมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าตั้งต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลังเท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อพวกเราไม่รู้คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุหลายร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ไม่ได้เพื่อให้สร้างวิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้วจนถึงอรุณขึ้น. เมื่ออรุณพอขึ้นเท่านั้น นางก็ให้เรียกช่างทองมาให้เปิดห้องเก็บทอง ให้ชั่งด้วยตาชั่งใหญ่ส่งไปด้วยกล่าวว่า พ่อทั้งหลาย จงทำเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. ฝ่ายท้าวสักกเทวราชตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมาตรัสว่า พ่อ พระธรรมเสนาบดีปรินิพพานแล้ว พ่อจงเนรมิตเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. เรือนที่มหาอุบาสิกาให้สร้างแล้ว รวมกับที่พระวิษณุกรรมเนรมิตเข้าด้วยกันเป็นสองพัน ด้วยประการฉะนี้. ลำดับนั้น คนทั้งหลายจึงให้สร้างมหามณฑปล้วนด้วยของสาระ วางเรือนยอดใหญ่ไว้ท่ามกลางมณฑป แล้ววางของที่เหลือโดยสังเขปว่าเป็นบริวาร ปรารภการเล่นอย่างดีระหว่างพวกเทวดาได้มีเหล่ามนุษย์ ระหว่างเหล่ามนุษย์ได้มีพวกเทวดา. อุปัฏฐายิกาของพระเถระคนหนึ่งชื่อเรวดี คิดว่าเราจักบูชาพระเถระ จึงให้ทำเสาดอกไม้ทอง ๓ ต้น. ท้าวสักกเทวราชคิดว่าเราจักบูชาพระเถระ มีนักฟ้อนสองโกฏิห้าแวดล้อม เสด็จลงแล้ว. มหาชนหันหน้ากลับด้วยคิดว่า ท้าวสักกะเสด็จลง. แม้อุบาสิกานั้นในที่นั้นถอยกลับอยู่ เพราะมีภาระหนัก ไม่อาจจะถอยไป ณ ที่ควรข้างหนึ่ง ล้มลงแล้วในระหว่างพวกมนุษย์. พวกมนุษย์ไม่เห็นอยู่ได้เหยียบอุบาสิกานั้นแหละไปแล้ว นางตายในที่นั้น เกิดในวิมานทอง ภพชั้นดาวดึงส์. ขณะที่เกิดนั่นเทียว นางได้มีอัตภาพ ๓ คาวุตโดยประมาณ เหมือนท่อนแก้ว นางประดับด้วยเครื่องประดับประมาณเต็มหกสิบเล่มเกวียน มีนางฟ้าพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว. นางฟ้าทั้งหลายจึงวางกระจกสำหรับกายทั้งหมด อันเป็นทิพย์ไว้ข้างหน้านาง. นางเห็นสิริสมบัติของตน คิดอยู่ว่า เราทำกรรมอะไรหนอด้วยสมบัติอันมาก ได้เห็นแล้วว่า เราได้ทำการบูชาพระเถระด้วยเสาดอกไม้ทองสามต้น ในที่ปรินิพพานของพระสารีบุตรเถระ มหาชนเหยียบเราแล้ว แต่นั้น เราได้ตายในที่นั้นเกิดแล้วในที่นี้ เราจะกล่าวผลบุญที่เราอาศัยพระเถระ ได้แล้วในบัดนี้แก่พวกมนุษย์ จึงลงมาพร้อมทั้งวิมานทีเดียว. มหาชนเห็นแต่ไกล แลดูสำคัญอยู่ว่า ดวงอาทิตย์โผล่ขึ้นสองดวงหรือหนอ เมื่อวิมานมาอยู่ ลักษณะเรือนยอดก็ปรากฏ. กล่าวกันแล้วว่า นี่มิใช่ดวงอาทิตย์ นั่นเป็นวิมานหลังหนึ่ง. แม้วิมานนั้นมาแล้วในขณะนั้น ลอยอยู่เหนือเชิงตะกอนไม้ของพระเถระ. เทพธิดาจึงหยุดวิมานไว้ในอากาศนั่นแล แล้วลงมาสู่แผ่นดิน. มหาชนถามแล้วว่า ผู้เป็นเจ้า ท่านเป็นใคร. เราชื่อนางเรวดี บูชาพระเถระด้วยเสาประดับด้วยดอกไม้ทอง ๓ ต้น ถูกพวกมนุษย์เหยียบแล้วตายไป เกิดในดาวดึงสพิภพ เชิญท่านทั้งหลายดูสิริสมบัติของเรา บัดนี้ ถึงพวกท่านก็จงให้ทานทำบุญเถิด. ครั้นนางกล่าวสรรเสริญการทำกุศล แล้วประทักษิณเชิงตะกอนพระเถระแล้ว ได้ไปเทวสถานของตนนั่นเทียว. ฝ่ายมหาชนเล่นอย่างเรียบร้อยอยู่ ๗ วันแล้ว ได้ทำเชิงตะกอนด้วยของหอมทั้งปวง. เชิงตะกอนประกอบด้วยแก้ว ๙๙ ชนิด. คนทั้งหลายจึงยกสรีระของพระเถระขึ้นเชิงตะกอนแล้ว เผาด้วยกำหญ้าแฝก การฟังธรรมย่อมเป็นไปตลอดราตรีทั้งหมดในป่าช้า. พระอนุรุทธเถระจึงเอาน้ำหอมทุกชนิดดับเชิงตะกอนพระเถระ. พระจุนทเถระใส่ธาตุลงในผ้ากรองน้ำแล้ว คิดว่าบัดนี้เราไม่อาจจะเก็บไว้ที่นี้ได้ จักกราบทูลว่า พระสารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี พี่ชายของเราปรินิพพานแล้ว แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ถือเอาผ้ากรองน้ำที่ห่อธาตุและบาตรจีวรพระเถระ ไปเมืองสาวัตถี. และไม่พักเกิน ๒ คืนในที่หนึ่งๆ ถึงเมืองสาวัตถีด้วยการอยู่ที่ละคืนหนึ่งในที่ทั้งปวงนั่นเทียว. เพื่อแสดงเนื้อความนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า ครั้งนั้นแล สามเณรจุนทะ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เยนายสฺมา ท่านพระอานนท์โดยทิศใด. ความว่า ท่านได้เข้าไปหาโดยทิศที่ท่านพระอานนท์ผู้เป็นขุนคลังแห่งธรรมอุปัชฌาย์ของตนอยู่. ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระจุนทะนั้นจึงไม่ตรงไปสำนักพระศาสดา (แต่) ไปสำนักพระเถระเล่า. ตอบว่า เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. ได้ยินว่า พระจุนทเถระนั้นได้อาบน้ำที่สระโบกขรณีในพระเชตวันมหาวิหาร ขึ้นแล้วนุ่งห่มอย่างดี มีความคิดว่า ขึ้นชื่อว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายหนักเหมือนฉัตรหินใหญ่ และเหมือนงูแผ่พังพาน ราชสีห์ เสือและช้างตกมันเป็นต้น เข้าใกล้ได้ยาก เราไม่อาจจะตรงไปยังสำนักพระศาสดาทีเดียว ควรไปสำนักของใครหนอ. ลำดับนั้นจึงคิดว่า อุปัชฌาย์ของเราผู้เป็นขุนคลังแห่งพระธรรม เป็นสหายผู้ประเสริฐของพระเถระพี่ชาย เราจะไปสำนักของท่านพาไปกราบทูลพระศาสดา จึงได้เข้าไปหา เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. บทว่า นี้บาตรจีวรของท่าน ความว่า พระเถระกราบทูลแต่ละอย่างดังนี้ว่า นี้บาตรสำหรับใช้สอยของท่าน นี้ผ้ากรองน้ำห่อธาตุของท่าน. แต่ในบาลีท่านกล่าวเพียงเท่านี้ว่า นี้บาตรจีวรของท่าน. คำว่า ถ้อยคำอันดั้งเดิม คือ ถ้อยคำที่เป็นต้นทุน. มูล ท่านเรียกว่าต้นทุน ดุจที่ท่านกล่าวไว้ว่า ผู้มีปัญญาพิจารณาแล้ว ย่อมตั้งตนได้ด้วย ต้นทุนแม้น้อย เหมือนคนก่อไฟน้อยฉะนั้น

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายพระสารีบุตร หญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก...เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันเพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา รู้ลมหายใจอยู่ จิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจ รู้ว่าจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจแล้ว จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา ถ้ารู้ทันว่าจิตไหลไปนะ จิตจะตั้งมั่นเพราะฉะนั้นเบื้องต้นจะต้องทำกรรมฐานอย่างหนึ่งเสียก่อนนะ ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทัน เดี๋ยวก็ไหลไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ดูไม่ทันหรอก เพราะฉะนั้นเบื้องต้นทำกรรมฐานขึ้นมาสักอย่างหนึ่งก่อน พุทโธก็ได้ หายใจก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิตไป จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตไปเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวก็รู้นะ จิตเคลื่อนไปเมื่อไหร่ให้รู้ทัน ถ้ารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยไม่ได้เจตนาให้ตั้ง มันตั้งของมันเอง หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช

นิพพานัง ปรมัง สุขัง บุญทานแม้เล็กน้อยไม่พึงดูหมิ่น บุคคลเมื่อล้างภาชนะบรรจุอาหาร พึงปรารภว่า แม้สัตว์เล็ก สัตว์น้อย ที่อยู่ในดิน ขอจงได้กิน ดื่ม อาหารและน้ำนี้ ขอจงมีอายุยืนนาน และมีความสุขสำราญ เทอญ

พิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพานต้องปฏิบัตินะ ต้องมีสติ รู้สึกตัวบ่อยๆ รู้สึกกายรู้สึกใจ รู้สึกกายรู้สึกใจไป รู้สึกกายรู้สึกใจเรียกว่ารู้ทุกข์ รู้สึกไปเรื่อย ถ้ารู้แจ่มแจ้งเห็นมันเป็นไตรลักษณ์จะเบื่อ พอเบื่อหน่ายก็รู้ว่าเบื่อหน่ายนะ ใจก็คลายออก ไม่ยึดถือ เห็นแล้วว่าความจริงเป็นยังไง ความจริงของกายก็คือทุกข์ ความจริงของจิตใจก็คือทุกข์ ความจริงเค้าเป็นอย่างนั้น ใจยอมรับความจริง พอใจยอมรับความจริงใจก็หมดความดิ้นรนใช่มั้ย ตัวสำคัญนะตรงที่ยอมรับความจริง ถ้าคนที่ยอมรับความจริงได้จะไม่ทุกข์ คนที่ยอมรับความจริงไม่ได้จะทุกข์ อย่างร่างกายเราต้องแก่ใช่มั้ย ต้องเจ็บต้องตาย นี่เป็นความจริง ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ทุกข์แล้ว ตีนกาขึ้นหน่อยก็กลุ้มแล้วใช่มั้ย หายานี้มาลองทาไม่ได้ผลเอาตัวนี้ทา ทาไปทามาเลยเหี่ยวไปเลย คราวนี้ตีนวัวตีนควาย ท้อใจแล้วยอมรับสภาพ มันเยอะสู้ไม่ไหวแล้ว ถ้ายอมรับได้ก็ไม่ทุกข์ใช่มั้ย อย่างหลวงพ่อนะหลวงพ่อรู้สึกตัวเองแก่มานานแล้ว ตั้งแต่เด็กๆก็รู้สึกแก่นะ ภาวนามามากๆนะ รู้สึกโลกมันจืดมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เพื่อนฝูงเค้าเฮๆฮาๆนะ เราก็เฮ้อ เล่นๆไปกับเค้านะเหมือนเล่นละครยังไงหยั่งงั้นน่ะ เอาใจมันให้ไม่ดูแปลกกว่ามันมากนัก กลมกลืน แต่ในใจเรารู้สึกไม่เห็นมีอะไรเลย จืดชืด นี่ใจมันแก่มาตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆมันล้อหลวงพ่อนะว่าหน้าตาแก่ ท่าทางก็เหมือนคนแก่ เดี๋ยวนี้ลองมาดูสิมันแก่กว่าหลวงพ่อแล้วรายไหนรายนั้นเลย ของเราแก่คงที่มาตั้งแต่เด็ก มันมาแก่ทีหลัง มันดังกว่า ไปดูสิแต่ละคนนะหัวหงอกขาวโพลนเลยก็มีนะ หัวล้านเหน่งเลยก็มี เราภาวนานะภาวนา ใจยอมรับความจริงได้เมื่อไหร่ใจจะไม่ทุกข์ ใจจะยอมรับความจริงได้ต่อเมื่อใจยอมจำนน นี่ไม่ยอมง่ายๆนะ อยู่ๆจะไปบอก เอ้า ผมยอมแล้ว เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องธรรมดา ปิ๊ง บรรลุพระอรหันต์ ใจมันไม่ยอมด้วยหรอก งั้นมันจะยอมต่อเมื่อมันยอมจำนน ทำยังไงมันถึงจะยอมจำนน ต้องเอาข้อเท็จจริงตีแผ่ให้มันดูทุกวันๆ ดูลงมาในกาย ดูลงมาในใจ ดูซิมันสุขหรือมันทุกข์ มันดีหรือมันร้ายนะ ดูลงไป มันน่ารักหรือมันไม่น่ารัก มันสวยมันงามหรือไม่สวยไม่งาม มันเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันสุขหรือมันทุกข์นะ มันบังคับได้หรือบังคับไม่ได้ เอาของจริงมาให้มันดู พวกเราวิปลาส ปุถุชนจะวิปลาสสี่อย่าง คือเห็นของไม่สวยไม่งามก็ว่าสวยว่างาม เห็นของไม่เที่ยงก็ว่าเที่ยง เห็นของเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข เห็นของไม่ใช่ตัวตนว่าเป็นตัวเป็นตนของตน นี่เรียกวิปลาส นี้จะหายบ้าหายวิปลาสได้นะเอาข้อเท็จจริงมาให้ดู พอดูทุกวันๆนะ ดูอยู่ในกายดูอยู่ในใจ รู้สึกกายรู้สึกใจอย่าไปแทรกแทรง อย่าไปบังคับ เราต้องการดูความจริง เพราะงั้นอย่าไปบังคับกายบังคับใจ

คาถาธรรมบทว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าเธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

สิ่งที่ใครใครไม่อาจจะชนะได้เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บ้านอนาถบิณฑิกะเศรษฐี สาวัตถี“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา..พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวนานเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน กว่าที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ ดูก่อนสุทัตตะ ! สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้น เบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อยๆ และการเกิดบ่อยๆ นั้น ตถาคตกล่าวว่าเป็นทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาก็คือความแก่ชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่ขึ้นจากดินและนำดินติดมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียนแล้วจะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปด้วยทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาได้นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว ” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ” ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งสิ้น สัตว์ทั้งหลายดิ้นรนอยู่ในกองเพลิงคือทุกข์ เหมือนเต่าอันเขาโยนลงไปแล้วในกองไฟใหญ่ ฉะนั้น “ พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าเป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบมาสู่โลก “ อนาถบิณฑิกเศรษฐี หรือสุทัตตคฤหบดี ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตนล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พักเพื่อพระสงฆ์สาวกตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

บ้านอนาถบิณฑิกะเศรษฐี สาวัตถี“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา..พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวนานเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน กว่าที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ ดูก่อนสุทัตตะ ! สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้น เบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อยๆ และการเกิดบ่อยๆ นั้น ตถาคตกล่าวว่าเป็นทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาก็คือความแก่ชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่ขึ้นจากดินและนำดินติดมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียนแล้วจะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปด้วยทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาได้นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว ” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ” ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งสิ้น สัตว์ทั้งหลายดิ้นรนอยู่ในกองเพลิงคือทุกข์ เหมือนเต่าอันเขาโยนลงไปแล้วในกองไฟใหญ่ ฉะนั้น “ พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าเป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบมาสู่โลก “ อนาถบิณฑิกเศรษฐี หรือสุทัตตคฤหบดี ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตนล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พักเพื่อพระสงฆ์สาวกตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

ผู้สละโลก ผลงานของ ท่านอาจารย์ วศินอินทสระสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระอนุรุทธะอยู่ ที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์ ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกเร้นอยู่ ในที่ลับ เกิดความปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วย หมู่คณะ ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ของบุคคลผู้ มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคล ผู้มีจิตไม่มั่นคง ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ฯ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกทางใจของท่านพระอนุรุทธะ แล้ว เสด็จจากเภสกลามิคทายวัน แขวงสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ไป ปรากฏเฉพาะหน้าท่านอนุรุทธะที่วิหารปาจีนวังสทายวัน เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลัง เหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะ ที่จัดไว้ถวายแล้ว แม้ท่านพระอนุรุทธะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่าธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มี ปัญญาทราม ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอจงตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ ทำให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำ ให้เนิ่นช้า ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึก มหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตก วิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในการนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ในกาลใดแล เธอ จักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุ จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้มีปรกติได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่ง ฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุล จีวรจักปรากฏแก่เธอ ผู้สันโดษ อยู่ด้วยความยินดี ด้วยความไม่หวาดเสียว ด้วย ความอยู่เป็นสุข ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนหีบใส่ผ้าของคฤหบดี หรือบุตรแห่งคฤหบดี อันเต็มไปด้วยผ้าสีต่างๆ ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใด แล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน ปัจจุบัน ในกาลนั้น โภชนะ คือ คำข้าวที่ได้มาด้วยปลีแข้ง จักปรากฏแก่เธอผู้ สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนข้าวสุก (หุงจาก) ข้าวสาลี คัดเอาดำออกแล้ว มีแกงและกับหลายอย่าง ของคฤหบดีและบุตรแห่งคฤหบดี ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และ จักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิต ยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น เสนาสนะ คือ โคนไม้ จัก ปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเรือนยอด ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉาบทาไว้ดีแล้ว ปราศจากลม ลงลิ่มสลักมิด ชิด ปิดหน้าต่างสนิท ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริส- *วิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ที่นอน ที่นั่งอันลาดด้วยหญ้า จักปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนบัลลังก์ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี อันลาดด้วยผ้าโกเชาว์ขน ยาว ลาดด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยผ้าสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ มีเครื่องลาดอย่างดี ทำด้วยหนังชะมด มีเครื่องลาดเพดานแดง มีหมอนข้างแดงสองข้าง ฉะนั้น ดูกร อนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า จักปรากฏ แก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเภสัชต่างๆ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉะนั้น ฯ ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอพึงอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นี้แหละ ต่อไปอีกเถิด ท่านพระอนุรุทธะทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสสอนท่านพระอนุรุทธะด้วยพระโอวาทนี้แล้ว เสด็จจากวิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นคร ไปปรากฏที่ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคะ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่จัดไว้ถวายแล้ว ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาปุริสวิตก ๘ ประการ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มหาปุริสวิตก ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑ ธรรมนี้เป็นของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคล ผู้เกียจคร้าน ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของผู้มีสติหลงลืม ๑ ธรรมนี้ ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มี ปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบ ใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนา น้อยย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย เป็นผู้ สันโดษย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ ตั้งมั่นย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้าย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจ ในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ดังนี้ เรา อาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของ บุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อม แห่งกุศลธรรม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม ข้อที่ เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของ บุคคลผู้เกียจคร้าน ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง ระลึกนึกถึง กิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคล ผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและ ความดับ เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เรา อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น ข้อที่เรา กล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้ กล่าวแล้ว ฯ ครั้งนั้นแล ท่านพระอนุรุทธะอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้น เจดีย์นครนั้นนั่นแล ต่อไปอีก ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกจากหมู่อยู่ ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ไม่นานนัก ก็กระทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกบวชเป็นบรรพชิต โดยชอบต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติ สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ก็ท่านพระอนุรุทธะได้เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งในจำนวนพระ- *อรหันต์ทั้งหลาย ลำดับนั้น ท่านพระอนุรุทธะบรรลุอรหัตแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ไว้ ในเวลานั้นว่า พระศาสดาผู้เป็นเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดำริของเราแล้ว ได้เข้ามาหาเราด้วยฤทธิ์ทางพระกายอันสำเร็จแต่พระหฤทัย พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอันยิ่งกว่าความดำริของเราเท่าที่ดำริ ไว้ พระพุทธเจ้าผู้ยินดีแล้วในธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ได้ทรงแสดงซึ่งธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เราได้รู้ทั่วถึง ธรรมของพระองค์แล้ว ยินดีในศาสนาอยู่ เราได้บรรลุ วิชชา ๓ แล้วโดยลำดับ คำสอนของพระพุทธเจ้าเรา กระทำแล้ว ฯ

โอวาทพระอานนท์เถระ เวลานั้นบ่ายมากแล้ว ความอบอ้าวลดลงบริเวณอารามซึ่งมีพันธุ์ไม้หลายหลากดูร่มรื่นยิ่งขึ้น นกเล็กๆ บนกิ่งไม้วิ่งไล่เล่นกันอย่างเพลิดเพลิน บางพวกร้องทักทายกันอย่างสนิทสนมและชื่นสุข ดิรัจฉานเป็นสัตว์โลกที่มีความรู้น้อยและความสามารถน้อย มันมีความรู้ความสามารถแต่เพียงหากินและหลบหลีกภัยเฉพาะหน้า แต่ดูเหมือนมันจะมีความสุขยิ่งกว่ามนุษย์ซึ่งถือตนว่าฉลาดและมีความสามารถเหนือสัตว์โลกทั้งมวล เป็นความจริงที่ว่าความสุขนั้นขึ้นอยู่กับความพอใจ มนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ในเพศไหนและภาวะอย่างใด ถ้าสามารถพอใจในภาวะนั้นได้ เขาก็มีความสุข ความยากจนหาเช้ากินค่ำ อาจจะมีความสุขกว่ามหาเศรษฐี หรือมหาราชาผู้เร่าร้อนอยู่เสมอ เพราะความปรารถนาและทะยานอยากอันไม่รู้จักสิ้นสุด มนุษย์เราจะมีสติปัญญาฉลาดปานใดก็ตาม ถ้าไร้เสียแล้วซึ่งปัญญาในการหาความสุขให้แก่ตนโดยทางที่ชอบ เขาผู้นั้นควรจะทะนงตนว่าฉลาดกว่าสัตว์ละหรือ? มนุษย์ส่วนใหญ่มักจะปล่อยให้ความอยากความดิ้นรนออกหน้าแล้ววิ่งตาม เหมือนวิ่งตามเงาของตนเองในเวลาบ่าย ยิ่งวิ่งตาม ก็ดูเหมือนเงาจะห่างตัวออกไปทุกที ทุกคนต้องการและมุ่งมั่นในความสุข แต่ความสุขก็เป็นเหมือนเงานั่นเอง ความสุขมิใช่เป็นสิ่งที่เราจะต้องแสวงหาและมุ่งมอง หน้าที่โดยตรงที่มนุษย์ควรทำนั้นคือ การมองทุกข์ให้เห็น พร้อมทั้งตรวจสอบพิจารณาสาเหตุแห่งทุกข์นั้น แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์เสีย โดยนัยนี้ความสุขก็จะเกิดขึ้นเอง เหมือนผู้ปรารถนาความสุขความเจริญแก่ประเทศชาติ ถ้าปราบเสี้ยนหนามและเรื่องร้ายในประเทศมิได้ ก็อย่าหวังเลยว่าประเทศชาติจะเจริญและผาสุกหรือเหมือนผู้ปรารถนาสุขแก่ร่างกายถ้ายังกำจัดโรคในร่างกายมิได้ ความสุขกายจะมีได้อย่างไร แต่ถ้าร่างกายปราศจากโรคมีอนามัยดี ความสุขกายก็มีมาเอง ด้วยประการฉะนี้ปรัชญาเถรวาทจึงให้หลักเราไว้ว่า "มองทุกข์ให้เห็นจึงเป็นสุข" อธิบายว่า เมื่อเห็นทุกข์กำหนดรู้ทุกข์และค้นหาสมุฏฐานของทุกข์แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์นั้นเสีย เหมือนหมอทำลายเชื้ออันเป็นสาเหตุแห่งโรค ยิ่งทุกข์ลดน้อยลงเท่าใด ความสุขก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเท่านั้น ความทุกข์ที่ลดลงนั้นเองคือความสุข เหมือนทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ถือว่าความเย็นไม่มี มีแต่ความร้อน ความเย็นคือความร้อนที่ลดลง เมื่อความร้อนลดลงถึงที่สุด ก็กลายเป็นความเย็นที่สุด ทำนองเดียวกัน เมื่อความทุกข์ลดลงถึงที่สุดก็กลายเป็นความสุขที่สุด ขั้นแห่งความสุขนั้นมีขึ้นตามแห่งความทุกข์ที่ลดลง คำสอนทางศาสนา เมื่อว่าโดยนัยหนึ่งจึงเป็นเรื่องของ "ศิลปะแห่งการลดทุกข์" นั่นเอง พระอานนท์ได้รับคำบอกเล่าจากสุนันทาภิกษุณีแล้ว ให้รู้สึกเป็นห่วงกังวลถึงโกกิลาภิกษุณียิ่งนัก ท่านคิดว่าหรือจะเป็นเพราะนางหกล้มเมื่อบ่ายนี้กระมัง จึงเป็นเหตุให้นางป่วยลง อนิจจา! โกกิลาเธอรักเรา เราหรือจะไม่รู้ แต่เธอมาหลงรักคนที่ไม่มีหัวใจจะรักเสียแล้ว เหมือนเด็กน้อยผู้ไม่ประสาต่อความตายนั่งร่ำร้องเร่งเร้าขอคำตอบจากมารดาผู้นอนตายสนิทแล้ว ช่างหน้าสงสารสังเวชเสียนี่กระไร ผู้หญิงมีความอ่อนแอทั้งด้านร่างกายและจิตใจ พระศาสดาจึงกีดกันหนักหนา ในเบื้องแรกที่จะให้สตรีบวชในศาสนา ทั้งนี้เป็นเพราะมหากรุณาของพระองค์ ที่ไม่ต้องการให้สตรีต้องลำบาก มีเรื่องเดียวเท่านั้นที่สตรีทนได้ดีกว่าบุรุษนั้นคือการทนต่อความเจ็บปวด 

โอวาทพระอานนท์เถระ ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใ­จของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรว­ดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะป­ระสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปร­าชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอ­าแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุก­ต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่า­ว­อธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าในที่สุดเวลาก็มาถึง ท้องฟ้าเริ่มสาง เสียงไก่ขันรับอรุณแว่วมาตามสายลม เศรษฐีเดินออกจากตัวเรือนมุ่งสู่ประตูเมือง ประตูยังไม่เปิด อนาถบิณฑิกะต้องขอร้องวิงวอนคนเฝ้าประตูเสียนาน เขาจึงยอมเปิดให้ เมื่อออกจากประตูเมืองแล้ว ทางที่จะไปสู่ปาสีตวันก็เป็นทางเปลี่ยว การสัญจรยังไม่มี การเดินออกจากเมืองเข้าไปในป่านั้นเป็นการยากมากสำหรับคนขลาด ท่านเศรษฐีเกือบจะหมดความพยายาม มีหลายครั้งที่อยากจะถอยกลับเข้าสู่เมือง แต่พอเขาหยุดยืนอยู่นั่นเอง เสียงก็ปรากฏขึ้นเหมือนแว่วมาจากอากาศว่า “ ท่านเศรษฐี ม้าตั้งร้อย ช้างตั้งร้อย โค แพะ แกะ เป็ด ไก่ อย่างละร้อย ถ้าท่านได้เพราะถอยกลับเพียงก้าวเดียว จะไม่ประเสริฐเหมือนก้าวไปข้างหน้าเพียงก้าวเดียว จงก้าวต่อไปเถิด ท่านเศรษฐี ! การก้าวไปข้างหน้าของท่าน จะเป็นประโยชน์แก่ท่านและชาวโลกมาก ” ท่านเศรษฐีมุ่งหน้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระบรมศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีแล้วว่าเป็นผู้ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมดำเนินกลับไปกลับมาอยู่ ณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่นี่ ” ดูก่อนท่านผู้เจริญ ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชแก่ท่านเศรษฐีอย่างเหลือล้น เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้ ท่านเศรษฐีหรือจะไม่ปลื้มใจ เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา ข้าพระองค์รอคอยจนพระองค์เสด็จเข้าไปในเมืองเพื่อเสวยภัตตาหารไม่ไหว จึงออกมาเฝ้าแต่เช้ามืด พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวนานเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน กว่าที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ ดูก่อนสุทัตตะ ! สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้น เบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อยๆ และการเกิดบ่อยๆ นั้น ตถาคตกล่าวว่าเป็นทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาก็คือความแก่ชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่ขึ้นจากดินและนำดินติดมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียนแล้วจะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปด้วยทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาได้นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว ” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ” ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งสิ้น สัตว์ทั้งหลายดิ้นรนอยู่ในกองเพลิงคือทุกข์ เหมือนเต่าอันเขาโยนลงไปแล้วในกองไฟใหญ่ ฉะนั้น “ พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าเป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบมาสู่โลก “ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี หรือสุทัตตคฤหบดี ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตนล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พักเพื่อพระสงฆ์สาวกตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

วันอังคารที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ยอมรับความจริงได้ก็ถูกเมื่อนั้น หลวงพ่อปราโมทย์ : ต้องปฏิบัตินะ ต้องมีสติ รู้สึกตัวบ่อยๆ รู้สึกกายรู้สึกใจ รู้สึกกายรู้สึกใจไป รู้สึกกายรู้สึกใจเรียกว่ารู้ทุกข์ รู้สึกไปเรื่อยถ้ารู้แจ่มแจ้งเห็นมันเป็นไตรลักษณ์จะเบื่อ พอเบื่อหน่ายก็รู้ว่าเบื่อหน่ายนะ ใจก็คลายออก ไม่ยึดถือ เห็นแล้วว่าความจริงเป็นยังไง ความจริงของกายก็คือทุกข์ ความจริงของจิตใจก็คือทุกข์ ความจริงเค้าเป็นอย่างนั้น ใจยอมรับความจริง พอใจยอมรับความจริงใจก็หมดความดิ้นรนใช่มั้ย ตัวสำคัญนะตรงที่ยอมรับความจริง ถ้าคนที่ยอมรับความจริงได้จะไม่ทุกข์ คนที่ยอมรับความจริงไม่ได้จะทุกข์ อย่างร่างกายเราต้องแก่ใช่มั้ย ต้องเจ็บต้องตาย นี่เป็นความจริง ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ทุกข์แล้ว ตีนกาขึ้นหน่อยก็กลุ้มแล้วใช่มั้ย หายานี้มาลองทาไม่ได้ผลเอาตัวนี้ทา ทาไปทามาเลยเหี่ยวไปเลย คราวนี้ตีนวัวตีนควาย ท้อใจแล้วยอมรับสภาพ มันเยอะสู้ไม่ไหวแล้ว ถ้ายอมรับได้ก็ไม่ทุกข์ใช่มั้ย อย่างหลวงพ่อนะหลวงพ่อรู้สึกตัวเองแก่มานานแล้ว ตั้งแต่เด็กๆก็รู้สึกแก่นะ ภาวนามามากๆนะ รู้สึกโลกมันจืดมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เพื่อนฝูงเค้าเฮๆฮาๆนะ เราก็เฮ้อ เล่นๆไปกับเค้านะเหมือนเล่นละครยังไงหยั่งงั้นน่ะ เอาใจมันให้ไม่ดูแปลกกว่ามันมากนัก กลมกลืน แต่ในใจเรารู้สึกไม่เห็นมีอะไรเลย จืดชืด นี่ใจมันแก่มาตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆมันล้อหลวงพ่อนะว่าหน้าตาแก่ ท่าทางก็เหมือนคนแก่ เดี๋ยวนี้ลองมาดูสิมันแก่กว่าหลวงพ่อแล้วรายไหนรายนั้นเลย ของเราแก่คงที่มาตั้งแต่เด็ก มันมาแก่ทีหลัง มันดังกว่า ไปดูสิแต่ละคนนะหัวหงอกขาวโพลนเลยก็มีนะ หัวล้านเหน่งเลยก็มี เราภาวนานะภาวนา ใจยอมรับความจริงได้เมื่อไหร่ใจจะไม่ทุกข์ ใจจะยอมรับความจริงได้ต่อเมื่อใจยอมจำนน นี่ไม่ยอมง่ายๆนะ อยู่ๆจะไปบอก เอ้า ผมยอมแล้ว เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องธรรมดา ปิ๊ง บรรลุพระอรหันต์ ใจมันไม่ยอมด้วยหรอก งั้นมันจะยอมต่อเมื่อมันยอมจำนน ทำยังไงมันถึงจะยอมจำนน ต้องเอาข้อเท็จจริงตีแผ่ให้มันดูทุกวันๆ ดูลงมาในกาย ดูลงมาในใจ ดูซิมันสุขหรือมันทุกข์ มันดีหรือมันร้ายนะ ดูลงไป มันน่ารักหรือมันไม่น่ารัก มันสวยมันงามหรือไม่สวยไม่งาม มันเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันสุขหรือมันทุกข์นะ มันบังคับได้หรือบังคับไม่ได้ เอาของจริงมาให้มันดู พวกเราวิปลาส ปุถุชนจะวิปลาสสี่อย่าง คือเห็นของไม่สวยไม่งามก็ว่าสวยว่างาม เห็นของไม่เที่ยงก็ว่าเที่ยง เห็นของเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข เห็นของไม่ใช่ตัวตนว่าเป็นตัวเป็นตนของตน นี่เรียกวิปลาส นี้จะหายบ้าหายวิปลาสได้นะเอาข้อเท็จจริงมาให้ดู พอดูทุกวันๆนะ ดูอยู่ในกายดูอยู่ในใจ รู้สึกกายรู้สึกใจอย่าไปแทรกแทรง อย่าไปบังคับ เราต้องการดูความจริง เพราะงั้นอย่าไปบังคับกายบังคับใจ

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นhttp://www.kanlayanatam.com/tammatan/sep09/cd29/mp3-133.htm

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นhttp://www.kanlayanatam.com/tammatan/sep09/cd29/mp3-133.htm

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าการละอาสวะได้เพราะการเห็น พระผู้มีพระภาคเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เขตพระนครสาวัตถี ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาแล้วตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงปริยายว่าด้วยการสังวรอาสวะทั้งปวงแก่พวก เรากล่าวความสิ้นอาสวะของภิกษุผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ เราไม่กล่าวความสิ้นอาสวะของภิกษุผู้ไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ ความสิ้นอาสวะจะมีได้แก่ภิกษุผู้รู้อะไร เห็นอยู่อะไร ความสิ้นอาสวะจะมีได้แก่ภิกษุผู้รู้เห็นโยนิโสมนสิการและอโยนิโสมนสิการ เมื่อภิกษุมนสิการโดยไม่แยบคาย อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญขึ้น เมื่อภิกษุมนสิการโดยแยบคาย อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมสิ้นไป อาสวะที่จะพึงละได้เพราะการเห็นมีอยู่ ที่จะพึงละได้เพราะการสังวรก็มี ที่จะพึงละได้เพราะเสพเฉพาะก็มี ที่จะพึงละได้เพราะความอดกลั้นก็มี ที่จะพึงละได้เพราะเว้นรอบก็มีที่จะพึงละได้เพราะบรรเทาก็มี ที่จะพึงละได้เพราะอบรมก็มี ๑. อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะการเห็น ? คือ ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ไม่ได้เห็นพระอริยะทั้งหลาย ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษไม่ได้รับแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ ย่อมไม่รู้ทั่วถึงธรรมอันตนควรมนสิการ ย่อมไม่รู้ทั่วถึงธรรมอันตนไม่ควรมนสิการ เมื่อเขาไม่รู้ทั่วถึงธรรมที่ควรมนสิการ ไม่รู้ทั่วถึงธรรมที่ไม่ควรมนสิการย่อมมนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ ย่อมไม่มนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๒. ธรรมที่ไม่ควรมนสิการที่ปุถุชนมนสิการอยู่เป็นไฉน ? คือ เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสะก็ดี อวิชชาสวะก็ดี ที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญขึ้น ธรรมที่ไม่ควรมนสิการเหล่านี้ที่เขามนสิการอยู่ ๓. ธรรมที่ควรมนสิการที่ปุถุชนไม่มนสิการอยู่เป็นไฉน ? คือ เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสวะก็ดี อวิชชาสวะก็ดีที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมสิ้นไป ธรรมที่ควรมนสิการเหล่านี้ ที่เขาไม่มนสิการอยู่ อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญแก่ปุถุชนนั้น เพราะมนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ และเพราะไม่มนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๔. ปุถุชนมนสิการอยู่โดยไม่แยบคายอย่างนี้ว่า เราได้มีแล้วในอดีตกาลหรือหนอ เราไม่ได้มีแล้วในอดีตกาลหรือหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอย่างไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรแล้วจึงเป็นอะไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักมีหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักไม่มีหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอย่างไรหนอในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรแล้วจึงจักเป็นอะไรหนอ หรือว่าปรารภกาลปัจจุบันในบัดนี้มีความสงสัยขึ้นภายในว่า เรามีอยู่หรือ เราไม่มีอยู่หรือ เราเป็นอะไรหนอ เราเป็นอย่างไรหนอ สัตว์นี้มาแต่ไหนหนอ และมันจักไป ณ ที่ไหน ๕. เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการอยู่โดยไม่แยบคายอย่างนี้ บรรดาทิฏฐิ ๖ ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิโดยจริงโดยแท้ย่อมเกิดขึ้นแก่ปุถุชนนั้นว่า ตนของเรามีอยู่ หรือว่า ตนของเราไม่มีอยู่ หรือว่า เราย่อมรู้ชัดตนด้วยตนเอง หรือว่า เราย่อมรู้ชัดสภาพมิใช่ตนด้วยตนเอง หรือว่าเราย่อมรู้ตนด้วยสภาพมิใช่ตน อีกอย่างหนึ่ง ทิฏฐิย่อมเกิดมีแก่ปุถุชนนั้นอย่างนี้ว่า ตนของเรานี้เป็นผู้เสวย ย่อมเสวยวิบากแห่งกรรมทั้งดีทั้งชั่วในอารมณ์นั้น ๆ ก็ตนของเรานี้นั้นเป็นของแน่นอนยั่งยืนเที่ยงแท้ ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา จักตั้งอยู่อย่างนั้นเสมอด้วยสิ่งยั่งยืนแท้ ข้อนี้เรากล่าวว่าทิฏฐิ ชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ เสี้ยนหนามคือทิฏฐิ ความดิ้นรนคือทิฏฐิ สิ่งที่ประกอบสัตว์ไว้คือทิฏฐิ เรากล่าวว่า ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับผู้ประกอบด้วยทิฏฐิสังโยชน์ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ ๖. ส่วนอริยสาวกผู้สดับแล้ว ผู้เห็นพระอริยะทั้งหลาย ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ได้รับแนะนำด้วยดีในธรรมของพระอริยะ ผู้เห็นสัปบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษได้รับคำแนะนำด้วยดีในธรรมของสัปบุรุษ ย่อมรู้ทั่วถึงธรรมที่ควรมนสิการ และไม่ควรมนสิการเมื่ออริยสาวกนั้นรู้ทั่วถึงธรรมที่ควรมนสิการ และไม่ควรมนสิการ ย่อมไม่มนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ และมนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๗. ธรรมที่ไม่ควรมนสิการเหล่าไหน ที่อริยสาวกไม่มนสิการ? คือ เมื่ออริยสาวกนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสวะก็ดี อวิชชาสวะก็ดี ที่ยังไม่เกิดขึ้นย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญขึ้น ธรรมที่ไม่ควรมนสิการเหล่านี้ ที่อริยสาวกไม่มนสิการ ๘. ธรรมที่ควรมนสิการเหล่าไหนที่อริยสาวกมนสิการอยู่ ? คือ เมื่ออริยสาวกนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสวะก็ดี อวิชชาสวะก็ดี ที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมสิ้นไป ธรรมที่ควรมนสิการเหล่านี้ ที่อริยสาวกมนสิการอยู่อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น จะไม่เกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว จะเสื่อมสิ้นไปแก่อริยสาวกนั้นเพราะไม่มนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ และเพราะมนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๙. อริยสาวกนั้น ย่อมมนสิการโดยแยบคายว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับทุกข์นี้ปฏิปทาให้ถึงความดับทุกข์ เมื่ออริยสาวกนั้นมนสิการอยู่โดยแยบคายอย่างนี้ สังโยชน์ ๓ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ย่อมเสื่อมสิ้นไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาสวะเหล่านี้เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะการเห็น ๑๐. อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะการสังวร ? คือ ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วเป็นผู้สำรวมด้วยความสำรวมในจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่ ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นผู้ไม่สำรวมจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้สำรวมจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่ ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ไม่สำรวมในจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้สำรวมในจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะการสังวร (ม.มู. ๑๒/สัพพาสวสังวรสูตร/๑๐-๑๓/๑๑-๑๔) ๑.๒ ละอาสวะได้เพราะการพิจารณาเสพ ๑.๒.๑ อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะการพิจารณาเสพ ? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพจีวรเพียงเพื่อกำจัดหนาว ร้อน สัมผัส แห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน เพียงเพื่อจะปกปิดอวัยวะที่ให้ความละอายกำเริบ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพบิณฑบาตมิใช่เพื่อจะเล่น มิใช่เพื่อมัวเมา มิใช่เพื่อประดับ มิใช่เพื่อตบแต่ง เพียงเพื่อให้กายนี้ดำรงอยู่ เพื่อให้เป็นไปเพื่อกำจัดความลำบาก เพื่ออนุเคราะห์แก่พรหมจรรย์ ด้วยคิดว่า จะกำจัดเวทนาเก่าเสียด้วยจะไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้นด้วย ความเป็นไป ความไม่มีโทษ และความอยู่สบายด้วย จักมีแก่เราฉะนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพเสนาสนะ เพียงเพื่อกำจัดหนาวร้อน สัมผัสแห่งเหลือบยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายแต่ฤดู เพื่อรื่นรมย์ในการหลีกออกเร้นอยู่ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพบริขาร คือ ยาอันเป็นปัจจัยบำบัดไข้ เพียงเพื่อกำจัดเวทนาที่เกิดแต่อาพาธต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแล้ว เพื่อความเป็นผู้ไม่มีอาพาธเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นผู้ไม่พิจารณาเสพปัจจัยอันใดอันหนึ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้พิจารณาเสพอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะการพิจารณาเสพ ๑.๒.๒ อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะความอดกลั้น? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วเป็นผู้อดทนต่อหนาว ร้อน หิวระหาย สัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน เป็นผู้มีชาติของผู้อดกลั้นต่อถ้อยคำที่ผู้อื่นกล่าวชั่ว ร้ายแรงต่อเวทนาที่มีอยู่ในตัว ซึ่งบังเกิดขึ้นแล้ว เป็นทุกข์ กล้า แข็งเผ็ดร้อน ไม่เป็นที่ยินดี ไม่เป็นที่ชอบใจ อาจพล่าชีวิตเสียได้ ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นผู้ไม่อดกลั้นอยู่ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้อดกลั้นอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะความอดกลั้น ๑.๒.๓ อาสวะเหล่าไหนที่จะพึงละได้เพราะความเว้นรอบ? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วเว้นช้างที่ดุร้าย ม้าที่ดุร้าย โคที่ดุร้าย สุนัขที่ดุร้าย งู หลักตอ สถานที่มีหนาม บ่อ เหว แอ่งน้ำครำ บ่อน้ำครำ เพื่อนพรหมจรรย์ผู้เป็นวิญญูชนทั้งหลาย พึงกำหนดลงซึ่งบุคคลผู้นั่ง ณ ที่มิใช่อาสนะเห็นปานใด ผู้เทียวไป ณ ที่มิใช่โคจรเห็นปานใด ผู้คบมิตรที่ลามกเห็นปานใด ในสถานทั้งหลายอันลามก ภิกษุนั้นพิจารณาโดยแยบคายแล้ว เว้นที่มิใช่อาสนะนั้น ที่มิใช่โคจรนั้น และมิตรผู้ลามกเหล่านั้น จริงอยู่ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ผู้ไม่เว้นสถานหรือบุคคลอันใดอันหนึ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้เว้นรอบอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่าจะพึงละได้เพราะการเว้นรอบ ๑.๒.๔ อาสวะเหล่าไหนที่จะพึงละได้เพราะความบรรเทา? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทากามวิตกที่เกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทา พยาบาทวิตกที่เกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทา วิหิงสาวิตกที่เกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทาธรรมที่เป็นบาปอกุศลที่บังเกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ผู้ไม่บรรเทาธรรมอันใดอันหนึ่งอาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้บรรเทาอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะความบรรเทา (ม.มู. ๑๒/สัพพาสวสังวรสูตร/๑๔-๑๗/๑๔-๑๕) ๑.๓ ละอาสวะได้เพราะการอบรม ๑.๓.๑ อาสวะเหล่าไหนที่จะพึงละได้เพราะอบรม ? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เจริญสติสัมโพชฌงค์ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ ปิติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในความสละลง ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ผู้ไม่อบรมธรรมอันใดอันหนึ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้นผู้อบรมอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะอบรม ๑.๓.๒ เพราะเหตุว่า อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการเห็น อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นได้แล้วเพราะการเห็น อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการสังวร อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการสังวร อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการพิจารณาเสพ อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการพิจารณาเสพอาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะความอดกลั้น อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะความอดกลั้น อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการเว้นรอบ อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการเว้นรอบ อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการบรรเทาอาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการบรรเทา อาสวะเหล่าใด อันภิกษุใดพึงละได้เพราะการอบรม อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการอบรม ภิกษุนี้เรากล่าวว่า เป็นผู้สำรวมด้วยความสังวรในอาสวะทั้งปวงอยู่ ตัดตัณหาได้แล้ว ยังสังโยชน์ให้ปราศไปแล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะความตรัสรู้ ด้วยการเห็นและการละมานะโดยชอบ

วิธีทำลายอวิชชาทำลายตัณหาทำลายกิเลสหลวงพ่อไปกราบหลวงปู่ดูลย์ครั้งแรกแล้วนำคำสอนของท่านมาปฏิบัติ พออีก 3 เดือนไปส่งการบ้าน ท่านอธิบายให้ฟังว่าที่ปฏิบัติอยู่ไม่ถูกหรอก เสร็จแล้วท่านสอนจิต คือพุทธะให้ฟัง จิตคือพุทธะ เทศน์ๆๆ อยู่ 45 นาที ก็เทศน์กลับไปกลับมาเรื่อย รอบหนึ่ง 45 นาที เราฟังจนเหนื่อยเต็มประดานะ จึงถามหลวงปู่ว่า 'หลวงปู่ ที่หลวงปู่เทศน์มาทั้งหมดเนี่ย ผมขอดูจิตอย่างเดียวได้มั้ย?' ที่ต้องถามเพราะมันไม่รู้เรื่อง ที่เทศน์มาเนี่ยไม่ได้รู้เรื่องเลย หลวงปู่ก็เลยบอกว่า 'ธรรมะทั้งหลายเกิดที่จิต ธรรมะ 84,000 พระธรรมขันธ์นะเกิดที่จิต ถ้ารู้อยู่ที่จิตก็รู้ธรรมะได้' ฟังแล้วค่อยสบายใจนะ อือ โห ทำไมท่านสอนธรรมมากมาย ท่านสอนให้ไว้ใช้ในอนาคตแต่สอนทีไรก็สอนอย่างนี้ สอนเวียน ไปอยู่ในเรื่องของจิตคือพุทธะ จนครั้งสุดท้าย ไปหาท่านครั้งสุดท้าย 36 วันก่อนท่านมรณภาพ ไปหาท่านตั้งแต่ตอนบ่ายๆ อยู่กับท่าน ท่านก็เทศน์ให้ฟังไปเรื่อยๆ นะ จนทุ่มหนึ่ง ท่านนะหอบแฮ่กๆ เลย ไม่ยอมหยุดสอน เราก็สงสารท่านมากเลย บอกหลวงปู่ 'หลวงปู่เหนื่อยมากแล้ว ผมจะกลับแล้ว' 'จะกลับเหรอ ยังกลับไม่ได้นะ ต้องจำไว้ก่อน พบจิตให้ทำลายจิตนะ พบผู้รู้ให้ทำลายผู้รู้ จิตจึงจะถึงความบริสุทธิ์อย่างแท้จริง' จริงๆ มีอีกประโยคหนึ่ง แต่ไม่ค่อยอยากเล่า ท่านว่าพบพระพุทธเจ้าให้ฆ่าซะ ฟังแล้วมันน่าตกใจนะ 'พบจิตให้ทำลายจิต พบผู้รู้ให้ทำลาย ผู้รู้ จึงจะถึงความบริสุทธิ์อย่างแท้จริง เข้าใจมั้ย?' บอกท่านว่าไม่เข้าใจแต่ผมจะจำไว้ 'เออดี จำไว้นะ ไป ไปได้แล้ว ไป' ลาท่านมา ลาแล้วหันไปมองหลายรอบนะ เฮ้อ รู้สึกอาลัยอาวรณ์ ไม่ได้เจออีกแล้ว รุ่งเช้าขึ้นรถไฟไปกราบหลวงพ่อพุธที่โคราช วัดท่านอยู่ใกล้สถานีรถไฟ ลงรถไฟแล้วก็เดินไปได้ ท่านเห็นหน้าท่านถามว่า 'นักปฏิบัติ หลวงปู่สอนอะไร รอบนี้หลวงปู่สอนอะไร' ท่านรู้ว่าหลวงพ่อไปเรียนจากหลวงปู่ดูลย์ ทุกครั้งที่เรียนจะต้องแวะมาหาท่านนะ แล้วท่านก็จะถามว่าหลวงปู่สอนอะไรบ้าง กราบเรียนท่านว่า หลวงปู่บอกว่าพบผู้รู้ให้ทำลายผู้รู้ พบจิตให้ทำลายจิต ท่านก็บอกว่าเมื่ออาทิตย์ก่อน ท่านไปหาหลวงปู่ดูลย์มา หลวงปู่ก็บอกท่านเหมือนกันบอกว่า 'เจ้าคุณ การปฏิบัติจะยากอะไร พบผู้รู้ให้ทำลายผู้รู้ พบจิตให้ทำลายจิต' เสร็จแล้วหลวงพ่อพุธก็บอกหลวงพ่อว่า 'คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกัน ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อนให้บอกกันนะ ว่าทำลายยังไง' ตอนนั้นปี 26 เสร็จแล้วก็ไปเจอท่านเรื่อยๆ นะ ตอนหลังๆ ท่านหนีไปจากวัด ท่านทนโยมไม่ไหว หลวงพ่อตอนนี้ยังทนไหวนะ อีกหน่อยคงทนไม่ไหวคงหนีเหมือนกัน หาตัวท่านไม่เจอ เจอเวลาท่านเข้าไปเทศน์ในกรุงเทพฯ บ้าง อะไรบ้าง คนเยอะๆ คน หลายร้อย คนเป็นพันเลยเข้าไม่ถึง ไม่เจอท่านนาน หลายปีไม่เจอ จนก่อนหลวงพ่อพุธจะมรณภาพไม่นาน ท่านไปเทศน์ที่องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หลวงพ่อ ยังทำงานอยู่องค์การโทรศัพท์ ไปนั่งฟังเทศน์ คนก็เต็มห้องนะ 100 คนได้ ค่อยน้อยหน่อย ท่านเทศน์จบก็คลานเข้าไปกราบท่าน 'หลวงพ่อ ผมไม่เจอหลวงพ่อนานแล้ว' ท่านบอกว่า ท่านจำได้นักปฏิบัติมีไม่มากหรอก บอก 'หลวงพ่อผมยังทำลายผู้รู้ไม่ได้เลย' โห คราวนี้นะธรรมท่านเปลี่ยนฉับพลันเลย ที่เทศน์ๆ ธรรมดา เทศน์เสร็จแล้ว พอบอกว่าผมทำลายผู้รู้ไม่ได้เลย ท่านห้าวหาญเลยพูดขึ้นมา 'จิตผู้รู้เหมือนฟองไข่ เมื่อลูกไก่นั้นนะเติบโตเต็มที่แล้ว มันจะเจาะทำลายเปลือกออกมาเอง' พอฟังท่านแล้ว โอ้ สะใจ รู้เลยธรรมของ ท่านระดับไหน เสร็จแล้วก็ลงมา กราบท่านแล้วลงมา ตอนท่านมาขึ้นรถกลับนะ ยืนอยู่ข้างถนน มาไหว้ท่านนะ ท่านก็ไขกระจกออกมาให้เราไหว้ นั่นเห็นกันครั้งสุดท้ายไม่นานก็มรณภาพ ครูบาอาจารย์ท่านไม่ได้เรียนปริยัติมาก นัก ท่านก็พูดตามที่ท่านพบท่านเห็นนะ ท่านว่า 'มันมีการทำลายจิตผู้รู้' ระหว่างทางปฏิบัตินั้นเราไปสร้างจิตผู้รู้ขึ้น เพื่อเป็นคนรู้ เห็นรูป นาม กาย ใจ เคลื่อนไหว ทำงานไปนะ แท้จริงการทำลายจิตผู้รู้ก็คือความรู้แจ้งในอริยสัจนั่นเองนะว่าจิตนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ แล้วหมดความยึดถือจิต นี้สำนวนท่านบอกว่าทำลายผู้รู้ ที่จริงก็คือไม่ยึดถือจิตนั่นแหละ เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิต จนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ จิตที่เหลือมันจะเป็นกิริยา จะไม่ใช่เป็นตัวผู้รู้อีกแล้ว

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องกะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว

วิธีระงับข้อพิพาทและวิวาทะกะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว

ฤกษ์ดี ยามดี เวลาดี มงคลดี ขณะดีดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์เหล่าใดประพฤติสุจริตด้วยกาย ประพฤติสุจริตด้วยวาจา ประพฤติสุจริตด้วยใจ ในเวลาเช้า เวลาเช้าก็เป็นเวลา เช้าที่ดีของสัตว์เหล่านั้น สัตว์เหล่าใดประพฤติสุจริตด้วยกาย ประพฤติสุจริตด้วย วาจา ประพฤติสุจริตด้วยใจ ในเวลาเที่ยง เวลาเที่ยงก็เป็นเวลาเที่ยงที่ดีของ สัตว์เหล่านั้น สัตว์เหล่าใดประพฤติสุจริตด้วยกาย ประพฤติสุจริตด้วยวาจา ประพฤติสุจริตด้วยใจ ในเวลาเย็น เวลาเย็นก็เป็นเวลาเย็นที่ดีของสัตว์เหล่า นั้น สัตว์ทั้งหลายประพฤติชอบในเวลาใด เวลานั้นชื่อว่าเป็น ฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งดี ขณะดี ยามดี และบูชาดี ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย กายกรรมเป็นส่วนเบื้องขวา วจีกรรมเป็นส่วนเบื้องขวา มโนกรรมเป็นส่วนเบื้องขวา ความปรารถนาของท่านเป็นส่วนเบื้องขวา สัตว์ทั้งหลายทำ กรรมอันเป็นส่วนเบื้องขวาแล้ว ย่อมได้ผลประโยชน์อัน เป็นส่วนเบื้องขวา ท่านเหล่านั้นได้ประโยชน์แล้ว จงได้รับ ความสุข จงงอกงามในพระพุทธศาสนา จงไม่มีโรค ถึง ความสุข พร้อมด้วยญาติทั้งมวล

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

เพื่อนรักเพื่อนแท้ไม่ใช่ใครกายและใจของเรานี่เองเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

เพื่อนรักเพื่อนแท้ไม่ใช่ใครกายและใจของเรานี่เองเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

คัมภีร์เล่มสุดท้ายเพื่อความหลุดพ้นจากความเชื่อและลัทธิทั้งหลายเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

หน้าที่เราหัดรู้สภาวะไป เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด 

วิธีดับทุกข์ทางใจการหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

สิ่งที่มีสาระในชีวิตถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า เรามาฝึกพัฒนาสติมาฝึกพัฒนา สมาธ­ิ ให้จิตตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้รูปรู้นาม รู้กายรู้ใจ ตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นด้วยจิตที่ เป็­นกลางเรื่อยไป ปัญญาจะเกิด เมื่อปัญญาแก่รอบแล้ว จิตเค้าจะบรรลุมรรคผลนิพพานของเ­ค้าเอง เค้าเป็นเอง ไม่ใช่กูเก่งกูสั่งจิตให้บรรลุม­รรคผลได้ ไม่มีใครทำได้ หน้าที่ก็คือเปิดโอกาสให้จิตได้­เรียนรู้ความจริงของรูปนาม ด้วยการมีสติ รู้กายรู้ใจ รู้รูปรู้นาม ตามความเป็นจริง เราจะรู้ตามความเป็นจริงได้ต้อง­รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่นรู้ด้วยจิ­ตที่เป็นกลาง จับหลักให้แม่นแล้วจะไม่พล­าด

สุญญตากับฆราวาส. ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

มหาสุญญตาสูตร ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สิ่งที่มีสาระในชีวิต ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาระ ๔ นี้ ฯลฯ คือ สีลสาระ สมาธิสาระ ปัญญาสาระ วิมุตติสาระ นี้แล สาระ ๔ ประการ Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา สมาธิก็เป็นสาระ(สัมมาสมาธิ) ปัญญาก็เป็นสาระ เพราะเห็นถูกตามความเป็นจริง Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา สาระคือสิ่งที่เป็นแก่น สิ่งที่เป็นประโยชน์ ประโยชน์ในที่นี้ไมได้หมายถึงการได้ รูป เสียง รส กลิ่น.... Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา วิมุตติ(การหลุดพ้น)เป็นสาระเพราะประโยชน์สูงสุดของการศึกษาพระธรรมคือ เพื่อหลุด พ้นจากกิเลส ดังนั้นวิมุตติ(การหลุดพ้น)จึงเป็นสาระ Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ขณะแห่งการบรรลุธรรม ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพ­ื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุ­ธรรม ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่­าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธร­รมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา กุศลธรรมนี่คือสาระ เพราะนำมาซึ่งประโยชน์สุขใน โลกนี้ ประโยชน์สุขในโลกหน้าและประโยชน์อย่างยิ่ง (นิพพาน) ดังนั้นจะเห็นได้ว่า สาระจึงมีหลายระดับตามระดับของกุศลธรรม Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา อานิสงส์ของสมถะ(สมาธิ)นั้นมี ๕ ประการ คือ ๑. ทำให้เข้าสมาบัติได้ เพื่อเป็นสุขในภพปัจจุบัน ๒. ทำให้เป็นบาทวิปัสสนา ๓. ทำให้เกิดโลกียอภิญญา ๕ ประการ ๔. ทำให้เกิดเป็นพรหม ๕. ทำให้เข้านิโรธสมาบัติได้ อานิสงส์ของวิปัสสนา ๑. มีสติมั่นคงไม่ตายด้วยความหลง ๒. ได้เกิดอยู่ในสุคติภูมิ (คือมนุษย์สวรรค์) ๓. ถ้าอุปนิสัยยังอ่อนอยู่ ก็จะเป็นอุปนิสัยติดขันธสันดานไ­ปในภพหน้า ๔. ถ้ามีอุปนิสัยและอินทรีย์แก่กล้­า ก็จะทำพระนิพพานให้แจ้งด้วยปัญญ­าภายใน ๗ วันหรือ ๗ เดือน หรือ ๗ ปี พระอรหันต์หรือพระอนาคามี พึงหวังได้ Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ศีลก็เป็นสาระ เพราะนำมาซึ่งประโยชน์ ความ สุข Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ขอบพระคุณครับที่ให้โอกาส Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป­็นของร้อน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์ เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็­นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร? เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย

18/10 สถานการณ์ภัยแล้งจังหวัดอุทัยธานีอาจจะเกิดสถานการณ์รุนแรง ที่จังหวัดอุทัยธานี สถานการณ์ภัยแล้งที่ส่อเค้าว่าจะทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะแม่น้ำตากแดดตั้งแต่ท้ายเขื่อนวังร่มเกล้าลงมา สภาพแม่น้ำตากแดด ซึ่งเป็นต้นน้ำของแม่น้ำสะแกกรัง อำเภอเมือง ที่มีสภาพแห้งขอดจนมองเห็นเนินทรายกลางแม่น้ำ มีน้ำขังเป็นบางช่วงบางตอนที่เกิดจากน้ำซึมบ่อทรายเท่านั้น ซึ่งบ่งบอกถึงแนวโน้มความแห้งแล้งที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นในจังหวัดอุทัยธานีอย่างหนักในปีนี้ ส่งผลให้ชาวนาที่ลงมือเพาะปลูกทำนาปรังไปในช่วงนี้ ต้องวิตกกังวลถึงผลกระทบที่จะตามมา หากไม่สามารถหาแหล่งน้ำไปหล่อเลี้ยงต้นข้าวได้ตลอดจนถึงช่วงเก็บเกี่ยว อย่างไรก็ตามชาวนาก็พยายามที่สูบน้ำที่มีหลงเหลืออยู่เข้าไปกักเก็บในแปลงนาหล่อเลี้ยงต้นข้าวประทังข้าวให้รอดตายไปในช่วงนี้ก่อน ซึ่งชาวนาได้เรียกร้องขอให้รัฐบาลได้เร่งแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำในการทำนาอย่างถาวรต่อไป อีกด้วย

แห่ผ้าและห่มพระเจดีย์ภูเขาทองวันทา (บทขอขมา) วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

ที่พึ่งใจ เราภาวนาไปแล้วเราจะไม่ได้อะไรมา และเราจะไม่ได้เสียอะไรไป เพราะเราไม่มีอะไรอยู่ตั้งแต่้แรกแล้ว จะไม่มีอะไรเลย จิตถัดจากนั้นจะเป็นอย่างไร จิตที่ปล่อยวางจิตไปแล้ว จะมีแต่ความสุขล้วนๆ ยืนเดินนั่งนอนมีแต่ความสุขล้วนๆเลย เกิดอะไรขึ้น จิตจะไม่มีกระเพื่อมไหวเลย กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกับธรรมชาติ ฉะนั้นจิตกับธรรมะก็เป็นอันเดียวกัน หลอมหลวมเข้าด้วยกัน จิตที่หลอมรวมเข้ากับธรรมแล้ว จิตกับธรรมะก็เป็นอันเดียวกัน จิตอันนั้นเรียกว่า “พระสงฆ์” จิตอันนั้นเป็น “พระพุทธ-พุทธะ” พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นอันเดียวกัน

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายดูกรพราหมณ์ ท่านจงพยายามตัดกระแสตัณหาเสีย จง บรรเทากามทั้งหลายเสีย ดูกรพราหมณ์ ท่านรู้ความสิ้น ไปแห่งสังขารทั้งหลายแล้ว จะเป็นผู้รู้นิพพานอันปัจจัย อะไรๆ ปรุงแต่งไม่ได้ เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งใน ธรรมทั้ง ๒ ประการ เมื่อนั้น กิเลสเป็นเครื่องประกอบทั้ง ปวงของพราหมณ์นั้นผู้รู้แจ้ง ย่อมถึงความสาบสูญไป ฝั่งก็ดี ธรรมชาติมิใช่ฝั่งก็ดี ฝั่งและธรรมชาติมิใช่ฝั่ง ย่อมไม่มีแก่ผู้ ใด เรากล่าวผู้นั้นซึ่งมีความกระวนกระวายไปปราศแล้ว ผู้ไม่ ประกอบแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้เพ่งฌาน ปราศจากธุลี นั่งอยู่ผู้เดียว ทำกิจเสร็จแล้ว ไม่มีอาสวะ บรรลุประโยชน์อันสูงสุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ พระอาทิตย์ ย่อมส่องแสงสว่างในกลางวัน พระจันทร์ย่อมส่องแสงสว่าง ในกลางคืน กษัตริย์ทรงผูกสอดเครื่องครบย่อมมีสง่า พราหมณ์ผู้เพ่งฌานย่อมรุ่งเรือง ส่วนพระพุทธเจ้าย่อมรุ่งเรือง ด้วยพระเดชตลอดวันและคืนทั้งสิ้น บุคคลผู้มีบาปอันลอย แล้วแล เรากล่าวว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลว่า เป็นสมณะเพราะประพฤติสงบ บุคคลผู้ขับไล่มลทินของ ตน เรากล่าวว่าเป็นบรรพชิต เพราะการขับไล่นั้น พราหมณ์ ไม่พึงประหารพราหมณ์ พราหมณ์ไม่พึงปล่อยเวรแก่พราหมณ์ นั้น เราติเตียนบุคคลผู้ประหารพราหมณ์ เราติเตียนบุคคล ผู้ปล่อยเวรแก่พราหมณ์ กว่าบุคคลผู้ประหารนั้น การ เกียจกันใจจากสิ่งอันเป็นที่รักทั้งหลาย ของพราหมณ์ เป็น คุณประเสริฐหาน้อยไม่ ใจประกอบด้วยความเบียดเบียน ย่อมกลับจากวัตถุใดๆ ทุกข์ย่อมสงบได้หมดจากวัตถุนั้นๆ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่มีกรรมชั่วทางกาย วาจา ใจ ผู้สำรวม แล้วจากฐานะทั้ง ๓ ว่าเป็นพราหมณ์ บุคคลพึงรู้แจ้งธรรม อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้วจากบุคคลใด พึง นอบน้อมบุคคลนั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นอบน้อม การบูชาไฟ ฉะนั้น บุคคลชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะการ เกล้าชฎา เพราะโคตร เพราะชาติหามิได้ สัจจะและธรรมะ มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นเป็นผู้สะอาดอยู่ ผู้นั้นเป็นพราหมณ์ ด้วย ดูกรท่านผู้มีปัญญาทราม จะมีประโยชน์อะไรด้วย การเกล้าชฎาแก่ท่าน จะมีประโยชน์อะไร ด้วยผ้าสาฎก ที่ทำด้วยหนังชะมดแก่ท่าน ภายในของท่านรกชัฏ ท่าน ย่อมขัดสีแต่อวัยวะภายนอก เรากล่าวบุคคลผู้ทรงผ้าบังสุกุล ซูบผอม สะพรั่งไปด้วยเส้นเอ็น ผู้เดียวเพ่ง (ฌาน) อยู่ในป่านั้น ว่าเป็นพราหมณ์ ก็เราไม่กล่าวผู้ที่เกิดแต่ กำเนิด ผู้มีมารดาเป็นแดนเกิด ว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้น เป็นผู้ชื่อว่าโภวาที (ผู้กล่าวว่าท่านผู้เจริญ) ผู้นั้นแลเป็นผู้มี กิเลสเครื่องกังวล เรากล่าวบุคคลผู้ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล ผู้ไม่ถือมั่นนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ตัดสังโยชน์ ทั้งหมดได้ ไม่สะดุ้ง ผู้ล่วงกิเลสเป็นเครื่องข้อง ไม่ ประกอบแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ตัด ความโกรธดุจชะเนาะ ตัดตัณหาดุจหนังหัวเกวียน และ ตัดทิฐิดุจเงื่อนพร้อมทั้งอนุสัยดุจสายเสียได้ ผู้มีอวิชชาดุจ ลิ่มสลักอันถอนแล้ว ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ไม่ประทุษร้าย อดกลั้นได้ซึ่งการด่า การทุบตีและ การจองจำ ผู้มีกำลัง คือ ขันติ ผู้มีหมู่พลเมืองคือขันติ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่โกรธ มีวัตร มีศีล ไม่มีกิเลสเครื่องฟูขึ้น ฝึกตนแล้ว มีร่างกายตั้งอยู่ในที่ สุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่ติดในกามทั้งหลาย ดุจน้ำไม่ติดอยู่ในใบบัว ดังเมล็ดพันธุ์ผักกาดไม่ติดอยู่บน ปลายเหล็กแหลมนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่รู้ แจ้งความสิ้นทุกข์ของตนในธรรมวินัยนี้ มีภาระอันปลงแล้ว พรากแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้มีปัญญา ลึกซึ้ง เป็นนักปราชญ์ ผู้ฉลาดในมรรคและมิใช่มรรค ผู้ บรรลุประโยชน์อันสูงสุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคน ๒ พวก คือ คฤหัสถ์และบรรพชิต ผู้ไม่มีความอาลัยเที่ยวไป ผู้มีความปรารถนาน้อยนั้น ว่าเป็น พราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่วางอาชญาในสัตว์ทั้งหลาย ผู้ที่สะดุ้ง และมั่นคง ไม่ฆ่าเอง ไม่ใช้ผู้อื่นให้ฆ่า ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่ผิดในผู้ผิด ผู้ดับเสียในผู้ที่มีอาชญาใน ตน ผู้ไม่ยึดถือในขันธ์ที่ยังมีความยึดถือนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ทำราคะ โทสะ มานะ และมักขะให้ตกไป ดุจเมล็ดพันธุ์ผักกาดที่เขาให้ตกไปจากปลายเหล็กแหลม นั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้เปล่งวาจาไม่หยาบ คาย อันเป็นเหตุให้ผู้อื่นรู้แจ่มแจ้งกันได้ เป็นคำจริง ผู้ไม่ ทำใครๆ ให้ขัดใจกันนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าว ผู้ที่ไม่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ในโลกนี้ ยาวก็ตาม สั้น ก็ตาม น้อยก็ตาม มากก็ตาม งามก็ตาม ไม่งามก็ตาม ว่า เป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ไม่มีความหวังในโลกนี้และในโลก หน้า ไม่มีตัณหา ไม่ประกอบด้วยกิเลส ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่มีความอาลัย ไม่เคลือบแคลงสงสัยเพราะรู้ ทั่ว หยั่งลงสู่อมตะ บรรลุโดยลำดับ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละทิ้งบุญและบาปทั้งสอง ล่วงกิเลสเครื่องขัดข้อง ในโลกนี้ ผู้ไม่มีความโศก ปราศจากธุลี บริสุทธิ์ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่มีความเพลิดเพลินในภพสิ้น แล้ว ผู้บริสุทธิ์ มีจิตผ่องใส ไม่ขุ่นมัว เหมือนพระจันทร์ ปราศจากมลทินนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ล่วงทาง ลื่น ทางที่ไปได้ยาก สงสาร และโมหะนี้เสียได้ เป็น ผู้ข้ามแล้ว ถึงฝั่ง เพ่ง (ฌาน) ไม่หวั่นไหว ไม่มีความ เคลือบแคลงสงสัย ดับแล้วเพราะไม่ถือมั่น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละกามทั้งหลายในโลกนี้ เป็นผู้ไม่มีเรือน งดเว้น เสียได้ มีกามและภพหมดสิ้นแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละตัณหาในโลกนี้ได้แล้ว ภพหมดสิ้นแล้ว ว่าเป็น พราหมณ์ เรากล่าวผู้ละโยคะของมนุษย์ ล่วงโยคะอันเป็น ทิพย์ พรากแล้วจากโยคะทั้งปวง ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ละความยินดี และความไม่ยินดีได้ เป็นผู้เย็น ไม่มีกิเลสเป็นเหตุเข้าไปทรงไว้ ครอบงำเสียซึ่งโลกทั้งปวง ผู้แกล้วกล้า ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้รู้จุติและอุบัติ ของสัตว์ทั้งหลาย โดยประการทั้งปวง ผู้ไม่ข้องอยู่ ไปดี ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่เทวดา คน ธรรพ์และมนุษย์รู้คติของเขาไม่ได้ มีอาสวะสิ้นแล้ว เป็น พระอรหันต์ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่มีกิเลส เครื่องกังวลในขันธ์ที่เป็นอดีต ในขันธ์ที่เป็นอนาคต และ ในขันธ์ที่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความกังวล ไม่มีความยึดถือ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้องอาจ ประเสริฐ แกล้ว กล้า แสวงหาคุณอันใหญ่ ชนะเสร็จแล้ว ไม่หวั่น ไหว ล้างกิเลส ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ที่รู้ปุพเพนิวาส เห็นสวรรค์และอบาย และได้ถึง ความสิ้นไปแห่งชาติ อยู่จบพรหมจรรย์เพราะรู้ยิ่ง เป็นมุนี อยู่จบพรหมจรรย์ทั้งปวงแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ ฯ

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น

พิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพานถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น

พิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพาน ถ้าเดินทางเสียแต่วันนี้นะ ข้างหน้าก็ถึง ถ้าวันนี้ไม่เริ่มต้นนะ ข้างหน้าไปไม่ได้หรอก ลงได้ยินธรรมะเกี่ยวกับการเจริญสติจนถึงขนาดนี้แล้วยังไม่ทำเนี่ย จะทำเมื่อไหร่ ไม่เริ่มวันนี้ จะเริ่มเมื่อไหร่ รอให้แก่รึ รอให้ตายรึ หรือจะไปเริ่มชาติหน้า หรือจะรอพระศรีอาริย์ ถ้านิสัยสันดานขี้เกียจขี้คร้าน ไปเจอพระศรีอาริย์ก็ยิ่งขี้เกียจกว่านี้อีก เพราะสะสมนิสัยไม่ดีไปนะ เพราะฉะนั้นต้องฝึกนะ หัดเจริญสติตั้งแต่วันนี้เลย ไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่มนุษย์คนหนึ่งจะทำได้

ขั้นสุดท้ายจะลงมาที่จิต

ขั้นสุดท้ายจะลงมาที่จิต

ยืนเดินนั่งนอนกินดื่มทำพูดคิดให้มีสติรู้ทันจิตขณิกสมาธิ วิธีฝึกนะ พวกเรา เบื้องต้นทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้ทำเพื่อจะเข้าฌาน ทำเพื่อเป็นเครื่องอยู่ของจิตเท่านั้นเอง หัดพุทโธไปก็ได้ หัดรู้ลมหายใจไปก็ได้ หัดดูท้องพองยุบไปก็ได้ ทำกรรมฐานอะไรก็ได้ แต่ไม่ได้ทำเพื่อน้อมจิตไปอยู่กับอารมณ์อันนั้น ถ้าน้อมจิตไปอยู่ที่อารมณ์อันนั้นจะเป็นสมาธิชนิดที่ ๑ (ดู วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่น (๑/๓)) คือสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว เรียกว่า อารัมณูปนิชฌาน ถ้าทำกรรมฐานขึ้นอย่างหนึ่งแล้วรู้ทันจิต จิตไหลไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปเพ่งอารมณ์กรรมฐานอันนั้นก็รู้ทัน จิตมันเคลื่อนตลอดนะ เคลื่อนไปคิดก็ได้ เคลื่อนไปเพ่งก็ได้ ถ้าเรารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะเลิกเคลื่อน เพราะจิตที่เคลื่อนเป็นจิตฟุ้งซ่าน ทันที่สติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตจะไม่ฟุ้งซ่าน จิตก็จะตั้งมั่นอยู่กับฐาน เพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา รู้ลมหายใจอยู่ จิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจ รู้ว่าจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจแล้ว จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา ถ้ารู้ทันว่าจิตไหลไปนะ จิตจะตั้งมั่น เพราะฉะนั้นเบื้องต้นจะต้องทำกรรมฐานอย่างหนึ่งเสียก่อนนะ ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทัน เดี๋ยวก็ไหลไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ดูไม่ทันหรอก เพราะฉะนั้นเบื้องต้นทำกรรมฐานขึ้นมาสักอย่างหนึ่งก่อน พุทโธก็ได้ หายใจก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิตไป จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตไปเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวก็รู้นะ จิตเคลื่อนไปเมื่อไหร่ให้รู้ทัน ถ้ารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยไม่ได้เจตนาให้ตั้ง มันตั้งของมันเอง หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๓๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๓ CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๙ File: 560209A ระหว่างนาทีที่ ๒๘ วินาทีที่ ๔๙ ถึงนาทีที่ ๓๑ วินาทีที่ ๓๖ ชี้แจงการรับกิจนิมนต์ของหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช ที่นี่ สมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับแจ้งข่าวสารและธรรมะทุกวันจาก Dhammada.net ได้ที่นี่

สิ่งที่ใครใครไม่อาจจะชนะได้ ยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

สิ่งที่ใครใครไม่อาจจะชนะได้ ยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น ยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

ยากเหลือเกินที่จะหลอกกิเลสได้เพราะกิเลสอยู่ในใจเราเราคิดอะไรกิเลสรู้หมดเ...

ถ้าเรารู้ทันจิตคิดเราจะหลุดจากโลกของความคิดพอฝันเรารู้ว่าฝันเราจะหยุดฝันงงล่ะซิงง มันไม่มีในตำราถึงได้งง : มันเป็นธรรมของครูบาอาจารย์ ท่านจะบอกโดยนัยว่า จิตหรือตัวผู้รู้ก็เป็นสังขาร มีลักษณะไตรลักษณ์ คำว่า ทำลายไม่ได้หมายถึง การเข้าไปให้พินาจหรือหายไป เพียงแต่ให้รู้ด้วยปัญญาว่า แม้กระทั้งตัวผู้รู้หรือจิต เมื่อมันเกิด ขึ้นตั้งอยู่แล้วก็ดับไปเหมือนสังขารอื่นๆเช่นกัน

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับงงล่ะซิงง มันไม่มีในตำราถึงได้งง :: มันเป็นธรรมของครูบาอาจารย์ ท่านจะบอกโดยนัยว่า จิตหรือตัวผู้รู้ก็เป็นสังขาร มีลักษณะไตรลักษณ์ คำว่า ทำลายไม่ได้หมายถึง การเข้าไปให้พินาจหรือหายไป เพียงแต่ให้รู้ด้วยปัญญาว่า แม้กระทั้งตัวผู้รู้หรือจิต เมื่อมันเกิด ขึ้นตั้งอยู่แล้วก็ดับไปเหมือนสังขารอื่นๆเช่นกัน

วันศุกร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2557

คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน 

วันพฤหัสบดีที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ยืนเดินนั่งนอนกินดื่มทำพูดคิดให้มีสติรู้ทันจิตจริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

ยืนเดินนั่งนอนกินดื่มทำพูดคิดให้มีสติรู้ทันจิตจริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

ถ้าเรารู้ทันจิตคิดเราจะหลุดจากโลกของความคิดพอฝันเรารู้ว่าฝันเราจะหยุดฝันจริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับจริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

วิถีแห่งความรู้แจ้ง โดย หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช งานธรรมไร้พรมแดนครั้งที... วิถีแห่งความรู้แจ้ง ความในใจ เพื่อนนักปฏิบัติจำนวนมากให้ความรักความเมตตาแวะเวียนไปสนทนาธรรมกับผู้เขียนเสมอ ส่วนมากมักถามถึงแนวทางปฏิบัติที่ผู้เขียนดำเนินมา เป็นเหตุให้ผู้เขียนต้องพูดคุยในเรื่องเดิมๆ อยู่แทบทุกวัน ผู้เขียนจึงเขียนบทความนี้ขึ้นเพื่อทุ่นแรงตนเอง หากเพื่อนนักปฏิบัติท่านใดต้องการทราบแนวทางปฏิบัติของผู้เขียน อ่านแล้วคงพอทราบได้ จะช่วยให้การสนทนาสั้นลง เป็นการประหยัดเวลาได้ทั้งสองฝ่าย พระปราโมทย์ ปาโมชโช วันที่ 30 กรกฎาคม 2545 ใจความ 1. สิ่งใดคือจุดมุ่งหมายของพระพุทธศาสนา - ความพ้นทุกข์สิ้นเชิง 2. ความทุกข์คืออะไร - ความไม่สบายกาย และความไม่สบายใจ หรือทุกข์ที่เนื่องด้วยกาย และทุกข์ที่เกิดจากจิต เช่นความแก่ เจ็บ ตาย การเผชิญกับสิ่งที่ไม่ชอบ การพลัดพรากจากสิ่งที่ชอบ ว่าโดยย่ออุปาทานขันธ์(ภพ)คือทุกข์ 3. ความทุกข์เกิดจากอะไร - ตัณหา ซึ่งมีที่มาจากความไม่เข้าใจความเป็นจริงของธรรมชาติ (อวิชชา) 4. ทางแห่งความดับทุกข์ - มรรคมีองค์ 8 หรือ ศีล สมาธิ ปัญญา ย่อลงเป็นการเจริญสติ ซึ่งเป็นเครื่องมือเฝ้าสังเกตการณ์จนเข้าใจความเป็นจริงของธรรมชาติ เมื่อเห็นตามความเป็นจริงย่อมเบื่อหน่าย คลายกำหนัดแล้วหลุดพ้น และย่อมรู้ว่าหลุดพ้นจากกิเลสและทุกข์แล้ว 5. การเจริญสติคืออะไร - คือการระลึกรู้ (ข้อ 6) ถึงสภาวธรรม(ข้อ 7)ที่กำลังปรากฏ(ข้อ 8) ตามความเป็นจริง(ข้อ 9) 6. การระลึกรู้ทำอย่างไร - แทบทุกคนระลึกรู้ได้อยู่แล้วตามธรรมชาติ แค่รู้ไปตามธรรมชาติโดยไม่เติมแต่งสิ่งใดลงไปในการรู้นั้น ก็จะรู้สภาวธรรมได้ / สภาวธรรมรู้ง่ายกว่าที่คิดไว้มากนัก 7. สภาวธรรมคืออะไร - คือรูปธรรมและนามธรรมอันเป็นปรมัตถธรรมที่ประกอบกันขึ้นเป็นร่างกายจิตใจอันเป็นที่ตั้งแห่งกองทุกข์นี้ ไม่ใช่สิ่งที่เป็นความคิดฝันหรือจินตนาการเอาเอง 8. ที่กำลังปรากฏหมายถึงอะไร - หมายถึงสภาวธรรมที่ปรากฏเป็นอารมณ์ปัจจุบันในขณะจิตต่อหน้านี้ ผู้ปฏิบัติต้องไม่หน่วงอาลัยถึงสภาวธรรมในอดีต และไม่กังวลถึงสภาวธรรมในอนาคต

ผู้ตั้งอยู่ในอริยะธรรมภุตตา โภคา ภะฎา ภัจจา วิติณณา อาปะทาสุ เม โภคะทั้งหลายเราได้บริโภคแล้ว บุคคลทั้งหลายที่ควรเลี้ยง เราได้เลี้ยงแล้ว อันตรายทั้งหลาย เราได้ข้ามพ้นไปแล้ว อุคธัคคา ทักขิณา ทินนา อะโถ ปัญจะ พะลี กะตา ทักษิณาที่เจริญผล เราได้ให้แล้ว อนึ่ง พลีห้า เราได้ทำแล้ว อุปัฏฐิตา วีละวันโต สัญญะตา พรัหมะจาริโน ท่านผู้มีศีลสำรวมระวัง ประพฤติพรหมจรรย์ เราได้บำรุงแล้ว ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ ปัณฑิโต ฆะระมาวะสัง บัณฑิตผู้อยู่ครองเรือน ปรารถนาโภคะเพื่อประโยชน์อันใด โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต กะตัง อะนะ นุตาปิยัง ประโยชน์นั้น เราได้บรรลุแล้ว กรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลังเราได้ทำแล้ว เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร นรชนผู้จะต้องตายเมื่อตามระลึกถึงคุณข้อนี้อยู่ พึงเป็นผู้ตั้งอยู่ในอริยะธรรม อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ. เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายย่อมสรรเสริญนรชนนั้นในโลกนี้ นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์ ดังนี้แล.

วันพุธที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ภัทเทกรัตตคาถา ผู้ใดเห็นธรรมอันเกิดขึ้นเฉพาะหน้าที่นั้นๆ อย่างแจ่มแจ้ง, ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลน, เขาควรพอกพูนอาการเช่นนั้นไว้ ความเพียรเป็นกิจที่ต้องทำวันนี้, ใครจะรู้ความตายแม้พรุ่งนี้ เพราะการผัดเพี้ยนต่อมัจจุราชซึ่งมีเสนามากย่อมไม่มีสำหรับเรา มุนีผู้สงบย่อมกล่าวเรียกผู้มีความเพียรอยู่เช่นนั้น, ไม่เกียจคร้านทั้งกลางวันกลางคืนว่า, "ผู้เป็นอยู่แม้เพียงราตรีเดียว ก็น่าชม"

กิจที่ควรทำเราได้ทำสำเร็จแล้วภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน อันไพบูลย์ สูงจดฟ้า กลิ้งบดสัตว์มาโดยรอบทั้งสี่ทิศ แม้ฉันใด ความแก่ และความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้น เป็น กษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม เป็นพลเมืองก็ตาม เป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม เป็นกุลีเทหยาก เยื่อก็ตาม มิได้เว้นสิ่งอะไรๆ ไว้ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้ง ปวงทีเดียว ภูมิแห่งช้างทั้งหลาย ย่อมไม่มีในชรา และมรณะนั้น ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี อนึ่งอันใครๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะ นั้นด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนต์ หรือ ด้วยทรัพย์ ด้วย เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน ผู้ มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ผู้ใดประพฤติธรรมด้วยกาย ด้วย วาจา หรือด้วยใจ บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญนรชน นั้นในโลกนี้ นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิง ในสวรรค์ ดังนี้แล.

วันอังคารที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2557

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าจะเอาสมาธิชนิดที่ใช้เจริญปัญญาต้องคอยรู้ทันจิต เพราะฉะนั้นบทเรียนที่จะได้สมาธิที่รู้ทันจิต ได้สมาธิที่ถูกต้อง ต้องรู้ทันจิต พระพุทธเจ้าถึงได้เรียกว่า “จิตตสิกขา” ศีลสิกขา จิตตสิกขา ได้สมาธิที่ถูกต้อง ให้คอยรู้ทันจิตนะ พุทโธๆ หนีไปคิด รู้ทัน จิตไปเพ่งความนิ่งๆว่างๆอยู่ รู้ทัน ถ้าใช้ลมหายใจก็หายใจไป รู้สึกตัวไป หายใจไปจิตหนีไปคิด รู้ทัน ก็กลับมารู้สึกตัวอีก หายใจไปจิตไปเพ่งอยู่ที่ลมหายใจเพราะว่ากลัวจะหลง ก็เลยไปเพ่งอยู่ที่ลมหายใจ ก็รู้ทันอีกว่าจิตไหลไปเพ่งที่ลมหายใจแล้ว เนี่ยทำกรรมฐานแล้วรู้ทันจิตนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตรู้สึกตัวขึ้นมา ก็รู้ จิตไปเพ่งลมหายใจหรือไปเพ่งมือเพ่งเท้าเพ่งท้องอะไร ก็รู้ ฝึกให้มากต่อไปจิตเคลื่อนไปปุ๊บเนี่ย สติจะเกิดเอง เพราะสติจะเกิดได้ไม่ใช่เพราะมีใครสั่งสติให้เกิดได้ สติจะเกิดเมื่อมีเหตุของสติ เหตุใกล้ให้เกิดสติเรียกว่า “ถิรสัญญา” ถอถุงสระอิรอเรือ ถิระ.. สัญญา ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะได้แม่น จิตจะจำสภาวะได้แม่นถ้าจิตเคยเห็นสภาวะบ่อยๆ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องพาจิตให้ดูสภาวะบ่อยๆ พุทโธไป หายใจไป จิตหนีไปแล้วรู้เนี่ย ต่อไปจิตหนีไปนะ จิตจำสภาวะที่จิตหนีไปได้แม่น อ้อ..อย่างนี้หลงไปแล้วนะ อย่างนี้ไหลไปเพ่ง อย่างนี้ไหลไปคิด พอจิตจดจำได้แม่นนะ พอไหลไปเพ่งปุ๊บ มันก็รู้สึกตัวขึ้นมาเลย สติระลึกได้ หรือไหลไปคิด จิตจดจำสภาวะที่ไหลไปคิดได้แล้ว พอไหลไปคิดสติระลึกปั๊บ เออนี่ไหลไปคิดแล้ว มีคำว่าแล้วด้วย คือมันเป็นไปก่อน ตอนที่หลงอยู่นะมันมีสติไม่ได้ เพราะตอนที่หลงจิตมีความฟุ้งซ่าน มีโมหะ ตอนที่สติเกิดน่ะมันไม่หลงแล้ว ก็เลยต้องมีคำว่าแล้ว เมื่อกี้นี้เผลอ ตอนนี้รู้สึก เพราะฉะนั้นการดูจิตดูใจนะ เราจะดูตามหลังไปเรื่อยๆ ตามไปติดๆ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช

วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2557

ที่พึ่งใจhttp://www.youtube.com/watch?v=Z-jpFpL_BGg

เกิดอะไรขึ้นในกายในใจตามรู้ตามดูไปตามความเป็นจริงทีละขณะ เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยรายประดุจกำแกลบ มีสติตั้งมั่นที่ลมหายใจของเราเองแล้วให้สังเกตุว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในใจเป็นสิ่งแปลกปลอมทั้งสิ้น.ช้า..ช้า..ไม่ต้องรีบแป็นพระอรหันต์

การนั่งสมาธิให้จิตนิ่ง กับการบรรลุธรรม เป็นคนละเรื่องกันถ้าจะเอาสมาธิชนิดที่ใช้เจริญปัญญาต้องคอยรู้ทันจิต เพราะฉะนั้นบทเรียนที่จะได้สมาธิที่รู้ทันจิต ได้สมาธิที่ถูกต้อง ต้องรู้ทันจิต พระพุทธเจ้าถึงได้เรียกว่า “จิตตสิกขา” ศีลสิกขา จิตตสิกขา ได้สมาธิที่ถูกต้อง ให้คอยรู้ทันจิตนะ พุทโธๆ หนีไปคิด รู้ทัน จิตไปเพ่งความนิ่งๆว่างๆอยู่ รู้ทัน ถ้าใช้ลมหายใจก็หายใจไป รู้สึกตัวไป หายใจไปจิตหนีไปคิด รู้ทัน ก็กลับมารู้สึกตัวอีก หายใจไปจิตไปเพ่งอยู่ที่ลมหายใจเพราะว่ากลัวจะหลง ก็เลยไปเพ่งอยู่ที่ลมหายใจ ก็รู้ทันอีกว่าจิตไหลไปเพ่งที่ลมหายใจแล้ว เนี่ยทำกรรมฐานแล้วรู้ทันจิตนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตรู้สึกตัวขึ้นมา ก็รู้ จิตไปเพ่งลมหายใจหรือไปเพ่งมือเพ่งเท้าเพ่งท้องอะไร ก็รู้ ฝึกให้มากต่อไปจิตเคลื่อนไปปุ๊บเนี่ย สติจะเกิดเอง เพราะสติจะเกิดได้ไม่ใช่เพราะมีใครสั่งสติให้เกิดได้ สติจะเกิดเมื่อมีเหตุของสติ เหตุใกล้ให้เกิดสติเรียกว่า “ถิรสัญญา” ถอถุงสระอิรอเรือ ถิระ.. สัญญา ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะได้แม่น จิตจะจำสภาวะได้แม่นถ้าจิตเคยเห็นสภาวะบ่อยๆ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องพาจิตให้ดูสภาวะบ่อยๆ พุทโธไป หายใจไป จิตหนีไปแล้วรู้เนี่ย ต่อไปจิตหนีไปนะ จิตจำสภาวะที่จิตหนีไปได้แม่น อ้อ..อย่างนี้หลงไปแล้วนะ อย่างนี้ไหลไปเพ่ง อย่างนี้ไหลไปคิด พอจิตจดจำได้แม่นนะ พอไหลไปเพ่งปุ๊บ มันก็รู้สึกตัวขึ้นมาเลย สติระลึกได้ หรือไหลไปคิด จิตจดจำสภาวะที่ไหลไปคิดได้แล้ว พอไหลไปคิดสติระลึกปั๊บ เออนี่ไหลไปคิดแล้ว มีคำว่าแล้วด้วย คือมันเป็นไปก่อน ตอนที่หลงอยู่นะมันมีสติไม่ได้ เพราะตอนที่หลงจิตมีความฟุ้งซ่าน มีโมหะ ตอนที่สติเกิดน่ะมันไม่หลงแล้ว ก็เลยต้องมีคำว่าแล้ว เมื่อกี้นี้เผลอ ตอนนี้รู้สึก เพราะฉะนั้นการดูจิตดูใจนะ เราจะดูตามหลังไปเรื่อยๆ ตามไปติดๆ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าถ้าจะเอาสมาธิชนิดที่ใช้เจริญปัญญาต้องคอยรู้ทันจิต เพราะฉะนั้นบทเรียนที่จะได้สมาธิที่รู้ทันจิต ได้สมาธิที่ถูกต้อง ต้องรู้ทันจิต พระพุทธเจ้าถึงได้เรียกว่า “จิตตสิกขา” ศีลสิกขา จิตตสิกขา ได้สมาธิที่ถูกต้อง ให้คอยรู้ทันจิตนะ พุทโธๆ หนีไปคิด รู้ทัน จิตไปเพ่งความนิ่งๆว่างๆอยู่ รู้ทัน ถ้าใช้ลมหายใจก็หายใจไป รู้สึกตัวไป หายใจไปจิตหนีไปคิด รู้ทัน ก็กลับมารู้สึกตัวอีก หายใจไปจิตไปเพ่งอยู่ที่ลมหายใจเพราะว่ากลัวจะหลง ก็เลยไปเพ่งอยู่ที่ลมหายใจ ก็รู้ทันอีกว่าจิตไหลไปเพ่งที่ลมหายใจแล้ว เนี่ยทำกรรมฐานแล้วรู้ทันจิตนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตรู้สึกตัวขึ้นมา ก็รู้ จิตไปเพ่งลมหายใจหรือไปเพ่งมือเพ่งเท้าเพ่งท้องอะไร ก็รู้ ฝึกให้มากต่อไปจิตเคลื่อนไปปุ๊บเนี่ย สติจะเกิดเอง เพราะสติจะเกิดได้ไม่ใช่เพราะมีใครสั่งสติให้เกิดได้ สติจะเกิดเมื่อมีเหตุของสติ เหตุใกล้ให้เกิดสติเรียกว่า “ถิรสัญญา” ถอถุงสระอิรอเรือ ถิระ.. สัญญา ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะได้แม่น จิตจะจำสภาวะได้แม่นถ้าจิตเคยเห็นสภาวะบ่อยๆ เพราะฉะนั้นเราจึงต้องพาจิตให้ดูสภาวะบ่อยๆ พุทโธไป หายใจไป จิตหนีไปแล้วรู้เนี่ย ต่อไปจิตหนีไปนะ จิตจำสภาวะที่จิตหนีไปได้แม่น อ้อ..อย่างนี้หลงไปแล้วนะ อย่างนี้ไหลไปเพ่ง อย่างนี้ไหลไปคิด พอจิตจดจำได้แม่นนะ พอไหลไปเพ่งปุ๊บ มันก็รู้สึกตัวขึ้นมาเลย สติระลึกได้ หรือไหลไปคิด จิตจดจำสภาวะที่ไหลไปคิดได้แล้ว พอไหลไปคิดสติระลึกปั๊บ เออนี่ไหลไปคิดแล้ว มีคำว่าแล้วด้วย คือมันเป็นไปก่อน ตอนที่หลงอยู่นะมันมีสติไม่ได้ เพราะตอนที่หลงจิตมีความฟุ้งซ่าน มีโมหะ ตอนที่สติเกิดน่ะมันไม่หลงแล้ว ก็เลยต้องมีคำว่าแล้ว เมื่อกี้นี้เผลอ ตอนนี้รู้สึก เพราะฉะนั้นการดูจิตดูใจนะ เราจะดูตามหลังไปเรื่อยๆ ตามไปติดๆ หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช

พุทโธจิตหนีไปคิดรู้ทันจิตรู้ทันกิเลสรู้ให้เร็วทีละขณะทุกวินาที..

รู้กายรู้ใจของตัวเราตามความเป็นจริงแล้วจะถึงความสิ้นทุกข์หายใจเข้าเพื่อแก้ทุกข์ หายใจออกก็เพื่อแก้ทุกข์ ข้างต้นก็ล้างความเห็นผิดว่ามีตัวมีตน ขั้นปลายก็ล้างความหลงผิดว่าขันธ์ ๕ กายใจนี้เป็นของดีของวิเศษ ที่แท้ไม่ใช่ของดีของวิเศษแต่เป็นตัวทุกข์

ลพ.ปราโมทย์ ปาโมชฺโช31JULY54รู้ทันกันหลง

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับจริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

วันเสาร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2557

คาถาธรรมบทว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า

วิธีการตามรู้ลมหายใจโดยไม่บริกรรม เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌาน เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วิธีละความยินดีในโลกียสุขของพระอนาคามีบุคคลธรรมวิโมกข์ อย่าทะนงตน อย่าทะนงตน คิดว่าเราเป็นคนดี ถ้าคิดว่าดีเป็นผู้วิเศษเมื่อไร เมื่อนั้นแหละกรรมใหญ่ อันตรายใหญ่จะมาถึงท่าน ที่เราเรียกกันว่าความประมาท ขอจงพยายามคุมตนไว้ตามคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ นั่นก็คือทรงอิทธิบาท ๔ ให้ครบถ้วน มีจรณะ ๑๕ ครบถ้วน ผมว่าเท่านี้ก็เหลือกินเหลือใช้ มีบารมี ๑๐ ครบถ้วนเท่านี้ก็เหลือแล้ว ถ้าครบเท่านี้อาการของความโลภไม่มี อาการของความทะเยอทะยานในเรื่องเพศในลักษณะของกามคุณไม่มี อารมณ์ที่จะผังไว้กับความโกรธไม่มี การที่จะยึดถืออะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มี ที่ยังมีอยู่ก็เพราะว่าเพียงแต่รับฟังไว้เฉยๆ ดีไม่ดีก็จำไว้ เอาไว้เป็นเครื่องข่มขู่คนอื่น ทะนงตนอวดว่าเป็นผู้ทรงคุณธรรมด้านปริยัติ ถ้าอารมณ์อย่างนี้เขาเรียกว่าปฏิบัติเหลว ไม่มีอะไร แดนที่จะไปก็คือ อเวจีมหานรก หรือว่า โลกันตนรก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๒-๓) อย่าสนใจร่างกาย พระพุทธเจ้าตรัสว่า “เธอทั้งหลายจงอย่าสนใจร่างกายของตนเอง จงอย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น จงอย่าสนใจในทุกสิ่งทุกอย่างในโลก เพราะว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ร่างกายถ้าเป็นเราจริงมันก็ทรงสภาพอยู่ตลอดกาลตลอดสมัย แต่ทว่าร่างกายของเราเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ไม่ทรงสภาพ ในที่สุดมันก็เข้าขั้นสลายตัว เมื่อเราจะต้องตาย ทรัพย์สมบัติของเราทั้งหลายในโลกมันก็ไม่ตามเราไป แม้แต่ร่างกายที่เรารักที่สุดมันก็ไม่ตามเราไป มันคงจมอยู่ในพื้นปฐพีเป็นปรกติ” อย่างนี้องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำให้คิดไว้อยู่เสมอ อย่าเผลอไปในด้านความโลภ อย่าเผลอไปในด้านความทะเยอทะยาน อย่าเผลอให้จิตใจมีความโกรธ ความพยาบาท อย่าเผลอให้ความนึกคิดว่านั่นเป็นเราเป็นของเรา อารมณ์อย่างนี้องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงต้องการ ฉะนั้น ขอทุกท่านจงรักษากำลังใจอย่างนี้ไว้เป็นปกติ ถ้าหากว่าใจของท่านกระสับกระส่าย จงรักษาอานาปานสติกรรมฐาน มีกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกให้ทรงตัว ยังไม่ต้องคิดอะไรทั้งหมด กำหนดจิตรู้เฉพาะลม หายใจเข้าหายใจออกเท่านั้น หายใจเข้ายาวหรือสั้น หายใจออกยาวหรือสั้นรู้อยู่ถ้าทำอย่างนี้อารมณ์จิตของท่านจะไม่ฟุ้งซ่าน (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘) พิจารณาร่างกาย องค์สมเด็จพระจอมไตรได้ทรงแนะนำบรรดาพระภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกขเวดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านปฏิบัติร่างกายของท่าน พิจารณาร่างกายของท่าน ใคร่ครวญขยายออกกระจายออกคือ พิจารณาอันดับแรกเป็นธาตุสี่ ว่าร่างกายของเรานี้เป็นธาตุดิน ธาตุลม ธาตุไฟ ธาตุน้ำ มันประกอบเข้ามาเป็นร่างกาย เรามีความเข้าใจว่า ร่างกายเป็นแท่งทึบ แต่ความจริงหาเป็นเช่นนั้นไม่ ร่างกายของเราแบ่งออกเป็นอาการสามสิบสอง มีผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เป็นต้น ทั้งหมดนี้รวมเข้าแล้วเป็นร่างกาย แต่ทว่าร่างกายเหล่านี้มันเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก มันเต็มไปด้วยความ อนิจจัง คือหาความเที่ยงไม่ได้ มันเต็มไปด้วยทุกขัง คือเต็มไปด้วยความทุกข์ไม่มีความสุข มันเต็มไปด้วยอนัตตา คือมันสลายตัวไปทีละน้อยๆ ทุกเวลาที่เคลื่อนที่ไป เธอทั้งหลายจงอย่าสนใจในร่างกายของเธอ จงอย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น จงอย่าสนใจในทรัพย์สินทั้งหลาย จงทำลายความรักในเพศด้วยอำนาจอสุภสัญญา จงทำลายความโลภด้วยการตัดความอยากได้ด้วยการให้ทาน อย่าทะเยอทะยานในทรัพย์สินที่ไม่ใช่ของดี เป็นปัจจัยในเราเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร อย่าสนใจในความโกรธ ความพยาบาท ในบุคคลทั้งหลาย ใครเขาจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา เขาจะนินทาว่าร้ายว่าเรา ถ้าบังเอิญเราเป็นคนดีก็ไม่เลวไปตามคำพูด ถ้าเขาสรรเสริญว่าเราดี ถ้าเราเลวเราก็ไม่ดีไปตามคำพูด ความดีและความชั่วอยู่ที่ความประพฤติปฏิบัติเป็นสำคัญ ถ้าเราประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ใครจะว่าดีว่าเลวก็ช่าง อย่าสนใจทั้งสองประการ เราปฏิบัติตามคำแนะนำขององค์สมเด็จพระพิชิตมารเท่านั้นเป็นพอ” เป็นว่าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนอย่างนี้ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘) สังขารุเปกขาญาณ กำลังใจของเราจะทรงได้ดีจริงๆ ต้องน้อมใจของเรานี้ฝึกไปด้วยปัญญาพิจารณาหาความจริง จิตใจตั้งอยู่ในสังขารุเปกขาญาณ นั่นก็คือมีอาการวางเฉยตามสภาวะของสังขาร คือร่างกายและทุกสิ่งทุกอย่างในโบก มีความรู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นอนิจจัง คนเป็นอนิจจัง วัตถุในโลกก็เป็นอนิจจัง คำว่า “อนิจจัง” แปลว่า มันไม่เที่ยง เรารู้ตามความเป็นจริงของมันว่ามันไม่เที่ยง ในเมื่อมันไม่เที่ยง เรายอมรับนับถือความไม่เที่ยงของมัน มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกหาอะไรเที่ยงไม่ได้ แต่ว่าเมื่อมันไม่เที่ยง เราก็ทำใจของเราให้เที่ยง มันเที่ยงตรงไหน เที่ยงตรงที่มันมีความรู้สึกตามกฎของธรรมดาอยู่เสมอว่า ร่างกายก็ วัตถุธาตุก็ดี ที่เกิดมาในโลกนี้มันไม่เที่ยง มันมีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น และมีความแปรปรวนไปในท่ามกลาง มีความแตกสลายตัวไปในที่สุด (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙) ความตายเป็นของเที่ยง ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็นของเที่ยง ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง จงจำไว้ให้ถึงที่สุด เมื่อจำไว้ทุกวัน ลืมตาขึ้นมาเช้ามีความรู้สึกไว้เสมอว่า เราอาจจะไม่ได้กินข้าวเข้า อาจจะตายก่อนก็ได้ ความตายไม่มีนิมิต ความตายไม่มีเครื่องหมาย ถ้าเราตายเลว ก็ดูตัวอย่างสัตว์ในอบายภูมิ มีนรกและเปรตเป็นต้น ก่อนจะตายถ้าเราทำความดี นั่นก็เป็นเรื่องที่เราจะฟังต่อไปข้างหน้าในเรื่องวิมานวัตถุ จะเห็นผลมีความสุข ถ้าเป็นมนุษย์ก็เป็นมนุษย์ที่เต็มไปด้วยทรัพย์มีความสุข ถ้าเป็นเทวดาก็เป็นเทวดาที่มีความสุขสมบูรณ์ ไม่ต้องเป็นเปรตไปก่อนแล้วจึงเป็นเทวดา (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๒๘) เห็นกระดูกลอยมา ท่านกล่าวว่า สมัยที่ท่านได้อสุภสัญญา เห็นกระดูกลอยมาและก็พิจารณาเห็นคนทั้งหมด สัตว์ทั้งหมดเป็นกระดูก ก็จับกระดูกเป็นภาพนิมิต จนกระทั่งจิตทรงด้วยฌาน ๔ เป็นอันว่าอสุภกรรมฐานที่เขาบอกว่าเป็นกรรมฐานพิจารณา ทรงจิตไว้อย่างสูงแค่ปฐมฌานเขาว่ากันอย่างนั้น แต่ในทางปฏิบัติจริง ถ้าเราฉลาดเราก็เอาปฐมฌานมาเป็นฌานเสียอย่างสบายๆถึง ฌาน ๔ อัฏฐิกัง ปฏิกุลัง ท่านผู้เฒ่าท่านเล่าให้ฟังว่า ท่านจบเอาอสุภทั้งหมด เมื่อได้ “อัฏฐิกัง ปฏิกุลัง” แล้ว ท่านก็ไล่เบี้ยไปเลยตั้งแต่ ๑ ถึง ๑๐ จับภาพไปเลยให้จิตทรง มันเน่าแบบไหน มันเหม็นแบบไหน มันเละแบบไหน มันขึ้นแบบไหน มันพองแบบไหน ท่านทำเป็นฌาน๔ ได้หมดทุกอสุภ ๑๐ อย่าง จิตใจทรงตัว เห็นคนเมื่อไหร่ เห็นสัตว์เมื่อไหร่ เน่าหมด เห็นวัตถุธาตุต่างๆ เห็นโครงกระดูกไม่มีความติดในความสวยสดงดงาม แต่ว่าเวลานั้นเป็นเรื่องของสมถภาวนา เวลานั้นความรู้สึกในระหว่างเพศไม่มี เห็นคนเน่าๆ เห็นสัตว์เน่าๆ เห็นคนเป็นกระดูก มีสภาพน่าเกลียด แต่จิตยังไม่น้อม ไปในด้านวิปัสสนาอย่างสูง มัวเล่นแต่สมถภาวนาธรรมดา เห็นว่าเน่า เห็นว่าเหม็น เห็นว่าน่าเกลียด เห็นว่าโสโครก นี่เป็น สมถภาวนา ถ้าเป็นวิปัสสนาต้องพิจารณาเห็นความเสื่อมความโทรมของร่างกาย มีสภาพไม่เที่ยง เสื่อมไปทีละเล็กทีละน้อย แล้วในที่สุดมันก็สลายตัว จิตไม่เข้าไปยึดไปถือ ท่านบอกว่าเวลานั้นอารมณ์วิปัสสนาญาณท่านมีนิดหน่อย เล่นเฉพาะสมถภาวนาให้มันช่ำใจเพราะความเข้าใจผิด ตามบันทึกท่านบอกว่า ถ้าเราคิดควบกับวิปัสสนาเสียเวลานั้น ความจริงท่านบอกว่าหลวงพ่อปานก็สอนวิปัสสนา แต่ว่าท่านเป็นคนใจเดียว ถ้าจะเอาอะไรเอาให้มันฟังไปเป็นด้านๆ ถ้าไม่ได้ยอมตายเสียดีกว่า ขึ้นชื่อว่าไม่สามารถในชีวิตนี้จะไม่มีเป็นอันขาดสำหรับท่าน ท่านรู้สึกว่ามีกำลังใจเด็ดเดี่ยวมาก ในสมัยกำลังเล่นอนุภกรรมฐาน แล้วก็มีวิปัสสนาญาณเจือปนนิดหน่อยกันฌานเสื่อม สิ่งที่เป็นศัตรูกับอารมณ์อย่างนี้มันก็เกิด นั่นก็คือ อิสตรีที่เป็นเพศตรงกันข้าม สตรีก็ระวังบุรุษ ถ้าบุรุษก็ระวังสตรีจะเข้ามาเล้าโลมด้วยเหตุต่างๆ มาติดต่อสร้างความสัมพันธ์ในฐานะที่อยากจะเป็นคนรักด้วย ดีไม่ดี แก่ก็พูดเปิดเผยชวนรักชวนแต่งงาน แต่ต้องระวัง และจงอย่าไปโทษใครเขา เราไปหลงละเมอในคำป้อยอทั้งหลายเหล่านั้น คำชักชวน ความดีของเรามันจะด้วน ฌานจะสลายตัว (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๒๙) การเป็นพระโสดาบัน การเป็นพระโสดาบันก็ดี การเป็นพระสกิทาคา อนาคา อรหันต์ก็ดี เขาศึกษากันตัวเดียวคือ สักกายทิฏฐิ เมื่อตัดสักกายทิฏฐิได้ตัวเดียวก็เป็นพระอรหันต์ แต่ทว่าตอนที่จะตัดสักกายทิฏฐิเธอจงปฏิบัติตามนี้นะ ก่อนที่จะใช้อารมณ์วิปัสสนาญาณ อันดับแรก เข้าฌานให้ถึงที่สุดที่เธอทรงได้ เข้าฌานออกฌานสลับกันมาสลับกันไปให้มันมีความทรงตัว แล้วทำจิตใจให้ทรงในฌานให้แนบสนิททรงตัวมีความสุขที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเฮะทั้งหมดได้สมาบัติแปดมาแล้ว แล้วก็ศึกษาด้านอภิญญามาแล้วอย่างนี้เป็นของไม่ยาก ในด้านวิปัสสนาญาณ ใช้กำลังสมาบัติแปดเป็นกำลังใหญ่ ทรงใจห้ทรงตัวแล้วถอยหลังไปถึงอุปจารสมาธิ พิจารณาขันธ์ ๕ มันเป็นภัยสำหรับเรา เป็นวัตถุธราตุที่สร้างด้วยทุกข์สร้างด้วยโทษไม่มีอะไรเป็นปัจจัยของความสุข มองดูขันธ์ ๕ คือร่างกาย เราต้องเลี้ยงมันเท่าไร มันชอบอะไรเราให้มันกินทั้งหมด แต่เราไม่ต้องการจะป่วยมันก็ยังขืนป่วย เราไม่ต้องการจะเพลียมันก็เพลีย เราไม่ต้องการจะแก่อย่างฉันนี่ ฉันไม่เคยต้องการให้มันแก่มันก็แก่ คนที่เขาตายไปก่อนเรา เขาไม่ต้องการตายมันก็ตาย ในเมื่อขันธ์ ๕ มันเลวทรามอย่างนี้จะคนค้าสมาคมกับมันเพื่อประโยชน์อะไร อันดับแรก จับจุดความเป็นพระโสดาบัน ระงับความพอใจในขันธ์ ๕ เสีย คิดว่ามันจะตายเสมอ แล้วทรงศีลให้บริสุทธิ์ ศีลควรทำเป็นศีลานุสสติกรรมฐาน ทรงศีบให้เป็นกำลังฌาน คำว่า เป็นกำลังฌาน ก็คือทรงอารมณ์อยู่ในศีลตลอดวันตลอดคืน ไม่ยอมให้ศีลบกพร่องจากใจ ไม่ใช่ว่าต้องไปนั่งหลับตาปี๋ เดินไปเดินมาเลี้ยงหมูเลี้ยงหมา คุยกับหมาคุยกับแมว ศีลทรงตัวใช้ได้ เจอหน้าคนเขา ด่าคนเขา ว่าเขา นินทาศีลไม่ด่างใช้ได้ น้อมใจเคารพในคุณพระรัตนตรัย ๓ ประการ คือทรงพระกรรมฐาน ๓ อย่าง ให้ฌานคือ พุทธานุสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ ให้ทรงตัว ความจริงสิ่งทั้งหลายเหล่านี้เธอทรงได้หมดแล้วนี่ จะต้องมานั่งสอนอะไรกัน เว้นไว้แต่จิตอย่างเดียว คือ อารมณ์พระนิพพาน เธอยังไม่มั่นใจเท่านั้นเพราะฉะนั้นจงตัดสินใจทรงอุปสมานุสสติให้ทรงตัว (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๕๓) อย่าลืมคุมกำลังใจให้เป็นสมาธิ สำหรับการแนะนำในการเจริญพระกรรมฐานในวันนี้ จะขอนำปฏิปทาท่านผู้เฒ่ามาเล่าสู่กันฟัง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติหรือการทรงกำลังใจ แต่ทว่าบรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทั้งหลายหรือว่าพระโยคาวจรทุกท่าน อย่าลืมคุมกำลังใจให้เป็นสมาธิ เรื่องการรักษาอารมณ์ให้เป็นสมาธินี่มีความสำคัญมาก โดยเฉพาะอานาปานสติกรรมฐานนี่ให้ทรงตัว แล้วก็จริต ๖ ประการ ใคร่ครวญอยู่เสมอ จงอย่าเป็นผู้ยอมแพ้นิวรณ์ นี่อันดับต้น ถ้าอันดับต้นเรายอมแพ้นิวรณ์ เราก็ไม่อาจจะทรงฌานได้ แล้วก็จงอย่าเป็นผู้ยอมแพ้กิเลส ถ้าเรายอมแพ้กิเลสแล้ว เราก็ไม่สามารถเป็นพระอริยเจ้าได้ คุณธรรมที่เป็นเครื่องบำรุงใจ ดูตัวอย่างท่านมหาบาลที่ผ่านมาแล้ว ใช้กำลังใจส่งนนี้ให้เหมือนท่าน จงคิดว่าท่านเป็นฆราวาส ท่านเป็นกฎุดพี หรือว่าเป็นเศรษฐีมีทรัพย์มาก ท่านยังสามารถตัดสินใจอย่างนั้นได้ แล้วก็เรา ถ้าจะกล่าวกัน ท่านมีกี่นิ้ว เรามีกี่นิ้ว หรือว่าท่านมีรูปร่างลักษณะอย่างไร มีอาการสามสิบสามหรือสามสิบห้า ความจริงท่านก็มีอาการสามสิบสองเป็นร่างกายเท่ากับเราเราก็มีกาอากรสามสิบสอง ท่านกินข้าว เราก็กินข้าว ท่านเป็นคนเราก็คน ถ้าหากว่าท่านเป็นคนดีได้ เราเป็นคนดีไม่ได้ เรามันก็เลวเกินไป (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๕๖) ถ้าทำไม่ได้ยอมตายเสียดีกว่า ในเมื่อท่านปฏิบัติความดีมีความตายเป็นเดิมพัน ทั้งนี้ก็หมายความว่า ถ้าทำไม่ได้ยอมตายเสียดีกว่า อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์บอกไว้ด้วยถึงแม้ว่าเวลานั้นจะไม่ได้อรหันต์ แต่ต้องได้อรหันต์แน่ถ้าท่านคิดอย่างนั้น อะไรบ้างที่ท่านยอมให้บกพร่อง ภารกิจหน้าที่ทั้งหมดที่เป็นคันถธุระทุกอย่างทั้งทางด้านวิชาการและการงานไม่ยอมให้บกพร่อง เพราะถือว่าจะต้องมีอารมณ์จิตเข้มข้น ไม่ใช่จะมานั่งภาวนาอย่างเดียวให้เป็นอรหันตผล อันนี้มันไม่ได้เพราะอารมณ์ใจไม่มีการสัมผัสกับฝ่ายที่เป็นตรงกันข้าม ไม่มีการต่อสู้ ทั้งนี้เพราะว่า รู้ตัวอยู่ว่าคนที่หลีกเลี่ยงจากคันถธุระ หลีกเลี่ยงจากโลกธรรม เวลาอยู่คนเดียวสงบสงัด แต่เวลามาสัมผัสกับโลกธรรมเข้า จิตปลิวหวอย ตั้งสติไม่อยู่ ถ้าเราจะทำบ้างทำอย่างไร เริ่มจับจุดเช้ามืด ทรงอารมณ์สมาธิให้สูงสุดที่มันจะสูงได้ ทรงให้นานเท่าไรได้ก็ยิ่งดี อย่ารีบถอน เวลาคลายมาแล้วจิตตั้งอยู่ในอุปจารหรือปฐมฌานอยู่ตลอดทั้งวัน ถ้าอารมณ์จะซ่านหลบเข้าสู่ที่สงัดนิดหนึ่งทำจิตให้ทรงอารมณ์จุดสูงสุดเท่าที่จะทำได้ จะทำงานทำการอะไรอยู่ก็ตาม ไอ้สมาธิอย่าไปนั่งขัดสมาธินั่งพับเพียบอยู่เสมอ มันไม่มีผล มันต้องการได้ทุกขณะ แม้แต่กิจการงานที่เราทำอยู่ให้จิตมันทรงอยู่ในอารมณ์ของความดีอยู่ในขั้นอุปจารหรือปฐมฌาน วันทั้งวันอย่างนี้ความเป็นพระอรหันต์มันไม่ใช่จะเป็นของยาก ถ้าภายหลังจะบอกว่าง่ายเหลือเกิน เวลาจิตจะคลายจากสมาธิก็จับวิปัสสนาญาณตามที่ศึกษามาแล้ว เราศึกษามาจนท่วมหัวแล้ว ไม่ใช่แค่พอดี ถ้าจิตมันฟุ้งซ่านอีกที ทิ้งวิปัสสนามาจับอารมณ์สมาธิสลับกันไปสลับกันมาอย่างนี้ ความดีมันก็จะปรากฏ คำว่า “ทุกข์” ที่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนท่านผู้เฒ่า มันเป็นของไม่ยากสำหรับเราจะเอาดี แต่ว่าน่าสลดใจอยู่นิดนะ บางทีเดินไปเดินมา เห็นพระบางทานเก็บตัวมากเกินไปก็น่าสงสาร คำพยากรณ์ใดๆ จงอย่าคิดว่ามันจะได้ตามคำพยากรณ์นะ ถ้าไม่ปฏิบัติตนอย่างดีมันจะไม่ได้อะไรเลยเพราะเราหมกมุ่นเกินไป (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๖) คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า เป็นอันว่าวันนี้ขอย้อนต้นนิดหนึ่ง ท่านบอกว่าในสมัยหนึ่ง มีคนเขามาหาท่านแล้วเขาส่งหนังสือมาให้ เวลานั้นเป็นเวลาค่ำ ท่านบอกว่าค่ำๆอย่างนี้อ่านหนังสือไม่ออก จะต้องจุดไฟ แล้วก็ใช้กระแสไฟอ่าน พอตกเวลากลางคืนก็ปรากฏว่าเวลาที่เจริญพระกรรมฐาน ก็ใช้กำลังของอภิญญายกจิตโดยใช้ มโนมยิทธิ ไม่ใช่ใช้อภิญญาใหญ่ ขึ้นไปนมัสการองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาที่จุฬามณีเจดียสถาน พอไปถึงก็กราบองค์สมเด็จพระพิชิตมาร พอเงยหน้าขึ้นท่านก็บอกว่า “ตามธรรมดาพระนี่ ถึงแม้ว่าไม่มีแสงไฟก็ควรจะอ่านหนังสือออก” ตามบันทึกของท่านก็ถามว่า “ทำอย่างไรจึงจะอ่านออกพระพุทธเจ้าข้า” ท่านบอกว่า “ทิพจักขุญาณของเธอมีแล้ว แต่อาศัยที่เป็นผู้ปรารถนาพุทธภูมิมาเดิม ทิพจักขุญาณจึงไม่แจ่มใสเหมือนพระอริยเจ้า ฉะนั้น เพื่อจะให้ความแจ่มใสเกิดขึ้นเห็นภาพชัด ควรปฏิบัติแบบนี้ ควรใช้คาถานี้ไปภาวนาจนเป็นฌานสมาบัติ” เรื่องฌานนี่มันเรื่องเล็ก ท่านบอกว่า จะคว้าอะไรขึ้นมา มันก็เป็นฌานทันทีเพราะมีการคล่องอยู่แล้ว คาถาก็เห็นจะเป็น มงกุฎพระพุทธเจ้า ท่านบอกว่าอย่างนี้ “อิติปิ โส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตัง โสอิ อิโสตัง พุทธะ ปิติอิ” ท่านกล่าวว่า “คาถานี้ถ้าไปเรียนและภาวนาทำให้เป็นฌาน นิมิตต่างๆจะมีอาการแจ่มใส คนที่ตาไม่ดีก็อ่านหนังสือออกได้ หรือว่าเวลามืดๆ ก็สามารถจะมองเห็นหนังสือได้ และมองเห็นทุกสิ่งทุกอย่าบงได้ตามความประสงค์ ถ้าใช้คาถานี้เป็นฌาน” ท่านว่าอย่างนั้น เป็นอันว่าท่านย้ำมาว่าไอ้มืดๆ มันก็อ่านหนังสือออก และท่านบอกว่าท่านก็มาทำ มาทำมันก็ไม่นานใช้เวลาเพียงครู่เดียว จิตก็เข้าถึงฌาน ๔ ทรงฌาน ๔ สยายๆ ก็เลยว่ากันถึงฌาน ๘ ถึงฌาน ๘ ก็หลบลงมาฌาน ๔ ในรูปฌาน ทำไปทำมาก็เลยลองหลับตาอ่านหนังสือ ก็เห็นอ่านออก แต่ว่าวิธีนี้ท่านบอกว่าจะใช้ทั่วๆไปไม่ได้ เอาไว้แต่เมื่อมันจำเป็น ถ้าจำเป็นจริงๆ ไม่ต้องหยิบหนังสือมา เป็นแต่เพียงนึกว่าจะอ่านหนังสือ มันก็มีความเข้าใจว่าหนังสือฉบับนั้นเขาว่าอย่างไร วงเล็บของท่านมีไว้บอกว่า ใครอ่านแล้วถ้าทำได้ จงอย่าทำตนเป็นผู้วิเศษ เมื่อเวลาอ่านหนังสือต่อหน้าคน ถ้ามันอ่านไม่ออกจริงๆ ก็ใช้ไฟใช้แว่นส่อง ถ้ามันจำเป็นจริงๆก็เอาจิตจับจากภาพหนังสือนั้นเสีย ใช้ใจอย่างเดียวก็อ่านหนังสือออก นี่เป้นวิธีปฏิบัติของท่าน (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๘) คาถา อิติปิ โสฯ ต่อมาท่านกล่าวว่าท่านได้ “เจริญพระพุทธอารมณ์” ต่อมาท่านเจริญพระพุทธคุณทั้งบท พระพุทธคุณทั้งบทก็คือ “อิติปิ โส ภควา” หมดเลย ความจริงท่านว่าทั้งบท ท่านบอกว่าพุทธคุณทั้งบทนี่ก็ไม่ถูกผมค้านะ ท่านบันทึกไว้อย่างนี้ท่านบอกว่า ท่านเล่น “อิติปิ โสฯ” ทั้งบท ท่านว่ามันสบายใจดีจนกระทั่ง จิตเป็นฌาน ๔ รู้สึกว่าเป็นสุข จนกระทั่งถือรูปพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ว่า “อิติปิ โสฯ” ไปด้วย เอาจิตจับรูปพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ไปด้วย แต่ตอนนี้ผมไม่เห็นท่านอธิบายไว้ท่านว่าอย่างไรก็ว่าอย่างนั้น ท่านว่าทำไปคาถาสั้นก็ทำเป็นฌานได้ คาถายาวก็ทำเป็นฌานได้ “อิติปิ โสฯ” ทั้งบทก็ทำเป็นฌานได้ไม่เห็นจะมีอะไรเป็นสำคัญ ถ้าใจมันเป็นฌานเสียแล้ว ฟังของท่านไว้นะ ความรู้ต่างๆ ของท่านเรียนกันมาแล้วนี่ ผมก็ว่าตามแบบแล้วจะเล่าให้ฟัง ตอนไหนที่มันสมควรสำหรับท่าน ท่านก็เอาไปใช้ ตอนไหนที่ไม่สมควรก็ไม่ต้องนำไปใช้ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๘) คาถา อภิญญารวม ท่านกล่าวว่าท่านได้พบองค์สมเด็จพระจอมไตรที่พระจุฬามณีเจดียสถาน องค์สมเด็จพระพิชิตมารทรงตรัสว่า สัมภเกสี สำหรับอภิญญาที่เธอได้ เวลาที่เธอจะใช้ก็ต้องจับกสิณนั้น กสิณนี้ ใช้จิตอย่างนี้ช้าไปหน่อย แต่ความจริงเขาใช้อภิญญากันจริงๆ เขาใช้อารมณ์เรียกว่า เขาจับอภิญญารวม คำว่า อภิญญารวมนี่นึกถึงอภิญญาสมาบัติ คือนึกถึงอารมณ์กสิณทั้งหมดว่าเราต้องการอะไร แล้วก็ให้ภาวนา ภาวนาย่อๆว่า โสตัตตะภิญญา ใช้คำเพียงเท่านี้ เวลาภาวนาให้กำหนดลมหายใจเข้าออก แล้วก็ทิ้งนิมิตเสีย ไม่ต้องไปใช้นิมิตในกสิณใช้โสตัตตะภิญญา อย่างเดียว คือจับกำหนดลมหายใจเข้าออกให้ถึงที่สุดเป็นฌาน ๔ เท่านั้น อภิญญาทุกอย่างก็จะรวมตัวเราจะใช้ได้ทันทีทันใดโดยไม่ต้องเลือกกสิณอะไรทั้งหมด ตามบันทึกของท่านๆก็มาทำๆ แล้วสบายใจอภิญญาทุกอย่างมันก็รวมตัว เวลาจะใช้อภิญญาก็ใช้ โสตัตตะภิญญา เห็นคำภาวนาเท่านี้ ตามบันทึกของท่านนี้ผมไม่เห็นท่านบอกว่าสงวนสิทธิ์ ในเมื่อท่านไม่สงวนสิทธิ์ ท่านก็สามารถจะทำได้ทุกคน แต่ว่าอย่าลืมว่า ท่านเจ้าของท่านทรงสมาบัติ ๘ ในเมื่อจิตทรงฌาน ๘ จะคว้าอะไรมันก็ได้ทันที ไม่เสียเวลาแม้แต่หนึ่งนาที ถ้าเรามีฌานไม่ถึงสมาบัติ ๘ เราก็ทำตามกำลังของเรา จะทำได้ไม่เท่าท่าน แต่ทำได้ใกล้ท่าน ค่อยๆทำไปก็ใกล้เข้าไปทุกที มันก็ใช้ได้เหมือนกัน ของสิ่งนี้รู้สึกว่าใครคนใดคนหนึ่งนำไปใช้แกบอกว่ามีผลดีมาก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๘) นิมิตจิตติ นิมิตจิตตา นิพพานจิตติ นิพพานจิตตา ท่านเขียนว่า พระนิพพานนิมิต ตอนที่ท่านกล่าวว่าเมื่อท่านเข้าไปในพระจุฬามณีเจดียสถาน พบองค์สมเด็จพระพิชิตมารตรัสว่า เธอนี่ควรจะเอาจิตจับพระนิพพานได้แล้ว และควรจะถือ “นิพพานนิมิต” เป็นสำคัญ นี่ความจริงควรย้อนต้นมานิดหนึ่ง ตอนก่อนผมพูดเฉพาะสิ่งที่เป็นอริยสัจเห็นว่ามีความสำคัญก็เลยเล่าสู่กันฟัง ท่านบอกว่าใช้นิพพานนิมิตท่านให้ภาวนาอย่างนี้ “นิมิตจิตติ นิมิตจิตตา นิพพานจิตติ นิพพานจิตตา” ให้ภาวนาถือนิพพานเป็นอารมณ์อย่างนี้ จิตจะมีการผูกพันพระนิพพานเป็นอารมณ์มากขึ้น แล้วก็กำลังใจของเธอไม่คลาดจากนิพพาน เมื่อกำลังใจของเธอไม่คลาดจากนิพพาน เมื่อเธอตัดพุทธภูมิมาแล้วต้องการเป็นพระสาวก ความสำเร็จของเธอจะไม่ก้าวล่วงปีนี้ไป จงกลับไปจับเอาอารมณ์นี้ให้เป็นฌานสมาบัติ ความจริงท่านวงเล็บไว้บอกว่าไม่เห็นจะยากเมื่อจำคาถามาแล้ว ในขณะนั้นก็ตั้งจิตภาวนาคือทำอารมณ์ไว้ตั้งแต่ยังไม่เอาจิตเข้าร่าง เมื่ออทิสมานกายมันยังลอยไปสู่ภพต่างๆก็ใช้อารมณ์เรื่อยไป จิตใจก็จับพระนิพพานเห็นภาพพระนิพพานใสแจ๋ว มีความมั่นใจว่านั่นแล้วคือพระนิพพาน อย่างไรๆเราตายชาตินี้เราต้องไปให้ได้ เรื่องร่างกายเรื่องทรัพย์สินไม่มีความหมายกับเรา นี่เป็นอารมณ์ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๙) คาถาปราโมทย์ ต่อมา ตามบันทึกของท่านก็ว่ามาอีกว่า องค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ให้คาถา “ปราโมทย์” โดยทรงปรารภว่า “ต่อไปเมื่อเธอภาวนาคาถา “ปราโมทย์” นี่แล้ว อะไรทุกอย่างจะเห็นชัดเจนแจ่มใส ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าเธอในเวลานี้ดูนิมิตอะไรก็ตาม เห็นอะไรก็ตามมันคลุมเครือไปหมด ถ้าใช้คาถาบทนี้แล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างจะสว่างแจ่มใสเหมือนกับพระอาทิตย์ในเวลาเที่ยง” แต่ความจริงอารมณ์แจ่มใสประเภทนี้ตามแบบจะต้องมีสำหรับองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น แต่ทว่าในตอนนี้พระพุทธเจ้าท่านสอนท่านมาอย่างนั้น ท่านไปเฝ้ามานี่ เราก็ว่ากันตามบันทึกของท่านนะ จะมาโมเมโปเปตานาอะไรกับผมไม่ได้ทั้งนั้น ถ้าใครทำได้ก็ได้ ไม่ได้ก็แล้วไป ใครได้มโนมยิทธิก็ลองสอบกันเอา เพราะมโนมยิทธิเป็นเครื่องสอบความรู้ทางพระพุทธศาสนา แล้วก็การปฏิบัตินี่ความจริงมันก็เรื่องของใครของมันเหมือนกัน จะทำเหมือนกันทุกอย่างนั้นมันไม่ได้ ก็ว่ากันต่อไปดีกว่า ว่าคาถา ปราโมทย์ ที่ทำให้สมาธิจิตมีทิพจักขุญาณแจ่มใส จะจำภาพเห็นภาพนิมิตทุกสิ่งทุกอย่างได้โดยแจ่มใสเหมือนกลางวัน คือพระอาทิตย์เที่ยงวัน ท่านว่าโดยนิมิตเปรียบเทียบปรากฏผลว่า ภาพนิมิตและการตรวจสอบใดๆจะชัดเจนขึ้น จะมีภาพแจ่มใส ท่านว่าอย่างนั้น สำหรับคาถาภานานี่ให้คำภาวนาว่า “ปราโมทย์” เฉยๆ จับลมหายใจเข้าออกเหมือนกัน แล้วก็ภาวนาว่า “ปราโมทย์ ปราโมทย์” (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐) เจริญอริยสัจ ๔ และหลังจากนั้นมา องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงสอนให้เจริญใน อริยสัจ ตามที่อธิบายมาแล้ว ผมจะเล่าตะลุย ดีไม่ดีขืนอธิบายไป ชาวบ้านชาวเมืองเสียสตางค์กันมาก อยากจะเรื่องราวของพระองค์นี้ก็ฟังคำอธิบายเสียจนเบื่อ เสียสตางค์หลายคาสเซ็ทนี่ผมไม่ชอบเหมือนกัน ไม่อยากให้ชาวบ้านเสียสตางค์มาก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐) เจริญพรหมวิหาร ๔ ทีนี้ก็มาว่ากันต่อ หลังจากอริยสัจ ท่านก็บอกในกาลต่อมาอีก องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนให้เจริญ “พรหมวิหาร ๔” เอาละซิ โดยแจ้งว่าจะทำให้การรู้การเห็นต่างๆชัดเจนดีขึ้น นี่จำได้ดีนะ ว่าท่านที่ได้ทิพจักขุญาณแล้วก็ดี ท่านที่ได้มโนมยิทธิแล้วก็ดี ที่มีอารมณ์ไม่แจ่มใสเห็นอะไรไม่ชัดเจน ว่ากันตามลำดับมา ท่านก็บอกว่าถ้าใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็นิมิตต่างๆ ถ้าจิตเราทรงพรหมวิหาร ๔ นี่เป็นอารมณ์เยือกเย็นทำอารมณ์ให้ผ่องใสได้ง่ายจริงๆเป็นของไม่ยาก การเจริญเมตตา แล้วก็ท่านบอกว่าเวลานั้นท่านตั้งกระทู้ถาม คือพระพุทธเจ้าเองท่านตั้งกระทู้ถามคือสอนแบบถามว่า “การเจริญเมตตานั้น เขาทำกันอย่างไร” แล้วท่านก็แก้ของท่านเองว่า “การเจริญเมตตาต้อง ๑. ไม่โกรธ และ ๒. ไม่ผูกโกรธ” ภายหลังต่อมาอีก ท่านสอนให้เจริญอสุภกรรมฐาน และมรณานุสสติกรรมฐาน ว่าเมื่อจิตทรงพรหมวิหาร ๔ แล้วก็ต้องเจริญอสุภกรรมฐาน เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกไม่มีอะไรสวย แล้วก็เจริญมรณานุสสติกรรม,น หมายความว่ารู้สึกนำถึงความตายอยู่เสมอ ไม่ประมาทในความตาย (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐) กรรมฐานนิมิตอันแรกให้ผล ตอนนี้ท่านหมายเหตุไว้นิดหนึ่ง ท่านหมายเหตุไว้บอกว่า กรรมฐานนิมิตองค์แรกให้ผลได้ดี องค์แรกที่ท่านวงเล็บไว้บอกว่า “อิติปิ โส วิเสเสอิ ฯ” นี่แหละกรรมฐานนิมิตอันแรกให้ผลได้ดี เป็นเหตุให้ได้ ๑. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ๒. จุตูปปาตญาณ ๓. อตีตังสญาณ ๔. อนาคตังสญาณ ๕. ปัจจุปปันนังสญาณ และ ๖. ยถากัมมุตาญาณ คือว่า ทิพจักขุญาณ ท่านมีแล้วอีตอนนี้ท่านไม่คล่องท่านว่าอย่างนั้น ท่านมีแล้วไม่คล่อง พอเกิดคล่องขึ้นมา คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ก็ได้แก่การระลึกชาติถอยหลังไปได้ไม่จำกัดระดับ เมื่อสมัยก่อนเวลาที่ระลึกชาตินี่ รู้สึกว่าทำได้ยากจริงๆมีนเหนื่อยมันหนัก แต่ว่าพอว่า “อิติปิ โส วิเสเสอิฯ” จนคล่องตัวแล้ว การระลึกชาติปั๊บเมื่อไรก็ได้ เอาชาติไหนก็ได้ จุตูปปาตญาณ รู้จักคนตายแล้วเกิดคนตายแล้วไปไหน นึกปั๊บรู้ได้ทันที เห็นคนและสัตว์ที่ปรากฏเฉพาะหน้าคิดว่า เดิมทีเขามาจากไหนมันรู้ได้ทันที ภาพปรากฏ อตีตังสญาณ รู้เรื่องราวในอดีตของคนและสัตว์ อนาคตังสญาณ รู้เรื่องราวในอนาคตต่อไปของคนและสัตว์ ปัจจุปปันนังสญาณ รู้เรื่องราวในปัจจุบันของคนและสัตว์และพื้นที่เหมือนกัน ยถากัมมุตาญาณ รู้กฎของกรรมของคนและสัตว์ที่ได้รับความสุขความทุกข์ เพราะอาศัยกรรมอะไรเป็นปัจจัย ท่านบอกว่ามันแจ่มใสแล้วก็คล่องแคล่วว่องไวดีมาก แต่ไอ้กำลังใจของท่านบอกว่ามันแจ่มไม่พอ นี่เล่นกับคนไม่พอนี่ก็ยากเหมือนกัน ไม่ยอมเชื่อตัวเองอยู่เสมอ สร้างความสงสัยคือสอบสวนตัวเองอยู่ตลอดเวลา คือว่าตลอดชาติในชีวิตของท่านนี่ ท่านไม่ยอมจะมีความรู้สึกว่าตัวของท่านเป็นคนดี แล้วสิ่งใดที่ได้มาแล้วนี้ท่านต้องพิจารณาเสมอว่ามันเป็นอุปาทานหรือเปล่า ไม่ใช่ว่าอยู่ๆก็จะไปคุยว่าฉันได้ทิพจักขุญาณจ๊ะ ฉันได้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณจ๊ะ แล้วก็มามัวเมากับโลภโมโทสัน มีความรัก ความโกรธ อิจฉาริษยา ไม่ใช่อย่างนั้น องค์นี้มีหน้าที่อย่างเดียวตั้งหน้าตั้งตาสงสัยตัวเองไว้เสมอ เกรงว่าจะคบกับความชั่วเข้ามาไว้ ฉะนั้นเวลาได้อะไร ท่านไม่ยอมเชื่อตัวของท่าน ท่านต้องสอบสวนตลอดเวลา ต่อมาท่านบันทึกไว้ว่า ในกาลต่อมากรรมฐานนิมิตที่ได้ไว้ ที่ได้ต่อมาก็ทำให้จ่มใสชัดเจนมากขึ้น นี่ต้องพิสูจน์กัน ท่านบอกว่าอยู่ๆเราจะมานั่งเชื่อตัวเองอย่างนี้น่ะมันใช้ไม่ได้ มันต้องตรวจสอบกันอยู่เสมอเอากันทุกวัน ทุกวันเวลา เวลาใดที่มีเวลาว่างต้องตรวจสอบ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐-๘๑) อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อนิจจังนี่เป็นของ ไม่เที่ยง จริงๆ ไม่ว่าจะเป็นอะไรทั้งหมดในโลกนี้ ถ้าไม่เที่ยงเราไปยึดมันเข้าแล้วมันเป็นทุกข์ต้องปล่อยตามมันๆจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน แล้วในที่สุดมันก็เป็นอนัตตา พังสลายตัวหมดอย่าไปยึดไปถือมัน อย่าไปยึดว่าจะมีอะไรเป็นเราเป็นของเราอยู่ต่อไป แม้แต่ร่างกายเรายังพัง ในเมื่อร่างกายเรายังฟังแล้วจะมีอะไรทรงอยู่อะไรมันทรงอยู่แล้วก็ตาม ถ้าหากร่างกายเราพังแล้ว เราก็ไม่มีสิทธิ์จะมายึดว่ามันเป็นเราเป็นของเรา ท่านบอกว่าต้องทำอย่างนี้จริงๆจังๆปล่อยไม่ได้ แล้วก็ต่อมา จงปล่อยความยึดมั่นจากรูปที่เห็นทางตา จงอย่ายึดว่ารูปนั้นเป็นเราเป็นของเรา ปล่อยเสียงที่ได้ยินทางหู ปล่อยกลิ่นที่ได้รับทราบทางจมูก ปล่อยรสที่รับทราบทางลิ้น ปล่อยสัมผัสที่รับทราบทางกาย ปล่อยอารมณ์ใจที่เป็นกุศล อย่าเอาเข้ามายุ่ง ฟังแล้วก็จำนะ นี่เราเรียนกันมาแล้ว นี่ท่านย่อมา ผมเห็นว่าไม่ยาก ผมก็ย่อไป ท่านก็บอกว่าปล่อยใจว่าเป็นเชื้อของเดิมมาเพราะอารมณ์ทั้งหมดเนื่องจากรูป ท่านบอกว่า ที่ต้องมาเกิดอย่างนี้ ต้องมาเป็นทุกข์อย่างนี้ เชื้อเดิมมา เพราะอาศัยรูปเป็นสำคัญ คือ อาศัยรูปทางตา อาศัยเสียงทางหู อาศัยกลิ่นทางจมูก อาศัยรสทางลิ้น อาศัยสัมผัสทางกาย อาศัยอารมณ์ใจที่เกลือกกลั้วในกามารมณ์ นี่ที่ต้องมาเกิดมาเป็นอย่างนี้ อาศัยตัณหาเป็นเจ้าเรือน ตัณหาก็คือความอยาก อยากได้รูปสวยๆ อยากได้เสียงหวานๆ อยากได้กลิ่นหอมๆ อยากได้รสอร่อยๆ อยากได้รับการสัมผัสที่พอใจ อยากได้อารมณ์ที่พึงปรารถนา ท่านบอกว่า นี่พวกนี้เป็นเจ้าเรือน ต้องทำลายไปเสียให้หมด ต้องทำให้ได้ แล้วจะรู้ผลภายในสิบวัน จำไว้นะ ใครอยากจะได้บรรลุมรรคผลเร็วๆ ละก็ปล่อยตามที่ท่านบอก จะรู้ผลภายในสิบวัน ดูซิท่านผู้เฒ่าจะทำได้ไหม ท่านบอกว่า ธรรมะของพระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมได้ผลแก่ผู้ขยัน แล้วก็ไม่มีใครอาจจะกำหนดพยากรณ์เวลาที่จะสำเร็จมรรคผลได้ ท่านมั่นใจขนาดนี้ ขยันนี่ต้องขยันถูกด้วยไม่ใช่ขยันผิด ขยันตามท่านว่านี้ ถ้าขยันจริงๆ เวลาจะทำ ทรงสมาธิให้เต็มที่ ให้จิตมันทรงตัว แล้วก็ใช้ปัญญาพิจารณา เห็นรูปทางตาไม่เป็นเรื่อง เสียงทางหูไม่ได้ความ กลิ่นทางจมูกไม่เป็นรส ว่ากันจิปาถะไปก็แล้วกัน ว่าให้เห็นว่ามันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ยึดถือปล่อยมันเสียให้หมด เสียงดีหรือเสียงเลวก็ช่าง รูปดีรูปเลวก็ช่าง กลิ่นดีกลิ่นเลวก็ช่าง รสดีรสเลวก็ช่าง สัมผัสดีสัมผัสเลวก็ช่าง อารมณ์ใจทรงไว้เฉพาะในด้านอารมณ์ที่เป็นกุศลเพียงอย่างเดียว คือตั้งไว้ในด้านสักกายทิฏฐิทำลายอสมิมานะที่ถือตัวตนว่าเป็นเราเป็นของเรา อย่างนี้สิบวันได้แน่ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙๐-๙๑) อภิญญาผลสมาบัติ ท่านบอกว่าวันนี้วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๐๖ ตรงกับวันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๘ เข้าเจริญสมณะธรรมตั้งแต่เวลา ๙.๐๐ น. ตรง วันนี้มีอารมณ์ดีเป็นพิเศษตั้งแต่เริ่มจับอารมณ์ปั๊บ อารมณ์ก็ใสสว่าง ซึ่งไม่เคยมีมาในกาลก่อน แล้วท่านพยายามทำไปตามลำดับ ผมจะพูดให้ฟังว่าการเจริญพระกรรมฐานนี่ โดยมากก่อนที่จะทำจุดปลายเขามักจะทำจุดต้น จับจุดต้นดูซิว่าจิตอารมณ์ของเราไปพร่องอยู่ตรงไหน คือ อันดับแรกท่านก็จับอานาปานสติควยกับพุทธานุสสติกรรมฐาน จิตเป็นสุขถึงที่สุดถึงฌาน ๔ ทิ้งฌาน ๔ วิ่งเข้าไปฌาน ๘ ถอยหลังลงมาจับอริยสัจ ๔ จิตสะอาดผ่องใสถอยลงมาถึงอุปจารสมาธิ จับเมตตาพรหมวิหาร ๔ จิตเข้าถึงที่สุดทันที ถอยลงมาอุปจารสมาธิ จิตจับอสุภกรรมฐาน จนกระทั่งมีความรู้สึกเป็นสุข ไม่มีความติดพันในภาพพจน์ใดๆ ถอยลงมาถึงอุปจารสมาธิเข้ามรณังสติกรรมฐาน เมื่ออารมณ์ถึงที่สุด ถอยลงมาอุปจารสมาธิจับบารมี ๑๐ ประการ แล้วถอยลงมาตัดอสมิมานะ ความถือตัวถือตน แล้วถอยลงมาจับสักกายทิฏฐิ จนกระทั่งเข้าจุดถึงขีณาสวานิยตา นี่วิธีทำเขาทำกันแบบนี้ คือไล่ตั้งแต่ต้นลงมา ว่าต้นที่ละได้แล้วมันยังเกาะจิต ถ้ายังต้องใช้เวลามากถึงข้อละสองนาทีใช้ไม่ได้ จับอารมณ์ของจุดไหนอารมณ์จิตมันโปร่งไปหมด ไม่มีอารมณ์เกาะอันนั้นใช้ได้ หรือว่าเป็นฌานทันทีใช้ได้ แล้วจึงจะจับตัวปลาย ถ้าตัวต้นยังไม่คล่องไม่ผ่องใส ยังไม่จับตัวปลาย ต้องไล่เรียงลำดับอย่างนั้นลงมา จับตามลำดับอย่างนั้นลงมาจะถึง ขีณาสวานิยตา อารมณ์ปักแน่น แล้วก็เลยแสวงหานิพพานสุขังต่อไป อารมณ์ปักแน่นก็เป็นฌานสูงสุด อารมณ์เป็นสุขจับหานิพพาน ภาวนานิพพานสุขังต่อไป ท่านบอกว่าแล้วตรวจดุอารมณ์ คราวนี้จิตท่านเป็นทิพย์นี่ ท่านก็ดูใจของท่านเองได้ ท่านก็ตรวจดูอารมณ์เห็นจิตผ่องใสเหมือนกับแก้วสะอาด แต่ว่ายังมีคลื่นนิดๆ หน่อยๆ คือยังมีไหวตัวกระเพื่อมๆ จึงรู้สึกว่าจิตนี่ยังดีไม่พอ จึงได้ถอนจิตจากนิพพานสุขขัง เอาอารมณ์เข้ามาจับจิตขีณาสวานิยตาใหม่ คราวนี้อารมณ์แจ่มใสมากแล้วกันหันเข้ามาจับนิพพานสุขัง จิตทรงตัว ตอนนี้ท่านบอกว่า มีความรู้สึกว่าเวลานี้จิตเป็นอภิญญาผลสมาบัติ อภิญญาหมายความว่า รู้ยิ่ง จิตมีอารมณ์ประเสริฐเพราะท่านเป็นผู้ได้อภิญญา ผล คือ ผลที่ตนได้มา สมาบัติ คือ เข้าถึงๆผลที่ตนฝึกอภิญญามาแล้วควบกับวิปัสสนาญาณทรงตัว เล่นแบบนี้สนุกจะตาย เพลินดีนะ ถอยหน้า ถอยหลังๆ ถอยหน้าอยู่คนเดียว อารมณ์เป็นสุข ตามบันทึกของท่าน เราตั้งใจไว้ว่าจะถอนเวลา ๑๑ น. เริ่มตั้งแต่ ๙ น. ตรง จะถอนเวลา ๑๑ น. ตรงเพื่อกินข้าวละซิ ท่านว่าตอนนี้ชักจะถอนเกือบไม่ออก ดึงเท่าไรก็ไม่ออกจิตมันปักแน่น มันก็ไม่ยอมคลายสมาธิ จิตอารมณ์เป็นทิพย์ ก็รู้สึกว่าดีใจมาก ว่ากำลังใจของเรานี่ดีพอแล้ว มีกำลังใจใหญ่พอจะสู้กับกิเลสได้ สามารถจะห้ำหั่นให้กิเลสทั้งหลายมันสลายตัวไปได้ ว่าอย่างนั้นตามที่ตนปรารถนาไว้แห่งการไม่เกิดอีก ท่านพิจารณาว่าการที่เราจะไม่ต้องเกิดอีกมันใกล้เข้ามา จำให้ดีนะ ขณะนี้ท่านมีความรู้สึกตัว ท่านว่าการที่จะไม่ต้องเกิดอีกใกล้เข้ามาแล้ว มันยังไม่ถึงจุดนั้น มันใกล้ๆ ขณะนั้นเอง ท่านบอกว่าจิตท่านเป็นทิพย์ พบหน้ากิเลสตัณหา กิเลสตัณหามันยื่นหน้าเข้ามาตั้งแต่วันวานนี้วันที่ ๑๙ วันนี้ก็พบมันอีก แต่วันนี้พบชัดมากเพราะจิตมันใสมาก เจ้ากิเลสและตัณหามันสงบนิ่งนอนเฉย นี่แสดงว่ากิเลสมันหลบไปนอนเสีย มันไม่ฟูขึ้นมาด้วยอำนาจกำลังของฌาน แต่ความจริงกิเลสนอนนี่กิเลสยังไม่หมด ถ้าเผลอเมื่อไรมันเข้ามาเมื่อนั้น เป็นอันว่าท่านมีความมั่นคงในกำลังฌานมากกว่าในวิปัสสนาญาณ พระพุทธเจ้าจึงไม่ทรงรับรองว่าเป็นพระโสดาบัน นี้ต้องระวังให้ดีนะ จิตสงบสบายแล้วก็อย่าพึ่งไปนึกว่าเราเป็นพระอริยเจ้า ให้มันถึงจริงๆเสียก่อน ใช้วิธีตรวจอารมณ์อยู่เสมอ จับหาความผิด จับหาความชั่วในอารมณ์ของจิตของตัวแล้วท่านบอกว่าให้กิเลสมันเลี่ยงไป บอกเอ็งถอยไป ไม่ใช่เรื่องของเอ็งจะมายุ่งกับฉัน ฉันไม่ต้องการ ท่านว่ามึงจงหลีกไป ท่านว่าอย่างนั้น มึงจงอย่ามายุ่งกับกู กูไม่พึงต้องการมึงอีก มึงเป็นเจ้านายบังคับกูทรมานกูมากหลายแสนหลายกัปแล้ว หลายแสนอสงขัยกัปแล้ว ต่อแต่นี้มึงกับกูไม่มีทางแล้วที่จะมาบังคับกูได้ เป็นอันว่ากูจะต้องหลีกไปหรือทำลายมึงให้พินาศไปเพื่อการเข้าพระนิพพานของกู นี่เขาใช้กันอย่างนี้ใช้กับแบบพูดกับศัตรูที่เป็นตัวสำคัญ ท่านบันทึกต่อไปว่า เราจะเข้าอภิญญาผลสมาบัติอย่างนี้ทุกวันและทุกคืน จะไม่ยอมให้จิตดวงนี้คลาดจากอภิญญาผลสมาบัติ เพื่อประโยชน์ของมหาชนทั่วไป ตามที่พระพุทธเจ้าทรงสั่ง จำให้ดีนา นี่เรื่องเล่าให้ฟัง ถ้าชอบใจก็เอาไปปฏิบัติได้ ไม่ชอบใจก็แล้วไป ไม่ได้ว่าอะไร ทำไปตามอัธยาศัยของตนนั่นแหละดี ชอบใจตอนไหนทำตอนนั้น นี่มันเรื่องเล่าให้ฟังแต่ละบุคคล (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙๔-๙๖) นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ เอตัง กาสาวัง คเหตวา ท่านพระโยคาวจรทั้งหลาย เวลานี้ท่านทั้งหลายได้พากันสมาทานพระกรรมฐานแล้ว แล้วก็สมาทานศีลแล้ว ก่อนจะฟังปฏิปทาของท่านผู้เฒ่า ก็อย่าลืมรวบรวมกำลังใจให้เป็นสมาธิพยายามคิดอยู่ว่าอะไรมันเป็นนิวรณ์ นิวรณ์ ๕ ประการ รูปร่างหน้าตามันเป็นอย่างไร ขจัดมันเสียให้หมด ทรงจิตคิดไว้เสมอว่า นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ เอตัง กาสาวัง คเหตวา ซึ่งแปลเป็นใจความว่า ข้าพเจ้าขอทำผ้ากาสาวพัสตร์เพื่อให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน สำหรับอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายก็ตั้งใจว่า เราปฏิบัติเพื่อพระนิพพาน พยายามทรงอิทธิบา ๔ ให้ครบถ้วน และทรงจรณะ ๑๕ ให้ครบถ้วน อย่างนี้ไม่มีใครเขาจะใช้คำว่า ไม่สำเร็จ ถ้าอามรณ์ของท่านทรงอย่างนี้แล้ว อะไรก็ได้ เป็นของไม่หนัก แล้วก็กรรมฐานส่วนใดที่ท่านคล่องอยู่ทำอยู่ก็ทำไปตามนั้น สำหรับปฏิปทาของท่านผู้เฒ่านี้ก็เล่าสู่กันฟังถึงว่าท่านผู้หนึ่งปฏิบัติมาแล้วเท่านั้น ท่านชอบใจตรงไหนเอาตรงนั้นไปใช้ หรือไม่ขอบใจเลย ชอบตำรับตำราที่สอนมาแล้วตรงไหนก็ใช้ตรงนั้นให้เป็นไปตามอัธยาศัยของท่าน (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๐๔) อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง วันนี้ท่านพาดหัวจ้อว่า คาถาเรียกจิต คำว่า คาถาเรียกจิต ไม่ใช่คาถาหนุ่มเรียกสาว สาวเรียกหนุ่ม ไม่ใช่อย่างนั้น เรียกจิตของตนเอง ตามบันทึกของท่านๆบันทึกย่อ ผมจะอ่านไปว่า “อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง”ท่านกล่าวว่า พระคุณท่านได้โปรดเมื่อเวลา ๒๐.๓๐น. คำว่า พระคุณท่าน ก็หมายถึง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเราก็รู้แล้วท่านบอกไว้แล้ว่า เวลาทุกขณะจิตท่านทรงอยู่อภิญญาผลสมาบัติอยู่ตลอดเวลา ฉะนั้น การเอาจิตเข้าไปเห็นใครพบกับใครมันเป็นของไม่ยาก เหมือนกับที่เรามีอาหารอยู่ในปากจะกลืนกันเมื่อไรก็ได้ อภิญญาผลสมาบัตินั้น ไม่ใช่สตางค์อยู่ในกระเป๋า ถ้าเรามีสตางค์อยู่ในกระเป๋าเราจะใช้เมื่อไรก็ได้ บางทีสตางค์ในกระเป๋าเราไม่มีที่จะซื้อกันมันก็กินไม่ได้ สำหรับท่านที่ทรงอยู่ในอภิญญาผลสมาบัติเหมือนกับอาหารที่อยู่ในปาก เคี้ยวไว้เรียบร้อยแล้ว จะกลืนเมื่อไหร่ก็ได้มันง่ายกว่ากันเยอะอย่างนี้ แล้วเวลาที่เจริญพระกรรมฐานในคืนวันที่ ๒๔ ท่านจึงได้มาโปรดเมตตาบอก ท่านบอกว่า ให้ทำให้แจ้ง ทำทุกขณะจิตที่จิตพล่าน หมายความว่าคาถาบทเมื่อกี้นี้ คาถาที่บอกว่า “อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง” ถ้าเวลาใดที่จิตเกิดอาการฟุ้งซ่านขึ้นมา ให้ทิ้งคำภาวนาอย่างอื่นเสียให้หมด กำหนดลมหายใจเข้าออก คาถานี้ตามสบายๆ กำลังของสมาธิจะรวมตัวได้รวดเร็ว จำเข้าไว้ให้ดีก็แล้วกันนะ ผมขอว่าซ้ำอีกครั้งหนึ่งว่า “อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง” แล้วอย่าย่องเอาคาถานี้ไปเรียกผู้หญิงผู้ชายเข้านะ เขาไม่มาหรอก เรียกจิตของเรา ท่านบอกว่าที่จิตมันพล่านนี่ไม่ใช่เพราะผู้หญิงเข้ามายั่ว มันพล่านเพราะโรคทางกระเพาะมันกำเริบ ร่างกายถ้าหากว่า มีโรคเบียดเบียน ประสาทมันก็ไม่ทรงตัว จิตมันพล่านได้ จงอย่าสงสัยในตัวเอง คิดว่าไปหลงใหลใฝ่ฝันในบรรดาสตรีทั้งหลายเหล่านั้น เธอมายั่วมาเย้าเป็นจริยาของมาร แต่คำว่ามารในที่นี้จงอย่าคิดว่าพวกนั้นเป็นพวกมาร ความจริงพวกนั้นเขามาตามหน้าที่ แต่ถ้าอารมณ์ของเราไม่ทรงตัวก็จงคิดว่าจิตของเรานี่แหละเป็นมาร มันมีสันดานหยาบ รู้อะไรไม่ดีทำไมจึงไปหลงใหลใฝ่ฝัน นี่ท่านว่าอย่างนั้น ท่านว่าอย่างนี้ก็ฟังของท่านไว้นะว่าผลจะเป็นอย่างไร จำไว้ให้ดี ตอนนี้ท่านบันทึกว่า “พระ” หมายถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาแล้ว ก็ทรงสั่งว่า “คืนนี้ใจมันแย่งกันนะ” คำว่า “ใจมันแย่งกัน” ก็หมายความว่าการเจริญกรรมฐาน เดี๋ยวจะภาวนาบทนั้นเดี๋ยวจะภาวนาบทนี้ เดี๋ยวจะพิจาณาอย่างนี้ ถ้าอารมณ์มันแย่งกันอย่างนี้แล้ว การบรรลุมรรคผลมันจะช้า ทำให้มันทรงตัวเรียงลำดับ การเรียงลำดับก็นับกันมาตั้งแต่ ๑. จับอานาปานสติกรรมฐานควบกับพุทธานุสสติกรรมฐาน ๒. หลังจากนั้นก็เอาจิตทรงพรหมวิหาร ๔ ๓. จับกายคตาสติ ๔. จับมรณัสสติ ๕. จับอุปสมานุสติ ๖. จับอริยสัจ ว่ากันมาตามลำดับให้จิตมันทรงตัว ท่านเรียกไว้ว่า ท่านสั่งว่าให้ทำไปตามลำดับเพราะจิตเรามันยุ่งองค์ภาวนาผ่านลำดับไม่เป็นเรื่อง แล้วก็เพ่งสังโยชน์เช้า เมื่อองค์ภาวนาผ่านลำดับมาแล้วจิตหยุด ให้เพ่งสังโยชน์ ๑๐ คือจับ สังโยชน์ ๑๐ วัดดูว่าเวลานี้สังโยชน์ ๑๐ ประการเราตัดตัวไหนไปได้แล้วบ้าง ที่ตัดได้แล้วมันทรงตัวได้ไหม ถ้ามันไม่ทรงตัวแสดงว่า เราตัดไม่ได้จริง ถ้าส่วนใดที่ทรงตัวอยู่แสดงว่าอันนั้นได้จริง นี่ท่านว่าอย่างนี้นะ จำไว้ให้ดีนะ ว่าสังโยชน์ ๑๐ นี่ต้องกำหนดไว้เสมอๆพิจารณาไว้เสมอว่า จิตของเราสามารถเอาชนะจุดไหนได้แล้ว ท่านเขียนไว้ว่าเวลาเช้ามืดนี่เป็นอันว่า ๒๔ น. ผ่านไป นี่ท่านไปเลิกเวลาไหนก็ไม่ทราบ เช้ามืดเวลา ๓ น. ก็โงเงๆ ขึ้นมาอีก เลยเป็นอันว่าคงจะนอนสัก ๑ ชั่วโมง แต่การนอนด้วยอภิญญาผลสมาบัติหรือการนอนด้วยการทรงสมาธิใช้เวลาเพียงชั่วโมงเดียว ก็ดีกว่านอนธรรมดาแปดชั่วโมง ตื่นมาก็มีความอิ่ม ขึ้นมาก็ไม่รอแล้ว เรื่องล้างหน้าไม่มี มันเสียเวลา นอกจากจะปวดอุจจาระปัสสาวะนั่นถึงจะไป ตื่นขึ้นมาปั๊บใจมันจับคำภาวนาพิจารณาอารมณ์ตัดสังโยชน์ เมื่อตื่นขึ้นมารู้สึกว่าใจยังพิจารณาสังโยชน์อยู่นี่การนอนหลับไปด้วยกำลังของสมาธิเป็นอย่างนี้เวลาหลับมันทำของมันเองด้วยแต่เราไม่รู้สึก พอตื่นมาครึ่งหลับครึ่งตื่น รู้สึกตื่นไม่เต็มตัว จิตมันพิจารณาสังโยชน์ก็ทำต่อไป (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙๐-๙๑) จงกำหนดในความไม่มีของขันธ์ห้า จงกำหนดในความไม่มีของขันธ์ห้า ให้ถือว่าขันธ์ห้ามันไม่มี มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันมีแล้วก็เหมือนกับว่าไม่มี คือไม่สนใจในมันเสียเลย แล้วก็ทุกสิ่งทั้งหมดให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” หมายความว่า ขันธ์ห้าก็ดี ธาตุทั้งหลายอย่างอื่นก็ดี มีความรู้สึกว่ามันไม่มีสำหรับเรา คำว่าให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” คือ ให้ทรงอารมณ์นี้เป็นหนึ่ง ไม่มีอารมณ์ที่สอง มีอารมณ์ที่เข้าใจว่ามีนะไม่มีอีกแล้วว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มีสำหรับเรา คือขันธ์ห้า ได้แก่ ร่างกายของเราก็ดี วัตถุธาตุทั้งหลายในโลกก็ดี ไม่มีสำหรับเรา อารมณ์ทรงอยู่อย่างนี้ ให้เป็นปรกติ เรียกว่าเป็น “เอกัคคตารมณ์” ถ้าจะหันไปดูจริงในมหาสติปัฏฐานที่เราฟังกันมาแล้วก็เหมือนกัน คือท่านไม่ได้สอนเกินอะไรกันไปเลย เว้นไว้แต่ว่าเราจะใช้อารมณ์ถูกหรือไม่ถูกเท่านั้น เป็นอันว่าวิชาความรู้ของพวกเรานี่เลยเถิด เรียกว่าท่วมเลยศีรษะไปแล้วไหนๆ แต่ว่าจะรู้จักใช้เท่านั้น บางทีก็ยังเมาอยู่ในยศฐาบรรดาศักดิ์ เมาในลาภ เมาในรูปเสียงกลิ่นรส เมาในความโกรธ เมาในขันธ์ห้า นี่เป็นอันว่าถ้ายังเมาอยู่อย่างนี้ แสดงว่าพวกเรายังเลวอยู่ขนาดหนัก ไม่ใช่ขนาดเบา แล้วก็ท่านบอกว่าให้เพ่งอารมณ์อันจะพึงเกิดจากรูป จากกลิ่น จากเสียง จากรส จากสัมผัส จากอะไรทุกอย่างทั้งหมด ตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง จมูกได้สัมผัสกลิ่น ลิ้นสัมผัสรส กายสัมผัสอารมณ์ใจ ท่านบอกว่าทั้งหมดว่าเป็นรูป ท่านย่อไว้แบบนี้ ผมอ่านไม่เข้าใจเหมือนกัน ท่านว่าทั้งหมดเป็นรูป แล้วก็ละ ว่าเป็นรูปเป็นเสียงของสภาพที่ไม่มี ท่านบอกว่าสิ่งที่เป็นรูปที่ท่านละไว้ ผมขอขยายหน่อย เป็นรูปที่มันไม่มี เสียงก็เป็นเสียงที่มันไม่มี กลิ่นก็เป็นกลิ่นที่ไม่มี รสก็เป็นรสที่ไม่มี สัมผัสก็เป็นสัมผัสที่ไม่มี มันไม่มีตรงไหน ไม่มีตรงที่มันสลายไป รูปเห็นแล้วก็ผ่านไป เสียงได้ยินแล้วก็ผ่านไปทั้งหมด อย่าเอามันเข้ามาขังไว้ในใจ มันสัมผัสประสาทแล้วก็ผ่านไป มันมีสภาพไม่มี อย่าเอาใจไปนึกว่ามันมี นี่ผมขยายความนะ ท่านบอกต่อไป นี่พระมหาโมคคัลลาน์มาสอนแทนนะ ว่า “จงไม่ยึดถือ” คือปล่อยไปเสีย ไม่ให้เกาะมันอยู่ ไม่ยินดีกับมันด้วย แล้วก็ไม่ยินร้ายกับมันด้วย ยินดีคือชอบใจ ยินร้ายคือไม่ชอบใจ มันจะไปมาอย่างไรก็ช่าง นี่อารมณ์พระอรหันต์นะ ฟังกันไว้ให้ดี ฟังแล้วก็จำ ท่านที่บันทึกไว้ฟังให้มากจุดนี้ ฟังให้มาก ฟังให้มากแล้วก็ทำให้ได้ เป็นสิ่งที่เราต้องการกัน ทำให้เป็น เอกัคคตารมณ์ คือทำให้อารมณ์ทรงอยู่อย่างนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง มันจะมีอารมณ์ชิน แล้วก็ตั้ง “อุเปกขาญาณ” ไว้ว่า คำว่า “อุเปกขาญาณ” แปลว่า วางเฉย มีความรู้สึกไว้ว่าเราจะวางอารมณ์ความเฉยไว้อยู่เสมอว่า เราจะไม่ยึดถือสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด เราจะเฉยโดยไม่ยึดถืออารมณ์อย่างนี้ไว้ แล้วทรงใจให้ผ่องใสในพรหมวิหาร ๔ โดยถือว่าสัตว์ทั้งหลายทั้งหมดควรได้รับความเมตตา ควรได้รับการสงสาร ให้ต้องใจให้ดีโดยไม่เกียจคร้าน หากไม่มีความประมาท จิตจะพ้นอาสาวะ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๑๓-๑๑๔) กำหนดใจลงในความไม่มีของปัญจขันธ์ พระมหาโมคคัลลาน์สั่งว่าให้กำหนดใจลงในความไม่มีของ “ปัญจขันธ์” “ปัญจขันธ์” ก็ได้แก่ขันธ์ห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เมื่อสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มันไม่มี มันมีก็เหมือนว่ามันไม่มี คือมันไม่มีการทรงตัว หาอะไรทรงตัวไม่ได้ มีแล้วเดี๋ยวก็พัง มีความเกิดในเบื้องต้น มีความเสื่อมไปในท่ามกลาง แล้วมีความสลายตัวไปในที่สุด รูปมันก็ปรากฏขึ้นเดี๋ยวเดียว ท่านบอกว่า ชีวิตเหมือนความฝัน รูปโฉมโนมพรรณเหมือนดอกไม้ ชีวิตของเราที่ทรงอยู่นี้มันก็เหมือนความฝัน มันมีอยู่แล้วไม่ช้ามันก็สลายตัวไป รูปโฉมโนมพรรณเหมือนดอกไม้ ดอกไม้เมื่อแรกยังตูม ต่อมามันก็แย้มที่ละน้อยๆ ในที่สุดก็พังไป สภาวะของรูปมันก็เป็นเช่นเดียวกัน เสียง กลิ่น รส และสัมผัสมันก็เหมือนกัน ท่านบอกว่าทุกสิ่งทั้งหมดนี้จงรักษาอารมณ์ให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” ว่ามันไม่มี คำว่า “ไม่มี” ความจริงมันมีแล้ว มันก็ไม่มี เพราะต่อไปมันจะพัง รูปมันทรงอยู่ได้ไม่นาน มันก็พัง เสียงที่เรามีความพอใจฟังแล้วก็หายไป กลิ่นที่สัมผัสจมูกมันกระทบแล้วก็หายไป การสัมผัสที่พึงพอใจ สัมผัสแล้วเลิกสัมผัสก็หายไป รสที่สร้างความซาบซ่านจากปลายลิ้น กลางลิ้น โคนลิ้นแล้วรสก็หายไป อย่าไปสนใจมันผ่านไปแล้วก็หมดไป ไม่ช้าร่างกายมันก็สบายตัว ท่านบอกว่าจงรักษาอารมณ์ให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” มีความรู้สึกว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มี อันนี้ก็เห็นจะได้แก่ “อากาสานัญจายตนะ” ก็เห็นจะได้ถ้าเทียบกัน อารมณ์พระนิพพาน นี่เป็นอารมณ์พระอรหันต์ตัดกิเลส “อากาสานัญจายตนะ” ที่ท่านเจริญกัน ให้เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันต้องสลายหายไปเหมือนกับอากาศ หรือว่า “อากิญจัญญายตนะ” ถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างนี่ มันไม่มีอะไรเหลือหมด มันไม่มี ไปลงกันตรงนั้น มันเข้าไป “เนวสัญญายตนะ” อารมณ์นี้มาใช้มันมีก็ทำความรู้สึกว่าเหมือนว่าไม่มี ตอนนี้ถ้าหากว่าท่านสนใจอรูปฌาน จะรู้สึกว่าง่าย เห็นทรงตัวได้ชัด (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๑๓-๑๑๔) โคตรภูของอรหัตมรรค คำว่า “โคตรภูของอรหัตมรรค” ก็หมายความว่าท่านผู้ใดที่ได้อนาคามีแล้ว กำลังปฏิบัติเพื่อเข้าถึงอรหัตมรรค ในช่วงนี้เขาเรียกว่า “โคตรภูของอรหัตมรรค” เพราะช่วงนั้นเป็นการไปสู่โคตรภูของอรหัตมรรค ที่นี้คำว่า “โคตรภูของอรหัตมรรค” จริง ๆ นั้น จะต้องเหลือตัวอวิชชาตัวเดียว อวิชชาตัวนี้ก็แนบนิ่งสนิทเกือบจะไม่มีแรง กำลังจะก้าวเข้าไปสู่ทางของอรหัตมรรคเหมือนกับคนหนึ่งยืนอยู่คร่อมลำรางเล็กๆ ขานี้ยังอยู่ฝั่งนี้ ขาโน้นเหยียบฝั่งโน้น ยังไม่ทันยกขา เป็นอันว่าเป็นโคตรภูของอรหัตมรรคยกเมื่อไรเป็นอรหัตมรรคเมื่อนั้น ท่านบอกว่าให้พิจารณาว่า ทุกสิ่งไม่มีอะไรเป็นของจริง เป็นของสมมุติทั้งหมด นี่ความจริงแล้วก็ควรจะประมวลความจำไว้ให้ดีนะ ว่าแต่ละชั้นท่านสอนอะไรแบบไหน ท่านบอกว่าให้พิจารณาว่า ทุกสิ่งเป็นของไม่มีอะไรจริง เป็นของสมมุติทั้งหมด ไม่มีอะไรแน่นอน ย่อมสบายตัวไปหมด ไม่มีอะไรเป็นที่พึ่ง ต้องพลัดพรากจากกันหมด ฟังแล้วก็คิดดูว่าร่างกายของเราเป็นนาย ก. นาย ข. ชื่อของเราเป็นนาย ก. นาย ข. มันก็สมมุติ ร่างกายของเราเป็นชายเป็นหญิง เราก็สมมุติมันมา ร่างกายมนทรงขึ้นมาแล้วมันก็ฟัง ไม่มีอะไรจะเหลือ สลายตัวหมดแล้วทุกสิ่ง ร่างกายของเราก็ดี ร่างกายของบุคคลอื่นก็ดี ทรัพย์สินทั้งหลายในโลกก็ดี มันไม่ใช่ที่พึ่งของเรา ในที่สุดเราคือจิต ก็ต้องพลัดพรากจากมันไป ...มาฟังท่านต่อไป แล้วท่านโมคคัลลาน์ก็อธิบายว่า ให้วิจัยถึงเหตุ นี่ฟังของท่านให้ดีนะ พระพุทธเจ้าท่านกล่าวอย่างนั้น ท่านสอนเพิ่มเติม ให้วิจัยถึงเหตุ เมื่อเห็นของที่เป็นรูป ให้วิจัยว่า รูปนั้นมาจากอะไร รูปตัวนี้มันมาจากอะไร รูปที่มีชีวิตมันมาจากธาตุ ๔ ธาตุ ๔ มันทำอย่างไรมันถึงจะเกิด เรามานั่งนึกว่าธาตุ ๔ นี่มันทรงตัวไหม มันทรงตัวมันเป็น นิจจังหรืออนิจจัง เป็นทุกขังหรือเปล่า ถ้าเราไปยุ่งกับมัน ร่างกายเป็นธาตุ ๔ สำหรับเรา แล้วมันก็เป็นอนัตตา ธาตุ ๔ มันสะอาดหรือสกปรก นี่ผมขยายนะ ท่านบอกว่า “คน” คนมาจากอะไร แล้วมันเป็นคนอยู่ตลอดไปไหม ธาตุ ๔ มันทรงตัวตลอดไหม คนมาจากอะไร คนมาจากคน แล้วคนที่จะเกิดเป็นคนได้ก็มาจาก กิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม มันมาจากความชั่ว การที่จะเกิดเป็นคนได้เพราะอาศัยเราคบความชั่ว กิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม จึงมาเกิดเป็นคน แล้วก็อย่าไปสนใจกับความเป็นคนต่อไปเพื่อประโยชน์อะไร ทำลายความชั่วมันเสียซิ ท่านว่าบ้านเรือนโรงมาจากอะไร ท่านบอกว่าบ้านเรือนโรงมาจากวัตถุธาตุ เป็นชิ้นเป็นอันประกอบกันเข้าเป็นบ้านเรือนโรง คนก็เหมือนกัน มาจากอาการ ๓๒ ธาตุ ๔ นี่ ก็เหมือนกัน ก็มาจากส่วนที่สิ่งที่ผสมกัน แล้วก็พิจารณาหาสภาพความเป็นจริงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างนี่มันไม่มีอะไรทรงตัว มันแตกสลายหมด ฟังแล้วก็คิด คิดแล้วก็ทำ ฟังให้มากคิดให้มาก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๓๒-๑๓๓)

วิธีละความยินดีในโลกียสุขของพระอนาคามีบุคคลธรรมวิโมกข์ อย่าทะนงตน อย่าทะนงตน คิดว่าเราเป็นคนดี ถ้าคิดว่าดีเป็นผู้วิเศษเมื่อไร เมื่อนั้นแหละกรรมใหญ่ อันตรายใหญ่จะมาถึงท่าน ที่เราเรียกกันว่าความประมาท ขอจงพยายามคุมตนไว้ตามคำแนะนำขององค์สมเด็จพระบรมโลกนาถ นั่นก็คือทรงอิทธิบาท ๔ ให้ครบถ้วน มีจรณะ ๑๕ ครบถ้วน ผมว่าเท่านี้ก็เหลือกินเหลือใช้ มีบารมี ๑๐ ครบถ้วนเท่านี้ก็เหลือแล้ว ถ้าครบเท่านี้อาการของความโลภไม่มี อาการของความทะเยอทะยานในเรื่องเพศในลักษณะของกามคุณไม่มี อารมณ์ที่จะผังไว้กับความโกรธไม่มี การที่จะยึดถืออะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มี ที่ยังมีอยู่ก็เพราะว่าเพียงแต่รับฟังไว้เฉยๆ ดีไม่ดีก็จำไว้ เอาไว้เป็นเครื่องข่มขู่คนอื่น ทะนงตนอวดว่าเป็นผู้ทรงคุณธรรมด้านปริยัติ ถ้าอารมณ์อย่างนี้เขาเรียกว่าปฏิบัติเหลว ไม่มีอะไร แดนที่จะไปก็คือ อเวจีมหานรก หรือว่า โลกันตนรก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๒-๓) อย่าสนใจร่างกาย พระพุทธเจ้าตรัสว่า “เธอทั้งหลายจงอย่าสนใจร่างกายของตนเอง จงอย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น จงอย่าสนใจในทุกสิ่งทุกอย่างในโลก เพราะว่าสิ่งทั้งหลายในโลกนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ร่างกายถ้าเป็นเราจริงมันก็ทรงสภาพอยู่ตลอดกาลตลอดสมัย แต่ทว่าร่างกายของเราเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ไม่ทรงสภาพ ในที่สุดมันก็เข้าขั้นสลายตัว เมื่อเราจะต้องตาย ทรัพย์สมบัติของเราทั้งหลายในโลกมันก็ไม่ตามเราไป แม้แต่ร่างกายที่เรารักที่สุดมันก็ไม่ตามเราไป มันคงจมอยู่ในพื้นปฐพีเป็นปรกติ” อย่างนี้องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแนะนำให้คิดไว้อยู่เสมอ อย่าเผลอไปในด้านความโลภ อย่าเผลอไปในด้านความทะเยอทะยาน อย่าเผลอให้จิตใจมีความโกรธ ความพยาบาท อย่าเผลอให้ความนึกคิดว่านั่นเป็นเราเป็นของเรา อารมณ์อย่างนี้องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงต้องการ ฉะนั้น ขอทุกท่านจงรักษากำลังใจอย่างนี้ไว้เป็นปกติ ถ้าหากว่าใจของท่านกระสับกระส่าย จงรักษาอานาปานสติกรรมฐาน มีกำหนดรู้ลมหายใจเข้าออกให้ทรงตัว ยังไม่ต้องคิดอะไรทั้งหมด กำหนดจิตรู้เฉพาะลม หายใจเข้าหายใจออกเท่านั้น หายใจเข้ายาวหรือสั้น หายใจออกยาวหรือสั้นรู้อยู่ถ้าทำอย่างนี้อารมณ์จิตของท่านจะไม่ฟุ้งซ่าน (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘) พิจารณาร่างกาย องค์สมเด็จพระจอมไตรได้ทรงแนะนำบรรดาพระภิกษุทั้งหลายว่า “ภิกขเวดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย เมื่อท่านปฏิบัติร่างกายของท่าน พิจารณาร่างกายของท่าน ใคร่ครวญขยายออกกระจายออกคือ พิจารณาอันดับแรกเป็นธาตุสี่ ว่าร่างกายของเรานี้เป็นธาตุดิน ธาตุลม ธาตุไฟ ธาตุน้ำ มันประกอบเข้ามาเป็นร่างกาย เรามีความเข้าใจว่า ร่างกายเป็นแท่งทึบ แต่ความจริงหาเป็นเช่นนั้นไม่ ร่างกายของเราแบ่งออกเป็นอาการสามสิบสอง มีผม ขนเล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เป็นต้น ทั้งหมดนี้รวมเข้าแล้วเป็นร่างกาย แต่ทว่าร่างกายเหล่านี้มันเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก มันเต็มไปด้วยความ อนิจจัง คือหาความเที่ยงไม่ได้ มันเต็มไปด้วยทุกขัง คือเต็มไปด้วยความทุกข์ไม่มีความสุข มันเต็มไปด้วยอนัตตา คือมันสลายตัวไปทีละน้อยๆ ทุกเวลาที่เคลื่อนที่ไป เธอทั้งหลายจงอย่าสนใจในร่างกายของเธอ จงอย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น จงอย่าสนใจในทรัพย์สินทั้งหลาย จงทำลายความรักในเพศด้วยอำนาจอสุภสัญญา จงทำลายความโลภด้วยการตัดความอยากได้ด้วยการให้ทาน อย่าทะเยอทะยานในทรัพย์สินที่ไม่ใช่ของดี เป็นปัจจัยในเราเวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสาร อย่าสนใจในความโกรธ ความพยาบาท ในบุคคลทั้งหลาย ใครเขาจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา เขาจะนินทาว่าร้ายว่าเรา ถ้าบังเอิญเราเป็นคนดีก็ไม่เลวไปตามคำพูด ถ้าเขาสรรเสริญว่าเราดี ถ้าเราเลวเราก็ไม่ดีไปตามคำพูด ความดีและความชั่วอยู่ที่ความประพฤติปฏิบัติเป็นสำคัญ ถ้าเราประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ใครจะว่าดีว่าเลวก็ช่าง อย่าสนใจทั้งสองประการ เราปฏิบัติตามคำแนะนำขององค์สมเด็จพระพิชิตมารเท่านั้นเป็นพอ” เป็นว่าองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนอย่างนี้ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘) สังขารุเปกขาญาณ กำลังใจของเราจะทรงได้ดีจริงๆ ต้องน้อมใจของเรานี้ฝึกไปด้วยปัญญาพิจารณาหาความจริง จิตใจตั้งอยู่ในสังขารุเปกขาญาณ นั่นก็คือมีอาการวางเฉยตามสภาวะของสังขาร คือร่างกายและทุกสิ่งทุกอย่างในโบก มีความรู้ตามความเป็นจริงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นอนิจจัง คนเป็นอนิจจัง วัตถุในโลกก็เป็นอนิจจัง คำว่า “อนิจจัง” แปลว่า มันไม่เที่ยง เรารู้ตามความเป็นจริงของมันว่ามันไม่เที่ยง ในเมื่อมันไม่เที่ยง เรายอมรับนับถือความไม่เที่ยงของมัน มีความรู้สึกอยู่เสมอว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกหาอะไรเที่ยงไม่ได้ แต่ว่าเมื่อมันไม่เที่ยง เราก็ทำใจของเราให้เที่ยง มันเที่ยงตรงไหน เที่ยงตรงที่มันมีความรู้สึกตามกฎของธรรมดาอยู่เสมอว่า ร่างกายก็ วัตถุธาตุก็ดี ที่เกิดมาในโลกนี้มันไม่เที่ยง มันมีความเกิดขึ้นในเบื้องต้น และมีความแปรปรวนไปในท่ามกลาง มีความแตกสลายตัวไปในที่สุด (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙) ความตายเป็นของเที่ยง ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง ความตายเป็นของเที่ยง ชีวิตเป็นของไม่เที่ยง จงจำไว้ให้ถึงที่สุด เมื่อจำไว้ทุกวัน ลืมตาขึ้นมาเช้ามีความรู้สึกไว้เสมอว่า เราอาจจะไม่ได้กินข้าวเข้า อาจจะตายก่อนก็ได้ ความตายไม่มีนิมิต ความตายไม่มีเครื่องหมาย ถ้าเราตายเลว ก็ดูตัวอย่างสัตว์ในอบายภูมิ มีนรกและเปรตเป็นต้น ก่อนจะตายถ้าเราทำความดี นั่นก็เป็นเรื่องที่เราจะฟังต่อไปข้างหน้าในเรื่องวิมานวัตถุ จะเห็นผลมีความสุข ถ้าเป็นมนุษย์ก็เป็นมนุษย์ที่เต็มไปด้วยทรัพย์มีความสุข ถ้าเป็นเทวดาก็เป็นเทวดาที่มีความสุขสมบูรณ์ ไม่ต้องเป็นเปรตไปก่อนแล้วจึงเป็นเทวดา (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๒๘) เห็นกระดูกลอยมา ท่านกล่าวว่า สมัยที่ท่านได้อสุภสัญญา เห็นกระดูกลอยมาและก็พิจารณาเห็นคนทั้งหมด สัตว์ทั้งหมดเป็นกระดูก ก็จับกระดูกเป็นภาพนิมิต จนกระทั่งจิตทรงด้วยฌาน ๔ เป็นอันว่าอสุภกรรมฐานที่เขาบอกว่าเป็นกรรมฐานพิจารณา ทรงจิตไว้อย่างสูงแค่ปฐมฌานเขาว่ากันอย่างนั้น แต่ในทางปฏิบัติจริง ถ้าเราฉลาดเราก็เอาปฐมฌานมาเป็นฌานเสียอย่างสบายๆถึง ฌาน ๔ อัฏฐิกัง ปฏิกุลัง ท่านผู้เฒ่าท่านเล่าให้ฟังว่า ท่านจบเอาอสุภทั้งหมด เมื่อได้ “อัฏฐิกัง ปฏิกุลัง” แล้ว ท่านก็ไล่เบี้ยไปเลยตั้งแต่ ๑ ถึง ๑๐ จับภาพไปเลยให้จิตทรง มันเน่าแบบไหน มันเหม็นแบบไหน มันเละแบบไหน มันขึ้นแบบไหน มันพองแบบไหน ท่านทำเป็นฌาน๔ ได้หมดทุกอสุภ ๑๐ อย่าง จิตใจทรงตัว เห็นคนเมื่อไหร่ เห็นสัตว์เมื่อไหร่ เน่าหมด เห็นวัตถุธาตุต่างๆ เห็นโครงกระดูกไม่มีความติดในความสวยสดงดงาม แต่ว่าเวลานั้นเป็นเรื่องของสมถภาวนา เวลานั้นความรู้สึกในระหว่างเพศไม่มี เห็นคนเน่าๆ เห็นสัตว์เน่าๆ เห็นคนเป็นกระดูก มีสภาพน่าเกลียด แต่จิตยังไม่น้อม ไปในด้านวิปัสสนาอย่างสูง มัวเล่นแต่สมถภาวนาธรรมดา เห็นว่าเน่า เห็นว่าเหม็น เห็นว่าน่าเกลียด เห็นว่าโสโครก นี่เป็น สมถภาวนา ถ้าเป็นวิปัสสนาต้องพิจารณาเห็นความเสื่อมความโทรมของร่างกาย มีสภาพไม่เที่ยง เสื่อมไปทีละเล็กทีละน้อย แล้วในที่สุดมันก็สลายตัว จิตไม่เข้าไปยึดไปถือ ท่านบอกว่าเวลานั้นอารมณ์วิปัสสนาญาณท่านมีนิดหน่อย เล่นเฉพาะสมถภาวนาให้มันช่ำใจเพราะความเข้าใจผิด ตามบันทึกท่านบอกว่า ถ้าเราคิดควบกับวิปัสสนาเสียเวลานั้น ความจริงท่านบอกว่าหลวงพ่อปานก็สอนวิปัสสนา แต่ว่าท่านเป็นคนใจเดียว ถ้าจะเอาอะไรเอาให้มันฟังไปเป็นด้านๆ ถ้าไม่ได้ยอมตายเสียดีกว่า ขึ้นชื่อว่าไม่สามารถในชีวิตนี้จะไม่มีเป็นอันขาดสำหรับท่าน ท่านรู้สึกว่ามีกำลังใจเด็ดเดี่ยวมาก ในสมัยกำลังเล่นอนุภกรรมฐาน แล้วก็มีวิปัสสนาญาณเจือปนนิดหน่อยกันฌานเสื่อม สิ่งที่เป็นศัตรูกับอารมณ์อย่างนี้มันก็เกิด นั่นก็คือ อิสตรีที่เป็นเพศตรงกันข้าม สตรีก็ระวังบุรุษ ถ้าบุรุษก็ระวังสตรีจะเข้ามาเล้าโลมด้วยเหตุต่างๆ มาติดต่อสร้างความสัมพันธ์ในฐานะที่อยากจะเป็นคนรักด้วย ดีไม่ดี แก่ก็พูดเปิดเผยชวนรักชวนแต่งงาน แต่ต้องระวัง และจงอย่าไปโทษใครเขา เราไปหลงละเมอในคำป้อยอทั้งหลายเหล่านั้น คำชักชวน ความดีของเรามันจะด้วน ฌานจะสลายตัว (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๒๙) การเป็นพระโสดาบัน การเป็นพระโสดาบันก็ดี การเป็นพระสกิทาคา อนาคา อรหันต์ก็ดี เขาศึกษากันตัวเดียวคือ สักกายทิฏฐิ เมื่อตัดสักกายทิฏฐิได้ตัวเดียวก็เป็นพระอรหันต์ แต่ทว่าตอนที่จะตัดสักกายทิฏฐิเธอจงปฏิบัติตามนี้นะ ก่อนที่จะใช้อารมณ์วิปัสสนาญาณ อันดับแรก เข้าฌานให้ถึงที่สุดที่เธอทรงได้ เข้าฌานออกฌานสลับกันมาสลับกันไปให้มันมีความทรงตัว แล้วทำจิตใจให้ทรงในฌานให้แนบสนิททรงตัวมีความสุขที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเฮะทั้งหมดได้สมาบัติแปดมาแล้ว แล้วก็ศึกษาด้านอภิญญามาแล้วอย่างนี้เป็นของไม่ยาก ในด้านวิปัสสนาญาณ ใช้กำลังสมาบัติแปดเป็นกำลังใหญ่ ทรงใจห้ทรงตัวแล้วถอยหลังไปถึงอุปจารสมาธิ พิจารณาขันธ์ ๕ มันเป็นภัยสำหรับเรา เป็นวัตถุธราตุที่สร้างด้วยทุกข์สร้างด้วยโทษไม่มีอะไรเป็นปัจจัยของความสุข มองดูขันธ์ ๕ คือร่างกาย เราต้องเลี้ยงมันเท่าไร มันชอบอะไรเราให้มันกินทั้งหมด แต่เราไม่ต้องการจะป่วยมันก็ยังขืนป่วย เราไม่ต้องการจะเพลียมันก็เพลีย เราไม่ต้องการจะแก่อย่างฉันนี่ ฉันไม่เคยต้องการให้มันแก่มันก็แก่ คนที่เขาตายไปก่อนเรา เขาไม่ต้องการตายมันก็ตาย ในเมื่อขันธ์ ๕ มันเลวทรามอย่างนี้จะคนค้าสมาคมกับมันเพื่อประโยชน์อะไร อันดับแรก จับจุดความเป็นพระโสดาบัน ระงับความพอใจในขันธ์ ๕ เสีย คิดว่ามันจะตายเสมอ แล้วทรงศีลให้บริสุทธิ์ ศีลควรทำเป็นศีลานุสสติกรรมฐาน ทรงศีบให้เป็นกำลังฌาน คำว่า เป็นกำลังฌาน ก็คือทรงอารมณ์อยู่ในศีลตลอดวันตลอดคืน ไม่ยอมให้ศีลบกพร่องจากใจ ไม่ใช่ว่าต้องไปนั่งหลับตาปี๋ เดินไปเดินมาเลี้ยงหมูเลี้ยงหมา คุยกับหมาคุยกับแมว ศีลทรงตัวใช้ได้ เจอหน้าคนเขา ด่าคนเขา ว่าเขา นินทาศีลไม่ด่างใช้ได้ น้อมใจเคารพในคุณพระรัตนตรัย ๓ ประการ คือทรงพระกรรมฐาน ๓ อย่าง ให้ฌานคือ พุทธานุสติ ธัมมานุสสติ สังฆานุสสติ ให้ทรงตัว ความจริงสิ่งทั้งหลายเหล่านี้เธอทรงได้หมดแล้วนี่ จะต้องมานั่งสอนอะไรกัน เว้นไว้แต่จิตอย่างเดียว คือ อารมณ์พระนิพพาน เธอยังไม่มั่นใจเท่านั้นเพราะฉะนั้นจงตัดสินใจทรงอุปสมานุสสติให้ทรงตัว (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๕๓) อย่าลืมคุมกำลังใจให้เป็นสมาธิ สำหรับการแนะนำในการเจริญพระกรรมฐานในวันนี้ จะขอนำปฏิปทาท่านผู้เฒ่ามาเล่าสู่กันฟัง เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติหรือการทรงกำลังใจ แต่ทว่าบรรดาท่านพุทธศาสนิกชนทั้งหลายหรือว่าพระโยคาวจรทุกท่าน อย่าลืมคุมกำลังใจให้เป็นสมาธิ เรื่องการรักษาอารมณ์ให้เป็นสมาธินี่มีความสำคัญมาก โดยเฉพาะอานาปานสติกรรมฐานนี่ให้ทรงตัว แล้วก็จริต ๖ ประการ ใคร่ครวญอยู่เสมอ จงอย่าเป็นผู้ยอมแพ้นิวรณ์ นี่อันดับต้น ถ้าอันดับต้นเรายอมแพ้นิวรณ์ เราก็ไม่อาจจะทรงฌานได้ แล้วก็จงอย่าเป็นผู้ยอมแพ้กิเลส ถ้าเรายอมแพ้กิเลสแล้ว เราก็ไม่สามารถเป็นพระอริยเจ้าได้ คุณธรรมที่เป็นเครื่องบำรุงใจ ดูตัวอย่างท่านมหาบาลที่ผ่านมาแล้ว ใช้กำลังใจส่งนนี้ให้เหมือนท่าน จงคิดว่าท่านเป็นฆราวาส ท่านเป็นกฎุดพี หรือว่าเป็นเศรษฐีมีทรัพย์มาก ท่านยังสามารถตัดสินใจอย่างนั้นได้ แล้วก็เรา ถ้าจะกล่าวกัน ท่านมีกี่นิ้ว เรามีกี่นิ้ว หรือว่าท่านมีรูปร่างลักษณะอย่างไร มีอาการสามสิบสามหรือสามสิบห้า ความจริงท่านก็มีอาการสามสิบสองเป็นร่างกายเท่ากับเราเราก็มีกาอากรสามสิบสอง ท่านกินข้าว เราก็กินข้าว ท่านเป็นคนเราก็คน ถ้าหากว่าท่านเป็นคนดีได้ เราเป็นคนดีไม่ได้ เรามันก็เลวเกินไป (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๕๖) ถ้าทำไม่ได้ยอมตายเสียดีกว่า ในเมื่อท่านปฏิบัติความดีมีความตายเป็นเดิมพัน ทั้งนี้ก็หมายความว่า ถ้าทำไม่ได้ยอมตายเสียดีกว่า อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์บอกไว้ด้วยถึงแม้ว่าเวลานั้นจะไม่ได้อรหันต์ แต่ต้องได้อรหันต์แน่ถ้าท่านคิดอย่างนั้น อะไรบ้างที่ท่านยอมให้บกพร่อง ภารกิจหน้าที่ทั้งหมดที่เป็นคันถธุระทุกอย่างทั้งทางด้านวิชาการและการงานไม่ยอมให้บกพร่อง เพราะถือว่าจะต้องมีอารมณ์จิตเข้มข้น ไม่ใช่จะมานั่งภาวนาอย่างเดียวให้เป็นอรหันตผล อันนี้มันไม่ได้เพราะอารมณ์ใจไม่มีการสัมผัสกับฝ่ายที่เป็นตรงกันข้าม ไม่มีการต่อสู้ ทั้งนี้เพราะว่า รู้ตัวอยู่ว่าคนที่หลีกเลี่ยงจากคันถธุระ หลีกเลี่ยงจากโลกธรรม เวลาอยู่คนเดียวสงบสงัด แต่เวลามาสัมผัสกับโลกธรรมเข้า จิตปลิวหวอย ตั้งสติไม่อยู่ ถ้าเราจะทำบ้างทำอย่างไร เริ่มจับจุดเช้ามืด ทรงอารมณ์สมาธิให้สูงสุดที่มันจะสูงได้ ทรงให้นานเท่าไรได้ก็ยิ่งดี อย่ารีบถอน เวลาคลายมาแล้วจิตตั้งอยู่ในอุปจารหรือปฐมฌานอยู่ตลอดทั้งวัน ถ้าอารมณ์จะซ่านหลบเข้าสู่ที่สงัดนิดหนึ่งทำจิตให้ทรงอารมณ์จุดสูงสุดเท่าที่จะทำได้ จะทำงานทำการอะไรอยู่ก็ตาม ไอ้สมาธิอย่าไปนั่งขัดสมาธินั่งพับเพียบอยู่เสมอ มันไม่มีผล มันต้องการได้ทุกขณะ แม้แต่กิจการงานที่เราทำอยู่ให้จิตมันทรงอยู่ในอารมณ์ของความดีอยู่ในขั้นอุปจารหรือปฐมฌาน วันทั้งวันอย่างนี้ความเป็นพระอรหันต์มันไม่ใช่จะเป็นของยาก ถ้าภายหลังจะบอกว่าง่ายเหลือเกิน เวลาจิตจะคลายจากสมาธิก็จับวิปัสสนาญาณตามที่ศึกษามาแล้ว เราศึกษามาจนท่วมหัวแล้ว ไม่ใช่แค่พอดี ถ้าจิตมันฟุ้งซ่านอีกที ทิ้งวิปัสสนามาจับอารมณ์สมาธิสลับกันไปสลับกันมาอย่างนี้ ความดีมันก็จะปรากฏ คำว่า “ทุกข์” ที่องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนท่านผู้เฒ่า มันเป็นของไม่ยากสำหรับเราจะเอาดี แต่ว่าน่าสลดใจอยู่นิดนะ บางทีเดินไปเดินมา เห็นพระบางทานเก็บตัวมากเกินไปก็น่าสงสาร คำพยากรณ์ใดๆ จงอย่าคิดว่ามันจะได้ตามคำพยากรณ์นะ ถ้าไม่ปฏิบัติตนอย่างดีมันจะไม่ได้อะไรเลยเพราะเราหมกมุ่นเกินไป (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๖) คาถามงกุฎพระพุทธเจ้า เป็นอันว่าวันนี้ขอย้อนต้นนิดหนึ่ง ท่านบอกว่าในสมัยหนึ่ง มีคนเขามาหาท่านแล้วเขาส่งหนังสือมาให้ เวลานั้นเป็นเวลาค่ำ ท่านบอกว่าค่ำๆอย่างนี้อ่านหนังสือไม่ออก จะต้องจุดไฟ แล้วก็ใช้กระแสไฟอ่าน พอตกเวลากลางคืนก็ปรากฏว่าเวลาที่เจริญพระกรรมฐาน ก็ใช้กำลังของอภิญญายกจิตโดยใช้ มโนมยิทธิ ไม่ใช่ใช้อภิญญาใหญ่ ขึ้นไปนมัสการองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาที่จุฬามณีเจดียสถาน พอไปถึงก็กราบองค์สมเด็จพระพิชิตมาร พอเงยหน้าขึ้นท่านก็บอกว่า “ตามธรรมดาพระนี่ ถึงแม้ว่าไม่มีแสงไฟก็ควรจะอ่านหนังสือออก” ตามบันทึกของท่านก็ถามว่า “ทำอย่างไรจึงจะอ่านออกพระพุทธเจ้าข้า” ท่านบอกว่า “ทิพจักขุญาณของเธอมีแล้ว แต่อาศัยที่เป็นผู้ปรารถนาพุทธภูมิมาเดิม ทิพจักขุญาณจึงไม่แจ่มใสเหมือนพระอริยเจ้า ฉะนั้น เพื่อจะให้ความแจ่มใสเกิดขึ้นเห็นภาพชัด ควรปฏิบัติแบบนี้ ควรใช้คาถานี้ไปภาวนาจนเป็นฌานสมาบัติ” เรื่องฌานนี่มันเรื่องเล็ก ท่านบอกว่า จะคว้าอะไรขึ้นมา มันก็เป็นฌานทันทีเพราะมีการคล่องอยู่แล้ว คาถาก็เห็นจะเป็น มงกุฎพระพุทธเจ้า ท่านบอกว่าอย่างนี้ “อิติปิ โส วิเสเสอิ อิเสเส พุทธะนาเมอิ อิเมนา พุทธะตัง โสอิ อิโสตัง พุทธะ ปิติอิ” ท่านกล่าวว่า “คาถานี้ถ้าไปเรียนและภาวนาทำให้เป็นฌาน นิมิตต่างๆจะมีอาการแจ่มใส คนที่ตาไม่ดีก็อ่านหนังสือออกได้ หรือว่าเวลามืดๆ ก็สามารถจะมองเห็นหนังสือได้ และมองเห็นทุกสิ่งทุกอย่าบงได้ตามความประสงค์ ถ้าใช้คาถานี้เป็นฌาน” ท่านว่าอย่างนั้น เป็นอันว่าท่านย้ำมาว่าไอ้มืดๆ มันก็อ่านหนังสือออก และท่านบอกว่าท่านก็มาทำ มาทำมันก็ไม่นานใช้เวลาเพียงครู่เดียว จิตก็เข้าถึงฌาน ๔ ทรงฌาน ๔ สยายๆ ก็เลยว่ากันถึงฌาน ๘ ถึงฌาน ๘ ก็หลบลงมาฌาน ๔ ในรูปฌาน ทำไปทำมาก็เลยลองหลับตาอ่านหนังสือ ก็เห็นอ่านออก แต่ว่าวิธีนี้ท่านบอกว่าจะใช้ทั่วๆไปไม่ได้ เอาไว้แต่เมื่อมันจำเป็น ถ้าจำเป็นจริงๆ ไม่ต้องหยิบหนังสือมา เป็นแต่เพียงนึกว่าจะอ่านหนังสือ มันก็มีความเข้าใจว่าหนังสือฉบับนั้นเขาว่าอย่างไร วงเล็บของท่านมีไว้บอกว่า ใครอ่านแล้วถ้าทำได้ จงอย่าทำตนเป็นผู้วิเศษ เมื่อเวลาอ่านหนังสือต่อหน้าคน ถ้ามันอ่านไม่ออกจริงๆ ก็ใช้ไฟใช้แว่นส่อง ถ้ามันจำเป็นจริงๆก็เอาจิตจับจากภาพหนังสือนั้นเสีย ใช้ใจอย่างเดียวก็อ่านหนังสือออก นี่เป้นวิธีปฏิบัติของท่าน (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๘) คาถา อิติปิ โสฯ ต่อมาท่านกล่าวว่าท่านได้ “เจริญพระพุทธอารมณ์” ต่อมาท่านเจริญพระพุทธคุณทั้งบท พระพุทธคุณทั้งบทก็คือ “อิติปิ โส ภควา” หมดเลย ความจริงท่านว่าทั้งบท ท่านบอกว่าพุทธคุณทั้งบทนี่ก็ไม่ถูกผมค้านะ ท่านบันทึกไว้อย่างนี้ท่านบอกว่า ท่านเล่น “อิติปิ โสฯ” ทั้งบท ท่านว่ามันสบายใจดีจนกระทั่ง จิตเป็นฌาน ๔ รู้สึกว่าเป็นสุข จนกระทั่งถือรูปพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ว่า “อิติปิ โสฯ” ไปด้วย เอาจิตจับรูปพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ไปด้วย แต่ตอนนี้ผมไม่เห็นท่านอธิบายไว้ท่านว่าอย่างไรก็ว่าอย่างนั้น ท่านว่าทำไปคาถาสั้นก็ทำเป็นฌานได้ คาถายาวก็ทำเป็นฌานได้ “อิติปิ โสฯ” ทั้งบทก็ทำเป็นฌานได้ไม่เห็นจะมีอะไรเป็นสำคัญ ถ้าใจมันเป็นฌานเสียแล้ว ฟังของท่านไว้นะ ความรู้ต่างๆ ของท่านเรียนกันมาแล้วนี่ ผมก็ว่าตามแบบแล้วจะเล่าให้ฟัง ตอนไหนที่มันสมควรสำหรับท่าน ท่านก็เอาไปใช้ ตอนไหนที่ไม่สมควรก็ไม่ต้องนำไปใช้ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๘) คาถา อภิญญารวม ท่านกล่าวว่าท่านได้พบองค์สมเด็จพระจอมไตรที่พระจุฬามณีเจดียสถาน องค์สมเด็จพระพิชิตมารทรงตรัสว่า สัมภเกสี สำหรับอภิญญาที่เธอได้ เวลาที่เธอจะใช้ก็ต้องจับกสิณนั้น กสิณนี้ ใช้จิตอย่างนี้ช้าไปหน่อย แต่ความจริงเขาใช้อภิญญากันจริงๆ เขาใช้อารมณ์เรียกว่า เขาจับอภิญญารวม คำว่า อภิญญารวมนี่นึกถึงอภิญญาสมาบัติ คือนึกถึงอารมณ์กสิณทั้งหมดว่าเราต้องการอะไร แล้วก็ให้ภาวนา ภาวนาย่อๆว่า โสตัตตะภิญญา ใช้คำเพียงเท่านี้ เวลาภาวนาให้กำหนดลมหายใจเข้าออก แล้วก็ทิ้งนิมิตเสีย ไม่ต้องไปใช้นิมิตในกสิณใช้โสตัตตะภิญญา อย่างเดียว คือจับกำหนดลมหายใจเข้าออกให้ถึงที่สุดเป็นฌาน ๔ เท่านั้น อภิญญาทุกอย่างก็จะรวมตัวเราจะใช้ได้ทันทีทันใดโดยไม่ต้องเลือกกสิณอะไรทั้งหมด ตามบันทึกของท่านๆก็มาทำๆ แล้วสบายใจอภิญญาทุกอย่างมันก็รวมตัว เวลาจะใช้อภิญญาก็ใช้ โสตัตตะภิญญา เห็นคำภาวนาเท่านี้ ตามบันทึกของท่านนี้ผมไม่เห็นท่านบอกว่าสงวนสิทธิ์ ในเมื่อท่านไม่สงวนสิทธิ์ ท่านก็สามารถจะทำได้ทุกคน แต่ว่าอย่าลืมว่า ท่านเจ้าของท่านทรงสมาบัติ ๘ ในเมื่อจิตทรงฌาน ๘ จะคว้าอะไรมันก็ได้ทันที ไม่เสียเวลาแม้แต่หนึ่งนาที ถ้าเรามีฌานไม่ถึงสมาบัติ ๘ เราก็ทำตามกำลังของเรา จะทำได้ไม่เท่าท่าน แต่ทำได้ใกล้ท่าน ค่อยๆทำไปก็ใกล้เข้าไปทุกที มันก็ใช้ได้เหมือนกัน ของสิ่งนี้รู้สึกว่าใครคนใดคนหนึ่งนำไปใช้แกบอกว่ามีผลดีมาก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๘) นิมิตจิตติ นิมิตจิตตา นิพพานจิตติ นิพพานจิตตา ท่านเขียนว่า พระนิพพานนิมิต ตอนที่ท่านกล่าวว่าเมื่อท่านเข้าไปในพระจุฬามณีเจดียสถาน พบองค์สมเด็จพระพิชิตมารตรัสว่า เธอนี่ควรจะเอาจิตจับพระนิพพานได้แล้ว และควรจะถือ “นิพพานนิมิต” เป็นสำคัญ นี่ความจริงควรย้อนต้นมานิดหนึ่ง ตอนก่อนผมพูดเฉพาะสิ่งที่เป็นอริยสัจเห็นว่ามีความสำคัญก็เลยเล่าสู่กันฟัง ท่านบอกว่าใช้นิพพานนิมิตท่านให้ภาวนาอย่างนี้ “นิมิตจิตติ นิมิตจิตตา นิพพานจิตติ นิพพานจิตตา” ให้ภาวนาถือนิพพานเป็นอารมณ์อย่างนี้ จิตจะมีการผูกพันพระนิพพานเป็นอารมณ์มากขึ้น แล้วก็กำลังใจของเธอไม่คลาดจากนิพพาน เมื่อกำลังใจของเธอไม่คลาดจากนิพพาน เมื่อเธอตัดพุทธภูมิมาแล้วต้องการเป็นพระสาวก ความสำเร็จของเธอจะไม่ก้าวล่วงปีนี้ไป จงกลับไปจับเอาอารมณ์นี้ให้เป็นฌานสมาบัติ ความจริงท่านวงเล็บไว้บอกว่าไม่เห็นจะยากเมื่อจำคาถามาแล้ว ในขณะนั้นก็ตั้งจิตภาวนาคือทำอารมณ์ไว้ตั้งแต่ยังไม่เอาจิตเข้าร่าง เมื่ออทิสมานกายมันยังลอยไปสู่ภพต่างๆก็ใช้อารมณ์เรื่อยไป จิตใจก็จับพระนิพพานเห็นภาพพระนิพพานใสแจ๋ว มีความมั่นใจว่านั่นแล้วคือพระนิพพาน อย่างไรๆเราตายชาตินี้เราต้องไปให้ได้ เรื่องร่างกายเรื่องทรัพย์สินไม่มีความหมายกับเรา นี่เป็นอารมณ์ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๗๙) คาถาปราโมทย์ ต่อมา ตามบันทึกของท่านก็ว่ามาอีกว่า องค์สมเด็จพระบรมโลกเชษฐ์ให้คาถา “ปราโมทย์” โดยทรงปรารภว่า “ต่อไปเมื่อเธอภาวนาคาถา “ปราโมทย์” นี่แล้ว อะไรทุกอย่างจะเห็นชัดเจนแจ่มใส ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าเธอในเวลานี้ดูนิมิตอะไรก็ตาม เห็นอะไรก็ตามมันคลุมเครือไปหมด ถ้าใช้คาถาบทนี้แล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างจะสว่างแจ่มใสเหมือนกับพระอาทิตย์ในเวลาเที่ยง” แต่ความจริงอารมณ์แจ่มใสประเภทนี้ตามแบบจะต้องมีสำหรับองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเท่านั้น แต่ทว่าในตอนนี้พระพุทธเจ้าท่านสอนท่านมาอย่างนั้น ท่านไปเฝ้ามานี่ เราก็ว่ากันตามบันทึกของท่านนะ จะมาโมเมโปเปตานาอะไรกับผมไม่ได้ทั้งนั้น ถ้าใครทำได้ก็ได้ ไม่ได้ก็แล้วไป ใครได้มโนมยิทธิก็ลองสอบกันเอา เพราะมโนมยิทธิเป็นเครื่องสอบความรู้ทางพระพุทธศาสนา แล้วก็การปฏิบัตินี่ความจริงมันก็เรื่องของใครของมันเหมือนกัน จะทำเหมือนกันทุกอย่างนั้นมันไม่ได้ ก็ว่ากันต่อไปดีกว่า ว่าคาถา ปราโมทย์ ที่ทำให้สมาธิจิตมีทิพจักขุญาณแจ่มใส จะจำภาพเห็นภาพนิมิตทุกสิ่งทุกอย่างได้โดยแจ่มใสเหมือนกลางวัน คือพระอาทิตย์เที่ยงวัน ท่านว่าโดยนิมิตเปรียบเทียบปรากฏผลว่า ภาพนิมิตและการตรวจสอบใดๆจะชัดเจนขึ้น จะมีภาพแจ่มใส ท่านว่าอย่างนั้น สำหรับคาถาภานานี่ให้คำภาวนาว่า “ปราโมทย์” เฉยๆ จับลมหายใจเข้าออกเหมือนกัน แล้วก็ภาวนาว่า “ปราโมทย์ ปราโมทย์” (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐) เจริญอริยสัจ ๔ และหลังจากนั้นมา องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงสอนให้เจริญใน อริยสัจ ตามที่อธิบายมาแล้ว ผมจะเล่าตะลุย ดีไม่ดีขืนอธิบายไป ชาวบ้านชาวเมืองเสียสตางค์กันมาก อยากจะเรื่องราวของพระองค์นี้ก็ฟังคำอธิบายเสียจนเบื่อ เสียสตางค์หลายคาสเซ็ทนี่ผมไม่ชอบเหมือนกัน ไม่อยากให้ชาวบ้านเสียสตางค์มาก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐) เจริญพรหมวิหาร ๔ ทีนี้ก็มาว่ากันต่อ หลังจากอริยสัจ ท่านก็บอกในกาลต่อมาอีก องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงสอนให้เจริญ “พรหมวิหาร ๔” เอาละซิ โดยแจ้งว่าจะทำให้การรู้การเห็นต่างๆชัดเจนดีขึ้น นี่จำได้ดีนะ ว่าท่านที่ได้ทิพจักขุญาณแล้วก็ดี ท่านที่ได้มโนมยิทธิแล้วก็ดี ที่มีอารมณ์ไม่แจ่มใสเห็นอะไรไม่ชัดเจน ว่ากันตามลำดับมา ท่านก็บอกว่าถ้าใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็นิมิตต่างๆ ถ้าจิตเราทรงพรหมวิหาร ๔ นี่เป็นอารมณ์เยือกเย็นทำอารมณ์ให้ผ่องใสได้ง่ายจริงๆเป็นของไม่ยาก การเจริญเมตตา แล้วก็ท่านบอกว่าเวลานั้นท่านตั้งกระทู้ถาม คือพระพุทธเจ้าเองท่านตั้งกระทู้ถามคือสอนแบบถามว่า “การเจริญเมตตานั้น เขาทำกันอย่างไร” แล้วท่านก็แก้ของท่านเองว่า “การเจริญเมตตาต้อง ๑. ไม่โกรธ และ ๒. ไม่ผูกโกรธ” ภายหลังต่อมาอีก ท่านสอนให้เจริญอสุภกรรมฐาน และมรณานุสสติกรรมฐาน ว่าเมื่อจิตทรงพรหมวิหาร ๔ แล้วก็ต้องเจริญอสุภกรรมฐาน เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลกไม่มีอะไรสวย แล้วก็เจริญมรณานุสสติกรรม,น หมายความว่ารู้สึกนำถึงความตายอยู่เสมอ ไม่ประมาทในความตาย (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐) กรรมฐานนิมิตอันแรกให้ผล ตอนนี้ท่านหมายเหตุไว้นิดหนึ่ง ท่านหมายเหตุไว้บอกว่า กรรมฐานนิมิตองค์แรกให้ผลได้ดี องค์แรกที่ท่านวงเล็บไว้บอกว่า “อิติปิ โส วิเสเสอิ ฯ” นี่แหละกรรมฐานนิมิตอันแรกให้ผลได้ดี เป็นเหตุให้ได้ ๑. ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ๒. จุตูปปาตญาณ ๓. อตีตังสญาณ ๔. อนาคตังสญาณ ๕. ปัจจุปปันนังสญาณ และ ๖. ยถากัมมุตาญาณ คือว่า ทิพจักขุญาณ ท่านมีแล้วอีตอนนี้ท่านไม่คล่องท่านว่าอย่างนั้น ท่านมีแล้วไม่คล่อง พอเกิดคล่องขึ้นมา คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ก็ได้แก่การระลึกชาติถอยหลังไปได้ไม่จำกัดระดับ เมื่อสมัยก่อนเวลาที่ระลึกชาตินี่ รู้สึกว่าทำได้ยากจริงๆมีนเหนื่อยมันหนัก แต่ว่าพอว่า “อิติปิ โส วิเสเสอิฯ” จนคล่องตัวแล้ว การระลึกชาติปั๊บเมื่อไรก็ได้ เอาชาติไหนก็ได้ จุตูปปาตญาณ รู้จักคนตายแล้วเกิดคนตายแล้วไปไหน นึกปั๊บรู้ได้ทันที เห็นคนและสัตว์ที่ปรากฏเฉพาะหน้าคิดว่า เดิมทีเขามาจากไหนมันรู้ได้ทันที ภาพปรากฏ อตีตังสญาณ รู้เรื่องราวในอดีตของคนและสัตว์ อนาคตังสญาณ รู้เรื่องราวในอนาคตต่อไปของคนและสัตว์ ปัจจุปปันนังสญาณ รู้เรื่องราวในปัจจุบันของคนและสัตว์และพื้นที่เหมือนกัน ยถากัมมุตาญาณ รู้กฎของกรรมของคนและสัตว์ที่ได้รับความสุขความทุกข์ เพราะอาศัยกรรมอะไรเป็นปัจจัย ท่านบอกว่ามันแจ่มใสแล้วก็คล่องแคล่วว่องไวดีมาก แต่ไอ้กำลังใจของท่านบอกว่ามันแจ่มไม่พอ นี่เล่นกับคนไม่พอนี่ก็ยากเหมือนกัน ไม่ยอมเชื่อตัวเองอยู่เสมอ สร้างความสงสัยคือสอบสวนตัวเองอยู่ตลอดเวลา คือว่าตลอดชาติในชีวิตของท่านนี่ ท่านไม่ยอมจะมีความรู้สึกว่าตัวของท่านเป็นคนดี แล้วสิ่งใดที่ได้มาแล้วนี้ท่านต้องพิจารณาเสมอว่ามันเป็นอุปาทานหรือเปล่า ไม่ใช่ว่าอยู่ๆก็จะไปคุยว่าฉันได้ทิพจักขุญาณจ๊ะ ฉันได้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณจ๊ะ แล้วก็มามัวเมากับโลภโมโทสัน มีความรัก ความโกรธ อิจฉาริษยา ไม่ใช่อย่างนั้น องค์นี้มีหน้าที่อย่างเดียวตั้งหน้าตั้งตาสงสัยตัวเองไว้เสมอ เกรงว่าจะคบกับความชั่วเข้ามาไว้ ฉะนั้นเวลาได้อะไร ท่านไม่ยอมเชื่อตัวของท่าน ท่านต้องสอบสวนตลอดเวลา ต่อมาท่านบันทึกไว้ว่า ในกาลต่อมากรรมฐานนิมิตที่ได้ไว้ ที่ได้ต่อมาก็ทำให้จ่มใสชัดเจนมากขึ้น นี่ต้องพิสูจน์กัน ท่านบอกว่าอยู่ๆเราจะมานั่งเชื่อตัวเองอย่างนี้น่ะมันใช้ไม่ได้ มันต้องตรวจสอบกันอยู่เสมอเอากันทุกวัน ทุกวันเวลา เวลาใดที่มีเวลาว่างต้องตรวจสอบ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๘๐-๘๑) อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา อนิจจังนี่เป็นของ ไม่เที่ยง จริงๆ ไม่ว่าจะเป็นอะไรทั้งหมดในโลกนี้ ถ้าไม่เที่ยงเราไปยึดมันเข้าแล้วมันเป็นทุกข์ต้องปล่อยตามมันๆจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน แล้วในที่สุดมันก็เป็นอนัตตา พังสลายตัวหมดอย่าไปยึดไปถือมัน อย่าไปยึดว่าจะมีอะไรเป็นเราเป็นของเราอยู่ต่อไป แม้แต่ร่างกายเรายังพัง ในเมื่อร่างกายเรายังฟังแล้วจะมีอะไรทรงอยู่อะไรมันทรงอยู่แล้วก็ตาม ถ้าหากร่างกายเราพังแล้ว เราก็ไม่มีสิทธิ์จะมายึดว่ามันเป็นเราเป็นของเรา ท่านบอกว่าต้องทำอย่างนี้จริงๆจังๆปล่อยไม่ได้ แล้วก็ต่อมา จงปล่อยความยึดมั่นจากรูปที่เห็นทางตา จงอย่ายึดว่ารูปนั้นเป็นเราเป็นของเรา ปล่อยเสียงที่ได้ยินทางหู ปล่อยกลิ่นที่ได้รับทราบทางจมูก ปล่อยรสที่รับทราบทางลิ้น ปล่อยสัมผัสที่รับทราบทางกาย ปล่อยอารมณ์ใจที่เป็นกุศล อย่าเอาเข้ามายุ่ง ฟังแล้วก็จำนะ นี่เราเรียนกันมาแล้ว นี่ท่านย่อมา ผมเห็นว่าไม่ยาก ผมก็ย่อไป ท่านก็บอกว่าปล่อยใจว่าเป็นเชื้อของเดิมมาเพราะอารมณ์ทั้งหมดเนื่องจากรูป ท่านบอกว่า ที่ต้องมาเกิดอย่างนี้ ต้องมาเป็นทุกข์อย่างนี้ เชื้อเดิมมา เพราะอาศัยรูปเป็นสำคัญ คือ อาศัยรูปทางตา อาศัยเสียงทางหู อาศัยกลิ่นทางจมูก อาศัยรสทางลิ้น อาศัยสัมผัสทางกาย อาศัยอารมณ์ใจที่เกลือกกลั้วในกามารมณ์ นี่ที่ต้องมาเกิดมาเป็นอย่างนี้ อาศัยตัณหาเป็นเจ้าเรือน ตัณหาก็คือความอยาก อยากได้รูปสวยๆ อยากได้เสียงหวานๆ อยากได้กลิ่นหอมๆ อยากได้รสอร่อยๆ อยากได้รับการสัมผัสที่พอใจ อยากได้อารมณ์ที่พึงปรารถนา ท่านบอกว่า นี่พวกนี้เป็นเจ้าเรือน ต้องทำลายไปเสียให้หมด ต้องทำให้ได้ แล้วจะรู้ผลภายในสิบวัน จำไว้นะ ใครอยากจะได้บรรลุมรรคผลเร็วๆ ละก็ปล่อยตามที่ท่านบอก จะรู้ผลภายในสิบวัน ดูซิท่านผู้เฒ่าจะทำได้ไหม ท่านบอกว่า ธรรมะของพระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมได้ผลแก่ผู้ขยัน แล้วก็ไม่มีใครอาจจะกำหนดพยากรณ์เวลาที่จะสำเร็จมรรคผลได้ ท่านมั่นใจขนาดนี้ ขยันนี่ต้องขยันถูกด้วยไม่ใช่ขยันผิด ขยันตามท่านว่านี้ ถ้าขยันจริงๆ เวลาจะทำ ทรงสมาธิให้เต็มที่ ให้จิตมันทรงตัว แล้วก็ใช้ปัญญาพิจารณา เห็นรูปทางตาไม่เป็นเรื่อง เสียงทางหูไม่ได้ความ กลิ่นทางจมูกไม่เป็นรส ว่ากันจิปาถะไปก็แล้วกัน ว่าให้เห็นว่ามันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ยึดถือปล่อยมันเสียให้หมด เสียงดีหรือเสียงเลวก็ช่าง รูปดีรูปเลวก็ช่าง กลิ่นดีกลิ่นเลวก็ช่าง รสดีรสเลวก็ช่าง สัมผัสดีสัมผัสเลวก็ช่าง อารมณ์ใจทรงไว้เฉพาะในด้านอารมณ์ที่เป็นกุศลเพียงอย่างเดียว คือตั้งไว้ในด้านสักกายทิฏฐิทำลายอสมิมานะที่ถือตัวตนว่าเป็นเราเป็นของเรา อย่างนี้สิบวันได้แน่ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙๐-๙๑) อภิญญาผลสมาบัติ ท่านบอกว่าวันนี้วันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๐๖ ตรงกับวันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๘ เข้าเจริญสมณะธรรมตั้งแต่เวลา ๙.๐๐ น. ตรง วันนี้มีอารมณ์ดีเป็นพิเศษตั้งแต่เริ่มจับอารมณ์ปั๊บ อารมณ์ก็ใสสว่าง ซึ่งไม่เคยมีมาในกาลก่อน แล้วท่านพยายามทำไปตามลำดับ ผมจะพูดให้ฟังว่าการเจริญพระกรรมฐานนี่ โดยมากก่อนที่จะทำจุดปลายเขามักจะทำจุดต้น จับจุดต้นดูซิว่าจิตอารมณ์ของเราไปพร่องอยู่ตรงไหน คือ อันดับแรกท่านก็จับอานาปานสติควยกับพุทธานุสสติกรรมฐาน จิตเป็นสุขถึงที่สุดถึงฌาน ๔ ทิ้งฌาน ๔ วิ่งเข้าไปฌาน ๘ ถอยหลังลงมาจับอริยสัจ ๔ จิตสะอาดผ่องใสถอยลงมาถึงอุปจารสมาธิ จับเมตตาพรหมวิหาร ๔ จิตเข้าถึงที่สุดทันที ถอยลงมาอุปจารสมาธิ จิตจับอสุภกรรมฐาน จนกระทั่งมีความรู้สึกเป็นสุข ไม่มีความติดพันในภาพพจน์ใดๆ ถอยลงมาถึงอุปจารสมาธิเข้ามรณังสติกรรมฐาน เมื่ออารมณ์ถึงที่สุด ถอยลงมาอุปจารสมาธิจับบารมี ๑๐ ประการ แล้วถอยลงมาตัดอสมิมานะ ความถือตัวถือตน แล้วถอยลงมาจับสักกายทิฏฐิ จนกระทั่งเข้าจุดถึงขีณาสวานิยตา นี่วิธีทำเขาทำกันแบบนี้ คือไล่ตั้งแต่ต้นลงมา ว่าต้นที่ละได้แล้วมันยังเกาะจิต ถ้ายังต้องใช้เวลามากถึงข้อละสองนาทีใช้ไม่ได้ จับอารมณ์ของจุดไหนอารมณ์จิตมันโปร่งไปหมด ไม่มีอารมณ์เกาะอันนั้นใช้ได้ หรือว่าเป็นฌานทันทีใช้ได้ แล้วจึงจะจับตัวปลาย ถ้าตัวต้นยังไม่คล่องไม่ผ่องใส ยังไม่จับตัวปลาย ต้องไล่เรียงลำดับอย่างนั้นลงมา จับตามลำดับอย่างนั้นลงมาจะถึง ขีณาสวานิยตา อารมณ์ปักแน่น แล้วก็เลยแสวงหานิพพานสุขังต่อไป อารมณ์ปักแน่นก็เป็นฌานสูงสุด อารมณ์เป็นสุขจับหานิพพาน ภาวนานิพพานสุขังต่อไป ท่านบอกว่าแล้วตรวจดุอารมณ์ คราวนี้จิตท่านเป็นทิพย์นี่ ท่านก็ดูใจของท่านเองได้ ท่านก็ตรวจดูอารมณ์เห็นจิตผ่องใสเหมือนกับแก้วสะอาด แต่ว่ายังมีคลื่นนิดๆ หน่อยๆ คือยังมีไหวตัวกระเพื่อมๆ จึงรู้สึกว่าจิตนี่ยังดีไม่พอ จึงได้ถอนจิตจากนิพพานสุขขัง เอาอารมณ์เข้ามาจับจิตขีณาสวานิยตาใหม่ คราวนี้อารมณ์แจ่มใสมากแล้วกันหันเข้ามาจับนิพพานสุขัง จิตทรงตัว ตอนนี้ท่านบอกว่า มีความรู้สึกว่าเวลานี้จิตเป็นอภิญญาผลสมาบัติ อภิญญาหมายความว่า รู้ยิ่ง จิตมีอารมณ์ประเสริฐเพราะท่านเป็นผู้ได้อภิญญา ผล คือ ผลที่ตนได้มา สมาบัติ คือ เข้าถึงๆผลที่ตนฝึกอภิญญามาแล้วควบกับวิปัสสนาญาณทรงตัว เล่นแบบนี้สนุกจะตาย เพลินดีนะ ถอยหน้า ถอยหลังๆ ถอยหน้าอยู่คนเดียว อารมณ์เป็นสุข ตามบันทึกของท่าน เราตั้งใจไว้ว่าจะถอนเวลา ๑๑ น. เริ่มตั้งแต่ ๙ น. ตรง จะถอนเวลา ๑๑ น. ตรงเพื่อกินข้าวละซิ ท่านว่าตอนนี้ชักจะถอนเกือบไม่ออก ดึงเท่าไรก็ไม่ออกจิตมันปักแน่น มันก็ไม่ยอมคลายสมาธิ จิตอารมณ์เป็นทิพย์ ก็รู้สึกว่าดีใจมาก ว่ากำลังใจของเรานี่ดีพอแล้ว มีกำลังใจใหญ่พอจะสู้กับกิเลสได้ สามารถจะห้ำหั่นให้กิเลสทั้งหลายมันสลายตัวไปได้ ว่าอย่างนั้นตามที่ตนปรารถนาไว้แห่งการไม่เกิดอีก ท่านพิจารณาว่าการที่เราจะไม่ต้องเกิดอีกมันใกล้เข้ามา จำให้ดีนะ ขณะนี้ท่านมีความรู้สึกตัว ท่านว่าการที่จะไม่ต้องเกิดอีกใกล้เข้ามาแล้ว มันยังไม่ถึงจุดนั้น มันใกล้ๆ ขณะนั้นเอง ท่านบอกว่าจิตท่านเป็นทิพย์ พบหน้ากิเลสตัณหา กิเลสตัณหามันยื่นหน้าเข้ามาตั้งแต่วันวานนี้วันที่ ๑๙ วันนี้ก็พบมันอีก แต่วันนี้พบชัดมากเพราะจิตมันใสมาก เจ้ากิเลสและตัณหามันสงบนิ่งนอนเฉย นี่แสดงว่ากิเลสมันหลบไปนอนเสีย มันไม่ฟูขึ้นมาด้วยอำนาจกำลังของฌาน แต่ความจริงกิเลสนอนนี่กิเลสยังไม่หมด ถ้าเผลอเมื่อไรมันเข้ามาเมื่อนั้น เป็นอันว่าท่านมีความมั่นคงในกำลังฌานมากกว่าในวิปัสสนาญาณ พระพุทธเจ้าจึงไม่ทรงรับรองว่าเป็นพระโสดาบัน นี้ต้องระวังให้ดีนะ จิตสงบสบายแล้วก็อย่าพึ่งไปนึกว่าเราเป็นพระอริยเจ้า ให้มันถึงจริงๆเสียก่อน ใช้วิธีตรวจอารมณ์อยู่เสมอ จับหาความผิด จับหาความชั่วในอารมณ์ของจิตของตัวแล้วท่านบอกว่าให้กิเลสมันเลี่ยงไป บอกเอ็งถอยไป ไม่ใช่เรื่องของเอ็งจะมายุ่งกับฉัน ฉันไม่ต้องการ ท่านว่ามึงจงหลีกไป ท่านว่าอย่างนั้น มึงจงอย่ามายุ่งกับกู กูไม่พึงต้องการมึงอีก มึงเป็นเจ้านายบังคับกูทรมานกูมากหลายแสนหลายกัปแล้ว หลายแสนอสงขัยกัปแล้ว ต่อแต่นี้มึงกับกูไม่มีทางแล้วที่จะมาบังคับกูได้ เป็นอันว่ากูจะต้องหลีกไปหรือทำลายมึงให้พินาศไปเพื่อการเข้าพระนิพพานของกู นี่เขาใช้กันอย่างนี้ใช้กับแบบพูดกับศัตรูที่เป็นตัวสำคัญ ท่านบันทึกต่อไปว่า เราจะเข้าอภิญญาผลสมาบัติอย่างนี้ทุกวันและทุกคืน จะไม่ยอมให้จิตดวงนี้คลาดจากอภิญญาผลสมาบัติ เพื่อประโยชน์ของมหาชนทั่วไป ตามที่พระพุทธเจ้าทรงสั่ง จำให้ดีนา นี่เรื่องเล่าให้ฟัง ถ้าชอบใจก็เอาไปปฏิบัติได้ ไม่ชอบใจก็แล้วไป ไม่ได้ว่าอะไร ทำไปตามอัธยาศัยของตนนั่นแหละดี ชอบใจตอนไหนทำตอนนั้น นี่มันเรื่องเล่าให้ฟังแต่ละบุคคล (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙๔-๙๖) นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ เอตัง กาสาวัง คเหตวา ท่านพระโยคาวจรทั้งหลาย เวลานี้ท่านทั้งหลายได้พากันสมาทานพระกรรมฐานแล้ว แล้วก็สมาทานศีลแล้ว ก่อนจะฟังปฏิปทาของท่านผู้เฒ่า ก็อย่าลืมรวบรวมกำลังใจให้เป็นสมาธิพยายามคิดอยู่ว่าอะไรมันเป็นนิวรณ์ นิวรณ์ ๕ ประการ รูปร่างหน้าตามันเป็นอย่างไร ขจัดมันเสียให้หมด ทรงจิตคิดไว้เสมอว่า นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ เอตัง กาสาวัง คเหตวา ซึ่งแปลเป็นใจความว่า ข้าพเจ้าขอทำผ้ากาสาวพัสตร์เพื่อให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน สำหรับอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลายก็ตั้งใจว่า เราปฏิบัติเพื่อพระนิพพาน พยายามทรงอิทธิบา ๔ ให้ครบถ้วน และทรงจรณะ ๑๕ ให้ครบถ้วน อย่างนี้ไม่มีใครเขาจะใช้คำว่า ไม่สำเร็จ ถ้าอามรณ์ของท่านทรงอย่างนี้แล้ว อะไรก็ได้ เป็นของไม่หนัก แล้วก็กรรมฐานส่วนใดที่ท่านคล่องอยู่ทำอยู่ก็ทำไปตามนั้น สำหรับปฏิปทาของท่านผู้เฒ่านี้ก็เล่าสู่กันฟังถึงว่าท่านผู้หนึ่งปฏิบัติมาแล้วเท่านั้น ท่านชอบใจตรงไหนเอาตรงนั้นไปใช้ หรือไม่ขอบใจเลย ชอบตำรับตำราที่สอนมาแล้วตรงไหนก็ใช้ตรงนั้นให้เป็นไปตามอัธยาศัยของท่าน (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๐๔) อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง วันนี้ท่านพาดหัวจ้อว่า คาถาเรียกจิต คำว่า คาถาเรียกจิต ไม่ใช่คาถาหนุ่มเรียกสาว สาวเรียกหนุ่ม ไม่ใช่อย่างนั้น เรียกจิตของตนเอง ตามบันทึกของท่านๆบันทึกย่อ ผมจะอ่านไปว่า “อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง”ท่านกล่าวว่า พระคุณท่านได้โปรดเมื่อเวลา ๒๐.๓๐น. คำว่า พระคุณท่าน ก็หมายถึง องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะเราก็รู้แล้วท่านบอกไว้แล้ว่า เวลาทุกขณะจิตท่านทรงอยู่อภิญญาผลสมาบัติอยู่ตลอดเวลา ฉะนั้น การเอาจิตเข้าไปเห็นใครพบกับใครมันเป็นของไม่ยาก เหมือนกับที่เรามีอาหารอยู่ในปากจะกลืนกันเมื่อไรก็ได้ อภิญญาผลสมาบัตินั้น ไม่ใช่สตางค์อยู่ในกระเป๋า ถ้าเรามีสตางค์อยู่ในกระเป๋าเราจะใช้เมื่อไรก็ได้ บางทีสตางค์ในกระเป๋าเราไม่มีที่จะซื้อกันมันก็กินไม่ได้ สำหรับท่านที่ทรงอยู่ในอภิญญาผลสมาบัติเหมือนกับอาหารที่อยู่ในปาก เคี้ยวไว้เรียบร้อยแล้ว จะกลืนเมื่อไหร่ก็ได้มันง่ายกว่ากันเยอะอย่างนี้ แล้วเวลาที่เจริญพระกรรมฐานในคืนวันที่ ๒๔ ท่านจึงได้มาโปรดเมตตาบอก ท่านบอกว่า ให้ทำให้แจ้ง ทำทุกขณะจิตที่จิตพล่าน หมายความว่าคาถาบทเมื่อกี้นี้ คาถาที่บอกว่า “อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง” ถ้าเวลาใดที่จิตเกิดอาการฟุ้งซ่านขึ้นมา ให้ทิ้งคำภาวนาอย่างอื่นเสียให้หมด กำหนดลมหายใจเข้าออก คาถานี้ตามสบายๆ กำลังของสมาธิจะรวมตัวได้รวดเร็ว จำเข้าไว้ให้ดีก็แล้วกันนะ ผมขอว่าซ้ำอีกครั้งหนึ่งว่า “อิติ สัมมา สัมพุทธัสสะ มะมะจิตตัง” แล้วอย่าย่องเอาคาถานี้ไปเรียกผู้หญิงผู้ชายเข้านะ เขาไม่มาหรอก เรียกจิตของเรา ท่านบอกว่าที่จิตมันพล่านนี่ไม่ใช่เพราะผู้หญิงเข้ามายั่ว มันพล่านเพราะโรคทางกระเพาะมันกำเริบ ร่างกายถ้าหากว่า มีโรคเบียดเบียน ประสาทมันก็ไม่ทรงตัว จิตมันพล่านได้ จงอย่าสงสัยในตัวเอง คิดว่าไปหลงใหลใฝ่ฝันในบรรดาสตรีทั้งหลายเหล่านั้น เธอมายั่วมาเย้าเป็นจริยาของมาร แต่คำว่ามารในที่นี้จงอย่าคิดว่าพวกนั้นเป็นพวกมาร ความจริงพวกนั้นเขามาตามหน้าที่ แต่ถ้าอารมณ์ของเราไม่ทรงตัวก็จงคิดว่าจิตของเรานี่แหละเป็นมาร มันมีสันดานหยาบ รู้อะไรไม่ดีทำไมจึงไปหลงใหลใฝ่ฝัน นี่ท่านว่าอย่างนั้น ท่านว่าอย่างนี้ก็ฟังของท่านไว้นะว่าผลจะเป็นอย่างไร จำไว้ให้ดี ตอนนี้ท่านบันทึกว่า “พระ” หมายถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จมาแล้ว ก็ทรงสั่งว่า “คืนนี้ใจมันแย่งกันนะ” คำว่า “ใจมันแย่งกัน” ก็หมายความว่าการเจริญกรรมฐาน เดี๋ยวจะภาวนาบทนั้นเดี๋ยวจะภาวนาบทนี้ เดี๋ยวจะพิจาณาอย่างนี้ ถ้าอารมณ์มันแย่งกันอย่างนี้แล้ว การบรรลุมรรคผลมันจะช้า ทำให้มันทรงตัวเรียงลำดับ การเรียงลำดับก็นับกันมาตั้งแต่ ๑. จับอานาปานสติกรรมฐานควบกับพุทธานุสสติกรรมฐาน ๒. หลังจากนั้นก็เอาจิตทรงพรหมวิหาร ๔ ๓. จับกายคตาสติ ๔. จับมรณัสสติ ๕. จับอุปสมานุสติ ๖. จับอริยสัจ ว่ากันมาตามลำดับให้จิตมันทรงตัว ท่านเรียกไว้ว่า ท่านสั่งว่าให้ทำไปตามลำดับเพราะจิตเรามันยุ่งองค์ภาวนาผ่านลำดับไม่เป็นเรื่อง แล้วก็เพ่งสังโยชน์เช้า เมื่อองค์ภาวนาผ่านลำดับมาแล้วจิตหยุด ให้เพ่งสังโยชน์ ๑๐ คือจับ สังโยชน์ ๑๐ วัดดูว่าเวลานี้สังโยชน์ ๑๐ ประการเราตัดตัวไหนไปได้แล้วบ้าง ที่ตัดได้แล้วมันทรงตัวได้ไหม ถ้ามันไม่ทรงตัวแสดงว่า เราตัดไม่ได้จริง ถ้าส่วนใดที่ทรงตัวอยู่แสดงว่าอันนั้นได้จริง นี่ท่านว่าอย่างนี้นะ จำไว้ให้ดีนะ ว่าสังโยชน์ ๑๐ นี่ต้องกำหนดไว้เสมอๆพิจารณาไว้เสมอว่า จิตของเราสามารถเอาชนะจุดไหนได้แล้ว ท่านเขียนไว้ว่าเวลาเช้ามืดนี่เป็นอันว่า ๒๔ น. ผ่านไป นี่ท่านไปเลิกเวลาไหนก็ไม่ทราบ เช้ามืดเวลา ๓ น. ก็โงเงๆ ขึ้นมาอีก เลยเป็นอันว่าคงจะนอนสัก ๑ ชั่วโมง แต่การนอนด้วยอภิญญาผลสมาบัติหรือการนอนด้วยการทรงสมาธิใช้เวลาเพียงชั่วโมงเดียว ก็ดีกว่านอนธรรมดาแปดชั่วโมง ตื่นมาก็มีความอิ่ม ขึ้นมาก็ไม่รอแล้ว เรื่องล้างหน้าไม่มี มันเสียเวลา นอกจากจะปวดอุจจาระปัสสาวะนั่นถึงจะไป ตื่นขึ้นมาปั๊บใจมันจับคำภาวนาพิจารณาอารมณ์ตัดสังโยชน์ เมื่อตื่นขึ้นมารู้สึกว่าใจยังพิจารณาสังโยชน์อยู่นี่การนอนหลับไปด้วยกำลังของสมาธิเป็นอย่างนี้เวลาหลับมันทำของมันเองด้วยแต่เราไม่รู้สึก พอตื่นมาครึ่งหลับครึ่งตื่น รู้สึกตื่นไม่เต็มตัว จิตมันพิจารณาสังโยชน์ก็ทำต่อไป (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๙๐-๙๑) จงกำหนดในความไม่มีของขันธ์ห้า จงกำหนดในความไม่มีของขันธ์ห้า ให้ถือว่าขันธ์ห้ามันไม่มี มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา มันมีแล้วก็เหมือนกับว่าไม่มี คือไม่สนใจในมันเสียเลย แล้วก็ทุกสิ่งทั้งหมดให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” หมายความว่า ขันธ์ห้าก็ดี ธาตุทั้งหลายอย่างอื่นก็ดี มีความรู้สึกว่ามันไม่มีสำหรับเรา คำว่าให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” คือ ให้ทรงอารมณ์นี้เป็นหนึ่ง ไม่มีอารมณ์ที่สอง มีอารมณ์ที่เข้าใจว่ามีนะไม่มีอีกแล้วว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มีสำหรับเรา คือขันธ์ห้า ได้แก่ ร่างกายของเราก็ดี วัตถุธาตุทั้งหลายในโลกก็ดี ไม่มีสำหรับเรา อารมณ์ทรงอยู่อย่างนี้ ให้เป็นปรกติ เรียกว่าเป็น “เอกัคคตารมณ์” ถ้าจะหันไปดูจริงในมหาสติปัฏฐานที่เราฟังกันมาแล้วก็เหมือนกัน คือท่านไม่ได้สอนเกินอะไรกันไปเลย เว้นไว้แต่ว่าเราจะใช้อารมณ์ถูกหรือไม่ถูกเท่านั้น เป็นอันว่าวิชาความรู้ของพวกเรานี่เลยเถิด เรียกว่าท่วมเลยศีรษะไปแล้วไหนๆ แต่ว่าจะรู้จักใช้เท่านั้น บางทีก็ยังเมาอยู่ในยศฐาบรรดาศักดิ์ เมาในลาภ เมาในรูปเสียงกลิ่นรส เมาในความโกรธ เมาในขันธ์ห้า นี่เป็นอันว่าถ้ายังเมาอยู่อย่างนี้ แสดงว่าพวกเรายังเลวอยู่ขนาดหนัก ไม่ใช่ขนาดเบา แล้วก็ท่านบอกว่าให้เพ่งอารมณ์อันจะพึงเกิดจากรูป จากกลิ่น จากเสียง จากรส จากสัมผัส จากอะไรทุกอย่างทั้งหมด ตาเห็นรูป หูได้ยินเสียง จมูกได้สัมผัสกลิ่น ลิ้นสัมผัสรส กายสัมผัสอารมณ์ใจ ท่านบอกว่าทั้งหมดว่าเป็นรูป ท่านย่อไว้แบบนี้ ผมอ่านไม่เข้าใจเหมือนกัน ท่านว่าทั้งหมดเป็นรูป แล้วก็ละ ว่าเป็นรูปเป็นเสียงของสภาพที่ไม่มี ท่านบอกว่าสิ่งที่เป็นรูปที่ท่านละไว้ ผมขอขยายหน่อย เป็นรูปที่มันไม่มี เสียงก็เป็นเสียงที่มันไม่มี กลิ่นก็เป็นกลิ่นที่ไม่มี รสก็เป็นรสที่ไม่มี สัมผัสก็เป็นสัมผัสที่ไม่มี มันไม่มีตรงไหน ไม่มีตรงที่มันสลายไป รูปเห็นแล้วก็ผ่านไป เสียงได้ยินแล้วก็ผ่านไปทั้งหมด อย่าเอามันเข้ามาขังไว้ในใจ มันสัมผัสประสาทแล้วก็ผ่านไป มันมีสภาพไม่มี อย่าเอาใจไปนึกว่ามันมี นี่ผมขยายความนะ ท่านบอกต่อไป นี่พระมหาโมคคัลลาน์มาสอนแทนนะ ว่า “จงไม่ยึดถือ” คือปล่อยไปเสีย ไม่ให้เกาะมันอยู่ ไม่ยินดีกับมันด้วย แล้วก็ไม่ยินร้ายกับมันด้วย ยินดีคือชอบใจ ยินร้ายคือไม่ชอบใจ มันจะไปมาอย่างไรก็ช่าง นี่อารมณ์พระอรหันต์นะ ฟังกันไว้ให้ดี ฟังแล้วก็จำ ท่านที่บันทึกไว้ฟังให้มากจุดนี้ ฟังให้มาก ฟังให้มากแล้วก็ทำให้ได้ เป็นสิ่งที่เราต้องการกัน ทำให้เป็น เอกัคคตารมณ์ คือทำให้อารมณ์ทรงอยู่อย่างนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง มันจะมีอารมณ์ชิน แล้วก็ตั้ง “อุเปกขาญาณ” ไว้ว่า คำว่า “อุเปกขาญาณ” แปลว่า วางเฉย มีความรู้สึกไว้ว่าเราจะวางอารมณ์ความเฉยไว้อยู่เสมอว่า เราจะไม่ยึดถือสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด เราจะเฉยโดยไม่ยึดถืออารมณ์อย่างนี้ไว้ แล้วทรงใจให้ผ่องใสในพรหมวิหาร ๔ โดยถือว่าสัตว์ทั้งหลายทั้งหมดควรได้รับความเมตตา ควรได้รับการสงสาร ให้ต้องใจให้ดีโดยไม่เกียจคร้าน หากไม่มีความประมาท จิตจะพ้นอาสาวะ (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๑๓-๑๑๔) กำหนดใจลงในความไม่มีของปัญจขันธ์ พระมหาโมคคัลลาน์สั่งว่าให้กำหนดใจลงในความไม่มีของ “ปัญจขันธ์” “ปัญจขันธ์” ก็ได้แก่ขันธ์ห้า คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เมื่อสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มันไม่มี มันมีก็เหมือนว่ามันไม่มี คือมันไม่มีการทรงตัว หาอะไรทรงตัวไม่ได้ มีแล้วเดี๋ยวก็พัง มีความเกิดในเบื้องต้น มีความเสื่อมไปในท่ามกลาง แล้วมีความสลายตัวไปในที่สุด รูปมันก็ปรากฏขึ้นเดี๋ยวเดียว ท่านบอกว่า ชีวิตเหมือนความฝัน รูปโฉมโนมพรรณเหมือนดอกไม้ ชีวิตของเราที่ทรงอยู่นี้มันก็เหมือนความฝัน มันมีอยู่แล้วไม่ช้ามันก็สลายตัวไป รูปโฉมโนมพรรณเหมือนดอกไม้ ดอกไม้เมื่อแรกยังตูม ต่อมามันก็แย้มที่ละน้อยๆ ในที่สุดก็พังไป สภาวะของรูปมันก็เป็นเช่นเดียวกัน เสียง กลิ่น รส และสัมผัสมันก็เหมือนกัน ท่านบอกว่าทุกสิ่งทั้งหมดนี้จงรักษาอารมณ์ให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” ว่ามันไม่มี คำว่า “ไม่มี” ความจริงมันมีแล้ว มันก็ไม่มี เพราะต่อไปมันจะพัง รูปมันทรงอยู่ได้ไม่นาน มันก็พัง เสียงที่เรามีความพอใจฟังแล้วก็หายไป กลิ่นที่สัมผัสจมูกมันกระทบแล้วก็หายไป การสัมผัสที่พึงพอใจ สัมผัสแล้วเลิกสัมผัสก็หายไป รสที่สร้างความซาบซ่านจากปลายลิ้น กลางลิ้น โคนลิ้นแล้วรสก็หายไป อย่าไปสนใจมันผ่านไปแล้วก็หมดไป ไม่ช้าร่างกายมันก็สบายตัว ท่านบอกว่าจงรักษาอารมณ์ให้เป็น “เอกัคคตารมณ์” มีความรู้สึกว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันไม่มี อันนี้ก็เห็นจะได้แก่ “อากาสานัญจายตนะ” ก็เห็นจะได้ถ้าเทียบกัน อารมณ์พระนิพพาน นี่เป็นอารมณ์พระอรหันต์ตัดกิเลส “อากาสานัญจายตนะ” ที่ท่านเจริญกัน ให้เห็นว่าทุกสิ่งทุกอย่างมันต้องสลายหายไปเหมือนกับอากาศ หรือว่า “อากิญจัญญายตนะ” ถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างนี่ มันไม่มีอะไรเหลือหมด มันไม่มี ไปลงกันตรงนั้น มันเข้าไป “เนวสัญญายตนะ” อารมณ์นี้มาใช้มันมีก็ทำความรู้สึกว่าเหมือนว่าไม่มี ตอนนี้ถ้าหากว่าท่านสนใจอรูปฌาน จะรู้สึกว่าง่าย เห็นทรงตัวได้ชัด (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๑๓-๑๑๔) โคตรภูของอรหัตมรรค คำว่า “โคตรภูของอรหัตมรรค” ก็หมายความว่าท่านผู้ใดที่ได้อนาคามีแล้ว กำลังปฏิบัติเพื่อเข้าถึงอรหัตมรรค ในช่วงนี้เขาเรียกว่า “โคตรภูของอรหัตมรรค” เพราะช่วงนั้นเป็นการไปสู่โคตรภูของอรหัตมรรค ที่นี้คำว่า “โคตรภูของอรหัตมรรค” จริง ๆ นั้น จะต้องเหลือตัวอวิชชาตัวเดียว อวิชชาตัวนี้ก็แนบนิ่งสนิทเกือบจะไม่มีแรง กำลังจะก้าวเข้าไปสู่ทางของอรหัตมรรคเหมือนกับคนหนึ่งยืนอยู่คร่อมลำรางเล็กๆ ขานี้ยังอยู่ฝั่งนี้ ขาโน้นเหยียบฝั่งโน้น ยังไม่ทันยกขา เป็นอันว่าเป็นโคตรภูของอรหัตมรรคยกเมื่อไรเป็นอรหัตมรรคเมื่อนั้น ท่านบอกว่าให้พิจารณาว่า ทุกสิ่งไม่มีอะไรเป็นของจริง เป็นของสมมุติทั้งหมด นี่ความจริงแล้วก็ควรจะประมวลความจำไว้ให้ดีนะ ว่าแต่ละชั้นท่านสอนอะไรแบบไหน ท่านบอกว่าให้พิจารณาว่า ทุกสิ่งเป็นของไม่มีอะไรจริง เป็นของสมมุติทั้งหมด ไม่มีอะไรแน่นอน ย่อมสบายตัวไปหมด ไม่มีอะไรเป็นที่พึ่ง ต้องพลัดพรากจากกันหมด ฟังแล้วก็คิดดูว่าร่างกายของเราเป็นนาย ก. นาย ข. ชื่อของเราเป็นนาย ก. นาย ข. มันก็สมมุติ ร่างกายของเราเป็นชายเป็นหญิง เราก็สมมุติมันมา ร่างกายมนทรงขึ้นมาแล้วมันก็ฟัง ไม่มีอะไรจะเหลือ สลายตัวหมดแล้วทุกสิ่ง ร่างกายของเราก็ดี ร่างกายของบุคคลอื่นก็ดี ทรัพย์สินทั้งหลายในโลกก็ดี มันไม่ใช่ที่พึ่งของเรา ในที่สุดเราคือจิต ก็ต้องพลัดพรากจากมันไป ...มาฟังท่านต่อไป แล้วท่านโมคคัลลาน์ก็อธิบายว่า ให้วิจัยถึงเหตุ นี่ฟังของท่านให้ดีนะ พระพุทธเจ้าท่านกล่าวอย่างนั้น ท่านสอนเพิ่มเติม ให้วิจัยถึงเหตุ เมื่อเห็นของที่เป็นรูป ให้วิจัยว่า รูปนั้นมาจากอะไร รูปตัวนี้มันมาจากอะไร รูปที่มีชีวิตมันมาจากธาตุ ๔ ธาตุ ๔ มันทำอย่างไรมันถึงจะเกิด เรามานั่งนึกว่าธาตุ ๔ นี่มันทรงตัวไหม มันทรงตัวมันเป็น นิจจังหรืออนิจจัง เป็นทุกขังหรือเปล่า ถ้าเราไปยุ่งกับมัน ร่างกายเป็นธาตุ ๔ สำหรับเรา แล้วมันก็เป็นอนัตตา ธาตุ ๔ มันสะอาดหรือสกปรก นี่ผมขยายนะ ท่านบอกว่า “คน” คนมาจากอะไร แล้วมันเป็นคนอยู่ตลอดไปไหม ธาตุ ๔ มันทรงตัวตลอดไหม คนมาจากอะไร คนมาจากคน แล้วคนที่จะเกิดเป็นคนได้ก็มาจาก กิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม มันมาจากความชั่ว การที่จะเกิดเป็นคนได้เพราะอาศัยเราคบความชั่ว กิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม จึงมาเกิดเป็นคน แล้วก็อย่าไปสนใจกับความเป็นคนต่อไปเพื่อประโยชน์อะไร ทำลายความชั่วมันเสียซิ ท่านว่าบ้านเรือนโรงมาจากอะไร ท่านบอกว่าบ้านเรือนโรงมาจากวัตถุธาตุ เป็นชิ้นเป็นอันประกอบกันเข้าเป็นบ้านเรือนโรง คนก็เหมือนกัน มาจากอาการ ๓๒ ธาตุ ๔ นี่ ก็เหมือนกัน ก็มาจากส่วนที่สิ่งที่ผสมกัน แล้วก็พิจารณาหาสภาพความเป็นจริงว่า ทุกสิ่งทุกอย่างนี่มันไม่มีอะไรทรงตัว มันแตกสลายหมด ฟังแล้วก็คิด คิดแล้วก็ทำ ฟังให้มากคิดให้มาก (ปฏิปทาท่านผู้เฒ่า หน้า ๑๓๒-๑๓๓)

วิธีละความยินดีในโลกียสุขของพระอนาคามีบุคคล(นำ) หันทะ มะยัง ทะวัตติงสากา. ระปาฐัง ภะณามะเส ฯ อะยัง โข เม กาโย กายของเรานี้แล อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา อะโธ เกฐะมัตถะกา เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป ตะจะปะริยันโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีประการต่างๆ อัตถิ อิมัสสะมิง กาเย มีอยู่ในกายนี้ ๑.เกสา ผมทั้งหลาย ๒.โลมา ขนทั้งหลาย ๓.นะขา เล็บทั้งหลาย ๔.ทันตา ฟันทั้งหลาย ๕.ตะโจ หนัง ๖.มังสัง เนื้อ ๗.นะหารู เอ็นทั้งหลาย ๘.อัฏฐี กระดูกทั้งหลาย ๙.อัฏฐิมิญชังเยื่อในกระดูก ๑๐.วักกัง ม้าม ๑๑.หะทะยัง หัวใจ ๑๒. ยะกะนัง ตับ ๑๓.กิโลมะกัง พังผืด ๑๔.ปิหะกัง ไต ๑๕.ปัปผาสัง ปอด ๑๖.อันตัง ไส ้ใหญ่ ๑๗.อันตะคุณัง ไส้น้อย ๑๘.อุทะริยัง อาหารใหม่ ๑๙.กะรีสัง อาหารเก่า ๒๐. ปิตตัง น้ำดี ๒๑.เสมหัง น้ำเสลด ๒๒. ปุพโพ น้ำเหลือง ๒๓.โลหิตัง นำเลือด ๒๔.เสโท น้ำเหงื่อ ๒๕.เมโท น้ำมันข้น ๒๖.อัฐสุ น้ำตา ๒๗.วะสา น้ำมันเหลว ๒๘.เขโฬ น้ำลาย ๒๙.สิงฆาณิกา น้ำมูก ๓๐.ละสิกา น้ำไขข้อ ๓๑.มุตตัง น้ำมูตร ๓๒.มัตถะเก มัตถะลุงคัง เยื่อในสมอง อะยัง โข เม กาโย กายของเรานี้อย่างนี้ อุทธัง ปาทะตะลา เบื้องบนแต่พื้นเท้าขึ้นมา อะโธ เกสะมัตถะกา เบื้องต่ำแต่ปลายผมลงไป ตะจะ ปะริยันโต มีหนังหุ้มอยู่เป็นที่สุดรอบ ปูโร นานัปปะการัสสะ อะสุจิโน เต็มไปด้วยของไม่สัอาด มีประการต่างๆ อย่างนี้แลฯ

หน้าที่เราหัดรู้สภาวะไปการหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา