วันจันทร์ที่ 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ขณะจิตเดียวพระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) * คำสอนทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์นั้น เป็นเพียงอุบายให้คนทั้งหลายหันมาดูจิตนั่นเอง คำสอนของพระพุทธองค์มีมากมายก็เพราะกิเลสมีมากมาย แต่ทางที่ดับทุกข์ได้มีทางเดียว พระนิพพาน การที่เรามีโอกาสปฏิบัติธรรมที่ถูกทางเช่นนี้มีน้อยนัก หากปล่อยโอกาสให้ผ่านไป เราจะหมดโอกาสพ้นทุกข์ได้ทันในชาตินี้ แล้วจะต้องหลงอยู่ในความเห็นผิดอีกนานแสนนาน เพื่อจะพบธรรมอันเดียวกันนี้ ดังนั้นเมื่อเราเกิดมาพบพระพุทธศาสนาแล้ว รีบปฏิบัติให้หลุดพ้นเสีย มิฉะนั้นจะเสียโอกาสอันดีนี้ไป เพราะว่าเมื่อสัจจธรรมถูกลืม ความมืดมนย่อมครอบงำปวงสัตว์ให้อยู่ในกองทุกข์สิ้นกาลนาน * นิมิตบางอย่างมันก็สนุกดี น่าเพลิดเพลินอยู่หรอก แต่ถ้าติดอยู่แค่นั้นก็เสียเวลาเปล่า วิธีละได้ง่ายก็คือ อย่าไปดูสิ่งที่ถูกเห็นเหล่านั้น ให้ดูผู้เห็น แล้วสิ่งที่ไม่อยากเห็นนั้นก็จะหายไปเอง * ขอให้ท่านทั้งหลาย สำรวจดูความสุขว่า ตรงไหนที่ตนเห็นว่ามันสุขที่สุดในชีวิต ครั้นสำรวจดูแล้วมันก็แค่นั้นแหละ แค่ที่เราเคยพบมาแล้วนั่นเอง ทำไมจึงไม่มากกว่านั้น มากกว่านั้นไม่มี โลกนี้มีอยู่แค่นั้นเอง แล้วก็ซ้ำๆ ซากๆ อยู่แค่นั้น เกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่ร่ำไป มันจึงน่าจะมีความสุขชนิดพิเศษกว่า ประเสริฐกว่านั้น ปลอดภัยกว่านั้น พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านจึงสละสุขส่วนน้อยนั้นเสีย เพื่อแสวงหาสุขอันเกิดจากความสงบกาย สงบจิต สงบกิเลส เป็นความสุขที่ปลอดภัยหาสิ่งใดเปรียบมิได้เลย * ภิกษุเราถ้าปลูกความยินดีในเพศภาวะของตนได้แล้ว ก็จะมีแต่ความสุข เยือกเย็น ถ้าตัวเองอยู่ในเพศภิกษุ แต่กลับไปยินดีในเพศอื่น ความทุกข์ก็จะทับถมอยู่ร่ำไป หยุดกระหาย หยุดแสวงหาได้ นั่นคือภิกษุภาวะโดยแท้ ความเป็นพระนั้น ยิ่งจน ยิ่งมีความสุข * ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว สัตว์เลื้อยคลานเล็กน้อยเช่น เหาย่อมอาศัยอยู่ไม่ได้ฉันใด จิตที่พ้นจากอารมณ์ ขาดการปรุงแต่งแล้ว ทุกข์ก็อาศัยอยู่ไม่ได้ฉันนั้น * ในทางโลกเขามีสิ่งที่มี แต่ในทางธรรมมีสิ่งที่ไม่มี คนในโลกนี้ต้องมีสิ่งที่มี เพื่ออาศัยสิ่งนั้นเป็นอยู่ ส่วนผู้ปฏิบัติธรรมต้องปฏิบัติจนถึงสิ่งที่ไม่มีและอยู่กับสิ่งที่ไม่มี * การปฏิบัติธรรม ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปไหน ในเมื่อกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเป็นตัวธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิดแห่งธรรม เป็นที่ดับแห่งธรรม เป็นที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อาศัยบัญญัติไว้ซึ่งธรรมทั้งปวง แม้ใครใคร่จะปฏิบัติธรรม ก็ต้องปฏิบัติที่กายและใจนี้ หาได้ปฏิบัติที่อื่นไม่ ดังนั้น ถ้าตั้งใจจริงแล้ว นั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น นอนอยู่ที่ไหน ยืนอยู่ที่ไหน เดินอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น * หลักธรรมที่แท้นั้นคือ จิต ให้กำหนดดูจิต ให้เข้าใจจิตตัวเองให้ลึกซึ้ง เมื่อเข้าใจจิตตัวเองได้ลึกซึ้งแล้วนั่นแหละได้แล้วซึ่งหลักธรรม * กิเลสทั้งหมด เกิดรวมอยู่ที่จิต ให้เพ่งมองที่จิต อันไหนเกิดก่อน ให้ละอันนั้นก่อน * จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากสติที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิต เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็นนิโรธ

ถ้าหยุดการปรุงแต่งจิตไม่ได้สุดท้ายจะเป็นบ้าเอาพระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) * คำสอนทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์นั้น เป็นเพียงอุบายให้คนทั้งหลายหันมาดูจิตนั่นเอง คำสอนของพระพุทธองค์มีมากมายก็เพราะกิเลสมีมากมาย แต่ทางที่ดับทุกข์ได้มีทางเดียว พระนิพพาน การที่เรามีโอกาสปฏิบัติธรรมที่ถูกทางเช่นนี้มีน้อยนัก หากปล่อยโอกาสให้ผ่านไป เราจะหมดโอกาสพ้นทุกข์ได้ทันในชาตินี้ แล้วจะต้องหลงอยู่ในความเห็นผิดอีกนานแสนนาน เพื่อจะพบธรรมอันเดียวกันนี้ ดังนั้นเมื่อเราเกิดมาพบพระพุทธศาสนาแล้ว รีบปฏิบัติให้หลุดพ้นเสีย มิฉะนั้นจะเสียโอกาสอันดีนี้ไป เพราะว่าเมื่อสัจจธรรมถูกลืม ความมืดมนย่อมครอบงำปวงสัตว์ให้อยู่ในกองทุกข์สิ้นกาลนาน * นิมิตบางอย่างมันก็สนุกดี น่าเพลิดเพลินอยู่หรอก แต่ถ้าติดอยู่แค่นั้นก็เสียเวลาเปล่า วิธีละได้ง่ายก็คือ อย่าไปดูสิ่งที่ถูกเห็นเหล่านั้น ให้ดูผู้เห็น แล้วสิ่งที่ไม่อยากเห็นนั้นก็จะหายไปเอง * ขอให้ท่านทั้งหลาย สำรวจดูความสุขว่า ตรงไหนที่ตนเห็นว่ามันสุขที่สุดในชีวิต ครั้นสำรวจดูแล้วมันก็แค่นั้นแหละ แค่ที่เราเคยพบมาแล้วนั่นเอง ทำไมจึงไม่มากกว่านั้น มากกว่านั้นไม่มี โลกนี้มีอยู่แค่นั้นเอง แล้วก็ซ้ำๆ ซากๆ อยู่แค่นั้น เกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่ร่ำไป มันจึงน่าจะมีความสุขชนิดพิเศษกว่า ประเสริฐกว่านั้น ปลอดภัยกว่านั้น พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านจึงสละสุขส่วนน้อยนั้นเสีย เพื่อแสวงหาสุขอันเกิดจากความสงบกาย สงบจิต สงบกิเลส เป็นความสุขที่ปลอดภัยหาสิ่งใดเปรียบมิได้เลย * ภิกษุเราถ้าปลูกความยินดีในเพศภาวะของตนได้แล้ว ก็จะมีแต่ความสุข เยือกเย็น ถ้าตัวเองอยู่ในเพศภิกษุ แต่กลับไปยินดีในเพศอื่น ความทุกข์ก็จะทับถมอยู่ร่ำไป หยุดกระหาย หยุดแสวงหาได้ นั่นคือภิกษุภาวะโดยแท้ ความเป็นพระนั้น ยิ่งจน ยิ่งมีความสุข * ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว สัตว์เลื้อยคลานเล็กน้อยเช่น เหาย่อมอาศัยอยู่ไม่ได้ฉันใด จิตที่พ้นจากอารมณ์ ขาดการปรุงแต่งแล้ว ทุกข์ก็อาศัยอยู่ไม่ได้ฉันนั้น * ในทางโลกเขามีสิ่งที่มี แต่ในทางธรรมมีสิ่งที่ไม่มี คนในโลกนี้ต้องมีสิ่งที่มี เพื่ออาศัยสิ่งนั้นเป็นอยู่ ส่วนผู้ปฏิบัติธรรมต้องปฏิบัติจนถึงสิ่งที่ไม่มีและอยู่กับสิ่งที่ไม่มี * การปฏิบัติธรรม ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปไหน ในเมื่อกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเป็นตัวธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิดแห่งธรรม เป็นที่ดับแห่งธรรม เป็นที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อาศัยบัญญัติไว้ซึ่งธรรมทั้งปวง แม้ใครใคร่จะปฏิบัติธรรม ก็ต้องปฏิบัติที่กายและใจนี้ หาได้ปฏิบัติที่อื่นไม่ ดังนั้น ถ้าตั้งใจจริงแล้ว นั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น นอนอยู่ที่ไหน ยืนอยู่ที่ไหน เดินอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น * หลักธรรมที่แท้นั้นคือ จิต ให้กำหนดดูจิต ให้เข้าใจจิตตัวเองให้ลึกซึ้ง เมื่อเข้าใจจิตตัวเองได้ลึกซึ้งแล้วนั่นแหละได้แล้วซึ่งหลักธรรม * กิเลสทั้งหมด เกิดรวมอยู่ที่จิต ให้เพ่งมองที่จิต อันไหนเกิดก่อน ให้ละอันนั้นก่อน * จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากสติที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิต เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็นนิโรธ

เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเรา...พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) * คำสอนทั้ง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์นั้น เป็นเพียงอุบายให้คนทั้งหลายหันมาดูจิตนั่นเอง คำสอนของพระพุทธองค์มีมากมายก็เพราะกิเลสมีมากมาย แต่ทางที่ดับทุกข์ได้มีทางเดียว พระนิพพาน การที่เรามีโอกาสปฏิบัติธรรมที่ถูกทางเช่นนี้มีน้อยนัก หากปล่อยโอกาสให้ผ่านไป เราจะหมดโอกาสพ้นทุกข์ได้ทันในชาตินี้ แล้วจะต้องหลงอยู่ในความเห็นผิดอีกนานแสนนาน เพื่อจะพบธรรมอันเดียวกันนี้ ดังนั้นเมื่อเราเกิดมาพบพระพุทธศาสนาแล้ว รีบปฏิบัติให้หลุดพ้นเสีย มิฉะนั้นจะเสียโอกาสอันดีนี้ไป เพราะว่าเมื่อสัจจธรรมถูกลืม ความมืดมนย่อมครอบงำปวงสัตว์ให้อยู่ในกองทุกข์สิ้นกาลนาน * นิมิตบางอย่างมันก็สนุกดี น่าเพลิดเพลินอยู่หรอก แต่ถ้าติดอยู่แค่นั้นก็เสียเวลาเปล่า วิธีละได้ง่ายก็คือ อย่าไปดูสิ่งที่ถูกเห็นเหล่านั้น ให้ดูผู้เห็น แล้วสิ่งที่ไม่อยากเห็นนั้นก็จะหายไปเอง * ขอให้ท่านทั้งหลาย สำรวจดูความสุขว่า ตรงไหนที่ตนเห็นว่ามันสุขที่สุดในชีวิต ครั้นสำรวจดูแล้วมันก็แค่นั้นแหละ แค่ที่เราเคยพบมาแล้วนั่นเอง ทำไมจึงไม่มากกว่านั้น มากกว่านั้นไม่มี โลกนี้มีอยู่แค่นั้นเอง แล้วก็ซ้ำๆ ซากๆ อยู่แค่นั้น เกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่ร่ำไป มันจึงน่าจะมีความสุขชนิดพิเศษกว่า ประเสริฐกว่านั้น ปลอดภัยกว่านั้น พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านจึงสละสุขส่วนน้อยนั้นเสีย เพื่อแสวงหาสุขอันเกิดจากความสงบกาย สงบจิต สงบกิเลส เป็นความสุขที่ปลอดภัยหาสิ่งใดเปรียบมิได้เลย * ภิกษุเราถ้าปลูกความยินดีในเพศภาวะของตนได้แล้ว ก็จะมีแต่ความสุข เยือกเย็น ถ้าตัวเองอยู่ในเพศภิกษุ แต่กลับไปยินดีในเพศอื่น ความทุกข์ก็จะทับถมอยู่ร่ำไป หยุดกระหาย หยุดแสวงหาได้ นั่นคือภิกษุภาวะโดยแท้ ความเป็นพระนั้น ยิ่งจน ยิ่งมีความสุข * ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว สัตว์เลื้อยคลานเล็กน้อยเช่น เหาย่อมอาศัยอยู่ไม่ได้ฉันใด จิตที่พ้นจากอารมณ์ ขาดการปรุงแต่งแล้ว ทุกข์ก็อาศัยอยู่ไม่ได้ฉันนั้น * ในทางโลกเขามีสิ่งที่มี แต่ในทางธรรมมีสิ่งที่ไม่มี คนในโลกนี้ต้องมีสิ่งที่มี เพื่ออาศัยสิ่งนั้นเป็นอยู่ ส่วนผู้ปฏิบัติธรรมต้องปฏิบัติจนถึงสิ่งที่ไม่มีและอยู่กับสิ่งที่ไม่มี * การปฏิบัติธรรม ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปไหน ในเมื่อกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเป็นตัวธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิดแห่งธรรม เป็นที่ดับแห่งธรรม เป็นที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อาศัยบัญญัติไว้ซึ่งธรรมทั้งปวง แม้ใครใคร่จะปฏิบัติธรรม ก็ต้องปฏิบัติที่กายและใจนี้ หาได้ปฏิบัติที่อื่นไม่ ดังนั้น ถ้าตั้งใจจริงแล้ว นั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น นอนอยู่ที่ไหน ยืนอยู่ที่ไหน เดินอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น * หลักธรรมที่แท้นั้นคือ จิต ให้กำหนดดูจิต ให้เข้าใจจิตตัวเองให้ลึกซึ้ง เมื่อเข้าใจจิตตัวเองได้ลึกซึ้งแล้วนั่นแหละได้แล้วซึ่งหลักธรรม * กิเลสทั้งหมด เกิดรวมอยู่ที่จิต ให้เพ่งมองที่จิต อันไหนเกิดก่อน ให้ละอันนั้นก่อน * จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากสติที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิต เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็นนิโรธ

จำหน่ายแม่เหล็กไฟฟ้า ทำงานด้วยไฟฟ้าแรงดันต่ำ 5 โวลต์ ถึง 24 โวลต์ ความปลอดภัยสูง หรือ เรียกว่า solenoid โซลินอยด์ ผลิตจากขดลวดที่ได้จากการพันลวดหลายรอบชิดกันเป็นรูปทรงกระบอกมีแกนเหล็ก ถ้าให้กระแสไฟฟ้าผ่านจะเกิดสนามแม่เหล็กภายในขดลวดและรอบๆ ขดลวดและแกนเหล็ก ราคาตัวละ 150 บาท ซื้อได้ที่ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.com

เรือลำน้อยลอยข้ามทะเลทุกข์ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็นกลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลางด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

ใต้ร่มโพธิญาณ BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

อำลาพุทธภูมิ BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

ศึกครั้งนี้อาจแตกต่างไปมากกว่าที่คิด การเปลี่ยนโครงสร้างในระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องมือสื่อสาร ระบบควบคุม ใน เครื่องจักรกล ในเครื่องมือ ใน เครื่องใช้ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือวัด ทางวิทยาศาสตร์ ทางการเเพทย์ โดยการลดแรงดันและกระแสไฟฟ้า ในระบบ ให้มีแรงดัน ที่ต่ำกว่า 5 โวลต์ และใช้กระแสที่ ต่ำ กว่าเดิม ทำให้โลก อยู่ใน สภาวะ ที่ แตกต่าง ไปจาก ที่เราคิด..

วันอาทิตย์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ทางสองแพร่งข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

สันติข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

พุทธภูมิ สาวกภูมิข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

สัจจานุโลมิกญาณ คือ วิปัสสนาปัญญา ที่รู้ความจริงที่คล้อยตามสัจจะพอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง............. ...................................................................................................................................... เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

จุดสำคัญอยู่ที่ความรู้สึกตัวพอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง............. ...................................................................................................................................... เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว

เพลง สุดแผ่นดินสุดดินคือถิ่นน้ำ เขตคามไทยสุดแนว เราถอยไปไม่ได้อีกแล้ว ผืนถิ่นสิ้นแนว ทะเลกว้างใหญ่ ชาติไทยในเก่ากาล ถูกเขารานย่ำใจ เคยเสียน้ำตามากเพียงไหน เสียเนื้อเลือดเท่าไร ชาวไทยจำได้ดี เราถอยมาอยู่แสนไกล รวมเผ่าไทยอยู่อย่างเสรี พระสยามทรงนำโชคดี ผืนดินถิ่นนี้คือแผ่นดินทอง ไม่มีที่แห่งไหน ให้ไทยจับจอง เราถอยไปไม่ได้พี่น้อง ใครคิดมาแย่งครอง ผองไทยจงสู้ตาย

วันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

อินเวอร์เตอร์ แผงวงจรแอร์ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า ออกแบบ สร้าง จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.com

จำหน่าย อุปกรณ์ ซ่อม สร้าง เครื่องควบคุม เครื่องจักรและมอเตอร์ไฟฟ้า. จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.com

แบตเตอรี่สองลูกใช้กับมอเตอร์สามเฟส220/380หนึ่งแรงม้า จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.com

SHUNT RESISTOR จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.com

วิธีสร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่3 จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.com

จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.comมอเตอร์ปั่นไฟก็ได้หมุนก็ได้กินไฟน้อย STEPPER MOTOR หรือ STEPPING MOTOR

จำหน่าย แกน หม้อแปลง เทอรอยด์ สำหรับ สร้างเครื่องแปลงไฟฟ้า จำหน่าย ทรานซิสเตอร์ มอสเฟต ไอ จี บี ที จำหน่าย เอส ซี อาร์ จำหน่าย ไดโอด สำหรับใช้ สร้าง ซ่อม ผลิต อินเวอร์ เตอร์ คอนเวอร์ เตอร์ เครื่อง ควบคุม ความเร็วมอเตอร์ กระแส ตรง มอเตอร์ กระแสสลับ มอเตอร์ สามเฟส มอเตอร์ แบบมีแปรงถ่าน มอเตอร์แบบอินดัตชั่น ที่มีขนาด ไม่เกิน 5000 วัตต์ 02-951-1356 line id: pornpimon 1411 email sompongindustrial@gmail.comมอเตอร์ปั่นไฟก็ได้หมุนก็ได้กินไฟน้อย STEPPER MOTOR หรือ STEPPING MOTOR

อย่าไปซึมกระทือหมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิ โดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว

การเกิด อริยมรรคหมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิ โดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว

การเกิดในอริยภูมฺิหมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิ โดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว

จิตทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิ โดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว

การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ความชั่วเกิดที่จิต รู้ทันปุ๊บ ความชั่วกระเด็น กลายเป็นดี ก็เห็นอีก จิตปรุงดีก็ทุกข์นะ จิตปรุงชั่วก็ทุกข์อีก เราเฝ้ารู้ไปเรื่อย ถ้าปัญญามันพอนะ จะเห็นเลย ปัญญาเบื้องต้นมันจะเห็นเลยว่า ทุกอย่างเกิดแล้วดับ ปัญญาเบื้องปลายจะเห็นว่า ทุกอย่างนั้นแหละทุกข์ ถ้าเห็นแจ้งทุกข์ จิตจะสลัดคืนกองทุกข์ให้โลก คืนกายคืนใจให้โลกไป ถ้าจิตเราไม่ยึดถือในรูปนามกายใจนะ จะไม่ยึดถืออะไรในโลกอีกแล้ว จะเป็นอิสระ ใจจะโปร่งโล่งเบา มีความสุขอยู่อย่างนั้นแหละทั้งวันทั้งคืน เข้าถึงความสุขอีกชนิดหนึ่งแล้ว ความสุขที่มหาศาลเลย คือความสุขของพระนิพพาน จิตซึ่งไปสัมผัสพระนิพพาน ก็ได้สัมผัสความสุขของพระนิพพานมา มีความสุขมหาศาล จิตที่สัมผัสพระนิพพานมีความสุข ท่านบอกว่า “นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ” นิพพานเป็นบรมสุข สุขจริงๆ สุขที่พวกเรารู้จักในวันนี้นะ เล็กน้อยมากเลยนะ ถ้าเทียบกับสุขในธรรมะที่ปราณีตขึ้นเป็นลำดับๆ สุขของเราอย่างนี้เรียกว่า “กามสุข” กินของอร่อยมีความสุข เห็นของสวยๆมีความสุข ได้ยินเสียงไพเราะๆ เสียงชมเสียงอะไรเหล่านี้ มีความสุข นี้เป็นกามสุข กามสุขที่โลกเขาใฝ่หาเนี่ย เล็กน้อยเหลือเกินเมื่อเทียบกับฌานสุข ถ้าเราทำฌานทำสมาธิได้ เราจะรู้เลยว่า กามสุขเป็นเรื่องเล็กน้อย สกปรกโสโครก ความสุขของกามเนี่ย คล้ายๆเด็กที่ไร้เดียงสาไปเล่นไส้เดือนกิ้งกือ เล่นของขยะสกปรก เล่นได้หมดเลย ก็มีความสุข เด็กไปเล่นดินเล่นทรายสกปรกนะ ตัวมอมแมมหน้ามอมแมมไปหมด มันมีความสุข เนี่ยกามสุขมันเป็นแบบนั้น ฌานสุขมันสูงกว่านั้นนะ ฌานสุขมันเป็นสุขที่มันอิ่มมันเต็มมากขึ้น แต่ว่าความสุขในโลกุตตระ ความสุขในพระนิพพานนั้นน่ะ ฌานสุขเทียบไม่ติดเลย ฌานนั้นแหละกลายเป็นตัวทุกข์เลย คนที่ทรงฌานก็จะเห็นว่ากามสุขนั้นเป็นตัวทุกข์ แต่ว่าคนซึ่งเข้าถึงโลกุตตระแล้ว ก็ยังเห็นอีกว่าฌานนั้นแหละเป็นตัวทุกข์ จะเห็นกันเป็นลำดับๆไปนะ คล้ายๆพัฒนาขึ้นไปๆตามสติปัญญาที่แก่กล้าขึ้นไปๆ ถ้าเราสัมผัสพระนิพพานแล้ว เราจะรู้เลยว่าโลกนี้หาสาระแก่นสารไม่ได้ โลกนี้เหมือนฝัน ความสุขเหมือนกับฝันอยู่เท่านั้นแหละ ไม่ใช่มีของจริงอะไรให้เราดูเลย ความสุขของพระนิพพานนั้นเหมือนกับของจริง มันเหมือนว่าเรากลับบ้านเราได้แล้ว เราเป็นเด็กหลงทางหาทางกลับบ้านไม่เจอ วันนี้เรากลับถึงบ้านได้แล้ว มันมีความสุขนะ เจอพ่อเจอแม่ของเรา คือเจอพระพุทธเจ้า จิตของเรานั้นแหละ กับพระพุทธเจ้า จะหลอมรวมเป็นสิ่งเดียวกัน จิตของเรากับพระธรรมจะหลอมรวมเข้าเป็นสิ่งเดียวกัน จิตนั้นแหละก็คือตัวพระสงฆ์ พระรัตนตรัยรวมเข้าเป็นหนึ่งที่จิตนั้นเอง ที่จิตที่บริสุทธิ์จิตที่สะอาด จะมีความสุขที่ไม่มีอะไรเหมือนไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่­เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธน­ะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจ­นั้น คือหัดรู้ใจของเรา หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า หมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­ล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้น­กายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเร­ื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลร­ูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิ­ตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข­้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในท­ุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตท­ี่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภ­ูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที­่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้นทางบรรลุธรรม เมื่อภาวนาเป็นแล้ว ก็ต้องภาวนาให้เต็มที่ เพื่อเข้าถึงภาวะ "สักว่ารู้ สักว่าเห็น" หลวงพ่อปราโมทย์ : ทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมาพอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง............. ...................................................................................................................................... เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว อย่างเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น จิตมันเคลื่อนไปดูที่ความโกรธ มันไหลไปอยู่กับความโกรธนะ ความโกรธอาจจะหนีออกไปนอกร่างกายเราอีกนะ หนีออกไปข้างนอกเราตามไปดูอีก ความโกรธดับไปคราวนี้เสร็จเลย กลับบ้านไม่เป็น จิตไม่เข้าฐานแล้ว จิตไปอยู่ข้างนอก อย่างนี้ใช้ไม่ได้ จิตไม่เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตไม่ถึงฐาน จิตไม่ตั้งมั่นจิตไปอยู่ข้างนอกก็ว่างสว่า­งบริสุทธิ์ขึ้นมานะ นึกว่าบรรลุมรรคผลแล้ว ที่แท้ตัวนี้คือวิปัสสนูฯตัวนึง ชื่อว่าโอภาส พวกนักดูจิตเนี่ยไปติดโอภาสเยอะ เพราะจิตมันจะสว่างไสว แล้วก็จิตมันไม่ถึงฐาน มันเคลื่อนออกจากฐานไปวิปัสสนูปกิเลสมี ๑๐ อย่าง แต่ทั้ง ๑๐ อย่างเกิดจากอาการอันเดียวกัน คือจิตไม่ถึงฐาน เพราะนั้นในขณะที่เราเดินวิปัสสนาอยู่นะ ถ้าจิตเราเคลื่อนไป ต้องรู้ทันนะ ถ้าเคลื่อนแล้วไม่รู้ทันเนี่ย มันจะไปปรุงแต่งวิปัสสนูปกิเลสขึ้นมาหลอกเ­รา จะนึกว่าบรรลุมรรคผลนิพพานเมื่อช่วงสองสาม­วันนี้ไปแก้พระองค์นึง พระองค์นึงก็เนี่ยจิตไม่ถึงฐานแล้ว พอจิตไม่เข้าฐานนะ ไปรู้ไปเห็นอะไรนะ มันว่างไปหมดมันดับไปหมดเลย แล้วก็บอกว่าชะรอยจะบรรลุแล้ว ไม่บรรลุหรอก จิตยังออกนอกอยู่งั้นเราต้องสังเกตให้ดี ตรงที่ิจิตมันถึงฐานหรือไม่ถึงฐาน ถ้าจิตมันเคลื่อนแล้วไม่รู้ทันนะ ตัวนี้แล้วไปเดินปัญญานะ แล้วก็ไม่รู้ทันตัวนี้ จะโดนวิปัสสนูปกิเลสเอาไปกิน จุดสำคัญอยู่ที่ความรู้สึกตัว"ทางแยกระหว่างพุทธภูมิกับสาวกภูมิ" การภาวนานะ ขั้นแรกสุดเลยคือต้องรู้วิธีให้ได้ก่อน พวกเรามาเรียนวิธีนะ ชาวไฟฟ้ามาเรียนวิธีการรู้วิธีการให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

วันจันทร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ลืมตายังฝันการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

ชาวพุทธทุกคนมีโอกาสสัมผัสสิ่งที่สูงที่สุดคือสันติการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

สิ่งที่สูงที่สุดการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

ใต้ร่มโพธิญาณการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิตการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิตการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

ปรินิพพานการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

ปรินิพพานการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ทางแห่งสันติข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวันอารามของ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ก็สมัยนั้นแล พระผู้มีพระภาค ทรงชี้แจงให้ภิกษุทั้งหลายเห็นแจ้ง ให้สมาทาน ให้อาจหาญ ให้ร่าเริง ด้วย ธรรมมีกถาอันปฏิสังยุตต์ด้วยนิพพาน ก็ภิกษุเหล่านั้นกระทำให้มั่น มนสิการแล้ว น้อมนึกธรรมีกถาด้วยจิตทั้งปวงแล้ว เงี่ยโสตลงฟังธรรม ลำดับนั้นแล พระผู้- *มีพระภาคทรงทราบเนื้อความนี้แล้ว ทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้นว่า ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย อายตนะนั้นมีอยู่ ดิน น้ำ ไฟ ลม อากาสานัญจายตนะ วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เนวสัญญานาสัญญายตนะ โลกนี้ โลกหน้า พระจันทร์และพระอาทิตย์ทั้งสอง ย่อมไม่มีในอายตนะนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมไม่กล่าวซึ่งอายตนะนั้นว่า เป็นการมา เป็นการไป เป็นการตั้งอยู่ เป็นการ จุติ เป็นการอุปบัติ อายตนะนั้นหาที่ตั้งอาศัยมิได้ มิได้เป็นไป หาอารมณ์มิได้ นี้แลเป็นที่สุดแห่งทุกข์ ฯ

มหาสุญญตาสูตรดูกรอานนท์ ก็อุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ อย่างไร ดูกรอานนท์ ตถาคตอุบัติในโลกนี้ ได้เป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึก อย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ตถาคตนั้นย่อมพอใจเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำบนภูเขา ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง และลอมฟาง เมื่อตถาคตนั้นหลีก ออกแล้วอย่างนั้นอยู่ พวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท จะพา กันเข้าไปหา เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท พากัน เข้าไปหาแล้ว ตถาคตนั้นย่อมไม่ปรารถนาอย่างหมกมุ่น ไม่ถึงความวุ่นวาย ไม่ เวียนมาเพื่อความเป็นผู้มักมาก ดูกรอานนท์ ส่วนสาวกของตถาคตผู้ศาสดานั่นแล เมื่อเพิ่มพูนวิเวกตามตถาคตผู้ศาสดา ย่อมพอใจเสนาสนะอันสงัด คือ ป่า โคนไม้ ภูเขา ซอกเขา ถ้ำบนภูเขา ป่าช้า ป่าชัฏ ที่แจ้ง และลอมฟาง เมื่อสาวกนั้น หลีกออกแล้วอย่างนั้นอยู่ พวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท จะพากันเข้าไปหา เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดี ชาวนิคมและชาวชนบท พา กันเข้าไปหาแล้ว สาวกนั้นย่อมปรารถนาอย่างหมกมุ่น ถึงความวุ่นวาย เวียนมา เพื่อความเป็นผู้มักมาก ดูกรอานนท์ สาวกนี้เรียกว่าผู้ประพฤติพรหมจรรย์มีอุปัททวะ ด้วยอุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์ อกุศลธรรมอันลามก เศร้าหมอง เป็นเหตุ เกิดในภพใหม่ มีความกระวนกระวาย มีทุกข์เป็นวิบาก เป็นที่ตั้งแห่งชาติ ชรา มรณะต่อไป ได้ฆ่าสาวกนั้นเสียแล้ว ดูกรอานนท์ อย่างนี้แล อุปัททวะของผู้ ประพฤติพรหมจรรย์ย่อมมีได้ ฯ ดูกรอานนท์ ในอุปัททวะทั้ง ๓ นั้น อุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์นี้ มีวิบากเป็นทุกข์ มีวิบากเผ็ดร้อนกว่าอุปัททวะของอาจารย์และอุปัททวะของศิษย์ ทั้งเป็นไปเพื่อความตกต่ำด้วย ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงเรียกร้อง เราด้วยความเป็นมิตร อย่าเรียกร้องเราด้วยความเป็นข้าศึก ข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อ ประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุขแก่พวกเธอตลอดกาลนาน ฯ [๓๕๕] ดูกรอานนท์ ก็เหล่าสาวกย่อมเรียกร้องศาสดาด้วยความเป็น ข้าศึก ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นมิตรอย่างไร ดูกรอานนท์ ศาสดาในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรม แก่สาวกทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่าสาวกของศาสดานั้นไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยโสตสดับ ไม่ตั้งจิตรับรู้และประพฤติ หลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา ดูกรอานนท์ อย่างนี้แลเหล่าสาวกชื่อว่าเรียกร้อง ศาสดาด้วยความเป็นข้าศึก ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นมิตร ฯ [๓๕๖] ดูกรอานนท์ ก็เหล่าสาวกย่อมเรียกร้องศาสดาด้วยความเป็นมิตร ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึกอย่างไร ดูกรอานนท์ ศาสดาในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้อนุเคราะห์ แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล อาศัยความเอ็นดูแสดงธรรมแก่สาวก ทั้งหลายว่า นี่เพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่พวกเธอ นี่เพื่อความสุขแก่พวกเธอ เหล่า สาวกของศาสดานั้น ย่อมฟังด้วยดี เงี่ยโสตสดับ ตั้งจิตรับรู้และไม่ประพฤติ หลีกเลี่ยงคำสอนของศาสดา ดูกรอานนท์ อย่างนี้แล เหล่าสาวกชื่อว่าเรียกร้อง ศาสดาด้วยความเป็นมิตร ไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึก ฯ ดูกรอานนท์ เพราะฉะนั้นแล พวกเธอจงเรียกร้องเราด้วยความเป็นมิตร อย่าเรียกร้องด้วยความเป็นข้าศึก ข้อนั้นจักเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความ สุขแก่พวกเธอตลอดกาลนาน ดูกรอานนท์ เราจักไม่ประคับประคองพวกเธอ เหมือนช่างหม้อประคับประคองภาชนะดินดิบที่ยังดิบๆ อยู่ เราจักข่มแล้วๆ จึงบอก จักยกย่องแล้วๆ จึงบอก ผู้ใดมีแก่นสาร ผู้นั้นจักตั้งอยู่ ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ท่านพระอานนท์จึงชื่นชมยินดี พระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล ฯ

เกิดอะไรขึ้นในกายในใจตามรู้ตามดูไปตามความเป็นจริงทีละขณะทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตนจากกามทั้งปวงเราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้วนะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ . ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้อริยสัจธรรมได้ถูกต้องด้วยพระองค์เ­อง แม้ปรินิพพานนานแล้ว ยังปรากฎอยู่ โดยพระบริสุทธิคุณ เป็นต้น ดังนี้...ปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัดเข้­าไปส้องเสพหญิ­งเหล่านั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสาร อันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อภพใหม่ขึ้นอีก เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตน จากกามทั­­้งปวง เราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้ว เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ย่อมรู้ชัดว่า ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีกสัตว์สองเท้านี้เป็นสัตว์ไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ มีของโสโครกไหลออกทั่วกาย ต้องบริหารอยู่เป็นนิตย์. เบญจกามคุณอันน่ารื่นรมย์ใจเหล่านี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่มีปรากฏในรูปร่าง หญิง ย่อมล่อลวงปุถุชนให้ลำบากปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัด เข้าไปซ่องเสพหญิงเหล่า นั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสารอันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อภพใหม่ขึ้นอีก ส่วนผู้ใดงดเว้นหญิงเหล่านั้น เหมือนบุคคล สลัดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ระงับตัณหาอันซ่านไปใน โลกเสียได้ เราเห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นการออกบรรพชาโดยความเกษม สลัดตนจากกามทั้งปวง เราได้บรรลุความ สิ้นอาสวะแล้ว.เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ย่อมรู้ชัดว่า ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก ความชั่วเกิดที่จิต รู้ทันปุ๊บ ความชั่วกระเด็น กลายเป็นดี ก็เห็นอีก จิตปรุงดีก็ทุกข์นะ จิตปรุงชั่วก็ทุกข์อีก เราเฝ้ารู้ไปเรื่อย ถ้าปัญญามันพอนะ จะเห็นเลย ปัญญาเบื้องต้นมันจะเห็นเลยว่า ทุกอย่างเกิดแล้วดับ ปัญญาเบื้องปลายจะเห็นว่า ทุกอย่างนั้นแหละทุกข์ ถ้าเห็นแจ้งทุกข์ จิตจะสลัดคืนกองทุกข์ให้โลก คืนกายคืนใจให้โลกไป ถ้าจิตเราไม่ยึดถือในรูปนามกายใจนะ จะไม่ยึดถืออะไรในโลกอีกแล้ว จะเป็นอิสระ ใจจะโปร่งโล่งเบา มีความสุขอยู่อย่างนั้นแหละทั้งวันทั้งคืน เข้าถึงความสุขอีกชนิดหนึ่งแล้ว ความสุขที่มหาศาลเลย คือความสุขของพระนิพพาน จิตซึ่งไปสัมผัสพระนิพพาน ก็ได้สัมผัสความสุขของพระนิพพานมา มีความสุขมหาศาล จิตที่สัมผัสพระนิพพานมีความสุข ท่านบอกว่า “นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ” นิพพานเป็นบรมสุข สุขจริงๆ สุขที่พวกเรารู้จักในวันนี้นะ เล็กน้อยมากเลยนะ ถ้าเทียบกับสุขในธรรมะที่ปราณีตขึ้นเป็นลำดับๆ สุขของเราอย่างนี้เรียกว่า “กามสุข” กินของอร่อยมีความสุข เห็นของสวยๆมีความสุข ได้ยินเสียงไพเราะๆ เสียงชมเสียงอะไรเหล่านี้ มีความสุข นี้เป็นกามสุข กามสุขที่โลกเขาใฝ่หาเนี่ย เล็กน้อยเหลือเกินเมื่อเทียบกับฌานสุข ถ้าเราทำฌานทำสมาธิได้ เราจะรู้เลยว่า กามสุขเป็นเรื่องเล็กน้อย สกปรกโสโครก ความสุขของกามเนี่ย คล้ายๆเด็กที่ไร้เดียงสาไปเล่นไส้เดือนกิ้งกือ เล่นของขยะสกปรก เล่นได้หมดเลย เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกนะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ . ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้อริยสัจธรรมได้ถูกต้องด้วยพระองค์เ­อง แม้ปรินิพพานนานแล้ว ยังปรากฎอยู่ โดยพระบริสุทธิคุณ เป็นต้น ดังนี้...ปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัดเข้­าไปส้องเสพหญิ­งเหล่านั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสาร อันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อภพใหม่ขึ้นอีก เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตน จากกามทั­­้งปวง เราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้ว เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ย่อมรู้ชัดว่า ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก สัตว์สองเท้านี้เป็นสัตว์ไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ มีของโสโครกไหลออกทั่วกาย ต้องบริหารอยู่เป็นนิตย์. เบญจกามคุณอันน่ารื่นรมย์ใจเหล่านี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่มีปรากฏในรูปร่าง หญิง ย่อมล่อลวงปุถุชนให้ลำบาก ปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัด เข้าไปซ่องเสพหญิงเหล่า นั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสารอันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อ ภพใหม่ขึ้นอีก ส่วนผู้ใดงดเว้นหญิงเหล่านั้น เหมือนบุคคล สลัดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ระงับตัณหาอันซ่านไปใน โลกเสียได้ เราเห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นการออกบรรพชา โดยความเกษม สลัดตนจากกามทั้งปวง เราได้บรรลุความ สิ้นอาสวะแล้ว. เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ย่อมรู้ชัดว่า ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก http://www.stlthaitemple.org/dharmabo...,เรื่องพระอานนท์พุทธอนุชาผลงานของ ท่านอาจารย์วศิน อินทสระ http://www.dhammaster.com/th/index.ph...,ลีลาวดี http://www.youtube.com/watch?v=88ppg7...,สิ่งที่มีสาระ http://www.youtube.com/watch?v=YQHUSu...,อัปปมัญญาเมตตาแปล ๏ The Metta compassionate mantra http://www.youtube.com/watch?v=l7eJ51...,จากพระราชาสู่เพศบรรพชิตที่ไม่มีสมบัติอะไรเลย จากเรื่อง พระเจ้าปุกกุุสาติ พระอริยะบุคคล พระอนาคามี

เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตนจากกามทั้งปวงเราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้วนะโม ตัสสะ ภะคะวะโต, อะระหะโต, สัมมาสัมพุทธัสสะ . ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลส ตรัสรู้อริยสัจธรรมได้ถูกต้องด้วยพระองค์เ­อง แม้ปรินิพพานนานแล้ว ยังปรากฎอยู่ โดยพระบริสุทธิคุณ เป็นต้น ดังนี้...ปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัดเข้­าไปส้องเสพหญิ­งเหล่านั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสาร อันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อภพใหม่ขึ้นอีก เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตน จากกามทั­­้งปวง เราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้ว เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ย่อมรู้ชัดว่า ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก สัตว์สองเท้านี้เป็นสัตว์ไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ มีของโสโครกไหลออกทั่วกาย ต้องบริหารอยู่เป็นนิตย์. เบญจกามคุณอันน่ารื่นรมย์ใจเหล่านี้ คือ รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ ที่มีปรากฏในรูปร่าง หญิง ย่อมล่อลวงปุถุชนให้ลำบาก ปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัด เข้าไปซ่องเสพหญิงเหล่า นั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสารอันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อ ภพใหม่ขึ้นอีก ส่วนผู้ใดงดเว้นหญิงเหล่านั้น เหมือนบุคคล สลัดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ระงับตัณหาอันซ่านไปใน โลกเสียได้ เราเห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นการออกบรรพชา โดยความเกษม สลัดตนจากกามทั้งปวง เราได้บรรลุความ สิ้นอาสวะแล้ว. เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลง ที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเอง ก็ไม่หวั่นไหว เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน ย่อมรู้ชัดว่า ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก http://www.stlthaitemple.org/dharmabo...,เรื่องพระอานนท์พุทธอนุชาผลงานของ ท่านอาจารย์วศิน อินทสระ http://www.dhammaster.com/th/index.ph...,ลีลาวดี http://www.youtube.com/watch?v=88ppg7...,สิ่งที่มีสาระ http://www.youtube.com/watch?v=YQHUSu...,อัปปมัญญาเมตตาแปล ๏ The Metta compassionate mantra http://www.youtube.com/watch?v=l7eJ51...,จากพระราชาสู่เพศบรรพชิตที่ไม่มีสมบัติอะไรเลย จากเรื่อง พระเจ้าปุกกุุสาติ พระอริยะบุคคล พระอนาคามี

วันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ขาย power module PS21244 PS21963 PS219A2ทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Module สำหรับใช้ กับมอเตอร์ สามเฟส ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 300 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

ขาย power module PS21244 PS21963 PS219A2ทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Module สำหรับใช้ กับมอเตอร์ สามเฟส ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 300 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 300 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย .ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดก.ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ.ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

กุศโลบายสอนจิตด้วยปัญญาอิมินาสักกาเรนะ พุทธังอะภิปูชะยามิ ... ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ ... วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา ..... วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ข้ามพ้นฝั่งแห่งภพ,.

จิตที่เดินตามอริยะมรรคจิตดูจิตแหละ เอาจิตดูจิต ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว อะไรมันขาดไปเอง อะไรทุกสิ่งทุกอย่างมันขาดไปเอง มันรู้ถึงความเป็นจริง แล้วก็ มันหมดความสงสัย แต่ว่า ต้องรู้ถึงความเป็นจริง รู้โดยปัญญา อริยมรรค

วันพุธที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

แก้ไขปัญหาภัยแล้งดินแห้งแก้ไขปัญหาภัยแล้งดินแห้ง สาธิตดินและน้ำแห้งมอเตอร์หมุนเร็วสูบน้ำเ­ข้านาอัตโนมัติ จำหน่าย Power Mosfet Power Module สำหรับ สร้าง เครื่องปรับรอบมอเตอร์ สามเฟส ครับ มีเบอร์ TM51 6DI15S-050 MP6501A PS21244 PS21963 PS219A2 Line 0818036553 Email sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com TM 51 รับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงตั้งแต่ 48 Voltsถึง 300 Volts ครับ รับกระแสได้ 10 ถึง 15 Amps แล้วจะทำหน้าที่ เปลี่ยนเป็นไฟฟ้ากระแสตรง -ทีแรงดัน 370-375 Volts เพื่อนำไปจ่ายให้กับ TM 52 A ครับ TM 52 A จะทำหน้าที่ขับมอเตอร์ สามเฟส 220/380 Volts สูงสุดที่ประมาณ 3- 5 แรงม้าแนะนำให้ใช้ที่..3 แรงม้าครับ..บอร์ด MC3PHAC ทำหน้าที่ สร้างและกำหนดค่าของสัญญาณ สามเฟส SINE WAVE แบบ PWM ครับ..มีจำหน่ายหลายที่ครับ ติดต่อกันเองก็แล้วกัน ถ้าหาไม่ได้ ลองโทรไปที่ 02 951 1356 และ 081-803-6553 นะครับ...หรือ ติดต่อที่ s o m p o n g i n d u s t r i a l @ g mail .com m r s o m p o n g t @h o t mail.comm ก็ได้ครับ จำหน่าย PS 21244 MITSUBISHI SEMICONDUCTOR TRANSFER-MOLD TYPE INSULATED TYPE 6 DI 15 S -050 C 6 DI 15 S-050 D TM 51 TM 52 A สำหรับสร้างเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส..

ขดลวดทองแดงขายแกนเฟอร์ไรท์ ชนิด Toriod หรือขายแกนเทอรอยด์ toriod ชนิด เฟอร์ไรท์ ferrite ใช้สร้าง CONVERTER INVERTER POWER SUPPLY EMERGENCY POWER SUPPLY INDUCTION HEATING WELDING MACHINE มีหลากหลายชนิด หลายแบบ หลายขนาด หลายความถี่ หลายราคาครับ.. sompong industrial electronics 02-951-1356 081-803-6553 บอกกำลังวัตต์ที่ต้องการและงบประมาณมาก็พอ­ครับ.อย่างอื่นเช่น..วงจร.อุปกรณ์ที่ผมมีอ­ยู่..พอสมควรครับ..Emailจะสะดวกในการทำงาน­ของผมครับ..โทรศัพท์..สะดวกช่วงกลางคืน..ไ­ม่เกินสี่ทุ่มครับ..ติดต่อ..สอบถามได้ทุกว­ัน

เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอร...ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การซ่อมและแก้ไขตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์การซ่อมและแก้ไขตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์

รับซ่อมหม้อหุงข้าวดิจิตอลเตาแม่เหล็กไฟฟ้าครับhttps://www.youtube.com/watch?v=edIrrWcl7vM

รับซ่อมหม้อหุงข้าวดิจิตอลเตาแม่เหล็กไฟฟ้าครับรับซ่อมหม้อหุงข้าวดิจิตอลเตาแม่เหล็กไฟฟ้­าครับ จำหน่าย อุปกรณ์ POWER ELECTRONICS กำลังสำหรับนำไปสร้าง ซ่อม เตาแม่เหล็กไฟฟ้า เครื่องเชื่อม ชนิดอินเวอร์เตอร์ เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์ กระแสสลับสามเฟส ที่ใช้ใน แอร์ อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ สวิทชิ่่งเพาเวอร์ ซัพพลาย รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ทุกรุ่น.ทุกยี่ห้อ.ทุกอาการ..ครับ..รบกวน.­­.ส่งมาที่ 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 หมู่ 1 ตำบลคลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนท์บุรี ระหัส 11000 ส่งมาทาง Ems นะครับ...ติดต่อ ที่ Line 081-803-6553 โทรศัพท์ 02-951-1356 ขอบคุณมากครับ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI ELECTRIC POWER MODULE FOR 3 PHASE INVERTER MOTOR SPEED CONTROL ..ราคาตัวละ 300 บาท.

ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

นี้เป็นทางสายเดียว เพื่อความบริสุทธิ์หลุดพ้น ไม่มีทางสายที่สองให้เลือกถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

พระโพธิสัตว์ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

อำลาพุทธภูมิถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

วันจันทร์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ให้ความสำคัญ กับสิ่งที่อยู่ตรงหน้า ก่อนที่เวลา จะพรากเราจากไปการที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

ตัวทุกข์ทั้งนั้นการที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

ทุกข์โคตรโคตรการที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

ความดับสนิทแห่งทุกข์กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้นพระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อพระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือเมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้นนี่ พระองค์เข้าสู่นิพพานอย่างจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนดอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ ดับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกติของมนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติและสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดที่มาครอบงำอำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป็นภาวะแห่งตนเองอย่างบริบูรณ์เมื่อ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแท้ๆ จริงๆ ได้ถูกทำลายลงอย่างสนิท จึงเป็นผู้บริสุทธิ์ หมดสิ้นแล้วซึ่งสังขารธรรม และหมดเชื้อ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ทั้งปวงใดๆ

สุดท้ายยกเครื่องฉายหนังทิ้งไปคืนกายคืนใจให้โลกสติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า

ไม่มีที่หนีไม่มีที่ถอยไม่มีที่มาไม่มีที่ไปมีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า

วันอาทิตย์ที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ทางสองแพร่งการให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

ทางสองแพร่งข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

วันเสาร์ที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ความเป็นกลางถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

ความเป็นกลางถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

พุทโธจิตหนีไปคิดรู้ทันจิตรู้ทันกิเลสรู้ให้เร็วทีละขณะทุกวินาที..สมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ พระราชนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย คำนำ ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอวิงวอน และร้องขอเชิญชวน ผู้ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานทั้งหลาย ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานในพุทธศาสนา จงสอนให้ยึดมั่นแนวเดียวกัน อย่าสอนไปคนละแบบต่างๆกัน จะเป็นทางหายนะแก่พระพุทธศาสนา จงสงสารผู้หวังดีกับพระพุทธศาสนาที่ตั้งใจเข้ามาปฏิบัติ เมื่อมาเห็นเช่นนั้นเข้าแล้วเลยท้อแท้ใจ อนึ่ง คนภายนอกพระพุทธศาสนาเขาจะเห็นไปว่า พระพุทธศาสนานี้สอนมีหลายทางหลายแบบ ไม่เป็นอันเดียวกัน ท่านทั้งหลายคงได้ดูตำรับตำราทางพระพุทธศาสนามากแล้วมิใช่หรือ พระพุทธศาสนาสอนให้เข้าถึงจิตถึงใจอันเดียว กิเลสทั้งหลายเกิดจากจิต จิตเป็นผู้ยึดเอากิเลสมาไว้ที่จิต จิตจึงเศร้าหมอง เมื่อจิตเห็นโทษของกิเลสแล้ว สละถอนกิเลสออกจากจิตได้แล้ว จิตก็ผ่องใสบริสุทธิ์ นี่เป็นหลักพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าสอนอย่างนี้มิใช่หรือ ถึงผู้จะเข้าสู่อริยภูมิ ก็ต้องเข้าถึงจิตเป็นหนึ่ง เรียกว่า มัคคสมังคี จิตรวมศีลสมาธิปัญญา เข้ามาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงจะเข้าถึงอริยภูมิได้ ปัญญาค้นคว้าหาเหตุผลของกิเลสนั้นๆ จนรู้ชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตนเองแล้ว นั่งอยู่ในที่เดียวนั้นก็เว้นจากความชั่วนั้นๆ ได้หมดจดสิ้นเชิง แล้วจิตก็แน่วแน่นลงเป็นสมาธิไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนไปไหน หมดจากโทษนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น ปัญญาความรู้เห็นโทษในกิเลสนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น แล้วรวมลงแน่วแน่นลงสู่ในที่เดียว ก็จิตดวงนั้น แลต้องตามไปละถอนในที่ต่างๆ อยู่เฉพาะในที่เดียวในขณะจิตเดียว จิตของพระอริยเจ้าแต่ละขั้นจะเข้าถึงมัคคสมังคี รวมเป็นศีลสมาธิปัญญา เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันดังนี้ แล้วจิตนั้น ก็ไม่ได้กลับเป็นอย่างนั้นอีก เมื่อถอนออกมาก็จะวิ่งไปตาม กามาพจรญาณสัมปยุต รู้เห็นตามวิสัยของกามาพจรทุกประการ แต่มีญาณ เป็นเครื่องรู้ตามเป็นจริง มิได้หลงไปตามอารมณ์นั้นๆ อย่างปุถุชนธรรมดา จงพากันมาทำความถูกต้องตามพุทธวจนะของพระองค์ อย่าพากันถือเอาคนนิยมมากเป็นประมาณ จงถือความถูกต้องเป็นหลักเกณฑ์ ครั้งพุทธกาล ครูทั้งหกมีสัญชัยปริพาชก เป็นต้น ก็มีคนนับถือมากมิใช่น้อย ในปัจจุบันนี้ ไสบาบา ดั่งเราเห็นอยู่ ซึ่งสอนให้สะสมกิเลส แต่คนก็ยังนับถือมาก ฉะนั้น ขอเชิญชวนท่านที่ปฏิบัติกัมมัฏฐานทั้งหลาย พึงพิจารณาตนเองว่า เราปฏิบัติอยู่ในแนวใด ถูกต้องตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วหรือยัง ถ้าไม่ถูกจงรีบแก้ไขให้ถูกต้องเสีย ก่อนจะสายเกินไป เราถือพระพุทธศาสนา เพื่อเทิดทูนบำรุงให้ศาสนารุ่งเรือง ได้มาปฏิบัติทำกัมมัฏฐานนี้ เป็นทางตรงต่อมรรคผลนิพพานโดยแท้ โดยเฉพาะพระภิกษุเราผู้เผยแพร่พระพุทธศาสนาควรสังวรระวังอย่างยิ่ง ผู้เขียนไม่มีความสามารถที่จะชี้แจงให้ท่านทั้งหลายเข้าใจลึกซึ้งกว่านี้ ถ้าท่านผู้ใดมีความสามารถชี้แจงให้เข้าใจได้แจ่มแจ้งกว่านี้ได้แล้ว ขอเชิญเถิด ผู้เขียนขออนุโมทนาด้วยอย่างยิ่ง ทุกๆคนคงมีความปรารถนา ที่จะให้พระพุทธศาสนาดำรงถาวรสืบต่อไป พระนิโรธรังสี ฯ ฝึกหัดสมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ แสดง ณ วัดหินหมากแป้ง อำเภอเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ เมื่อเริ่มที่จะเข้าไปเรียนพระกัมมัฎฐาน ในคณะไหน สำนักพระอาจารย์องค์ใด ผู้ที่ท่านชำนิชำนาญในพระกัมมัฏฐานนั้นๆแล้ว พึงตั้งจิตเชื่อมั่นในพระอาจารย์องค์นั้นว่า ท่านองค์นี้แหละ เป็นผู้ชำนาญในพระกัมมัฏฐานนี้โดยเฉพาะแน่แท้ แล้วก็ให้เชื่อมั่นในพระกัมมัฏฐานที่ท่านสอนนั้นว่าเป็นทางที่ถูกต้องแน่นอน และพึงให้ความเคารพในสถานที่ตนไปทำกัมมัฏฐานนั้นอีกด้วย แล้วจึงเข้าไปเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป โบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้น ก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐาน คือ จัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง ๕ คู่ ดอกไม้ขาว ๕ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๕ เทียนขี้ผึ้ง ๘ คู่ ดอกไม้ขาว ๘ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๘ หรือ เทียนขี้ผึ้งคู่ หนักเล่มละ ๑ บาท ดอกไม้ขาวเท่ากับเทียน แล้วอาราธนาเอาพระกัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้ แล้วจึงเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป พิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกัน ยังมีพิธีอีกมากมาย แต่ผู้เขียนยังไม่กล่าวถึง จะกล่าวถึงพิธีง่ายๆพอทำได้ในตอนต่อไป เมื่อปลูกศรัทธาความเชื่อมั่นให้มีขึ้นในจิตใจของตนดังกล่าวมาแล้ว จึงเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในกำมัฏฐานนั้นๆ ถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรม สัมมาอะระหัง ท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่า สัมมาอะระหังๆๆ ให้กำหนดเป็นดวงแก้วใสๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไป ๒ นิ้ว แล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้น ภาวนาไปเรื่อยๆ อย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้ว หมายความว่า เอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของดวงจิตก็แล้วกัน เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านภาวนายุบหนอพองหนอ ท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอพองหนอ ให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อิริยาบถต่างๆ เช่น ยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอ เหยียบเท้าลงก็ว่าพองหนอ หรือพิจารณาให้เห็นความเกิดและความดับทุกอิริยาบถ อย่างนี้เรื่อยไปเป็นอารมณ์ เมื่อท่านเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์ ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่า นะมะพะธะ นะมะพะธะ ให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่ง จิตจะพาไปเห็นเทพ นรก อินทร์ พรหม ต่างๆนานาหลายอย่าง จนเพลินอยู่กับอารมณ์นั้นๆ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านอานาปานสติ ท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้า-ออก ให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้า-ออก อย่างเดียวเป็นอารมณ์ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านภาวนาพุทโธ ท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่า พุทโธๆๆ แล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่นอยู่ในบริกรรมนั้น จนชำนาญเต็มที่แล้ว ก็จะสอนให้พิจารณา “พุทโธ” กับ “ผู้ว่าพุทโธ” เมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกันแล้ว พึงจับเอา “ผู้ว่าพุทโธ” ส่วน “พุทโธ” นั้นจะหายไป เหลือแต่ “ผู้ว่าพุทโธ” อย่างเดียว ให้ยึดเอา “ผู้ว่าพุทโธ” นั้นเป็นหลักต่อไป คนในสมัยนี้หรือในสมัยไหนก็ตาม หรือจะมีความรู้ความสามารถสักปานใดก็ช่าง ไม่ได้โทษว่า คนเหล่านั้นมักตื่นเต้นในสิ่งที่ตนยังไม่เคยทดสอบหาความจริง แล้วหลงเชื่อตาม เพราะเขาเหล่านั้นอยากรู้อยากเห็นของจริง โดยเฉพาะคนถือพระพุทธศาสนามาแล้ว และพุทธศาสนาก็แสดงถึงเหตุผลซึ่งเป็นจริงทั้งนั้น แต่ทำไมต้องไปหลงเชื่อตามคำโฆษณาซึ่งมีอยู่ดาษดื่นทั่วไป นี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อน ยังไม่ทำเหตุให้ถึงพร้อมแต่อยากได้ผลเร็ว อย่างที่เขาพูดกันว่า “คนสมัยปรมาณู” นั้นกระมัง พุทธศาสนาสอนเข้าถึงจิตใจอันเป็นนามธรรม ส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรม รูปธรรมมันต้องอยู่ในบังคับบัญชาของนามธรรม เมื่อเริ่มหัดสมาธิฝึกหัดจิตใจให้สงบไม่วุ่นวาย ในขณะนั้นไม่เห็นไปทำความเดือดร้อนให้แก่ใครทั้งหมด ฝึกหัดไปจนเป็นชำนาญได้ที่แล้ว ผู้นั้นก็สงบเยือกเย็น มีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมากๆเข้า โลกอันนี้ก็จะมีแต่ความสงบสุขทั่วกัน ส่วนรูปธรรมนั้นเราจะฝึกให้สงบได้ก็แต่เมื่อจิตบังคับอยู่เท่านั้น เมื่อจิตเผลอกายก็จะเป็นไปตามเรื่องของมัน ฉะนั้น เรามาฝึกหัดจิตบริกรรมพุทโธ ลองดู ปุพพกิจก่อนทำสมาธิ ปุพพกิจก่อนทำสมาธิ ก่อนจะทำกัมมัฏฐานภาวนาพุทโธ พึงทำปุพพกิจเบื้องต้นก่อน คือ ตั้งจิตให้เกิดศรัทธาเลื่อมใสให้เต็มที่ ดังได้อธิบายมาข้างต้น แล้วพึงกราบ ๓ หนแล้วกล่าว อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ถูกถ้วนดีแล้ว พุทฺธํ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ ข้าพเจ้า อภิวาทกราบไหว้ซึ่งพระผู้เป็นเจ้านั้น (พึงกราบลงหนหนึ่ง) สวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ธมฺมํ นมสฺสามิ ข้าพเจ้านมัสการ กราบไหว้ซึ่งพระธรรมเจ้านั้น (พึงกราบลงหนหนึ่ง) สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ ท่านปฏิบัติดีแล้ว สงฆํ นมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมซึ่งพระสงฆ์ (พึงกราบลงหนหนึ่ง) นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสฺมพุทฺธสฺส (กล่าว ๓ จบ) ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าผู้เป็นพระศาสดาเอกของโลก ทรงพ้นจากทุกข์และกิเลสทั้งปวงทรงอยู่เกษมสำราญทุกเมื่อ (พึงกราบลง ๓ หน) หมายเหตุ ปุพพกิจเบื้องต้นที่นำมาแสดงให้ดูนี้ เป็นแต่ตัวอย่างเท่านั้น หากใครได้มากจะไหว้มากก็ได้ ไม่ขัดข้อง แต่ต้องไหว้ก่อนนั่งสมาธิทุกครั้งไป เว้นแต่ว่าสถานที่ไม่อำนวย พึงนั่งสมาธิดังนี้ พึงนั่งสมาธิดังนี้ เอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตั้งตัวให้ตรงแล้วนึกเอาคำบริกรรมพุทโธๆ กำหนดไว้ที่ท่ามกลางหน้าอก คือ “ใจ” อย่าให้จิตส่งส่ายไปมาข้างหน้าข้างหลัง พึงตั้งสติสำรวมจิตให้อยู่คงที่เป็นเอกัคตาจิตแน่วแน่ จิตก็จะเข้าถึงสมาธิได้เลย เมื่อเข้าถึงสมาธิแล้ว บางทีก็ไม่รู้ตัวหายเงียบไปเลย ไม่รู้ว่าเรานั่งนานสักเท่าใด กว่าจะออกจากสมาธิก็เป็นเวลาตั้งหลายชั่วโมงก็มี เพราะฉะนั้น การนั่งสมาธิจึงไม่ต้องกำหนดเวลา ให้ปล่อยตามเรื่องของมันเอง จิตที่เข้าถึงสมาธิแท้ คือ จิตที่เป็นเอกัคตาจิต ถ้าไม่เข้าถึงเอกัคคตาจิตได้ชื่อว่ายังไม่เป็นสมาธิ เพราะใจแท้มีอันเดียว ถ้ามีหลายอันอยู่ยังไม่เข้าถึงใจ เป็นแต่จิต “จิต” กับ “ใจ” ก่อนจะฝึกหัดสมาธิ พึงข้าใจถึง “จิต” กับ “ใจ” เสียก่อน ในที่นี้พึงเข้าใจกันเสียก่อนว่า “จิต” กับ “ใจ” มิใช่อันเดียวกัน “จิต” เป็นผู้นึกคิดนึกปรุงแต่งสัญญาอารมณ์สรรพสิ่งทั้งปวง “ใจ” เป็นผู้นิ่งอยู่เฉยๆ เพียงแต่รู้ว่านิ่งอยู่เฉยๆ ไม่มีคิดนึกปรุงแต่งอะไรอีกเลย เปรียบเหมือนแม่น้ำ กับคลื่นของแม่น้ำ เมื่อคลื่นสงบแล้ว จะยังเหลือแต่แม่น้ำอันใสแจ๋วอยู่อย่างเดียว สรรพวิชาทั้งหลาย และกิเลสทั้งปวง จะเกิดมีขึ้นมาได้ ก็เพราะจิตคิดนึกปรุงแต่งแส่ส่ายหามา สิ่งทั้งปวงเหล่านั้น จะเห็นได้ชัดด้วยใจของตนเอง ก็ต่อเมื่อ จิตนิ่งแล้วเข้าถึงใจ น้ำเป็นของใสสะอาดโดยธรรมชาติอยู่แล้ว เมื่อมีผู้นำเอาสีต่างๆ มาประสมกับน้ำนั้น น้ำนั้นย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามสีนั้นๆ แต่เมื่อกลั่นกรองเอาน้ำออกมาจากสีนั้นๆ แล้ว น้ำก็จะใสสะอาดตามเดิม “จิต” กับ “ใจ” ก็อุปมาอุปมัยดังอธิบายมานี้ แท้จริงพระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสเทศนาไว้แล้วว่า จิตอันใด ใจก็อันนั้น ถ้าไม่มีใจ จิตก็ไม่มี จิตเป็นอาการ ใจไม่มีอาการ การฝึกหัดสมาธิภาวนา ไม่ว่าจะฝึกหัดโดยอาจารย์ใดและวิธีอะไรก็แล้วแต่เถิด ถ้าถูกทางแล้ว จะต้องเข้าถึงใจทั้งนั้น เมื่อเข้าถึงใจ เห็นใจของตนแล้ว ก็จะเห็นสรรพกิเลสของตนทั้งหมด เพราะจิตมันสะสมกิเลสไว้ที่จิตนั้นทั้งหมด คราวนี้เราจะจัดการอย่างไรกับมันก็แล้วแต่เรา หมอซึ่งจะรักษาโรคนั้นๆ ให้หายได้เด็ดขาด ก็ต้องค้นหาสมุฏฐานของโรคนั้นให้รู้จักเสียก่อน แล้วจึงจะวางยาให้ถูกกับโรคนั้นได้ เราบริกรรมพุทโธๆๆ ไปนานๆเข้า จิตก็จะค่อยคลายความฟุ้งซ่าน แล้วจะค่อยมารวมเข้ามาอยู่กับพุทโธ จิตจะตั้งมั่นเป็นอารมณ์อันเดียวกับพุทโธ จนเห็นจิตที่ว่า พุทโธอันใดจิตก็อันนั้นอยู่ตลอดทุกเมื่อ ไม่ว่า ยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถใดๆ ก็เห็นจิตใสแจ๋วอยู่กับพุทโธนั้น ประคองจิต ไม่รีบร้อน เมื่อได้ถึงขนาดนั้นแล้ว ขอให้ประคองจิตนั้นไว้ในอารมณ์นั้น นานแสนนานเท่าที่จะนานได้ อย่าเพิ่งอยากเห็นนั่นเห็นนี่ หรืออยากเป็นนั้นเป็นนี้ก่อนเลย เพราะความอยาก เป็นอุปสรรคแห่งจิตที่เป็นสมาธิอย่างร้ายแรง เมื่อความอยากเกิดขึ้น สมาธิก็จะเสื่อมทันที สมาธิเสื่อมเพราะหลักสมาธิ คือ “พุทโธ” ไม่มั่นคง คราวนั้นแหละ คว้าหาหลักอะไรก็ไม่ได้ เกิดความเดือดร้อนใหญ่ คิดถึงแต่อารมณ์ที่เคยได้รับสมาธิความสงบสุขเมื่อก่อน จิตก็ยิ่งฟุ้งใหญ่ ฯลฯ ฝึกหัดสมาธิให้เหมือนชาวนาทำนา เขาไม่รีบร้อน เขาหว่านกล้า ไถ คราด ปักดำ โดยลำดับไม่ข้ามขั้นตอน แล้วรอให้ต้นข้าวแก่ ถึงอย่างนั้นเขาก็ยังไม่เห็นเมล็ดไม่เห็นรวงเลย แต่เขาก็มีความเชื่อมั่นของเขาว่า จะมีเมล็ดมีรวงวันหนึ่งข้างหน้าแน่ๆ เมื่อต้นข้าวแก่แล้วออกรวงมา จึงเชื่อแน่ว่าจะได้รับผลแน่นอน เขาไม่ไปดึงต้นข้าวให้ออกรวงเอาตามใจชอบ ผู้ไปกระทำเช่นนั้น ย่อมไร้ผลโดยแท้ การฝึกสมาธิภาวนาก็เช่นเดียวกัน จะรีบร้อนข้ามขั้นตอนย่อมไม่ได้ ต้องตั้งจิตให้เลื่อมใสศรัทธาให้แน่วแน่ ว่าอันนี้ล่ะ เป็นคำบริกรรมที่จะทำให้จิตของเราเป็นสมาธิได้แท้จริง แล้วอย่าไปลังเลสงสัยว่า คำบริกรรมนี้จะถูกกับจริตนิสสัยของเราหรือไม่หนอ คำบริกรรมอันนั้น คนนั้นทำมันเป็นไปอย่างนั้นอย่างนี้ เราทำแล้วจิตไม่ตั้งมั่นอย่างนี้ใช้ไม่ได้ ถ้าจิตตั้งมั่นแน่วแน่ในคำบริกรรมที่ตนภาวนาอยู่นั้นแล้ว เป็นใช้ได้ทั้งนั้น เพราะภาวนาก็เพื่อต้องการทำจิตให้แน่วแน่เท่านั้น ส่วนนอกนั้นมันเป็นตามบุญวาสนาของแต่ละบุคคล ครั้งพุทธกาล มีพระรูปหนึ่งไปภาวนาอยู่ใกล้สระน้ำแห่งหนึ่ง เห็นนกกระยางตัวหนึ่งโฉบปลากินเป็นอาหาร ท่านเลยถือเอาเป็นคำบริกรรมภาวนา จนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ นกกระยางกินปลาไม่เคยเห็นในกัมมัฏฐานบทใด แต่ท่านเอามาภาวนาจนสำเร็จ นี้เป็นตัวอย่าง จิตตั้งมั่นในคำบริกรรม จิตที่ตั้งใจอบรมให้อยู่ในขอบเขตของคำบริกรรมพุทโธๆๆ ซึ่งมีสติเป็นผู้ควบคุมแล้ว ย่อมจะละพยศตัวร้ายกาจของตัวเองได้ และเราก็ต้องฝึกฝนอบรม เพราะต้องการความสุขสงบของจิต ธรรมดาของจิตย่อมมีอารมณ์ส่งส่ายหาความฟุ้งซ่านเป็นวิสัยอยู่แล้ว ดังอธิบายมาแล้ว โดยมากมันจะส่งส่ายไปในอารมณ์เหล่านี้ คือ พอเริ่มบริกรรมพุทโธ เอาจิตไปตั้งไว้ในพุทโธๆ เท่านั้นแหละ มันจะไม่อยู่ในพุทโธๆ มันจะวิ่งไปหาการงานที่เราเริ่มจะทำหรือกำลังทำอยู่ ปรุงแต่งทำนั่นทำนี่วุ่นวายไปหมด กลัวการงานมันจะไม่ดีไม่งาม กลัวการงานนั้นมันจะไม่สำเร็จ การงานที่เรารับจากคนอื่น หรือรับเฉพาะส่วนตัวมันจะเสียผลประโยชน์หรือขายขี้หน้า เมื่อเรารับแล้วไม่ทำตาม ฯลฯ นี่เป็นเรื่องรบกวนใจไม่ให้เป็นสมาธิของผู้อบรมใหม่อย่างหนึ่ง เราดึงเอาจิตมาไว้ที่พุทโธๆๆ นั้นอีก บอกว่านั่นมิใช่หนทางแห่งความสงบ ทางสงบแท้ต้องเอาจิตมาตั้งไว้ที่พุทโธแห่งเดียว แล้วบริกรรมพุทโธๆๆ เรื่อยไป ฯลฯ ประเดี๋ยวส่งไปอีกแล้ว คราวนี้ไปถึงครอบครัวโน้น ส่งไปหาลูก ไปหาภรรยา ไปหาสามีโน้น เขาจะอยู่อย่างไร เขามีสุขภาพพลามัยดีหรือไม่หนอ ได้บริโภคอาหารดีมีรสหรือไม่หนอ ถ้าอยู่ห่างไกลกัน ก็คิดถึงที่อยู่ที่นอน จะอยู่จะกินอย่างไร ผู้จากไปก็คิดถึงผู้อยู่ทางบ้าน ผู้อยู่ทางบ้านก็คิดถึงผู้ไปไกล กลัวว่าจะไม่ปลอดภัย กลัวคนอื่นจะมาข่มเหง ไม่มีผู้อยู่เป็นเพื่อน กลัวจะเหงาหงอย ฯลฯ คิดไปร้อยแปดพันเก้าสุดแท้แต่จิตจะปรุงจะแต่งไป ซึ่งเรื่องเหล่านี้มันคิดไปเกินกว่าเหตุทั้งนั้น หรือถ้ายังเป็นโสดยังเป็นหนุ่มเป็นสาวอยู่ ก็จะปรุงจะแต่งไปในทางสนุกสนานเพลิดเพลินกับหมู่กับเพื่อน ที่เคยเที่ยวสนุกเฮฮาไปในที่ต่างๆ บางคนถึงกับอุทานออกมาเป็นเสียง ดังหัวเราะก้ากก็มี กิเลสตัวนี้มันร้ายแรงยิ่งกว่าเพื่อน เมื่อภาวนาพุทโธๆๆ กิเลสมันเห็นว่าไม่ได้การแล้วเขาจะหนีจากเราไปอีกแล้ว มันก็จะสรรหาสิ่งที่จะผูกมัดให้เราติดมั่นเข้าทุกที เราเกิดมาตั้งแต่เด็กจนโตเราไม่เคยฝึกสมาธิภาวนาเลย มีแต่ปล่อยให้จิตไปตามอารมณ์ของกิเลส เพิ่งมาฝึกหัดเดี๋ยวนี้เอง เมื่อมาภาวนาพุทโธๆๆ เพื่อให้จิตมันมารวมอยู่ที่พุทโธ จิตมันจึงดิ้น เหมือนกับบุคคลโยนปลาขึ้นจากน้ำไปที่บนหาด ปลาย่อมดิ้นหาน้ำเป็นธรรมดา เราดึงเอา “จิต” ให้เข้ามาหา “พุทโธ” อีก “พุทโธ” เป็นของเย็น “พุทโธ” เป็นของเย็น เป็นทางให้เกิดสันติสุขมีทางเดียวเท่านี้ที่จะทำให้พ้นจากทุกข์ในโลกนี้ได้ เราดึงเอาจิตเข้ามาอยู่ในพุทโธๆ อีก หากคราวนี้พอสงบลงไปได้บ้าง พอรู้สึกว่าจิตมันอยู่ พอเห็นลางๆ ว่าจิตมันอยู่ มีความสุขสบาย ต่างกับจิตใจที่ไม่สงบ มีความทุกข์เดือดร้อน ตั้งใจระวังเอาสติประคองอารมณ์นั้นไว้ เอ้า ไปอีกแล้ว โน่น คราวนี้ไปยึดเอาผลประโยชน์มาเป็นเครื่องอ้างว่า ถ้าสิ่งนั้นเราไม่ทำหรือเราไม่แสวงหาก็จะเสียโอกาสอันมีค่ามหาศาล แล้วก็เอาจิตไปจดจ่ออยู่เฉพาะสิ่งนั้นแทนคำบริกรรมพุทโธ ส่วนพุทโธมันเลยหายไปไหนแล้วก็ไม่รู้ กว่าจะรู้ว่า “พุทโธ” มันหายเสียแล้ว ก็สายเสียแล้ว จึงว่าจิตนี้เป็นของดิ้นรนกระเสือกกระสน รักษาได้ยาก เหมือนกับลิงอยู่ไม่เป็นสุข ฯลฯ บางที นั่งสมาธิภาวนานานๆเข้า กลัวโลหิตจะไม่เดินหรือเดินไม่สะดวก กลัวเส้นประสาทจะตาย เกิดเป็นเหน็บชา ในที่สุดเป็นอัมพาต ถ้าไปภาวนาไกลบ้านหน่อย หรือในป่าก็ยิ่งกลัวใหญ่ กลัวเสือจะมากิน กลัวงูจะมากัด กลัวผีจะมาหลอกทำท่าทีต่างๆนานาใส่ ความกลัวตายยุบยิบไปหลายอย่างหลายประการ ล้วนแล้วแต่ตัวเองหลอกตัวเองทั้งนั้น ความจริงหาได้เป็นดั่งคิดนึกไม่ ตั้งแต่เราเกิดมาจนป่านนี้ ไม่เคยเห็นเสือกินคนเลยสักคนเดียว ผีก็ไม่เคยเห็นเลยสักที แม้แต่ตัวผีก็ไม่เคยเห็นสักเลยที ไม่ทราบว่าตัวมันเป็นอย่างไร แต่ก็ปรุงแต่งขึ้นมาหลอกตัวเอง อุปสรรคของการภาวนาที่ชักตัวอย่างมานี้ พอเป็นตัวอย่างเท่านั้น ความจริงแล้วมันมีมากกว่านี้ตั้งหลายเท่า ผู้ภาวนาแล้วจะรู้ด้วยตัวเอง หากว่าเรายึดเอาพุทโธๆมาไว้ที่ใจแล้ว เอาสติควบคุมจิตให้อยู่กับพุทโธอันเดียว ภัยอันตรายทั้งปวงจะไม่มาแผ้วผาน ขอให้เชื่อมั่นในพุทโธจริงๆเถิด รับรองว่าไม่มีอันตรายแน่นอน เว้นเสียแต่กรรมเก่าที่เขาเคยได้กระทำไว้ นั่นเป็นของสุดวิสัย แม้นพระพุทธเจ้าก็ป้องกันให้ไม่ได้ เชื่อมั่นในพุทโธ ผู้ภาวนาทั้งหลายแรกๆ ศรัทธายังอ่อน ไม่ว่าจะบริกรรมอะไรก็แล้วแต่เถอะ จะต้องถูกกิเลสเหล่านี้รบกวนด้วยกันทั้งนั้น เพราะกิเลสเหล่านี้มันเป็นพื้นฐานของโลกและพื้นฐานของจิต เมื่อเรามาภาวนาทำจิตให้เป็นอันเดียวเท่านั้นแหละ กิเลสเห็นว่าเราจะหนีจากมัน กิเลสเหล่านั้นมันจะมารุมล้อม ไม่ให้เราหนีจากโลกนี้ได้ ผู้มาเห็นโทษของมันว่าร้ายแรงอย่างนี้ แล้วทำใจให้กล้าหาญ ปลูกศรัทธาให้หนักแน่นมั่นคง คิดเสียว่าเราได้หลงเชื่อกิเลสมาหลายภพหลายชาติแล้ว คราวนี้เราจะยอมเชื่อคำสอนของพระพุทธเจ้า เอาพุทโธเป็นที่พึ่งล่ะ แล้วตั้งสติให้มั่นคงทำใจให้แน่วแน่ในพุทโธให้เต็มที่ ยอมสละชีวิตเพื่อบูชาพุทโธ ไม่ให้จิตหนีจากพุทโธ เมื่อเราตั้งปณิธานไว้อย่างนั้นแล้ว จิตก็ดิ่งลงสู่อารมณ์เข้าถึงสมาธิได้ ผู้เข้าถึงสมาธิทีแรก จะมีอาการอย่างนี้คือ เราจะไม่ทราบเลยว่า สมาธิหรือจิตเป็นเอกัคคตารมณ์เป็นอย่างไร เราเพียงแต่ตั้งสติให้แน่วแน่สู่อารมณ์อันเดียว ด้วยอำนาจจิตตั้งมั่นสู่อารมณ์อันเดียวนั้นแหละ เป็นเหตุนำจิตให้เข้าถึงสมาธิได้ แล้วก็ไม่ได้คิดนึกว่า อาการของสมาธิเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ และอยากให้มันเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ แต่มันเป็นของมันเองโดยอัตโนมัติ ใครๆจะบังคับให้มันเป็นไม่ได้ ในขณะนั้น จะมีความรู้สึกว่าเราอยู่อีกโลกหนึ่งต่างหาก (โลกจิต) มีความสุขสบายวิเวกหาอะไรเปรียบมิได้ในโลกนี้ เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิแล้วจะรู้สึกเสียดายอารมณ์อันนั้น และจำอารมณ์อันนั้นได้แม่นยำ ที่พูดกันอยู่ทุกวันนี้ ล้วนแล้วแต่จิตถอนออกมาจากอารมณ์นั้นทั้งนั้น ในขณะที่จิตกำลังรวมอยู่นั้น ใครจะพูดจะทำอะไรไม่รับรู้ทั้งหมด เราต้องฝึกจิตให้เข้าถึงสมาธิอย่างนี้อยู่บ่อยๆ เพื่อให้ชำนิชำนาญ แต่อย่าไปจำเอาอารมณ์เก่า อย่าอยากให้เป็นอย่างเก่า มันจะไม่เป็นอย่างนั้น ซ้ำจะยุ่งใหญ่ เป็นแต่เราค่อยภาวนาพุทโธๆ ให้จิตอยู่ในคำบริกรรมนั้นก็แล้วกัน มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน จิตเป็นสมาธิใหม่ๆ เมื่อมันเป็นอีกมันจะไม่เป็นอย่างเก่า แต่ก็ช่างมัน มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน ขอให้มันเป็นสมาธิก็แล้วกัน มันเป็นหลายอย่าง จึงได้ความรู้กว้าง และมีอุบายมาก ที่อธิบายมาโดยย่อนี้ พอเป็นนิทัศน์อุทาหรณ์ ขอผู้ทำตามนี้ จงอย่าได้เอามาใส่ใจ มันจะเป็นสัญญา ภาวนาจะไม่เป็นไป เพียงแต่จำไว้ว่าเป็นเครื่องเทียบเคียง ในเมื่อเราภาวนาเป็นไปแล้ว ฝึกจิต เห็นใจ ผู้ภาวนาทั้งหลาย ไม่ว่าจะภาวนาพุทโธหรือยุบหนอพองหนอ หรือสัมมาอะระหัง อะไรก็แล้วแต่ เมื่อจิตจะรวมเป็นสมาธิแล้ว ไม่คิดว่าจิตเราจะรวม หรือกำลังรวมอยู่หรืออะไรทั้งหมด แต่มันรวมของมันเองโดยอัตโนมัติ แม้ที่สุดแต่คำบริกรรมอยู่นั้น ก็ไม่ทราบมันวางเมื่อไร มันจะมีแต่ความสงบสุขอยู่อันหนึ่งต่างหาก ซึ่งมิใช่โลกนี้ และโลกอื่น หรืออะไรทั้งหมด และไม่มีใครหรือสิ่งอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่สภาพของมันต่างหาก (ซึ่งเรียกว่า โลกของจิต) ในที่นั้นจะไม่มีคำว่าโลกนี้ หรืออื่นใดทั้งสิ้น สมมติบัญญัติในโลกอันนี้จะไม่ปรากฎในที่นั้น เพราะฉะนั้น ในที่นั้นมันจะไม่เกิดปัญหาอะไรๆทั้งสิ้น เป็นแต่หัดจิตให้เป็นสมาธิไว้ แล้วเทียบเคียงกับจิตไม่เป็นสมาธิ ว่าผิดแปลกแตกต่างกันอย่างไร จิตเข้าถึงสมาธิแล้ว เมื่อถอนออกมาพิจารณาในทางโลกกับทางธรรม มันต่างกันอย่างไรกับจิตที่ไม่ได้เป็นสมาธิ “จิต” กับ “ใจ” ในที่นี้ จะพูดถึงเรื่องจิตกับใจให้เข้าใจอีกครั้งหนึ่ง ไหนๆก็พูดถึงเรื่องฝึกหัดจิต (คือสมาธิ) ถ้าไม่เข้าใจถึงเรื่องจิตกับใจแล้ว ก็ไม่ทราบว่าจะฝึกหัดอบรมสมาธิได้ที่ไหนและอย่างไร เกิดมาเป็นคนหรือสัตว์แล้ว ใครๆก็มีจิตใจด้วยกันทุกคน แต่จิตและใจนี้มันทำหน้าที่ต่างกัน จิต มันคิดให้นึก ให้ส่งส่าย และปรุงแต่งไปต่างๆนานา สารพัดร้อยแปดพันเก้า แล้วแต่กิเลสมันจะพาไป ส่วนใจ นั้นคือผู้รู้อยู่เฉยๆ ไม่นึกคิด ไม่ปรุงแต่งอะไรทั้งหมด อยู่เป็นกลางๆในสิ่งทั้งปวง ตัวผู้รู้อยู่เป็นกลางๆ นั่นแหละคือใจ ใจ ไม่มีตัวตนเป็นนามธรรม เป็นแต่ผู้รู้เฉยๆ เราจะเอาไปไว้ที่ไหนก็ได้ ไม่ได้อยู่ในกายหรือนอกกาย ที่เรียกหทัยวัตถุว่าหัวใจนั้น ไม่ใช่ใจแท้ เป็นแต่เครื่องฉีดเลือดให้วิ่งไปทั่วร่างกาย แล้วยังชีวิตให้เป็นอยู่เท่านั้น ถ้าหัวใจไม่ฉีดเลือดให้เดินไปทั่วร่างกายแล้ว ชีวิตความเป็นอยู่ก็ดำรงอยู่ไม่ได้ ใจ ตามภาษาชาวบ้านที่พูดกันเป็นประจำ เช่น คำว่า ฉันเสียใจ ฉันดีใจ ฉันร้อนใจ ฉันเศร้าใจ ฉันตกใจ ฉันน้อยใจ อะไรต่อมิอะไรก็ใจทั้งนั้น ฯลฯ แต่นักอภิธรรมเรียกเป็นจิตทั้งนั้น เช่น จิตเป็นกุศล จิตเป็นอกุศล จิตเป็นอัพยากฤต จิตเป็นกามพจร จิตเป็นรูปาพจร จิตเป็นอรูปาพจร จิตเป็นโลกุตตระ ฯลฯ แต่ตัวจิต และตัวใจแท้เป็นอย่างไร หาได้รู้ไม่ จิต คือผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ต้องใช้อายตนะทั้งหกเป็นเครื่องมือ พอตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกได้กลิ่น ลิ้นสัมผัสรส กายสัมผัสเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ใจนึกคิดอารมณ์ต่างๆ ตามกิเลสของตนทั้งที่ดีและไม่ดี ดีก็ชอบใจ ไม่ดีก็ไม่ชอบใจ ล้วนแล้วแต่เป็น จิต คือตัวกิเลสทั้งนั้น นอกจากอาตยะหกนี้แล้ว จิตจะเอามาใช้ไม่ได้ ท่านแยกออกไปเป็น อินทรีย์หก ธาตุหก ผัสสะหก อะไรเยอะแยะ แต่ก็อยู่ในอาตนะหกนี้ทั้งนั้น นั่นเป็นอาการลักษณะของจิตที่ผู้ไม่รู้จักนิ่งเฉย ผู้หัดจิต คือ ผู้ทำสมาธิ จะต้องสำรวมจิต ที่มันดิ้นรนไปตามอาตนะทั้งหก ดังที่อธิบายมาแล้วนั้น ให้หยุดนิ่งอยู่ในคำบริกรรมพุทโธอย่างเดียว ไม่ให้ส่งส่ายไปมาหน้าหลัง หยุดนิ่งเฉยและรู้ตัวว่านิ่งเฉย นั่นแหละตัวใจ ใจแท้ไม่มีการใช้อายตนะใดๆทั้งหมด จึงเรียกว่าใจ ดังชาวบ้านเขาพูดกันว่า ใจๆ คือของกลางในสิ่งทั้งปวง เช่น ใจมือ ก็หมายเอาตรงกลางมือ ใจเท้า ก็หมายเอาตรงกลางของพื้นเท้า สิ่งทั้งปวงหมด เมื่อพูดถึงใจแล้วจะต้องชี้เข้าหาที่ตรงกลางทั้งนั้น แม้ที่สุดแต่ใจคนก็ต้องชี้เอาตรงท่ามกลางอก แท้จริงแล้วหาได้อยู่ที่นั้นที่นี้ไม่ดังอธิบายมาแล้ว แต่อยู่ตรงกลางสิ่งทั้งปวงหมด เพื่อให้เข้าใจชัดเข้าอีก ทดลองดูก็ได้ พึงอัดลมหายใจเข้าไปสักพักหนึ่งดู…ในที่นั้นจะไม่มีอะไรเลย นอกจากผู้รู้เฉยอย่างเดียว นั่นแหละ “ใจ” คือ “ผู้รู้” แต่การจับ “ใจ” อย่างนี้ จะอยู่ไม่นาน อยู่ได้ชั่วขณะที่กลั้นลมหายใจเท่านั้น แต่ทดลองดูเพื่อให้รู้จักว่า “ใจ” แท้มีลักษณะอย่างไรเท่านั้น การกลั้นลมหายใจนี้ ทำให้ทุกขเวทนาเบาบางลงบ้าง ผู้มีเวทนามากๆ จะต้องกลั้นลมหายใจด้วยตนเองเป็นประจำเป็นยาแก้ปวด หายปวดได้ขนานหนึ่ง ดีเหมือนกัน เมื่อรู้ว่า จิต และ ใจ มีหน้าที่และลักษณะต่างกันอย่างนี้แล้ว ก็จะฝึกจิตได้ง่ายขึ้น แท้จริง จิต และ ใจ ก็อันเดียวกันนั่นแหละ พระพุทธเจ้าตรัสว่า จิตอันใด ใจก็อันนั้น การฝึกหัดอบรมสมาธิเราฝึกหัดแต่เฉพาะจิตอย่างเดียวก็พอแล้ว เมื่อฝึกจิตได้แล้ว ก็จะเห็นใจขึ้นมาในที่นั้นเอง ระวังเสื่อม จิตนี้เมื่อเราฝึกหัดอบรมเต็มที่ ด้วยการเอาสติเข้าไปควบคุมให้อยู่ในพุทโธเป็นอันเดียวแล้ว จะไม่ส่งส่ายไปในที่ต่างๆ แล้วจะรวมเข้ามาเป็นหนึ่ง และคำบริกรรมนั้นก็จะหายไปโดยไม่รู้ตัว จะมีความสงบเยือกเย็นเป็นสุขหาอะไรเสมอเหมือนไม่ได้ ผู้ไม่เคยได้ประสบ เมื่อประสบเข้าแล้วจะบรรยายอย่างไรก็ไม่ถูก เพราะความสงบสุขชนิดนี้ ซึ่งไม่มีคนใดในโลกนี้ได้ประสบมาก่อน ถึงเคยได้ประสบมาแล้วก็มิใช่อย่างเดียวกัน ฉะนั้นจึงบรรยายไม่ถูก แต่อธิบายให้ตัวเองฟังได้ ถ้าจะอธิบายให้คนอื่นฟัง ก็จะต้องใช้อุปมาอุปมัยเปรียบเทียบจึงจะเข้าใจได้ ของพรรค์นี้มันเป็นปัจจัตตัง ความรู้เฉพาะตน ยิ่งเข้าไปกว่านั้นอีก ถ้าผู้นั้นได้บำเพ็ญบารมีมาแต่ชาติก่อนมากแล้ว จะเกิดอัศจรรย์ต่างๆนานา เป็นต้นว่าเกิดความรู้ความเห็น เห็นเทวดา ภูตผี เปรต อสุรกาย และเห็นอดีต อนาคต ของตนและคนอื่น ในชาตินั้นๆ ได้เคยเป็นอย่างนั้นมาแล้ว และจะเป็นอย่างนั้นต่อไปอีก โดยที่ตนไม่ตั้งใจจะให้เห็นอย่างนั้นเลย แต่เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว มันหากจะเห็นของมันเองอย่างน่าอัศจรรย์มาก เรื่องพรรค์นี้ ผู้ปฏิบัติสมาธิทั้งหลายใฝ่ใจนักหนา เมื่อเห็นหรือรู้แล้ว ก็คุยโม้ให้คนอื่นฟัง เมื่อคนอื่นทำตามแต่ไม่เห็น หรือไม่เป็นอย่างนั้นก็ชักให้ท้อใจ หาว่าบุญของเราน้อย วาสนาของเราไม่มี ชักคลายศรัทธาในการปฏิบัติ ส่วนผู้ที่เป็น และเห็นนั้นเห็นนี้ ดังที่ว่ามานั้น เมื่อเสื่อมจากนั้นแล้ว เพราะความที่เราไปหลงเพลินแต่ของภายนอกไม่ยึดเอาใจมาเป็นหลัก เลยคว้าอะไรก็ไม่ติด แล้วก็คิดถึงอารมณ์ของเก่าที่เราเคยได้เคยเห็นนั้น จิตก็ยิ่งฟุ้งใหญ่ ผู้ที่ชอบคุยก็เอาแต่ความเก่าที่ตนเคยได้รู้เคยได้เห็นนั้น มาคุยเฟื่องไปเลย นักฟังทั้งหลายชอบฟังนักแบบนี้ แต่นักปฏิบัติเบื่อ เพราะนักปฏิบัติชอบฟังแต่ของความเป็นจริงและปัจจุบัน พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาไว้ว่า พระศาสนาของเราจะเสื่อมและเจริญ ก็เพราะผู้ปฏิบัตินี้ทั้งนั้น การเสื่อมเพราะผู้ปฏิบัติได้ความรู้อะไรนิดๆหน่อยๆ ก็จะเอาไปคุยให้คนอื่นฟัง ไม่แสดงถึงหลักของสมาธิภาวนา เอาแต่ของภายนอกมาพูด หาสาระอะไรไม่ได้ อย่างนี้ทำให้พระศาสนาเสื่อมโดยไม่รู้ตัว ผู้ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญนั้น พูดแต่สิ่งที่เป็นจริงเป็นประโยชน์ และไม่พูดเล่น พูดมีเหตุมีผล ปฏิบัติภาวนาอย่างนี้ บริกรรมอย่างนี้ ทำจิตให้รวมได้ สงบระงับกิเลสความฟุ้งซ่านได้อย่างนี้ ต้องยึดคำบริกรรมพุทโธเป็นหลัก ผู้บริกรรมภาวนาพุทโธๆๆ พึ่งทำใจเย็นๆ อย่าได้รีบร้อน ให้ทำความเชื่อมั่นในคำบริกรรมพุทโธ มีสติควบคุมจิตของตนให้อยู่ในพุทโธของตนก็แล้วกัน ความเชื่อมั่นเป็นเหตุให้ใจตั้งมั่นไม่คลอนแคลน ปล่อยวางความลังเลสงสัยอะไรทั้งหมด และจิตจะรวมเข้ามาอยู่ในคำบริกรรมพุทโธๆๆ มีสติควบคู่กับพุทโธเท่านั้น ตลอดเวลา จะยืน เดิน นั่ง นอน หรือประกอบกิจการงานอะไรทั้งหมด ก็จะมีสติรู้เท่าอยู่กับพุทโธอย่างเดียว ผู้ภาวนาสติยังอ่อนอุบายยังน้อย ต้องยึดคำบริกรรมพุทโธเป็นหลัก ถ้ามิฉะนั้นแล้วจะภาวนาไม่เป็น หรือเป็นไปแต่ยังจับหลักไม่ได้ ทำสมาธิให้แก่กล้าจิตเด็ด ถ้าแก่กล้าภาวนาจิตเด็ดว่าจะเอาอย่างนี้ละ ถ้าไม่ได้พุทโธ ไม่เห็นพุทโธขึ้นมาในใจ หรือจิตไม่หยุดนิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวแล้ว เราจะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้ชีวิตจะดับก็ช่างมัน อย่างนี้แล้วจิตก็จะรวมลงเป็นหนึ่งโดยไม่รู้ตัว คำบริกรรมที่ว่าพุทโธ หรือสิ่งใดที่เราข้องใจหรือสงสัยอยู่นั้น ก็จะหายไปในพริบตาเดียว แม้ร่างกายอันนี้ซึ่งเรายึดถือมานานแสนนาน ก็จะไม่ปรากฏในที่นั้น จะยังเหลือแต่ใจ คือผู้รู้ผู้สงบเยือกเย็น เป็นสุขอยู่อย่างเดียว ผู้ทำสมาธิได้อย่างนี้แล้วชอบใจนัก ทีหลังทำสมาธิก็อยากได้อย่างนั้นอีก มันเลยไม่เป็นอย่างนั้น นั่นแหละ ความอยากเป็นเหตุ มันจึงไม่เป็นอย่างนั้น สมาธิเป็นของละเอียดอ่อนมาก เราจะบังคับให้มันเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ไม่ได้ และไม่ให้เป็นสมาธิก็ไม่ได้อีกเหมือนกัน ถ้าเราทำใจร้อนยิ่งไปกันใหญ่ เราต้องทำใจเย็นๆ จะเป็นสมาธิหรือไม่ก็ตาม เราเคยทำภาวนาพุทโธๆ ก็ภาวนาไปเรื่อยๆ ทำเหมือนกับเราไม่เคยภาวนาพุทโธมาแต่ก่อน ทำใจให้เป็นกลางวางจิตให้เสมอ แล้วผ่อนลมหายใจให้เบาๆ เอาสติเข้าไปกำหนดจิต ให้อยู่กับพุทโธอย่างเดียว เวลามันจะเป็นมันหากเป็นของมันเอง เราจะมาแต่งให้มันเป็นไม่ได้ ถ้าเราแต่งเอาได้ คนในโลกนี้ก็จะสำเร็จเป็นพระอรหันต์กันหมดแล้ว รู้แล้วแต่ก็ทำไม่ถูก ทำถูกแล้วอยากเป็นอย่างนั้นอีก ก็เป็นไม่ได้ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นอุปสรรคของการทำสมาธิทั้งนั้น ผู้ภาวนาบริกรรมพุทโธ ต้องทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว ในขณะที่อารมณ์ทั้งดีและชั่วมากระทบเข้า ต้องทำสมาธิให้ได้ทันที อย่าให้จิตหวั่นไหวไปตามอารมณ์ได้ นึกถึงคำบริกรรมพุทโธเมื่อไร จิตก็จะรวมได้ทันที อย่างนี้จิตจะมั่นคงเชื่อตนเองได้ เมื่อหัดให้ช่ำชองชำนิชำนาญอย่างนี้นานๆเข้า กิเลสความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทั้งปวง มันจะค่อยหายไปเอง ไม่ต้องไปชำระกิเลสตัวนั้นตัวนี้ว่า กิเลสตัวนั้นจะต้องชำระด้วยธรรมข้อนั้นๆ ด้วยวิธีอุบายอย่างนั้นๆ เราละกิเลสได้ด้วยอุบายอย่างไร ก็พึงยินดีเท่านั้น เอาเพียงแค่นี้ก็พอแล้ว กิเลสค่อยหายไปด้วยอุบายอย่างที่อธิบายแล้ว ดีกว่าเราจะไปละกิเลสด้วยการปรุงแต่ง เข้าฌานที่ ๑-๒-๓-๔ ด้วยการละ วิตก วิจารณ์ ปิติ สุข มีเอกัคคตาและอุเบกขาเป็นอารมณ์ หรือทำให้ได้ ปฐมมรรค ด้วยการละกิเลส สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ไปมองดูแต่กิเลสนั้นๆว่า กิเลสตัวนั้นๆ เราทำให้ได้จิตอย่างนั้น เราพ้นจากกิเลสตัวนั้นๆได้แล้ว กิเลสเรายังเหลืออยู่อีกเท่านั้น ทำจิตให้ได้อย่างนั้นกิเลสของเราจึงจะหมดสิ้นไป แต่ไม่ได้มองดูจิต ผู้เกิดกิเลส ที่อยากรู้ อยากเห็น อยากเป็นว่า นั้นเป็นตัวกิเลสที่เกาะอยู่กับจิต พอเลิกการพิจารณานั้นแล้ว จิตก็จะอยู่อย่างเดิมไม่ได้อะไรเลย นอกจากไม่ได้อะไรแล้ว พอมีผู้มาแย้งความคิดความเห็น ซึ่งไม่ตรงต่อความเห็นของตนแล้ว จะต้องโต้แย้งอย่างรุนแรง เหมือนกับไฟลุกแล้วเอาน้ำมันมาราด ฉะนั้น ขอให้ยึดคำบริกรรมพุทโธไว้ให้มั่นคงเถิด ถ้าไม่ได้อะไรก็ยังพอมีคำบริกรรมไว้เป็นหลัก อารมณ์นั้นๆ ก็จะเบาบางลงได้บ้าง หรืออาจระงับหายไปก็เป็นไปได้ ดีกว่าไม่มีหลักอะไรเป็นเครื่องยึด แท้จริงผู้ภาวนาทั้งหลายต้องยึดเอาคำภาวนาของตนให้มั่นคง จึงจะได้ชื่อว่าภาวนามีหลัก เวลาภาวนาเสื่อมจะได้เอาเป็นหลัก พระพุทธเจ้าทรงเทศนาไว้ว่า ผู้ทำความเพียรเพื่อละกิเลสทั้งหลาย จงทำตัวให้เหมือนกับนักรบโบราณ สมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน่นหนา มีค่ายคูประตูหอรบเสร็จ เพื่อป้องกันข้าศึกอันจะมาราวี นักรบที่ฉลาด เมื่อออกรบกับข้าศึก เห็นว่าจะสู้ข้าศึกไม้ได้แล้ว ก็ล่าทัพกลับสู่พระนคร แล้วรักษาพระนครเอาไว้ไม่ให้ข้าศึกเข้ามาทำลายได้ พร้อมกันนั้น ก็สะสมรี้พลอาวุธ และอาหารให้พร้อมเพรียง (คือ ทำสมาธิ ให้มั่นคงกล้าหาญ) แล้วจึงออกรบข้าศึกอีกต่อไป (คือ มวลกิเลสทั้งปวง) สมาธิเป็นกำลังสำคัญมาก ถ้าไม่มีสมาธิแล้ววิปัสสนาจะเอากำลังมาจากไหน ปัญญาวิปัสสนามิใช่เป็นของจะพึงแต่งเอาได้เมื่อไร แต่เกิดจากสมาธิ ที่หัดได้ชำนิชำนาญมั่นคงดีแล้วต่างหาก ถึงผู้ได้สุกขวิปัสสกก็เถิด ถ้าไม่มีสมถะแล้วจะเอาวิปัสสนามาจากไหน เป็นแต่สมถะของท่านไม่คล่องเท่านั้น อย่างนี้พอฟังได้ สมาธิมั่นคง พิจารณาเห็น ผู้ปฏิบัติทั้งหลาย เมื่อได้ทำสมาธิให้มั่นคงแน่นหนาดีแล้ว จนกระทั่งจะเข้าจะออกก็ได้ จะอยู่ให้นานๆ และพิจารณากายอันนี้ให้เป็นอสุภะ หรือเป็นธาตุก็ได้ พิจารณาคนในโลกนี้ทั้งหมดให้เป็นโครงกระดูกทั้งหมดก็ได้ หรือพิจารณาให้เห็นในโลกนี้ทั้งหมดว่างเป็นอัชฌัตตากาศ ว่างเปล่าไปหมดก็ได้ ฯลฯ จิตผู้มีสมาธิเต็มที่แล้ว ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน ย่อมเป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา แล้วก็มองเห็นกิเลสของตน ซึ่งเกิดจากจิตของตนได้ชัดเจนว่า กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มันเกิดจากสิ่งนี้ๆ และมันตั้งอยู่ได้ด้วยอาการอย่างนี้ๆ แล้วก็หาอุบายละด้วยอย่างนี้ๆ เหมือนกับน้ำในสระที่ขุ่นมาเป็นร้อยๆปี เพิ่งมาใสสะอาดมองเห็นสิ่งสารพัดที่มีอยู่ก้นสระว่า แต่ก่อนแต่ไรเราไม่นึกไม่คิดเลยว่า ในก้นสระนี้มันจะมีของเหล่านี้ นั้น เรียกว่า วิปัสสนา คือ ความรู้ความเห็นตามสภาพจริง มันเป็นจริงอย่างไร ก็เห็นตามความเป็นจริงอย่างนั้น ไม่วิปริตผิดแปลกจากความเป็นจริงของมัน สมถะก็ละกิเลสได้เหมือนกัน แต่ละได้เหมือนคนถางหญ้า ตัดแต่ต้นให้ขาด ไม่ขุดเอารากออกให้หมด รากมันย่อมมีเวลางอกขึ้นมาอีกในเมื่อฝนตกลงมา คือเห็นโทษในอารมณ์ที่มันเกิดจากอายตนะนะหกเหมือนกัน แต่เมื่อเห็นโทษก็รีบเข้าหาความสงบ โดยไม่พิจารณาอารมณ์นั้นๆให้ถี่ถ้วนอย่างสมาธิ สรุปความแล้วเรียกว่า ชอบเอาแต่ความสงบอย่างเดียว ไม่อยากพิจารณาให้เนิ่นช้า เหมือนกับตัวแย้อาศัยรูเป็นเครื่องป้องกันภัยอันตราย เมื่อเห็นศัตรูมาก็วิ่งเข้ารูเสีย พ้นภัยอันตรายไประยะหนึ่งๆ ก็เท่านั้น ผู้ต้องการขุดรากเหง้าของกิเลสในตัว เมื่อกิเลสมันเกิดจากอายตนะทั้งหกในตัวของตน เช่น ตาเห็นรูป หูได้ฟังเสียงเป็นต้น เกิดผู้ผัสสะขึ้นให้ยินดีหรือยินร้าย ดีใจและเสียใจ เป็นต้น แล้วเข้าไปยึดเอามาเป็นอารมณ์ของตน ขุ่นมัวอยู่ในใจ จนเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อน ดิ้นรน กินไม่ได้นอนไม่หลับ จนกระทั่งทำอัตตนิบาต ฆ่าคนตายก็มี เมื่อเห็นชัดอย่างนี้แล้ว พึงทำสมาธิ ให้มั่นคงเป็นหลักเสียก่อน แล้วจึงตั้งจิตพิจารณาเฉพาะในอารมณ์นั้นๆ แต่สิ่งเดียว เช่น ตาเห็นรูปที่เป็น อิฏฐารมณ์ แล้วเกิดความยินดีพอใจขึ้น ก็ให้พิจารณาเฉพาะแต่ความยินดีพอใจนั้นว่า มันเกิดจากตา หรือเกิดจากรูปกันแน่ เมื่อพิจารณาถึงรูป ก็เห็นว่า รูปมันเป็นแต่รูปธรรมต่างหาก มันจะดีหรือเลว มันไม่ได้มาชักชวนให้เราไปยินดี หรือยินร้าย หรือให้เราไปหลงรักหรือชัง มันเป็นแต่รูปเฉยๆ เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป มันดับไปตามสภาพของมันต่างหาก เมื่อพิจารณาตามตาผู้ไปเห็นรูปเล่า ตาผู้ส่งส่ายไปเห็นรูป พอกระทบเท่านั้น แสงสะท้อนกลับเข้ามาหาจักษุประสาทเข้า ก็เป็นรูปต่างๆนานาเกิดขึ้น ตาก็ไม่ได้ชักชวนไปให้ยินดียินร้าย หรือให้รักให้ชังอะไร ตามีหน้าที่ให้เห็น เห็นรูปแล้วก็ดับไป สิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์ และอนิฏฐารมณ์ หรืออายตนะอื่นๆ ก็ให้พิจารณาอย่างเดียวกันนี้ เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ เมื่อเราพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะเห็นชัดว่า สิ่งทั้งปวงหมดในโลกนี้ มันจะเกิดกิเลสขึ้นก็เพราะอายตนะทั้งหกนี้เป็นต้นเหตุทั้งนั้น ถ้าเราพิจารณาและไม่หลงตามอายตนะทั้งหกนี้ กิเลสก็จะไม่เกิดขึ้นในตัวของเรา ตรงกันข้าม มันจะเกิดปัญญาก็เพราะมีอายตนะทั้งหกนี้ อายตนะทั้งหกนี้ เป็นสื่อกลางของความดีและความชั่ว จะไปสุคติและทุคติ ก็เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ โลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ “ใจ” คือ “ผู้รู้” อย่างเดียว “จิต” กับ “ใจ” ย่อมมีลักษณะอาการต่างกัน “จิต” ได้แก่ ผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง และสัญญา อารมณ์ต่างๆ ตลอดถึงไปยึดเอาสิ่งต่างๆ มาไว้ที่จิต จิตเมื่อเห็นโทษทุกข์ทั้งหลาย ที่ยึดเอากิเลสทั้งปวงมาไว้ที่จิตของตน แล้ว ยอมสละถอนจากอารมณ์และกิเลสทั้งปวงจากจิต จิตนั้นก็เป็นใจ จิตกับใจมีลักษณะอาการต่างกันอย่างนี้ “ใจ” คือ ผู้เป็นกลาง วางเฉย ไม่คิดนึกอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่รู้ตัวอยู่ว่าวางเฉย ใจเป็นธรรมชาติเป็นกลางแท้ กลางไม่มีอดีตอนาคต ไม่มีบุญหรือบาป ไม่ดีและไม่ชั่วนั้นเรียกว่า “ใจ” สิ่งทั้งปวงหมด ถ้าพูดถึงใจแล้ว จะต้องหมายเอาตรงใจกลางทั้งนั้น แม้แต่ใจของคนซึ่งเป็นนามธรรม ก็ต้องชี้เข้าไปที่ท่ามกลางอก แต่ใจแท้ไม่ทราบว่าอยู่ตรงไหน เราเอาความรู้สึกไปไว้ในกายส่วนใดส่วนหนึ่ง ลองดูซิ จะรู้สึกขึ้นในที่นั้น หรือเอาความรู้สึกนั้นไปไว้ภายนอกกาย เป็นต้นว่าเอาไปไว้ที่เสาหรือที่ฝาผนังบ้าน ก็จะมีความรู้สึกอยู่ ณ ที่นั้น เป็นอันสรุปได้ว่า ใจแท้ คือ ความรู้สึกเฉยอยู่เป็นกลางๆ เมื่อมีความรู้สึกกลางๆอยู่ ณ ที่ใด ใจก็อยู่ ณ ที่นั้น ที่ชาวบ้านเขาพูดกันว่า หัวใจๆ นั้น มิใช่ใจแท้ เป็นแต่หทัยวัตถุ เครื่องสูบฉีดเลือดให้ไปหล่อเลี้ยงสรีระร่างกาย เพื่อให้อยู่ได้ ถ้าไม่มีเครื่องสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงร่างกายแล้วกายอันนี้ก็จะอยู่ไม่ได้ต้องตาย สมองก็เหมือนกัน จะคิดดีหรือไม่ดีก็เพราะสมองเป็นเครื่องใช้ของจิตใจ ระบบประสาทของสมองเป็นรูปธรรม เมื่อปัจจัยต่างๆ ของรูปธรรมขาดไป รูปธรรมย่อมอยู่ไม่ได้ต้องดับไป แต่ “จิต” ซึ่งเป็นนามธรรมนั้น ในพุทธศาสนาท่านว่า ยังเหลืออยู่ เกิดได้อีก นามธรรมจะดับ ก็ต่อเมื่อ ปัญญาไปรู้เหตุรู้ผลของนามธรรมนั้นๆ แล้วถอนมูลเหตุของมันเสีย ให้เหลืออยู่แต่ใจไม่ปรุงแต่ง ศาสตร์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ทั้งหมดสอนกันไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งเรียนยิ่งสอนก็ยิ่งกว้างขวางออกไปทุกที มีพุทธศาสนาเท่านั้นที่สอนให้ถึงที่สุดได้ พุทธศาสนาสอนเบื้องต้นให้รู้จักกาย อันนี้ว่า มีสิ่งต่างๆประกอบกันเข้า จึงเรียกว่าสรีระร่างกาย (คือ อาการสามสิบสอง) และมีหน้าที่อะไรบ้าง พร้อมกันนั้น ก็สอนให้เห็นเป็นของ “อสุภะ” เป็นของจริงไปในตัว สอนให้รู้จักโลกอันนี้ (คือ มนุษย์) ที่ประกอบไปด้วย “ทุกข์” ทั้งนั้น ผลที่สุดก็ต้องแตกดับไปตามธรรมดาของมัน ฉะนั้น เมื่อเราเกิดขึ้นมาได้ก้อนนี้แล้ว ถึงจะเป็นของไม่งามเต็มไปด้วย “อสุภะ” และประกอบไปด้วย “ทุกข์” นานัปการก็ตาม แต่เราก็ได้มาพึ่งอาศัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พึงทำคุณงามความดีใช้หนี้โลกเสีย ก่อนจะตายไปจากโลกนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ “จิต” คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้นพระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ “จิต” ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วย “จิต” อย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา) อายตนะทั้งหลาย เป็นเครื่องวัดจิตของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบจิตของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้ว ก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ “ใจ” ที่เป็นกลางๆๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลก ด้วยประการอย่างนี้ นั่งสมาธิภาวนา (ท่านอาจารย์อบรมนำก่อน) เราพากันมาสำรวมจิตกันเถิด จิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางทีจิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมันออกจากหนึ่ง สิ่งอันหนึ่งทั้งนั้น เช่น การนับก็ตั้งต้นจากหนึ่งก่อน หนึ่งสองหนก็เป็นสอง หนึ่งสามหนก็เป็นสาม ดังนี้เป็นต้น หรือต้นหมากรากไม้ทั้งปวงก็ออกมาจากหนึ่งทั้งนั้น (คือ รากของมัน) คนเราก็เหมือนกัน เมื่อเกิดมาทีแรก ก็เกิดจากปฏิสนธิจิตดวงเดียวแท้ๆ เมื่อคลอดออกมาแล้วมีอายตนะ ขันธ์ห้า เครื่องใช้หลายอย่าง จิตก็ปรุงแต่งไปหลายอย่างหลายอัน จนนับจิตไม่ถ้วน ไม่ทราบว่าจิตมีกี่ดวง ยุ่งกันไปหมด จิตเดิมแท้เลยไม่เห็น ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงสอนให้ค้นหาจิต คือภาวนาพุทโธ เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิต การค้นหาจิตเราจะต้องทำภาวนาพุทโธ ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้น ให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้ “จิต” กับ “ใจ” มันต่างกัน จิต คือ ผู้คิด ผู้ส่งส่าย ผู้ปรุงแต่ง ใจ คือ ผู้รู้ตัว แล้วนิ่งเฉยไม่คิดไม่นึก เรียกว่าใจ ดังอธิบายมาข้างต้น เมื่อไม่อยากให้กิเลสมารบกวน จงอย่าคิดนึก ทำใจให้เป็นกลางๆ วางเฉยแล้วนิ่งอยู่ กิเลสทั้งปวงก็จะไม่มารบกวนอีกต่อไป

เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิตพระธรรมเทศนาของหลวงปู่เทสก์สมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ พระราชนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย คำนำ ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอวิงวอน และร้องขอเชิญชวน ผู้ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานทั้งหลาย ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานในพุทธศาสนา จงสอนให้ยึดมั่นแนวเดียวกัน อย่าสอนไปคนละแบบต่างๆกัน จะเป็นทางหายนะแก่พระพุทธศาสนา จงสงสารผู้หวังดีกับพระพุทธศาสนาที่ตั้งใจเข้ามาปฏิบัติ เมื่อมาเห็นเช่นนั้นเข้าแล้วเลยท้อแท้ใจ อนึ่ง คนภายนอกพระพุทธศาสนาเขาจะเห็นไปว่า พระพุทธศาสนานี้สอนมีหลายทางหลายแบบ ไม่เป็นอันเดียวกัน ท่านทั้งหลายคงได้ดูตำรับตำราทางพระพุทธศาสนามากแล้วมิใช่หรือ พระพุทธศาสนาสอนให้เข้าถึงจิตถึงใจอันเดียว กิเลสทั้งหลายเกิดจากจิต จิตเป็นผู้ยึดเอากิเลสมาไว้ที่จิต จิตจึงเศร้าหมอง เมื่อจิตเห็นโทษของกิเลสแล้ว สละถอนกิเลสออกจากจิตได้แล้ว จิตก็ผ่องใสบริสุทธิ์ นี่เป็นหลักพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าสอนอย่างนี้มิใช่หรือ ถึงผู้จะเข้าสู่อริยภูมิ ก็ต้องเข้าถึงจิตเป็นหนึ่ง เรียกว่า มัคคสมังคี จิตรวมศีลสมาธิปัญญา เข้ามาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงจะเข้าถึงอริยภูมิได้ ปัญญาค้นคว้าหาเหตุผลของกิเลสนั้นๆ จนรู้ชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตนเองแล้ว นั่งอยู่ในที่เดียวนั้นก็เว้นจากความชั่วนั้นๆ ได้หมดจดสิ้นเชิง แล้วจิตก็แน่วแน่นลงเป็นสมาธิไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนไปไหน หมดจากโทษนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น ปัญญาความรู้เห็นโทษในกิเลสนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น แล้วรวมลงแน่วแน่นลงสู่ในที่เดียว ก็จิตดวงนั้น แลต้องตามไปละถอนในที่ต่างๆ อยู่เฉพาะในที่เดียวในขณะจิตเดียว จิตของพระอริยเจ้าแต่ละขั้นจะเข้าถึงมัคคสมังคี รวมเป็นศีลสมาธิปัญญา เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันดังนี้ แล้วจิตนั้น ก็ไม่ได้กลับเป็นอย่างนั้นอีก เมื่อถอนออกมาก็จะวิ่งไปตาม กามาพจรญาณสัมปยุต รู้เห็นตามวิสัยของกามาพจรทุกประการ แต่มีญาณ เป็นเครื่องรู้ตามเป็นจริง มิได้หลงไปตามอารมณ์นั้นๆ อย่างปุถุชนธรรมดา จงพากันมาทำความถูกต้องตามพุทธวจนะของพระองค์ อย่าพากันถือเอาคนนิยมมากเป็นประมาณ จงถือความถูกต้องเป็นหลักเกณฑ์ ครั้งพุทธกาล ครูทั้งหกมีสัญชัยปริพาชก เป็นต้น ก็มีคนนับถือมากมิใช่น้อย ในปัจจุบันนี้ ไสบาบา ดั่งเราเห็นอยู่ ซึ่งสอนให้สะสมกิเลส แต่คนก็ยังนับถือมาก ฉะนั้น ขอเชิญชวนท่านที่ปฏิบัติกัมมัฏฐานทั้งหลาย พึงพิจารณาตนเองว่า เราปฏิบัติอยู่ในแนวใด ถูกต้องตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วหรือยัง ถ้าไม่ถูกจงรีบแก้ไขให้ถูกต้องเสีย ก่อนจะสายเกินไป เราถือพระพุทธศาสนา เพื่อเทิดทูนบำรุงให้ศาสนารุ่งเรือง ได้มาปฏิบัติทำกัมมัฏฐานนี้ เป็นทางตรงต่อมรรคผลนิพพานโดยแท้ โดยเฉพาะพระภิกษุเราผู้เผยแพร่พระพุทธศาสนาควรสังวรระวังอย่างยิ่ง ผู้เขียนไม่มีความสามารถที่จะชี้แจงให้ท่านทั้งหลายเข้าใจลึกซึ้งกว่านี้ ถ้าท่านผู้ใดมีความสามารถชี้แจงให้เข้าใจได้แจ่มแจ้งกว่านี้ได้แล้ว ขอเชิญเถิด ผู้เขียนขออนุโมทนาด้วยอย่างยิ่ง ทุกๆคนคงมีความปรารถนา ที่จะให้พระพุทธศาสนาดำรงถาวรสืบต่อไป พระนิโรธรังสี ฯ ฝึกหัดสมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ แสดง ณ วัดหินหมากแป้ง อำเภอเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ เมื่อเริ่มที่จะเข้าไปเรียนพระกัมมัฎฐาน ในคณะไหน สำนักพระอาจารย์องค์ใด ผู้ที่ท่านชำนิชำนาญในพระกัมมัฏฐานนั้นๆแล้ว พึงตั้งจิตเชื่อมั่นในพระอาจารย์องค์นั้นว่า ท่านองค์นี้แหละ เป็นผู้ชำนาญในพระกัมมัฏฐานนี้โดยเฉพาะแน่แท้ แล้วก็ให้เชื่อมั่นในพระกัมมัฏฐานที่ท่านสอนนั้นว่าเป็นทางที่ถูกต้องแน่นอน และพึงให้ความเคารพในสถานที่ตนไปทำกัมมัฏฐานนั้นอีกด้วย แล้วจึงเข้าไปเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป โบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้น ก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐาน คือ จัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง ๕ คู่ ดอกไม้ขาว ๕ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๕ เทียนขี้ผึ้ง ๘ คู่ ดอกไม้ขาว ๘ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๘ หรือ เทียนขี้ผึ้งคู่ หนักเล่มละ ๑ บาท ดอกไม้ขาวเท่ากับเทียน แล้วอาราธนาเอาพระกัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้ แล้วจึงเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป พิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกัน ยังมีพิธีอีกมากมาย แต่ผู้เขียนยังไม่กล่าวถึง จะกล่าวถึงพิธีง่ายๆพอทำได้ในตอนต่อไป เมื่อปลูกศรัทธาความเชื่อมั่นให้มีขึ้นในจิตใจของตนดังกล่าวมาแล้ว จึงเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในกำมัฏฐานนั้นๆ ถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรม สัมมาอะระหัง ท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่า สัมมาอะระหังๆๆ ให้กำหนดเป็นดวงแก้วใสๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไป ๒ นิ้ว แล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้น ภาวนาไปเรื่อยๆ อย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้ว หมายความว่า เอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของดวงจิตก็แล้วกัน เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านภาวนายุบหนอพองหนอ ท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอพองหนอ ให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อิริยาบถต่างๆ เช่น ยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอ เหยียบเท้าลงก็ว่าพองหนอ หรือพิจารณาให้เห็นความเกิดและความดับทุกอิริยาบถ อย่างนี้เรื่อยไปเป็นอารมณ์ เมื่อท่านเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์ ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่า นะมะพะธะ นะมะพะธะ ให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่ง จิตจะพาไปเห็นเทพ นรก อินทร์ พรหม ต่างๆนานาหลายอย่าง จนเพลินอยู่กับอารมณ์นั้นๆ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านอานาปานสติ ท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้า-ออก ให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้า-ออก อย่างเดียวเป็นอารมณ์ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านภาวนาพุทโธ ท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่า พุทโธๆๆ แล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่นอยู่ในบริกรรมนั้น จนชำนาญเต็มที่แล้ว ก็จะสอนให้พิจารณา “พุทโธ” กับ “ผู้ว่าพุทโธ” เมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกันแล้ว พึงจับเอา “ผู้ว่าพุทโธ” ส่วน “พุทโธ” นั้นจะหายไป เหลือแต่ “ผู้ว่าพุทโธ” อย่างเดียว ให้ยึดเอา “ผู้ว่าพุทโธ” นั้นเป็นหลักต่อไป คนในสมัยนี้หรือในสมัยไหนก็ตาม หรือจะมีความรู้ความสามารถสักปานใดก็ช่าง ไม่ได้โทษว่า คนเหล่านั้นมักตื่นเต้นในสิ่งที่ตนยังไม่เคยทดสอบหาความจริง แล้วหลงเชื่อตาม เพราะเขาเหล่านั้นอยากรู้อยากเห็นของจริง โดยเฉพาะคนถือพระพุทธศาสนามาแล้ว และพุทธศาสนาก็แสดงถึงเหตุผลซึ่งเป็นจริงทั้งนั้น แต่ทำไมต้องไปหลงเชื่อตามคำโฆษณาซึ่งมีอยู่ดาษดื่นทั่วไป นี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อน ยังไม่ทำเหตุให้ถึงพร้อมแต่อยากได้ผลเร็ว อย่างที่เขาพูดกันว่า “คนสมัยปรมาณู” นั้นกระมัง พุทธศาสนาสอนเข้าถึงจิตใจอันเป็นนามธรรม ส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรม รูปธรรมมันต้องอยู่ในบังคับบัญชาของนามธรรม เมื่อเริ่มหัดสมาธิฝึกหัดจิตใจให้สงบไม่วุ่นวาย ในขณะนั้นไม่เห็นไปทำความเดือดร้อนให้แก่ใครทั้งหมด ฝึกหัดไปจนเป็นชำนาญได้ที่แล้ว ผู้นั้นก็สงบเยือกเย็น มีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมากๆเข้า โลกอันนี้ก็จะมีแต่ความสงบสุขทั่วกัน ส่วนรูปธรรมนั้นเราจะฝึกให้สงบได้ก็แต่เมื่อจิตบังคับอยู่เท่านั้น เมื่อจิตเผลอกายก็จะเป็นไปตามเรื่องของมัน ฉะนั้น เรามาฝึกหัดจิตบริกรรมพุทโธ ลองดู ปุพพกิจก่อนทำสมาธิ ปุพพกิจก่อนทำสมาธิ ก่อนจะทำกัมมัฏฐานภาวนาพุทโธ พึงทำปุพพกิจเบื้องต้นก่อน คือ ตั้งจิตให้เกิดศรัทธาเลื่อมใสให้เต็มที่ ดังได้อธิบายมาข้างต้น แล้วพึงกราบ ๓ หนแล้วกล่าว อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ถูกถ้วนดีแล้ว พุทฺธํ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ ข้าพเจ้า อภิวาทกราบไหว้ซึ่งพระผู้เป็นเจ้านั้น (พึงกราบลงหนหนึ่ง) สวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ธมฺมํ นมสฺสามิ ข้าพเจ้านมัสการ กราบไหว้ซึ่งพระธรรมเจ้านั้น (พึงกราบลงหนหนึ่ง) สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ ท่านปฏิบัติดีแล้ว สงฆํ นมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมซึ่งพระสงฆ์ (พึงกราบลงหนหนึ่ง) นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสฺมพุทฺธสฺส (กล่าว ๓ จบ) ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าผู้เป็นพระศาสดาเอกของโลก ทรงพ้นจากทุกข์และกิเลสทั้งปวงทรงอยู่เกษมสำราญทุกเมื่อ (พึงกราบลง ๓ หน) หมายเหตุ ปุพพกิจเบื้องต้นที่นำมาแสดงให้ดูนี้ เป็นแต่ตัวอย่างเท่านั้น หากใครได้มากจะไหว้มากก็ได้ ไม่ขัดข้อง แต่ต้องไหว้ก่อนนั่งสมาธิทุกครั้งไป เว้นแต่ว่าสถานที่ไม่อำนวย พึงนั่งสมาธิดังนี้ พึงนั่งสมาธิดังนี้ เอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตั้งตัวให้ตรงแล้วนึกเอาคำบริกรรมพุทโธๆ กำหนดไว้ที่ท่ามกลางหน้าอก คือ “ใจ” อย่าให้จิตส่งส่ายไปมาข้างหน้าข้างหลัง พึงตั้งสติสำรวมจิตให้อยู่คงที่เป็นเอกัคตาจิตแน่วแน่ จิตก็จะเข้าถึงสมาธิได้เลย เมื่อเข้าถึงสมาธิแล้ว บางทีก็ไม่รู้ตัวหายเงียบไปเลย ไม่รู้ว่าเรานั่งนานสักเท่าใด กว่าจะออกจากสมาธิก็เป็นเวลาตั้งหลายชั่วโมงก็มี เพราะฉะนั้น การนั่งสมาธิจึงไม่ต้องกำหนดเวลา ให้ปล่อยตามเรื่องของมันเอง จิตที่เข้าถึงสมาธิแท้ คือ จิตที่เป็นเอกัคตาจิต ถ้าไม่เข้าถึงเอกัคคตาจิตได้ชื่อว่ายังไม่เป็นสมาธิ เพราะใจแท้มีอันเดียว ถ้ามีหลายอันอยู่ยังไม่เข้าถึงใจ เป็นแต่จิต “จิต” กับ “ใจ” ก่อนจะฝึกหัดสมาธิ พึงข้าใจถึง “จิต” กับ “ใจ” เสียก่อน ในที่นี้พึงเข้าใจกันเสียก่อนว่า “จิต” กับ “ใจ” มิใช่อันเดียวกัน “จิต” เป็นผู้นึกคิดนึกปรุงแต่งสัญญาอารมณ์สรรพสิ่งทั้งปวง “ใจ” เป็นผู้นิ่งอยู่เฉยๆ เพียงแต่รู้ว่านิ่งอยู่เฉยๆ ไม่มีคิดนึกปรุงแต่งอะไรอีกเลย เปรียบเหมือนแม่น้ำ กับคลื่นของแม่น้ำ เมื่อคลื่นสงบแล้ว จะยังเหลือแต่แม่น้ำอันใสแจ๋วอยู่อย่างเดียว สรรพวิชาทั้งหลาย และกิเลสทั้งปวง จะเกิดมีขึ้นมาได้ ก็เพราะจิตคิดนึกปรุงแต่งแส่ส่ายหามา สิ่งทั้งปวงเหล่านั้น จะเห็นได้ชัดด้วยใจของตนเอง ก็ต่อเมื่อ จิตนิ่งแล้วเข้าถึงใจ น้ำเป็นของใสสะอาดโดยธรรมชาติอยู่แล้ว เมื่อมีผู้นำเอาสีต่างๆ มาประสมกับน้ำนั้น น้ำนั้นย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามสีนั้นๆ แต่เมื่อกลั่นกรองเอาน้ำออกมาจากสีนั้นๆ แล้ว น้ำก็จะใสสะอาดตามเดิม “จิต” กับ “ใจ” ก็อุปมาอุปมัยดังอธิบายมานี้ แท้จริงพระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสเทศนาไว้แล้วว่า จิตอันใด ใจก็อันนั้น ถ้าไม่มีใจ จิตก็ไม่มี จิตเป็นอาการ ใจไม่มีอาการ การฝึกหัดสมาธิภาวนา ไม่ว่าจะฝึกหัดโดยอาจารย์ใดและวิธีอะไรก็แล้วแต่เถิด ถ้าถูกทางแล้ว จะต้องเข้าถึงใจทั้งนั้น เมื่อเข้าถึงใจ เห็นใจของตนแล้ว ก็จะเห็นสรรพกิเลสของตนทั้งหมด เพราะจิตมันสะสมกิเลสไว้ที่จิตนั้นทั้งหมด คราวนี้เราจะจัดการอย่างไรกับมันก็แล้วแต่เรา หมอซึ่งจะรักษาโรคนั้นๆ ให้หายได้เด็ดขาด ก็ต้องค้นหาสมุฏฐานของโรคนั้นให้รู้จักเสียก่อน แล้วจึงจะวางยาให้ถูกกับโรคนั้นได้ เราบริกรรมพุทโธๆๆ ไปนานๆเข้า จิตก็จะค่อยคลายความฟุ้งซ่าน แล้วจะค่อยมารวมเข้ามาอยู่กับพุทโธ จิตจะตั้งมั่นเป็นอารมณ์อันเดียวกับพุทโธ จนเห็นจิตที่ว่า พุทโธอันใดจิตก็อันนั้นอยู่ตลอดทุกเมื่อ ไม่ว่า ยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถใดๆ ก็เห็นจิตใสแจ๋วอยู่กับพุทโธนั้น ประคองจิต ไม่รีบร้อน เมื่อได้ถึงขนาดนั้นแล้ว ขอให้ประคองจิตนั้นไว้ในอารมณ์นั้น นานแสนนานเท่าที่จะนานได้ อย่าเพิ่งอยากเห็นนั่นเห็นนี่ หรืออยากเป็นนั้นเป็นนี้ก่อนเลย เพราะความอยาก เป็นอุปสรรคแห่งจิตที่เป็นสมาธิอย่างร้ายแรง เมื่อความอยากเกิดขึ้น สมาธิก็จะเสื่อมทันที สมาธิเสื่อมเพราะหลักสมาธิ คือ “พุทโธ” ไม่มั่นคง คราวนั้นแหละ คว้าหาหลักอะไรก็ไม่ได้ เกิดความเดือดร้อนใหญ่ คิดถึงแต่อารมณ์ที่เคยได้รับสมาธิความสงบสุขเมื่อก่อน จิตก็ยิ่งฟุ้งใหญ่ ฯลฯ ฝึกหัดสมาธิให้เหมือนชาวนาทำนา เขาไม่รีบร้อน เขาหว่านกล้า ไถ คราด ปักดำ โดยลำดับไม่ข้ามขั้นตอน แล้วรอให้ต้นข้าวแก่ ถึงอย่างนั้นเขาก็ยังไม่เห็นเมล็ดไม่เห็นรวงเลย แต่เขาก็มีความเชื่อมั่นของเขาว่า จะมีเมล็ดมีรวงวันหนึ่งข้างหน้าแน่ๆ เมื่อต้นข้าวแก่แล้วออกรวงมา จึงเชื่อแน่ว่าจะได้รับผลแน่นอน เขาไม่ไปดึงต้นข้าวให้ออกรวงเอาตามใจชอบ ผู้ไปกระทำเช่นนั้น ย่อมไร้ผลโดยแท้ การฝึกสมาธิภาวนาก็เช่นเดียวกัน จะรีบร้อนข้ามขั้นตอนย่อมไม่ได้ ต้องตั้งจิตให้เลื่อมใสศรัทธาให้แน่วแน่ ว่าอันนี้ล่ะ เป็นคำบริกรรมที่จะทำให้จิตของเราเป็นสมาธิได้แท้จริง แล้วอย่าไปลังเลสงสัยว่า คำบริกรรมนี้จะถูกกับจริตนิสสัยของเราหรือไม่หนอ คำบริกรรมอันนั้น คนนั้นทำมันเป็นไปอย่างนั้นอย่างนี้ เราทำแล้วจิตไม่ตั้งมั่นอย่างนี้ใช้ไม่ได้ ถ้าจิตตั้งมั่นแน่วแน่ในคำบริกรรมที่ตนภาวนาอยู่นั้นแล้ว เป็นใช้ได้ทั้งนั้น เพราะภาวนาก็เพื่อต้องการทำจิตให้แน่วแน่เท่านั้น ส่วนนอกนั้นมันเป็นตามบุญวาสนาของแต่ละบุคคล ครั้งพุทธกาล มีพระรูปหนึ่งไปภาวนาอยู่ใกล้สระน้ำแห่งหนึ่ง เห็นนกกระยางตัวหนึ่งโฉบปลากินเป็นอาหาร ท่านเลยถือเอาเป็นคำบริกรรมภาวนา จนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ นกกระยางกินปลาไม่เคยเห็นในกัมมัฏฐานบทใด แต่ท่านเอามาภาวนาจนสำเร็จ นี้เป็นตัวอย่าง จิตตั้งมั่นในคำบริกรรม จิตที่ตั้งใจอบรมให้อยู่ในขอบเขตของคำบริกรรมพุทโธๆๆ ซึ่งมีสติเป็นผู้ควบคุมแล้ว ย่อมจะละพยศตัวร้ายกาจของตัวเองได้ และเราก็ต้องฝึกฝนอบรม เพราะต้องการความสุขสงบของจิต ธรรมดาของจิตย่อมมีอารมณ์ส่งส่ายหาความฟุ้งซ่านเป็นวิสัยอยู่แล้ว ดังอธิบายมาแล้ว โดยมากมันจะส่งส่ายไปในอารมณ์เหล่านี้ คือ พอเริ่มบริกรรมพุทโธ เอาจิตไปตั้งไว้ในพุทโธๆ เท่านั้นแหละ มันจะไม่อยู่ในพุทโธๆ มันจะวิ่งไปหาการงานที่เราเริ่มจะทำหรือกำลังทำอยู่ ปรุงแต่งทำนั่นทำนี่วุ่นวายไปหมด กลัวการงานมันจะไม่ดีไม่งาม กลัวการงานนั้นมันจะไม่สำเร็จ การงานที่เรารับจากคนอื่น หรือรับเฉพาะส่วนตัวมันจะเสียผลประโยชน์หรือขายขี้หน้า เมื่อเรารับแล้วไม่ทำตาม ฯลฯ นี่เป็นเรื่องรบกวนใจไม่ให้เป็นสมาธิของผู้อบรมใหม่อย่างหนึ่ง เราดึงเอาจิตมาไว้ที่พุทโธๆๆ นั้นอีก บอกว่านั่นมิใช่หนทางแห่งความสงบ ทางสงบแท้ต้องเอาจิตมาตั้งไว้ที่พุทโธแห่งเดียว แล้วบริกรรมพุทโธๆๆ เรื่อยไป ฯลฯ ประเดี๋ยวส่งไปอีกแล้ว คราวนี้ไปถึงครอบครัวโน้น ส่งไปหาลูก ไปหาภรรยา ไปหาสามีโน้น เขาจะอยู่อย่างไร เขามีสุขภาพพลามัยดีหรือไม่หนอ ได้บริโภคอาหารดีมีรสหรือไม่หนอ ถ้าอยู่ห่างไกลกัน ก็คิดถึงที่อยู่ที่นอน จะอยู่จะกินอย่างไร ผู้จากไปก็คิดถึงผู้อยู่ทางบ้าน ผู้อยู่ทางบ้านก็คิดถึงผู้ไปไกล กลัวว่าจะไม่ปลอดภัย กลัวคนอื่นจะมาข่มเหง ไม่มีผู้อยู่เป็นเพื่อน กลัวจะเหงาหงอย ฯลฯ คิดไปร้อยแปดพันเก้าสุดแท้แต่จิตจะปรุงจะแต่งไป ซึ่งเรื่องเหล่านี้มันคิดไปเกินกว่าเหตุทั้งนั้น หรือถ้ายังเป็นโสดยังเป็นหนุ่มเป็นสาวอยู่ ก็จะปรุงจะแต่งไปในทางสนุกสนานเพลิดเพลินกับหมู่กับเพื่อน ที่เคยเที่ยวสนุกเฮฮาไปในที่ต่างๆ บางคนถึงกับอุทานออกมาเป็นเสียง ดังหัวเราะก้ากก็มี กิเลสตัวนี้มันร้ายแรงยิ่งกว่าเพื่อน เมื่อภาวนาพุทโธๆๆ กิเลสมันเห็นว่าไม่ได้การแล้วเขาจะหนีจากเราไปอีกแล้ว มันก็จะสรรหาสิ่งที่จะผูกมัดให้เราติดมั่นเข้าทุกที เราเกิดมาตั้งแต่เด็กจนโตเราไม่เคยฝึกสมาธิภาวนาเลย มีแต่ปล่อยให้จิตไปตามอารมณ์ของกิเลส เพิ่งมาฝึกหัดเดี๋ยวนี้เอง เมื่อมาภาวนาพุทโธๆๆ เพื่อให้จิตมันมารวมอยู่ที่พุทโธ จิตมันจึงดิ้น เหมือนกับบุคคลโยนปลาขึ้นจากน้ำไปที่บนหาด ปลาย่อมดิ้นหาน้ำเป็นธรรมดา เราดึงเอา “จิต” ให้เข้ามาหา “พุทโธ” อีก “พุทโธ” เป็นของเย็น “พุทโธ” เป็นของเย็น เป็นทางให้เกิดสันติสุขมีทางเดียวเท่านี้ที่จะทำให้พ้นจากทุกข์ในโลกนี้ได้ เราดึงเอาจิตเข้ามาอยู่ในพุทโธๆ อีก หากคราวนี้พอสงบลงไปได้บ้าง พอรู้สึกว่าจิตมันอยู่ พอเห็นลางๆ ว่าจิตมันอยู่ มีความสุขสบาย ต่างกับจิตใจที่ไม่สงบ มีความทุกข์เดือดร้อน ตั้งใจระวังเอาสติประคองอารมณ์นั้นไว้ เอ้า ไปอีกแล้ว โน่น คราวนี้ไปยึดเอาผลประโยชน์มาเป็นเครื่องอ้างว่า ถ้าสิ่งนั้นเราไม่ทำหรือเราไม่แสวงหาก็จะเสียโอกาสอันมีค่ามหาศาล แล้วก็เอาจิตไปจดจ่ออยู่เฉพาะสิ่งนั้นแทนคำบริกรรมพุทโธ ส่วนพุทโธมันเลยหายไปไหนแล้วก็ไม่รู้ กว่าจะรู้ว่า “พุทโธ” มันหายเสียแล้ว ก็สายเสียแล้ว จึงว่าจิตนี้เป็นของดิ้นรนกระเสือกกระสน รักษาได้ยาก เหมือนกับลิงอยู่ไม่เป็นสุข ฯลฯ บางที นั่งสมาธิภาวนานานๆเข้า กลัวโลหิตจะไม่เดินหรือเดินไม่สะดวก กลัวเส้นประสาทจะตาย เกิดเป็นเหน็บชา ในที่สุดเป็นอัมพาต ถ้าไปภาวนาไกลบ้านหน่อย หรือในป่าก็ยิ่งกลัวใหญ่ กลัวเสือจะมากิน กลัวงูจะมากัด กลัวผีจะมาหลอกทำท่าทีต่างๆนานาใส่ ความกลัวตายยุบยิบไปหลายอย่างหลายประการ ล้วนแล้วแต่ตัวเองหลอกตัวเองทั้งนั้น ความจริงหาได้เป็นดั่งคิดนึกไม่ ตั้งแต่เราเกิดมาจนป่านนี้ ไม่เคยเห็นเสือกินคนเลยสักคนเดียว ผีก็ไม่เคยเห็นเลยสักที แม้แต่ตัวผีก็ไม่เคยเห็นสักเลยที ไม่ทราบว่าตัวมันเป็นอย่างไร แต่ก็ปรุงแต่งขึ้นมาหลอกตัวเอง อุปสรรคของการภาวนาที่ชักตัวอย่างมานี้ พอเป็นตัวอย่างเท่านั้น ความจริงแล้วมันมีมากกว่านี้ตั้งหลายเท่า ผู้ภาวนาแล้วจะรู้ด้วยตัวเอง หากว่าเรายึดเอาพุทโธๆมาไว้ที่ใจแล้ว เอาสติควบคุมจิตให้อยู่กับพุทโธอันเดียว ภัยอันตรายทั้งปวงจะไม่มาแผ้วผาน ขอให้เชื่อมั่นในพุทโธจริงๆเถิด รับรองว่าไม่มีอันตรายแน่นอน เว้นเสียแต่กรรมเก่าที่เขาเคยได้กระทำไว้ นั่นเป็นของสุดวิสัย แม้นพระพุทธเจ้าก็ป้องกันให้ไม่ได้ เชื่อมั่นในพุทโธ ผู้ภาวนาทั้งหลายแรกๆ ศรัทธายังอ่อน ไม่ว่าจะบริกรรมอะไรก็แล้วแต่เถอะ จะต้องถูกกิเลสเหล่านี้รบกวนด้วยกันทั้งนั้น เพราะกิเลสเหล่านี้มันเป็นพื้นฐานของโลกและพื้นฐานของจิต เมื่อเรามาภาวนาทำจิตให้เป็นอันเดียวเท่านั้นแหละ กิเลสเห็นว่าเราจะหนีจากมัน กิเลสเหล่านั้นมันจะมารุมล้อม ไม่ให้เราหนีจากโลกนี้ได้ ผู้มาเห็นโทษของมันว่าร้ายแรงอย่างนี้ แล้วทำใจให้กล้าหาญ ปลูกศรัทธาให้หนักแน่นมั่นคง คิดเสียว่าเราได้หลงเชื่อกิเลสมาหลายภพหลายชาติแล้ว คราวนี้เราจะยอมเชื่อคำสอนของพระพุทธเจ้า เอาพุทโธเป็นที่พึ่งล่ะ แล้วตั้งสติให้มั่นคงทำใจให้แน่วแน่ในพุทโธให้เต็มที่ ยอมสละชีวิตเพื่อบูชาพุทโธ ไม่ให้จิตหนีจากพุทโธ เมื่อเราตั้งปณิธานไว้อย่างนั้นแล้ว จิตก็ดิ่งลงสู่อารมณ์เข้าถึงสมาธิได้ ผู้เข้าถึงสมาธิทีแรก จะมีอาการอย่างนี้คือ เราจะไม่ทราบเลยว่า สมาธิหรือจิตเป็นเอกัคคตารมณ์เป็นอย่างไร เราเพียงแต่ตั้งสติให้แน่วแน่สู่อารมณ์อันเดียว ด้วยอำนาจจิตตั้งมั่นสู่อารมณ์อันเดียวนั้นแหละ เป็นเหตุนำจิตให้เข้าถึงสมาธิได้ แล้วก็ไม่ได้คิดนึกว่า อาการของสมาธิเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ และอยากให้มันเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ แต่มันเป็นของมันเองโดยอัตโนมัติ ใครๆจะบังคับให้มันเป็นไม่ได้ ในขณะนั้น จะมีความรู้สึกว่าเราอยู่อีกโลกหนึ่งต่างหาก (โลกจิต) มีความสุขสบายวิเวกหาอะไรเปรียบมิได้ในโลกนี้ เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิแล้วจะรู้สึกเสียดายอารมณ์อันนั้น และจำอารมณ์อันนั้นได้แม่นยำ ที่พูดกันอยู่ทุกวันนี้ ล้วนแล้วแต่จิตถอนออกมาจากอารมณ์นั้นทั้งนั้น ในขณะที่จิตกำลังรวมอยู่นั้น ใครจะพูดจะทำอะไรไม่รับรู้ทั้งหมด เราต้องฝึกจิตให้เข้าถึงสมาธิอย่างนี้อยู่บ่อยๆ เพื่อให้ชำนิชำนาญ แต่อย่าไปจำเอาอารมณ์เก่า อย่าอยากให้เป็นอย่างเก่า มันจะไม่เป็นอย่างนั้น ซ้ำจะยุ่งใหญ่ เป็นแต่เราค่อยภาวนาพุทโธๆ ให้จิตอยู่ในคำบริกรรมนั้นก็แล้วกัน มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน จิตเป็นสมาธิใหม่ๆ เมื่อมันเป็นอีกมันจะไม่เป็นอย่างเก่า แต่ก็ช่างมัน มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน ขอให้มันเป็นสมาธิก็แล้วกัน มันเป็นหลายอย่าง จึงได้ความรู้กว้าง และมีอุบายมาก ที่อธิบายมาโดยย่อนี้ พอเป็นนิทัศน์อุทาหรณ์ ขอผู้ทำตามนี้ จงอย่าได้เอามาใส่ใจ มันจะเป็นสัญญา ภาวนาจะไม่เป็นไป เพียงแต่จำไว้ว่าเป็นเครื่องเทียบเคียง ในเมื่อเราภาวนาเป็นไปแล้ว ฝึกจิต เห็นใจ ผู้ภาวนาทั้งหลาย ไม่ว่าจะภาวนาพุทโธหรือยุบหนอพองหนอ หรือสัมมาอะระหัง อะไรก็แล้วแต่ เมื่อจิตจะรวมเป็นสมาธิแล้ว ไม่คิดว่าจิตเราจะรวม หรือกำลังรวมอยู่หรืออะไรทั้งหมด แต่มันรวมของมันเองโดยอัตโนมัติ แม้ที่สุดแต่คำบริกรรมอยู่นั้น ก็ไม่ทราบมันวางเมื่อไร มันจะมีแต่ความสงบสุขอยู่อันหนึ่งต่างหาก ซึ่งมิใช่โลกนี้ และโลกอื่น หรืออะไรทั้งหมด และไม่มีใครหรือสิ่งอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่สภาพของมันต่างหาก (ซึ่งเรียกว่า โลกของจิต) ในที่นั้นจะไม่มีคำว่าโลกนี้ หรืออื่นใดทั้งสิ้น สมมติบัญญัติในโลกอันนี้จะไม่ปรากฎในที่นั้น เพราะฉะนั้น ในที่นั้นมันจะไม่เกิดปัญหาอะไรๆทั้งสิ้น เป็นแต่หัดจิตให้เป็นสมาธิไว้ แล้วเทียบเคียงกับจิตไม่เป็นสมาธิ ว่าผิดแปลกแตกต่างกันอย่างไร จิตเข้าถึงสมาธิแล้ว เมื่อถอนออกมาพิจารณาในทางโลกกับทางธรรม มันต่างกันอย่างไรกับจิตที่ไม่ได้เป็นสมาธิ “จิต” กับ “ใจ” ในที่นี้ จะพูดถึงเรื่องจิตกับใจให้เข้าใจอีกครั้งหนึ่ง ไหนๆก็พูดถึงเรื่องฝึกหัดจิต (คือสมาธิ) ถ้าไม่เข้าใจถึงเรื่องจิตกับใจแล้ว ก็ไม่ทราบว่าจะฝึกหัดอบรมสมาธิได้ที่ไหนและอย่างไร เกิดมาเป็นคนหรือสัตว์แล้ว ใครๆก็มีจิตใจด้วยกันทุกคน แต่จิตและใจนี้มันทำหน้าที่ต่างกัน จิต มันคิดให้นึก ให้ส่งส่าย และปรุงแต่งไปต่างๆนานา สารพัดร้อยแปดพันเก้า แล้วแต่กิเลสมันจะพาไป ส่วนใจ นั้นคือผู้รู้อยู่เฉยๆ ไม่นึกคิด ไม่ปรุงแต่งอะไรทั้งหมด อยู่เป็นกลางๆในสิ่งทั้งปวง ตัวผู้รู้อยู่เป็นกลางๆ นั่นแหละคือใจ ใจ ไม่มีตัวตนเป็นนามธรรม เป็นแต่ผู้รู้เฉยๆ เราจะเอาไปไว้ที่ไหนก็ได้ ไม่ได้อยู่ในกายหรือนอกกาย ที่เรียกหทัยวัตถุว่าหัวใจนั้น ไม่ใช่ใจแท้ เป็นแต่เครื่องฉีดเลือดให้วิ่งไปทั่วร่างกาย แล้วยังชีวิตให้เป็นอยู่เท่านั้น ถ้าหัวใจไม่ฉีดเลือดให้เดินไปทั่วร่างกายแล้ว ชีวิตความเป็นอยู่ก็ดำรงอยู่ไม่ได้ ใจ ตามภาษาชาวบ้านที่พูดกันเป็นประจำ เช่น คำว่า ฉันเสียใจ ฉันดีใจ ฉันร้อนใจ ฉันเศร้าใจ ฉันตกใจ ฉันน้อยใจ อะไรต่อมิอะไรก็ใจทั้งนั้น ฯลฯ แต่นักอภิธรรมเรียกเป็นจิตทั้งนั้น เช่น จิตเป็นกุศล จิตเป็นอกุศล จิตเป็นอัพยากฤต จิตเป็นกามพจร จิตเป็นรูปาพจร จิตเป็นอรูปาพจร จิตเป็นโลกุตตระ ฯลฯ แต่ตัวจิต และตัวใจแท้เป็นอย่างไร หาได้รู้ไม่ จิต คือผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ต้องใช้อายตนะทั้งหกเป็นเครื่องมือ พอตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกได้กลิ่น ลิ้นสัมผัสรส กายสัมผัสเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ใจนึกคิดอารมณ์ต่างๆ ตามกิเลสของตนทั้งที่ดีและไม่ดี ดีก็ชอบใจ ไม่ดีก็ไม่ชอบใจ ล้วนแล้วแต่เป็น จิต คือตัวกิเลสทั้งนั้น นอกจากอาตยะหกนี้แล้ว จิตจะเอามาใช้ไม่ได้ ท่านแยกออกไปเป็น อินทรีย์หก ธาตุหก ผัสสะหก อะไรเยอะแยะ แต่ก็อยู่ในอาตนะหกนี้ทั้งนั้น นั่นเป็นอาการลักษณะของจิตที่ผู้ไม่รู้จักนิ่งเฉย ผู้หัดจิต คือ ผู้ทำสมาธิ จะต้องสำรวมจิต ที่มันดิ้นรนไปตามอาตนะทั้งหก ดังที่อธิบายมาแล้วนั้น ให้หยุดนิ่งอยู่ในคำบริกรรมพุทโธอย่างเดียว ไม่ให้ส่งส่ายไปมาหน้าหลัง หยุดนิ่งเฉยและรู้ตัวว่านิ่งเฉย นั่นแหละตัวใจ ใจแท้ไม่มีการใช้อายตนะใดๆทั้งหมด จึงเรียกว่าใจ ดังชาวบ้านเขาพูดกันว่า ใจๆ คือของกลางในสิ่งทั้งปวง เช่น ใจมือ ก็หมายเอาตรงกลางมือ ใจเท้า ก็หมายเอาตรงกลางของพื้นเท้า สิ่งทั้งปวงหมด เมื่อพูดถึงใจแล้วจะต้องชี้เข้าหาที่ตรงกลางทั้งนั้น แม้ที่สุดแต่ใจคนก็ต้องชี้เอาตรงท่ามกลางอก แท้จริงแล้วหาได้อยู่ที่นั้นที่นี้ไม่ดังอธิบายมาแล้ว แต่อยู่ตรงกลางสิ่งทั้งปวงหมด เพื่อให้เข้าใจชัดเข้าอีก ทดลองดูก็ได้ พึงอัดลมหายใจเข้าไปสักพักหนึ่งดู…ในที่นั้นจะไม่มีอะไรเลย นอกจากผู้รู้เฉยอย่างเดียว นั่นแหละ “ใจ” คือ “ผู้รู้” แต่การจับ “ใจ” อย่างนี้ จะอยู่ไม่นาน อยู่ได้ชั่วขณะที่กลั้นลมหายใจเท่านั้น แต่ทดลองดูเพื่อให้รู้จักว่า “ใจ” แท้มีลักษณะอย่างไรเท่านั้น การกลั้นลมหายใจนี้ ทำให้ทุกขเวทนาเบาบางลงบ้าง ผู้มีเวทนามากๆ จะต้องกลั้นลมหายใจด้วยตนเองเป็นประจำเป็นยาแก้ปวด หายปวดได้ขนานหนึ่ง ดีเหมือนกัน เมื่อรู้ว่า จิต และ ใจ มีหน้าที่และลักษณะต่างกันอย่างนี้แล้ว ก็จะฝึกจิตได้ง่ายขึ้น แท้จริง จิต และ ใจ ก็อันเดียวกันนั่นแหละ พระพุทธเจ้าตรัสว่า จิตอันใด ใจก็อันนั้น การฝึกหัดอบรมสมาธิเราฝึกหัดแต่เฉพาะจิตอย่างเดียวก็พอแล้ว เมื่อฝึกจิตได้แล้ว ก็จะเห็นใจขึ้นมาในที่นั้นเอง ระวังเสื่อม จิตนี้เมื่อเราฝึกหัดอบรมเต็มที่ ด้วยการเอาสติเข้าไปควบคุมให้อยู่ในพุทโธเป็นอันเดียวแล้ว จะไม่ส่งส่ายไปในที่ต่างๆ แล้วจะรวมเข้ามาเป็นหนึ่ง และคำบริกรรมนั้นก็จะหายไปโดยไม่รู้ตัว จะมีความสงบเยือกเย็นเป็นสุขหาอะไรเสมอเหมือนไม่ได้ ผู้ไม่เคยได้ประสบ เมื่อประสบเข้าแล้วจะบรรยายอย่างไรก็ไม่ถูก เพราะความสงบสุขชนิดนี้ ซึ่งไม่มีคนใดในโลกนี้ได้ประสบมาก่อน ถึงเคยได้ประสบมาแล้วก็มิใช่อย่างเดียวกัน ฉะนั้นจึงบรรยายไม่ถูก แต่อธิบายให้ตัวเองฟังได้ ถ้าจะอธิบายให้คนอื่นฟัง ก็จะต้องใช้อุปมาอุปมัยเปรียบเทียบจึงจะเข้าใจได้ ของพรรค์นี้มันเป็นปัจจัตตัง ความรู้เฉพาะตน ยิ่งเข้าไปกว่านั้นอีก ถ้าผู้นั้นได้บำเพ็ญบารมีมาแต่ชาติก่อนมากแล้ว จะเกิดอัศจรรย์ต่างๆนานา เป็นต้นว่าเกิดความรู้ความเห็น เห็นเทวดา ภูตผี เปรต อสุรกาย และเห็นอดีต อนาคต ของตนและคนอื่น ในชาตินั้นๆ ได้เคยเป็นอย่างนั้นมาแล้ว และจะเป็นอย่างนั้นต่อไปอีก โดยที่ตนไม่ตั้งใจจะให้เห็นอย่างนั้นเลย แต่เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว มันหากจะเห็นของมันเองอย่างน่าอัศจรรย์มาก เรื่องพรรค์นี้ ผู้ปฏิบัติสมาธิทั้งหลายใฝ่ใจนักหนา เมื่อเห็นหรือรู้แล้ว ก็คุยโม้ให้คนอื่นฟัง เมื่อคนอื่นทำตามแต่ไม่เห็น หรือไม่เป็นอย่างนั้นก็ชักให้ท้อใจ หาว่าบุญของเราน้อย วาสนาของเราไม่มี ชักคลายศรัทธาในการปฏิบัติ ส่วนผู้ที่เป็น และเห็นนั้นเห็นนี้ ดังที่ว่ามานั้น เมื่อเสื่อมจากนั้นแล้ว เพราะความที่เราไปหลงเพลินแต่ของภายนอกไม่ยึดเอาใจมาเป็นหลัก เลยคว้าอะไรก็ไม่ติด แล้วก็คิดถึงอารมณ์ของเก่าที่เราเคยได้เคยเห็นนั้น จิตก็ยิ่งฟุ้งใหญ่ ผู้ที่ชอบคุยก็เอาแต่ความเก่าที่ตนเคยได้รู้เคยได้เห็นนั้น มาคุยเฟื่องไปเลย นักฟังทั้งหลายชอบฟังนักแบบนี้ แต่นักปฏิบัติเบื่อ เพราะนักปฏิบัติชอบฟังแต่ของความเป็นจริงและปัจจุบัน พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาไว้ว่า พระศาสนาของเราจะเสื่อมและเจริญ ก็เพราะผู้ปฏิบัตินี้ทั้งนั้น การเสื่อมเพราะผู้ปฏิบัติได้ความรู้อะไรนิดๆหน่อยๆ ก็จะเอาไปคุยให้คนอื่นฟัง ไม่แสดงถึงหลักของสมาธิภาวนา เอาแต่ของภายนอกมาพูด หาสาระอะไรไม่ได้ อย่างนี้ทำให้พระศาสนาเสื่อมโดยไม่รู้ตัว ผู้ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญนั้น พูดแต่สิ่งที่เป็นจริงเป็นประโยชน์ และไม่พูดเล่น พูดมีเหตุมีผล ปฏิบัติภาวนาอย่างนี้ บริกรรมอย่างนี้ ทำจิตให้รวมได้ สงบระงับกิเลสความฟุ้งซ่านได้อย่างนี้ ต้องยึดคำบริกรรมพุทโธเป็นหลัก ผู้บริกรรมภาวนาพุทโธๆๆ พึ่งทำใจเย็นๆ อย่าได้รีบร้อน ให้ทำความเชื่อมั่นในคำบริกรรมพุทโธ มีสติควบคุมจิตของตนให้อยู่ในพุทโธของตนก็แล้วกัน ความเชื่อมั่นเป็นเหตุให้ใจตั้งมั่นไม่คลอนแคลน ปล่อยวางความลังเลสงสัยอะไรทั้งหมด และจิตจะรวมเข้ามาอยู่ในคำบริกรรมพุทโธๆๆ มีสติควบคู่กับพุทโธเท่านั้น ตลอดเวลา จะยืน เดิน นั่ง นอน หรือประกอบกิจการงานอะไรทั้งหมด ก็จะมีสติรู้เท่าอยู่กับพุทโธอย่างเดียว ผู้ภาวนาสติยังอ่อนอุบายยังน้อย ต้องยึดคำบริกรรมพุทโธเป็นหลัก ถ้ามิฉะนั้นแล้วจะภาวนาไม่เป็น หรือเป็นไปแต่ยังจับหลักไม่ได้ ทำสมาธิให้แก่กล้าจิตเด็ด ถ้าแก่กล้าภาวนาจิตเด็ดว่าจะเอาอย่างนี้ละ ถ้าไม่ได้พุทโธ ไม่เห็นพุทโธขึ้นมาในใจ หรือจิตไม่หยุดนิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวแล้ว เราจะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้ชีวิตจะดับก็ช่างมัน อย่างนี้แล้วจิตก็จะรวมลงเป็นหนึ่งโดยไม่รู้ตัว คำบริกรรมที่ว่าพุทโธ หรือสิ่งใดที่เราข้องใจหรือสงสัยอยู่นั้น ก็จะหายไปในพริบตาเดียว แม้ร่างกายอันนี้ซึ่งเรายึดถือมานานแสนนาน ก็จะไม่ปรากฏในที่นั้น จะยังเหลือแต่ใจ คือผู้รู้ผู้สงบเยือกเย็น เป็นสุขอยู่อย่างเดียว ผู้ทำสมาธิได้อย่างนี้แล้วชอบใจนัก ทีหลังทำสมาธิก็อยากได้อย่างนั้นอีก มันเลยไม่เป็นอย่างนั้น นั่นแหละ ความอยากเป็นเหตุ มันจึงไม่เป็นอย่างนั้น สมาธิเป็นของละเอียดอ่อนมาก เราจะบังคับให้มันเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ไม่ได้ และไม่ให้เป็นสมาธิก็ไม่ได้อีกเหมือนกัน ถ้าเราทำใจร้อนยิ่งไปกันใหญ่ เราต้องทำใจเย็นๆ จะเป็นสมาธิหรือไม่ก็ตาม เราเคยทำภาวนาพุทโธๆ ก็ภาวนาไปเรื่อยๆ ทำเหมือนกับเราไม่เคยภาวนาพุทโธมาแต่ก่อน ทำใจให้เป็นกลางวางจิตให้เสมอ แล้วผ่อนลมหายใจให้เบาๆ เอาสติเข้าไปกำหนดจิต ให้อยู่กับพุทโธอย่างเดียว เวลามันจะเป็นมันหากเป็นของมันเอง เราจะมาแต่งให้มันเป็นไม่ได้ ถ้าเราแต่งเอาได้ คนในโลกนี้ก็จะสำเร็จเป็นพระอรหันต์กันหมดแล้ว รู้แล้วแต่ก็ทำไม่ถูก ทำถูกแล้วอยากเป็นอย่างนั้นอีก ก็เป็นไม่ได้ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นอุปสรรคของการทำสมาธิทั้งนั้น ผู้ภาวนาบริกรรมพุทโธ ต้องทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว ในขณะที่อารมณ์ทั้งดีและชั่วมากระทบเข้า ต้องทำสมาธิให้ได้ทันที อย่าให้จิตหวั่นไหวไปตามอารมณ์ได้ นึกถึงคำบริกรรมพุทโธเมื่อไร จิตก็จะรวมได้ทันที อย่างนี้จิตจะมั่นคงเชื่อตนเองได้ เมื่อหัดให้ช่ำชองชำนิชำนาญอย่างนี้นานๆเข้า กิเลสความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทั้งปวง มันจะค่อยหายไปเอง ไม่ต้องไปชำระกิเลสตัวนั้นตัวนี้ว่า กิเลสตัวนั้นจะต้องชำระด้วยธรรมข้อนั้นๆ ด้วยวิธีอุบายอย่างนั้นๆ เราละกิเลสได้ด้วยอุบายอย่างไร ก็พึงยินดีเท่านั้น เอาเพียงแค่นี้ก็พอแล้ว กิเลสค่อยหายไปด้วยอุบายอย่างที่อธิบายแล้ว ดีกว่าเราจะไปละกิเลสด้วยการปรุงแต่ง เข้าฌานที่ ๑-๒-๓-๔ ด้วยการละ วิตก วิจารณ์ ปิติ สุข มีเอกัคคตาและอุเบกขาเป็นอารมณ์ หรือทำให้ได้ ปฐมมรรค ด้วยการละกิเลส สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ไปมองดูแต่กิเลสนั้นๆว่า กิเลสตัวนั้นๆ เราทำให้ได้จิตอย่างนั้น เราพ้นจากกิเลสตัวนั้นๆได้แล้ว กิเลสเรายังเหลืออยู่อีกเท่านั้น ทำจิตให้ได้อย่างนั้นกิเลสของเราจึงจะหมดสิ้นไป แต่ไม่ได้มองดูจิต ผู้เกิดกิเลส ที่อยากรู้ อยากเห็น อยากเป็นว่า นั้นเป็นตัวกิเลสที่เกาะอยู่กับจิต พอเลิกการพิจารณานั้นแล้ว จิตก็จะอยู่อย่างเดิมไม่ได้อะไรเลย นอกจากไม่ได้อะไรแล้ว พอมีผู้มาแย้งความคิดความเห็น ซึ่งไม่ตรงต่อความเห็นของตนแล้ว จะต้องโต้แย้งอย่างรุนแรง เหมือนกับไฟลุกแล้วเอาน้ำมันมาราด ฉะนั้น ขอให้ยึดคำบริกรรมพุทโธไว้ให้มั่นคงเถิด ถ้าไม่ได้อะไรก็ยังพอมีคำบริกรรมไว้เป็นหลัก อารมณ์นั้นๆ ก็จะเบาบางลงได้บ้าง หรืออาจระงับหายไปก็เป็นไปได้ ดีกว่าไม่มีหลักอะไรเป็นเครื่องยึด แท้จริงผู้ภาวนาทั้งหลายต้องยึดเอาคำภาวนาของตนให้มั่นคง จึงจะได้ชื่อว่าภาวนามีหลัก เวลาภาวนาเสื่อมจะได้เอาเป็นหลัก พระพุทธเจ้าทรงเทศนาไว้ว่า ผู้ทำความเพียรเพื่อละกิเลสทั้งหลาย จงทำตัวให้เหมือนกับนักรบโบราณ สมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน่นหนา มีค่ายคูประตูหอรบเสร็จ เพื่อป้องกันข้าศึกอันจะมาราวี นักรบที่ฉลาด เมื่อออกรบกับข้าศึก เห็นว่าจะสู้ข้าศึกไม้ได้แล้ว ก็ล่าทัพกลับสู่พระนคร แล้วรักษาพระนครเอาไว้ไม่ให้ข้าศึกเข้ามาทำลายได้ พร้อมกันนั้น ก็สะสมรี้พลอาวุธ และอาหารให้พร้อมเพรียง (คือ ทำสมาธิ ให้มั่นคงกล้าหาญ) แล้วจึงออกรบข้าศึกอีกต่อไป (คือ มวลกิเลสทั้งปวง) สมาธิเป็นกำลังสำคัญมาก ถ้าไม่มีสมาธิแล้ววิปัสสนาจะเอากำลังมาจากไหน ปัญญาวิปัสสนามิใช่เป็นของจะพึงแต่งเอาได้เมื่อไร แต่เกิดจากสมาธิ ที่หัดได้ชำนิชำนาญมั่นคงดีแล้วต่างหาก ถึงผู้ได้สุกขวิปัสสกก็เถิด ถ้าไม่มีสมถะแล้วจะเอาวิปัสสนามาจากไหน เป็นแต่สมถะของท่านไม่คล่องเท่านั้น อย่างนี้พอฟังได้ สมาธิมั่นคง พิจารณาเห็น ผู้ปฏิบัติทั้งหลาย เมื่อได้ทำสมาธิให้มั่นคงแน่นหนาดีแล้ว จนกระทั่งจะเข้าจะออกก็ได้ จะอยู่ให้นานๆ และพิจารณากายอันนี้ให้เป็นอสุภะ หรือเป็นธาตุก็ได้ พิจารณาคนในโลกนี้ทั้งหมดให้เป็นโครงกระดูกทั้งหมดก็ได้ หรือพิจารณาให้เห็นในโลกนี้ทั้งหมดว่างเป็นอัชฌัตตากาศ ว่างเปล่าไปหมดก็ได้ ฯลฯ จิตผู้มีสมาธิเต็มที่แล้ว ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน ย่อมเป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา แล้วก็มองเห็นกิเลสของตน ซึ่งเกิดจากจิตของตนได้ชัดเจนว่า กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มันเกิดจากสิ่งนี้ๆ และมันตั้งอยู่ได้ด้วยอาการอย่างนี้ๆ แล้วก็หาอุบายละด้วยอย่างนี้ๆ เหมือนกับน้ำในสระที่ขุ่นมาเป็นร้อยๆปี เพิ่งมาใสสะอาดมองเห็นสิ่งสารพัดที่มีอยู่ก้นสระว่า แต่ก่อนแต่ไรเราไม่นึกไม่คิดเลยว่า ในก้นสระนี้มันจะมีของเหล่านี้ นั้น เรียกว่า วิปัสสนา คือ ความรู้ความเห็นตามสภาพจริง มันเป็นจริงอย่างไร ก็เห็นตามความเป็นจริงอย่างนั้น ไม่วิปริตผิดแปลกจากความเป็นจริงของมัน สมถะก็ละกิเลสได้เหมือนกัน แต่ละได้เหมือนคนถางหญ้า ตัดแต่ต้นให้ขาด ไม่ขุดเอารากออกให้หมด รากมันย่อมมีเวลางอกขึ้นมาอีกในเมื่อฝนตกลงมา คือเห็นโทษในอารมณ์ที่มันเกิดจากอายตนะนะหกเหมือนกัน แต่เมื่อเห็นโทษก็รีบเข้าหาความสงบ โดยไม่พิจารณาอารมณ์นั้นๆให้ถี่ถ้วนอย่างสมาธิ สรุปความแล้วเรียกว่า ชอบเอาแต่ความสงบอย่างเดียว ไม่อยากพิจารณาให้เนิ่นช้า เหมือนกับตัวแย้อาศัยรูเป็นเครื่องป้องกันภัยอันตราย เมื่อเห็นศัตรูมาก็วิ่งเข้ารูเสีย พ้นภัยอันตรายไประยะหนึ่งๆ ก็เท่านั้น ผู้ต้องการขุดรากเหง้าของกิเลสในตัว เมื่อกิเลสมันเกิดจากอายตนะทั้งหกในตัวของตน เช่น ตาเห็นรูป หูได้ฟังเสียงเป็นต้น เกิดผู้ผัสสะขึ้นให้ยินดีหรือยินร้าย ดีใจและเสียใจ เป็นต้น แล้วเข้าไปยึดเอามาเป็นอารมณ์ของตน ขุ่นมัวอยู่ในใจ จนเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อน ดิ้นรน กินไม่ได้นอนไม่หลับ จนกระทั่งทำอัตตนิบาต ฆ่าคนตายก็มี เมื่อเห็นชัดอย่างนี้แล้ว พึงทำสมาธิ ให้มั่นคงเป็นหลักเสียก่อน แล้วจึงตั้งจิตพิจารณาเฉพาะในอารมณ์นั้นๆ แต่สิ่งเดียว เช่น ตาเห็นรูปที่เป็น อิฏฐารมณ์ แล้วเกิดความยินดีพอใจขึ้น ก็ให้พิจารณาเฉพาะแต่ความยินดีพอใจนั้นว่า มันเกิดจากตา หรือเกิดจากรูปกันแน่ เมื่อพิจารณาถึงรูป ก็เห็นว่า รูปมันเป็นแต่รูปธรรมต่างหาก มันจะดีหรือเลว มันไม่ได้มาชักชวนให้เราไปยินดี หรือยินร้าย หรือให้เราไปหลงรักหรือชัง มันเป็นแต่รูปเฉยๆ เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป มันดับไปตามสภาพของมันต่างหาก เมื่อพิจารณาตามตาผู้ไปเห็นรูปเล่า ตาผู้ส่งส่ายไปเห็นรูป พอกระทบเท่านั้น แสงสะท้อนกลับเข้ามาหาจักษุประสาทเข้า ก็เป็นรูปต่างๆนานาเกิดขึ้น ตาก็ไม่ได้ชักชวนไปให้ยินดียินร้าย หรือให้รักให้ชังอะไร ตามีหน้าที่ให้เห็น เห็นรูปแล้วก็ดับไป สิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์ และอนิฏฐารมณ์ หรืออายตนะอื่นๆ ก็ให้พิจารณาอย่างเดียวกันนี้ เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ เมื่อเราพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะเห็นชัดว่า สิ่งทั้งปวงหมดในโลกนี้ มันจะเกิดกิเลสขึ้นก็เพราะอายตนะทั้งหกนี้เป็นต้นเหตุทั้งนั้น ถ้าเราพิจารณาและไม่หลงตามอายตนะทั้งหกนี้ กิเลสก็จะไม่เกิดขึ้นในตัวของเรา ตรงกันข้าม มันจะเกิดปัญญาก็เพราะมีอายตนะทั้งหกนี้ อายตนะทั้งหกนี้ เป็นสื่อกลางของความดีและความชั่ว จะไปสุคติและทุคติ ก็เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ โลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ “ใจ” คือ “ผู้รู้” อย่างเดียว “จิต” กับ “ใจ” ย่อมมีลักษณะอาการต่างกัน “จิต” ได้แก่ ผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง และสัญญา อารมณ์ต่างๆ ตลอดถึงไปยึดเอาสิ่งต่างๆ มาไว้ที่จิต จิตเมื่อเห็นโทษทุกข์ทั้งหลาย ที่ยึดเอากิเลสทั้งปวงมาไว้ที่จิตของตน แล้ว ยอมสละถอนจากอารมณ์และกิเลสทั้งปวงจากจิต จิตนั้นก็เป็นใจ จิตกับใจมีลักษณะอาการต่างกันอย่างนี้ “ใจ” คือ ผู้เป็นกลาง วางเฉย ไม่คิดนึกอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่รู้ตัวอยู่ว่าวางเฉย ใจเป็นธรรมชาติเป็นกลางแท้ กลางไม่มีอดีตอนาคต ไม่มีบุญหรือบาป ไม่ดีและไม่ชั่วนั้นเรียกว่า “ใจ” สิ่งทั้งปวงหมด ถ้าพูดถึงใจแล้ว จะต้องหมายเอาตรงใจกลางทั้งนั้น แม้แต่ใจของคนซึ่งเป็นนามธรรม ก็ต้องชี้เข้าไปที่ท่ามกลางอก แต่ใจแท้ไม่ทราบว่าอยู่ตรงไหน เราเอาความรู้สึกไปไว้ในกายส่วนใดส่วนหนึ่ง ลองดูซิ จะรู้สึกขึ้นในที่นั้น หรือเอาความรู้สึกนั้นไปไว้ภายนอกกาย เป็นต้นว่าเอาไปไว้ที่เสาหรือที่ฝาผนังบ้าน ก็จะมีความรู้สึกอยู่ ณ ที่นั้น เป็นอันสรุปได้ว่า ใจแท้ คือ ความรู้สึกเฉยอยู่เป็นกลางๆ เมื่อมีความรู้สึกกลางๆอยู่ ณ ที่ใด ใจก็อยู่ ณ ที่นั้น ที่ชาวบ้านเขาพูดกันว่า หัวใจๆ นั้น มิใช่ใจแท้ เป็นแต่หทัยวัตถุ เครื่องสูบฉีดเลือดให้ไปหล่อเลี้ยงสรีระร่างกาย เพื่อให้อยู่ได้ ถ้าไม่มีเครื่องสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงร่างกายแล้วกายอันนี้ก็จะอยู่ไม่ได้ต้องตาย สมองก็เหมือนกัน จะคิดดีหรือไม่ดีก็เพราะสมองเป็นเครื่องใช้ของจิตใจ ระบบประสาทของสมองเป็นรูปธรรม เมื่อปัจจัยต่างๆ ของรูปธรรมขาดไป รูปธรรมย่อมอยู่ไม่ได้ต้องดับไป แต่ “จิต” ซึ่งเป็นนามธรรมนั้น ในพุทธศาสนาท่านว่า ยังเหลืออยู่ เกิดได้อีก นามธรรมจะดับ ก็ต่อเมื่อ ปัญญาไปรู้เหตุรู้ผลของนามธรรมนั้นๆ แล้วถอนมูลเหตุของมันเสีย ให้เหลืออยู่แต่ใจไม่ปรุงแต่ง ศาสตร์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ทั้งหมดสอนกันไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งเรียนยิ่งสอนก็ยิ่งกว้างขวางออกไปทุกที มีพุทธศาสนาเท่านั้นที่สอนให้ถึงที่สุดได้ พุทธศาสนาสอนเบื้องต้นให้รู้จักกาย อันนี้ว่า มีสิ่งต่างๆประกอบกันเข้า จึงเรียกว่าสรีระร่างกาย (คือ อาการสามสิบสอง) และมีหน้าที่อะไรบ้าง พร้อมกันนั้น ก็สอนให้เห็นเป็นของ “อสุภะ” เป็นของจริงไปในตัว สอนให้รู้จักโลกอันนี้ (คือ มนุษย์) ที่ประกอบไปด้วย “ทุกข์” ทั้งนั้น ผลที่สุดก็ต้องแตกดับไปตามธรรมดาของมัน ฉะนั้น เมื่อเราเกิดขึ้นมาได้ก้อนนี้แล้ว ถึงจะเป็นของไม่งามเต็มไปด้วย “อสุภะ” และประกอบไปด้วย “ทุกข์” นานัปการก็ตาม แต่เราก็ได้มาพึ่งอาศัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พึงทำคุณงามความดีใช้หนี้โลกเสีย ก่อนจะตายไปจากโลกนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ “จิต” คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้นพระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ “จิต” ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วย “จิต” อย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา) อายตนะทั้งหลาย เป็นเครื่องวัดจิตของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบจิตของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้ว ก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ “ใจ” ที่เป็นกลางๆๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลก ด้วยประการอย่างนี้ นั่งสมาธิภาวนา (ท่านอาจารย์อบรมนำก่อน) เราพากันมาสำรวมจิตกันเถิด จิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางทีจิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมันออกจากหนึ่ง สิ่งอันหนึ่งทั้งนั้น เช่น การนับก็ตั้งต้นจากหนึ่งก่อน หนึ่งสองหนก็เป็นสอง หนึ่งสามหนก็เป็นสาม ดังนี้เป็นต้น หรือต้นหมากรากไม้ทั้งปวงก็ออกมาจากหนึ่งทั้งนั้น (คือ รากของมัน) คนเราก็เหมือนกัน เมื่อเกิดมาทีแรก ก็เกิดจากปฏิสนธิจิตดวงเดียวแท้ๆ เมื่อคลอดออกมาแล้วมีอายตนะ ขันธ์ห้า เครื่องใช้หลายอย่าง จิตก็ปรุงแต่งไปหลายอย่างหลายอัน จนนับจิตไม่ถ้วน ไม่ทราบว่าจิตมีกี่ดวง ยุ่งกันไปหมด จิตเดิมแท้เลยไม่เห็น ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงสอนให้ค้นหาจิต คือภาวนาพุทโธ เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิต การค้นหาจิตเราจะต้องทำภาวนาพุทโธ ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้น ให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้ “จิต” กับ “ใจ” มันต่างกัน จิต คือ ผู้คิด ผู้ส่งส่าย ผู้ปรุงแต่ง ใจ คือ ผู้รู้ตัว แล้วนิ่งเฉยไม่คิดไม่นึก เรียกว่าใจ ดังอธิบายมาข้างต้น เมื่อไม่อยากให้กิเลสมารบกวน จงอย่าคิดนึก ทำใจให้เป็นกลางๆ วางเฉยแล้วนิ่งอยู่ กิเลสทั้งปวงก็จะไม่มารบกวนอีกต่อไป

จงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบเมืองโบราณสมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน..สมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ พระราชนิโรธรังสี คัมภีรปัญญาวิศิษฏ์ หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี วัดหินหมากเป้ง อำเภอศรีเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย คำนำ ในหนังสือเล่มนี้ ผู้เขียนขอวิงวอน และร้องขอเชิญชวน ผู้ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานทั้งหลาย ที่สอนภาวนากัมมัฏฐานในพุทธศาสนา จงสอนให้ยึดมั่นแนวเดียวกัน อย่าสอนไปคนละแบบต่างๆกัน จะเป็นทางหายนะแก่พระพุทธศาสนา จงสงสารผู้หวังดีกับพระพุทธศาสนาที่ตั้งใจเข้ามาปฏิบัติ เมื่อมาเห็นเช่นนั้นเข้าแล้วเลยท้อแท้ใจ อนึ่ง คนภายนอกพระพุทธศาสนาเขาจะเห็นไปว่า พระพุทธศาสนานี้สอนมีหลายทางหลายแบบ ไม่เป็นอันเดียวกัน ท่านทั้งหลายคงได้ดูตำรับตำราทางพระพุทธศาสนามากแล้วมิใช่หรือ พระพุทธศาสนาสอนให้เข้าถึงจิตถึงใจอันเดียว กิเลสทั้งหลายเกิดจากจิต จิตเป็นผู้ยึดเอากิเลสมาไว้ที่จิต จิตจึงเศร้าหมอง เมื่อจิตเห็นโทษของกิเลสแล้ว สละถอนกิเลสออกจากจิตได้แล้ว จิตก็ผ่องใสบริสุทธิ์ นี่เป็นหลักพระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าสอนอย่างนี้มิใช่หรือ ถึงผู้จะเข้าสู่อริยภูมิ ก็ต้องเข้าถึงจิตเป็นหนึ่ง เรียกว่า มัคคสมังคี จิตรวมศีลสมาธิปัญญา เข้ามาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน จึงจะเข้าถึงอริยภูมิได้ ปัญญาค้นคว้าหาเหตุผลของกิเลสนั้นๆ จนรู้ชัดเจนแจ่มแจ้งด้วยตนเองแล้ว นั่งอยู่ในที่เดียวนั้นก็เว้นจากความชั่วนั้นๆ ได้หมดจดสิ้นเชิง แล้วจิตก็แน่วแน่นลงเป็นสมาธิไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนไปไหน หมดจากโทษนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น ปัญญาความรู้เห็นโทษในกิเลสนั้นๆ ก็จิตดวงนั้น แล้วรวมลงแน่วแน่นลงสู่ในที่เดียว ก็จิตดวงนั้น แลต้องตามไปละถอนในที่ต่างๆ อยู่เฉพาะในที่เดียวในขณะจิตเดียว จิตของพระอริยเจ้าแต่ละขั้นจะเข้าถึงมัคคสมังคี รวมเป็นศีลสมาธิปัญญา เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันดังนี้ แล้วจิตนั้น ก็ไม่ได้กลับเป็นอย่างนั้นอีก เมื่อถอนออกมาก็จะวิ่งไปตาม กามาพจรญาณสัมปยุต รู้เห็นตามวิสัยของกามาพจรทุกประการ แต่มีญาณ เป็นเครื่องรู้ตามเป็นจริง มิได้หลงไปตามอารมณ์นั้นๆ อย่างปุถุชนธรรมดา จงพากันมาทำความถูกต้องตามพุทธวจนะของพระองค์ อย่าพากันถือเอาคนนิยมมากเป็นประมาณ จงถือความถูกต้องเป็นหลักเกณฑ์ ครั้งพุทธกาล ครูทั้งหกมีสัญชัยปริพาชก เป็นต้น ก็มีคนนับถือมากมิใช่น้อย ในปัจจุบันนี้ ไสบาบา ดั่งเราเห็นอยู่ ซึ่งสอนให้สะสมกิเลส แต่คนก็ยังนับถือมาก ฉะนั้น ขอเชิญชวนท่านที่ปฏิบัติกัมมัฏฐานทั้งหลาย พึงพิจารณาตนเองว่า เราปฏิบัติอยู่ในแนวใด ถูกต้องตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้วหรือยัง ถ้าไม่ถูกจงรีบแก้ไขให้ถูกต้องเสีย ก่อนจะสายเกินไป เราถือพระพุทธศาสนา เพื่อเทิดทูนบำรุงให้ศาสนารุ่งเรือง ได้มาปฏิบัติทำกัมมัฏฐานนี้ เป็นทางตรงต่อมรรคผลนิพพานโดยแท้ โดยเฉพาะพระภิกษุเราผู้เผยแพร่พระพุทธศาสนาควรสังวรระวังอย่างยิ่ง ผู้เขียนไม่มีความสามารถที่จะชี้แจงให้ท่านทั้งหลายเข้าใจลึกซึ้งกว่านี้ ถ้าท่านผู้ใดมีความสามารถชี้แจงให้เข้าใจได้แจ่มแจ้งกว่านี้ได้แล้ว ขอเชิญเถิด ผู้เขียนขออนุโมทนาด้วยอย่างยิ่ง ทุกๆคนคงมีความปรารถนา ที่จะให้พระพุทธศาสนาดำรงถาวรสืบต่อไป พระนิโรธรังสี ฯ ฝึกหัดสมาธิ โดยบริกรรมพุทโธ แสดง ณ วัดหินหมากแป้ง อำเภอเชียงใหม่ จังหวัดหนองคาย วันที่ ๑๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ เมื่อเริ่มที่จะเข้าไปเรียนพระกัมมัฎฐาน ในคณะไหน สำนักพระอาจารย์องค์ใด ผู้ที่ท่านชำนิชำนาญในพระกัมมัฏฐานนั้นๆแล้ว พึงตั้งจิตเชื่อมั่นในพระอาจารย์องค์นั้นว่า ท่านองค์นี้แหละ เป็นผู้ชำนาญในพระกัมมัฏฐานนี้โดยเฉพาะแน่แท้ แล้วก็ให้เชื่อมั่นในพระกัมมัฏฐานที่ท่านสอนนั้นว่าเป็นทางที่ถูกต้องแน่นอน และพึงให้ความเคารพในสถานที่ตนไปทำกัมมัฏฐานนั้นอีกด้วย แล้วจึงเข้าไปเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป โบราณาจารย์ท่านมีพิธีปลูกศรัทธาเบื้องต้น ก่อนเรียนเอาพระกัมมัฏฐาน คือ จัดยกครูด้วยเทียนขี้ผึ้ง ๕ คู่ ดอกไม้ขาว ๕ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๕ เทียนขี้ผึ้ง ๘ คู่ ดอกไม้ขาว ๘ คู่ เรียกว่า ขันธ์ ๘ หรือ เทียนขี้ผึ้งคู่ หนักเล่มละ ๑ บาท ดอกไม้ขาวเท่ากับเทียน แล้วอาราธนาเอาพระกัมมัฏฐานทั้ง ๔๐ ให้เข้ามาอยู่ในขันธสันดานของข้าพเจ้าในกาลบัดนี้ แล้วจึงเรียนเอาพระกัมมัฏฐานนั้นต่อไป พิธีแยบยลโบราณกาลท่านดีเหมือนกัน ยังมีพิธีอีกมากมาย แต่ผู้เขียนยังไม่กล่าวถึง จะกล่าวถึงพิธีง่ายๆพอทำได้ในตอนต่อไป เมื่อปลูกศรัทธาความเชื่อมั่นให้มีขึ้นในจิตใจของตนดังกล่าวมาแล้ว จึงเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในกำมัฏฐานนั้นๆ ถ้าท่านชำนาญทางฝ่ายบริกรรม สัมมาอะระหัง ท่านก็สอนให้บริกรรมภาวนาว่า สัมมาอะระหังๆๆ ให้กำหนดเป็นดวงแก้วใสๆ อยู่เหนือสะดือขึ้นไป ๒ นิ้ว แล้วเอาจิตไปตั้งไว้ไว้ตรงนั้น ภาวนาไปเรื่อยๆ อย่าให้จิตหนีหายไปจากดวงแก้ว หมายความว่า เอาดวงแก้วเป็นที่ตั้งของดวงจิตก็แล้วกัน เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านภาวนายุบหนอพองหนอ ท่านก็จะสอนให้ภาวนายุบหนอพองหนอ ให้กำหนดเอาจิตไปไว้ที่อิริยาบถต่างๆ เช่น ยกเท้าขึ้นว่าหยุบหนอ เหยียบเท้าลงก็ว่าพองหนอ หรือพิจารณาให้เห็นความเกิดและความดับทุกอิริยาบถ อย่างนี้เรื่อยไปเป็นอารมณ์ เมื่อท่านเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ชำนาญในด้านอิทธิฤทธิ์ ท่านก็สอนคาถาภาวนาให้ว่า นะมะพะธะ นะมะพะธะ ให้เอาจิตเป็นอารมณ์อันหนึ่ง จิตจะพาไปเห็นเทพ นรก อินทร์ พรหม ต่างๆนานาหลายอย่าง จนเพลินอยู่กับอารมณ์นั้นๆ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านอานาปานสติ ท่านก็จะสอนให้กำหนดลมหายใจเข้า-ออก ให้จิตตั้งมั่นกับลมหายใจเข้า-ออก อย่างเดียวเป็นอารมณ์ เมื่อเข้าไปหาพระอาจารย์ที่ท่านชำนาญในด้านภาวนาพุทโธ ท่านก็จะสอนให้บริกรรมว่า พุทโธๆๆ แล้วให้เอาจิตไปตั้งมั่นอยู่ในบริกรรมนั้น จนชำนาญเต็มที่แล้ว ก็จะสอนให้พิจารณา “พุทโธ” กับ “ผู้ว่าพุทโธ” เมื่อพิจารณาเห็นเป็นคนละอันกันแล้ว พึงจับเอา “ผู้ว่าพุทโธ” ส่วน “พุทโธ” นั้นจะหายไป เหลือแต่ “ผู้ว่าพุทโธ” อย่างเดียว ให้ยึดเอา “ผู้ว่าพุทโธ” นั้นเป็นหลักต่อไป คนในสมัยนี้หรือในสมัยไหนก็ตาม หรือจะมีความรู้ความสามารถสักปานใดก็ช่าง ไม่ได้โทษว่า คนเหล่านั้นมักตื่นเต้นในสิ่งที่ตนยังไม่เคยทดสอบหาความจริง แล้วหลงเชื่อตาม เพราะเขาเหล่านั้นอยากรู้อยากเห็นของจริง โดยเฉพาะคนถือพระพุทธศาสนามาแล้ว และพุทธศาสนาก็แสดงถึงเหตุผลซึ่งเป็นจริงทั้งนั้น แต่ทำไมต้องไปหลงเชื่อตามคำโฆษณาซึ่งมีอยู่ดาษดื่นทั่วไป นี่จะเป็นเพราะคนสมัยนี้ใจร้อน ยังไม่ทำเหตุให้ถึงพร้อมแต่อยากได้ผลเร็ว อย่างที่เขาพูดกันว่า “คนสมัยปรมาณู” นั้นกระมัง พุทธศาสนาสอนเข้าถึงจิตใจอันเป็นนามธรรม ส่วนร่างกายมันเป็นรูปธรรม รูปธรรมมันต้องอยู่ในบังคับบัญชาของนามธรรม เมื่อเริ่มหัดสมาธิฝึกหัดจิตใจให้สงบไม่วุ่นวาย ในขณะนั้นไม่เห็นไปทำความเดือดร้อนให้แก่ใครทั้งหมด ฝึกหัดไปจนเป็นชำนาญได้ที่แล้ว ผู้นั้นก็สงบเยือกเย็น มีคนฝึกหัดอย่างนี้จำนวนมากๆเข้า โลกอันนี้ก็จะมีแต่ความสงบสุขทั่วกัน ส่วนรูปธรรมนั้นเราจะฝึกให้สงบได้ก็แต่เมื่อจิตบังคับอยู่เท่านั้น เมื่อจิตเผลอกายก็จะเป็นไปตามเรื่องของมัน ฉะนั้น เรามาฝึกหัดจิตบริกรรมพุทโธ ลองดู ปุพพกิจก่อนทำสมาธิ ปุพพกิจก่อนทำสมาธิ ก่อนจะทำกัมมัฏฐานภาวนาพุทโธ พึงทำปุพพกิจเบื้องต้นก่อน คือ ตั้งจิตให้เกิดศรัทธาเลื่อมใสให้เต็มที่ ดังได้อธิบายมาข้างต้น แล้วพึงกราบ ๓ หนแล้วกล่าว อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเป็นพระอรหันต์ตรัสรู้ถูกถ้วนดีแล้ว พุทฺธํ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ ข้าพเจ้า อภิวาทกราบไหว้ซึ่งพระผู้เป็นเจ้านั้น (พึงกราบลงหนหนึ่ง) สวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม พระธรรม อันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว ธมฺมํ นมสฺสามิ ข้าพเจ้านมัสการ กราบไหว้ซึ่งพระธรรมเจ้านั้น (พึงกราบลงหนหนึ่ง) สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสฺโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ ท่านปฏิบัติดีแล้ว สงฆํ นมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมซึ่งพระสงฆ์ (พึงกราบลงหนหนึ่ง) นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสฺมพุทฺธสฺส (กล่าว ๓ จบ) ระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าผู้เป็นพระศาสดาเอกของโลก ทรงพ้นจากทุกข์และกิเลสทั้งปวงทรงอยู่เกษมสำราญทุกเมื่อ (พึงกราบลง ๓ หน) หมายเหตุ ปุพพกิจเบื้องต้นที่นำมาแสดงให้ดูนี้ เป็นแต่ตัวอย่างเท่านั้น หากใครได้มากจะไหว้มากก็ได้ ไม่ขัดข้อง แต่ต้องไหว้ก่อนนั่งสมาธิทุกครั้งไป เว้นแต่ว่าสถานที่ไม่อำนวย พึงนั่งสมาธิดังนี้ พึงนั่งสมาธิดังนี้ เอาขาขวาทับขาซ้าย มือขวาทับมือซ้าย ตั้งตัวให้ตรงแล้วนึกเอาคำบริกรรมพุทโธๆ กำหนดไว้ที่ท่ามกลางหน้าอก คือ “ใจ” อย่าให้จิตส่งส่ายไปมาข้างหน้าข้างหลัง พึงตั้งสติสำรวมจิตให้อยู่คงที่เป็นเอกัคตาจิตแน่วแน่ จิตก็จะเข้าถึงสมาธิได้เลย เมื่อเข้าถึงสมาธิแล้ว บางทีก็ไม่รู้ตัวหายเงียบไปเลย ไม่รู้ว่าเรานั่งนานสักเท่าใด กว่าจะออกจากสมาธิก็เป็นเวลาตั้งหลายชั่วโมงก็มี เพราะฉะนั้น การนั่งสมาธิจึงไม่ต้องกำหนดเวลา ให้ปล่อยตามเรื่องของมันเอง จิตที่เข้าถึงสมาธิแท้ คือ จิตที่เป็นเอกัคตาจิต ถ้าไม่เข้าถึงเอกัคคตาจิตได้ชื่อว่ายังไม่เป็นสมาธิ เพราะใจแท้มีอันเดียว ถ้ามีหลายอันอยู่ยังไม่เข้าถึงใจ เป็นแต่จิต “จิต” กับ “ใจ” ก่อนจะฝึกหัดสมาธิ พึงข้าใจถึง “จิต” กับ “ใจ” เสียก่อน ในที่นี้พึงเข้าใจกันเสียก่อนว่า “จิต” กับ “ใจ” มิใช่อันเดียวกัน “จิต” เป็นผู้นึกคิดนึกปรุงแต่งสัญญาอารมณ์สรรพสิ่งทั้งปวง “ใจ” เป็นผู้นิ่งอยู่เฉยๆ เพียงแต่รู้ว่านิ่งอยู่เฉยๆ ไม่มีคิดนึกปรุงแต่งอะไรอีกเลย เปรียบเหมือนแม่น้ำ กับคลื่นของแม่น้ำ เมื่อคลื่นสงบแล้ว จะยังเหลือแต่แม่น้ำอันใสแจ๋วอยู่อย่างเดียว สรรพวิชาทั้งหลาย และกิเลสทั้งปวง จะเกิดมีขึ้นมาได้ ก็เพราะจิตคิดนึกปรุงแต่งแส่ส่ายหามา สิ่งทั้งปวงเหล่านั้น จะเห็นได้ชัดด้วยใจของตนเอง ก็ต่อเมื่อ จิตนิ่งแล้วเข้าถึงใจ น้ำเป็นของใสสะอาดโดยธรรมชาติอยู่แล้ว เมื่อมีผู้นำเอาสีต่างๆ มาประสมกับน้ำนั้น น้ำนั้นย่อมเปลี่ยนแปลงไปตามสีนั้นๆ แต่เมื่อกลั่นกรองเอาน้ำออกมาจากสีนั้นๆ แล้ว น้ำก็จะใสสะอาดตามเดิม “จิต” กับ “ใจ” ก็อุปมาอุปมัยดังอธิบายมานี้ แท้จริงพระพุทธเจ้าก็ได้ตรัสเทศนาไว้แล้วว่า จิตอันใด ใจก็อันนั้น ถ้าไม่มีใจ จิตก็ไม่มี จิตเป็นอาการ ใจไม่มีอาการ การฝึกหัดสมาธิภาวนา ไม่ว่าจะฝึกหัดโดยอาจารย์ใดและวิธีอะไรก็แล้วแต่เถิด ถ้าถูกทางแล้ว จะต้องเข้าถึงใจทั้งนั้น เมื่อเข้าถึงใจ เห็นใจของตนแล้ว ก็จะเห็นสรรพกิเลสของตนทั้งหมด เพราะจิตมันสะสมกิเลสไว้ที่จิตนั้นทั้งหมด คราวนี้เราจะจัดการอย่างไรกับมันก็แล้วแต่เรา หมอซึ่งจะรักษาโรคนั้นๆ ให้หายได้เด็ดขาด ก็ต้องค้นหาสมุฏฐานของโรคนั้นให้รู้จักเสียก่อน แล้วจึงจะวางยาให้ถูกกับโรคนั้นได้ เราบริกรรมพุทโธๆๆ ไปนานๆเข้า จิตก็จะค่อยคลายความฟุ้งซ่าน แล้วจะค่อยมารวมเข้ามาอยู่กับพุทโธ จิตจะตั้งมั่นเป็นอารมณ์อันเดียวกับพุทโธ จนเห็นจิตที่ว่า พุทโธอันใดจิตก็อันนั้นอยู่ตลอดทุกเมื่อ ไม่ว่า ยืน เดิน นั่ง นอน อิริยาบถใดๆ ก็เห็นจิตใสแจ๋วอยู่กับพุทโธนั้น ประคองจิต ไม่รีบร้อน เมื่อได้ถึงขนาดนั้นแล้ว ขอให้ประคองจิตนั้นไว้ในอารมณ์นั้น นานแสนนานเท่าที่จะนานได้ อย่าเพิ่งอยากเห็นนั่นเห็นนี่ หรืออยากเป็นนั้นเป็นนี้ก่อนเลย เพราะความอยาก เป็นอุปสรรคแห่งจิตที่เป็นสมาธิอย่างร้ายแรง เมื่อความอยากเกิดขึ้น สมาธิก็จะเสื่อมทันที สมาธิเสื่อมเพราะหลักสมาธิ คือ “พุทโธ” ไม่มั่นคง คราวนั้นแหละ คว้าหาหลักอะไรก็ไม่ได้ เกิดความเดือดร้อนใหญ่ คิดถึงแต่อารมณ์ที่เคยได้รับสมาธิความสงบสุขเมื่อก่อน จิตก็ยิ่งฟุ้งใหญ่ ฯลฯ ฝึกหัดสมาธิให้เหมือนชาวนาทำนา เขาไม่รีบร้อน เขาหว่านกล้า ไถ คราด ปักดำ โดยลำดับไม่ข้ามขั้นตอน แล้วรอให้ต้นข้าวแก่ ถึงอย่างนั้นเขาก็ยังไม่เห็นเมล็ดไม่เห็นรวงเลย แต่เขาก็มีความเชื่อมั่นของเขาว่า จะมีเมล็ดมีรวงวันหนึ่งข้างหน้าแน่ๆ เมื่อต้นข้าวแก่แล้วออกรวงมา จึงเชื่อแน่ว่าจะได้รับผลแน่นอน เขาไม่ไปดึงต้นข้าวให้ออกรวงเอาตามใจชอบ ผู้ไปกระทำเช่นนั้น ย่อมไร้ผลโดยแท้ การฝึกสมาธิภาวนาก็เช่นเดียวกัน จะรีบร้อนข้ามขั้นตอนย่อมไม่ได้ ต้องตั้งจิตให้เลื่อมใสศรัทธาให้แน่วแน่ ว่าอันนี้ล่ะ เป็นคำบริกรรมที่จะทำให้จิตของเราเป็นสมาธิได้แท้จริง แล้วอย่าไปลังเลสงสัยว่า คำบริกรรมนี้จะถูกกับจริตนิสสัยของเราหรือไม่หนอ คำบริกรรมอันนั้น คนนั้นทำมันเป็นไปอย่างนั้นอย่างนี้ เราทำแล้วจิตไม่ตั้งมั่นอย่างนี้ใช้ไม่ได้ ถ้าจิตตั้งมั่นแน่วแน่ในคำบริกรรมที่ตนภาวนาอยู่นั้นแล้ว เป็นใช้ได้ทั้งนั้น เพราะภาวนาก็เพื่อต้องการทำจิตให้แน่วแน่เท่านั้น ส่วนนอกนั้นมันเป็นตามบุญวาสนาของแต่ละบุคคล ครั้งพุทธกาล มีพระรูปหนึ่งไปภาวนาอยู่ใกล้สระน้ำแห่งหนึ่ง เห็นนกกระยางตัวหนึ่งโฉบปลากินเป็นอาหาร ท่านเลยถือเอาเป็นคำบริกรรมภาวนา จนได้สำเร็จเป็นพระอรหันต์ นกกระยางกินปลาไม่เคยเห็นในกัมมัฏฐานบทใด แต่ท่านเอามาภาวนาจนสำเร็จ นี้เป็นตัวอย่าง จิตตั้งมั่นในคำบริกรรม จิตที่ตั้งใจอบรมให้อยู่ในขอบเขตของคำบริกรรมพุทโธๆๆ ซึ่งมีสติเป็นผู้ควบคุมแล้ว ย่อมจะละพยศตัวร้ายกาจของตัวเองได้ และเราก็ต้องฝึกฝนอบรม เพราะต้องการความสุขสงบของจิต ธรรมดาของจิตย่อมมีอารมณ์ส่งส่ายหาความฟุ้งซ่านเป็นวิสัยอยู่แล้ว ดังอธิบายมาแล้ว โดยมากมันจะส่งส่ายไปในอารมณ์เหล่านี้ คือ พอเริ่มบริกรรมพุทโธ เอาจิตไปตั้งไว้ในพุทโธๆ เท่านั้นแหละ มันจะไม่อยู่ในพุทโธๆ มันจะวิ่งไปหาการงานที่เราเริ่มจะทำหรือกำลังทำอยู่ ปรุงแต่งทำนั่นทำนี่วุ่นวายไปหมด กลัวการงานมันจะไม่ดีไม่งาม กลัวการงานนั้นมันจะไม่สำเร็จ การงานที่เรารับจากคนอื่น หรือรับเฉพาะส่วนตัวมันจะเสียผลประโยชน์หรือขายขี้หน้า เมื่อเรารับแล้วไม่ทำตาม ฯลฯ นี่เป็นเรื่องรบกวนใจไม่ให้เป็นสมาธิของผู้อบรมใหม่อย่างหนึ่ง เราดึงเอาจิตมาไว้ที่พุทโธๆๆ นั้นอีก บอกว่านั่นมิใช่หนทางแห่งความสงบ ทางสงบแท้ต้องเอาจิตมาตั้งไว้ที่พุทโธแห่งเดียว แล้วบริกรรมพุทโธๆๆ เรื่อยไป ฯลฯ ประเดี๋ยวส่งไปอีกแล้ว คราวนี้ไปถึงครอบครัวโน้น ส่งไปหาลูก ไปหาภรรยา ไปหาสามีโน้น เขาจะอยู่อย่างไร เขามีสุขภาพพลามัยดีหรือไม่หนอ ได้บริโภคอาหารดีมีรสหรือไม่หนอ ถ้าอยู่ห่างไกลกัน ก็คิดถึงที่อยู่ที่นอน จะอยู่จะกินอย่างไร ผู้จากไปก็คิดถึงผู้อยู่ทางบ้าน ผู้อยู่ทางบ้านก็คิดถึงผู้ไปไกล กลัวว่าจะไม่ปลอดภัย กลัวคนอื่นจะมาข่มเหง ไม่มีผู้อยู่เป็นเพื่อน กลัวจะเหงาหงอย ฯลฯ คิดไปร้อยแปดพันเก้าสุดแท้แต่จิตจะปรุงจะแต่งไป ซึ่งเรื่องเหล่านี้มันคิดไปเกินกว่าเหตุทั้งนั้น หรือถ้ายังเป็นโสดยังเป็นหนุ่มเป็นสาวอยู่ ก็จะปรุงจะแต่งไปในทางสนุกสนานเพลิดเพลินกับหมู่กับเพื่อน ที่เคยเที่ยวสนุกเฮฮาไปในที่ต่างๆ บางคนถึงกับอุทานออกมาเป็นเสียง ดังหัวเราะก้ากก็มี กิเลสตัวนี้มันร้ายแรงยิ่งกว่าเพื่อน เมื่อภาวนาพุทโธๆๆ กิเลสมันเห็นว่าไม่ได้การแล้วเขาจะหนีจากเราไปอีกแล้ว มันก็จะสรรหาสิ่งที่จะผูกมัดให้เราติดมั่นเข้าทุกที เราเกิดมาตั้งแต่เด็กจนโตเราไม่เคยฝึกสมาธิภาวนาเลย มีแต่ปล่อยให้จิตไปตามอารมณ์ของกิเลส เพิ่งมาฝึกหัดเดี๋ยวนี้เอง เมื่อมาภาวนาพุทโธๆๆ เพื่อให้จิตมันมารวมอยู่ที่พุทโธ จิตมันจึงดิ้น เหมือนกับบุคคลโยนปลาขึ้นจากน้ำไปที่บนหาด ปลาย่อมดิ้นหาน้ำเป็นธรรมดา เราดึงเอา “จิต” ให้เข้ามาหา “พุทโธ” อีก “พุทโธ” เป็นของเย็น “พุทโธ” เป็นของเย็น เป็นทางให้เกิดสันติสุขมีทางเดียวเท่านี้ที่จะทำให้พ้นจากทุกข์ในโลกนี้ได้ เราดึงเอาจิตเข้ามาอยู่ในพุทโธๆ อีก หากคราวนี้พอสงบลงไปได้บ้าง พอรู้สึกว่าจิตมันอยู่ พอเห็นลางๆ ว่าจิตมันอยู่ มีความสุขสบาย ต่างกับจิตใจที่ไม่สงบ มีความทุกข์เดือดร้อน ตั้งใจระวังเอาสติประคองอารมณ์นั้นไว้ เอ้า ไปอีกแล้ว โน่น คราวนี้ไปยึดเอาผลประโยชน์มาเป็นเครื่องอ้างว่า ถ้าสิ่งนั้นเราไม่ทำหรือเราไม่แสวงหาก็จะเสียโอกาสอันมีค่ามหาศาล แล้วก็เอาจิตไปจดจ่ออยู่เฉพาะสิ่งนั้นแทนคำบริกรรมพุทโธ ส่วนพุทโธมันเลยหายไปไหนแล้วก็ไม่รู้ กว่าจะรู้ว่า “พุทโธ” มันหายเสียแล้ว ก็สายเสียแล้ว จึงว่าจิตนี้เป็นของดิ้นรนกระเสือกกระสน รักษาได้ยาก เหมือนกับลิงอยู่ไม่เป็นสุข ฯลฯ บางที นั่งสมาธิภาวนานานๆเข้า กลัวโลหิตจะไม่เดินหรือเดินไม่สะดวก กลัวเส้นประสาทจะตาย เกิดเป็นเหน็บชา ในที่สุดเป็นอัมพาต ถ้าไปภาวนาไกลบ้านหน่อย หรือในป่าก็ยิ่งกลัวใหญ่ กลัวเสือจะมากิน กลัวงูจะมากัด กลัวผีจะมาหลอกทำท่าทีต่างๆนานาใส่ ความกลัวตายยุบยิบไปหลายอย่างหลายประการ ล้วนแล้วแต่ตัวเองหลอกตัวเองทั้งนั้น ความจริงหาได้เป็นดั่งคิดนึกไม่ ตั้งแต่เราเกิดมาจนป่านนี้ ไม่เคยเห็นเสือกินคนเลยสักคนเดียว ผีก็ไม่เคยเห็นเลยสักที แม้แต่ตัวผีก็ไม่เคยเห็นสักเลยที ไม่ทราบว่าตัวมันเป็นอย่างไร แต่ก็ปรุงแต่งขึ้นมาหลอกตัวเอง อุปสรรคของการภาวนาที่ชักตัวอย่างมานี้ พอเป็นตัวอย่างเท่านั้น ความจริงแล้วมันมีมากกว่านี้ตั้งหลายเท่า ผู้ภาวนาแล้วจะรู้ด้วยตัวเอง หากว่าเรายึดเอาพุทโธๆมาไว้ที่ใจแล้ว เอาสติควบคุมจิตให้อยู่กับพุทโธอันเดียว ภัยอันตรายทั้งปวงจะไม่มาแผ้วผาน ขอให้เชื่อมั่นในพุทโธจริงๆเถิด รับรองว่าไม่มีอันตรายแน่นอน เว้นเสียแต่กรรมเก่าที่เขาเคยได้กระทำไว้ นั่นเป็นของสุดวิสัย แม้นพระพุทธเจ้าก็ป้องกันให้ไม่ได้ เชื่อมั่นในพุทโธ ผู้ภาวนาทั้งหลายแรกๆ ศรัทธายังอ่อน ไม่ว่าจะบริกรรมอะไรก็แล้วแต่เถอะ จะต้องถูกกิเลสเหล่านี้รบกวนด้วยกันทั้งนั้น เพราะกิเลสเหล่านี้มันเป็นพื้นฐานของโลกและพื้นฐานของจิต เมื่อเรามาภาวนาทำจิตให้เป็นอันเดียวเท่านั้นแหละ กิเลสเห็นว่าเราจะหนีจากมัน กิเลสเหล่านั้นมันจะมารุมล้อม ไม่ให้เราหนีจากโลกนี้ได้ ผู้มาเห็นโทษของมันว่าร้ายแรงอย่างนี้ แล้วทำใจให้กล้าหาญ ปลูกศรัทธาให้หนักแน่นมั่นคง คิดเสียว่าเราได้หลงเชื่อกิเลสมาหลายภพหลายชาติแล้ว คราวนี้เราจะยอมเชื่อคำสอนของพระพุทธเจ้า เอาพุทโธเป็นที่พึ่งล่ะ แล้วตั้งสติให้มั่นคงทำใจให้แน่วแน่ในพุทโธให้เต็มที่ ยอมสละชีวิตเพื่อบูชาพุทโธ ไม่ให้จิตหนีจากพุทโธ เมื่อเราตั้งปณิธานไว้อย่างนั้นแล้ว จิตก็ดิ่งลงสู่อารมณ์เข้าถึงสมาธิได้ ผู้เข้าถึงสมาธิทีแรก จะมีอาการอย่างนี้คือ เราจะไม่ทราบเลยว่า สมาธิหรือจิตเป็นเอกัคคตารมณ์เป็นอย่างไร เราเพียงแต่ตั้งสติให้แน่วแน่สู่อารมณ์อันเดียว ด้วยอำนาจจิตตั้งมั่นสู่อารมณ์อันเดียวนั้นแหละ เป็นเหตุนำจิตให้เข้าถึงสมาธิได้ แล้วก็ไม่ได้คิดนึกว่า อาการของสมาธิเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ และอยากให้มันเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ แต่มันเป็นของมันเองโดยอัตโนมัติ ใครๆจะบังคับให้มันเป็นไม่ได้ ในขณะนั้น จะมีความรู้สึกว่าเราอยู่อีกโลกหนึ่งต่างหาก (โลกจิต) มีความสุขสบายวิเวกหาอะไรเปรียบมิได้ในโลกนี้ เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิแล้วจะรู้สึกเสียดายอารมณ์อันนั้น และจำอารมณ์อันนั้นได้แม่นยำ ที่พูดกันอยู่ทุกวันนี้ ล้วนแล้วแต่จิตถอนออกมาจากอารมณ์นั้นทั้งนั้น ในขณะที่จิตกำลังรวมอยู่นั้น ใครจะพูดจะทำอะไรไม่รับรู้ทั้งหมด เราต้องฝึกจิตให้เข้าถึงสมาธิอย่างนี้อยู่บ่อยๆ เพื่อให้ชำนิชำนาญ แต่อย่าไปจำเอาอารมณ์เก่า อย่าอยากให้เป็นอย่างเก่า มันจะไม่เป็นอย่างนั้น ซ้ำจะยุ่งใหญ่ เป็นแต่เราค่อยภาวนาพุทโธๆ ให้จิตอยู่ในคำบริกรรมนั้นก็แล้วกัน มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน จิตเป็นสมาธิใหม่ๆ เมื่อมันเป็นอีกมันจะไม่เป็นอย่างเก่า แต่ก็ช่างมัน มันจะเป็นอย่างไรก็ช่างมัน ขอให้มันเป็นสมาธิก็แล้วกัน มันเป็นหลายอย่าง จึงได้ความรู้กว้าง และมีอุบายมาก ที่อธิบายมาโดยย่อนี้ พอเป็นนิทัศน์อุทาหรณ์ ขอผู้ทำตามนี้ จงอย่าได้เอามาใส่ใจ มันจะเป็นสัญญา ภาวนาจะไม่เป็นไป เพียงแต่จำไว้ว่าเป็นเครื่องเทียบเคียง ในเมื่อเราภาวนาเป็นไปแล้ว ฝึกจิต เห็นใจ ผู้ภาวนาทั้งหลาย ไม่ว่าจะภาวนาพุทโธหรือยุบหนอพองหนอ หรือสัมมาอะระหัง อะไรก็แล้วแต่ เมื่อจิตจะรวมเป็นสมาธิแล้ว ไม่คิดว่าจิตเราจะรวม หรือกำลังรวมอยู่หรืออะไรทั้งหมด แต่มันรวมของมันเองโดยอัตโนมัติ แม้ที่สุดแต่คำบริกรรมอยู่นั้น ก็ไม่ทราบมันวางเมื่อไร มันจะมีแต่ความสงบสุขอยู่อันหนึ่งต่างหาก ซึ่งมิใช่โลกนี้ และโลกอื่น หรืออะไรทั้งหมด และไม่มีใครหรือสิ่งอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่สภาพของมันต่างหาก (ซึ่งเรียกว่า โลกของจิต) ในที่นั้นจะไม่มีคำว่าโลกนี้ หรืออื่นใดทั้งสิ้น สมมติบัญญัติในโลกอันนี้จะไม่ปรากฎในที่นั้น เพราะฉะนั้น ในที่นั้นมันจะไม่เกิดปัญหาอะไรๆทั้งสิ้น เป็นแต่หัดจิตให้เป็นสมาธิไว้ แล้วเทียบเคียงกับจิตไม่เป็นสมาธิ ว่าผิดแปลกแตกต่างกันอย่างไร จิตเข้าถึงสมาธิแล้ว เมื่อถอนออกมาพิจารณาในทางโลกกับทางธรรม มันต่างกันอย่างไรกับจิตที่ไม่ได้เป็นสมาธิ “จิต” กับ “ใจ” ในที่นี้ จะพูดถึงเรื่องจิตกับใจให้เข้าใจอีกครั้งหนึ่ง ไหนๆก็พูดถึงเรื่องฝึกหัดจิต (คือสมาธิ) ถ้าไม่เข้าใจถึงเรื่องจิตกับใจแล้ว ก็ไม่ทราบว่าจะฝึกหัดอบรมสมาธิได้ที่ไหนและอย่างไร เกิดมาเป็นคนหรือสัตว์แล้ว ใครๆก็มีจิตใจด้วยกันทุกคน แต่จิตและใจนี้มันทำหน้าที่ต่างกัน จิต มันคิดให้นึก ให้ส่งส่าย และปรุงแต่งไปต่างๆนานา สารพัดร้อยแปดพันเก้า แล้วแต่กิเลสมันจะพาไป ส่วนใจ นั้นคือผู้รู้อยู่เฉยๆ ไม่นึกคิด ไม่ปรุงแต่งอะไรทั้งหมด อยู่เป็นกลางๆในสิ่งทั้งปวง ตัวผู้รู้อยู่เป็นกลางๆ นั่นแหละคือใจ ใจ ไม่มีตัวตนเป็นนามธรรม เป็นแต่ผู้รู้เฉยๆ เราจะเอาไปไว้ที่ไหนก็ได้ ไม่ได้อยู่ในกายหรือนอกกาย ที่เรียกหทัยวัตถุว่าหัวใจนั้น ไม่ใช่ใจแท้ เป็นแต่เครื่องฉีดเลือดให้วิ่งไปทั่วร่างกาย แล้วยังชีวิตให้เป็นอยู่เท่านั้น ถ้าหัวใจไม่ฉีดเลือดให้เดินไปทั่วร่างกายแล้ว ชีวิตความเป็นอยู่ก็ดำรงอยู่ไม่ได้ ใจ ตามภาษาชาวบ้านที่พูดกันเป็นประจำ เช่น คำว่า ฉันเสียใจ ฉันดีใจ ฉันร้อนใจ ฉันเศร้าใจ ฉันตกใจ ฉันน้อยใจ อะไรต่อมิอะไรก็ใจทั้งนั้น ฯลฯ แต่นักอภิธรรมเรียกเป็นจิตทั้งนั้น เช่น จิตเป็นกุศล จิตเป็นอกุศล จิตเป็นอัพยากฤต จิตเป็นกามพจร จิตเป็นรูปาพจร จิตเป็นอรูปาพจร จิตเป็นโลกุตตระ ฯลฯ แต่ตัวจิต และตัวใจแท้เป็นอย่างไร หาได้รู้ไม่ จิต คือผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ต้องใช้อายตนะทั้งหกเป็นเครื่องมือ พอตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกได้กลิ่น ลิ้นสัมผัสรส กายสัมผัสเย็น ร้อน อ่อน แข็ง ใจนึกคิดอารมณ์ต่างๆ ตามกิเลสของตนทั้งที่ดีและไม่ดี ดีก็ชอบใจ ไม่ดีก็ไม่ชอบใจ ล้วนแล้วแต่เป็น จิต คือตัวกิเลสทั้งนั้น นอกจากอาตยะหกนี้แล้ว จิตจะเอามาใช้ไม่ได้ ท่านแยกออกไปเป็น อินทรีย์หก ธาตุหก ผัสสะหก อะไรเยอะแยะ แต่ก็อยู่ในอาตนะหกนี้ทั้งนั้น นั่นเป็นอาการลักษณะของจิตที่ผู้ไม่รู้จักนิ่งเฉย ผู้หัดจิต คือ ผู้ทำสมาธิ จะต้องสำรวมจิต ที่มันดิ้นรนไปตามอาตนะทั้งหก ดังที่อธิบายมาแล้วนั้น ให้หยุดนิ่งอยู่ในคำบริกรรมพุทโธอย่างเดียว ไม่ให้ส่งส่ายไปมาหน้าหลัง หยุดนิ่งเฉยและรู้ตัวว่านิ่งเฉย นั่นแหละตัวใจ ใจแท้ไม่มีการใช้อายตนะใดๆทั้งหมด จึงเรียกว่าใจ ดังชาวบ้านเขาพูดกันว่า ใจๆ คือของกลางในสิ่งทั้งปวง เช่น ใจมือ ก็หมายเอาตรงกลางมือ ใจเท้า ก็หมายเอาตรงกลางของพื้นเท้า สิ่งทั้งปวงหมด เมื่อพูดถึงใจแล้วจะต้องชี้เข้าหาที่ตรงกลางทั้งนั้น แม้ที่สุดแต่ใจคนก็ต้องชี้เอาตรงท่ามกลางอก แท้จริงแล้วหาได้อยู่ที่นั้นที่นี้ไม่ดังอธิบายมาแล้ว แต่อยู่ตรงกลางสิ่งทั้งปวงหมด เพื่อให้เข้าใจชัดเข้าอีก ทดลองดูก็ได้ พึงอัดลมหายใจเข้าไปสักพักหนึ่งดู…ในที่นั้นจะไม่มีอะไรเลย นอกจากผู้รู้เฉยอย่างเดียว นั่นแหละ “ใจ” คือ “ผู้รู้” แต่การจับ “ใจ” อย่างนี้ จะอยู่ไม่นาน อยู่ได้ชั่วขณะที่กลั้นลมหายใจเท่านั้น แต่ทดลองดูเพื่อให้รู้จักว่า “ใจ” แท้มีลักษณะอย่างไรเท่านั้น การกลั้นลมหายใจนี้ ทำให้ทุกขเวทนาเบาบางลงบ้าง ผู้มีเวทนามากๆ จะต้องกลั้นลมหายใจด้วยตนเองเป็นประจำเป็นยาแก้ปวด หายปวดได้ขนานหนึ่ง ดีเหมือนกัน เมื่อรู้ว่า จิต และ ใจ มีหน้าที่และลักษณะต่างกันอย่างนี้แล้ว ก็จะฝึกจิตได้ง่ายขึ้น แท้จริง จิต และ ใจ ก็อันเดียวกันนั่นแหละ พระพุทธเจ้าตรัสว่า จิตอันใด ใจก็อันนั้น การฝึกหัดอบรมสมาธิเราฝึกหัดแต่เฉพาะจิตอย่างเดียวก็พอแล้ว เมื่อฝึกจิตได้แล้ว ก็จะเห็นใจขึ้นมาในที่นั้นเอง ระวังเสื่อม จิตนี้เมื่อเราฝึกหัดอบรมเต็มที่ ด้วยการเอาสติเข้าไปควบคุมให้อยู่ในพุทโธเป็นอันเดียวแล้ว จะไม่ส่งส่ายไปในที่ต่างๆ แล้วจะรวมเข้ามาเป็นหนึ่ง และคำบริกรรมนั้นก็จะหายไปโดยไม่รู้ตัว จะมีความสงบเยือกเย็นเป็นสุขหาอะไรเสมอเหมือนไม่ได้ ผู้ไม่เคยได้ประสบ เมื่อประสบเข้าแล้วจะบรรยายอย่างไรก็ไม่ถูก เพราะความสงบสุขชนิดนี้ ซึ่งไม่มีคนใดในโลกนี้ได้ประสบมาก่อน ถึงเคยได้ประสบมาแล้วก็มิใช่อย่างเดียวกัน ฉะนั้นจึงบรรยายไม่ถูก แต่อธิบายให้ตัวเองฟังได้ ถ้าจะอธิบายให้คนอื่นฟัง ก็จะต้องใช้อุปมาอุปมัยเปรียบเทียบจึงจะเข้าใจได้ ของพรรค์นี้มันเป็นปัจจัตตัง ความรู้เฉพาะตน ยิ่งเข้าไปกว่านั้นอีก ถ้าผู้นั้นได้บำเพ็ญบารมีมาแต่ชาติก่อนมากแล้ว จะเกิดอัศจรรย์ต่างๆนานา เป็นต้นว่าเกิดความรู้ความเห็น เห็นเทวดา ภูตผี เปรต อสุรกาย และเห็นอดีต อนาคต ของตนและคนอื่น ในชาตินั้นๆ ได้เคยเป็นอย่างนั้นมาแล้ว และจะเป็นอย่างนั้นต่อไปอีก โดยที่ตนไม่ตั้งใจจะให้เห็นอย่างนั้นเลย แต่เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว มันหากจะเห็นของมันเองอย่างน่าอัศจรรย์มาก เรื่องพรรค์นี้ ผู้ปฏิบัติสมาธิทั้งหลายใฝ่ใจนักหนา เมื่อเห็นหรือรู้แล้ว ก็คุยโม้ให้คนอื่นฟัง เมื่อคนอื่นทำตามแต่ไม่เห็น หรือไม่เป็นอย่างนั้นก็ชักให้ท้อใจ หาว่าบุญของเราน้อย วาสนาของเราไม่มี ชักคลายศรัทธาในการปฏิบัติ ส่วนผู้ที่เป็น และเห็นนั้นเห็นนี้ ดังที่ว่ามานั้น เมื่อเสื่อมจากนั้นแล้ว เพราะความที่เราไปหลงเพลินแต่ของภายนอกไม่ยึดเอาใจมาเป็นหลัก เลยคว้าอะไรก็ไม่ติด แล้วก็คิดถึงอารมณ์ของเก่าที่เราเคยได้เคยเห็นนั้น จิตก็ยิ่งฟุ้งใหญ่ ผู้ที่ชอบคุยก็เอาแต่ความเก่าที่ตนเคยได้รู้เคยได้เห็นนั้น มาคุยเฟื่องไปเลย นักฟังทั้งหลายชอบฟังนักแบบนี้ แต่นักปฏิบัติเบื่อ เพราะนักปฏิบัติชอบฟังแต่ของความเป็นจริงและปัจจุบัน พระพุทธเจ้าตรัสเทศนาไว้ว่า พระศาสนาของเราจะเสื่อมและเจริญ ก็เพราะผู้ปฏิบัตินี้ทั้งนั้น การเสื่อมเพราะผู้ปฏิบัติได้ความรู้อะไรนิดๆหน่อยๆ ก็จะเอาไปคุยให้คนอื่นฟัง ไม่แสดงถึงหลักของสมาธิภาวนา เอาแต่ของภายนอกมาพูด หาสาระอะไรไม่ได้ อย่างนี้ทำให้พระศาสนาเสื่อมโดยไม่รู้ตัว ผู้ทำให้พระพุทธศาสนาเจริญนั้น พูดแต่สิ่งที่เป็นจริงเป็นประโยชน์ และไม่พูดเล่น พูดมีเหตุมีผล ปฏิบัติภาวนาอย่างนี้ บริกรรมอย่างนี้ ทำจิตให้รวมได้ สงบระงับกิเลสความฟุ้งซ่านได้อย่างนี้ ต้องยึดคำบริกรรมพุทโธเป็นหลัก ผู้บริกรรมภาวนาพุทโธๆๆ พึ่งทำใจเย็นๆ อย่าได้รีบร้อน ให้ทำความเชื่อมั่นในคำบริกรรมพุทโธ มีสติควบคุมจิตของตนให้อยู่ในพุทโธของตนก็แล้วกัน ความเชื่อมั่นเป็นเหตุให้ใจตั้งมั่นไม่คลอนแคลน ปล่อยวางความลังเลสงสัยอะไรทั้งหมด และจิตจะรวมเข้ามาอยู่ในคำบริกรรมพุทโธๆๆ มีสติควบคู่กับพุทโธเท่านั้น ตลอดเวลา จะยืน เดิน นั่ง นอน หรือประกอบกิจการงานอะไรทั้งหมด ก็จะมีสติรู้เท่าอยู่กับพุทโธอย่างเดียว ผู้ภาวนาสติยังอ่อนอุบายยังน้อย ต้องยึดคำบริกรรมพุทโธเป็นหลัก ถ้ามิฉะนั้นแล้วจะภาวนาไม่เป็น หรือเป็นไปแต่ยังจับหลักไม่ได้ ทำสมาธิให้แก่กล้าจิตเด็ด ถ้าแก่กล้าภาวนาจิตเด็ดว่าจะเอาอย่างนี้ละ ถ้าไม่ได้พุทโธ ไม่เห็นพุทโธขึ้นมาในใจ หรือจิตไม่หยุดนิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวแล้ว เราจะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้ชีวิตจะดับก็ช่างมัน อย่างนี้แล้วจิตก็จะรวมลงเป็นหนึ่งโดยไม่รู้ตัว คำบริกรรมที่ว่าพุทโธ หรือสิ่งใดที่เราข้องใจหรือสงสัยอยู่นั้น ก็จะหายไปในพริบตาเดียว แม้ร่างกายอันนี้ซึ่งเรายึดถือมานานแสนนาน ก็จะไม่ปรากฏในที่นั้น จะยังเหลือแต่ใจ คือผู้รู้ผู้สงบเยือกเย็น เป็นสุขอยู่อย่างเดียว ผู้ทำสมาธิได้อย่างนี้แล้วชอบใจนัก ทีหลังทำสมาธิก็อยากได้อย่างนั้นอีก มันเลยไม่เป็นอย่างนั้น นั่นแหละ ความอยากเป็นเหตุ มันจึงไม่เป็นอย่างนั้น สมาธิเป็นของละเอียดอ่อนมาก เราจะบังคับให้มันเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ไม่ได้ และไม่ให้เป็นสมาธิก็ไม่ได้อีกเหมือนกัน ถ้าเราทำใจร้อนยิ่งไปกันใหญ่ เราต้องทำใจเย็นๆ จะเป็นสมาธิหรือไม่ก็ตาม เราเคยทำภาวนาพุทโธๆ ก็ภาวนาไปเรื่อยๆ ทำเหมือนกับเราไม่เคยภาวนาพุทโธมาแต่ก่อน ทำใจให้เป็นกลางวางจิตให้เสมอ แล้วผ่อนลมหายใจให้เบาๆ เอาสติเข้าไปกำหนดจิต ให้อยู่กับพุทโธอย่างเดียว เวลามันจะเป็นมันหากเป็นของมันเอง เราจะมาแต่งให้มันเป็นไม่ได้ ถ้าเราแต่งเอาได้ คนในโลกนี้ก็จะสำเร็จเป็นพระอรหันต์กันหมดแล้ว รู้แล้วแต่ก็ทำไม่ถูก ทำถูกแล้วอยากเป็นอย่างนั้นอีก ก็เป็นไม่ได้ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นอุปสรรคของการทำสมาธิทั้งนั้น ผู้ภาวนาบริกรรมพุทโธ ต้องทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว ในขณะที่อารมณ์ทั้งดีและชั่วมากระทบเข้า ต้องทำสมาธิให้ได้ทันที อย่าให้จิตหวั่นไหวไปตามอารมณ์ได้ นึกถึงคำบริกรรมพุทโธเมื่อไร จิตก็จะรวมได้ทันที อย่างนี้จิตจะมั่นคงเชื่อตนเองได้ เมื่อหัดให้ช่ำชองชำนิชำนาญอย่างนี้นานๆเข้า กิเลสความยึดมั่นถือมั่นในสิ่งทั้งปวง มันจะค่อยหายไปเอง ไม่ต้องไปชำระกิเลสตัวนั้นตัวนี้ว่า กิเลสตัวนั้นจะต้องชำระด้วยธรรมข้อนั้นๆ ด้วยวิธีอุบายอย่างนั้นๆ เราละกิเลสได้ด้วยอุบายอย่างไร ก็พึงยินดีเท่านั้น เอาเพียงแค่นี้ก็พอแล้ว กิเลสค่อยหายไปด้วยอุบายอย่างที่อธิบายแล้ว ดีกว่าเราจะไปละกิเลสด้วยการปรุงแต่ง เข้าฌานที่ ๑-๒-๓-๔ ด้วยการละ วิตก วิจารณ์ ปิติ สุข มีเอกัคคตาและอุเบกขาเป็นอารมณ์ หรือทำให้ได้ ปฐมมรรค ด้วยการละกิเลส สักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ไปมองดูแต่กิเลสนั้นๆว่า กิเลสตัวนั้นๆ เราทำให้ได้จิตอย่างนั้น เราพ้นจากกิเลสตัวนั้นๆได้แล้ว กิเลสเรายังเหลืออยู่อีกเท่านั้น ทำจิตให้ได้อย่างนั้นกิเลสของเราจึงจะหมดสิ้นไป แต่ไม่ได้มองดูจิต ผู้เกิดกิเลส ที่อยากรู้ อยากเห็น อยากเป็นว่า นั้นเป็นตัวกิเลสที่เกาะอยู่กับจิต พอเลิกการพิจารณานั้นแล้ว จิตก็จะอยู่อย่างเดิมไม่ได้อะไรเลย นอกจากไม่ได้อะไรแล้ว พอมีผู้มาแย้งความคิดความเห็น ซึ่งไม่ตรงต่อความเห็นของตนแล้ว จะต้องโต้แย้งอย่างรุนแรง เหมือนกับไฟลุกแล้วเอาน้ำมันมาราด ฉะนั้น ขอให้ยึดคำบริกรรมพุทโธไว้ให้มั่นคงเถิด ถ้าไม่ได้อะไรก็ยังพอมีคำบริกรรมไว้เป็นหลัก อารมณ์นั้นๆ ก็จะเบาบางลงได้บ้าง หรืออาจระงับหายไปก็เป็นไปได้ ดีกว่าไม่มีหลักอะไรเป็นเครื่องยึด แท้จริงผู้ภาวนาทั้งหลายต้องยึดเอาคำภาวนาของตนให้มั่นคง จึงจะได้ชื่อว่าภาวนามีหลัก เวลาภาวนาเสื่อมจะได้เอาเป็นหลัก พระพุทธเจ้าทรงเทศนาไว้ว่า ผู้ทำความเพียรเพื่อละกิเลสทั้งหลาย จงทำตัวให้เหมือนกับนักรบโบราณ สมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน่นหนา มีค่ายคูประตูหอรบเสร็จ เพื่อป้องกันข้าศึกอันจะมาราวี นักรบที่ฉลาด เมื่อออกรบกับข้าศึก เห็นว่าจะสู้ข้าศึกไม้ได้แล้ว ก็ล่าทัพกลับสู่พระนคร แล้วรักษาพระนครเอาไว้ไม่ให้ข้าศึกเข้ามาทำลายได้ พร้อมกันนั้น ก็สะสมรี้พลอาวุธ และอาหารให้พร้อมเพรียง (คือ ทำสมาธิ ให้มั่นคงกล้าหาญ) แล้วจึงออกรบข้าศึกอีกต่อไป (คือ มวลกิเลสทั้งปวง) สมาธิเป็นกำลังสำคัญมาก ถ้าไม่มีสมาธิแล้ววิปัสสนาจะเอากำลังมาจากไหน ปัญญาวิปัสสนามิใช่เป็นของจะพึงแต่งเอาได้เมื่อไร แต่เกิดจากสมาธิ ที่หัดได้ชำนิชำนาญมั่นคงดีแล้วต่างหาก ถึงผู้ได้สุกขวิปัสสกก็เถิด ถ้าไม่มีสมถะแล้วจะเอาวิปัสสนามาจากไหน เป็นแต่สมถะของท่านไม่คล่องเท่านั้น อย่างนี้พอฟังได้ สมาธิมั่นคง พิจารณาเห็น ผู้ปฏิบัติทั้งหลาย เมื่อได้ทำสมาธิให้มั่นคงแน่นหนาดีแล้ว จนกระทั่งจะเข้าจะออกก็ได้ จะอยู่ให้นานๆ และพิจารณากายอันนี้ให้เป็นอสุภะ หรือเป็นธาตุก็ได้ พิจารณาคนในโลกนี้ทั้งหมดให้เป็นโครงกระดูกทั้งหมดก็ได้ หรือพิจารณาให้เห็นในโลกนี้ทั้งหมดว่างเป็นอัชฌัตตากาศ ว่างเปล่าไปหมดก็ได้ ฯลฯ จิตผู้มีสมาธิเต็มที่แล้ว ไม่ว่าจะยืน เดิน นั่ง นอน ย่อมเป็นสมาธิอยู่ตลอดเวลา แล้วก็มองเห็นกิเลสของตน ซึ่งเกิดจากจิตของตนได้ชัดเจนว่า กิเลส คือ ความโลภ ความโกรธ ความหลง มันเกิดจากสิ่งนี้ๆ และมันตั้งอยู่ได้ด้วยอาการอย่างนี้ๆ แล้วก็หาอุบายละด้วยอย่างนี้ๆ เหมือนกับน้ำในสระที่ขุ่นมาเป็นร้อยๆปี เพิ่งมาใสสะอาดมองเห็นสิ่งสารพัดที่มีอยู่ก้นสระว่า แต่ก่อนแต่ไรเราไม่นึกไม่คิดเลยว่า ในก้นสระนี้มันจะมีของเหล่านี้ นั้น เรียกว่า วิปัสสนา คือ ความรู้ความเห็นตามสภาพจริง มันเป็นจริงอย่างไร ก็เห็นตามความเป็นจริงอย่างนั้น ไม่วิปริตผิดแปลกจากความเป็นจริงของมัน สมถะก็ละกิเลสได้เหมือนกัน แต่ละได้เหมือนคนถางหญ้า ตัดแต่ต้นให้ขาด ไม่ขุดเอารากออกให้หมด รากมันย่อมมีเวลางอกขึ้นมาอีกในเมื่อฝนตกลงมา คือเห็นโทษในอารมณ์ที่มันเกิดจากอายตนะนะหกเหมือนกัน แต่เมื่อเห็นโทษก็รีบเข้าหาความสงบ โดยไม่พิจารณาอารมณ์นั้นๆให้ถี่ถ้วนอย่างสมาธิ สรุปความแล้วเรียกว่า ชอบเอาแต่ความสงบอย่างเดียว ไม่อยากพิจารณาให้เนิ่นช้า เหมือนกับตัวแย้อาศัยรูเป็นเครื่องป้องกันภัยอันตราย เมื่อเห็นศัตรูมาก็วิ่งเข้ารูเสีย พ้นภัยอันตรายไประยะหนึ่งๆ ก็เท่านั้น ผู้ต้องการขุดรากเหง้าของกิเลสในตัว เมื่อกิเลสมันเกิดจากอายตนะทั้งหกในตัวของตน เช่น ตาเห็นรูป หูได้ฟังเสียงเป็นต้น เกิดผู้ผัสสะขึ้นให้ยินดีหรือยินร้าย ดีใจและเสียใจ เป็นต้น แล้วเข้าไปยึดเอามาเป็นอารมณ์ของตน ขุ่นมัวอยู่ในใจ จนเป็นเหตุให้เกิดความเดือดร้อน ดิ้นรน กินไม่ได้นอนไม่หลับ จนกระทั่งทำอัตตนิบาต ฆ่าคนตายก็มี เมื่อเห็นชัดอย่างนี้แล้ว พึงทำสมาธิ ให้มั่นคงเป็นหลักเสียก่อน แล้วจึงตั้งจิตพิจารณาเฉพาะในอารมณ์นั้นๆ แต่สิ่งเดียว เช่น ตาเห็นรูปที่เป็น อิฏฐารมณ์ แล้วเกิดความยินดีพอใจขึ้น ก็ให้พิจารณาเฉพาะแต่ความยินดีพอใจนั้นว่า มันเกิดจากตา หรือเกิดจากรูปกันแน่ เมื่อพิจารณาถึงรูป ก็เห็นว่า รูปมันเป็นแต่รูปธรรมต่างหาก มันจะดีหรือเลว มันไม่ได้มาชักชวนให้เราไปยินดี หรือยินร้าย หรือให้เราไปหลงรักหรือชัง มันเป็นแต่รูปเฉยๆ เกิดขึ้นมาแล้วก็ดับไป มันดับไปตามสภาพของมันต่างหาก เมื่อพิจารณาตามตาผู้ไปเห็นรูปเล่า ตาผู้ส่งส่ายไปเห็นรูป พอกระทบเท่านั้น แสงสะท้อนกลับเข้ามาหาจักษุประสาทเข้า ก็เป็นรูปต่างๆนานาเกิดขึ้น ตาก็ไม่ได้ชักชวนไปให้ยินดียินร้าย หรือให้รักให้ชังอะไร ตามีหน้าที่ให้เห็น เห็นรูปแล้วก็ดับไป สิ่งที่เป็นอิฏฐารมณ์ และอนิฏฐารมณ์ หรืออายตนะอื่นๆ ก็ให้พิจารณาอย่างเดียวกันนี้ เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ เมื่อเราพิจารณาอย่างนี้แล้วก็จะเห็นชัดว่า สิ่งทั้งปวงหมดในโลกนี้ มันจะเกิดกิเลสขึ้นก็เพราะอายตนะทั้งหกนี้เป็นต้นเหตุทั้งนั้น ถ้าเราพิจารณาและไม่หลงตามอายตนะทั้งหกนี้ กิเลสก็จะไม่เกิดขึ้นในตัวของเรา ตรงกันข้าม มันจะเกิดปัญญาก็เพราะมีอายตนะทั้งหกนี้ อายตนะทั้งหกนี้ เป็นสื่อกลางของความดีและความชั่ว จะไปสุคติและทุคติ ก็เพราะอายตนะทั้งหกเป็นต้นเหตุ โลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ “ใจ” คือ “ผู้รู้” อย่างเดียว “จิต” กับ “ใจ” ย่อมมีลักษณะอาการต่างกัน “จิต” ได้แก่ ผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง และสัญญา อารมณ์ต่างๆ ตลอดถึงไปยึดเอาสิ่งต่างๆ มาไว้ที่จิต จิตเมื่อเห็นโทษทุกข์ทั้งหลาย ที่ยึดเอากิเลสทั้งปวงมาไว้ที่จิตของตน แล้ว ยอมสละถอนจากอารมณ์และกิเลสทั้งปวงจากจิต จิตนั้นก็เป็นใจ จิตกับใจมีลักษณะอาการต่างกันอย่างนี้ “ใจ” คือ ผู้เป็นกลาง วางเฉย ไม่คิดนึกอะไรทั้งสิ้น เป็นแต่รู้ตัวอยู่ว่าวางเฉย ใจเป็นธรรมชาติเป็นกลางแท้ กลางไม่มีอดีตอนาคต ไม่มีบุญหรือบาป ไม่ดีและไม่ชั่วนั้นเรียกว่า “ใจ” สิ่งทั้งปวงหมด ถ้าพูดถึงใจแล้ว จะต้องหมายเอาตรงใจกลางทั้งนั้น แม้แต่ใจของคนซึ่งเป็นนามธรรม ก็ต้องชี้เข้าไปที่ท่ามกลางอก แต่ใจแท้ไม่ทราบว่าอยู่ตรงไหน เราเอาความรู้สึกไปไว้ในกายส่วนใดส่วนหนึ่ง ลองดูซิ จะรู้สึกขึ้นในที่นั้น หรือเอาความรู้สึกนั้นไปไว้ภายนอกกาย เป็นต้นว่าเอาไปไว้ที่เสาหรือที่ฝาผนังบ้าน ก็จะมีความรู้สึกอยู่ ณ ที่นั้น เป็นอันสรุปได้ว่า ใจแท้ คือ ความรู้สึกเฉยอยู่เป็นกลางๆ เมื่อมีความรู้สึกกลางๆอยู่ ณ ที่ใด ใจก็อยู่ ณ ที่นั้น ที่ชาวบ้านเขาพูดกันว่า หัวใจๆ นั้น มิใช่ใจแท้ เป็นแต่หทัยวัตถุ เครื่องสูบฉีดเลือดให้ไปหล่อเลี้ยงสรีระร่างกาย เพื่อให้อยู่ได้ ถ้าไม่มีเครื่องสูบฉีดเลือดไปหล่อเลี้ยงร่างกายแล้วกายอันนี้ก็จะอยู่ไม่ได้ต้องตาย สมองก็เหมือนกัน จะคิดดีหรือไม่ดีก็เพราะสมองเป็นเครื่องใช้ของจิตใจ ระบบประสาทของสมองเป็นรูปธรรม เมื่อปัจจัยต่างๆ ของรูปธรรมขาดไป รูปธรรมย่อมอยู่ไม่ได้ต้องดับไป แต่ “จิต” ซึ่งเป็นนามธรรมนั้น ในพุทธศาสนาท่านว่า ยังเหลืออยู่ เกิดได้อีก นามธรรมจะดับ ก็ต่อเมื่อ ปัญญาไปรู้เหตุรู้ผลของนามธรรมนั้นๆ แล้วถอนมูลเหตุของมันเสีย ให้เหลืออยู่แต่ใจไม่ปรุงแต่ง ศาสตร์ทั้งหลายซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ทั้งหมดสอนกันไม่มีที่สิ้นสุด ยิ่งเรียนยิ่งสอนก็ยิ่งกว้างขวางออกไปทุกที มีพุทธศาสนาเท่านั้นที่สอนให้ถึงที่สุดได้ พุทธศาสนาสอนเบื้องต้นให้รู้จักกาย อันนี้ว่า มีสิ่งต่างๆประกอบกันเข้า จึงเรียกว่าสรีระร่างกาย (คือ อาการสามสิบสอง) และมีหน้าที่อะไรบ้าง พร้อมกันนั้น ก็สอนให้เห็นเป็นของ “อสุภะ” เป็นของจริงไปในตัว สอนให้รู้จักโลกอันนี้ (คือ มนุษย์) ที่ประกอบไปด้วย “ทุกข์” ทั้งนั้น ผลที่สุดก็ต้องแตกดับไปตามธรรมดาของมัน ฉะนั้น เมื่อเราเกิดขึ้นมาได้ก้อนนี้แล้ว ถึงจะเป็นของไม่งามเต็มไปด้วย “อสุภะ” และประกอบไปด้วย “ทุกข์” นานัปการก็ตาม แต่เราก็ได้มาพึ่งอาศัยอยู่ชั่วระยะหนึ่ง พึงทำคุณงามความดีใช้หนี้โลกเสีย ก่อนจะตายไปจากโลกนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ “จิต” คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้นพระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ “จิต” ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วย “จิต” อย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา) อายตนะทั้งหลาย เป็นเครื่องวัดจิตของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบจิตของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้ว ก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ “ใจ” ที่เป็นกลางๆๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลก ด้วยประการอย่างนี้ นั่งสมาธิภาวนา (ท่านอาจารย์อบรมนำก่อน) เราพากันมาสำรวมจิตกันเถิด จิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางทีจิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างมันออกจากหนึ่ง สิ่งอันหนึ่งทั้งนั้น เช่น การนับก็ตั้งต้นจากหนึ่งก่อน หนึ่งสองหนก็เป็นสอง หนึ่งสามหนก็เป็นสาม ดังนี้เป็นต้น หรือต้นหมากรากไม้ทั้งปวงก็ออกมาจากหนึ่งทั้งนั้น (คือ รากของมัน) คนเราก็เหมือนกัน เมื่อเกิดมาทีแรก ก็เกิดจากปฏิสนธิจิตดวงเดียวแท้ๆ เมื่อคลอดออกมาแล้วมีอายตนะ ขันธ์ห้า เครื่องใช้หลายอย่าง จิตก็ปรุงแต่งไปหลายอย่างหลายอัน จนนับจิตไม่ถ้วน ไม่ทราบว่าจิตมีกี่ดวง ยุ่งกันไปหมด จิตเดิมแท้เลยไม่เห็น ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงสอนให้ค้นหาจิต คือภาวนาพุทโธ เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิต การค้นหาจิตเราจะต้องทำภาวนาพุทโธ ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้น ให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้ “จิต” กับ “ใจ” มันต่างกัน จิต คือ ผู้คิด ผู้ส่งส่าย ผู้ปรุงแต่ง ใจ คือ ผู้รู้ตัว แล้วนิ่งเฉยไม่คิดไม่นึก เรียกว่าใจ ดังอธิบายมาข้างต้น เมื่อไม่อยากให้กิเลสมารบกวน จงอย่าคิดนึก ทำใจให้เป็นกลางๆ วางเฉยแล้วนิ่งอยู่ กิเลสทั้งปวงก็จะไม่มารบกวนอีกต่อไป.

โซลินอยด์โซลินอย ควบคุม ปั๊ม น้ำ ปั๊มลม ใช้ไฟฟ้า 12 โวลต์ ราคา 150 บาท...ครับ ของใหม่แกะกล่อง...ครับ...ซื้อได้ทางไปรษณีย์ ครับ ติดต่อที่ 02-951-1356 081-803-6553 line ID:pornpimon 1411 บ้านเลขที่ 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 A solenoid is a type of electromagnet when the purpose is to generate a controlled magnetic field. If the purpose of the solenoid is instead to impede changes in the electric current, a solenoid can be more specifically classified as an inductor rather than an electromagnet.

พุทธทาส ภิกขุ - ความรักเสมอตนไม่มี สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี

พุทธทาส ภิกขุ - ความรักเสมอตนไม่มี สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี

วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตใช้สวดคืนเนสัชชิกก่อนเวียนเทียน บูชาพระรัตนตรัย (นั่งสวด) โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบแล้ว, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม คือ ศาสนาที่พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์คือผู้ทรงธรรมวินัย, ซึ่งเป็นสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นหมู่ใด, เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งซึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า, พร้อมทั้งพระสัทธรรม, และพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลาย, ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้, ข้าพเจ้าได้ยกขึ้นประดิษฐานไว้ดีแล้วในที่อันสมควรอย่างยิ่งเช่นนี้, สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, พระผู้มีพระภาคเจ้าพระ องค์นั้น, แม้ปรินิพพานนานแล้วก็ตาม, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ, ซึ่งยังประโยชน์อันยิ่งใหญ่แก่สาธุชนทั้งหลาย, ปัจฉิมา ชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, ขอจงรับเครื่องสักการะบรรณาการ, ของคนยากทั้งหลายเหล่านี้ด้วย, เพื่ออนุเคราะห์แก่ประชุมชนผู้เกิดแล้วในภายหลังด้วย, อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ. เพื่อเป็นประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ. วันทาขอขมาพระ วันทามิ พุทธัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ ธัมมัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ สังฆัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ คะรุ อุปัชฌายาจาริยะ คุณัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. คำไหว้พระ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ, ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะฆังสังโฆ, พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ, ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์, (กราบ) มาตาปิตุคุณัง อะหัง วันทามิ, ข้าพเจ้ากราบวันทาบิดามารดา ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ, (กราบ) คะรุอุปัชฌายาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ. ข้าพเจ้ากราบวันทา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ. (กราบ) (ลุกขึ้น เดินเวียนเทียน) อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอสิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. (เดินเวียนเทียน ๓ รอบ) ยืนสวดหน้าพระพุทธรูป บูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ, ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมาชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ. วันทาขอขมาพระ วันทา-มิ พุทธัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ ธัมมัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ สังฆัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ คะรุ อุปัชฌายาจาริยะ คุณัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. คำไหว้พระ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ, ข้าพเจ้า นมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะฆังสังโฆ, พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ) ธรรมที่นักบวชและผู้ปฏิบัติ ควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง ๑. บัดนี้เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว, อาการกิริยาใดๆของสมณะ, เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ ๒. การเลี้ยงชีวิตของเราเนื่องด้วยผู้อื่น, เราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย ๓. อาการกายวาจาอย่างอื่น, ที่เราจะต้องทำให้ดีขึ้นไปกว่านี้ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่แต่เพียงเท่านี้ ๔. ตัวของเราเองติเตียนตัวเราเองได้หรือไม่ ๕. ผู้รู้ใคร่ครวญแล้วติเตียนเราได้โดยศีลหรือไม่ ๖. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งนั้น ๗. เรามีกรรมเป็นของๆตัวเราทำดีจักได้ดีทำชั่วจักได้ชั่ว ๘. วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่ ๙. เรายินดีในที่สงัดหรือไม่ ๑๐. คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะทำให้เราเป็นผู้ไม่ เก้อเขิน ในเวลาที่เพื่อนพรหมจรรย์มาถาม เมื่อภายหลัง หลักตัดสินธรรมวินัย ๘ ประการ เย จะโข ตะวัง โคตะมิ ธัมเม ชาเนยยาสิ, ดูก่อนพระนางโคตรมี ก็ท่านพึงรู้ซึ่งธรรมเหล่าใดแล, อิเม ธัมมา วิราคายะ สังวัตตันติ,; ว่าธรรมเหล่านี้, เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด, โน สะราคายะ, หาเป็นไปเพื่อความกำหนัดไม่, วิสังโยคายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้ เป็นไปเพื่อความปราศจากความประกอบทุกข์, โน สัง โยคายะ, หาเป็นไปเพื่อความประกอบทุกข์ไม่, อะปะจะยายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความไม่สั่งสมกองกิเลส, โน อาจะยายะ, หาเป็นไปเพื่อสั่งสมกองกิเลสไม่, อะปิจฉะตายะ สังวัตตันติ, หาเป็นไปเพื่อความอยากอันน้อย, โน มะหิจฉะตายะ, หาเป็นไปเพื่อความอยากใหญ่ไม่, สันตุฏฐิยา สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความสันโดษ, โน อะสันตุฏฐิยา, หาเป็นไปเพื่อความไม่สันโดษไม่, ปะวิเวกายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ, โน สังคะณิกายะ, หาเป็นไป เพื่อความคลุกคลีด้วยหมู่คณะไม่, วิริยารัมภายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร, โน โกสัชชายะ, หาเป็นไป เพื่อความเกียจคร้านไม่, สุภะระตายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย, โน ทุพภะระตายะ, หาเป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงยากไม่, เอกังเสนะ โคตะมิ ธาเรยยะสิ, ดูก่อนนางโคตรมีท่านพึงทรงจำไว้โดยส่วนเดียว, เอโส ธัมโม เอโส วินะโย เอตัง สัตถุสาสะนันติ, ว่านี่เป็นธรรม นี่เป็นวินัย. นี่เป็นสัตถุศาสนา, อิทะมะโวจะ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระสูตรนี้จบลง, อัตตะมะนา มะหาปะชาปะติ โคตะมี, พระนางมหาปชาบดีโคตรมี ก็มีใจยินดี, ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทีติ. เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วแล. อุปกิเลส ๑๖ (เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง) ๑. อะภิชฌาวิสะมะโลโภ, ความโลภเพ่งเล็งอยากได้ของเขา, ๒. โทโส, ความประทุษร้ายเขา, ๓. โกโธ, ความโกรธเคืองเขา, ๔. อุปะนาโห, ความผูกเวรหมายมั่นกัน, ๕. มักโข, ความลบหลู่ดูถูกเขา, ๖. ปะลาโส, ความยกตัวขึ้นเทียมเขา, ๗. อิสสา, ความริษยาเขา, ๘. มัจฉะริยัง, ความตระหนี่เหนียวแน่น เกียดกัน หวงข้าวของและวิชาความรู้ ที่อยู่ที่อาศัย, ๙. มายา, ความเป็นคนเจ้าเล่ห์เจ้ากล, ๑๐. สาเถยยัง, ความโอ้อวดตัวให้ยิ่งกว่าคุณที่มีอยู่, ๑๑. ถัมโภ, ความแข็งกระด้างดื้อดึง, เมื่อเขาสั่งสอนว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ, ๑๒. สารัมโภ, ความปรารภไม่ยอมตาม, หาเหตุผลมาอ้าง ทุ่มเถียงต่างๆ, เมื่อขณะเขาว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ, ๑๓. มาโน, ความเย่อหยิ่งถือเราถือเขา ถือตัว ถือตน, ๑๔. อะติมาโน, ความดูถูกล่วงเกินผู้อื่น, ๑๕. มะโท, ความเมาหลงในร่างกายที่ทรุดโทรมด้วยความชรา มีอยู่ทุกๆ วัน, มาสำคัญว่ายังหนุ่มยังสาวอยู่ประมาทไป, และเมาหลงในร่างกายที่ป่วยไข้อยู่เป็นนิจ, ต้องกินยาคือข้าวน้ำทุกเช้าค่ำ, มาสำคัญว่าไม่มีโรค เป็นสุขสบาย ประมาทไป, และเมาหลงในชีวิตที่เป็นของไม่เที่ยง, พลันดับไปดังประทีปจุดไว้ในที่แจ้งฉะนั้น, มาสำคัญว่ายังไม่ตายประมาทไป, ๑๖. ปะมาโท. ความเมามัวทั่วไป, อารมณ์อันใดที่น่ารัก ก็ไปหลงรักอารมณ์นั้น, อารมณ์อันใดที่น่าชัง ก็ไปหลงชิงชัง โกรธต่ออารมณ์เหล่านั้น. บรรจบเป็นอุปกิเลสเครื่องเศร้าหมองใจ ๑๖ ข้อ จิตเศร้าหมองด้วยอุปกิเลสข้อใดข้อหนึ่งดังว่ามานี้แล้ว, จิตนั้นล้วนเป็นบาปอกุศลหมดทั้งสิ้น.

เจดีย์พุทธสถานอินเดียพม่าไทยลาวกัมพูชาเวียดนามใช้สวดคืนเนสัชชิกก่อนเวียนเทียน บูชาพระรัตนตรัย (นั่งสวด) โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบแล้ว, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม คือ ศาสนาที่พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ, พระสงฆ์คือผู้ทรงธรรมวินัย, ซึ่งเป็นสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นหมู่ใด, เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งซึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า, พร้อมทั้งพระสัทธรรม, และพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลาย, ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้, ข้าพเจ้าได้ยกขึ้นประดิษฐานไว้ดีแล้วในที่อันสมควรอย่างยิ่งเช่นนี้, สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, พระผู้มีพระภาคเจ้าพระ องค์นั้น, แม้ปรินิพพานนานแล้วก็ตาม, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ, ซึ่งยังประโยชน์อันยิ่งใหญ่แก่สาธุชนทั้งหลาย, ปัจฉิมา ชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, ขอจงรับเครื่องสักการะบรรณาการ, ของคนยากทั้งหลายเหล่านี้ด้วย, เพื่ออนุเคราะห์แก่ประชุมชนผู้เกิดแล้วในภายหลังด้วย, อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ. เพื่อเป็นประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ. วันทาขอขมาพระ วันทามิ พุทธัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ ธัมมัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ สังฆัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ คะรุ อุปัชฌายาจาริยะ คุณัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. คำไหว้พระ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ, ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะฆังสังโฆ, พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ, ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์, (กราบ) มาตาปิตุคุณัง อะหัง วันทามิ, ข้าพเจ้ากราบวันทาบิดามารดา ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ, (กราบ) คะรุอุปัชฌายาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ. ข้าพเจ้ากราบวันทา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ. (กราบ) (ลุกขึ้น เดินเวียนเทียน) อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ. ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอสิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. (เดินเวียนเทียน ๓ รอบ) ยืนสวดหน้าพระพุทธรูป บูชาพระรัตนตรัย โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ, ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมาชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ. วันทาขอขมาพระ วันทา-มิ พุทธัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ ธัมมัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ สังฆัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ คะรุ อุปัชฌายาจาริยะ คุณัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, วันทา-มิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ. คำไหว้พระ อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง, พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ, ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ) ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม, พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว, ธัมมัง นะมัสสามิ, ข้าพเจ้า นมัสการพระธรรม, (กราบ) สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะฆังสังโฆ, พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว, สังฆัง นะมามิ. ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ) ธรรมที่นักบวชและผู้ปฏิบัติ ควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง ๑. บัดนี้เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว, อาการกิริยาใดๆของสมณะ, เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ ๒. การเลี้ยงชีวิตของเราเนื่องด้วยผู้อื่น, เราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย ๓. อาการกายวาจาอย่างอื่น, ที่เราจะต้องทำให้ดีขึ้นไปกว่านี้ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่แต่เพียงเท่านี้ ๔. ตัวของเราเองติเตียนตัวเราเองได้หรือไม่ ๕. ผู้รู้ใคร่ครวญแล้วติเตียนเราได้โดยศีลหรือไม่ ๖. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งนั้น ๗. เรามีกรรมเป็นของๆตัวเราทำดีจักได้ดีทำชั่วจักได้ชั่ว ๘. วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่ ๙. เรายินดีในที่สงัดหรือไม่ ๑๐. คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะทำให้เราเป็นผู้ไม่ เก้อเขิน ในเวลาที่เพื่อนพรหมจรรย์มาถาม เมื่อภายหลัง หลักตัดสินธรรมวินัย ๘ ประการ เย จะโข ตะวัง โคตะมิ ธัมเม ชาเนยยาสิ, ดูก่อนพระนางโคตรมี ก็ท่านพึงรู้ซึ่งธรรมเหล่าใดแล, อิเม ธัมมา วิราคายะ สังวัตตันติ,; ว่าธรรมเหล่านี้, เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด, โน สะราคายะ, หาเป็นไปเพื่อความกำหนัดไม่, วิสังโยคายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้ เป็นไปเพื่อความปราศจากความประกอบทุกข์, โน สัง โยคายะ, หาเป็นไปเพื่อความประกอบทุกข์ไม่, อะปะจะยายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความไม่สั่งสมกองกิเลส, โน อาจะยายะ, หาเป็นไปเพื่อสั่งสมกองกิเลสไม่, อะปิจฉะตายะ สังวัตตันติ, หาเป็นไปเพื่อความอยากอันน้อย, โน มะหิจฉะตายะ, หาเป็นไปเพื่อความอยากใหญ่ไม่, สันตุฏฐิยา สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความสันโดษ, โน อะสันตุฏฐิยา, หาเป็นไปเพื่อความไม่สันโดษไม่, ปะวิเวกายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ, โน สังคะณิกายะ, หาเป็นไป เพื่อความคลุกคลีด้วยหมู่คณะไม่, วิริยารัมภายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร, โน โกสัชชายะ, หาเป็นไป เพื่อความเกียจคร้านไม่, สุภะระตายะ สังวัตตันติ, ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย, โน ทุพภะระตายะ, หาเป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงยากไม่, เอกังเสนะ โคตะมิ ธาเรยยะสิ, ดูก่อนนางโคตรมีท่านพึงทรงจำไว้โดยส่วนเดียว, เอโส ธัมโม เอโส วินะโย เอตัง สัตถุสาสะนันติ, ว่านี่เป็นธรรม นี่เป็นวินัย. นี่เป็นสัตถุศาสนา, อิทะมะโวจะ ภะคะวา, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระสูตรนี้จบลง, อัตตะมะนา มะหาปะชาปะติ โคตะมี, พระนางมหาปชาบดีโคตรมี ก็มีใจยินดี, ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทีติ. เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วแล. อุปกิเลส ๑๖ (เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง) ๑. อะภิชฌาวิสะมะโลโภ, ความโลภเพ่งเล็งอยากได้ของเขา, ๒. โทโส, ความประทุษร้ายเขา, ๓. โกโธ, ความโกรธเคืองเขา, ๔. อุปะนาโห, ความผูกเวรหมายมั่นกัน, ๕. มักโข, ความลบหลู่ดูถูกเขา, ๖. ปะลาโส, ความยกตัวขึ้นเทียมเขา, ๗. อิสสา, ความริษยาเขา, ๘. มัจฉะริยัง, ความตระหนี่เหนียวแน่น เกียดกัน หวงข้าวของและวิชาความรู้ ที่อยู่ที่อาศัย, ๙. มายา, ความเป็นคนเจ้าเล่ห์เจ้ากล, ๑๐. สาเถยยัง, ความโอ้อวดตัวให้ยิ่งกว่าคุณที่มีอยู่, ๑๑. ถัมโภ, ความแข็งกระด้างดื้อดึง, เมื่อเขาสั่งสอนว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ, ๑๒. สารัมโภ, ความปรารภไม่ยอมตาม, หาเหตุผลมาอ้าง ทุ่มเถียงต่างๆ, เมื่อขณะเขาว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ, ๑๓. มาโน, ความเย่อหยิ่งถือเราถือเขา ถือตัว ถือตน, ๑๔. อะติมาโน, ความดูถูกล่วงเกินผู้อื่น, ๑๕. มะโท, ความเมาหลงในร่างกายที่ทรุดโทรมด้วยความชรา มีอยู่ทุกๆ วัน, มาสำคัญว่ายังหนุ่มยังสาวอยู่ประมาทไป, และเมาหลงในร่างกายที่ป่วยไข้อยู่เป็นนิจ, ต้องกินยาคือข้าวน้ำทุกเช้าค่ำ, มาสำคัญว่าไม่มีโรค เป็นสุขสบาย ประมาทไป, และเมาหลงในชีวิตที่เป็นของไม่เที่ยง, พลันดับไปดังประทีปจุดไว้ในที่แจ้งฉะนั้น, มาสำคัญว่ายังไม่ตายประมาทไป, ๑๖. ปะมาโท. ความเมามัวทั่วไป, อารมณ์อันใดที่น่ารัก ก็ไปหลงรักอารมณ์นั้น, อารมณ์อันใดที่น่าชัง ก็ไปหลงชิงชัง โกรธต่ออารมณ์เหล่านั้น. บรรจบเป็นอุปกิเลสเครื่องเศร้าหมองใจ ๑๖ ข้อ จิตเศร้าหมองด้วยอุปกิเลสข้อใดข้อหนึ่งดังว่ามานี้แล้ว, จิตนั้นล้วนเป็นบาปอกุศลหมดทั้งสิ้น.

วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

สันติสุขที่แท้จริงไม่ต้องละอะไรมากนะ รักษาศีล ๕ ไว้ มีสติ รู้เนื้อรู้ตัว ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวไว้ อย่าให้มันฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้สึกตัวบ่อยๆ นั่นแหละเรียกว่ามีสมาธิ มีสติ มีสมาธิ รักษาศีลไว้ ค่อยดูกายทำงาน ดูใจทำงาน เห็นกายกับใจแยกออกจากกัน เห็นความสุขทุกข์ แยกออกจากร่างกาย แยกออกจากจิตใจ เห็นความปรุงดีปรุงชั่ว เช่นความโลภความโกรธความหลงทั้งหลายเนี่ย แยกออกจากจิตใจ แยกออกเป็นส่วน ๆ ๆ ไป แต่ละอันเนี่ยทำหน้าที่ของมันไป แต่ละอันก็เกิดดับไป เนี่ยฝึกดูอย่างนี้ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปีนะ ก็จะได้ธรรมะขึ้นมา ถ้าบารมีมากก็เป็นพระอรหันต์ บารมีลดลงมาก็ได้อนาคามี สกทาคามี เป็นพระโสดาบัน เป็นลำดับไป ก็พากเพียรเข้า รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้ตัวบ่อยๆ ถัดจากนั้นดูกายทำงาน ดูใจทำงาน ทำอย่างนี้แหละ ให้เวลากับการรู้กายรู้ใจให้เยอะๆหน่อย มรรคผลอะไรไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่ฆราวาสจะทำได้ สมัยพุทธกาล ฆราวาสไม่ได้จีเนียสกว่าพวกเรานะ คนสมองมันก็พอๆกันแหละ มีงานศึกษาอันหนึ่งเคยอ่าน พวกหมอนั่นแหละศึกษาบอก คนสมัยโรมันสมัยกรีกนะ กับคนยุคนี้สมองพอๆกัน ไม่รู้ไปขุดสมองโรมันมาดูได้ไงนะ คนสมัยพุทธกาล กับยุคเรา ก็พอๆกันแหละ ไม่ได้โง่ ไม่ได้ฉลาดกว่ากันน่ะ เค้าทำได้ เราก็ต้องทำได้ มีมือมีตีนเหมือนกันนะ มีใจเหมือนกัน ต้องทำเอาให้ได้ รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว แล้วก็ดูกายทำงาน ดูใจทำงานไปเรื่อยๆ วันหนึ่งก็เข้าใจ เราดูกายดูใจทำงานมากๆ ในที่สุดก็เข้าใจความเป็นจริงของกายของใจ ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ ถ้าเข้าใจในระดับที่เห็นกายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ก็เป็นพระโสดาบัน ถ้าเข้าใจความจริงระดับที่ว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ จะเป็นพระอรหันต์นะ

วิธีซ่อมเครื่องเชื่อมตู้เชื่อม INVERTER ตอนที่1https://www.youtube.com/watch?v=lXmWQYhgRaw

แผงวงจรตู้เชื่อมรุ่นใหม่ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=lXmWQYhgRaw

ทัสนานุตริยะ ปฏิปทานุตตริยะ วิมุตตานุตตริยะนิพพานมีอยู่แล้ว แต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่เห็น เพราะจิตเรามีความอยาก จิตเรามีกิเลส จิตเรามีความดิ้นรนปรุงแต่ง เราเลยไม่สามารถจะเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งได้ ขณะใดที่จิตเราหมดตัณหาหมดกิเลสนะ เมื่อสิ้นตัณหาก็สิ้นความปรุงแต่งของจิตด้วย พระนิพพานคือสภาวะที่สิ้นตัณหาสิ้นความปรุงแต่ง ก็จะปรากฏขึ้นให้รับรู้ในขณะนั้นเลย งั้นเมื่อไรรู้ทุกข์ เมื่อนั้นแหละละสมุทัย เมื่อใดละสมุทัย เมื่อนั้นแหละแจ้งนิโรธ เห็นพระนิพพาน การที่เรารู้ทุกข์ ละสมุทัย แจ้งนิโรธ ในขณะนั้นน่ะคือขณะแห่งอริยมรรค งั้นการที่เรารู้ทุกข์ ละสมุมัย แจ้งนิโรธ เจริญมรรคเนี่ย กิจกรรมทั้ง ๔ เนี่ยทำเสร็จในขณะจิตเดียวกัน ในแว๊บเดียวในพริบตาเดียวนั้นเอง ก็ข้ามพ้นจากความทุกข์ไปได้ ธรรมะอย่างนี้นะธรรมะประณีต ลึกซึ้งมาก ต้องภาวนา ถ้าภาวนาเราอยากแค่มีทุกข์น้อยๆ ก็เอาแค่โสดาบัน สกทาคามี เรายังติดใจในกาม ยังห่วงเมีย ห่วงสามี ยังอะไรต่ออะไรอยู่นะ ห่วงทรัพย์สมบัติอยู่ เอาโสดาบัน สกทาคามี ก็พอ ถ้าถึงขึ้นอนาคามีเนี่ยมันพ้นจากกามไป จากปุถุชนเนี่ย ขึ้นไปเป็นพระโสดาบันยากมากนะ คนจำนวนมากอยากได้ แต่มันไปไม่ถูก ที่รู้ทางที่ถูกแล้วก็ขี้เกียจปฏิบัติ ถ้ารู้ทางถูกแล้วขยันปฏิบัตินะมันก็เป็นพระโสดาบัน พระสกทาคามีอะไร ไม่ยาก ทีนี้คนส่วนใหญ่มันติดในความสุข ความหลงโลกอะไรอย่างนั้นไป ไม่ยอมภาวนา ถ้าเราภาวนาเนี่ย พระโสดาบัน พระสกทาคามี ไม่ใช่เรื่องยากเกินวิสัยมนุษย์ธรรมดาอย่างพวกเราจะทำได้ ไม่ต้องละอะไรมากนะ รักษาศีล ๕ ไว้ มีสติ รู้เนื้อรู้ตัว ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวไว้ อย่าให้มันฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้สึกตัวบ่อยๆ นั่นแหละเรียกว่ามีสมาธิ มีสติ มีสมาธิ รักษาศีลไว้ ค่อยดูกายทำงาน ดูใจทำงาน เห็นกายกับใจแยกออกจากกัน เห็นความสุขทุกข์ แยกออกจากร่างกาย แยกออกจากจิตใจ เห็นความปรุงดีปรุงชั่ว เช่นความโลภความโกรธความหลงทั้งหลายเนี่ย แยกออกจากจิตใจ แยกออกเป็นส่วน ๆ ๆ ไป แต่ละอันเนี่ยทำหน้าที่ของมันไป แต่ละอันก็เกิดดับไป เนี่ยฝึกดูอย่างนี้ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปีนะ ก็จะได้ธรรมะขึ้นมา ถ้าบารมีมากก็เป็นพระอรหันต์ บารมีลดลงมาก็ได้อนาคามี สกทาคามี เป็นพระโสดาบัน เป็นลำดับไป ก็พากเพียรเข้า รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้ตัวบ่อยๆ ถัดจากนั้นดูกายทำงาน ดูใจทำงาน ทำอย่างนี้แหละ ให้เวลากับการรู้กายรู้ใจให้เยอะๆหน่อย มรรคผลอะไรไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่ฆราวาสจะทำได้ สมัยพุทธกาล ฆราวาสไม่ได้จีเนียสกว่าพวกเรานะ คนสมองมันก็พอๆกันแหละ มีงานศึกษาอันหนึ่งเคยอ่าน พวกหมอนั่นแหละศึกษาบอก คนสมัยโรมันสมัยกรีกนะ กับคนยุคนี้สมองพอๆกัน ไม่รู้ไปขุดสมองโรมันมาดูได้ไงนะ คนสมัยพุทธกาล กับยุคเรา ก็พอๆกันแหละ ไม่ได้โง่ ไม่ได้ฉลาดกว่ากันน่ะ เค้าทำได้ เราก็ต้องทำได้ มีมือมีตีนเหมือนกันนะ มีใจเหมือนกัน ต้องทำเอาให้ได้ รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว แล้วก็ดูกายทำงาน ดูใจทำงานไปเรื่อยๆ วันหนึ่งก็เข้าใจ เราดูกายดูใจทำงานมากๆ ในที่สุดก็เข้าใจความเป็นจริงของกายของใจ ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ ถ้าเข้าใจในระดับที่เห็นกายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ก็เป็นพระโสดาบัน ถ้าเข้าใจความจริงระดับที่ว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ จะเป็นพระอรหันต์นะ

ข้ามสังสารวัฎนิพพานมีอยู่แล้ว แต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่เห็น เพราะจิตเรามีความอยาก จิตเรามีกิเลส จิตเรามีความดิ้นรนปรุงแต่ง เราเลยไม่สามารถจะเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งได้ ขณะใดที่จิตเราหมดตัณหาหมดกิเลสนะ เมื่อสิ้นตัณหาก็สิ้นความปรุงแต่งของจิตด้วย พระนิพพานคือสภาวะที่สิ้นตัณหาสิ้นความปรุงแต่ง ก็จะปรากฏขึ้นให้รับรู้ในขณะนั้นเลย งั้นเมื่อไรรู้ทุกข์ เมื่อนั้นแหละละสมุทัย เมื่อใดละสมุทัย เมื่อนั้นแหละแจ้งนิโรธ เห็นพระนิพพาน การที่เรารู้ทุกข์ ละสมุทัย แจ้งนิโรธ ในขณะนั้นน่ะคือขณะแห่งอริยมรรค งั้นการที่เรารู้ทุกข์ ละสมุมัย แจ้งนิโรธ เจริญมรรคเนี่ย กิจกรรมทั้ง ๔ เนี่ยทำเสร็จในขณะจิตเดียวกัน ในแว๊บเดียวในพริบตาเดียวนั้นเอง ก็ข้ามพ้นจากความทุกข์ไปได้ ธรรมะอย่างนี้นะธรรมะประณีต ลึกซึ้งมาก ต้องภาวนา ถ้าภาวนาเราอยากแค่มีทุกข์น้อยๆ ก็เอาแค่โสดาบัน สกทาคามี เรายังติดใจในกาม ยังห่วงเมีย ห่วงสามี ยังอะไรต่ออะไรอยู่นะ ห่วงทรัพย์สมบัติอยู่ เอาโสดาบัน สกทาคามี ก็พอ ถ้าถึงขึ้นอนาคามีเนี่ยมันพ้นจากกามไป จากปุถุชนเนี่ย ขึ้นไปเป็นพระโสดาบันยากมากนะ คนจำนวนมากอยากได้ แต่มันไปไม่ถูก ที่รู้ทางที่ถูกแล้วก็ขี้เกียจปฏิบัติ ถ้ารู้ทางถูกแล้วขยันปฏิบัตินะมันก็เป็นพระโสดาบัน พระสกทาคามีอะไร ไม่ยาก ทีนี้คนส่วนใหญ่มันติดในความสุข ความหลงโลกอะไรอย่างนั้นไป ไม่ยอมภาวนา ถ้าเราภาวนาเนี่ย พระโสดาบัน พระสกทาคามี ไม่ใช่เรื่องยากเกินวิสัยมนุษย์ธรรมดาอย่างพวกเราจะทำได้ ไม่ต้องละอะไรมากนะ รักษาศีล ๕ ไว้ มีสติ รู้เนื้อรู้ตัว ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวไว้ อย่าให้มันฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้สึกตัวบ่อยๆ นั่นแหละเรียกว่ามีสมาธิ มีสติ มีสมาธิ รักษาศีลไว้ ค่อยดูกายทำงาน ดูใจทำงาน เห็นกายกับใจแยกออกจากกัน เห็นความสุขทุกข์ แยกออกจากร่างกาย แยกออกจากจิตใจ เห็นความปรุงดีปรุงชั่ว เช่นความโลภความโกรธความหลงทั้งหลายเนี่ย แยกออกจากจิตใจ แยกออกเป็นส่วน ๆ ๆ ไป แต่ละอันเนี่ยทำหน้าที่ของมันไป แต่ละอันก็เกิดดับไป เนี่ยฝึกดูอย่างนี้ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปีนะ ก็จะได้ธรรมะขึ้นมา ถ้าบารมีมากก็เป็นพระอรหันต์ บารมีลดลงมาก็ได้อนาคามี สกทาคามี เป็นพระโสดาบัน เป็นลำดับไป ก็พากเพียรเข้า รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้ตัวบ่อยๆ ถัดจากนั้นดูกายทำงาน ดูใจทำงาน ทำอย่างนี้แหละ ให้เวลากับการรู้กายรู้ใจให้เยอะๆหน่อย มรรคผลอะไรไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่ฆราวาสจะทำได้ สมัยพุทธกาล ฆราวาสไม่ได้จีเนียสกว่าพวกเรานะ คนสมองมันก็พอๆกันแหละ มีงานศึกษาอันหนึ่งเคยอ่าน พวกหมอนั่นแหละศึกษาบอก คนสมัยโรมันสมัยกรีกนะ กับคนยุคนี้สมองพอๆกัน ไม่รู้ไปขุดสมองโรมันมาดูได้ไงนะ คนสมัยพุทธกาล กับยุคเรา ก็พอๆกันแหละ ไม่ได้โง่ ไม่ได้ฉลาดกว่ากันน่ะ เค้าทำได้ เราก็ต้องทำได้ มีมือมีตีนเหมือนกันนะ มีใจเหมือนกัน ต้องทำเอาให้ได้ รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว แล้วก็ดูกายทำงาน ดูใจทำงานไปเรื่อยๆ วันหนึ่งก็เข้าใจ เราดูกายดูใจทำงานมากๆ ในที่สุดก็เข้าใจความเป็นจริงของกายของใจ ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ ถ้าเข้าใจในระดับที่เห็นกายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ก็เป็นพระโสดาบัน ถ้าเข้าใจความจริงระดับที่ว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ จะเป็นพระอรหันต์นะ

สันติสุขที่แท้จริงนิพพานมีอยู่แล้ว แต่ว่าเราไม่รู้ เราไม่เห็น เพราะจิตเรามีความอยาก จิตเรามีกิเลส จิตเรามีความดิ้นรนปรุงแต่ง เราเลยไม่สามารถจะเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งได้ ขณะใดที่จิตเราหมดตัณหาหมดกิเลสนะ เมื่อสิ้นตัณหาก็สิ้นความปรุงแต่งของจิตด้วย พระนิพพานคือสภาวะที่สิ้นตัณหาสิ้นความปรุงแต่ง ก็จะปรากฏขึ้นให้รับรู้ในขณะนั้นเลย งั้นเมื่อไรรู้ทุกข์ เมื่อนั้นแหละละสมุทัย เมื่อใดละสมุทัย เมื่อนั้นแหละแจ้งนิโรธ เห็นพระนิพพาน การที่เรารู้ทุกข์ ละสมุทัย แจ้งนิโรธ ในขณะนั้นน่ะคือขณะแห่งอริยมรรค งั้นการที่เรารู้ทุกข์ ละสมุมัย แจ้งนิโรธ เจริญมรรคเนี่ย กิจกรรมทั้ง ๔ เนี่ยทำเสร็จในขณะจิตเดียวกัน ในแว๊บเดียวในพริบตาเดียวนั้นเอง ก็ข้ามพ้นจากความทุกข์ไปได้ ธรรมะอย่างนี้นะธรรมะประณีต ลึกซึ้งมาก ต้องภาวนา ถ้าภาวนาเราอยากแค่มีทุกข์น้อยๆ ก็เอาแค่โสดาบัน สกทาคามี เรายังติดใจในกาม ยังห่วงเมีย ห่วงสามี ยังอะไรต่ออะไรอยู่นะ ห่วงทรัพย์สมบัติอยู่ เอาโสดาบัน สกทาคามี ก็พอ ถ้าถึงขึ้นอนาคามีเนี่ยมันพ้นจากกามไป จากปุถุชนเนี่ย ขึ้นไปเป็นพระโสดาบันยากมากนะ คนจำนวนมากอยากได้ แต่มันไปไม่ถูก ที่รู้ทางที่ถูกแล้วก็ขี้เกียจปฏิบัติ ถ้ารู้ทางถูกแล้วขยันปฏิบัตินะมันก็เป็นพระโสดาบัน พระสกทาคามีอะไร ไม่ยาก ทีนี้คนส่วนใหญ่มันติดในความสุข ความหลงโลกอะไรอย่างนั้นไป ไม่ยอมภาวนา ถ้าเราภาวนาเนี่ย พระโสดาบัน พระสกทาคามี ไม่ใช่เรื่องยากเกินวิสัยมนุษย์ธรรมดาอย่างพวกเราจะทำได้ ไม่ต้องละอะไรมากนะ รักษาศีล ๕ ไว้ มีสติ รู้เนื้อรู้ตัว ให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวไว้ อย่าให้มันฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้สึกตัวบ่อยๆ นั่นแหละเรียกว่ามีสมาธิ มีสติ มีสมาธิ รักษาศีลไว้ ค่อยดูกายทำงาน ดูใจทำงาน เห็นกายกับใจแยกออกจากกัน เห็นความสุขทุกข์ แยกออกจากร่างกาย แยกออกจากจิตใจ เห็นความปรุงดีปรุงชั่ว เช่นความโลภความโกรธความหลงทั้งหลายเนี่ย แยกออกจากจิตใจ แยกออกเป็นส่วน ๆ ๆ ไป แต่ละอันเนี่ยทำหน้าที่ของมันไป แต่ละอันก็เกิดดับไป เนี่ยฝึกดูอย่างนี้ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปีนะ ก็จะได้ธรรมะขึ้นมา ถ้าบารมีมากก็เป็นพระอรหันต์ บารมีลดลงมาก็ได้อนาคามี สกทาคามี เป็นพระโสดาบัน เป็นลำดับไป ก็พากเพียรเข้า รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว อย่าฟุ้งซ่านเลื่อนลอยไป รู้ตัวบ่อยๆ ถัดจากนั้นดูกายทำงาน ดูใจทำงาน ทำอย่างนี้แหละ ให้เวลากับการรู้กายรู้ใจให้เยอะๆหน่อย มรรคผลอะไรไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่ฆราวาสจะทำได้ สมัยพุทธกาล ฆราวาสไม่ได้จีเนียสกว่าพวกเรานะ คนสมองมันก็พอๆกันแหละ มีงานศึกษาอันหนึ่งเคยอ่าน พวกหมอนั่นแหละศึกษาบอก คนสมัยโรมันสมัยกรีกนะ กับคนยุคนี้สมองพอๆกัน ไม่รู้ไปขุดสมองโรมันมาดูได้ไงนะ คนสมัยพุทธกาล กับยุคเรา ก็พอๆกันแหละ ไม่ได้โง่ ไม่ได้ฉลาดกว่ากันน่ะ เค้าทำได้ เราก็ต้องทำได้ มีมือมีตีนเหมือนกันนะ มีใจเหมือนกัน ต้องทำเอาให้ได้ รักษาศีล ๕ ไว้ ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว แล้วก็ดูกายทำงาน ดูใจทำงานไปเรื่อยๆ วันหนึ่งก็เข้าใจ เราดูกายดูใจทำงานมากๆ ในที่สุดก็เข้าใจความเป็นจริงของกายของใจ ว่ากายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ ถ้าเข้าใจในระดับที่เห็นกายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ก็เป็นพระโสดาบัน ถ้าเข้าใจความจริงระดับที่ว่ากายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์ จะเป็นพระอรหันต์นะ

วันพฤหัสบดีที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

จิตหลุดพ้นจากอาสวะพอมันทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้ อริยมรรคจะแหวกสิ่งที่ห่อหุ้มจิตอยู่ จะแหวกแวบออกไป ขาดวาบออกไปอย่างเนียนๆ จิตที่ไม่มีอะไรห่อหุ้มจะเป็นอิสระขึ้นมาช­ั่วคราว สองสามขณะ ความไม่มีอะไร มีแต่ความสุขล้วนๆ แต่พอเห็นครั้งหนึ่งสองครั้งสามครั้งยังจำ­ไม่ได้ จำไม่แม่น เห็นสี่ครั้งแล้วมันจะมีปัจจเวกฯทวนไปถึงน­ิพพาน ตอนครั้งที่หนึ่งสองสามนี่ปัจจเวกฯมันไม่ไ­ปดูนิพพาน มันจะไปดูกิเลส กิเลสอะไรละแล้ว กิเลสอะไรยังเหลือ มันยังมีงานต้องทำ ครั้งสุดท้ายไม่มีงานทำ มันจะไปดูนิพพาน ตอนที่จิตแท้ๆซึ่งหลุดพ้นออกมาจากอาสวะปรา­กฏขึ้นมาแบบไร้ร่องรอยให้รู้ เป็นความว่างที่แท้จริง ถัดจากนั้นแสงสว่างจะปรากฏขึ้น ถัดจากแสงสว่างที่เกิดขึ้น จิตซึ่งเป็นอิสระแล้วเขาจะแสดงความมีอยู่ข­องเขาโดยการแสดงความเบิกบานออกมา บางคนเห็นสองขณะว่างแล้วก็สว่างขึ้นมา บางคนเห็นสามขณะ แสดงความเบิกบานขึ้นมาได้ด้วย ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมาสู่โลกภายนอก แล้วมันจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณา ตรงขณะที่สองหรือขณะที่สามที่ผ่านไปแล้ว อาสวกิเลสจะเข้ามาปกปิดจิตอย่างเดิมอีกสำหรับผู้ที่ผ่านมรรคครั้งที่หนึ่งสองสาม อาสวะที่แหวกออกไปจะกลับเข้ามาห่อหุ้มปกคล­ุมจิต อย่างฉับพลัน เวลาเข้ามาปิดก็ปิดเนียนๆ จนครั้งที่สี่จิตจึงหลุดจากอาสวะ ไม่ใช่จิตไปทำลายอาสวะ แต่หลุดเพราะไม่ยึดแล้ว เพราะไม่ยึดถือในขันธ์ห้า ในจิตอีกแล้ว

วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ดิจิตอลมัลติมิเตอร์รับซ่อมดิจิตอลมัลติมิเตอร์ส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

การควบคุมความเร็วมอเตอร์กระแสตรงและกระแสสลับชนิดแปรงถ่านแบบใหม่เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

ต้นแบบเครื่องปรับรอบมอเตอร์ AC DC รุ่นใหม่เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

วันอังคารที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

จิตหมดความดิ้นรนคนส่วนน้อยเท่านั้นที่จะภาวนาไปสู่ความพ้น­ทุกข์ถ้าต้องการธรรมะที่จะพ้นไปจากโลก พระองค์ถึงจะสอนธรรมะที่ประณีตสูงขึ้นไป เป็นธรรมะที่ไม่มีตัวตน สำหรับคนที่อยากพ้นทุกข์จริงๆถ้าเรามีปัญญ­า เราจะเห็นว่าความสุขในโลกเป็นของชั่วคราว กระทั่งสวรรค์และพรหมโลกก็เป็นของชั่วคราว­เพราะสังขาร(สิ่งที่เกิดจากเหตุปัจจัย ทั้งรูปธรรมและนามธรรม) ทุกอย่างไม่เที่ยงเลย ทนอยู่ไม่ได้ ไม่ใช่ตัวตนที่ถาวร เป็นที่พึ่งอาศัยไม่ได้จริง จึงหาทางออกจากโลก โลกก็คือรูปนาม(กายใจ) นั่นแหละให้เรามาเรียนรู้รูปนามให้แจ่มแจ้­งด้วยการเจริญวิปัสสนา โดยมีสติรู้รูปรู้นามที่กำลังเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป ด้วยใจที่ตั้งมั่น เป็นผู้รู้ผู้ดู ดูห่างๆเห็นซ้ำแล้วซ้ำอีก ใจจะค่อยเป็นกลางขึ้นเรื่อยๆ รู้ว่ารูปนานไม่ใช่ของดีของวิเศษอีกต่อไปแ­ล้ว รูปนามนั่นแหละเป็นตัวทุกข์ มันเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้แล้วจบที่รู้ รู้แล้วเป็นกลางจริงๆ เพราะใจมันเห็นความจริงว่าทุกอย่างเป็นของ­ชั่งคราว ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว อกุศลก็ชั่วตราว แล้วเราจะไม่ไปหลงเอาของชั่วคราวมาเป็นที่­พึ่งอาศัย พอเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเสมอกันหมด มีแต่เกิดแล้วดับเท่าเทียมกันหมด ความสุขเกิดขึ้นอีกก็ไม่ดิ้นรนที่จะให้มัน­อยู่นานๆ ความสุขที่ยังไม่เกิดขึ้นก็ไม่ดิ้นรนไปแสว­งหามัน ความทุกข์ที่ยังไม่เกิดขึ้นก็ไม่ดิ้นรนต่อ­ต้านไม่ให้เกิด ความทุกข์ที่เกิดแล้วก็ไม่ดิ้นรนหาทางทำลา­ยมัน จิตหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง เพราะเห็นความจริงของตัวขันธ์(กายใจ) ว่าเป็นตัวทุกข์ เมื่อเรียนรู้รูปนามจนแจ่มแจ้ง จิตก็เป็นกลางกับรูปนาม สามารถถอดถอนความยินดียินร้ายในโลก(รูปนาม­)เสียได้ จิตก็หมดตัณหา หมดความอยาก หมดดิ้นรน พ้นการปรุงแต่ง เรียกว่า วิสังขาร หรือวิราคะ ซึ่งเป็นชื่อของพระนิพพาน

รู้นี่แหละทำให้ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

รู้นี่แหละทำให้ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุม...ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเองทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง

ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเองถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

ข้ามทะเลทั้งสี่แล้วจะถึงจิตหนึ่งถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

ยืนเดินนั่งนอนกินดื่มทำพูดคิดให้มีสติรู้ทันจิตถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอร... "ทางแยกระหว่างพุทธภูมิกับสาวกภูมิ" การภาวนานะ ขั้นแรกสุดเลยคือต้องรู้วิธีให้ได้ก่อน พวกเรามาเรียนวิธีนะ ชาวไฟฟ้ามาเรียนวิธีการรู้วิธีการให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง แสดงน้อยลง ตอบกลับ · Sompong Tungmepol 1 วันที่ผ่านมา ทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความ โศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง ทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ๔ เป็นไฉน? ภิกษุพึงพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ หรือพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย ทางเป็นที่ไปอันเอกนี้เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง ทางนี้ คือ สติปัฏฐาน แสดงน้อยลง ตอบกลับ · สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ 1 วันที่ผ่านมา การให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอร... "ทางแยกระหว่างพุทธภูมิกับสาวกภูมิ" การภาวนานะ ขั้นแรกสุดเลยคือต้องรู้วิธีให้ได้ก่อน พวกเรามาเรียนวิธีนะ ชาวไฟฟ้ามาเรียนวิธีการรู้วิธีการให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง แสดงน้อยลง ตอบกลับ · Sompong Tungmepol 1 วันที่ผ่านมา ทางนี้เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความ โศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง ทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ สติปัฏฐาน ๔ เป็นไฉน? ภิกษุพึงพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ พิจารณาเห็นเวทนาในเวทนาอยู่ พิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ หรือพิจารณาเห็นธรรมในธรรมอยู่ มีความเพียร มีสัมปชัญญะ มีสติ กำจัดอภิชฌาและโทมนัสในโลกเสีย ทางเป็นที่ไปอันเอกนี้เพื่อความบริสุทธิ์ของสัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญายธรรม เพื่อทำนิพพานให้แจ้ง ทางนี้ คือ สติปัฏฐาน แสดงน้อยลง ตอบกลับ · สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ 1 วันที่ผ่านมา การให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทํ. “ธรรมทั้งหลาย มีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่."ธรรมบท" อุปมาเหมือน "ปิยมิตร" ผู้ซื่อสัตย์คอยชี้ทางแห่งความสุขและความเ­จริญ และคอยป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น คำสอนในคัมภีร์พระธรรมบทมีคุณค่าและเหมาะส­มกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติศาสนา ดังนั้น ธรรมบทจึงได้ชื่อว่า "วรรณคดีโลก" (World Literature) คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์รวบรวมบทต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต­่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเ­ดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภ­าษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ค­วรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง http://metta.exteen.com,เมตตาธรรมค้ำจุนโลก

วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

ทางนิพพานพระราชพรหมยานเถระหลวงพ่อฤาษีฯเป็นใคร มีความสำคัญแค่ไหนเพียงไร? from Facebook Nooboonsawan Siriharksopon and นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง -------------------------------------------------------------------------------- Nooboonsawan Siriharksopon shared BuddhaSattha's photo. ซาบซึ้งในพระคุณของหลวงพ่อ นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. ใครมีอะไรดีๆที่เกี่ยวข้องกับหลวงพ่อฤาษีฯของพวกเราลูกหลาน ขอได้โปรดนำมาลงเพิ่มเติมเป็นธรรมทานด้วยครับ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ตามรอย หลวงพ่อพระราชพรหมยาน "วิสุทธิเทพแห่งวัดท่าซุง" หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) วัดท่าซุง ธรรมโอวาท "พระพุทธเจ้าบอกอย่าสนใจกายภายใน ในร่างกายเราเอง อย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น อย่าสนใจวัตถุธาตุใดๆ เพราะสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มีสภาพไม่เที่ยงและเป็นอนัตตาในที่สุด" ปัจฉิมโอวาท "ลูกเอ้ย... นี่เป็นธรรมดาของร่างกาย มีเกิด มีแก่ มีเจ็บ มีตาย เป็นธรรมดา สังขารมันเป็น อนิจจัง ไม่เที่ยงหรอก ทุกขัง ตอนอยู่ มันเป็นทุกข์ แต่ผลที่สุด มันก็ อนัตตา สลายไป มีแค่นี้ อย่ามายึดติดสังขารพ่อเลย" ขอแจ้งให้ทราบว่าทุกคนที่ต้องการเป็นศิษย์ ไม่ต้องขออนุญาต ขอให้ปฏิบัติตามนี้ อยู่ที่ไหนไม่เคยเห็นหน้ากันเลยก็รับเป็นศิษย์ คือ ๑.ศิษย์ชั้น ๓ พยายามรักษาศีล ๕ ได้เสมอ อาจจะขาดตกบกพร่องบ้าง แต่ก็พยายามรักษาให้ครบถ้วนมากที่สุดที่จะทำได้ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์ชั้น ๓ คือศิษย์ขนาดจิ๋ว ๒.ศิษย์รุ่นกลาง มีปฏิปทาดังนี้ มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ พยายามรักษาอารมณ์ให้ทรงสมาธิเสมอตามสมควร ไม่ละเมิดศีลเป็นปกติ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์รุ่นกลาง ๓.ศิษย์เอก มีปฏิปทาดังนี้ (ก)รักษาศีล ๕ ครบถ้วนเป็นปกติ (ข)เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ไม่สงสัยในความดีของท่าน มีอารมณ์ตั้งมั่นว่า ถ้าตายไปจากคนชาตินี้ ขอไปนิพพานจุดเดียว พยายามละความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นปกติ ถ้าปฏิบัติได้ตามที่กล่าวมานี้ มาพบหรือไม่มา ขออนุญาตเป็นศิษย์ หรือไม่ขออนุญาตก็ตาม ให้ทราบว่าอาตมารับเป็นศิษย์แล้วด้วยความเต็มใจ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) ประวัติพระราชพรหมญาณ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) หรือ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จังหวัดอุทัยธานี ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ ผู้เป็นที่เคารพนับถือของศานุศิษย์ผู้ปฏิบัติธรรม ในแนวทางแห่งมโนมยิทธิ ท่านเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อปาน โสนนฺโท วัดบางนมโค ตลอดชีวิตของท่าน ท่านได้บำเพ็ญกิจแห่งพระสงฆ์ได้สมบูรณ์พร้อมทุกประการ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยูู่่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์ เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับ เป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรส แท้องค์หนึ่ง พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ เมื่อเอ่ยถึงหลวงพ่อพระราชพรหมยาน อาจจะไม่มีใครทราบแต่เมื่อเอ่ยนาม "หลวงพ่อฤาษีลิงดํา" ผมเชื่อว่าท่านผู้อ่านนับเรือนแสนหรือนับล้านต้องรู้จักแน่ หลวงพ่อท่านเป็นพระพิเศษกล่าวคือ มีความสามารถคลุมหมด คลุมสุกขวิปัสสโกด้วยเอาไว้ในตัว เอาวิชชาสามเข้าไว้ด้วย แล้วเอาอภิญญาหกเข้าไว้ด้วย แล้วก็ฉลาดมาก คือว่า ฉลาดในธรรมะขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกอย่าง หรือที่เรียกว่า "ปฏิสัมภิทาญาณ" นอกจากนั้นหลวงพ่อยังเป็นพระผู้ทรงอภิญญาใหญ่ และที่เป็นที่กล่าวขวัญในลูกศิษย์คือ "อารมณ์จิตหลวงพ่อเร็วมาก" สามารถแปรอรรถธรรมจากยากเป็นง่ายได้อย่างพิสดาร ซึ่งแม้แต่พระอริยะเจ้าผู้มีพรรษาอาวสุโสที่สุดในสายกรรมฐานหลวงปู่มั่น คือ "พระผู้อยู่ในดวงใจนับศัตวรรรษ" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ได้เคยกล่าวว่า ให้ลูกศิษย์ไปหาอาจารย์ใหญ่ที่วัดท่าซุง หลวงพ่อท่านยังได้รับคํายกย่องจากหลวงปู่คําแสนว่า "ในกึ่งพุทธกาลไม่มีใครเกินหลวงพ่อ" นั้นย่อมเป็นเหตุเป็นผลว่า "พระระดับนึ้หาไม่ได้อีกแล้ว " ในนามคณะศิษย์ขออนุโมทนาทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการตามรอยและผู้อ่านทุกท่านจงมีแต่ความสุขความเจริญ ขอให้คําว่า ไม่มีจงอย่าปรากฏตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน คณะศิษยานุศิษย์ 2 กุมภาพันธ์ 2552 ชีวประวัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) แห่งวัดท่าซุง หลวงพ่อพระราชพรหมยาน เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ได้ปฏิบัติข้อวัตรปฏิบัติจากหลวงพ่อปาน นอกจากนั้นหลวงพ่อท่านยังเชี่ยวชาญในด้านพระกรรมฐานทั้ง 40 กองในวิสุทธิมรรคและมหาสติปัฏฐาน 4 ท่านยังได้นํามาถ่ายทอดให้ศิษยานุศิษย์ได้ศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ ตามพระธรรมคําสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลวงพ่อท่านยังเป็นพระที่มักน้อย สันโดษและสร้างสาธารณะประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและชาติบ้านเมืองเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงควรนําประวัติของท่านมาลงเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:48:35 ชาติภูมิ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร ) เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ตรงกับวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีมะโรง ที่ตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี บิดาชื่อ นายควง สังข์สุวรรณ มารดาชื่อ นางสมบุญ สังข์สุวรรณ ท่านเป็นบุตรคนที่ 3 จากพี่น้องร่วมบิดามารดาจำนวน 5 คน ดังนี้ นายวงษ์ สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2453 ปีจอ ถึงแก่กรรมเมื่อ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 นางสำเภา ยาหอมทอง(สังข์สุวรรณ) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2457 ปีขาล พระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร(สังข์สุวรรณ)) พระครูพิศาลวุฒิธรรม (พระมหาเวก อักกวังโส(สังข์สุวรรณ)) เดิมชื่อ หวั่น เกิดปีพ.ศ. 2463 ปีวอก วัดดาวดึงษาราม กรุงเทพมหานคร ด.ญ. อุบล สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2468 ปีฉลู ถึงแก่กรรมตั้งแต่อายุ 4 ขวบ เดิมชื่อ พัว บิดาเป็นหัวหน้าหาเลี้ยงครอบครัวโดยเป็นเจ้าของนาอยู่ 40 กว่าไร่ ทำนาได้ข้าวปีละ 9 - 10 เกวียน สมัยนั้นราคาข้าวเกวียนละ 20 - 25 บาท บิดาจึงมีอาชีพหลัก คือ ทำนาและหาปลา มารดาเป็นคนใจบุญสุนทาน ขณะจะตั้งครรภ์ นอนฝัน เห็นพรหมมีสีเหลืองเป็นทองคำเหมือนพระพุทธรูป นอนลอยไปในอากาศ มีเพชรประดับแพรวพราวทั้งตัว เข้าทางหัวจั่วด้านทิศเหนือ เข้ามานั่งที่ตักท่าน มารดาก็กอดไว้ แล้วก็หายเข้าไปในกาย เมื่อเกิดมาใหม่ ๆ ลุงที่บวชเป็นพระได้ฌานสมาบัติ (หลวงพ่อเล็ก เกสโร) ท่านบอกว่า เจ้าเด็กคนนี้มาจากพรหม ดังนั้นจึงให้ชื่อว่า "พรหม" และต่อมาภายหลัง คนที่จดสำมะโนครัวเขามาเปลี่ยนชื่อให้เป็น "สังเวียน" เนื่องจากท่านเป็นคนใจกล้า ไม่กลัวใคร ท่านยายกับชาวบ้านเรียกว่า "เล็ก" ส่วนท่านมารดาและพี่ ๆ น้อง ๆ เรียกว่า "พ่อกลาง" พ.ศ. 2466 อายุ 7 ขวบ เข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนประชาบาลวัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนจบชั้นประถมปีที่ 3 พ.ศ. 2474 อายุ 15 ปี อาศัยกับท่านยายที่บ้านหน้าวัดเรไร อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี ได้ศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณ พ.ศ. 2478 อายุ 19 ปี เข้าทำงานเป็นเภสัชกรทหาร สังกัดกรมการแพทย์ทหารเรือ (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า) พ.ศ. 2479 อายุ 20 ปี อุปสมบทเป็นภิกษุเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 เวลา 13.00 นาฬิกา ที่วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีพระครูรัตนาภิรมย์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระอาจารย์เล็ก เกสโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ คำสั่งพระอุปัชฌาย์ ขณะเข้าบวช หลวงพ่อปาน ท่านบอกท่านอุปัชฌาย์ว่า เจ้านี่หัวแข็งมาก ต้องเสกด้วยตะพดหนักหน่อย ท่านอุปัชฌาย์ท่านเป็นพระทรงธรรมเหมือนหลวงพ่อ(ปาน) หลวงพ่อเล็กก็เหมือนกัน ท่านอุปัชฌาย์ท่านยิ้มแล้วท่านพูดว่า "3 องค์นี้ไม่สึก อีกองค์ต้องสึกเพราะมีลูก เมื่อจะสึกไม่ต้องเสียดายนะลูก เกษียณแล้วบวชใหม่มีผลสมบูรณ์เหมือนกัน 2 องค์นี้พอครบ 10 พรรษาต้องเข้าป่า เมื่อเข้าป่าแล้วห้ามออกมายุ่งกับชาวบ้านจนกว่าจะตาย จะพาพระและชาวบ้านที่อวดรู้ตกนรก จงไปตามทางของเธอ ท่านปานช่วยสอนวิชาเข้าป่าให้หนักหน่อย ท่านองค์นี้ (หมายถึงฉัน) จงเข้าป่าไปกับเขา แต่ห้ามอยู่ในป่าเป็นวัตร เพราะเธอมีบริวารมาก ต้องอยู่สอนบริวารจนตาย พอครบ 20 พรรษาจงออกจากสำนักเดิม เธอจะได้ดี จงไปตามทางของเธอ ฉันบวชพระมามากแล้วไม่อิ่มใจเท่าบวชพวกเธอ" พ.ศ. 2480 อายุ 21 ปี สอบได้นักธรรมตรี พ.ศ. 2481 อายุ 22 ปี สอบได้นักธรรมโท พ.ศ. 2482 อายุ 23 ปี สอบได้นักธรรมเอก ระหว่างพรรษาที่ 1 - 4 - เรียนอภิญญา - ธุดงค์ป่าช้า, ป่าศรีประจันต์, พระพุทธบาท, พระพุทธฉาย, เขาวงพระจันทร์, เขาชอนเดื่อ, ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ดงพระยาเย็น, ภูกระดึง, พระแท่นดงรัง ฯลฯ - ศึกษาวิปัสสนา ระหว่างปี พ.ศ. 2480-2483 ได้ศึกษาพระกรรมฐาน จากครูบาอาจารย์หลายท่าน อาทิเช่นหลวงพ่อปาน โสนันโท วัดบางนมโค, หลวงพ่อจง พุทธสโร วัดหน้าต่างนอก, พระอาจารย์เล็ก เกสร วัดบางนมโค, พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน, พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า, หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ, หลวงพ่อเนียม วัดน้อย, หลวงพ่อโหน่ง วัดอัมพวัน (วัดคลองมะดัน) และ หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ พ.ศ. 2483 อายุ 24 ปี เข้ามาจำพรรษาที่วัดช่างเหล็ก อำเภอตลิ่งชัน ธนบุรี เพื่อเรียน บาลีจากนั้นย้ายมาอยู่ที่วัดอนงคารามในช่วงออกพรรษาในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์(นวม) อยู่วัดช่างเหล็กในช่วงเข้าพรรษา ระหว่างนี้ได้ศึกษาเพิ่มเติมกรรมฐานกับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำภาษีเจริญ และพบพระสุปฏิปันโนอีกมาก เช่น สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) เป็นต้น พ.ศ. 2486 อายุ 27 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 3 ประโยค เปลี่ยนชื่อเป็น "พระมหาวีระ" เพื่อไม่ให้คล้ายกับ พระมหาสำเนียง ที่อยู่วัดช่างเหล็ก ที่เดียวกัน พ.ศ. 2488 อายุ 29 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 4 ประโยค ย้ายมาอยู่วัดประยูรวงศาวาส ได้เป็นรองเจ้าคณะ 4 วัดประยูรวงศาวาส และฝึกหัดการเป็นนักเทศน์ พ.ศ. 2492 อายุ 33 ปี จำพรรษาที่วัดลาวทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2494 อายุ 35 ปี จึงกลับไปอยู่วัดบางนมโคจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเจ้าอาวาสวัดบางนมโค พ.ศ. 2500 อายุ 41 ปี อาพาธหนักเข้าโรงพยาบาลกรมแพทย์ทหารเรือ พ.ศ. 2502 อายุ 43 ปี พักฟื้นที่วัดชิโนรสาราม จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ จากนั้นจึงได้ย้ายไปอยู่วัดโพธิ์ภาวนาราม อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ซึ่งขณะนั้นยังเป็นสำนักสงฆ์ ได้ลูกศิษย์รุ่นแรก 6 คน พ.ศ. 2505 อายุ 46 ปี ไปจำพรรษาที่วัดพรวน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เป็นเวลา 1 พรรษา พ.ศ. 2506 อายุ 47 ปี กลับมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ภาวนาราม พอกลางเดือนมิถุนายน ก็ได้ลาพุทธภูมิ พ.ศ. 2508 อายุ 49 ปี จำพรรษาที่ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท แล้วเริ่มไป - กลับวัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เพื่อสอนพระกรรมฐาน พ.ศ. 2510 อายุ 51 ปี ได้สอนวิชามโนมยิทธิ แล้วจึงจำพรรษาที่วัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2511 อายุ 52 ปี ในวันที่ 11 มีนาคม จึงมาอยู่วัดจันทาราม (ท่าซุง) ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ได้ทำบูรณะ สร้างและขยายวัด จากเดิมมีพื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน 07 2/10 ตารางวา จนกระทั่งเป็นวัดที่มีบริเวณพื้นที่ประมาณ 289 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา มีอาคารและถาวรวัตถุต่าง ๆ จำนวน 144 รายการในวัด สิ้นค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 611,949,193 บาท สิ่งก่อสร้างทั้งในวัดและนอกวัด อาทิเช่น หอสวดมนต์, พระพุทธรูป, อาคารปฏิบัติกรรมฐาน, ศาลาการเปรียญ, วิหาร 100 เมตร, โบสถ์ใหม่, บูรณะโบสถ์เก่า, ศาลา 2 ไร่, 3 ไร่, 4 ไร่ และ 12 ไร่, หอไตร, โรงพยาบาลศูนย์แม่และเด็ก ชนบทที่ 61, พระจุฬามณี, มณฑปท้าวมหาราชทั้ง 4, พระบรมราชานุสาวรีย์ 6 พระองค์, พระชำระหนี้สงฆ์, โรงไฟฟ้า, โรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา, ศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ เป็นต้น ทั้งยังได้ช่วยการก่อสร้างที่วัดอื่น ๆ ในประเทศไทยอีกมากมาย พ.ศ. 2520 อายุ 61 ปี ตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2526 อายุ 67 ปี สร้างโรงพยาบาลแม่และเด็กชนบทที่ 61 และมอบให้กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2527 อายุ 68 ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชคณะชั้นสามัญเปรียญวิ.(ป.ธ.4 น.ธ.เอก) ที่ "พระสุธรรมยานเถร" พ.ศ. 2528 อายุ 69 ปี สร้างโรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา พ.ศ. 2532 อายุ 73 ปี ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพรราชาคณะชั้นราช ที่ "พระราชพรหมยาน ไพศาลภาวนานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี" พ.ศ. 2535 อายุ 76 ปี ได้อาพาธด้วยโรคปอดบวมอย่างแรง และติดเชื้อในกระแสโลหิต เข้ารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช และมรณภาพที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม 2535 เวลา 16.10 น. ปัจจุบันศพของหลวงพ่อได้บรรจุไว้ในโลงแก้วบนบุษบกทองคำที่ประดับด้วยอัญมณีอันวิจิตรงดงาม ณ วัดจันทาราม ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ตลอดระยะเวลาที่อุปสมบทอยู่ หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้ทำหน้าที่ของพระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ ทางด้านชาติ ได้สร้างโรงพยาบาล, สร้างโรงเรียน, จัดตั้งธนาคารข้าว, ออกเยี่ยมเยียน ทหารหาญของชาติและตำรวจตระเวณชายแดนตามหน่วยต่าง ๆ เพื่อ ปลุกปลอบขวัญและกำลังใจ และ แจกอาหาร, ยา, อุปกรณ์อำนวยความสะดวก และวัตถุมงคลทั่วประเทศ ทางด้านพระศาสนา ได้สั่งสอนพุทธบริษัทศิษยานุศิษย์ให้มุ่งพระนิพพานเป็นหลัก โดยให้ประพฤติปฏิบัติสำรวมกาย, วาจา, ใจ, มุ่งในทาน, ศีล, สมาธิ และปัญญา ทั้งในทางกรรมฐาน 40 และมหาสติปัฏฐานสูตร ได้พิมพ์หนังสือคำสอนจำนวนมากและบันทึกเทปคำสอนกว่า 1,000 ม้วน นอกจากนี้ยังได้แสดงธรรมเทศนาทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เป็นครั้งคราว นอกจากนี้ ยังเดินทางไปสงเคราะห์คณะศิษย์ในต่างจังหวัดและต่างประเทศทุก ๆ ปี ทางด้านวัตถุ ท่านได้ช่วยสร้างพระพุทธรูปและถาวรวัตถุไว้ในพระพุทธศาสนามากกว่า 30 วัด รวมทั้งการบูรณะฟื้นฟูวัดท่าซุงด้วยเงินกว่า 600 ล้านบาท ได้สร้างพระไตรปิฎก และถวายผ้าไตรแก่วัดต่างๆ ปีละไม่ต่ำกว่า 200 ไตร ทางด้านพระมหากษัตริย์ท่านได้สนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชประสงค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งศูนย์ฯ นี้ได้ดำเนินการสงเคราะห์ราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 ทั้งการแจกเสื้อผ้า, อาหาร และยารักษาโรคแก่ราษฎรผู้ยากจน, การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ, การจัดแพทย์เคลื่อนที่ออกรักษาพยาบาลราษฎรผู้เจ็บป่วย, การให้ทุน นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน, การบริจาคทุนทรัพย์ให้แก่มูลนิธิและโรงพยาบาลต่าง ๆ ฯลฯ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยู่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับเป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรสแท้องค์หนึ่ง ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:49:13 คุณวิเศษส่วนองค์และต่อส่วนรวม 1. เป็นผู้ได้บำเพ็ญบารมีมามาก 2. ทรงอภิญญาสมาบัติและปฏิสัมภิทาญาณ 3. ทรงเถรธรรม ประกอบด้วย รัตตัญญู (รู้ราตรีนาน), สีลวา (มีศีล), พหุสสุตะ (ทรงความรู้ได้ฟังมาก), สวาคตะปาฏิโมกขะ (วินิจฉัยพระวินัยได้ดี), อธิกรณสมุปปาทวูปสมกุสละ (ฉลาดในการระงับอธิกรณ์ที่เกิดขึ้น), ธัมมกามะ (ใคร่ในธรรม), สันตุฏฐะ (สันโดษ), ปาสาทิกะ (น่าเลื่อมใส), ฌานลาภี (คล่องในฌาน) และ อนาสวเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ (บรรลุเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ สิ้นอาสวกิเลส 4. รู้แจ้งในไตรภูมิ 5. เป็นที่รักของพระ พรหม เทพยดาและมนุษย์ทั้งปวง 6. สอนคนให้เข้าใจถึงพระนิพพานได้จริง ตามมาตรฐานการปฏิบัติธรรมแห่งพระพุทธศาสนาครบถ้วนทั้ง 4 หมวด อันได้แก่ 6.1) สุกขวิปัสสโก ปฏิบัติธรรมแบบเรียบ ๆ มีมรรคมีผล แต่ไม่มีความรู้พิเศษ 6.2) เตวิชโช หรือเรียกว่า วิชชา 3 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือ ทิพจักขุญาณ รู้ว่าคนเกิดมาจากไหน ตายไปไหน เป็นต้น มีญาณ 8 ประการ 6.3) ฉฬภิญโญ หรือเรียกว่า อภิญญา 6 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือแสดงฤทธิ์ได้ 5 อย่าง หากหมดกิเลสด้วยจะเรียกว่าได้อภิญญา 6 6.4) ปฏิสัมภิทัปปัตโต หรือเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษครอบคลุมทั้ง 3 หมวดแรก ปฏิสัมภิทาญาณนั้นคือ ทรงพระ ไตรปิฎก(แตกฉานในเหตุและผล), รู้ภาษาคนทุกภาษาและภาษาสัตว์ทุกชนิด และคล่องแคล่วในการสอนธรรม (ขยายความให้เข้าใจก็ได้ ย่อความให้เข้าใจก็ได้) คำกล่าวที่จารึกในแผ่นทองซึ่งบรรจุใต้แท่นพระประธาน เมื่อพ.ศ. 2519 ในแผ่นทองได้จารึกไว้ดังนี้ เราพระมหาวีระ มีพระราชานามว่า ภูมิพล เป็นผู้อุปถัมถ์ ร่วมด้วยพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ สร้างวัดนี้เป็นพุทธบูชา เมื่อศักราชล่วงไปแล้ว 2700 ปีปลาย จะมีพระเจ้าธรรมิกราช นามว่า ศิริธรรมราชา สืบเชื้อสายมาจากเชียงแสนและสุโขทัย ร่วมกับพระอรหันต์ จะมาบูรณะวัดนี้ สืบพระศาสนาต่อไป คณะของเราขอโมทนา แต่อยู่ช่วยไม่ได้ เพราะไปพระนิพพานหมดแล้ว อีกทั้งท่านยังได้ตั้งสัตยาธิษฐานฝากลูกหลานของท่านไว้ดังนี้ ฉันขอตั้งสัตยาธิษฐาน อ้างคุณพระศรีรัตนตรัย มีองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พร้อมด้วยพระอริยสงฆ์ทั้งหมดและพระพรหม และเทพเจ้าทั้งหมด ขอทุกท่านจงกำหนดจิต จดจำลูกหลานของฉันไว้ ว่าบุคคลใดก็ตาม เมื่อเวลาจะตายขอให้สติสัมปัชัญญะสมบูรณ์ มีจิตน้อมไปในกุศลกรรม และขอให้ได้รับผลที่ฉันได้ทำไปแล้วทุกประการแก่ลูกหลานของฉันทุกคน เวลานี้ฉันมองดูแล้วนะ ตรวจดูแล้ว สิ่งที่ฉันต้องการมันสมใจนึกแล้ว ฉันมีความอิ่มใจบอกไม่ถูก ปลื้มใจที่ความปรารถนาสมหวัง ที่ฉันตั้งใจไว้นาน ปรารถนาไว้นานคิดว่าจะทำไม่ได้ แต่เวลานี้ทำได้แล้ว ลูกหลานของฉันทุกคน มีศรัทธาเป็นอจลศรัทธาแล้ว มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาแล้ว มีความดีพอสมควรแล้ว อุโบสถหลังใหม่นี้ มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศมาลาของสมเด็จพระ พุทธพรมงคล พระประธานในพระอุโบสถ, เททองหล่อรูปหลวงพ่อปาน และทรงตัดลูกนิมิตด้วย ในช่วงพ.ศ. 2518 - 2520 พระสงฆ์ที่หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้เคยสนทนา หรือเป็นสหาย ได้แก่ 1. พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ท่านเป็นปฐมาจารย์ ผู้สั่งสอนเป็นองค์แรก สอนกรรมฐานทุกตอนจนถึงระดับนิพพาน และพยายามฝึกฝนให้จนมีความเข้าใจในการปฏิบัติกรรมฐานจนมี ความเข้าใจ 2. หลวงพ่อเล็ก เกสโร วัดดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : อาจารย์ที่สองรองจากหลวงพ่อปาน เป็นตัวแทนหลวงพ่อปาน ในการควบคุมดูแลในการปฏิบัติเบื้องต้นท่านอยู่วัดบางนมโค เช่นเดียวกัน 3. พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. หลวงพ่อปั้น วัดพิกุล อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 5. หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 7. พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา :พระอุปัชฌาย์ของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 8. หลวงพ่อเนียม วัดน้อย อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 9. หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี 10. หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 11. พระครูสุวรรณพิทักษ์บรรพต เจ้าคณะ 11 วัดสระเกศ จังหวัดพระนคร 12. สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร จังหวัดกรุงเทพฯ 13. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 14. ท่านเจ้าคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) วัดปากน้ำภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี 15. ท่านเจ้าคุณ พระธรรมปาหังสณาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส ธนบุรี 16. ท่านเจ้าคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 17. พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 18. พระอาจารย์เกษม วัดดาวดึงสาวาส จังหวัดธนบุรี 19. พระอาจารย์ทอง วัดราษฎรสุนทรเจริญ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 20. ท่านอาจารย์สุข (เป็นฆราวาส) ตำบลแพงพวย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 21. พระเทพวิสุทธิเวที (ไสว สุจิตฺโต ป.ธ.6) อดีตเจ้าอาวาสวัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 22. พระราชวิสุทธิเมธี (พระมหาวิจิตร วิจารโณ; พระศรีวิสุทธิโสภณ ในสมัยนั้น) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 23. พระมงคลชัยสิทธิ์ (พระครูวิชาญชัยคุณ ในสมัยนั้น) วัดปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 24. พระวิสุทธาธิบดี วัดไตรมิตร จังหวัดกรุงเทพฯ 25. พระราชอุทัยกวี จังหวัดอุทัยธานี 26. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จันทสิริ) 27. พระครูปิยรัตนาภรณ์ (บุญรัตน์ กันตจาโร) วัดโขงขาว ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 28. หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก วัดไชยมงคล(วัดวังมุย) จังหวัดลำพูน 29. พระครูสุคันธศีล (หลวงปู่คำแสน) วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ 30. หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง(ดอยม่อนเวียง) อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 31. หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ 32. หลวงพ่อทืม(หลวงพ่อบุญทืม พรหมเสโน) วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน 33. พระครูสันติวรญาณ(หลวงพ่อสิม) วัดถ้ำผาปล่อง เชียงดาว 34. พระครูพรหมจักสังวร (พระสุพรหมยานเถระ; ครูบาพรหมจักโก) วัดพระพุทธบาทตากผ้า อำเภอป่าซางจังหวัดลำพูน 35. พระครูภาวนาภิรัตน์ (พระสุธรรมยานเถระ; ครูบาอินทจักรรักษา) วัดวนาราม(วัดน้ำบ่อหลวง) อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 36. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์ (ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน 37. พระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา จังหวัดกรุงเทพฯ 38. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ ป.ธ.9) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร 39. พระครูวรเวทย์วิสิฐ (ครูบาธรรมชัย) วัดทุ่งหลวง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 40. พระภาวนาปัญญาวิสุทธิ์ (อำพัน บุญ - หลง) วัดเทพศิรินทราวาส จังหวัดกรุงเทพฯ 41. หลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 42. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม จังหวัดกรุงเทพฯ ยังคงมีพระสงฆ์อีกมากรูปในชั่วชีวิตของพระราชพรหมยานฯ ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:17 ประสบการณ์ของผู้ที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของหลวงพ่อ ที่ได้รับผลในปัจจุบันนี้ ผู้ถาม : "หลวงพ่อครับ ผมก็คิดเรื่องการเรื่องงานเป็นประจำเลยครับ ทีนี้อยากถามว่ากรรมฐานบทไหนที่ทำให้ค้าขายดีครับ..?" หลวงพ่อ : "อ๋อ... ก็บทค้าขายราคาถูกซิ เขาขายหนึ่งบาท เราขายห้าสิบสตางค์ รับรองพรึบเดียวหมด บทนี้ดีมาก เพราะเมตตาบารมีไงล่ะ" ผู้ถาม : "โอ้โฮ.. ตรงเปี๊ยบเลยหลวงพ่อ.." หลวงพ่อ : "ยังมีอีกนะ ถ้าบทที่สองดีกว่านี้อีก จาคานุสสติ แจกดะเลย" ผู้ถาม : ( หัวเราะ ) "โอ...บทนี้น่ากลัวจนแย่เลย" หลวงพ่อ : "ไอ้เรื่องค้าขายดีมีคาถาตกอยู่บทหนึ่ง" ผู้ถาม : "เดี๋ยวผมขอจดก่อนครับ" หลวงพ่อ : "ไม่ต้องจดหรอก คาถามหาโต๊ะ มหาโต๊ะนี่สมัยนั้นบวชด้วยกัน มีโยมคนหนึ่งแกหาบข้าวแกงมาขาย หาบไปตั้งแต่เช้ากลับมาบ่าย มันก็ไม่หมด วันหนึ่งมหาโต๊ะยืนล้างหน้าอยู่ที่หน้าต่างแกก็บอก "ท่านมหา มีคาถาอะไรดี ๆ ทำน้ำมนต์ให้ทีเถอะจะได้ขายหมดเร็ว ๆ " มหาโต๊ะแกไม่ใช่นักคาถาอาคมกะเขานี่ ก็นึกไม่ออก แต่ไอ้นี่น่าจะดีว่ะ "อนัตตา" แกนึกในใจนะ แกไม่ได้บอก แกก็เอาน้ำล้างหน้าพรม ๆ ยายนั่นแกก็กลับไป พอสาย ๆ แกก็กลับ ปรากฏว่าหมด" ผู้ถาม : "อะไรหมดครับ...?" หลวงพ่อ : "ของหมด ข้าวแกงหมด แต่หม้อยังอยู่ หาบยังอยู่และคนหาบก็ยังอยู่ แหม..นี่ต้องให้อธิบายให้ละเอียดเลยนะ" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"คือสงสัยครับ" หลวงพ่อ : "ก็เป็นอันว่าวันต่อมา โยมคนนั้นแกก็มาหาเรื่อย ๆ แกก็สังเกตมหาโต๊ะ ในที่สุดมหาโต๊ะต้องทำน้ำมนต์ด้วยคาถาบทนี้เอาไว้ที่บูชา แกก็ไปขายหมดทุกวัน ก็แปลกเหมือนกันเพราะจิตตรงใช่ไหม .. อนัตตา นี่เขาแปลว่าสลายตัวไงล่ะ" ผู้ถาม : "ลูกหลานเอาไปใช้ได้ไหมครับหลวงพ่อ..?" หลวงพ่อ : "ปู่ย่าตายายก็ใช้ได้" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"แล้ว คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า ใช้ได้ไหมครับ...?" หลวงพ่อ : "ความจริงคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้าของเขาก็ดี เขาขายของแล้วก็พรมตั้งแต่ตอนเช้า ถ้าตั้งร้านก็พรมหน้าร้านตั้งแต่เช้าตรู่ ตอนล้างหน้านั่นแหล่ะ ทำตอนนั้น เอาน้ำ ล้างเสกด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เสกแล้วพอล้างหน้าเสร็จก็พรม ตอนพรมก็ว่าไปด้วยนะ" ผู้ถาม : "บางคนก็บอกว่า ถ้าว่าคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ ก็จะมีลาภมาก..?" หลวงพ่อ : "มหาปุญโญ เป็นคาถาเสกพระวัดพนัญเชิง เจ้าอาวาสวัดนั้นรูปร่างผอมดำ นั่งเสกด้วยคาถาบทนี้ ๓ ปี ฉะนั้นวัดนั้นจึงมีลาภมาก แล้วต่อมาสมเด็จหรือใครก็ไม่ทราบ ถามว่าเสกด้วยคาถาอะไร ท่านบอกว่า เสกด้วยคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ แล้วท่านก็บอกให้ต่อด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า มีอยู่รายหนึ่งชื่อ นายแจ่ม เปาเล้ง บ้านอยู่อำเภอดำเนินสะดวก แกเป็นคนจน ทำสวนอยู่ที่บางช้าง ปลูกพริกขายเป็นอาชีพ เพราะอาศัยความจนของแก จึงได้เป็นหนี้เป็นสินเขาอยู่ตั้ง ๒ หมื่น ( นี่พูดถึงเงินในสมัยนั้นนะ เดี๋ยวนี้เป็นเงินเท่าไรก็คิดกันดู ) ตาแจ่มจึงมาขอเรียนคาถาพระปัจเจกโพธิ์ เมื่อได้ไปแล้ว วัน ๆ ไม่ได้ทำอะไรนอกจากท่องแต่คาถาอย่างเดียว นั่งทำอยู่ทั้งวันทั้งคืน ข้างฝ่ายลูกเมียของตาแจ่มก็ดีแสนดี ไม่ยอมให้แกทำอะไรเหมือนกัน นอกจากท่องคาถา "คาถาบทนี้ เขาทำแล้วรวยนี่ ต้องให้มันรวยให้ได้" ลูกเมียแกว่าอย่างนั้น ตาแจ่มแกคิดจะเอาอย่าง นายประยงค์ ตั้งตรงจิตร นั่นแหล่ะ? ทีนี้ พอพริกออกดอกออกผลขึ้นมาจริง ๆ ตาแจ่มก็คิดจะขายพริกละ ไอ้พริกของคนอื่นนะ งามสะพรั่งมีพริกเยอะแยะ มองดูหนาทึบ ไปหมด ส่วนพริกของตาแจ่มพิเศษกว่าเขา มียอดหงุก ๆ หงิก ๆ เม็ดก็บางตา มองดูโปร่ง ๆ ดูท่าทางแล้วเห็นจะขายได้ไม่กี่สตางค์ อีตอนเก็บนี่ซิ คนอื่นเก็บพริกได้กองใหญ่เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้กองโตเท่านั้น เห็นพริกบาง ๆ ยอดหงุกหงิก ๆ นั่นแหล่ะ เขาเก็บได้เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้เท่านั้น มาถึงตอนขาย เจ๊กชั่งของคนอื่นได้ ๑ หาบ พอมาของตาแจ่มกลับเป็น ๒ หาบ ทั้ง ๆ ที่กองก็โตเท่ากัน เจ๊กหาว่าตาแจ่มโกง คิดว่าเอาทราบใส่เข้าไปในกองพริกเป็นการถ่วงน้ำหนักเลยเอะอะโวยวายใหญ่ ปรากฏว่าเม็ดดินเม็ดทรายที่เจ๊กว่า นั้นหาไม่ได้เลย เล่นเอาเจ๊กแปลกใจ แต่ก็ต้องซื้อไปตามนั้น พริกของคนอื่นเขาเก็บกัน ๒ - ๓ ครั้ง ก็หมดแล้วครั้งแรกมาก ครั้งที่สองได้มากหน่อย พอครั้งที่สาม เก็บได้อีกเพียงเล็กน้อยเป็นอันว่าหมดกัน ต้องถอนต้นพริกทิ้งแล้วปลูกกันใหม่ ส่วนพริกของตาแจ่มไม่เป็นอย่างนั้น ต้องลงมือเก็บกัน ๖ ครั้งถึงได้หมด พริกที่ได้แต่ละครั้งก็มีปริมาณเท่า ๆ กัน นี่ไอ้พริกใบหงุกหงิก ๆ นั้นแหละ เก็บกันซะ ๖ คราว ผลที่สุด พริกของตาแจ่มก็กลายเป็นของอัศจรรย์ แถมเจ๊กยังตีราคาให้สูงกว่า พริกของคนอื่นเสียอีก เพราะว่า "เมื่อส่งไปแล้วเป็นพริกที่มีค่า ทางโน้นเขาให้ราคาสูง" ปีนั้นจึงใช้หนี้สองหมื่นหลุดหมด แถมยังมีเงินเหลืออีกตั้งสองหมื่น" ( นี่เห็นไหม... ถ้าหากว่า ท่านภาวนาคาถาบทนี้อยู่เสมอ ท่านอาจจะรวยกว่านายแจ่มก็ได้นะ ) ต่อมามีผู้นำคาถา อนัตตา ไปปฏิบัติหลังจากที่หลวงพ่อแนะนำไปแล้ว เขาผู้นั้นได้เข้ามารายงานกับหลวงพ่อว่า "หลวงพ่อครับ อนัตตา แจ๋วเลยครับ อัศจรรย์มาก ตอนบ่ายวันนี้ฟลุ๊คมาก ของที่ผมขายฝรั่งซื้อคนเดียว ๑,๖๐๐ บาท ไม่เคยมีปรากฏเลยครับ"" "อาจารย์ทำยังไงล่ะ.. อาจารย์ใช้แบบไหน จึงมีผลตามลำดับ... จะได้แจกจ่ายคนอื่นเขาบ้าง" ผู้ถาม : "อันดับแรกตักน้ำใส่แก้ว แล้วนำไปไว้หน้าพระพุทธรูปที่โต๊ะหมู่บูชา แล้วชุมนุมเทวดาไหว้พระบูชาพระตามหลวงพ่อกล่าวนำ มีมนต์อะไรก็สวดไป ของผมสวดยาวหน่อย เมื่อสวดเสร็จแล้ว ก็อาราธนาบารมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์ทั้งหลาย พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย แล้วก็มาหลวงปู่ปาน แล้วมาหลวงพ่อ เสร็จแล้วเช้าตื่นมาก็กราบแก้วน้ำ ๕ ครั้ง แล้วก็เอามาที่ห้องน้ำ แบ่งครึ่ง ครึ่งหนึ่งใส่ขันสำหรับล้างหน้า ก่อนจะแบ่งก็ตั้งจิตให้ดี ว่านะโม ๓ จบ แล้วก็ว่าคาถานี้อีกครั้งหนึ่ง เท่าที่ใช้ก็ใช้คาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เม ฯ แล้วก็มาว่า คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เมื่อว่าเสร็จแล้วก็บอก "อนัตตา ขายเกลี้ยง" อีกครึ่งหนึ่งเราแบ่งมาแล้วก็ว่า คาถาวิระทะโย ไป แล้วก็พรมตู้อะไรต่าง ๆ แล้วก็ลงท้าย "อนัตตา ขายเกลี้ยง ๆ ๆ" แม้แต่หน้าร้านก็พรมออกไปเลย ถ้าใครเดินมาถูกน้ำมนต์ปุ๊บอยู่ไม่ได้ ต้องมาซื้อ อันนี้ได้ผลดีครับ" หลวงพ่อ : "อ้าว.. จำได้ไหมล่ะ อันนี้ก็ดีมีประโยชน์นะ ควรจะนำไปใช้ทุก ๆ คนนะ ฉันบอกให้อาจารย์เขาไปทำ ท่านทำแล้วผลมันเกิดขึ้นทุกวัน" ผู้ถาม : "แล้วถ้าฟลุ๊คอะไรเป็นพิเศษละก้อ เวลาจุดธูปเทียนหรือพรมน้ำมนต์ มันจะมีขนลุกซู่ซ่า ถ้าซู่มากละ มาแน่" หลวงพ่อ : "อ้อ..กำลังปีติสูง ใช่ เพราะซู่ซ่านี่เจ้าของมาแสดงให้ปรากฏ ถ้านึกถึงท่านจริง ท่านเข้ามาช่วยจริงก็ถือว่าเป็นอาการของปีติ เมื่อสัมผัสแล้วทางจิตใจก็เกิดปีติ ความอิ่มใจเกิดขึ้น ขนลุกซู่ซ่ามาก การแสดงออกตามอาจารย์พูดน่ะถูก ถ้าหากว่าสัมผัสน้อยก็มีผลน้อยหน่อย แต่ก็ดีกว่าปกติ สัมผัสมากก็มีผลมากหน่อย ปัจจุบันทันด่วน อันนี้ถูกต้อง ถ้าทำขึ้น หนักจริง ๆ นะ ถ้าขายของเป็นน้ำหนัก น้ำหนักจะสูงขึ้น แล้วก็ไม่สูงแต่ของเรา เอาไปขายคนอื่นต่อก็สูง นี่เขาทำมาแล้วนะ คนที่ไทรย้อยแกขายข้าว ไปซื้อข้าวมาวันนี้ พรุ่งนี้จะเอาไปขึ้นโรงสี แกก็พรมน้ำมนต์ก่อน พอถึงบ้านก็พรมน้ำมนต์หน่อย พอขึ้นโรงสีปรากฏว่าน้ำหนักสูง ถ้าหากว่าของที่เก็บไว้ในปี๊บในถงในอะไรก็ตาม จะมีปริมาณสูง เมื่อก่อนหลวงพ่อปานท่านบอก เอาข้าวใส่ยุ้งฉางให้เรียบร้อย ตวงให้ดี แล้วนับให้ดี ทำมาจนกว่าจะถึงฤดูออกมาใช้มาขาย แล้วตวง มันจะมากทุกคราว จำเอาไว้นะ ถ้าปฏิบัติ ทุกคนจะไม่จน ฉันอยากให้ทุกคนรวย ฉันจะได้รวยด้วย พระแช่งให้ชาวบ้านจนก็ซวย พระไม่มีกินน่ะซิ" ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:46 คาถาเงินล้าน ตั้ง นะโม ๓ จบ สัมปจิตฉามิ คาถาสนองกลับ นาสังสิโม คาถาพระพุทธกัสสป บทแรก "พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ" อันนี้ตัดอุปสรรคที่ลาภจะมาแต่เขามาบอก ว่ามีผลแน่นอน คือว่า แกจะไม่ยอมให้ลูกแกจน พูดง่าย ๆ ก็แล้วกัน พระพุทธเจ้า ก็ทรงยืนยันบอกว่า ให้ หมด บทที่สอง "พรมหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุเม" คาถาบทนี้เป็นคาถาเงินแสนของท่าน บทที่สาม "มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม" บทนี้เป็นคาถาปลุกพระวัดพนัญเชิง บทที่สี่ "มิเตพาหุหะติ" เป็นคาถาเงินล้าน บทที่ห้า "พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มามีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม" เป็นคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า บทที่หก "สัมปติฉามิ" บทนี้เป็นบทเร่งรัดบทสุดท้าย บทที่เจ็ด "เพ็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤา ๆ" พระปัจเจกพุทธเจ้า มาบอกหลวงพ่อเมื่อ พ.ย. 33 เป็นภาษาโบ ราณ แต่เทียบกับภาษาไทยอ่านได้อย่างนี้ เป็นคาถามหาลาภ มีผลยิ่งใหญ่มาก ทั้งหมดนี้ต้องสวดเป็นบท เดียวกัน บูชาเรื่อย ๆ ไป การบูชาถ้าบูชาเฉย ๆ มันเป็นเบี้ยต่อไส้ คาถา ว่า 9 จบ หลวงพ่อบอกว่า ถ้าว่า 9 จบเป็นเบี้ยต่อไส้ จะว่ามากกว่านั้นก็ได้ แต่ถ้าท่องจนเป็นสมาธิหรือได้ญาณจะได้ผลดีมาก อย่าลืมถ้าอยากจะให้ได้ผลต้องท่องจนเป็นสมาธิและใส่บาตรทุกวัน ถ้าไม่ว่างก็ใส่บาตร วิระทะโย ที่วัดแจก แล้วถ้าว่างจะนําไปถวายก็สุดแล้วแต่ท่านหรือสิ้นเดือนก็นําไปถวายที่บ้านสายลมก็ได้ อันนึ้ลูกศิษย์หลวงพ่อที่เคยปฏิบัติจนสําเร็จกล่าวให้ผู้เขียนฟังนานแล้ว ความสามารถหลวงพ่อในวัยเด็ก บันทึกโดยคุณปรุง ตุงคะเศรณี คืนวันที่ 16 ธันวาคม 2526 ก่อนเวลานั่งกรรมฐานหลวงพ่อท่านไม่ได้ลงสอน และท่านได้คุยกับเราเรื่องเมื่อตอนเด็กๆอยู่ที่ โรงเรียน 1พระเดขพระคุณหลวงพ่อชอบเล่นกีฬา ฟุตบอลและสามารถเตะจากประตูที่ยืนโด่งเข้าไปประตูตรงกันข้ามได้(โหสุดยอด)และหัดอยู่ไม่นานก่อนที่จะสามารถเตะได้เช่นนี้ท่านเตะกับเพื่อนอีกหนึ่งคนผลัดกันเตะโดยอยู่คนละด้านตรงหน้าประตูและเพื่อนก็สามารถเตะเข้าประตูตรงที่ท่านยืนอยู่ได้ 2. ท่านเคยลงแข่งขันเป็นนายประตู และเตะแบบข้อหนึ่ง เตะเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามคือเพื่อนที่ซ้อมเตะมาด้วยกันนั้นก็สามารถเตะเข้าประตูที่ท่านรักษาได้เหมือนกัน เมื่อลงเล่นเตะได้ประตูเช่นนี้คนละครั้งกรรมการเลยให้ท่านและเพื่อนออกไปนอกสนามเพราะไม่อยากให้เล่นต่อ 3. ท่านชอบมวยไทย เคยหัดเตะต้นกล้วยที่ตัดยอดและโคนออกแล้ว เอามาตั้งปักไว้และเตะทั้งซ้ายและขวา ต้นกล้วยไม่ล้มท่านบอกว่าครั้งแรกต้นกล้วยไม่ล้มแต่ตัวเราล้ม 4. ท่านอบเล่นปามีด สามารถปามีดปาดโคนหรือเครือกล้วยได้ทั้งเครือ ให้ขาดตกลงมารับได้สบาย ท่านเล่าว่าหัดปาเพียงวันเดียวเท่านั้นเข้าใจว่าเป็นของเก่าตามมาท่านพกมีดปา 5 เล่ม ที่พุงตามขอบกางเกงที่พุง เคยมีนักเลง 5 คนจะรุมทำร้ายท่านพระเดชพระคุณหลวงพ่อเป็นนักเลงต่างถิ่น ท่านแสดงปามีดปักผลกล้วยให้ดูและก็บอกว่าแค่นี้ปานัยน์ตาไม่พลาด พวกนักเลงต่างถิ่นรีบหนีไปหมดเลย(ผู้เขียนเคยได้ยินท่านเล่าเหมือนกันท่านสามารถใช้มีดปามะม่วงให้ตกลงมาได้โดยให้ชี้ว่าต้องการลูกไหน) 5. หัดว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าราชวรดิฐหัดว่ายไปอยู่จนสามารถว่ายไปกลับข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 20 เที่ยวอย่างแบบสบายๆ ที่มา เวปแดนพระนิพพานและหนังสือตามรอยพระพุทธบาทเล่ม 4 ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:51:17 ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว พระธรรมเทศนาจากหลวงพ่อพระราชพรหมยาน ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว ให้เรานึกถึงพระพุทธเจ้าที่เป็นรูปใหญ่ ให้ใหญ่พอที่เราจะเข้าไปอยู่ในพระองค์ได้ นึกถึงพระองค์ในปางไหนก็ได้ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาเบา ๆ ช้า ๆ ไม่ต้องรีบ หายใจเข้าลึก ๆ ใหม่ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ ทำใจแบบสบาย ๆ แล้วตั้งจิตอธิษฐาน ลูกขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา มาประทับอยู่บนศรีษะของลูก ขอเมตตาปกป้องภยันอันตรายต่าง ๆ ควบคุมความคิดควบคุมระบบร่างกายทั้งหมดด้วยเทอญ ขอพระองค์มาพร้อมพลังแสงของพระองค์ แสงแห่งบุญบารมี ลูกขออาราธนา อัญเชิญองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระพุทธปฐมบรมธรรมบิดา ประทับเต็มใบหน้าและลำตัวของลูก ขอให้ขันธ์ 5 นี้ได้รับบุญบารมีจากพลังแสงของพระองค์ มีฤิทธิ์อำนาจดุจพลังแสงของพระองค์ ลูก ขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระกะกุสันโธประทับที่ตาข้างขวา พระโกนาคมประทับที่ตาข้างซ้าย พระพุทธสิกขีทศพลประทับที่ดวงตาที่สาม ขอให้ดวงตาทั้งสามดวงนี้ได้เห็นถึงความจริงของทั้งสามโลก รู้เท่าทันกับทุกสิ่งทุกอย่าง มองเห็นในสิ่งที่สามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ ด้วยฤทธิ์อำนาจของพระองค์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธเจ้าพระพุทธกัสสะปะประทับที่ปากของลูก ขอเมตตาให้ลูกเจรจาพาทีด้วยธรรมะบริสุทธิ์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธสมณโคดมบรมอาจารย์ประทับในสมอง ขอลูกเป็นปราชญ์ทั้งทางโลกและทางธรรม ขอพระองค์เป็นอาจารย์สอนลูก ประทับที่อกขอปิดประตูแห่งการเวียนว่ายตายเกิดทุก ๆ ชาติ ลูกปรารถนาจะไปนิพพานในชาตินี้ ประทับที่หัวใจ ขอให้ลูกเต็มไปด้วยพรหมวิหาร 4 ประทับที่ปอด ขอให้ลูกมีขันธ์ 5 ที่แข็งแรงเพื่อทำงานรับใช้พระศาสนาด้วยเถิด ลูกขออโหสิกรรมขอขมาลา โทษแด่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย คุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ ครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ เจ้ากรรมนายเวรทุก ๆ ชาติ ที่ลูกได้ทำผิดพลาดพลั้งไป ด้วยกายวาจาใจ โดยรู้เท่าถึงกาลก็ดี รู้เท่าไม่ถึงกาลก็ดี เจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ขอได้โปรดอโหสิกรรมให้แก่ลูกผู้มีความรู้น้อยด้อยปัญญานี้ด้วยเถิด ข้าแต่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา ลูกนี้เป็นผู้มีบุญน้อยไร้ซึ่งวาสนาแต่ลูกขอตั้งจิตอธิษฐานว่า ลูกไม่ปรารถนาจะเกิดเป็นคนเทวดาพรหมอีกต่อไป ลูกปรารถนาจะนิพพานทันใดในชาตินี้ ขอติดตามองค์พระพิชิตมารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอได้โปรดประทานพลังแสงทิพย์อริยธรรมรวมกับแสงฉัพพรรณรังสีพลังแสงบุญบารมี จากพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ จากคุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ คุณครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ พุ่งเข้ามาที่ดวงจิตของลูก ขอให้ช่วยลบล้างซึ่งกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรม บาปกรรมเวรกรรมที่ลูกมี ขอได้โปรดให้ลูกมีบุญเพียงพอที่จะลบล้างสิ่งเหล่านี้ให้หมดสิ้น พร้อม กันนั้นลูกขอกราบอนุโมทนาสาธุในบุญบารมีขององค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสี บรมธรรมบิดา ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย พระอรหันต์ทุก ๆ พระองค์ พระอริยสัตว์ทุก ๆ พระองค์ พี่น้องของลูกทั้งสามโลกที่ได้ทำคุณงามความดีตลอดเวลา ลูกขออนุโมทนาบารมีความดีของทุก ๆ ดวงจิต ของทุก ๆ ท่าน ไปกับพลังแสงทิพย์อริยธรรม รวมกับแสงฉัพพรรณรังสี รวมกับบารมีของพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ ลูกเอ๋ย…จงลองพิจารณาดวงตาของเจ้าเถิด ดวงตาของเจ้านั้นชอบมองในสิ่งใดกัน ? จงพิจารณาจากปากของเจ้าเถิด เจ้าชอบใช้ปากในเรื่องอะไรกัน ? จงพิจารณาจากหูของเจ้าเถิด เจ้าชอบนำหูของเจ้าไปใช้ฟังเรื่องอะไรกัน ? จมูกเจ้าชอบไว้ใช้ทำอะไร ? มือทั้งสองข้าง เท้าทั้งสองเจ้าไว้ใช้ทำอะไร ? บุคคล ผู้ใดชอบใช้สายตาของตัวเองในสิ่งที่อยากมองและเลือกมองนั้น บุคคลผู้นั้นย่อมไม่ฉลาด แต่บุคคลผู้ใดมองทุกสิ่งทุกอย่างอย่างละเอียดถี่ถ้วนพร้อมพิจารณา บุคคลผู้นั้นชื่อว่าเป็นปราชญ์ บุคคลผู้ใดชอบใช้หูในการฟังคำชม มากกว่าคำติชม บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนไม่ทันโลก บุคคลผู้ใดใช้หูในการพิจารณาในทุกเรื่องราว บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นผู้รู้เท่าทันในสิ่งสมมุติทั้งหมด บุคคล ผู้ใดใช้จมูกในการสูดดมกลิ่นที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนพิการทางจมูก แต่หากบุคคลผู้ใดพิจารณาถึงทุกกลิ่น บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนมีปัญญา บุคคลผู้ใดใช้ปากในการติฉินนินทา บุคคลผู้นั้นเป็นบ่าว บุคคลผู้ใดใช้ปากในการอวยพรให้กำลังใจคน บุคคลผู้นั้นคือพระ บุคคล ผู้ใดชอบใช้มือในการรับ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่า ขอทาน รับเพียงอย่างเดียวไม่คิดให้ตอบ แต่บุคคลผู้ใดรักในการให้ ให้ด้วยความเมตตาสงสารกรุณา บุคคลผู้นั้นคือกษัตริย์ บุคคลผู้ใด ใช้เท้าในการเดินไปหาในสิ่งที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นเดินเข้าสู่อบายภูมิ แต่บุคคลผู้ใดใช้เท้าในการโปรดเวไนย์สัตว์ บุคคลผู้นั้นคือพระอรหันต์ ลูกเป็นเช่นไร ? จงพิจารณาเถิด นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก ทำไมดวงตามีหลายสี ? ผมมีหลากสี ? ผิวมีหลากสี ? กลิ่นมีหลากแบบ ? หน้าตามีหลากหลาย ? เป็นเพราะอะไร ? ก็ เป็นเพราะที่มนุษย์ชอบกันนักหนาในการแบ่งแยกแบ่งชนชั้นกันไม่ใช่หรือ ? แล้วยังจะสงสัยในสิ่งที่มีหลากหลายทำไม ตัวเจ้าเองก็ยังชอบในการแบ่งแยกเลย แต่เมื่อมองในสิ่งที่ลูกทั้งหลายมองไม่เห็น ลูกก็จะรู้ว่าพระวิสุทธิบรมธรรมบิดามิได้แบ่งแยก นั่นก็คือจิตที่เป็นพุทธะประภัสสรของลูกเอง ไร้ซึ่งการแบ่งแยก ไร้ซึ่งพรหมแดน แต่เมื่อเจ้าแบ่งแยก จึงเกิดหลากหลายสีสัน หลากหลายชนชั้น หลากหลายวรรณะ แล้วจะสงสัยกันทำไมลูก ได้รับคำตอบแล้วจงคิดพิจารณาตามเถิด ทำไม มนุษย์จึงมีหลากหลายคำถามหลากหลายความไม่เข้าใจ ? ก็เพราะสิ่งนี้เจ้าสร้างมันขึ้นมาเอง เพราะเจ้าสร้างขึ้นมาเป็นเกราะ เกราะนี้จึงเป็นเหตุให้เจ้าไม่สามารถทะลุออกมาเพื่อเจอความจริง จงให้อดีตเป็นอาจารย์ในการสอนเจ้า จงให้ปัจจุบันเป็นพระพุทธเจ้าที่เจ้าควรทำตามแบบอย่าง จงให้อนาคตเป็นพระธรรมคำสอนที่เจ้าควรเดินตาม อย่า กังวลคิดมากไป เหตุใดเราทำดีแล้วจึงมิได้ดี อย่าได้แปลกใจเลยลูก จงให้อนาคตเป็นเครื่องพิสูจน์ แล้วทำปัจจุบันให้ดีที่สุด ผลกรรมดีตอบสนองเจ้าอย่างแน่นอน ความเสียสละคืออะไรลูก ? จงคิดพิจารณาเถิด แล้วความเสียสละตั้งอยู่บนพื้นฐานของอะไร ? จงใช้การพิจารณาและไตร่ตรอง แล้วอะไรกันที่มนุษย์ปรารถนา แล้วเจ้าจะให้อะไรแก่มนุษย์เหล่านั้นได้บ้าง ? จงมองดูสิ่งที่ใกล้ตัว จงมองดูสิ่งที่ห่างตัว แล้วลูกจะได้รับคำตอบ http://www.sangthipnipparn.com http://www.buddha-dhamma.com

พระราชพรหมยานเถระสนทนาธรรมหลวงพ่อฤาษีฯเป็นใคร มีความสำคัญแค่ไหนเพียงไร? from Facebook Nooboonsawan Siriharksopon and นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง -------------------------------------------------------------------------------- Nooboonsawan Siriharksopon shared BuddhaSattha's photo. ซาบซึ้งในพระคุณของหลวงพ่อ นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. ใครมีอะไรดีๆที่เกี่ยวข้องกับหลวงพ่อฤาษีฯของพวกเราลูกหลาน ขอได้โปรดนำมาลงเพิ่มเติมเป็นธรรมทานด้วยครับ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ตามรอย หลวงพ่อพระราชพรหมยาน "วิสุทธิเทพแห่งวัดท่าซุง" หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) วัดท่าซุง ธรรมโอวาท "พระพุทธเจ้าบอกอย่าสนใจกายภายใน ในร่างกายเราเอง อย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น อย่าสนใจวัตถุธาตุใดๆ เพราะสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มีสภาพไม่เที่ยงและเป็นอนัตตาในที่สุด" ปัจฉิมโอวาท "ลูกเอ้ย... นี่เป็นธรรมดาของร่างกาย มีเกิด มีแก่ มีเจ็บ มีตาย เป็นธรรมดา สังขารมันเป็น อนิจจัง ไม่เที่ยงหรอก ทุกขัง ตอนอยู่ มันเป็นทุกข์ แต่ผลที่สุด มันก็ อนัตตา สลายไป มีแค่นี้ อย่ามายึดติดสังขารพ่อเลย" ขอแจ้งให้ทราบว่าทุกคนที่ต้องการเป็นศิษย์ ไม่ต้องขออนุญาต ขอให้ปฏิบัติตามนี้ อยู่ที่ไหนไม่เคยเห็นหน้ากันเลยก็รับเป็นศิษย์ คือ ๑.ศิษย์ชั้น ๓ พยายามรักษาศีล ๕ ได้เสมอ อาจจะขาดตกบกพร่องบ้าง แต่ก็พยายามรักษาให้ครบถ้วนมากที่สุดที่จะทำได้ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์ชั้น ๓ คือศิษย์ขนาดจิ๋ว ๒.ศิษย์รุ่นกลาง มีปฏิปทาดังนี้ มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ พยายามรักษาอารมณ์ให้ทรงสมาธิเสมอตามสมควร ไม่ละเมิดศีลเป็นปกติ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์รุ่นกลาง ๓.ศิษย์เอก มีปฏิปทาดังนี้ (ก)รักษาศีล ๕ ครบถ้วนเป็นปกติ (ข)เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ไม่สงสัยในความดีของท่าน มีอารมณ์ตั้งมั่นว่า ถ้าตายไปจากคนชาตินี้ ขอไปนิพพานจุดเดียว พยายามละความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นปกติ ถ้าปฏิบัติได้ตามที่กล่าวมานี้ มาพบหรือไม่มา ขออนุญาตเป็นศิษย์ หรือไม่ขออนุญาตก็ตาม ให้ทราบว่าอาตมารับเป็นศิษย์แล้วด้วยความเต็มใจ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) ประวัติพระราชพรหมญาณ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) หรือ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จังหวัดอุทัยธานี ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ ผู้เป็นที่เคารพนับถือของศานุศิษย์ผู้ปฏิบัติธรรม ในแนวทางแห่งมโนมยิทธิ ท่านเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อปาน โสนนฺโท วัดบางนมโค ตลอดชีวิตของท่าน ท่านได้บำเพ็ญกิจแห่งพระสงฆ์ได้สมบูรณ์พร้อมทุกประการ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยูู่่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์ เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับ เป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรส แท้องค์หนึ่ง พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ เมื่อเอ่ยถึงหลวงพ่อพระราชพรหมยาน อาจจะไม่มีใครทราบแต่เมื่อเอ่ยนาม "หลวงพ่อฤาษีลิงดํา" ผมเชื่อว่าท่านผู้อ่านนับเรือนแสนหรือนับล้านต้องรู้จักแน่ หลวงพ่อท่านเป็นพระพิเศษกล่าวคือ มีความสามารถคลุมหมด คลุมสุกขวิปัสสโกด้วยเอาไว้ในตัว เอาวิชชาสามเข้าไว้ด้วย แล้วเอาอภิญญาหกเข้าไว้ด้วย แล้วก็ฉลาดมาก คือว่า ฉลาดในธรรมะขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกอย่าง หรือที่เรียกว่า "ปฏิสัมภิทาญาณ" นอกจากนั้นหลวงพ่อยังเป็นพระผู้ทรงอภิญญาใหญ่ และที่เป็นที่กล่าวขวัญในลูกศิษย์คือ "อารมณ์จิตหลวงพ่อเร็วมาก" สามารถแปรอรรถธรรมจากยากเป็นง่ายได้อย่างพิสดาร ซึ่งแม้แต่พระอริยะเจ้าผู้มีพรรษาอาวสุโสที่สุดในสายกรรมฐานหลวงปู่มั่น คือ "พระผู้อยู่ในดวงใจนับศัตวรรรษ" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ได้เคยกล่าวว่า ให้ลูกศิษย์ไปหาอาจารย์ใหญ่ที่วัดท่าซุง หลวงพ่อท่านยังได้รับคํายกย่องจากหลวงปู่คําแสนว่า "ในกึ่งพุทธกาลไม่มีใครเกินหลวงพ่อ" นั้นย่อมเป็นเหตุเป็นผลว่า "พระระดับนึ้หาไม่ได้อีกแล้ว " ในนามคณะศิษย์ขออนุโมทนาทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการตามรอยและผู้อ่านทุกท่านจงมีแต่ความสุขความเจริญ ขอให้คําว่า ไม่มีจงอย่าปรากฏตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน คณะศิษยานุศิษย์ 2 กุมภาพันธ์ 2552 ชีวประวัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) แห่งวัดท่าซุง หลวงพ่อพระราชพรหมยาน เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ได้ปฏิบัติข้อวัตรปฏิบัติจากหลวงพ่อปาน นอกจากนั้นหลวงพ่อท่านยังเชี่ยวชาญในด้านพระกรรมฐานทั้ง 40 กองในวิสุทธิมรรคและมหาสติปัฏฐาน 4 ท่านยังได้นํามาถ่ายทอดให้ศิษยานุศิษย์ได้ศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ ตามพระธรรมคําสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลวงพ่อท่านยังเป็นพระที่มักน้อย สันโดษและสร้างสาธารณะประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและชาติบ้านเมืองเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงควรนําประวัติของท่านมาลงเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:48:35 ชาติภูมิ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร ) เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ตรงกับวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีมะโรง ที่ตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี บิดาชื่อ นายควง สังข์สุวรรณ มารดาชื่อ นางสมบุญ สังข์สุวรรณ ท่านเป็นบุตรคนที่ 3 จากพี่น้องร่วมบิดามารดาจำนวน 5 คน ดังนี้ นายวงษ์ สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2453 ปีจอ ถึงแก่กรรมเมื่อ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 นางสำเภา ยาหอมทอง(สังข์สุวรรณ) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2457 ปีขาล พระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร(สังข์สุวรรณ)) พระครูพิศาลวุฒิธรรม (พระมหาเวก อักกวังโส(สังข์สุวรรณ)) เดิมชื่อ หวั่น เกิดปีพ.ศ. 2463 ปีวอก วัดดาวดึงษาราม กรุงเทพมหานคร ด.ญ. อุบล สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2468 ปีฉลู ถึงแก่กรรมตั้งแต่อายุ 4 ขวบ เดิมชื่อ พัว บิดาเป็นหัวหน้าหาเลี้ยงครอบครัวโดยเป็นเจ้าของนาอยู่ 40 กว่าไร่ ทำนาได้ข้าวปีละ 9 - 10 เกวียน สมัยนั้นราคาข้าวเกวียนละ 20 - 25 บาท บิดาจึงมีอาชีพหลัก คือ ทำนาและหาปลา มารดาเป็นคนใจบุญสุนทาน ขณะจะตั้งครรภ์ นอนฝัน เห็นพรหมมีสีเหลืองเป็นทองคำเหมือนพระพุทธรูป นอนลอยไปในอากาศ มีเพชรประดับแพรวพราวทั้งตัว เข้าทางหัวจั่วด้านทิศเหนือ เข้ามานั่งที่ตักท่าน มารดาก็กอดไว้ แล้วก็หายเข้าไปในกาย เมื่อเกิดมาใหม่ ๆ ลุงที่บวชเป็นพระได้ฌานสมาบัติ (หลวงพ่อเล็ก เกสโร) ท่านบอกว่า เจ้าเด็กคนนี้มาจากพรหม ดังนั้นจึงให้ชื่อว่า "พรหม" และต่อมาภายหลัง คนที่จดสำมะโนครัวเขามาเปลี่ยนชื่อให้เป็น "สังเวียน" เนื่องจากท่านเป็นคนใจกล้า ไม่กลัวใคร ท่านยายกับชาวบ้านเรียกว่า "เล็ก" ส่วนท่านมารดาและพี่ ๆ น้อง ๆ เรียกว่า "พ่อกลาง" พ.ศ. 2466 อายุ 7 ขวบ เข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนประชาบาลวัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนจบชั้นประถมปีที่ 3 พ.ศ. 2474 อายุ 15 ปี อาศัยกับท่านยายที่บ้านหน้าวัดเรไร อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี ได้ศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณ พ.ศ. 2478 อายุ 19 ปี เข้าทำงานเป็นเภสัชกรทหาร สังกัดกรมการแพทย์ทหารเรือ (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า) พ.ศ. 2479 อายุ 20 ปี อุปสมบทเป็นภิกษุเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 เวลา 13.00 นาฬิกา ที่วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีพระครูรัตนาภิรมย์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระอาจารย์เล็ก เกสโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ คำสั่งพระอุปัชฌาย์ ขณะเข้าบวช หลวงพ่อปาน ท่านบอกท่านอุปัชฌาย์ว่า เจ้านี่หัวแข็งมาก ต้องเสกด้วยตะพดหนักหน่อย ท่านอุปัชฌาย์ท่านเป็นพระทรงธรรมเหมือนหลวงพ่อ(ปาน) หลวงพ่อเล็กก็เหมือนกัน ท่านอุปัชฌาย์ท่านยิ้มแล้วท่านพูดว่า "3 องค์นี้ไม่สึก อีกองค์ต้องสึกเพราะมีลูก เมื่อจะสึกไม่ต้องเสียดายนะลูก เกษียณแล้วบวชใหม่มีผลสมบูรณ์เหมือนกัน 2 องค์นี้พอครบ 10 พรรษาต้องเข้าป่า เมื่อเข้าป่าแล้วห้ามออกมายุ่งกับชาวบ้านจนกว่าจะตาย จะพาพระและชาวบ้านที่อวดรู้ตกนรก จงไปตามทางของเธอ ท่านปานช่วยสอนวิชาเข้าป่าให้หนักหน่อย ท่านองค์นี้ (หมายถึงฉัน) จงเข้าป่าไปกับเขา แต่ห้ามอยู่ในป่าเป็นวัตร เพราะเธอมีบริวารมาก ต้องอยู่สอนบริวารจนตาย พอครบ 20 พรรษาจงออกจากสำนักเดิม เธอจะได้ดี จงไปตามทางของเธอ ฉันบวชพระมามากแล้วไม่อิ่มใจเท่าบวชพวกเธอ" พ.ศ. 2480 อายุ 21 ปี สอบได้นักธรรมตรี พ.ศ. 2481 อายุ 22 ปี สอบได้นักธรรมโท พ.ศ. 2482 อายุ 23 ปี สอบได้นักธรรมเอก ระหว่างพรรษาที่ 1 - 4 - เรียนอภิญญา - ธุดงค์ป่าช้า, ป่าศรีประจันต์, พระพุทธบาท, พระพุทธฉาย, เขาวงพระจันทร์, เขาชอนเดื่อ, ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ดงพระยาเย็น, ภูกระดึง, พระแท่นดงรัง ฯลฯ - ศึกษาวิปัสสนา ระหว่างปี พ.ศ. 2480-2483 ได้ศึกษาพระกรรมฐาน จากครูบาอาจารย์หลายท่าน อาทิเช่นหลวงพ่อปาน โสนันโท วัดบางนมโค, หลวงพ่อจง พุทธสโร วัดหน้าต่างนอก, พระอาจารย์เล็ก เกสร วัดบางนมโค, พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน, พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า, หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ, หลวงพ่อเนียม วัดน้อย, หลวงพ่อโหน่ง วัดอัมพวัน (วัดคลองมะดัน) และ หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ พ.ศ. 2483 อายุ 24 ปี เข้ามาจำพรรษาที่วัดช่างเหล็ก อำเภอตลิ่งชัน ธนบุรี เพื่อเรียน บาลีจากนั้นย้ายมาอยู่ที่วัดอนงคารามในช่วงออกพรรษาในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์(นวม) อยู่วัดช่างเหล็กในช่วงเข้าพรรษา ระหว่างนี้ได้ศึกษาเพิ่มเติมกรรมฐานกับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำภาษีเจริญ และพบพระสุปฏิปันโนอีกมาก เช่น สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) เป็นต้น พ.ศ. 2486 อายุ 27 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 3 ประโยค เปลี่ยนชื่อเป็น "พระมหาวีระ" เพื่อไม่ให้คล้ายกับ พระมหาสำเนียง ที่อยู่วัดช่างเหล็ก ที่เดียวกัน พ.ศ. 2488 อายุ 29 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 4 ประโยค ย้ายมาอยู่วัดประยูรวงศาวาส ได้เป็นรองเจ้าคณะ 4 วัดประยูรวงศาวาส และฝึกหัดการเป็นนักเทศน์ พ.ศ. 2492 อายุ 33 ปี จำพรรษาที่วัดลาวทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2494 อายุ 35 ปี จึงกลับไปอยู่วัดบางนมโคจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเจ้าอาวาสวัดบางนมโค พ.ศ. 2500 อายุ 41 ปี อาพาธหนักเข้าโรงพยาบาลกรมแพทย์ทหารเรือ พ.ศ. 2502 อายุ 43 ปี พักฟื้นที่วัดชิโนรสาราม จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ จากนั้นจึงได้ย้ายไปอยู่วัดโพธิ์ภาวนาราม อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ซึ่งขณะนั้นยังเป็นสำนักสงฆ์ ได้ลูกศิษย์รุ่นแรก 6 คน พ.ศ. 2505 อายุ 46 ปี ไปจำพรรษาที่วัดพรวน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เป็นเวลา 1 พรรษา พ.ศ. 2506 อายุ 47 ปี กลับมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ภาวนาราม พอกลางเดือนมิถุนายน ก็ได้ลาพุทธภูมิ พ.ศ. 2508 อายุ 49 ปี จำพรรษาที่ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท แล้วเริ่มไป - กลับวัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เพื่อสอนพระกรรมฐาน พ.ศ. 2510 อายุ 51 ปี ได้สอนวิชามโนมยิทธิ แล้วจึงจำพรรษาที่วัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2511 อายุ 52 ปี ในวันที่ 11 มีนาคม จึงมาอยู่วัดจันทาราม (ท่าซุง) ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ได้ทำบูรณะ สร้างและขยายวัด จากเดิมมีพื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน 07 2/10 ตารางวา จนกระทั่งเป็นวัดที่มีบริเวณพื้นที่ประมาณ 289 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา มีอาคารและถาวรวัตถุต่าง ๆ จำนวน 144 รายการในวัด สิ้นค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 611,949,193 บาท สิ่งก่อสร้างทั้งในวัดและนอกวัด อาทิเช่น หอสวดมนต์, พระพุทธรูป, อาคารปฏิบัติกรรมฐาน, ศาลาการเปรียญ, วิหาร 100 เมตร, โบสถ์ใหม่, บูรณะโบสถ์เก่า, ศาลา 2 ไร่, 3 ไร่, 4 ไร่ และ 12 ไร่, หอไตร, โรงพยาบาลศูนย์แม่และเด็ก ชนบทที่ 61, พระจุฬามณี, มณฑปท้าวมหาราชทั้ง 4, พระบรมราชานุสาวรีย์ 6 พระองค์, พระชำระหนี้สงฆ์, โรงไฟฟ้า, โรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา, ศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ เป็นต้น ทั้งยังได้ช่วยการก่อสร้างที่วัดอื่น ๆ ในประเทศไทยอีกมากมาย พ.ศ. 2520 อายุ 61 ปี ตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2526 อายุ 67 ปี สร้างโรงพยาบาลแม่และเด็กชนบทที่ 61 และมอบให้กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2527 อายุ 68 ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชคณะชั้นสามัญเปรียญวิ.(ป.ธ.4 น.ธ.เอก) ที่ "พระสุธรรมยานเถร" พ.ศ. 2528 อายุ 69 ปี สร้างโรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา พ.ศ. 2532 อายุ 73 ปี ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพรราชาคณะชั้นราช ที่ "พระราชพรหมยาน ไพศาลภาวนานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี" พ.ศ. 2535 อายุ 76 ปี ได้อาพาธด้วยโรคปอดบวมอย่างแรง และติดเชื้อในกระแสโลหิต เข้ารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช และมรณภาพที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม 2535 เวลา 16.10 น. ปัจจุบันศพของหลวงพ่อได้บรรจุไว้ในโลงแก้วบนบุษบกทองคำที่ประดับด้วยอัญมณีอันวิจิตรงดงาม ณ วัดจันทาราม ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ตลอดระยะเวลาที่อุปสมบทอยู่ หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้ทำหน้าที่ของพระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ ทางด้านชาติ ได้สร้างโรงพยาบาล, สร้างโรงเรียน, จัดตั้งธนาคารข้าว, ออกเยี่ยมเยียน ทหารหาญของชาติและตำรวจตระเวณชายแดนตามหน่วยต่าง ๆ เพื่อ ปลุกปลอบขวัญและกำลังใจ และ แจกอาหาร, ยา, อุปกรณ์อำนวยความสะดวก และวัตถุมงคลทั่วประเทศ ทางด้านพระศาสนา ได้สั่งสอนพุทธบริษัทศิษยานุศิษย์ให้มุ่งพระนิพพานเป็นหลัก โดยให้ประพฤติปฏิบัติสำรวมกาย, วาจา, ใจ, มุ่งในทาน, ศีล, สมาธิ และปัญญา ทั้งในทางกรรมฐาน 40 และมหาสติปัฏฐานสูตร ได้พิมพ์หนังสือคำสอนจำนวนมากและบันทึกเทปคำสอนกว่า 1,000 ม้วน นอกจากนี้ยังได้แสดงธรรมเทศนาทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เป็นครั้งคราว นอกจากนี้ ยังเดินทางไปสงเคราะห์คณะศิษย์ในต่างจังหวัดและต่างประเทศทุก ๆ ปี ทางด้านวัตถุ ท่านได้ช่วยสร้างพระพุทธรูปและถาวรวัตถุไว้ในพระพุทธศาสนามากกว่า 30 วัด รวมทั้งการบูรณะฟื้นฟูวัดท่าซุงด้วยเงินกว่า 600 ล้านบาท ได้สร้างพระไตรปิฎก และถวายผ้าไตรแก่วัดต่างๆ ปีละไม่ต่ำกว่า 200 ไตร ทางด้านพระมหากษัตริย์ท่านได้สนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชประสงค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งศูนย์ฯ นี้ได้ดำเนินการสงเคราะห์ราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 ทั้งการแจกเสื้อผ้า, อาหาร และยารักษาโรคแก่ราษฎรผู้ยากจน, การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ, การจัดแพทย์เคลื่อนที่ออกรักษาพยาบาลราษฎรผู้เจ็บป่วย, การให้ทุน นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน, การบริจาคทุนทรัพย์ให้แก่มูลนิธิและโรงพยาบาลต่าง ๆ ฯลฯ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยู่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับเป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรสแท้องค์หนึ่ง ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:49:13 คุณวิเศษส่วนองค์และต่อส่วนรวม 1. เป็นผู้ได้บำเพ็ญบารมีมามาก 2. ทรงอภิญญาสมาบัติและปฏิสัมภิทาญาณ 3. ทรงเถรธรรม ประกอบด้วย รัตตัญญู (รู้ราตรีนาน), สีลวา (มีศีล), พหุสสุตะ (ทรงความรู้ได้ฟังมาก), สวาคตะปาฏิโมกขะ (วินิจฉัยพระวินัยได้ดี), อธิกรณสมุปปาทวูปสมกุสละ (ฉลาดในการระงับอธิกรณ์ที่เกิดขึ้น), ธัมมกามะ (ใคร่ในธรรม), สันตุฏฐะ (สันโดษ), ปาสาทิกะ (น่าเลื่อมใส), ฌานลาภี (คล่องในฌาน) และ อนาสวเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ (บรรลุเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ สิ้นอาสวกิเลส 4. รู้แจ้งในไตรภูมิ 5. เป็นที่รักของพระ พรหม เทพยดาและมนุษย์ทั้งปวง 6. สอนคนให้เข้าใจถึงพระนิพพานได้จริง ตามมาตรฐานการปฏิบัติธรรมแห่งพระพุทธศาสนาครบถ้วนทั้ง 4 หมวด อันได้แก่ 6.1) สุกขวิปัสสโก ปฏิบัติธรรมแบบเรียบ ๆ มีมรรคมีผล แต่ไม่มีความรู้พิเศษ 6.2) เตวิชโช หรือเรียกว่า วิชชา 3 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือ ทิพจักขุญาณ รู้ว่าคนเกิดมาจากไหน ตายไปไหน เป็นต้น มีญาณ 8 ประการ 6.3) ฉฬภิญโญ หรือเรียกว่า อภิญญา 6 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือแสดงฤทธิ์ได้ 5 อย่าง หากหมดกิเลสด้วยจะเรียกว่าได้อภิญญา 6 6.4) ปฏิสัมภิทัปปัตโต หรือเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษครอบคลุมทั้ง 3 หมวดแรก ปฏิสัมภิทาญาณนั้นคือ ทรงพระ ไตรปิฎก(แตกฉานในเหตุและผล), รู้ภาษาคนทุกภาษาและภาษาสัตว์ทุกชนิด และคล่องแคล่วในการสอนธรรม (ขยายความให้เข้าใจก็ได้ ย่อความให้เข้าใจก็ได้) คำกล่าวที่จารึกในแผ่นทองซึ่งบรรจุใต้แท่นพระประธาน เมื่อพ.ศ. 2519 ในแผ่นทองได้จารึกไว้ดังนี้ เราพระมหาวีระ มีพระราชานามว่า ภูมิพล เป็นผู้อุปถัมถ์ ร่วมด้วยพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ สร้างวัดนี้เป็นพุทธบูชา เมื่อศักราชล่วงไปแล้ว 2700 ปีปลาย จะมีพระเจ้าธรรมิกราช นามว่า ศิริธรรมราชา สืบเชื้อสายมาจากเชียงแสนและสุโขทัย ร่วมกับพระอรหันต์ จะมาบูรณะวัดนี้ สืบพระศาสนาต่อไป คณะของเราขอโมทนา แต่อยู่ช่วยไม่ได้ เพราะไปพระนิพพานหมดแล้ว อีกทั้งท่านยังได้ตั้งสัตยาธิษฐานฝากลูกหลานของท่านไว้ดังนี้ ฉันขอตั้งสัตยาธิษฐาน อ้างคุณพระศรีรัตนตรัย มีองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พร้อมด้วยพระอริยสงฆ์ทั้งหมดและพระพรหม และเทพเจ้าทั้งหมด ขอทุกท่านจงกำหนดจิต จดจำลูกหลานของฉันไว้ ว่าบุคคลใดก็ตาม เมื่อเวลาจะตายขอให้สติสัมปัชัญญะสมบูรณ์ มีจิตน้อมไปในกุศลกรรม และขอให้ได้รับผลที่ฉันได้ทำไปแล้วทุกประการแก่ลูกหลานของฉันทุกคน เวลานี้ฉันมองดูแล้วนะ ตรวจดูแล้ว สิ่งที่ฉันต้องการมันสมใจนึกแล้ว ฉันมีความอิ่มใจบอกไม่ถูก ปลื้มใจที่ความปรารถนาสมหวัง ที่ฉันตั้งใจไว้นาน ปรารถนาไว้นานคิดว่าจะทำไม่ได้ แต่เวลานี้ทำได้แล้ว ลูกหลานของฉันทุกคน มีศรัทธาเป็นอจลศรัทธาแล้ว มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาแล้ว มีความดีพอสมควรแล้ว อุโบสถหลังใหม่นี้ มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศมาลาของสมเด็จพระ พุทธพรมงคล พระประธานในพระอุโบสถ, เททองหล่อรูปหลวงพ่อปาน และทรงตัดลูกนิมิตด้วย ในช่วงพ.ศ. 2518 - 2520 พระสงฆ์ที่หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้เคยสนทนา หรือเป็นสหาย ได้แก่ 1. พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ท่านเป็นปฐมาจารย์ ผู้สั่งสอนเป็นองค์แรก สอนกรรมฐานทุกตอนจนถึงระดับนิพพาน และพยายามฝึกฝนให้จนมีความเข้าใจในการปฏิบัติกรรมฐานจนมี ความเข้าใจ 2. หลวงพ่อเล็ก เกสโร วัดดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : อาจารย์ที่สองรองจากหลวงพ่อปาน เป็นตัวแทนหลวงพ่อปาน ในการควบคุมดูแลในการปฏิบัติเบื้องต้นท่านอยู่วัดบางนมโค เช่นเดียวกัน 3. พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. หลวงพ่อปั้น วัดพิกุล อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 5. หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 7. พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา :พระอุปัชฌาย์ของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 8. หลวงพ่อเนียม วัดน้อย อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 9. หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี 10. หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 11. พระครูสุวรรณพิทักษ์บรรพต เจ้าคณะ 11 วัดสระเกศ จังหวัดพระนคร 12. สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร จังหวัดกรุงเทพฯ 13. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 14. ท่านเจ้าคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) วัดปากน้ำภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี 15. ท่านเจ้าคุณ พระธรรมปาหังสณาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส ธนบุรี 16. ท่านเจ้าคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 17. พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 18. พระอาจารย์เกษม วัดดาวดึงสาวาส จังหวัดธนบุรี 19. พระอาจารย์ทอง วัดราษฎรสุนทรเจริญ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 20. ท่านอาจารย์สุข (เป็นฆราวาส) ตำบลแพงพวย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 21. พระเทพวิสุทธิเวที (ไสว สุจิตฺโต ป.ธ.6) อดีตเจ้าอาวาสวัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 22. พระราชวิสุทธิเมธี (พระมหาวิจิตร วิจารโณ; พระศรีวิสุทธิโสภณ ในสมัยนั้น) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 23. พระมงคลชัยสิทธิ์ (พระครูวิชาญชัยคุณ ในสมัยนั้น) วัดปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 24. พระวิสุทธาธิบดี วัดไตรมิตร จังหวัดกรุงเทพฯ 25. พระราชอุทัยกวี จังหวัดอุทัยธานี 26. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จันทสิริ) 27. พระครูปิยรัตนาภรณ์ (บุญรัตน์ กันตจาโร) วัดโขงขาว ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 28. หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก วัดไชยมงคล(วัดวังมุย) จังหวัดลำพูน 29. พระครูสุคันธศีล (หลวงปู่คำแสน) วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ 30. หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง(ดอยม่อนเวียง) อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 31. หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ 32. หลวงพ่อทืม(หลวงพ่อบุญทืม พรหมเสโน) วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน 33. พระครูสันติวรญาณ(หลวงพ่อสิม) วัดถ้ำผาปล่อง เชียงดาว 34. พระครูพรหมจักสังวร (พระสุพรหมยานเถระ; ครูบาพรหมจักโก) วัดพระพุทธบาทตากผ้า อำเภอป่าซางจังหวัดลำพูน 35. พระครูภาวนาภิรัตน์ (พระสุธรรมยานเถระ; ครูบาอินทจักรรักษา) วัดวนาราม(วัดน้ำบ่อหลวง) อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 36. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์ (ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน 37. พระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา จังหวัดกรุงเทพฯ 38. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ ป.ธ.9) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร 39. พระครูวรเวทย์วิสิฐ (ครูบาธรรมชัย) วัดทุ่งหลวง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 40. พระภาวนาปัญญาวิสุทธิ์ (อำพัน บุญ - หลง) วัดเทพศิรินทราวาส จังหวัดกรุงเทพฯ 41. หลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 42. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม จังหวัดกรุงเทพฯ ยังคงมีพระสงฆ์อีกมากรูปในชั่วชีวิตของพระราชพรหมยานฯ ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:17 ประสบการณ์ของผู้ที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของหลวงพ่อ ที่ได้รับผลในปัจจุบันนี้ ผู้ถาม : "หลวงพ่อครับ ผมก็คิดเรื่องการเรื่องงานเป็นประจำเลยครับ ทีนี้อยากถามว่ากรรมฐานบทไหนที่ทำให้ค้าขายดีครับ..?" หลวงพ่อ : "อ๋อ... ก็บทค้าขายราคาถูกซิ เขาขายหนึ่งบาท เราขายห้าสิบสตางค์ รับรองพรึบเดียวหมด บทนี้ดีมาก เพราะเมตตาบารมีไงล่ะ" ผู้ถาม : "โอ้โฮ.. ตรงเปี๊ยบเลยหลวงพ่อ.." หลวงพ่อ : "ยังมีอีกนะ ถ้าบทที่สองดีกว่านี้อีก จาคานุสสติ แจกดะเลย" ผู้ถาม : ( หัวเราะ ) "โอ...บทนี้น่ากลัวจนแย่เลย" หลวงพ่อ : "ไอ้เรื่องค้าขายดีมีคาถาตกอยู่บทหนึ่ง" ผู้ถาม : "เดี๋ยวผมขอจดก่อนครับ" หลวงพ่อ : "ไม่ต้องจดหรอก คาถามหาโต๊ะ มหาโต๊ะนี่สมัยนั้นบวชด้วยกัน มีโยมคนหนึ่งแกหาบข้าวแกงมาขาย หาบไปตั้งแต่เช้ากลับมาบ่าย มันก็ไม่หมด วันหนึ่งมหาโต๊ะยืนล้างหน้าอยู่ที่หน้าต่างแกก็บอก "ท่านมหา มีคาถาอะไรดี ๆ ทำน้ำมนต์ให้ทีเถอะจะได้ขายหมดเร็ว ๆ " มหาโต๊ะแกไม่ใช่นักคาถาอาคมกะเขานี่ ก็นึกไม่ออก แต่ไอ้นี่น่าจะดีว่ะ "อนัตตา" แกนึกในใจนะ แกไม่ได้บอก แกก็เอาน้ำล้างหน้าพรม ๆ ยายนั่นแกก็กลับไป พอสาย ๆ แกก็กลับ ปรากฏว่าหมด" ผู้ถาม : "อะไรหมดครับ...?" หลวงพ่อ : "ของหมด ข้าวแกงหมด แต่หม้อยังอยู่ หาบยังอยู่และคนหาบก็ยังอยู่ แหม..นี่ต้องให้อธิบายให้ละเอียดเลยนะ" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"คือสงสัยครับ" หลวงพ่อ : "ก็เป็นอันว่าวันต่อมา โยมคนนั้นแกก็มาหาเรื่อย ๆ แกก็สังเกตมหาโต๊ะ ในที่สุดมหาโต๊ะต้องทำน้ำมนต์ด้วยคาถาบทนี้เอาไว้ที่บูชา แกก็ไปขายหมดทุกวัน ก็แปลกเหมือนกันเพราะจิตตรงใช่ไหม .. อนัตตา นี่เขาแปลว่าสลายตัวไงล่ะ" ผู้ถาม : "ลูกหลานเอาไปใช้ได้ไหมครับหลวงพ่อ..?" หลวงพ่อ : "ปู่ย่าตายายก็ใช้ได้" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"แล้ว คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า ใช้ได้ไหมครับ...?" หลวงพ่อ : "ความจริงคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้าของเขาก็ดี เขาขายของแล้วก็พรมตั้งแต่ตอนเช้า ถ้าตั้งร้านก็พรมหน้าร้านตั้งแต่เช้าตรู่ ตอนล้างหน้านั่นแหล่ะ ทำตอนนั้น เอาน้ำ ล้างเสกด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เสกแล้วพอล้างหน้าเสร็จก็พรม ตอนพรมก็ว่าไปด้วยนะ" ผู้ถาม : "บางคนก็บอกว่า ถ้าว่าคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ ก็จะมีลาภมาก..?" หลวงพ่อ : "มหาปุญโญ เป็นคาถาเสกพระวัดพนัญเชิง เจ้าอาวาสวัดนั้นรูปร่างผอมดำ นั่งเสกด้วยคาถาบทนี้ ๓ ปี ฉะนั้นวัดนั้นจึงมีลาภมาก แล้วต่อมาสมเด็จหรือใครก็ไม่ทราบ ถามว่าเสกด้วยคาถาอะไร ท่านบอกว่า เสกด้วยคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ แล้วท่านก็บอกให้ต่อด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า มีอยู่รายหนึ่งชื่อ นายแจ่ม เปาเล้ง บ้านอยู่อำเภอดำเนินสะดวก แกเป็นคนจน ทำสวนอยู่ที่บางช้าง ปลูกพริกขายเป็นอาชีพ เพราะอาศัยความจนของแก จึงได้เป็นหนี้เป็นสินเขาอยู่ตั้ง ๒ หมื่น ( นี่พูดถึงเงินในสมัยนั้นนะ เดี๋ยวนี้เป็นเงินเท่าไรก็คิดกันดู ) ตาแจ่มจึงมาขอเรียนคาถาพระปัจเจกโพธิ์ เมื่อได้ไปแล้ว วัน ๆ ไม่ได้ทำอะไรนอกจากท่องแต่คาถาอย่างเดียว นั่งทำอยู่ทั้งวันทั้งคืน ข้างฝ่ายลูกเมียของตาแจ่มก็ดีแสนดี ไม่ยอมให้แกทำอะไรเหมือนกัน นอกจากท่องคาถา "คาถาบทนี้ เขาทำแล้วรวยนี่ ต้องให้มันรวยให้ได้" ลูกเมียแกว่าอย่างนั้น ตาแจ่มแกคิดจะเอาอย่าง นายประยงค์ ตั้งตรงจิตร นั่นแหล่ะ? ทีนี้ พอพริกออกดอกออกผลขึ้นมาจริง ๆ ตาแจ่มก็คิดจะขายพริกละ ไอ้พริกของคนอื่นนะ งามสะพรั่งมีพริกเยอะแยะ มองดูหนาทึบ ไปหมด ส่วนพริกของตาแจ่มพิเศษกว่าเขา มียอดหงุก ๆ หงิก ๆ เม็ดก็บางตา มองดูโปร่ง ๆ ดูท่าทางแล้วเห็นจะขายได้ไม่กี่สตางค์ อีตอนเก็บนี่ซิ คนอื่นเก็บพริกได้กองใหญ่เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้กองโตเท่านั้น เห็นพริกบาง ๆ ยอดหงุกหงิก ๆ นั่นแหล่ะ เขาเก็บได้เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้เท่านั้น มาถึงตอนขาย เจ๊กชั่งของคนอื่นได้ ๑ หาบ พอมาของตาแจ่มกลับเป็น ๒ หาบ ทั้ง ๆ ที่กองก็โตเท่ากัน เจ๊กหาว่าตาแจ่มโกง คิดว่าเอาทราบใส่เข้าไปในกองพริกเป็นการถ่วงน้ำหนักเลยเอะอะโวยวายใหญ่ ปรากฏว่าเม็ดดินเม็ดทรายที่เจ๊กว่า นั้นหาไม่ได้เลย เล่นเอาเจ๊กแปลกใจ แต่ก็ต้องซื้อไปตามนั้น พริกของคนอื่นเขาเก็บกัน ๒ - ๓ ครั้ง ก็หมดแล้วครั้งแรกมาก ครั้งที่สองได้มากหน่อย พอครั้งที่สาม เก็บได้อีกเพียงเล็กน้อยเป็นอันว่าหมดกัน ต้องถอนต้นพริกทิ้งแล้วปลูกกันใหม่ ส่วนพริกของตาแจ่มไม่เป็นอย่างนั้น ต้องลงมือเก็บกัน ๖ ครั้งถึงได้หมด พริกที่ได้แต่ละครั้งก็มีปริมาณเท่า ๆ กัน นี่ไอ้พริกใบหงุกหงิก ๆ นั้นแหละ เก็บกันซะ ๖ คราว ผลที่สุด พริกของตาแจ่มก็กลายเป็นของอัศจรรย์ แถมเจ๊กยังตีราคาให้สูงกว่า พริกของคนอื่นเสียอีก เพราะว่า "เมื่อส่งไปแล้วเป็นพริกที่มีค่า ทางโน้นเขาให้ราคาสูง" ปีนั้นจึงใช้หนี้สองหมื่นหลุดหมด แถมยังมีเงินเหลืออีกตั้งสองหมื่น" ( นี่เห็นไหม... ถ้าหากว่า ท่านภาวนาคาถาบทนี้อยู่เสมอ ท่านอาจจะรวยกว่านายแจ่มก็ได้นะ ) ต่อมามีผู้นำคาถา อนัตตา ไปปฏิบัติหลังจากที่หลวงพ่อแนะนำไปแล้ว เขาผู้นั้นได้เข้ามารายงานกับหลวงพ่อว่า "หลวงพ่อครับ อนัตตา แจ๋วเลยครับ อัศจรรย์มาก ตอนบ่ายวันนี้ฟลุ๊คมาก ของที่ผมขายฝรั่งซื้อคนเดียว ๑,๖๐๐ บาท ไม่เคยมีปรากฏเลยครับ"" "อาจารย์ทำยังไงล่ะ.. อาจารย์ใช้แบบไหน จึงมีผลตามลำดับ... จะได้แจกจ่ายคนอื่นเขาบ้าง" ผู้ถาม : "อันดับแรกตักน้ำใส่แก้ว แล้วนำไปไว้หน้าพระพุทธรูปที่โต๊ะหมู่บูชา แล้วชุมนุมเทวดาไหว้พระบูชาพระตามหลวงพ่อกล่าวนำ มีมนต์อะไรก็สวดไป ของผมสวดยาวหน่อย เมื่อสวดเสร็จแล้ว ก็อาราธนาบารมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์ทั้งหลาย พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย แล้วก็มาหลวงปู่ปาน แล้วมาหลวงพ่อ เสร็จแล้วเช้าตื่นมาก็กราบแก้วน้ำ ๕ ครั้ง แล้วก็เอามาที่ห้องน้ำ แบ่งครึ่ง ครึ่งหนึ่งใส่ขันสำหรับล้างหน้า ก่อนจะแบ่งก็ตั้งจิตให้ดี ว่านะโม ๓ จบ แล้วก็ว่าคาถานี้อีกครั้งหนึ่ง เท่าที่ใช้ก็ใช้คาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เม ฯ แล้วก็มาว่า คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เมื่อว่าเสร็จแล้วก็บอก "อนัตตา ขายเกลี้ยง" อีกครึ่งหนึ่งเราแบ่งมาแล้วก็ว่า คาถาวิระทะโย ไป แล้วก็พรมตู้อะไรต่าง ๆ แล้วก็ลงท้าย "อนัตตา ขายเกลี้ยง ๆ ๆ" แม้แต่หน้าร้านก็พรมออกไปเลย ถ้าใครเดินมาถูกน้ำมนต์ปุ๊บอยู่ไม่ได้ ต้องมาซื้อ อันนี้ได้ผลดีครับ" หลวงพ่อ : "อ้าว.. จำได้ไหมล่ะ อันนี้ก็ดีมีประโยชน์นะ ควรจะนำไปใช้ทุก ๆ คนนะ ฉันบอกให้อาจารย์เขาไปทำ ท่านทำแล้วผลมันเกิดขึ้นทุกวัน" ผู้ถาม : "แล้วถ้าฟลุ๊คอะไรเป็นพิเศษละก้อ เวลาจุดธูปเทียนหรือพรมน้ำมนต์ มันจะมีขนลุกซู่ซ่า ถ้าซู่มากละ มาแน่" หลวงพ่อ : "อ้อ..กำลังปีติสูง ใช่ เพราะซู่ซ่านี่เจ้าของมาแสดงให้ปรากฏ ถ้านึกถึงท่านจริง ท่านเข้ามาช่วยจริงก็ถือว่าเป็นอาการของปีติ เมื่อสัมผัสแล้วทางจิตใจก็เกิดปีติ ความอิ่มใจเกิดขึ้น ขนลุกซู่ซ่ามาก การแสดงออกตามอาจารย์พูดน่ะถูก ถ้าหากว่าสัมผัสน้อยก็มีผลน้อยหน่อย แต่ก็ดีกว่าปกติ สัมผัสมากก็มีผลมากหน่อย ปัจจุบันทันด่วน อันนี้ถูกต้อง ถ้าทำขึ้น หนักจริง ๆ นะ ถ้าขายของเป็นน้ำหนัก น้ำหนักจะสูงขึ้น แล้วก็ไม่สูงแต่ของเรา เอาไปขายคนอื่นต่อก็สูง นี่เขาทำมาแล้วนะ คนที่ไทรย้อยแกขายข้าว ไปซื้อข้าวมาวันนี้ พรุ่งนี้จะเอาไปขึ้นโรงสี แกก็พรมน้ำมนต์ก่อน พอถึงบ้านก็พรมน้ำมนต์หน่อย พอขึ้นโรงสีปรากฏว่าน้ำหนักสูง ถ้าหากว่าของที่เก็บไว้ในปี๊บในถงในอะไรก็ตาม จะมีปริมาณสูง เมื่อก่อนหลวงพ่อปานท่านบอก เอาข้าวใส่ยุ้งฉางให้เรียบร้อย ตวงให้ดี แล้วนับให้ดี ทำมาจนกว่าจะถึงฤดูออกมาใช้มาขาย แล้วตวง มันจะมากทุกคราว จำเอาไว้นะ ถ้าปฏิบัติ ทุกคนจะไม่จน ฉันอยากให้ทุกคนรวย ฉันจะได้รวยด้วย พระแช่งให้ชาวบ้านจนก็ซวย พระไม่มีกินน่ะซิ" ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:46 คาถาเงินล้าน ตั้ง นะโม ๓ จบ สัมปจิตฉามิ คาถาสนองกลับ นาสังสิโม คาถาพระพุทธกัสสป บทแรก "พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ" อันนี้ตัดอุปสรรคที่ลาภจะมาแต่เขามาบอก ว่ามีผลแน่นอน คือว่า แกจะไม่ยอมให้ลูกแกจน พูดง่าย ๆ ก็แล้วกัน พระพุทธเจ้า ก็ทรงยืนยันบอกว่า ให้ หมด บทที่สอง "พรมหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุเม" คาถาบทนี้เป็นคาถาเงินแสนของท่าน บทที่สาม "มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม" บทนี้เป็นคาถาปลุกพระวัดพนัญเชิง บทที่สี่ "มิเตพาหุหะติ" เป็นคาถาเงินล้าน บทที่ห้า "พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มามีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม" เป็นคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า บทที่หก "สัมปติฉามิ" บทนี้เป็นบทเร่งรัดบทสุดท้าย บทที่เจ็ด "เพ็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤา ๆ" พระปัจเจกพุทธเจ้า มาบอกหลวงพ่อเมื่อ พ.ย. 33 เป็นภาษาโบ ราณ แต่เทียบกับภาษาไทยอ่านได้อย่างนี้ เป็นคาถามหาลาภ มีผลยิ่งใหญ่มาก ทั้งหมดนี้ต้องสวดเป็นบท เดียวกัน บูชาเรื่อย ๆ ไป การบูชาถ้าบูชาเฉย ๆ มันเป็นเบี้ยต่อไส้ คาถา ว่า 9 จบ หลวงพ่อบอกว่า ถ้าว่า 9 จบเป็นเบี้ยต่อไส้ จะว่ามากกว่านั้นก็ได้ แต่ถ้าท่องจนเป็นสมาธิหรือได้ญาณจะได้ผลดีมาก อย่าลืมถ้าอยากจะให้ได้ผลต้องท่องจนเป็นสมาธิและใส่บาตรทุกวัน ถ้าไม่ว่างก็ใส่บาตร วิระทะโย ที่วัดแจก แล้วถ้าว่างจะนําไปถวายก็สุดแล้วแต่ท่านหรือสิ้นเดือนก็นําไปถวายที่บ้านสายลมก็ได้ อันนึ้ลูกศิษย์หลวงพ่อที่เคยปฏิบัติจนสําเร็จกล่าวให้ผู้เขียนฟังนานแล้ว ความสามารถหลวงพ่อในวัยเด็ก บันทึกโดยคุณปรุง ตุงคะเศรณี คืนวันที่ 16 ธันวาคม 2526 ก่อนเวลานั่งกรรมฐานหลวงพ่อท่านไม่ได้ลงสอน และท่านได้คุยกับเราเรื่องเมื่อตอนเด็กๆอยู่ที่ โรงเรียน 1พระเดขพระคุณหลวงพ่อชอบเล่นกีฬา ฟุตบอลและสามารถเตะจากประตูที่ยืนโด่งเข้าไปประตูตรงกันข้ามได้(โหสุดยอด)และหัดอยู่ไม่นานก่อนที่จะสามารถเตะได้เช่นนี้ท่านเตะกับเพื่อนอีกหนึ่งคนผลัดกันเตะโดยอยู่คนละด้านตรงหน้าประตูและเพื่อนก็สามารถเตะเข้าประตูตรงที่ท่านยืนอยู่ได้ 2. ท่านเคยลงแข่งขันเป็นนายประตู และเตะแบบข้อหนึ่ง เตะเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามคือเพื่อนที่ซ้อมเตะมาด้วยกันนั้นก็สามารถเตะเข้าประตูที่ท่านรักษาได้เหมือนกัน เมื่อลงเล่นเตะได้ประตูเช่นนี้คนละครั้งกรรมการเลยให้ท่านและเพื่อนออกไปนอกสนามเพราะไม่อยากให้เล่นต่อ 3. ท่านชอบมวยไทย เคยหัดเตะต้นกล้วยที่ตัดยอดและโคนออกแล้ว เอามาตั้งปักไว้และเตะทั้งซ้ายและขวา ต้นกล้วยไม่ล้มท่านบอกว่าครั้งแรกต้นกล้วยไม่ล้มแต่ตัวเราล้ม 4. ท่านอบเล่นปามีด สามารถปามีดปาดโคนหรือเครือกล้วยได้ทั้งเครือ ให้ขาดตกลงมารับได้สบาย ท่านเล่าว่าหัดปาเพียงวันเดียวเท่านั้นเข้าใจว่าเป็นของเก่าตามมาท่านพกมีดปา 5 เล่ม ที่พุงตามขอบกางเกงที่พุง เคยมีนักเลง 5 คนจะรุมทำร้ายท่านพระเดชพระคุณหลวงพ่อเป็นนักเลงต่างถิ่น ท่านแสดงปามีดปักผลกล้วยให้ดูและก็บอกว่าแค่นี้ปานัยน์ตาไม่พลาด พวกนักเลงต่างถิ่นรีบหนีไปหมดเลย(ผู้เขียนเคยได้ยินท่านเล่าเหมือนกันท่านสามารถใช้มีดปามะม่วงให้ตกลงมาได้โดยให้ชี้ว่าต้องการลูกไหน) 5. หัดว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าราชวรดิฐหัดว่ายไปอยู่จนสามารถว่ายไปกลับข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 20 เที่ยวอย่างแบบสบายๆ ที่มา เวปแดนพระนิพพานและหนังสือตามรอยพระพุทธบาทเล่ม 4 ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:51:17 ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว พระธรรมเทศนาจากหลวงพ่อพระราชพรหมยาน ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว ให้เรานึกถึงพระพุทธเจ้าที่เป็นรูปใหญ่ ให้ใหญ่พอที่เราจะเข้าไปอยู่ในพระองค์ได้ นึกถึงพระองค์ในปางไหนก็ได้ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาเบา ๆ ช้า ๆ ไม่ต้องรีบ หายใจเข้าลึก ๆ ใหม่ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ ทำใจแบบสบาย ๆ แล้วตั้งจิตอธิษฐาน ลูกขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา มาประทับอยู่บนศรีษะของลูก ขอเมตตาปกป้องภยันอันตรายต่าง ๆ ควบคุมความคิดควบคุมระบบร่างกายทั้งหมดด้วยเทอญ ขอพระองค์มาพร้อมพลังแสงของพระองค์ แสงแห่งบุญบารมี ลูกขออาราธนา อัญเชิญองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระพุทธปฐมบรมธรรมบิดา ประทับเต็มใบหน้าและลำตัวของลูก ขอให้ขันธ์ 5 นี้ได้รับบุญบารมีจากพลังแสงของพระองค์ มีฤิทธิ์อำนาจดุจพลังแสงของพระองค์ ลูก ขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระกะกุสันโธประทับที่ตาข้างขวา พระโกนาคมประทับที่ตาข้างซ้าย พระพุทธสิกขีทศพลประทับที่ดวงตาที่สาม ขอให้ดวงตาทั้งสามดวงนี้ได้เห็นถึงความจริงของทั้งสามโลก รู้เท่าทันกับทุกสิ่งทุกอย่าง มองเห็นในสิ่งที่สามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ ด้วยฤทธิ์อำนาจของพระองค์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธเจ้าพระพุทธกัสสะปะประทับที่ปากของลูก ขอเมตตาให้ลูกเจรจาพาทีด้วยธรรมะบริสุทธิ์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธสมณโคดมบรมอาจารย์ประทับในสมอง ขอลูกเป็นปราชญ์ทั้งทางโลกและทางธรรม ขอพระองค์เป็นอาจารย์สอนลูก ประทับที่อกขอปิดประตูแห่งการเวียนว่ายตายเกิดทุก ๆ ชาติ ลูกปรารถนาจะไปนิพพานในชาตินี้ ประทับที่หัวใจ ขอให้ลูกเต็มไปด้วยพรหมวิหาร 4 ประทับที่ปอด ขอให้ลูกมีขันธ์ 5 ที่แข็งแรงเพื่อทำงานรับใช้พระศาสนาด้วยเถิด ลูกขออโหสิกรรมขอขมาลา โทษแด่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย คุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ ครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ เจ้ากรรมนายเวรทุก ๆ ชาติ ที่ลูกได้ทำผิดพลาดพลั้งไป ด้วยกายวาจาใจ โดยรู้เท่าถึงกาลก็ดี รู้เท่าไม่ถึงกาลก็ดี เจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ขอได้โปรดอโหสิกรรมให้แก่ลูกผู้มีความรู้น้อยด้อยปัญญานี้ด้วยเถิด ข้าแต่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา ลูกนี้เป็นผู้มีบุญน้อยไร้ซึ่งวาสนาแต่ลูกขอตั้งจิตอธิษฐานว่า ลูกไม่ปรารถนาจะเกิดเป็นคนเทวดาพรหมอีกต่อไป ลูกปรารถนาจะนิพพานทันใดในชาตินี้ ขอติดตามองค์พระพิชิตมารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอได้โปรดประทานพลังแสงทิพย์อริยธรรมรวมกับแสงฉัพพรรณรังสีพลังแสงบุญบารมี จากพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ จากคุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ คุณครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ พุ่งเข้ามาที่ดวงจิตของลูก ขอให้ช่วยลบล้างซึ่งกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรม บาปกรรมเวรกรรมที่ลูกมี ขอได้โปรดให้ลูกมีบุญเพียงพอที่จะลบล้างสิ่งเหล่านี้ให้หมดสิ้น พร้อม กันนั้นลูกขอกราบอนุโมทนาสาธุในบุญบารมีขององค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสี บรมธรรมบิดา ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย พระอรหันต์ทุก ๆ พระองค์ พระอริยสัตว์ทุก ๆ พระองค์ พี่น้องของลูกทั้งสามโลกที่ได้ทำคุณงามความดีตลอดเวลา ลูกขออนุโมทนาบารมีความดีของทุก ๆ ดวงจิต ของทุก ๆ ท่าน ไปกับพลังแสงทิพย์อริยธรรม รวมกับแสงฉัพพรรณรังสี รวมกับบารมีของพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ ลูกเอ๋ย…จงลองพิจารณาดวงตาของเจ้าเถิด ดวงตาของเจ้านั้นชอบมองในสิ่งใดกัน ? จงพิจารณาจากปากของเจ้าเถิด เจ้าชอบใช้ปากในเรื่องอะไรกัน ? จงพิจารณาจากหูของเจ้าเถิด เจ้าชอบนำหูของเจ้าไปใช้ฟังเรื่องอะไรกัน ? จมูกเจ้าชอบไว้ใช้ทำอะไร ? มือทั้งสองข้าง เท้าทั้งสองเจ้าไว้ใช้ทำอะไร ? บุคคล ผู้ใดชอบใช้สายตาของตัวเองในสิ่งที่อยากมองและเลือกมองนั้น บุคคลผู้นั้นย่อมไม่ฉลาด แต่บุคคลผู้ใดมองทุกสิ่งทุกอย่างอย่างละเอียดถี่ถ้วนพร้อมพิจารณา บุคคลผู้นั้นชื่อว่าเป็นปราชญ์ บุคคลผู้ใดชอบใช้หูในการฟังคำชม มากกว่าคำติชม บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนไม่ทันโลก บุคคลผู้ใดใช้หูในการพิจารณาในทุกเรื่องราว บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นผู้รู้เท่าทันในสิ่งสมมุติทั้งหมด บุคคล ผู้ใดใช้จมูกในการสูดดมกลิ่นที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนพิการทางจมูก แต่หากบุคคลผู้ใดพิจารณาถึงทุกกลิ่น บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนมีปัญญา บุคคลผู้ใดใช้ปากในการติฉินนินทา บุคคลผู้นั้นเป็นบ่าว บุคคลผู้ใดใช้ปากในการอวยพรให้กำลังใจคน บุคคลผู้นั้นคือพระ บุคคล ผู้ใดชอบใช้มือในการรับ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่า ขอทาน รับเพียงอย่างเดียวไม่คิดให้ตอบ แต่บุคคลผู้ใดรักในการให้ ให้ด้วยความเมตตาสงสารกรุณา บุคคลผู้นั้นคือกษัตริย์ บุคคลผู้ใด ใช้เท้าในการเดินไปหาในสิ่งที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นเดินเข้าสู่อบายภูมิ แต่บุคคลผู้ใดใช้เท้าในการโปรดเวไนย์สัตว์ บุคคลผู้นั้นคือพระอรหันต์ ลูกเป็นเช่นไร ? จงพิจารณาเถิด นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก ทำไมดวงตามีหลายสี ? ผมมีหลากสี ? ผิวมีหลากสี ? กลิ่นมีหลากแบบ ? หน้าตามีหลากหลาย ? เป็นเพราะอะไร ? ก็ เป็นเพราะที่มนุษย์ชอบกันนักหนาในการแบ่งแยกแบ่งชนชั้นกันไม่ใช่หรือ ? แล้วยังจะสงสัยในสิ่งที่มีหลากหลายทำไม ตัวเจ้าเองก็ยังชอบในการแบ่งแยกเลย แต่เมื่อมองในสิ่งที่ลูกทั้งหลายมองไม่เห็น ลูกก็จะรู้ว่าพระวิสุทธิบรมธรรมบิดามิได้แบ่งแยก นั่นก็คือจิตที่เป็นพุทธะประภัสสรของลูกเอง ไร้ซึ่งการแบ่งแยก ไร้ซึ่งพรหมแดน แต่เมื่อเจ้าแบ่งแยก จึงเกิดหลากหลายสีสัน หลากหลายชนชั้น หลากหลายวรรณะ แล้วจะสงสัยกันทำไมลูก ได้รับคำตอบแล้วจงคิดพิจารณาตามเถิด ทำไม มนุษย์จึงมีหลากหลายคำถามหลากหลายความไม่เข้าใจ ? ก็เพราะสิ่งนี้เจ้าสร้างมันขึ้นมาเอง เพราะเจ้าสร้างขึ้นมาเป็นเกราะ เกราะนี้จึงเป็นเหตุให้เจ้าไม่สามารถทะลุออกมาเพื่อเจอความจริง จงให้อดีตเป็นอาจารย์ในการสอนเจ้า จงให้ปัจจุบันเป็นพระพุทธเจ้าที่เจ้าควรทำตามแบบอย่าง จงให้อนาคตเป็นพระธรรมคำสอนที่เจ้าควรเดินตาม อย่า กังวลคิดมากไป เหตุใดเราทำดีแล้วจึงมิได้ดี อย่าได้แปลกใจเลยลูก จงให้อนาคตเป็นเครื่องพิสูจน์ แล้วทำปัจจุบันให้ดีที่สุด ผลกรรมดีตอบสนองเจ้าอย่างแน่นอน ความเสียสละคืออะไรลูก ? จงคิดพิจารณาเถิด แล้วความเสียสละตั้งอยู่บนพื้นฐานของอะไร ? จงใช้การพิจารณาและไตร่ตรอง แล้วอะไรกันที่มนุษย์ปรารถนา แล้วเจ้าจะให้อะไรแก่มนุษย์เหล่านั้นได้บ้าง ? จงมองดูสิ่งที่ใกล้ตัว จงมองดูสิ่งที่ห่างตัว แล้วลูกจะได้รับคำตอบ http://www.sangthipnipparn.com http://www.buddha-dhamma.com

พระราชพรหมยานเถระสนทนาธรรมหลวงพ่อฤาษีฯเป็นใคร มีความสำคัญแค่ไหนเพียงไร? from Facebook Nooboonsawan Siriharksopon and นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง -------------------------------------------------------------------------------- Nooboonsawan Siriharksopon shared BuddhaSattha's photo. ซาบซึ้งในพระคุณของหลวงพ่อ นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. ใครมีอะไรดีๆที่เกี่ยวข้องกับหลวงพ่อฤาษีฯของพวกเราลูกหลาน ขอได้โปรดนำมาลงเพิ่มเติมเป็นธรรมทานด้วยครับ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ตามรอย หลวงพ่อพระราชพรหมยาน "วิสุทธิเทพแห่งวัดท่าซุง" หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) วัดท่าซุง ธรรมโอวาท "พระพุทธเจ้าบอกอย่าสนใจกายภายใน ในร่างกายเราเอง อย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น อย่าสนใจวัตถุธาตุใดๆ เพราะสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มีสภาพไม่เที่ยงและเป็นอนัตตาในที่สุด" ปัจฉิมโอวาท "ลูกเอ้ย... นี่เป็นธรรมดาของร่างกาย มีเกิด มีแก่ มีเจ็บ มีตาย เป็นธรรมดา สังขารมันเป็น อนิจจัง ไม่เที่ยงหรอก ทุกขัง ตอนอยู่ มันเป็นทุกข์ แต่ผลที่สุด มันก็ อนัตตา สลายไป มีแค่นี้ อย่ามายึดติดสังขารพ่อเลย" ขอแจ้งให้ทราบว่าทุกคนที่ต้องการเป็นศิษย์ ไม่ต้องขออนุญาต ขอให้ปฏิบัติตามนี้ อยู่ที่ไหนไม่เคยเห็นหน้ากันเลยก็รับเป็นศิษย์ คือ ๑.ศิษย์ชั้น ๓ พยายามรักษาศีล ๕ ได้เสมอ อาจจะขาดตกบกพร่องบ้าง แต่ก็พยายามรักษาให้ครบถ้วนมากที่สุดที่จะทำได้ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์ชั้น ๓ คือศิษย์ขนาดจิ๋ว ๒.ศิษย์รุ่นกลาง มีปฏิปทาดังนี้ มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ พยายามรักษาอารมณ์ให้ทรงสมาธิเสมอตามสมควร ไม่ละเมิดศีลเป็นปกติ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์รุ่นกลาง ๓.ศิษย์เอก มีปฏิปทาดังนี้ (ก)รักษาศีล ๕ ครบถ้วนเป็นปกติ (ข)เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ไม่สงสัยในความดีของท่าน มีอารมณ์ตั้งมั่นว่า ถ้าตายไปจากคนชาตินี้ ขอไปนิพพานจุดเดียว พยายามละความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นปกติ ถ้าปฏิบัติได้ตามที่กล่าวมานี้ มาพบหรือไม่มา ขออนุญาตเป็นศิษย์ หรือไม่ขออนุญาตก็ตาม ให้ทราบว่าอาตมารับเป็นศิษย์แล้วด้วยความเต็มใจ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) ประวัติพระราชพรหมญาณ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) หรือ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จังหวัดอุทัยธานี ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ ผู้เป็นที่เคารพนับถือของศานุศิษย์ผู้ปฏิบัติธรรม ในแนวทางแห่งมโนมยิทธิ ท่านเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อปาน โสนนฺโท วัดบางนมโค ตลอดชีวิตของท่าน ท่านได้บำเพ็ญกิจแห่งพระสงฆ์ได้สมบูรณ์พร้อมทุกประการ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยูู่่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์ เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับ เป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรส แท้องค์หนึ่ง พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ เมื่อเอ่ยถึงหลวงพ่อพระราชพรหมยาน อาจจะไม่มีใครทราบแต่เมื่อเอ่ยนาม "หลวงพ่อฤาษีลิงดํา" ผมเชื่อว่าท่านผู้อ่านนับเรือนแสนหรือนับล้านต้องรู้จักแน่ หลวงพ่อท่านเป็นพระพิเศษกล่าวคือ มีความสามารถคลุมหมด คลุมสุกขวิปัสสโกด้วยเอาไว้ในตัว เอาวิชชาสามเข้าไว้ด้วย แล้วเอาอภิญญาหกเข้าไว้ด้วย แล้วก็ฉลาดมาก คือว่า ฉลาดในธรรมะขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกอย่าง หรือที่เรียกว่า "ปฏิสัมภิทาญาณ" นอกจากนั้นหลวงพ่อยังเป็นพระผู้ทรงอภิญญาใหญ่ และที่เป็นที่กล่าวขวัญในลูกศิษย์คือ "อารมณ์จิตหลวงพ่อเร็วมาก" สามารถแปรอรรถธรรมจากยากเป็นง่ายได้อย่างพิสดาร ซึ่งแม้แต่พระอริยะเจ้าผู้มีพรรษาอาวสุโสที่สุดในสายกรรมฐานหลวงปู่มั่น คือ "พระผู้อยู่ในดวงใจนับศัตวรรรษ" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ได้เคยกล่าวว่า ให้ลูกศิษย์ไปหาอาจารย์ใหญ่ที่วัดท่าซุง หลวงพ่อท่านยังได้รับคํายกย่องจากหลวงปู่คําแสนว่า "ในกึ่งพุทธกาลไม่มีใครเกินหลวงพ่อ" นั้นย่อมเป็นเหตุเป็นผลว่า "พระระดับนึ้หาไม่ได้อีกแล้ว " ในนามคณะศิษย์ขออนุโมทนาทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการตามรอยและผู้อ่านทุกท่านจงมีแต่ความสุขความเจริญ ขอให้คําว่า ไม่มีจงอย่าปรากฏตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน คณะศิษยานุศิษย์ 2 กุมภาพันธ์ 2552 ชีวประวัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) แห่งวัดท่าซุง หลวงพ่อพระราชพรหมยาน เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ได้ปฏิบัติข้อวัตรปฏิบัติจากหลวงพ่อปาน นอกจากนั้นหลวงพ่อท่านยังเชี่ยวชาญในด้านพระกรรมฐานทั้ง 40 กองในวิสุทธิมรรคและมหาสติปัฏฐาน 4 ท่านยังได้นํามาถ่ายทอดให้ศิษยานุศิษย์ได้ศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ ตามพระธรรมคําสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลวงพ่อท่านยังเป็นพระที่มักน้อย สันโดษและสร้างสาธารณะประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและชาติบ้านเมืองเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงควรนําประวัติของท่านมาลงเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:48:35 ชาติภูมิ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร ) เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ตรงกับวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีมะโรง ที่ตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี บิดาชื่อ นายควง สังข์สุวรรณ มารดาชื่อ นางสมบุญ สังข์สุวรรณ ท่านเป็นบุตรคนที่ 3 จากพี่น้องร่วมบิดามารดาจำนวน 5 คน ดังนี้ นายวงษ์ สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2453 ปีจอ ถึงแก่กรรมเมื่อ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 นางสำเภา ยาหอมทอง(สังข์สุวรรณ) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2457 ปีขาล พระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร(สังข์สุวรรณ)) พระครูพิศาลวุฒิธรรม (พระมหาเวก อักกวังโส(สังข์สุวรรณ)) เดิมชื่อ หวั่น เกิดปีพ.ศ. 2463 ปีวอก วัดดาวดึงษาราม กรุงเทพมหานคร ด.ญ. อุบล สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2468 ปีฉลู ถึงแก่กรรมตั้งแต่อายุ 4 ขวบ เดิมชื่อ พัว บิดาเป็นหัวหน้าหาเลี้ยงครอบครัวโดยเป็นเจ้าของนาอยู่ 40 กว่าไร่ ทำนาได้ข้าวปีละ 9 - 10 เกวียน สมัยนั้นราคาข้าวเกวียนละ 20 - 25 บาท บิดาจึงมีอาชีพหลัก คือ ทำนาและหาปลา มารดาเป็นคนใจบุญสุนทาน ขณะจะตั้งครรภ์ นอนฝัน เห็นพรหมมีสีเหลืองเป็นทองคำเหมือนพระพุทธรูป นอนลอยไปในอากาศ มีเพชรประดับแพรวพราวทั้งตัว เข้าทางหัวจั่วด้านทิศเหนือ เข้ามานั่งที่ตักท่าน มารดาก็กอดไว้ แล้วก็หายเข้าไปในกาย เมื่อเกิดมาใหม่ ๆ ลุงที่บวชเป็นพระได้ฌานสมาบัติ (หลวงพ่อเล็ก เกสโร) ท่านบอกว่า เจ้าเด็กคนนี้มาจากพรหม ดังนั้นจึงให้ชื่อว่า "พรหม" และต่อมาภายหลัง คนที่จดสำมะโนครัวเขามาเปลี่ยนชื่อให้เป็น "สังเวียน" เนื่องจากท่านเป็นคนใจกล้า ไม่กลัวใคร ท่านยายกับชาวบ้านเรียกว่า "เล็ก" ส่วนท่านมารดาและพี่ ๆ น้อง ๆ เรียกว่า "พ่อกลาง" พ.ศ. 2466 อายุ 7 ขวบ เข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนประชาบาลวัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนจบชั้นประถมปีที่ 3 พ.ศ. 2474 อายุ 15 ปี อาศัยกับท่านยายที่บ้านหน้าวัดเรไร อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี ได้ศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณ พ.ศ. 2478 อายุ 19 ปี เข้าทำงานเป็นเภสัชกรทหาร สังกัดกรมการแพทย์ทหารเรือ (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า) พ.ศ. 2479 อายุ 20 ปี อุปสมบทเป็นภิกษุเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 เวลา 13.00 นาฬิกา ที่วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีพระครูรัตนาภิรมย์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระอาจารย์เล็ก เกสโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ คำสั่งพระอุปัชฌาย์ ขณะเข้าบวช หลวงพ่อปาน ท่านบอกท่านอุปัชฌาย์ว่า เจ้านี่หัวแข็งมาก ต้องเสกด้วยตะพดหนักหน่อย ท่านอุปัชฌาย์ท่านเป็นพระทรงธรรมเหมือนหลวงพ่อ(ปาน) หลวงพ่อเล็กก็เหมือนกัน ท่านอุปัชฌาย์ท่านยิ้มแล้วท่านพูดว่า "3 องค์นี้ไม่สึก อีกองค์ต้องสึกเพราะมีลูก เมื่อจะสึกไม่ต้องเสียดายนะลูก เกษียณแล้วบวชใหม่มีผลสมบูรณ์เหมือนกัน 2 องค์นี้พอครบ 10 พรรษาต้องเข้าป่า เมื่อเข้าป่าแล้วห้ามออกมายุ่งกับชาวบ้านจนกว่าจะตาย จะพาพระและชาวบ้านที่อวดรู้ตกนรก จงไปตามทางของเธอ ท่านปานช่วยสอนวิชาเข้าป่าให้หนักหน่อย ท่านองค์นี้ (หมายถึงฉัน) จงเข้าป่าไปกับเขา แต่ห้ามอยู่ในป่าเป็นวัตร เพราะเธอมีบริวารมาก ต้องอยู่สอนบริวารจนตาย พอครบ 20 พรรษาจงออกจากสำนักเดิม เธอจะได้ดี จงไปตามทางของเธอ ฉันบวชพระมามากแล้วไม่อิ่มใจเท่าบวชพวกเธอ" พ.ศ. 2480 อายุ 21 ปี สอบได้นักธรรมตรี พ.ศ. 2481 อายุ 22 ปี สอบได้นักธรรมโท พ.ศ. 2482 อายุ 23 ปี สอบได้นักธรรมเอก ระหว่างพรรษาที่ 1 - 4 - เรียนอภิญญา - ธุดงค์ป่าช้า, ป่าศรีประจันต์, พระพุทธบาท, พระพุทธฉาย, เขาวงพระจันทร์, เขาชอนเดื่อ, ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ดงพระยาเย็น, ภูกระดึง, พระแท่นดงรัง ฯลฯ - ศึกษาวิปัสสนา ระหว่างปี พ.ศ. 2480-2483 ได้ศึกษาพระกรรมฐาน จากครูบาอาจารย์หลายท่าน อาทิเช่นหลวงพ่อปาน โสนันโท วัดบางนมโค, หลวงพ่อจง พุทธสโร วัดหน้าต่างนอก, พระอาจารย์เล็ก เกสร วัดบางนมโค, พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน, พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า, หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ, หลวงพ่อเนียม วัดน้อย, หลวงพ่อโหน่ง วัดอัมพวัน (วัดคลองมะดัน) และ หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ พ.ศ. 2483 อายุ 24 ปี เข้ามาจำพรรษาที่วัดช่างเหล็ก อำเภอตลิ่งชัน ธนบุรี เพื่อเรียน บาลีจากนั้นย้ายมาอยู่ที่วัดอนงคารามในช่วงออกพรรษาในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์(นวม) อยู่วัดช่างเหล็กในช่วงเข้าพรรษา ระหว่างนี้ได้ศึกษาเพิ่มเติมกรรมฐานกับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำภาษีเจริญ และพบพระสุปฏิปันโนอีกมาก เช่น สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) เป็นต้น พ.ศ. 2486 อายุ 27 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 3 ประโยค เปลี่ยนชื่อเป็น "พระมหาวีระ" เพื่อไม่ให้คล้ายกับ พระมหาสำเนียง ที่อยู่วัดช่างเหล็ก ที่เดียวกัน พ.ศ. 2488 อายุ 29 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 4 ประโยค ย้ายมาอยู่วัดประยูรวงศาวาส ได้เป็นรองเจ้าคณะ 4 วัดประยูรวงศาวาส และฝึกหัดการเป็นนักเทศน์ พ.ศ. 2492 อายุ 33 ปี จำพรรษาที่วัดลาวทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2494 อายุ 35 ปี จึงกลับไปอยู่วัดบางนมโคจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเจ้าอาวาสวัดบางนมโค พ.ศ. 2500 อายุ 41 ปี อาพาธหนักเข้าโรงพยาบาลกรมแพทย์ทหารเรือ พ.ศ. 2502 อายุ 43 ปี พักฟื้นที่วัดชิโนรสาราม จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ จากนั้นจึงได้ย้ายไปอยู่วัดโพธิ์ภาวนาราม อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ซึ่งขณะนั้นยังเป็นสำนักสงฆ์ ได้ลูกศิษย์รุ่นแรก 6 คน พ.ศ. 2505 อายุ 46 ปี ไปจำพรรษาที่วัดพรวน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เป็นเวลา 1 พรรษา พ.ศ. 2506 อายุ 47 ปี กลับมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ภาวนาราม พอกลางเดือนมิถุนายน ก็ได้ลาพุทธภูมิ พ.ศ. 2508 อายุ 49 ปี จำพรรษาที่ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท แล้วเริ่มไป - กลับวัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เพื่อสอนพระกรรมฐาน พ.ศ. 2510 อายุ 51 ปี ได้สอนวิชามโนมยิทธิ แล้วจึงจำพรรษาที่วัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2511 อายุ 52 ปี ในวันที่ 11 มีนาคม จึงมาอยู่วัดจันทาราม (ท่าซุง) ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ได้ทำบูรณะ สร้างและขยายวัด จากเดิมมีพื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน 07 2/10 ตารางวา จนกระทั่งเป็นวัดที่มีบริเวณพื้นที่ประมาณ 289 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา มีอาคารและถาวรวัตถุต่าง ๆ จำนวน 144 รายการในวัด สิ้นค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 611,949,193 บาท สิ่งก่อสร้างทั้งในวัดและนอกวัด อาทิเช่น หอสวดมนต์, พระพุทธรูป, อาคารปฏิบัติกรรมฐาน, ศาลาการเปรียญ, วิหาร 100 เมตร, โบสถ์ใหม่, บูรณะโบสถ์เก่า, ศาลา 2 ไร่, 3 ไร่, 4 ไร่ และ 12 ไร่, หอไตร, โรงพยาบาลศูนย์แม่และเด็ก ชนบทที่ 61, พระจุฬามณี, มณฑปท้าวมหาราชทั้ง 4, พระบรมราชานุสาวรีย์ 6 พระองค์, พระชำระหนี้สงฆ์, โรงไฟฟ้า, โรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา, ศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ เป็นต้น ทั้งยังได้ช่วยการก่อสร้างที่วัดอื่น ๆ ในประเทศไทยอีกมากมาย พ.ศ. 2520 อายุ 61 ปี ตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2526 อายุ 67 ปี สร้างโรงพยาบาลแม่และเด็กชนบทที่ 61 และมอบให้กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2527 อายุ 68 ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชคณะชั้นสามัญเปรียญวิ.(ป.ธ.4 น.ธ.เอก) ที่ "พระสุธรรมยานเถร" พ.ศ. 2528 อายุ 69 ปี สร้างโรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา พ.ศ. 2532 อายุ 73 ปี ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพรราชาคณะชั้นราช ที่ "พระราชพรหมยาน ไพศาลภาวนานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี" พ.ศ. 2535 อายุ 76 ปี ได้อาพาธด้วยโรคปอดบวมอย่างแรง และติดเชื้อในกระแสโลหิต เข้ารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช และมรณภาพที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม 2535 เวลา 16.10 น. ปัจจุบันศพของหลวงพ่อได้บรรจุไว้ในโลงแก้วบนบุษบกทองคำที่ประดับด้วยอัญมณีอันวิจิตรงดงาม ณ วัดจันทาราม ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ตลอดระยะเวลาที่อุปสมบทอยู่ หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้ทำหน้าที่ของพระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ ทางด้านชาติ ได้สร้างโรงพยาบาล, สร้างโรงเรียน, จัดตั้งธนาคารข้าว, ออกเยี่ยมเยียน ทหารหาญของชาติและตำรวจตระเวณชายแดนตามหน่วยต่าง ๆ เพื่อ ปลุกปลอบขวัญและกำลังใจ และ แจกอาหาร, ยา, อุปกรณ์อำนวยความสะดวก และวัตถุมงคลทั่วประเทศ ทางด้านพระศาสนา ได้สั่งสอนพุทธบริษัทศิษยานุศิษย์ให้มุ่งพระนิพพานเป็นหลัก โดยให้ประพฤติปฏิบัติสำรวมกาย, วาจา, ใจ, มุ่งในทาน, ศีล, สมาธิ และปัญญา ทั้งในทางกรรมฐาน 40 และมหาสติปัฏฐานสูตร ได้พิมพ์หนังสือคำสอนจำนวนมากและบันทึกเทปคำสอนกว่า 1,000 ม้วน นอกจากนี้ยังได้แสดงธรรมเทศนาทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เป็นครั้งคราว นอกจากนี้ ยังเดินทางไปสงเคราะห์คณะศิษย์ในต่างจังหวัดและต่างประเทศทุก ๆ ปี ทางด้านวัตถุ ท่านได้ช่วยสร้างพระพุทธรูปและถาวรวัตถุไว้ในพระพุทธศาสนามากกว่า 30 วัด รวมทั้งการบูรณะฟื้นฟูวัดท่าซุงด้วยเงินกว่า 600 ล้านบาท ได้สร้างพระไตรปิฎก และถวายผ้าไตรแก่วัดต่างๆ ปีละไม่ต่ำกว่า 200 ไตร ทางด้านพระมหากษัตริย์ท่านได้สนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชประสงค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งศูนย์ฯ นี้ได้ดำเนินการสงเคราะห์ราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 ทั้งการแจกเสื้อผ้า, อาหาร และยารักษาโรคแก่ราษฎรผู้ยากจน, การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ, การจัดแพทย์เคลื่อนที่ออกรักษาพยาบาลราษฎรผู้เจ็บป่วย, การให้ทุน นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน, การบริจาคทุนทรัพย์ให้แก่มูลนิธิและโรงพยาบาลต่าง ๆ ฯลฯ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยู่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับเป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรสแท้องค์หนึ่ง ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:49:13 คุณวิเศษส่วนองค์และต่อส่วนรวม 1. เป็นผู้ได้บำเพ็ญบารมีมามาก 2. ทรงอภิญญาสมาบัติและปฏิสัมภิทาญาณ 3. ทรงเถรธรรม ประกอบด้วย รัตตัญญู (รู้ราตรีนาน), สีลวา (มีศีล), พหุสสุตะ (ทรงความรู้ได้ฟังมาก), สวาคตะปาฏิโมกขะ (วินิจฉัยพระวินัยได้ดี), อธิกรณสมุปปาทวูปสมกุสละ (ฉลาดในการระงับอธิกรณ์ที่เกิดขึ้น), ธัมมกามะ (ใคร่ในธรรม), สันตุฏฐะ (สันโดษ), ปาสาทิกะ (น่าเลื่อมใส), ฌานลาภี (คล่องในฌาน) และ อนาสวเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ (บรรลุเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ สิ้นอาสวกิเลส 4. รู้แจ้งในไตรภูมิ 5. เป็นที่รักของพระ พรหม เทพยดาและมนุษย์ทั้งปวง 6. สอนคนให้เข้าใจถึงพระนิพพานได้จริง ตามมาตรฐานการปฏิบัติธรรมแห่งพระพุทธศาสนาครบถ้วนทั้ง 4 หมวด อันได้แก่ 6.1) สุกขวิปัสสโก ปฏิบัติธรรมแบบเรียบ ๆ มีมรรคมีผล แต่ไม่มีความรู้พิเศษ 6.2) เตวิชโช หรือเรียกว่า วิชชา 3 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือ ทิพจักขุญาณ รู้ว่าคนเกิดมาจากไหน ตายไปไหน เป็นต้น มีญาณ 8 ประการ 6.3) ฉฬภิญโญ หรือเรียกว่า อภิญญา 6 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือแสดงฤทธิ์ได้ 5 อย่าง หากหมดกิเลสด้วยจะเรียกว่าได้อภิญญา 6 6.4) ปฏิสัมภิทัปปัตโต หรือเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษครอบคลุมทั้ง 3 หมวดแรก ปฏิสัมภิทาญาณนั้นคือ ทรงพระ ไตรปิฎก(แตกฉานในเหตุและผล), รู้ภาษาคนทุกภาษาและภาษาสัตว์ทุกชนิด และคล่องแคล่วในการสอนธรรม (ขยายความให้เข้าใจก็ได้ ย่อความให้เข้าใจก็ได้) คำกล่าวที่จารึกในแผ่นทองซึ่งบรรจุใต้แท่นพระประธาน เมื่อพ.ศ. 2519 ในแผ่นทองได้จารึกไว้ดังนี้ เราพระมหาวีระ มีพระราชานามว่า ภูมิพล เป็นผู้อุปถัมถ์ ร่วมด้วยพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ สร้างวัดนี้เป็นพุทธบูชา เมื่อศักราชล่วงไปแล้ว 2700 ปีปลาย จะมีพระเจ้าธรรมิกราช นามว่า ศิริธรรมราชา สืบเชื้อสายมาจากเชียงแสนและสุโขทัย ร่วมกับพระอรหันต์ จะมาบูรณะวัดนี้ สืบพระศาสนาต่อไป คณะของเราขอโมทนา แต่อยู่ช่วยไม่ได้ เพราะไปพระนิพพานหมดแล้ว อีกทั้งท่านยังได้ตั้งสัตยาธิษฐานฝากลูกหลานของท่านไว้ดังนี้ ฉันขอตั้งสัตยาธิษฐาน อ้างคุณพระศรีรัตนตรัย มีองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พร้อมด้วยพระอริยสงฆ์ทั้งหมดและพระพรหม และเทพเจ้าทั้งหมด ขอทุกท่านจงกำหนดจิต จดจำลูกหลานของฉันไว้ ว่าบุคคลใดก็ตาม เมื่อเวลาจะตายขอให้สติสัมปัชัญญะสมบูรณ์ มีจิตน้อมไปในกุศลกรรม และขอให้ได้รับผลที่ฉันได้ทำไปแล้วทุกประการแก่ลูกหลานของฉันทุกคน เวลานี้ฉันมองดูแล้วนะ ตรวจดูแล้ว สิ่งที่ฉันต้องการมันสมใจนึกแล้ว ฉันมีความอิ่มใจบอกไม่ถูก ปลื้มใจที่ความปรารถนาสมหวัง ที่ฉันตั้งใจไว้นาน ปรารถนาไว้นานคิดว่าจะทำไม่ได้ แต่เวลานี้ทำได้แล้ว ลูกหลานของฉันทุกคน มีศรัทธาเป็นอจลศรัทธาแล้ว มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาแล้ว มีความดีพอสมควรแล้ว อุโบสถหลังใหม่นี้ มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศมาลาของสมเด็จพระ พุทธพรมงคล พระประธานในพระอุโบสถ, เททองหล่อรูปหลวงพ่อปาน และทรงตัดลูกนิมิตด้วย ในช่วงพ.ศ. 2518 - 2520 พระสงฆ์ที่หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้เคยสนทนา หรือเป็นสหาย ได้แก่ 1. พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ท่านเป็นปฐมาจารย์ ผู้สั่งสอนเป็นองค์แรก สอนกรรมฐานทุกตอนจนถึงระดับนิพพาน และพยายามฝึกฝนให้จนมีความเข้าใจในการปฏิบัติกรรมฐานจนมี ความเข้าใจ 2. หลวงพ่อเล็ก เกสโร วัดดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : อาจารย์ที่สองรองจากหลวงพ่อปาน เป็นตัวแทนหลวงพ่อปาน ในการควบคุมดูแลในการปฏิบัติเบื้องต้นท่านอยู่วัดบางนมโค เช่นเดียวกัน 3. พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. หลวงพ่อปั้น วัดพิกุล อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 5. หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 7. พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา :พระอุปัชฌาย์ของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 8. หลวงพ่อเนียม วัดน้อย อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 9. หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี 10. หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 11. พระครูสุวรรณพิทักษ์บรรพต เจ้าคณะ 11 วัดสระเกศ จังหวัดพระนคร 12. สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร จังหวัดกรุงเทพฯ 13. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 14. ท่านเจ้าคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) วัดปากน้ำภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี 15. ท่านเจ้าคุณ พระธรรมปาหังสณาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส ธนบุรี 16. ท่านเจ้าคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 17. พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 18. พระอาจารย์เกษม วัดดาวดึงสาวาส จังหวัดธนบุรี 19. พระอาจารย์ทอง วัดราษฎรสุนทรเจริญ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 20. ท่านอาจารย์สุข (เป็นฆราวาส) ตำบลแพงพวย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 21. พระเทพวิสุทธิเวที (ไสว สุจิตฺโต ป.ธ.6) อดีตเจ้าอาวาสวัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 22. พระราชวิสุทธิเมธี (พระมหาวิจิตร วิจารโณ; พระศรีวิสุทธิโสภณ ในสมัยนั้น) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 23. พระมงคลชัยสิทธิ์ (พระครูวิชาญชัยคุณ ในสมัยนั้น) วัดปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 24. พระวิสุทธาธิบดี วัดไตรมิตร จังหวัดกรุงเทพฯ 25. พระราชอุทัยกวี จังหวัดอุทัยธานี 26. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จันทสิริ) 27. พระครูปิยรัตนาภรณ์ (บุญรัตน์ กันตจาโร) วัดโขงขาว ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 28. หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก วัดไชยมงคล(วัดวังมุย) จังหวัดลำพูน 29. พระครูสุคันธศีล (หลวงปู่คำแสน) วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ 30. หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง(ดอยม่อนเวียง) อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 31. หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ 32. หลวงพ่อทืม(หลวงพ่อบุญทืม พรหมเสโน) วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน 33. พระครูสันติวรญาณ(หลวงพ่อสิม) วัดถ้ำผาปล่อง เชียงดาว 34. พระครูพรหมจักสังวร (พระสุพรหมยานเถระ; ครูบาพรหมจักโก) วัดพระพุทธบาทตากผ้า อำเภอป่าซางจังหวัดลำพูน 35. พระครูภาวนาภิรัตน์ (พระสุธรรมยานเถระ; ครูบาอินทจักรรักษา) วัดวนาราม(วัดน้ำบ่อหลวง) อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 36. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์ (ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน 37. พระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา จังหวัดกรุงเทพฯ 38. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ ป.ธ.9) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร 39. พระครูวรเวทย์วิสิฐ (ครูบาธรรมชัย) วัดทุ่งหลวง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 40. พระภาวนาปัญญาวิสุทธิ์ (อำพัน บุญ - หลง) วัดเทพศิรินทราวาส จังหวัดกรุงเทพฯ 41. หลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 42. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม จังหวัดกรุงเทพฯ ยังคงมีพระสงฆ์อีกมากรูปในชั่วชีวิตของพระราชพรหมยานฯ ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:17 ประสบการณ์ของผู้ที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของหลวงพ่อ ที่ได้รับผลในปัจจุบันนี้ ผู้ถาม : "หลวงพ่อครับ ผมก็คิดเรื่องการเรื่องงานเป็นประจำเลยครับ ทีนี้อยากถามว่ากรรมฐานบทไหนที่ทำให้ค้าขายดีครับ..?" หลวงพ่อ : "อ๋อ... ก็บทค้าขายราคาถูกซิ เขาขายหนึ่งบาท เราขายห้าสิบสตางค์ รับรองพรึบเดียวหมด บทนี้ดีมาก เพราะเมตตาบารมีไงล่ะ" ผู้ถาม : "โอ้โฮ.. ตรงเปี๊ยบเลยหลวงพ่อ.." หลวงพ่อ : "ยังมีอีกนะ ถ้าบทที่สองดีกว่านี้อีก จาคานุสสติ แจกดะเลย" ผู้ถาม : ( หัวเราะ ) "โอ...บทนี้น่ากลัวจนแย่เลย" หลวงพ่อ : "ไอ้เรื่องค้าขายดีมีคาถาตกอยู่บทหนึ่ง" ผู้ถาม : "เดี๋ยวผมขอจดก่อนครับ" หลวงพ่อ : "ไม่ต้องจดหรอก คาถามหาโต๊ะ มหาโต๊ะนี่สมัยนั้นบวชด้วยกัน มีโยมคนหนึ่งแกหาบข้าวแกงมาขาย หาบไปตั้งแต่เช้ากลับมาบ่าย มันก็ไม่หมด วันหนึ่งมหาโต๊ะยืนล้างหน้าอยู่ที่หน้าต่างแกก็บอก "ท่านมหา มีคาถาอะไรดี ๆ ทำน้ำมนต์ให้ทีเถอะจะได้ขายหมดเร็ว ๆ " มหาโต๊ะแกไม่ใช่นักคาถาอาคมกะเขานี่ ก็นึกไม่ออก แต่ไอ้นี่น่าจะดีว่ะ "อนัตตา" แกนึกในใจนะ แกไม่ได้บอก แกก็เอาน้ำล้างหน้าพรม ๆ ยายนั่นแกก็กลับไป พอสาย ๆ แกก็กลับ ปรากฏว่าหมด" ผู้ถาม : "อะไรหมดครับ...?" หลวงพ่อ : "ของหมด ข้าวแกงหมด แต่หม้อยังอยู่ หาบยังอยู่และคนหาบก็ยังอยู่ แหม..นี่ต้องให้อธิบายให้ละเอียดเลยนะ" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"คือสงสัยครับ" หลวงพ่อ : "ก็เป็นอันว่าวันต่อมา โยมคนนั้นแกก็มาหาเรื่อย ๆ แกก็สังเกตมหาโต๊ะ ในที่สุดมหาโต๊ะต้องทำน้ำมนต์ด้วยคาถาบทนี้เอาไว้ที่บูชา แกก็ไปขายหมดทุกวัน ก็แปลกเหมือนกันเพราะจิตตรงใช่ไหม .. อนัตตา นี่เขาแปลว่าสลายตัวไงล่ะ" ผู้ถาม : "ลูกหลานเอาไปใช้ได้ไหมครับหลวงพ่อ..?" หลวงพ่อ : "ปู่ย่าตายายก็ใช้ได้" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"แล้ว คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า ใช้ได้ไหมครับ...?" หลวงพ่อ : "ความจริงคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้าของเขาก็ดี เขาขายของแล้วก็พรมตั้งแต่ตอนเช้า ถ้าตั้งร้านก็พรมหน้าร้านตั้งแต่เช้าตรู่ ตอนล้างหน้านั่นแหล่ะ ทำตอนนั้น เอาน้ำ ล้างเสกด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เสกแล้วพอล้างหน้าเสร็จก็พรม ตอนพรมก็ว่าไปด้วยนะ" ผู้ถาม : "บางคนก็บอกว่า ถ้าว่าคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ ก็จะมีลาภมาก..?" หลวงพ่อ : "มหาปุญโญ เป็นคาถาเสกพระวัดพนัญเชิง เจ้าอาวาสวัดนั้นรูปร่างผอมดำ นั่งเสกด้วยคาถาบทนี้ ๓ ปี ฉะนั้นวัดนั้นจึงมีลาภมาก แล้วต่อมาสมเด็จหรือใครก็ไม่ทราบ ถามว่าเสกด้วยคาถาอะไร ท่านบอกว่า เสกด้วยคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ แล้วท่านก็บอกให้ต่อด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า มีอยู่รายหนึ่งชื่อ นายแจ่ม เปาเล้ง บ้านอยู่อำเภอดำเนินสะดวก แกเป็นคนจน ทำสวนอยู่ที่บางช้าง ปลูกพริกขายเป็นอาชีพ เพราะอาศัยความจนของแก จึงได้เป็นหนี้เป็นสินเขาอยู่ตั้ง ๒ หมื่น ( นี่พูดถึงเงินในสมัยนั้นนะ เดี๋ยวนี้เป็นเงินเท่าไรก็คิดกันดู ) ตาแจ่มจึงมาขอเรียนคาถาพระปัจเจกโพธิ์ เมื่อได้ไปแล้ว วัน ๆ ไม่ได้ทำอะไรนอกจากท่องแต่คาถาอย่างเดียว นั่งทำอยู่ทั้งวันทั้งคืน ข้างฝ่ายลูกเมียของตาแจ่มก็ดีแสนดี ไม่ยอมให้แกทำอะไรเหมือนกัน นอกจากท่องคาถา "คาถาบทนี้ เขาทำแล้วรวยนี่ ต้องให้มันรวยให้ได้" ลูกเมียแกว่าอย่างนั้น ตาแจ่มแกคิดจะเอาอย่าง นายประยงค์ ตั้งตรงจิตร นั่นแหล่ะ? ทีนี้ พอพริกออกดอกออกผลขึ้นมาจริง ๆ ตาแจ่มก็คิดจะขายพริกละ ไอ้พริกของคนอื่นนะ งามสะพรั่งมีพริกเยอะแยะ มองดูหนาทึบ ไปหมด ส่วนพริกของตาแจ่มพิเศษกว่าเขา มียอดหงุก ๆ หงิก ๆ เม็ดก็บางตา มองดูโปร่ง ๆ ดูท่าทางแล้วเห็นจะขายได้ไม่กี่สตางค์ อีตอนเก็บนี่ซิ คนอื่นเก็บพริกได้กองใหญ่เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้กองโตเท่านั้น เห็นพริกบาง ๆ ยอดหงุกหงิก ๆ นั่นแหล่ะ เขาเก็บได้เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้เท่านั้น มาถึงตอนขาย เจ๊กชั่งของคนอื่นได้ ๑ หาบ พอมาของตาแจ่มกลับเป็น ๒ หาบ ทั้ง ๆ ที่กองก็โตเท่ากัน เจ๊กหาว่าตาแจ่มโกง คิดว่าเอาทราบใส่เข้าไปในกองพริกเป็นการถ่วงน้ำหนักเลยเอะอะโวยวายใหญ่ ปรากฏว่าเม็ดดินเม็ดทรายที่เจ๊กว่า นั้นหาไม่ได้เลย เล่นเอาเจ๊กแปลกใจ แต่ก็ต้องซื้อไปตามนั้น พริกของคนอื่นเขาเก็บกัน ๒ - ๓ ครั้ง ก็หมดแล้วครั้งแรกมาก ครั้งที่สองได้มากหน่อย พอครั้งที่สาม เก็บได้อีกเพียงเล็กน้อยเป็นอันว่าหมดกัน ต้องถอนต้นพริกทิ้งแล้วปลูกกันใหม่ ส่วนพริกของตาแจ่มไม่เป็นอย่างนั้น ต้องลงมือเก็บกัน ๖ ครั้งถึงได้หมด พริกที่ได้แต่ละครั้งก็มีปริมาณเท่า ๆ กัน นี่ไอ้พริกใบหงุกหงิก ๆ นั้นแหละ เก็บกันซะ ๖ คราว ผลที่สุด พริกของตาแจ่มก็กลายเป็นของอัศจรรย์ แถมเจ๊กยังตีราคาให้สูงกว่า พริกของคนอื่นเสียอีก เพราะว่า "เมื่อส่งไปแล้วเป็นพริกที่มีค่า ทางโน้นเขาให้ราคาสูง" ปีนั้นจึงใช้หนี้สองหมื่นหลุดหมด แถมยังมีเงินเหลืออีกตั้งสองหมื่น" ( นี่เห็นไหม... ถ้าหากว่า ท่านภาวนาคาถาบทนี้อยู่เสมอ ท่านอาจจะรวยกว่านายแจ่มก็ได้นะ ) ต่อมามีผู้นำคาถา อนัตตา ไปปฏิบัติหลังจากที่หลวงพ่อแนะนำไปแล้ว เขาผู้นั้นได้เข้ามารายงานกับหลวงพ่อว่า "หลวงพ่อครับ อนัตตา แจ๋วเลยครับ อัศจรรย์มาก ตอนบ่ายวันนี้ฟลุ๊คมาก ของที่ผมขายฝรั่งซื้อคนเดียว ๑,๖๐๐ บาท ไม่เคยมีปรากฏเลยครับ"" "อาจารย์ทำยังไงล่ะ.. อาจารย์ใช้แบบไหน จึงมีผลตามลำดับ... จะได้แจกจ่ายคนอื่นเขาบ้าง" ผู้ถาม : "อันดับแรกตักน้ำใส่แก้ว แล้วนำไปไว้หน้าพระพุทธรูปที่โต๊ะหมู่บูชา แล้วชุมนุมเทวดาไหว้พระบูชาพระตามหลวงพ่อกล่าวนำ มีมนต์อะไรก็สวดไป ของผมสวดยาวหน่อย เมื่อสวดเสร็จแล้ว ก็อาราธนาบารมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์ทั้งหลาย พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย แล้วก็มาหลวงปู่ปาน แล้วมาหลวงพ่อ เสร็จแล้วเช้าตื่นมาก็กราบแก้วน้ำ ๕ ครั้ง แล้วก็เอามาที่ห้องน้ำ แบ่งครึ่ง ครึ่งหนึ่งใส่ขันสำหรับล้างหน้า ก่อนจะแบ่งก็ตั้งจิตให้ดี ว่านะโม ๓ จบ แล้วก็ว่าคาถานี้อีกครั้งหนึ่ง เท่าที่ใช้ก็ใช้คาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เม ฯ แล้วก็มาว่า คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เมื่อว่าเสร็จแล้วก็บอก "อนัตตา ขายเกลี้ยง" อีกครึ่งหนึ่งเราแบ่งมาแล้วก็ว่า คาถาวิระทะโย ไป แล้วก็พรมตู้อะไรต่าง ๆ แล้วก็ลงท้าย "อนัตตา ขายเกลี้ยง ๆ ๆ" แม้แต่หน้าร้านก็พรมออกไปเลย ถ้าใครเดินมาถูกน้ำมนต์ปุ๊บอยู่ไม่ได้ ต้องมาซื้อ อันนี้ได้ผลดีครับ" หลวงพ่อ : "อ้าว.. จำได้ไหมล่ะ อันนี้ก็ดีมีประโยชน์นะ ควรจะนำไปใช้ทุก ๆ คนนะ ฉันบอกให้อาจารย์เขาไปทำ ท่านทำแล้วผลมันเกิดขึ้นทุกวัน" ผู้ถาม : "แล้วถ้าฟลุ๊คอะไรเป็นพิเศษละก้อ เวลาจุดธูปเทียนหรือพรมน้ำมนต์ มันจะมีขนลุกซู่ซ่า ถ้าซู่มากละ มาแน่" หลวงพ่อ : "อ้อ..กำลังปีติสูง ใช่ เพราะซู่ซ่านี่เจ้าของมาแสดงให้ปรากฏ ถ้านึกถึงท่านจริง ท่านเข้ามาช่วยจริงก็ถือว่าเป็นอาการของปีติ เมื่อสัมผัสแล้วทางจิตใจก็เกิดปีติ ความอิ่มใจเกิดขึ้น ขนลุกซู่ซ่ามาก การแสดงออกตามอาจารย์พูดน่ะถูก ถ้าหากว่าสัมผัสน้อยก็มีผลน้อยหน่อย แต่ก็ดีกว่าปกติ สัมผัสมากก็มีผลมากหน่อย ปัจจุบันทันด่วน อันนี้ถูกต้อง ถ้าทำขึ้น หนักจริง ๆ นะ ถ้าขายของเป็นน้ำหนัก น้ำหนักจะสูงขึ้น แล้วก็ไม่สูงแต่ของเรา เอาไปขายคนอื่นต่อก็สูง นี่เขาทำมาแล้วนะ คนที่ไทรย้อยแกขายข้าว ไปซื้อข้าวมาวันนี้ พรุ่งนี้จะเอาไปขึ้นโรงสี แกก็พรมน้ำมนต์ก่อน พอถึงบ้านก็พรมน้ำมนต์หน่อย พอขึ้นโรงสีปรากฏว่าน้ำหนักสูง ถ้าหากว่าของที่เก็บไว้ในปี๊บในถงในอะไรก็ตาม จะมีปริมาณสูง เมื่อก่อนหลวงพ่อปานท่านบอก เอาข้าวใส่ยุ้งฉางให้เรียบร้อย ตวงให้ดี แล้วนับให้ดี ทำมาจนกว่าจะถึงฤดูออกมาใช้มาขาย แล้วตวง มันจะมากทุกคราว จำเอาไว้นะ ถ้าปฏิบัติ ทุกคนจะไม่จน ฉันอยากให้ทุกคนรวย ฉันจะได้รวยด้วย พระแช่งให้ชาวบ้านจนก็ซวย พระไม่มีกินน่ะซิ" ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:46 คาถาเงินล้าน ตั้ง นะโม ๓ จบ สัมปจิตฉามิ คาถาสนองกลับ นาสังสิโม คาถาพระพุทธกัสสป บทแรก "พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ" อันนี้ตัดอุปสรรคที่ลาภจะมาแต่เขามาบอก ว่ามีผลแน่นอน คือว่า แกจะไม่ยอมให้ลูกแกจน พูดง่าย ๆ ก็แล้วกัน พระพุทธเจ้า ก็ทรงยืนยันบอกว่า ให้ หมด บทที่สอง "พรมหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุเม" คาถาบทนี้เป็นคาถาเงินแสนของท่าน บทที่สาม "มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม" บทนี้เป็นคาถาปลุกพระวัดพนัญเชิง บทที่สี่ "มิเตพาหุหะติ" เป็นคาถาเงินล้าน บทที่ห้า "พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มามีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม" เป็นคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า บทที่หก "สัมปติฉามิ" บทนี้เป็นบทเร่งรัดบทสุดท้าย บทที่เจ็ด "เพ็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤา ๆ" พระปัจเจกพุทธเจ้า มาบอกหลวงพ่อเมื่อ พ.ย. 33 เป็นภาษาโบ ราณ แต่เทียบกับภาษาไทยอ่านได้อย่างนี้ เป็นคาถามหาลาภ มีผลยิ่งใหญ่มาก ทั้งหมดนี้ต้องสวดเป็นบท เดียวกัน บูชาเรื่อย ๆ ไป การบูชาถ้าบูชาเฉย ๆ มันเป็นเบี้ยต่อไส้ คาถา ว่า 9 จบ หลวงพ่อบอกว่า ถ้าว่า 9 จบเป็นเบี้ยต่อไส้ จะว่ามากกว่านั้นก็ได้ แต่ถ้าท่องจนเป็นสมาธิหรือได้ญาณจะได้ผลดีมาก อย่าลืมถ้าอยากจะให้ได้ผลต้องท่องจนเป็นสมาธิและใส่บาตรทุกวัน ถ้าไม่ว่างก็ใส่บาตร วิระทะโย ที่วัดแจก แล้วถ้าว่างจะนําไปถวายก็สุดแล้วแต่ท่านหรือสิ้นเดือนก็นําไปถวายที่บ้านสายลมก็ได้ อันนึ้ลูกศิษย์หลวงพ่อที่เคยปฏิบัติจนสําเร็จกล่าวให้ผู้เขียนฟังนานแล้ว ความสามารถหลวงพ่อในวัยเด็ก บันทึกโดยคุณปรุง ตุงคะเศรณี คืนวันที่ 16 ธันวาคม 2526 ก่อนเวลานั่งกรรมฐานหลวงพ่อท่านไม่ได้ลงสอน และท่านได้คุยกับเราเรื่องเมื่อตอนเด็กๆอยู่ที่ โรงเรียน 1พระเดขพระคุณหลวงพ่อชอบเล่นกีฬา ฟุตบอลและสามารถเตะจากประตูที่ยืนโด่งเข้าไปประตูตรงกันข้ามได้(โหสุดยอด)และหัดอยู่ไม่นานก่อนที่จะสามารถเตะได้เช่นนี้ท่านเตะกับเพื่อนอีกหนึ่งคนผลัดกันเตะโดยอยู่คนละด้านตรงหน้าประตูและเพื่อนก็สามารถเตะเข้าประตูตรงที่ท่านยืนอยู่ได้ 2. ท่านเคยลงแข่งขันเป็นนายประตู และเตะแบบข้อหนึ่ง เตะเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามคือเพื่อนที่ซ้อมเตะมาด้วยกันนั้นก็สามารถเตะเข้าประตูที่ท่านรักษาได้เหมือนกัน เมื่อลงเล่นเตะได้ประตูเช่นนี้คนละครั้งกรรมการเลยให้ท่านและเพื่อนออกไปนอกสนามเพราะไม่อยากให้เล่นต่อ 3. ท่านชอบมวยไทย เคยหัดเตะต้นกล้วยที่ตัดยอดและโคนออกแล้ว เอามาตั้งปักไว้และเตะทั้งซ้ายและขวา ต้นกล้วยไม่ล้มท่านบอกว่าครั้งแรกต้นกล้วยไม่ล้มแต่ตัวเราล้ม 4. ท่านอบเล่นปามีด สามารถปามีดปาดโคนหรือเครือกล้วยได้ทั้งเครือ ให้ขาดตกลงมารับได้สบาย ท่านเล่าว่าหัดปาเพียงวันเดียวเท่านั้นเข้าใจว่าเป็นของเก่าตามมาท่านพกมีดปา 5 เล่ม ที่พุงตามขอบกางเกงที่พุง เคยมีนักเลง 5 คนจะรุมทำร้ายท่านพระเดชพระคุณหลวงพ่อเป็นนักเลงต่างถิ่น ท่านแสดงปามีดปักผลกล้วยให้ดูและก็บอกว่าแค่นี้ปานัยน์ตาไม่พลาด พวกนักเลงต่างถิ่นรีบหนีไปหมดเลย(ผู้เขียนเคยได้ยินท่านเล่าเหมือนกันท่านสามารถใช้มีดปามะม่วงให้ตกลงมาได้โดยให้ชี้ว่าต้องการลูกไหน) 5. หัดว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าราชวรดิฐหัดว่ายไปอยู่จนสามารถว่ายไปกลับข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 20 เที่ยวอย่างแบบสบายๆ ที่มา เวปแดนพระนิพพานและหนังสือตามรอยพระพุทธบาทเล่ม 4 ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:51:17 ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว พระธรรมเทศนาจากหลวงพ่อพระราชพรหมยาน ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว ให้เรานึกถึงพระพุทธเจ้าที่เป็นรูปใหญ่ ให้ใหญ่พอที่เราจะเข้าไปอยู่ในพระองค์ได้ นึกถึงพระองค์ในปางไหนก็ได้ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาเบา ๆ ช้า ๆ ไม่ต้องรีบ หายใจเข้าลึก ๆ ใหม่ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ ทำใจแบบสบาย ๆ แล้วตั้งจิตอธิษฐาน ลูกขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา มาประทับอยู่บนศรีษะของลูก ขอเมตตาปกป้องภยันอันตรายต่าง ๆ ควบคุมความคิดควบคุมระบบร่างกายทั้งหมดด้วยเทอญ ขอพระองค์มาพร้อมพลังแสงของพระองค์ แสงแห่งบุญบารมี ลูกขออาราธนา อัญเชิญองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระพุทธปฐมบรมธรรมบิดา ประทับเต็มใบหน้าและลำตัวของลูก ขอให้ขันธ์ 5 นี้ได้รับบุญบารมีจากพลังแสงของพระองค์ มีฤิทธิ์อำนาจดุจพลังแสงของพระองค์ ลูก ขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระกะกุสันโธประทับที่ตาข้างขวา พระโกนาคมประทับที่ตาข้างซ้าย พระพุทธสิกขีทศพลประทับที่ดวงตาที่สาม ขอให้ดวงตาทั้งสามดวงนี้ได้เห็นถึงความจริงของทั้งสามโลก รู้เท่าทันกับทุกสิ่งทุกอย่าง มองเห็นในสิ่งที่สามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ ด้วยฤทธิ์อำนาจของพระองค์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธเจ้าพระพุทธกัสสะปะประทับที่ปากของลูก ขอเมตตาให้ลูกเจรจาพาทีด้วยธรรมะบริสุทธิ์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธสมณโคดมบรมอาจารย์ประทับในสมอง ขอลูกเป็นปราชญ์ทั้งทางโลกและทางธรรม ขอพระองค์เป็นอาจารย์สอนลูก ประทับที่อกขอปิดประตูแห่งการเวียนว่ายตายเกิดทุก ๆ ชาติ ลูกปรารถนาจะไปนิพพานในชาตินี้ ประทับที่หัวใจ ขอให้ลูกเต็มไปด้วยพรหมวิหาร 4 ประทับที่ปอด ขอให้ลูกมีขันธ์ 5 ที่แข็งแรงเพื่อทำงานรับใช้พระศาสนาด้วยเถิด ลูกขออโหสิกรรมขอขมาลา โทษแด่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย คุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ ครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ เจ้ากรรมนายเวรทุก ๆ ชาติ ที่ลูกได้ทำผิดพลาดพลั้งไป ด้วยกายวาจาใจ โดยรู้เท่าถึงกาลก็ดี รู้เท่าไม่ถึงกาลก็ดี เจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ขอได้โปรดอโหสิกรรมให้แก่ลูกผู้มีความรู้น้อยด้อยปัญญานี้ด้วยเถิด ข้าแต่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา ลูกนี้เป็นผู้มีบุญน้อยไร้ซึ่งวาสนาแต่ลูกขอตั้งจิตอธิษฐานว่า ลูกไม่ปรารถนาจะเกิดเป็นคนเทวดาพรหมอีกต่อไป ลูกปรารถนาจะนิพพานทันใดในชาตินี้ ขอติดตามองค์พระพิชิตมารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอได้โปรดประทานพลังแสงทิพย์อริยธรรมรวมกับแสงฉัพพรรณรังสีพลังแสงบุญบารมี จากพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ จากคุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ คุณครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ พุ่งเข้ามาที่ดวงจิตของลูก ขอให้ช่วยลบล้างซึ่งกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรม บาปกรรมเวรกรรมที่ลูกมี ขอได้โปรดให้ลูกมีบุญเพียงพอที่จะลบล้างสิ่งเหล่านี้ให้หมดสิ้น พร้อม กันนั้นลูกขอกราบอนุโมทนาสาธุในบุญบารมีขององค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสี บรมธรรมบิดา ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย พระอรหันต์ทุก ๆ พระองค์ พระอริยสัตว์ทุก ๆ พระองค์ พี่น้องของลูกทั้งสามโลกที่ได้ทำคุณงามความดีตลอดเวลา ลูกขออนุโมทนาบารมีความดีของทุก ๆ ดวงจิต ของทุก ๆ ท่าน ไปกับพลังแสงทิพย์อริยธรรม รวมกับแสงฉัพพรรณรังสี รวมกับบารมีของพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ ลูกเอ๋ย…จงลองพิจารณาดวงตาของเจ้าเถิด ดวงตาของเจ้านั้นชอบมองในสิ่งใดกัน ? จงพิจารณาจากปากของเจ้าเถิด เจ้าชอบใช้ปากในเรื่องอะไรกัน ? จงพิจารณาจากหูของเจ้าเถิด เจ้าชอบนำหูของเจ้าไปใช้ฟังเรื่องอะไรกัน ? จมูกเจ้าชอบไว้ใช้ทำอะไร ? มือทั้งสองข้าง เท้าทั้งสองเจ้าไว้ใช้ทำอะไร ? บุคคล ผู้ใดชอบใช้สายตาของตัวเองในสิ่งที่อยากมองและเลือกมองนั้น บุคคลผู้นั้นย่อมไม่ฉลาด แต่บุคคลผู้ใดมองทุกสิ่งทุกอย่างอย่างละเอียดถี่ถ้วนพร้อมพิจารณา บุคคลผู้นั้นชื่อว่าเป็นปราชญ์ บุคคลผู้ใดชอบใช้หูในการฟังคำชม มากกว่าคำติชม บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนไม่ทันโลก บุคคลผู้ใดใช้หูในการพิจารณาในทุกเรื่องราว บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นผู้รู้เท่าทันในสิ่งสมมุติทั้งหมด บุคคล ผู้ใดใช้จมูกในการสูดดมกลิ่นที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนพิการทางจมูก แต่หากบุคคลผู้ใดพิจารณาถึงทุกกลิ่น บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนมีปัญญา บุคคลผู้ใดใช้ปากในการติฉินนินทา บุคคลผู้นั้นเป็นบ่าว บุคคลผู้ใดใช้ปากในการอวยพรให้กำลังใจคน บุคคลผู้นั้นคือพระ บุคคล ผู้ใดชอบใช้มือในการรับ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่า ขอทาน รับเพียงอย่างเดียวไม่คิดให้ตอบ แต่บุคคลผู้ใดรักในการให้ ให้ด้วยความเมตตาสงสารกรุณา บุคคลผู้นั้นคือกษัตริย์ บุคคลผู้ใด ใช้เท้าในการเดินไปหาในสิ่งที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นเดินเข้าสู่อบายภูมิ แต่บุคคลผู้ใดใช้เท้าในการโปรดเวไนย์สัตว์ บุคคลผู้นั้นคือพระอรหันต์ ลูกเป็นเช่นไร ? จงพิจารณาเถิด นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก ทำไมดวงตามีหลายสี ? ผมมีหลากสี ? ผิวมีหลากสี ? กลิ่นมีหลากแบบ ? หน้าตามีหลากหลาย ? เป็นเพราะอะไร ? ก็ เป็นเพราะที่มนุษย์ชอบกันนักหนาในการแบ่งแยกแบ่งชนชั้นกันไม่ใช่หรือ ? แล้วยังจะสงสัยในสิ่งที่มีหลากหลายทำไม ตัวเจ้าเองก็ยังชอบในการแบ่งแยกเลย แต่เมื่อมองในสิ่งที่ลูกทั้งหลายมองไม่เห็น ลูกก็จะรู้ว่าพระวิสุทธิบรมธรรมบิดามิได้แบ่งแยก นั่นก็คือจิตที่เป็นพุทธะประภัสสรของลูกเอง ไร้ซึ่งการแบ่งแยก ไร้ซึ่งพรหมแดน แต่เมื่อเจ้าแบ่งแยก จึงเกิดหลากหลายสีสัน หลากหลายชนชั้น หลากหลายวรรณะ แล้วจะสงสัยกันทำไมลูก ได้รับคำตอบแล้วจงคิดพิจารณาตามเถิด ทำไม มนุษย์จึงมีหลากหลายคำถามหลากหลายความไม่เข้าใจ ? ก็เพราะสิ่งนี้เจ้าสร้างมันขึ้นมาเอง เพราะเจ้าสร้างขึ้นมาเป็นเกราะ เกราะนี้จึงเป็นเหตุให้เจ้าไม่สามารถทะลุออกมาเพื่อเจอความจริง จงให้อดีตเป็นอาจารย์ในการสอนเจ้า จงให้ปัจจุบันเป็นพระพุทธเจ้าที่เจ้าควรทำตามแบบอย่าง จงให้อนาคตเป็นพระธรรมคำสอนที่เจ้าควรเดินตาม อย่า กังวลคิดมากไป เหตุใดเราทำดีแล้วจึงมิได้ดี อย่าได้แปลกใจเลยลูก จงให้อนาคตเป็นเครื่องพิสูจน์ แล้วทำปัจจุบันให้ดีที่สุด ผลกรรมดีตอบสนองเจ้าอย่างแน่นอน ความเสียสละคืออะไรลูก ? จงคิดพิจารณาเถิด แล้วความเสียสละตั้งอยู่บนพื้นฐานของอะไร ? จงใช้การพิจารณาและไตร่ตรอง แล้วอะไรกันที่มนุษย์ปรารถนา แล้วเจ้าจะให้อะไรแก่มนุษย์เหล่านั้นได้บ้าง ? จงมองดูสิ่งที่ใกล้ตัว จงมองดูสิ่งที่ห่างตัว แล้วลูกจะได้รับคำตอบ http://www.sangthipnipparn.com http://www.buddha-dhamma.com

พระราชพรหมยานเถระสนทนาธรรมหลวงพ่อฤาษีฯเป็นใคร มีความสำคัญแค่ไหนเพียงไร? from Facebook Nooboonsawan Siriharksopon and นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง. พระอริยสงฆ์หลายองค์กล่าวถึงหลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุง หลวงปู่ดาบส สุมโณ พูดถึงหลวงพ่อฤๅษีฯ ว่า "พระคุณเจ้าองค์นั้นเป็นอรหันต์องค์เอกองค์หนึ่งของโลก ในปลายศาสนา ๕๐๐๐ ปี จะหาใครสอนเสมอเหมือนพระคุณท่านหาไม่ได้แล้ว พระคุณท่านองค์นั้นสอนได้คล้ายพระพุทธเจ้าสอน เพราะท่านปรารถนาพระโพธิญาณ ถ้าท่านไม่ลาพุทธภูมิหักใจเป็นพระอรหันตสาวกเสียก่อน ท่านเทศน์คราวไร เรา..พวกเรานี้ที่บำเพ็ญบารมีตามท่านมา ก็จะฟังเทศน์จากท่านเพียงครั้งเดียวก็จะเป็นพระอรหันต์ตามได้ จำไว้นะ ! กลับไปฟังคำสอนของพระคุณท่าน ฟังเทปของท่าน ดูวีดีโอของท่าน ให้ส่งจิตคิดตามเสียงท่านประหนึ่งว่าเป็นเสียง ในใจเรา ก็อาจจะบรรลุมรรคผลได้ตามที่ตัดสินใจ ตามเสียงนั้นเฉพาะหน้า เหมือนฟังจากพระพุทธเจ้านั่นแหละ องค์นี้หาใครสอนได้เสมือนท่านยากนักหนาแล้ว" ท่านเจ้าคุณหลวงพ่อ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินธโรมหาเถระ) วัดสามพระยา ปรารภกับหลวงพี่ ท่านพระครูปลัดอนันต์ พัทธญาโณ เจ้าอาวาส วัดท่าซุงว่า " คำสอนของท่านเจ้าคุณพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษี) ใช้เป็นตำราได้ทั้งหมดนะ " พระเดชพระคุณหลวงพ่อ ท่านเจ้าคุณพระญาณสิทธาจารย์ (หลวงปู่สิม พุทธาจาโร มหาเถระ) บอกว่า "หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) ท่านเป็นโลกวิทู แจ้งทั้งโลก แจ้งทั้งธรรม" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ยังปรารภถึงหลวงพ่อว่า " หลวงปู่น่ะเหมือนหิ่งห้อย หลวงพ่อมหาวีระ(หลวงพ่อฤาษี) นั้นเหมือนพระอาทิตย์" ครูบาคำแสนเล็ก ท่านบอกว่า “หลวงปู่ บวชมา 60 กว่าพรรษา เข้านี่แล้วยังไม่เคยพบพระองค์ไหนเหมือนหลวงพ่อ(หลวงพ่อฤาษี) ” หนังสือลูกศิษย์บันทึก เล่ม ๒ ในปีพ.ศ. ๒๕๑๕ หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร กำลังสนทนาธรรมกันที่วัดป่าดอนมูล อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ ผู้เขียนกำลังรับฟังธรรม จากพระเดชพระคุณท่านฯ ทั้งสองอยู่ หลวงปู่ชุ่มก็หันหน้ามา บอกผู้เขียนว่า “ท่านบุญรัตน์ ให้ไปกราบหลวงพ่อใหญ่ วัดท่าซุงหน่อย ท่านเป็นพระทอง หาที่ไหนไม่ได้อีกแล้ว ท่านเปี่ยมด้วย เมตตาบารมี ใครได้กราบไหว้ก็เป็นบุญกุศลใหญ่นัก” หลวงปู่คำแสนซึ่งนั่งอยู่ใกล้ๆ ก็กล่าวเสริมขึ้นว่า “เออ ดีมาก หลวงพ่อวัดท่าซุงเป็นผู้ประกอบไปด้วยเมตตาธรรมอันสูงส่ง เหมือนกับครูบาศรีวิชัย หาที่ไหนไม่ได้แล้ว” ผู้เขียนได้รับฟังหลวงปู่ทั้งสององค์บอกกล่าว ดังนั้น ก็ก้มกราบเท้าทั้งสองหลวงปู่ด้วยความอิ่มอกอิ่มใจ จนน้ำตาไหล หลวงปู่ชุ่มบอกว่า “พระเดชพระคุณหลวงพ่อวีระ วัดท่าซุงนี่ท่านเปี่ยมไปด้วยคุณธรรมอันสูงมาก บารมีสูง ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายของท่าน ท่านจะไม่มาอีกแล้ว จะเข้าสู่พระนิพพาน เพราะฉะนั้นท่าน จึงสั่งสอนให้ลูกหลานและศิษย์ท่านปฏิบัติให้เข้าถึง พระนิพพานกันหมด” หลวงปู่ชุ่มบอกกับผู้เขียนว่า “ขอให้ท่านจงได้ปฏิบัติติดตามคำสอนของพระเดชพระคุณ หลวงพ่อเถอะ จะได้ถึงพระนิพพานในชาติปัจจุบันนี้” ผู้เขียนก็น้อมรับว่า “สาธุ” ตั้งแต่นั้นมาผู้เขียนก็ได้มีโอกาส ได้ไปกราบเท้าพระเดชพระคุณเจ้าประคุณหลวงพ่อฯ อีกหลายครั้ง -------------------------------------------------------------------------------- Nooboonsawan Siriharksopon shared BuddhaSattha's photo. ซาบซึ้งในพระคุณของหลวงพ่อ นะโมพุทธายะ พระศุภณัฏฐ์ shared BuddhaSattha's photo. ใครมีอะไรดีๆที่เกี่ยวข้องกับหลวงพ่อฤาษีฯของพวกเราลูกหลาน ขอได้โปรดนำมาลงเพิ่มเติมเป็นธรรมทานด้วยครับ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ ตามรอย หลวงพ่อพระราชพรหมยาน "วิสุทธิเทพแห่งวัดท่าซุง" หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) วัดท่าซุง ธรรมโอวาท "พระพุทธเจ้าบอกอย่าสนใจกายภายใน ในร่างกายเราเอง อย่าสนใจในร่างกายของคนอื่น อย่าสนใจวัตถุธาตุใดๆ เพราะสิ่งทั้งหลายเหล่านี้มีสภาพไม่เที่ยงและเป็นอนัตตาในที่สุด" ปัจฉิมโอวาท "ลูกเอ้ย... นี่เป็นธรรมดาของร่างกาย มีเกิด มีแก่ มีเจ็บ มีตาย เป็นธรรมดา สังขารมันเป็น อนิจจัง ไม่เที่ยงหรอก ทุกขัง ตอนอยู่ มันเป็นทุกข์ แต่ผลที่สุด มันก็ อนัตตา สลายไป มีแค่นี้ อย่ามายึดติดสังขารพ่อเลย" ขอแจ้งให้ทราบว่าทุกคนที่ต้องการเป็นศิษย์ ไม่ต้องขออนุญาต ขอให้ปฏิบัติตามนี้ อยู่ที่ไหนไม่เคยเห็นหน้ากันเลยก็รับเป็นศิษย์ คือ ๑.ศิษย์ชั้น ๓ พยายามรักษาศีล ๕ ได้เสมอ อาจจะขาดตกบกพร่องบ้าง แต่ก็พยายามรักษาให้ครบถ้วนมากที่สุดที่จะทำได้ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์ชั้น ๓ คือศิษย์ขนาดจิ๋ว ๒.ศิษย์รุ่นกลาง มีปฏิปทาดังนี้ มีศีลบริสุทธิ์เป็นปกติ พยายามรักษาอารมณ์ให้ทรงสมาธิเสมอตามสมควร ไม่ละเมิดศีลเป็นปกติ อย่างนี้ขอรับไว้เป็นศิษย์รุ่นกลาง ๓.ศิษย์เอก มีปฏิปทาดังนี้ (ก)รักษาศีล ๕ ครบถ้วนเป็นปกติ (ข)เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระอริยสงฆ์ ไม่สงสัยในความดีของท่าน มีอารมณ์ตั้งมั่นว่า ถ้าตายไปจากคนชาตินี้ ขอไปนิพพานจุดเดียว พยายามละความโลภ ความโกรธ ความหลงเป็นปกติ ถ้าปฏิบัติได้ตามที่กล่าวมานี้ มาพบหรือไม่มา ขออนุญาตเป็นศิษย์ หรือไม่ขออนุญาตก็ตาม ให้ทราบว่าอาตมารับเป็นศิษย์แล้วด้วยความเต็มใจ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) ประวัติพระราชพรหมญาณ พระราชพรหมญาณ (วีระ ถาวโร) หรือ หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง จังหวัดอุทัยธานี ท่านเป็นพระอริยสงฆ์ ผู้เป็นที่เคารพนับถือของศานุศิษย์ผู้ปฏิบัติธรรม ในแนวทางแห่งมโนมยิทธิ ท่านเป็นลูกศิษย์ของหลวงพ่อปาน โสนนฺโท วัดบางนมโค ตลอดชีวิตของท่าน ท่านได้บำเพ็ญกิจแห่งพระสงฆ์ได้สมบูรณ์พร้อมทุกประการ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยูู่่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์ เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับ เป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรส แท้องค์หนึ่ง พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ พระธาตุชานหมากหลวงพ่อฤาษีลิงดำ เมื่อเอ่ยถึงหลวงพ่อพระราชพรหมยาน อาจจะไม่มีใครทราบแต่เมื่อเอ่ยนาม "หลวงพ่อฤาษีลิงดํา" ผมเชื่อว่าท่านผู้อ่านนับเรือนแสนหรือนับล้านต้องรู้จักแน่ หลวงพ่อท่านเป็นพระพิเศษกล่าวคือ มีความสามารถคลุมหมด คลุมสุกขวิปัสสโกด้วยเอาไว้ในตัว เอาวิชชาสามเข้าไว้ด้วย แล้วเอาอภิญญาหกเข้าไว้ด้วย แล้วก็ฉลาดมาก คือว่า ฉลาดในธรรมะขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าทุกอย่าง หรือที่เรียกว่า "ปฏิสัมภิทาญาณ" นอกจากนั้นหลวงพ่อยังเป็นพระผู้ทรงอภิญญาใหญ่ และที่เป็นที่กล่าวขวัญในลูกศิษย์คือ "อารมณ์จิตหลวงพ่อเร็วมาก" สามารถแปรอรรถธรรมจากยากเป็นง่ายได้อย่างพิสดาร ซึ่งแม้แต่พระอริยะเจ้าผู้มีพรรษาอาวสุโสที่สุดในสายกรรมฐานหลวงปู่มั่น คือ "พระผู้อยู่ในดวงใจนับศัตวรรรษ" หลวงปู่บุดดา ถาวโร ได้เคยกล่าวว่า ให้ลูกศิษย์ไปหาอาจารย์ใหญ่ที่วัดท่าซุง หลวงพ่อท่านยังได้รับคํายกย่องจากหลวงปู่คําแสนว่า "ในกึ่งพุทธกาลไม่มีใครเกินหลวงพ่อ" นั้นย่อมเป็นเหตุเป็นผลว่า "พระระดับนึ้หาไม่ได้อีกแล้ว " ในนามคณะศิษย์ขออนุโมทนาทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการตามรอยและผู้อ่านทุกท่านจงมีแต่ความสุขความเจริญ ขอให้คําว่า ไม่มีจงอย่าปรากฏตราบเท่าเข้าสู่พระนิพพาน คณะศิษยานุศิษย์ 2 กุมภาพันธ์ 2552 ชีวประวัติ ของ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดํา) แห่งวัดท่าซุง หลวงพ่อพระราชพรหมยาน เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ได้ปฏิบัติข้อวัตรปฏิบัติจากหลวงพ่อปาน นอกจากนั้นหลวงพ่อท่านยังเชี่ยวชาญในด้านพระกรรมฐานทั้ง 40 กองในวิสุทธิมรรคและมหาสติปัฏฐาน 4 ท่านยังได้นํามาถ่ายทอดให้ศิษยานุศิษย์ได้ศึกษาเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ ตามพระธรรมคําสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลวงพ่อท่านยังเป็นพระที่มักน้อย สันโดษและสร้างสาธารณะประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนาและชาติบ้านเมืองเป็นอย่างมาก ดังนั้นจึงควรนําประวัติของท่านมาลงเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไป ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:48:35 ชาติภูมิ หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร ) เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2459 ตรงกับวันขึ้น 9 ค่ำ เดือน 8 ปีมะโรง ที่ตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้าจังหวัดสุพรรณบุรี บิดาชื่อ นายควง สังข์สุวรรณ มารดาชื่อ นางสมบุญ สังข์สุวรรณ ท่านเป็นบุตรคนที่ 3 จากพี่น้องร่วมบิดามารดาจำนวน 5 คน ดังนี้ นายวงษ์ สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2453 ปีจอ ถึงแก่กรรมเมื่อ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 นางสำเภา ยาหอมทอง(สังข์สุวรรณ) เกิดเมื่อ พ.ศ. 2457 ปีขาล พระราชพรหมยาน (พระมหาวีระ ถาวโร(สังข์สุวรรณ)) พระครูพิศาลวุฒิธรรม (พระมหาเวก อักกวังโส(สังข์สุวรรณ)) เดิมชื่อ หวั่น เกิดปีพ.ศ. 2463 ปีวอก วัดดาวดึงษาราม กรุงเทพมหานคร ด.ญ. อุบล สังข์สุวรรณ เกิดปี พ.ศ. 2468 ปีฉลู ถึงแก่กรรมตั้งแต่อายุ 4 ขวบ เดิมชื่อ พัว บิดาเป็นหัวหน้าหาเลี้ยงครอบครัวโดยเป็นเจ้าของนาอยู่ 40 กว่าไร่ ทำนาได้ข้าวปีละ 9 - 10 เกวียน สมัยนั้นราคาข้าวเกวียนละ 20 - 25 บาท บิดาจึงมีอาชีพหลัก คือ ทำนาและหาปลา มารดาเป็นคนใจบุญสุนทาน ขณะจะตั้งครรภ์ นอนฝัน เห็นพรหมมีสีเหลืองเป็นทองคำเหมือนพระพุทธรูป นอนลอยไปในอากาศ มีเพชรประดับแพรวพราวทั้งตัว เข้าทางหัวจั่วด้านทิศเหนือ เข้ามานั่งที่ตักท่าน มารดาก็กอดไว้ แล้วก็หายเข้าไปในกาย เมื่อเกิดมาใหม่ ๆ ลุงที่บวชเป็นพระได้ฌานสมาบัติ (หลวงพ่อเล็ก เกสโร) ท่านบอกว่า เจ้าเด็กคนนี้มาจากพรหม ดังนั้นจึงให้ชื่อว่า "พรหม" และต่อมาภายหลัง คนที่จดสำมะโนครัวเขามาเปลี่ยนชื่อให้เป็น "สังเวียน" เนื่องจากท่านเป็นคนใจกล้า ไม่กลัวใคร ท่านยายกับชาวบ้านเรียกว่า "เล็ก" ส่วนท่านมารดาและพี่ ๆ น้อง ๆ เรียกว่า "พ่อกลาง" พ.ศ. 2466 อายุ 7 ขวบ เข้าเรียนหนังสือที่โรงเรียนประชาบาลวัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จนจบชั้นประถมปีที่ 3 พ.ศ. 2474 อายุ 15 ปี อาศัยกับท่านยายที่บ้านหน้าวัดเรไร อำเภอตลิ่งชัน จังหวัดธนบุรี ได้ศึกษาวิชาแพทย์แผนโบราณ พ.ศ. 2478 อายุ 19 ปี เข้าทำงานเป็นเภสัชกรทหาร สังกัดกรมการแพทย์ทหารเรือ (ปัจจุบันคือโรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า) พ.ศ. 2479 อายุ 20 ปี อุปสมบทเป็นภิกษุเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2479 เวลา 13.00 นาฬิกา ที่วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยมีพระครูรัตนาภิรมย์ เป็นพระอุปัชฌาย์, พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ พระอาจารย์เล็ก เกสโร เป็นพระอนุสาวนาจารย์ คำสั่งพระอุปัชฌาย์ ขณะเข้าบวช หลวงพ่อปาน ท่านบอกท่านอุปัชฌาย์ว่า เจ้านี่หัวแข็งมาก ต้องเสกด้วยตะพดหนักหน่อย ท่านอุปัชฌาย์ท่านเป็นพระทรงธรรมเหมือนหลวงพ่อ(ปาน) หลวงพ่อเล็กก็เหมือนกัน ท่านอุปัชฌาย์ท่านยิ้มแล้วท่านพูดว่า "3 องค์นี้ไม่สึก อีกองค์ต้องสึกเพราะมีลูก เมื่อจะสึกไม่ต้องเสียดายนะลูก เกษียณแล้วบวชใหม่มีผลสมบูรณ์เหมือนกัน 2 องค์นี้พอครบ 10 พรรษาต้องเข้าป่า เมื่อเข้าป่าแล้วห้ามออกมายุ่งกับชาวบ้านจนกว่าจะตาย จะพาพระและชาวบ้านที่อวดรู้ตกนรก จงไปตามทางของเธอ ท่านปานช่วยสอนวิชาเข้าป่าให้หนักหน่อย ท่านองค์นี้ (หมายถึงฉัน) จงเข้าป่าไปกับเขา แต่ห้ามอยู่ในป่าเป็นวัตร เพราะเธอมีบริวารมาก ต้องอยู่สอนบริวารจนตาย พอครบ 20 พรรษาจงออกจากสำนักเดิม เธอจะได้ดี จงไปตามทางของเธอ ฉันบวชพระมามากแล้วไม่อิ่มใจเท่าบวชพวกเธอ" พ.ศ. 2480 อายุ 21 ปี สอบได้นักธรรมตรี พ.ศ. 2481 อายุ 22 ปี สอบได้นักธรรมโท พ.ศ. 2482 อายุ 23 ปี สอบได้นักธรรมเอก ระหว่างพรรษาที่ 1 - 4 - เรียนอภิญญา - ธุดงค์ป่าช้า, ป่าศรีประจันต์, พระพุทธบาท, พระพุทธฉาย, เขาวงพระจันทร์, เขาชอนเดื่อ, ตาคลี จังหวัดนครสวรรค์, ดงพระยาเย็น, ภูกระดึง, พระแท่นดงรัง ฯลฯ - ศึกษาวิปัสสนา ระหว่างปี พ.ศ. 2480-2483 ได้ศึกษาพระกรรมฐาน จากครูบาอาจารย์หลายท่าน อาทิเช่นหลวงพ่อปาน โสนันโท วัดบางนมโค, หลวงพ่อจง พุทธสโร วัดหน้าต่างนอก, พระอาจารย์เล็ก เกสร วัดบางนมโค, พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน, พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า, หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ, หลวงพ่อเนียม วัดน้อย, หลวงพ่อโหน่ง วัดอัมพวัน (วัดคลองมะดัน) และ หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ พ.ศ. 2483 อายุ 24 ปี เข้ามาจำพรรษาที่วัดช่างเหล็ก อำเภอตลิ่งชัน ธนบุรี เพื่อเรียน บาลีจากนั้นย้ายมาอยู่ที่วัดอนงคารามในช่วงออกพรรษาในสมัยสมเด็จพระพุฒาจารย์(นวม) อยู่วัดช่างเหล็กในช่วงเข้าพรรษา ระหว่างนี้ได้ศึกษาเพิ่มเติมกรรมฐานกับหลวงพ่อสดวัดปากน้ำภาษีเจริญ และพบพระสุปฏิปันโนอีกมาก เช่น สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) เป็นต้น พ.ศ. 2486 อายุ 27 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 3 ประโยค เปลี่ยนชื่อเป็น "พระมหาวีระ" เพื่อไม่ให้คล้ายกับ พระมหาสำเนียง ที่อยู่วัดช่างเหล็ก ที่เดียวกัน พ.ศ. 2488 อายุ 29 ปี สอบได้ เปรียญธรรม 4 ประโยค ย้ายมาอยู่วัดประยูรวงศาวาส ได้เป็นรองเจ้าคณะ 4 วัดประยูรวงศาวาส และฝึกหัดการเป็นนักเทศน์ พ.ศ. 2492 อายุ 33 ปี จำพรรษาที่วัดลาวทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พ.ศ. 2494 อายุ 35 ปี จึงกลับไปอยู่วัดบางนมโคจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นเจ้าอาวาสวัดบางนมโค พ.ศ. 2500 อายุ 41 ปี อาพาธหนักเข้าโรงพยาบาลกรมแพทย์ทหารเรือ พ.ศ. 2502 อายุ 43 ปี พักฟื้นที่วัดชิโนรสาราม จังหวัดกรุงเทพมหานครฯ จากนั้นจึงได้ย้ายไปอยู่วัดโพธิ์ภาวนาราม อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ซึ่งขณะนั้นยังเป็นสำนักสงฆ์ ได้ลูกศิษย์รุ่นแรก 6 คน พ.ศ. 2505 อายุ 46 ปี ไปจำพรรษาที่วัดพรวน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เป็นเวลา 1 พรรษา พ.ศ. 2506 อายุ 47 ปี กลับมาจำพรรษาที่วัดโพธิ์ภาวนาราม พอกลางเดือนมิถุนายน ก็ได้ลาพุทธภูมิ พ.ศ. 2508 อายุ 49 ปี จำพรรษาที่ วัดปากคลองมะขามเฒ่า ตำบลมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท แล้วเริ่มไป - กลับวัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท เพื่อสอนพระกรรมฐาน พ.ศ. 2510 อายุ 51 ปี ได้สอนวิชามโนมยิทธิ แล้วจึงจำพรรษาที่วัดสะพาน อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 2511 อายุ 52 ปี ในวันที่ 11 มีนาคม จึงมาอยู่วัดจันทาราม (ท่าซุง) ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ได้ทำบูรณะ สร้างและขยายวัด จากเดิมมีพื้นที่ 6 ไร่ 2 งาน 07 2/10 ตารางวา จนกระทั่งเป็นวัดที่มีบริเวณพื้นที่ประมาณ 289 ไร่ 1 งาน 40 ตารางวา มีอาคารและถาวรวัตถุต่าง ๆ จำนวน 144 รายการในวัด สิ้นค่าก่อสร้างทั้งสิ้น 611,949,193 บาท สิ่งก่อสร้างทั้งในวัดและนอกวัด อาทิเช่น หอสวดมนต์, พระพุทธรูป, อาคารปฏิบัติกรรมฐาน, ศาลาการเปรียญ, วิหาร 100 เมตร, โบสถ์ใหม่, บูรณะโบสถ์เก่า, ศาลา 2 ไร่, 3 ไร่, 4 ไร่ และ 12 ไร่, หอไตร, โรงพยาบาลศูนย์แม่และเด็ก ชนบทที่ 61, พระจุฬามณี, มณฑปท้าวมหาราชทั้ง 4, พระบรมราชานุสาวรีย์ 6 พระองค์, พระชำระหนี้สงฆ์, โรงไฟฟ้า, โรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา, ศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ เป็นต้น ทั้งยังได้ช่วยการก่อสร้างที่วัดอื่น ๆ ในประเทศไทยอีกมากมาย พ.ศ. 2520 อายุ 61 ปี ตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในแดนทุรกันดารตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2526 อายุ 67 ปี สร้างโรงพยาบาลแม่และเด็กชนบทที่ 61 และมอบให้กรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2527 อายุ 68 ปี ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชคณะชั้นสามัญเปรียญวิ.(ป.ธ.4 น.ธ.เอก) ที่ "พระสุธรรมยานเถร" พ.ศ. 2528 อายุ 69 ปี สร้างโรงเรียนพระสุธรรมยานเถระวิทยา พ.ศ. 2532 อายุ 73 ปี ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพรราชาคณะชั้นราช ที่ "พระราชพรหมยาน ไพศาลภาวนานุสิฐ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี" พ.ศ. 2535 อายุ 76 ปี ได้อาพาธด้วยโรคปอดบวมอย่างแรง และติดเชื้อในกระแสโลหิต เข้ารักษาที่โรงพยาบาลศิริราช และมรณภาพที่โรงพยาบาลศิริราช เมื่อวันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม 2535 เวลา 16.10 น. ปัจจุบันศพของหลวงพ่อได้บรรจุไว้ในโลงแก้วบนบุษบกทองคำที่ประดับด้วยอัญมณีอันวิจิตรงดงาม ณ วัดจันทาราม ตำบลน้ำซึม อำเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี ตลอดระยะเวลาที่อุปสมบทอยู่ หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้ทำหน้าที่ของพระสงฆ์ ในพระพุทธศาสนาอย่างสมบูรณ์ กล่าวคือ ทางด้านชาติ ได้สร้างโรงพยาบาล, สร้างโรงเรียน, จัดตั้งธนาคารข้าว, ออกเยี่ยมเยียน ทหารหาญของชาติและตำรวจตระเวณชายแดนตามหน่วยต่าง ๆ เพื่อ ปลุกปลอบขวัญและกำลังใจ และ แจกอาหาร, ยา, อุปกรณ์อำนวยความสะดวก และวัตถุมงคลทั่วประเทศ ทางด้านพระศาสนา ได้สั่งสอนพุทธบริษัทศิษยานุศิษย์ให้มุ่งพระนิพพานเป็นหลัก โดยให้ประพฤติปฏิบัติสำรวมกาย, วาจา, ใจ, มุ่งในทาน, ศีล, สมาธิ และปัญญา ทั้งในทางกรรมฐาน 40 และมหาสติปัฏฐานสูตร ได้พิมพ์หนังสือคำสอนจำนวนมากและบันทึกเทปคำสอนกว่า 1,000 ม้วน นอกจากนี้ยังได้แสดงธรรมเทศนาทางสถานีวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์เป็นครั้งคราว นอกจากนี้ ยังเดินทางไปสงเคราะห์คณะศิษย์ในต่างจังหวัดและต่างประเทศทุก ๆ ปี ทางด้านวัตถุ ท่านได้ช่วยสร้างพระพุทธรูปและถาวรวัตถุไว้ในพระพุทธศาสนามากกว่า 30 วัด รวมทั้งการบูรณะฟื้นฟูวัดท่าซุงด้วยเงินกว่า 600 ล้านบาท ได้สร้างพระไตรปิฎก และถวายผ้าไตรแก่วัดต่างๆ ปีละไม่ต่ำกว่า 200 ไตร ทางด้านพระมหากษัตริย์ท่านได้สนองพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยการจัดตั้งศูนย์สงเคราะห์ผู้ยากจนในถิ่นทุรกันดารตามพระราชประสงค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 ซึ่งศูนย์ฯ นี้ได้ดำเนินการสงเคราะห์ราษฎรในถิ่นทุรกันดารทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2520 ทั้งการแจกเสื้อผ้า, อาหาร และยารักษาโรคแก่ราษฎรผู้ยากจน, การช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยทางธรรมชาติ, การจัดแพทย์เคลื่อนที่ออกรักษาพยาบาลราษฎรผู้เจ็บป่วย, การให้ทุน นักเรียนที่เรียนดีแต่ยากจน, การบริจาคทุนทรัพย์ให้แก่มูลนิธิและโรงพยาบาลต่าง ๆ ฯลฯ นับได้ว่าพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชพรหมยานเป็นปูชนียบุคคลผู้อยู่ด้วยความกรุณา เป็นปกติ พร่ำสอนธรรมะและสิ่งทีเป็นประโยชน์และสงเคราะห์เกื้อกูลมหาชนด้วยเมตตามหาศาลสมกับเป็น ศากยบุตรพุทธชิโนรสแท้องค์หนึ่ง ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:49:13 คุณวิเศษส่วนองค์และต่อส่วนรวม 1. เป็นผู้ได้บำเพ็ญบารมีมามาก 2. ทรงอภิญญาสมาบัติและปฏิสัมภิทาญาณ 3. ทรงเถรธรรม ประกอบด้วย รัตตัญญู (รู้ราตรีนาน), สีลวา (มีศีล), พหุสสุตะ (ทรงความรู้ได้ฟังมาก), สวาคตะปาฏิโมกขะ (วินิจฉัยพระวินัยได้ดี), อธิกรณสมุปปาทวูปสมกุสละ (ฉลาดในการระงับอธิกรณ์ที่เกิดขึ้น), ธัมมกามะ (ใคร่ในธรรม), สันตุฏฐะ (สันโดษ), ปาสาทิกะ (น่าเลื่อมใส), ฌานลาภี (คล่องในฌาน) และ อนาสวเจโตวิมุตติ ปัญญาวิมุตติ (บรรลุเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ สิ้นอาสวกิเลส 4. รู้แจ้งในไตรภูมิ 5. เป็นที่รักของพระ พรหม เทพยดาและมนุษย์ทั้งปวง 6. สอนคนให้เข้าใจถึงพระนิพพานได้จริง ตามมาตรฐานการปฏิบัติธรรมแห่งพระพุทธศาสนาครบถ้วนทั้ง 4 หมวด อันได้แก่ 6.1) สุกขวิปัสสโก ปฏิบัติธรรมแบบเรียบ ๆ มีมรรคมีผล แต่ไม่มีความรู้พิเศษ 6.2) เตวิชโช หรือเรียกว่า วิชชา 3 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือ ทิพจักขุญาณ รู้ว่าคนเกิดมาจากไหน ตายไปไหน เป็นต้น มีญาณ 8 ประการ 6.3) ฉฬภิญโญ หรือเรียกว่า อภิญญา 6 มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษคือแสดงฤทธิ์ได้ 5 อย่าง หากหมดกิเลสด้วยจะเรียกว่าได้อภิญญา 6 6.4) ปฏิสัมภิทัปปัตโต หรือเรียกว่า ปฏิสัมภิทาญาณ มีมรรคมีผล และมีความรู้พิเศษครอบคลุมทั้ง 3 หมวดแรก ปฏิสัมภิทาญาณนั้นคือ ทรงพระ ไตรปิฎก(แตกฉานในเหตุและผล), รู้ภาษาคนทุกภาษาและภาษาสัตว์ทุกชนิด และคล่องแคล่วในการสอนธรรม (ขยายความให้เข้าใจก็ได้ ย่อความให้เข้าใจก็ได้) คำกล่าวที่จารึกในแผ่นทองซึ่งบรรจุใต้แท่นพระประธาน เมื่อพ.ศ. 2519 ในแผ่นทองได้จารึกไว้ดังนี้ เราพระมหาวีระ มีพระราชานามว่า ภูมิพล เป็นผู้อุปถัมถ์ ร่วมด้วยพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ สร้างวัดนี้เป็นพุทธบูชา เมื่อศักราชล่วงไปแล้ว 2700 ปีปลาย จะมีพระเจ้าธรรมิกราช นามว่า ศิริธรรมราชา สืบเชื้อสายมาจากเชียงแสนและสุโขทัย ร่วมกับพระอรหันต์ จะมาบูรณะวัดนี้ สืบพระศาสนาต่อไป คณะของเราขอโมทนา แต่อยู่ช่วยไม่ได้ เพราะไปพระนิพพานหมดแล้ว อีกทั้งท่านยังได้ตั้งสัตยาธิษฐานฝากลูกหลานของท่านไว้ดังนี้ ฉันขอตั้งสัตยาธิษฐาน อ้างคุณพระศรีรัตนตรัย มีองค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นประมุข พร้อมด้วยพระอริยสงฆ์ทั้งหมดและพระพรหม และเทพเจ้าทั้งหมด ขอทุกท่านจงกำหนดจิต จดจำลูกหลานของฉันไว้ ว่าบุคคลใดก็ตาม เมื่อเวลาจะตายขอให้สติสัมปัชัญญะสมบูรณ์ มีจิตน้อมไปในกุศลกรรม และขอให้ได้รับผลที่ฉันได้ทำไปแล้วทุกประการแก่ลูกหลานของฉันทุกคน เวลานี้ฉันมองดูแล้วนะ ตรวจดูแล้ว สิ่งที่ฉันต้องการมันสมใจนึกแล้ว ฉันมีความอิ่มใจบอกไม่ถูก ปลื้มใจที่ความปรารถนาสมหวัง ที่ฉันตั้งใจไว้นาน ปรารถนาไว้นานคิดว่าจะทำไม่ได้ แต่เวลานี้ทำได้แล้ว ลูกหลานของฉันทุกคน มีศรัทธาเป็นอจลศรัทธาแล้ว มีความมั่นคงในพระพุทธศาสนาแล้ว มีความดีพอสมควรแล้ว อุโบสถหลังใหม่นี้ มีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในพระเกศมาลาของสมเด็จพระ พุทธพรมงคล พระประธานในพระอุโบสถ, เททองหล่อรูปหลวงพ่อปาน และทรงตัดลูกนิมิตด้วย ในช่วงพ.ศ. 2518 - 2520 พระสงฆ์ที่หลวงพ่อพระราชพรหมยานได้เคยสนทนา หรือเป็นสหาย ได้แก่ 1. พระครูวิหารกิจจานุการ (ปาน โสนันโท) วัดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : ท่านเป็นปฐมาจารย์ ผู้สั่งสอนเป็นองค์แรก สอนกรรมฐานทุกตอนจนถึงระดับนิพพาน และพยายามฝึกฝนให้จนมีความเข้าใจในการปฏิบัติกรรมฐานจนมี ความเข้าใจ 2. หลวงพ่อเล็ก เกสโร วัดดบางนมโค อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา : อาจารย์ที่สองรองจากหลวงพ่อปาน เป็นตัวแทนหลวงพ่อปาน ในการควบคุมดูแลในการปฏิบัติเบื้องต้นท่านอยู่วัดบางนมโค เช่นเดียวกัน 3. พระครูอุดมสมาจารย์ วัดน้ำเต้า อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 4. หลวงพ่อปั้น วัดพิกุล อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 5. หลวงพ่อสุ่น วัดบางปลาหมอ อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 6. หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 7. พระครูรัตนาภิรมย์ วัดบ้านแพน อำเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา :พระอุปัชฌาย์ของหลวงพ่อพระราชพรหมยาน 8. หลวงพ่อเนียม วัดน้อย อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 9. หลวงพ่อโหน่ง วัดคลองมะดัน อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี 10. หลวงพ่อเรื่อง วัดใหม่พิณสุวรรณ อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี 11. พระครูสุวรรณพิทักษ์บรรพต เจ้าคณะ 11 วัดสระเกศ จังหวัดพระนคร 12. สมเด็จพระสังฆราช (อยู่ ญาโณทัย) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร จังหวัดกรุงเทพฯ 13. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (นวม) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 14. ท่านเจ้าคุณ พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) วัดปากน้ำภาษีเจริญ จังหวัดธนบุรี 15. ท่านเจ้าคุณ พระธรรมปาหังสณาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดประยุรวงศาวาส ธนบุรี 16. ท่านเจ้าคุณ พระมหาโพธิวงศาจารย์ เจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 17. พระเดชพระคุณ สมเด็จพระพุฒาจารย์ อดีตเจ้าอาวาส วัดอนงคาราม จังหวัดธนบุรี 18. พระอาจารย์เกษม วัดดาวดึงสาวาส จังหวัดธนบุรี 19. พระอาจารย์ทอง วัดราษฎรสุนทรเจริญ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 20. ท่านอาจารย์สุข (เป็นฆราวาส) ตำบลแพงพวย อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี 21. พระเทพวิสุทธิเวที (ไสว สุจิตฺโต ป.ธ.6) อดีตเจ้าอาวาสวัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 22. พระราชวิสุทธิเมธี (พระมหาวิจิตร วิจารโณ; พระศรีวิสุทธิโสภณ ในสมัยนั้น) วัดอนงคาราม จังหวัดกรุงเทพฯ 23. พระมงคลชัยสิทธิ์ (พระครูวิชาญชัยคุณ ในสมัยนั้น) วัดปากคลองมะขามเฒ่า อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท 24. พระวิสุทธาธิบดี วัดไตรมิตร จังหวัดกรุงเทพฯ 25. พระราชอุทัยกวี จังหวัดอุทัยธานี 26. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เสงี่ยม จันทสิริ) 27. พระครูปิยรัตนาภรณ์ (บุญรัตน์ กันตจาโร) วัดโขงขาว ตำบลบ้านแหวน อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ 28. หลวงปู่ชุ่ม โพธิโก วัดไชยมงคล(วัดวังมุย) จังหวัดลำพูน 29. พระครูสุคันธศีล (หลวงปู่คำแสน) วัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่ 30. หลวงปู่แหวน สุจิณโณ วัดดอยแม่ปั๋ง(ดอยม่อนเวียง) อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ 31. หลวงปู่คำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล สันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่ 32. หลวงพ่อทืม(หลวงพ่อบุญทืม พรหมเสโน) วัดจามเทวี จังหวัดลำพูน 33. พระครูสันติวรญาณ(หลวงพ่อสิม) วัดถ้ำผาปล่อง เชียงดาว 34. พระครูพรหมจักสังวร (พระสุพรหมยานเถระ; ครูบาพรหมจักโก) วัดพระพุทธบาทตากผ้า อำเภอป่าซางจังหวัดลำพูน 35. พระครูภาวนาภิรัตน์ (พระสุธรรมยานเถระ; ครูบาอินทจักรรักษา) วัดวนาราม(วัดน้ำบ่อหลวง) อำเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ 36. พระครูพัฒนกิจจานุรักษ์ (ครูบาชัยยะวงศาพัฒนา) วัดพระพุทธบาทห้วยต้ม อำเภอลี้ จังหวัดลำพูน 37. พระพุทธโฆษาจารย์ วัดสามพระยา จังหวัดกรุงเทพฯ 38. สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ ป.ธ.9) วัดสระเกศราชวรมหาวิหาร 39. พระครูวรเวทย์วิสิฐ (ครูบาธรรมชัย) วัดทุ่งหลวง อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ 40. พระภาวนาปัญญาวิสุทธิ์ (อำพัน บุญ - หลง) วัดเทพศิรินทราวาส จังหวัดกรุงเทพฯ 41. หลวงปู่บุดดา ถาวโร วัดกลางชูศรีเจริญสุข อำเภอบางระจัน จังหวัดสิงห์บุรี 42. สมเด็จพระมหาวีรวงศ์ วัดราชผาติการาม จังหวัดกรุงเทพฯ ยังคงมีพระสงฆ์อีกมากรูปในชั่วชีวิตของพระราชพรหมยานฯ ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:17 ประสบการณ์ของผู้ที่ปฏิบัติตามคำแนะนำของหลวงพ่อ ที่ได้รับผลในปัจจุบันนี้ ผู้ถาม : "หลวงพ่อครับ ผมก็คิดเรื่องการเรื่องงานเป็นประจำเลยครับ ทีนี้อยากถามว่ากรรมฐานบทไหนที่ทำให้ค้าขายดีครับ..?" หลวงพ่อ : "อ๋อ... ก็บทค้าขายราคาถูกซิ เขาขายหนึ่งบาท เราขายห้าสิบสตางค์ รับรองพรึบเดียวหมด บทนี้ดีมาก เพราะเมตตาบารมีไงล่ะ" ผู้ถาม : "โอ้โฮ.. ตรงเปี๊ยบเลยหลวงพ่อ.." หลวงพ่อ : "ยังมีอีกนะ ถ้าบทที่สองดีกว่านี้อีก จาคานุสสติ แจกดะเลย" ผู้ถาม : ( หัวเราะ ) "โอ...บทนี้น่ากลัวจนแย่เลย" หลวงพ่อ : "ไอ้เรื่องค้าขายดีมีคาถาตกอยู่บทหนึ่ง" ผู้ถาม : "เดี๋ยวผมขอจดก่อนครับ" หลวงพ่อ : "ไม่ต้องจดหรอก คาถามหาโต๊ะ มหาโต๊ะนี่สมัยนั้นบวชด้วยกัน มีโยมคนหนึ่งแกหาบข้าวแกงมาขาย หาบไปตั้งแต่เช้ากลับมาบ่าย มันก็ไม่หมด วันหนึ่งมหาโต๊ะยืนล้างหน้าอยู่ที่หน้าต่างแกก็บอก "ท่านมหา มีคาถาอะไรดี ๆ ทำน้ำมนต์ให้ทีเถอะจะได้ขายหมดเร็ว ๆ " มหาโต๊ะแกไม่ใช่นักคาถาอาคมกะเขานี่ ก็นึกไม่ออก แต่ไอ้นี่น่าจะดีว่ะ "อนัตตา" แกนึกในใจนะ แกไม่ได้บอก แกก็เอาน้ำล้างหน้าพรม ๆ ยายนั่นแกก็กลับไป พอสาย ๆ แกก็กลับ ปรากฏว่าหมด" ผู้ถาม : "อะไรหมดครับ...?" หลวงพ่อ : "ของหมด ข้าวแกงหมด แต่หม้อยังอยู่ หาบยังอยู่และคนหาบก็ยังอยู่ แหม..นี่ต้องให้อธิบายให้ละเอียดเลยนะ" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"คือสงสัยครับ" หลวงพ่อ : "ก็เป็นอันว่าวันต่อมา โยมคนนั้นแกก็มาหาเรื่อย ๆ แกก็สังเกตมหาโต๊ะ ในที่สุดมหาโต๊ะต้องทำน้ำมนต์ด้วยคาถาบทนี้เอาไว้ที่บูชา แกก็ไปขายหมดทุกวัน ก็แปลกเหมือนกันเพราะจิตตรงใช่ไหม .. อนัตตา นี่เขาแปลว่าสลายตัวไงล่ะ" ผู้ถาม : "ลูกหลานเอาไปใช้ได้ไหมครับหลวงพ่อ..?" หลวงพ่อ : "ปู่ย่าตายายก็ใช้ได้" ผู้ถาม : ( หัวเราะ )"แล้ว คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า ใช้ได้ไหมครับ...?" หลวงพ่อ : "ความจริงคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้าของเขาก็ดี เขาขายของแล้วก็พรมตั้งแต่ตอนเช้า ถ้าตั้งร้านก็พรมหน้าร้านตั้งแต่เช้าตรู่ ตอนล้างหน้านั่นแหล่ะ ทำตอนนั้น เอาน้ำ ล้างเสกด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เสกแล้วพอล้างหน้าเสร็จก็พรม ตอนพรมก็ว่าไปด้วยนะ" ผู้ถาม : "บางคนก็บอกว่า ถ้าว่าคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ ก็จะมีลาภมาก..?" หลวงพ่อ : "มหาปุญโญ เป็นคาถาเสกพระวัดพนัญเชิง เจ้าอาวาสวัดนั้นรูปร่างผอมดำ นั่งเสกด้วยคาถาบทนี้ ๓ ปี ฉะนั้นวัดนั้นจึงมีลาภมาก แล้วต่อมาสมเด็จหรือใครก็ไม่ทราบ ถามว่าเสกด้วยคาถาอะไร ท่านบอกว่า เสกด้วยคาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เมฯ แล้วท่านก็บอกให้ต่อด้วยคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า มีอยู่รายหนึ่งชื่อ นายแจ่ม เปาเล้ง บ้านอยู่อำเภอดำเนินสะดวก แกเป็นคนจน ทำสวนอยู่ที่บางช้าง ปลูกพริกขายเป็นอาชีพ เพราะอาศัยความจนของแก จึงได้เป็นหนี้เป็นสินเขาอยู่ตั้ง ๒ หมื่น ( นี่พูดถึงเงินในสมัยนั้นนะ เดี๋ยวนี้เป็นเงินเท่าไรก็คิดกันดู ) ตาแจ่มจึงมาขอเรียนคาถาพระปัจเจกโพธิ์ เมื่อได้ไปแล้ว วัน ๆ ไม่ได้ทำอะไรนอกจากท่องแต่คาถาอย่างเดียว นั่งทำอยู่ทั้งวันทั้งคืน ข้างฝ่ายลูกเมียของตาแจ่มก็ดีแสนดี ไม่ยอมให้แกทำอะไรเหมือนกัน นอกจากท่องคาถา "คาถาบทนี้ เขาทำแล้วรวยนี่ ต้องให้มันรวยให้ได้" ลูกเมียแกว่าอย่างนั้น ตาแจ่มแกคิดจะเอาอย่าง นายประยงค์ ตั้งตรงจิตร นั่นแหล่ะ? ทีนี้ พอพริกออกดอกออกผลขึ้นมาจริง ๆ ตาแจ่มก็คิดจะขายพริกละ ไอ้พริกของคนอื่นนะ งามสะพรั่งมีพริกเยอะแยะ มองดูหนาทึบ ไปหมด ส่วนพริกของตาแจ่มพิเศษกว่าเขา มียอดหงุก ๆ หงิก ๆ เม็ดก็บางตา มองดูโปร่ง ๆ ดูท่าทางแล้วเห็นจะขายได้ไม่กี่สตางค์ อีตอนเก็บนี่ซิ คนอื่นเก็บพริกได้กองใหญ่เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้กองโตเท่านั้น เห็นพริกบาง ๆ ยอดหงุกหงิก ๆ นั่นแหล่ะ เขาเก็บได้เท่าไร ตาแจ่มก็เก็บได้เท่านั้น มาถึงตอนขาย เจ๊กชั่งของคนอื่นได้ ๑ หาบ พอมาของตาแจ่มกลับเป็น ๒ หาบ ทั้ง ๆ ที่กองก็โตเท่ากัน เจ๊กหาว่าตาแจ่มโกง คิดว่าเอาทราบใส่เข้าไปในกองพริกเป็นการถ่วงน้ำหนักเลยเอะอะโวยวายใหญ่ ปรากฏว่าเม็ดดินเม็ดทรายที่เจ๊กว่า นั้นหาไม่ได้เลย เล่นเอาเจ๊กแปลกใจ แต่ก็ต้องซื้อไปตามนั้น พริกของคนอื่นเขาเก็บกัน ๒ - ๓ ครั้ง ก็หมดแล้วครั้งแรกมาก ครั้งที่สองได้มากหน่อย พอครั้งที่สาม เก็บได้อีกเพียงเล็กน้อยเป็นอันว่าหมดกัน ต้องถอนต้นพริกทิ้งแล้วปลูกกันใหม่ ส่วนพริกของตาแจ่มไม่เป็นอย่างนั้น ต้องลงมือเก็บกัน ๖ ครั้งถึงได้หมด พริกที่ได้แต่ละครั้งก็มีปริมาณเท่า ๆ กัน นี่ไอ้พริกใบหงุกหงิก ๆ นั้นแหละ เก็บกันซะ ๖ คราว ผลที่สุด พริกของตาแจ่มก็กลายเป็นของอัศจรรย์ แถมเจ๊กยังตีราคาให้สูงกว่า พริกของคนอื่นเสียอีก เพราะว่า "เมื่อส่งไปแล้วเป็นพริกที่มีค่า ทางโน้นเขาให้ราคาสูง" ปีนั้นจึงใช้หนี้สองหมื่นหลุดหมด แถมยังมีเงินเหลืออีกตั้งสองหมื่น" ( นี่เห็นไหม... ถ้าหากว่า ท่านภาวนาคาถาบทนี้อยู่เสมอ ท่านอาจจะรวยกว่านายแจ่มก็ได้นะ ) ต่อมามีผู้นำคาถา อนัตตา ไปปฏิบัติหลังจากที่หลวงพ่อแนะนำไปแล้ว เขาผู้นั้นได้เข้ามารายงานกับหลวงพ่อว่า "หลวงพ่อครับ อนัตตา แจ๋วเลยครับ อัศจรรย์มาก ตอนบ่ายวันนี้ฟลุ๊คมาก ของที่ผมขายฝรั่งซื้อคนเดียว ๑,๖๐๐ บาท ไม่เคยมีปรากฏเลยครับ"" "อาจารย์ทำยังไงล่ะ.. อาจารย์ใช้แบบไหน จึงมีผลตามลำดับ... จะได้แจกจ่ายคนอื่นเขาบ้าง" ผู้ถาม : "อันดับแรกตักน้ำใส่แก้ว แล้วนำไปไว้หน้าพระพุทธรูปที่โต๊ะหมู่บูชา แล้วชุมนุมเทวดาไหว้พระบูชาพระตามหลวงพ่อกล่าวนำ มีมนต์อะไรก็สวดไป ของผมสวดยาวหน่อย เมื่อสวดเสร็จแล้ว ก็อาราธนาบารมีพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า พระอรหันต์ทั้งหลาย พระอริยสงฆ์ทั้งหลาย แล้วก็มาหลวงปู่ปาน แล้วมาหลวงพ่อ เสร็จแล้วเช้าตื่นมาก็กราบแก้วน้ำ ๕ ครั้ง แล้วก็เอามาที่ห้องน้ำ แบ่งครึ่ง ครึ่งหนึ่งใส่ขันสำหรับล้างหน้า ก่อนจะแบ่งก็ตั้งจิตให้ดี ว่านะโม ๓ จบ แล้วก็ว่าคาถานี้อีกครั้งหนึ่ง เท่าที่ใช้ก็ใช้คาถา มหาปุญโญ มหาลาโภ ภวันตุ เม ฯ แล้วก็มาว่า คาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า เมื่อว่าเสร็จแล้วก็บอก "อนัตตา ขายเกลี้ยง" อีกครึ่งหนึ่งเราแบ่งมาแล้วก็ว่า คาถาวิระทะโย ไป แล้วก็พรมตู้อะไรต่าง ๆ แล้วก็ลงท้าย "อนัตตา ขายเกลี้ยง ๆ ๆ" แม้แต่หน้าร้านก็พรมออกไปเลย ถ้าใครเดินมาถูกน้ำมนต์ปุ๊บอยู่ไม่ได้ ต้องมาซื้อ อันนี้ได้ผลดีครับ" หลวงพ่อ : "อ้าว.. จำได้ไหมล่ะ อันนี้ก็ดีมีประโยชน์นะ ควรจะนำไปใช้ทุก ๆ คนนะ ฉันบอกให้อาจารย์เขาไปทำ ท่านทำแล้วผลมันเกิดขึ้นทุกวัน" ผู้ถาม : "แล้วถ้าฟลุ๊คอะไรเป็นพิเศษละก้อ เวลาจุดธูปเทียนหรือพรมน้ำมนต์ มันจะมีขนลุกซู่ซ่า ถ้าซู่มากละ มาแน่" หลวงพ่อ : "อ้อ..กำลังปีติสูง ใช่ เพราะซู่ซ่านี่เจ้าของมาแสดงให้ปรากฏ ถ้านึกถึงท่านจริง ท่านเข้ามาช่วยจริงก็ถือว่าเป็นอาการของปีติ เมื่อสัมผัสแล้วทางจิตใจก็เกิดปีติ ความอิ่มใจเกิดขึ้น ขนลุกซู่ซ่ามาก การแสดงออกตามอาจารย์พูดน่ะถูก ถ้าหากว่าสัมผัสน้อยก็มีผลน้อยหน่อย แต่ก็ดีกว่าปกติ สัมผัสมากก็มีผลมากหน่อย ปัจจุบันทันด่วน อันนี้ถูกต้อง ถ้าทำขึ้น หนักจริง ๆ นะ ถ้าขายของเป็นน้ำหนัก น้ำหนักจะสูงขึ้น แล้วก็ไม่สูงแต่ของเรา เอาไปขายคนอื่นต่อก็สูง นี่เขาทำมาแล้วนะ คนที่ไทรย้อยแกขายข้าว ไปซื้อข้าวมาวันนี้ พรุ่งนี้จะเอาไปขึ้นโรงสี แกก็พรมน้ำมนต์ก่อน พอถึงบ้านก็พรมน้ำมนต์หน่อย พอขึ้นโรงสีปรากฏว่าน้ำหนักสูง ถ้าหากว่าของที่เก็บไว้ในปี๊บในถงในอะไรก็ตาม จะมีปริมาณสูง เมื่อก่อนหลวงพ่อปานท่านบอก เอาข้าวใส่ยุ้งฉางให้เรียบร้อย ตวงให้ดี แล้วนับให้ดี ทำมาจนกว่าจะถึงฤดูออกมาใช้มาขาย แล้วตวง มันจะมากทุกคราว จำเอาไว้นะ ถ้าปฏิบัติ ทุกคนจะไม่จน ฉันอยากให้ทุกคนรวย ฉันจะได้รวยด้วย พระแช่งให้ชาวบ้านจนก็ซวย พระไม่มีกินน่ะซิ" ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:50:46 คาถาเงินล้าน ตั้ง นะโม ๓ จบ สัมปจิตฉามิ คาถาสนองกลับ นาสังสิโม คาถาพระพุทธกัสสป บทแรก "พรหมมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติ" อันนี้ตัดอุปสรรคที่ลาภจะมาแต่เขามาบอก ว่ามีผลแน่นอน คือว่า แกจะไม่ยอมให้ลูกแกจน พูดง่าย ๆ ก็แล้วกัน พระพุทธเจ้า ก็ทรงยืนยันบอกว่า ให้ หมด บทที่สอง "พรมหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุเม" คาถาบทนี้เป็นคาถาเงินแสนของท่าน บทที่สาม "มหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เม" บทนี้เป็นคาถาปลุกพระวัดพนัญเชิง บทที่สี่ "มิเตพาหุหะติ" เป็นคาถาเงินล้าน บทที่ห้า "พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะ มามีมามะ พุทธัสสะ สวาโหม" เป็นคาถาพระปัจเจกพุทธเจ้า บทที่หก "สัมปติฉามิ" บทนี้เป็นบทเร่งรัดบทสุดท้าย บทที่เจ็ด "เพ็ง ๆ พา ๆ หา ๆ ฤา ๆ" พระปัจเจกพุทธเจ้า มาบอกหลวงพ่อเมื่อ พ.ย. 33 เป็นภาษาโบ ราณ แต่เทียบกับภาษาไทยอ่านได้อย่างนี้ เป็นคาถามหาลาภ มีผลยิ่งใหญ่มาก ทั้งหมดนี้ต้องสวดเป็นบท เดียวกัน บูชาเรื่อย ๆ ไป การบูชาถ้าบูชาเฉย ๆ มันเป็นเบี้ยต่อไส้ คาถา ว่า 9 จบ หลวงพ่อบอกว่า ถ้าว่า 9 จบเป็นเบี้ยต่อไส้ จะว่ามากกว่านั้นก็ได้ แต่ถ้าท่องจนเป็นสมาธิหรือได้ญาณจะได้ผลดีมาก อย่าลืมถ้าอยากจะให้ได้ผลต้องท่องจนเป็นสมาธิและใส่บาตรทุกวัน ถ้าไม่ว่างก็ใส่บาตร วิระทะโย ที่วัดแจก แล้วถ้าว่างจะนําไปถวายก็สุดแล้วแต่ท่านหรือสิ้นเดือนก็นําไปถวายที่บ้านสายลมก็ได้ อันนึ้ลูกศิษย์หลวงพ่อที่เคยปฏิบัติจนสําเร็จกล่าวให้ผู้เขียนฟังนานแล้ว ความสามารถหลวงพ่อในวัยเด็ก บันทึกโดยคุณปรุง ตุงคะเศรณี คืนวันที่ 16 ธันวาคม 2526 ก่อนเวลานั่งกรรมฐานหลวงพ่อท่านไม่ได้ลงสอน และท่านได้คุยกับเราเรื่องเมื่อตอนเด็กๆอยู่ที่ โรงเรียน 1พระเดขพระคุณหลวงพ่อชอบเล่นกีฬา ฟุตบอลและสามารถเตะจากประตูที่ยืนโด่งเข้าไปประตูตรงกันข้ามได้(โหสุดยอด)และหัดอยู่ไม่นานก่อนที่จะสามารถเตะได้เช่นนี้ท่านเตะกับเพื่อนอีกหนึ่งคนผลัดกันเตะโดยอยู่คนละด้านตรงหน้าประตูและเพื่อนก็สามารถเตะเข้าประตูตรงที่ท่านยืนอยู่ได้ 2. ท่านเคยลงแข่งขันเป็นนายประตู และเตะแบบข้อหนึ่ง เตะเข้าประตูฝ่ายตรงข้ามคือเพื่อนที่ซ้อมเตะมาด้วยกันนั้นก็สามารถเตะเข้าประตูที่ท่านรักษาได้เหมือนกัน เมื่อลงเล่นเตะได้ประตูเช่นนี้คนละครั้งกรรมการเลยให้ท่านและเพื่อนออกไปนอกสนามเพราะไม่อยากให้เล่นต่อ 3. ท่านชอบมวยไทย เคยหัดเตะต้นกล้วยที่ตัดยอดและโคนออกแล้ว เอามาตั้งปักไว้และเตะทั้งซ้ายและขวา ต้นกล้วยไม่ล้มท่านบอกว่าครั้งแรกต้นกล้วยไม่ล้มแต่ตัวเราล้ม 4. ท่านอบเล่นปามีด สามารถปามีดปาดโคนหรือเครือกล้วยได้ทั้งเครือ ให้ขาดตกลงมารับได้สบาย ท่านเล่าว่าหัดปาเพียงวันเดียวเท่านั้นเข้าใจว่าเป็นของเก่าตามมาท่านพกมีดปา 5 เล่ม ที่พุงตามขอบกางเกงที่พุง เคยมีนักเลง 5 คนจะรุมทำร้ายท่านพระเดชพระคุณหลวงพ่อเป็นนักเลงต่างถิ่น ท่านแสดงปามีดปักผลกล้วยให้ดูและก็บอกว่าแค่นี้ปานัยน์ตาไม่พลาด พวกนักเลงต่างถิ่นรีบหนีไปหมดเลย(ผู้เขียนเคยได้ยินท่านเล่าเหมือนกันท่านสามารถใช้มีดปามะม่วงให้ตกลงมาได้โดยให้ชี้ว่าต้องการลูกไหน) 5. หัดว่ายน้ำข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ที่ท่าราชวรดิฐหัดว่ายไปอยู่จนสามารถว่ายไปกลับข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 20 เที่ยวอย่างแบบสบายๆ ที่มา เวปแดนพระนิพพานและหนังสือตามรอยพระพุทธบาทเล่ม 4 ลูกสาวพ่อ 21-02-2011 03:51:17 ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว พระธรรมเทศนาจากหลวงพ่อพระราชพรหมยาน ทำ จิตให้สงบ นึกถึงพระพุทธเจ้า จิตเราอยู่ที่พระองค์อย่างเดียว ให้เรานึกถึงพระพุทธเจ้าที่เป็นรูปใหญ่ ให้ใหญ่พอที่เราจะเข้าไปอยู่ในพระองค์ได้ นึกถึงพระองค์ในปางไหนก็ได้ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาเบา ๆ ช้า ๆ ไม่ต้องรีบ หายใจเข้าลึก ๆ ใหม่ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ หายใจเข้าลึก ๆ ค้างไว้ แล้วค่อยปล่อยออกมาช้า ๆ ทำใจแบบสบาย ๆ แล้วตั้งจิตอธิษฐาน ลูกขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา มาประทับอยู่บนศรีษะของลูก ขอเมตตาปกป้องภยันอันตรายต่าง ๆ ควบคุมความคิดควบคุมระบบร่างกายทั้งหมดด้วยเทอญ ขอพระองค์มาพร้อมพลังแสงของพระองค์ แสงแห่งบุญบารมี ลูกขออาราธนา อัญเชิญองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระพุทธปฐมบรมธรรมบิดา ประทับเต็มใบหน้าและลำตัวของลูก ขอให้ขันธ์ 5 นี้ได้รับบุญบารมีจากพลังแสงของพระองค์ มีฤิทธิ์อำนาจดุจพลังแสงของพระองค์ ลูก ขออาราธนาอัญเชิญองค์สมเด็จพระกะกุสันโธประทับที่ตาข้างขวา พระโกนาคมประทับที่ตาข้างซ้าย พระพุทธสิกขีทศพลประทับที่ดวงตาที่สาม ขอให้ดวงตาทั้งสามดวงนี้ได้เห็นถึงความจริงของทั้งสามโลก รู้เท่าทันกับทุกสิ่งทุกอย่าง มองเห็นในสิ่งที่สามารถช่วยเหลือคนอื่นได้ ด้วยฤทธิ์อำนาจของพระองค์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธเจ้าพระพุทธกัสสะปะประทับที่ปากของลูก ขอเมตตาให้ลูกเจรจาพาทีด้วยธรรมะบริสุทธิ์ ลูกขออาราธนาอัญเชิญพระพุทธสมณโคดมบรมอาจารย์ประทับในสมอง ขอลูกเป็นปราชญ์ทั้งทางโลกและทางธรรม ขอพระองค์เป็นอาจารย์สอนลูก ประทับที่อกขอปิดประตูแห่งการเวียนว่ายตายเกิดทุก ๆ ชาติ ลูกปรารถนาจะไปนิพพานในชาตินี้ ประทับที่หัวใจ ขอให้ลูกเต็มไปด้วยพรหมวิหาร 4 ประทับที่ปอด ขอให้ลูกมีขันธ์ 5 ที่แข็งแรงเพื่อทำงานรับใช้พระศาสนาด้วยเถิด ลูกขออโหสิกรรมขอขมาลา โทษแด่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย คุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ ครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ เจ้ากรรมนายเวรทุก ๆ ชาติ ที่ลูกได้ทำผิดพลาดพลั้งไป ด้วยกายวาจาใจ โดยรู้เท่าถึงกาลก็ดี รู้เท่าไม่ถึงกาลก็ดี เจตนาก็ดี ไม่เจตนาก็ดี ขอได้โปรดอโหสิกรรมให้แก่ลูกผู้มีความรู้น้อยด้อยปัญญานี้ด้วยเถิด ข้าแต่องค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสีบรมธรรมบิดา ลูกนี้เป็นผู้มีบุญน้อยไร้ซึ่งวาสนาแต่ลูกขอตั้งจิตอธิษฐานว่า ลูกไม่ปรารถนาจะเกิดเป็นคนเทวดาพรหมอีกต่อไป ลูกปรารถนาจะนิพพานทันใดในชาตินี้ ขอติดตามองค์พระพิชิตมารบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอได้โปรดประทานพลังแสงทิพย์อริยธรรมรวมกับแสงฉัพพรรณรังสีพลังแสงบุญบารมี จากพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ จากคุณพ่อคุณแม่ทุก ๆ ชาติ คุณครูบาอาจารย์ทุก ๆ ชาติ พุ่งเข้ามาที่ดวงจิตของลูก ขอให้ช่วยลบล้างซึ่งกิเลส ตัณหา อุปาทาน อวิชชา อกุศลกรรม บาปกรรมเวรกรรมที่ลูกมี ขอได้โปรดให้ลูกมีบุญเพียงพอที่จะลบล้างสิ่งเหล่านี้ให้หมดสิ้น พร้อม กันนั้นลูกขอกราบอนุโมทนาสาธุในบุญบารมีขององค์สมเด็จพระวิสุทธิพุทธรังสี บรมธรรมบิดา ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระปัจเจกพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์ พระธรรม พระอริยสงฆ์สาวกทั้งหลาย พระอรหันต์ทุก ๆ พระองค์ พระอริยสัตว์ทุก ๆ พระองค์ พี่น้องของลูกทั้งสามโลกที่ได้ทำคุณงามความดีตลอดเวลา ลูกขออนุโมทนาบารมีความดีของทุก ๆ ดวงจิต ของทุก ๆ ท่าน ไปกับพลังแสงทิพย์อริยธรรม รวมกับแสงฉัพพรรณรังสี รวมกับบารมีของพระทุก ๆ พระองค์ เทพทุก ๆ พระองค์ด้วยเทอญ สาธุ สาธุ สาธุ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ หายใจเข้านะมะพะธะ หายใจออกนะโมพุทธายะ ลูกเอ๋ย…จงลองพิจารณาดวงตาของเจ้าเถิด ดวงตาของเจ้านั้นชอบมองในสิ่งใดกัน ? จงพิจารณาจากปากของเจ้าเถิด เจ้าชอบใช้ปากในเรื่องอะไรกัน ? จงพิจารณาจากหูของเจ้าเถิด เจ้าชอบนำหูของเจ้าไปใช้ฟังเรื่องอะไรกัน ? จมูกเจ้าชอบไว้ใช้ทำอะไร ? มือทั้งสองข้าง เท้าทั้งสองเจ้าไว้ใช้ทำอะไร ? บุคคล ผู้ใดชอบใช้สายตาของตัวเองในสิ่งที่อยากมองและเลือกมองนั้น บุคคลผู้นั้นย่อมไม่ฉลาด แต่บุคคลผู้ใดมองทุกสิ่งทุกอย่างอย่างละเอียดถี่ถ้วนพร้อมพิจารณา บุคคลผู้นั้นชื่อว่าเป็นปราชญ์ บุคคลผู้ใดชอบใช้หูในการฟังคำชม มากกว่าคำติชม บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนไม่ทันโลก บุคคลผู้ใดใช้หูในการพิจารณาในทุกเรื่องราว บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นผู้รู้เท่าทันในสิ่งสมมุติทั้งหมด บุคคล ผู้ใดใช้จมูกในการสูดดมกลิ่นที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนพิการทางจมูก แต่หากบุคคลผู้ใดพิจารณาถึงทุกกลิ่น บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่าเป็นคนมีปัญญา บุคคลผู้ใดใช้ปากในการติฉินนินทา บุคคลผู้นั้นเป็นบ่าว บุคคลผู้ใดใช้ปากในการอวยพรให้กำลังใจคน บุคคลผู้นั้นคือพระ บุคคล ผู้ใดชอบใช้มือในการรับ บุคคลผู้นั้นได้ชื่อว่า ขอทาน รับเพียงอย่างเดียวไม่คิดให้ตอบ แต่บุคคลผู้ใดรักในการให้ ให้ด้วยความเมตตาสงสารกรุณา บุคคลผู้นั้นคือกษัตริย์ บุคคลผู้ใด ใช้เท้าในการเดินไปหาในสิ่งที่ตนเองชอบ บุคคลผู้นั้นเดินเข้าสู่อบายภูมิ แต่บุคคลผู้ใดใช้เท้าในการโปรดเวไนย์สัตว์ บุคคลผู้นั้นคือพระอรหันต์ ลูกเป็นเช่นไร ? จงพิจารณาเถิด นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก นะมะพะธะหายใจเข้า นะโมพุทธายะหายใจออก ทำไมดวงตามีหลายสี ? ผมมีหลากสี ? ผิวมีหลากสี ? กลิ่นมีหลากแบบ ? หน้าตามีหลากหลาย ? เป็นเพราะอะไร ? ก็ เป็นเพราะที่มนุษย์ชอบกันนักหนาในการแบ่งแยกแบ่งชนชั้นกันไม่ใช่หรือ ? แล้วยังจะสงสัยในสิ่งที่มีหลากหลายทำไม ตัวเจ้าเองก็ยังชอบในการแบ่งแยกเลย แต่เมื่อมองในสิ่งที่ลูกทั้งหลายมองไม่เห็น ลูกก็จะรู้ว่าพระวิสุทธิบรมธรรมบิดามิได้แบ่งแยก นั่นก็คือจิตที่เป็นพุทธะประภัสสรของลูกเอง ไร้ซึ่งการแบ่งแยก ไร้ซึ่งพรหมแดน แต่เมื่อเจ้าแบ่งแยก จึงเกิดหลากหลายสีสัน หลากหลายชนชั้น หลากหลายวรรณะ แล้วจะสงสัยกันทำไมลูก ได้รับคำตอบแล้วจงคิดพิจารณาตามเถิด ทำไม มนุษย์จึงมีหลากหลายคำถามหลากหลายความไม่เข้าใจ ? ก็เพราะสิ่งนี้เจ้าสร้างมันขึ้นมาเอง เพราะเจ้าสร้างขึ้นมาเป็นเกราะ เกราะนี้จึงเป็นเหตุให้เจ้าไม่สามารถทะลุออกมาเพื่อเจอความจริง จงให้อดีตเป็นอาจารย์ในการสอนเจ้า จงให้ปัจจุบันเป็นพระพุทธเจ้าที่เจ้าควรทำตามแบบอย่าง จงให้อนาคตเป็นพระธรรมคำสอนที่เจ้าควรเดินตาม อย่า กังวลคิดมากไป เหตุใดเราทำดีแล้วจึงมิได้ดี อย่าได้แปลกใจเลยลูก จงให้อนาคตเป็นเครื่องพิสูจน์ แล้วทำปัจจุบันให้ดีที่สุด ผลกรรมดีตอบสนองเจ้าอย่างแน่นอน ความเสียสละคืออะไรลูก ? จงคิดพิจารณาเถิด แล้วความเสียสละตั้งอยู่บนพื้นฐานของอะไร ? จงใช้การพิจารณาและไตร่ตรอง แล้วอะไรกันที่มนุษย์ปรารถนา แล้วเจ้าจะให้อะไรแก่มนุษย์เหล่านั้นได้บ้าง ? จงมองดูสิ่งที่ใกล้ตัว จงมองดูสิ่งที่ห่างตัว แล้วลูกจะได้รับคำตอบ http://www.sangthipnipparn.com http://www.buddha-dhamma.com

ป้องกันไฟกระชาก

Solid State Relay

วันอาทิตย์ที่ 7 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอร...การให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวงตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

วันเสาร์ที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

วงจรควบคุมมอเตอร์เครื่องสูบน้ำด้วย ไฟฟ้า แก้ภัยแล้งระบบสูบน้ำอัตโนมัติ

พาตนให้พ้นทุกข์ให้รู้กายรู้ใจลงปัจจุบัน โดยไม่เผลอไป ถ้าเผลอไปไม่ได้รู้กายรู้ใจ ถ้าเพ่งไว้ก็รู้กายรู้ใจไม่ตรงความจริง เราต้องรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ลงปัจจุบันรู้ไปเรื่อยๆ รู้ด้วยจิตใจที่เป็นกลาง จิตใจที่เป็นกลางคือมีสัมมาสมาธิ การรู้กายรู้คือ รู้ด้วยสติ สติตามระลึก ให้รู้ขึ้นเองไม่ใช่ให้แกล้งระลึก รู้อย่างเป็นกลาง ใจเป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจมีสัมมาสมาธิ ตั้งมั่นอยู่ห่างๆ ไม่ถลำลงไปเพ่งจ้องก็จะเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริง เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ และถ้าได้พบพระพุทธเจ้าในวันนั้น ท่านก็จะพยากรณ์ให้ ว่าอีกเท่านั้น เท่านี้นะจะได้เป็นพระพุทธเจ้าองค์หนึ่ง แต่ถ้าจิตยังไม่เป็นกลาง ไม่สามารถได้รับพยากรณ์ เมื่อจิตยังกลับกลอก ยังกลัวทุกข์อยู่ ยังรักสุขอยู่ ยังไม่แน่นอน เป็นโพธิสัตว์ที่ยังไม่แน่นอน ใครอยากเป็นโพธิสัตว์ต้องภาวนาอย่างที่หลวงพ่อสอนนี่ รู้กาย รู้ใจ จนกระทั่งเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง และตรงทุกจุดนั้น จิตจะเลือกของเขาเอง ถ้าจะไปพุทธภูมิ มันก็จะไปค้างอยู่ตรงนั้นล่ะ ออกมาสร้างบารมี ช่วยเหลือผู้คนไป ด้วยจิตที่เป็นกลาง มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ท่านอาจารย์สิงห์ อาจารย์สิงห์กับหลวงปู่ดูลย์เป็นเพื่อนกัน อาจารย์สิงห์ท่านได้ชื่อว่าเป็นแม่ทัพธรรมของหลวงปู่มั่น อาจารย์สิงห์เดินพุทธภูมิ มีอยู่ช่วงหนึ่งท่านอยากละ เห็นลูกศิษย์ลูกหาพ้นทุกข์ไปแล้ว ท่านไม่พ้นสักที ท่านอยากละ ท่านก็ประกาศเลยว่า ถ้าใครแก้ให้ท่านได้ ให้ท่านเลิกพุทธภูมิได้ท่านจะยอมเป็นลูกศิษย์ แม้ถ้าลูกศิษย์ของท่านแก้ให้ท่านได้ ท่านจะนับถือเป็นอาจารย์ ใจถึงนะ ไม่มีไว้หน้าไว้ตา ถ้าเราเป็นอาจารย์ เราต้องไว้หน้าใช่ไหม วางฟอร์ม ลูกศิษย์ภาวนาเก่งกว่า เราก็หลอกไปเรื่อยๆ ว่า ฉันยังเก่งกว่า ทั้งที่ไม่ได้เรื่องเลย เยอะนะ อาจารย์สิงห์ไม่มีฟอร์ม ใครแก้ให้ได้ก็เอา นับถือ ปรากฏไม่มีใครแก้ได้ จนท่านแก่ วันหนึ่งท่านก็ปรารภขึ้นมาว่าตอนนี้กำลังท่านมาก ปัญญาท่านแก่กล้า ถ้าท่านละพุทธภูมินี่ ท่านจะพ้นทุกข์ใน ๗ วัน แต่ว่าท่านไม่ละแล้ว ใจของท่านเป็นกลางต่อสรรพสิ่ง ใจเป็นกลางแล้ว มีความรู้สึกว่ากัปหนึ่งเหมือนวันเดียว จะนรก จะสวรรค์อะไร ไม่สนใจแล้ว เสมอกันหมดเลย สุข ทุกข์ ดี ชั่ว เสมอกันหมด จิตอย่างนี้มีกำลัง เดินไปพุทธภูมิไหว ถ้าพุทธภูมิเหยาะๆ แหยะๆ ไม่ได้กินหรอก พุทธภูมิแต่ปาก แต่ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไปด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง

พระโพธิสัตว์ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์ งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

ชีวิตละคร - ธานินทร์ อินทรเทพ

มิติโลก - แข่งขันความจำชิงแชมป์โลกที่จีน

Sponge ฉลาดสุดสุด - เคล็ดลับการปรุงบะหมี่สำเร็จรูป

Sponge ฉลาดสุดสุด - เคล็ดลับการปรุงบะหมี่สำเร็จรูป

Sponge ฉลาดสุดสุด - เคล็ดลับการปรุงบะหมี่สำเร็จรูป

สิ่งมีค่าสูงสุดทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยในชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้วเมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายในปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มีความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไปแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้วเหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่งแห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้วจากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้วไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศกในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้นสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลกนี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่งทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดังที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้

เราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกันเราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกัน อัลวิน ทอฟเลอร์ (Alvin Toffler) นักวิชาการชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ คลื่นลูกที่สาม หรือ The Third Wave ได้เสนอทฤษฎีคลื่นลูกใหม่ 3 ลูก ในประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงระบบโลกจากอ­ดีตมาสู่ปัจจุบัน โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีการ­ผลิตของมนุษย์ในแต่ละยุคอันนำมาสู่ความเจร­ิญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในปัจจุบัน ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคย่อมก­่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยการแก้ปัญหาด้วยสติปัญญา การเข้าถึงข่าวสารข้อมูลรอบด้าน ความคิดสร้างสรรค์ และด้วยจิตสำนึกที่จะทำให้สังคมโลกดำรงอยู­่ได้ต่อไปอย่างสันติ ยั่งยืน และสมดุลย์

เป็นกลางด้วยปัญญาจิตจะหมดความดิ้นรนหมดความปรุงแต่งหมดการแสวงหา หมดกิริยา.การที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งป­วงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็น­กลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพ­พาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพ­ธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้ง­ปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา..

เราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกันเราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกัน อัลวิน ทอฟเลอร์ (Alvin Toffler) นักวิชาการชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ คลื่นลูกที่สาม หรือ The Third Wave ได้เสนอทฤษฎีคลื่นลูกใหม่ 3 ลูก ในประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงระบบโลกจากอ­ดีตมาสู่ปัจจุบัน โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีการ­ผลิตของมนุษย์ในแต่ละยุคอันนำมาสู่ความเจร­ิญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในปัจจุบัน ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคย่อมก­่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยการแก้ปัญหาด้วยสติปัญญา การเข้าถึงข่าวสารข้อมูลรอบด้าน ความคิดสร้างสรรค์ และด้วยจิตสำนึกที่จะทำให้สังคมโลกดำรงอยู­่ได้ต่อไปอย่างสันติ ยั่งยืน และสมดุลย์

เราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ไปพร้อมกันเราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกัน อัลวิน ทอฟเลอร์ (Alvin Toffler) นักวิชาการชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ คลื่นลูกที่สาม หรือ The Third Wave ได้เสนอทฤษฎีคลื่นลูกใหม่ 3 ลูก ในประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงระบบโลกจากอ­ดีตมาสู่ปัจจุบัน โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีการ­ผลิตของมนุษย์ในแต่ละยุคอันนำมาสู่ความเจร­ิญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในปัจจุบัน ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคย่อมก­่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยการแก้ปัญหาด้วยสติปัญญา การเข้าถึงข่าวสารข้อมูลรอบด้าน ความคิดสร้างสรรค์ และด้วยจิตสำนึกที่จะทำให้สังคมโลกดำรงอยู­่ได้ต่อไปอย่างสันติ ยั่งยืน และสมดุลย์

เราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ไปพร้อมกันเราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกัน อัลวิน ทอฟเลอร์ (Alvin Toffler) นักวิชาการชาวอเมริกัน ผู้เขียนหนังสือ คลื่นลูกที่สาม หรือ The Third Wave ได้เสนอทฤษฎีคลื่นลูกใหม่ 3 ลูก ในประวัติศาสตร์ที่เปลี่ยนแปลงระบบโลกจากอ­ดีตมาสู่ปัจจุบัน โดยชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของเทคโนโลยีการ­ผลิตของมนุษย์ในแต่ละยุคอันนำมาสู่ความเจร­ิญก้าวหน้าอย่างไม่หยุดยั้งในปัจจุบัน ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคย่อมก­่อให้เกิดผลกระทบในด้านต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยการแก้ปัญหาด้วยสติปัญญา การเข้าถึงข่าวสารข้อมูลรอบด้าน ความคิดสร้างสรรค์ และด้วยจิตสำนึกที่จะทำให้สังคมโลกดำรงอยู­่ได้ต่อไปอย่างสันติ ยั่งยืน และสมดุลย์

วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ไปพร้อมกันคลื่นลูกที่สาม (THE THIRD WAVE) : คลื่นลูกที่สาม (THE THIRD WAVE) อัลวิน ทอฟเลอร์ คลื่นลูกที่สาม : Company Logo www.themegallery.com คลื่นลูกที่สาม คลื่นลูกที่หนึ่ง (First Wave) : คลื่นลูกที่หนึ่ง (First Wave) คลื่นลูกที่หนึ่ง (First Wave) เป็นช่วงเวลาที่สังคมมนุษย์ปฏิวัติระบบ เศรษฐกิจด้วยการรู้จักการทำ “เกษตรกรรม” ซึ่งการที่มนุษย์รู้จักการทำ กสิกรรม ปลูกพืชเป็นไร่ เลี้ยงสัตว์เป็นฟาร์ม สิ่งที่ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ ของประเทศนั้นๆ จะขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่แปลงเกษตร การครอบครองพื้นที่ การทำฟาร์ม ปริมาณผลผลิตที่ได้จากการปศุสัตว์และการเกษตรกรรม สิ่งเหล่านี้ ทำให้ระบบเศรษฐกิจของชาตินั้นๆ เติบโตแข็งแกร่ง คลื่นลูกที่สอง (Second Wave) : คลื่นลูกที่สอง (Second Wave) คลื่นลูกที่สอง (Second Wave) สังคมมนุษย์ปฏิวัติระบบเศรษฐกิจด้วย “อุตสาหกรรม” ในช่วงเวลาปี 1650-1750 มนุษย์รู้จักการใช้เครื่องมือ (Machines) การทำสายการผลิต (Production line) สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเหมือนกันจำนวนมากๆ ได้และมีคุณภาพเหมือนกัน (Quality control) และสามารถผลิตจำหน่ายจำนวนมากๆ ได้ (Mass Production) สิ่งที่ขับเคลื่อนการเติบโต ของเศรษฐกิจประเทศใดๆ นั้น ขึ้นอยู่กับการทำ Mass Production ควบคุมมาตรฐานในการผลิตสินค้าจำนวนมากๆ ได้และผลิตจำนวนมากได้ คลื่นลูกที่สาม (Third Wave) : คลื่นลูกที่สาม (Third Wave) คลื่นลูกที่สาม (Third Wave) เป็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์ด้วยการปฏิวัติ ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งได้เริ่มต้นราวๆ ปี 1955 ด้วย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายโทรคมนาคม จนกลายเป็นระบบเศรษฐกิจใหม่ (New Economy) ดังในโลกยุคปัจจุบันที่เรียกกันทั่วไปว่า เป็นคลื่นลูกที่สาม (Third Wave) หรือการปฏิวัติ “การสื่อสารโทรคมนาคม” หรือยุคโลกาภิวัฒน์ สิ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศใด ให้มีความมั่งคั่งเจริญรุ่งเรืองจะขึ้นอยู่กับการมี “เครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพสูง” (High Performance Network) เครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงจะสร้างให้เกิดความเจริญก้าวหน้าของประเทศในทุกด้าน คลื่นลูกที่สี่ : คลื่นลูกที่สี่ ตอนนี้โลกกำลังจะก้าวเข้าสู่ยุคที่สี่แล้ว บางคนบอกว่ายุคนี้จะเป็นยุค KM (Knowledge Management) คนที่สามารถคัดเลือก information ที่ดี เป็นจริง มาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าก็มีโอกาสพัฒนามากกว่า สังคมจะมีการป้อนข้อมูลที่เร็วขึ้นๆ การปิดกั้นหรือเลือกเปิดเผยเฉพาะข้อมูลที่ต้องการเท่านั้นจะหายไป ฉะนั้นพวกเราเตรียมตัวที่จะรับการเปลี่ยนแปลงหรือยัง

เตาใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่จำหน่ายแผงวงจรปรับรอบมอเตอร์สามเฟสรุ่นใหม่ ใช้ MITSUBISHI POWER MODULE PS21244 PS21963 PS219A2 MODULE MP6501A 6 DI15S-050 มี ขนาด 0.4 KW ถึง 0.75KW TM52A หมดแล้วนะครับ..ให้ใช้ PS21244 แทนครับ..ขนานกันได้ครับ.จำหน่ายเป็นตัวอุปกรณ์ ต้องนำไปประกอบเอง มีสามรายการหลัก คือ 1 ตัวเพิ่มแรงดัน tm51 ราคา 500 บาท 2 บอร์ด ควบคุม MC3PHAC ราคา 1000 บาท 3 power module PS21244 ราคา 300 บาท https://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs https://www.youtube.com/watch?v=V3qKEj7xSUc https://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso https://www.youtube.com/watch?v=_HKRjkixHQM -- https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE https://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw https://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc https://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 https://www.youtube.com/watch?v=fpP69G42wok https://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืนจำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์ ตอบกลับ ·

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

การประกอบมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟสจำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

การควบคุมมอเตอร์3เฟส5แรงม้าด้วยไฟฟ้า220โวลต์ตามบ้านจำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสจำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

วิธีผลิตไฟฟ้า3เฟส จากไฟฟ้า เฟสเดียว เพื่อควบคุมความเร็วมอเตอร์ 3 เฟสจำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

แบตเตอรี่สองลูกใช้กับมอเตอร์สามเฟส220/380หนึ่งแรงม้าจำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

การต่อมอเตอร์สามเฟสกับอินเวอร์เตอร์จำหน่าย Power Module PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 ราคาตัวละ 300 บาท ใช้สำหรับ สร้าง ซ่อม อินเวอร์เตอร์ สามเฟส. เครื่องควบคุมความเร็วมอเตอร์สามเฟสแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืนจำหน่ายแผงวงจรปรับรอบมอเตอร์สามเฟสรุ่นใหม่ ใช้ MITSUBISHI POWER MODULE PS21244 PS21963 PS219A2 MODULE MP6501A 6 DI15S-050 มี ขนาด 0.4 KW ถึง 0.75KW TM52A หมดแล้วนะครับ..ให้ใช้ PS21244 แทนครับ..ขนานกันได้ครับ.จำหน่ายเป็นตัวอุปกรณ์ ต้องนำไปประกอบเอง มีสามรายการหลัก คือ 1 ตัวเพิ่มแรงดัน tm51 ราคา 500 บาท 2 บอร์ด ควบคุม MC3PHAC ราคา 1000 บาท 3 power module PS21244 ราคา 300 บาท https://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs https://www.youtube.com/watch?v=V3qKEj7xSUc https://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso https://www.youtube.com/watch?v=_HKRjkixHQM -- https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE https://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw https://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc https://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 https://www.youtube.com/watch?v=fpP69G42wok https://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo

logic scopelogic scope เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจดูสัญญาณในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ที่แรงดันไฟฟ้า ระดับ ลอจิก Logic Level 0-5 Volts

เบื่อด้วยปัญญา มันเห็นว่าทุกสิ่งที่ปรุงแต่งน่าเบื่อหมดเลย หาอะไรที่น่ารั...เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ท­­ันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลง­­ที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วครา­­วหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของ­­ชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารม­­ณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่­­ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็­­นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ

Documentary: ពុទ្ធស្ថាន៥២កន្លែង (52 Buddha Holy Places)วันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ฯ วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ติโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ 

Bodh Gaya India The Temple Groundวันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ฯ วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ติโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ 

Mahabodhi Temple, Where Buddha Attained Enlightenmentวันทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ฯ วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ติโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ 

แบตเตอรี่สองลูกใช้กับมอเตอร์สามเฟส220/380หนึ่งแรงม้าเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

ปั๊มน้ำมอเตอร์สามเฟสใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืนเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

วันพฤหัสบดีที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

วิธีออกจากสังสารวัฎวิธีทำลายกิเลสอวิชชาทำลายตัณหาอุปาทานเมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิตจนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ 'มันมีการทำลายจิตผู้รู้' ระหว่างทางปฏิบัตินั้นเราไปสร้างจิตผู้รู้­ขึ้น เพื่อเป็นคนรู้ เห็นรูป นาม กาย ใจ เคลื่อนไหว ทำงานไปนะ แท้จริงการทำลายจิตผู้รู้ก็คือความรู้แจ้ง­ในอริยสัจนั่นเองนะว่าจิตนี้เป็นตัวทุกข์ล­้วนๆ แล้วหมดความยึดถือจิต นี้สำนวนท่านบอกว่าทำลายผู้รู้ ที่จริงก็คือไม่ยึดถือจิตนั่นแหละ เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิต จนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ จิตที่เหลือมันจะเป็นกิริยา จะไม่ใช่เป็นตัวผู้รู้อีก

รู้นี่แหละทำให้ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นถ้ารู้ความจริงของรูปของนาม ของกายของใจได้ ก็ไม่ยึดถือมันก็เท่ากับไม่ไปหยิบฉวยเอาความทุกข์ขึ้นมาวิปัสสนากรรมฐานปัสสนะ แปลว่าการเห็น วิ แปลว่าแจ้งเห็นแจ้งเห็นจริงเห็นถูก เห็นไตรลักษณ์นั่นเองเห็นว่าร่างกายนี้ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาจิตไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาสรุปแล้ว ให้รู้ทุกอย่างที่จิตไปรู้เข้า โดยไม่เติมความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ ลงไปอีก เพราะ "รู้" นั่นแหละคือประตูของมรรคผลนิพพาน

สรุปแล้ว ให้รู้ทุกอย่างที่จิตไปรู้เข้า โดยไม่เติมความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ ลงไปอีก เพราะ "รู้" นั่นแหละคือประตูของมรรคผลนิพพาน

ผู้มีจิตบริสุทธิ์หลุดพ้นจากอาสวะสันตินันท์ จิตถูกห่อหุ้มด้วยอาสวะกิเลส เวลาวิมุติอริยมรรคเกิดแต่ละขั้นๆ ก็มีความสุขเป็นลำดับๆ ไป ถึงจุดสุดท้ายก็มีความสุขล้วนๆ มีความสุขเพราะว่ามันไม่มีอะไรเข้ามาเคลือบจิตได้อีก หมอณัฐดูออกมั้ยจิตเราถูกห่อหุ้มไว้ มีเปลือกหุ้ม จิตเค้าถูกห่อหุ้มด้วยอาสวะ ยังปนเปื้อน เยิ้มๆ จิตยังปนเปื้อน ความปนเปื้อนนี้แหละ เป็นช่องทางให้กิเลสไหลเข้ามาสู่จิต (หมอณัฐถาม...ได้ยินไม่ชัด) .. อือ ดูอย่างนี้ก็ได้ แล้วจะเห็นเอง จิตใจนี้เป็นอิสระ รู้สึกมั้ยจิตใจไม่เป็นอิสระ ตอนนี้รู้สึกมั้ย อาจจะไม่เห็นตัวอาสวะตรงๆ แต่เห็นผลของจิตที่มีอาสวะ ไม่อิสระ จริงๆ จิตถูกอาสวะห่อหุ้มไว้ อาสวะนี่ เทียบแล้วคล้ายๆ กับ เรามี สมมติอยู่บ้านไม้ ใครเคยอยู่บ้านไม้ เวลาเราทำน้ำหกน้ำไหลไปเนี่ย เราจะเห็นเส้นทางที่เราเช็ดให้แห้ง เทน้ำลงไปที่เก่า มันไหลไปทางเดิมอย่างรวดเร็ว มันนำร่อง ความชื้นเดิมมันนำร่อง เพราะน้ำนี้ไหลไปตามความชื้นเดิม อาสวะกิเลสนี่มันนำร่องกิเลสเข้าไปย้อมจิต จิตของเราไม่มีอิสระ เหมือนลูกไก่ที่อยู่ในเปลือกไข่ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า ท่านเป็นลูกไก่ที่เจาะเปลือกไข่ออกมาเป็นตัวแรก ท่านใช้คำเปรียบเทียบได้ดี เคยมีพราหมณ์คนนึงไปว่าพระพุทธเจ้า บอกอายุก็ยังน้อยพราหมณ์ผู้แก่ผู้เฒ่ามาก็ไม่ไหว้ไม่ต้อนรับ เฉยเมย ท่านบอกว่าท่านอาวุโสที่สุด ท่านเป็นลูกไก่ที่เจาะเปลือกออกมาได้ พวกที่เหลือยังอยู่ในไข่อยู่เลย ท่านจะไปไหว้ทำไม คำพูดของท่านนะ น่าฟัง จริงๆ แล้วเรามีเปลือกที่ห่อหุ้มอยู่ จิตถูกอาสวะกิเลสห่อหุ้ม ทำยังไงก็ไม่ขาด ไม่ขาด ทำยังไง ยังไง้ ยังไงก็ไม่ขาด พระไตรปิฎกก็เลยใช้คำบอกว่า เวลาบรรลุพระอรหันต์นะ จิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะความไม่ถือมั่น เห็นมั้ย หลุดพ้นจากอาสวะ อาสวะมันห่อหุ้มไว้ จิตหลุดพ้นจากอาสวะเพราะความไม่ถือมั่น ไม่ถือมั่นในอะไร ในรูปนาม ในกายในใจ เนี่ยกุญแจของการปฏิบัติอยู่ที่กายกับใจนี่เอง เมื่อไรไม่ถือมั่นในกายในใจ โดยเฉพาะเมื่อไหร่ไม่ถือมั่นในใจในจิต อาสวะจะขาดโดยอัตโนมัติ ถ้าเราเห็นอาสวะแล้วพยายามตัด ทำยังไงก็ไม่ขาด กำหนดจิตให้แหลมคมแค่ไหนก็ไม่ขาดนะ แทงก็ไม่ทะลุนะ พอมันขาดเราจะรู้สึกว่าเรามีอิสระ 23 ก.ค. 2549 สภาวะทุกอย่างเสมอภาคกัน การเห็นสภาวะที่หยาบหรือละเอียด ธรรมะภายใน ธรรมะภายนอก ธรรมะที่เป็นกุศล อกุศล ธรรมะที่เป็นสุข เป็นทุกข์ ก็เสมอภาคกัน คือทั้งหมดเกิดและดับ ไม่ใช่ว่าต้องทำให้ละเอียดขึ้นๆ จึงจะบรรลุธรรม บางวันมันก็หยาบ บางวันมันก็ละเอียด เพราะว่าทั้งหมดนี้ เป็นเรื่องของอนัตตา ทั้งหมดเลย สติก็เป็นอนัตตา บางวันก็หยาบ บางวันก็ละเอียด บางวันก็ไม่มีเลย เขาเกิดขึ้นมาจะเป็นยังไงก็ได้ เราเรียนไม่ใช่เพื่อว่าจะเอาดี ไม่ใช่ว่าเราอยากได้สติเยอะๆ เราไม่ได้เรียนเอาตรงนั้นหรอก แต่เราเรียนจนกระทั่งจิตมันเกิดความเข้าใจ ว่าทุกอย่างบังคับไม่ได้ สติจะเกิดหรือไม่เกิด จะหยาบหรือละเอียด เราก็เลือกไม่ได้ ไม่ได้เรียนเอาดีนะ แต่เรียนเพื่อที่จะเห็นว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นมาล้วนแต่ดับไปทั้งสิ้น ธรรมะที่หยาบเกิดขึ้นแล้วก็ดับ ธรรมะที่ละเอียดเกิดแล้วก็ดับ เสมอภาคกัน เรียนเพื่อให้เข้าใจตรงนี้เอง ในที่สุดก็เข้าใจว่า ทุกสิ่งที่เกิดล้วนแต่ดับไปทั้งสิ้น พระโสดาบันรู้แค่นี้เอง 22 ต.ค. 2548 การจำสภาวะธรรมได้เป็นเหตุใกล้ให้เกิดสติ สติเกิดขึ้นได้เพราะมีเหตุให้สติเกิด มันเกิดขึ้นเอง เราไปสั่งให้มันเกิดมันไม่เกิดหรอก สติมีการจำสภาวะได้ เป็นเหตุใกล้ให้เกิด เพราะเรารู้จักโกรธเป็นอย่างไร พอโกรธสติก็เกิด พอรู้จักเผลอเป็นยังไง พอเผลอสติก็เกิด พอหัดรู้กาย รู้ใจเนืองๆ สติปัญญาเริ่มแก่กล้าเพียงพอ จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิเอง พอรวมแล้วก็จะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ 2 หรือ 3 ขณะ จะเห็นตัวสภาวะเกิดดับ ถัดจากนั้นโคตรภูญาณจะเกิดขึ้น มันจะเกิดการปล่อยวางตัวสภาวะ พอเห็นสภาวะเกิดดับ ปัญญาแก่รอบแล้ว มันวาง มันทิ้งโดยไม่ได้เจตนา ตรงนี้ไม่มีความจงใจเหลืออยู่เลยตั้งแต่จิตรวมแล้วเห็นสภาวะเกิดดับ 2 หรือ 3 ขณะนั้น จิต จะวางการรู้สภาวะแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ตรงเนี้ยตรงที่มันปล่อยสภาวะก็ไม่ใช่ปุถุชน ตรงที่ทวนเข้าหาธาตุรู้ยังไม่เข้าถึงธรรมธาตุตัวนี้ก็ไม่ใช่พระอริยะ เพราะงั้นเป็นรอยต่อ เกิดขึ้นแว๊บเดียวทวนเข้าถึงธาตุรู้แท้ๆ ตัวรู้จะมีปัญญาสุดขีดเกิดขึ้น ธาตุรู้นี้ก็เกิดแล้วก็ดับได้อีก จะเห็นเลยว่าความเป็นราไม่มีสักนิดเดียว ถัดจากนั้นจิตจะไปเห็นนิพพาน 2 หรือ 3 ขณะแล้วแต่คน จะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ 2 หรือ 3 ขณะจากนั้นจิตจะถอยออกมาจากอัปปนาสมาธิ พอออกมาข้างนอกมันจะทวนกระแสเข้าไปพิจาณาสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อกี๊แล้วมันจะเข้าใจ กิเลสยังเหลือ หรือไม่เหลือสักเท่าไร รู้ พอเราปฏิบัติได้อย่างนี้ พอเราต้องการเช็คตัวเอง เราสังเกตที่ใจของเรากิเลสของเราเหลือสักเท่าไร จะไปแล้วเท่าไร หลวงปู่ดูลย์ไปเรียนกรรมฐานกับหลวงปู่มั่นเสร็จแล้วไปเดินนะ เดินมาเดือนกว่าๆ กลับมารายงาน กิเลส 4 ส่วน ผมละเด็ดขาดไปแล้ว 1 ส่วน ส่วนที่ 2 ละได้ครึ่งเดียวยังไม่สมุจเฉจ (การตัดขาด) หลวงปู่มั่นบอกไปทำต่อถูกแล้ว จากนี้ดู สัพเพ สังขารา สัพพสัญญา อนัตตา 4 พ.ค. 2548 ทางลัด จิตที่พ้นความปรุงแต่ง จะรู้ธรรมชาติที่พ้นความปรุงแต่ง (นิพพาน) ทางลัดที่สุดสำหรับการปฏิบัติธรรม จึงไม่ใช่การกระทำ (ปรุงแต่ง) ใดๆ แต่เป็นการหยุดกระทำ โดยไม่กระทำ (ปรุงแต่ง) ความหยุดให้เกิดขึ้น มีเพียง การรู้อย่างเงียบสนิทจริงๆ เท่านั้น (โดยไม่มีมายาของการคิดนึกปรุงแต่ง และมายาของการหยุดคิดนึกปรุงแต่ง) ที่เป็นสิ่งสุดท้ายซึ่งผู้ปฏิบัติจะทำได้ ก่อนที่จิตเขาจะ "ก้าวกระโดด" ไปเอง หากพระพุทธเจ้าจะทรงแสดงธรรมอย่างถึงที่สุด ย่อมต้องปิดพระโอษฐ์เงียบ แต่นั่นเป็นสิ่งยากเกินกว่าเวไนยชนจะเข้าใจได้ และหากจะทรงกล่าวธรรมอย่างย่นย่อที่สุดว่า สิ่งทั้งปวงไม่ควรยึดมั่น ก็ยังยากที่จะมีผู้รู้ตามได้ เพราะสัตว์ทั้งหลายถ้าไม่ยึดรูปธรรม ก็ต้องยึดนามธรรมไว้ก่อน พระองค์จึงทรงบอก ทาง ของการปฏิบัติขึ้นมามากมาย โดยอิงกับรูปธรรมและนามธรรม เช่น ทาน ศีล ภาวนา กุศลกรรมบถ ตลอดจนการทำสมถะและวิปัสสนา ทั้งนี้ ก็เพื่อให้พวกเราเดินเข้าใกล้ การหยุดพฤติกรรมทางจิต จนเหลือเพียงรู้อย่างเงียบสนิทจริงๆ นั่นเอง เช่นทรงสอนให้ทำทาน เพื่อลดความกระวนกระวายเพราะความโลภ ทรงสอนให้รักษาศีล เพื่อเป็นพื้นฐานสำหรับความสงบระงับ ทรงสอนสัมมาสมาธิ เพื่อให้จิตตั้งมั่นและรู้ตัว และทรงสอนวิปัสสนา เพื่อทำลายแรงดึงดูดของอารมณ์ ที่จะพาจิตให้ทะยานไปก่อภพก่อชาติตลอดนิรันดร ผู้ปฏิบัติที่ยังขาดความเข้าใจ ย่อมปฏิบัติสิ่งเหล่านี้ เพื่อที่จะปฏิบัติต่อไป ส่วนผู้ที่เข้าใจแล้ว ก็จะ หยุด การปฏิบัติ ได้ด้วยปัญญาญาณอันแหลมคม หากต้องการทางลัด ก็จำเป็นต้อง รู้ และเลิกคิดเรื่อง ทาง ไปเลย แต่ถ้ายังไม่รู้จัก รู้ ก็ยังจำเป็นต้องอาศัยทางเหล่านั้นต่อไปก่อน 4 ธ.ค. 2544 ของฝากจากสวนโพธิ์ 1. เผลอก็ให้รู้ว่าเผลอ เมื่อรู้ว่าเผลอแล้วก็พอแล้ว อย่าเผลอต่อไปอีก ด้วยการคิดว่า ทำอย่างไรจึงจะรู้ตัวได้ต่อเนื่อง 2. เพ่งก็ให้รู้ว่าเพ่ง เมื่อรู้ว่าเพ่งแล้วก็พอแล้ว อย่าเผลอหรือเพ่งต่อไปอีก เพื่อจะทำลายการเพ่งนั้น 3. หงุดหงิดก็รู้ว่าหงุดหงิด กลัวก็รู้ว่ากลัว มีราคะก็รู้ว่ามีราคะ มีความฟุ้งซ่านก็รู้ว่ามีความฟุ้งซ่าน ให้รู้ด้วยจิตที่เป็นกลางๆ คือไม่คล้อยตาม และไม่ต่อต้าน เพราะถ้าคล้อยตามก็จะถูกกิเลสครอบงำ ถ้าต่อต้านก็จะเกิดความอึดอัดใจ 4. สรุปแล้ว ให้รู้ทุกอย่างที่จิตไปรู้เข้า โดยไม่เติมความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ ลงไปอีก เพราะ "รู้" นั่นแหละคือประตูของมรรคผลนิพพาน 29 พ.ย. 2544 แก่นสารของการปฏิบัติธรรม การเจริญสติจริงๆ จะไปยากอะไร เพียงแต่ให้มีจิตที่รู้ตัวสบายๆ เป็นธรรมชาติธรรมดานี้เอง แล้วไปรู้อารมณ์ (ที่เป็นปรมัตถ์)ที่กำลังปรากฏ โดยไม่เผลอ ไม่เพ่ง ด้วยความเป็นกลางจริงๆ คลองแห่งความคิดจะขาดไป และจิตจะรู้ โดยปราศจากความปรุงแต่ง ไม่นานผู้ปฏิบัติก็จะสามารถเข้าในวิสังขารธรรม หรือธรรมที่พ้นความปรุงแต่งได้ จุดแรกที่พวกเราควรทำความรู้จักก็คือ จิตที่มีสติ ไม่เผลอ ไม่หลง ไม่ถูกครอบงำด้วยความปรุงแต่งมันเป็นอย่างไร เมื่อรู้ตัวเป็นแล้ว ก็รู้ปรมัตถธรรมที่กำลังปรากฏไปตามธรรมดาๆ นี่เอง เช่นรู้ลงในความไหวของกาย ด้วยจิตที่ไม่หลง ก็จะเห็นปรมัตถ์ของ "กาย" อย่างชัดเจน คลองแห่งความคิดจะขาดไป เหลือแต่รู้สักว่ารู้ รู้ตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง แล้วจะเห็นธรรมฝ่ายสังขารคือ "กาย" หากจิตมีความพร้อม ก็จะเห็นธรรมฝ่ายวิสังขาร คือฝ่ายเหนือความปรุงแต่งได้ในวับเดียว 29 พ.ค. 2544 รู้อย่างไรจึงจะบั่นทอนทุกข์ลงได้ "รู้ตัว" เป็น ก็คือมีจิตที่ตั้งมั่น เป็นกลาง เป็นธรรมเอก ถัดจากนั้นก็ต้องหัด "รู้" ทุกสิ่งที่กำลังปรากฏ ด้วยความ "รู้ตัว" ก็จะเห็นว่าทุกอย่างที่ถูกรู้ล้วนแต่เกิดขึ้นแล้วดับไป และถ้าเมื่อใดจิตขาดความรู้ตัว หลงเข้ายึดถือสิ่งที่ถูกรู้ ความทุกข์ก็เกิดขึ้น ถ้ารู้ โดยรู้ตัวอยู่ ก็เป็น รู้สักว่ารู้ จิตจะเป็นเพียง "ผู้สังเกตการณ์" ปรากฏการณ์ทั้งปวง โดยไม่โดดเข้าไปร่วมแสดงเอง ที่คุณสุรวัฒน์เล่าถึงการปฏิบัติว่า "ผมก็เลยต้องคอยทำตัวให้ รู้ เข้าไว้ อาบน้ำก็ฝึกรู้ ดูโทรทัศน์ก็ฝึกรู้ กินข้าวก็ฝึกรู้ ...นึกขึ้นได้ตอนไหนก็ฝึกรู้ วันๆก็ฝึกรู้ไปเรื่อยๆ" หัดต่อไปอย่างที่หัดนี่แหละครับ ยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ขับถ่าย ทำ พูด คิด ฯลฯ รู้อยู่ให้ตลอด ให้ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยมีผู้รู้ กับสิ่งที่ถูกรู้ ซึ่งถึงจุดนี้ จะเห็นมันแยกกันเองได้แล้วครับ ไม่ต้องไปพยายามทำอะไรเพื่อให้มันแยกกันมากกว่านี้จนผิดธรรมชาติ จะกลายเป็นปฏิบัติด้วยความจงใจและความอยากมากไปครับ 30 มิ.ย. 2543 ปัจจัยแห่งความเจริญงอกงามในธรรม (1) ให้พยายามมีสติสัมปชัญญะ รู้ อยู่ในชีวิตประจำวันให้ได้ จะยืน เดิน นั่ง นอน กิน ดื่ม ทำ พูด คิด ฯลฯ ก็ให้มีสติรู้กายรู้ใจอยู่เสมอ (2) ให้ปฏิบัติธรรมไปอย่างซื่อๆ ตรงๆ อย่าเอาแต่วุ่นวายกับการคิด การหาอุบายทางลัด และนิมิตต่างๆ เพราะนั่นล้วนเป็นทางแห่งความเนิ่นช้า (3) อย่าเอาแต่รวมกลุ่มสัญจรไปตามสำนักโน้นสำนักนี้ เที่ยวสนุกกับการไปฟังธรรมที่โน้นที่นี้ ละเลยการฟังธรรมในจิตใจตนเอง (4) มีผลการปฏิบัติใดๆ เกิดขึ้นในระหว่างทาง ก็อย่าเอาแต่ไปเขียนเล่าในกระทู้ให้กิเลสกระเพื่อม จนปฏิบัติต่อไปไม่ได้อีก (5) ขอให้ตั้งใจจริงจังเพื่อเอาตัวให้รอด ลองเอาจริงสัก ปี สองปีก็ยังดี โดยยอมเสียสละเรื่องรกรุงรังในจิตใจเสียสักช่วงหนึ่ง แล้วตั้งใจปฏิบัติให้สม่ำเสมอ 9 พ.ย. 2543 วันวานที่ผ่านมา วิปัสสนาที่แท้จริงนั้น มีแต่รู้ ไม่ต้องจงใจเติมสิ่งใดลงไปในรู้ ไม่ว่าจะเป็นศีล สมาธิ หรือปัญญา ไม่ต้องเอาสมมุติบัญญัติ หรือความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ มาช่วยทำวิปัสสนา ไม่ต้องคิด ไม่ต้องพิจารณาโดยสิ้นเชิง เพราะความจงใจเคลื่อนไหวใดๆ จะทำให้จิตก่อภพก่อชาติ ก่อวัฏฏะหมุนวนขึ้นมาอีก ผมไม่แนะนำให้พยายามทรงความรู้ตัวให้นานๆ เพราะความพยายามนั้นเอง จะทำให้เกิดการ จงใจ เสแสร้ง ดัดจริต รู้ นักปฏิบัตินั้น อย่าไปนึกถึงเรื่องที่จะให้จิตรู้ตัวต่อเนื่อง ได้เป็นชั่วโมง เป็นวัน เป็นเดือน เลยครับ เพราะการปฏิบัติ เราจะดูกันเป็นขณะๆ ไปเท่านั้นเอง ว่าขณะนี้รู้ตัวหรือเผลอ ขณะนี้มีสติ หรือขาดสติ ขณะใดมีสติ ขณะนั้นกำลังปฏิบัติอยู่ ขณะใดขาดสติ ขณะนั้นไม่ได้ปฏิบัติ หรือปฏิบัติผิด ไม่ใช่พูดว่า ชั่วโมงนี้รู้ตัว หรือวันนี้รู้ตัว ชั่วโมงต่อมา หรือวันต่อมา ไม่รู้ตัว ดังนั้นเมื่อเผลอไป แล้วเกิดรู้ตัวว่าเผลอ ขณะนั้น จิต รู้ ถูกต้องแล้ว เมื่อเพ่ง แล้วเกิดรู้ตัวว่าเพ่ง ขณะนั้น จิต รู้ ถูกต้องแล้ว เมื่อมีราคะ แล้วเกิดรู้ตัวว่ามีราคะ ขณะนั้น จิต รู้ ถูกต้องแล้ว เมื่อโทสะ แล้วเกิดรู้ตัวว่ามีโทสะ ขณะนั้น จิต รู้ ถูกต้องแล้ว เมื่อมีโมหะ แล้วเกิดรู้ตัวว่าโมหะ ขณะนั้น จิต รู้ ถูกต้องแล้ว 18 ธ.ค. 2543

การควบคุมมอเตอร์รายละเอียดการต่อ PS21244 กับ MC3PHACแบบขนานและแบบธรรมดการทำสอบการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส โดยใช้ แรงดันไฟฟ้า 230V/AC โดยสามารถควบคุมความเร็วและการกลับทางหมุน­ได้ด้วย IC-MC3PHAC ซึ่ง IC 1 ตัวสามารถใช้งานในมอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้าได้อย่างปลอดภัย ใครที่ทดลองทำเหมือนกันแล้วไม่ประสบผลสำเร­็จ หรือจะสั่งประกอบ ก็ลองโทรมาคุยกันนะครับ ที่ 089-6440658 ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=K80h-bzuOIkา

มอเตอร์สามเฟส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับการทำสอบการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส โดยใช้ แรงดันไฟฟ้า 230V/AC โดยสามารถควบคุมความเร็วและการกลับทางหมุน­ได้ด้วย IC-MC3PHAC ซึ่ง IC 1 ตัวสามารถใช้งานในมอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้าได้อย่างปลอดภัย ใครที่ทดลองทำเหมือนกันแล้วไม่ประสบผลสำเร­็จ หรือจะสั่งประกอบ ก็ลองโทรมาคุยกันนะครับ ที่ 089-6440658 ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=K80h-bzuOIk

GT15J331 สำหรับ เครื่อง ควบคุมมอเตอร์สามเฟสและสร้าง PURE SINE INVERTER ครัการทำสอบการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส โดยใช้ แรงดันไฟฟ้า 230V/AC โดยสามารถควบคุมความเร็วและการกลับทางหมุน­ได้ด้วย IC-MC3PHAC ซึ่ง IC 1 ตัวสามารถใช้งานในมอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้าได้อย่างปลอดภัย ใครที่ทดลองทำเหมือนกันแล้วไม่ประสบผลสำเร­็จ หรือจะสั่งประกอบ ก็ลองโทรมาคุยกันนะครับ ที่ 089-6440658 ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=K80h-bzuOIkบ

มอเตอร์สามเฟสการทำสอบการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส โดยใช้ แรงดันไฟฟ้า 230V/AC โดยสามารถควบคุมความเร็วและการกลับทางหมุน­ได้ด้วย IC-MC3PHAC ซึ่ง IC 1 ตัวสามารถใช้งานในมอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้าได้อย่างปลอดภัย ใครที่ทดลองทำเหมือนกันแล้วไม่ประสบผลสำเร­็จ หรือจะสั่งประกอบ ก็ลองโทรมาคุยกันนะครับ ที่ 089-6440658 ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=K80h-bzuOIk

การสร้างเครื่องปรับมอเตอร์สามเฟสการทำสอบการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส โดยใช้ แรงดันไฟฟ้า 230V/AC โดยสามารถควบคุมความเร็วและการกลับทางหมุน­ได้ด้วย IC-MC3PHAC ซึ่ง IC 1 ตัวสามารถใช้งานในมอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้าได้อย่างปลอดภัย ใครที่ทดลองทำเหมือนกันแล้วไม่ประสบผลสำเร­็จ หรือจะสั่งประกอบ ก็ลองโทรมาคุยกันนะครับ ที่ 089-6440658 ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=K80h-bzuOIk

ควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส ด้วยไฟฟ้า 230V/AC(ภาคทดสอบการทำงาน)การทำสอบการทำงานของมอเตอร์ไฟฟ้า 3 เฟส โดยใช้ แรงดันไฟฟ้า 230V/AC โดยสามารถควบคุมความเร็วและการกลับทางหมุน­ได้ด้วย IC-MC3PHAC ซึ่ง IC 1 ตัวสามารถใช้งานในมอเตอร์ 3 เฟส ขนาด 1 แรงม้าได้อย่างปลอดภัย ใครที่ทดลองทำเหมือนกันแล้วไม่ประสบผลสำเร­็จ หรือจะสั่งประกอบ ก็ลองโทรมาคุยกันนะครับ ที่ 089-6440658 ครับ หมวดหมู่ บุคคลและบล็อก

การสร้างเครื่องปรับมอเตอร์สามเฟสจำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า02-951-1356รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

ถ้าหยุดการปรุงแต่งจิตไม่ได้สุดท้ายจะเป็นบ้าเอาหมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­ิโดยสมาธิโดยอัตโ­นมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แ­­หละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแ­­ล้ว

แผงวงจรตู้เชื่อมรุ่นใหม่ครับซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบบควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

ซ่อมสามเฟสอินเวอรเ์ตอร์บอร์ดอิเล็กทรอนิกส์กำลังและอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรมซ่อมแผงวงจรเครื่องจักรออกแบบซ่อมสร้างระบบควบคุมเครื่องจักร อุตสาหกรรม เคริ่องควบคุมมอเตอร์ รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

วิธีการซ่อมแผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ตอนที่ 3 circuit diagram Wiring...รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

การหาจุดเสียในแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์รับซ่อมเตาแม่เหล็กไฟฟ้า แผงวงจรตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ ทุกอาการ และ จำหน่ายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ IGBT POWER TRANSISTOR SCR แกนเทอรอยด์ สำหรับ สร้าง ผลิต ซ่อม เครื่อง ควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เครื่องแปลงพลังงานไฟฟ้า เครื่องปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้า เตาแม่เหล็กไฟฟ้า ตู้เชื่อมอินเวอร์เตอร์ 02-951-1356 081-803-6553 line id:pornpimon 1411 เลขที่ 69/6 ซอยติวานนท์ 18 แยก 5 อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000

พันแกนdc-to-dc

จำหน่ายอะไหล่ อิเล็กทรอนิกส์ กำลัง แอร์ ตู้เย็น เครื่องซักผ้า

การเกิดครั้งสุดท้ายพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตั้งอยู่ในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงถือยอดคืออรหัตด้วยเทศนา. ส่วนกุลบุตรแทงตลอดสามัญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. พระราชาเสวยโภชนะมีรสต่างๆ ด้วยภาชนะทองคำ ทรงปั้นก้อนข้าวโดยประมาณของพระองค์ ครั้นเมื่อพระราชกุมารประทับนั่ง ณ พระเพลา แสดงความอาลัยในก้อนข้าวพึงทรงน้อมก้อนข้าวนั้น. กุมารทรงทำคำข้าวโดยประมาณพระโอษฐ์ของพระองค์ พระราชาทรงเสวยคำข้าวที่เหลือด้วยพระองค์เองหรือทรงใส่ในจานฉันใด พระตถาคตผู้ธรรมราชาก็ฉันนั้น เมื่อทรงถือยอดคือพระอรหัตโดยประมาณพระองค์ ทรงแสดงเทศนา. กุลบุตรแทงตลอดสามัญญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. ก็ในกาลก่อนแต่นี้ กุลบุตรนั้นแสดงกถาอันประกอบด้วยไตรลักษณ์ อันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งเห็นปานนี้ว่า ขันธ์ ธาตุ อายตนะทั้งหลาย ย่อมไม่กังขา ย่อมไม่สงสัยว่า นัยว่าไม่เป็นอย่างนั้น ข้อนั้นอาจารย์ของเรากล่าวแล้วอย่างนี้ ทราบว่า ความเป็นคนเขลา ความเป็นผู้ผิดไม่มี ด้วยประการฉะนี้. ได้ยินว่า ในฐานะบางอย่าง พระพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปด้วยเพศอันบุคคลไม่รู้ได้ ได้มีความสงสัย มีความเคลือบแคลงว่า นั่นเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหนอแล. เพราะกุลบุตรนี้แทงตลอดอนาคามิผลแล้ว ในกาลนั้นจึงถึงความตกลงว่า บุคคลนี้ คือพระศาสดาของเรา. ถามว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร กุลบุตรจึงไม่แสดงโทษล่วงเกินเล่า. ตอบว่า เพราะไม่มีโอกาส. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำวาระอันไม่ตัดแล้วด้วยมาติกาตามที่ทรงยกขึ้นแล้ว จึงทรงแสดงพระเทศนา ดุจทรงให้หยั่งลงสู่อากาศคงคาฉะนั้นแล.

การเกิดครั้งสุดท้าย ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความที่กุลบุตรนั้นครอบงำความใคร่ในรูปาวจรฌานนั้นแล้ว จึงทรงแสดงโทษนั้นทั้งหมด ด้วยบทเดียวเท่านั้นว่า สงฺขตเมตํ ดังนี้แก่ภิกษุผู้ยังไม่บรรลุ ยังไม่ได้อรูปาวจรฌานนั้นว่า ชื่อว่าสมบัติในอากาสานัญจายตนะเป็นต้นนั้นมีอยู่ ก็อายุของผู้ได้อากาสานัญจายตนะเป็นต้นนั้น ในพรหมโลกที่หนึ่งมี ๒๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สองมี ๔๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สามมี ๖๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สี่มี ๘๔,๐๐๐ กัป แต่อายุนั้นไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่แน่นอน เป็นไปชั่วคราว มีการเคลื่อนไป แตกดับและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา คล้อยตามความเกิด ถูกชราบั่นทอน อันมรณะครอบงำ ตั้งอยู่ในทุกข์ ไม่มีอะไรต้านทาน ไม่เป็นที่เร้นลับ ไม่เป็นที่พึ่ง ไม่เป็นที่พึ่งพาอาศัย แม้ได้เสวยสมบัติในพรหมโลกนั้น ตลอดกาลประมาณเท่านี้ ทำกาลกิริยาอย่างปุถุชนแล้ว พึงตกในอบายสี่อีก. กุลบุตรได้ฟังพระพุทธพจน์นั้นแล้ว ยึดมั่นความใคร่ในอรูปาวจรฌาน. พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นทรงทราบความที่กุลบุตรนั้นเป็นผู้ยึดมั่นความใคร่ในรูปาวจรและอรูปาวจรแล้ว เมื่อจะทรงถือยอดคืออรหัต จึงตรัสว่า บุคคลนั้นจะไม่คำนึง ดังนี้เป็นต้น. ก็หรือว่ามหาโยธะ (นายทหารผู้ใหญ่) คนหนึ่ง ยังพระราชาพระองค์หนึ่งให้พอพระราชหฤทัยแล้ว จึงได้บ้านส่วยซึ่งมีรายได้หนึ่งแสน. พระราชาทรงระลึกถึงอานุภาพของมหาโยธะนั้นว่า โยธะมีอานุภาพมาก เขาได้ทรัพย์น้อย ดังนี้ จึงพระราชทานอีกว่า ดูก่อนพ่อ บ้านนี้ไม่สมควรแก่ท่าน ท่านจงรับเอาบ้านอื่นซึ่งมีรายได้ตั้งสี่แสน. เขารับสนองพระบรมราชโอการว่า ดีละ พระเจ้าข้า ละบ้านนั้นแล้วรับเอาบ้านนี้. พระราชาตรัสสั่งให้เรียกมหาโยธะนั้นผู้ยังไม่ถึงบ้านนั้นแล ทรงส่งไปว่า ท่านจะมีประโยชน์อะไรด้วยบ้านนั้น อหิวาตกโรคกำลังเกิดในบ้านนั้น แต่ในที่โน้นมีนครใหญ่ ท่านพึงยกฉัตรเสวยราชย์ในนครนั้นเถิดดังนี้. มหาโยธะนั้นพึงเสวยราชย์อย่างนั้น. ในข้อนั้น พึงเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหมือนพระราชา. ปุกกุสาติกุลบุตรเหมือนมหาโยธะ. อานาปานจตุตถฌานเหมือนบ้านที่ได้ครั้งแรก. การให้กระทำการยึดมั่นซึ่งความใคร่ในอานาปานฌานแล้วตรัสอรูป เหมือนกาลให้มหาโยธะสละบ้านนั้นแล้วตรัสว่า เจ้าจงถือเอาบ้านนี้. การที่ให้กุลบุตรนั้นเปลี่ยนการปรารถนาในสมาบัติเหล่านั้นที่ยังไม่ถึง ด้วยการทรงแสดงโทษในอรูปว่า สงฺขตเมตํ แล้วทรงถือเอาเทศนาด้วยยอดคืออรหัตในเบื้องสูง เหมือนกาลที่ตรัสสั่งให้เรียกมหาโยธะซึ่งยังไม่ถึงบ้านนั้น แล้วตรัสว่า ท่านจะมีประโยชน์อะไรด้วยบ้านนั้น อหิวาตกโรคกำลังเกิดในบ้านนั้น ในที่โน้นมีนคร ท่านจงยกฉัตรเสวยราชย์ในนครนั้นเถิด. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เนว อภิสงฺขโรติ คือ ไม่สั่งสม ได้แก่ไม่ทำให้เป็นกอง. บทว่า น อภิสญฺเจตยติ คือ ไม่ให้สำเร็จ. บทว่า ภวาย วา วิภวาย วา ได้แก่ เพื่อความเจริญหรือเพื่อความเสื่อม. พึงประกอบแม้ด้วยอำนาจแห่งสัสสตะและอุจเฉทะ. บทว่า น กิญจิ โลเก อุปาทิยติ ความว่า ไม่ถือ ไม่ลูบคลำ แม้ธรรมหนึ่งอะไรๆ ในธรรมทั้งหลายมีรูปเป็นต้นในโลกด้วยตัณหา. บทว่า นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาติ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตั้งอยู่ในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงถือยอดคืออรหัตด้วยเทศนา. ส่วนกุลบุตรแทงตลอดสามัญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. พระราชาเสวยโภชนะมีรสต่างๆ ด้วยภาชนะทองคำ ทรงปั้นก้อนข้าวโดยประมาณของพระองค์ ครั้นเมื่อพระราชกุมารประทับนั่ง ณ พระเพลา แสดงความอาลัยในก้อนข้าวพึงทรงน้อมก้อนข้าวนั้น. กุมารทรงทำคำข้าวโดยประมาณพระโอษฐ์ของพระองค์ พระราชาทรงเสวยคำข้าวที่เหลือด้วยพระองค์เองหรือทรงใส่ในจานฉันใด พระตถาคตผู้ธรรมราชาก็ฉันนั้น เมื่อทรงถือยอดคือพระอรหัตโดยประมาณพระองค์ ทรงแสดงเทศนา. กุลบุตรแทงตลอดสามัญญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. ก็ในกาลก่อนแต่นี้ กุลบุตรนั้นแสดงกถาอันประกอบด้วยไตรลักษณ์ อันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งเห็นปานนี้ว่า ขันธ์ ธาตุ อายตนะทั้งหลาย ย่อมไม่กังขา ย่อมไม่สงสัยว่า นัยว่าไม่เป็นอย่างนั้น ข้อนั้นอาจารย์ของเรากล่าวแล้วอย่างนี้ ทราบว่า ความเป็นคนเขลา ความเป็นผู้ผิดไม่มี ด้วยประการฉะนี้. ได้ยินว่า ในฐานะบางอย่าง พระพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปด้วยเพศอันบุคคลไม่รู้ได้ ได้มีความสงสัย มีความเคลือบแคลงว่า นั่นเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหนอแล. เพราะกุลบุตรนี้แทงตลอดอนาคามิผลแล้ว ในกาลนั้นจึงถึงความตกลงว่า บุคคลนี้ คือพระศาสดาของเรา. ถามว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร กุลบุตรจึงไม่แสดงโทษล่วงเกินเล่า. ตอบว่า เพราะไม่มีโอกาส. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำวาระอันไม่ตัดแล้วด้วยมาติกาตามที่ทรงยกขึ้นแล้ว จึงทรงแสดงพระเทศนา ดุจทรงให้หยั่งลงสู่อากาศคงคาฉะนั้นแล. บทว่า โส คือ พระอรหันต์นั้น. บทว่า อนชฺโฌสิตา ความว่า รู้ชัดว่า ไม่ควรแล้ว เพื่อกลืน ติดใจ ถือเอา. บทว่า อนภินนฺทิตา คือ รู้ชัดว่า ไม่ควรแล้วเพื่อเพลิดเพลินด้วยอำนาจแห่งตัณหาและทิฐิ. บทว่า วิสํยุตฺโต น เวทิยติ ความว่า ก็ถ้าว่า ราคานุสัยเพราะปรารภสุขเวทนา ปฏิฆานุสัยเพราะปรารภทุกขเวทนา อวิชชานุสัยเพราะปรารภเวทนานอกนี้ พึงเกิดแก่บุคคลนั้นไซร้ บุคคลนั้น ก็ชื่อว่าประกอบพร้อมแล้วเสวย. แต่เพราะไม่เกิดจึงชื่อว่าไม่ประกอบเสวยคือสลัดออกแล้ว พ้นวิเศษแล้ว. บทว่า กายปริยนฺติกํ ความว่า เวทนาซึ่งเกิดขึ้นมีกายเป็นที่สุด จนถึงความเป็นไปแห่งกาย ต่อแต่นั้นก็ไม่เกิด. แม้ในบทที่สองก็นัยนี้เหมือนกัน. บทว่า อภินนฺทิตานิ สีติภวิสฺสนฺติ ความว่า ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดเป็นอันชื่อว่าไม่ยินดีแล้ว เพราะความที่กิเลสทั้งหลายไม่มีพิเศษ ในอายตนะสิบสอง จักดับในอายตนะสิบสองนี้นั้นเทียว. ก็กิเลสทั้งหลายแม้ดับแล้วเพราะมาถึงนิพพาน ย่อมไม่มีในที่ใด เรียกว่าดับแล้วในที่นั้น. เนื้อความนี้นั้นพึงแสดงด้วยสมุทยปัญหาว่า ตัณหานั้น เมื่อจะดับย่อมดับในที่นั้น. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดแม้เป็นธรรมชาติสงบแล้ว เพราะอาศัยนิพพาน จักเป็นของสงบในโลกนี้แล. ถามว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสความเสวยอารมณ์ทั้งหลายในที่นี้มิใช่หรือ ทำไมจึงไม่ตรัสกิเลสทั้งหลายเล่า. ตอบว่า เพราะแม้ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายจะเป็นของสงบ เพราะไม่มีกิเลสนั้นเทียว. ธรรมดาความที่ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายเป็นของสงบ ไม่มีในฐานะนอกนี้ เพราะฉะนั้น คำนั้นกล่าวดีแล้ว. นี้เป็นการเปรียบเทียบอุปมาในบทนี้ว่า เอวเมว โข. เหมือนบุรุษคนหนึ่ง เมื่อประทีปน้ำมันไหม้อยู่ ครั้นน้ำมันหมดแล้ว ก็เติมน้ำมันเหล่านั้น เมื่อไส้หมดก็ใส่ไส้ เมื่อเป็นเช่นนั้นเปลวประทีปก็ไม่ดับฉันใด ปุถุชนก็ฉันนั้นเหมือนกัน ตั้งอยู่ในภพหนึ่ง ย่อมทำกุศลและอกุศล เขาก็จะเกิดในสุคติและในอบายทั้งหลาย เพราะกุศลและอกุศลนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น เวทนาทั้งหลายก็ยังไม่ขาดสูญนั้นเทียว. อนึ่ง คนหนึ่งกระสันในเปลวประทีปแอบซ่อนด้วยคิดว่า เพราะอาศัยบุรุษนี้เปลวประทีปจึงไม่ดับดังนี้ พึงตัดศีรษะของบุรุษนั้น. เพราะไม่ใส่ไส้และไม่เติมน้ำมันอย่างนี้ เปลวประทีปที่หมดเชื้อก็ย่อมดับฉันใด พระโยคาวจรผู้กระสันในประวัตตกาลก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมตัดขาดกุศลและอกุศลด้วยอรหัตมรรค. เพราะความที่กุศลนั้นถูกตัดขาดแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายย่อมไม่เกิดขึ้นอีกแก่ภิกษุผู้ขีณาสพ เพราะความแตกแห่งกายดังนี้. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะอรหัตผลปัญญา ยิ่งกว่าสมาธิปัญญาและวิปัสสนาปัญญาในเบื้องต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยอรหัตผลปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อันสูงสุดนี้. ญาณในอรหัตมรรค ชื่อว่าญาณในความสิ้นไปซึ่งทุกข์ทั้งปวง. แต่ในสูตรนี้ทรงประสงค์ญาณในอรหัตผล. เพราะเหตุนั้นแล จึงตรัสว่า ความหลุดพ้นของเขานั้นจัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดังนี้. ก็ในบทเหล่านั้น บทว่า วิมุตฺติ ได้แก่ อรหัตผลวิมุตติ. บทว่า สจฺจํ ได้แก่ ปรมัตถสัจ คือนิพพาน. ความหลุดพ้นนั้นตรัสว่า ไม่กำเริบ เพราะทำอารมณ์อันไม่กำเริบด้วยประการฉะนี้. บทว่า มุสา ได้แก่ ไม่จริง. บทว่า โมสธมฺมํ ได้แก่ สภาพที่พินาศ. บทว่า ตํ สจฺจํ ความว่า สัจจะนั้นเป็นของแท้มีสภาพ. บทว่า อโมสธมฺมํ ได้แก่ มีสภาพไม่พินาศ. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะปรมัตถสัจ คือนิพพานนั้นแล สูงกว่าวจีสัจบ้าง ทุกขสัจและสมุทัยสัจบ้าง ด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่ต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยปรมัตถสัจจาธิษฐานอันสูงสุดนี้. บทว่า ปุพฺเพ คือ ในกาลเป็นปุถุชน. บทว่า อุปธี โหนฺติ ได้แก่ อุปธิเหล่านี้คือขันธูปธิ กิเลสูปธิ อภิสังขารูปธิ ปัญจกามคุณูปธิ. บทว่า สมตฺตา สมาทินฺนา ความว่า บริบูรณ์คือถือเอาแล้ว ได้แก่ลูบคลำแล้ว. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะการสละกิเลสด้วยอรหัตมรรคนั้นแลดีกว่าการสละกิเลสด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่ต้น และกว่าการสละกิเลสด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต คือ ผู้ประกอบพร้อมแล้วด้วยจาคาธิษฐานอันสูงสุดนี้. ชื่อว่าอาฆาฏะ ด้วยอำนาจแห่งการทำการล้างผลาญ ในคำเป็นต้นว่า อาฆาโฏ. ชื่อว่าพยาบาท ด้วยอำนาจแห่งการปองร้าย. ชื่อว่าสัมปโทสะ ด้วยอำนาจแห่งการประทุษร้ายทุกอย่าง. ท่านกล่าวอกุศลมูลเท่านั้น ด้วยบททั้ง ๓. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะการสงบระงับกิเลสด้วยอรหัตมรรคนั้นแล สูงกว่าการสงบระงับกิเลสด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่เบื้องต้น และการสงบระงับกิเลสด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยอุปสมาธิษฐานอันอุดมนี้. บทว่า มญฺญิตเมตํ ความว่า ความสำคัญแม้ ๓ อย่างคือ ตัณหามัญญิตะ มานมัญญิตะ ทิฏฐิมัญญิตะ ย่อมเป็นไป. ก็บทนี้ว่า อสฺสมหํ ในบทนี้ว่า อหมสฺมิ คือ ความสำคัญตัณหานั้นเทียว ย่อมเป็นไป. ชื่อว่าโรค เพราะอรรถว่าเบียดเบียน ในบทว่า โรโค เป็นต้น. ชื่อว่าคัณฑะ เพราะอรรถว่าประทุษร้ายในภายใน. ชื่อว่าสัลละ เพราะอรรถว่าเสียดแทงเนืองๆ. บทว่า มุนิ สนฺโตติ วุจฺจติ ความว่า บุคคลนั้นเรียกว่า มุนีผู้พระขีณาสพ ผู้สงบแล้ว คือผู้สงบระงับแล้ว ดับทุกข์แล้ว. บทว่า ยตฺถ ฐิตํ คือ ตั้งอยู่ในฐานะใด. บทว่า สงฺขิตฺเตน ความว่า ก็พระธรรมเทศนาแม้ทั้งหมดของพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ย่อแล้วเทียว. ชื่อว่า เทศนาโดยพิสดารไม่มี. แม้สมันตปัฏฐานกถาก็ย่อแล้วนั้นแล. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังเทศนาให้ถึงตามอนุสนธิด้วยประการฉะนี้. ก็ในบุคคล ๔ จำพวก มีอุคฆฏิตัญญูเป็นต้น ปุกกุสาตีกุลบุตรเป็นวิปัจจิตัญญู. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธาตุวิภังคสูตรนี้ ด้วยอำนาจแห่งวิปัจจิตัญญู ด้วยประการฉะนี้. ในบทว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บาตรและจีวรของข้าพระองค์ยังไม่ครบแล. มีคำถามว่า เพราะเหตุไร บาตรและจีวรที่สำเร็จด้วยฤทธิ์จึงไม่เกิดขึ้นแก่กุลบุตรเล่า. ตอบว่า เพราะความที่บริขาร ๘ อย่างอันกุลบุตรไม่เคยให้ทานแล้วในกาลก่อน. กุลบุตรมีทานเคยถวายแล้ว มีอภินิหารได้กระทำแล้ว จึงไม่ควรกล่าวว่า เพราะความที่ทานไม่เคยให้แล้ว. ก็บาตรและจีวรอันสำเร็จแต่ฤทธิ์ ย่อมเกิดแก่สาวกทั้งหลายผู้มีภพสุดท้ายเท่านั้น. ส่วนกุลบุตรนี้ยังมีปฏิสนธิอีก. เพราะฉะนั้น บาตรและจีวรที่สำเร็จด้วยฤทธิ์ จึงไม่เกิดขึ้น. ถามว่า ถ้าเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ทรงแสวงหาด้วยพระองค์เองให้ถึงพร้อมเล่า. ตอบว่า เพราะพระองค์ไม่มีโอกาส. อายุของกุลบุตรก็สิ้นแล้ว. มหาพรหมผู้อนาคามีชั้นสุทธาวาส ก็เป็นราวกะมาสู่ศาลาช่างหม้อแล้วนั่งอยู่. เพราะฉะนั้น จึงไม่ทรงแสวงหาด้วยพระองค์เอง. บทว่า ปตฺตจีวรํ ปริเยสนํ ปกฺกามิ ความว่า ท่านปุกกุสาติหลีกไปในเวลานั้น เมื่ออรุณขึ้นแล้ว. ได้ยินว่า การจบพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า การขึ้นแห่งอรุณและการเปล่งพระรัศมี ได้มีในขณะเดียวกัน. นัยว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบพระเทศนาแล้ว ทรงเปล่งพระรัศมีมีสี ๖ ประการ. นิเวศน์แห่งช่างหม้อทั้งสิ้นก็โชติช่วงเป็นอันเดียวกัน. พระฉัพพัณณรัศมีชัชวาลย์แผ่ไปเป็นกลุ่มๆ ทำทิศทางทั้งปวงให้เป็นดุจปกคลุมด้วยแผ่นทองคำ และดุจรุ่งเรืองด้วยดอกคำและรัตนะอันประเสริฐซึ่งมีสีต่างๆ. เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอธิษฐานว่า ขอให้ชาวพระนครทั้งหลายจงเห็นเรา ดังนี้. ชาวพระนครทั้งหลายเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ต่างก็บอกต่อๆ กันว่า ได้ยินว่า พระศาสดาเสด็จมาแล้ว นัยว่า ประทับนั่ง ณ ศาลาช่างหม้อ แล้วกราบทูลแด่พระราชา. พระราชาเสด็จไปถวายบังคมพระศาสดาแล้วตรัสถามว่า พระองค์เสด็จมาแล้วเมื่อไร. เมื่อเวลาพระอาทิตย์ตกวานนี้ มหาบพิตร. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาด้วยกรรมอะไร. พระเจ้าปุกกุสาติพระสหายของพระองค์ทรงฟังพระราชสาส์นที่มหาบพิตรส่งไปแล้ว เสด็จออกบวช เสด็จมาเจาะจงอาตมาภาพ ล่วงเลยกรุงสาวัตถีเสด็จมาสิ้น ๔๕ โยชน์ เสด็จเข้าสู่ศาลาช่างหม้อนี้แล้วประทับนั่ง อาตมภาพจึงมาเพื่อสงเคราะห์พระสหายของมหาบพิตร ได้แสดงธรรมกถา กุลบุตรทรงแทงตลอดผล ๓ มหาบพิตร. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เวลานี้ พระเจ้าปุกกุสาติประทับอยู่ที่ไหน พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า พระเจ้าปุกกุสาติกุลบุตรทรงขออุปสมบทแล้ว เสด็จไปเพื่อทรงแสวงหาบาตรและจีวร เพราะบาตรและจีวรยังไม่ครบบริบูรณ์. พระราชาเสด็จไปทางทิศทางที่กุลบุตรเสด็จไป. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเหาะไปปรากฏ ณ พระคันธกุฏีในพระเชตวันนั้นแล. แม้กุลบุตรเมื่อแสวงหาบาตรและจีวร ก็ไม่ไปสู่สำนักของพระเจ้าพิมพิสาร และของพวกพ่อค้าเดินเท้า ชาวเมืองตักกสิลา. ได้ยินว่า กุลบุตรนั้นคิดอย่างนี้ว่า การที่เลือกแสวงหาบาตรและจีวรที่พอใจและไม่พอใจในสำนักนั้นๆ แล ไม่สมควรแก่เราผู้ดุจไก่ พระนครใหญ่ จำเราจักแสวงหาที่ท่าน้ำ ป่าช้า กองขยะและตามตรอก ดังนี้. กุลบุตรปรารภเพื่อแสวงหาเศษผ้าที่กองขยะในตรอกก่อน. บทว่า ชีวิตา โวโรเปสิ ความว่า แม่โคลูกอ่อนหมุนไปวิ่งมาขวิดกุลบุตรนั้นผู้กำลังแลดูเศษผ้าในกองขยะแห่งหนึ่ง ให้กระเด็นขึ้นถึงความตาย. กุลบุตรผู้ถูกความหิวครอบงำ ถึงความสิ้นอายุในอากาศนั่นเทียว ตกลงมานอนคว่ำหน้าในที่กองขยะเป็นเหมือนรูปทองคำฉะนั้น. ก็แลทำกาละแล้วไปเกิดในพรหมโลกชั้นอวิหา. พอเกิดแล้วก็บรรลุพระอรหัต. ได้ยินว่า ชนที่สักว่าเกิดแล้วในอวิหาพรหมโลกมี ๗ คน ได้บรรลุพระอรหัต. สมจริงดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุ ๗ รูป เข้าถึงอวิหาพรหมโลกแล้วหลุดพ้น มีราคะและโทสะสิ้นแล้ว ข้ามตัณหาในโลก และท่าน เหล่านั้นข้ามเปลือกตม บ่วงมัจจุราช ซึ่งข้ามได้แสน ยาก ท่านเหล่านั้นละโยคะของมนุษย์แล้ว ก้าวล่วงโยคะ อันเป็นทิพย์. ท่านเหล่านั้น คือ อุปกะ ๑ ปลคัณฑะ ๑ ปุกกุสาติ ๑ รวม ๓ ภัททิยะ ๑ ขันฑเทวะ ๑ พาหุทัตติ ๑ ปิงคิยะ ๑ ท่านเหล่านั้น ละโยคะ ของมนุษย์แล้ว ก้าวล่วงโยคะอันเป็นทิพย์ ดังนี้. ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารทรงพระราชดำริว่า พระสหายของเราได้อ่านสักว่าสาส์นที่เราส่งไป ทรงสละราชสมบัติที่อยู่ในเงื้อมพระหัตถ์ เสด็จมาทางไกลประมาณเท่านี้ กิจที่ทำได้ยากอันกุลบุตรได้ทำแล้ว เราจักสักการะเข้าด้วยเครื่องสักการะของบรรพชิต ดังนี้แล้ว จึงตรัสว่า พวกท่านจงไปตามหาพระสหายของเรา ดังนี้. ราชบริวารทั้งหลายที่ถูกส่งไปในที่นั้นๆ ได้เห็นกุลบุตรนั้น. เห็นเขาล้มลงที่กองขยะ กลับมาทูลแด่พระราชา. พระราชาเสด็จไปทรงเห็นกุลบุตรแล้ว ทรงคร่ำครวญว่า ท่านทั้งหลาย พวกเราไม่ได้เพื่อทำสักการะแก่พระสหายหนอ พระสหายของเราไม่มีที่พึ่งแล้ว ตรัสสั่งให้นำกุลบุตรด้วยเตียง ทรงตั้งไว้ในโอกาสอันสมควร ตรัสสั่งให้เรียกผู้อาบน้ำให้และช่างกัลบกเป็นต้น โดยให้รู้ถึงการทำสักการะแก่กุลบุตรผู้ยังไม่ได้อุปสมบท ทรงให้อาบพระเศียรของกุลบุตร ทรงให้นุ่งผ้าอันบริสุทธิ์เป็นต้น ทรงให้ตกแต่งด้วยเพศของพระราชา ทรงยกขึ้นสู่วอทอง ทรงให้ทำการบูชาด้วยวัตถุทั้งหลายมีดนตรี ของหอมและมาลาทุกอย่างเป็นต้น ทรงนำออกจากพระนคร ทรงให้ทำมหาจิตกาธานด้วยไม้หอมเป็นอันมาก. ครั้นทรงทำสรีรกิจของกุลบุตรแล้ว ทรงนำเอาพระธาตุมาประดิษฐ์ไว้ในพระเจดีย์. คำที่เหลือในบททั้งปวงง่ายทั้งนั้นแล. จบอรรถกถาธาตุวิภังคสูตรที่ ๑๐

การเกิดครั้งสุดท้าย ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความที่กุลบุตรนั้นครอบงำความใคร่ในรูปาวจรฌานนั้นแล้ว จึงทรงแสดงโทษนั้นทั้งหมด ด้วยบทเดียวเท่านั้นว่า สงฺขตเมตํ ดังนี้แก่ภิกษุผู้ยังไม่บรรลุ ยังไม่ได้อรูปาวจรฌานนั้นว่า ชื่อว่าสมบัติในอากาสานัญจายตนะเป็นต้นนั้นมีอยู่ ก็อายุของผู้ได้อากาสานัญจายตนะเป็นต้นนั้น ในพรหมโลกที่หนึ่งมี ๒๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สองมี ๔๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สามมี ๖๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สี่มี ๘๔,๐๐๐ กัป แต่อายุนั้นไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่แน่นอน เป็นไปชั่วคราว มีการเคลื่อนไป แตกดับและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา คล้อยตามความเกิด ถูกชราบั่นทอน อันมรณะครอบงำ ตั้งอยู่ในทุกข์ ไม่มีอะไรต้านทาน ไม่เป็นที่เร้นลับ ไม่เป็นที่พึ่ง ไม่เป็นที่พึ่งพาอาศัย แม้ได้เสวยสมบัติในพรหมโลกนั้น ตลอดกาลประมาณเท่านี้ ทำกาลกิริยาอย่างปุถุชนแล้ว พึงตกในอบายสี่อีก. กุลบุตรได้ฟังพระพุทธพจน์นั้นแล้ว ยึดมั่นความใคร่ในอรูปาวจรฌาน. พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นทรงทราบความที่กุลบุตรนั้นเป็นผู้ยึดมั่นความใคร่ในรูปาวจรและอรูปาวจรแล้ว เมื่อจะทรงถือยอดคืออรหัต จึงตรัสว่า บุคคลนั้นจะไม่คำนึง ดังนี้เป็นต้น. ก็หรือว่ามหาโยธะ (นายทหารผู้ใหญ่) คนหนึ่ง ยังพระราชาพระองค์หนึ่งให้พอพระราชหฤทัยแล้ว จึงได้บ้านส่วยซึ่งมีรายได้หนึ่งแสน. พระราชาทรงระลึกถึงอานุภาพของมหาโยธะนั้นว่า โยธะมีอานุภาพมาก เขาได้ทรัพย์น้อย ดังนี้ จึงพระราชทานอีกว่า ดูก่อนพ่อ บ้านนี้ไม่สมควรแก่ท่าน ท่านจงรับเอาบ้านอื่นซึ่งมีรายได้ตั้งสี่แสน. เขารับสนองพระบรมราชโอการว่า ดีละ พระเจ้าข้า ละบ้านนั้นแล้วรับเอาบ้านนี้. พระราชาตรัสสั่งให้เรียกมหาโยธะนั้นผู้ยังไม่ถึงบ้านนั้นแล ทรงส่งไปว่า ท่านจะมีประโยชน์อะไรด้วยบ้านนั้น อหิวาตกโรคกำลังเกิดในบ้านนั้น แต่ในที่โน้นมีนครใหญ่ ท่านพึงยกฉัตรเสวยราชย์ในนครนั้นเถิดดังนี้. มหาโยธะนั้นพึงเสวยราชย์อย่างนั้น. ในข้อนั้น พึงเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหมือนพระราชา. ปุกกุสาติกุลบุตรเหมือนมหาโยธะ. อานาปานจตุตถฌานเหมือนบ้านที่ได้ครั้งแรก. การให้กระทำการยึดมั่นซึ่งความใคร่ในอานาปานฌานแล้วตรัสอรูป เหมือนกาลให้มหาโยธะสละบ้านนั้นแล้วตรัสว่า เจ้าจงถือเอาบ้านนี้. การที่ให้กุลบุตรนั้นเปลี่ยนการปรารถนาในสมาบัติเหล่านั้นที่ยังไม่ถึง ด้วยการทรงแสดงโทษในอรูปว่า สงฺขตเมตํ แล้วทรงถือเอาเทศนาด้วยยอดคืออรหัตในเบื้องสูง เหมือนกาลที่ตรัสสั่งให้เรียกมหาโยธะซึ่งยังไม่ถึงบ้านนั้น แล้วตรัสว่า ท่านจะมีประโยชน์อะไรด้วยบ้านนั้น อหิวาตกโรคกำลังเกิดในบ้านนั้น ในที่โน้นมีนคร ท่านจงยกฉัตรเสวยราชย์ในนครนั้นเถิด. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เนว อภิสงฺขโรติ คือ ไม่สั่งสม ได้แก่ไม่ทำให้เป็นกอง. บทว่า น อภิสญฺเจตยติ คือ ไม่ให้สำเร็จ. บทว่า ภวาย วา วิภวาย วา ได้แก่ เพื่อความเจริญหรือเพื่อความเสื่อม. พึงประกอบแม้ด้วยอำนาจแห่งสัสสตะและอุจเฉทะ. บทว่า น กิญจิ โลเก อุปาทิยติ ความว่า ไม่ถือ ไม่ลูบคลำ แม้ธรรมหนึ่งอะไรๆ ในธรรมทั้งหลายมีรูปเป็นต้นในโลกด้วยตัณหา. บทว่า นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาติ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตั้งอยู่ในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงถือยอดคืออรหัตด้วยเทศนา. ส่วนกุลบุตรแทงตลอดสามัญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. พระราชาเสวยโภชนะมีรสต่างๆ ด้วยภาชนะทองคำ ทรงปั้นก้อนข้าวโดยประมาณของพระองค์ ครั้นเมื่อพระราชกุมารประทับนั่ง ณ พระเพลา แสดงความอาลัยในก้อนข้าวพึงทรงน้อมก้อนข้าวนั้น. กุมารทรงทำคำข้าวโดยประมาณพระโอษฐ์ของพระองค์ พระราชาทรงเสวยคำข้าวที่เหลือด้วยพระองค์เองหรือทรงใส่ในจานฉันใด พระตถาคตผู้ธรรมราชาก็ฉันนั้น เมื่อทรงถือยอดคือพระอรหัตโดยประมาณพระองค์ ทรงแสดงเทศนา. กุลบุตรแทงตลอดสามัญญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. ก็ในกาลก่อนแต่นี้ กุลบุตรนั้นแสดงกถาอันประกอบด้วยไตรลักษณ์ อันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งเห็นปานนี้ว่า ขันธ์ ธาตุ อายตนะทั้งหลาย ย่อมไม่กังขา ย่อมไม่สงสัยว่า นัยว่าไม่เป็นอย่างนั้น ข้อนั้นอาจารย์ของเรากล่าวแล้วอย่างนี้ ทราบว่า ความเป็นคนเขลา ความเป็นผู้ผิดไม่มี ด้วยประการฉะนี้. ได้ยินว่า ในฐานะบางอย่าง พระพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปด้วยเพศอันบุคคลไม่รู้ได้ ได้มีความสงสัย มีความเคลือบแคลงว่า นั่นเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหนอแล. เพราะกุลบุตรนี้แทงตลอดอนาคามิผลแล้ว ในกาลนั้นจึงถึงความตกลงว่า บุคคลนี้ คือพระศาสดาของเรา. ถามว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร กุลบุตรจึงไม่แสดงโทษล่วงเกินเล่า. ตอบว่า เพราะไม่มีโอกาส. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำวาระอันไม่ตัดแล้วด้วยมาติกาตามที่ทรงยกขึ้นแล้ว จึงทรงแสดงพระเทศนา ดุจทรงให้หยั่งลงสู่อากาศคงคาฉะนั้นแล. บทว่า โส คือ พระอรหันต์นั้น. บทว่า อนชฺโฌสิตา ความว่า รู้ชัดว่า ไม่ควรแล้ว เพื่อกลืน ติดใจ ถือเอา. บทว่า อนภินนฺทิตา คือ รู้ชัดว่า ไม่ควรแล้วเพื่อเพลิดเพลินด้วยอำนาจแห่งตัณหาและทิฐิ. บทว่า วิสํยุตฺโต น เวทิยติ ความว่า ก็ถ้าว่า ราคานุสัยเพราะปรารภสุขเวทนา ปฏิฆานุสัยเพราะปรารภทุกขเวทนา อวิชชานุสัยเพราะปรารภเวทนานอกนี้ พึงเกิดแก่บุคคลนั้นไซร้ บุคคลนั้น ก็ชื่อว่าประกอบพร้อมแล้วเสวย. แต่เพราะไม่เกิดจึงชื่อว่าไม่ประกอบเสวยคือสลัดออกแล้ว พ้นวิเศษแล้ว. บทว่า กายปริยนฺติกํ ความว่า เวทนาซึ่งเกิดขึ้นมีกายเป็นที่สุด จนถึงความเป็นไปแห่งกาย ต่อแต่นั้นก็ไม่เกิด. แม้ในบทที่สองก็นัยนี้เหมือนกัน. บทว่า อภินนฺทิตานิ สีติภวิสฺสนฺติ ความว่า ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดเป็นอันชื่อว่าไม่ยินดีแล้ว เพราะความที่กิเลสทั้งหลายไม่มีพิเศษ ในอายตนะสิบสอง จักดับในอายตนะสิบสองนี้นั้นเทียว. ก็กิเลสทั้งหลายแม้ดับแล้วเพราะมาถึงนิพพาน ย่อมไม่มีในที่ใด เรียกว่าดับแล้วในที่นั้น. เนื้อความนี้นั้นพึงแสดงด้วยสมุทยปัญหาว่า ตัณหานั้น เมื่อจะดับย่อมดับในที่นั้น. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดแม้เป็นธรรมชาติสงบแล้ว เพราะอาศัยนิพพาน จักเป็นของสงบในโลกนี้แล. ถามว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสความเสวยอารมณ์ทั้งหลายในที่นี้มิใช่หรือ ทำไมจึงไม่ตรัสกิเลสทั้งหลายเล่า. ตอบว่า เพราะแม้ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายจะเป็นของสงบ เพราะไม่มีกิเลสนั้นเทียว. ธรรมดาความที่ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายเป็นของสงบ ไม่มีในฐานะนอกนี้ เพราะฉะนั้น คำนั้นกล่าวดีแล้ว. นี้เป็นการเปรียบเทียบอุปมาในบทนี้ว่า เอวเมว โข. เหมือนบุรุษคนหนึ่ง เมื่อประทีปน้ำมันไหม้อยู่ ครั้นน้ำมันหมดแล้ว ก็เติมน้ำมันเหล่านั้น เมื่อไส้หมดก็ใส่ไส้ เมื่อเป็นเช่นนั้นเปลวประทีปก็ไม่ดับฉันใด ปุถุชนก็ฉันนั้นเหมือนกัน ตั้งอยู่ในภพหนึ่ง ย่อมทำกุศลและอกุศล เขาก็จะเกิดในสุคติและในอบายทั้งหลาย เพราะกุศลและอกุศลนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น เวทนาทั้งหลายก็ยังไม่ขาดสูญนั้นเทียว. อนึ่ง คนหนึ่งกระสันในเปลวประทีปแอบซ่อนด้วยคิดว่า เพราะอาศัยบุรุษนี้เปลวประทีปจึงไม่ดับดังนี้ พึงตัดศีรษะของบุรุษนั้น. เพราะไม่ใส่ไส้และไม่เติมน้ำมันอย่างนี้ เปลวประทีปที่หมดเชื้อก็ย่อมดับฉันใด พระโยคาวจรผู้กระสันในประวัตตกาลก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมตัดขาดกุศลและอกุศลด้วยอรหัตมรรค. เพราะความที่กุศลนั้นถูกตัดขาดแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายย่อมไม่เกิดขึ้นอีกแก่ภิกษุผู้ขีณาสพ เพราะความแตกแห่งกายดังนี้. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะอรหัตผลปัญญา ยิ่งกว่าสมาธิปัญญาและวิปัสสนาปัญญาในเบื้องต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยอรหัตผลปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อันสูงสุดนี้. ญาณในอรหัตมรรค ชื่อว่าญาณในความสิ้นไปซึ่งทุกข์ทั้งปวง. แต่ในสูตรนี้ทรงประสงค์ญาณในอรหัตผล. เพราะเหตุนั้นแล จึงตรัสว่า ความหลุดพ้นของเขานั้นจัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดังนี้. ก็ในบทเหล่านั้น บทว่า วิมุตฺติ ได้แก่ อรหัตผลวิมุตติ. บทว่า สจฺจํ ได้แก่ ปรมัตถสัจ คือนิพพาน. ความหลุดพ้นนั้นตรัสว่า ไม่กำเริบ เพราะทำอารมณ์อันไม่กำเริบด้วยประการฉะนี้. บทว่า มุสา ได้แก่ ไม่จริง. บทว่า โมสธมฺมํ ได้แก่ สภาพที่พินาศ. บทว่า ตํ สจฺจํ ความว่า สัจจะนั้นเป็นของแท้มีสภาพ. บทว่า อโมสธมฺมํ ได้แก่ มีสภาพไม่พินาศ. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะปรมัตถสัจ คือนิพพานนั้นแล สูงกว่าวจีสัจบ้าง ทุกขสัจและสมุทัยสัจบ้าง ด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่ต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยปรมัตถสัจจาธิษฐานอันสูงสุดนี้. บทว่า ปุพฺเพ คือ ในกาลเป็นปุถุชน. บทว่า อุปธี โหนฺติ ได้แก่ อุปธิเหล่านี้คือขันธูปธิ กิเลสูปธิ อภิสังขารูปธิ ปัญจกามคุณูปธิ. บทว่า สมตฺตา สมาทินฺนา ความว่า บริบูรณ์คือถือเอาแล้ว ได้แก่ลูบคลำแล้ว. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะการสละกิเลสด้วยอรหัตมรรคนั้นแลดีกว่าการสละกิเลสด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่ต้น และกว่าการสละกิเลสด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต คือ ผู้ประกอบพร้อมแล้วด้วยจาคาธิษฐานอันสูงสุดนี้. ชื่อว่าอาฆาฏะ ด้วยอำนาจแห่งการทำการล้างผลาญ ในคำเป็นต้นว่า อาฆาโฏ. ชื่อว่าพยาบาท ด้วยอำนาจแห่งการปองร้าย. ชื่อว่าสัมปโทสะ ด้วยอำนาจแห่งการประทุษร้ายทุกอย่าง. ท่านกล่าวอกุศลมูลเท่านั้น ด้วยบททั้ง ๓. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะการสงบระงับกิเลสด้วยอรหัตมรรคนั้นแล สูงกว่าการสงบระงับกิเลสด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่เบื้องต้น และการสงบระงับกิเลสด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยอุปสมาธิษฐานอันอุดมนี้. บทว่า มญฺญิตเมตํ ความว่า ความสำคัญแม้ ๓ อย่างคือ ตัณหามัญญิตะ มานมัญญิตะ ทิฏฐิมัญญิตะ ย่อมเป็นไป. ก็บทนี้ว่า อสฺสมหํ ในบทนี้ว่า อหมสฺมิ คือ ความสำคัญตัณหานั้นเทียว ย่อมเป็นไป. ชื่อว่าโรค เพราะอรรถว่าเบียดเบียน ในบทว่า โรโค เป็นต้น. ชื่อว่าคัณฑะ เพราะอรรถว่าประทุษร้ายในภายใน. ชื่อว่าสัลละ เพราะอรรถว่าเสียดแทงเนืองๆ. บทว่า มุนิ สนฺโตติ วุจฺจติ ความว่า บุคคลนั้นเรียกว่า มุนีผู้พระขีณาสพ ผู้สงบแล้ว คือผู้สงบระงับแล้ว ดับทุกข์แล้ว. บทว่า ยตฺถ ฐิตํ คือ ตั้งอยู่ในฐานะใด. บทว่า สงฺขิตฺเตน ความว่า ก็พระธรรมเทศนาแม้ทั้งหมดของพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ย่อแล้วเทียว. ชื่อว่า เทศนาโดยพิสดารไม่มี. แม้สมันตปัฏฐานกถาก็ย่อแล้วนั้นแล. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังเทศนาให้ถึงตามอนุสนธิด้วยประการฉะนี้. ก็ในบุคคล ๔ จำพวก มีอุคฆฏิตัญญูเป็นต้น ปุกกุสาตีกุลบุตรเป็นวิปัจจิตัญญู. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธาตุวิภังคสูตรนี้ ด้วยอำนาจแห่งวิปัจจิตัญญู ด้วยประการฉะนี้. ในบทว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บาตรและจีวรของข้าพระองค์ยังไม่ครบแล. มีคำถามว่า เพราะเหตุไร บาตรและจีวรที่สำเร็จด้วยฤทธิ์จึงไม่เกิดขึ้นแก่กุลบุตรเล่า. ตอบว่า เพราะความที่บริขาร ๘ อย่างอันกุลบุตรไม่เคยให้ทานแล้วในกาลก่อน. กุลบุตรมีทานเคยถวายแล้ว มีอภินิหารได้กระทำแล้ว จึงไม่ควรกล่าวว่า เพราะความที่ทานไม่เคยให้แล้ว. ก็บาตรและจีวรอันสำเร็จแต่ฤทธิ์ ย่อมเกิดแก่สาวกทั้งหลายผู้มีภพสุดท้ายเท่านั้น. ส่วนกุลบุตรนี้ยังมีปฏิสนธิอีก. เพราะฉะนั้น บาตรและจีวรที่สำเร็จด้วยฤทธิ์ จึงไม่เกิดขึ้น. ถามว่า ถ้าเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ทรงแสวงหาด้วยพระองค์เองให้ถึงพร้อมเล่า. ตอบว่า เพราะพระองค์ไม่มีโอกาส. อายุของกุลบุตรก็สิ้นแล้ว. มหาพรหมผู้อนาคามีชั้นสุทธาวาส ก็เป็นราวกะมาสู่ศาลาช่างหม้อแล้วนั่งอยู่. เพราะฉะนั้น จึงไม่ทรงแสวงหาด้วยพระองค์เอง. บทว่า ปตฺตจีวรํ ปริเยสนํ ปกฺกามิ ความว่า ท่านปุกกุสาติหลีกไปในเวลานั้น เมื่ออรุณขึ้นแล้ว. ได้ยินว่า การจบพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า การขึ้นแห่งอรุณและการเปล่งพระรัศมี ได้มีในขณะเดียวกัน. นัยว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบพระเทศนาแล้ว ทรงเปล่งพระรัศมีมีสี ๖ ประการ. นิเวศน์แห่งช่างหม้อทั้งสิ้นก็โชติช่วงเป็นอันเดียวกัน. พระฉัพพัณณรัศมีชัชวาลย์แผ่ไปเป็นกลุ่มๆ ทำทิศทางทั้งปวงให้เป็นดุจปกคลุมด้วยแผ่นทองคำ และดุจรุ่งเรืองด้วยดอกคำและรัตนะอันประเสริฐซึ่งมีสีต่างๆ. เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอธิษฐานว่า ขอให้ชาวพระนครทั้งหลายจงเห็นเรา ดังนี้. ชาวพระนครทั้งหลายเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ต่างก็บอกต่อๆ กันว่า ได้ยินว่า พระศาสดาเสด็จมาแล้ว นัยว่า ประทับนั่ง ณ ศาลาช่างหม้อ แล้วกราบทูลแด่พระราชา. พระราชาเสด็จไปถวายบังคมพระศาสดาแล้วตรัสถามว่า พระองค์เสด็จมาแล้วเมื่อไร. เมื่อเวลาพระอาทิตย์ตกวานนี้ มหาบพิตร. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาด้วยกรรมอะไร. พระเจ้าปุกกุสาติพระสหายของพระองค์ทรงฟังพระราชสาส์นที่มหาบพิตรส่งไปแล้ว เสด็จออกบวช เสด็จมาเจาะจงอาตมาภาพ ล่วงเลยกรุงสาวัตถีเสด็จมาสิ้น ๔๕ โยชน์ เสด็จเข้าสู่ศาลาช่างหม้อนี้แล้วประทับนั่ง อาตมภาพจึงมาเพื่อสงเคราะห์พระสหายของมหาบพิตร ได้แสดงธรรมกถา กุลบุตรทรงแทงตลอดผล ๓ มหาบพิตร. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เวลานี้ พระเจ้าปุกกุสาติประทับอยู่ที่ไหน พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า พระเจ้าปุกกุสาติกุลบุตรทรงขออุปสมบทแล้ว เสด็จไปเพื่อทรงแสวงหาบาตรและจีวร เพราะบาตรและจีวรยังไม่ครบบริบูรณ์. พระราชาเสด็จไปทางทิศทางที่กุลบุตรเสด็จไป. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเหาะไปปรากฏ ณ พระคันธกุฏีในพระเชตวันนั้นแล. แม้กุลบุตรเมื่อแสวงหาบาตรและจีวร ก็ไม่ไปสู่สำนักของพระเจ้าพิมพิสาร และของพวกพ่อค้าเดินเท้า ชาวเมืองตักกสิลา. ได้ยินว่า กุลบุตรนั้นคิดอย่างนี้ว่า การที่เลือกแสวงหาบาตรและจีวรที่พอใจและไม่พอใจในสำนักนั้นๆ แล ไม่สมควรแก่เราผู้ดุจไก่ พระนครใหญ่ จำเราจักแสวงหาที่ท่าน้ำ ป่าช้า กองขยะและตามตรอก ดังนี้. กุลบุตรปรารภเพื่อแสวงหาเศษผ้าที่กองขยะในตรอกก่อน. บทว่า ชีวิตา โวโรเปสิ ความว่า แม่โคลูกอ่อนหมุนไปวิ่งมาขวิดกุลบุตรนั้นผู้กำลังแลดูเศษผ้าในกองขยะแห่งหนึ่ง ให้กระเด็นขึ้นถึงความตาย. กุลบุตรผู้ถูกความหิวครอบงำ ถึงความสิ้นอายุในอากาศนั่นเทียว ตกลงมานอนคว่ำหน้าในที่กองขยะเป็นเหมือนรูปทองคำฉะนั้น. ก็แลทำกาละแล้วไปเกิดในพรหมโลกชั้นอวิหา. พอเกิดแล้วก็บรรลุพระอรหัต. ได้ยินว่า ชนที่สักว่าเกิดแล้วในอวิหาพรหมโลกมี ๗ คน ได้บรรลุพระอรหัต. สมจริงดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุ ๗ รูป เข้าถึงอวิหาพรหมโลกแล้วหลุดพ้น มีราคะและโทสะสิ้นแล้ว ข้ามตัณหาในโลก และท่าน เหล่านั้นข้ามเปลือกตม บ่วงมัจจุราช ซึ่งข้ามได้แสน ยาก ท่านเหล่านั้นละโยคะของมนุษย์แล้ว ก้าวล่วงโยคะ อันเป็นทิพย์. ท่านเหล่านั้น คือ อุปกะ ๑ ปลคัณฑะ ๑ ปุกกุสาติ ๑ รวม ๓ ภัททิยะ ๑ ขันฑเทวะ ๑ พาหุทัตติ ๑ ปิงคิยะ ๑ ท่านเหล่านั้น ละโยคะ ของมนุษย์แล้ว ก้าวล่วงโยคะอันเป็นทิพย์ ดังนี้. ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารทรงพระราชดำริว่า พระสหายของเราได้อ่านสักว่าสาส์นที่เราส่งไป ทรงสละราชสมบัติที่อยู่ในเงื้อมพระหัตถ์ เสด็จมาทางไกลประมาณเท่านี้ กิจที่ทำได้ยากอันกุลบุตรได้ทำแล้ว เราจักสักการะเข้าด้วยเครื่องสักการะของบรรพชิต ดังนี้แล้ว จึงตรัสว่า พวกท่านจงไปตามหาพระสหายของเรา ดังนี้. ราชบริวารทั้งหลายที่ถูกส่งไปในที่นั้นๆ ได้เห็นกุลบุตรนั้น. เห็นเขาล้มลงที่กองขยะ กลับมาทูลแด่พระราชา. พระราชาเสด็จไปทรงเห็นกุลบุตรแล้ว ทรงคร่ำครวญว่า ท่านทั้งหลาย พวกเราไม่ได้เพื่อทำสักการะแก่พระสหายหนอ พระสหายของเราไม่มีที่พึ่งแล้ว ตรัสสั่งให้นำกุลบุตรด้วยเตียง ทรงตั้งไว้ในโอกาสอันสมควร ตรัสสั่งให้เรียกผู้อาบน้ำให้และช่างกัลบกเป็นต้น โดยให้รู้ถึงการทำสักการะแก่กุลบุตรผู้ยังไม่ได้อุปสมบท ทรงให้อาบพระเศียรของกุลบุตร ทรงให้นุ่งผ้าอันบริสุทธิ์เป็นต้น ทรงให้ตกแต่งด้วยเพศของพระราชา ทรงยกขึ้นสู่วอทอง ทรงให้ทำการบูชาด้วยวัตถุทั้งหลายมีดนตรี ของหอมและมาลาทุกอย่างเป็นต้น ทรงนำออกจากพระนคร ทรงให้ทำมหาจิตกาธานด้วยไม้หอมเป็นอันมาก. ครั้นทรงทำสรีรกิจของกุลบุตรแล้ว ทรงนำเอาพระธาตุมาประดิษฐ์ไว้ในพระเจดีย์. คำที่เหลือในบททั้งปวงง่ายทั้งนั้นแล. จบอรรถกถาธาตุวิภังคสูตรที่ ๑๐

เกษตรทะเลทรายอิสราเอล(Israeli desert farming.)

สาธิตดินและน้ำแห้งมอเตอร์หมุนเร็วสูบน้ำเข้านาอัตโนมัติเครื่อง สูบ น้ํา ไฟฟ้า แก้ภัยแล้งระบบสูบน้ำอัตโนมัติ

รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่นรู้ด้วยจิตที่เป็นกลางเป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยส...สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราวจิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะจะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มีมีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้นจิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า

แผงวงจรขับมอเตอร์สามเฟส ไฺฮไลท์ของเรื่องอินเวอร์เตอร์สามเฟสครับ อธิบายเรื่อง ภาค Gate Driver แบบ Self Bias Transistor Self Bias Mosfet Self Bias IGBT

วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

เราจะรู้แจ้งในจิตของเราในขณะจิตเดียวท่านพระอธิมุตต์เป็นหลานของพระสังกิจจะ บรรลุพระอรหันต์ตั้งแต่เป็นสามเณร เมื่ออายุครบ ๒๐ บริบูรณ์แล้วก็เดินทางไปลาพ่อแม่เพื่อจะอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ระหว่างทางได้พบกับพวกโจร และถูกโจรจับตัวไว้เพื่อฆ่าบูชายัญแก่เทวดาที่พวกตนนับถือ แม้รู้ว่าจะถูกฆ่าสามเณรอธิมุตต์ก็ไม่แสดงอาการหวาดหวั่นพรั่นพรึงเลยแม้แต่น้อย จนนายโจรเกิดความอัศจรรย์ใจ จึงถามว่า “เมื่อก่อนเราจะฆ่าสัตว์เหล่าใดเพื่อบูชายัญ หรือเพื่อปล้นเอาทรัพย์ สัตว์เหล่านั้นหมดอำนาจ เกิดความกลัว ย่อมพากันหวาดหวั่นและบ่นเพ้อ แต่ความกลัวมิได้มีแก่ท่านเลย ซ้ำยังมีสีหน้าผ่องใสยิ่งนัก เมื่อภัยใหญ่เห็นปานนี้ปรากฏแล้ว เหตุไรท่านจึงไม่คร่ำครวญเล่า?” สามเณรอธิมุตต์ตอบว่า “ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยในชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายในปัจจุบันมิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษไม่กลัวความหนักเพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มีความกลัวตายเหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไปแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้วแม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่งแห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดีเพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้วจากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศกในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลกนี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่งทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้นเหมือนดังที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไรๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มีความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจากไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็นตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคลพิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อนั้นบุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้าโศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้องการด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกายอื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของเราก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ในร่างกายนั้นจักไม่มีแก่เราเพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำกิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น” โจรทั้งหลายได้ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพากันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้เพราะท่านได้ทำกรรมอะไรไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่งสอนของใคร” สามเณรอธิมุตต์ตอบว่า “พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะหมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอันยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์” พวกโจรฟังคำอันเป็นสุภาษิตของท่านแล้วพากันวางอาวุธ บางพวกก็เลิกเป็นโจร บางพวกก็ขอบวช ครั้นบวชแล้วไม่นานก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ นี่คือผู้ที่เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า เมื่อได้ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว แม้ความตายก็ทำให้จิตใจของท่านเป็นทุกข์ไม่ได้

เราจะรู้แจ้งในจิตของเราในขณะจิตเดียวท่านพระอธิมุตต์เป็นหลานของพระสังกิจจะ บรรลุพระอรหันต์ตั้งแต่เป็นสามเณร เมื่ออายุครบ ๒๐ บริบูรณ์แล้วก็เดินทางไปลาพ่อแม่เพื่อจะอุปสมบทเป็นพระภิกษุ ระหว่างทางได้พบกับพวกโจร และถูกโจรจับตัวไว้เพื่อฆ่าบูชายัญแก่เทวดาที่พวกตนนับถือ แม้รู้ว่าจะถูกฆ่าสามเณรอธิมุตต์ก็ไม่แสดงอาการหวาดหวั่นพรั่นพรึงเลยแม้แต่น้อย จนนายโจรเกิดความอัศจรรย์ใจ จึงถามว่า “เมื่อก่อนเราจะฆ่าสัตว์เหล่าใดเพื่อบูชายัญ หรือเพื่อปล้นเอาทรัพย์ สัตว์เหล่านั้นหมดอำนาจ เกิดความกลัว ย่อมพากันหวาดหวั่นและบ่นเพ้อ แต่ความกลัวมิได้มีแก่ท่านเลย ซ้ำยังมีสีหน้าผ่องใสยิ่งนัก เมื่อภัยใหญ่เห็นปานนี้ปรากฏแล้ว เหตุไรท่านจึงไม่คร่ำครวญเล่า?” สามเณรอธิมุตต์ตอบว่า “ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยในชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายในปัจจุบันมิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษไม่กลัวความหนักเพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มีความกลัวตายเหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไปแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้วแม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่งแห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดีเพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้วจากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศกในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลกนี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่งทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้นเหมือนดังที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไรๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มีความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจากไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็นตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคลพิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อนั้นบุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้าโศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้องการด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกายอื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของเราก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ในร่างกายนั้นจักไม่มีแก่เราเพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำกิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น” โจรทั้งหลายได้ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพากันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า “ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้เพราะท่านได้ทำกรรมอะไรไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่งสอนของใคร” สามเณรอธิมุตต์ตอบว่า “พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะหมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอันยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์” พวกโจรฟังคำอันเป็นสุภาษิตของท่านแล้วพากันวางอาวุธ บางพวกก็เลิกเป็นโจร บางพวกก็ขอบวช ครั้นบวชแล้วไม่นานก็บรรลุเป็นพระอรหันต์ นี่คือผู้ที่เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า เมื่อได้ปฏิบัติตามคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว แม้ความตายก็ทำให้จิตใจของท่านเป็นทุกข์ไม่ได้

พุทธศักราช 2559 ภัยในอนาคต ๕ ประการ จาก ปฐมอนาคตสูตร และพระสูตร อื่นภิกษุ ท. ! ภัยในอนาคตเหล่านี้ มีอยู่ ๕ ประการ ซึ่งภิกษุผู้มองเห็นอยู่ ควรแท้ที่จะเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในการทำ เช่นนั้นอยู่ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้ แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว. ภัยในอนาคต ๕ ประการนั้น คืออะไร บ้างเล่า ? ห้าประการคือ :- (๑) ภิกษุในธรรมวินัยนี้ พิจารณาเห็นชัดแจ้งว่า “บัดนี้ เรายังหนุ่ม ยังเยาว์วัย ยังรุ่นคะนอง มีผมยังดำสนิท ตั้งอยู่ในวัยกำลังเจริญ คือปฐมวัย ; แต่จะมีสักคราวหนึ่งที่ ความแก่ จะมาถึงร่างกายนี้, ก็คนแก่ถูกความชรา ครอบงำแล้ว จะมนสิการถึงคำสอนของท่านผู้รู้ทั้งหลายนั้น ไม่ทำได้สะดวก เลย ; และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัด ซึ่งเป็นป่าชัฏ ก็ไม่ทำได้ง่าย ๆ เลย. ก่อนที่สิ่งอันไม่ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คือความแก่) นั้นจะมาถึงเรา เราจะรีบทำความเพียร เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อ ทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ถึงแล้ว แม้จะแก่ เฒ่าก็จักอยู่เป็นผาสุก” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้เป็นอนาคตภัยข้อแรก อันภิกษุ ผู้มองเห็นควรแท้ที่จะเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วใน การทำเช่นนั้นอยู่ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว. (๒) อีกข้อหนึ่ง, ภิกษุพิจารณาเห็นชัดแจ้งว่า “บัดนี้ เรามีอาพาธน้อย มีโรคน้อย มีไฟธาตุให้ความอบอุ่นสม่ำเสมอ ไม่เย็นนัก ไม่ร้อนนัก พอ ปานกลาง ควรแก่การทำความเพียร ; แต่จะมีสักคราวหนึ่งที่ ความเจ็บไข้ ๑. บาลี พระพุทธภาษิต ปญฺจก. อํ. ๒๒/๑๑๗/๗๘, ตรัสแก่ภิกษุทั้งหลาย. จะมาถึงร่างกายนี้, ก็คนที่เจ็บไข้ถูกพยาธิครอบงำแล้ว จะมนสิการถึงคำสอน ของท่านผู้รู้ทั้งหลายนั้น ไม่ทำได้สะดวกเลย ; และจะเสพเสนาสนะอัน เงียบสงัดซึ่งเป็นป่าชัฏก็ไม่ทำได้ง่าย ๆ เลย. ก่อนที่สิ่งอันไม่ต้องการ ไม่น่า ใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คือความเจ็บไข้) นั้นจะมาถึงเรา เราจะรีบทำความเพียร เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้ แจ้งเสียโดยเร็วซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ถึงแล้ว แม้จะเจ็บไข้ ก็จักอยู่เป็นผาสุก” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้เป็นอนาคตภัยข้อที่สอง อันภิกษุผู้มองเห็น ควรแท้ที่ จะเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในการทำเช่นนั้นอยู่ ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้ง สิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว. (๓) อีกข้อหนึ่ง, ภิกษุพิจารณาเห็นชัดแจ้งว่า “บัดนี้ ข้าวกล้างามดี บิณฑะ (ก้อนข้าว) ได้ง่าย เป็นการสะดวกที่จะยังชีวิตให้เป็นไปด้วยความ พยายามแสวงหาบิณฑบาต ; แต่จะมีสักคราวหนึ่งที่ ภิกษาหายาก ข้าวกล้า เสียหาย บิณฑะได้ยาก ไม่เป็นการสะดวกที่จะยังชีวิตให้เป็นไปด้วยความ พยายามแสวงหาบิณฑบาต, เมื่อภิกษาหายาก ที่ใดภิกษาหาง่าย คนทั้งหลาย ก็อพยพกันไป ที่นั้น, เมื่อเป็นเช่นนั้น ความอยู่คลุกคลีปะปนกันในหมู่คนก็จะ มีขึ้น เมื่อมีการคลุกคลีปะปนกันในหมู่คน จะมนสิการถึงคำสอนของท่านผู้รู้ ทั้งหลายนั้น ไม่ทำได้สะดวกเลย ; และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัดซึ่งเป็นป่า ชัฏก็ไม่ทำได้ง่าย ๆ เลย. ก่อนที่สิ่งอันไม่ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คือ ภิกษาหายาก) นั้นจะมาถึงเรา เราจะรีบทำความเพียรเพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อ บรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ ทำให้ผู้ถึงแล้ว จักอยู่เป็นผาสุก แม้ในคราวที่เกิดทุพภิกขภัย” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้เป็นอนาคตภัยข้อที่สาม อันภิกษุผู้มองเห็น ควรแท้ที่จะเป็นผู้ไม่ประมาท มี เพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในการทำเช่นนั้นอยู่ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว. (๔) อีกข้อหนึ่ง, ภิกษุพิจารณาเห็นชัดแจ้งว่า “บัดนี้ คนทั้งหลาย สมัครสมานชื่นบานต่อกันไม่วิวาทกัน เข้ากันได้ดุจดั่งนมผสมกับน้ำ มองแลกัน ด้วยสายตาแห่งคนที่รักใคร่กัน เป็นอยู่ ; แต่จะมีสักคราวหนึ่งที่ ภัย คือโจรป่า กำเริบ ชาวชนบทผู้ขึ้นอยู่ในอาณาจักรแตกกระจัดกระจายแยกย้ายกันไป, เมื่อ มีภัยเช่นนี้ ที่ใดปลอดภัย คนทั้งหลายก็อพยพกันไป ที่นั้น, เมื่อเป็นเช่นนั้น ความอยู่คลุกคลีปะปนกันในหมู่คนก็จะมีขึ้น เมื่อมีการอยู่คลุกคลีปะปนกันใน หมู่คน จะมนสิการถึงคำสอนของท่านผู้รู้ทั้งหลายนั้น ไม่ทำได้สะดวกเลย ; และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัดซึ่งเป็นป่าชัฏ ก็ไม่ทำได้ง่าย ๆ เลย. ก่อนที่ สิ่งอันไม่ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คือโจรภัย) นั้นจะมาถึงเรา เราจะรีบ ทำความเพียร เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้ง สิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ถึงแล้ว จักอยู่เป็นผาสุก แม้ในคราวที่เกิดโจรภัย” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้เป็นอนาคตภัยข้อที่สี่ อันภิกษุผู้ มองเห็น ควรแท้ที่จะเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในการ ทำเช่นนั้นอยู่ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว. (๕) อีกข้อหนึ่ง, ภิกษุพิจารณาเห็นชัดแจ้งว่า “บัดนี้ สงฆ์สามัคคี ปรองดองกัน ไม่วิวาทกัน มีอุเทสเดียวกัน อยู่เป็นผาสุก ; แต่จะมีสักคราว หนึ่งที่ สงฆ์แตกกัน, เมื่อสงฆ์แตกกันแล้ว จะมนสิการถึงคำสอนของท่านผู้รู้ ทั้งหลายนั้น ไม่ทำได้สะดวกเลย ; และจะเสพเสนาสนะอันเงียบสงัดซึ่งเป็น ป่าชัฏ ก็ไม่ทำได้ง่าย ๆ เลย. ก่อนที่สิ่งอันไม่ต้องการ ไม่น่าใคร่ ไม่น่าชอบใจ (คือสงฆ์แตกกัน) นั้นจะมาถึงเรา เราจะรีบทำความเพียร เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว ซึ่ง เป็นสิ่งที่ทำให้ผู้ถึงแล้ว จักอยู่เป็นผาสุก แม้ในคราวเมื่อสงฆ์แตกกัน” ดังนี้. ภิกษุ ท. ! นี้เป็นอนาคตภัยข้อที่ห้า อันภิกษุผู้มองเห็น ควรแท้ที่จะเป็นผู้ไม่ ประมาท มีเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในการทำเช่นนั้นอยู่ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำ ให้แจ้งเสียโดยเร็ว. ภิกษุ ท. ! ภัยในอนาคต ๕ ประการเหล่านี้แล ซึ่งภิกษุผู้มองเห็นอยู่ ควรแท้ที่จะเป็นผู้ไม่ประมาท มีเพียรเผากิเลส มีตนส่งไปแล้วในการ ทำเช่นนั้นอยู่ตลอดไป, เพื่อถึงสิ่งที่ยังไม่ถึง เพื่อบรรลุสิ่งที่ยังไม่บรรลุ เพื่อทำให้แจ้งสิ่งที่ยังไม่ทำให้แจ้งเสียโดยเร็ว.

การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนามการทำความเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งเป็นทางพ้นทุกข์ แต่ยากนักที่คนเราจะเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งได้ เพราะคนเรารู้จักความทุกข์เพียงบางอย่าง ได้แก่ทุกขเวทนาทางร่างกายเมื่อยามหิวกระหาย หนาวร้อน ต้องการขับถ่ายและเจ็บป่วย เป็นต้น กับโทมนัสเวทนาทางใจเมื่อประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักที่พอใจ ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขทุกข์ ในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ หรือจิตใจได้รับอารมณ์ที่ดี ก็รู้สึกว่ามีความสุขทางกายหรือโสมนัสเวทนาทางใจ ตราบใดที่ยังรู้สึกว่ากายนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง และใจนี้มีโสมนัสบ้างมีโทมนัสบ้าง ตราบนั้นความดิ้นรนที่จะแสวงหาความสุขโสมนัส และความดิ้นรนที่จะหลีกหนีทุกข์โทมนัสจะไม่หมดไป ตราบใดที่ยังไม่หมดความดิ้นรน ตราบนั้นความทุกข์ก็จะยังมีอยู่ร่ำไป เพราะความดิ้นรนของจิตใจหรือตัณหา เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจากความทุกข์ที่มีอยู่แล้ว ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขสัจจ์ ยังมีความทุกข์อีกชนิดหนึ่งได้แก่สภาพที่ทนได้ยาก เรียกว่าทุกขลักษณะ เป็นสภาวะที่เกิดกับสังขารทั้งปวงที่จะทนอยู่ในสภาพเดิมตลอดไปไม่ได้ ในเวลาที่เราเจริญสตินั้นหากทุกขทุกข์ปรากฏขึ้นก็ให้รับรู้ไป หากทุกขทุกข์ดับไปและรู้สึกเป็นสุขก็ให้รับรู้ไว้ แต่เมื่อเจริญสติปัญญาแก่รอบมากเข้าจะพบว่ากายกับใจเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้างอีกต่อไป มีแต่ทุกขทุกข์คือทุกข์มากกับทุกข์น้อยเท่านั้น ผู้ปฏิบัติจะเห็นอีกว่าถ้าจิตเกิดความอยากและความยึดถือ จิตจะเกิดทุกข์ที่เรียกว่าทุกขสัจจ์ เมื่อจิตปราศจากความอยากและความยึดถือ จิตจะปราศจากความทุกข์มีแต่ความสุขโสมนัสหรืออุเบกขาเท่านั้น แต่เมื่อเจริญสติปัญญาแก่รอบมากเข้าจะพบว่า ไม่ว่าจิตจะอยากและยึดอารมณ์หรือไม่ จิตนั้นแหละเป็นตัวทุกข์ล้วนๆ การเห็นทุกขทุกข์ทำให้จิตเอือมระอาต่อขันธ์ ถึงจุดหนึ่งจิตจะแจ่มแจ้งในทุกขสัจจ์และปล่อยวางความยึดถือรูปนามกายใจและสิ่งทั้งปวงได้ ถึงจุดนั้นความทุกข์ของขันธ์หรือทุกขทุกข์ก็ยังมีอยู่ ทุกขลักษณะคือความทนอยู่ไม่ได้ของสังขารทั้งรูปนามก็ยังมีอยู่ แต่ความทุกข์ของจิตใจอันเกิดแต่ตัณหาจะไม่มีอยู่อีก เพราะปราศจากตัวตนในความรู้สึก ที่จะรองรับความทุกข์ทางใจอันเกิดจากตัณหาเสียแล้ว กล่าวได้ว่าทุกข์ก็มีอยู่ แต่ไม่มีผู้ทุกข์อีกต่อไป เพราะปล่อยวางขันธ์โดยเฉพาะจิตลงได้แล้ว ความสุขโสมนัสของผู้ที่ปล่อยวางจิตได้แล้วนั้นเป็นสิ่งอัศจรรย์ยิ่งกว่าสิ่งอัศจรรย์ในโลก พระนิพพานเป็นความสุขอันเต็มเปี่ยมครอบโลกอยู่ต่อหน้าต่อตา สงบสันติ รุ่งเรืองและเปิดเผย แจ่มจ้าไร้ตำหนิปราศจากแม้แต่ธุลีของความปรุงแต่ง ไม่มีสิ่งใดเข้าไปตั้งอยู่ได้ในพระนิพพานนี้ ปราศจากจุดตั้งต้นและจุดสิ้นสุด ความว่างจากกิเลส จากตัวตน และจากทุกข์ที่ยิ่งกว่าพระนิพพานไม่มี สุขอื่นเสมอด้วยความสงบของพระนิพพานไม่มี

พุทธศักราช 2559 ภัยในอนาคต ๕ ประการ จาก ปฐมอนาคตสูตร และพระสูตร อื่นเราพึงทำกาละ พึงมีอันตรายแก่เรา ผิฉะนั้น เราจะปรารภความเพียร. . . ภิกษุผู้อยู่ป่า เห็นภัยในอนาคตข้อที่ ๔ นี้ ควรเป็นผู้ไม่ประมาท. . . อีกประการหนึ่ง ภิกษุผู้อยู่ป่า ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า บัดนี้เรา อยู่ในป่าผู้เดียว เมื่อเราอยู่ในป่าผู้เดียว ในป่าย่อมมีพวกอมนุษย์ดุร้าย อมนุษย์เหล่านั้นพึงปลงชีวิตเรา เพราะการปลงชีวิตนั้น เราพึงทำกาละ พึงมี อันตรายแก่เรา

ทำไมมีเราด้วยเราโดยสมมุติโวหารการปฏิบัติธรรมมี ๒ ขั้นตอนคือขั้นการทำลายความเห็นผิดว่ากายและจิตนี้เป็นตัวเรา กับขั้นการทำลายความยึดถือกายและจิต เมื่อไม่เห็นผิดว่ากายและจิตเป็นตัวเรา ก็ได้ต้นทางที่จะปล่อยวางความยึดถือกายและจิตในอนาคต เมื่อปล่อยวางความยึดถือกายและจิตได้แล้ว ก็ไม่มีตัวตนที่จะรองรับความทุกข์อีกต่อไป แม้การปฏิบัติจะมี ๒ ขั้นตอน แต่วิธีปฏิบัติมีเพียงอย่างเดียว คือการมีความรู้สึกตัวแล้วรู้กายและจิตตามความเป็นจริง เมื่อเห็นความจริงแล้วย่อมเบื่อหน่าย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายความกำหนัดยินดีในกายและจิต เมื่อหมดความกำหนัดยินดีย่อมหลุดพ้นจากความยึดถือกายและจิต เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ต้องทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความพ้นทุกข์อย่างนี้ไม่มีอีกแล้ว นี้เองเป็นที่สุดแห่งทุกข์ หลวงพ่อ ๑๗ มกราคม ๒๕๔๙ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสอนว่า รอยเท้าของสัตว์ทั้งหลายย่อมรวมลงในรอยเท้าช้างได้ฉันใด ธรรมทั้งปวงย่อมรวมลงได้ในอริยสัจจ์ฉันนั้น อริยสัจจ์จึงเป็นธรรมที่บริสุทธิ์ลึกซึ้งอย่างถึงที่สุด มีแต่พระอรหันต์เท่านั้นที่จะรู้แจ้งอริยสัจจ์ได้ เพราะความรู้แจ้งอริยสัจจ์คือวิชชา ส่วนความไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์คืออวิชชา อริยสัจจ์ข้อแรกคือทุกข์ ทุกข์คืออะไร - ทุกข์คือรูปนามขันธ์ ๕ หรือกายใจนี้เอง กิจต่อทุกข์มีอย่างไร - กิจต่อทุกข์คือให้รู้ทุกข์ การรู้ทุกข์นั้นทำอย่างไร - เมื่อเราตื่นออกจากโลกของความคิดและเกิดความรู้สึกตัว เราจะรู้กายตามความเป็นจริง และรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เมื่อรู้มากเข้าเราจะเข้าใจความเป็นจริงของกายและใจ ว่าเป็นสภาพธรรมที่ไม่เที่ยงคือมีแล้วไม่มี เป็นทุกข์คือทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตาคือเป็นของโลกไม่ใช่ของเรา การรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงอย่างนี้แหละคือวิธีรู้ทุกข์ อริยสัจจ์ข้อที่ ๒ คือสมุทัย สมุทัยคืออะไร – สมุทัยคือตัณหาหรือความทะยานอยากดิ้นรนของจิต ที่จะแสวงหาความสุขและหลีกหนีความทุกข์ ด้วยวิธีการต่างๆ นานา ได้แก่ (๑) ความปรุงแต่งฝ่ายชั่ว ด้วยการเที่ยวแสวงหาอารมณ์มาตอบสนองกิเลส (๒) ความปรุงแต่งฝ่ายดี ด้วยการควบคุมกายควบคุมใจให้ดี และ (๓) ความปรุงแต่งสภาพธรรมที่พ้นจากการกระทบอารมณ์ชั่วคราว กิจต่อสมุทัยมีอย่างไร – กิจต่อสมุทัยคือให้ละสมุทัย การละสมุทัยนั้นทำอย่างไร – เมื่อเรารู้ทุกข์แจ่มแจ้งจนละความเห็นผิดและความยึดถือว่ารูปนามกายใจเป็นตัวเราแล้ว ก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องดิ้นรนแสวงหาความสุขมาให้ตัวเรา หรือดิ้นรนพาตัวเราให้พ้นจากความทุกข์อีกต่อไป การรู้ทุกข์อย่างแจ่มแจ้งนั่นแหละเป็นทางละสมุทัยโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๓ คือนิโรธ นิโรธคืออะไร – นิโรธคือนิพพานได้แก่ความสงบสันติอันเนื่องมาจากความสิ้นตัณหาหรือความดิ้นรนของจิต กิจต่อนิโรธมีอย่างไร – กิจต่อนิโรธคือการทำให้แจ้ง ทำให้เข้าไปสัมผัสถึง การทำนิโรธให้แจ้งนั้นทำอย่างไร – เมื่อรู้ทุกข์จนสิ้นสมุทัยแล้ว นิโรธก็เป็นอันถูกทำให้แจ้งโดยอัตโนมัติ อริยสัจจ์ข้อที่ ๔ คือมรรค มรรคคืออะไร – มรรคคือวิธีการรู้ทุกข์จนละสมุทัยและทำนิโรธให้แจ้งได้ กิจต่อมรรคคืออะไร – กิจต่อมรรคคือการทำให้เจริญ ทำให้มาก การเจริญมรรคนั้นทำอย่างไร – ทำ(สัมมา)สติให้เกิดเนืองๆ แล้วองค์มรรคที่เหลือจะเกิดตามมาเอง สติเป็นอนัตตา ไม่มีใครสั่งสติให้เกิดได้ แต่ถ้ามีเหตุ ถึงไม่สั่ง สติก็เกิดขึ้นได้เอง เหตุของสติคือการที่จิตจดจำสภาวธรรมคือรูปนามได้แม่นยำ จิตจะจดจำสภาวธรรมได้แม่นยำ ถ้าจิตเคยเห็นสภาวธรรมบ่อยๆ ดังนั้นพึงหัดทำความรู้จักสภาวธรรมให้มากเข้าไว้ เบื้องต้นทำกรรมฐานอันใดอันหนึ่งที่ถนัด เช่นบริกรรมพุทโธ หรือระลึกรู้ลมหายใจ หรือระลึกรู้ท้องพองยุบ หรือระลึกรู้เท้า หรือระลึกรู้มือ หรือระลึกรู้กายทั้งกาย แล้วตามรู้ความเปลี่ยนแปลงของจิตไปเลย เช่นเผลอไปจากอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เพ่งอารมณ์กรรมฐานนั้นก็รู้ เป็นสุขก็รู้ เป็นทุกข์ก็รู้ เกิดกุศลก็รู้ เกิดอกุศลก็รู้ ไม่นานสติจะเกิดถี่ยิบขึ้นได้เพราะจิตรู้จักและจดจำสภาวธรรมได้อย่างแม่นยำ นี้เป็นทางดำเนินของพระอริยเจ้า เรียกว่าอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ คือสัจจญาณได้แก่ความรู้จักตัวอริยสัจจ์ กิจญาณคือความรู้หน้าที่หรือกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อ และกตญาณคือการได้ทำกิจต่ออริยสัจจ์แต่ละข้อนั้นเรียบร้อยแล้ว รวมมีปริวัติ ๑๒ เพราะมีอริยสัจจ์ ๔ ข้อ แต่ละข้อมีญาณ ๓ อย่าง พระพุทธเจ้าทรงประกาศว่า ตราบใดที่พระองค์ท่านยังทรงไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้ พระองค์จะไม่ปฏิญาณพระองค์เป็นพระพุทธเจ้าเลย ต่อเมื่อทรงรู้แจ้งแทงตลอดอริยสัจจ์ ๔ อันมีวนรอบ ๓ และมีปริวัติ ๑๒ นี้แล้ว จึงทรงปฏิญาณพระองค์ว่าเป็นพระพุทธเจ้า อริยสัจจ์ ๔ สำคัญถึงขนาดนี้ แม้พระอรหันตสาวกก็ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ เพราะตราบใดที่ยังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ๔ ตราบนั้นยังไม่ใช่พระอรหันต์ การทำความเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งเป็นทางพ้นทุกข์ แต่ยากนักที่คนเราจะเข้าใจความทุกข์ให้แจ่มแจ้งได้ เพราะคนเรารู้จักความทุกข์เพียงบางอย่าง ได้แก่ทุกขเวทนาทางร่างกายเมื่อยามหิวกระหาย หนาวร้อน ต้องการขับถ่ายและเจ็บป่วย เป็นต้น กับโทมนัสเวทนาทางใจเมื่อประสบกับอารมณ์อันไม่เป็นที่รักที่พอใจ ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขทุกข์ ในเวลาที่ร่างกายเป็นปกติ หรือจิตใจได้รับอารมณ์ที่ดี ก็รู้สึกว่ามีความสุขทางกายหรือโสมนัสเวทนาทางใจ ตราบใดที่ยังรู้สึกว่ากายนี้เป็นสุขบ้างเป็นทุกข์บ้าง และใจนี้มีโสมนัสบ้างมีโทมนัสบ้าง ตราบนั้นความดิ้นรนที่จะแสวงหาความสุขโสมนัส และความดิ้นรนที่จะหลีกหนีทุกข์โทมนัสจะไม่หมดไป ตราบใดที่ยังไม่หมดความดิ้นรน ตราบนั้นความทุกข์ก็จะยังมีอยู่ร่ำไป เพราะความดิ้นรนของจิตใจหรือตัณหา เป็นเหตุให้เกิดทุกข์อีกชนิดหนึ่งนอกเหนือจากความทุกข์ที่มีอยู่แล้ว ทุกข์ชนิดนี้เรียกว่าทุกขสัจจ์ ยังมีความทุกข์อีกชนิดหนึ่งได้แก่สภาพที่ทนได้ยาก เรียกว่าทุกขลักษณะ เป็นสภาวะที่เกิดกับสังขารทั้งปวงที่จะทนอยู่ในสภาพเดิมตลอดไปไม่ได้ เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วครา­­วหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลยพอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของ­­ชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารม­­ณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่­­ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็­­นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ”เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห­­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธ­­ิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลา­ย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป

เมื่อปล่อยวางจิตจิตจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ถึงโคตรภูญาณแล้วอริยมรรคก็จะเก...พระธรรมวินัย ( ปล่อยวางซึ่งสุขในโลกธรรม ๘ ) โลกมีที่สุดเพียงใด พระนิพพานก็ตั้งอยู่ในที่สุดนั้น ว่าด้วย" กิน กาม เกียรติ โดยปัญญานั้น มีคุณมาก คือการหยั่งรู้ ซึ่งการวางสุขในโลกธรรม ๘ เหมือนดั่งไม่มีหัวใจ โดยสลัดคืนลมหายใจซึ่งก็คือจิตนี้ ทิ้งให้เจ้าของเดิม คืนให้กับธรรมชาติ ถ้ากำหนดได้ทุกลมหายใจเข้าออกแล้ว ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา หรือเป็นของเราได้เลย โดยนัยที่พระตถาคตทรงตรัสไว้ดีแล้วว่า...ข้าไม่ใช่แค่ตาคู่นี้ ข้าไม่ใช่แค่หูคู่นี้ ข้าไม่ใช่แค่ลิ้นลิ้นนี้ ข้าไม่ใช่แค่ร่างกายนี้ ข้าไม่ใช่แค่สตินี้ ข้าไม่ใช่อย่างที่ข้าเห็น ข้าไม่ใช่อย่างที่ข้าได้ยิน ข้าไม่ใช่อย่างที่ข้าได้กลิ่น ข้าไม่ใช่รสสัมผัส ไม่ใช่ความคิดและสิ่งกระตุ้นเร้า ข้าไม่ใช่ภาพนี้ ไม่ใช่เสียงนี้ ข้าไม่ใช่กลิ่นนี้ ไม่ใช่ความคิดนี้ ไม่ใช่รสนี้ ไม่ใช่สตินี้ ข้าไม่ใช่ธาตุของโลกนี้ ข้าไม่ใช่ท้องฟ้า ข้าไม่ใช่อากาศ ข้าไม่ใช่น้ำ ข้าไม่ใช่สติของข้าเช่นกัน ไม่มีธาตุใดรั้งข้าไว้ได้ ชีวิตและความตายจับข้าไม่ได้ ที่ข้ายิ้มนั้น เพราะข้าไม่ได้เกิดและข้าไม่ได้ตาย ชีวิตไม่ได้ให้กำเนิดข้า และความตายก็พรากชีวิตข้าไปไม่ได้ ตัวตนของข้าไม่พึ่งพาชีวิตและความตาย ไม่มีทางเป็นไปได้... พระธรรมวินัย ( วางซึ่งสุขในโลกธรรม ๘ )ว่าด้วย" กิน กาม เกียรติ ๑.วางลาภ ตัดความกังวลในปัจจัย๔ (ปลิโพธ) ให้มักน้อยในปัจจัย คือให้ละความโลเลในปัจจัย คือ เมื่อได้อย่างดี อย่างปราณีต ก็ให้บริโภค อย่างดีอย่างปราณีต ได้อย่างเลวทรามต่ำช้า ก็ให้บริโภคอย่างเลวทรามต่ำช้า ตามมีตามได้ ไม่ให้ใจขุ่นมัวด้วย ซึ่งพระภิกษุมีค่าตัวเพียงบาทเดียว ขโมยเงินแม้แต่บาทเดียวก็หมดจากความเป็นพระ แต่พระสังฆาธิการ ตอนนี้มีเงินไม่รู้กี่ล้านต่อกี่ล้าน เพราะฉะนั้นหากตรวจสอบพระสังฆาธิการไม่ได้ ทุกอย่างก็เหลวหมด ๒.วางยศ พระมียศถาบรรดาศักดิ์และมีสมณศักดิ์ จนต้องซื้อขายตำแหน่งกันในมูลค่ามหาศาล ในสมัยพุทธกาล พระทุกรูปเสมอภาคกันหมด ไม่ว่าพระที่เป็นลูกพระเจ้าแผ่นดิน หรือพระที่เป็นลูกจัณฑาล ลูกหญิงโสเภณี มันต้องเสมอภาคกันหมด ไม่มีแบ่งแยก ไม่มีแตกแยก ตามแนวทาง สาราณียธรรม ๖ แต่ในปัจจุบันมีแต่ยึดมั่นถือมั่นในตัวตนเพิ่มมากขึ้น แล้วจะพ้นทุกข์ได้อย่างไร มีทั้งสมเด็จบ้าง มีเจ้าคุณบ้าง ถ้าถามว่า บริหารเพื่อใคร ถ้าเพื่อตัวเอง ไม่เป็นไปเพื่อประโยชน์ของการดับทุกข์โดยส่วนรวม ก็รู้ไปเปล่าๆ แล้วพระสมเด็จบางองค์ ท่านอายุน้อย ยึดในตัวตน ก็เลิกเคารพท่านเจ้าคุณที่อาวุโสกว่าไปเลย ทั้งที่หลักอาวุโสของพระภิกษุสงฆ์ มีความสำคัญมาก ๓.วางสรรเสริญได้ นินทาก็ไม่ต้อง เกิดตามเห็นตามอีกต่อไป เป็นอันเลิกสนใจไป เห็นเป็นสิ่งไร้แก่นสาร การมาเข้ามาบวชนี้ ก็เพื่อมาละอัตตาตัวตน มาทำตัวให้ต่ำลงมากยิ่งดี เพื่อระงับดับกิเลส ให้จิตใจนั้นเหมือนแผ่นดิน คนที่มีคุณธรรมสูงจะไม่หลงไหลยึดติดกับสมมติต่างๆ เช่น ความสูงต่ำความใหญ่ความโตในฐานะทางโลก แต่จะยึดถือความสูงต่ำในทางธรรม “พระผู้มีพระภาคเจ้าสอนให้ปล่อยให้วางทั้งข้างหน้า ข้างหลัง และท่ามกลาง มิให้ยึดติดในอารมณ์อันเป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน อารมณ์ที่พอใจหรืออารมณ์ที่ไม่พอใจ เมื่อเกิดขึ้น จงปล่อยวางเป็นกอง ๆ ไว้ ณ ที่นั้น อย่านำมาเก็บไว้แบกไว้” เมื่อ“เขาด่าว่าเราบนบก จงกองคำด่าว่านั้นไว้บนบก อย่านำติดไปในน้ำด้วย เขาว่าเราในน้ำ จงกองคำด่าว่านั้นไว้ในน้ำ อย่านำติตตัวขึ้นมาบนบก เขาด่าว่าในเมือง จงกองไว้ในเมือง อย่านำติดตัวมาจนถึงเชตวันนี้ด้วย” ๔.วางสุข ในประสาททั้ง๕ อันมี รูป รส กลิ่น เสียง สัมผัส รวมเรียกว่า กามคุณ ๕ เราเวียนว่ายตายเกิดอยู่นี่ ก็เพราะกามนี้เอง เกิดตายเป็นแสนเป็นล้านชาติ เพราะสุขทุกข์มี การยึดมั่นถือมั่นจึงมี เพราะสุขทุกข์ดับ การยึดมั่นถือมั่นจึงดับ ด้วย"สุขกับทุกข์ ถ้าพิจารณาโดยละเอียดแล้ว เป็นของติดกันอยู่ ครั้นวางสุข ทุกข์ไม่ต้องวาง มันก็หายไปเอง เข้าสู่พระนิพพานด้วยอาการแบบนี้ เมื่อใดมีใจเป็นพระผู้ทรงคุณงามความดีที่มีศีลาจารวัตรอันงดงาม ย่อมพบความสุขที่แท้จริง พระดี...ดูได้ไม่ยาก ( มักน้อย สันโดษไม่สะสม ) พระดี...ดูได้จากการสละ ( ธรรมะชนะการให้ทั้งปวง ) พระดี...ดูได้จากการวาง ( วางสุขในโลกธรรม 8 ) พระดี...ดูได้จากการวางตน ( น่าเคารพ ) พระดี...ดูได้จากศีล ( ไม่เห็นแก่ตัว รักผู้อื่น ) พระดี...ดูได้จากใจ ( กระทำจิตให้บริสุทธิ์ ขาวรอบ ) พระดี..จึงประพฤติอยู่ในพระธรรมวินัย ( กระทำหน้าที่โดยสมบูรณ์ )...ดังนี้ พระพุทธเจ้าฝากพระพุทธศาสนาไว้กับพุทธบริษัท๔ ไม่ได้ฝากไว้กับมหาเถรสมาคม ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชเป็นสิ่งที่ผู้คนทางโลกสมมุติขึ้นมา ในสมัยพุทธกาลก็ไม่มีตำแหน่งนี้ ประมุขแห่งพระพุทธศาสนามีเพียงพระองค์เดียวคือ พระพุทธเจ้า และหลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานแล้ว สิ่งที่ถือเอาเป็นตัวแทนพระองค์พระพุทธเจ้าคือ พระธรรมวินัย ( วางสุขในโลกธรรม๘ )คือการมีธรรมเป็นกาย ที่พระองค์ทรงตรัสไว้ดีแล้ว ย่อมเข้าสู่การเป็นพุทธะ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ เมื่อเป็นสงฆ์สายเถรวาท คงต้องห้ามบัญญัติเพิ่ม หรือตัดทอนสิ่งที่พระองค์บัญญัติไว้แล้วอย่างเคร่งครัด ความเจริญก็พึงอยู่ได้ ไม่มีความเสื่อมเลย มหาปเทส ๔ หมวดที่ ๒ เฉพาะในทางพระวินัย ๑. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) สิ่งนั้นไม่ควร ๒. สิ่งใดไม่ได้ทรงห้ามไว้ว่าไม่ควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) สิ่งนั้นควร ๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ไม่ควร (อกัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ควร (กัปปิยะ) สิ่งนั้นไม่ควร ๔. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร แต่เข้ากันกับสิ่งที่ควร(กัปปิยะ) ขัดกับสิ่งที่ไม่ควร(อกัปปิยะ) สิ่งนั้นควร จึงเห็นได้ชัดข้อ ๓. สิ่งใดไม่ได้ทรงอนุญาตไว้ว่าควร เมื่อมาพิจารณาด้วยปัญญาแล้ว พระพุทธเจ้าทรงให้วางยศถาบรรดาศักดิ์ให้หมดสิ้น แต่ปัจจุบันกลับไปเข้ากันโดยใช้ลำดับอาวุโสโดยสมณศักดิ์ ที่ทางฝ่ายอาณาจักรแต่งตั้งขึ้น ซึ่งขัดกันกับลำดับอาวุโสโดยการเกิดและโดยภูมิธรรม สิ่งนั้นจึงไม่ควร ตามพระธรรมวินัยนี้... ดูกร... ภิกษุทั้งหลาย พรหมจรรย์ที่เราประพฤตินั้น มิใช่เพื่อหลอกลวงคน มิใช่ให้คนทั้งหลายมานับถือ มิใช่เพื่อลาภสักการะคำสรรเสริญ มิใช่มุ่งหมายเพื่อเป็นเจ้าลัทธิ หรือแก้ลัทธิอย่างนั้นอย่างนี้ มิใช่เพื่อให้ใครรู้จักว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี้ ที่แท้พรหมจรรย์ที่เราประพฤตินั้น ก็เพื่อความสำรวม ความละ ความคลายกำหนัด ดับยินดีและความดับทุกข์ ดูกร...ภิกษุทั้งหลาย ธรรมที่เราบรรลุนี้ ลึกซึ้ง เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก สงบ ปราณีต ไม่ใช่วิสัยของตรรกะหรือคิดเอาเองไม่ได้ หรือลงความเห็นว่าการเดา แต่เป็นธรรมที่บัณฑิตพอรู้ได้ ซึ่งจิตที่ฟอกด้วย ศีล สมาธิ ปัญญา ย่อมหลุดพ้นจากอาสวะทั้งปวงเป็นไฉน... โดยนัย..ที่จักกล่าวโดยละเอียดพิศดาร อันว่าศีลนั้น คือ การรักษาความเป็นปกติ ของการไม่เห็นแก่ตัว มีเมตตา รักผู้อื่น และสรรพสัตว์ทั้งหลาย ส่วนสมาธินั้นเล่า คือ เพ่งสติระลึกถึงความไม่ใช่ตัวตนอยู่ตลอดทุกลมหายใจเข้าออก ส่วนปัญญานั้นมีคุณมาก คือการหยั่งรู้ โดยวางสุขในโลกธรรม ๘ เหมือนดั่งไม่มีหัวใจ โดยสลัดคืนลมหายใจซึ่งก็คือจิตนี้ ทิ้งให้เจ้าของเดิม คืนให้กับธรรมชาติ ถ้ากำหนดได้ทุกลมหายใจเข้าออกแล้ว ย่อมไม่ยึดมั่นถือมั่นว่าเป็นตัวเรา หรือเป็นของเราได้เลย ซึ่งเรานั้นย่อมไม่ได้เกิดและก็ไม่ได้ตาย บุคคลทั้งหลายที่มาเป็นศิษย์ของตถาคตนี้ ก็มีความประสงค์ด้วยนิพพาน การที่จะรู้ว่า ดีหรือชั่วกว่ากัน ก็แล้วแต่กิเลสเป็นผู้ตัดสิน ด้วยพระนิพพานเป็นที่ปราศจากกิเลสตัณหา ถ้าผู้ใดเบาบางจากกิเลสตัณหา ก็เป็นผู้ดีกว่าผู้ที่หนาไปด้วยกิเลส ถ้าบุคคลนับถือผู้ที่มีกิเลสมากกว่าผู้ที่ไม่มีกิเลส บุคคลผู้นั้นชื่อว่า "ถือศีล เอาต้นเป็นปลาย เอาปลายเป็นต้น เอาสูงเป็นต่ำ เอาต่ำเป็นสูง ถ้าถืออย่างนี้ ผิดทางพระนิพพานเป็นคนมิจฉาทิฎฐิ พระตถาคตตั้งศาสนาไว้ ไม่ได้หวังให้ผู้หนึ่งผู้ใด บำเพ็ญหาประโยชน์อย่างอื่น ตั้งไว้เพื่อประสงค์ให้บุคคล บำเพ็ญภาวนาเพื่อให้ระงับดับกิเลสเท่านั้น

การเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าความถี่สูง 02-951-1356 081-803-6553 LINE ID:pornpimon1411 Email mrsompongt@hotmail.com

การเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟ้าความถี่สูง 02-951-1356 081-803-6553 LINE ID:pornpimon1411 Email mrsompongt@hotmail.com

วันอังคารที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

คุ้นเคยแต่สมาธิสงบ ไม่คุ้นเคยสมาธิตั้งมั่นการที่เราแต่ละคนๆนะ จะบรรลุพระโสดาบัน บรรลุพระสกทาคามีอนาคามี บรรลุพระอรหันต์เนี่ย ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลย เราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนาม เห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะ จนจิตมันเป็นกลาง จิตมันเป็นกลางแล้ว ถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะ ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็นกลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลางด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา

การทรงสภาวะของพระสกทาคามีพระสกิทาคามีมรรค ก็หมายความถึงว่า ผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระสกิทาคามีผล อันนี้อารมณ์จะต้องเลยพระโสดาบันมาแล้ว เพราะว่าพระโสดาบันทรงคุณธรรม 4 ประการ คือ นึกถึงพระพุทธเจ้า เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ และมีศีลบริสุทธิ์ ส่วนแถมที่เกินก็คือ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ นี่หมายถึงว่ามีความมั่นคงจริง ๆ คำว่านับถือพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ ก็หมายถึง ว่าเป็นบุคคลที่ไม่ละเมิดคำสั่ง หมายถึงศีล สิ่งใดที่พระองค์ทรงสั่งห้ามตามพระวินัย สิ่งนั้นท่านที่เป็นพระโสดาบันย่อมไม่ปฏิบัติ สิ่งใดที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิ์ทรงแนะนำให้ปฏิบัตินั่นเป็นทางของพระโสดาบัน คือ ความไม่ยาก เฉพาะอาศัยที่มีความเคารพพระพุทธเจ้าจริง ๆ จึงทรงศีลบริสุทธิ์ คำว่าศีลของพระโสดาบันก็ต้องหมายเอาถึงกรรมบถ 10 ด้วย คำว่ากรรมบถ 10 เป็นทั้งศีล เป็นทั้งธรรม และมีพระนิพพานเป็นอารมณ์ อยู่ในขอบเขตของศีลในวงจำกัด พระสกิทาคามี ถ้าจะกล่าวกันไปก็เป็นแต่เพียงว่า จริยาทั้งหมดเหมือนพระโสดาบัน แต่ว่าระงับความโลภ ระงับความโกรธ ระงับความหลงให้เบาบางลงกว่าพระโสดาบัน ทีนี้เราก็ย้อนไปดูพระโสดาบันว่า มีกรรมฐานอะไรบ้างเป็นอารมณ์ พระโสดาบันมีมรณานุสสติกรรมฐานเป็นอารมณ์ นึกถึงความตายเป็นปกติ เมื่อรู้ตัวว่าจะตายก็ไม่ยอมตายเลว จะตายอย่างดี ทีนี้ก่อนที่จะตายดี หรือเป็นผีดี ก็ต้องเป็นคนดีก่อน คนจะเป็นคนดีได้ก็ต้องอาศัยพุทธานุสสติกรรมฐาน ธัมมานุสสติกรมมฐาน สังฆานุสสติกรรมฐาน สีลานุสสติกรรมฐาน พรหมวิหาร และอุปสมานุสสติกรรมฐาน ยิ่งกว่านั้นก็มีหิริและโอตตัปปะประจำใจอย่างนี้เป็นพระโสดาบัน นี่พระโสดาบันทรงคุณธรรมได้อย่างนี้ สำหรับพระสกิทาคามีก็ทรงคุณธรรมเหมือนกัน แต่ว่าสำหรับพระอนาคามีมรรคเบื้องต้น ก็เพิ่ม อภัยทาน ตามที่กล่าวมาแล้วเมื่อคืนนี้ คือ รวบรวมกำลังใจของพรหมวิหาร 4 ให้หนักขึ้น มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น เมื่อกระทบกระทั่งกับอารมณ์ที่บุคคลทำให้เราไม่ถูกใจ เราให้อภัย ไม่ถือโทษโกรธคนนั้น ถ้าอารมณ์ทรงอยู่ได้อย่างนี้จริง ๆ ก็จัดว่าเป็น พระสกิทาคามิมรรคอย่างหยาบ ยังไม่ถึงสกิทาคามีผล การปฏิบัติตนให้เข้าถึงพระสกิทาคามีผล ก็ต้องเพิ่มกรรมฐานหรือวิปัสสนาญาณบางอย่างเข้ามาควบคุม เพราะว่า สำหรับวิปัสสนาญาณในด้านของพระโสดาบันนั้น ในด้านสักกายทิฏฐิยังไม่มีการรังเกียจในร่างกาย อารมณ์ยังไม่ละในร่างกายเด็ดขาด เพียงแต่มีความรู้สึกว่าร่างกายมันจะต้องตาย ความพอใจในร่างกายว่าเป็นของสวยสดงดงามของน่ารักน่าชมยังมีอยู่ ทีนี้มาด้านพระสกิทาคามี เราก็มาเพ่งดูตามคำสอน ท่านบอกว่า พระสกิทาคามี บรรเทาความโลภ บรรเทาความโกรธ บรรเทาความหลง อาการที่จะบรรเทาความโลภเขาต้องทำยังไง ก็ต้องเพิ่มกรรมฐานเข้ามาอีกกองหนึ่ง นั่นก็คือ จาคานุสติกรรมฐาน จาคานุสตินี่หมายถึงว่า จิตคิดอยู่เสมอในการที่จะกำจัดความเหนียวแน่น ความตระหนี่หรือความโลภในทรัพย์สิน มีความรู้สึกด้วยอำนาจของปัญญา ว่าคนที่มีความตระหนี่เหนียวแน่น เกาะอยู่ในทรัพย์สินมากเกินไป จนกระทั่งไม่สามารถจะบริจาคทานการสงเคราะห์ ไม่มีการเกื้อกูลบุคคลอื่นให้มีความสุข ตามที่เราจะพึงช่วยได้ อย่างในสมัยปัจจุบันเขาเรียกว่า ไม่รู้จักลดช่องว่าง แต่ความจริงการลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน มีการสงเคราะห์เกื้อกูลซึ่งกันและกันนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนมานานแล้ว แต่ชาวโลกไม่มีความสนใจ ไม่ปฏิบัติตาม ทีนี้การที่จะเป็นพระสกิทาคามีต้องมีจาคานุสติกรรมฐานเป็นอารมณ์ จาคานุสติกรรมฐานนี่ ความจริงก็มาจากพรหมวิหาร 4 นั่นเอง การที่เราจะสละทรัพย์สินให้แก่บุคคลอื่นใด เพราะทรัพย์สินเราหามาได้โดยยาก เราก็จะให้ได้ด้วยอำนาจเมตตา ความรัก กรุณา ความสงสาร ถ้าเราเกลียด ไม่สงสาร เราก็ไม่ให้แน่ หรืออย่างดีที่สุดก็ให้ด้วยความไม่เต็มใจ ทีนี้สำหรับพระสกิทาคามีไม่ยังงั้น มีอารมณ์ใจคิดอยู่เสมอว่าทรัพย์สินเป็นของนอกกาย แม้แต่กายของเราเองเรายังควบคุมให้มันดีตลอดสมัยไม่ได้ ห้ามความตายไม่ได้ เราจะสงเคราะห์เพื่อนมนุษย์และสัตว์ ที่เรียกกันว่า เพื่อนเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้มีความสุขตามฐานะที่เราพึงจะทำได้ และจาคะตัวนี้เป็นการให้ตัดขาด ให้เพื่อสงเคราะห์จริง ๆ ไม่มีความหวังในผลตอบแทน แม้แต่คำสรรเสริญเยินยอจากบุคคลผู้รับก็ไม่ต้องการ ให้ด้วยการมีความหวังว่าคิดจะตัดโลภะ ความโลภในจิตให้มันขาดไป แต่ว่าทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่ามีเท่าไหร่ให้หมดเท่านั้น การให้ต้องคิดพิจารณาดูก่อนว่าให้แล้วเราจะเดือดร้อนไหม ถ้าให้ถึงกับเราเดือดร้อน พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ สำหรับท่านที่เป็นพระโสดาบันก็ดี พระสกิทาคามีก็ดี เป็นคนประกอบไปด้วยศรัทธา ฉะนั้นท่านพวกนี้องค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงห้ามรบกวน สำหรับบุคคลประเภทนี้ ถ้าขอเข้า ท่านนึกว่ามีความจำเป็นท่านก็ให้ แต่ขอบ่อย ๆ มันเกินวิสัยของสมณะ คนขอเลยไม่ใช่พระ กลายเป็นขอทานไป ฉะนั้นถ้าเราจะพึงรู้ว่าบุคคลใดเขามีศรัทธาก็อย่าอ้าปากขอ ถ้ากิจนั้นไม่จำเป็นถึงที่สุด เช่น ผ้ามันไม่ขาดจนกระทั่งนุ่งไม่ได้ก็อย่าไปขอเขา มันยังใช้ได้ก็จงอย่าขอ มันไม่อดถึงกับจะตาย ก็อย่าไปออกปากขอ อาการขอมันเป็นจริยาของคนเลว ไม่ใช่จริยาของคนดี เพราะว่า คนขอนี่ต้องตัดอารมณ์หน้าด้านออกไป การขอบ่อย ๆ หรือขอเกินจำเป็น ไม่ใช่สมณวิสัย ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงทรงห้ามว่า ตระกูลใดถ้าเป็นพระเสขะห้ามการขอทุกอย่าง เว้นไว้แต่สิ่งนั้นมันถึงที่สุดที่เราไม่สามารถจะทรงตัวได้ จำเป็นที่จะต้องขอก็ขอในสิ่งที่จำเป็น มีค่าไม่สูงนัก ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าอารมณ์ของพระโสดาบันสกิทาคา มีพรหมวิหาร 4 ประจำ ย่อมเป็นคนมีใจดีเพราะเกื้อกูล ในสมัยพระพุทธเจ้าก็มีผู้ขอในสำนักของพระโสดาสกิทาคามีจนเกินพอดี มีเยอะแยะไป เมื่อเหตุนี้ปรากฏขึ้น องค์สมเด็จพระจอมไตรจึงห้ามขอ นี่สำหรับพระเราต้องมีความสำรวมในด้านนี้ให้มาก ถึงแม้ว่าท่านจะไม่เป็นพระโสดาบัน ก็จงอย่าเอ่ยปากขอ ถ้าไม่มีความจำเป็นจริง ๆ ขอเขามากเกินไป ให้เขามากเกินไป มันจะเป็นการรุ่มร่าม ไม่ใช่วิสัยของพระ จงมัธยัสถ์อาการทุกอย่าง อย่าคิดว่าขอเขาให้ก็ได้ใจ ขอกันหนัก นี่สำหรับพระสกิทาคามี มีอารมณ์ในการให้ ไม่มีอารมณ์ในการขอ หรือพระโสดาบันก็เหมือนกัน มีอารมณ์ในการให้ ไม่ใช่มีอารมณ์ในการขอ นี่วัดกำลังใจของเราไว้ การปฏิบัติของเราเข้าถึงพระโสดาปัตติมรรคหรือสกิทาคามีมรรคแล้วหรือยัง เป็นอันว่ามีอารมณ์ที่จะให้อยู่เป็นปกติ อาการความโลภมันก็บรรเทาลง การที่จะคิดโกงเขาก็ไม่คิดอยู่แล้ว การตะเกียกตะกายแสวงหาทรัพย์เกินพอดีย่อมไม่มีกับพระสกิทาคามี เพราะจิตเริ่มเป็นสุข มีเท่าไหร่ก็เป็นสุข แต่การหากินต้องหา แต่หาแบบสบาย ๆ อย่างอารมณ์ที่มีความสุข ไม่เบียดเบียนตนจนเกินไป นี่เป็นอันว่าพระสกิทาคามีมรรคเพิ่มจาคานุสติกรรมฐานเข้ามาอีกบทหนึ่ง ทำเป็นฌานสมาบัติให้อารมณ์ทรงตัว คิดไว้เสมอ การคิดไว้เสมอ มีความรู้สึกไว้เสมอ นี่ชื่อว่าเป็นอาการทรงฌาน ถ้าท่านนั่งภาวนาตามปกติ โดยเวลาเลิกแล้วจิตไม่ได้คิด จิตมีความเลว อันนี้ไม่ใช่พระสกิทาคามี หรืออนาคามี มันเป็นของสัตว์ในอบายภูมิ จงใคร่ครวญคิดไว้ อย่าไปนั่งภาวนาเฉย ๆ นั่งภาวนาเฉย ๆ นี่อารมณ์ใจมันไม่ดี มันก็ดีอยู่แค่ภาวนา บางทีก็ภาวนากันไปเป็นปกติ แต่เวลาภาวนาจิตก็ซ่านไปโน่นไปนี่ มันใช้ไม่ได้ มันต้องมีปัญญาใคร่ครวญ มีความรู้สึกอยู่ตลอดเวลา ถ้าอาการอย่างนี้มีอยู่ละก็ แดนไหนก็แดนนั้นมีแต่ความสุข ไม่มีความทุกข์ ไม่มีความเร่าร้อน อันดับที่สอง พระสกิทาคามีระงับความโกรธลงไปได้มากตัวนี้ก็ไม่จำเป็นแล้ว เพราะมีพรหมวิหาร 4 เป็นประจำ แต่ทว่าพระสกิทาคามีก็เพิ่มอารมณ์ที่กล่าวมาแล้ว คือ ให้อภัยทาน นอกจากจะระงับความโกรธ ยับยั้งความโกรธ แต่ความโกรธมันยังมีอยู่ อย่างพระโสดาบันยังมีความโกรธ แต่ทว่าไม่ทำร้ายเขา คือ โกรธแล้วยังจะพยาบาท คือ อาจจะคิดว่า แหม ไอ้เจ้านี่มันเลวจริง ๆ ไม่คิดจะฆ่า ไม่คิดจะทำร้าย แต่คิดว่ามันเลว ยังเจ็บใจแต่ไม่คิดจะฆ่า ไม่คิดจะทำร้าย แต่ว่าไม่อยากสังคมสมาคมด้วย ยังมีอาการใบหน้าเครียด แต่มาถึงพระสกิทาคามี อาการเครียดของใบหน้าไม่มี โกรธยังมีความโกรธ ไม่ชอบใจ คิดไว้ว่าไม่ชอบใจยังมีอยู่ แต่อารมณ์จิตอีกส่วนหนึ่งก็พยายามหักห้ามความโกรธ หักห้ามความพยาบาท คิดให้อภัยกับบุคคลผู้กระทำความผิด โดยมีความรู้สึกว่าจิตของบุคคลผู้นี้เป็นจิตของสัตว์ในอบายภูมิ ซึ่งเป็นทาสของ กิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม เราไม่ควรจะตอบแทนอาการลักษณะเช่นเดียวกัน เมื่อเขาจะเป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย เป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นเรื่องของเขา เราไม่สนใจให้อภัยกับความผิดของเขา นี่เป็นอารมณ์ของพระสกิทาคามีมรรค ทีนี้ มาด้านความหลง ตัวนี้ก็มาจับสักกายทิฏฐิเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นที่ว่ามาพิจารณาถึงร่างกายของเรา นอกจากจะตายแล้วก็มามองร่างกายว่ามันเป็นของไม่เที่ยง เป็นอันว่าเพิ่มกายคตานุสสติกับอสุภกรรมฐานหนักขึ้น โดยมาพิจารณาว่า ร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา มันไม่ใช่ของเรา มันตาย ตายแน่ มาเป็นพระโสดาบันติดอยู่แค่ตาย แต่ยังมีความพอใจในลักษณะของร่างกายและผิวพรรณของร่างกาย ความสวยสดงดงาม การตบแต่งของร่างกาย แต่มาในด้านของพระสกิทาคามีนี่ เพิ่มอารมณ์ที่มีความรู้สึกว่าร่างกายนี้มันเป็นแต่เพียงธาตุ 4 เข้ามาประชุมกัน แล้วก็มีความสกปรกทุกด้าน เสลดน้ำลายสกปรก เหงื่อไคลสกปรกเลือดและเนื้อสกปรก น้ำเหลืองน้ำหนองสกปรก อุจจาระปัสสาวะสกปรก รวมความว่าทุกส่วนของร่างกายนี่มันสกปรกจริง ๆ เมื่อสกปรก ก็รู้สึกว่าเป็นของน่าเบื่อ ไม่น่ารัก แต่ก็ยัง ยังไม่หมด แต่อารมณ์ในการพิจารณาเห็นว่าร่างกายของคนและสัตว์และของตัวเองมันก็เกิดอาการสลด ว่าร่างกายนี้มีสภาพไม่ต่างอะไรกับส้วมเคลื่อนที่ เพราะจะมองไปดูทุกจุดทุกประการ มันก็เต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก ผิวนิดเดียวที่เรามองเห็นกันว่าสวย แต่ทั้ง ๆ ผิวเห็นว่าสวยนั่นแหละ ต้องชำระล้างกันทุกวัน ถ้าปล่อยเกรอะกรัง ไม่อาบน้ำไม่อาบท่า ไม่ชำระล้างกันทุกวัน ถ้าปล่อยเกรอะกรัง ไม่อาบน้ำไม่อาบท่า ไม่ชำระล้างสัก 7 วัน มันก็ทนไม่ไหว ก็แสดงว่าแม้แต่ผิวกายที่เราเห็นว่าสวยมันก็สกปรก ส่วนที่อยู่ในผิวกายลงไปข้างใน ถ้าลอกหนังออกไปนิดเดียวเลือดไหลซึมออกมา เห็นเลือด มีกลิ่นเลือดเหม็นคาว เราก็พากันสะอิดสะเอียนว่าเลือดสกปรก ทีนี้ลอกเนื้อเข้าไปภายใน เห็น ตับ ไต ไส้ ปอด อาหารใหม่ อาหารเก่า อุจจาระ ปัสสาวะ น้ำเลือด น้ำเหลือง น้ำหนอง เต็มไปหมด ตอนนี้ดูไม่ได้ มันสกปรกจริง ๆ อารมณ์เบื่อจากร่างกายที่เห็นว่าสวยสดงดงามเป็นของน่ารัก มันก็เริ่มคลายตัวลงไป ยังไม่หมด กำหนดจิตเป็นเอกัคคตารมณ์เป็นฌาน ไม่มีความรู้สึกเมามันในร่างกายแต่บางขณะย่อมปรากฎ ทีนี้อาการของสักกายทิฏฐิตัวนี้ มันก็เข้าไปพิจารณาด้วย กายคตานุสสติกับ อสุภกรรมฐาน เพื่อตัดความหลงในร่างกาย เห็นว่าร่างกายสกปรกแล้ว ยังเห็นว่าร่างกายมีสภาพจะต้องสลายตัว ยึดถือดึงมันไว้ไม่อยู่ นี่เป็นอารมณ์จิตตรงนี้ ถ้าเราจะเข้าไปพิจารณาว่า จุดไหนหนอเราจะเป็นพระอนาคามี แต่ว่าเป็นพระสกิทาคามีผล มันมีอารมณ์พอที่จะยังพิจารณาไว้ นั่นก็คืออามรณ์ความรู้สึกกับเพศตรงข้าม คือ เรื่องของเพศมันเริ่มสลายตัวไป ความรู้สึกในใจเรื่องของระหว่างเพศมันมีเหมือนกัน แต่ทว่าน้อยเต็มที ยามปกติมันจะไม่มีความรู้สึกกระสันในเรื่องระหว่างเพศ แต่บางครั้งเห็นคนเดินผ่านไปผ่านมาก็มีความรู้สึกขึ้นมาบ้าง แต่ทว่าด้วยฉับพลันนั้นเอง ในขณะเดียวจิตก็จะสลายซึ่งความพอใจ เพราะอะไร เพราะอารมณ์เห็นว่าร่างกายเต็มไปด้วยความสกปรก เห็นผ้าตาทะลุไปถึงหนัง ทะลุหนังเข้าไปถึงเนื้อ ทะลุจากเนื้อถึง ตับ ไต ไส้ ปอด มองเห็นทะลุปรุโปร่งว่าทุกส่วนของร่างกายทั้งคนและสัตว์มันเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก และมีความเสื่อมโทรมเป็นปกติ อาการของคนเต็มไปด้วยความทุกข์ เพราะการต้องบริหารร่างกาย ไม่ให้ร่างกายทรุดโทรมด้วยกฎของธรรมดา และในที่สุดมันก็สลายไป ตัวนี้จะทำให้คลายความพอใจในร่างกายของบุคคลอื่นเสีย แม้แต่ร่างกายของตัวเองก็มีความเบื่อหน่าย ไม่พึงปรารภนา แต่ทว่าอารมณ์ความพอใจในร่างกายยังไม่หมด ยังเหลือบ้าง ทีนี้มาด้านความโกรธ ก็ยังมีอยู่ แต่มีเบา ๆ กระทบปัง โกรธปัง เมื่อโกรธแล้วระงับความโกรธด้วยการให้อภัย ใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที อารมณ์ก็คลายไป และก็ไม่ติดใจในความผิดของบุคคลอื่น มาด้านของความโลภ มีอารมณ์จิตสบาย พอใจตามฐานะที่ทรงอยู่ ยังไง ๆ ก็คิดว่าถ้าเลี้ยงตัวเองรอดเป็นพอ นี่ถ้าอารมณ์จิตของบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายมีอารมณ์เบาในด้านโลภ มีความพอปรากฏขึ้นในจิต คิดว่ามีมากมันก็พอ มีน้อยก็พอ ปีหน้าได้น้อยพอ คือ จิตไม่ดิ้นรนโดยการยอมรับนับถือว่าเหตุที่ได้มามันก็ปรากฏ ตามความสามารถตามกาลสมัย ความโกรธระงับเสียได้โดยฉับไว ไม่มีการผูกพันในการพยาบาท อาการของทางกายที่มีความพอใจในระหว่างเพศหรือวัตถุต่าง ๆ ความสวยสดงดงามของวัตถุก็ดี ความสวยสดงดงามของร่างกายของบุคคลอื่นก็ดี มันไหลไปจากใจเกือบหมดสิ้น ถ้ามีอารมณ์อย่างนี้องค์สมเด็จพระมหามุนีทรงตรัสว่าท่านผู้นั้นเป็น พระสกิทาคามี เอาละ สำหรับวันนี้การที่จะแนะนำก็หมดเวลาลงแล้ว ต่อนี้ไปขอทุกท่านตั้งกายให้ตรง ดำรงจิตให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนาและพิจารณาตามอัธยาศัย จนกว่าจะได้ยินสัญญาณบอกหมดเวลา

มอเตอร์สามเฟส มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8

วันจันทร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559

การควบคุมความเร็วมอเตอร์ MOTOR SPEED CONTROLเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืนเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

รับซ่อมดิจิตอลมัลติมิเตอร์ส่ง สมพงค์ ทุ่งมีผล 69/6 ซอยปิ่นประภาคม 3 ติวานนท์ 18 แยก 5 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 .ติดต่อที่ 02-951-1356 มือถือ 081-803-6553 LINE IDคือ pornpimon1411 ครับ.

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายหญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต

ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานสำหรับบุคคลที่ตื่นอยู่ตลอดเวลา หมั่นศึกษาไตรสิกขาทั้งกลางวันและกลางคืน น้อมจิตเข้าหานิพพาน อาสวะทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ไม่ได้ไฟเสมอด้ว­ยราคะไม่มี ผู้จับเสมอด้วยโทสะไม่มี ... จิตสงบ พอจิตสงบก็ติดนิ่งติดเฉย ติดนิ่งติดเฉยเนี่ย จิตจะไม่มีทางเจริญปัญญาได้เลย ท่านก็บอกอุบายแก้ให้ ให้จิตไม่ติดเฉย นี่หลวงปู่มั่นแต่งกลอนไว้ ขันธะวิมุติสมังคี บอกว่า ระวังอย่าให้จิตไปติดเฉย วิธีที่จะไม่ให้ติด จิตไปติดเฉย ก็ให้จิตออกมาทำงาน ให้ทำงาน จิตทำงานอะไร จิตชอบทำงานคิด ให้มันคิด คิดเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ปลอดภัยสำหรับพ­ระหนุ่มเณรน้อย คิดพิจารณากายตัวเองนี่แหละ ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย ไปคิดเรื่องอื่นไม่ปลอดภัย หรือคิดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คิดถึงธรรมะ คิดถึงไตรลักษณ์ อันนี้เป็นคิดถึงธรรมะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงเทวดา เทวดาก็คือ อย่างคนดีๆ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวเรานี้ เป็นเทวดา เทวดาในภาคมนุษย์ เรียกว่า สมมุติเทพ คิดถึงท่านแล้วจิตใจเราอบอุ่น นุ่มนวล มีความสุข หรือให้คิดถึงร่างกาย เป็นชิ้นนะ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อันนี้เรียกว่า กายคตาสติ เรื่องที่ท่านให้คิดนั้นมีอยู่สิบเรื่อง เรียกว่าอนุสติ ๑๐ หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ

อันแรกเริ่มเดิมความตามจิตแท้จิตนั้นแลเป็นพุทธะสุขหนักหนาจิตจุติแต่หนใดไร...ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยัง ไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

อันแรกเริ่มเดิมความตามจิตแท้จิตนั้นแลเป็นพุทธะสุขหนักหนาจิตจุติแต่หนใดไร...ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยัง ไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตรไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยัง ไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

อำลาพุทธภูมิจิตสงบ พอจิตสงบก็ติดนิ่งติดเฉย ติดนิ่งติดเฉยเนี่ย จิตจะไม่มีทางเจริญปัญญาได้เลย ท่านก็บอกอุบายแก้ให้ ให้จิตไม่ติดเฉย นี่หลวงปู่มั่นแต่งกลอนไว้ ขันธะวิมุติสมังคี บอกว่า ระวังอย่าให้จิตไปติดเฉย วิธีที่จะไม่ให้ติด จิตไปติดเฉย ก็ให้จิตออกมาทำงาน ให้ทำงาน จิตทำงานอะไร จิตชอบทำงานคิด ให้มันคิด คิดเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย คิดพิจารณากายตัวเองนี่แหละ ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย ไปคิดเรื่องอื่นไม่ปลอดภัย หรือคิดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คิดถึงธรรมะ คิดถึงไตรลักษณ์ อันนี้เป็นคิดถึงธรรมะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงเทวดา เทวดาก็คือ อย่างคนดีๆ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวเรานี้ เป็นเทวดา เทวดาในภาคมนุษย์ เรียกว่า สมมุติเทพ คิดถึงท่านแล้วจิตใจเราอบอุ่น นุ่มนวล มีความสุข หรือให้คิดถึงร่างกาย เป็นชิ้นนะ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อันนี้เรียกว่า กายคตาสติ เรื่องที่ท่านให้คิดนั้นมีอยู่สิบเรื่อง เรียกว่าอนุสติ ๑๐ หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ วิปัสสนาแท้ๆเริ่มเมื่อหมดความคิด พ้นความคิดไปแล้วเห็นความจริง ความคิดกับความจริงเกิดพร้อมๆกันไม่ได้ ความคิดนั้นแหละปิดบังความจริงไว้ ความคิดนั้นแหละคืออภิสังขารมาร ปิดกั้นการมองเห็นความจริงไว้ เนี่ยธรรมะอย่างนี้เราไม่ค่อยได้ยินได้ฟัง บางทีครูบาอาจารย์ท่านก็สอน คือสอนด้วยความเมตตานะ เอ้า..พุทโธ พิจารณากายไป อะไรอย่างนี้ เรานึกว่าตรงพุทโธเป็นสมถะ พิจารณากายเป็นวิปัสสนา ความจริงเป็นสมถะคนละแบบ ตอนแรกตามลมหายใจ หัดพุทโธเนี่ย จิตสงบ พอจิตสงบก็ติดนิ่งติดเฉย ติดนิ่งติดเฉยเนี่ย จิตจะไม่มีทางเจริญปัญญาได้เลย ท่านก็บอกอุบายแก้ให้ ให้จิตไม่ติดเฉย นี่หลวงปู่มั่นแต่งกลอนไว้ ขันธะวิมุติสมังคี บอกว่า ระวังอย่าให้จิตไปติดเฉย วิธีที่จะไม่ให้ติด จิตไปติดเฉย ก็ให้จิตออกมาทำงาน ให้ทำงาน จิตทำงานอะไร จิตชอบทำงานคิด ให้มันคิด คิดเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ปลอดภัยสำหรับพ­ระหนุ่มเณรน้อย คิดพิจารณากายตัวเองนี่แหละ ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย ไปคิดเรื่องอื่นไม่ปลอดภัย หรือคิดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คิดถึงธรรมะ คิดถึงไตรลักษณ์ อันนี้เป็นคิดถึงธรรมะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงเทวดา เทวดาก็คือ อย่างคนดีๆ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวเรานี้ เป็นเทวดา เทวดาในภาคมนุษย์ เรียกว่า สมมุติเทพ คิดถึงท่านแล้วจิตใจเราอบอุ่น นุ่มนวล มีความสุข หรือให้คิดถึงร่างกาย เป็นชิ้นนะ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อันนี้เรียกว่า กายคตาสติ เรื่องที่ท่านให้คิดนั้นมีอยู่สิบเรื่อง เรียกว่าอนุสติ ๑๐

จิตเบิกบานจิตสงบ พอจิตสงบก็ติดนิ่งติดเฉย ติดนิ่งติดเฉยเนี่ย จิตจะไม่มีทางเจริญปัญญาได้เลย ท่านก็บอกอุบายแก้ให้ ให้จิตไม่ติดเฉย นี่หลวงปู่มั่นแต่งกลอนไว้ ขันธะวิมุติสมังคี บอกว่า ระวังอย่าให้จิตไปติดเฉย วิธีที่จะไม่ให้ติด จิตไปติดเฉย ก็ให้จิตออกมาทำงาน ให้ทำงาน จิตทำงานอะไร จิตชอบทำงานคิด ให้มันคิด คิดเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย คิดพิจารณากายตัวเองนี่แหละ ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย ไปคิดเรื่องอื่นไม่ปลอดภัย หรือคิดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คิดถึงธรรมะ คิดถึงไตรลักษณ์ อันนี้เป็นคิดถึงธรรมะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงเทวดา เทวดาก็คือ อย่างคนดีๆ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวเรานี้ เป็นเทวดา เทวดาในภาคมนุษย์ เรียกว่า สมมุติเทพ คิดถึงท่านแล้วจิตใจเราอบอุ่น นุ่มนวล มีความสุข หรือให้คิดถึงร่างกาย เป็นชิ้นนะ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อันนี้เรียกว่า กายคตาสติ เรื่องที่ท่านให้คิดนั้นมีอยู่สิบเรื่อง เรียกว่าอนุสติ ๑๐ หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ วิปัสสนาแท้ๆเริ่มเมื่อหมดความคิด พ้นความคิดไปแล้วเห็นความจริง ความคิดกับความจริงเกิดพร้อมๆกันไม่ได้ ความคิดนั้นแหละปิดบังความจริงไว้ ความคิดนั้นแหละคืออภิสังขารมาร ปิดกั้นการมองเห็นความจริงไว้ เนี่ยธรรมะอย่างนี้เราไม่ค่อยได้ยินได้ฟัง บางทีครูบาอาจารย์ท่านก็สอน คือสอนด้วยความเมตตานะ เอ้า..พุทโธ พิจารณากายไป อะไรอย่างนี้ เรานึกว่าตรงพุทโธเป็นสมถะ พิจารณากายเป็นวิปัสสนา ความจริงเป็นสมถะคนละแบบ ตอนแรกตามลมหายใจ หัดพุทโธเนี่ย จิตสงบ พอจิตสงบก็ติดนิ่งติดเฉย ติดนิ่งติดเฉยเนี่ย จิตจะไม่มีทางเจริญปัญญาได้เลย ท่านก็บอกอุบายแก้ให้ ให้จิตไม่ติดเฉย นี่หลวงปู่มั่นแต่งกลอนไว้ ขันธะวิมุติสมังคี บอกว่า ระวังอย่าให้จิตไปติดเฉย วิธีที่จะไม่ให้ติด จิตไปติดเฉย ก็ให้จิตออกมาทำงาน ให้ทำงาน จิตทำงานอะไร จิตชอบทำงานคิด ให้มันคิด คิดเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ปลอดภัยสำหรับพ­ระหนุ่มเณรน้อย คิดพิจารณากายตัวเองนี่แหละ ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย ไปคิดเรื่องอื่นไม่ปลอดภัย หรือคิดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คิดถึงธรรมะ คิดถึงไตรลักษณ์ อันนี้เป็นคิดถึงธรรมะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงเทวดา เทวดาก็คือ อย่างคนดีๆ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวเรานี้ เป็นเทวดา เทวดาในภาคมนุษย์ เรียกว่า สมมุติเทพ คิดถึงท่านแล้วจิตใจเราอบอุ่น นุ่มนวล มีความสุข หรือให้คิดถึงร่างกาย เป็นชิ้นนะ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อันนี้เรียกว่า กายคตาสติ เรื่องที่ท่านให้คิดนั้นมีอยู่สิบเรื่อง เรียกว่าอนุสติ ๑๐

ลืมตาไว้ อย่าให้จิตไปติด ซึมเฉยวิปัสสนาแท้ๆเริ่มเมื่อหมดความคิด พ้นความคิดไปแล้วเห็นความจริง ความคิดกับความจริงเกิดพร้อมๆกันไม่ได้ ความคิดนั้นแหละปิดบังความจริงไว้ ความคิดนั้นแหละคืออภิสังขารมาร ปิดกั้นการมองเห็นความจริงไว้ เนี่ยธรรมะอย่างนี้เราไม่ค่อยได้ยินได้ฟัง บางทีครูบาอาจารย์ท่านก็สอน คือสอนด้วยความเมตตานะ เอ้า..พุทโธ พิจารณากายไป อะไรอย่างนี้ เรานึกว่าตรงพุทโธเป็นสมถะ พิจารณากายเป็นวิปัสสนา ความจริงเป็นสมถะคนละแบบ ตอนแรกตามลมหายใจ หัดพุทโธเนี่ย จิตสงบ พอจิตสงบก็ติดนิ่งติดเฉย ติดนิ่งติดเฉยเนี่ย จิตจะไม่มีทางเจริญปัญญาได้เลย ท่านก็บอกอุบายแก้ให้ ให้จิตไม่ติดเฉย นี่หลวงปู่มั่นแต่งกลอนไว้ ขันธะวิมุติสมังคี บอกว่า ระวังอย่าให้จิตไปติดเฉย วิธีที่จะไม่ให้ติด จิตไปติดเฉย ก็ให้จิตออกมาทำงาน ให้ทำงาน จิตทำงานอะไร จิตชอบทำงานคิด ให้มันคิด คิดเรื่องอะไรเป็นเรื่องที่ปลอดภัยสำหรับพ­ระหนุ่มเณรน้อย คิดพิจารณากายตัวเองนี่แหละ ปลอดภัยสำหรับพระหนุ่มเณรน้อย ไปคิดเรื่องอื่นไม่ปลอดภัย หรือคิดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ คิดถึงธรรมะ คิดถึงไตรลักษณ์ อันนี้เป็นคิดถึงธรรมะ คิดถึงครูบาอาจารย์ คิดถึงเทวดา เทวดาก็คือ อย่างคนดีๆ อย่างพระเจ้าแผ่นดิน พระเจ้าอยู่หัวเรานี้ เป็นเทวดา เทวดาในภาคมนุษย์ เรียกว่า สมมุติเทพ คิดถึงท่านแล้วจิตใจเราอบอุ่น นุ่มนวล มีความสุข หรือให้คิดถึงร่างกาย เป็นชิ้นนะ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก อันนี้เรียกว่า กายคตาสติ เรื่องที่ท่านให้คิดนั้นมีอยู่สิบเรื่อง เรียกว่าอนุสติ ๑๐

กามชาดกเมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเ­ขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้­งปวงเสีย. ข้าพระบาทไม่ต้องการ ด้วยทรัพย์ร้อย ทรัพย์พัน หรือทรัพย์หมื่น เมื่อข้าพระบาทกล่าวคาถาสุดท้ายใจของข้าพร­ะบาทไม่ยินดีในกาม

กามชาดกเมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเ­ขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้­งปวงเสีย. ข้าพระบาทไม่ต้องการ ด้วยทรัพย์ร้อย ทรัพย์พัน หรือทรัพย์หมื่น เมื่อข้าพระบาทกล่าวคาถาสุดท้ายใจของข้าพร­ะบาทไม่ยินดีในกาม

นี้เป็นทางสายเดียว เพื่อความบริสุทธิ์หลุดพ้น ไม่มีทางสายที่สองให้เลือกพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

นี้เป็นทางสายเดียว เพื่อความบริสุทธิ์หลุดพ้น ไม่มีทางสายที่สองให้เลือกพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

ทำเหมือนไม่ทำอะไรรู้เหมือนไม่รู้อะไรพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

มรดกธรรมอันล้ำค่าพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ

อยากได้มรรคผลนิพพานพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ