วันอาทิตย์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

เพลงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดา

แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

พระปริตรและอนุโมทนาคาถา แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เพลงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดา แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

แม่จ๋า, คำคน - คอนเสิร์ต ธานินทร์ อินทรเทพ

แม่จ๋า, คำคน - คอนเสิร์ต ธานินทร์ อินทรเทพ

วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การปรับอัตราเร่งและลดความเร็วมอเตอร์สามเฟสที่ใช้ MC3PHAC ครับ ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส ควบคุมด้วย MC3PHAC PS21244 ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด

โซล่าเซลล์ใช้กับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้ากำลังพอดีครับทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Module สำหรับใช้ กับมอเตอร์ สามเฟส ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่ พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

วิธีสร้างอินเวอร์เตอร์สามเฟสใช้เอง 4เครื่องปรับอากาศตู้เย็นเครื่องซักผ้ารวมทั้งเครื่องใช้ที่มีมอเตอร์สามเฟสและอินเวอร์เตอร์เป็นเทคโนโลยีที่ได้พัฒนาขึ้นเพื่อลดการใช้พลังงานไฟฟ้าประมาณ 30-40 % จากเครื่องธรรมดาซึ่งหลักการทำงานจะแตกต่างที่ตัวมอเตอร์และชุดควบคุมโดยใช้ทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Moduleท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อ ที่ พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...

พระพุทธเจ้าทรงสอนไว้ว่า คน (คือ โลกอันนี้) แตกดับสลายไปเป็นธรรมดา แต่ จิต คือ เจ้าของของโลกนั้น เมื่อมีกิเลสอยู่จะต้องกลับมาเกิดอีก ฉะนั้น พระพุทธองค์จึงทรงสอนให้ฝึกหัดสมาธิ อันเป็นเรื่องของจิตโดยเฉพาะ เมื่อฝึกหัดทำสมาธิเข้าแล้ว หากมีอายตนผัสสะจะรู้สึกอยู่แต่ภายใน คือ จิต ผู้เดียว ผู้เห็นผู้ฟังจะไม่เกี่ยวด้วยตาและหู อายตนผัสสะ จะรู้ด้วยจิตอย่างเดียว (ได้ชื่อว่าทำโลกนี้ให้แคบเข้ามา ) อายตนะทั้งหลายเป็นเครื่องวัด จิต ของตนได้อย่างดีที่สุด เมื่ออายตนะผัสสะมากระทบ จิต ของเรา เราหวั่นไหวไหม เมื่อหวั่นไหวมาก ก็แสดงว่ามีสติน้อย มีธรรมเป็นเครื่องอยู่ก็ยังน้อย เมื่อหวั่นไหวน้อยหรือไม่หวั่นไหวเสียเลย ก็แสดงว่าเรามีสติมาก มีธรรมเป็นเครื่องอยู่มาก และรักษาตัวได้เลย เปรียบเหมือนกับพระเทวทัตและพระโพธิสัตว์ ย่อมก่อเวรก่อกรรมแก่กันมาโดยตลอด พระโพธิสัตว์ถ้าไม่มีพระเทวทัตก็จะไม่ได้สร้างบารมีให้เต็มเปี่ยม เมื่อบารมีเต็มเปี่ยมแล้วจึงได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า ก่อนจะตรัสรู้พระองค์ก็ได้ทรงผจญพญามารอันมีแสนยานุภาพมหึมา เมื่อตรัสรู้แล้วก็มีลูกสาวพญามาราธิราชทั้งสามนางมาทดสอบอีกที เป็นอันว่าชาวโลกซ้องสาธุการว่า พระพุทธเจ้าทรงชนะกิเลสเด็ดขาดในโลกนี้โดยสิ้นเชิง เมื่ออายตนะภายในยังมีอยู่ มโนผัสสะก็ยังเป็นอารมณ์อยู่ ฉะนั้น ท่านผู้รู้ทั้งหลายมาเห็นโทษสิ่งทั้งหลายเหล่านั้น จึงยอมถอนออกจากสิ่งเหล่านั้นเสีย ยังคงเหลือแต่ใจ ที่เป็นกลางๆ ๆ ไม่คิด ไม่นึก ไม่ปรุง ไม่แต่ง แล้วโลกอันนี้มันจะมีมาแต่ที่ไหน พระพุทธเจ้าทรงสอนให้ถึงที่สุดของโลกด้วยประการอย่างนี้

เอาจิตมารวมอยู่ในพุทโธอันเดียวจึงจะเห็นจิตพระธรรมเทศนาของหลวงปู่เทสก์ เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายหญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต”

พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” แสดงน้อยลง

พระพุทธเจ้าตรัสว่าแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” แสดงน้อยลง

พระเทศน์เป็นจังหวะ Rock (Original)หน้าที่ของเรา..คือ...พาตัวเราเอง..ออกจากสังสารวัฎ...

พระเทศน์เป็นจังหวะ Rock (Original) อย่างนี้แหละ..เรียกว่า.เขย่า..ธาตุรู้..ทำให้จิตตื่น..แล้ว...กลับ..มารู้...ที่กาย..ที่ใจ..ของเรา

พระเทศน์เป็นจังหวะ Rock (Original) แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เพลงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดาแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

มงคลสูตรชีวิตที่มีมงคลสามสิบแปดประการนอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

คาถาชนะมารเสียงสาธยายพระคาถาชนะกิเลสมารในตัวเราเองนอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

วุตโตทัยนอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเล่ากันมาอย่างนี้ ได้ยินมาอย่างนี้ ดูกรท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า ที่ภูเขา หิมพานต์ อันทรงไว้ซึ่งแผ่นดินซึ่งมีโอสถทุกชนิด ดาดาษไปด้วยดอกไม้และของหอมมากมาย หลายพันธุ์ เป็นที่สัญจรไปมาแห่งช้าง โค กระบือ กวางทอง จามรี เนื้อฟาน แรด ระมาด ราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง หมี หมาไน เสือดาว นาค ชะมด เสือปลา กระต่าย และ วัวกระทิง เป็นที่อยู่อาศัยแห่งหมู่ช้างใหญ่ ช้างตระกูลอันประเสริฐ เกลื่อนกล่นอยู่ทั่วปริมณฑล อันราบเรียบ มีค่าง ลิง อีเห็น ละมั่ง เนื้อสมัน เนื้อฟาน ม้า และลา กินนร ยักษ์ และรากษส อยู่อาศัย ดาดาษไปด้วยหมู่ไม้นับไม่ถ้วน ทรงไว้ซึ่งดอกตูมและก้าน มีดอกบานตลอดปลาย มี นกเขา นกโพระโดก นกหัสดีลิงค์ นกยูง นกพิราบ นกพริก นกกระจาบ นกยาง นกแขก เต้า และนกการะเวก ส่งเสียงร้องกึกก้องไพเราะ เป็นประเทศที่ประดับไปด้วยแร่ธาตุหลายร้อย ชนิดเป็นต้นว่า อัญชัน มโนศิลา หรดาล มหาหิงค์ ทอง เงินและทองคำ เป็นไพรสัณฑ์อัน น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าชื่อกุณาละ มีตัว ปีกและขนงดงามยิ่งนัก อาศัยอยู่ และนก ดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น มีนางนกดุเหว่าเป็นนางบำเรอประมาณ ๓๕๐๐ ตัว นางนกดุเหว่าสองตัวเอา ปากคาบท่อนไม้ให้นกดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น จับตรงกลางแล้วพากันบินไป ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่ากุณาละนั้น อย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐๐ ตัว บิน ไปเบื้องต่ำด้วยความประสงค์ว่า ถ้านกกุณาละนี้จะตกจากคอน พวกเราจะเอาปีกรับไว้ นางนก ดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แดดอย่าได้ส่งถูกนกกุณาละเลย นาง นกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ละออง ลม หรือน้ำค้าง อย่าได้ถูกนกกุณาละนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไป ข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำ การงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกกุณาละนั้นด้วยท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน กระบอง ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย นกกุณาละนี้อย่าได้กระทบด้วยกอไม้ เครือเถา ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือพวกนกที่มีกำลังกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัวบินไปข้างหลังเจรจาด้วยถ้อยคำอัน เกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้ อย่าได้เงียบเหงาอยู่ บนคอนนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพานกกุณาละนั้นจากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จากสวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวนมะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จาก สวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จาก สวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้องการให้ร่าเริง ยินดี นกกุณาละอัน นางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกๆ วันอย่างนี้ ยังรุกรานอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อย ละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเรอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม. [๒๙๗] ดูกรท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า ณ ด้านทิศบูรพาแห่งขุนเขาหิมพานต์มีแม่น้ำอันไหล มาแต่ซอกเขาอันละเอียดสุขุม มีสีเขียว ณ ภูเขาหิมพานต์อันเป็นประเทศที่น่ารื่นเริงบันเทิงใจ ด้วยกลิ่นหอม อันเกิดเดี๋ยวนั้น จากดอกอุบล ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกบัวขม ดอกบัวผัน ดอกจงกลณี และดอกบัวเผื่อน เป็นป่าทึบมากไปด้วยไม้ต่างๆ ชนิด คือ ไม้โกฏดำ ไม้จิก ไม้เกต ไม้ยางทราย ไม้อ้อยช้าง ต้นบุนนาค ต้นพิกุล ต้นหมากหอม ต้นประยงค์ ต้นขมิ้น ต้นสาละ ต้นสน ต้นจำปา ต้นอโศก ต้นกากะทิง ต้นหงอนไก่ ต้นราชดัด ต้นโลทนง และต้นจันทน์ เป็นราวป่าที่สล้างไปด้วยต้นกฤษณาดำ ต้นปทุม ต้นประยงค์ ต้นเทพทาโร และต้นกล้วย ทรงไว้ ซึ่งต้นรกฟ้า ต้นมวกเหล็ก ต้นปรู ต้นทราก ต้นกัณณิการ์ ต้นชะบา ต้นว่านหางช้าง ต้นทองหลาง ต้นทองกวาว ต้นคัดเค้า ต้นมะลิป่า ต้นแก้ว ต้นซึกและต้นขานางอันงามยิ่งนัก และมีไม้ดอก สำหรับร้อยเป็นพวงมาลัยดาดาษไปด้วยดอกมะลิ ว่านเปราะหอม ต้นคนธา ต้นกำยาน ต้นแฝก หอม ต้นกระเบา และไม้กอ เป็นประเทศอันประดับไปด้วยลดาวัลย์ดาดาษยิ่งนัก มีหมู่หงส์ นก นางนวล นกกาน้ำ และนกเป็ดน้ำ ส่งเสียงร้องกึกก้อง เป็นที่สถิตอยู่แห่งหมู่ฤาษีสิทธิ์วิทยาธร สมณะ และดาบส เป็นประเทศที่ท่องเที่ยวไปแห่งหมู่มนุษย์ เทพยดา ยักษ์ รากษส ทานพ คนธรรพ์ กินนร และพญานาค เป็นไพรสณฑ์ที่น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าขาวชื่อ ปุณณมุขะ มีถ้อยคำอันไพเราะยิ่งนัก มีนัยน์ตาแดงดังนัยน์ตาคนเมาสอดส่ายไปมา อาศัยอยู่ ได้ยินว่า พระยา นกปุณณมุขะนี้ มีนางนกดุเหว่าบำเรอ ๓๕๐ ตัว เล่ากันมาว่า นางนกดุเหว่า ๒ ตัว เอาปากคาบ ท่อนไม้ให้พระยานกปุณณมุขะนั้นจับตรงกลางพาบินไป ด้วยความประสงค์ว่า พระยานกปุณณ มุขะนั้นอย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐ ตัว บินไปเบื้องต่ำด้วย ความประสงค์ว่า ถ้าพระยานกปุณณมุขะนี้จักพลาดจากคอน พวกเราจักเอาปีกทั้งสองรับไว้ นาง นกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แสงแดดอย่าได้แผดเผานกดุเหว่าขาว ชื่อปุณณมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ธุลี หรือน้ำค้าง อย่าได้ตกต้องนกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้นด้วย ท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน ไม้ฆ้อน ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย และนกดุเหว่า ขาวชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้กระทบกับกอไม้ เถาวัลย์ ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือกับนก ที่มีกำลังมากกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปข้างหลังเจรจาด้วยวาจาอันเกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนี้อย่าเงียบเหงา บนคอนเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำเอาผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้น พานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้น จากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จาก สวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวน มะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จากสวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จากสวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้อง การให้ร่าเริง ได้ยินว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะ อันนางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกวัน ๆ ย่อมสรรเสริญอย่างนี้ว่า ดีละๆ น้องหญิงทั้งหลาย การที่เธอทั้งหลายบำรุงบำเรอสามีอย่างนี้ สมควรแก่เธอทั้งหลายผู้เป็นกุลธิดา. [๒๙๘] ได้ยินว่า ในกาลต่อมา นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะได้เข้าไปหาพระยานกกุณาละ ถึงที่อยู่ พวกนางนกดุเหว่าบริจาริกาของพระยานกกุณาละ ได้เห็นพระยานกปุณณมุขะนั้นกำลัง บินมาแต่ไกล จึงพากันเข้าไปหา แล้วพูดกะพระยานกปุณณมุขะนั้นว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ พระ ยานกกุณาละนี้ เป็นนกหยาบช้า มีวาจาหยาบคายเหลือเกิน แม้ไฉน พวกเราจะพึงได้วาจาอันน่ารัก เพราะอาศัยท่านบ้าง พระยานกปุณณมุขะจึงตอบว่า บางทีจะได้กระมังน้องหญิงทั้งหลาย แล้ว เข้าไปหาพระยานกกุมาละกล่าวสัมโมทนียกถากับพระยานกกุณาละแล้ว สถิตอยู่ ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระยานกปุณณมุขะได้กล่าวกะพระยานกกุณาละว่า ดูกรสหายกุณาละ เพราะ เหตุไร ท่านจึงปฏิบัติผิดต่อนางนกทั้งหลายผู้มีชาติเสมอกัน เป็นลูกของผู้มีสกุล ซึ่งปฏิบัติดีต่อท่าน เล่า ดูกรสหายกุณาละ นางนกทั้งหลายถึงเขาจะไม่พูดไม่ถูกใจ เราก็ควรจะพูดให้ถูกใจ จะป่วย กล่าวไปไยถึงนางนกที่พูดถูกใจเล่า เมื่อพระยานกปุณณมุขะกล่าวอย่างนี้แล้ว พระยานกกุณาละ ได้รุกรานพระยานกปุณณมุขะอย่างนี้ว่า แนะสหายลามกชั่วถ่อย เจ้าฉิบหาย เจ้าละลาย ใครจะเป็นผู้ฉลาดด้วยการชนะเมียยิ่งไปกว่าเจ้า ก็แหละพระยานกปุณณมุขะถูกรุกรานอย่างนี้แล้ว ก็กลับไปเสียจากที่นั้น. [๒๙๙] ได้ยินว่า สมัยต่อมา โดยกาลล่วงไปไม่นานนัก อาพาธอันแรงกล้าเกิดขึ้นแก่ พระยานกปุณณมุขะ คือ ลงเป็นโลหิต เกิดเวทนากล้าแข็ง จวนจะตาย ครั้งนั้น พวกนางนก ดุเหว่า ผู้เป็นบริจาริกาของพระยานกปุณณมุขะ เกิดความปริวิตกว่า พระยานกปุณณมุขะนี้ อาพาธ หนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธนี้หนอ นางนกดุเหว่าเหล่านั้น ละทิ้งพระยานกปุณณ- *มุขะไว้แต่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อนสอง พากันเข้าไปหาพระยานกกุณาละ พระยานกกุณาละได้เห็นนาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพากันมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้กล่าวกะนางนกดุเหว่าเหล่านั้นว่า พวกอีถ่อย ผัวของ เจ้าไปไหนเสียเล่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้นจึงตอบว่า ท่านสหายกุณาละ พระยานกปุณณมุขะ อาพาธหนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธหนักนั้น เมื่อนางนกดุเหว่าเหล่านั้นกล่าวอย่างนี้ แล้ว พระยานกกุณาละได้รุกรานนางนกดุเหว่าเหล่านั้นอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อยละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเลอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม ครั้น กล่าวรุกรานแล้ว ได้เข้าไปหาพระยานกปุณณมุขะ แล้วร้องเรียกว่า เฮ้ยสหายปุณณมุขะ พระยานกปุณณมุขะขานรับว่า หาสหายกุณาละ ได้ยินว่า พระยานกกุณาละเข้าไปประคบ ประหงมพระยานกปุณณมุขะด้วยปีกและจะงอยปาก พอให้ลุกขึ้นได้แล้วให้ดื่มยาต่างๆ อาพาธ ของพระยานกปุณณมุขะก็สงบระงับ. [๓๐๐] ได้ยินว่า พระยานกกุณาละได้กล่าวกะพระยานกปุณณมุขะผู้หายจากไข้ยังไม่ นานนักว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางกัณหาสองพ่อ นางมีผัว ๕ คน ยังมีจิต ปฏิพัทธ์ในบุรุษคนที่ ๖ ซึ่งเป็นคนเปลี้ย เหมือนตัวกระพันธ์. และในเรื่องนี้มีคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า ครั้งนั้น นางคนหนึ่งล่วงละเมิดสามี ๕ คน คือ พระเจ้าอัชชุนะ พระเจ้า นกุละ พระเจ้าภีมเสน พระเจ้ายุธิษฐิล และพระเจ้าสหเทพ แล้วได้ กระทำลามกกับบุรุษเปลี้ยแคระ. ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางสมณีชื่อปัญจตปาวี อยู่ในท่ามกลางป่าช้า อดอาหาร ๔ วันจึงบริโภคครั้งหนึ่ง ได้กระทำกรรมอันลามกกับนักเลงสุรา ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางเทวีนามว่า กากวดี อยู่ในท่ามกลางสมุทร เป็นภรรยาของพระยาครุฑชื่อว่า ท้าวเวนไตรย ได้กระทำกรรมอันลามกกับกุเวรผู้เจนจบในการฟ้อน ดูกรสหายปุณณมุขะ เรา เห็นมาแล้ว นางขนงามนามว่า กุรุงคเทวี รักใคร่ได้เสียกับเอฬกกุมาร ได้กระทำกรรมอัน ลามกกับฉฬังคกุมารเสนาบดี และธนันเตวาสีผู้เป็นคนใช้ของฉฬังคกุมาร เป็นความจริง เราได้ รู้มาอย่างนี้แล พระมารดาของพระเจ้าพรหมทัตต์ ทรงทอดทิ้งพระเจ้าโกศลราช ได้ทรงกระทำ กรรมอันลามกกับพราหมณ์ชื่อปัญจาลจัณฑะ หญิง ๕ คนนี้ก็ดี หญิงอื่นก็ดี ได้กระทำมาแล้วซึ่งกรรมอันลามก เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะ ไม่สรรเสริญหญิงทั้งหลาย มหาปฐพี อันทรงไว้ซึ่งสรรพสัตว์ ย้อมแล้วเสมอกัน เป็นที่รับรองสิ่งดีและสิ่งชั่ว ทนทานได้หมด ไม่ดิ้นรน ไม่หวั่นไหว ฉันใด หญิงทั้งหลายก็เหมือนกัน นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านี้ ราชสีห์ซึ่งเป็นสัตว์ดุร้าย กิน เนื้อและเลือดเป็นอาหารมีอาวุธ ๕ อย่าง เป็นสัตว์หยาบช้า ยินดีในการ เบียดเบียนสัตว์อื่น ข่มขี่สัตว์ทั้งหลายกิน ฉันใด หญิงทั้งหลายก็ฉันนั้น นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านั้น. ดูกรปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงทั้งหลายไม่ใช่แพศยา ไม่ใช่นางงาม ไม่ใช่หญิงสัญจร ชื่อทั้ง ๓ นี้ ไม่ใช่ชื่อโดยกำเนิด ชื่อโดยกำเนิดว่าแพศยา ว่านางงาม ว่าหญิงสัญจร ก็คือเป็น ผู้ฆ่าหญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนพวกโจร ประทุษร้ายเป็นพิษเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวด เหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือน หลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยากเหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปโดย ส่วนเดียวเหมือนพระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตาม ปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนโจร ประทุษร้ายเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวดเหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือนหลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยาก เหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปส่วนเดียวเหมือน พระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตามปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ หญิงทั้งหลายเป็นผู้กำสัตว์ไว้ในมือ จนนับไม่ถ้วน ทำโภคสมบัติในเรือนให้พินาศ. [๓๐๑] ดูกรปุณณมุขะ ทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ โคนม ยาน ภรรยา ไม่ควร ให้อยู่ในสกุลอื่น บัณฑิตไม่พึงรักษาทรัพย์ ๔ อย่างนี้ให้อยู่พลาดจากเรือน. คนฉลาดย่อมไม่ฝากทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ ๑ โคนม ๑ ยาน พาหนะ ๑ ภรรยา ๑ ไว้ในตระกูลญาติ เพราะว่า คนที่ไม่มียานพาหนะ ย่อมใช้รถที่ฝากไว้ ย่อมฆ่าโคผู้เสีย เพราะใช้ลากเข็นเกินกำลัง ย่อม ฆ่าลูกโคเพราะรีดนม ภรรยาย่อมประทุษร้ายในตระกูลญาติ. [๓๐๒] ดูกรสหายปุณณมุขะ สิ่งของ ๖ อย่างนี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์อะไร ไม่ได้ คือ ธนูไม่มีสาย ๑ ภรรยาอยู่ในตระกูลญาติ ๑ เรือที่ฝั่งโน้น ๑ ยาน พาหนะที่เพลาหัก ๑ มิตรอยู่ไกล ๑ สหายลามก ๑ สิ่งของทั้ง ๖ นี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์ไม่ได้. [๓๐๓] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมดูหมิ่นสามีเพราะเหตุการ ๘ ประการ คือ เพราะสามีเป็นคนจน ๑ เพราะสามีเจ็บกระเสาะกระแสะ ๑ เพราะสามีเป็นคนแก่ ๑ เพราะสามีเป็นนักเลงสุรา ๑ เพราะสามีเป็นคนโง่ ๑ เพราะสามีเป็นคนมัวเมา ๑ เพราะคล้อย ตามในกิจทุกอย่าง ๑ เพราะไม่ก่อให้ทรัพย์ทุกอย่างเกิดขึ้น ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการนี้. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการ คือ ความจน ๑ เจ็บ กระเสาะกระแสะ ๑ เป็นคนแก่ ๑ เป็นนักเลงสุรา ๑ เป็นคนโง่ ๑ เป็นคนมัวเมา ๑ คล้อยตามในกิจทุกอย่าง ๑ ไม่ก่อสิ่งปรารถนาทุกอย่าง ให้เกิดขึ้น ๑. [๓๐๔] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการ คือ หญิงเป็นคนมักไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหา ตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมอง หน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมา ให้สามีเพราะเหตุ ๙ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการนี้ คือ มัก ไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหาตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมองหน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ [๓๐๕] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการคือ ดัดกายหนึ่ง ก้มตัว กรีดกราย ทำอาย แกะเล็บ เอาเท้าเหยียบกัน เอาไม้ขีดแผ่นดิน ทำกระโดดเอง ให้เด็กกระโดด เล่นเอง ให้เด็กเล่น จุมพิตเด็ก ให้เด็กจุมพิต กินเอง ให้เด็กกิน ให้ของแก่เด็ก ขอของจากเด็ก ทำตามที่เด็กกระทำ พูดเสียงสูง พูดเสียงต่ำ พูดเปิดเผย พูดกระซิบ ทำซิกซี้ด้วยการฟ้อน การขับ การประโคม ร้องไห้ กรีดกราย ด้วยการแต่งกาย ทำปึ่ง ยักเอว ส่ายผ้าที่ปิดของลับ เลิกขา ปิดขา ให้เห็นนม ให้เห็นรักแร้ ให้เห็น ท้องน้อย หลิ่วตา เลิกคิ้ว เม้มปาก แลบลิ้น ขยายผ้า กลับนุ่งผ้า สยายผม มุ่นผม ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการนี้แล. [๓๐๖] ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการ คือ ย่อมพรรณนาการไปแรมคืนของสามี ย่อมไม่ระลึกถึงสามีที่ไปแรมคืน ย่อมไม่ ยินดีกะสามีที่มาแล้ว ย่อมกล่าวโทษสามี ไม่กล่าวคุณแห่งสามี ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็น ประโยชน์แก่สามี ย่อมไม่ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมคลุมหัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น ย่อมนอนพลิก กลับไปมา ย่อมทำวุ่นวายนอนถอนหายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระ ปัสสาวะบ่อยๆ ย่อมประพฤติตรงกันข้าม ได้ยินเสียงชายอื่นย่อมเงี่ยหูฟัง ย่อมล้างผลาญทรัพย์สมบัติ ย่อมทอด สนิทชิดชอบกับชายผู้คุ้นเคย ย่อมออกนอกบ้านเสมอ ประพฤติผิดจากความดี ย่อมประพฤติ นอกใจไม่เคารพในสามี มีใจประทุษร้าย ย่อมยืนอยู่ที่ประตูเนืองๆ ย่อมทำให้เห็นรักแร้ นม ย่อม ไปเพ่งดูทิศต่างๆ ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมพรรณนาการไปแรมทางไกลของสามี ย่อมไม่เศร้าโศกถึงการไป ของสามี ครั้นเห็นสามีกลับมาก็ไม่แสดงความยินดี ย่อมไม่กล่าวคุณ แห่งสามีในกาลไหนๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงผู้ไม่สำรวม ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมทำ ประโยชน์ของสามีให้เสื่อม ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมคลุม หัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิง ผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมนอนพลิกกลับไปมา ย่อมทำวุ่นวาย นอนถอน หายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระปัสสาวะบ่อยๆ อาการ เหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมประพฤติตรงกันข้าม ไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมเงี่ยหูฟังเมื่อชายอื่นพูด ล้างผลาญ โภคสมบัติ กระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายอื่น อาการเหล่านี้ เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมทำทรัพย์สมบัติที่สามีได้มา โดยความลำบาก หามาได้โดยฝืดเคือง เก็บสะสมไว้ได้ด้วยความยาก แค้นให้พินาศ อนึ่ง ย่อมกระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายที่คุ้นเคย กัน อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงออกนอกบ้าน เสมอ ประพฤติผิดจากความดี มีใจคิดประทุษร้ายในสามีอยู่เป็นนิตย์ เป็นผู้ประพฤตินอกใจ ปราศจากความเคารพ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมยืนอยู่ที่ใกล้ประตูเนืองๆ แสดงนมบ้าง รักแร้บ้างให้เห็น มีจิตวอกแวกเพ่งดูทิศต่างๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย แม่น้ำทั้งปวงมีทางคดเคี้ยว และป่าทั้งปวงรกเรี้ยว ด้วยต้นไม้ ฉันใด หญิงทั้งปวงเมื่อได้ช่อง (ที่ลับ) พึงกระทำกรรมอัน ลามกฉันนั้น ถ้าว่าพึงได้โอกาส ที่ลับ หรือพึงได้ช่องเช่นนั้น หญิง ทั้งปวงพึงกระทำกรรมอันลามกเป็นแน่ ไม่ได้ชายที่สมบูรณ์อื่น ก็ย่อม ทำกับคนเปลี้ย ในพวกนารีที่หลายใจ เป็นผู้กระทำความยั่วยวนแก่ชาย ทั้งหลาย ไม่มีใครข่มขี่ได้ ถ้านารีเหล่าใดแม้จะทำให้พอใจโดยประการ ทั้งปวง ก็ไม่ควรวางใจในนารีเหล่านั้น เพราะว่า นารีเหล่านั้นเสมอด้วย ท่าน้ำ. [๓๐๗] บัณฑิตได้เห็นเรื่องอย่างไร ของพระเจ้ากินนรและพระนางกินนรีเทวี แล้วพึงรู้เถิดว่า หญิงทั้งปวงย่อมไม่ยินดีในเรือนของตน พระนาง กินนรีเทวีทรงเห็นบุรุษอื่น แม้จะเป็นคนง่อยเปลี้ย ยังละทิ้งพระราช- สวามีเช่นพระเจ้ากินนร ไปทำกรรมอันลามกกับบุรุษเปลี้ยนั้นได้. [๓๐๘] พระเจ้าพกะและพระเจ้าพาวรีย์ ทรงหมกมุ่นอยู่ในกามเกินส่วน พระ มเหสียังประพฤติอนาจารกับคนรับใช้ใกล้ชิด ซ้ำตกอยู่ในอำนาจ พึงมีหรือที่ หญิงจะไม่ประพฤติล่วงชายอื่น นอกจากคนนั้น. [๓๐๙] พระนางปิงคิยานีพระนางมเหสีที่รักของพระเจ้าพรหมทัตผู้เป็นใหญ่ในโลก ทั้งปวง ได้ประพฤติอนาจารกับคนเลี้ยงม้าผู้ใกล้ชิดและเป็นไปในอำนาจ พระนางปิงคิยานีผู้ใคร่กามนั้น ไม่ได้ประสบความใคร่ทั้งสองราย. [๓๑๐] บุรุษผู้ไม่ถูกผีสิง ไม่ควรเชื่อหญิงทั้งหลายผู้หยาบช้า ใจเบา อกตัญญู ประทุษร้ายมิตร หญิงเหล่านั้นไม่รู้จักสิ่งที่กระทำแล้ว สิ่งที่ควรกระทำ ไม่รู้จักมารดาบิดาหรือพี่น้อง ไม่มีละอาย ล่วงเสียซึ่งธรรม ย่อมเป็น ไปตามอำนาจจิตของตนเมื่อมีอันตราย และเมื่อกิจเกิดขึ้น ย่อมละทิ้ง สามีแม้จะอยู่ด้วยกันมานาน เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่อนุเคราะห์ แม้เสมอกับชีวิต เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย จริง อยู่ จิตของหญิงเหมือนจิตของวานร ลุ่มๆ ดอนๆ เหมือนเงาไม้ หัวใจของหญิงไหวไปไหวมา เหมือนล้อรถที่กำลังหมุน เมื่อใด หญิง ทั้งหลายผู้มุ่งหวัง เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรจะถือเอาได้ เมื่อนั้น ก็ใช้ วาจาอ่อนหวานชักนำบุรุษไปได้ เหมือนชาวกัมโพชลวงม้าด้วยสาหร่าย ฉะนั้น เมื่อใด หญิงทั้งหลายผู้มุ่งหวัง ไม่เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรถือ เอาได้ เมื่อนั้น ย่อมละทิ้งบุรุษนั้นไป เหมือนคนข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้ว ละทิ้งแพไป ฉะนั้น หญิงทั้งหลายเปรียบด้วยเครื่องผูกรัด กินทุกอย่าง เหมือนเปลวไฟ มีมายากล้าแข็ง เหมือนแม่น้ำมีกระแสเชี่ยว ย่อมคบ บุรุษได้ ทั้งที่น่ารัก ทั้งที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดไม่เลือกฝั่งนี้ฝั่งโน้น ฉะนั้น หญิงทั้งหลายไม่ใช่ของบุรุษคนเดียวหรือสองคน ย่อมรับรองทั่ว ไปเหมือนร้านตลาด ผู้ใดสำคัญมั่นหมายหญิงเหล่านั้นว่าของเรา ก็ เท่ากับดักลมด้วยตาข่าย แม่น้ำ หนทาง ร้านเหล้า สภาและบ่อน้ำ ฉันใด หญิงในโลกก็ฉันนั้น เขตแดนของหญิงเหล่านั้นไม่มี หญิงทั้ง หลายเสมอด้วยไฟกินเปรียง เปรียบด้วยงูเห่า ย่อมเลือกคบแต่บุรุษที่ มีทรัพย์ เหมือนโคเลือกกินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก ฉะนั้น ไฟกิน เปรียง ๑ ช้างสาร ๑ งูเห่า ๑ พระราชาผู้ได้รับมูรธาภิเษกแล้ว ๑ หญิง ทั้งปวง ๑ สิ่งทั้ง ๕ นี้ นรชนพึงคบด้วยความระวังเป็นนิตย์ เพราะ สิ่งทั้ง ๕ นี้ มีความแน่นอนที่รู้ได้ยากแท้ หญิงที่งามเกินไป ๑ หญิง ที่คนหมู่มากไม่รักใคร่ ๑ หญิงที่เหมือนมือขวา ๑ หญิงที่เป็นภรรยาคน อื่น ๑ หญิงที่คบหาด้วยเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ๑ หญิง ๕ จำพวกนี้ ไม่ ควรคบ. [๓๑๑] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญาแร้งชื่ออานนท์ รู้แจ้งซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ของพญานกกุณาละแล้ว ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ถ้าบุรุษจะพึงให้แผ่นดินอันเต็มด้วยทรัพย์นี้ แก่หญิงที่ตนนับถือไซร้ หญิงนั้นได้โอกาสก็จะพึงดูหมิ่นบุรุษนั้น เราจึงไม่ยอมตกอยู่ในอำนาจ ของพวกหญิงเผลอเรอ เมื่อมีอันตรายและเมื่อกิจธุระเกิดขึ้น หญิงย่อม ละทิ้งผัวหนุ่มผู้หมั่นขยัน มีความประพฤติไม่เหลาะแหละ เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เพราะฉะนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย บุรุษไม่ ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ปรารถนาเรา ไม่ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ร้องไห้ กระซิกกระซี้เรา เพราะว่า หญิงทั้งหลายย่อมคบได้ทั้งบุรุษที่น่ารัก ทั้ง บุรุษที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดได้ทั้งฝั่งโน้นฝั่งนี้ ฉะนั้น ไม่ควรวิสาสะ กะใบไม้ลาดที่เก่า ไม่ควรวิสาสะกะมิตรเก่าที่เป็นโจร ไม่ควรวิสาสะกะ พระราชาว่า เป็นเพื่อนของเรา ไม่ควรวิสาสะกะหญิงแม้จะมีลูก ๑๐ คน แล้ว ไม่ควรวิสาสะในหญิงที่กระทำความยินดีให้ เป็นผู้ล่วงศีล ไม่ สำรวม ถึงแม้ภรรยาจะพึงเป็นผู้มีความรักแน่นแฟ้น ก็ไม่ควรวางใจ เพราะว่าหญิงทั้งหลายเสมอกับท่าน้ำ หญิงทั้งหลายพึงฆ่าชายก็ได้ พึงตัด เองก็ได้ พึงใช้ให้ผู้อื่นตัดก็ได้ พึงตัดคอแล้วดื่มเลือดกินก็ได้ อย่าพึง กระทำความสิเนหาในหญิงผู้มีความรักใคร่อันเลวทราม ผู้ไม่สำรวม ผู้ เปรียบเทียบด้วยท่าน้ำ คำเท็จของหญิงเหมือนคำจริง คำจริงของหญิง เหมือนคำเท็จ หญิงทั้งหลายย่อมเลือกคบแต่ชายที่มีทรัพย์ ดังโคเลือก กินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก หญิงทั้งหลายย่อมประเล้าประโลมชายด้วย การเดิน การจ้องดู ยิ้มแย้ม นุ่งผ้าหลุดๆ ลุ่ยๆ และพูดเพราะ หญิง ทั้งหลายเป็นโจร หัวใจแข็ง ดุร้าย เป็นน้ำตาลกรวด ย่อมไม่รู้อะไรๆ ว่าเป็นเครื่องล่อลวงในมนุษย์ธรรมดาหญิงในโลกเป็นคนลามก ไม่มีเขต แดน กำหนัดนักทุกเมื่อ และคะนอง กินไม่ควร เหมือนเปลวไฟ ไหม้เชื้อทุกอย่าง บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รักก็ไม่มี เพราะหญิงทั้งหลาย ย่อมคบบุรุษได้ทั้งที่รักทั้งที่ไม่รัก เหมือนเรือจอด ได้ทั้งฝั่งนี้และฝั่งโน้น บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รัก ก็ไม่มี หญิง ย่อมผูกพันชายเพราะต้องการทรัพย์เหมือนเถาวัลย์พันไม้ หญิงทั้งหลาย ย่อมติดตามชายที่มีทรัพย์ ถึงจะเป็นคนเลี้ยงช้าง เลี้ยงม้า เลี้ยงโค คนจัณฑาล สัปเหร่อ คนเทหยากเยื่อ ก็ช่าง หญิงทั้งหลาย ย่อมละทิ้งชายผู้มีตระกูล แต่ไม่มีอะไร เหมือนซากศพ แต่ติดตามชายเช่นนั้นได้เพราะเหตุแห่งทรัพย์. [๓๑๒] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พราหมณ์ผู้ประเสริฐชื่อนารทะ รู้ชัดซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุดของพญาแร้งอานนท์แล้ว ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ดูกรพญานก ท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้ากล่าว มหาสมุทร ๑ พราหมณ์ ๑ พระราชา ๑ หญิง ๑ สี่อย่างนี้ ย่อมไม่ เต็มแม่น้ำสายใด สายหนึ่งอาศัย แผ่นดิน ไหลไปสู่มหาสมุทร แม่น้ำเหล่านั้นก็ยังมหาสมุทรให้เต็มไม่ได้ เพราะฉะนั้นมหาสมุทรชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง ส่วนพราหมณ์เรียน เวทอันมีการบอกเป็นที่ห้าได้แล้ว ยังปรารถนาการเรียนยิ่งขึ้นไปอีก เพราะฉะนั้น พราหมณ์จึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง พระราชาทรง ชนะแผ่นดินทั้งหมด อันบริบูรณ์ด้วยรัตนะนับไม่ถ้วน พร้อมทั้ง มหาสมุทรและภูเขา ครอบครองอยู่ ก็ยังปรารถนามหาสมุทรฝั่งโน้นอีก เพราะฉะนั้น พระราชาจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงคนหนึ่งๆ มีสามีคนละ ๘ คน สามีล้วนเป็นคนแกล้วกล้า มีกำลังสามารถนำมาซึ่ง กามรสทุกอย่าง หญิงยังกระทำความพอใจในชายคนที่ ๙ อีก เพราะฉะนั้น หญิงจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงทุกคนกินทุกอย่างเหมือน เปลวไฟ พาไปได้ทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ เหมือนกิ่งไม้มีหนาม ย่อมละ ชายไปเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ชายใดพึงวางความรักทั้งหมดในหญิง ชาย นั้นเหมือนดักลมด้วยตาข่าย เหมือนตักน้ำใส่มหาสมุทรด้วยมือข้างเดียว จะพึงได้ยินแต่เสียงมือของตน ภาวะของหญิงที่เป็นโจร รู้มาก หาความ จริงได้ยาก เป็นอาการที่ใครๆ รู้ได้ยาก เหมือนรอยทางปลาในน้ำฉะนั้น หญิงไม่มีความพอ อ่อนโยน พูดเพราะ ให้เต็มได้ยาก เสมอแม่น้ำ ทำ ให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล หญิงเป็นเหมือน น้ำวน มีมายามาก ทำพรหมจรรย์ให้กำเริบ ทำให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้ แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล เมื่อหญิงคบบุรุษใด เพราะความพอใจ หรือเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ย่อมเผาบุรุษนั้นโดยพลัน เหมือนไฟป่าเผา สถานที่เกิดของตน ฉะนั้น. [๓๑๓] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญานกกุณาละรู้แจ้งแล้ว ซึ่งเบื้องต้นท่ามกลาง และที่สุดแห่งคาถา ของนารทพราหมณ์ผู้ประเสริฐ จึงได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า บัณฑิตพึงเจรจากับบุรุษผู้ถือดาบอย่างคมกล้า พึงเจรจากับปีศาจผู้ดุร้าย แม้จะพึงเข้าไปนั่งใกล้งูพิษร้าย แต่ไม่ควรเจรจากับหญิงตัวต่อตัว เพราะ ว่าหญิงเป็นผู้ย่ำยีจิตของโลก ถืออาวุธ คือ การฟ้อนรำ ขับร้องและการ เจรจา ย่อมเบียดเบียนบุรุษผู้ไม่ตั้งสติไว้ เหมือนหมู่รากษสที่เกาะเบียด เบียนพวกพ่อค้าฉะนั้น หญิงไม่มีวินัย ไม่มีสังวร ยินดีในน้ำเมาและ เนื้อสัตว์ ไม่สำรวม ผลาญทรัพย์ที่บุรุษหามาได้โดยยากให้ฉิบหาย เหมือนปลาติมิงคละกลืนกินมังกรในทะเล ฉะนั้น หญิงมีกามคุณ ๕ อัน น่ายินดี เป็นทำเลหากิน เป็นคนหยิ่ง จิตไม่เที่ยงตรง ไม่สำรวม ย่อม เข้าไปหาชายผู้ประมาทเหมือนแม่น้ำทั้งหลาย อันไหลไปสู่มหาสมุทร ฉะนั้น หญิงได้ชื่อว่าฆ่าชายด้วยราคะ และโทสะ เข้าไปหาชายคนใด เพราะความพอใจ เพราะความกำหนัด หรือเพราะต้องการทรัพย์ ย่อม เผาชายเช่นนั้นเสีย เช่นดังเปลวไฟ หญิงรู้ว่าชายมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก ย่อมเข้าไปหาชาย ยอมให้ทั้งทรัพย์และตนเอง ย่อมเกาะชายที่มีจิตถูก ราคะย้อม เหมือนเถาย่านทรายเกาะไม้สาละในป่า ฉะนั้น หญิงประดับ ร่างกายหน้าตาให้สวย เข้าไปหาชายด้วยความพอใจมีประการต่างๆ ทำ ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่ ใช้มารยาตั้งร้อย เหมือนดังคนเล่นกลและอสุรินทรราหู หญิงประดับประดาด้วยทอง แก้วมณีและมุกดา ถึงจะมีคนสักการะและ รักษาไว้ในตระกูลสามี ก็ยังประพฤตินอกใจสามี ดังหญิงที่อยู่ใน ทรวงอก ประพฤตินอกใจทานพ ฉะนั้น จริงอยู่ นรชนผู้มีปัญญาเครื่อง พิจารณา แม้จะมีเดช มีมหาชนสักการะบูชา ถ้าตกอยู่ในอำนาจของ หญิงแล้ว ย่อมไม่รุ่งเรือง เหมือนพระจันทร์ ถูกราหูจับฉะนั้น โจรผู้มี จิตโกรธ คิดประทุษร้าย พึงกระทำแก่โจรอื่นซึ่งเป็นข้าศึกที่มาประจัญ หน้า ส่วนผู้ตกอยู่ในอำนาจหญิง ไม่มีอุเบกขา ย่อมเข้าถึงความ พินาศยิ่งกว่านั้นอีก หญิงถึงจะถูกชายฉุดกระชากลากผมและหยิกข่วน ด้วยเล็บ คุกคามทุบตีด้วยเท้า ด้วยมือและท่อนไม้ ก็กลับวิ่งเข้าหา เหมือนหมู่แมลงวันที่ซากศพ ฉะนั้น บุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดักไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. [๓๑๔] พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล.

แม้ความพอใจในเมถุน ไม่ได้มีแล้ว เพราะเห็น นางตัณหา นางอรดี และนางราคา, เพราะเห็นสรีระแห่ง ธิดาของท่านนี้ ซึ่งเต็มไปด้วยมูตร(ปัสสาวะ)และกรีส(อุจจาระ), (เราจักมี ความพอใจในเมถุนอย่างไรได้?) เราย่อมไม่ปรารถนา เพื่อจะแตะต้องสรีระธิดาของท่านนั้น แม้ด้วยเท้า. ในเวลาจบเทศนา เมียผัวทั้งสองตั้งอยู่แล้วในอนาคามิผล ดังนี้แล.

โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเล่ากันมาอย่างนี้ ได้ยินมาอย่างนี้ ดูกรท่านผู้เจริญทั้งหลาย ได้ยินว่า ที่ภูเขา หิมพานต์ อันทรงไว้ซึ่งแผ่นดินซึ่งมีโอสถทุกชนิด ดาดาษไปด้วยดอกไม้และของหอมมากมาย หลายพันธุ์ เป็นที่สัญจรไปมาแห่งช้าง โค กระบือ กวางทอง จามรี เนื้อฟาน แรด ระมาด ราชสีห์ เสือโคร่ง เสือเหลือง หมี หมาไน เสือดาว นาค ชะมด เสือปลา กระต่าย และ วัวกระทิง เป็นที่อยู่อาศัยแห่งหมู่ช้างใหญ่ ช้างตระกูลอันประเสริฐ เกลื่อนกล่นอยู่ทั่วปริมณฑล อันราบเรียบ มีค่าง ลิง อีเห็น ละมั่ง เนื้อสมัน เนื้อฟาน ม้า และลา กินนร ยักษ์ และรากษส อยู่อาศัย ดาดาษไปด้วยหมู่ไม้นับไม่ถ้วน ทรงไว้ซึ่งดอกตูมและก้าน มีดอกบานตลอดปลาย มี นกเขา นกโพระโดก นกหัสดีลิงค์ นกยูง นกพิราบ นกพริก นกกระจาบ นกยาง นกแขก เต้า และนกการะเวก ส่งเสียงร้องกึกก้องไพเราะ เป็นประเทศที่ประดับไปด้วยแร่ธาตุหลายร้อย ชนิดเป็นต้นว่า อัญชัน มโนศิลา หรดาล มหาหิงค์ ทอง เงินและทองคำ เป็นไพรสัณฑ์อัน น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าชื่อกุณาละ มีตัว ปีกและขนงดงามยิ่งนัก อาศัยอยู่ และนก ดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น มีนางนกดุเหว่าเป็นนางบำเรอประมาณ ๓๕๐๐ ตัว นางนกดุเหว่าสองตัวเอา ปากคาบท่อนไม้ให้นกดุเหว่าชื่อกุณาละนั้น จับตรงกลางแล้วพากันบินไป ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่ากุณาละนั้น อย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐๐ ตัว บิน ไปเบื้องต่ำด้วยความประสงค์ว่า ถ้านกกุณาละนี้จะตกจากคอน พวกเราจะเอาปีกรับไว้ นางนก ดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แดดอย่าได้ส่งถูกนกกุณาละเลย นาง นกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ละออง ลม หรือน้ำค้าง อย่าได้ถูกนกกุณาละนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไป ข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำ การงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกกุณาละนั้นด้วยท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน กระบอง ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย นกกุณาละนี้อย่าได้กระทบด้วยกอไม้ เครือเถา ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือพวกนกที่มีกำลังกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัวบินไปข้างหลังเจรจาด้วยถ้อยคำอัน เกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้ อย่าได้เงียบเหงาอยู่ บนคอนนี้เลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกกุณาละนี้อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพานกกุณาละนั้นจากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จากสวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวนมะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จาก สวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จาก สวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้องการให้ร่าเริง ยินดี นกกุณาละอัน นางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกๆ วันอย่างนี้ ยังรุกรานอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อย ละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเรอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม. [๒๙๗] ดูกรท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า ณ ด้านทิศบูรพาแห่งขุนเขาหิมพานต์มีแม่น้ำอันไหล มาแต่ซอกเขาอันละเอียดสุขุม มีสีเขียว ณ ภูเขาหิมพานต์อันเป็นประเทศที่น่ารื่นเริงบันเทิงใจ ด้วยกลิ่นหอม อันเกิดเดี๋ยวนั้น จากดอกอุบล ดอกปทุม ดอกโกมุท ดอกบัวขม ดอกบัวผัน ดอกจงกลณี และดอกบัวเผื่อน เป็นป่าทึบมากไปด้วยไม้ต่างๆ ชนิด คือ ไม้โกฏดำ ไม้จิก ไม้เกต ไม้ยางทราย ไม้อ้อยช้าง ต้นบุนนาค ต้นพิกุล ต้นหมากหอม ต้นประยงค์ ต้นขมิ้น ต้นสาละ ต้นสน ต้นจำปา ต้นอโศก ต้นกากะทิง ต้นหงอนไก่ ต้นราชดัด ต้นโลทนง และต้นจันทน์ เป็นราวป่าที่สล้างไปด้วยต้นกฤษณาดำ ต้นปทุม ต้นประยงค์ ต้นเทพทาโร และต้นกล้วย ทรงไว้ ซึ่งต้นรกฟ้า ต้นมวกเหล็ก ต้นปรู ต้นทราก ต้นกัณณิการ์ ต้นชะบา ต้นว่านหางช้าง ต้นทองหลาง ต้นทองกวาว ต้นคัดเค้า ต้นมะลิป่า ต้นแก้ว ต้นซึกและต้นขานางอันงามยิ่งนัก และมีไม้ดอก สำหรับร้อยเป็นพวงมาลัยดาดาษไปด้วยดอกมะลิ ว่านเปราะหอม ต้นคนธา ต้นกำยาน ต้นแฝก หอม ต้นกระเบา และไม้กอ เป็นประเทศอันประดับไปด้วยลดาวัลย์ดาดาษยิ่งนัก มีหมู่หงส์ นก นางนวล นกกาน้ำ และนกเป็ดน้ำ ส่งเสียงร้องกึกก้อง เป็นที่สถิตอยู่แห่งหมู่ฤาษีสิทธิ์วิทยาธร สมณะ และดาบส เป็นประเทศที่ท่องเที่ยวไปแห่งหมู่มนุษย์ เทพยดา ยักษ์ รากษส ทานพ คนธรรพ์ กินนร และพญานาค เป็นไพรสณฑ์ที่น่ารื่นรมย์เห็นปานนี้ มีนกดุเหว่าขาวชื่อ ปุณณมุขะ มีถ้อยคำอันไพเราะยิ่งนัก มีนัยน์ตาแดงดังนัยน์ตาคนเมาสอดส่ายไปมา อาศัยอยู่ ได้ยินว่า พระยา นกปุณณมุขะนี้ มีนางนกดุเหว่าบำเรอ ๓๕๐ ตัว เล่ากันมาว่า นางนกดุเหว่า ๒ ตัว เอาปากคาบ ท่อนไม้ให้พระยานกปุณณมุขะนั้นจับตรงกลางพาบินไป ด้วยความประสงค์ว่า พระยานกปุณณ มุขะนั้นอย่าได้มีความเหน็ดเหนื่อยในหนทางไกลเลย นางนกดุเหว่า ๕๐ ตัว บินไปเบื้องต่ำด้วย ความประสงค์ว่า ถ้าพระยานกปุณณมุขะนี้จักพลาดจากคอน พวกเราจักเอาปีกทั้งสองรับไว้ นาง นกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างบนด้วยความประสงค์ว่า แสงแดดอย่าได้แผดเผานกดุเหว่าขาว ชื่อปุณณมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าบินไปโดยข้างทั้งสองข้างละ ๕๐ ตัว ด้วยความประสงค์ว่า ความหนาว ความร้อน หญ้า ธุลี หรือน้ำค้าง อย่าได้ตกต้องนกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนั้นเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินขึ้นไปข้างหน้าด้วยความประสงค์ว่า คนเลี้ยงโค คนเลี้ยงปศุสัตว์ คนเกี่ยวหญ้า คนหาฟืน หรือคนทำงานในป่า อย่าได้ขว้างปานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้นด้วย ท่อนไม้ กระเบื้อง ก้อนหิน ก้อนดิน ไม้ฆ้อน ศาตรา หรือก้อนกรวดเลย และนกดุเหว่า ขาวชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้กระทบกับกอไม้ เถาวัลย์ ต้นไม้ กิ่งไม้ เสา หิน หรือกับนก ที่มีกำลังมากกว่าเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปข้างหลังเจรจาด้วยวาจาอันเกลี้ยงเกลา อ่อนหวาน ไพเราะจับใจ ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณะมุขะนี้อย่าเงียบเหงา บนคอนเลย นางนกดุเหว่าอีก ๕๐ ตัว บินไปยังทิศานุทิศ นำเอาผลไม้นานาชนิดจากต้นไม้ ต่างๆ มาให้ด้วยความประสงค์ว่า นกดุเหว่าชื่อปุณณมุขะนี้ อย่าได้ลำบากเพราะความหิวเลย ได้ยินว่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้น พานกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะนั้น จากป่านี้ไปสู่ป่าโน้น จาก สวนนี้ไปสู่สวนโน้น จากท่าน้ำนี้ไปสู่ท่าน้ำโน้น จากยอดเขานี้ไปสู่ยอดเขาโน้น จากสวน มะม่วงนี้ไปสู่สวนมะม่วงโน้น จากสวนชมพู่นี้ไปสู่สวนชมพู่โน้น จากสวนขนุนสัมมะลอนี้ ไปสู่สวนขนุนสัมมะลอโน้น จากสวนมะพร้าวนี้ไปสู่สวนมะพร้าวโน้น โดยรวดเร็ว เพื่อต้อง การให้ร่าเริง ได้ยินว่า นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะ อันนางนกดุเหว่าเหล่านั้นบำเรออยู่ทุกวัน ๆ ย่อมสรรเสริญอย่างนี้ว่า ดีละๆ น้องหญิงทั้งหลาย การที่เธอทั้งหลายบำรุงบำเรอสามีอย่างนี้ สมควรแก่เธอทั้งหลายผู้เป็นกุลธิดา. [๒๙๘] ได้ยินว่า ในกาลต่อมา นกดุเหว่าขาวชื่อปุณณมุขะได้เข้าไปหาพระยานกกุณาละ ถึงที่อยู่ พวกนางนกดุเหว่าบริจาริกาของพระยานกกุณาละ ได้เห็นพระยานกปุณณมุขะนั้นกำลัง บินมาแต่ไกล จึงพากันเข้าไปหา แล้วพูดกะพระยานกปุณณมุขะนั้นว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ พระ ยานกกุณาละนี้ เป็นนกหยาบช้า มีวาจาหยาบคายเหลือเกิน แม้ไฉน พวกเราจะพึงได้วาจาอันน่ารัก เพราะอาศัยท่านบ้าง พระยานกปุณณมุขะจึงตอบว่า บางทีจะได้กระมังน้องหญิงทั้งหลาย แล้ว เข้าไปหาพระยานกกุมาละกล่าวสัมโมทนียกถากับพระยานกกุณาละแล้ว สถิตอยู่ ณ ที่ควรส่วน ข้างหนึ่ง ครั้นแล้วพระยานกปุณณมุขะได้กล่าวกะพระยานกกุณาละว่า ดูกรสหายกุณาละ เพราะ เหตุไร ท่านจึงปฏิบัติผิดต่อนางนกทั้งหลายผู้มีชาติเสมอกัน เป็นลูกของผู้มีสกุล ซึ่งปฏิบัติดีต่อท่าน เล่า ดูกรสหายกุณาละ นางนกทั้งหลายถึงเขาจะไม่พูดไม่ถูกใจ เราก็ควรจะพูดให้ถูกใจ จะป่วย กล่าวไปไยถึงนางนกที่พูดถูกใจเล่า เมื่อพระยานกปุณณมุขะกล่าวอย่างนี้แล้ว พระยานกกุณาละ ได้รุกรานพระยานกปุณณมุขะอย่างนี้ว่า แนะสหายลามกชั่วถ่อย เจ้าฉิบหาย เจ้าละลาย ใครจะเป็นผู้ฉลาดด้วยการชนะเมียยิ่งไปกว่าเจ้า ก็แหละพระยานกปุณณมุขะถูกรุกรานอย่างนี้แล้ว ก็กลับไปเสียจากที่นั้น. [๒๙๙] ได้ยินว่า สมัยต่อมา โดยกาลล่วงไปไม่นานนัก อาพาธอันแรงกล้าเกิดขึ้นแก่ พระยานกปุณณมุขะ คือ ลงเป็นโลหิต เกิดเวทนากล้าแข็ง จวนจะตาย ครั้งนั้น พวกนางนก ดุเหว่า ผู้เป็นบริจาริกาของพระยานกปุณณมุขะ เกิดความปริวิตกว่า พระยานกปุณณมุขะนี้ อาพาธ หนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธนี้หนอ นางนกดุเหว่าเหล่านั้น ละทิ้งพระยานกปุณณ- *มุขะไว้แต่ผู้เดียว ไม่มีเพื่อนสอง พากันเข้าไปหาพระยานกกุณาละ พระยานกกุณาละได้เห็นนาง นกดุเหว่าเหล่านั้นพากันมาแต่ไกล ครั้นแล้วได้กล่าวกะนางนกดุเหว่าเหล่านั้นว่า พวกอีถ่อย ผัวของ เจ้าไปไหนเสียเล่า นางนกดุเหว่าเหล่านั้นจึงตอบว่า ท่านสหายกุณาละ พระยานกปุณณมุขะ อาพาธหนักนักแล ไฉนจะพึงหายจากอาพาธหนักนั้น เมื่อนางนกดุเหว่าเหล่านั้นกล่าวอย่างนี้ แล้ว พระยานกกุณาละได้รุกรานนางนกดุเหว่าเหล่านั้นอย่างนี้ว่า อีถ่อยฉิบหาย อีถ่อยละลาย อีนางโจร อีนางนักเลง อีเผลอเลอ อีใจง่าย อีไม่รู้จักคุณคน อีไปตามใจเหมือนลม ครั้น กล่าวรุกรานแล้ว ได้เข้าไปหาพระยานกปุณณมุขะ แล้วร้องเรียกว่า เฮ้ยสหายปุณณมุขะ พระยานกปุณณมุขะขานรับว่า หาสหายกุณาละ ได้ยินว่า พระยานกกุณาละเข้าไปประคบ ประหงมพระยานกปุณณมุขะด้วยปีกและจะงอยปาก พอให้ลุกขึ้นได้แล้วให้ดื่มยาต่างๆ อาพาธ ของพระยานกปุณณมุขะก็สงบระงับ. [๓๐๐] ได้ยินว่า พระยานกกุณาละได้กล่าวกะพระยานกปุณณมุขะผู้หายจากไข้ยังไม่ นานนักว่า ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางกัณหาสองพ่อ นางมีผัว ๕ คน ยังมีจิต ปฏิพัทธ์ในบุรุษคนที่ ๖ ซึ่งเป็นคนเปลี้ย เหมือนตัวกระพันธ์. และในเรื่องนี้มีคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า ครั้งนั้น นางคนหนึ่งล่วงละเมิดสามี ๕ คน คือ พระเจ้าอัชชุนะ พระเจ้า นกุละ พระเจ้าภีมเสน พระเจ้ายุธิษฐิล และพระเจ้าสหเทพ แล้วได้ กระทำลามกกับบุรุษเปลี้ยแคระ. ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางสมณีชื่อปัญจตปาวี อยู่ในท่ามกลางป่าช้า อดอาหาร ๔ วันจึงบริโภคครั้งหนึ่ง ได้กระทำกรรมอันลามกกับนักเลงสุรา ดูกรสหายปุณณมุขะ เราเห็นมาแล้ว นางเทวีนามว่า กากวดี อยู่ในท่ามกลางสมุทร เป็นภรรยาของพระยาครุฑชื่อว่า ท้าวเวนไตรย ได้กระทำกรรมอันลามกกับกุเวรผู้เจนจบในการฟ้อน ดูกรสหายปุณณมุขะ เรา เห็นมาแล้ว นางขนงามนามว่า กุรุงคเทวี รักใคร่ได้เสียกับเอฬกกุมาร ได้กระทำกรรมอัน ลามกกับฉฬังคกุมารเสนาบดี และธนันเตวาสีผู้เป็นคนใช้ของฉฬังคกุมาร เป็นความจริง เราได้ รู้มาอย่างนี้แล พระมารดาของพระเจ้าพรหมทัตต์ ทรงทอดทิ้งพระเจ้าโกศลราช ได้ทรงกระทำ กรรมอันลามกกับพราหมณ์ชื่อปัญจาลจัณฑะ หญิง ๕ คนนี้ก็ดี หญิงอื่นก็ดี ได้กระทำมาแล้วซึ่งกรรมอันลามก เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะ ไม่สรรเสริญหญิงทั้งหลาย มหาปฐพี อันทรงไว้ซึ่งสรรพสัตว์ ย้อมแล้วเสมอกัน เป็นที่รับรองสิ่งดีและสิ่งชั่ว ทนทานได้หมด ไม่ดิ้นรน ไม่หวั่นไหว ฉันใด หญิงทั้งหลายก็เหมือนกัน นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านี้ ราชสีห์ซึ่งเป็นสัตว์ดุร้าย กิน เนื้อและเลือดเป็นอาหารมีอาวุธ ๕ อย่าง เป็นสัตว์หยาบช้า ยินดีในการ เบียดเบียนสัตว์อื่น ข่มขี่สัตว์ทั้งหลายกิน ฉันใด หญิงทั้งหลายก็ฉันนั้น นรชนจึงไม่ควรวิสาสะกับหญิงเหล่านั้น. ดูกรปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงทั้งหลายไม่ใช่แพศยา ไม่ใช่นางงาม ไม่ใช่หญิงสัญจร ชื่อทั้ง ๓ นี้ ไม่ใช่ชื่อโดยกำเนิด ชื่อโดยกำเนิดว่าแพศยา ว่านางงาม ว่าหญิงสัญจร ก็คือเป็น ผู้ฆ่าหญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนพวกโจร ประทุษร้ายเป็นพิษเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวด เหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือน หลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยากเหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปโดย ส่วนเดียวเหมือนพระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตาม ปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงทั้งหลายมุ่นมวยผมเหมือนโจร ประทุษร้ายเหมือนสุราเจือยาพิษ พูดโอ้อวดเหมือนคนขายของ ตลบตะแลงพลิกแพลงเหมือนเขาเนื้อ สองลิ้นเหมือนงู ปกปิดเหมือนหลุมคูถที่ปิดด้วยกระดาน ให้เต็มได้ยาก เหมือนไฟ ให้ยินดีได้ยากเหมือนรากษส นำไปส่วนเดียวเหมือน พระยายม กินทุกอย่างเหมือนไฟ พัดพาไปทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ ประพฤติตามปรารถนาเหมือนลม ไม่ทำอะไรให้วิเศษเหมือนเขาเมรุมาศ ผลิตผลเป็นนิตย์เหมือนต้นไม้มีพิษ หญิงทั้งหลายเป็นผู้กำสัตว์ไว้ในมือ จนนับไม่ถ้วน ทำโภคสมบัติในเรือนให้พินาศ. [๓๐๑] ดูกรปุณณมุขะ ทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ โคนม ยาน ภรรยา ไม่ควร ให้อยู่ในสกุลอื่น บัณฑิตไม่พึงรักษาทรัพย์ ๔ อย่างนี้ให้อยู่พลาดจากเรือน. คนฉลาดย่อมไม่ฝากทรัพย์ ๔ อย่างนี้ คือ โคผู้ ๑ โคนม ๑ ยาน พาหนะ ๑ ภรรยา ๑ ไว้ในตระกูลญาติ เพราะว่า คนที่ไม่มียานพาหนะ ย่อมใช้รถที่ฝากไว้ ย่อมฆ่าโคผู้เสีย เพราะใช้ลากเข็นเกินกำลัง ย่อม ฆ่าลูกโคเพราะรีดนม ภรรยาย่อมประทุษร้ายในตระกูลญาติ. [๓๐๒] ดูกรสหายปุณณมุขะ สิ่งของ ๖ อย่างนี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์อะไร ไม่ได้ คือ ธนูไม่มีสาย ๑ ภรรยาอยู่ในตระกูลญาติ ๑ เรือที่ฝั่งโน้น ๑ ยาน พาหนะที่เพลาหัก ๑ มิตรอยู่ไกล ๑ สหายลามก ๑ สิ่งของทั้ง ๖ นี้ เมื่อกิจธุระเกิดขึ้น ใช้ประโยชน์ไม่ได้. [๓๐๓] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมดูหมิ่นสามีเพราะเหตุการ ๘ ประการ คือ เพราะสามีเป็นคนจน ๑ เพราะสามีเจ็บกระเสาะกระแสะ ๑ เพราะสามีเป็นคนแก่ ๑ เพราะสามีเป็นนักเลงสุรา ๑ เพราะสามีเป็นคนโง่ ๑ เพราะสามีเป็นคนมัวเมา ๑ เพราะคล้อย ตามในกิจทุกอย่าง ๑ เพราะไม่ก่อให้ทรัพย์ทุกอย่างเกิดขึ้น ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการนี้. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมดูหมิ่นสามีด้วยเหตุ ๘ ประการ คือ ความจน ๑ เจ็บ กระเสาะกระแสะ ๑ เป็นคนแก่ ๑ เป็นนักเลงสุรา ๑ เป็นคนโง่ ๑ เป็นคนมัวเมา ๑ คล้อยตามในกิจทุกอย่าง ๑ ไม่ก่อสิ่งปรารถนาทุกอย่าง ให้เกิดขึ้น ๑. [๓๐๔] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการ คือ หญิงเป็นคนมักไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหา ตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมอง หน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมา ให้สามีเพราะเหตุ ๙ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีถ้อยคำกล่าวเป็นคาถาไว้อีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมนำความประทุษร้ายมาให้สามีด้วยเหตุ ๙ ประการนี้ คือ มัก ไปป่า ๑ มักไปสวน ๑ มักไปท่าน้ำ ๑ มักไปหาตระกูลญาติ ๑ มักไปหาตระกูลอื่น ๑ มักชอบใช้กระจกและชอบประดับประดา ๑ มักดื่มน้ำเมา ๑ มักเยี่ยมมองหน้าต่าง ๑ มักยืนแอบประตู ๑ [๓๐๕] ดูกรสหายปุณณมุขะ หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการคือ ดัดกายหนึ่ง ก้มตัว กรีดกราย ทำอาย แกะเล็บ เอาเท้าเหยียบกัน เอาไม้ขีดแผ่นดิน ทำกระโดดเอง ให้เด็กกระโดด เล่นเอง ให้เด็กเล่น จุมพิตเด็ก ให้เด็กจุมพิต กินเอง ให้เด็กกิน ให้ของแก่เด็ก ขอของจากเด็ก ทำตามที่เด็กกระทำ พูดเสียงสูง พูดเสียงต่ำ พูดเปิดเผย พูดกระซิบ ทำซิกซี้ด้วยการฟ้อน การขับ การประโคม ร้องไห้ กรีดกราย ด้วยการแต่งกาย ทำปึ่ง ยักเอว ส่ายผ้าที่ปิดของลับ เลิกขา ปิดขา ให้เห็นนม ให้เห็นรักแร้ ให้เห็น ท้องน้อย หลิ่วตา เลิกคิ้ว เม้มปาก แลบลิ้น ขยายผ้า กลับนุ่งผ้า สยายผม มุ่นผม ดูกรสหายปุณณมุขะ ได้ยินว่า หญิงย่อมยั่วยวนชายด้วยเหตุ ๔๐ ประการนี้แล. [๓๐๖] ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการ คือ ย่อมพรรณนาการไปแรมคืนของสามี ย่อมไม่ระลึกถึงสามีที่ไปแรมคืน ย่อมไม่ ยินดีกะสามีที่มาแล้ว ย่อมกล่าวโทษสามี ไม่กล่าวคุณแห่งสามี ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็น ประโยชน์แก่สามี ย่อมไม่ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมคลุมหัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น ย่อมนอนพลิก กลับไปมา ย่อมทำวุ่นวายนอนถอนหายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระ ปัสสาวะบ่อยๆ ย่อมประพฤติตรงกันข้าม ได้ยินเสียงชายอื่นย่อมเงี่ยหูฟัง ย่อมล้างผลาญทรัพย์สมบัติ ย่อมทอด สนิทชิดชอบกับชายผู้คุ้นเคย ย่อมออกนอกบ้านเสมอ ประพฤติผิดจากความดี ย่อมประพฤติ นอกใจไม่เคารพในสามี มีใจประทุษร้าย ย่อมยืนอยู่ที่ประตูเนืองๆ ย่อมทำให้เห็นรักแร้ นม ย่อม ไปเพ่งดูทิศต่างๆ ดูกรสหายปุณณมุขะ พึงทราบเถิดว่า หญิงเป็นคนประทุษร้ายสามีด้วยเหตุ ๒๕ ประการนี้แล. และในเรื่องนี้มีคำกล่าวเป็นคาถาอีกส่วนหนึ่งว่า หญิงย่อมพรรณนาการไปแรมทางไกลของสามี ย่อมไม่เศร้าโศกถึงการไป ของสามี ครั้นเห็นสามีกลับมาก็ไม่แสดงความยินดี ย่อมไม่กล่าวคุณ แห่งสามีในกาลไหนๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงผู้ไม่สำรวม ย่อมประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์แก่สามี ย่อมทำ ประโยชน์ของสามีให้เสื่อม ย่อมกระทำกิจที่ไม่สมควรแก่สามี ย่อมคลุม หัวนอน นอนเบือนหน้าไปทางอื่น อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิง ผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมนอนพลิกกลับไปมา ย่อมทำวุ่นวาย นอนถอน หายใจยาว ย่อมทำระทมทุกข์ ย่อมไปอุจจาระปัสสาวะบ่อยๆ อาการ เหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมประพฤติตรงกันข้าม ไม่กระทำกิจที่สมควรแก่สามี ย่อมเงี่ยหูฟังเมื่อชายอื่นพูด ล้างผลาญ โภคสมบัติ กระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายอื่น อาการเหล่านี้ เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมทำทรัพย์สมบัติที่สามีได้มา โดยความลำบาก หามาได้โดยฝืดเคือง เก็บสะสมไว้ได้ด้วยความยาก แค้นให้พินาศ อนึ่ง ย่อมกระทำความสนิทสนมชมชอบกับชายที่คุ้นเคย กัน อาการเหล่านี้เป็นลักษณะของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงออกนอกบ้าน เสมอ ประพฤติผิดจากความดี มีใจคิดประทุษร้ายในสามีอยู่เป็นนิตย์ เป็นผู้ประพฤตินอกใจ ปราศจากความเคารพ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย หญิงย่อมยืนอยู่ที่ใกล้ประตูเนืองๆ แสดงนมบ้าง รักแร้บ้างให้เห็น มีจิตวอกแวกเพ่งดูทิศต่างๆ อาการเหล่านี้เป็นลักษณะ ของหญิงผู้ประทุษร้าย แม่น้ำทั้งปวงมีทางคดเคี้ยว และป่าทั้งปวงรกเรี้ยว ด้วยต้นไม้ ฉันใด หญิงทั้งปวงเมื่อได้ช่อง (ที่ลับ) พึงกระทำกรรมอัน ลามกฉันนั้น ถ้าว่าพึงได้โอกาส ที่ลับ หรือพึงได้ช่องเช่นนั้น หญิง ทั้งปวงพึงกระทำกรรมอันลามกเป็นแน่ ไม่ได้ชายที่สมบูรณ์อื่น ก็ย่อม ทำกับคนเปลี้ย ในพวกนารีที่หลายใจ เป็นผู้กระทำความยั่วยวนแก่ชาย ทั้งหลาย ไม่มีใครข่มขี่ได้ ถ้านารีเหล่าใดแม้จะทำให้พอใจโดยประการ ทั้งปวง ก็ไม่ควรวางใจในนารีเหล่านั้น เพราะว่า นารีเหล่านั้นเสมอด้วย ท่าน้ำ. [๓๐๗] บัณฑิตได้เห็นเรื่องอย่างไร ของพระเจ้ากินนรและพระนางกินนรีเทวี แล้วพึงรู้เถิดว่า หญิงทั้งปวงย่อมไม่ยินดีในเรือนของตน พระนาง กินนรีเทวีทรงเห็นบุรุษอื่น แม้จะเป็นคนง่อยเปลี้ย ยังละทิ้งพระราช- สวามีเช่นพระเจ้ากินนร ไปทำกรรมอันลามกกับบุรุษเปลี้ยนั้นได้. [๓๐๘] พระเจ้าพกะและพระเจ้าพาวรีย์ ทรงหมกมุ่นอยู่ในกามเกินส่วน พระ มเหสียังประพฤติอนาจารกับคนรับใช้ใกล้ชิด ซ้ำตกอยู่ในอำนาจ พึงมีหรือที่ หญิงจะไม่ประพฤติล่วงชายอื่น นอกจากคนนั้น. [๓๐๙] พระนางปิงคิยานีพระนางมเหสีที่รักของพระเจ้าพรหมทัตผู้เป็นใหญ่ในโลก ทั้งปวง ได้ประพฤติอนาจารกับคนเลี้ยงม้าผู้ใกล้ชิดและเป็นไปในอำนาจ พระนางปิงคิยานีผู้ใคร่กามนั้น ไม่ได้ประสบความใคร่ทั้งสองราย. [๓๑๐] บุรุษผู้ไม่ถูกผีสิง ไม่ควรเชื่อหญิงทั้งหลายผู้หยาบช้า ใจเบา อกตัญญู ประทุษร้ายมิตร หญิงเหล่านั้นไม่รู้จักสิ่งที่กระทำแล้ว สิ่งที่ควรกระทำ ไม่รู้จักมารดาบิดาหรือพี่น้อง ไม่มีละอาย ล่วงเสียซึ่งธรรม ย่อมเป็น ไปตามอำนาจจิตของตนเมื่อมีอันตราย และเมื่อกิจเกิดขึ้น ย่อมละทิ้ง สามีแม้จะอยู่ด้วยกันมานาน เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่อนุเคราะห์ แม้เสมอกับชีวิต เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย จริง อยู่ จิตของหญิงเหมือนจิตของวานร ลุ่มๆ ดอนๆ เหมือนเงาไม้ หัวใจของหญิงไหวไปไหวมา เหมือนล้อรถที่กำลังหมุน เมื่อใด หญิง ทั้งหลายผู้มุ่งหวัง เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรจะถือเอาได้ เมื่อนั้น ก็ใช้ วาจาอ่อนหวานชักนำบุรุษไปได้ เหมือนชาวกัมโพชลวงม้าด้วยสาหร่าย ฉะนั้น เมื่อใด หญิงทั้งหลายผู้มุ่งหวัง ไม่เห็นทรัพย์ของบุรุษที่ควรถือ เอาได้ เมื่อนั้น ย่อมละทิ้งบุรุษนั้นไป เหมือนคนข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้ว ละทิ้งแพไป ฉะนั้น หญิงทั้งหลายเปรียบด้วยเครื่องผูกรัด กินทุกอย่าง เหมือนเปลวไฟ มีมายากล้าแข็ง เหมือนแม่น้ำมีกระแสเชี่ยว ย่อมคบ บุรุษได้ ทั้งที่น่ารัก ทั้งที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดไม่เลือกฝั่งนี้ฝั่งโน้น ฉะนั้น หญิงทั้งหลายไม่ใช่ของบุรุษคนเดียวหรือสองคน ย่อมรับรองทั่ว ไปเหมือนร้านตลาด ผู้ใดสำคัญมั่นหมายหญิงเหล่านั้นว่าของเรา ก็ เท่ากับดักลมด้วยตาข่าย แม่น้ำ หนทาง ร้านเหล้า สภาและบ่อน้ำ ฉันใด หญิงในโลกก็ฉันนั้น เขตแดนของหญิงเหล่านั้นไม่มี หญิงทั้ง หลายเสมอด้วยไฟกินเปรียง เปรียบด้วยงูเห่า ย่อมเลือกคบแต่บุรุษที่ มีทรัพย์ เหมือนโคเลือกกินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก ฉะนั้น ไฟกิน เปรียง ๑ ช้างสาร ๑ งูเห่า ๑ พระราชาผู้ได้รับมูรธาภิเษกแล้ว ๑ หญิง ทั้งปวง ๑ สิ่งทั้ง ๕ นี้ นรชนพึงคบด้วยความระวังเป็นนิตย์ เพราะ สิ่งทั้ง ๕ นี้ มีความแน่นอนที่รู้ได้ยากแท้ หญิงที่งามเกินไป ๑ หญิง ที่คนหมู่มากไม่รักใคร่ ๑ หญิงที่เหมือนมือขวา ๑ หญิงที่เป็นภรรยาคน อื่น ๑ หญิงที่คบหาด้วยเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ๑ หญิง ๕ จำพวกนี้ ไม่ ควรคบ. [๓๑๑] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญาแร้งชื่ออานนท์ รู้แจ้งซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลาง และที่สุด ของพญานกกุณาละแล้ว ได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ถ้าบุรุษจะพึงให้แผ่นดินอันเต็มด้วยทรัพย์นี้ แก่หญิงที่ตนนับถือไซร้ หญิงนั้นได้โอกาสก็จะพึงดูหมิ่นบุรุษนั้น เราจึงไม่ยอมตกอยู่ในอำนาจ ของพวกหญิงเผลอเรอ เมื่อมีอันตรายและเมื่อกิจธุระเกิดขึ้น หญิงย่อม ละทิ้งผัวหนุ่มผู้หมั่นขยัน มีความประพฤติไม่เหลาะแหละ เป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เพราะฉะนั้น เราจึงไม่วิสาสะกับหญิงทั้งหลาย บุรุษไม่ ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ปรารถนาเรา ไม่ควรวางใจว่า หญิงคนนี้ร้องไห้ กระซิกกระซี้เรา เพราะว่า หญิงทั้งหลายย่อมคบได้ทั้งบุรุษที่น่ารัก ทั้ง บุรุษที่ไม่น่ารัก เหมือนเรือจอดได้ทั้งฝั่งโน้นฝั่งนี้ ฉะนั้น ไม่ควรวิสาสะ กะใบไม้ลาดที่เก่า ไม่ควรวิสาสะกะมิตรเก่าที่เป็นโจร ไม่ควรวิสาสะกะ พระราชาว่า เป็นเพื่อนของเรา ไม่ควรวิสาสะกะหญิงแม้จะมีลูก ๑๐ คน แล้ว ไม่ควรวิสาสะในหญิงที่กระทำความยินดีให้ เป็นผู้ล่วงศีล ไม่ สำรวม ถึงแม้ภรรยาจะพึงเป็นผู้มีความรักแน่นแฟ้น ก็ไม่ควรวางใจ เพราะว่าหญิงทั้งหลายเสมอกับท่าน้ำ หญิงทั้งหลายพึงฆ่าชายก็ได้ พึงตัด เองก็ได้ พึงใช้ให้ผู้อื่นตัดก็ได้ พึงตัดคอแล้วดื่มเลือดกินก็ได้ อย่าพึง กระทำความสิเนหาในหญิงผู้มีความรักใคร่อันเลวทราม ผู้ไม่สำรวม ผู้ เปรียบเทียบด้วยท่าน้ำ คำเท็จของหญิงเหมือนคำจริง คำจริงของหญิง เหมือนคำเท็จ หญิงทั้งหลายย่อมเลือกคบแต่ชายที่มีทรัพย์ ดังโคเลือก กินหญ้าที่ดีๆ ในภายนอก หญิงทั้งหลายย่อมประเล้าประโลมชายด้วย การเดิน การจ้องดู ยิ้มแย้ม นุ่งผ้าหลุดๆ ลุ่ยๆ และพูดเพราะ หญิง ทั้งหลายเป็นโจร หัวใจแข็ง ดุร้าย เป็นน้ำตาลกรวด ย่อมไม่รู้อะไรๆ ว่าเป็นเครื่องล่อลวงในมนุษย์ธรรมดาหญิงในโลกเป็นคนลามก ไม่มีเขต แดน กำหนัดนักทุกเมื่อ และคะนอง กินไม่ควร เหมือนเปลวไฟ ไหม้เชื้อทุกอย่าง บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รักก็ไม่มี เพราะหญิงทั้งหลาย ย่อมคบบุรุษได้ทั้งที่รักทั้งที่ไม่รัก เหมือนเรือจอด ได้ทั้งฝั่งนี้และฝั่งโน้น บุรุษชื่อว่าเป็นที่รักของหญิงไม่มี ไม่เป็นที่รัก ก็ไม่มี หญิง ย่อมผูกพันชายเพราะต้องการทรัพย์เหมือนเถาวัลย์พันไม้ หญิงทั้งหลาย ย่อมติดตามชายที่มีทรัพย์ ถึงจะเป็นคนเลี้ยงช้าง เลี้ยงม้า เลี้ยงโค คนจัณฑาล สัปเหร่อ คนเทหยากเยื่อ ก็ช่าง หญิงทั้งหลาย ย่อมละทิ้งชายผู้มีตระกูล แต่ไม่มีอะไร เหมือนซากศพ แต่ติดตามชายเช่นนั้นได้เพราะเหตุแห่งทรัพย์. [๓๑๒] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พราหมณ์ผู้ประเสริฐชื่อนารทะ รู้ชัดซึ่งคาถาทั้งเบื้องต้น ท่ามกลางและที่สุดของพญาแร้งอานนท์แล้ว ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า ดูกรพญานก ท่านทั้งหลายจงฟังข้าพเจ้ากล่าว มหาสมุทร ๑ พราหมณ์ ๑ พระราชา ๑ หญิง ๑ สี่อย่างนี้ ย่อมไม่ เต็มแม่น้ำสายใด สายหนึ่งอาศัย แผ่นดิน ไหลไปสู่มหาสมุทร แม่น้ำเหล่านั้นก็ยังมหาสมุทรให้เต็มไม่ได้ เพราะฉะนั้นมหาสมุทรชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง ส่วนพราหมณ์เรียน เวทอันมีการบอกเป็นที่ห้าได้แล้ว ยังปรารถนาการเรียนยิ่งขึ้นไปอีก เพราะฉะนั้น พราหมณ์จึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง พระราชาทรง ชนะแผ่นดินทั้งหมด อันบริบูรณ์ด้วยรัตนะนับไม่ถ้วน พร้อมทั้ง มหาสมุทรและภูเขา ครอบครองอยู่ ก็ยังปรารถนามหาสมุทรฝั่งโน้นอีก เพราะฉะนั้น พระราชาจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงคนหนึ่งๆ มีสามีคนละ ๘ คน สามีล้วนเป็นคนแกล้วกล้า มีกำลังสามารถนำมาซึ่ง กามรสทุกอย่าง หญิงยังกระทำความพอใจในชายคนที่ ๙ อีก เพราะฉะนั้น หญิงจึงชื่อว่าไม่เต็ม เพราะยังพร่อง หญิงทุกคนกินทุกอย่างเหมือน เปลวไฟ พาไปได้ทุกอย่างเหมือนแม่น้ำ เหมือนกิ่งไม้มีหนาม ย่อมละ ชายไปเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ชายใดพึงวางความรักทั้งหมดในหญิง ชาย นั้นเหมือนดักลมด้วยตาข่าย เหมือนตักน้ำใส่มหาสมุทรด้วยมือข้างเดียว จะพึงได้ยินแต่เสียงมือของตน ภาวะของหญิงที่เป็นโจร รู้มาก หาความ จริงได้ยาก เป็นอาการที่ใครๆ รู้ได้ยาก เหมือนรอยทางปลาในน้ำฉะนั้น หญิงไม่มีความพอ อ่อนโยน พูดเพราะ ให้เต็มได้ยาก เสมอแม่น้ำ ทำ ให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล หญิงเป็นเหมือน น้ำวน มีมายามาก ทำพรหมจรรย์ให้กำเริบ ทำให้ล่มจม บุคคลรู้ดังนี้ แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกล เมื่อหญิงคบบุรุษใด เพราะความพอใจ หรือเพราะเหตุแห่งทรัพย์ ย่อมเผาบุรุษนั้นโดยพลัน เหมือนไฟป่าเผา สถานที่เกิดของตน ฉะนั้น. [๓๑๓] ได้ยินว่า ในครั้งนั้น พญานกกุณาละรู้แจ้งแล้ว ซึ่งเบื้องต้นท่ามกลาง และที่สุดแห่งคาถา ของนารทพราหมณ์ผู้ประเสริฐ จึงได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ในเวลานั้นว่า บัณฑิตพึงเจรจากับบุรุษผู้ถือดาบอย่างคมกล้า พึงเจรจากับปีศาจผู้ดุร้าย แม้จะพึงเข้าไปนั่งใกล้งูพิษร้าย แต่ไม่ควรเจรจากับหญิงตัวต่อตัว เพราะ ว่าหญิงเป็นผู้ย่ำยีจิตของโลก ถืออาวุธ คือ การฟ้อนรำ ขับร้องและการ เจรจา ย่อมเบียดเบียนบุรุษผู้ไม่ตั้งสติไว้ เหมือนหมู่รากษสที่เกาะเบียด เบียนพวกพ่อค้าฉะนั้น หญิงไม่มีวินัย ไม่มีสังวร ยินดีในน้ำเมาและ เนื้อสัตว์ ไม่สำรวม ผลาญทรัพย์ที่บุรุษหามาได้โดยยากให้ฉิบหาย เหมือนปลาติมิงคละกลืนกินมังกรในทะเล ฉะนั้น หญิงมีกามคุณ ๕ อัน น่ายินดี เป็นทำเลหากิน เป็นคนหยิ่ง จิตไม่เที่ยงตรง ไม่สำรวม ย่อม เข้าไปหาชายผู้ประมาทเหมือนแม่น้ำทั้งหลาย อันไหลไปสู่มหาสมุทร ฉะนั้น หญิงได้ชื่อว่าฆ่าชายด้วยราคะ และโทสะ เข้าไปหาชายคนใด เพราะความพอใจ เพราะความกำหนัด หรือเพราะต้องการทรัพย์ ย่อม เผาชายเช่นนั้นเสีย เช่นดังเปลวไฟ หญิงรู้ว่าชายมั่งคั่ง มีทรัพย์มาก ย่อมเข้าไปหาชาย ยอมให้ทั้งทรัพย์และตนเอง ย่อมเกาะชายที่มีจิตถูก ราคะย้อม เหมือนเถาย่านทรายเกาะไม้สาละในป่า ฉะนั้น หญิงประดับ ร่างกายหน้าตาให้สวย เข้าไปหาชายด้วยความพอใจมีประการต่างๆ ทำ ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่ ใช้มารยาตั้งร้อย เหมือนดังคนเล่นกลและอสุรินทรราหู หญิงประดับประดาด้วยทอง แก้วมณีและมุกดา ถึงจะมีคนสักการะและ รักษาไว้ในตระกูลสามี ก็ยังประพฤตินอกใจสามี ดังหญิงที่อยู่ใน ทรวงอก ประพฤตินอกใจทานพ ฉะนั้น จริงอยู่ นรชนผู้มีปัญญาเครื่อง พิจารณา แม้จะมีเดช มีมหาชนสักการะบูชา ถ้าตกอยู่ในอำนาจของ หญิงแล้ว ย่อมไม่รุ่งเรือง เหมือนพระจันทร์ ถูกราหูจับฉะนั้น โจรผู้มี จิตโกรธ คิดประทุษร้าย พึงกระทำแก่โจรอื่นซึ่งเป็นข้าศึกที่มาประจัญ หน้า ส่วนผู้ตกอยู่ในอำนาจหญิง ไม่มีอุเบกขา ย่อมเข้าถึงความ พินาศยิ่งกว่านั้นอีก หญิงถึงจะถูกชายฉุดกระชากลากผมและหยิกข่วน ด้วยเล็บ คุกคามทุบตีด้วยเท้า ด้วยมือและท่อนไม้ ก็กลับวิ่งเข้าหา เหมือนหมู่แมลงวันที่ซากศพ ฉะนั้น บุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดักไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. [๓๑๔] พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล

"ดูก่อนอุปกะ" พระศาสดาตรัสตอบ "เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน" พอได้ยินคำว่า "อุปกะ" เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่งเมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน "อุปกะ" พระองค์ตรัสต่อไป "หลังจาก จากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?" อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอด แล้วทูลเพิ่มเติมว่า "พระองค์ผู้เจริญ! ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลก โปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด" พูดเท่านั้นแล้วเขาก็ซบศีรษะลงแทบพระบาทมูลแห่งพระศาสดา พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า "ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากมาย การอยู่ร่วมกับคนพาล เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย! เครื่องจองจำที่ทำด้วยเชือก เหล็กหรือโซ่ตรวนใดๆ เราไม่กล่าวว่าเป็นเครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพอันไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูปเป็นต้นนั้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อยๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด

“ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง”

อุปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก “เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง” ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’ ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ - มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู - ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา - แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว - สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น - ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ - ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า “ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง” นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9ปกะคิดถึงเพื่อน เขาไม่มีเพื่อนเลยทีเดียวหรือในโลกนี้ คิดทบทวนอยู่เป็นเวลานาน ในที่สุดภาพแห่งนักพรตรูปงามมีสง่าราศีก็ปรากฏขึ้นในห้วงนึก “เขาบอกว่าเขาชื่ออนันตชิน” อุปกะปรารภกับตนเอง “มีลักษณะดี มีแววแห่งความเมตตากรุณา คนอย่างนี้มันไม่ปฏิเสธคำขอร้องของผู้ตกยากบากหน้ามาพึ่งพิง” ประกอบด้วยบูรพูปนิสัยอันแก่กล้า มีบารมีที่แก่เต็มที่แล้วคอยเตือน ในราตรีที่ดึกสงัดได้ยินเสียงน้ำค้างตกสู่ใบไม้ อุปกะตัดสินใจแน่วแน่ที่จะจากหมู่บ้านพรานเนื้อไป...ไปหาสหายซึ่งพบกันเพียงครู่เดียว แต่ลักษณะและวาจาเป็นที่ประทับใจของเขายิ่งนัก เขาชื่อ ‘อนันตชิน’ ในขณะนั้นแรงเร้าแห่งความรักลูกผุดพลุ่งขึ้นมา ทำให้เขาต้องถอนใจ ความอาลัยในลูกมีมากพอที่ช่วยหน่วงเหนี่ยวเขาไว้อีก ทำให้เขาคิด เมื่อคิดถึงลูกน้อย จิตใจของอุปกะรู้สึกอ่อนลง ดูเหมือนจะไม่อาจจากไปได้ แต่บารมีที่เคยบำเพ็ญมา ซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหายได้มาเตือน และเร่งเร้าให้เขาคิดถึงพระอนันตชินอย่างแรง คืนนั้นเองอุปกะได้จัดแจงห่อของเท่าที่เป็นของตน และพอพาติดตัวไปได้ เตรียมออกจากวังหการชนบท ก่อนออกเดินทางเขาอดที่จะมองลูกด้วยความอาลัยมิได้ ปุตตวิปโยคเป็นความเศร้าอย่างใหญ่หลวงสำหรับบิดา แต่ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจออกจากวังกหารคามตอนดึกสงัดคืนนั้น เวลานี้จิตใจของเขาคำนึงถึงแต่ภาพแห่งนักพรตรูปงามผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ มีหลายครั้งที่เขาจะหวนกลับมาหาลูกน้องและบิดา (นายพราน) ผู้มีความปรารถนาดีต่อเขาตลอดมา แต่ความระอาใจต่อสุชาวดี ทำให้เขาหันหลังกลับมุ่งหน้าไปหาสหายอนันตชิน ซึ่งเขาก็ไม่แน่ใจว่าเวลานี้อยู่แห่งหนตำบลใด ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ - มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู - ความรู้เป็นประดุจยาพิษ เพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษ เพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา - แสงจันทร์และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว - สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้ภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขมหรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้ สตรีจึงเอาใจออกห่างผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น - ความรักในสมบัติ ความรักชีวิต ย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไปทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ - ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมย์ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่า ‘อนันตชิน’ เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล ปัจจุสกาล (ใกล้รุ่ง) วันนั้น พระอนันตชินสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงแผ่ข่ายพระญาณออกครอบจักรวาล มองดูอุปนิสัยแห่งเวไนยสัตว์ที่พระองค์พอจะโปรดได้ อุปกะเข้าไปในข่ายพระญาณแห่งพระองค์ ทรงทราบโดยตลอดว่า เช้าวันนี้อุปกะจะมาถึงเชตวัน จึงเสด็จออกจากพระคันธกุฎี รับสั่งให้ประชุมสงฆ์ในเชตวนารามทั้งหมด แล้วตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย วันนี้ถ้ามีอาคันตุกะมาถามหาบุคคลผู้มีนามว่าอนันตชิน ก็ขอให้พาไปหาเราที่คันธกุฎี” ตรัสเท่านี้แล้ว ทรงให้โอวาทภิกษุสงฆ์เป็นกรณีพิเศษ เกี่ยวกับเรื่องความเคารพในปฏิสันถาร มีอาทิว่า “ภิกษุทั้งหลาย ผู้เคารพหนักแน่นในพระศาสดา ในพระธรรม มีความยำเกรงในสงฆ์ มีความเคารพหนักแน่นในสมาธิ มีความเพียร เครื่องเผาบาป เคารพในไตรสิกขา และเคารพในปฏิสันถารการต้อนรับอาคันตุกะ ผู้เช่นนั้นย่อมไม่เสื่อม ดำรงอยู่ใกล้พระนิพพาน” ตอนสายวันนั้นเอง อุปกะก็มาถึงบริเวณเชตวนารามอันร่มรื่น เห็นภิกษุทั้งหลายกำลังสาธยายธรรมบ้าง ทำกิจอย่างอื่นเป็นต้นว่านั่งเป็นกลุ่ม ๆ สนทนาธรรมบ้าง เขาเข้าไปหาภิกษุกลุ่มหนึ่ง นมัสการแล้วกล่าวขึ้นว่า “พระคุณเจ้าผู้เจริญ ข้าพเจ้ามีสหายผู้หนึ่งนามว่า ‘อนันตชิน’ เขาเป็นนักพรตที่สง่างาม ผิวพรรณผ่องใส ใบหน้าอิ่มเอิบ มีแววแห่งความกรุณาฉายออกมาทางดวงตาทั้งสอง ใช้เครื่องนุ่งห่มอย่างท่านนี้ ท่านพอจะรู้จักผู้ซึ่งข้าพเจ้าเอ่ยนามถึงนี้อยู่บ้างหรือไม่?” ภิกษุกลุ่มนั้นมองตากันแล้วยิ้ม ๆ ด้วยความอัศจรรย์ใจในการทราบเหตุการณ์ล่วงหน้าของพระศาสดา ก็พระองค์ตรัสสั่งไว้เมื่อเช้านี้เองว่า ถ้ามีคนมาถามหาพระอนันตชิน ให้พาไปเฝ้าพระองค์ ดังนั้นภิกษุหนุ่มรูปหนึ่งจึงกล่าวขึ้นว่า “อุบาสก พระอนันตชินเป็นศาสดาแห่งเราทั้งหลาย พวกเราเป็นสาวกของพระองค์ ไฉนเล่าพวกเราจะไม่รู้จักพระผู้มีนามเช่นนั้น มาเถิด ตามข้าพเจ้ามา จะนำไปเฝ้าพระอนันตชินพระองค์นั้น” ว่าแล้วได้ลุกเดินนำอุปกะไป ถึงพระคันธกุฎี พระพุทธองค์ทรงรอคอยอยู่แล้ว พระผู้มีพระภาคทรงเปล่งพระรัศมีซ่านออกจากพระกายทั้ง ๖ สี ดุจเดียวกับวันที่พระองค์ได้พบอุปกะครั้งแรกเมื่อตรัสรู้ใหม่ ๆ อุปกะก้มลงกราบพระมงคลบาทแห่งพระศาสดา มีน้ำตานองหน้ากราบทูลว่า “ข้าแต่พระอนันตชิน ท่านยังจำข้าพเจ้าได้อยู่หรือ? ข้าพเจ้าเคยพบท่านครั้งหนึ่งแขวงเมืองพาราณสีเป็นเวลาหลายปีมาแล้ว” “ดูก่อนอุปกะ” พระศาสดาตรัสตอบ “เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน” พอได้ยินคำว่า “อุปกะ” เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้นี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่ง เมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน “อุปกะ” พระองค์ตรัสต่อไป “หลังจากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ? เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?” อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอดแล้วทูลเพิ่มเติมว่า “พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลกโปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด” พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่ง แล้วตรัสว่า “ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากหลาย การอยู่ร่วมกับคนพาลเป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย เครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพ ไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อน ๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูป เป็นต้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อย ๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด “ดูก่อนอุปกะ เราจะขอสาธกให้ฟังสักเรื่องหนึ่ง” นานมาแล้ว มีมานพหนุ่มน้อยลามารดาบิดาไปเรียนศิลปวิทยา ณ สำนักทิศาปาโมกข์ เมืองตักสิลา เมื่อเรียนจบแล้วจึงลาอาจารย์กลับบ้าน มารดาต้อนรับเขาด้วยความยินดียิ่ง เมื่อสนทนากันไป มารดาถามว่า ลูกได้เรียนอสาตมนต์แล้วหรือ ลูกชายตอบว่า ยังไม่ได้เรียน มารดาจึงขอร้องให้ไปเรียนอสาตมนต์เสียก่อน เขาจึงลามารดาไปหาอาจารย์ กราบเรียนให้อาจารย์ทราบว่ายังมีมนต์สำคัญอยู่อย่างหนึ่งซึ่งเขายังมิได้เรียนจากอาจารย์ มารดาของเขาขอร้องไห้มาเรียนอสาตมนต์ อาจารย์ได้ทราบดังนั้นยินดียิ่งนัก จึงกล่าวว่า “มานพ เวลานี้เรามาพักอยู่ในป่า ไม่มีใครเลยนอกจากเราและมารดาผู้ชราของเรา เธอจงปฏิบัติบำรุงมารดาของเราสักชั่วระยะเวลาหนึ่ง แล้วเราจะบอกอสาตมนต์ให้

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9 "ดูก่อนอุปกะ" พระศาสดาตรัสตอบ "เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน" พอได้ยินคำว่า "อุปกะ" เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่งเมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน "อุปกะ" พระองค์ตรัสต่อไป "หลังจาก จากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?" อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอด แล้วทูลเพิ่มเติมว่า "พระองค์ผู้เจริญ! ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลก โปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด" พูดเท่านั้นแล้วเขาก็ซบศีรษะลงแทบพระบาทมูลแห่งพระศาสดา พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า "ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากมาย การอยู่ร่วมกับคนพาล เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย! เครื่องจองจำที่ทำด้วยเชือก เหล็กหรือโซ่ตรวนใดๆ เราไม่กล่าวว่าเป็นเครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพอันไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูปเป็นต้นนั้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อยๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด

พระอนันตชินพระอานนท์พระพุทธอนุชา ลำดับที่ 9 "ดูก่อนอุปกะ" พระศาสดาตรัสตอบ "เรารอคอยการมาของท่านอยู่ การมาของท่านครั้งนี้จะเป็นประโยชน์ใหญ่หลวงแก่ท่าน" พอได้ยินคำว่า "อุปกะ" เท่านั้น ปีติปราโมชก็แผ่ไปทั่วสรรพางค์ของอุปกะ ชื่อใดเล่าในโลกนี้จะไพเราะอ่อนหวานยิ่งกว่าชื่อของตนเอง ทุกคนจะดีใจเป็นที่ยิ่งเมื่อทราบว่าผู้อื่นจำชื่อของตนได้อย่างแม่นยำ หลังจากพรากกันไปเป็นเวลานาน "อุปกะ" พระองค์ตรัสต่อไป "หลังจาก จากกันคราวนั้นแล้วท่านไปอยู่ที่ไหน ทำอะไร พอทนได้อยู่หรือ เมื่อก่อนนี้ดูท่านทรงเพศเป็นนักบวช บัดนี้ทำไมจึงเปลี่ยนแปลงไป?" อุปกะได้เล่าความหลังทั้งมวลให้พระศาสดาทราบโดยตลอด แล้วทูลเพิ่มเติมว่า "พระองค์ผู้เจริญ! ข้าพระองค์เดินหลงทางอยู่เป็นเวลานาน บัดนี้มาพบพระองค์เป็นครั้งที่สอง คงจะดำเนินไปสู่ทางที่ถูกต้อง พระองค์ผู้อนุเคราะห์โลก โปรดอนุเคราะห์ข้าพระองค์ด้วยเถิด" พูดเท่านั้นแล้วเขาก็ซบศีรษะลงแทบพระบาทมูลแห่งพระศาสดา พระจอมมุนีศรีศากยบุตร ประทับนิ่งอยู่ครู่หนึ่งแล้วตรัสว่า "ดูก่อนอุปกะ การครองเรือนเป็นเรื่องยาก เรือนที่ครองไม่ดีย่อมก่อทุกข์ให้มากมาย การอยู่ร่วมกับคนพาล เป็นความทุกข์อย่างยิ่ง อุปกะเอย! เครื่องจองจำที่ทำด้วยเชือก เหล็กหรือโซ่ตรวนใดๆ เราไม่กล่าวว่าเป็นเครื่องจองจำที่แข็งแรงทนทานเลย แต่เครื่องจองจำคือ บุตร ภรรยา ทรัพย์สมบัตินี่แล รึงรัดมัดผูกสัตว์ทั้งหลายให้ติดอยู่ในภพอันไม่มีที่สิ้นสุด เครื่องผูกที่ผูกหย่อนๆ แต่แก้ได้ยาก คือ บ่วงบุตร ภรรยา และทรัพย์สมบัตินี่เอง รูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะ นั้นเป็นเหยื่อของโลก เมื่อบุคคลยังติดอยู่ในรูปเป็นต้นนั้น เขาจะพ้นจากโลกมิได้เลย ไม่มีรูปใดที่จะรัดรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูปแห่งสตรี ดูก่อนอุปกะ ผู้ยังตัดอาลัยในสตรีมิได้ ย่อมจะต้องเวียนเกิดเวียนตายอยู่ร่ำไป แม้สตรีก็เช่นเดียวกัน ถ้ายังตัดอาลัยในบุรุษไม่ได้ ย่อมประสบทุกข์บ่อยๆ กิเลสนั้นมีอำนาจครอบคลุมอยู่โดยทั่ว ไม่เลือกว่าในวัยและเพศใด

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง "เมื่อคืนปลุกเสกพระหมาไม่หอน งวดนี้ไม่ให้หมาเห็น เพราะ 2งวดก่อนมาให้หมาเห็นเห่ากันเจี๊ยวจ๊าว รุ่นนี้แอบไม่ให้หมาเห็น เมื่อคืนปลุกเสกรุ่นยันกลับ (ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด)" 

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด

เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิดการเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม

ก ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม

การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนามประวัติ พระโมฆราชเถระ ๑. สถานะเดิม พระโมฆราชเถระ ชื่อเดิม โมฆราช เป็นวรรณะกษัตริย์ เป็นชาวโกศล บิดาและมารดาไม่ปรากฎชื่อ เพราะมีโรคประจำตัวที่รักษาไม่หาย ได้รับความทุกข์ทรมานมาก แม้จะเป็นคนใหญ่โตและมีทรัพย์สมบัติมากมายก็ช่วยไม่ได้ จึงได้ชื่อว่า โมฆราช แปลว่า ราชาผู้หาความสุขไม่ได้ ๒. ชีวิตก่อนบวชในพระพุทธศาสนา เพราะท่านได้เห็นโทษของร่างกาย จึงออกบวชเป็นฤาษีมอบตัวเป็นศิษย์ของพราหมณ์พาวรี พราหมณ์พาวรีนั้นมีศิษย์เป็นจำนวนมาก ท่านกล่าวว่ามีถึง ๑๖,๐๐๐ คน แต่ที่เป็นศิษย์ผู้ใหญ่มีอยู่ ๑๖ คน คือ อชิตะ ติสสะ เมตเตยยะ ปุณณกะ เมตตคู โธตกะ อุปสีวะ นันทะ เหมกะ โตเทยยะ กัปป์ปะ ชาตุกัณณี ภัทราวุธ อุทยะ โปสาละ โมฆราช ปิงคิยะ ๓. มูลเหตุแห่งการบวชในพระพุทธศาสนา พราหมณ์พาวรีได้ทราบข่าวว่า พระสิทธัตถกุมารเสด็จออกบรรพชา ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ สนใจใคร่จะสอบสวนหาความจริง จึงเรียกศิษย์ทั้ง ๑๖ คน มีอชิตะเป็นหัวหน้า ผูกปัญหาให้คนละหมวด ส่งไปเฝ้าพระศาสดาซึ่งประทับอยู่ที่ปาสาณเจดีย์ เพื่อทูลถามปัญหา ศิษย์ทั้ง ๑๖ คน ได้ปฏิบัติตามคำของอาจารย์ เมื่อพระศาสดาแก้ปัญหาของพวกเขาจบลง ๑๕ คน ได้บรรลุพระอรหัตผล ส่วนปิงคิยมาณพได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผล เพราะจิตใจสับสนไม่แน่วแน่ ห่วงแต่พราหมณ์พาวรี ผู้ที่เป็นทั้งลุงและอาจารย์ ไม่ได้ส่งญาณตามเทศนาโดยตลอด เฉพาะโมฆราชมาณพได้ทูลถามปัญหาว่า ข้าพระองค์จะพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่เห็น พระศาสดาได้ตรัสตอบว่า ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวตนเสีย บุคคลพึงข้ามพ้นมัจจุราชไปได้ด้วยอุบายเช่นนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงจะไม่เห็น ๔. วิธีอุปสมบท เมื่อโมฆราชมาณพฟังพระศาสดาแก้ปัญหาจบลง จิตของเขาก็หลุดพ้นจากอาสวะ ทั้งปวง ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน จึงได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทกับพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์ พึงได้บรรพชาอุปสมบทในสำนักของพระผู้มีพระภาค พระศาสดาตรัสแก่เขาว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมวินัยเรากล่าวไว้ดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด ๕. งานประกาศพระศาสนา พระโมฆราชเถระ เพราะท่านมีร่างกายเป็นแผลที่รักษาไม่หาย จึงถูกกีดกันไม่ให้เข้าอยู่ในเสนาสนะของสงฆ์ ท่านจึงอยู่ตามโคนไม้และที่แจ้ง ไปเก็บผ้าตามกองขยะมาทำไตรจีวรนุ่งห่ม ทำให้เป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของบุคคลประเภทลูขัปปมาณิกา คือผู้ศรัทธาเลื่อมใสหนักไปทางใช้ชีวิตปอน ๆ นับว่าท่านได้เป็นกำลังสำคัญรูปหนึ่งในการประกาศพระศาสนาด้วยปฏิปทาปอน ๆ ของท่านทั้งในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ และเป็นทิฏฐานุคติแก่คนที่เกิดมาภายหลัง เมื่อท่านนิพพานไปแล้ว ๖. เอตทัคคะ พระโมฆราชเถระนี้ ตั้งแต่บวชในพระพุทธศาสนา ได้ใช้จีวรที่ปอนมาตลอด ต่อมาพระศาสดาประทับอยู่ที่พระเชตวัน ทรงตั้งพระเถระทั้งหลายไว้ในฐานันดรต่าง ๆ ได้ตั้งท่านไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรอันเศร้าหมองในศาสนาของพระองค์ ๗. บุญญาธิการ พระโมฆราชเถระ ได้สร้างสมคุณความดีที่เป็นเหตุแห่งนิพพานมาสิ้นกาลนาน ในสมัย พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ ได้เห็นพระศาสดาทรงตั้งภิกษุรูปหนึ่งไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรบังสุกุล จึงได้สร้างสมคุณความดีแลัวปรารถนาตำแหน่งนั้น ได้ทำบุญมาตลอดหลายพุทธันดร จนชาติสุดท้ายได้ถือกำเนิดเกิดในเรือนพราหมณ์ในพระนครสาวัตถี ก่อนที่พระทศพลของเราทั้งหลายจะเสด็จอุบัติ และได้ถึงฝั่งแห่งสาวกบารมีญาณตามปณิธานที่ได้ตั้งเอาไว้ดังกล่าวแล้ว ๘. ธรรมวาทะ เราได้ฟังพุทธพยากรณ์นั้นแล้ว ก็เบิกบานใจ ถวายบังคมพระพิชิตมารด้วยเศียรเกล้าทำแต่กรรมที่ดีงามในศาสนาของพระชินเจ้าตราบเท่าสิ้นชีวิต เพราะกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และเพราะการตั้งเจตน์จำนงเอาไว้ เราละร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพราะกรรมคือการเอาไฟเผาลนพื้นหอฉัน เราจึงถูกทุกขเวทนาเบียดเบียน ไหม้ในนรกพันปี ด้วยเศษกรรมนั้นที่ยังเหลือ เราเกิดเป็นมนุษย์ ต้องมีรอยตำหนิในร่างกายถึง ๕๐๐ ชาติ เพราะอำนาจของกรรมนั้น เราเป็นโรคเรื้อนอย่างหนัก เสวยมหันตทุกข์ถึง ๕๐๐ ชาติ ๙. นิพพาน พระโมฆราชเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตผลอันเป็นประธาน และได้ช่วยพระศาสดาประกาศพุทธศาสนาตามความสามารถแล้ว ก็ได้นิพพานไปตามสัจธรรมของชีวิต

สยามประเทศในปี 2511ประวัติ พระโมฆราชเถระ ๑. สถานะเดิม พระโมฆราชเถระ ชื่อเดิม โมฆราช เป็นวรรณะกษัตริย์ เป็นชาวโกศล บิดาและมารดาไม่ปรากฎชื่อ เพราะมีโรคประจำตัวที่รักษาไม่หาย ได้รับความทุกข์ทรมานมาก แม้จะเป็นคนใหญ่โตและมีทรัพย์สมบัติมากมายก็ช่วยไม่ได้ จึงได้ชื่อว่า โมฆราช แปลว่า ราชาผู้หาความสุขไม่ได้ ๒. ชีวิตก่อนบวชในพระพุทธศาสนา เพราะท่านได้เห็นโทษของร่างกาย จึงออกบวชเป็นฤาษีมอบตัวเป็นศิษย์ของพราหมณ์พาวรี พราหมณ์พาวรีนั้นมีศิษย์เป็นจำนวนมาก ท่านกล่าวว่ามีถึง ๑๖,๐๐๐ คน แต่ที่เป็นศิษย์ผู้ใหญ่มีอยู่ ๑๖ คน คือ อชิตะ ติสสะ เมตเตยยะ ปุณณกะ เมตตคู โธตกะ อุปสีวะ นันทะ เหมกะ โตเทยยะ กัปป์ปะ ชาตุกัณณี ภัทราวุธ อุทยะ โปสาละ โมฆราช ปิงคิยะ ๓. มูลเหตุแห่งการบวชในพระพุทธศาสนา พราหมณ์พาวรีได้ทราบข่าวว่า พระสิทธัตถกุมารเสด็จออกบรรพชา ปฏิญาณว่าเป็นผู้ตรัสรู้เองโดยชอบ สนใจใคร่จะสอบสวนหาความจริง จึงเรียกศิษย์ทั้ง ๑๖ คน มีอชิตะเป็นหัวหน้า ผูกปัญหาให้คนละหมวด ส่งไปเฝ้าพระศาสดาซึ่งประทับอยู่ที่ปาสาณเจดีย์ เพื่อทูลถามปัญหา ศิษย์ทั้ง ๑๖ คน ได้ปฏิบัติตามคำของอาจารย์ เมื่อพระศาสดาแก้ปัญหาของพวกเขาจบลง ๑๕ คน ได้บรรลุพระอรหัตผล ส่วนปิงคิยมาณพได้บรรลุเพียงโสดาปัตติผล เพราะจิตใจสับสนไม่แน่วแน่ ห่วงแต่พราหมณ์พาวรี ผู้ที่เป็นทั้งลุงและอาจารย์ ไม่ได้ส่งญาณตามเทศนาโดยตลอด เฉพาะโมฆราชมาณพได้ทูลถามปัญหาว่า ข้าพระองค์จะพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่เห็น พระศาสดาได้ตรัสตอบว่า ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวตนเสีย บุคคลพึงข้ามพ้นมัจจุราชไปได้ด้วยอุบายเช่นนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงจะไม่เห็น ๔. วิธีอุปสมบท เมื่อโมฆราชมาณพฟังพระศาสดาแก้ปัญหาจบลง จิตของเขาก็หลุดพ้นจากอาสวะ ทั้งปวง ไม่ถือมั่นด้วยอุปาทาน จึงได้ทูลขอบรรพชาอุปสมบทกับพระศาสดาว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์ พึงได้บรรพชาอุปสมบทในสำนักของพระผู้มีพระภาค พระศาสดาตรัสแก่เขาว่า เธอจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมวินัยเรากล่าวไว้ดีแล้ว เธอจงประพฤติพรหมจรรย์เถิด ๕. งานประกาศพระศาสนา พระโมฆราชเถระ เพราะท่านมีร่างกายเป็นแผลที่รักษาไม่หาย จึงถูกกีดกันไม่ให้เข้าอยู่ในเสนาสนะของสงฆ์ ท่านจึงอยู่ตามโคนไม้และที่แจ้ง ไปเก็บผ้าตามกองขยะมาทำไตรจีวรนุ่งห่ม ทำให้เป็นที่ศรัทธาเลื่อมใสของบุคคลประเภทลูขัปปมาณิกา คือผู้ศรัทธาเลื่อมใสหนักไปทางใช้ชีวิตปอน ๆ นับว่าท่านได้เป็นกำลังสำคัญรูปหนึ่งในการประกาศพระศาสนาด้วยปฏิปทาปอน ๆ ของท่านทั้งในขณะที่ท่านยังมีชีวิตอยู่ และเป็นทิฏฐานุคติแก่คนที่เกิดมาภายหลัง เมื่อท่านนิพพานไปแล้ว ๖. เอตทัคคะ พระโมฆราชเถระนี้ ตั้งแต่บวชในพระพุทธศาสนา ได้ใช้จีวรที่ปอนมาตลอด ต่อมาพระศาสดาประทับอยู่ที่พระเชตวัน ทรงตั้งพระเถระทั้งหลายไว้ในฐานันดรต่าง ๆ ได้ตั้งท่านไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรอันเศร้าหมองในศาสนาของพระองค์ ๗. บุญญาธิการ พระโมฆราชเถระ ได้สร้างสมคุณความดีที่เป็นเหตุแห่งนิพพานมาสิ้นกาลนาน ในสมัย พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ ได้เห็นพระศาสดาทรงตั้งภิกษุรูปหนึ่งไว้ในตำแหน่งที่เลิศกว่า ภิกษุทั้งหลาย ผู้ทรงจีวรบังสุกุล จึงได้สร้างสมคุณความดีแลัวปรารถนาตำแหน่งนั้น ได้ทำบุญมาตลอดหลายพุทธันดร จนชาติสุดท้ายได้ถือกำเนิดเกิดในเรือนพราหมณ์ในพระนครสาวัตถี ก่อนที่พระทศพลของเราทั้งหลายจะเสด็จอุบัติ และได้ถึงฝั่งแห่งสาวกบารมีญาณตามปณิธานที่ได้ตั้งเอาไว้ดังกล่าวแล้ว ๘. ธรรมวาทะ เราได้ฟังพุทธพยากรณ์นั้นแล้ว ก็เบิกบานใจ ถวายบังคมพระพิชิตมารด้วยเศียรเกล้าทำแต่กรรมที่ดีงามในศาสนาของพระชินเจ้าตราบเท่าสิ้นชีวิต เพราะกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และเพราะการตั้งเจตน์จำนงเอาไว้ เราละร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ เพราะกรรมคือการเอาไฟเผาลนพื้นหอฉัน เราจึงถูกทุกขเวทนาเบียดเบียน ไหม้ในนรกพันปี ด้วยเศษกรรมนั้นที่ยังเหลือ เราเกิดเป็นมนุษย์ ต้องมีรอยตำหนิในร่างกายถึง ๕๐๐ ชาติ เพราะอำนาจของกรรมนั้น เราเป็นโรคเรื้อนอย่างหนัก เสวยมหันตทุกข์ถึง ๕๐๐ ชาติ ๙. นิพพาน พระโมฆราชเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตผลอันเป็นประธาน และได้ช่วยพระศาสดาประกาศพุทธศาสนาตามความสามารถแล้ว ก็ได้นิพพานไปตามสัจธรรมของชีวิต

สยามประเทศในปี 2511 ข้าพระองค์จะพิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่เห็น พระศาสดาได้ตรัสตอบว่า ดูก่อนโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ พิจารณาเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า ถอนความเห็นว่าตัวตนเสีย บุคคลพึงข้ามพ้นมัจจุราชไปได้ด้วยอุบายเช่นนี้ ท่านพิจารณาเห็นโลกอย่างนี้ มัจจุราชจึงจะไม่เห็น

สยามประเทศในปี 2511ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-เปลี่ยนแปลง-แล้วดับไปทั้งสิ้น ... เกิดขึ้นและดับไปอย่างบริสุทธิ์

รถรางวันสุดท้ายในกรุงเทพมหานคร 2511ทุกสรรพสิ่ง ล้วนเกิดขึ้น-ตั้งอยู่-เปลี่ยนแปลง-แล้วดับไปทั้งสิ้น ... เกิดขึ้นและดับไปอย่างบริสุทธิ์

ถ่สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ านไฟฉายตรากบ

โสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ ฆษณาแป้งน้ำสมใจนึก ก้อง กำจาย

Pสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ apa -- Paul Anka -- Lyrics [Kara + Vietsub HD]

สุรชัย 3ช่าคอนเสริตคาราบาว 3ช่าเพลง : สุรชัยสามช่า ศิลปิน : แอ๊ด คาราบาว feat.หงา คาราวาน Karaoke ขนาดอักษร A A A A สีเนื้อร้อง Karaoke มาละเหวย มาละวา ตีกลองสามช่า สุรชัยจะร้องเพลง เพื่อนฉันเป็นลาว ตัวขาวน้อยมนมน ฐานะยากจน แต่เป็นคนน้ำใจไมตรี เนื้อตัวก็ใสสะอาด ขาวผ่องผาดสง่าราศี น้ำใจยิ่งดูเข้าที ก็เพราะมีความหวังตั้งใจ ∗ น้ำโขงไม่เคยขวางกั้น น้ำจันไม่คดโกงใคร น้ำใจสามัคคีเมื่อไร ยกจอกย้อมใจสัมพันธไมตรี เอ้า กรึ๊บ การารึบ กรึ๊บ กรึ๊บ น้ำโขงไม่เคย คั่นความสัมพันธ์ น้ำจันไม่เคย แบ่งชาติชนใด มาละเหวย มาละวา ตีกลองสามช่า สุรชัยจะร้องต่อ เพื่อนฉันเป็นญวน ชอบชวนฉันเล่นเปลไกว เพื่อนญวนฉลาดหัวไว สมองใสขยันการงาน ปลูกผักสวนครัวขายส่ง ฐานะมั่นคงไม่อดอาหาร สาวญวนยิ่งดูชื่นบาน มีชื่อมานาน ผิวนวล ผิวนวล ( ∗ ) เอ้า มาละเหวย มาละวา ตีกลองสามช่า สุรชัยจะโซโล่ น้ำโขงไม่เคยคิดแบ่ง เป็นกำแพงชนชาติชนชั้น น้ำโขงเมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์จะคล้องคอเธอ เพื่อนฉันขะแมร์ รักจริงไม่แพ้ลาวญวน น้ำคำคร่ำครวญ ชอบชักชวนร้องรำทำเพลง ทำนาประสาบ้านนอก ใส่เสื้อดอก ตะกรุดของขลัง สู้การสู้งานจริงจัง ไม่หักหลังคดโกงผู้ใด ไทยเขมรลาวญวน ชักชวนคบหากันไป แหลมอินโดจีนและไทย ใช่อื่นไกล เชื้อสายสัมพันธ์ น้ำโขงไม่เคยคิดแบ่ง เป็นกำแพงชนชาติชนชั้น น้ำโขง เมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์จะคล้องคอเธอ น้ำโขง เมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์ จะคล้องคอเธอ น้ำโขง เมื่อเป็นน้ำจัน มาลัยสัมพันธ์ จะคล้องคอเธอ ไปละเหวย ไปละวา สุรชัย สามช่า ขออำลา ขอลาไปก่อน ไปละเหวย ไปละวา สุรชัย สามช่า ขออำลา ขอตัวไปก่อน

สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ สุรชัย 3ช่าคอนเสริตคาราบาว 3ช่า

สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ กระถางดอกไม้ให้คุณ คาราบาว

จสตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ จดหมายถึงพ่อ อี๊ด ฟุตบาธ & Family

Aเขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะbba - SOS

เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะAbba - Mamma Mia

เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะThree Degrees - When Will I See You Again (1974) HQ 0815007

เข่ยาธาตูรู้ กูก็จะแพ่ง...Christie: Iron Horse

เข่ยาธาตูรู้ กูก็จะแพ่ง...Christie - Yellow River - 1970

เข่ยาธาตูรู้ กูก็จะแพ่ง...

Brownsville Station - Lightnin' Bar Blues

Tony Orlando - Lonely Tomorrows

Tony Orlando - Lonely Tomorrows

Tony Orlando and Dawn - Cupid

Tony Orlando and Dawn - Cupid

Helen Reddy - Music Is My LifeMusic Is My Life

วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องคหบดี ! ในบรรดากามโภคี (ฆราวาส) เหล่านั้น กามโภคีผู้ใด แสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด (เกินไปจนทรมานตน) ด้วย, ครั้นแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรมโดยไม่เครียดครัดแล้ว ทำตนให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำด้วย, แบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญด้วย, ไม่กำหนัด ไม่มัวเมาไม่ลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้นอยู่ด้วย; คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่ คือ :- ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่หนึ่ง ในข้อที่เขาแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สอง ในข้อที่เขาทำตนให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สาม ในข้อที่เขาแบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สี่ ในข้อที่เขาไม่กำหนัด ไมมั่วเมา ไมลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญา เป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้น. คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่เหล่านี้. คหบดี ! กามโภคีจำพวกนี้ เป็นกามโภคีชั้นเลิศ ชั้นประเสริฐ ชั้นหัวหน้า ชั้นสูงสุด ชั้นบวรกว่ากามโภคีทั้งหลาย, เปรียบเสมือนนมสดเกิดจากแม่โค นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส; หัวเนยใสปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดารสอันเกิดจากโคทั้งหลายเหล่านั้น, ข้อนี้ฉันใด; กามโภคีจำพวกนี้ ก็ปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดากามโภคีทั้งหลายเหล่านั้น ฉันนั้น แล. ทสก. อํ. ๒๔/๑๙๔/๙๑.

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าคหบดี ! ในบรรดากามโภคี (ฆราวาส) เหล่านั้น กามโภคีผู้ใด แสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด (เกินไปจนทรมานตน) ด้วย, ครั้นแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรมโดยไม่เครียดครัดแล้ว ทำตนให้เป็นสุข ให้อิ่มหนำด้วย, แบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญด้วย, ไม่กำหนัด ไม่มัวเมาไม่ลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญาเป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้นอยู่ด้วย; คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่ คือ :- ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่หนึ่ง ในข้อที่เขาแสวงหาโภคทรัพย์โดยธรรม โดยไม่เครียดครัด, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สอง ในข้อที่เขาทำตนให้เป็นสุขให้อิ่มหนำ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สาม ในข้อที่เขาแบ่งปันโภคทรัพย์บำเพ็ญบุญ, ควรสรรเสริญโดย ฐานะที่สี่ ในข้อที่เขาไม่กำหนัด ไมมั่วเมา ไมลุ่มหลง มีปกติเห็นโทษ มีปัญญา เป็นเครื่องสลัดออก บริโภคโภคทรัพย์เหล่านั้น. คหบดี ! กามโภคีผู้นี้ควรสรรเสริญโดยฐานะทั้งสี่เหล่านี้. คหบดี ! กามโภคีจำพวกนี้ เป็นกามโภคีชั้นเลิศ ชั้นประเสริฐ ชั้นหัวหน้า ชั้นสูงสุด ชั้นบวรกว่ากามโภคีทั้งหลาย, เปรียบเสมือนนมสดเกิดจากแม่โค นมส้มเกิดจากนมสด เนยข้นเกิดจากนมส้ม เนยใสเกิดจากเนยข้น หัวเนยใสเกิดจากเนยใส; หัวเนยใสปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดารสอันเกิดจากโคทั้งหลายเหล่านั้น, ข้อนี้ฉันใด; กามโภคีจำพวกนี้ ก็ปรากฏว่าเลิศกว่า บรรดากามโภคีทั้งหลายเหล่านั้น ฉันนั้น แล. ทสก. อํ. ๒๔/๑๙๔/๙๑.

มหาสุญญตาสูตร "ภิกษุ ท.! พวกภิกษุบริษัทในกรณีนี้, สุตตันตะเหล่าใด ที่กวีแต่งขึ้นใหม่เป็นคำร้อยกรองประเภทกาพย์กลอน มีอักษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวิจิตรเป็นเรื่องแนวนอก เป็นคำกล่าวของสาวก เมื่อมีผู้นำสุตันตะเหล่านั้นมากล่าวอยู่เธอจักไม่ฟังด้วยดี ไม่เงี่ยหูฟัง ไม่ตั้งจิตเพื่อจะรู้ทั่วถึง และ จักไม่สำคัญว่าเป็นสิ่งที่ตนควรศึกษาเล่าเรียน." "ภิกษุ ท.! ส่วน สุตตันตะเหล่าใด ที่เป็นคำของตถาคต เป็นข้อความลึก มีความหมายซึ้ง เป็นชั้นโลกุตตระ ว่าเฉพาะด้วยเรื่องสุญญตา,เมื่อมีผู้นำสุตตันตะเหล่านั้นมากล่าวอยู่; เธอย่อมฟังด้วยดี ย่อมเงี่ยหูฟังย่อมตั้งจิตเพื่อจะรู้ทั่วถึง และย่อมสำคัญว่าเป็นสิ่งที่ตนควรศึกษาเล่าเรียนจึงพากันเล่าเรียน ไต่ถาม ทวนถามแก่กันและกันอยู่ว่า ข้อนี้เป็นอย่างไร ? มีความหมายกี่นัย ? ” ดังนี้. ด้วยการทำดังนี้ เธอย่อมเปิดธรรมที่ถูกปิดไว้ได้. ธรรมที่ยัง ไม่ปรากฏ เธอก็ทำให้ปรากฏได้, ความสงสัยในธรรมหลายประการที่น่าสงสัย เธอก็บรรเทาลงได้."

มหาสุญญตาสูตร ส่วนข้อที่ภิกษุเป็นผู้ผู้เดียว หลีกออกจากหมู่อยู่ พึงหวังเป็นผู้ได้สุขเกิดแต่เนกขัมมะ สุขเกิดแต่ความสงัด สุขเกิดแต่ความเข้าไป สงบ สุขเกิดแต่ความตรัสรู้ ตามความปรารถนา โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก นั่นเป็น ฐานะที่มีได้

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ จากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้. แสดงน้อยลง

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐพระสมณโคดมไม่บัญญัติความ กำหนดรู้กามทั้งหลาย ไม่บัญญัติความกำหนดรู้รูปทั้งหลาย ไม่บัญญัติความ กำหนดรู้เวทนาทั้งหลาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมบัญญัติความกำหนดรู้กาม ทั้งหลายด้วย ย่อมบัญญัติความกำหนดรู้รูปทั้งหลายด้วย ย่อมบัญญัติความกำหนด รู้เวทนาทั้งหลายด้วย เราเป็นผู้หายหิวแล้ว ดับแล้ว เย็นแล้ว ย่อมบัญญัติ อนุปาทาปรินิพพานในปัจจุบัน

วันพุธที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

คาถาชนะมารเสียงสาธยายพระคาถาชนะกิเลสมารในตัวเราเองพาหุงสะหัส สะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง ครีเมขะลัง อุทิตะโฆ ระสะเสนะมารัง ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ มาราติเร กะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะยะกายะมัชเฌ สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกาวาทะเกตุง วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ เอตาปิ พุทธะชะยะมังคะละอัฉฐะคาถา โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก สัพพะ พุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติฯ สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัมหมะจาริสุ ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธีเต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต

วิปัจจิตัญญูบุคคล กุลบุตรได้ทำกิจที่ทำได้ยากเพรา­­ะความเคารพในเรา ละราชสมบัติเกินหนึ่งร้อยโยชน์ ไม่ถือเศษผ้า โดยที่สุดแม้คนผู้ให้น้ำบ้วนปาก ออกไปเพียงคนเดียว ดังนี้ ไม่ตรัสอะไรในพระเถระทั้งหลายมี­­พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะเป­็­นต้น พระองค์เองทรงถือบาตรและจีวรของ­­พระองค์ เสด็จออกไปเพียงพระองค์เดียว และเมื่อเสด็จไป ก็ไม่ได้ทรงเหาะไป ไม่ทรงย่นแผ่นดิน

ผู้สละโลก ผลงานของ ท่านอาจารย์ วศินอินทสระสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระอนุรุทธะอยู่ ที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์ ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกเร้นอยู่ ในที่ลับ เกิดความปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วย หมู่คณะ ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ของบุคคลผู้ มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคล ผู้มีจิตไม่มั่นคง ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ฯ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกทางใจของท่านพระอนุรุทธะ แล้ว เสด็จจากเภสกลามิคทายวัน แขวงสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ไป ปรากฏเฉพาะหน้าท่านอนุรุทธะที่วิหารปาจีนวังสทายวัน เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลัง เหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะ ที่จัดไว้ถวายแล้ว แม้ท่านพระอนุรุทธะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่าธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มี ปัญญาทราม ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอจงตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ ทำให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำ ให้เนิ่นช้า ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึก มหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตก วิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในการนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ในกาลใดแล เธอ จักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุ จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้มีปรกติได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่ง ฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุล จีวรจักปรากฏแก่เธอ ผู้สันโดษ อยู่ด้วยความยินดี ด้วยความไม่หวาดเสียว ด้วย ความอยู่เป็นสุข ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนหีบใส่ผ้าของคฤหบดี หรือบุตรแห่งคฤหบดี อันเต็มไปด้วยผ้าสีต่างๆ ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใด แล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน ปัจจุบัน ในกาลนั้น โภชนะ คือ คำข้าวที่ได้มาด้วยปลีแข้ง จักปรากฏแก่เธอผู้ สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนข้าวสุก (หุงจาก) ข้าวสาลี คัดเอาดำออกแล้ว มีแกงและกับหลายอย่าง ของคฤหบดีและบุตรแห่งคฤหบดี ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และ จักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิต ยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น เสนาสนะ คือ โคนไม้ จัก ปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเรือนยอด ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉาบทาไว้ดีแล้ว ปราศจากลม ลงลิ่มสลักมิด ชิด ปิดหน้าต่างสนิท ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริส- *วิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ที่นอน ที่นั่งอันลาดด้วยหญ้า จักปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนบัลลังก์ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี อันลาดด้วยผ้าโกเชาว์ขน ยาว ลาดด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยผ้าสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ มีเครื่องลาดอย่างดี ทำด้วยหนังชะมด มีเครื่องลาดเพดานแดง มีหมอนข้างแดงสองข้าง ฉะนั้น ดูกร อนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า จักปรากฏ แก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเภสัชต่างๆ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉะนั้น ฯ ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอพึงอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นี้แหละ ต่อไปอีกเถิด ท่านพระอนุรุทธะทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสสอนท่านพระอนุรุทธะด้วยพระโอวาทนี้แล้ว เสด็จจากวิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นคร ไปปรากฏที่ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคะ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่จัดไว้ถวายแล้ว ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาปุริสวิตก ๘ ประการ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มหาปุริสวิตก ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑ ธรรมนี้เป็นของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคล ผู้เกียจคร้าน ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของผู้มีสติหลงลืม ๑ ธรรมนี้ ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มี ปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบ ใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนา น้อยย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย เป็นผู้ สันโดษย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ ตั้งมั่นย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้าย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจ ในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ดังนี้ เรา อาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของ บุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อม แห่งกุศลธรรม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม ข้อที่ เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของ บุคคลผู้เกียจคร้าน ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง ระลึกนึกถึง กิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคล ผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและ ความดับ เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เรา อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น ข้อที่เรา กล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้ กล่าวแล้ว ฯ ครั้งนั้นแล ท่านพระอนุรุทธะอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้น เจดีย์นครนั้นนั่นแล ต่อไปอีก ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกจากหมู่อยู่ ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ไม่นานนัก ก็กระทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกบวชเป็นบรรพชิต โดยชอบต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติ สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ก็ท่านพระอนุรุทธะได้เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งในจำนวนพระ- *อรหันต์ทั้งหลาย ลำดับนั้น ท่านพระอนุรุทธะบรรลุอรหัตแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ไว้ ในเวลานั้นว่า พระศาสดาผู้เป็นเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดำริของเราแล้ว ได้เข้ามาหาเราด้วยฤทธิ์ทางพระกายอันสำเร็จแต่พระหฤทัย พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอันยิ่งกว่าความดำริของเราเท่าที่ดำริ ไว้ พระพุทธเจ้าผู้ยินดีแล้วในธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ได้ทรงแสดงซึ่งธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เราได้รู้ทั่วถึง ธรรมของพระองค์แล้ว ยินดีในศาสนาอยู่ เราได้บรรลุ วิชชา ๓ แล้วโดยลำดับ คำสอนของพระพุทธเจ้าเรา กระทำแล้ว ฯ

ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษเพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

จริยาของพระสกิทาคามีมรรคสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฎาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วจึงกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สิกขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้ ย่อมมาสู่อุเทศ (สวด) ทุกกึ่งเดือน ข้าพระองค์ไม่สามารถที่จะศึกษาในสิกขาบทเหล่านี้ พระเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า “ดูก่อนภิกษุ ! ก็เธอสามารถจะศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ ได้หรือ ?” ภิกษุวัชชีบุตรกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์สามารถจะศึกษาได้ในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ พระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุ ! เพราะฉะนั้นแล เธอจงศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ เมื่อใดเธอจักศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี จักศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และจักศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี เมื่อนั้น เมื่อเธอนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาอยู่ก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาอยู่ก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาอยู่ก็ดี จักละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เพราะละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เธอนั้นจักไม่กระทำกรรมอันเป็นอกุศล จักไม่เสพกรรมที่เป็นบาป” ครั้นสมัยต่อมา ภิกษุนั้นศึกษาแล้ว ทั้งอธิศีลสิกขา ทั้งอธิจิตตสิกขา และทั้งอธิปัญญาสิกขา เมื่อภิกษุนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี ย่อมละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว เพราะละราคะ โทสะ และ โมหะเสียได้ เธอมิได้ทำกรรมที่เป็นอกุศล มิได้เสพกรรมที่เป็นบาป ฯ วัชชีปุตตสูตร ๒๐/๒๖๐

PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI POWER MODULEจำหน่าย Power Module สำหรับ ซ่อม สร้าง เครื่อง ปรับรอบมอเตอร์ สามเฟส หนึ่งแรงมัา โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวและรับ ซ่อม แผงวงจร เครื่องควบคุม ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ติดต่อที่ 02-951-1356 081-803-6553

กราบนมัสการพระบรมสารีริกธาตุที่สารนาถครับสังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ

วุตโตทัย หมายถึง แหล่งกำเนิดของคาถา เป็นฉันทลักษณ์บาลีฉบับแรกซึ่งเป็นที่นิยมศึกษาท่องจำมากที่สุด ท่านผู้ประพันธ์คัมภีร์นี้คือ พระสังฆรักขิต บุคคลผู้ใดซึ่งถึงไตรสรณะ ย่อมหลุดพ้นทุกข์ในวัฏฏสงสาร ที่พึ่งอันชื่นเช่นท้าวพระยามหาเสนาบดีจักให้หลุดพ้นจากทุกข์ในวัฏฏสงสารหามิได้ เหตุนั้นผู้รู้แล้วด้วยประการดังนี้ พึงถึงซึ่งไตรสรณะเป็นที่พึ่งแก่ตนเพราะวิเศษยิ่งกว่าที่พึ่งอันอื่น

ความประพฤติของพระโพธิสัตว์ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของ พระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันใน ที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคย กันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมือง คือ พระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิทไม่มีภัย ที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว

คาถาของพระอิสิทาสีเถรีวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

เจริญสติเพื่อความสิ้นแห่งทุกข์วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

เส้นทางแห่งความบริสุทธิ์หลุดพ้นวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

โอวาทพระอานนท์เถระวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วันอังคารที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์

วันทา (บทขอขมา) วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

วันทา (บทขอขมา) วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

สมาธิ สมถะ วิปัสสนา หลวงพ่อฤาษีวิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ [๒๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖

วิธีสร้างความผ่องใสให้กับจิตใจถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

วิธีระงับความฟุ้งซ่านของจิตถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟังถ้ารักความชั่วก็นิมนต์สนใจกับเรื่องของชาวบ้านให้มาก เรื่องส่วนตัวไม่ต้องสนใจ ถ้ารักความดีละก็ตัดความสนใจกับเรื่องของชาวบ้านเขาเสีย เขาจะดีจะชั่วช่างเรื่องของเขา เรื่องของเรามาชำระกระแสจิตตามกระแสพระพุทธดำรัสขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าก็แล้วกัน นี่ที่กล่าวมานี้เป็นอาการของท่านสุกขวิปัสสโกนะขอรับ ศึกษากันใน มหาสติปัฏฐานสูตร ธรรมดาๆ แต่ถ้าหากว่าพระคุณเจ้าหรือบรรดาญาติโยมพุทธบริษัทที่รัก เจริญ มหาสติปัฏฐานสูตร ใน อานาปานุสสติกรรมฐาน แล้ว แล้วก็ทรงวิชชาสามหรือได้ ทิพจักขุญาณ ตอนนี้เห็นจะไม่ต้องนั่งไล่แบบล่ะขอรับ สบาย เรามานั่งดูกระแสของจิตกันดีกว่า

"เมื่อคืนปลุกเสกพระหมาไม่หอน งวดนี้ไม่ให้หมาเห็น เพราะ 2งวดก่อนมาให้หมาเห็นเห่ากันเจี๊ยวจ๊าว รุ่นนี้แอบไม่ให้หมาเห็น เมื่อคืนปลุกเสกรุ่นยันกลับ (ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด)"

ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีสร้างเครื่่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าโดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว วิธีสร้างเครื่่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่่งแรงม้า 220/380 โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว220เป็นวงจรที่ใช้ในแอร์อินเวอร์เตอร์ครับ.ตัวที่เสียในแอร์อินเวอร์เตอร์..ส่วนใหญ่ คือ POWER MODULE. ที่ใช้ขับมอเตอร์..สามเฟส ที่ใช้ขับคอมเพรสเซอร์ครับ เบอร์ที่ผมมีจำหน่าย มีหลายเบอร์ครับ..เช่น TM32A TL105C ส่วนเบอร์เก่า TM31T TM35 TM39 ให้ใช้ TM52A แทนได้ครับ.. จำหน่าย PS21244-E. INTEGRATED POWER FUNCTIONS. 4th generation (planar) IGBT inverter bridge for 3 phase. DC-to-AC power conversion. APPLICATION ราคาตัวละ 500 บาทครับ.. 6DI15S-050D 6DI15S-050C MP6501A POWER TRANSISTOR MODULE ราคาตัวละ 500 บาท...mrsompongt@hotmail.com 02-9511356 081-8036553

ผู้มีขันตินับว่ามีเมตตา มีลาภ มียศ และมีสุขเสมอ.อนุโมทนาวิธี อนุโมทนารัมภคาถา ยะถา วาริวะหา ปูราปะริปูเรนติ สาคะรัง, ห้วงน้ำที่เต็ม ย่อมยังสมุทร สาครให้บริบูรณ์ได้ฉันใด, เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ, ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วในโลกนี้, ย่อมสำเร็จประโยชน์แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ฉันนั้น, อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง, ขออิฏฐะผลที่ท่านปรารถนาแล้ว ตั้งใจแล้ว, ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ, จงสำเร็จโดยฉับพลัน, สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา, ขอความดำริทั้งปวงจงเต็มที่, จันโท ปัณณะระโส ยะถา, เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญ, มะณิ โชติระโส ยะถา, เหมือนแก้วมณี อันสว่างไสวควรยินดี, สามัญญานุโมทนาวิธี สัพพีติโย วิวัชชันตุ, ความจัญไรทั้งปวงจงบำราศไป, สัพพะโรโค วินัสสะตุ, โรคทั้งปวงของท่านจงหาย, มา เต ภะวัตวันตะราโย, อันตรายอย่ามีแก่ท่าน, สุขี ทีฆายุโก ภะวะ, ท่านจงเป็นผู้มีความสุข มีอายุยืน, อภิวาทะนะสีลิสสะ นิจจัง วุฑฒาปะจายิโน, จัตตาโร ธัมมา วัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง. พรสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจริญแก่บุคคล, ผู้มีปกติไหว้กราบ มีปกติอ่อนน้อมต่อผู้ใหญ่ เป็นนิตย์ ด้วยประการฉะนี้แล. อัคคัปปสาทสุตตคาถา อัคคะโต เว ปะสันนานัง อัคคัง ธัมมัง วิชานะตัง, เมื่อบุคคลรู้จักธรรมอันเลิศ เลื่อมใสแล้วโดยความเป็นของเลิศ, อัคเค พุทเธ ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระพุทธเจ้าผู้เลิศ, ทักขิเณยเย อะนุตตะเร, ซึ่งเป็นทักษิเณยยะบุคคลอันเยี่ยมยอด, อัคเค ธัมเม ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระธรรมอันเลิศ, วิราคูปะสะเม สุเข, ซึ่งเป็นธรรมปราศจากกามะราคะ สงบระงับ เป็นสุข, อัคเค สังเฆ ปะสันนานัง, เลื่อมใสแล้วในพระสงฆ์ ผู้เลิศ, ปุญญักเขตเต อะนุตตะเร, ซึ่งเป็นบุญญะเขตอย่างยอดเยี่ยม, อัคคัส๎มิง ทานัง ทะทะตัง, ถวายทานในท่านผู้เลิศ, อัคคัง ปุญญัง ปะวัฑฒะติ, บุญที่เลิศย่อมเจริญ, อังคัง อายุ จะ วัณโณ จะ, อายุ วรรณะที่เลิศ, ยะโส กิตติ สุขัง พะลัง, และยศเกียรติคุณ สุขะ พละ ที่เลิศย่อมเจริญ, อัคคัสสะ ทาตา เมธาวี, ผู้มีปัญญาตั้งมั่นในธรรมอันเลิศ, อัคคะธัมมะสะมาหิโต, และให้ทานแก่ท่านผู้มีธรรมอันเลิศ, เทวะ ภูโต มะนุสโส วา, จะไปเกิดเป็นเทวดา หรือเป็นมนุษย์ก็ตาม, อัคคัปปัตโต ปะโมทะตี ติ. ย่อมถึงความเป็นผู้เลิศอันบันเทิง, อยู่ดังนี้แล. ติโรกุฑฑะกัณฑะปัจฉิมภาคคาถา อะทาสิ เม อะกาสิ เม, ญาติมิตตา สะขา จะ เม เปตานัง ทักขิณัง, ทัชชา ปุพเพ กะตะมะนุสสะรัง, บุคคลมาระลึก ถึงอุปการะ, อันท่านได้ทำแล้วแก่ตน, ในกาลก่อนว่าผู้นี้ให้สิ่งนี้แก่เรา, ผู้นี้ได้ทำกิจนี้ของเรา, ให้แก่เรา, ผู้นี้เป็นญาติเป็นมิตรของเราดังนี้, ก็ควรให้ทักษิณาทาน, เพื่อผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้ว, นะ หิ รุณณัง วา โสโก วายาวัญญา ปะริเทวะนา, การร้องไห้ก็ดี, การเศร้าโศกก็ดี, หรือร่ำไรรำพันอย่างอื่นก็ดี, บุคคลไม่ควรทำทีเดียว, นะ ตัง เปตานะมัตถายะ, เพราะว่าการร้องไห้ เป็นต้นนั้น, ไม่เป็นประโยชน์ แก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, เอวัง ติฏฐันติ ญาตะโย, ญาติทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ อย่างนั้น, อะยัญจะ โข ทักขิณา ทินนา, ก็ทักษิณานุปาทานนี้, แลอันท่านให้แล้ว, สังฆัมหิ สุปะติฏฐิตา, ประดิษฐานไว้ดีแล้วในสงฆ์, ทีฆะรัตตัง หิตายัสสะ ฐานะโส อุปะกัปปะติ, ย่อมสำเร็จประโยชน์เกื้อกูล แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วนั้น, ตลอดกาลนานตามฐานะ, โส ญาติธัมโม จะ อะยัง นิทัสสิโต, ญาติธรรมนี้นั้น, ท่านได้แสดง, ให้ปรากฏแล้วแก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, เปตานะ ปูชา จะ กะตา อุฬารา, แลบูชาอย่างยิ่ง, ท่านก็ได้ทำแล้วแก่ญาติทั้งหลาย, ผู้ละโลกนี้ไปแล้ว, พะลัญจะ ภิกขูนะมะนุปปะทินนัง, กำลังแห่งท่านภิกษุทั้งหลายชื่อว่าท่านได้เพิ่มให้แล้วด้วย, ตุมเหหิ ปุญญัง ปะสุตัง อะนัปปะกันติ. ด้วยบุญไม่น้อย, ท่านได้ขวนขวายแล้วดังนี้. โภชะนะทานุโมทะนาคาถา อายุโท พะละโท ธีโร, ผู้มีปัญญาให้อายุให้กำลัง, วัณณะโท ปะฏิภาณะโท, ให้วรรณะ ให้ปฏิภาณ, สุขัสสะ ทาตา เมธาวี, ผู้มีปัญญา ให้ความสุข, สุขัง โส อะธิคัจฉะติ, ย่อมได้ประสบสุข, อายุง ทัต๎วา พะลัง วัณณัง สุขัญจะ ปะฏิภาณะโท, บุคคลผู้ให้อายุ พละ วรรณะ สุข และ ปฏิภาณ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปัชชะตีติ. ไปเกิดในที่ใดๆ, ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน, มียศในที่นั้นๆ ดังนี้. สัพพะโรคะวินิมุตโต สัพพะโรคะวินิมุตโต, จงพ้นจากสรรพโรคทั้งปวง, สัพพะ สันตา ปะวัชชิโต, จงเว้นจาก ความเดือดร้อนทั้งปวง, สัพพะ เวระ มะติกกันโต, จงล่วงเสียซึ่งเวรทั้งปวง, นิพพุโต จะ ตุวัง ภะวะ, จงดับเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวงแก่ท่านทั้งหลาย, ................................................................................................................................... สัจเจนะ จะ, ด้วยสัจจะก็ดี, สีเลนะ จะ, ด้วยศีลก็ดี, ขันติเมตตา พะเลนะ จะ, ด้วยกำลังแห่งขันติ และเมตตาก็ดี, เตสัง พุทธานัง, แห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลาย, อะนุรักขันตุ, (เต,) จงรักษาท่าน, อะโรคะเยนะ จะ, ด้วยสภาวะหาโรคมิได้ก็ดี, สุเขนะ จะ, ด้วยความสุขก็ดี, โหนฺตุ เต. จงมีแก่ท่านทั้งหลาย ทุกเมื่อ เทอญ. โส อัตถะลัทโธ โส อัตถะลัทโธ สุขิโต, ท่านชาย จงเป็นผู้มีประโยชน์ อันได้แล้ว ถึงแล้วซึ่งความสุข, วิรุฬโห พุทธะสาสะเน, เจริญในพระพุทธศาสนา, อะโรโค สุขิโต โหหิ, ไม่มีโรคถึงแล้วซึ่งความสุข, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ, พร้อมกับด้วยญาติทั้งหลาย, สา อัตถะลัทธา สุขิตา, ท่านหญิง จงเป็นผู้มีประโยชน์ อันได้แล้ว ถึงแล้วซึ่งความสุข, วิรุฬหา พุทธะสาสะเน, เจริญในพระพุทธศาสนา, อะโรคา สุขิตา โหหิ, ไม่มีโรคถึงแล้วซึ่งความสุข, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ, พร้อมกับด้วยญาติทั้งหลาย, เต อัตถะลัทธา สุขิตา, ท่านทั้งหลาย ทั้งชายและหญิง, จงเป็นผู้มีประโยชน์อันได้แล้วถึงแล้วซึ่งความสุข, วิรุฬหา พุทธะสาสะเน, เจริญในพระพุทธศาสนา, อะโรคา สุขิตา โหถะ, ไม่มีโรคถึงแล้วซึ่งความสุข, สะหะ สัพเพหิ ญาติภิ. พร้อมกับด้วยญาติทั้งหลายทั้งชายและหญิง, จงรักษาศีลให้บริบูรณ์. กาลทานสุตตะคาถา กาเล ทะทันติ สะปัญญา วะทัญญู วีตะมัจฉะรา, นรชนผู้มีปัญญาประกอบ ด้วยศรัทธา เป็นอันดี, มีตระหนี่อันปราศไปแล้ว ได้บริจาคทาน, ในกาลเมื่อปฏิคาหกขัดสนมีความปรารถนา เช่นนี้, กาเลนะ ทินนัง อะริเยสุ อุชุภูเตสุ ตาทิสุ, ทานที่ท่านผู้บริจาคได้ให้แล้วในพระอริยเจ้าทั้งหลาย ผู้ปฏิบัติซื่อตรงด้วยดีต่อธรรมวินัยอยู่เสมอ, ไม่เสื่อมจากคุณที่ได้แล้ว, วิปปะสันนะมะนา ตัสสะ วิปุลา โหติ ทักขิณา, ทานเครื่องเจริญความสุขของท่านผู้นั้น, เป็นของที่บุคคลทั้งหลาย ควรมีใจชื่นชมยินดี, เพราะว่าเป็นทักษิณาทาน, ที่เต็มไปด้วยวิบากกรรม สมบัติอันพิเศษไพบูลย์ยิ่งนัก, เย ตัตถะ อะนุโมทันติ เวยยาวัจจัง กะโรนติ วา, ชนทั้งหลายที่มิใช่เจ้าของทาน, เป็นแต่มีความยินดี, ร่าเริงบันเทิงจิตตามในกองทานนั้นก็ดี, และบุคคลที่ช่วยกระทำการขวนขวายในทานนั้นก็ดี, นะ เตนะ ทักขิณา โอนา เตปิ ปุญญัสสะ ภาคิโน, ย่อมเป็นผู้ได้ส่วนบุญด้วยอนุโมทนามัย, แลไวยาวัจมัยในทานนั้น, ส่วนทักษิณาทานนั้นเล่าก็มิได้บกพร่องไปด้วยเหตุนั้น, ตัส๎มา ทะเท อัปปะฏิวานะ จิตโต ยัตถะ ทินนัง มะหัปผะลัง, ดังนั้น บัณฑิตชนผู้มีศรัทธามั่น,พึงทำความยินดีในทักษิณาทาน, ที่ตนได้บริจาคแล้วนั้นเถิด, เพราะว่า ผลของทานนั้นใหญ่หลวงยิ่งนัก, ปุญญานิ ปะระโลกัส๎มิง ปะติฏฐา โหนติ ปาณินันติ. ดูก่อนท่านผู้เจริญทั้งหลาย, กุศลบุญที่ท่านทั้งหลายได้ทำไว้แล้วนั้น, ย่อมเป็นที่พึ่งแห่งท่านทั้งหลาย, ในโลกเบื้องหน้าดังนี้แล. ทานานุโมทนาคาถา อันนัง ปานัง วัตถัง ยานัง มาลา คันธัง วิเลปะนัง เสยยาวะสะถัง ปะทีเปยยัง ทานาวัตถู อิเม ทะสะ, ทานวัตถุ ๑๐ อย่างเหล่านี้ คือข้าว, น้ำ, ผ้า, ยานพาหนะ, ระเบียบ ดอกไม้, ของหอม, เครื่องลูบไล้, ที่นอน, ที่พักอาศัย และเครื่องประทีป, อันนะโท พะละโท โหติ, ผู้ให้ข้าว ชื่อว่าให้กำลัง, วัตถะโท โหติ วัณณะโท, ผู้ให้ผ้า ชื่อว่าให้วรรณะ, ยานะโท สุขะโท โหติ, ผู้ให้ยานพาหนะ ชื่อว่าให้ความสุข, ทีปะโท โหติ จักขุโท, ผู้ให้ประทีป ชื่อว่าให้ดวงตา, มะนาปะทายี ละภะเต มะนาปัง, ผู้ให้ของที่พอใจ ย่อมได้ของที่พอใจ, อัคคัสสะ ทาตา ละภะเต ปุนัคคัง, ผู้ให้วัตถุอันเลิศย่อมได้วัตถุอันเลิศ, วะรัสสะ ทาตา วะระลาภิ โหติ, ผู้ให้ของดี ย่อมได้ของดี, เสฏฐันทะโท เสฏฐะมุเปติ ฐานัง, ผู้ให้ฐานะอันประเสริฐ ย่อมเข้าถึงฐานะอันประเสริฐ, อัคคะทายี วะระทายี เสฏฐะทายี จะ โย นะโร, นรชนใดให้ของที่เลิศให้ของที่ดีและให้ฐานะอันประเสริฐ, ทีฆายุ ยะสะวา โหติ ยัตถะ ยัตถูปะปัชชะตี ติ, นรชนนั้น ไปเกิดในที่ใดๆ ย่อมเป็นผู้มีอายุยืน มียศ ในที่นั้นๆ, เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ, ด้วยสัจจะวาจาภาษิตนี้, สุวัตถิ โหตุ สัพพะทา อาโรคิยะสุขัญเจวะ กุสะลัญจะ อะนามะยัง. ขอความสุข ความสวัสดี ความไม่มีโรค และอนามัยเป็นอันดี จงมีแก่ท่านทั้งหลายทุกเมื่อ. ................................................................................................................................... สิทธะมัตถุ สิทธะมัตถุ ขอผลทั้งนี้ จงเป็นผลสำเร็จ สิทธะมัตถุ อิทัง ผะลัง จงเป็นผลสำเร็จ จงเป็นผลสำเร็จ เอตัส๎มิง ระตะนัตตะ ยัส๎มิง สัมปะสาทะ นะเจตะโส. แก่ท่านผู้มีใจเลื่อมใสในพระรัตนตรัยนั้นเทอญ. สุภาษิตคาถา สาธุรูโป จะปาสังโส ท๎วารัตตะเยนะ สัจจะวา, ผู้มีความสัตย์ ด้วยทวารทั้งสาม, ครบทั้งกาย วาจา ใจ ดีจริง ควรสรรเสริญ, ฉันโท จะวิริยัง จิตตัง วิมังสา จาตถะสาธิกา, ความชอบใจอยากทำหนึ่ง ความเพียรหนึ่ง, จิตที่ดีหนึ่ง ปัญญาที่รู้เลือกเฟ้นหนึ่ง, ทั้งสี่สิ่งนี้ให้ประโยชน์นั้นๆ สำเร็จทุกกิจการ, ทะทายะ อิริตา วาจา, วาจาที่บุคคลกล่าวด้วยเอ็นดูกรุณา, โสตุนา อะนุการินา, ควรที่ผู้ฟังจะทำตาม, โสตูหิ อะนุกาตัพพา เมตตะ จิตเตนะภาสิตา, วาจาที่ผู้มีจิตเมตตากล่าว, ผู้ฟังทั้งหลายพึงทำตาม, โสตูหิ สุฏฐุ โสตัพพา อัตถะกาเมนะ ภาสิตา, วาจาที่ผู้ปรารถนาประโยชน์กล่าว, ผู้ฟังพึงฟังให้ดี โดยเคารพเถิด, กะตัสสะ นัตถิ ปะฏิการัง, สิ่งที่ตนทำแล้วจะทำคืนไม่ได้, ปะเควะตัง ปะริกขิตัง, ให้ผู้จะทำ พิจารณาเสียก่อนจึงทำ, อะวิจินติยะกะตัง กัมมัง, กรรมที่บุคคลไม่ได้คิดแล้วทำ, ปัจฉาตาปายะ วัตตะเต, เป็นไปเพื่อเดือดร้อนเมื่อภายหลัง, กะยิรา เจ กะยิราเถนัง, ถ้าจะทำแล้วก็ให้ทำจริงๆ จึงจะดี, เอวันตัง ตัง สะมิชฌะติ, อย่างนี้กิจนั้นนั้น ก็จะสำเร็จได้โดยประสงค์, รักเขยยะ อัตตะโน สาธุง, ให้รักษาคุณความดีของตนไว้, ละวะณัง โลณะตัง ยะถา, ดังเกลือรักษาความเค็ม ของเกลือไว้, สัมมาปะฏิเวกขิต๎วา ตังตัง กะเรยยะอิสสะโร, คนใหญ่ให้พิจารณาให้ดีให้ชอบเสียก่อน, จึงค่อยทำกิจการนั้นๆ, กะเรยยัง กิญจิ ปาสังสัง, จะทำอะไรให้ผู้รู้ชมสรรเสริญ, เอวัง โนสสานุตัปปะนัง, อย่างนี้จึงจะไม่มีความร้อนใจเมื่อภายหลัง, สัมมุขา ยาทิสัง จิณณัง, ต่อหน้าคนประพฤติเช่นไร, ปะรัมมุขาปิ ตาทิสัง, ถึงลับหลังคนก็ให้ประพฤติเช่นนั้น, ภูมิเว สาธุรูปานัง กะตัญญู กะตะเวทิตา, ความเป็นผู้กตัญญูกตเวทีเป็นพื้นของคนดีทั้งหลายในโลก, สุทาชชะโว อะโนลิโน, ผู้ซื่อตรงดีไม่ท้อถอย, กุพพัง ปะรัมมุขา อะปิ, เมื่อทำกิจการแม้ ณ ที่ลับหลัง, รักขะมาโน สะโต รักเข, ผู้จะรักษาให้มีสติระวังรักษา, อัปปัต โตโน จะ อุลละเป, อนึ่ง เมื่อยังไม่ถึงอย่าพึงพูดอวด, อัตตาหิ อัตตะโน นาโถ, ตนเป็นที่พึ่งของตน, โกหิ นาโถ ปะโร สิยา, ใครผู้อื่นจะเป็นที่พึ่งแก่ตนได้, ปะฏิกัจเจวะตัง กะยิรา ยังชัญญา หิตะมัต ตะโน, ถ้ารู้ว่าสิ่งใดเป็นประโยชน์แก่ตนแล้ว, พึงทำกิจนั้นๆ แต่เดิมทีเดียว, สะทัตถะ ปะสุโต สิยา, พึงเป็นผู้ขวนขวายในประโยชน์ของตนเถิด, สะทัตถะ ปะระมา อัตถา, ประโยชน์ทั้งหลาย มีประโยชน์ของตนเป็นอย่างยิ่ง, ขันตะยาภิยโย นะ วิชชะติ, สิ่งอื่นๆ ไม่มียิ่งกว่าขันติความอดทน, สามัญเญ สะมะโณ ติฏเฐ, ตนเป็นสมณะ พึงตั้งอยู่ในธรรมของสมณะ, ปูเรยยะ ธัมมะมัตตะโน, พึงบำเพ็ญธรรมของตนๆ ให้บริบูรณ์เถิด, อุจโจหิ อุจจะตัง รักขัง, ตนเป็นคนสูง ให้รักษาความสูงของตนไว้, คุณะวา จาตตะโน คุณัง, ผู้มีคุณความดีให้รักษาคุณความดีของตนไว้ให้ดี, สาธุโข ทุลละโภ โลเก, คุณความดีหายากยิ่งนักในโลก, อะสาธุ สุละโภ สะทา. สิ่งที่ไม่ดีไม่ชอบหาง่ายทุกเมื่อ. มงคลจักรวาลน้อย สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, พุทธะระตะนัง ธัมมะระตะนัง สังฆะระตะนัง, ติณณังระตะนานัง อานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระรัตนะสามคือ, พุทธรัตนะ ธัมมะรัตนะ สังฆรัตนะ, จะตุราสีติสะหัสสะธัมมักขันธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมขันธ์ ๘ หมื่น ๔ พัน, ปิฏะกัตตะยานุภาเวนะ ชินะสาวะกานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระไตรปิฎก, ด้วยอานุภาพแห่งพระสาวกของพระชินเจ้า, สัพเพ เต โรคา สัพเพ เต ภะยา, สรรพโรคทั้งหลายของท่าน, สรรพภัยทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต อันตะรายา สัพเพ เต อุปัททะวา, สรรพอันตรายทั้งหลายของท่าน, สรรพอุปัทวะ ทั้งหลายของท่าน, สัพเพ เต ทุนนิมิตตา สัพเพ เต อะวะมังคะลา, สรรพนิมิตร้ายทั้งหลายของท่าน, สรรพอวมงคลทั้งหลายของท่าน, วินัสสันตุ, จงพินาศไป, อายุวัฑฒะโก ธะนะวัฑฒะโก, ความเจริญอายุ ความเจริญทรัพย์, สิริวัฑฒะโก ยะสะวัฑฒะโก, ความเจริญสิริ ความเจริญยศ, พะละวัฑฒะโก วัณณะวัฑฒะโก, ความเจริญกำลัง ความเจริญวรรณะ, สุขะวัฑฒะโก โหนตุ สัพพะทา, ความเจริญสุข จงมีแก่ท่านในกาลทั้งปวง, ทุกขะโรคะภะยา เวรา โสกา สัตตุ จุปัท๎วา, ทุกข์โรคภัยและเวรทั้งหลาย, ความโศก ศัตรู และอุปัทวะทั้งหลาย, อะเนกา อันตะรายาปิ วินัสสันตุ จะ เตชะสา, ทั้งอันตรายทั้งหลายเป็นอเนก, จงพินาศไปด้วยเดชะ, ชะยะสิทธิ ธะนัง ลาภัง, ความชนะ ความสำเร็จ ทรัพย์และลาภ, โสตถิ ภาค๎ยัง สุขัง พะลัง, ความสวัสดี ความมีโชค ความสุขมีกำลัง, สิริ อายุ จะ วัณโณ จะ โภคัง วุฑฒี จะ ยะสะวา, สิริ อายุ วรรณะ โภคะ, ความเจริญ และความเป็นผู้มียศ, สะตะวัสสา จะ อายู จะ, แลอายุยืนร้อยปี, ชีวะสิทธี ภะวันตุ เต. ความสำเร็จกิจ ในความเป็นอยู่ จงมีแก่ท่าน. สัพพะพุทธานุภาเวนะ (ย่อ) สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ขอความสวัสดีทั้งหลาย, จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ. ภะวะตุ สัพ ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง, ขอสรรพมงคลจงมีแก่ท่าน, รักขันตุ สัพพะเทวะตา, ขอเหล่าเทวดา จงรักษาท่าน, สัพพะพุทธานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้า, สัพพะธัมมานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม, สัพพะสังฆานุภาเวนะ, ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์, สะทา โสตถี ภะวันตุ เต. ขอความสวัสดีทั้งหลาย, จงมีแก่ท่านทุกเมื่อ. ปัจฉิมพุทธโอวาทปาฐะ หันทะทานิ ภิกขะเว อามันตะยา มิโว, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้, เราขอเตือนท่านทั้งหลายว่า, วะยะธัมมา สังขารา, สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา, อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ, ท่านทั้งหลาย, จงทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด, อะยังตะถาคะตัสสะ ปัจฉิมา วาจา. นี่เป็นวาจามีในครั้งสุด ท้ายของพระตถาคตเจ้า

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับ สามารถเมตตาได้กระทั่งตัวเองไปจนถึงขอบปากของจักรวาลก็ยังได้" ฉะนั้นในทางพระพุทธศาสนาจึงมีลักษณะจิตของพระอรหันต์อยู่อย่างหนึ่งว่า พระอรหันต์เป็นผู้ที่มี " วิมริยาทิกตจิต ผู้ที่เปี่ยมด้วยพลังแห่งเมตตานี้ในขั้นสมบูรณ์ที่สุดคือพระอรหันต์ จะมีภาวะจิตอย่างหนึ่งที่เรียกว่า “วิมริยาทิกตจิต” คือ จิตใจไร้พรมแดน ซึ่งหมายถึง .. วิมริยาทิกตํ จิตฺตํ ความว่า จิตของเราอันเรากระทำให้มี ที่สุดไปปราศแล้ว คือให้ถึงความไม่ต้องเกิดต่อไปเป็นธรรมดา อธิบายว่า เพราะเหตุนั้นแล จิตของเราจักดับอยู่ในภพนี้เอง

พระเจ้าปุกกุสาติพระปุกกุสาติ ท่านเป็นชาวแคว้นคันธาระโดยกำเนิด เรื่องราว ของท่านดังนี้ สถานะเดิม เกิดในราชตระกูลในกรุงตักกสิลา เป็นพระราชาพระนามว่า ปุกกุสาติ การออกบวช ออกบวชอุทิศแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่พระปุกกุสาติไม่รู้จักพระผู้มีพระภาคเจ้ามาก่อน สาเหตุที่ออกบวชเพราะเลื่อมใสในกิตติศัพท์อันงามที่ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ การบรรลุธรรม สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อ ภัคควะ ยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า "ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" นายภัคควะทูลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด" สำหรับบรรพชิตที่พักอยู่ก่อนแล้วก็คือท่านปุกกุสาตินั่นเอง ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด" เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง" ต่อนั้นพระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น" พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้นประทับอยู่ที่ไหน ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือเดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ" พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถามต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา" ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า "ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ" ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงธรรมจบลง ท่านปุกกุสาติได้บรรลุอนาคามิผลและทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษให้ ครั้นแล้วท่านปุกกุสาติก็ขอบวชในพระพุทธศาสนา แต่พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ" พระพุทธองค์จึงตรัสต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย" ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้วหลีกไปหาบาตรและจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรและจีวรอยู่นั่นเอง บั้นปลายชีวิต หลังจากบรรลุอนาคามิผลแล้วได้ไม่ถึงวันก็สิ้นชีพโดยถูกแม่โคตัวเดียวกับที่ขวิดท่านพระพาหิยะขวิดตายขณะที่ท่านกำลังแสวงหาบาตรและจีวร ทั้งนี้ด้วยเป็นเพราะบาปกรรมเก่าในอดีตชาติตามมาให้ผล กรรมเก่านั้น คือ ท่านร่วมกับเพื่อนลวงโสเภณีนางหนึ่งไปฆ่าชิงทรัพย์ เรื่องมีว่า ในชาตินั้นท่านเกิดเป็นเพื่อนกับลูกเศรษฐี วันหนึ่งท่านได้ร่วมกับพวกและบุตรเศรษฐี ๓ คนรวมท่านด้วยเป็น ๔ คน ได้ว่าจ้างโสเภณีนางหนึ่งไปหาความสุขสำราญกันในสวน ซึ่งเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจด้วยราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ ตกเย็นครั้นจ่ายค่าตัวให้นางแล้ว รู้สึกเสียดายจึงวางแผนฆ่านางทิ้งแล้วชิงเอาเงินคืนพร้อมทั้งปลดเอาเครื่องประดับในตัวนางไปด้วย ฝ่ายโสเภณีเมื่อรู้ว่าจะถูกฆ่าแน่ ทั้งที่ตัวเองไม่มีความผิด ก็อ้อนวอนขอชีวิต แต่ก็ไร้ผล ก่อนจะสิ้นชีวิต นางได้ตั้งจิตอธิษฐาน ขอให้ได้ฆ่าคนเหล่านั้นเป็นการแก้แค้นบ้างในชาติหน้า แรงอาฆาตทำให้นางไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายพระปุกกุสาติและเพื่อนอีก ๓ คนนั้น เวียนว่ายตายเกิดและตกนรกเพราะกรรมนั้นส่งผล แล้วมาในชาตินี้พระปุกกุสาติก็มาเกิดเป็นมนุษย์ นางยักษิณีอดีตโสเภณีจึงได้แปลงเป็นแม่โคมาขวิดตายหมดทุกคน โดยเพื่อนของท่าน ๓ คน คือ ท่านพระพาหิยะทารุจิริยะ เพชฌฆาตตัมพทาฐิกะ (โจรเคราแดง) และ สุปปพุทธกุฏฐิ (ชายขอทานขี้เรื้อน) เอตทัคคะ-อดีตชาติ ท่านไม่ได้ตำแหน่งเอตทัคคะใดๆ และยังต้องบำเพ็ญกิจของพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ เพื่อบรรลุอรหัตผลที่พรหมโลกชั้นปัญจสุทธาวาส ชาติที่ท่านพบพระพุทธเจ้ากัสสปะนั้น หลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสปะเสด็จดับขันธปรินิพพานได้นานแล้ว ช่วงเวลาที่พระพุทธศาสนากำลังใกล้สูญสิ้นไปจากโลก ท่านได้ออกบวชและได้เห็นพุทธบริษัท ๔ เป็นจำนวนมากต่างทอดทิ้งพระธรรมคำสอน จึงเกิดความสลดใจ ท่านพร้อมกับเพื่อนพระอีก ๖ รูป (รวมเป็น ๗ รูป) คิดว่า ตราบใดที่พระศาสนายังไม่เสื่อมสิ้นไป พวกเราจงเป็นที่พึ่งแก่ตนเองเถิด จึงพากันไปสักการะพระสุวรรณเจดีย์สูงหนึ่งโยชน์ที่มหาชนได้ร่วมกันสร้างเมื่อครั้งพระกัสสปพุทธเจ้าทรงปรินิพพานแล้ว ได้มองเห็นภูเขาสูงชันลูกหนึ่ง จึงชวนกันขึ้นไปปฏิบัติธรรมอยู่บนภูเขาลูกนั้น โดยตั้งใจว่าถ้าไม่สำเร็จมรรคผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะยอมสิ้นชีวิตอยู่บนนั้น แล้วจึงตัดไม้ไผ่มาทำเป็นพะอง (บันไดไม้) เพื่อปีนป่ายขึ้นไปตามหน้าผาของภูเขานั้น เมื่อทั้งหมดพากันขึ้นไปยังยอดสูงของภูเขาลูกนั้นแล้ว ก็ผลักพะองให้ตกหน้าผาไปเพื่อไม่ให้มีทางกลับลงมาได้ แล้วต่างก็บำเพ็ญสมณธรรมอยู่บนนั้น ในบรรดาภิกษุทั้ง ๗ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้อาวุโสสูงสุด ก็ได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยอภิญญา ๖ ในคืนนั้นเอง ครั้นรุ่งเช้าพระมหาเถระจึงเหาะไปสู่ หิมวันตประเทศด้วยฤทธิ์ ล้างหน้าที่สระอโนดาต เที่ยวไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีป ฉันอาหารเสร็จแล้วได้ไปยังที่อื่นต่อไป ได้ภัตตาหารเต็มบาตรแล้ว เอาน้ำที่ สระอโนดาตล้างหน้าแล้วและเคี้ยวไม้สีฟันชื่อ อนาคลดา แล้วจึงนำภัตและสิ่งของเหล่านั้นมายังพระภิกษุเหล่านั้นที่ยังไม่บรรลุธรรมอันวิเศษ แล้วกล่าวว่า อาวุโส ทั้งหลาย บิณฑบาตนี้ผมนำมาจากแคว้นอุตรกุรุ น้ำและไม้สีฟันนี้นำมาจากหิมวันตประเทศ ท่านทั้งหลายจงฉันภัตตาหารนี้บำเพ็ญ สมณธรรมเถิด ผมจะอุปัฏฐากพวกท่านอย่างนี้ตลอดไป ภิกษุเหล่านั้นได้ฟัง แล้วจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ พระคุณเจ้าทำกิจเสร็จแล้ว พวกกระผม แม้เพียงสนทนากับพระคุณเจ้าก็เสียเวลาอยู่แล้ว บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าอย่ามาหา พวกกระผมอีกเลย พระมหาเถระนั้นเมื่อไม่สามารถจะให้ภิกษุเหล่านั้นยินยอม ได้โดยวิธีใด ๆ ก็หลีกไป แต่นั้นบรรดาภิกษุเหล่านั้นรูปหนึ่ง โดยล่วงไป ๒-๓ วันได้เป็น พระอนาคามีได้อภิญญา ๕ ภิกษุนั้นก็ได้ทำเหมือนอย่างเช่นที่พระเถระที่บรรลุพระอรหัตทำเหมือนกัน ครั้นถูกภิกษุที่เหลือที่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ ห้าม ก็กลับไปเช่นเดียวกัน ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษใด ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา จนมาถึงพุทธุปบาทกาลของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน (พระพุทธเจ้าโคดม) ทั้งหมดนั้นได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั่นเอง วาจานุสรณ์ ไม่มีกล่าววาจาใดไว้เป็นอนุสรณ์เพราะด่วนสิ้นชีวิต

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานพระปุกกุสาติ ท่านเป็นชาวแคว้นคันธาระโดยกำเนิด เรื่องราว ของท่านดังนี้ สถานะเดิม เกิดในราชตระกูลในกรุงตักกสิลา เป็นพระราชาพระนามว่า ปุกกุสาติ การออกบวช ออกบวชอุทิศแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่พระปุกกุสาติไม่รู้จักพระผู้มีพระภาคเจ้ามาก่อน สาเหตุที่ออกบวชเพราะเลื่อมใสในกิตติศัพท์อันงามที่ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ การบรรลุธรรม สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อ ภัคควะ ยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า "ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" นายภัคควะทูลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด" สำหรับบรรพชิตที่พักอยู่ก่อนแล้วก็คือท่านปุกกุสาตินั่นเอง ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด" เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง" ต่อนั้นพระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น" พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้นประทับอยู่ที่ไหน ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือเดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ" พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถามต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา" ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า "ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ" ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงธรรมจบลง ท่านปุกกุสาติได้บรรลุอนาคามิผลและทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษให้ ครั้นแล้วท่านปุกกุสาติก็ขอบวชในพระพุทธศาสนา แต่พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ" พระพุทธองค์จึงตรัสต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย" ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้วหลีกไปหาบาตรและจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรและจีวรอยู่นั่นเอง บั้นปลายชีวิต หลังจากบรรลุอนาคามิผลแล้วได้ไม่ถึงวันก็สิ้นชีพโดยถูกแม่โคตัวเดียวกับที่ขวิดท่านพระพาหิยะขวิดตายขณะที่ท่านกำลังแสวงหาบาตรและจีวร ทั้งนี้ด้วยเป็นเพราะบาปกรรมเก่าในอดีตชาติตามมาให้ผล กรรมเก่านั้น คือ ท่านร่วมกับเพื่อนลวงโสเภณีนางหนึ่งไปฆ่าชิงทรัพย์ เรื่องมีว่า ในชาตินั้นท่านเกิดเป็นเพื่อนกับลูกเศรษฐี วันหนึ่งท่านได้ร่วมกับพวกและบุตรเศรษฐี ๓ คนรวมท่านด้วยเป็น ๔ คน ได้ว่าจ้างโสเภณีนางหนึ่งไปหาความสุขสำราญกันในสวน ซึ่งเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจด้วยราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ ตกเย็นครั้นจ่ายค่าตัวให้นางแล้ว รู้สึกเสียดายจึงวางแผนฆ่านางทิ้งแล้วชิงเอาเงินคืนพร้อมทั้งปลดเอาเครื่องประดับในตัวนางไปด้วย ฝ่ายโสเภณีเมื่อรู้ว่าจะถูกฆ่าแน่ ทั้งที่ตัวเองไม่มีความผิด ก็อ้อนวอนขอชีวิต แต่ก็ไร้ผล ก่อนจะสิ้นชีวิต นางได้ตั้งจิตอธิษฐาน ขอให้ได้ฆ่าคนเหล่านั้นเป็นการแก้แค้นบ้างในชาติหน้า แรงอาฆาตทำให้นางไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายพระปุกกุสาติและเพื่อนอีก ๓ คนนั้น เวียนว่ายตายเกิดและตกนรกเพราะกรรมนั้นส่งผล แล้วมาในชาตินี้พระปุกกุสาติก็มาเกิดเป็นมนุษย์ นางยักษิณีอดีตโสเภณีจึงได้แปลงเป็นแม่โคมาขวิดตายหมดทุกคน โดยเพื่อนของท่าน ๓ คน คือ ท่านพระพาหิยะทารุจิริยะ เพชฌฆาตตัมพทาฐิกะ (โจรเคราแดง) และ สุปปพุทธกุฏฐิ (ชายขอทานขี้เรื้อน) เอตทัคคะ-อดีตชาติ ท่านไม่ได้ตำแหน่งเอตทัคคะใดๆ และยังต้องบำเพ็ญกิจของพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ เพื่อบรรลุอรหัตผลที่พรหมโลกชั้นปัญจสุทธาวาส ชาติที่ท่านพบพระพุทธเจ้ากัสสปะนั้น หลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสปะเสด็จดับขันธปรินิพพานได้นานแล้ว ช่วงเวลาที่พระพุทธศาสนากำลังใกล้สูญสิ้นไปจากโลก ท่านได้ออกบวชและได้เห็นพุทธบริษัท ๔ เป็นจำนวนมากต่างทอดทิ้งพระธรรมคำสอน จึงเกิดความสลดใจ ท่านพร้อมกับเพื่อนพระอีก ๖ รูป (รวมเป็น ๗ รูป) คิดว่า ตราบใดที่พระศาสนายังไม่เสื่อมสิ้นไป พวกเราจงเป็นที่พึ่งแก่ตนเองเถิด จึงพากันไปสักการะพระสุวรรณเจดีย์สูงหนึ่งโยชน์ที่มหาชนได้ร่วมกันสร้างเมื่อครั้งพระกัสสปพุทธเจ้าทรงปรินิพพานแล้ว ได้มองเห็นภูเขาสูงชันลูกหนึ่ง จึงชวนกันขึ้นไปปฏิบัติธรรมอยู่บนภูเขาลูกนั้น โดยตั้งใจว่าถ้าไม่สำเร็จมรรคผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะยอมสิ้นชีวิตอยู่บนนั้น แล้วจึงตัดไม้ไผ่มาทำเป็นพะอง (บันไดไม้) เพื่อปีนป่ายขึ้นไปตามหน้าผาของภูเขานั้น เมื่อทั้งหมดพากันขึ้นไปยังยอดสูงของภูเขาลูกนั้นแล้ว ก็ผลักพะองให้ตกหน้าผาไปเพื่อไม่ให้มีทางกลับลงมาได้ แล้วต่างก็บำเพ็ญสมณธรรมอยู่บนนั้น ในบรรดาภิกษุทั้ง ๗ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้อาวุโสสูงสุด ก็ได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยอภิญญา ๖ ในคืนนั้นเอง ครั้นรุ่งเช้าพระมหาเถระจึงเหาะไปสู่ หิมวันตประเทศด้วยฤทธิ์ ล้างหน้าที่สระอโนดาต เที่ยวไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีป ฉันอาหารเสร็จแล้วได้ไปยังที่อื่นต่อไป ได้ภัตตาหารเต็มบาตรแล้ว เอาน้ำที่ สระอโนดาตล้างหน้าแล้วและเคี้ยวไม้สีฟันชื่อ อนาคลดา แล้วจึงนำภัตและสิ่งของเหล่านั้นมายังพระภิกษุเหล่านั้นที่ยังไม่บรรลุธรรมอันวิเศษ แล้วกล่าวว่า อาวุโส ทั้งหลาย บิณฑบาตนี้ผมนำมาจากแคว้นอุตรกุรุ น้ำและไม้สีฟันนี้นำมาจากหิมวันตประเทศ ท่านทั้งหลายจงฉันภัตตาหารนี้บำเพ็ญ สมณธรรมเถิด ผมจะอุปัฏฐากพวกท่านอย่างนี้ตลอดไป ภิกษุเหล่านั้นได้ฟัง แล้วจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ พระคุณเจ้าทำกิจเสร็จแล้ว พวกกระผม แม้เพียงสนทนากับพระคุณเจ้าก็เสียเวลาอยู่แล้ว บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าอย่ามาหา พวกกระผมอีกเลย พระมหาเถระนั้นเมื่อไม่สามารถจะให้ภิกษุเหล่านั้นยินยอม ได้โดยวิธีใด ๆ ก็หลีกไป แต่นั้นบรรดาภิกษุเหล่านั้นรูปหนึ่ง โดยล่วงไป ๒-๓ วันได้เป็น พระอนาคามีได้อภิญญา ๕ ภิกษุนั้นก็ได้ทำเหมือนอย่างเช่นที่พระเถระที่บรรลุพระอรหัตทำเหมือนกัน ครั้นถูกภิกษุที่เหลือที่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ ห้าม ก็กลับไปเช่นเดียวกัน ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษใด ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา จนมาถึงพุทธุปบาทกาลของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน (พระพุทธเจ้าโคดม) ทั้งหมดนั้นได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั่นเอง วาจานุสรณ์ ไม่มีกล่าววาจาใดไว้เป็นอนุสรณ์เพราะด่วนสิ้นชีวิต

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานพระปุกกุสาติ ท่านเป็นชาวแคว้นคันธาระโดยกำเนิด เรื่องราว ของท่านดังนี้ สถานะเดิม เกิดในราชตระกูลในกรุงตักกสิลา เป็นพระราชาพระนามว่า ปุกกุสาติ การออกบวช ออกบวชอุทิศแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า แต่พระปุกกุสาติไม่รู้จักพระผู้มีพระภาคเจ้ามาก่อน สาเหตุที่ออกบวชเพราะเลื่อมใสในกิตติศัพท์อันงามที่ได้ยินมาว่า พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหาคนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจกธรรม ดังนี้ การบรรลุธรรม สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อชื่อ ภัคควะ ยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า "ดูกรนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" นายภัคควะทูลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด" สำหรับบรรพชิตที่พักอยู่ก่อนแล้วก็คือท่านปุกกุสาตินั่นเอง ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด" เมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรง ดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรจะถามดูบ้าง" ต่อนั้นพระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า "ดูกรภิกษุ ท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์ฟุ้งไป งามอย่างนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น" พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็เดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้นประทับอยู่ที่ไหน ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือเดี๋ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น ฯ" พระผู้มีพระภาคจึงตรัสถามต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ดูกรท่านผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคพระองค์นั้นเลย ถึงเห็นแล้วก็ไม่รู้จัก ฯ" ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้มีพระดำริดังนี้ว่า "กุลบุตรนี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา" ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า "ดูกรภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงฟังธรรมนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าวต่อไป" ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคว่า "ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ" ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าแสดงธรรมจบลง ท่านปุกกุสาติได้บรรลุอนาคามิผลและทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้ว จึงลุกจากอาสนะ ทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาค แล้วทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้องข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคด้วยวาทะว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด" พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอดโทษให้ ครั้นแล้วท่านปุกกุสาติก็ขอบวชในพระพุทธศาสนา แต่พระพุทธองค์ตรัสถามว่า "ดูกรภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ ฯ" ท่านปุกกุสาติตอบว่า "ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า ฯ" พระพุทธองค์จึงตรัสต่อไปว่า "ดูกรภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยังไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย" ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคกระทำประทักษิณแล้วหลีกไปหาบาตรและจีวร ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรและจีวรอยู่นั่นเอง บั้นปลายชีวิต หลังจากบรรลุอนาคามิผลแล้วได้ไม่ถึงวันก็สิ้นชีพโดยถูกแม่โคตัวเดียวกับที่ขวิดท่านพระพาหิยะขวิดตายขณะที่ท่านกำลังแสวงหาบาตรและจีวร ทั้งนี้ด้วยเป็นเพราะบาปกรรมเก่าในอดีตชาติตามมาให้ผล กรรมเก่านั้น คือ ท่านร่วมกับเพื่อนลวงโสเภณีนางหนึ่งไปฆ่าชิงทรัพย์ เรื่องมีว่า ในชาตินั้นท่านเกิดเป็นเพื่อนกับลูกเศรษฐี วันหนึ่งท่านได้ร่วมกับพวกและบุตรเศรษฐี ๓ คนรวมท่านด้วยเป็น ๔ คน ได้ว่าจ้างโสเภณีนางหนึ่งไปหาความสุขสำราญกันในสวน ซึ่งเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจด้วยราคา ๑,๐๐๐ กหาปณะ ตกเย็นครั้นจ่ายค่าตัวให้นางแล้ว รู้สึกเสียดายจึงวางแผนฆ่านางทิ้งแล้วชิงเอาเงินคืนพร้อมทั้งปลดเอาเครื่องประดับในตัวนางไปด้วย ฝ่ายโสเภณีเมื่อรู้ว่าจะถูกฆ่าแน่ ทั้งที่ตัวเองไม่มีความผิด ก็อ้อนวอนขอชีวิต แต่ก็ไร้ผล ก่อนจะสิ้นชีวิต นางได้ตั้งจิตอธิษฐาน ขอให้ได้ฆ่าคนเหล่านั้นเป็นการแก้แค้นบ้างในชาติหน้า แรงอาฆาตทำให้นางไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายพระปุกกุสาติและเพื่อนอีก ๓ คนนั้น เวียนว่ายตายเกิดและตกนรกเพราะกรรมนั้นส่งผล แล้วมาในชาตินี้พระปุกกุสาติก็มาเกิดเป็นมนุษย์ นางยักษิณีอดีตโสเภณีจึงได้แปลงเป็นแม่โคมาขวิดตายหมดทุกคน โดยเพื่อนของท่าน ๓ คน คือ ท่านพระพาหิยะทารุจิริยะ เพชฌฆาตตัมพทาฐิกะ (โจรเคราแดง) และ สุปปพุทธกุฏฐิ (ชายขอทานขี้เรื้อน) เอตทัคคะ-อดีตชาติ ท่านไม่ได้ตำแหน่งเอตทัคคะใดๆ และยังต้องบำเพ็ญกิจของพรหมจรรย์ให้บริบูรณ์ เพื่อบรรลุอรหัตผลที่พรหมโลกชั้นปัญจสุทธาวาส ชาติที่ท่านพบพระพุทธเจ้ากัสสปะนั้น หลังจากที่พระพุทธเจ้ากัสสปะเสด็จดับขันธปรินิพพานได้นานแล้ว ช่วงเวลาที่พระพุทธศาสนากำลังใกล้สูญสิ้นไปจากโลก ท่านได้ออกบวชและได้เห็นพุทธบริษัท ๔ เป็นจำนวนมากต่างทอดทิ้งพระธรรมคำสอน จึงเกิดความสลดใจ ท่านพร้อมกับเพื่อนพระอีก ๖ รูป (รวมเป็น ๗ รูป) คิดว่า ตราบใดที่พระศาสนายังไม่เสื่อมสิ้นไป พวกเราจงเป็นที่พึ่งแก่ตนเองเถิด จึงพากันไปสักการะพระสุวรรณเจดีย์สูงหนึ่งโยชน์ที่มหาชนได้ร่วมกันสร้างเมื่อครั้งพระกัสสปพุทธเจ้าทรงปรินิพพานแล้ว ได้มองเห็นภูเขาสูงชันลูกหนึ่ง จึงชวนกันขึ้นไปปฏิบัติธรรมอยู่บนภูเขาลูกนั้น โดยตั้งใจว่าถ้าไม่สำเร็จมรรคผลอย่างใดอย่างหนึ่งก็จะยอมสิ้นชีวิตอยู่บนนั้น แล้วจึงตัดไม้ไผ่มาทำเป็นพะอง (บันไดไม้) เพื่อปีนป่ายขึ้นไปตามหน้าผาของภูเขานั้น เมื่อทั้งหมดพากันขึ้นไปยังยอดสูงของภูเขาลูกนั้นแล้ว ก็ผลักพะองให้ตกหน้าผาไปเพื่อไม่ให้มีทางกลับลงมาได้ แล้วต่างก็บำเพ็ญสมณธรรมอยู่บนนั้น ในบรรดาภิกษุทั้ง ๗ รูปเหล่านั้น พระเถระผู้อาวุโสสูงสุด ก็ได้บรรลุพระอรหัตพร้อมด้วยอภิญญา ๖ ในคืนนั้นเอง ครั้นรุ่งเช้าพระมหาเถระจึงเหาะไปสู่ หิมวันตประเทศด้วยฤทธิ์ ล้างหน้าที่สระอโนดาต เที่ยวไปบิณฑบาตในอุตตรกุรุทวีป ฉันอาหารเสร็จแล้วได้ไปยังที่อื่นต่อไป ได้ภัตตาหารเต็มบาตรแล้ว เอาน้ำที่ สระอโนดาตล้างหน้าแล้วและเคี้ยวไม้สีฟันชื่อ อนาคลดา แล้วจึงนำภัตและสิ่งของเหล่านั้นมายังพระภิกษุเหล่านั้นที่ยังไม่บรรลุธรรมอันวิเศษ แล้วกล่าวว่า อาวุโส ทั้งหลาย บิณฑบาตนี้ผมนำมาจากแคว้นอุตรกุรุ น้ำและไม้สีฟันนี้นำมาจากหิมวันตประเทศ ท่านทั้งหลายจงฉันภัตตาหารนี้บำเพ็ญ สมณธรรมเถิด ผมจะอุปัฏฐากพวกท่านอย่างนี้ตลอดไป ภิกษุเหล่านั้นได้ฟัง แล้วจึงกล่าวว่า พระคุณเจ้าขอรับ พระคุณเจ้าทำกิจเสร็จแล้ว พวกกระผม แม้เพียงสนทนากับพระคุณเจ้าก็เสียเวลาอยู่แล้ว บัดนี้ ขอพระคุณเจ้าอย่ามาหา พวกกระผมอีกเลย พระมหาเถระนั้นเมื่อไม่สามารถจะให้ภิกษุเหล่านั้นยินยอม ได้โดยวิธีใด ๆ ก็หลีกไป แต่นั้นบรรดาภิกษุเหล่านั้นรูปหนึ่ง โดยล่วงไป ๒-๓ วันได้เป็น พระอนาคามีได้อภิญญา ๕ ภิกษุนั้นก็ได้ทำเหมือนอย่างเช่นที่พระเถระที่บรรลุพระอรหัตทำเหมือนกัน ครั้นถูกภิกษุที่เหลือที่ยังไม่บรรลุธรรมใด ๆ ห้าม ก็กลับไปเช่นเดียวกัน ภิกษุที่เหลือ ๕ องค์นั้น ครั้นถึงวันที่ ๗ จากวันที่ขึ้นไปสู่ภูเขาก็ยังไม่บรรลุคุณวิเศษใด ๆ จึงมรณภาพแล้วก็ไปเกิดในเทวโลก ฝ่ายพระเถระผู้เป็นขีณาสพก็ปรินิพพานในวันนั้นนั่นเอง ท่านที่เป็นพระอนาคามีได้บังเกิดในพรหมชั้นสุทธาวาส เทพบุตรทั้ง ๕ เสวยทิพยสมบัติใน สวรรค์ชั้นกามาวจร ๖ ชั้นกลับไปกลับมา จนมาถึงพุทธุปบาทกาลของพระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบัน (พระพุทธเจ้าโคดม) ทั้งหมดนั้นได้มาเกิดเป็นมนุษย์นั่นเอง วาจานุสรณ์ ไม่มีกล่าววาจาใดไว้เป็นอนุสรณ์เพราะด่วนสิ้นชีวิต

วิปัสสนา ภาคปฏิบัติ (อ.วรรณสิทธิ์ ไวทยะเสวี)ให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

การเจริญสติปัฏฐานที่ถูกต้องให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

วิถีแห่งโลกุตตระชนให้มันรู้ไปเลยว่า..เรา..เป็นลูก.พระพุทธเจ้า...มีภาษิตว่า ความเพียรของมนุษย์เทวดาก็กีดกันไม่ได้ ก็หมายความว่า พุทธศาสนาไม่ให้ยอมแพ้แก่โชคชะตา ให้ใช้ความเพียรพยายามด้วยปัญญา แล้วจะเอาชนะโชคชะตาได้ ๏เราต้องการผลก็ต้องทำเหตุ

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก...พระสาวกพระวิหารอันมีชนทุกหมู่เหล่า น่าดูน่าชม พระอิริยาบถ 002 หายไปหมดสิ้นแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระเวสสภู 003 ศาสดาชินเจ้าผู้ประเสริฐ เสด็จนิพพานที่เขมาราม พระธาตุของ 004 พระองค์แผ่ไปกว้างขวางในประเทศนั้นๆ ฉะนี้แล. 005 จบเวสสภูพุทธวงศ์ที่ ๒๑ 006 กุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒ 007 ว่าด้วยพระประวัติพระกกุสันธพุทธเจ้า 008 [๒๓] สมัยต่อมาจากพระเวสสภูพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ 009 พระนามว่า กุกกุสันธะ มีพระคุณประมาณมิได้ยากที่จะเทียมถึง 010 ทรงเพิกภพทั้งปวง ถึงที่สุดแห่งจริยา ทรงทำลายกิเลสดังราชสีห์ทำ 011 ลายกรงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระกุกกุสันธะ 012 พุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย 013 ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สี่หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงแผลงฤทธิ์ 014 กระทำยมกปาฏิหาริย์ในอากาศ พระองค์ทรงยังเทวดาและมนุษย์ให้ 015 ตรัสรู้สามหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อทรงประกาศจตุราริยสัจ แก่มนุษย์ 016 เทวดาและยักษ์ ธรรมาภิสมัยครั้งนั้น จะคำนวณนับมิได้ พระผู้มี 017 พระภาคกุกกุสันธะ ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ปราศจาก 018 มนทิน ผู้มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียวในกาลนั้น พระภิกษุขีณาสพ 019 ผู้บรรลุถึงภูมิที่ฝึกแล้ว เพราะสิ้นกิเลสเหตุให้เป็นหมู่คณะมีอาสวะ 020 เป็นต้น มาประชุมกันสี่หมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์ มีพระนามว่า 021 เขมะ เราได้ถวายทานมิใช่น้อยแด่พระตถาคตและพระสาวก เรา 022 ถวายบาตร จีวร ยาหยอดตา ชะเอมเครือ เราถวายของดีๆ ทุกอย่าง 023 ตามที่ภิกษุสงฆ์ปรารถนา แม้พระมุนีกุกกุสันธะผู้เป็นนายกชั้นพิเศษ 358 001 พระองค์นั้น ก็ทรงพยากรณ์เราว่าในภัทรกัปนี้ ผู้นี้จักได้เป็นพระ 002 พุทธเจ้าในโลก ....... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธ 003 พยากรณ์แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราอธิษฐานวัตร 004 ในการบำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการยิ่งขึ้น นครชื่อว่าเขมวดี ในกาลนั้น 005 เรามีชื่อว่าเขมะ เมื่อแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณจึงออกบวชใน 006 สำนักของพระองค์ พราหมณ์นามว่าอัคคิทัตตะเป็นพุทธบิดา 007 นางพราหมณีชื่อว่าวิสาขา เป็นพุทธมารดา ตระกูลใหญ่ของพระ 008 สัมพุทธเจ้าเป็นตระกูลที่ประเสริฐสุดกว่าตระกูลอื่นๆ มีชาติสูง 009 มียศมาก อยู่ในเขมนครนั้น พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่ 010 สี่พันปี มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อกามวัฑฒะ กามสุทธิ 011 และรติวัฑฒนะ มีนางสาวนารีสามหมื่นนาง บุตรชายนามว่าอุตระ 012 พระพิชิตมารทรงเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยรถอันเป็น 013 ยานพาหนะ บำเพ็ญเพียรอยู่ ๘ เดือนเต็ม พระกุกกุสันธมหาวีรเจ้า 014 ผู้อุดมกว่านรชน ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมี 015 พระวิธุรเถระและพระสัญชีวนามเถระเป็นพระอัครสาวก พระเถระ 016 ชื่อว่าพุทธิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสามาเถรีและพระจัมปนามา 017 เถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่าไม้ซึก 018 อัจจุคตอุบาสก และสุมนอุบาสกเป็นอัครอุปัฏฐาก นันทาอุบาสิกา 019 และสุนันทาอุบาสิกา เป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระมหามุนีมีพระองค์ 020 สูง ๔๐ ศอก พระรัศมีสีเปล่งปลั่งดังทองคำ เปล่งออกไป ๑๐ โยชน์ 021 โดยรอบ พระองค์มีพระชนมายุสี่หมื่นปี เมื่อทรงดำรงอยู่เท่านั้น 022 ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย ทรงแจกจ่าย 023 ตลาดธรรมให้แก่บุรุษและสตรี ทรงบันลือสีหนาทในโลกพร้อมทั้ง 024 เทวโลกแล้ว เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก พระองค์ ทรงถึง 359 001 พร้อมด้วยพระดำรัสมีองค์ ๘ ไม่มีช่องเนืองนิตย์ ทุกอย่างหายไป 002 หมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระกุกกุสันธชินเจ้าผู้ 003 ประเสริฐเสด็จนิพพานที่เขมาราม พระสถูปอันประเสริฐของ 004 พระองค์สูงคาวุตหนึ่ง ประดิษฐานอยู่ ณ เขมารามนั้น ฉะนี้แล. 005 จบกุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒ 006 โกนาคมนพุทธวงศ์ที่ ๒๓ 007 ว่าด้วยพระประวัติพระโกนาคมนพุทธเจ้า 008 [๒๔] สมัยต่อมาจากพระกุกกุสันธพุทธเจ้า พระสัมพุทธนราสภชินเจ้าผู้ 009 อุดมกว่าสัตว์ เชษฐบุรุษของโลก พระนามว่าโกนาคมนะ ทรง 010 บำเพ็ญธรรม ๑๐ ประการบริบูรณ์ ข้ามทางกันดารได้แล้ว ทรงลอย 011 มลทินทั้งปวงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระองค์ผู้ 012 เป็นนายกชั้นพิเศษของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย 013 ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สามหมื่นโกฏิ และในคราวเมื่อพระองค์ 014 ทรงทำปฏิหาริย์ย่ำยีวาทะของผู้อื่น ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ ได้มีแก่ 015 สัตว์สองหมื่นโกฏิ ต่อแต่นั้น พระมุนีสัมพุทธชินเจ้าทรงแผลงฤทธิ์ 016 ต่างๆ เสด็จไปยังดาวดึงส์เทวโลก ประทับเหนือบัณฑุกัมพลศิลา 017 อาสน์ ทรงจำพรรษาอยู่ ณ ดาวดึงส์นั้น ทรงแสดงพระอภิธรรม ๗ 018 คัมภีร์ ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ ได้มีแก่ทวยเทพหมื่นโกฏิ แม้ 019 พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ก็ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ 020 ปราศจากมลทิน ผู้มีจิตสงบระงับ คงที่ ครั้งเดียว ในกาลนั้น 021 พระภิกษุขีณาสพผู้ล่วงโอฆะทั้งหลายและทำลายมัจจุราชแล้ว มา 022 ประชุมกันสามหมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์พระนามว่าบรรพต 023 ถึงพร้อมด้วยมิตรและอำมาตย์ มีพลนิกายและพาหนะมากมาย เรา 360 001 ไปเฝ้าพระสัมพุทธเจ้าได้ฟังธรรมอันยอดเยี่ยมแล้ว นิมนต์พระสงฆ์ 002 พร้อมด้วยพระชินเจ้า ได้ถวายทานตามปรารถนา เราได้ถวายผ้า 003 ปัตตุณณะ ผ้าเมืองจีน ผ้าไหม ผ้ากัมพล และรองเท้าทอง แก่ 004 พระศาสดาและพระสาวก แม้พระมุนีพระองค์นั้น ก็ประทับนั่ง 005 ท่ามกลางสงฆ์ตรัสพยากรณ์เราว่า ในภัทรกัปนี้ผู้นี้จักได้เป็นพระพุทธ 006 เจ้าในโลก .... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธพยากรณ์ 007 แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราได้อธิษฐานวัตรในการ 008 บำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการให้ยิ่งขึ้นไป เราผู้อุดมกว่านรชน เมื่อ 009 แสวงหาพระสัพพัญญุตญาณ จึงให้ทาน ละราชสมบัติอันใหญ่หลวง 010 บวชในพระสำนักพระชินเจ้า พระนครชื่อว่าโสภวดี พระบรมกษัตริย์ 011 พระนามว่าโสภะ ตระกูลใหญ่ของพระสัมพุทธเจ้าอยู่ในพระนครนั้น 012 ยัญทัตตพราหมณ์เป็นพุทธบิดา นางอุตราพราหมณีเป็นพุทธมารดา 013 พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่สามหมื่นปี มีปราสาทอันประเสริฐ 014 ๓ ปราสาท ชื่อดุสิต สันดุสิต และสันตุฏฐะ มีนางสาวนารี หมื่น 015 หกพันนาง ล้วนประดับประดาสวยงาม นางรุจิคุตตาพราหมณีเป็น 016 ภรรยา บุตรชายนามว่าสัตถวาหะ พระองค์ผู้เป็นอุดมบุรุษได้เห็น 017 นิมิต ๔ ประการ จึงออกบวชด้วยยานช้างยานพาหนะ บำเพ็ญเพียร 018 อยู่ ๖ เดือน พระโกนาคมนมหาวีรเจ้า นายกของโลก ผู้อุดมกว่า 019 นรชน อันพรหมทูลอาราธนาแล้ว ทรงประกาศพระธรรมจักรที่ 020 มฤคทายวัน ทรงมีพระภิยโยสเถระ และพระอุตรเถระเป็นพระอัคร 021 สาวก พระเถระชื่อว่าโสตถิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสมุททา 022 เถรีและพระอุตราเถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์ 023 เรียกชื่อว่า ไม้มะเดื่อ อุคคอุบาสกและโสมเทวอุบาสกเป็นอัคร- 024 อุปัฏฐาก สีวลาอุบาสิกาและสามาอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา 361 001 พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น มีพระองค์สูง ๓๐ ศอก ประดับด้วย 002 พระรัศมีเปล่งปลั่ง ดังทองที่ปากเบ้า พระองค์มีพระชนมายุในขณะ 003 นั้นสามหมื่นปี ทรงดำรงอยู่เท่านั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้น 004 วัฏสงสารได้มากมาย ทรงยกธรรมเจดีย์อันประดับด้วยผ้าคือธรรม 005 ขึ้นแล้ว ทรงร้อยพวงดอกไม้คือธรรมเสร็จแล้ว เสด็จนิพพานพร้อม 006 ด้วยพระสาวก พระองค์มีพระลีลาอันใหญ่มีธรรมอันเป็นสิริเป็นเครื่อง 007 ปรากฏ สิ่งทั้งปวงหายไปหมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระ 008 โคนาคมนสัมพุทธเจ้า เสด็จนิพพาน ณ ปัพพตาราม พระธาตุของ 009 พระองค์แผ่กว้างไปในประเทศนั้นๆ ฉะนี้แล. 010 จบโกนาคมนพุทธวงศ์ที่ ๒๓ 011 กัสสปพุทธวงศ์ที่ ๒๔ 012 ว่าด้วยพระประวัติพระกัสสปพุทธเจ้า 013 [๒๕] สมัยต่อมาพระโกนาคมนพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ 014 เป็นพระธรรมราชา มีพระรัสมีสว่างไสวทรงพระนามว่า กัสสปะ 015 ทรัพย์อันเป็นต้นทุนของตระกูล ที่สัตว์เป็นอันมากบูชา พระองค์ 016 ทรงละทิ้งเสียแล้วทรงเป็นทายกผู้องอาจให้ทาน ยังฉันทะให้เต็ม ทรง 017 ทำลายกิเลสดังสัตว์ร้ายแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อ 018 พระกัสสปะผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมา 019 ภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สองหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระพุทธเจ้า 020 เสด็จจาริกไปในโลกตลอด ๔ เดือน ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ ได้มี 021 แก่สัตว์หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงทำยมกปาฏิหาริย์แสดง 022 ฤทธิ์ต่างๆ ทรงประกาศพระญาณธาตุ ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ ได้มี 362 001 แก่สัตว์ห้าพันโกฏิ ในคราวที่พระองค์ทรงแสดงธรรม ณ สุธรรมเทพ 002 นครอันรื่นรมย์ พระชินเจ้าทรงทำให้เทวดาสามพันโกฏิได้ตรัสรู้ 003 และในคราวทรงแสดงธรรมแก่มนุษย์ เทวดา และยักษ์อีกครั้งหนึ่ง 004 มนุษย์เป็นต้นผู้ได้ตรัสรู้ธรรมนั้นจะคณนานับมิได้ แม้พระพุทธเจ้า 005 พระองค์นั้นก็ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพ ผู้ปราศจากมลทิน 006 มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียว ครั้งนั้นพระภิกษุขีณาสพผู้ล่วง 007 สุดภพแล้ว ผู้คงที่ด้วยหิริและศีลมาประชุมกันสองหมื่น ในกาลนั้น 008 เราเป็นมาณพ มีชื่อปรากฏ ว่าโชติปาละ เป็นผู้เล่าเรียน ทรงมนต์ 009 รู้จบไตรเพทถึงที่สุดในคำภีร์ทำนายลักษณะและคัมภีร์อิติหาสะ เป็น 010 ผู้ฉลาดในวิชาดูพื้นที่และอากาศ เป็นผู้ใช้วิชา ไม่มีทุกข์ ฆฏิการ 011 อุบาสกผู้อุปัฏฐากแห่งพระผู้มีพระภาคกัสสปะ เป็นผู้มีความเคารพ 012 ยำเกรง เป็นพระอนาคามี ฆฏิการอุบาสกได้พาเราเข้าไปเฝ้าพระ 013 กัสสปชินเจ้า เราได้ฟังธรรมของพระองค์แล้วบวชในสำนักของ 014 พระองค์ เราเป็นผู้ปรารภความเพียร ฉลาดในวัตรและมิใช่วัตร 015 ไม่เสื่อมในที่ไหนๆ ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระชินเจ้าบริบูรณ์ 016 เล่าเรียนนวังคสัตถุศาสน์เท่าที่พระพุทธเจ้าตรัสแล้วทุกอย่าง ยัง 017 พระศาสนาของพระพิชิตมารให้งดงาม แม้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น 018 ทรงเห็นความอัศจรรย์ของเราแล้ว จึงทรงพยากรณ์ว่า ในภัทรกัปนี้ 019 ผู้นี้จักได้เป็นพระพุทธเจ้าในโลก ...... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น 020 เราได้ฟังพระพุทธพยากรณ์แม้นั้นแล้วยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เรา 021 อธิษฐานวัตรในการบำเพ็ญเพียรบารมี ๑๐ ประการ การให้ยิ่งขึ้นไป 022 เรานึกถึงพระพุทธพยากรณ์อย่างนี้แล้ว งดเว้นอนาจาร กระทำกรรม 023 ที่ทำได้ยาก เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น พระนครชื่อว่า 024 พาราณสี พระบรมกษัตริย์ พระนามว่ากิกี ตระกูลใหญ่ของพระ- 363 001 สัมพุทธเจ้าอยู่ในพระนครนั้น พรหมทัตตพราหมณ์เป็นพุทธบิดา 002 นางธนวดีพราหมณีเป็นพุทธมารดา พระองค์ทรงครอบครองอาคาร 003 สถานอยู่สองพันปี ทรงมีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อหังษะ 004 ยสะ และสิริจันทะ มีนางสาวนารีสี่หมื่นแปดพันนางล้วนประดับ 005 ประดาสวยงาม นางสุนันทาพราหมณีเป็นภรรยา บุตรชายนามว่า 006 วิชิตเสน พระองค์ผู้เป็นบุรุษอุดม ได้เห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออก 007 บวชพร้อมด้วยปราสาท ทรงบำเพ็ญเพียรอยู่ ๗ วัน พระกัสสปมหา 008 วีรเจ้าผู้เป็นนายกของโลกผู้อุดมกว่านรชน อันพรหมทูลอาราธนาแล้ว 009 ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมีพระติสสเถระและ 010 พระภารทวาชเถระ เป็นพระอัครสาวก พระเถระชื่อว่าสรรพมิตตะ 011 เป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระอนุลาเถรีและพระอุรุเวลาเถรีเป็นพระ 012 อัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่านิโครธ สุมังคล 013 อุบาสกและฆฏิการอุบาสก เป็นอัครอุปัฏฐาก วิชิตเสนาอุบาสก และ 014 ภัททาอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น มี 015 พระองค์สูง ๒๐ ศอก มีพระรัศมีเปล่งปลั่งดังสายฟ้าในอากาศ 016 ดุจพระจันทร์เต็มดวง พระองค์มีพระชนมายุสองหมื่นปี เมื่อทรง 017 ดำรงอยู่เพียงนั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย 018 ทรงสร้างสระน้ำคือธรรมไว้ ทรงประทานเครื่องลูบไล้ คือ ศีล 019 ทรงจัดผ้าคือธรรมไว้นุ่งห่ม ทรงแจกพวงมาลัยคือธรรม ทรงตั้ง 020 กระจกเงาอันไร้มลทินคือธรรมไว้ให้มหาชน ด้วยทรงหวังว่า ชน 021 บางพวกปรารถนานิพพาน จงเห็นเครื่องประดับของเรา ทรงจัดเสื้อ 022 คือศีล เกราะหนังคือญาณ ทรงจัดหนังคือธรรมไว้ให้คลุม และ 023 เครื่องรบอย่างดีเลิศให้ ทรงจัดโล่ห์คือสติ หอกคือญาณอันคมกล้า 024 ดาบอย่างดีคือธรรม และศาตราวุธเครื่องย่ำยีศัตรูคือศีลไว้ให้ ทรงจัด 364 001 ภูษา คือไตรวิชา พวงมาลัยสวมศีรษะคือผล ๔ เครื่องอาภรณ์ คือ 002 อภิญญา ๖ และดอกไม้เครื่องประดับคือธรรม ร่มขาวคือพระสัทธรรม 003 อันเป็นเครื่องป้องกันบาป ทรงนิรมิตดอกไม้ คือ ความไม่มีเวรภัย 004 ไว้ให้เสร็จแล้ว พระองค์ก็เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก แท้ 005 จริง พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระคุณหาประมาณมิได้ ยากที่จะรู้ได้ 006 พระธรรมรัตนะที่ตรัสไว้ดีแล้วควรเรียกให้มาดู พระสังฆรัตนะผู้ 007 ปฏิบัติดี ไม่มีผู้อื่นยิ่งไปกว่า ทั้ง ๓ รัตนะนี้ หายไปหมดทุกอย่างแล้ว 008 สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระมหากัสสปชินศาสดา เสด็จนิพพาน 009 ที่เสตัพยาราม ทระสถูปของพระองค์ สูงหนึ่งโยชน์ ประดิษฐานอยู่ 010 ณ เสตัพยารามนั้น ฉะนี้แล. 011 จบกัสสปพุทธวงศ์ที่ ๒๔ 012 โคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ 013 ว่าด้วยพระประวัติพระโคตมพุทธเจ้า 014 [๒๖] บัดนี้ เราเป็นพระสัมพุทธเจ้านามว่า โคดม เจริญในศากยสกุล 015 เราบำเพ็ญเพียรแล้ว ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม พรหมอาราธนา 016 แล้ว ประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์ 017 ๑๘ โกฏิ ต่อแต่นั้น เมื่อเราแสดงธรรมในสมาคมมนุษย์และเทวดา 018 ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ ในคราวที่เรา 019 กล่าวสอนราหุลบุตรของเราบัดนี้ ณ ที่นี้แล ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ 020 จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ เรามีการประชุมพระสาวกผู้แสวงหา 021 คุณใหญ่ครั้งเดียว ภิกษุที่ประชุมกันมี ๑๒๕๐ รูป เราผู้ปราศจาก 022 มลทินรุ่งเรือนอยู่ในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ เราให้สิ่งที่ปรารถนาทุกอย่าง 023 เหมือนแก้วมณีให้สิ่งที่ต้องการทั้งปวง ฉะนั้น เราประกาศจตุราริยสัจ 365 001 เพื่ออนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้หวังผล ผู้แสวงหาธรรมเครื่องละ 002 ความพอใจในภพ ธรรมาภิสมัยได้มีแก่สัตว์สองแสน ธรรมาภิสมัย 003 ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ได้มีแก่สัตว์โดยจะคณนานับมิได้ คำสั่งสอน 004 ของเราผู้เป็นศากยมุนี กว้างขวางเจริญแพร่หลายงอกงามดี บริสุทธิ์ 005 ผ่องแผ้ว เป็นประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก ภิกษุหลายร้อยล้วนเป็น 006 ผู้ไม่มีอาสวะ ปราศจากราคะมีจิตสงบระงับมั่นคงแวดล้อมเราอยู่ทุก 007 เมื่อในกาลบัดนี้ ภิกษุเหล่าใด เป็นพระเสขะยังมิได้บรรลุอรหัต 008 ละภพมนุษย์ไป ภิกษุเหล่านั้น วิญญูชนตำหนิ ชนทั้งหลายผู้ชอบใจ 009 ทางพระอริยเจ้า ยินดีในธรรมทุกเมื่อ มีปัญญารุ่งเรือง ถึงจะยัง 010 ท่องเที่ยวอยู่ในสงสาร ก็จักตรัสรู้ได้ นครของเราชื่อกบิลพัสดุ์ 011 พระเจ้าสุทโธทนะเป็นโยมบิดาของเรา โยมมารดาบังเกิดเกล้าของเรา 012 เรียกพระนามว่า มายาเทวี เราครอบครองอาคารสถานอยู่ ๒๙ ปี 013 มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อสุจันทะ โกกนุทะ และ 014 โกญจะ มีสนมนารีกำนัลในแปดหมื่นสี่พันนาง ล้วนประดับประดา 015 สวยงาม มเหสีของเรานามว่า ยโสธรา บุตรชายของเราชื่อว่าราหุล 016 เราเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยอัสวราชยาน ได้บำเพ็ญ 017 เพียรประพฤติทุกกรกิริยาอยู่ ๖ ปี เราประกาศธรรมจักที่ป่าอิสิปตน 018 มฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เราเป็นพระสัมพุทธเจ้าชื่อว่าโคดม 019 เป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งปวง ภิกษุ ๒ รูป ชื่ออุปติสสะและโกลิตะ 020 เป็นอัครสาวกของเรา ภิกษุชื่ออานนทะ เป็นอุปัฏฐาก อยู่ในสำนัก 021 ของเรา ภิกษุณีชื่อเขมาและอุบลวรรณาเป็นอัครสาวิกา จิตต 022 คฤหบดีและหัตถกอุบาสกชาวเมืองอาฬวี เป็นอัครอุปัฏฐาก นันท 023 มาดาและอุตราอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา เราบรรลุสัมโพธิญาณ- 024 อันอุดม ที่ควงไม้อัสสัตถพฤกษ์ เรามีรัศมีซ่านออกด้านละวาทุกเมื่อ 366 001 สูงขึ้นไป ๑๖ ศอก บัดนี้ อายุของเราน้อย มี ๑๐๐ ปี ถึงเราจะดำรง 002 อยู่เพียงนั้น ก็ช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย เราตั้งคบ 003 เพลิงคือธรรมไว้สำหรับให้คนภายหลังได้ตรัสรู้ อีกไม่นานเลย แม้ 004 เรากับสงฆ์สาวกก็จักนิพพาน ณ ที่นี้แลเพราะสิ้นอาหาร เหมือน 005 ไฟสิ้นเชื้อ ฉะนั้น เรามีร่างกายเป็นเครื่องทรงคุณ คือ เดชอันไม่มี 006 เทียบเคียง ยศ กำลังและฤทธิ์เหล่านี้ วิจิตด้วยลักษณะอันประเสริฐ 007 ๓๒ ประการ มีรัศมี ๖ ประการ สว่างไสวไปทั่วทิศน้อยใหญ่ ดุจ 008 พระอาทิตย์ ทุกอย่างจักหายไปหมดสิ้น สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ 009 ฉะนี้แล. 010 จบโคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ 011 พุทธปกิรณกกัณฑ์ 012 ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 013 [๒๗] ในกัปอันประมาณมิได้แก่ภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกชั้น 014 พิเศษ ๔ พระองค์ คือ พระตัณหังกรสัมพุทธเจ้า ๑ 015 พระเมธังกรสัมพุทธเจ้า ๑ พระสรณังกรสัมพุทธเจ้า ๑ และพระ 016 ทีปังกรสัมพุทธเจ้า ๑ ท่านเหล่านั้นเสด็จอุบัติในกัปเดียวกัน ต่อจาก 017 ที่พระทีปังกรสัมพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่าโกณฑัญญะ 018 พระองค์เดียวเสด็จอุบัติกัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสาร 019 ได้มากมาย ระหว่างพระผู้มีพระภาคทีปังกร และพระโกณฑัญญะ 020 บรมศาสดา เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิได้ ต่อจากพระโกณ 021 ฑัญญะบรมศาสดา มีพระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ แม้ระหว่าง 022 พระโกณฑัญญะและพระมังคละพุทธเจ้านั้น ก็เป็นอันตรกัป โดยจะ 023 คำนวณนับมิได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ สุมนะ เรวตะ และ 024 โสภิตะ ผู้เป็นมุนี มีจักษุ มีพระรัศมีสว่างไสว แม้พระพุทธเจ้า ๔ 025 พระองค์นั้นก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว กันต่อจากพระโสภิตพุทธเจ้า 367 001 มีพระมหามุนีพระนามว่าอโนมทัสสี แม้ระหว่างพระพุทธเจ้าพระนาม 002 ว่าโสภิตะ และอโนมทัสสีนั้นก็เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิ 003 ได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่าอโนมทัสสี ปทุมะ และนารทะ ผู้เป็น 004 มุนีกระทำที่สุดความมืด ก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว ต่อจากพระ 005 นารทสัมพุทธเจ้า มีพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ เสด็จอุบัติใน 006 กัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย แม้ระหว่าง 007 พระผู้มีพระภาคนารทะและพระปทุมุตรศาสดานั้น ก็เป็นอันตรกัป 008 โดยจะคำนวณนับมิได้ในแสนกัป มีพระมหามุนีพระองค์เดียว คือ 009 พระปทุมุตระผู้รู้แจ้งโลก ผู้สมควรรับเครื่องบูชา ในสามหมื่นกัป 010 ต่อจากพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ มีพระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ 011 คือ พระสุเมธะและพระสุชาตะ ในพันแปดร้อยกัป (แต่กัปนี้) มี 012 พระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระปิยทัสสี พระอัตถทัสสี และ 013 พระธรรมทัสสี ต่อจากพระสุชาตพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าผู้อุดม 014 กว่าสัตว์ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบในโลก ๓ พระองค์นั้น เสด็จอุบัติใน 015 กัปเดียวกัน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระมหามุนีพระองค์เดียว 016 คือ พระสิทธัตถะ ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ยอดเยี่ยมโดยมีบุญสิริ ในกัป 017 ที่ ๙๒ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระสัมพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระติสสะ 018 และพระปุสสะ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบเสมอ ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ 019 มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ผู้มีพระกรุณาพระนามว่าวิปัสสี 020 ทรงเปลื้องสัตว์ทั้งหลายจากเครื่องผูก ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ มี 021 พระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระสิขีและพระเวสสภู ผู้ไม่มีบุคคล 022 เปรียบเสมอ ในภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระ 023 กุกกุสันธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ บัดนี้เราเป็นพระ 024 สัมพุทธเจ้าและจักมีพระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้า แม้พระพุทธเจ้า ๕ 368 001 พระองค์นี้ ก็เป็นนักปราชญ์ อนุเคราะห์โลก บรรดาพระพุทธเจ้า 002 ผู้เป็นธรรมราชาเหล่านี้ พระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้าจักตรัสบอกมรรคา 003 นั้นแก่ผู้อื่นหลายโกฏิ แล้วจักเสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก 004 ฉะนี้แล. 005 จบพุทธปกิรณกกัณฑ์. 006 ธาตุภาชนียกถา 007 ว่าด้วยการแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ 008 [๒๘] พระมหาโคดมชินเจ้าผู้ประเสริฐ เสด็จนิพพานที่นครกุสินารา 009 พระธาตุของพระองค์ เรี่ยรายแผ่ไปในประเทศนั้นๆ พระธาตุ 010 ทะนานหนึ่ง พระเจ้าอชาตศัตรูทรงนำไปไว้ในพระนครราชคฤห์ 011 ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองเวสาสี ทะนานหนึ่งอยู่ในนครกบิลพัสดุ์ 012 ทะนานหนึ่งอยู่ในอัลลากัปปนคร ทะนานหนึ่งอยู่ในรามคาบ 013 ทะนานหนึ่งอยู่ในเวฏฐาทีปกนคร ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองปาวาของ 014 มัลลกษัตริย์ ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองกุสินารา โทณพราหมณ์ให้ช่าง 015 สร้างสถูป บรรลุทะนานทอง กษัตริย์โมริยะผู้มีหทัยยินดี รับสั่งให้ 016 สร้างสถูปบรรจุพระอังคาร พระสถูปบรรจุพระสารีริกธาตุ ๘ แห่ง 017 เป็น ๙ แห่ง ทั้งตุมพเจดีย์ รวมพระอังคารสถูปด้วยเป็น ๑๐ แห่ง 018 ประดิษฐานอยู่แล้วในกาลนั้น พระทาฐธาตุข้างหนึ่งอยู่ในดาวดึงส 019 พิภพ ข้างหนึ่งอยู่ในนาคบุรี ข้างหนึ่งอยู่ในเมืองคันธารวิสัย ข้าง 020 หนึ่งอยู่ในเมืองกาลิงคราช พระทันตธาตุ ๔๐ พระเกศธาตุและพระ 021 โลมาทั้งหมด เทวดานำไปไว้ในจักรวาลหนึ่งๆ จักรวาลละอย่าง 022 บาตรไม้เท้าและจีวรของพระผู้มีพระภาค อยู่ในวชิรานครสงบอยู่ใน 023 กุลฆรนคร ผ้าปัจจัตถรณะอยู่ในสีหฬ ธมกรกและประคตเอว อยู่ 024 ในนครปาฏลิบุตร ผ้าอาบน้ำอยู่ในจำปานคร อุณณาโลมอยู่ใน 025 แคว้นโกศล ผ้ากาสาวพัสตร์อยู่ในพรหมโลก ผ้าโพกอยู่ในดาวดึงส์ 369 001 (รอยพระบาทอันประเสริฐที่หิน เหมือนมีอยู่ที่กัจฉตบุรี) ผ้านิสีทนะ 002 อยู่ในอวันตีชนบท ผ้าลาดอยู่ในดาวดึงส์ ไม้สีไฟอยู่ในมิถิลานคร 003 ผ้ากรองน้ำอยู่ในวิเทหรัฐ มีดและกล่องเข็มอยู่ในอินทปัตถนคร ใน 004 กาลนั้น บริขารที่เหลือ อยู่ในชนบท ๓ แห่งในกาลนั้น หมู่ 005 มนุษย์ในกาลนั้นจักบูชาบริขารที่พระมุนีทรงบริโภค พระธาตุของ 006 พระโคดมผู้แสวงหาคุณอันใหญ่หลวง กระจายแผ่กว้างไป เพื่อ 007 อนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลายเป็นของเก่าในกาลนั้น ฉะนี้แล. 008 จบธาตุภาชนียกถา. 009 จบพุทธวงศ์ 010 ---------------- 370 001 จริยาปิฎก 002 ๑. การบำเพ็ญทานบารมี 003 อกิตติจริยาที่ ๑ 004 ว่าด้วยจริยาวัตรของอกิตติดาบส 005 [๑] ในสี่อสงไขยแสนกัป ความประพฤติอันใดในระหว่างนี้ ความ 006 ประพฤติทั้งหมดนั้น เป็นเครื่องบ่มพระโพธิญาณ เราจักเว้นความ 007 ประพฤติในภพน้อยใหญ่ในกัปเสีย จักบอกความประพฤติในกัปนี้ 008 จงฟังเรา ในกาลใด เราเป็นดาบสชื่ออกิตติ เข้าไปอาศัยอยู่ในป่า 009 ใหญ่อันว่างเปล่า สงัดเงียบปราศจากเสียงอื้ออึง ในกาลนั้น ด้วย 010 เดชแห่งการประพฤติตบะของเรา สมเด็จอัมรินทร์ผู้ครองไตรทิพย์ 011 ทรงร้อนพระทัย ทรงแปลงเพศเป็นพราหมณ์เข้ามาหาเราเพื่อภิกษา 012 เราได้เห็นอินทพราหมณ์มายืนอยู่ใกล้ประตูบรรณศาลาของเรา จึง 013 เอาใบหมากเม่าที่เรานำมาแต่ป่า อันไม่มีน้ำมัน ทั้งไม่เค็ม ให้หมด 014 พร้อมกับภาชนะ ครั้นได้ให้หมากเม่าแก่อินทพราหมณ์นั้นแล้ว 015 เราจึงคว่ำภาชนะ ละการแสวงหาใบหมากเม่าใหม่ เข้าไปยังบรรณ 016 ศาลา แม้ในวันที่ ๒ แม้ในวันที่ ๓ อินทพราหมณ์ก็เข้ามายังสำนัก 017 ของเรา เราไม่หวั่นไหว ไม่อาลัยในชีวิต ได้ให้หมดสิ้นเช่น 018 วันก่อนเหมือนกัน ในสรีระของเราไม่มีความหมองศรีเพราะการอด 019 อาหารนั้นเป็นปัจจัย เรายับยั้งอยู่ตลอดวันนั้นๆ ด้วยปีติ สุข และ 020 ความยินดี (อันเกิดแต่ความยินดี) ถ้าเราพึงได้ทักขิเณยยบุคคลผู้ 021 ประเสริฐ แม้เดือนหนึ่งสองเดือนเราก็ไม่หวั่นไหว ไม่ท้อแท้ใจ 022 พึงให้ทานอันอุดม เมื่อให้ทานแก่อินทพราหมณ์นั้น เราจะได้ 371 001 ปรารถนายศและลาภก็หามิได้ เราปรารถนาพระสัพพัญญุตญาณ 002 (เท่านั้น) จึงได้ประพฤติกรรมเหล่านั้น ฉะนี้. 003 จบอกิตติจริยาที่ ๑ 004 สังขพราหมณจริยาที่ ๒ 005 ว่าด้วยจริยาวัตรของสังขพราหมณ์ 006 [๒] อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อเราเป็นพราหมณ์มีนามว่าสังขะ ต้องการจะข้าม 007 มหาสมุทรไปอาศัยปัฏฏนคามอยู่ ในกาลนั้น เราได้เห็นพระปัจเจก 008 พุทธเจ้าผู้รู้เอง ใครๆ ชนะไม่ได้ ซึ่งเดินสวนทางมาตามทางกันดาร 009 บนภาคพื้นอันแข็ง ร้อนจัด ครั้นเราเห็นท่านเดินสวนทางมา จึงคิด 010 เนื้อความนี้ว่า บุญเขตนี้มาถึงแก่เราผู้เป็นสัตว์ที่ต้องการบุญเปรียบ 011 เหมือนบุรุษชาวนาเห็นนาอันเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ (เป็นที่น่ายินดีมาก) ไม่ 012 ปลูกพืชลงในนานั้น เขาชื่อว่าเป็นผู้ไม่ต้องการด้วยข้าวเปลือกฉันใด 013 เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ต้องการบุญ เห็นเขตบุญอันประเสริฐ 014 สุดแล้ว ถ้าไม่ทำบุญ (สักการะ) เราก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ต้องการบุญ 015 เปรียบเหมือนอำมาตย์ต้องการจะให้ชนชาวเมืองของพระราชายินดี 016 แต่ไม่ให้ทรัพย์และข้าวเปลือกแก่เขา ก็ย่อมเสื่อมจากความยินดี 017 ฉันใด เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ต้องการบุญ เห็นทักขิเณยย 018 บุคคลอันไพบูลย์แล้ว ถ้าไม่ให้ทานในทักขิเณยยบุคคลนั้นก็จัก 019 เสื่อมจากบุญ ครั้นเราคิดอย่างนี้แล้วจึงถอดรองเท้า ไหว้เท้าของ 020 ท่านแล้ว ได้ถวายร่มและรองเท้า เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้ละเอียด 021 อ่อนเจริญสุขได้ร้อยเท่าพันทวี อนึ่ง เมื่อเราบำเพ็ญทานให้บริบูรณ์ 022 ได้ถวายแก่ท่านนั้น อย่างนี้แล. 023 จบสังขพราหมณจริยาที่ ๒ 372 001 กุรุธรรมจริยาที่ ๓ 002 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าธนญชัย 003 [๓] อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อเราเป็นพระราชามีนามว่าธนญชัย อยู่ใน 004 อินทปัตถบุรีอันอุดม ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ 005 ในกาลนั้น พวกพราหมณ์ชาวกาลิงครัฐ ได้มาหาเรา ขอพระยาคช 006 สารทรง อันประกอบด้วยมงคลหัตถี กะเราว่าชนบทฝนไม่ตกเลย 007 เกิดทุพภิกขภัย อดอยากอาหารมาก ขอพระองค์จงทรงพระราชทาน 008 พระยาคชสารตัวประเสริฐมีสีกายเขียวชื่ออัญชนะเถิด เราคิดว่า 009 การห้ามยาจกทั้งหลายที่มาถึงแล้ว ไม่สมควรแก่เราเลย กุศล 010 สมาทานของเราอย่าทำลายเสียเลย เราจักให้คชสารตัวประเสริฐ 011 เราได้รับงวงพระยาคชสาร วางลงบนมือพราหมณ์ แล้วจึงหลั่งน้ำใน 012 เต้าทองลงบนมือได้ให้พระยาคชสารแก่พราหมณ์ เมื่อเราได้ให้ 013 พระยาคชสารแล้ว พวกอำมาตย์ได้กล่าวดังนี้ว่า เหตุไรหนอพระองค์ 014 จึงพระราชทานพระยาคชสารตัวประเสริฐ อันประกอบด้วยธัญญ 015 ลักษณ์ สมบูรณ์ด้วยมงคล ชนะในสงครามอันสูงสุด แก่ยาจก 016 เมื่อพระองค์ทรงพระราชทานคชสารแล้ว พระองค์จักเสวยราชสมบัติ 017 ได้อย่างไร [เราได้ตอบว่า] แม้ราชสมบัติทั้งหมดเราก็พึงให้ ถึง 018 สรีระของตน เราก็พึงให้ เพราะสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา 019 ฉะนั้น เราจึงได้ให้พระยาคชสาร ดังนี้แล. 020 จบกุรุธรรมจริยาที่ ๓ 021 มหาสุทัสนจริยาที่ ๔ 022 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระมหาสุทัสนจักรพรรดิ 023 [๔] ในเมื่อเราเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ทรงพระนามว่ามหาสุทัสนะ 373 001 มีพลานุภาพมาก ได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน เสวยราชสมบัติในพระนคร 002 กุสาวดี ในกาลนั้น เราได้สั่งให้ประกาศทุกๆ วัน วันละ ๓ ครั้งว่า 003 ใครอยากปรารถนาอะไร เราจะให้ทรัพย์อะไรแก่ใคร ใครหิว ใคร 004 กระหาย ใครต้องการดอกไม้ ใครต้องการเครื่องลูบไล้ ใครขาด 005 แคลนผ้าสีต่างๆ ก็จงมาถือเอาไปนุ่งห่ม ใครต้องการร่มไปในหนทาง 006 ก็จงมารับเอาไป ใครต้องการรองเท้าอันอ่อนงาม ก็จงมารับเอาไป 007 เราให้ประกาศดังนี้ทั้งเวลาเย็น ทั้งเวลาเช้า ทุกวัน ทานนั้นมิใช่เรา 008 ตกแต่งไว้ในที่ ๑๐ แห่ง หรือมิใช่ ๑๐๐ แห่งเราตกแต่งทรัพย์ไว้ 009 สำหรับยาจกในที่หลายร้อยแห่ง วณิพกจะมาในเวลากลางวันก็ตาม 010 หรือในเวลากลางคืนก็ตามก็ได้โภคะตามความปรารถนา พอเต็มมือ 011 กลับไป เราได้ให้มหาทานเห็นปานนี้จนตราบเท่าสิ้นชีวิต เราได้ให้ 012 ทรัพย์ที่น่าเกลียดก็หามิได้ และเราไม่มีการสั่งสมก็หามิได้ เปรียบ 013 เหมือนคนไข้กระสับกระส่าย เพื่อจะพ้นจากโรค ต้องการให้หมอ 014 พอใจด้วยทรัพย์จึงหายจากโรคได้ ฉันใด เราก็ฉันนั้น รู้อยู่ (ว่า ทาน 015 บริจาคเป็นอุบายเครื่องเปลื้องตนและสัตว์โลกทั้งสิ้น ให้พ้นจากโลก 016 คือสังขารทุกข์ทั้งสิ้นได้) จึงบำเพ็ญทานให้บริบูรณ์โดยไม่มีเศษเหลือ 017 เพื่อยังใจที่บกพร่องให้เต็มเราจึงให้ทานแก่วณิพกเรามิได้อาลัย มิได้ 018 หวังอะไร ได้ให้ทานเพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้แล. 019 จบมหาสุทัสนจริยาที่ ๔ 020 มหาโควินทจริยาที่ ๕ 021 ว่าด้วยจริยาวัตรของโควินทพราหมณ์ 022 [๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นพราหมณ์นามว่ามหาโควินท์เป็น 023 ปุโรหิตของพระราชา ๗ พระองค์ อันนรชนและเทวดาบูชา ใน 374 001 กาลนั้น เครื่องบรรณาการอันใดในราชอาณาจักรทั้ง ๗ ได้มีแล้วแก่ 002 เรา เราได้ให้มหาทานร้อยล้านแสนโกฏิเปรียบด้วยสาครด้วย 003 บรรณาการนั้น เราจะเกลียดทรัพย์และข้าวเปลือกก็หามิได้ และ 004 เราจะไม่มีการสั่งสมก็หามิได้ แต่พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของ 005 เรา ฉะนั้น เราจึงให้ทานอย่างประเสริฐ ฉะนี้แล. 006 จบมหาโควินทจริยาที่ ๕ 007 เนมิราชจริยา ที่ ๖ 008 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าเนมิราช 009 [๖] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นมหาราชาพระนามว่าเนมิเป็นบัณฑิต 010 ต้องการกุศลอยู่ในพระนครมิถิลาอันอุดมในกาลนั้น เราได้สร้าง 011 ศาลา ๔ แห่ง อันมีหน้ามุขหลังละสี่ๆ เรายังทานให้เป็นไปในศาลา 012 นั้นแก่ เนื้อ นก และนรชนเป็นต้น ยังมหาทาน คือ เครื่อง 013 นุ่งห่ม ที่นอน และโภชนะ คือ ข้าว และน้ำ ให้เป็นไปแล้วไม่ 014 ขาดสาย เปรียบเหมือนเสวก เข้าไปหานายเพราะเหตุแห่งทรัพย์ 015 ย่อมแสวงหานายที่พึงให้ยินดีได้ ด้วยกายกรรม วจีกรรม และ 016 มโนกรรมฉันใด เราก็ฉันนั้น จักแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณใน 017 ภพทั้งปวง จึงยังสัตว์ทั้งหลายให้อิ่มหนำด้วยทาน แล้วปรารถนา 018 โพธิญาณอันอุดม ฉะนี้แล. 019 จบเนมิราชจริยาที่ ๖ 020 จันทกุมารจริยาที่ ๗ 021 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระจันทกุมาร 022 [๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นโอรสของพระเจ้าเอกราชมีนามว่า 023 จันทกุมาร อยู่ในพระนครปุบผวดี ในกาลนั้นเราพ้นจากการบูชายัญ 024 แล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้นยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้วยัง 375 001 มหาทานให้เป็นไป เราไม่ให้ทานแก่ทักขิเณยยบุคคลแล้วย่อมไม่ 002 ดื่มน้ำ ไม่เคี้ยวของเคี้ยว และไม่บริโภคโภชนะ ๕-๖ ราตรีบ้าง 003 เปรียบเหมือนพ่อค้า รวบรวมสินค้าไว้แล้ว ในที่ใดจะมีลาภมาก 004 (ได้กำไรมาก) ก็นำสินค้าไปในที่นั้น ฉันใดแม้อาหารของตนที่เรา 005 ให้แล้วแก่คนอื่น มีกำลังมาก (มากมาย) ฉันนั้น (สิ่งของที่เราให้ผู้ 006 อื่น มีกำลังมากกว่าสิ่งของที่ตนใช้เอง ฉันนั้น) เพราะฉะนั้น พาน 007 ที่เราให้ผู้อื่นจักเป็นส่วนร้อย เรารู้อำนาจประโยชน์นี้ จึงให้ทาน 008 ในภพน้อยภพใหญ่ เราไม่ถอยกลับ (ไม่ท้อถอย) จากการให้ทาน 009 เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้แล. 010 จบจันทกุมารจริยาที่ ๗ 011 สีวีราชจริยาที่ ๘ 012 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าสีวีราช 013 [๘] ในกาลเมื่อเราเป็นกษัตริย์พระนามว่าสีวี อยู่ในพระนครอันมีนามว่า 014 อริฏฐะ เรานั่งอยู่ในปราสาทอันประเสริฐ ได้ดำริอย่างนี้ว่า ทานที่ 015 มนุษย์พึงให้อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เราไม่ได้ให้แล้วไม่มี แม้ผู้ใดพึงขอ 016 จักษุกะเรา เราก็พึงให้ไม่หวั่นใจเลย ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่า 017 ทวยเทพทรงทราบความดำริของเราแล้ว ประทับนั่งในเทพบริษัท 018 ได้ตรัสพระดำรัสนี้ว่าพระเจ้าสีวีผู้มีฤทธิ์มาก ประทับนั่งในปราสาท 019 อันประเสริฐ พระองค์ทรงดำริถึงทานต่างๆ ไม่ทรงเห็นสิ่งที่ยังมิได้ 020 ให้ข้อนั้นจะเป็นจริงหรือไม่หนอ ผิฉะนั้น เราจักทดลองพระองค์ดู 021 ท่านทั้งหลายพึงคอยอยู่สักครู่หนึ่ง เพียงเรารู้น้ำใจของพระเจ้าสีรี 022 เท่านั้น ท้าวสักกะจึงทรงแปลงเพศเป็นคนตาบอด มีกายสั่น ศีรษะ 023 หงอก หนังหย่อน กระสับกระส่าย เพราะชรา เข้าไปเฝ้าพระราชา 024 ในกาลนั้น อินทพราหมณ์นั้น ประคองพระพาหาเบื้องซ้ายขวา 376 001 ประนมกรอัญชลีเหนือเศียรได้กล่าวคำนี้ว่า ข้าแต่พระมหาราชาผู้ 002 ทรงธรรม ทรงปกครองรัฐให้เจริญ ข้าพระองค์จะขอกะพระองค์ 003 เกียรติคุณคือความยินดีในทานของพระองค์ ขจรไปในเทวดาและ 004 มนุษย์หน่วยตาแม้ทั้งสองของข้าพระองค์บอดเสียแล้ว ขอจงพระ 005 ราชทานพระเนตรข้างหนึ่งแก่ข้าพระองค์เถิด แม้พระองค์จักทรงยัง 006 อัตภาพให้เป็นไปด้วยพระเนตรข้างหนึ่ง เราได้ฟังคำของพราหมณ์ 007 นั้นแล้ว ทั้งดีใจและสลดใจประคองอัญชลี มีปีติและปราโมทย์ ได้ 008 กล่าวคำนี้ว่า เราคิดแล้วลงจากปราสาทมาถึงที่นี้บัดนี้เอง ท่านรู้จิต 009 ของเราแล้ว มาขอนัยน์ตา โอ ความปรารถนาของเราสำเร็จแล้ว 010 ความดำริของเราบริบูรณ์แล้ว วันนี้ เราจักให้ทานอันประเสริฐ ซึ่ง 011 เราไม่เคยให้ แก่ยาจก มานี่แน่ะหมอสิวิกะ จงขมีขมันอย่าชักช้า 012 อย่าครั่นคร้าม จงควักนัยน์ตาแม้ทั้งสองข้างออกให้แก่วณิพกนี้ 013 เดี๋ยวนี้ หมอสิวิกะนั้นเราเตือนแล้ว เชื่อฟังคำของเรา ได้ควัก 014 นัยน์ตาทั้งสองออกให้แก่ยาจกทันที เมื่อเราจะให้ก็ดี กำลังให้ก็ดี 015 ให้แล้วก็ดี จิตของเราไม่เป็นอย่างอื่น เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณ 016 นั้นเอง จักษุทั้งสองเราจะเกลียดชังก็หามิได้ แม้ตนเราก็มิได้ 017 เกลียดชัง แต่พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา ฉะนั้น เราจึง 018 ได้ให้จักษุ ฉะนี้แล. 019 จบสีวีราชจริยาที่ ๘ 020 เวสสันตรจริยาที่ ๙ 021 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเวสสันดร 022 [๙] นางกษัตริย์พระนามว่าผุสสดีพระชนนีของเรา พระนางเป็นมเหสี

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับเราต้องพึ่งตัวเราเอง คนอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้ บุคคลผู้ฝึกตนดีแล้ว ย่อมได้ที่พึ่งที่ได้แสนยาก

เสียงที่ทำให้จิตเข้าถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะ ฟังเพลง บรรลุธรรม เอนทรี่ก่อนได้พูดถึงแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก... ฟังเพลง บรรลุธรรม เอนทรี่ก่อนได้พูดถึงแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”

ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธาดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงอปริหานิยธรรม ๗ อีกหมวดหนึ่ง แก่พวกเธอ พวกเธอจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูลรับ พระดำรัสของพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ๑. พวกภิกษุจักเจริญอนิจจสัญญา... ๒. ...อนัตตสัญญา... ๓. ...อสุภสัญญา... ๔. ...อาทีนวสัญญา... ๕. ...ปหานสัญญา ๖. ...วิราคสัญญา... ๗. พวก ภิกษุจักเจริญนิโรธสัญญา อยู่เพียงใด พึงหวังได้ซึ่งความเจริญอย่างเดียว ไม่มีเสื่อม เพียงนั้น

วิธีละความยินดีในโลกียสุขของพระอนาคามีบุคคลข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของท่านอนาถบิณฑิก- *เศรษฐี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล ภิกษุมากรูปด้วยกัน ในตอนเช้า นุ่งแล้ว ถือบาตร และจีวรเข้าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถี ภิกษุเหล่านั้นต่างมีความคิดร่วมกันว่า ยังเช้าอยู่นัก อย่าเพิ่งเข้าไปบิณฑบาตในพระนครสาวัตถีเลย ทางที่ดี พวกเราควรเข้าไปยังอารามของพวกปริพาชก อัญญเดียรถีย์เถิด ดังนี้แล้ว ต่างก็มุ่งตรงไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ ครั้นแล้ว ได้สนทนาปราศรัยกับพวกปริพาชก อัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกัน ไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พวกปริพาชก อัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ได้กล่าวกะพวก ภิกษุผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งดังนี้ว่า ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนด รู้กามได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้กามได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนด รู้รูปได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้รูปได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้ เวทนาได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้เวทนาได้ ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ในเรื่องนี้ อะไร เล่า เป็นข้อแปลกกัน อะไรเป็นผลที่มุ่งหมาย หรือกระทำให้ต่างกันระหว่างพระสมณโคดมกับ พวกข้าพเจ้า เช่นการแสดงธรรมกับการแสดงธรรม หรืออนุสาสนีกับอนุสาสนี พวกภิกษุเหล่า นั้นไม่ยินดี ไม่คัดค้านคำที่พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นกล่าวแล้ว ครั้นแล้วลุกจากที่นั่งหลีก ไป ด้วยคิดว่า เราจักทราบข้อความแห่งภาษิตนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค. [๑๙๕] ครั้งนั้นแล ภิกษุเหล่านั้นเที่ยวบิณฑบาตไปในพระนครสาวัตถีกลับจากบิณฑบาต ในเวลาปัจฉาภัตแล้ว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้นแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาค แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพระ- *องค์ขอประทานพระวโรกาส เช้าวันนี้ พวกข้าพระองค์นุ่งแล้ว ถือบาตรและจีวรเข้าไปบิณฑบาต ในพระนครสาวัตถี พวกข้าพระองค์ต่างมีความคิดร่วมกันว่า ยังเช้าอยู่นัก อย่าเพิ่งเข้าไปบิณฑบาต ในพระนครสาวัตถีเลย ทางที่ดี พวกเราควรเข้าไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เถิด พวกข้าพระองค์ต่างก็มุ่งตรงไปยังอารามของพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ ครั้นแล้วได้สนทนาปราศรัย กับพวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้น ครั้นผ่านการปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์นั้นเหล่า ได้กล่าวกะพวกข้าพระองค์ ผู้นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งดังนี้ว่า ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้กามได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้กามได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้รูปได้ แม้พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้รูปได้ พระสมณโคดมบัญญัติข้อควรกำหนดรู้เวทนาได้ แม้ พวกข้าพเจ้าก็บัญญัติข้อควรกำหนดรู้เวทนาได้ ดูกรผู้มีอายุทั้งหลาย ในเรื่องนี้ อะไรเล่าเป็นข้อ แปลกกัน อะไรเป็นผลที่มุ่งหมาย หรือกระทำให้ต่างกัน ระหว่างพระสมณโคดมกับพวกข้าพเจ้า เช่นการแสดงธรรมกับการแสดงธรรม หรืออนุสาสนีกับอนุสาสนี พวกข้าพระองค์ไม่ยินดี ไม่คัดค้านคำที่พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์เหล่านั้นกล่าวแล้ว ครั้นแล้วลุกจากที่นั่งหลีกไปด้วยคิดว่า เราจักทราบข้อความแห่งภาษิตนี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาค. คุณและโทษของกาม [๑๙๖] พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ผู้มีวาทะ อย่างนี้ พวกเธอพึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูกรท่านผู้มีอายุ ก็อะไรเล่าเป็นคุณ อะไรเป็นโทษ อะไร เป็นการถ่ายถอนของกามทั้งหลาย คือ อะไรเป็นคุณ อะไรเป็นโทษ อะไรเป็นการถ่ายถอนของรูป ทั้งหลาย อะไรเป็นคุณ อะไรเป็นโทษ อะไรเป็นการถ่ายถอนของเวทนาทั้งหลาย? ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย พวกปริพาชกอัญญเดียรถีย์ถูกพวกเธอถามอย่างนี้ จักไม่พอใจเลย และจักต้องคับแค้น อย่างยิ่ง ข้อนั้นเพราะเหตุอะไร? เพราะข้อนั้นมิใช่วิสัย ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราไม่เห็นผู้ที่จะพึง ยังจิตให้ยินดีด้วยการพยากรณ์ปัญหาเหล่านี้ ในโลกเป็นไปกับด้วยเทวโลก มารโลก พรหมโลก ในหมู่สัตว์ เป็นไปกับด้วยสมณะ และพราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ เว้นไว้แต่ตถาคต หรือสาวก ของตถาคต หรือมิฉะนั้นก็ฟังจากนี้. [๑๙๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นคุณของกามทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณ ๕ ประการนี้ ๕ ประการเป็นไฉน? คือ รูปที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ น่าปรารถนา น่าใคร่ น่า- *พอใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด เสียงที่พึงรู้แจ้งด้วยโสต ... กลิ่นที่พึงรู้แจ้ง ด้วยฆานะ ... รสที่พึงรู้แจ้งด้วยชิวหา ... โผฏฐัพพะที่พึงรู้แจ้งด้วยกาย น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ น่ารัก ประกอบด้วยกาม เป็นที่ตั้งแห่งความกำหนัด ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณ ๕ ประการ เหล่านี้แล ความสุข ความโสมนัสใดเล่า อาศัยกามคุณ ๕ เหล่านี้เกิดขึ้น นี้เป็นคุณของกาม ทั้งหลาย. [๑๙๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นโทษของกามทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย กุลบุตรในโลกนี้ เลี้ยงชีวิตด้วยความขยันประกอบศิลปใด คือ ด้วยการนับคะแนนก็ดี ด้วยการ คำนวณก็ดี ด้วยการนับจำนวนก็ดี ด้วยการไถก็ดี ด้วยการค้าขายก็ดี ด้วยการเลี้ยงโคก็ดี ด้วย การยิงธนูก็ดี ด้วยการเป็นราชบุรุษก็ดี ด้วยศิลปอย่างใดอย่างหนึ่งก็ดี ต้องตรากตรำต่อความหนาว ต้องตรากตรำต่อความร้อน งุ่นง่านอยู่ด้วยสัมผัสแต่เหลืบ ยุง ลม แดด และสัตว์เสือกคลาน ต้องตายด้วยความหิวระหาย ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ ที่เห็นๆ กันอยู่ มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม ทั้งหลายทั้งนั้น ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อ พยายามอยู่อย่างนี้ โภคะ เหล่านั้นก็ไม่สำเร็จผล เขาย่อมเศร้าโศก ลำบาก รำพัน ตีอก คร่ำครวญ ถึงความหลงเลือนว่า ความขยันของเราเป็นโมฆะหนอ ความพยายามของเราไม่มีผลหนอ ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ก็เป็น โทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าเมื่อกุลบุตรนั้นขยัน สืบต่อ พยายามอยู่อย่างนี้ โภคะเหล่านั้น สำเร็จผล เขากลับเสวยทุกข์ โทมนัส ที่มีการคอยรักษาโภคะเหล่านั้นเป็นตัวบังคับว่า ทำอย่างไร พระราชาทั้งหลาย ไม่พึงริบโภคะเหล่านั้นไปได้ พวกโจรพึงปล้นไม่ได้ ไฟไม่พึงไหม้ น้ำไม่พึงพัด ทายาทอัปรีย์พึงนำไปไม่ได้ เมื่อกุลบุตรนั้นคอยรักษาคุ้มครองอยู่อย่างนี้ พระราชาทั้งหลาย ริบโภคะเหล่านั้นไปเสียก็ดี พวกโจรปล้นเอาไปเสียก็ดี ไฟไหม้เสียก็ดี น้ำพัดไปเสียก็ดี ทายาท อัปรีย์นำไปเสียก็ดี เขาย่อมเศร้าโศก ลำบาก รำพัน ตีอก คร่ำครวญ ถึงความหลงเลือนว่า สิ่งใดเคยเป็นของเรา แม้สิ่งนั้นก็ไม่เป็นของเรา ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกาม ทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัว บังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล แม้พระราชาทั้งหลายก็วิวาทกันกับพวกพระราชา แม้ พวกกษัตริย์ก็วิวาทกันกับพวกกษัตริย์ แม้พวกพราหมณ์ก็วิวาทกันกับพวกพราหมณ์ แม้คฤหบดี ก็วิวาทกันกับพวกคฤหบดี แม้มารดาก็วิวาทกับบุตร แม้บุตรก็วิวาทกับมารดา แม้บิดาก็วิวาทกับ- *บุตร แม้บุตรก็วิวาทกับบิดา แม้พี่ชายน้องชายก็วิวาทกันกับพี่ชายน้องชาย แม้พี่ชายก็วิวาทกับ น้องสาว แม้น้องสาวก็วิวาทกับพี่ชาย แม้สหายก็วิวาทกับสหาย ชนเหล่านั้นต่างถึงการทะเลาะ แก่งแย่ง วิวาทกันในที่นั้นๆ ทำร้ายซึ่งกันและกัน ด้วยฝ่ามือบ้าง ด้วยก้อนดินบ้าง ด้วยท่อนไม้ บ้าง ด้วยศาตราบ้าง ถึงความตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตายบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนต่างถือดาบและโล่ห์สอดแล่งธนู วิ่งเข้าสู่สงคราม ปะทะ กันทั้ง ๒ ข้าง เมื่อลูกศรทั้งหลายถูกยิงไปบ้าง เมื่อหอกทั้งหลายถูกพุ่งไปบ้าง เมื่อดาบทั้งหลาย ถูกกวัดแกว่งอยู่บ้าง ฝูงชนเหล่านั้นต่างก็ถูกลูกศรแทงเอาบ้าง ถูกหอกแทงเอาบ้าง ถูกดาบตัด- *ศีรษะเสียบ้าง ในที่นั้น พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตายบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัว บังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนถือดาบและโล่ห์สอดแล่งธนู ตรูกันเข้าไปสู่ เชิงกำแพงที่ฉาบด้วยเปือกตมร้อน เมื่อลูกศรถูกยิงไปบ้าง เมื่อหอกถูกพุ่งไปบ้าง เมื่อดาบถูกกวัด- *แกว่งบ้าง ชนเหล่านั้นต่างถูกลูกศรแทงบ้าง ถูกหอกแทงบ้าง ถูกรดด้วยโคมัยร้อนบ้าง ถูกสับ ด้วยคราดบ้าง ถูกตัดศีรษะด้วยดาบบ้าง ในที่นั้น พากันถึงตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตาย บ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย ... เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนตัดที่ต่อบ้าง ปล้นอย่างกวาดล้างบ้าง กระทำการปล้น เรือนหลังเดียวบ้าง ดักปล้นในหนทางบ้าง สมสู่ภรรยาคนอื่นบ้าง พระราชาทั้งหลาย จับคนนั้นๆ ได้แล้ว ให้กระทำกรรมกรณ์ต่างๆ เฆี่ยนด้วยแซ่บ้าง เฆี่ยนด้วยหวายบ้าง ตีด้วยไม้ค้อนบ้าง ตัดมือเสียบ้าง ตัดเท้าเสียบ้าง ตัดทั้งมือทั้งเท้าเสียบ้าง ตัดหูเสียบ้าง ตัดจมูกเสียบ้าง ตัดทั้งหู ทั้งจมูกเสียบ้าง กระทำกรรมกรณ์ ชื่อพิลังคถาลิก [หม้อเคี่ยวน้ำส้ม] บ้าง ชื่อสังขมุณฑกะ [ขอดสังข์] บ้าง ชื่อราหูมุข [ปากราหู] บ้าง ชื่อโชติมาลิก [พุ่มเพลิง] บ้าง ชื่อหัตถปัชโชติก [มือไฟ] บ้าง ชื่อเอรกวัตติก [นุ่งหนังช้าง] บ้าง ชื่อจีรกวาสิก [นุ่งสร่าย] บ้าง ชื่อเอเณยยกะ [ยืนกวาง] บ้าง ชื่อพลิสมังสิก [กระชากเนื้อด้วยเบ็ด]บ้าง ชื่อกหาปณกะ [ควักเนื้อทีละ- *กหาปณะ] บ้าง ชื่อขาราปฏิจฉก [แปรงแสบ] บ้าง ชื่อปลิฆปริวัตติก [วนลิ่ม] บ้าง ชื่อปลาลปีฐก [ตั่งฝาง] บ้าง รดด้วยน้ำมันที่ร้อนบ้าง ให้สุนัขกัดกินบ้าง เสียบที่หลาวทั้งเป็นบ้าง ใช้ดาบตัด ศีรษะเสียบ้าง คนเหล่านั้นถึงตายไปตรงนั้นบ้าง ถึงทุกข์ปางตายบ้าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ที่เห็นๆ กันอยู่ มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายทั้งนั้น. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เพราะเหตุแห่งกามทั้งหลายนั้นแล ฝูงชนต่างประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ชนเหล่านั้น ครั้นประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริตแล้ว เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ย่อมเข้าถึง อบาย ทุคติ วินิบาตนรก ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นโทษของกามทั้งหลาย เป็นกองทุกข์ ในสัมปรายภพ มีกามเป็นเหตุ มีกามเป็นต้นเค้า มีกามเป็นตัวบังคับ เกิดเพราะเหตุแห่งกาม ทั้งหลายทั้งนั้น. [๑๙๙] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นการถ่ายถอนของกามทั้งหลาย? ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย การกำจัดฉันทราคะในกามทั้งหลาย การละฉันทราคะในกามทั้งหลายใด นี้เป็นการถ่าย- *ถอนของกามทั้งหลาย. [๒๐๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่รู้ชัดคุณของกาม ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของกามทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของกามทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นน่ะหรือ จักรอบรู้กามทั้ง- *หลายด้วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อื่น เพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้กามทั้งหลาย ได้ ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่ง รู้ชัดคุณของกามทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของกามทั้งหลาย โดยความเป็นโทษและการถ่ายถอน กามทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นแหละหนอ จักรอบรู้กามทั้งหลายด้วยตนเองได้ หรือจักชักจูงผู้อื่น เพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้ กามทั้งหลายได้ ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้. [๒๐๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นคุณของรูปทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า นางสาวเผ่ากษัตริย์ เผ่าพราหมณ์ หรือเผ่าคฤหบดีมีอายุระบุได้ว่า ๑๕ ปี หรือ ๑๖ ปี ไม่สูงเกินไป ไม่ต่ำเกินไป ไม่ผอมเกินไป ไม่อ้วนเกินไป ไม่ดำเกินไป ไม่ขาวเกินไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย ในสมัยนั้นนางคนนั้น งดงามเปล่งปลั่งเป็นอย่างยิ่ง ใช่หรือไม่เล่า? พวกภิกษุ พากันกราบทูลว่าเป็นเช่นนั้นพระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความสุข ความโสมนัสอันใดแล ที่บังเกิดขึ้นเพราะอาศัยความงามเปล่งปลั่ง นี้เป็นคุณของรูปทั้งหลาย. [๒๐๒] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นโทษของรูปทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละในโลกนี้ โดยสมัยอื่น มีอายุ ๘๐-๙๐ หรือ ๑๐๐ ปี โดยกำเนิด เป็นยายแก่ มีซี่โครงคดดังกลอนเรือนร่างขดงอ ถือไม้เท้ากระงกกระเงิ่น เดินสั่นระทวย กระสับกระส่าย ผ่านวัยเยาว์ไปแล้วมีฟันหลุด ผมหงอก ผมโกร๋น ศีรษะล้าน เนื้อเหี่ยว มีตัว ตกกระ ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มี ในครั้งก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละมีอาพาธ มีทุกข์ เจ็บหนัก นอนจมมูตรคูถของตน ต้องให้คนอื่นพยุงลุก ต้องให้คนอื่นคอยประคอง ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย เธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็นซากศพ ถูกทิ้งไว้ในป่าช้า ตายได้ ๑ วันก็ดี ตายได้ ๒ วันก็ดี ตายได้ ๓ วันก็ดี เป็นซากศพขึ้นพอง ก็ดี มีสีเขียวก็ดี เกิดหนอนชอนไชก็ดี ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็นซากศพถูกทิ้ง ไว้ในป่าช้า ฝูงการุมกันจิกกินบ้าง ฝูงแร้งรุมกันจิกกินบ้าง ฝูงนกเค้ารุมกันจิกกินบ้าง ฝูงสุนัขรุม กันกัดกินบ้าง ฝูงสุนัขจิ้งจอกรุมกันกัดกินบ้าง ฝูงปาณกชาติต่างๆ รุมกันกัดกินบ้าง ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนนั้นหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวคนนั้นแหละเป็นซากศพถูกทิ้งไว้ ในป่าช้า มีแต่โครงกระดูก มีเนื้อและเลือดติดอยู่ มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ มีแต่โครงกระดูก ปราศจาก เนื้อเปื้อนเลือด มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ มีแต่โครงกระดูกปราศจากเนื้อและเลือด มีเอ็นยึดอยู่ ฯลฯ เป็นแต่กระดูก ปราศจากเอ็นยึด กระจัดกระจายไปในทิศน้อยทิศใหญ่ คือ กระดูกมือทางหนึ่ง กระดูกเท้าทางหนึ่ง กระดูกแข้งทางหนึ่ง กระดูกขาทางหนึ่ง กระดูกสะเอวทางหนึ่ง กระดูกสันหลัง ทางหนึ่ง กระดูกซี่โครงทางหนึ่ง กระดูกหน้าอกทางหนึ่ง กระดูกแขนทางหนึ่ง กระดูกไหล่ทาง หนึ่ง กระดูกคอทางหนึ่ง กระดูกคางทางหนึ่ง กระดูกฟันทางหนึ่ง หัวกระโหลกทางหนึ่ง ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่งที่มีในก่อนนั้น หายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลพึงเห็นนางสาวนั้นแหละ เป็นซากศพถูก ทิ้งไว้ในป่าช้า เหลือแต่กระดูกสีขาว เปรียบเทียบได้กับสีสังข์ ฯลฯ เหลือแต่กระดูกตกค้างแรมปี เรียงรายเป็นหย่อมๆ ฯลฯ เหลือแต่กระดูกผุแหลกยุ่ย ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจะสำคัญ ข้อนั้นอย่างไร ความงดงาม ความเปล่งปลั่ง ที่มีในก่อนหายไปแล้ว โทษปรากฏแล้วมิใช่หรือ? ภิ. เป็นเช่นนั้น พระเจ้าข้า. พ. ดูกรภิกษุทั้งหลาย แม้ข้อนี้ ก็เป็นโทษของรูปทั้งหลาย. [๒๐๓] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นการถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย? ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย การกำจัดฉันทราคะในรูปทั้งหลาย การละฉันทราคะในรูปทั้งหลาย นั้นใด นี้เป็นการ ถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย. กำหนดรู้รูป [๒๐๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่รู้ชัดคุณของรูป ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นน่ะหรือ จักรอบรู้รูปทั้งหลาย ด้วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อื่น เพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้รูปทั้งหลายได้ ข้อนี้ ไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าหนึ่ง รู้ชัดคุณของรูป ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของรูปทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวนี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นแหละหนอ จักรอบรู้รูป ทั้งหลายด้วยตนเองได้ หรือจักชักจูงผู้อื่นเพื่อความเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้วจักรอบรู้รูปทั้งหลายได้ ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้. [๒๐๕] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นคุณของเวทนาทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติ และสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในสมัยใด ภิกษุสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุข เกิดแต่วิเวกอยู่ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายตน ย่อมไม่ คิดเพื่อจะทำลายผู้อื่น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายทั้งสองฝ่าย ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนา อันไม่มี ความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราย่อมกล่าวคุณของเวทนาทั้งหลายว่า มีความ ไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในสมัยใด ภิกษุบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตกวิจารสงบไป ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนา อันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวคุณของเวทนา ทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุข ด้วยกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ฯลฯ ในสมัยใด ภิกษุมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌาน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลาย ตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวยเวทนาอันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวคุณแห่งเวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง. ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะ ละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในสมัยใด ภิกษุบรรลุจตุตถฌาน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมไม่คิดเพื่อจะทำลายตน ฯลฯ ในสมัยนั้น ย่อมเสวย เวทนาอันไม่มีความเบียดเบียนเลยทีเดียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวคุณแห่งเวทนาทั้งหลายว่า มีความไม่เบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง [๒๐๖] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นโทษของเวทนาทั้งหลาย? ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้อที่เวทนาไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวนเป็นธรรมดานี้เป็น โทษของเวทนาทั้งหลาย. [๒๐๗] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อะไรเล่า เป็นการถ่ายถอนของเวทนา? ทั้งหลาย ดูกรภิกษุ ทั้งหลาย การกำจัด การละฉันทราคะ ของเวทนาทั้งหลายเสียได้ นี้เป็นการถ่ายถอนของเวทนา ทั้งหลาย. กำหนดรู้เวทนา [๒๐๘] ดูกรภิกษุทั้งหลาย สมณะหรือพราหมณ์พวกใดพวกหนึ่ง ไม่รู้ชัดคุณของเวทนา ทั้งหลาย โดยเป็นคุณ โทษของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นโทษและการถ่ายถอนของเวทนา ทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวมานี้ ตามความเป็นจริง พวกนั้นน่ะหรือจัก รอบรู้เวทนาทั้งหลายด้วยตนเอง หรือว่าจักชักจูงผู้อื่นเพื่อเป็นอย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้ว จักรอบรู้เวทนา ทั้งหลายได้ ข้อนี้มิใช่ฐานะที่จะมีได้ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่า- *หนึ่ง รู้ชัดคุณของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นคุณ โทษของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นโทษ และการถ่ายถอนของเวทนาทั้งหลาย โดยความเป็นการถ่ายถอน อย่างที่กล่าวมานี้ ตามความเป็น จริง พวกนั้นแหละหนอ จักรอบรู้เวทนาทั้งหลาย ด้วยตนเองได้หรือจักชักจูงผู้อื่นเพื่อความเป็น อย่างที่ผู้ปฏิบัติแล้ว จักรอบรู้เวทนาทั้งหลายก็ได้ ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้. พระผู้มีพระภาคได้ตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจชื่นชมยินดีพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคแล้วแล.

วันเสาร์ที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียวโลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียว

จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียวโลกนี้จะกว้างก็เพราะจิตไม่มีสมาธิ ปล่อยตามอารมณ์ของอายตนะทั้งนั้น โลกนี้จะแคบก็เพราะจิตนี้ได้ฝึกหัดสมาธิ ให้อยู่ในบังคับของตน พิจารณาอารมณ์ของอายตนะทั้งหกแต่ภายใน คือ เมื่อจิตเป็นสมาธิแล้ว อายตนะ เป็นต้นว่า ตาเห็นรูป หูฟังเสียง ฯลฯ เหล่านี้จะไม่ปรากฏเลย จะปรากฏแต่รูปที่เป็นนามธรรม เสียงที่เป็นนามธรรมปรากฏเกิดขึ้นในสมาธินั้น โดยเฉพาะอายตนะภายนอกจะไม่รู้เลย เมื่อทำสมาธิให้แน่วแน่นเต็มที่แล้ว พิจารณาเห็น โลกจิต นี้มันเป็นเหตุทำให้เกิดอายตนผัสสะ สัญญา และอารมณ์ และตลอดสรรพกิเลสทั้งปวงแล้ว จิตก็จะถอนจากสิ่งทั้งหมด จะยังเหลือแต่ใจคือ ผู้รู้ อย่างเดียว

ดีใจพระโพธิสัตว์ บุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ต้องประกอบด้วยองค์ธรรม ซึ่งเรียกว่าธรรมสโมธาน (การประชุมธรรม) ๕ ประการ ๓ คือ:- ๑. ความเป็นมนุษย์ (มนุสฺสตฺตํ) คือ ในชาติที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น ต้องเป็นมนุษย์เท่านั้น เป็นเทวดาไม่ได้ ไม่ต้องกล่าวถึงเป็นสัตว์นรก สัตว์เดรัจฉาน เปรต หรือ อสุรกาย ๒. ความถึงพร้อมด้วยเพศ (ลิงฺคสมฺปตฺติ) คือ เป็นเพศชายเท่านั้น จะเป็นผู้หญิง กะเทยและอุภโตพยัญชนก (บุคคลที่มี ๒ เพศในคนเดียวกัน) ไม่ได้ แต่กระนั้น ผู้หญิงสามารถเป็นมารดาของผู้ที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าได้ ๓. การเห็นท่านผู้ปราศจากอาสวกิเลสทั้งหลาย (วิคตาสวทสฺสนํ) คือ การเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้าหรือพระอนุพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง ๔. อธิการ (อธิกาโร) คือกระทำอันยิ่ง ต้องบริจาคชีวิตของตนเองแล้วจึงตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ๕. ความพอใจ (ฉนฺทตา) คือ ความเป็นผู้ปรารถนาเพื่อทำให้เป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า แม้ว่าจะยากลำบากประสบพบปัญหาอุปสรรคมากเพียงใดก็ตาม อาทิเช่น มีคนกล่าวว่า ใครก็ตามที่สามารถเหยียบสากลจักรวาล อันเต็มไปด้วยถ่านเพลิงที่ปราศจากเปลวไฟได้ ใครก็ตามที่สามารถเหยียบข้ามสากลจักวาลอันเกลื่อนกล่นด้วยหอกและหลาวได้ ใครก็ตามที่สามารถลุยข้ามสากลจักรวาลอันเต็มไปด้วยน้ำปริ่มฝั่งได้ ใครก็ตามที่สามารถก้าวล่วงสากลจักรวาลซึ่งดารดาษด้วยกอไผ่ชั่วนิรันดรได้ จึงตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าได้ บุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้าบอกว่า "เราสามารถทำเช่นนั้นได้" มีคาถาแสดงไว้ว่า "มนุสฺสตฺตํ ลิงฺคสมฺปตฺติ วิคตาสวทสฺสนํ อธิกาโร ฉนฺทตา เอเต อภินีหารการณาฯ" "มีเหตุแห่งปณิธานขึ้นพื้นฐาน (ก็เพราะธรรมสโมธาน ๕ ประการ) เหล่านี้ คือ ความเป็นมนุษย์, ความถึงพร้อมด้วยเพศ,การเห็นท่านผู้ปราศจากอาสวะ, อธิการและความพอใจ" แต่สำหรับบุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต้องประกอบด้วยองค์ธรรมซึ่งเรียกว่า ธรรมสโมธาน ๘ ประการ๔ คือ:- ๑. ความเป็นมนุษย์ (มนุสฺสตฺตํ) มีนัยเดียวกับองค์ธรรมของบุคคลที่ตั้งปณิธานเป็นพระปัจเจกพุทธเจ้า ๒. ความถึงพร้อมด้วยเพศ (ลิงฺสมฺปตฺติ) ก็มีนัยเดียกัน ๓. เหตุ (เหตุ) คือ ความถึงพร้อมด้วยอุปนิสัยแห่งพระอรหันต์ ในชาติที่ตั้งปณิธานเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ถ้าพยายามอย่างเต็มกำลัง จะสามารถเป็นพระอรหันต์ได้ ๔. การเห็นพระศาสดา (สตฺถารทสฺสนํ) คือการเห็นเฉพาะพระพักตร์ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าองค์ใดองค์หนึ่ง อาทิเช่นสุเมธบัณฑิตได้เห็นพระทีปังกรพุทธเจ้าเฉพาะพระพักตร์แล้วจึงตั้งปณิธาน ๕. การบรรพชา (ปพฺพชฺชา) คือ ความเป็นอนาคาริก ต้องเป็นนักบวชผู้เป็นกรรมวาทีและกิริยวาที อาทิเช่น สุเมธบัณฑิตเป็นดาบสชื่อสุเมธ จึงตั้งปณิธาน ๖. ความถึงพร้อมแห่งคุณ (คุณสมฺปตฺติ) คือการได้คุณธรรมหรือธรรมวิเศษมีฌานเป็นต้น อาทิเช่น สุเมธบัณฑิตได้อภิญญา ๕ และสมาบัติ ๘ แล้วจึงตั้งปณิธาน ๗. อธิการ (อธิกาโร) มีนัยเดียวกัน ๘. ความพอใจ (ฉนฺทตา) ก็มีนัยเหมือนกัน

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น

วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นhttp://www.dhamma.com/ เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

ทางสายเดียวที่ถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้นhttp://www.dhamma.com/ เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

วิธีนั่งสมาธิและนั่งวิปัสสนาตรัสรู้หรือบรรลุธรรมได้หรือเหตุแห่งการบรรลุธรรม(วิมุตติ) ธรรมะเหตุหรืออาการที่บรรลุ ๑.ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ๒.ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุธรรม ๓.ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ๔.ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม ๕.สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งเธอเล่าเรียนมาด้วยดีทำไว้ในใจด้วยดีทรงไว้ด้วยดีแทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญา ก็บรรลุธรรม

วิธีนั่งสมาธิและนั่งวิปัสสนาตรัสรู้หรือบรรลุธรรมได้หรือเหตุแห่งการบรรลุธรรม(วิมุตติ) ธรรมะเหตุหรืออาการที่บรรลุ ๑.ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ๒.ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุธรรม ๓.ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ๔.ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม ๕.สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งเธอเล่าเรียนมาด้วยดีทำไว้ในใจด้วยดีทรงไว้ด้วยดีแทงตลอดด้วยดีด้วยปัญญา ก็บรรลุธรรม

จริยาของพระสกิทาคามีมรรคเธอ ย่อมพิจารณาเห็นธรรมทั้งหลาย คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ อันมีอยู่ในขณะแห่งปฐมฌานนั้น โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรคเป็นดังหัวฝี เป็นดังลูกศร ไม่มีสุข เป็นอาพาธ เป็นของผู้อื่น เป็นของชำรุดว่างเปล่า เป็นอนัตตา เธอย่อมยังจิตให้ตั้งอยู่ด้วยธรรมเหล่านั้น ครั้นแล้ว เธอย่อมโน้มจิตไปเพื่ออมตธาตุว่า นั่นสงบ นั่นประณีต คือ ธรรมเป็นที่สงบแห่งสังขารทั้งปวง ความสละคืนอุปธิทั้งปวง ความสิ้นตัณหา ความคลายกำหนัด ความดับ นิพพาน เธอตั้งอยู่ในปฐมฌานนั้น ย่อมถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย ......ถ้ายังไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะทั้งหลาย เธอย่อมเป็นอุปปาติกะจักปรินิพพานในภพนั้น มีอันไม่กลับจากโลกนั้นเป็นธรรมดา เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป

การได้ไปสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล ทำกาละแล้วจักถึงสุคติโลกสวรรค์จริงหรือไม่?สังเวชนียสถานภายหลังพุทธปรินิพพาน “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ! แต่ก่อนนี้ ภิกษุทั้งหลายที่จำพรรษาในทิศต่าง ๆ แล้วย่อมมาเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า. พวกข้าพระองค์ทั้งหลาย ได้มีโอกาสเห็นภิกษุทั้งหลายผู้น่เจริญใจเหล่านั้นได้มีโอกาสเข้าพบปะภิกษุทั้งหลายผู้น่าเจริญใจเหล่านั้น. ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าล่วงลับไปแล้ว พวกข้าพระองค์ทั้งหลายย่อมหมดโอกาสที่จะได้เห็น หรือได้เข้าพบปะภิกษุทั้งหลายผู้น่าเจริญใจเหล่านั้นอีกต่อไป”. พระอานนท์ กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าในวันปรินิพพาน. ดูก่อนอานนท์! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตร ผู้มีศรัทธา มีอยู่ ๔ ตำบล. ๔ ตำบลอะไรเล่า? ดูก่อนอานนท์! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่า **พระตถาคตประสูติแล้ว ณ ที่นี้ ๑, **สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าพระตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ณ ที่นี้ ๑, **สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าพระตถาคตได้ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว ณ ที่นี้ ๑, **สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความสังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา ว่าพระตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุแล้ว ณ ที่นี้ ๑. อานนท์! สถานที่ที่ควรเห็นและควรเกิดความ สังเวชแก่กุลบุตรผู้มีศรัทธา มี๔ ตำบลเหล่านี้แล. อานนท์! ภิกษุทั้งหลาย หรือภิกษุณีทั้งหลาย หรืออุบาสกทั้งหลาย หรืออุบาสิกาทั้งหลาย ผู้มีศรัทธา จักพากันมาสู่สถานที่ ๔ ตำบลเหล่านี้โดยหมายใจว่า พระตถาคตได้ประสูติแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, พระตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, พระตถาคตได้ประกาศอนุตตรธรรมจักรให้เป็นไปแล้ว ณ ที่นี้บ้าง, พระตถาคตได้ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ณ ที่นี้บ้าง ดังนี้. การได้ไปสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล ทำกาละแล้วจักถึงสุคติโลกสวรรค์จริงหรือไม่? ............................................. อานนท์ ! ชนเหล่าใดเที่ยวไปตามเจดียสถานจักมีจิตเลื่อมใส ทำกาละ แล้ว ชนเหล่านั้นจักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ภายหลังแต่การตายเพราะการทำลายแห่งกาย ดังนี้.

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

หลวงพ่อมารับเมื่อไรผมก็ไปเวลานั้นครับด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันพฤหัสบดีที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Buddang Saranang

Buddang Saranang

Buddang Saranang

Buddhan Saranam Gachchami- (Ishak Beg)

จิตสงบพบจิตปรุงแต่งดังนั้น หนทางแห่งการรู้แจ้ง เพื่อดับทุกข์มีประการเดียว คือ เห็นความคิดปรุงแต่งว่าไม่มีใครในความคิดปรุงแต่งนั้น หรือไม่เป็นความคิดปรุงแต่งของใคร เป็นแต่เพียงสภาวธรรมหนึ่งเท่านั้น

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับ สุดท้ายยกเครื่องฉายหนังทิ้งคืนกายคืนใจให้ธรรมชาติจบกิจไม่ต้องเกิดอีกต่อไป เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

อรหันต์ตั๊กม้อ 2/8ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น ถ้าเรามีสติเรื่อยๆ นะ ... (หลวงพ่อชูพัดให้ดู) ไม่มี เพราะอะไร เพราะมันเป็นของถูกรู้ถูกดู มันอยู่ห่างๆ นึกออกไหม ... ทำอัปปนาสมาธิได้ก็ทำ ถ้าทำไม่ได้ก็อย่าฝืน มันจะกลายเป็นอัปลักษณ์สมาธิ.

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น ถ้าเรามีสติเรื่อยๆ นะ ... (หลวงพ่อชูพัดให้ดู) ไม่มี เพราะอะไร เพราะมันเป็นของถูกรู้ถูกดู มันอยู่ห่างๆ นึกออกไหม ... ทำอัปปนาสมาธิได้ก็ทำ ถ้าทำไม่ได้ก็อย่าฝืน มันจะกลายเป็นอัปลักษณ์สมาธิ.

พระอริยะบุคคล พระอนาคามี นาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า นาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ

วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ศาสตร์ที่ว่าด้วยความพ้นทุกข์ที่ไม่มีอะไรเสมอเหมือนไม่มีใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตเขาบรรลุของเขาเอง ... เกิดตัณหา เกิดอยากให้มันดี อยากให้มันสุข อยากให้มันสงบ เกิดการกระทำกรรมการสร้างภพ ... มีแต่คำว่า อยาก กับคำว่า ตัวเรา พอมีความอยากเกิดขึ้นจิตใจก็ดิ้นรนทำงาน ทำอย่างนี้น่าจะดีๆ ...

กุญแจแห่งความรู้สึกตัวพิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพานไม่มีใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตเขาบรรลุของเขาเอง ... เกิดตัณหา เกิดอยากให้มันดี อยากให้มันสุข อยากให้มันสงบ เกิดการกระทำกรรมการสร้างภพ ... มีแต่คำว่า อยาก กับคำว่า ตัวเรา พอมีความอยากเกิดขึ้นจิตใจก็ดิ้นรนทำงาน ทำอย่างนี้น่าจะดีๆ ...

คำพูดบรรยายไม่หมด ได้แต่รู้กันด้วยใจไม่มีใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตเขาบรรลุของเขาเอง ... เกิดตัณหา เกิดอยากให้มันดี อยากให้มันสุข อยากให้มันสงบ เกิดการกระทำกรรมการสร้างภพ ... มีแต่คำว่า อยาก กับคำว่า ตัวเรา พอมีความอยากเกิดขึ้นจิตใจก็ดิ้นรนทำงาน ทำอย่างนี้น่าจะดีๆ ...

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับสุดท้ายยกเครื่องฉายหนังทิ้งคืนกายคืนใจให้ธรรมชาติจบกิจไม่ต้องเกิดอีกต่อไป เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs..เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

spirit of indiaเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด

บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้นยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก... เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันจันทร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้วทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด ...

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้วทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด ...

วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้านาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้านาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

นิพพานัง ปรมัง สุขังเมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้นภิกษุประคองตั้งจิตว่า เมื่อลูกศรคือตัณหาเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจักไม่กิน จักไม่ดื่ม จักไม่ ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า จิตของเราจักไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่น เพียงใด ..... การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี พิจารณา ถึงความอยู่แห่งบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ ..

วันเสาร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

พระอริยะบุคคล พระอนาคามี.วิธีบรรพชาอุปสมบทแบบเอสาหัง กุลบุตรผู้มีศรัทธามุ่งอุปสมบท พึงรับผ้าไตรอุ้มประนมมือเข้าไปใน สังฆสันนิบาต วางผ้าไตรไว้ข้างตัวด้านซ้าย รับเครื่องสักการะถวายพระ อุปัชฌายะ แล้วกราบลงด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ๓ ครั้งแล้วนั่งคุกเข้าอุ้มผ้าไตร ประนมมือเปล่งวาจา ถึงสรณะและขอบรรพชาด้วยคำมคธ หยุดตามจุดจุลภาค ว่า .........เอสาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะ- วะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง .........ทุติยัมปาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระ- ณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ, ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต, ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง .........ตะติยัมปาหัง ภันเต, สุจิระปะรินิพพุตัมปิ, ตัง ภะคะวันตัง สะระณัง คัจฉามิ, ธัมมัญจะ ภิกขุสังฆัญจะ ละเภยยาหัง ภันเต, ตัสสะ ภะคะวะโต,ธัมมะวินะเย ปัพพัชชัง, ละเภยยัง อุปะสังปะทัง .........อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหตวา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายามิ วัตถานิ คะเหตวา, ปัพพเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, ปัพพัชชัง ยาจามิ, อิมานิ กาสายานิ วัตถานิ คะเหตวา, ปัพพาเชถะ มัง ภันเต, อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ถ้าบวชเป็นสามเณร ยกคำว่า ละเภยยัง อุปะสัมปะทัง ออกเสีย .........ในลำดับนั้น พระอุปัชฌายะรับเอาผ้าไตรจากผู้มุ่งบรรพชาวางไว้ตรง หน้าตัก แล้วกล่าวสอนถึงพระรัตนตรัยเป็นต้น และบอก ตะจะปัญจะกะกัม- มัฏฐาน ให้ว่าตามไปทีละบท โดยอนุโลมและปฏิโลม ดังนี้ .........เกสา โลมา นะขา ทันตา ตะโจ (อนุโลม) .........ตะโจ ทันตา นะขา โลมา เกสา (ปฏิโลม) .........ครั้นสอนแล้วพระอุปัชฌายะชังอังสะออกจากไตร สวมให้แล้ว สั่งให้ ออกไปครองไตรจีวรตามระเบียบ ครั้นเสร็จแล้วเข้าไปหาพระอาจารย์ รับ เครื่องสักการะถวายท่านแล้วกราบ ๓ หน นั่งคุกเข่า ประนมมือเปล่งวาจา ขอสรณะและศีลดังนี้ ........................อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ .........ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ .........ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, สะระณะสีลัง ยาจามิ .........ลำดับนั้น พระอาจารย์กล่าวคำนมัสการนำให้ผู้มุ่งบรรพชาว่าตามไป ดังนี้ .........นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธสสะ ว่า ๓ หน .........แต่นั้นท่านจะสั่งด้วยคำว่า เอวัง วะเทหิ หรือ ยะมะหัง วะทามิ ตัง วะเทหิ พึงรับว่า อามะ ภันเต .........ครั้นแล้วท่านนำให้เปล่งวาจาว่าสรณคมน์ตามไปทีละพากย์ดังนี้ ..................พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ..................สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ..................ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ .........เมื่อจบแล้ว ท่านบอกว่า ติสะระณะคะมะนัง นิฏฐิตัง พึงรับว่า อามะ ภันเต ลำดับนั้นพระอาจารย์จะบอกให้รู้ว่า การบรรพชาเป็น สามเณรสำเร็จด้วยสรณคมน์เพียงเท่านี้ ทีนั้นพึงสมาทานสิกขาบท ๑๐ ประการ ว่าตามท่านไปดังนี้ ..................ปาณาติปาตา เวระมะณี ..................อะทินนาทานา เวระมะณี ..................อะพรัหมะจะริยา เวระมะณี ..................มุสาวาทา เวระมะณี ..................สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี ..................วิกาละโภชะนา เวระมะณี ..................นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา เวระมะณี ..................มาลาคันธะวิเลปะนะธาระณะมัณฑะนะวิภูสะนัฏฐานา เวระมะณี ..................อุจจาสะยะนะมะหาสะยะนา เวระมะณี ..................ชาตะรูปะระชะตะปะฏิคคะหะณา เวระมะณี ..................อิมานิ ทะสะ สิกขาปะทานิ สะมาทิยามิ ฯ (ว่า ๓ หน) .........ในลำดับนั้น สามเณรพึงรับบาตร อุ้มเข้าไปหาพระอุปัชฌายะใน สังฆสันนิบาตวางไว้ข้างตัวด้านซ้าย รับเครื่องสักการะถวายท่าน แล้วกราบ ๓ หน นั่งคุกเข่าประนมมือกล่าวคำขอนิสัย ว่าดังนี้ ...........................อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ..................ทุติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ..................ตะติยัมปิ อะหัง ภันเต, นิสสะยัง ยาจามิ ..................อุปัชฌาโย เม ภันเต, โหหิ ว่า ๓ หน .........พระอุปัชฌายะกล่าวว่า โอปายิกัง, ปะฏิรูปัง, ปาสาทิเกนะ สัมปาเทหิ บทใดบทหนึ่งพึงรับว่า สาธุ ภันเต ทุกบทไป แต่นั้น สามเณรพึงกล่าวรับเป็นธุระให้ท่านว่าดังนี้ .........อัชชะตัคเคทานิ เถโร, มัยหัง ภาโร, อะหัมปิ เถรัสสะภาโร ...........................ว่า ๓ หน เสร็จแล้วกราบลง ๓ หน .........ลำดับนั้น พระอุปัชฌายะแนะนำสามเณรไปตามระเบียบแล้ว พระ อาจารย์ผู้เป็นกรรมวาจา เอาบาตรมีสายคล้องตัวผู้มุ่งอุปสมบท บอกบาตร และจีวร ผู้มุ่งอุปสมบทพึงรับว่า อามะ ภันเต ๔ หนดังนี้ คำบอกบาตรจีวร คำรับ คำบอกบาตรจีวร ๑. อะยันเต ปัตโต ๒. อะยัง สังฆาฏิ ๓. อะยัง อุตตะราสังโค ๔. อะยัง อันตะระวาสะโก.................. คำรับ อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต .........ต่อจากนั้นพระอาจารย์ท่านบอกให้ออกไปข้างนอกว่า คัจฉะ อะมุมหิ โอกาเส ติฏฐาหิ พึงถอยออกลุกขึ้นเดินไปยืนอยู่ในที่ที่กำหนดไว้ พระอาจารย์ท่านแสดงสมมติตนเป็นผู้สอนซ้อม แล้วออกไปสวดถามอันตรา- ยิกกรรม พึงรับว่า นัตถิ ภันเต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน ดังนี้ ...........ถาม ๑. กุฏฐัง ๒. คัณโฑ ๓. กิลาโส ๔. โสโส ๕. อะปะมาโร ๑. มะนุสโสสิ๊ ๒. ปริโสสิ๊ ๓. ภุชิสโสสิ๊ ๔. อะนะโณสิ๊ ๕. นะสิ๊ ราชะภะโฏ ๖. อะนุญญาโตสิ๊ มาตาปิตูหิ ๗. ปะริปุณณะวีสะติวัสโสสิ๊ ๘. ปะริปุณณันเต ปัตตะจีวะรัง....... ๑. กินนาโมสิ . ๒. โก นามะ เต อุปัชฌาโย .1 2 ตอบ นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต นัตถิ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อามะ ภันเต อะหัง ภันเต........................ นามะ อุปัชฌาโย เม ภันเต อายัสมา............................. นามะ .........ถ้าตอบพร้อมกันให้เปลี่ยน เม เป็น โน ช่องที่...ไว้ พระอุปัชฌายะหรืออาจารย์ท่านจะตั้งชื่อของ อุปสัม- ปทาเปกขะ กรอกลงช่องให้ไว้ก่อนวันบวช และช่องที่ ... ไว้ในช่องชื่อของ พระอุปัชฌาย์ ก็เช่นเดียวกัน ให้กรอกตามชื่อของพระอุปัชฌายะ ซึ่งท่านจะ บอกและกรอกให้ไว้ก่อนวันบวช .........ครั้นสวดสอนซ้อมแล้ว ท่านกลับเข้ามาสวดขอเรียกอุปสัมปทาเปกขะ เข้ามา อุปสัมปทาเปกขะ พึงเข้ามาในสังฆสันนิบาต กราบลงตรงหน้า พระอุปัชฌายะ ๓ หน แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือ เปล่งวาจาขออุปสมบท ว่าดังนี้ .........สังฆัมภันเต, อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตู มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปายทายะ .........ทุติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปทายะ .........ตะติยัมปิ ภันเต, สังฆัง อุปะสัมปะทัง ยาจามิ, อุลลุมปะตุ มัง ภันเต, สังโฆ อะนุกัมปัง อุปาทายะ .........ถ้าว่าพร้อมกันให้เปลี่ยน ยาจามิ เป็น ยาจามะ เปลี่ยน มัง เป็น โน .........ในลำดับนั้น พระอุปัชฌายะกล่าวเผดียงสงฆ์แล้ว และพระอาจารย์ สวดสมมติตน ถามอันตรายิกธรรมอุปสัมปทาเปกขะ พึงรับว่า นัถติ ภันเต ๕ หน อามะ ภันเต ๘ หน ตอบชื่อตนและอุปัชฌายะรวม ๒ หนโดย นัยหนหลัง แต่นั้นนั่งฟังท่านสวดกรรมวาจาอุปสมบทไปจนจบ ครั้นจบ แล้วท่านเอายาตรออกจากตัง แล้วพึงกราบ ๓ หน นั่งพับเพียบประนมมือนั่ง พระอุปัชฌายะบอกอนุศาสน์ไปจนจบแล้วรับว่า อามะ ภันเต แล้วกราบ ๓ หน ถวายไทยทาน กรวดน้ำ เหมือนกล่าวแล้วในแบบ อุกาสะ จบวิธีอุปสมบทแบบเอสาหัง

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ พระเถระย่อมทูลถามถึง ความบริสุทธิ์แห่งศีลและวัตรว่า ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า เมื่อลูกศรคือตัณหาเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจักไม่กิน จักไม่ดื่ม จักไม่ ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า จิตของเราจักไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่น เพียงใด ..... การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี พิจารณา ถึงความอยู่แห่งบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ ..

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ พระเถระย่อมทูลถามถึง ความบริสุทธิ์แห่งศีลและวัตรว่า ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า เมื่อลูกศรคือตัณหาเรายังถอนไม่ได้แล้ว เราจักไม่กิน จักไม่ดื่ม จักไม่ ออกจากวิหาร ทั้งจักไม่เอนข้าง ... ภิกษุประคองตั้งจิตว่า จิตของเราจักไม่หลุดพ้นจากอาสวะทั้งหลายเพราะไม่ถือมั่น เพียงใด ..... การนั่งตลอดปัจฉิมยามแห่งราตรี พิจารณา ถึงความอยู่แห่งบุคคลผู้มีราตรีเดียวเจริญ ..

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

การปฎิบัติธรรมในพระพุทธศาสนาข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน อารามของ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้พระนครสาวัตถี ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคตรัส กะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหมือนอย่างว่า มีอสรพิษ ๔ จำพวก ซึ่ง มีฤทธิ์เดชแรงกล้า ถ้ามีบุรุษรักชีวิต ผู้ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ ชน ทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน อสรพิษ ๔ จำพวกนี้ มีฤทธิ์เดชแรง กล้า ท่านพึงปลุกให้ลุกตามเวลา ให้อาบน้ำตามเวลา ให้กินอาหารตามเวลา ให้ เข้าสู่ที่อยู่ตามเวลา เวลาใดอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกนี้ ตัวใดตัวหนึ่งโกรธขึ้น เวลา นั้น ท่านก็จะพึงถึงความตาย หรือถึงทุกข์แทบปางตาย กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำ กิจนั้นเสีย ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกนั้น จึงหนีไปในที่อื่น ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีเพชฌฆาตผู้ เป็นข้าศึกอยู่ ๕ คน ได้ติดตามมาข้างหลังท่าน พบท่านในที่ใด ก็จะฆ่าท่านเสีย ในที่นั้น กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้นแล บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวก และกลัว เพชฌฆาตผู้เป็นข้าศึกทั้ง ๕ คนนั้น จึงหนีไปในที่อื่น ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขา อย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีเพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศ เงื้อดาบติดตาม มาข้างหลังท่าน พบท่านในที่ใด ก็จะตัดศีรษะของท่านเสียในที่นั้น กิจใดที่ท่าน ควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ จำพวกซึ่งมีฤทธิ์เดชแรงกล้า กลัวเพชฌฆาตผู้เป็นข้าศึกทั้ง ๕ และกลัวเพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศ เงื้อดาบอยู่ จึงหนีไปในที่อื่น เขาพบบ้านร้างเข้า จึงเข้าไปสู่เรือนร้างว่างเปล่า หลังหนึ่ง ลูบคลำภาชนะว่างเปล่าชนิดหนึ่ง ชนทั้งหลายพึงกล่าวกะเขาอย่างนี้ว่า ดูกรท่าน มีโจรทั้งหลายคอยฆ่าชาวบ้าน เข้ามาสู่บ้านร้างนี้เสมอ กิจใดที่ท่านควรทำ ก็จงทำกิจนั้นเสีย ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นกลัวอสรพิษทั้ง ๔ กลัวเพชฌฆาตทั้ง ๕ กลัว เพชฌฆาตคนที่ ๖ และกลัวโจรผู้คอยฆ่าชาวบ้าน จึงหนีไปในที่อื่น เขาไปพบ ห้วงน้ำใหญ่แห่งหนึ่ง ฝั่งข้างนี้น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย ฝั่งข้างโน้น เป็นที่เกษมปลอดภัย เรือแพ หรือสะพานที่จะข้ามไปฝั่งโน้นไม่มี ฯ ครั้งนั้น บุรุษนั้นมีความคิดอย่างนี้ว่า ห้วงน้ำนี้ใหญ่นัก ฝั่งข้าง นี้เป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษมปลอดภัยเรือ แพ หรือสะพานที่จะข้ามไปฝั่งโน้นก็ไม่มี ผิฉะนั้น เราควรจะมัดหญ้ากิ่งไม้และ ใบไม้ ผูกเป็นแพ เกาะแพนั้น พยายามไปด้วยมือและด้วยเท้า ก็พึงถึงฝั่งโน้น ได้โดยความสวัสดี ครั้นแล้ว บุรุษนั้นทำตามความคิดของตน ก็ว่ายข้ามฟากถึง ฝั่งข้างโน้นแล้ว เป็นพราหมณ์ขึ้นบกไป ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ข้ออุปมานี้ เราสมมติขึ้นเพื่อจะให้รู้เนื้อความ โดยง่าย ในข้อนั้นมีเนื้อความดังนี้ คำว่า อสรพิษที่มีฤทธิ์แรงกล้าทั้ง ๔ จำพวก นั้น เป็นชื่อแห่งมหาภูตรูป ๔ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุไฟ ธาตุลม คำว่า เพชฌฆาตทั้ง ๕ คนที่เป็นข้าศึกนั้น เป็นชื่อแห่งอุปาทานขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ คำว่า เพชฌฆาตคนที่ ๖ ซึ่งเที่ยวไปในอากาศเงื้อดาบอยู่นั้น เป็นชื่อแห่งนันทิราคะ คำว่า บ้านร้างนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายใน ๖ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้บัณฑิตผู้ฉลาด มีปัญญาใคร่ครวญ อายตนะภายใน ๖ นั้น ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็จะปรากฏว่าเป็นของ ว่าง เปล่า สูญทั้งนั้น ฯ คำว่า โจรผู้ฆ่าชาวบ้านนั้น เป็นชื่อแห่งอายตนะภายนอก ๖ ตาย่อม เดือดร้อนเพราะรูปเป็นที่พอใจและไม่พอใจ หูย่อมเดือดร้อน เพราะเสียงเป็นที่ พอใจและไม่พอใจ จมูกย่อมเดือดร้อนเพราะกลิ่นเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ลิ้น ย่อมเดือดร้อนเพราะรสเป็นที่พอใจและไม่พอใจ กายย่อมเดือดร้อนเพราะโผฏ- *ฐัพพะเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ใจย่อมเดือดร้อนเพราะธรรมารมณ์เป็นที่พอใจและ ไม่พอใจ คำว่า ห้วงน้ำใหญ่นั้น เป็นชื่อแห่งโอฆะทั้ง ๔ คือ กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ อวิชโชฆะ คำว่า ฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตราย นั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือ สัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ คำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่ง วิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อ แห่งพระอรหันต์ ฯ

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นด้วยเศียรเกล้าพระสังคิณี บาลี คำอ่าน กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา อพฺยากตา ธมฺมา, กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา, กตเม ธมฺมา กุสลา, ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสลํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ โหติ โสมนสฺสสหคตํ กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง าณสมฺปยุตฺตํ รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา คัณธารัมมะณัง วา ระสารัมมะนัง วา โผฏฺพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา โผฏฐัพพา รัมมะณัง วา ธัมมา รัมมะณัง วา ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ตสฺมึ สมเย ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผสฺโส โหติ อวิกฺเขโป โหติ เย วา ปน ตสฺมึ ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมิง สมเย อญฺเปิ อตฺถิ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปฏิจจะสะมุปปันนา อรูปิโน ธมฺมา อิเม ธมฺมา กุสลา ฯ อรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา. พระสังคิณี (แปล) ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล ในสมัยใด กามาวจรกุศลจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุคด้วยญาณ เกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใดๆ จะเป็นรุปารมณ์ก็ดี สัททารมณ์ก็ดี คันธารมณ์ก็ดี รสารมณ์ก็ดี โผฏฐัพพารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ก็ดี ในสมัยนั้น ผัสสะ ความฟุ้งซ้านย่อมมี อีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใดแม้อื่น มีอยู่ เป็นธรรมที่ไม่มีรูป อาศัยกันและกันเกิดขึ้น ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล. พระวิภังค์ บาลี คำอ่าน ปญฺจกฺขนฺธา รูปกฺขนฺโธ เวทนากฺขนฺโธ สญฺากฺขนฺโธ ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญฺาณกฺขนฺโธ ฯ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, ตตฺถ กตโม รูปกฺขนฺโธ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, ยงฺกิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะ ตะปัจจุปปันนัง อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา อัชฌัตตัง วา พะหิตธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร สันติเก วา ตเทกชฺฌํ อภิสญฺูหิตฺวา อภิสงฺขิปิตฺวา ตะเทกัชฌัง อภิสัญญูหิตวา อภิสังขิปิตวา อยํ วุจฺจติ รูปกฺขนฺโธ ฯ อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ. พระวิภังค์ (แปล) ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ บรรดาขันธ์ทั้งหมด รูปขันธ์เป็นอย่างไร รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุปัน ภายในก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม นั้นกล่าวรวมกันเรียกว่ารูปขันธ์ พระธาตุกถา บาลี คำอ่าน สงฺคโห อสงฺคโห , สังคะโห อะสังคะโห, สงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน สงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สงฺคหิเตน สงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง สมฺปโยโค วิปฺปโยโค สมฺปยุตฺเตน วิปฺปยุตฺตํ สัมปะโยโค วิปปะโยโค, สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปฺปยุตฺเตน สมฺปยุตฺตํ อสงฺคหิตํ ฯ วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง. พระธาตุกถา (แปล) การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ สิ่งที่ไม่ให้สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้ สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ การอยู่ด้วยกัน การพลัดพรากคือ การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไปจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้. พระปุคคะละปัญญัตติ บาลี คำอ่าน ฉ ปญฺตฺติโย ขนฺธปญฺตฺติ อายตนปญฺตฺติ ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปญฺตฺติ สจฺจปญฺตฺติ อินฺทฺริยปญฺตฺติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคฺคลปญฺตฺติ ฯ ปุคคะละปัญญัตติ, กิตตาวะตา กิตฺตาวตา ปุคฺคลานํ ปุคฺคลปญฺตฺติ, ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, สมยวิมุตฺโต อสมยวิมุตฺโต สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปฺปธมฺโม อกุปฺปธมฺโม กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปริหานธมฺโม อปริหานธมฺโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตนาภพฺโพ อนุรกฺขนาภพฺโพ เจตะนาภัพโพ อนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชฺชโน โคตฺรภู ภยูปรโต อภยูปรโต ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภพฺพาคมโน อภพฺพาคมโน นิยโต อนิยโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปฏิปนฺนโก ผเลฏฺิโต อรหา อรหตฺตาย ปฏิปนฺโน ฯ ปฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปฏิปันโน. พระปุคคะละปัญญัตติ (แปล) บัญญัติ ๖ คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทรีย์บัญญัติ บุคคลบัญญัติ บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร มีการพ้นจากสิ่งที่ควรรู้ การพ้นจากสิ่งที่ไม่ควรรู้ ผู้มีธรรมที่กำเริบได้ ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้ ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา ผู้ที่เป็นปุถุชน ผู้รู้ตระกูลโคตร ผู้เข้าถึงภัย ผู้เข้าถึงอภัย ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ควร ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ไม่ควร ผู้เที่ยง ผู้ไม่เที่ยง ผู้ปฏิบัติ ผู้ตั้งอยู่ในผล ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ปฏิบัติเพื่อพระอรหันต์. พระกถาวัตถุ บาลี คำอ่าน ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัฏฐะปะระมัตเฐนาติ อามนฺตา ฯ อามันตา, โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, น เหวํ วตฺตพฺเพ ฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคฺคหํ หญฺจิ ปุคฺคโล อุปลพฺภติ อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเน เตน วต เร สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนะ เตนะ วะตะ เร วตฺตพฺเพ โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส วัตตัพเพ โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ มิจฺฉา ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, มิจฉา. พระกถาวัตถุ (แปล) (ถาม) ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ ความหมายที่แท้จริงหรือ (ตอบ) ใช่... ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายที่แท้จริง (ถาม) ปรมัตถ์ คือ ความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ (ตอบ) ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนี้ ท่านจงรู้นิคคะหะเถิด ว่าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายอันแท้จริงแล้ว ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น คำตอบของท่านที่ว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือ โดยความหมายอันแท้จริงนั้นจึงผิด. พระยะมะกะ บาลี คำอ่าน เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา, เย วา ปน กุสลมูลา สพฺเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูเลน เอกมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, เย วา ปน กุสลมูเลน เอกมูลา สพฺเพ เต เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ ธัมมา กุสะลา. พระยะมะกะ (แปล) ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล อีกอย่าง ธรรมเหล่าใดมีกุศลเป็นมูล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล อีกอย่างหนึ่ง ธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล. พระมหาปัฏฐาน บาลี คำอ่าน เหตุปจฺจโย อารมฺมณปจฺจโย อธิปติปจฺจโย เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อธิปะติปัจจะโย อนนฺตรปจฺจโย สมนนฺตรปจฺจโย อนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สหชาตปจฺจโย อญฺมญฺปจฺจโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสฺสยปจฺจโย อุปนิสฺสยปจฺจโย ปุเรชาตปจฺจโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปจฺฉาชาตปจฺจโย อาเสวนปจฺจโย กมฺมปจฺจโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากปจฺจโย อาหารปจฺจโย อินฺทฺริยปจฺจโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานปจฺจโย มคฺคปจฺจโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สมฺปยุตฺตปจฺจโย วิปฺปยุตฺตปจฺจโย อตฺถิปจฺจโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นตฺถิปจฺจโย วิคตปจฺจโย อวิคตปจฺจโย ฯ นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย. พระมหาปัฏฐาน (แปล) ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัยหาที่สุดมิได้ ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดก่อนเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดภายหลังเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย ธรรมทีมีฌานเป็นปัจจัย ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัย ธรรมที่ไม่มีปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่ไม่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย.

วุตโตทัย๑. วานวาสิกาฉันท์ อลสสฺส น ชายติ มติ ธนญฺจ มติธเน ยสฺส อสติ อิธ กถํ โส สุขี ปรมฺหิ จ อปิ จ ทุขี ตสฺมา อลโส วตน จ ภเวยฺย เงินทองกองท่วมบ้าน บ่ขยัน ครั้นเกียจกอบโกยปัญ- เญศด้อย สุขังยั่งยืนฉัน- ใดเล่า..สหายเอย สมบัติยศหมื่นร้อย ย่อมรู้โรยรา ปัญญาทรัพย์สมบัติเกิดมีแก่คนเกียจคร้านผู้ใด เมื่อปัญญาและทรัพย์สมบัติไม่มีแก่คนผู้นั้นแล้ว (เสื่อมลง) ความสุขในชาตินี้แลชาติหน้าจักมีด้วยประการฉันใด ยศสมบัติเหล่านั้นนักปราชญ์จักปรารภเอาย่อมไม่มี ๒. จปลาฉันท์ ทานํ ธนพีชํ เส สีลํ สุขพีชํ มิธ มนุชานํ ตสฺมา สุทานทาตา สิยา สุสิโล สหิทกาโก ทานังดั่งพืชให้ โภคทรัพย์ ศีลดั่งพืชให้สรรพ สุขแผ้ว ชนใดใคร่ลิ้มลัพธ์ รมเยศ พึงปลูกหน่อธรรมแล้ว จึ่งรู้รสธรรม ทานเป็นพืชอันบังเกิดข้าวของสมบัติ ศีลเป็นพืชบังเกิดสุขในใจแก่คนทั้งหลายในโลกย์ เหตุนั้นผู้ใดปรารถนาข้าวของสมบัติอันดีแก่ตน พึงให้ทานด้วยความศรัทธาแลมีศีลอันดีเถิด ๓. คีติฉันท์ โมหวนทฺโธ พาโล ตณฺหา วสมา คโต จ โกธวสํ ปาเป สาหส กาลี อปายภูมี นิวาส คติ มสฺส พาโลโมหะคลุ้ง ครอบงำ ตัณหราคะกรรม โกรธแค้น คิดบาปหยาบช้าทำ กระลีโทษ มี นรก รอแม้น มอดม้วยมรณา ชนพาลอันโมหวิชชาครอบงำ ลุอำนาจแห่งตัณหา โกรธแค้นร้ายหนักหนาในบาปกรรม มีอบายภูมินรกเป็นที่อยู่ที่ไปแห่งชนชั้นแล ๔. อุปคีติฉันท์ ปาเณสุ น การุญฺโญ ทลิทฺทเกสุ จ วิเหทูยติ อาธมฺเม นโร ภวติโลเก โย นโร นหิ สาธุ โส ปาณาติบาตสิ้น กรุณา เบียนเบียฑปวงประชา ยากไร้ ลืมธัมมะนำพา ภพสุข หาสิ่งดีไม่ได้ หนักพื้นโลกา คนผู้ใดไม่มีความกรุณาในสัตว์และคนทั้งหลายผู้เข็ญใจ ย่อมเบียดเบียนผู้อื่นให้เป็นทุกข์ คนผู้นั้นจักเป็นผู้หาดีไม่ได้ ชื่อว่าเป็นคนอธรรมในโลกย์ ๕. อาริยาคีติฉันท์ อติมาโน อธิโกโธ อวมาน กโรนํ เวสุ อภวุฑฺเฒ สุ โย พหุสุโตมิ โสปิน บณฺฑิโต พาลํ สมฺมโต อธิโลเก มานะมีมากครั้ง เคืองเคียด ใจจะหยามหมิ่นเกียรติ ทุกผู้ แม้นเรียนร่ำละเอียด เอกอุ ปากที่ฝากกระทู้ ถ่อยสิ้นสัทธรรม คนผู้ใดมีทิฐิมานะใหญ่ยิ่งนัก มีความโกรธเคืองเคียด ย่อมดูหมิ่นบุคคลอันหนุ่มและแก่กว่าตน แม้นผู้นั้นจะเป็นพหูสูตร (ผู้ร่ำเรียนมากเท่าใดก็ดี) จักถือเป็นบัณฑิตก็หามิได้ (เพราะความพาล) ขึ้นชื่อว่าเป็นคนใบ้คนหนึ่งในโลกย์ ๖. เวตาลียฉันท์ อธิปจฺจํโคธ โย นโร ตณฺหามาณว วตฺติโต ปเร ปตาเปติ มตฺตวุฑฺฒิยา ตถานาคเต ทุกฺขตา ปิโต ครองแคว้นแค้นข่มข้า ขุกเข็ญ เพื่อประโยชน์โฉดเป็น ที่ตั้ง ภายหน้าพ่าห์เพียบเพ็ญ พบเพท..ภัยเอย กรรมเก่าเข้าฉุดรั้ง เร่งให้ฉิบหาย บุคคลใดถึงความเป็นใหญ่ในโลกย์ ใช้อำนาจเบียดเบียนผู้อื่นให้เดือดร้อน เพื่อประโยชน์แก่ตน บุคคลนั้นจักเดือดร้อนในกาลหน้า ด้วยกรรมอันตนได้กระทำไว้ ๗. โอปจฺฉนฺทสกฉันท์ การุณิโล สนฺนโรธิปจฺจํ ยธา คโตโส สพฺพปาณเกสุ กโรติ สุขยํ น ปาปิทุกฺขํ สพฺพสุขีโน มานภาว ตสฺส กรุงไกรกษัตริย์เกื้อ กุศล เสริมสง่าการุณพล ไพร่ฟ้า ใจจำกำราบ รณ แรงบาป สุข สรนุกถ้วนหน้า แน่แท้ทุกสมัย คนผู้มี กรุณามาก ได้เป็นใหญ่ ในโลกย์ ในกาลเมื่อใด คนผู้นั้นกระทำความสุขให้แก่สัตว์โลกย์ทั้งหลาย ย่อมไม่กระทำความทุกข์ สัตว์โลกย์ทั้งหลายย่อมมีความสุขด้วยอำนาจของสัตตบุรุษนั้น ๘. อาปาฏลิกาฉันท์ โลภนิสฺสาย วินาโส ภวติ โทสํ จโมหนากํ จ โย นโร สวาฆนกาโม สจิตฺตรกฺขํ ทนฺตหิ กเรยฺย โลภมากกระชากช้ำ ฉิบหาย เหวแห่งจัตุราบาย บ่งรู้ โทโสโม่ห์ละลาย รมยสุข ละเกลศแล้วผู้ จิตพ้นสังสาร ความฉิบหายอาศัยความโลภ ซึ่งเกิดมีแก่สัตว์ทั้งหลาย ใช่แต่เท่านั้น ! ความฉิบหายย่อมอาศัยโทสะโมหะด้วย บุคคลทั้งหลายผู้หวังความเจริญ พึงกระทำการรักษาจิตใจของตนให้พ้นจากความโลภโกรธหลงนั้นเถิด ๙. ทกฺขิณนฺติกาฉันท์ ปหาย โกธํภิขนฺติ มา ทยาลุโก วา เมตฺตาจิตฺตกํ ทยํ จ ปเณสุ สมฺปเร สปญฺญวา น จเรติ ทารุนํ ขันตีนีราศแกล้ว โกรธา ถึงซึ่งเหตุเมตตา ตริถ้วน หลีกเร้นเข่นฆ่าสา- ธุสัตว์ สัปปุรุษเลิศล้วน ละเว้นทารุณ สัตตบุรุษผู้มีปัญญาละเว้นเสียยังความโกรธเป็นผู้ที่มีความอดทน ความกรุณามากนักย่อมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่สัตว์ทั้งหลาย สัตตบุรุษผู้นั้นย่อมไม่กระทำทารุณแก่สัตว์ ๑๐. อุทิจฺจวุติฉันท์ ปรสฺสลาเภ อุปาคเต เนว นินฺเทยฺย มิสฺสุภา ยตํ สภาวโต ยํ อธมฺมิกํ กายเลนฺตํ วนินฺทเย มุนี เศรษฐีมีมากแก้ว- กองทอง ปราชญ์ไป่ริษยาหมอง หม่นไหม้ ทรัพย์ใดใช่สิ่งของ สุจริต ปราชญ์อาจแนะแคะไค้ ข่มได้โดยควร ในเมื่อลาภมาถึงแก่ท่านผู้อื่น ผู้มีปัญญามิพึงติเตียนด้วยความริษยา วัตถุอันใดได้ด้วยมิชอบธรรม ผู้มีปัญญาติเตียนในกาลอันควรแล ๑๑. ปจฺจวุติฉันท์ สกาลา ภูตุปาทนํ ยถา อปฺปกมฺมิ สกลาภเก ตถา สนฺตุฏฺเฐยฺยว ปญฺญวา มา ปรสฺสลาเภ ปิหํ จเร ทุรโภคทุรโชคสร้าง ศฤงคาร- ธนทรัพย์ธนสาร ซึ่งน้อย พึงสันโดษสันดาน บัณฑิต อย่ามักใหญ่ในร้อย ลาภผู้อื่นสงวน การบังเกิดลาภแห่งตนด้วยประการใด แม้น้อยหนึ่งก็ดี ผู้มีปัญญาพึงสันโดษในลาภแห่งตนนั้น บ่มิพึงใคร่ได้ยังลาภแห่งท่านผู้อื่น ๑๒. ปวสฺตกฉันท์ ยโส จลาโภ จ กิตฺติ จ นิจฺจ ธัมฺมิกา เนว โหนฺติกา วินาส ธมฺมา ว ปณฺฑิโต ตาสุ มชฺชโต สพฺพทา ภเว ชื่อเสียงลาภยศเบี้ย บริวาร ฤาอยู่ยั่งยืนนาน เที่ยงแท้ ย่อมอันตรธาน ทุกเมื่อ ปราชญ์ไป่มัวเมาแล้ รีบสร้างทางเขษม ลาภยศบริวารชื่อเสียงก็ดี ไม่มีสภาวะอันมั่นเที่ยง ย่อมมีสภาวะอันรู้ฉิบหายไป เหตุนั้นบัณฑิตไม่พึงมัวเมาในกาลทุกเมื่อ ๑๓. อปรนฺติกาฉันท์ สพฺพโภคมิตฺตา สกานุคา เนว สพฺพฐาเน สยํ กตํ ปุญฺญปาปกมฺมํ สกานุคํ ตํ ปรมิปโลกานิวัตฺตกํ สินทรัพย์กับเพื่อนทั้ง หญิงชาย เคยติดตามยามตาย หมดสิ้น บุญบาป ขนาบกาย เกาะแน่น..นานนา นรชีพลับดับดิ้น บ่รู้ลาหาย ข้าวของทรัพย์สมบัติมิตรสหาย จักตามไปกับตนในสถานทุกแห่งหามิได้ กรรมอันเป็นบาปและบุญที่ตนได้กระทำไว้นั้น ย่อมตามไปกับตนในสถานที่ทุกแห่งแม้ในปรโลกหน้า ๑๔. จารุหาสินีฉันท์ ยทิ อตฺตโน อถฺเมสิโต ปหาย ปาปํว โส นโร ยเทวปุญฺมา ปรายิเก สุขาวหํตํ จเร สทา ชนใดไขว่คว้าสุข ใส่ตน ย่อมละเสียซึ่งผล บาปย้อม บุญบารมีดล แดนเทพ สู่สุขาวดีพร้อม- พรั่งด้วยสมบัติสวรรค์ บุคคลผู้ได้แสวงหาประโยชน์สุขแก่ตน ย่อมละเว้นจากบาปกรรมทั้งมวล กุศลกรรมอันใดซึ่งจักเป็นประโยชน์สุขในเทวโลก บุคคลผู้นั้นพึงกระทำในกาลทุกเมื่อแล ๑๕. อจลธิติ ฉันท์ ติสรณ มคต นรมรุ กลิคหนิ ทุจริต จริธ กลิผล อนุภวติ ตุมปคต นรมรุ นหิ กลิคหนิ สุจริต จริธ สุขผล อนุภวติ แก้วสามดวงเด่นไว้ หว่างทาง ทวยเทพนรชนปาง ปัดทิ้ง ถือทุจริตพลาง พบพิบาก..กรรมเอย ทุกข์ประทุกมากหยิ้ง ย่อมร้อนกลีผล เทวามานุษย์ผู้ พบตรัย..รัตน์เอย ถือสุจริตใจ อร่ามอล้า ดวงแก้วสาดส่องใส สว่างจิต สู่สุขรมย์ในหล้า แหล่งโน้นนีรันดร์ คนและเทวดาซึ่งไม่เข้าสู่ไตรสรณะ แลถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำทุจริต แลได้เสวยวิบากเป็นทุกข์ในโลก คนและเทวดาซึ่งเข้าไปสู่ไตรสรณะ แลไม่ถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำสุจริต แลได้เสวยสุขในโลก ๑๖. วิสิโลกฉันท์ โลกีย สมฺปท ธรติ สทา น สาสนมุตฺตมนฺติ กทาจิ ตสฺมา น เปกขิย โลกโภคํ ธเรยฺย สาสน อาธรนฺติ กุศลสร้างจึ่งพร้อม สมบัติ โลกิยนิทัศน์ ทุกข์ด้วย ศาสนวิวัฒน์ บางคาบ ผู้ใฝ่ธรรมธรรมฉ้วย ชีพรู้รสธรรม โลกียสมบัติตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ก็ด้วยกุศลแห่งสัตว์ทั้งหลาย ศาสนาอันประเสริฐ แห่งพระพุทธเจ้า มิตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ศาสนาตั้งอยู่ในกาลบางคาบ เหตุนั้นผู้มีปัญญามิพึงฝักใฝ่ในสมบัติ พึงฝักใฝ่ ในศาสนานั้นเถิด ๑๗. มตฺตาสมกฉันท์ สรณตฺตยํ สรณคตฺต นรํ วฏ์ฎทุกฺขโต ปโม จ ยนฺเต นาญสรณํ ยทิโย วทิตวา อวํ ติสรณ คเมยฺย นโร สังสารวัฏเวิ้ง ทุกขะ พ้นเพราะไตรสรณะ นั่นแท้ พึ่งไอศวรรยะ ยังยาก พึ่งไตรรัตนนั่นแล้ หลีกล้างราญเข็ญ บุคคลผู้ใดซึ่งถึงไตรสรณะ ย่อมหลุดพ้นทุกข์ในวัฏฏสงสาร ที่พึ่งอันชื่นเช่นท้าวพระยามหาเสนาบดีจักให้หลุดพ้นจากทุกข์ในวัฏฏสงสารหามิได้ เหตุนั้นผู้รู้แล้วด้วยประการดังนี้ พึงถึงซึ่งไตรสรณะเป็นที่พึ่งแก่ตนเพราะวิเศษยิ่งกว่าที่พึ่งอันอื่น

พุทธธรรม เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

กุญแจแห่งความรู้สึกตัวพิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพาน ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.

อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.

อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม (ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนุตริยะ ๖ ประการนี้. ๖ ประการเป็นไฉน? คือ - ๑. ทัสนานุตริยะ - การเห็นอันประเสริฐ, ๒. สวนานุตริยะ - การฟังอันประเสริฐ, ๓. ลาภานุตริยะ - การได้อันประเสริฐ, ๔. สิกขานุตริยะ - การศึกษาอันประเสริฐ, ๕. ปาริจริยานุตริยะ - การบำรุงอันประเสริฐ, ๖. อนุสตานุตริยะ - อนุสติอันประเสริฐ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทัสนานุตริยะเป็นไฉน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อจะดูช้างแก้วบ้าง, ม้าแก้วบ้าง, แก้วมณี บ้าง, ของใหญ่ของเล็ก หรือสมณพรหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทัสนะมีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าทัสนะนี้นั้นแลเป็น ทัสนะอันเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน มิใช่ ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไป เพื่อเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อ ความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปเพื่อจะเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การเห็นนี้ยอดเยี่ยมกว่า การเห็นทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย- ธรรม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ไปเห็นพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคตนี้ เราเรียกว่าทัสนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สวนานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อฟังเสียงกลองบ้าง เสียงพิณบ้าง เสียงเพลง บ้าง หรือเสียงสูงๆ ต่ำๆ ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของสมณ- พราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้มีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี ก็แต่ว่าการฟังนี้เป็นการฟังอันเลว ฯลฯ ไม่เป็น ไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลมีสัทธา ตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความ เลื่อมใสยิ่ง ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของตถาคต หรือของ สาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้ประเสริฐกว่าการ ฟังทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้ง หลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปฟังธรรมของตถาคตหรือของสาวกของพระ ตถาคต นี้ เราเรียกว่าสวนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็ลาภานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุ บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อมได้บุตร บ้าง ภรรยาบ้าง ทรัพย์บ้าง หรือลาภมากบ้าง น้อยบ้าง หรือได้สัทธาในสมณพราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่า ลาภคือการได้นี้ เป็นลาภเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลเป็นผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคต หรือ สาวกของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้เป็นลาภ อันประเสริฐกว่าลาภทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความ บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่ง พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต นี้ เราเรียกว่าลาภานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สิกขานุตตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อม ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับช้างบ้าง ม้าบ้าง รถบ้าง ธนูบ้าง ดาบบ้าง หรือศึกษาศิลปะชั้นสูงชั้นต่ำ ย่อมศึกษาต่อ สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การศึกษานี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าการศึกษานั้น เป็น การศึกษาที่เลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้ว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้ประเสริฐกว่า การศึกษาทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้วนี้ เราเรียกว่าสิกขานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ เป็นดังนี้. ก็ปาริจริยานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมบำรุงกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์บ้าง, คฤหบดีบ้าง, ก็หรือว่า ย่อมบำรุงบุคคลชั้นสูงและต่ำ, หรือย่อมบำรุง สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การบำรุงไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่การบำรุงนี้แลเป็นการ บำรุงอันเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มี ความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของ พระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้ประเสริฐกว่า การบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิแห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้เรา เรียกว่าปาริจริยานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ ปาริจริยานุตริยะ เป็นดังนี้. ก็อนุสตานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมระลึกถึงการได้บุตรบ้าง การได้ภรรยาบ้าง การ ได้ทรัพย์บ้าง ก็หรือว่าย่อมระลึกถึงการได้มากบ้าง น้อยบ้าง, หรือระลึกถึงสมณพรหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่า การระลึกถึงนี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่ว่า การระลึกถึงนี้นั้น แลเป็นการระลึกถึงอันเลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อ พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวก ของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้ประเสริฐ กว่าการระลึกถึงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์ แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้ เราเรียกว่า อนุสตานุตริยะ.

จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้วดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนุตริยะ ๖ ประการนี้. ๖ ประการเป็นไฉน? คือ - ๑. ทัสนานุตริยะ - การเห็นอันประเสริฐ, ๒. สวนานุตริยะ - การฟังอันประเสริฐ, ๓. ลาภานุตริยะ - การได้อันประเสริฐ, ๔. สิกขานุตริยะ - การศึกษาอันประเสริฐ, ๕. ปาริจริยานุตริยะ - การบำรุงอันประเสริฐ, ๖. อนุสตานุตริยะ - อนุสติอันประเสริฐ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทัสนานุตริยะเป็นไฉน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อจะดูช้างแก้วบ้าง, ม้าแก้วบ้าง, แก้วมณี บ้าง, ของใหญ่ของเล็ก หรือสมณพรหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทัสนะมีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าทัสนะนี้นั้นแลเป็น ทัสนะอันเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน มิใช่ ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไป เพื่อเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อ ความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปเพื่อจะเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การเห็นนี้ยอดเยี่ยมกว่า การเห็นทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย- ธรรม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ไปเห็นพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคตนี้ เราเรียกว่าทัสนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สวนานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อฟังเสียงกลองบ้าง เสียงพิณบ้าง เสียงเพลง บ้าง หรือเสียงสูงๆ ต่ำๆ ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของสมณ- พราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้มีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี ก็แต่ว่าการฟังนี้เป็นการฟังอันเลว ฯลฯ ไม่เป็น ไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลมีสัทธา ตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความ เลื่อมใสยิ่ง ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของตถาคต หรือของ สาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้ประเสริฐกว่าการ ฟังทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้ง หลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปฟังธรรมของตถาคตหรือของสาวกของพระ ตถาคต นี้ เราเรียกว่าสวนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็ลาภานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุ บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อมได้บุตร บ้าง ภรรยาบ้าง ทรัพย์บ้าง หรือลาภมากบ้าง น้อยบ้าง หรือได้สัทธาในสมณพราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่า ลาภคือการได้นี้ เป็นลาภเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลเป็นผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคต หรือ สาวกของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้เป็นลาภ อันประเสริฐกว่าลาภทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความ บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่ง พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต นี้ เราเรียกว่าลาภานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สิกขานุตตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อม ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับช้างบ้าง ม้าบ้าง รถบ้าง ธนูบ้าง ดาบบ้าง หรือศึกษาศิลปะชั้นสูงชั้นต่ำ ย่อมศึกษาต่อ สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การศึกษานี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าการศึกษานั้น เป็น การศึกษาที่เลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้ว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้ประเสริฐกว่า การศึกษาทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้วนี้ เราเรียกว่าสิกขานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ เป็นดังนี้. ก็ปาริจริยานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมบำรุงกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์บ้าง, คฤหบดีบ้าง, ก็หรือว่า ย่อมบำรุงบุคคลชั้นสูงและต่ำ, หรือย่อมบำรุง สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การบำรุงไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่การบำรุงนี้แลเป็นการ บำรุงอันเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มี ความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของ พระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้ประเสริฐกว่า การบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิแห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้เรา เรียกว่าปาริจริยานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ ปาริจริยานุตริยะ เป็นดังนี้. ก็อนุสตานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมระลึกถึงการได้บุตรบ้าง การได้ภรรยาบ้าง การ ได้ทรัพย์บ้าง ก็หรือว่าย่อมระลึกถึงการได้มากบ้าง น้อยบ้าง, หรือระลึกถึงสมณพรหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่า การระลึกถึงนี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่ว่า การระลึกถึงนี้นั้น แลเป็นการระลึกถึงอันเลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อ พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวก ของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้ประเสริฐ กว่าการระลึกถึงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์ แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้ เราเรียกว่า อนุสตานุตริยะ.

วันพฤหัสบดีที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Bhagwan Buddha เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ

Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs.. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs.. เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ.

วันพุธที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ศาสตร์ที่ว่าด้วยความพ้นทุกข์ที่ไม่มีอะไรเสมอเหมือนhttps://www.youtube.com/watch?v=vVk6l2MBV2s

เจอปัญหาต้องแก้อย่าอ้างทางสายกลาง หลวงพ่อปราโมทย์พระผู้มีพระภาคประทับ ณ ป่ามะม่วง ของหมอชีวก ใกล้กรุงราชคฤห์ พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ คืนวันเพ็ญ ๑๕ ค่ำ อันเป็นวันอุโบสถ เดือน ๑๒ พระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จไปเฝ้า ทูลถามถึงผลดีของความเป็น สมณะ ที่เห็นได้ในปัจจุบัน และตรัสเล่าว่าเคยไปถามครูทั้ง ๖ มาแล้ว แต่ตอบไม่ตรงคำถาม เปรียบเหมือนถามถึงเรื่องมะม่วง แต่ไปตอบเรื่องขนุน จึงต้องกลับ พระผู้มีพระภาคตรัสตอบเป็นข้อ ๆ ดังนี้ ๑. ผู้เคยเป็นทาส หรือกรรมกรของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่อออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปเป็นทาสหรือกรรมกรตามเดิมหรือไม่ พระเจ้าอชาตศัตรูตรัสตอบว่าไม่เรียกกลับ แต่จะแสดงความเคารพถวายปัจจัย ๔ และถวายความคุ้มครองอันเป็นธรรม ตรัสสรุปว่า นี่เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๒. คนทำนาของพระเจ้าอชาตศัตรู เมื่ออกบวชประพฤติตนดีงามแล้ว จะทรงเรียกร้องให้กลับไปทำนาให้ตามเดิมหรือไม่ ตรัสตอบเหมือนข้อแรก จึงนับเป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๓. คฤหบดีหรือบุตรคฤหบดี ฟังธรรมเลื่อมในแล้วออกบวชประพฤติพรหมจรรย์ สมบูรณ์ด้วยศีล สำรวมอินทรีย์ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ มิให้บาปอกุศลเกิดขึ้นท่วมทับจิต มีสติสัมปชัญญะ มีความสันโดษ ยินดีด้วยปัจจัย ๔ ตามมีตามได้ ออกป่าบำเพ็ญสมาธิ ละกิเลสที่เรียกว่านิวรณ์ ๕ เสียได้ จึงได้บรรลุ ฌานที่ ๑ นี่ก็เป็นผลของความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบัน ๔. ได้บรรลุฌานที่ ๒ ๕. ได้บรรลุฌานที่ ๓ ๖. ได้บรรลุฌานที่ ๔ ๗. น้อมจิตไปเพื่อเกิดความรู้เป็นด้วยปัญญา (ญาณทัสสนะ) ว่า กายมีความแตกทำลายไปเป็นธรรมดา วิญญาณก็อาศัยและเนื่องในกายนี้ ( วิปัสสนาญาณ ญาณอันทำให้เป็นแจ้ง) ๘. นิรมิตร่างกายอื่นจากการนี้ได้ (มโนมยิทธิ คือฤทธิ์ทางใจ) ๙. แสดงฤทธิ์ได้ เช่น น้อยคนทำให้เป็นมากคน มากคนทำให้เป็นน้อยคน เดินน้ำ ดำดินเป็นต้น ( อิทธิวิธิ) ๑๐.มีหูทิพย์ได้ยินเสียงใกล้ไกล ที่เกินวิสัยหูของมนุษย์ธรรมดา (ทิพยโสต) ๑๒.ระลึกชาติในอดีตได้ (ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ) ๑๓. เห็นสัตว์อื่นตายเกิดด้วยตาทิพย์ (เรียกว่าทิพยจักษุ หรือ จุตูปปาตญาณ คือ ญาณรู้ความตายและความเกิดของสัตว์) ๑๔.รู้จักทำอาสวะคือ กิเลสที่หมักหมม หรือ หมักดองในสันดานให้สิ้นไป (อาสาวักขยญาณ) แล้วตรัสสรุปในที่สุดแห่งทุกข้อแม้ว่า เป็นผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันสูงกว่ากันเป็นลำดับ (เมื่อจะย่อผลแห่งความเป็นสมณะที่เห็นได้ในปัจจุบันทั้ง ๑๔ ข้อนี้เป็นหมวด ๆ ก็อาจย่อได้ ๓ หมวด คือ หมวดที่ ๑ ทำให้พ้นจากฐานะเดิม คือ พ้นจากความเป็นทาส เป็นกรรมกร พ้นจากความเป็นชาวนา ได้รับการปฏิบัติด้วยดี แม้จากพระมหากษัตริย์ คือ ผลข้อ ๑ กับข้อ ๒ หมวดที่ ๒ เมื่ออบรมจิตใจจนเป็นสมาธิ ก็เป็นเหตุให้ได้ฌานที่ ๑ ถึง ๔ อันทำให้ละกิเลสอย่างกลางได้ คือ ผลข้อ ๓, ๔, ๕, ๖. หมวดที่ ๓ ทำให้ได้วิชชา ๘ อันเริ่มแต่ข้อ ๗ ได้วิปัสสนาญาณ จนถึงข้อ ๑๔ ได้ อาสาวักขยญาณ พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงเลื่อมใส ปฏิญญาพระองค์เป็นอุบาสกถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะตลอดชีวิต แล้วกราบทูลขอขมาในการที่ทรงปลงพระชนม์ชีพพระราชบิดา (คือพระเจ้าพิมพิสาร) ซึ่งพระผู้มีพระภาคก็ตรัสรับขมา เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรูเสด็จกลับแล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า ถ้าพระเจ้าอชาตศัตรูไม่ปลงพระชนม์พระราชบิดา ก็จะได้ดวงตาเห็นธรรม (เป็นพระโสดาบัน) สรุปหลักธรรมในสามัญญผลสูตรที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ การละกิเลสคือนิวรณ์ ๕ คือ ๑. กามฉันท์ ความอยากได้อยากเอา (แปลตามศัพท์ว่าความพอใจในกาม) หรืออภิชฌา ความเพ่งเล็งอยากได้ หมายถึงความอยากได้ในกามคุณทั้ง ๕ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฐฐัพพะ ที่น่าปรารถนาน่าใคร่ น่าพอใจ เป็นกิเลสพวกโลภะ จิตที่ถูกล่อด้วยอารมณืต่าง ๆ คิดอยากได้โน่นอยากได้นี่ ติดใจโน่นติดใจนี่ คอยเขวออกไปหาอารมณ์อื่น ครุ่นข้องอยู่ ย่อมไม่ตั้งมั่น ไม่เดินเรียบไป ไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๒. พยาบาท คือ ความขัดเคืองแค้นใจ ได้แก่ ความขัดใจ แค้นเคือง เกลียดชัง ความผูก ใจเจ็บ การมองในแง่ร้าย การคิดร้าย มองเห็นคนอื่นเป็นศัตรู ตลอดจนความโกรธ ความหงุดหงิด ฉุนเฉียว ความรู้สึกขัดใจ ไม่พอใจต่าง ๆ จิตที่มัวกระทบนั่นกระทบนี่ สะดุดนั่นสะดุดนี่ เดินไม่เรียบ ไม่ไหลเนื่อง ย่อมไม่อาจเป็นสมาธิ ๓. ถีนมิทธะ คือ ความหดหู่และเซื่องซึม หรือเซ็งและซึม แยกเป็นถีนะ ความหดหู่ ห่อเหี่ยว ถดถอย ระย่อ ท้อแท้ ความซบเซา เหงาหงอย ละเหี่ย ที่เป็นอาการของจิตใจ กับมิทธะ ความเซื่องซึม เฉื่อยชา ง่วงเหงาหาวนอน โงกง่วง อืดอาด มึนมัว ตื้อตัน อาการซึม ๆ เฉา ๆ ที่เป็นไปทางกาย จิตที่ถูกอาการทางกายและทางใจอย่างนี้ครอบงำย่อมไม่เข้มแข็ง ไม่คล่องตัว ไม่เหมาะแก่การใช้งาน จึงไม่อาจเป็นสมาธิได้ ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ความฟุ้งซ่านและเดือดร้อนใจ แยกเป็นอุทธัจจะ ความที่จิตฟุ้งซ่าน ไม่สงบ ส่าย พร่า พล่านไป กับกุกกุจจะ ความวุ่นวายใจ รำคาญใจ ระแวง เดือดร้อนใจ ยุ่งใจ กลุ้มใจ กังวลใจ จิตที่ถูกอุทธัจจกุกกุจจะครอบงำ ย่อมพล่าน ย่อมคว้างไป ไม่อาจสงบลงได้ จึงไม่เป็นสมาธิ ๕. วิจิกิจฉา ความลังเลสงสัย ได้แก่ ความเคลือบแคลง ไม่แน่ใจสงสัย เกี่ยวกับพระศาสดา พระธรรม พระสงฆ์ เกี่ยวกับสิกขา เป็นต้น พูดสั้น ๆ ว่าคลางแคลงในกุศลธรรมทั้งหลาย ตัดสินไม่ได้ เช่นว่า ธรรมนี้มีคุณค่า มีประโยชน์ควรแก่การปฏิบัติหรือไม่ จะได้ผลจริงหรือไม่ คิดแยกไปสองทาง กำหนดไม่ลง จิตที่ถูกวิจิกิจฉาขัดไว้กวนไว้ให้ค้างให้พร่าลังเลอยู่ ย่อมไม่อาจแน่วแน่เป็นสมาธิ การบรรลุฌาน ๘ ๑.รูปฌาน ๔ ได้แก่ ปฐมฌาน มีองค์ประกอบ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ทุติยฌาน มีองค์ประกอบ ๓ คือ ปีติ สุข เอกัคคตา ตติยฌาน มีองค์ประกอบ ๒ คือ สุข เอกัคคตา ๒. อรูปฌาน ๔ อากาสานัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดอากาศ วิญญาณัญจายตนะ คือ ฌานที่กำหนดวิญญาณ อากิญจัญญายตนะ คือ กำหดภาวะที่ไม่มีสิ่งใด ๆ เนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ เลิกกำหนดสิ่งใด ๆ โดยประการทั้งปวง

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ศาสตร์ที่ว่าด้วยความพ้นทุกข์ที่ไม่มีอะไรเสมอเหมือน จิตที่ตั้งมั่น จะเห็นความจริง เกิดปัญญา หลวงพ่อปราโมทย์: ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา

วันศุกร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สถานที่ปรินิพพาน อินเดียข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอยู่จำพรรษาแล้ว เสด็จออกจากหมู่บ้านเวฬุวะ ทรงดำริว่า เราจะไปเมืองสาวัตถี แล้วเสด็จกลับจากทางที่เสด็จมานั่นเทียว ถึงเมืองสาวัตถีโดยลำดับแล้วเสด็จไปพระเชตวัน. พระธรรมเสนาบดีแสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วไปที่พักกลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้นตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายจักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพานก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุสังขารของตน. รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จึงคิดว่า เราจะปรินิพพานที่ไหน. ลำดับนั้นจึงคิดแล้วคิดอีกว่า พระราหุลปรินิพพานในดาวดึงส์พิภพ พระอัญญาโกณฑัญญเถระปรินิพพานที่สระฉัททันต์ เราจะปรินิพพานที่ไหน ดังนี้ จึงเกิดความสังเวชปรารภมารดาว่า มารดาของเราก็เป็นมารดาของพระอรหันต์ถึง ๗ องค์ ยังไม่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์เลย ท่านมีอุปนิสัยหรือไม่หนอ ได้เห็นอุปนิสัยแห่งพระโสดาปัตติมรรค จึงตรวจดูว่าจักบรรลุด้วยเทศนาของใคร ทราบว่าจักบรรลุด้วยธรรมเทศนาของเราเท่านั้น มิใช่ของใครอื่น ก็ถ้าเราพึงขวนขวายน้อย ก็จักมีคนกล่าวกับเราว่า พระสารีบุตรเถระเป็นที่พึ่งของคนที่เหลือทั้งหลาย. จริงอย่างนั้น ในวันแสดงสมจิตตสูตรของท่าน เทวดาพันโกฏิบรรลุพระอรหัต เทวดาที่แทงตลอดมรรคทั้ง ๓ ก็นับไม่ถ้วน ปรากฏการตรัสรู้ในที่อื่นๆ อีกมาก และตระกูลแปดหมื่นทำใจให้เลื่อมใสในพระเถระ ก็ได้เกิดในสวรรค์ทั้งนั้น บัดนี้ ท่านไม่อาจที่จะเปลื้องแม้เพียงความเห็นผิดของมารดาของตนได้ เพราะฉะนั้น จึงตกลงใจว่า เราจักเปลื้องมารดาจากความเห็นผิด แล้วปรินิพพานในห้องที่เกิดนั่นแหละ จึงคิดแล้วว่า วันนี้เทียว เราจะขออนุญาตพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วออกไป ดังนี้ จึงเรียกพระจุนทเถระมาว่า จุนทะ เธอจงให้สัญญาแก่ภิกษุบริษัท ๕๐๐ รูปของเราว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงถือเอาบาตรและจีวรไป พระธรรมเสนาบดีประสงค์จะไปบ้านนาฬกะ. พระเถระก็ได้ทำอย่างนั้น. ภิกษุทั้งหลายจึงเก็บเสนาสนะถือบาตรและจีวรไปสำนักพระเถระ. พระเถระเก็บเสนาสนะ กวาดที่พักกลางวันและยืนที่ประตูที่พักกลางวัน ตรวจดูที่พักกลางวัน คิดว่า บัดนี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย จะไม่มีการมาอีกแล้ว มีภิกษุ ๕๐๐ รูปแวดล้อมเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตข้าพระองค์ ขอพระสุคตเจ้าทรงอนุญาต นี้เป็นกาลปรินิพพานของข้าพระองค์ อายุสังขารข้าพระองค์ปลงลงแล้ว. ก็เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เมื่อตรัสว่า เธอจงปรินิพพาน ก็จะกลายเป็นสรรเสริญความตาย. เมื่อตรัสว่า เธออย่าปรินิพพาน คนผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิก็จะยกโทษว่า กล่าวสรรเสริญคุณของวัฏฏะ ฉะนั้น จึงไม่ตรัสคำแม้ทั้งสอง เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เธอจักปรินิพพานที่ไหน สารีบุตร. เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักปรินิพพานในห้องที่ข้าพระองค์เกิดในบ้านนาฬกะ แคว้นมคธนั้น จึงตรัสว่า สารีบุตร เธอจงสำคัญเวลาในบัดนี้ ก็การเห็นภิกษุเช่นเธอ ของภิกษุผู้เป็นทั้งพี่และน้องของเธอจักหาได้ยากในบัดนี้ เธอจงแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น. พระเถระรู้แล้วว่า พระศาสดาทรงหวังเฉพาะการแสดงธรรมที่ขึ้นต้นด้วยการแสดงฤทธิ์ของเรา ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเหาะขึ้นไปประมาณชั่วต้นตาล เหาะลงแล้วถวายบังคมพระบาทพระทศพล และเหาะขึ้นไปประมาณสองชั่วลำตาลอีกลงแล้ว ถวายบังคมพระบาทพระทศพล แล้วเหาะขึ้นไปประมาณเจ็ดชั่วลำตาลโดยทำนองนี้ แสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างแล้วปรารภธรรมกถา. พระเถระกล่าวธรรมกถาด้วยกายที่ปรากฏบ้าง ไม่ปรากฏบ้าง ด้วยการเบื้องบน เบื้องล่าง หรือครึ่งกาย บางทีก็แสดงเป็นรูปพระจันทร์โดยไม่มีใครเห็น บางครั้งก็เป็นรูปพระอาทิตย์ บางครั้งก็เป็นรูปภูเขา บางทีก็เป็นรูปทะเล บางทีก็เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บางทีก็เป็นเวสวัณมหาราช บางทีก็เป็นท้าวสักกมหาราช บางทีก็เป็นท้าวมหาพรหม เมื่อแสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างอย่างนี้ พระเถระจึงกล่าวธรรมกถา ชาวพระนครทั้งสิ้นประชุมกันแล้ว พระเถระเหาะลงแล้ว ได้ยืนถวายบังคมพระบาทพระทศพล. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกะพระเถระนั้นว่า สารีบุตร ธรรมปริยายนี้ ชื่ออะไร. ส. ชื่อ สีหนิกีฬิตะ พระเจ้าข้า. พ. สารีบุตร เอาเถิด ธรรมปริยายนี้ ชื่อว่าสีหนิกีฬิตะ สารีบุตร เอาเถิด กระบวนธรรมนี้ชื่อว่า สีหนิกีฬิตะ. พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจับที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพอถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นในลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วยภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อมกันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้วจนถึงน้ำเป็นที่สุด. เทพมโหระทึกในอากาศก็บรรเลงขึ้น มหาเมฆตั้งขึ้นแล้วให้ฝนโบกขรพรรษตกแล้ว. พระศาสดาทรงดำริว่า เราจักให้พระธรรมเสนาบดีแสดงโดยเฉพาะ ดังนี้แล้ว จึงทรงลุกขึ้นจากที่ฟังธรรม เสด็จมุ่งหน้าต่อพระคันธกุฎี ได้ประทับยืนบนแผ่นแก้ว. พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็นพระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลีซึ่งรุ่งเรืองด้วยการประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวายบังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะเหล่าภิกษุที่ยืนแวดล้อมว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงติดตามพี่ชายของพวกเธอเถิด. ขณะนั้น บริษัท ๔ ละพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้พระองค์เดียวในพระเชตวัน ออกไปไม่เหลือเลย. ฝ่ายชาวพระนครสาวัตถีพากันพูดว่า ข่าวว่า พระสารีบุตรเถระทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ประสงค์จะปรินิพพานออกไปแล้ว พวกเราจะไปเยี่ยมท่าน พากันถือเอาของหอมและพวงมาลัยเป็นต้นออกไปจนแน่นประตูเมือง สยายผม ร้องไห้ คร่ำครวญ โดยนัยเป็นต้นว่า บัดนี้พวกเราเมื่อถามว่า ท่านผู้มีปัญญามากนั่งที่ไหน พระธรรมเสนาบดีนั่งที่ไหน ดังนี้ จะไปสำนักของใคร จะไปวางสักการะในมือของใคร พระเถระหลีกไปแล้ว จึงได้ติดตามพระเถระ. พระเถระเพราะความที่ตนดำรงอยู่ในปัญญามาก คิดแล้วว่า ทางนี้คนทั้งหมดไม่ควรก้าวเลยมา แล้วโอวาทมหาชนว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้พวกท่านจงหยุด อย่าถึงความประมาทในพระทศพลเลย แล้วให้หมู่ภิกษุกลับ หลีกไปกับบริษัทของตน. พวกมนุษย์เหล่าใดต่างคร่ำครวญว่า ครั้งก่อน พระผู้เป็นเจ้าเที่ยวจารึกไปแล้วก็กลับมา บัดนี้ การไปนี้เป็นการไปเพื่อไม่กลับมาอีก จึงพากันติดตามอยู่อย่างนั้น. พระเถระกล่าวกะมนุษย์เหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าสังขารทั้งหลายย่อมเป็นอย่างนี้ จึงให้กลับแล้ว. ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรทำการสงเคราะห์พวกมนุษย์ตลอดเจ็ดวัน ในระหว่างทางพักแรมคืนเดียวในที่ทุกแห่ง ถึงบ้านนาฬกะเวลาเย็น ได้ยืนที่โคนต้นนิโครธใกล้ประตูบ้าน. ลำดับนั้น หลานของพระเถระ ชื่อว่าอุปเรวตะ ไปนอกบ้าน ได้เห็นพระเถระแล้ว จึงเข้าไปยืนไหว้อยู่แล้ว. พระเถระจึงกล่าวกับเขาว่า ยายของเธออยู่ในเรือนหรือ. อุ. ครับ ท่านผู้เจริญ. ส. เธอจงไปบอกว่าเรามาที่นี้ เมื่อยายกล่าวว่า มาเพราะเหตุอะไร จงกล่าวว่า ข่าวว่า พระเถระจะอยู่ในบ้านตลอดวันหนึ่งในวันนี้ ท่านจงจัดแจงห้องที่พระเถระเกิด และข่าวว่า ท่านจงรู้ที่เป็นที่อยู่ของภิกษุ ๕๐๐ รูป. เขาไปแล้วบอกว่า ยาย ลุงของผมมาแล้ว. ยาย. เวลานี้ อยู่ที่ไหน. อุ. ประตูบ้าน. ย. มีใครอื่นมาบ้างไหม. อุ. มีภิกษุ ๕๐๐ รูป. ย. มาทำไม. เขาบอกความเป็นไปนั้น. นางพราหมณีคิดอยู่ว่า ลูกชายเราทำไมจึงให้เตรียมที่อยู่แก่พวกภิกษุเท่านี้ ท่านบวชมาตั้งแต่หนุ่ม ตอนแก่อยากจะสึกละกระมัง จึงให้จัดแจงห้องคลอด ให้ทำที่เป็นที่พักของภิกษุ ๕๐๐ รูปให้จุดเทียนและตะเกียงส่งไปถวายพระเถระๆ พร้อมกับพวกภิกษุขึ้นปราสาท เข้าไปนั่งยังห้องคลอด พอนั่งลงแล้วก็ส่งพวกภิกษุไปว่า พวกท่านจงไปพักผ่อนกันเถิด. พอพวกภิกษุไปแล้วเท่านั้น อาพาธอย่างกล้าก็เกิดขึ้นแก่พระเถระ เวทนาปางตายเพราะถ่ายเป็นโลหิต ต้องเอาภาชนะหนึ่งเข้าไป (รองรับ) เอาภาชนะหนึ่งออกมา. นางพราหมณีคิดว่า เราไม่ชอบใจความเป็นไปแห่งบุตรของเราเลย ได้ยืนพิงประตูห้องที่อยู่ของตน. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ตรวจดูอยู่ว่า พระธรรมเสนาบดีอยู่ที่ไหน เห็นแล้วว่า นอนบนเตียงเป็นที่ปรินิพพาน. ในห้องที่ตนคลอดในบ้านนาฬกะ พวกเราจักไปเยี่ยมเป็นครั้งสุดท้าย มาแล้วได้ยืนไหว้อยู่แล้ว. สารีบุตร. พวกท่านเป็นใคร. มหาราช. เป็นท้าวมหาราชขอรับ. สารีบุตร. มาเพราะเหตุไร. มหาราช. จักบำรุงท่านผู้เป็นไข้. ส. ช่างเถิด ผู้บำรุงเราผู้เป็นไข้มีอยู่ พวกท่านจงไปเถิด แล้วได้ส่งไป คล้อยหลังท้าวมหาราชทั้ง ๔ ไปแล้ว ท้าวสักกะจอมเทพก็มาแล้วโดยนัยนั้นนั่นแหละ ก็เมื่อท้าวสักกะไปแล้ว ท้าวมหาพรหมก็มา พระเถระก็ได้ส่งท่านเหล่านั้นไป เหมือนอย่างนั้นนั่นแล. เมื่อนางพราหมณีเห็นพวกเทวดาพากันมาจึงคิดว่า เทวดาเหล่านี้ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป เพราะเหตุอะไรหนอแล จึงไปยังประตูห้องพระเถระแล้วถามว่า พ่อจุนทะมีความเป็นไปอย่างไร. พระจุนทะบอกความเป็นไปนั้นแล้วจึงเรียนพระเถระว่า ท่านผู้เจริญ มหาอุบาสิกมา. พระเถระจึงถามว่า เพราะเหตุไรจึงมาในเวลาไม่เหมาะ. นางจึงกล่าวว่า พ่อ แม่มาเพื่อเยี่ยมลูก แล้วจึงถามว่า พ่อ พวกใครมาก่อน. สารีบุตร. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ มหาอุบาสิกา. มารดา. เจ้าใหญ่กว่าท้าวมหาราชทั้ง ๔ หรือพ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เหมือนเด็กวัด ตั้งแต่พระศาสดาของพวกเราถือปฏิสนธิ ก็ถือพระขรรค์ รักษาแล้ว. ม. พ่อ คล้อยหลังท้าวมหาราชไปแล้วใครมาเล่า. ส. ท้าวสักกะจอมเทพ. ม. เจ้าใหญ่กว่าจอมเทพหรือ พ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวสักกะก็เช่นเดียวกับสามเณรผู้ถือสิ่งของเวลาที่พระศาสดาของพวกเรา เสด็จลงจากดาวดึงสพิภพ ก็ได้ถือบาตรจีวรตามลงมา. ม. พ่อ หลังจากที่ ท้าวสักกะนั้นไปแล้ว ดูเหมือนสว่างไสว ใครมา. ส. อุบาสิกา นั่นก็คือมหาพรหม ผู้เป็นพระเจ้าและศาสดาของโยม. ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่านี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดาเทียว บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลังคิดอะไร. ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเหตุนี้ว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้วศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่นไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัสสนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้าที่ขยายให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณีดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผลแล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนี้ พ่อไม่ได้ให้อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดูสำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วยเหตุเท่านี้ จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านจงไปเถิด ส่งนางพราหมณีไป จึงกล่าวว่า จุนทะ เวลาเท่าไร. จุนทะ. จวนสว่างแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประชุมภิกษุสงฆ์. จ. ภิกษุสงฆ์ประชุมกันแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประคองเราให้นั่ง จุนทะ. พระจุนทะประคองให้นั่งแล้ว พระเถระจึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า อาวุโส เมื่อพวกท่านทั้งหลายเที่ยวไปกับผมตลอด ๔๔ ปี กรรมใดของผมที่เป็นไปทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ซึ่งพวกท่านไม่ชอบใจ ขอให้พวกท่านจงอดโทษแก่ผมด้วย. ภิกษุ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขึ้นชื่อว่าสิ่งที่ไม่น่าพอใจ ย่อมไม่มีแก่พวกข้าพเจ้าผู้ไม่ละท่านเที่ยวไป ดุจเงาของท่านตลอดกาลเท่านี้. แต่ว่า ขอท่านจงอดโทษให้แก่พวกข้าพเจ้าเถิด. ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้าสมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าตั้งต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลังเท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อพวกเราไม่รู้คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุหลายร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ไม่ได้เพื่อให้สร้างวิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้วจนถึงอรุณขึ้น. เมื่ออรุณพอขึ้นเท่านั้น นางก็ให้เรียกช่างทองมาให้เปิดห้องเก็บทอง ให้ชั่งด้วยตาชั่งใหญ่ส่งไปด้วยกล่าวว่า พ่อทั้งหลาย จงทำเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. ฝ่ายท้าวสักกเทวราชตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมาตรัสว่า พ่อ พระธรรมเสนาบดีปรินิพพานแล้ว พ่อจงเนรมิตเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. เรือนที่มหาอุบาสิกาให้สร้างแล้ว รวมกับที่พระวิษณุกรรมเนรมิตเข้าด้วยกันเป็นสองพัน ด้วยประการฉะนี้. ลำดับนั้น คนทั้งหลายจึงให้สร้างมหามณฑปล้วนด้วยของสาระ วางเรือนยอดใหญ่ไว้ท่ามกลางมณฑป แล้ววางของที่เหลือโดยสังเขปว่าเป็นบริวาร ปรารภการเล่นอย่างดีระหว่างพวกเทวดาได้มีเหล่ามนุษย์ ระหว่างเหล่ามนุษย์ได้มีพวกเทวดา. อุปัฏฐายิกาของพระเถระคนหนึ่งชื่อเรวดี คิดว่าเราจักบูชาพระเถระ จึงให้ทำเสาดอกไม้ทอง ๓ ต้น. ท้าวสักกเทวราชคิดว่าเราจักบูชาพระเถระ มีนักฟ้อนสองโกฏิห้าแวดล้อม เสด็จลงแล้ว. มหาชนหันหน้ากลับด้วยคิดว่า ท้าวสักกะเสด็จลง. แม้อุบาสิกานั้นในที่นั้นถอยกลับอยู่ เพราะมีภาระหนัก ไม่อาจจะถอยไป ณ ที่ควรข้างหนึ่ง ล้มลงแล้วในระหว่างพวกมนุษย์. พวกมนุษย์ไม่เห็นอยู่ได้เหยียบอุบาสิกานั้นแหละไปแล้ว นางตายในที่นั้น เกิดในวิมานทอง ภพชั้นดาวดึงส์. ขณะที่เกิดนั่นเทียว นางได้มีอัตภาพ ๓ คาวุตโดยประมาณ เหมือนท่อนแก้ว นางประดับด้วยเครื่องประดับประมาณเต็มหกสิบเล่มเกวียน มีนางฟ้าพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว. นางฟ้าทั้งหลายจึงวางกระจกสำหรับกายทั้งหมด อันเป็นทิพย์ไว้ข้างหน้านาง. นางเห็นสิริสมบัติของตน คิดอยู่ว่า เราทำกรรมอะไรหนอด้วยสมบัติอันมาก ได้เห็นแล้วว่า เราได้ทำการบูชาพระเถระด้วยเสาดอกไม้ทองสามต้น ในที่ปรินิพพานของพระสารีบุตรเถระ มหาชนเหยียบเราแล้ว แต่นั้น เราได้ตายในที่นั้นเกิดแล้วในที่นี้ เราจะกล่าวผลบุญที่เราอาศัยพระเถระ ได้แล้วในบัดนี้แก่พวกมนุษย์ จึงลงมาพร้อมทั้งวิมานทีเดียว. มหาชนเห็นแต่ไกล แลดูสำคัญอยู่ว่า ดวงอาทิตย์โผล่ขึ้นสองดวงหรือหนอ เมื่อวิมานมาอยู่ ลักษณะเรือนยอดก็ปรากฏ. กล่าวกันแล้วว่า นี่มิใช่ดวงอาทิตย์ นั่นเป็นวิมานหลังหนึ่ง. แม้วิมานนั้นมาแล้วในขณะนั้น ลอยอยู่เหนือเชิงตะกอนไม้ของพระเถระ. เทพธิดาจึงหยุดวิมานไว้ในอากาศนั่นแล แล้วลงมาสู่แผ่นดิน. มหาชนถามแล้วว่า ผู้เป็นเจ้า ท่านเป็นใคร. เราชื่อนางเรวดี บูชาพระเถระด้วยเสาประดับด้วยดอกไม้ทอง ๓ ต้น ถูกพวกมนุษย์เหยียบแล้วตายไป เกิดในดาวดึงสพิภพ เชิญท่านทั้งหลายดูสิริสมบัติของเรา บัดนี้ ถึงพวกท่านก็จงให้ทานทำบุญเถิด. ครั้นนางกล่าวสรรเสริญการทำกุศล แล้วประทักษิณเชิงตะกอนพระเถระแล้ว ได้ไปเทวสถานของตนนั่นเทียว. ฝ่ายมหาชนเล่นอย่างเรียบร้อยอยู่ ๗ วันแล้ว ได้ทำเชิงตะกอนด้วยของหอมทั้งปวง. เชิงตะกอนประกอบด้วยแก้ว ๙๙ ชนิด. คนทั้งหลายจึงยกสรีระของพระเถระขึ้นเชิงตะกอนแล้ว เผาด้วยกำหญ้าแฝก การฟังธรรมย่อมเป็นไปตลอดราตรีทั้งหมดในป่าช้า. พระอนุรุทธเถระจึงเอาน้ำหอมทุกชนิดดับเชิงตะกอนพระเถระ. พระจุนทเถระใส่ธาตุลงในผ้ากรองน้ำแล้ว คิดว่าบัดนี้เราไม่อาจจะเก็บไว้ที่นี้ได้ จักกราบทูลว่า พระสารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี พี่ชายของเราปรินิพพานแล้ว แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ถือเอาผ้ากรองน้ำที่ห่อธาตุและบาตรจีวรพระเถระ ไปเมืองสาวัตถี. และไม่พักเกิน ๒ คืนในที่หนึ่งๆ ถึงเมืองสาวัตถีด้วยการอยู่ที่ละคืนหนึ่งในที่ทั้งปวงนั่นเทียว. เพื่อแสดงเนื้อความนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า ครั้งนั้นแล สามเณรจุนทะ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เยนายสฺมา ท่านพระอานนท์โดยทิศใด. ความว่า ท่านได้เข้าไปหาโดยทิศที่ท่านพระอานนท์ผู้เป็นขุนคลังแห่งธรรมอุปัชฌาย์ของตนอยู่. ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระจุนทะนั้นจึงไม่ตรงไปสำนักพระศาสดา (แต่) ไปสำนักพระเถระเล่า. ตอบว่า เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. ได้ยินว่า พระจุนทเถระนั้นได้อาบน้ำที่สระโบกขรณีในพระเชตวันมหาวิหาร ขึ้นแล้วนุ่งห่มอย่างดี มีความคิดว่า ขึ้นชื่อว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายหนักเหมือนฉัตรหินใหญ่ และเหมือนงูแผ่พังพาน ราชสีห์ เสือและช้างตกมันเป็นต้น เข้าใกล้ได้ยาก เราไม่อาจจะตรงไปยังสำนักพระศาสดาทีเดียว ควรไปสำนักของใครหนอ. ลำดับนั้นจึงคิดว่า อุปัชฌาย์ของเราผู้เป็นขุนคลังแห่งพระธรรม เป็นสหายผู้ประเสริฐของพระเถระพี่ชาย เราจะไปสำนักของท่านพาไปกราบทูลพระศาสดา จึงได้เข้าไปหา เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. บทว่า นี้บาตรจีวรของท่าน ความว่า พระเถระกราบทูลแต่ละอย่างดังนี้ว่า นี้บาตรสำหรับใช้สอยของท่าน นี้ผ้ากรองน้ำห่อธาตุของท่าน. แต่ในบาลีท่านกล่าวเพียงเท่านี้ว่า นี้บาตรจีวรของท่าน. คำว่า ถ้อยคำอันดั้งเดิม คือ ถ้อยคำที่เป็นต้นทุน. มูล ท่านเรียกว่าต้นทุน ดุจที่ท่านกล่าวไว้ว่า ผู้มีปัญญาพิจารณาแล้ว ย่อมตั้งตนได้ด้วย ต้นทุนแม้น้อย เหมือนคนก่อไฟน้อยฉะนั้น

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอยู่จำพรรษาแล้ว เสด็จออกจากหมู่บ้านเวฬุวะ ทรงดำริว่า เราจะไปเมืองสาวัตถี แล้วเสด็จกลับจากทางที่เสด็จมานั่นเทียว ถึงเมืองสาวัตถีโดยลำดับแล้วเสด็จไปพระเชตวัน. พระธรรมเสนาบดีแสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วไปที่พักกลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้นตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายจักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพานก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุสังขารของตน. รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จึงคิดว่า เราจะปรินิพพานที่ไหน. ลำดับนั้นจึงคิดแล้วคิดอีกว่า พระราหุลปรินิพพานในดาวดึงส์พิภพ พระอัญญาโกณฑัญญเถระปรินิพพานที่สระฉัททันต์ เราจะปรินิพพานที่ไหน ดังนี้ จึงเกิดความสังเวชปรารภมารดาว่า มารดาของเราก็เป็นมารดาของพระอรหันต์ถึง ๗ องค์ ยังไม่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์เลย ท่านมีอุปนิสัยหรือไม่หนอ ได้เห็นอุปนิสัยแห่งพระโสดาปัตติมรรค จึงตรวจดูว่าจักบรรลุด้วยเทศนาของใคร ทราบว่าจักบรรลุด้วยธรรมเทศนาของเราเท่านั้น มิใช่ของใครอื่น ก็ถ้าเราพึงขวนขวายน้อย ก็จักมีคนกล่าวกับเราว่า พระสารีบุตรเถระเป็นที่พึ่งของคนที่เหลือทั้งหลาย. จริงอย่างนั้น ในวันแสดงสมจิตตสูตรของท่าน เทวดาพันโกฏิบรรลุพระอรหัต เทวดาที่แทงตลอดมรรคทั้ง ๓ ก็นับไม่ถ้วน ปรากฏการตรัสรู้ในที่อื่นๆ อีกมาก และตระกูลแปดหมื่นทำใจให้เลื่อมใสในพระเถระ ก็ได้เกิดในสวรรค์ทั้งนั้น บัดนี้ ท่านไม่อาจที่จะเปลื้องแม้เพียงความเห็นผิดของมารดาของตนได้ เพราะฉะนั้น จึงตกลงใจว่า เราจักเปลื้องมารดาจากความเห็นผิด แล้วปรินิพพานในห้องที่เกิดนั่นแหละ จึงคิดแล้วว่า วันนี้เทียว เราจะขออนุญาตพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วออกไป ดังนี้ จึงเรียกพระจุนทเถระมาว่า จุนทะ เธอจงให้สัญญาแก่ภิกษุบริษัท ๕๐๐ รูปของเราว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงถือเอาบาตรและจีวรไป พระธรรมเสนาบดีประสงค์จะไปบ้านนาฬกะ. พระเถระก็ได้ทำอย่างนั้น. ภิกษุทั้งหลายจึงเก็บเสนาสนะถือบาตรและจีวรไปสำนักพระเถระ. พระเถระเก็บเสนาสนะ กวาดที่พักกลางวันและยืนที่ประตูที่พักกลางวัน ตรวจดูที่พักกลางวัน คิดว่า บัดนี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย จะไม่มีการมาอีกแล้ว มีภิกษุ ๕๐๐ รูปแวดล้อมเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตข้าพระองค์ ขอพระสุคตเจ้าทรงอนุญาต นี้เป็นกาลปรินิพพานของข้าพระองค์ อายุสังขารข้าพระองค์ปลงลงแล้ว. ก็เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เมื่อตรัสว่า เธอจงปรินิพพาน ก็จะกลายเป็นสรรเสริญความตาย. เมื่อตรัสว่า เธออย่าปรินิพพาน คนผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิก็จะยกโทษว่า กล่าวสรรเสริญคุณของวัฏฏะ ฉะนั้น จึงไม่ตรัสคำแม้ทั้งสอง เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เธอจักปรินิพพานที่ไหน สารีบุตร. เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักปรินิพพานในห้องที่ข้าพระองค์เกิดในบ้านนาฬกะ แคว้นมคธนั้น จึงตรัสว่า สารีบุตร เธอจงสำคัญเวลาในบัดนี้ ก็การเห็นภิกษุเช่นเธอ ของภิกษุผู้เป็นทั้งพี่และน้องของเธอจักหาได้ยากในบัดนี้ เธอจงแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น. พระเถระรู้แล้วว่า พระศาสดาทรงหวังเฉพาะการแสดงธรรมที่ขึ้นต้นด้วยการแสดงฤทธิ์ของเรา ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเหาะขึ้นไปประมาณชั่วต้นตาล เหาะลงแล้วถวายบังคมพระบาทพระทศพล และเหาะขึ้นไปประมาณสองชั่วลำตาลอีกลงแล้ว ถวายบังคมพระบาทพระทศพล แล้วเหาะขึ้นไปประมาณเจ็ดชั่วลำตาลโดยทำนองนี้ แสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างแล้วปรารภธรรมกถา. พระเถระกล่าวธรรมกถาด้วยกายที่ปรากฏบ้าง ไม่ปรากฏบ้าง ด้วยการเบื้องบน เบื้องล่าง หรือครึ่งกาย บางทีก็แสดงเป็นรูปพระจันทร์โดยไม่มีใครเห็น บางครั้งก็เป็นรูปพระอาทิตย์ บางครั้งก็เป็นรูปภูเขา บางทีก็เป็นรูปทะเล บางทีก็เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บางทีก็เป็นเวสวัณมหาราช บางทีก็เป็นท้าวสักกมหาราช บางทีก็เป็นท้าวมหาพรหม เมื่อแสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างอย่างนี้ พระเถระจึงกล่าวธรรมกถา ชาวพระนครทั้งสิ้นประชุมกันแล้ว พระเถระเหาะลงแล้ว ได้ยืนถวายบังคมพระบาทพระทศพล. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกะพระเถระนั้นว่า สารีบุตร ธรรมปริยายนี้ ชื่ออะไร. ส. ชื่อ สีหนิกีฬิตะ พระเจ้าข้า. พ. สารีบุตร เอาเถิด ธรรมปริยายนี้ ชื่อว่าสีหนิกีฬิตะ สารีบุตร เอาเถิด กระบวนธรรมนี้ชื่อว่า สีหนิกีฬิตะ. พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจับที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพอถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นในลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วยภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อมกันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้วจนถึงน้ำเป็นที่สุด. เทพมโหระทึกในอากาศก็บรรเลงขึ้น มหาเมฆตั้งขึ้นแล้วให้ฝนโบกขรพรรษตกแล้ว. พระศาสดาทรงดำริว่า เราจักให้พระธรรมเสนาบดีแสดงโดยเฉพาะ ดังนี้แล้ว จึงทรงลุกขึ้นจากที่ฟังธรรม เสด็จมุ่งหน้าต่อพระคันธกุฎี ได้ประทับยืนบนแผ่นแก้ว. พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็นพระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลีซึ่งรุ่งเรืองด้วยการประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวายบังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะเหล่าภิกษุที่ยืนแวดล้อมว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงติดตามพี่ชายของพวกเธอเถิด. ขณะนั้น บริษัท ๔ ละพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้พระองค์เดียวในพระเชตวัน ออกไปไม่เหลือเลย. ฝ่ายชาวพระนครสาวัตถีพากันพูดว่า ข่าวว่า พระสารีบุตรเถระทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ประสงค์จะปรินิพพานออกไปแล้ว พวกเราจะไปเยี่ยมท่าน พากันถือเอาของหอมและพวงมาลัยเป็นต้นออกไปจนแน่นประตูเมือง สยายผม ร้องไห้ คร่ำครวญ โดยนัยเป็นต้นว่า บัดนี้พวกเราเมื่อถามว่า ท่านผู้มีปัญญามากนั่งที่ไหน พระธรรมเสนาบดีนั่งที่ไหน ดังนี้ จะไปสำนักของใคร จะไปวางสักการะในมือของใคร พระเถระหลีกไปแล้ว จึงได้ติดตามพระเถระ. พระเถระเพราะความที่ตนดำรงอยู่ในปัญญามาก คิดแล้วว่า ทางนี้คนทั้งหมดไม่ควรก้าวเลยมา แล้วโอวาทมหาชนว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้พวกท่านจงหยุด อย่าถึงความประมาทในพระทศพลเลย แล้วให้หมู่ภิกษุกลับ หลีกไปกับบริษัทของตน. พวกมนุษย์เหล่าใดต่างคร่ำครวญว่า ครั้งก่อน พระผู้เป็นเจ้าเที่ยวจารึกไปแล้วก็กลับมา บัดนี้ การไปนี้เป็นการไปเพื่อไม่กลับมาอีก จึงพากันติดตามอยู่อย่างนั้น. พระเถระกล่าวกะมนุษย์เหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าสังขารทั้งหลายย่อมเป็นอย่างนี้ จึงให้กลับแล้ว. ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรทำการสงเคราะห์พวกมนุษย์ตลอดเจ็ดวัน ในระหว่างทางพักแรมคืนเดียวในที่ทุกแห่ง ถึงบ้านนาฬกะเวลาเย็น ได้ยืนที่โคนต้นนิโครธใกล้ประตูบ้าน. ลำดับนั้น หลานของพระเถระ ชื่อว่าอุปเรวตะ ไปนอกบ้าน ได้เห็นพระเถระแล้ว จึงเข้าไปยืนไหว้อยู่แล้ว. พระเถระจึงกล่าวกับเขาว่า ยายของเธออยู่ในเรือนหรือ. อุ. ครับ ท่านผู้เจริญ. ส. เธอจงไปบอกว่าเรามาที่นี้ เมื่อยายกล่าวว่า มาเพราะเหตุอะไร จงกล่าวว่า ข่าวว่า พระเถระจะอยู่ในบ้านตลอดวันหนึ่งในวันนี้ ท่านจงจัดแจงห้องที่พระเถระเกิด และข่าวว่า ท่านจงรู้ที่เป็นที่อยู่ของภิกษุ ๕๐๐ รูป. เขาไปแล้วบอกว่า ยาย ลุงของผมมาแล้ว. ยาย. เวลานี้ อยู่ที่ไหน. อุ. ประตูบ้าน. ย. มีใครอื่นมาบ้างไหม. อุ. มีภิกษุ ๕๐๐ รูป. ย. มาทำไม. เขาบอกความเป็นไปนั้น. นางพราหมณีคิดอยู่ว่า ลูกชายเราทำไมจึงให้เตรียมที่อยู่แก่พวกภิกษุเท่านี้ ท่านบวชมาตั้งแต่หนุ่ม ตอนแก่อยากจะสึกละกระมัง จึงให้จัดแจงห้องคลอด ให้ทำที่เป็นที่พักของภิกษุ ๕๐๐ รูปให้จุดเทียนและตะเกียงส่งไปถวายพระเถระๆ พร้อมกับพวกภิกษุขึ้นปราสาท เข้าไปนั่งยังห้องคลอด พอนั่งลงแล้วก็ส่งพวกภิกษุไปว่า พวกท่านจงไปพักผ่อนกันเถิด. พอพวกภิกษุไปแล้วเท่านั้น อาพาธอย่างกล้าก็เกิดขึ้นแก่พระเถระ เวทนาปางตายเพราะถ่ายเป็นโลหิต ต้องเอาภาชนะหนึ่งเข้าไป (รองรับ) เอาภาชนะหนึ่งออกมา. นางพราหมณีคิดว่า เราไม่ชอบใจความเป็นไปแห่งบุตรของเราเลย ได้ยืนพิงประตูห้องที่อยู่ของตน. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ตรวจดูอยู่ว่า พระธรรมเสนาบดีอยู่ที่ไหน เห็นแล้วว่า นอนบนเตียงเป็นที่ปรินิพพาน. ในห้องที่ตนคลอดในบ้านนาฬกะ พวกเราจักไปเยี่ยมเป็นครั้งสุดท้าย มาแล้วได้ยืนไหว้อยู่แล้ว. สารีบุตร. พวกท่านเป็นใคร. มหาราช. เป็นท้าวมหาราชขอรับ. สารีบุตร. มาเพราะเหตุไร. มหาราช. จักบำรุงท่านผู้เป็นไข้. ส. ช่างเถิด ผู้บำรุงเราผู้เป็นไข้มีอยู่ พวกท่านจงไปเถิด แล้วได้ส่งไป คล้อยหลังท้าวมหาราชทั้ง ๔ ไปแล้ว ท้าวสักกะจอมเทพก็มาแล้วโดยนัยนั้นนั่นแหละ ก็เมื่อท้าวสักกะไปแล้ว ท้าวมหาพรหมก็มา พระเถระก็ได้ส่งท่านเหล่านั้นไป เหมือนอย่างนั้นนั่นแล. เมื่อนางพราหมณีเห็นพวกเทวดาพากันมาจึงคิดว่า เทวดาเหล่านี้ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป เพราะเหตุอะไรหนอแล จึงไปยังประตูห้องพระเถระแล้วถามว่า พ่อจุนทะมีความเป็นไปอย่างไร. พระจุนทะบอกความเป็นไปนั้นแล้วจึงเรียนพระเถระว่า ท่านผู้เจริญ มหาอุบาสิกมา. พระเถระจึงถามว่า เพราะเหตุไรจึงมาในเวลาไม่เหมาะ. นางจึงกล่าวว่า พ่อ แม่มาเพื่อเยี่ยมลูก แล้วจึงถามว่า พ่อ พวกใครมาก่อน. สารีบุตร. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ มหาอุบาสิกา. มารดา. เจ้าใหญ่กว่าท้าวมหาราชทั้ง ๔ หรือพ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เหมือนเด็กวัด ตั้งแต่พระศาสดาของพวกเราถือปฏิสนธิ ก็ถือพระขรรค์ รักษาแล้ว. ม. พ่อ คล้อยหลังท้าวมหาราชไปแล้วใครมาเล่า. ส. ท้าวสักกะจอมเทพ. ม. เจ้าใหญ่กว่าจอมเทพหรือ พ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวสักกะก็เช่นเดียวกับสามเณรผู้ถือสิ่งของเวลาที่พระศาสดาของพวกเรา เสด็จลงจากดาวดึงสพิภพ ก็ได้ถือบาตรจีวรตามลงมา. ม. พ่อ หลังจากที่ ท้าวสักกะนั้นไปแล้ว ดูเหมือนสว่างไสว ใครมา. ส. อุบาสิกา นั่นก็คือมหาพรหม ผู้เป็นพระเจ้าและศาสดาของโยม. ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่านี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดาเทียว บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลังคิดอะไร. ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเหตุนี้ว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้วศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่นไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัสสนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้าที่ขยายให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณีดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผลแล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนี้ พ่อไม่ได้ให้อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดูสำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วยเหตุเท่านี้ จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านจงไปเถิด ส่งนางพราหมณีไป จึงกล่าวว่า จุนทะ เวลาเท่าไร. จุนทะ. จวนสว่างแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประชุมภิกษุสงฆ์. จ. ภิกษุสงฆ์ประชุมกันแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประคองเราให้นั่ง จุนทะ. พระจุนทะประคองให้นั่งแล้ว พระเถระจึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า อาวุโส เมื่อพวกท่านทั้งหลายเที่ยวไปกับผมตลอด ๔๔ ปี กรรมใดของผมที่เป็นไปทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ซึ่งพวกท่านไม่ชอบใจ ขอให้พวกท่านจงอดโทษแก่ผมด้วย. ภิกษุ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขึ้นชื่อว่าสิ่งที่ไม่น่าพอใจ ย่อมไม่มีแก่พวกข้าพเจ้าผู้ไม่ละท่านเที่ยวไป ดุจเงาของท่านตลอดกาลเท่านี้. แต่ว่า ขอท่านจงอดโทษให้แก่พวกข้าพเจ้าเถิด. ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้าสมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าตั้งต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลังเท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อพวกเราไม่รู้คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุหลายร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ไม่ได้เพื่อให้สร้างวิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้วจนถึงอรุณขึ้น. เมื่ออรุณพอขึ้นเท่านั้น นางก็ให้เรียกช่างทองมาให้เปิดห้องเก็บทอง ให้ชั่งด้วยตาชั่งใหญ่ส่งไปด้วยกล่าวว่า พ่อทั้งหลาย จงทำเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. ฝ่ายท้าวสักกเทวราชตรัสเรียกวิสสุกรรมเทพบุตรมาตรัสว่า พ่อ พระธรรมเสนาบดีปรินิพพานแล้ว พ่อจงเนรมิตเรือนยอดห้าร้อย เรือนต้อนรับแขกห้าร้อย. เรือนที่มหาอุบาสิกาให้สร้างแล้ว รวมกับที่พระวิษณุกรรมเนรมิตเข้าด้วยกันเป็นสองพัน ด้วยประการฉะนี้. ลำดับนั้น คนทั้งหลายจึงให้สร้างมหามณฑปล้วนด้วยของสาระ วางเรือนยอดใหญ่ไว้ท่ามกลางมณฑป แล้ววางของที่เหลือโดยสังเขปว่าเป็นบริวาร ปรารภการเล่นอย่างดีระหว่างพวกเทวดาได้มีเหล่ามนุษย์ ระหว่างเหล่ามนุษย์ได้มีพวกเทวดา. อุปัฏฐายิกาของพระเถระคนหนึ่งชื่อเรวดี คิดว่าเราจักบูชาพระเถระ จึงให้ทำเสาดอกไม้ทอง ๓ ต้น. ท้าวสักกเทวราชคิดว่าเราจักบูชาพระเถระ มีนักฟ้อนสองโกฏิห้าแวดล้อม เสด็จลงแล้ว. มหาชนหันหน้ากลับด้วยคิดว่า ท้าวสักกะเสด็จลง. แม้อุบาสิกานั้นในที่นั้นถอยกลับอยู่ เพราะมีภาระหนัก ไม่อาจจะถอยไป ณ ที่ควรข้างหนึ่ง ล้มลงแล้วในระหว่างพวกมนุษย์. พวกมนุษย์ไม่เห็นอยู่ได้เหยียบอุบาสิกานั้นแหละไปแล้ว นางตายในที่นั้น เกิดในวิมานทอง ภพชั้นดาวดึงส์. ขณะที่เกิดนั่นเทียว นางได้มีอัตภาพ ๓ คาวุตโดยประมาณ เหมือนท่อนแก้ว นางประดับด้วยเครื่องประดับประมาณเต็มหกสิบเล่มเกวียน มีนางฟ้าพันหนึ่งแวดล้อมแล้ว. นางฟ้าทั้งหลายจึงวางกระจกสำหรับกายทั้งหมด อันเป็นทิพย์ไว้ข้างหน้านาง. นางเห็นสิริสมบัติของตน คิดอยู่ว่า เราทำกรรมอะไรหนอด้วยสมบัติอันมาก ได้เห็นแล้วว่า เราได้ทำการบูชาพระเถระด้วยเสาดอกไม้ทองสามต้น ในที่ปรินิพพานของพระสารีบุตรเถระ มหาชนเหยียบเราแล้ว แต่นั้น เราได้ตายในที่นั้นเกิดแล้วในที่นี้ เราจะกล่าวผลบุญที่เราอาศัยพระเถระ ได้แล้วในบัดนี้แก่พวกมนุษย์ จึงลงมาพร้อมทั้งวิมานทีเดียว. มหาชนเห็นแต่ไกล แลดูสำคัญอยู่ว่า ดวงอาทิตย์โผล่ขึ้นสองดวงหรือหนอ เมื่อวิมานมาอยู่ ลักษณะเรือนยอดก็ปรากฏ. กล่าวกันแล้วว่า นี่มิใช่ดวงอาทิตย์ นั่นเป็นวิมานหลังหนึ่ง. แม้วิมานนั้นมาแล้วในขณะนั้น ลอยอยู่เหนือเชิงตะกอนไม้ของพระเถระ. เทพธิดาจึงหยุดวิมานไว้ในอากาศนั่นแล แล้วลงมาสู่แผ่นดิน. มหาชนถามแล้วว่า ผู้เป็นเจ้า ท่านเป็นใคร. เราชื่อนางเรวดี บูชาพระเถระด้วยเสาประดับด้วยดอกไม้ทอง ๓ ต้น ถูกพวกมนุษย์เหยียบแล้วตายไป เกิดในดาวดึงสพิภพ เชิญท่านทั้งหลายดูสิริสมบัติของเรา บัดนี้ ถึงพวกท่านก็จงให้ทานทำบุญเถิด. ครั้นนางกล่าวสรรเสริญการทำกุศล แล้วประทักษิณเชิงตะกอนพระเถระแล้ว ได้ไปเทวสถานของตนนั่นเทียว. ฝ่ายมหาชนเล่นอย่างเรียบร้อยอยู่ ๗ วันแล้ว ได้ทำเชิงตะกอนด้วยของหอมทั้งปวง. เชิงตะกอนประกอบด้วยแก้ว ๙๙ ชนิด. คนทั้งหลายจึงยกสรีระของพระเถระขึ้นเชิงตะกอนแล้ว เผาด้วยกำหญ้าแฝก การฟังธรรมย่อมเป็นไปตลอดราตรีทั้งหมดในป่าช้า. พระอนุรุทธเถระจึงเอาน้ำหอมทุกชนิดดับเชิงตะกอนพระเถระ. พระจุนทเถระใส่ธาตุลงในผ้ากรองน้ำแล้ว คิดว่าบัดนี้เราไม่อาจจะเก็บไว้ที่นี้ได้ จักกราบทูลว่า พระสารีบุตรผู้เป็นธรรมเสนาบดี พี่ชายของเราปรินิพพานแล้ว แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ถือเอาผ้ากรองน้ำที่ห่อธาตุและบาตรจีวรพระเถระ ไปเมืองสาวัตถี. และไม่พักเกิน ๒ คืนในที่หนึ่งๆ ถึงเมืองสาวัตถีด้วยการอยู่ที่ละคืนหนึ่งในที่ทั้งปวงนั่นเทียว. เพื่อแสดงเนื้อความนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำเป็นต้นว่า ครั้งนั้นแล สามเณรจุนทะ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เยนายสฺมา ท่านพระอานนท์โดยทิศใด. ความว่า ท่านได้เข้าไปหาโดยทิศที่ท่านพระอานนท์ผู้เป็นขุนคลังแห่งธรรมอุปัชฌาย์ของตนอยู่. ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระจุนทะนั้นจึงไม่ตรงไปสำนักพระศาสดา (แต่) ไปสำนักพระเถระเล่า. ตอบว่า เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. ได้ยินว่า พระจุนทเถระนั้นได้อาบน้ำที่สระโบกขรณีในพระเชตวันมหาวิหาร ขึ้นแล้วนุ่งห่มอย่างดี มีความคิดว่า ขึ้นชื่อว่าพระพุทธเจ้าทั้งหลายหนักเหมือนฉัตรหินใหญ่ และเหมือนงูแผ่พังพาน ราชสีห์ เสือและช้างตกมันเป็นต้น เข้าใกล้ได้ยาก เราไม่อาจจะตรงไปยังสำนักพระศาสดาทีเดียว ควรไปสำนักของใครหนอ. ลำดับนั้นจึงคิดว่า อุปัชฌาย์ของเราผู้เป็นขุนคลังแห่งพระธรรม เป็นสหายผู้ประเสริฐของพระเถระพี่ชาย เราจะไปสำนักของท่านพาไปกราบทูลพระศาสดา จึงได้เข้าไปหา เพราะความเคารพในพระศาสดาและพระเถระ. บทว่า นี้บาตรจีวรของท่าน ความว่า พระเถระกราบทูลแต่ละอย่างดังนี้ว่า นี้บาตรสำหรับใช้สอยของท่าน นี้ผ้ากรองน้ำห่อธาตุของท่าน. แต่ในบาลีท่านกล่าวเพียงเท่านี้ว่า นี้บาตรจีวรของท่าน. คำว่า ถ้อยคำอันดั้งเดิม คือ ถ้อยคำที่เป็นต้นทุน. มูล ท่านเรียกว่าต้นทุน ดุจที่ท่านกล่าวไว้ว่า ผู้มีปัญญาพิจารณาแล้ว ย่อมตั้งตนได้ด้วย ต้นทุนแม้น้อย เหมือนคนก่อไฟน้อยฉะนั้น

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายพระสารีบุตร หญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก...เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”

วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันเพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา รู้ลมหายใจอยู่ จิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจ รู้ว่าจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจแล้ว จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา ถ้ารู้ทันว่าจิตไหลไปนะ จิตจะตั้งมั่นเพราะฉะนั้นเบื้องต้นจะต้องทำกรรมฐานอย่างหนึ่งเสียก่อนนะ ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทัน เดี๋ยวก็ไหลไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ดูไม่ทันหรอก เพราะฉะนั้นเบื้องต้นทำกรรมฐานขึ้นมาสักอย่างหนึ่งก่อน พุทโธก็ได้ หายใจก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิตไป จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตไปเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวก็รู้นะ จิตเคลื่อนไปเมื่อไหร่ให้รู้ทัน ถ้ารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยไม่ได้เจตนาให้ตั้ง มันตั้งของมันเอง หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช

นิพพานัง ปรมัง สุขัง บุญทานแม้เล็กน้อยไม่พึงดูหมิ่น บุคคลเมื่อล้างภาชนะบรรจุอาหาร พึงปรารภว่า แม้สัตว์เล็ก สัตว์น้อย ที่อยู่ในดิน ขอจงได้กิน ดื่ม อาหารและน้ำนี้ ขอจงมีอายุยืนนาน และมีความสุขสำราญ เทอญ

พิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพานต้องปฏิบัตินะ ต้องมีสติ รู้สึกตัวบ่อยๆ รู้สึกกายรู้สึกใจ รู้สึกกายรู้สึกใจไป รู้สึกกายรู้สึกใจเรียกว่ารู้ทุกข์ รู้สึกไปเรื่อย ถ้ารู้แจ่มแจ้งเห็นมันเป็นไตรลักษณ์จะเบื่อ พอเบื่อหน่ายก็รู้ว่าเบื่อหน่ายนะ ใจก็คลายออก ไม่ยึดถือ เห็นแล้วว่าความจริงเป็นยังไง ความจริงของกายก็คือทุกข์ ความจริงของจิตใจก็คือทุกข์ ความจริงเค้าเป็นอย่างนั้น ใจยอมรับความจริง พอใจยอมรับความจริงใจก็หมดความดิ้นรนใช่มั้ย ตัวสำคัญนะตรงที่ยอมรับความจริง ถ้าคนที่ยอมรับความจริงได้จะไม่ทุกข์ คนที่ยอมรับความจริงไม่ได้จะทุกข์ อย่างร่างกายเราต้องแก่ใช่มั้ย ต้องเจ็บต้องตาย นี่เป็นความจริง ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ทุกข์แล้ว ตีนกาขึ้นหน่อยก็กลุ้มแล้วใช่มั้ย หายานี้มาลองทาไม่ได้ผลเอาตัวนี้ทา ทาไปทามาเลยเหี่ยวไปเลย คราวนี้ตีนวัวตีนควาย ท้อใจแล้วยอมรับสภาพ มันเยอะสู้ไม่ไหวแล้ว ถ้ายอมรับได้ก็ไม่ทุกข์ใช่มั้ย อย่างหลวงพ่อนะหลวงพ่อรู้สึกตัวเองแก่มานานแล้ว ตั้งแต่เด็กๆก็รู้สึกแก่นะ ภาวนามามากๆนะ รู้สึกโลกมันจืดมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เพื่อนฝูงเค้าเฮๆฮาๆนะ เราก็เฮ้อ เล่นๆไปกับเค้านะเหมือนเล่นละครยังไงหยั่งงั้นน่ะ เอาใจมันให้ไม่ดูแปลกกว่ามันมากนัก กลมกลืน แต่ในใจเรารู้สึกไม่เห็นมีอะไรเลย จืดชืด นี่ใจมันแก่มาตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆมันล้อหลวงพ่อนะว่าหน้าตาแก่ ท่าทางก็เหมือนคนแก่ เดี๋ยวนี้ลองมาดูสิมันแก่กว่าหลวงพ่อแล้วรายไหนรายนั้นเลย ของเราแก่คงที่มาตั้งแต่เด็ก มันมาแก่ทีหลัง มันดังกว่า ไปดูสิแต่ละคนนะหัวหงอกขาวโพลนเลยก็มีนะ หัวล้านเหน่งเลยก็มี เราภาวนานะภาวนา ใจยอมรับความจริงได้เมื่อไหร่ใจจะไม่ทุกข์ ใจจะยอมรับความจริงได้ต่อเมื่อใจยอมจำนน นี่ไม่ยอมง่ายๆนะ อยู่ๆจะไปบอก เอ้า ผมยอมแล้ว เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องธรรมดา ปิ๊ง บรรลุพระอรหันต์ ใจมันไม่ยอมด้วยหรอก งั้นมันจะยอมต่อเมื่อมันยอมจำนน ทำยังไงมันถึงจะยอมจำนน ต้องเอาข้อเท็จจริงตีแผ่ให้มันดูทุกวันๆ ดูลงมาในกาย ดูลงมาในใจ ดูซิมันสุขหรือมันทุกข์ มันดีหรือมันร้ายนะ ดูลงไป มันน่ารักหรือมันไม่น่ารัก มันสวยมันงามหรือไม่สวยไม่งาม มันเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันสุขหรือมันทุกข์นะ มันบังคับได้หรือบังคับไม่ได้ เอาของจริงมาให้มันดู พวกเราวิปลาส ปุถุชนจะวิปลาสสี่อย่าง คือเห็นของไม่สวยไม่งามก็ว่าสวยว่างาม เห็นของไม่เที่ยงก็ว่าเที่ยง เห็นของเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข เห็นของไม่ใช่ตัวตนว่าเป็นตัวเป็นตนของตน นี่เรียกวิปลาส นี้จะหายบ้าหายวิปลาสได้นะเอาข้อเท็จจริงมาให้ดู พอดูทุกวันๆนะ ดูอยู่ในกายดูอยู่ในใจ รู้สึกกายรู้สึกใจอย่าไปแทรกแทรง อย่าไปบังคับ เราต้องการดูความจริง เพราะงั้นอย่าไปบังคับกายบังคับใจ

คาถาธรรมบทว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าเธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ต­อบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธ­อ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล­้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ

สิ่งที่ใครใครไม่อาจจะชนะได้เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

บ้านอนาถบิณฑิกะเศรษฐี สาวัตถี“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา..พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวนานเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน กว่าที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ ดูก่อนสุทัตตะ ! สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้น เบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อยๆ และการเกิดบ่อยๆ นั้น ตถาคตกล่าวว่าเป็นทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาก็คือความแก่ชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่ขึ้นจากดินและนำดินติดมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียนแล้วจะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปด้วยทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาได้นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว ” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ” ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งสิ้น สัตว์ทั้งหลายดิ้นรนอยู่ในกองเพลิงคือทุกข์ เหมือนเต่าอันเขาโยนลงไปแล้วในกองไฟใหญ่ ฉะนั้น “ พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าเป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบมาสู่โลก “ อนาถบิณฑิกเศรษฐี หรือสุทัตตคฤหบดี ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตนล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พักเพื่อพระสงฆ์สาวกตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

บ้านอนาถบิณฑิกะเศรษฐี สาวัตถี“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา..พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวนานเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน กว่าที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ ดูก่อนสุทัตตะ ! สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้น เบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อยๆ และการเกิดบ่อยๆ นั้น ตถาคตกล่าวว่าเป็นทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาก็คือความแก่ชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่ขึ้นจากดินและนำดินติดมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียนแล้วจะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปด้วยทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาได้นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว ” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ” ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งสิ้น สัตว์ทั้งหลายดิ้นรนอยู่ในกองเพลิงคือทุกข์ เหมือนเต่าอันเขาโยนลงไปแล้วในกองไฟใหญ่ ฉะนั้น “ พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าเป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบมาสู่โลก “ อนาถบิณฑิกเศรษฐี หรือสุทัตตคฤหบดี ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตนล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พักเพื่อพระสงฆ์สาวกตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

ผู้สละโลก ผลงานของ ท่านอาจารย์ วศินอินทสระสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระอนุรุทธะอยู่ ที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์ ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกเร้นอยู่ ในที่ลับ เกิดความปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วย หมู่คณะ ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ของบุคคลผู้ มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคล ผู้มีจิตไม่มั่นคง ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ฯ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกทางใจของท่านพระอนุรุทธะ แล้ว เสด็จจากเภสกลามิคทายวัน แขวงสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ไป ปรากฏเฉพาะหน้าท่านอนุรุทธะที่วิหารปาจีนวังสทายวัน เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลัง เหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะ ที่จัดไว้ถวายแล้ว แม้ท่านพระอนุรุทธะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่าธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มี ปัญญาทราม ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอจงตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ ทำให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำ ให้เนิ่นช้า ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึก มหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตก วิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในการนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ในกาลใดแล เธอ จักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุ จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้มีปรกติได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่ง ฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุล จีวรจักปรากฏแก่เธอ ผู้สันโดษ อยู่ด้วยความยินดี ด้วยความไม่หวาดเสียว ด้วย ความอยู่เป็นสุข ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนหีบใส่ผ้าของคฤหบดี หรือบุตรแห่งคฤหบดี อันเต็มไปด้วยผ้าสีต่างๆ ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใด แล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน ปัจจุบัน ในกาลนั้น โภชนะ คือ คำข้าวที่ได้มาด้วยปลีแข้ง จักปรากฏแก่เธอผู้ สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนข้าวสุก (หุงจาก) ข้าวสาลี คัดเอาดำออกแล้ว มีแกงและกับหลายอย่าง ของคฤหบดีและบุตรแห่งคฤหบดี ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และ จักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิต ยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น เสนาสนะ คือ โคนไม้ จัก ปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเรือนยอด ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉาบทาไว้ดีแล้ว ปราศจากลม ลงลิ่มสลักมิด ชิด ปิดหน้าต่างสนิท ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริส- *วิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ที่นอน ที่นั่งอันลาดด้วยหญ้า จักปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนบัลลังก์ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี อันลาดด้วยผ้าโกเชาว์ขน ยาว ลาดด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยผ้าสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ มีเครื่องลาดอย่างดี ทำด้วยหนังชะมด มีเครื่องลาดเพดานแดง มีหมอนข้างแดงสองข้าง ฉะนั้น ดูกร อนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า จักปรากฏ แก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเภสัชต่างๆ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉะนั้น ฯ ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอพึงอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นี้แหละ ต่อไปอีกเถิด ท่านพระอนุรุทธะทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสสอนท่านพระอนุรุทธะด้วยพระโอวาทนี้แล้ว เสด็จจากวิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นคร ไปปรากฏที่ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคะ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่จัดไว้ถวายแล้ว ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาปุริสวิตก ๘ ประการ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มหาปุริสวิตก ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑ ธรรมนี้เป็นของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคล ผู้เกียจคร้าน ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของผู้มีสติหลงลืม ๑ ธรรมนี้ ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มี ปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบ ใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนา น้อยย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย เป็นผู้ สันโดษย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ ตั้งมั่นย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้าย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจ ในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ดังนี้ เรา อาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของ บุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อม แห่งกุศลธรรม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม ข้อที่ เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของ บุคคลผู้เกียจคร้าน ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง ระลึกนึกถึง กิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคล ผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและ ความดับ เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เรา อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น ข้อที่เรา กล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้ กล่าวแล้ว ฯ ครั้งนั้นแล ท่านพระอนุรุทธะอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้น เจดีย์นครนั้นนั่นแล ต่อไปอีก ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกจากหมู่อยู่ ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ไม่นานนัก ก็กระทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกบวชเป็นบรรพชิต โดยชอบต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติ สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ก็ท่านพระอนุรุทธะได้เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งในจำนวนพระ- *อรหันต์ทั้งหลาย ลำดับนั้น ท่านพระอนุรุทธะบรรลุอรหัตแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ไว้ ในเวลานั้นว่า พระศาสดาผู้เป็นเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดำริของเราแล้ว ได้เข้ามาหาเราด้วยฤทธิ์ทางพระกายอันสำเร็จแต่พระหฤทัย พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอันยิ่งกว่าความดำริของเราเท่าที่ดำริ ไว้ พระพุทธเจ้าผู้ยินดีแล้วในธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ได้ทรงแสดงซึ่งธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เราได้รู้ทั่วถึง ธรรมของพระองค์แล้ว ยินดีในศาสนาอยู่ เราได้บรรลุ วิชชา ๓ แล้วโดยลำดับ คำสอนของพระพุทธเจ้าเรา กระทำแล้ว ฯ

โอวาทพระอานนท์เถระ เวลานั้นบ่ายมากแล้ว ความอบอ้าวลดลงบริเวณอารามซึ่งมีพันธุ์ไม้หลายหลากดูร่มรื่นยิ่งขึ้น นกเล็กๆ บนกิ่งไม้วิ่งไล่เล่นกันอย่างเพลิดเพลิน บางพวกร้องทักทายกันอย่างสนิทสนมและชื่นสุข ดิรัจฉานเป็นสัตว์โลกที่มีความรู้น้อยและความสามารถน้อย มันมีความรู้ความสามารถแต่เพียงหากินและหลบหลีกภัยเฉพาะหน้า แต่ดูเหมือนมันจะมีความสุขยิ่งกว่ามนุษย์ซึ่งถือตนว่าฉลาดและมีความสามารถเหนือสัตว์โลกทั้งมวล เป็นความจริงที่ว่าความสุขนั้นขึ้นอยู่กับความพอใจ มนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ในเพศไหนและภาวะอย่างใด ถ้าสามารถพอใจในภาวะนั้นได้ เขาก็มีความสุข ความยากจนหาเช้ากินค่ำ อาจจะมีความสุขกว่ามหาเศรษฐี หรือมหาราชาผู้เร่าร้อนอยู่เสมอ เพราะความปรารถนาและทะยานอยากอันไม่รู้จักสิ้นสุด มนุษย์เราจะมีสติปัญญาฉลาดปานใดก็ตาม ถ้าไร้เสียแล้วซึ่งปัญญาในการหาความสุขให้แก่ตนโดยทางที่ชอบ เขาผู้นั้นควรจะทะนงตนว่าฉลาดกว่าสัตว์ละหรือ? มนุษย์ส่วนใหญ่มักจะปล่อยให้ความอยากความดิ้นรนออกหน้าแล้ววิ่งตาม เหมือนวิ่งตามเงาของตนเองในเวลาบ่าย ยิ่งวิ่งตาม ก็ดูเหมือนเงาจะห่างตัวออกไปทุกที ทุกคนต้องการและมุ่งมั่นในความสุข แต่ความสุขก็เป็นเหมือนเงานั่นเอง ความสุขมิใช่เป็นสิ่งที่เราจะต้องแสวงหาและมุ่งมอง หน้าที่โดยตรงที่มนุษย์ควรทำนั้นคือ การมองทุกข์ให้เห็น พร้อมทั้งตรวจสอบพิจารณาสาเหตุแห่งทุกข์นั้น แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์เสีย โดยนัยนี้ความสุขก็จะเกิดขึ้นเอง เหมือนผู้ปรารถนาความสุขความเจริญแก่ประเทศชาติ ถ้าปราบเสี้ยนหนามและเรื่องร้ายในประเทศมิได้ ก็อย่าหวังเลยว่าประเทศชาติจะเจริญและผาสุกหรือเหมือนผู้ปรารถนาสุขแก่ร่างกายถ้ายังกำจัดโรคในร่างกายมิได้ ความสุขกายจะมีได้อย่างไร แต่ถ้าร่างกายปราศจากโรคมีอนามัยดี ความสุขกายก็มีมาเอง ด้วยประการฉะนี้ปรัชญาเถรวาทจึงให้หลักเราไว้ว่า "มองทุกข์ให้เห็นจึงเป็นสุข" อธิบายว่า เมื่อเห็นทุกข์กำหนดรู้ทุกข์และค้นหาสมุฏฐานของทุกข์แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์นั้นเสีย เหมือนหมอทำลายเชื้ออันเป็นสาเหตุแห่งโรค ยิ่งทุกข์ลดน้อยลงเท่าใด ความสุขก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเท่านั้น ความทุกข์ที่ลดลงนั้นเองคือความสุข เหมือนทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ถือว่าความเย็นไม่มี มีแต่ความร้อน ความเย็นคือความร้อนที่ลดลง เมื่อความร้อนลดลงถึงที่สุด ก็กลายเป็นความเย็นที่สุด ทำนองเดียวกัน เมื่อความทุกข์ลดลงถึงที่สุดก็กลายเป็นความสุขที่สุด ขั้นแห่งความสุขนั้นมีขึ้นตามแห่งความทุกข์ที่ลดลง คำสอนทางศาสนา เมื่อว่าโดยนัยหนึ่งจึงเป็นเรื่องของ "ศิลปะแห่งการลดทุกข์" นั่นเอง พระอานนท์ได้รับคำบอกเล่าจากสุนันทาภิกษุณีแล้ว ให้รู้สึกเป็นห่วงกังวลถึงโกกิลาภิกษุณียิ่งนัก ท่านคิดว่าหรือจะเป็นเพราะนางหกล้มเมื่อบ่ายนี้กระมัง จึงเป็นเหตุให้นางป่วยลง อนิจจา! โกกิลาเธอรักเรา เราหรือจะไม่รู้ แต่เธอมาหลงรักคนที่ไม่มีหัวใจจะรักเสียแล้ว เหมือนเด็กน้อยผู้ไม่ประสาต่อความตายนั่งร่ำร้องเร่งเร้าขอคำตอบจากมารดาผู้นอนตายสนิทแล้ว ช่างหน้าสงสารสังเวชเสียนี่กระไร ผู้หญิงมีความอ่อนแอทั้งด้านร่างกายและจิตใจ พระศาสดาจึงกีดกันหนักหนา ในเบื้องแรกที่จะให้สตรีบวชในศาสนา ทั้งนี้เป็นเพราะมหากรุณาของพระองค์ ที่ไม่ต้องการให้สตรีต้องลำบาก มีเรื่องเดียวเท่านั้นที่สตรีทนได้ดีกว่าบุรุษนั้นคือการทนต่อความเจ็บปวด 

โอวาทพระอานนท์เถระ ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใ­จของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรว­ดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะป­ระสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปร­าชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอ­าแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุก­ต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่า­ว­อธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าในที่สุดเวลาก็มาถึง ท้องฟ้าเริ่มสาง เสียงไก่ขันรับอรุณแว่วมาตามสายลม เศรษฐีเดินออกจากตัวเรือนมุ่งสู่ประตูเมือง ประตูยังไม่เปิด อนาถบิณฑิกะต้องขอร้องวิงวอนคนเฝ้าประตูเสียนาน เขาจึงยอมเปิดให้ เมื่อออกจากประตูเมืองแล้ว ทางที่จะไปสู่ปาสีตวันก็เป็นทางเปลี่ยว การสัญจรยังไม่มี การเดินออกจากเมืองเข้าไปในป่านั้นเป็นการยากมากสำหรับคนขลาด ท่านเศรษฐีเกือบจะหมดความพยายาม มีหลายครั้งที่อยากจะถอยกลับเข้าสู่เมือง แต่พอเขาหยุดยืนอยู่นั่นเอง เสียงก็ปรากฏขึ้นเหมือนแว่วมาจากอากาศว่า “ ท่านเศรษฐี ม้าตั้งร้อย ช้างตั้งร้อย โค แพะ แกะ เป็ด ไก่ อย่างละร้อย ถ้าท่านได้เพราะถอยกลับเพียงก้าวเดียว จะไม่ประเสริฐเหมือนก้าวไปข้างหน้าเพียงก้าวเดียว จงก้าวต่อไปเถิด ท่านเศรษฐี ! การก้าวไปข้างหน้าของท่าน จะเป็นประโยชน์แก่ท่านและชาวโลกมาก ” ท่านเศรษฐีมุ่งหน้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระบรมศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตว์โลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีแล้วว่าเป็นผู้ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมดำเนินกลับไปกลับมาอยู่ ณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่นี่ ” ดูก่อนท่านผู้เจริญ ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชแก่ท่านเศรษฐีอย่างเหลือล้น เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้ ท่านเศรษฐีหรือจะไม่ปลื้มใจ เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา ข้าพระองค์รอคอยจนพระองค์เสด็จเข้าไปในเมืองเพื่อเสวยภัตตาหารไม่ไหว จึงออกมาเฝ้าแต่เช้ามืด พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวนานเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน กว่าที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ ดูก่อนสุทัตตะ ! สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้น เบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อยๆ และการเกิดบ่อยๆ นั้น ตถาคตกล่าวว่าเป็นทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาก็คือความแก่ชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความคร่ำครวญทุกข์โทมนัส อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่ขึ้นจากดินและนำดินติดมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียนแล้วจะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปด้วยทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาได้นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว ” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ” ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งสิ้น สัตว์ทั้งหลายดิ้นรนอยู่ในกองเพลิงคือทุกข์ เหมือนเต่าอันเขาโยนลงไปแล้วในกองไฟใหญ่ ฉะนั้น “ พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน เป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าเป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบมาสู่โลก “ ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี หรือสุทัตตคฤหบดี ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตนล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พักเพื่อพระสงฆ์สาวกตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ

วันอังคารที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

ยอมรับความจริงได้ก็ถูกเมื่อนั้น หลวงพ่อปราโมทย์ : ต้องปฏิบัตินะ ต้องมีสติ รู้สึกตัวบ่อยๆ รู้สึกกายรู้สึกใจ รู้สึกกายรู้สึกใจไป รู้สึกกายรู้สึกใจเรียกว่ารู้ทุกข์ รู้สึกไปเรื่อยถ้ารู้แจ่มแจ้งเห็นมันเป็นไตรลักษณ์จะเบื่อ พอเบื่อหน่ายก็รู้ว่าเบื่อหน่ายนะ ใจก็คลายออก ไม่ยึดถือ เห็นแล้วว่าความจริงเป็นยังไง ความจริงของกายก็คือทุกข์ ความจริงของจิตใจก็คือทุกข์ ความจริงเค้าเป็นอย่างนั้น ใจยอมรับความจริง พอใจยอมรับความจริงใจก็หมดความดิ้นรนใช่มั้ย ตัวสำคัญนะตรงที่ยอมรับความจริง ถ้าคนที่ยอมรับความจริงได้จะไม่ทุกข์ คนที่ยอมรับความจริงไม่ได้จะทุกข์ อย่างร่างกายเราต้องแก่ใช่มั้ย ต้องเจ็บต้องตาย นี่เป็นความจริง ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ทุกข์แล้ว ตีนกาขึ้นหน่อยก็กลุ้มแล้วใช่มั้ย หายานี้มาลองทาไม่ได้ผลเอาตัวนี้ทา ทาไปทามาเลยเหี่ยวไปเลย คราวนี้ตีนวัวตีนควาย ท้อใจแล้วยอมรับสภาพ มันเยอะสู้ไม่ไหวแล้ว ถ้ายอมรับได้ก็ไม่ทุกข์ใช่มั้ย อย่างหลวงพ่อนะหลวงพ่อรู้สึกตัวเองแก่มานานแล้ว ตั้งแต่เด็กๆก็รู้สึกแก่นะ ภาวนามามากๆนะ รู้สึกโลกมันจืดมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เพื่อนฝูงเค้าเฮๆฮาๆนะ เราก็เฮ้อ เล่นๆไปกับเค้านะเหมือนเล่นละครยังไงหยั่งงั้นน่ะ เอาใจมันให้ไม่ดูแปลกกว่ามันมากนัก กลมกลืน แต่ในใจเรารู้สึกไม่เห็นมีอะไรเลย จืดชืด นี่ใจมันแก่มาตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆมันล้อหลวงพ่อนะว่าหน้าตาแก่ ท่าทางก็เหมือนคนแก่ เดี๋ยวนี้ลองมาดูสิมันแก่กว่าหลวงพ่อแล้วรายไหนรายนั้นเลย ของเราแก่คงที่มาตั้งแต่เด็ก มันมาแก่ทีหลัง มันดังกว่า ไปดูสิแต่ละคนนะหัวหงอกขาวโพลนเลยก็มีนะ หัวล้านเหน่งเลยก็มี เราภาวนานะภาวนา ใจยอมรับความจริงได้เมื่อไหร่ใจจะไม่ทุกข์ ใจจะยอมรับความจริงได้ต่อเมื่อใจยอมจำนน นี่ไม่ยอมง่ายๆนะ อยู่ๆจะไปบอก เอ้า ผมยอมแล้ว เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องธรรมดา ปิ๊ง บรรลุพระอรหันต์ ใจมันไม่ยอมด้วยหรอก งั้นมันจะยอมต่อเมื่อมันยอมจำนน ทำยังไงมันถึงจะยอมจำนน ต้องเอาข้อเท็จจริงตีแผ่ให้มันดูทุกวันๆ ดูลงมาในกาย ดูลงมาในใจ ดูซิมันสุขหรือมันทุกข์ มันดีหรือมันร้ายนะ ดูลงไป มันน่ารักหรือมันไม่น่ารัก มันสวยมันงามหรือไม่สวยไม่งาม มันเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันสุขหรือมันทุกข์นะ มันบังคับได้หรือบังคับไม่ได้ เอาของจริงมาให้มันดู พวกเราวิปลาส ปุถุชนจะวิปลาสสี่อย่าง คือเห็นของไม่สวยไม่งามก็ว่าสวยว่างาม เห็นของไม่เที่ยงก็ว่าเที่ยง เห็นของเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข เห็นของไม่ใช่ตัวตนว่าเป็นตัวเป็นตนของตน นี่เรียกวิปลาส นี้จะหายบ้าหายวิปลาสได้นะเอาข้อเท็จจริงมาให้ดู พอดูทุกวันๆนะ ดูอยู่ในกายดูอยู่ในใจ รู้สึกกายรู้สึกใจอย่าไปแทรกแทรง อย่าไปบังคับ เราต้องการดูความจริง เพราะงั้นอย่าไปบังคับกายบังคับใจ

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นhttp://www.kanlayanatam.com/tammatan/sep09/cd29/mp3-133.htm

วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นhttp://www.kanlayanatam.com/tammatan/sep09/cd29/mp3-133.htm

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าการละอาสวะได้เพราะการเห็น พระผู้มีพระภาคเสด็จประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน เขตพระนครสาวัตถี ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายมาแล้วตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงปริยายว่าด้วยการสังวรอาสวะทั้งปวงแก่พวก เรากล่าวความสิ้นอาสวะของภิกษุผู้รู้อยู่ เห็นอยู่ เราไม่กล่าวความสิ้นอาสวะของภิกษุผู้ไม่รู้อยู่ ไม่เห็นอยู่ ความสิ้นอาสวะจะมีได้แก่ภิกษุผู้รู้อะไร เห็นอยู่อะไร ความสิ้นอาสวะจะมีได้แก่ภิกษุผู้รู้เห็นโยนิโสมนสิการและอโยนิโสมนสิการ เมื่อภิกษุมนสิการโดยไม่แยบคาย อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญขึ้น เมื่อภิกษุมนสิการโดยแยบคาย อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมสิ้นไป อาสวะที่จะพึงละได้เพราะการเห็นมีอยู่ ที่จะพึงละได้เพราะการสังวรก็มี ที่จะพึงละได้เพราะเสพเฉพาะก็มี ที่จะพึงละได้เพราะความอดกลั้นก็มี ที่จะพึงละได้เพราะเว้นรอบก็มีที่จะพึงละได้เพราะบรรเทาก็มี ที่จะพึงละได้เพราะอบรมก็มี ๑. อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะการเห็น ? คือ ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับ ไม่ได้เห็นพระอริยะทั้งหลาย ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับแนะนำในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้เห็นสัปบุรุษ ไม่ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษไม่ได้รับแนะนำในธรรมของสัปบุรุษ ย่อมไม่รู้ทั่วถึงธรรมอันตนควรมนสิการ ย่อมไม่รู้ทั่วถึงธรรมอันตนไม่ควรมนสิการ เมื่อเขาไม่รู้ทั่วถึงธรรมที่ควรมนสิการ ไม่รู้ทั่วถึงธรรมที่ไม่ควรมนสิการย่อมมนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ ย่อมไม่มนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๒. ธรรมที่ไม่ควรมนสิการที่ปุถุชนมนสิการอยู่เป็นไฉน ? คือ เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสะก็ดี อวิชชาสวะก็ดี ที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญขึ้น ธรรมที่ไม่ควรมนสิการเหล่านี้ที่เขามนสิการอยู่ ๓. ธรรมที่ควรมนสิการที่ปุถุชนไม่มนสิการอยู่เป็นไฉน ? คือ เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสวะก็ดี อวิชชาสวะก็ดีที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมสิ้นไป ธรรมที่ควรมนสิการเหล่านี้ ที่เขาไม่มนสิการอยู่ อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญแก่ปุถุชนนั้น เพราะมนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ และเพราะไม่มนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๔. ปุถุชนมนสิการอยู่โดยไม่แยบคายอย่างนี้ว่า เราได้มีแล้วในอดีตกาลหรือหนอ เราไม่ได้มีแล้วในอดีตกาลหรือหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอย่างไรหนอ ในอดีตกาลเราได้เป็นอะไรแล้วจึงเป็นอะไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักมีหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักไม่มีหรือหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรหนอ ในอนาคตกาลเราจักเป็นอย่างไรหนอในอนาคตกาลเราจักเป็นอะไรแล้วจึงจักเป็นอะไรหนอ หรือว่าปรารภกาลปัจจุบันในบัดนี้มีความสงสัยขึ้นภายในว่า เรามีอยู่หรือ เราไม่มีอยู่หรือ เราเป็นอะไรหนอ เราเป็นอย่างไรหนอ สัตว์นี้มาแต่ไหนหนอ และมันจักไป ณ ที่ไหน ๕. เมื่อปุถุชนนั้นมนสิการอยู่โดยไม่แยบคายอย่างนี้ บรรดาทิฏฐิ ๖ ทิฏฐิอย่างใดอย่างหนึ่งย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิโดยจริงโดยแท้ย่อมเกิดขึ้นแก่ปุถุชนนั้นว่า ตนของเรามีอยู่ หรือว่า ตนของเราไม่มีอยู่ หรือว่า เราย่อมรู้ชัดตนด้วยตนเอง หรือว่า เราย่อมรู้ชัดสภาพมิใช่ตนด้วยตนเอง หรือว่าเราย่อมรู้ตนด้วยสภาพมิใช่ตน อีกอย่างหนึ่ง ทิฏฐิย่อมเกิดมีแก่ปุถุชนนั้นอย่างนี้ว่า ตนของเรานี้เป็นผู้เสวย ย่อมเสวยวิบากแห่งกรรมทั้งดีทั้งชั่วในอารมณ์นั้น ๆ ก็ตนของเรานี้นั้นเป็นของแน่นอนยั่งยืนเที่ยงแท้ ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา จักตั้งอยู่อย่างนั้นเสมอด้วยสิ่งยั่งยืนแท้ ข้อนี้เรากล่าวว่าทิฏฐิ ชัฏคือทิฏฐิ กันดารคือทิฏฐิ เสี้ยนหนามคือทิฏฐิ ความดิ้นรนคือทิฏฐิ สิ่งที่ประกอบสัตว์ไว้คือทิฏฐิ เรากล่าวว่า ปุถุชนผู้ไม่ได้สดับผู้ประกอบด้วยทิฏฐิสังโยชน์ย่อมไม่พ้นจากชาติ ชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาส ย่อมไม่พ้นจากทุกข์ ๖. ส่วนอริยสาวกผู้สดับแล้ว ผู้เห็นพระอริยะทั้งหลาย ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ได้รับแนะนำด้วยดีในธรรมของพระอริยะ ผู้เห็นสัปบุรุษ ฉลาดในธรรมของสัปบุรุษได้รับคำแนะนำด้วยดีในธรรมของสัปบุรุษ ย่อมรู้ทั่วถึงธรรมที่ควรมนสิการ และไม่ควรมนสิการเมื่ออริยสาวกนั้นรู้ทั่วถึงธรรมที่ควรมนสิการ และไม่ควรมนสิการ ย่อมไม่มนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ และมนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๗. ธรรมที่ไม่ควรมนสิการเหล่าไหน ที่อริยสาวกไม่มนสิการ? คือ เมื่ออริยสาวกนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสวะก็ดี อวิชชาสวะก็ดี ที่ยังไม่เกิดขึ้นย่อมเกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเจริญขึ้น ธรรมที่ไม่ควรมนสิการเหล่านี้ ที่อริยสาวกไม่มนสิการ ๘. ธรรมที่ควรมนสิการเหล่าไหนที่อริยสาวกมนสิการอยู่ ? คือ เมื่ออริยสาวกนั้นมนสิการธรรมเหล่าใดอยู่ กามาสวะก็ดี ภวาสวะก็ดี อวิชชาสวะก็ดี ที่ยังไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เกิดขึ้น ที่เกิดขึ้นแล้ว ย่อมเสื่อมสิ้นไป ธรรมที่ควรมนสิการเหล่านี้ ที่อริยสาวกมนสิการอยู่อาสวะทั้งหลายที่ยังไม่เกิดขึ้น จะไม่เกิดขึ้น และที่เกิดขึ้นแล้ว จะเสื่อมสิ้นไปแก่อริยสาวกนั้นเพราะไม่มนสิการธรรมที่ไม่ควรมนสิการ และเพราะมนสิการธรรมที่ควรมนสิการ ๙. อริยสาวกนั้น ย่อมมนสิการโดยแยบคายว่า นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ นี้ความดับทุกข์นี้ปฏิปทาให้ถึงความดับทุกข์ เมื่ออริยสาวกนั้นมนสิการอยู่โดยแยบคายอย่างนี้ สังโยชน์ ๓ คือสักกายทิฏฐิ วิจิกิจฉา สีลัพพตปรามาส ย่อมเสื่อมสิ้นไป ดูกรภิกษุทั้งหลาย อาสวะเหล่านี้เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะการเห็น ๑๐. อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะการสังวร ? คือ ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วเป็นผู้สำรวมด้วยความสำรวมในจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่ ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นผู้ไม่สำรวมจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้สำรวมจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่ ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุผู้ไม่สำรวมในจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้สำรวมในจักขุนทรีย์ โสตินทรีย์ ฆานินทรีย์ ชิวหินทรีย์ กายินทรีย์ มนินทรีย์อยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะการสังวร (ม.มู. ๑๒/สัพพาสวสังวรสูตร/๑๐-๑๓/๑๑-๑๔) ๑.๒ ละอาสวะได้เพราะการพิจารณาเสพ ๑.๒.๑ อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะการพิจารณาเสพ ? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพจีวรเพียงเพื่อกำจัดหนาว ร้อน สัมผัส แห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน เพียงเพื่อจะปกปิดอวัยวะที่ให้ความละอายกำเริบ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพบิณฑบาตมิใช่เพื่อจะเล่น มิใช่เพื่อมัวเมา มิใช่เพื่อประดับ มิใช่เพื่อตบแต่ง เพียงเพื่อให้กายนี้ดำรงอยู่ เพื่อให้เป็นไปเพื่อกำจัดความลำบาก เพื่ออนุเคราะห์แก่พรหมจรรย์ ด้วยคิดว่า จะกำจัดเวทนาเก่าเสียด้วยจะไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้นด้วย ความเป็นไป ความไม่มีโทษ และความอยู่สบายด้วย จักมีแก่เราฉะนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพเสนาสนะ เพียงเพื่อกำจัดหนาวร้อน สัมผัสแห่งเหลือบยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน เพียงเพื่อบรรเทาอันตรายแต่ฤดู เพื่อรื่นรมย์ในการหลีกออกเร้นอยู่ พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เสพบริขาร คือ ยาอันเป็นปัจจัยบำบัดไข้ เพียงเพื่อกำจัดเวทนาที่เกิดแต่อาพาธต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นแล้ว เพื่อความเป็นผู้ไม่มีอาพาธเบียดเบียนเป็นอย่างยิ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นผู้ไม่พิจารณาเสพปัจจัยอันใดอันหนึ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้พิจารณาเสพอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะการพิจารณาเสพ ๑.๒.๒ อาสวะเหล่าไหน ที่จะพึงละได้เพราะความอดกลั้น? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วเป็นผู้อดทนต่อหนาว ร้อน หิวระหาย สัมผัสแห่งเหลือบ ยุง ลม แดด และสัตว์เลื้อยคลาน เป็นผู้มีชาติของผู้อดกลั้นต่อถ้อยคำที่ผู้อื่นกล่าวชั่ว ร้ายแรงต่อเวทนาที่มีอยู่ในตัว ซึ่งบังเกิดขึ้นแล้ว เป็นทุกข์ กล้า แข็งเผ็ดร้อน ไม่เป็นที่ยินดี ไม่เป็นที่ชอบใจ อาจพล่าชีวิตเสียได้ ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นผู้ไม่อดกลั้นอยู่ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้อดกลั้นอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะความอดกลั้น ๑.๒.๓ อาสวะเหล่าไหนที่จะพึงละได้เพราะความเว้นรอบ? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วเว้นช้างที่ดุร้าย ม้าที่ดุร้าย โคที่ดุร้าย สุนัขที่ดุร้าย งู หลักตอ สถานที่มีหนาม บ่อ เหว แอ่งน้ำครำ บ่อน้ำครำ เพื่อนพรหมจรรย์ผู้เป็นวิญญูชนทั้งหลาย พึงกำหนดลงซึ่งบุคคลผู้นั่ง ณ ที่มิใช่อาสนะเห็นปานใด ผู้เทียวไป ณ ที่มิใช่โคจรเห็นปานใด ผู้คบมิตรที่ลามกเห็นปานใด ในสถานทั้งหลายอันลามก ภิกษุนั้นพิจารณาโดยแยบคายแล้ว เว้นที่มิใช่อาสนะนั้น ที่มิใช่โคจรนั้น และมิตรผู้ลามกเหล่านั้น จริงอยู่ อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ผู้ไม่เว้นสถานหรือบุคคลอันใดอันหนึ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้น ผู้เว้นรอบอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่าจะพึงละได้เพราะการเว้นรอบ ๑.๒.๔ อาสวะเหล่าไหนที่จะพึงละได้เพราะความบรรเทา? ภิกษุพิจารณาโดยแยบคายแล้วย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทากามวิตกที่เกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทา พยาบาทวิตกที่เกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทา วิหิงสาวิตกที่เกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ย่อมอดกลั้น ย่อมละ ย่อมบรรเทาธรรมที่เป็นบาปอกุศลที่บังเกิดขึ้นแล้ว ทำให้สิ้นสูญ ให้ถึงความไม่มี ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ผู้ไม่บรรเทาธรรมอันใดอันหนึ่งอาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้บรรเทาอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะความบรรเทา (ม.มู. ๑๒/สัพพาสวสังวรสูตร/๑๔-๑๗/๑๔-๑๕) ๑.๓ ละอาสวะได้เพราะการอบรม ๑.๓.๑ อาสวะเหล่าไหนที่จะพึงละได้เพราะอบรม ? ภิกษุในพระธรรมวินัยนี้พิจารณาโดยแยบคายแล้ว เจริญสติสัมโพชฌงค์ ธัมมวิจยสัมโพชฌงค์ วิริยสัมโพชฌงค์ ปิติสัมโพชฌงค์ ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ สมาธิสัมโพชฌงค์ อุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในความสละลง ก็อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่าใด พึงเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ผู้ไม่อบรมธรรมอันใดอันหนึ่ง อาสวะและความเร่าร้อนอันกระทำความคับแค้นเหล่านั้น ย่อมไม่มีแก่ภิกษุนั้นผู้อบรมอยู่อย่างนี้ อาสวะเหล่านี้ เรากล่าวว่า จะพึงละได้เพราะอบรม ๑.๓.๒ เพราะเหตุว่า อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการเห็น อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นได้แล้วเพราะการเห็น อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการสังวร อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการสังวร อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการพิจารณาเสพ อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการพิจารณาเสพอาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะความอดกลั้น อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะความอดกลั้น อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการเว้นรอบ อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการเว้นรอบ อาสวะเหล่าใดอันภิกษุใดพึงละได้เพราะการบรรเทาอาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการบรรเทา อาสวะเหล่าใด อันภิกษุใดพึงละได้เพราะการอบรม อาสวะเหล่านั้นอันภิกษุนั้นละได้แล้วเพราะการอบรม ภิกษุนี้เรากล่าวว่า เป็นผู้สำรวมด้วยความสังวรในอาสวะทั้งปวงอยู่ ตัดตัณหาได้แล้ว ยังสังโยชน์ให้ปราศไปแล้ว ได้ทำที่สุดแห่งทุกข์เพราะความตรัสรู้ ด้วยการเห็นและการละมานะโดยชอบ

วิธีทำลายอวิชชาทำลายตัณหาทำลายกิเลสหลวงพ่อไปกราบหลวงปู่ดูลย์ครั้งแรกแล้วนำคำสอนของท่านมาปฏิบัติ พออีก 3 เดือนไปส่งการบ้าน ท่านอธิบายให้ฟังว่าที่ปฏิบัติอยู่ไม่ถูกหรอก เสร็จแล้วท่านสอนจิต คือพุทธะให้ฟัง จิตคือพุทธะ เทศน์ๆๆ อยู่ 45 นาที ก็เทศน์กลับไปกลับมาเรื่อย รอบหนึ่ง 45 นาที เราฟังจนเหนื่อยเต็มประดานะ จึงถามหลวงปู่ว่า 'หลวงปู่ ที่หลวงปู่เทศน์มาทั้งหมดเนี่ย ผมขอดูจิตอย่างเดียวได้มั้ย?' ที่ต้องถามเพราะมันไม่รู้เรื่อง ที่เทศน์มาเนี่ยไม่ได้รู้เรื่องเลย หลวงปู่ก็เลยบอกว่า 'ธรรมะทั้งหลายเกิดที่จิต ธรรมะ 84,000 พระธรรมขันธ์นะเกิดที่จิต ถ้ารู้อยู่ที่จิตก็รู้ธรรมะได้' ฟังแล้วค่อยสบายใจนะ อือ โห ทำไมท่านสอนธรรมมากมาย ท่านสอนให้ไว้ใช้ในอนาคตแต่สอนทีไรก็สอนอย่างนี้ สอนเวียน ไปอยู่ในเรื่องของจิตคือพุทธะ จนครั้งสุดท้าย ไปหาท่านครั้งสุดท้าย 36 วันก่อนท่านมรณภาพ ไปหาท่านตั้งแต่ตอนบ่ายๆ อยู่กับท่าน ท่านก็เทศน์ให้ฟังไปเรื่อยๆ นะ จนทุ่มหนึ่ง ท่านนะหอบแฮ่กๆ เลย ไม่ยอมหยุดสอน เราก็สงสารท่านมากเลย บอกหลวงปู่ 'หลวงปู่เหนื่อยมากแล้ว ผมจะกลับแล้ว' 'จะกลับเหรอ ยังกลับไม่ได้นะ ต้องจำไว้ก่อน พบจิตให้ทำลายจิตนะ พบผู้รู้ให้ทำลายผู้รู้ จิตจึงจะถึงความบริสุทธิ์อย่างแท้จริง' จริงๆ มีอีกประโยคหนึ่ง แต่ไม่ค่อยอยากเล่า ท่านว่าพบพระพุทธเจ้าให้ฆ่าซะ ฟังแล้วมันน่าตกใจนะ 'พบจิตให้ทำลายจิต พบผู้รู้ให้ทำลาย ผู้รู้ จึงจะถึงความบริสุทธิ์อย่างแท้จริง เข้าใจมั้ย?' บอกท่านว่าไม่เข้าใจแต่ผมจะจำไว้ 'เออดี จำไว้นะ ไป ไปได้แล้ว ไป' ลาท่านมา ลาแล้วหันไปมองหลายรอบนะ เฮ้อ รู้สึกอาลัยอาวรณ์ ไม่ได้เจออีกแล้ว รุ่งเช้าขึ้นรถไฟไปกราบหลวงพ่อพุธที่โคราช วัดท่านอยู่ใกล้สถานีรถไฟ ลงรถไฟแล้วก็เดินไปได้ ท่านเห็นหน้าท่านถามว่า 'นักปฏิบัติ หลวงปู่สอนอะไร รอบนี้หลวงปู่สอนอะไร' ท่านรู้ว่าหลวงพ่อไปเรียนจากหลวงปู่ดูลย์ ทุกครั้งที่เรียนจะต้องแวะมาหาท่านนะ แล้วท่านก็จะถามว่าหลวงปู่สอนอะไรบ้าง กราบเรียนท่านว่า หลวงปู่บอกว่าพบผู้รู้ให้ทำลายผู้รู้ พบจิตให้ทำลายจิต ท่านก็บอกว่าเมื่ออาทิตย์ก่อน ท่านไปหาหลวงปู่ดูลย์มา หลวงปู่ก็บอกท่านเหมือนกันบอกว่า 'เจ้าคุณ การปฏิบัติจะยากอะไร พบผู้รู้ให้ทำลายผู้รู้ พบจิตให้ทำลายจิต' เสร็จแล้วหลวงพ่อพุธก็บอกหลวงพ่อว่า 'คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกัน ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อนให้บอกกันนะ ว่าทำลายยังไง' ตอนนั้นปี 26 เสร็จแล้วก็ไปเจอท่านเรื่อยๆ นะ ตอนหลังๆ ท่านหนีไปจากวัด ท่านทนโยมไม่ไหว หลวงพ่อตอนนี้ยังทนไหวนะ อีกหน่อยคงทนไม่ไหวคงหนีเหมือนกัน หาตัวท่านไม่เจอ เจอเวลาท่านเข้าไปเทศน์ในกรุงเทพฯ บ้าง อะไรบ้าง คนเยอะๆ คน หลายร้อย คนเป็นพันเลยเข้าไม่ถึง ไม่เจอท่านนาน หลายปีไม่เจอ จนก่อนหลวงพ่อพุธจะมรณภาพไม่นาน ท่านไปเทศน์ที่องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หลวงพ่อ ยังทำงานอยู่องค์การโทรศัพท์ ไปนั่งฟังเทศน์ คนก็เต็มห้องนะ 100 คนได้ ค่อยน้อยหน่อย ท่านเทศน์จบก็คลานเข้าไปกราบท่าน 'หลวงพ่อ ผมไม่เจอหลวงพ่อนานแล้ว' ท่านบอกว่า ท่านจำได้นักปฏิบัติมีไม่มากหรอก บอก 'หลวงพ่อผมยังทำลายผู้รู้ไม่ได้เลย' โห คราวนี้นะธรรมท่านเปลี่ยนฉับพลันเลย ที่เทศน์ๆ ธรรมดา เทศน์เสร็จแล้ว พอบอกว่าผมทำลายผู้รู้ไม่ได้เลย ท่านห้าวหาญเลยพูดขึ้นมา 'จิตผู้รู้เหมือนฟองไข่ เมื่อลูกไก่นั้นนะเติบโตเต็มที่แล้ว มันจะเจาะทำลายเปลือกออกมาเอง' พอฟังท่านแล้ว โอ้ สะใจ รู้เลยธรรมของ ท่านระดับไหน เสร็จแล้วก็ลงมา กราบท่านแล้วลงมา ตอนท่านมาขึ้นรถกลับนะ ยืนอยู่ข้างถนน มาไหว้ท่านนะ ท่านก็ไขกระจกออกมาให้เราไหว้ นั่นเห็นกันครั้งสุดท้ายไม่นานก็มรณภาพ ครูบาอาจารย์ท่านไม่ได้เรียนปริยัติมาก นัก ท่านก็พูดตามที่ท่านพบท่านเห็นนะ ท่านว่า 'มันมีการทำลายจิตผู้รู้' ระหว่างทางปฏิบัตินั้นเราไปสร้างจิตผู้รู้ขึ้น เพื่อเป็นคนรู้ เห็นรูป นาม กาย ใจ เคลื่อนไหว ทำงานไปนะ แท้จริงการทำลายจิตผู้รู้ก็คือความรู้แจ้งในอริยสัจนั่นเองนะว่าจิตนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ แล้วหมดความยึดถือจิต นี้สำนวนท่านบอกว่าทำลายผู้รู้ ที่จริงก็คือไม่ยึดถือจิตนั่นแหละ เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิต จนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ จิตที่เหลือมันจะเป็นกิริยา จะไม่ใช่เป็นตัวผู้รู้อีกแล้ว

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องกะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว

วิธีระงับข้อพิพาทและวิวาทะกะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว

ฤกษ์ดี ยามดี เวลาดี มงคลดี ขณะดีดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์เหล่าใดประพฤติสุจริตด้วยกาย ประพฤติสุจริตด้วยวาจา ประพฤติสุจริตด้วยใจ ในเวลาเช้า เวลาเช้าก็เป็นเวลา เช้าที่ดีของสัตว์เหล่านั้น สัตว์เหล่าใดประพฤติสุจริตด้วยกาย ประพฤติสุจริตด้วย วาจา ประพฤติสุจริตด้วยใจ ในเวลาเที่ยง เวลาเที่ยงก็เป็นเวลาเที่ยงที่ดีของ สัตว์เหล่านั้น สัตว์เหล่าใดประพฤติสุจริตด้วยกาย ประพฤติสุจริตด้วยวาจา ประพฤติสุจริตด้วยใจ ในเวลาเย็น เวลาเย็นก็เป็นเวลาเย็นที่ดีของสัตว์เหล่า นั้น สัตว์ทั้งหลายประพฤติชอบในเวลาใด เวลานั้นชื่อว่าเป็น ฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งดี ขณะดี ยามดี และบูชาดี ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย กายกรรมเป็นส่วนเบื้องขวา วจีกรรมเป็นส่วนเบื้องขวา มโนกรรมเป็นส่วนเบื้องขวา ความปรารถนาของท่านเป็นส่วนเบื้องขวา สัตว์ทั้งหลายทำ กรรมอันเป็นส่วนเบื้องขวาแล้ว ย่อมได้ผลประโยชน์อัน เป็นส่วนเบื้องขวา ท่านเหล่านั้นได้ประโยชน์แล้ว จงได้รับ ความสุข จงงอกงามในพระพุทธศาสนา จงไม่มีโรค ถึง ความสุข พร้อมด้วยญาติทั้งมวล

วันจันทร์ที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

เพื่อนรักเพื่อนแท้ไม่ใช่ใครกายและใจของเรานี่เองเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

เพื่อนรักเพื่อนแท้ไม่ใช่ใครกายและใจของเรานี่เองเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

คัมภีร์เล่มสุดท้ายเพื่อความหลุดพ้นจากความเชื่อและลัทธิทั้งหลายเราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน

หน้าที่เราหัดรู้สภาวะไป เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด 

วิธีดับทุกข์ทางใจการหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา

สิ่งที่มีสาระในชีวิตถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า เรามาฝึกพัฒนาสติมาฝึกพัฒนา สมาธ­ิ ให้จิตตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้รูปรู้นาม รู้กายรู้ใจ ตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นด้วยจิตที่ เป็­นกลางเรื่อยไป ปัญญาจะเกิด เมื่อปัญญาแก่รอบแล้ว จิตเค้าจะบรรลุมรรคผลนิพพานของเ­ค้าเอง เค้าเป็นเอง ไม่ใช่กูเก่งกูสั่งจิตให้บรรลุม­รรคผลได้ ไม่มีใครทำได้ หน้าที่ก็คือเปิดโอกาสให้จิตได้­เรียนรู้ความจริงของรูปนาม ด้วยการมีสติ รู้กายรู้ใจ รู้รูปรู้นาม ตามความเป็นจริง เราจะรู้ตามความเป็นจริงได้ต้อง­รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่นรู้ด้วยจิ­ตที่เป็นกลาง จับหลักให้แม่นแล้วจะไม่พล­าด

สุญญตากับฆราวาส. ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

มหาสุญญตาสูตร ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น 

วันเสาร์ที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

สิ่งที่มีสาระในชีวิต ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สาระ ๔ นี้ ฯลฯ คือ สีลสาระ สมาธิสาระ ปัญญาสาระ วิมุตติสาระ นี้แล สาระ ๔ ประการ Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา สมาธิก็เป็นสาระ(สัมมาสมาธิ) ปัญญาก็เป็นสาระ เพราะเห็นถูกตามความเป็นจริง Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา สาระคือสิ่งที่เป็นแก่น สิ่งที่เป็นประโยชน์ ประโยชน์ในที่นี้ไมได้หมายถึงการได้ รูป เสียง รส กลิ่น.... Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา วิมุตติ(การหลุดพ้น)เป็นสาระเพราะประโยชน์สูงสุดของการศึกษาพระธรรมคือ เพื่อหลุด พ้นจากกิเลส ดังนั้นวิมุตติ(การหลุดพ้น)จึงเป็นสาระ Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ขณะแห่งการบรรลุธรรม ขณะรับการแสดงธรรมจากพระศาสดาเพ­ื่อนสพรหมจารีก็บรรลุธรรม ขณะภิกษุนั้นเองแสดงธรรมก็บรรลุ­ธรรม ขณะภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่­าที่ได้สดับก็ได้บรรลุธรรม ขณะภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธร­รมเท่าที่ได้สดับก็บรรลุธรรม Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา กุศลธรรมนี่คือสาระ เพราะนำมาซึ่งประโยชน์สุขใน โลกนี้ ประโยชน์สุขในโลกหน้าและประโยชน์อย่างยิ่ง (นิพพาน) ดังนั้นจะเห็นได้ว่า สาระจึงมีหลายระดับตามระดับของกุศลธรรม Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา อานิสงส์ของสมถะ(สมาธิ)นั้นมี ๕ ประการ คือ ๑. ทำให้เข้าสมาบัติได้ เพื่อเป็นสุขในภพปัจจุบัน ๒. ทำให้เป็นบาทวิปัสสนา ๓. ทำให้เกิดโลกียอภิญญา ๕ ประการ ๔. ทำให้เกิดเป็นพรหม ๕. ทำให้เข้านิโรธสมาบัติได้ อานิสงส์ของวิปัสสนา ๑. มีสติมั่นคงไม่ตายด้วยความหลง ๒. ได้เกิดอยู่ในสุคติภูมิ (คือมนุษย์สวรรค์) ๓. ถ้าอุปนิสัยยังอ่อนอยู่ ก็จะเป็นอุปนิสัยติดขันธสันดานไ­ปในภพหน้า ๔. ถ้ามีอุปนิสัยและอินทรีย์แก่กล้­า ก็จะทำพระนิพพานให้แจ้งด้วยปัญญ­าภายใน ๗ วันหรือ ๗ เดือน หรือ ๗ ปี พระอรหันต์หรือพระอนาคามี พึงหวังได้ Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ศีลก็เป็นสาระ เพราะนำมาซึ่งประโยชน์ ความ สุข Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ขอบพระคุณครับที่ให้โอกาส Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งทั้งปวงเป็นของร้อน ก็อะไรเล่าชื่อว่าสิ่งทั้งปวงเป­็นของร้อน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย จักษุเป็นของร้อน รูปทั้งหลายเป็นของร้อน วิญญาณอาศัยจักษุเป็นของร้อน สัมผัสอาศัยจักษุเป็นของร้อน ความเสวยอารมณ์ เป็นสุข เป็นทุกข์ หรือมิใช่สุขมิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักษุสัมผัสเป็­นปัจจัย แม้นั้นก็เป็นของร้อน ร้อนเพราะอะไร? เรากล่าวว่า ร้อนเพราะไฟคือราคะ เพราะไฟคือโทสะ เพราะไฟคือโมหะ ร้อนเพราะความเกิด เพราะความแก่ และความตาย

18/10 สถานการณ์ภัยแล้งจังหวัดอุทัยธานีอาจจะเกิดสถานการณ์รุนแรง ที่จังหวัดอุทัยธานี สถานการณ์ภัยแล้งที่ส่อเค้าว่าจะทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะแม่น้ำตากแดดตั้งแต่ท้ายเขื่อนวังร่มเกล้าลงมา สภาพแม่น้ำตากแดด ซึ่งเป็นต้นน้ำของแม่น้ำสะแกกรัง อำเภอเมือง ที่มีสภาพแห้งขอดจนมองเห็นเนินทรายกลางแม่น้ำ มีน้ำขังเป็นบางช่วงบางตอนที่เกิดจากน้ำซึมบ่อทรายเท่านั้น ซึ่งบ่งบอกถึงแนวโน้มความแห้งแล้งที่จะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้นในจังหวัดอุทัยธานีอย่างหนักในปีนี้ ส่งผลให้ชาวนาที่ลงมือเพาะปลูกทำนาปรังไปในช่วงนี้ ต้องวิตกกังวลถึงผลกระทบที่จะตามมา หากไม่สามารถหาแหล่งน้ำไปหล่อเลี้ยงต้นข้าวได้ตลอดจนถึงช่วงเก็บเกี่ยว อย่างไรก็ตามชาวนาก็พยายามที่สูบน้ำที่มีหลงเหลืออยู่เข้าไปกักเก็บในแปลงนาหล่อเลี้ยงต้นข้าวประทังข้าวให้รอดตายไปในช่วงนี้ก่อน ซึ่งชาวนาได้เรียกร้องขอให้รัฐบาลได้เร่งแก้ไขปัญหาแหล่งน้ำในการทำนาอย่างถาวรต่อไป อีกด้วย

แห่ผ้าและห่มพระเจดีย์ภูเขาทองวันทา (บทขอขมา) วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย

ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

ที่พึ่งใจ เราภาวนาไปแล้วเราจะไม่ได้อะไรมา และเราจะไม่ได้เสียอะไรไป เพราะเราไม่มีอะไรอยู่ตั้งแต่้แรกแล้ว จะไม่มีอะไรเลย จิตถัดจากนั้นจะเป็นอย่างไร จิตที่ปล่อยวางจิตไปแล้ว จะมีแต่ความสุขล้วนๆ ยืนเดินนั่งนอนมีแต่ความสุขล้วนๆเลย เกิดอะไรขึ้น จิตจะไม่มีกระเพื่อมไหวเลย กลมกลืนเป็นเนื้อเดียวกับธรรมชาติ ฉะนั้นจิตกับธรรมะก็เป็นอันเดียวกัน หลอมหลวมเข้าด้วยกัน จิตที่หลอมรวมเข้ากับธรรมแล้ว จิตกับธรรมะก็เป็นอันเดียวกัน จิตอันนั้นเรียกว่า “พระสงฆ์” จิตอันนั้นเป็น “พระพุทธ-พุทธะ” พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นอันเดียวกัน

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายดูกรพราหมณ์ ท่านจงพยายามตัดกระแสตัณหาเสีย จง บรรเทากามทั้งหลายเสีย ดูกรพราหมณ์ ท่านรู้ความสิ้น ไปแห่งสังขารทั้งหลายแล้ว จะเป็นผู้รู้นิพพานอันปัจจัย อะไรๆ ปรุงแต่งไม่ได้ เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งใน ธรรมทั้ง ๒ ประการ เมื่อนั้น กิเลสเป็นเครื่องประกอบทั้ง ปวงของพราหมณ์นั้นผู้รู้แจ้ง ย่อมถึงความสาบสูญไป ฝั่งก็ดี ธรรมชาติมิใช่ฝั่งก็ดี ฝั่งและธรรมชาติมิใช่ฝั่ง ย่อมไม่มีแก่ผู้ ใด เรากล่าวผู้นั้นซึ่งมีความกระวนกระวายไปปราศแล้ว ผู้ไม่ ประกอบแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้เพ่งฌาน ปราศจากธุลี นั่งอยู่ผู้เดียว ทำกิจเสร็จแล้ว ไม่มีอาสวะ บรรลุประโยชน์อันสูงสุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ พระอาทิตย์ ย่อมส่องแสงสว่างในกลางวัน พระจันทร์ย่อมส่องแสงสว่าง ในกลางคืน กษัตริย์ทรงผูกสอดเครื่องครบย่อมมีสง่า พราหมณ์ผู้เพ่งฌานย่อมรุ่งเรือง ส่วนพระพุทธเจ้าย่อมรุ่งเรือง ด้วยพระเดชตลอดวันและคืนทั้งสิ้น บุคคลผู้มีบาปอันลอย แล้วแล เรากล่าวว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลว่า เป็นสมณะเพราะประพฤติสงบ บุคคลผู้ขับไล่มลทินของ ตน เรากล่าวว่าเป็นบรรพชิต เพราะการขับไล่นั้น พราหมณ์ ไม่พึงประหารพราหมณ์ พราหมณ์ไม่พึงปล่อยเวรแก่พราหมณ์ นั้น เราติเตียนบุคคลผู้ประหารพราหมณ์ เราติเตียนบุคคล ผู้ปล่อยเวรแก่พราหมณ์ กว่าบุคคลผู้ประหารนั้น การ เกียจกันใจจากสิ่งอันเป็นที่รักทั้งหลาย ของพราหมณ์ เป็น คุณประเสริฐหาน้อยไม่ ใจประกอบด้วยความเบียดเบียน ย่อมกลับจากวัตถุใดๆ ทุกข์ย่อมสงบได้หมดจากวัตถุนั้นๆ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่มีกรรมชั่วทางกาย วาจา ใจ ผู้สำรวม แล้วจากฐานะทั้ง ๓ ว่าเป็นพราหมณ์ บุคคลพึงรู้แจ้งธรรม อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้วจากบุคคลใด พึง นอบน้อมบุคคลนั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นอบน้อม การบูชาไฟ ฉะนั้น บุคคลชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะการ เกล้าชฎา เพราะโคตร เพราะชาติหามิได้ สัจจะและธรรมะ มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นเป็นผู้สะอาดอยู่ ผู้นั้นเป็นพราหมณ์ ด้วย ดูกรท่านผู้มีปัญญาทราม จะมีประโยชน์อะไรด้วย การเกล้าชฎาแก่ท่าน จะมีประโยชน์อะไร ด้วยผ้าสาฎก ที่ทำด้วยหนังชะมดแก่ท่าน ภายในของท่านรกชัฏ ท่าน ย่อมขัดสีแต่อวัยวะภายนอก เรากล่าวบุคคลผู้ทรงผ้าบังสุกุล ซูบผอม สะพรั่งไปด้วยเส้นเอ็น ผู้เดียวเพ่ง (ฌาน) อยู่ในป่านั้น ว่าเป็นพราหมณ์ ก็เราไม่กล่าวผู้ที่เกิดแต่ กำเนิด ผู้มีมารดาเป็นแดนเกิด ว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้น เป็นผู้ชื่อว่าโภวาที (ผู้กล่าวว่าท่านผู้เจริญ) ผู้นั้นแลเป็นผู้มี กิเลสเครื่องกังวล เรากล่าวบุคคลผู้ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล ผู้ไม่ถือมั่นนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ตัดสังโยชน์ ทั้งหมดได้ ไม่สะดุ้ง ผู้ล่วงกิเลสเป็นเครื่องข้อง ไม่ ประกอบแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ตัด ความโกรธดุจชะเนาะ ตัดตัณหาดุจหนังหัวเกวียน และ ตัดทิฐิดุจเงื่อนพร้อมทั้งอนุสัยดุจสายเสียได้ ผู้มีอวิชชาดุจ ลิ่มสลักอันถอนแล้ว ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ไม่ประทุษร้าย อดกลั้นได้ซึ่งการด่า การทุบตีและ การจองจำ ผู้มีกำลัง คือ ขันติ ผู้มีหมู่พลเมืองคือขันติ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่โกรธ มีวัตร มีศีล ไม่มีกิเลสเครื่องฟูขึ้น ฝึกตนแล้ว มีร่างกายตั้งอยู่ในที่ สุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่ติดในกามทั้งหลาย ดุจน้ำไม่ติดอยู่ในใบบัว ดังเมล็ดพันธุ์ผักกาดไม่ติดอยู่บน ปลายเหล็กแหลมนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่รู้ แจ้งความสิ้นทุกข์ของตนในธรรมวินัยนี้ มีภาระอันปลงแล้ว พรากแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้มีปัญญา ลึกซึ้ง เป็นนักปราชญ์ ผู้ฉลาดในมรรคและมิใช่มรรค ผู้ บรรลุประโยชน์อันสูงสุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคน ๒ พวก คือ คฤหัสถ์และบรรพชิต ผู้ไม่มีความอาลัยเที่ยวไป ผู้มีความปรารถนาน้อยนั้น ว่าเป็น พราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่วางอาชญาในสัตว์ทั้งหลาย ผู้ที่สะดุ้ง และมั่นคง ไม่ฆ่าเอง ไม่ใช้ผู้อื่นให้ฆ่า ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่ผิดในผู้ผิด ผู้ดับเสียในผู้ที่มีอาชญาใน ตน ผู้ไม่ยึดถือในขันธ์ที่ยังมีความยึดถือนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ทำราคะ โทสะ มานะ และมักขะให้ตกไป ดุจเมล็ดพันธุ์ผักกาดที่เขาให้ตกไปจากปลายเหล็กแหลม นั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้เปล่งวาจาไม่หยาบ คาย อันเป็นเหตุให้ผู้อื่นรู้แจ่มแจ้งกันได้ เป็นคำจริง ผู้ไม่ ทำใครๆ ให้ขัดใจกันนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าว ผู้ที่ไม่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ในโลกนี้ ยาวก็ตาม สั้น ก็ตาม น้อยก็ตาม มากก็ตาม งามก็ตาม ไม่งามก็ตาม ว่า เป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ไม่มีความหวังในโลกนี้และในโลก หน้า ไม่มีตัณหา ไม่ประกอบด้วยกิเลส ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่มีความอาลัย ไม่เคลือบแคลงสงสัยเพราะรู้ ทั่ว หยั่งลงสู่อมตะ บรรลุโดยลำดับ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละทิ้งบุญและบาปทั้งสอง ล่วงกิเลสเครื่องขัดข้อง ในโลกนี้ ผู้ไม่มีความโศก ปราศจากธุลี บริสุทธิ์ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่มีความเพลิดเพลินในภพสิ้น แล้ว ผู้บริสุทธิ์ มีจิตผ่องใส ไม่ขุ่นมัว เหมือนพระจันทร์ ปราศจากมลทินนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ล่วงทาง ลื่น ทางที่ไปได้ยาก สงสาร และโมหะนี้เสียได้ เป็น ผู้ข้ามแล้ว ถึงฝั่ง เพ่ง (ฌาน) ไม่หวั่นไหว ไม่มีความ เคลือบแคลงสงสัย ดับแล้วเพราะไม่ถือมั่น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละกามทั้งหลายในโลกนี้ เป็นผู้ไม่มีเรือน งดเว้น เสียได้ มีกามและภพหมดสิ้นแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละตัณหาในโลกนี้ได้แล้ว ภพหมดสิ้นแล้ว ว่าเป็น พราหมณ์ เรากล่าวผู้ละโยคะของมนุษย์ ล่วงโยคะอันเป็น ทิพย์ พรากแล้วจากโยคะทั้งปวง ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ละความยินดี และความไม่ยินดีได้ เป็นผู้เย็น ไม่มีกิเลสเป็นเหตุเข้าไปทรงไว้ ครอบงำเสียซึ่งโลกทั้งปวง ผู้แกล้วกล้า ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้รู้จุติและอุบัติ ของสัตว์ทั้งหลาย โดยประการทั้งปวง ผู้ไม่ข้องอยู่ ไปดี ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่เทวดา คน ธรรพ์และมนุษย์รู้คติของเขาไม่ได้ มีอาสวะสิ้นแล้ว เป็น พระอรหันต์ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่มีกิเลส เครื่องกังวลในขันธ์ที่เป็นอดีต ในขันธ์ที่เป็นอนาคต และ ในขันธ์ที่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความกังวล ไม่มีความยึดถือ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้องอาจ ประเสริฐ แกล้ว กล้า แสวงหาคุณอันใหญ่ ชนะเสร็จแล้ว ไม่หวั่น ไหว ล้างกิเลส ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ที่รู้ปุพเพนิวาส เห็นสวรรค์และอบาย และได้ถึง ความสิ้นไปแห่งชาติ อยู่จบพรหมจรรย์เพราะรู้ยิ่ง เป็นมุนี อยู่จบพรหมจรรย์ทั้งปวงแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ ฯ

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น

พิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพานถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ... มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ ... เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น

พิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพาน ถ้าเดินทางเสียแต่วันนี้นะ ข้างหน้าก็ถึง ถ้าวันนี้ไม่เริ่มต้นนะ ข้างหน้าไปไม่ได้หรอก ลงได้ยินธรรมะเกี่ยวกับการเจริญสติจนถึงขนาดนี้แล้วยังไม่ทำเนี่ย จะทำเมื่อไหร่ ไม่เริ่มวันนี้ จะเริ่มเมื่อไหร่ รอให้แก่รึ รอให้ตายรึ หรือจะไปเริ่มชาติหน้า หรือจะรอพระศรีอาริย์ ถ้านิสัยสันดานขี้เกียจขี้คร้าน ไปเจอพระศรีอาริย์ก็ยิ่งขี้เกียจกว่านี้อีก เพราะสะสมนิสัยไม่ดีไปนะ เพราะฉะนั้นต้องฝึกนะ หัดเจริญสติตั้งแต่วันนี้เลย ไม่ใช่เรื่องเหลือวิสัยที่มนุษย์คนหนึ่งจะทำได้

ขั้นสุดท้ายจะลงมาที่จิต

ขั้นสุดท้ายจะลงมาที่จิต

ยืนเดินนั่งนอนกินดื่มทำพูดคิดให้มีสติรู้ทันจิตขณิกสมาธิ วิธีฝึกนะ พวกเรา เบื้องต้นทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้ทำเพื่อจะเข้าฌาน ทำเพื่อเป็นเครื่องอยู่ของจิตเท่านั้นเอง หัดพุทโธไปก็ได้ หัดรู้ลมหายใจไปก็ได้ หัดดูท้องพองยุบไปก็ได้ ทำกรรมฐานอะไรก็ได้ แต่ไม่ได้ทำเพื่อน้อมจิตไปอยู่กับอารมณ์อันนั้น ถ้าน้อมจิตไปอยู่ที่อารมณ์อันนั้นจะเป็นสมาธิชนิดที่ ๑ (ดู วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่น (๑/๓)) คือสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว เรียกว่า อารัมณูปนิชฌาน ถ้าทำกรรมฐานขึ้นอย่างหนึ่งแล้วรู้ทันจิต จิตไหลไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปเพ่งอารมณ์กรรมฐานอันนั้นก็รู้ทัน จิตมันเคลื่อนตลอดนะ เคลื่อนไปคิดก็ได้ เคลื่อนไปเพ่งก็ได้ ถ้าเรารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะเลิกเคลื่อน เพราะจิตที่เคลื่อนเป็นจิตฟุ้งซ่าน ทันที่สติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตจะไม่ฟุ้งซ่าน จิตก็จะตั้งมั่นอยู่กับฐาน เพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา รู้ลมหายใจอยู่ จิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจ รู้ว่าจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจแล้ว จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา ถ้ารู้ทันว่าจิตไหลไปนะ จิตจะตั้งมั่น เพราะฉะนั้นเบื้องต้นจะต้องทำกรรมฐานอย่างหนึ่งเสียก่อนนะ ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทัน เดี๋ยวก็ไหลไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ดูไม่ทันหรอก เพราะฉะนั้นเบื้องต้นทำกรรมฐานขึ้นมาสักอย่างหนึ่งก่อน พุทโธก็ได้ หายใจก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิตไป จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตไปเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวก็รู้นะ จิตเคลื่อนไปเมื่อไหร่ให้รู้ทัน ถ้ารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยไม่ได้เจตนาให้ตั้ง มันตั้งของมันเอง หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมเมื่อวันอาทิตย์ที่ ๓๐ เดือนพฤษภาคม พ.ศ.๒๕๕๓ CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๙ File: 560209A ระหว่างนาทีที่ ๒๘ วินาทีที่ ๔๙ ถึงนาทีที่ ๓๑ วินาทีที่ ๓๖ ชี้แจงการรับกิจนิมนต์ของหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช ที่นี่ สมัครเป็นสมาชิกเพื่อรับแจ้งข่าวสารและธรรมะทุกวันจาก Dhammada.net ได้ที่นี่

สิ่งที่ใครใครไม่อาจจะชนะได้ ยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

สิ่งที่ใครใครไม่อาจจะชนะได้ ยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น ยถาปิ ปุปฺผราสิมฺหา กยิรา มาลาคุเณ พหู เอวํ ชาเตน มจฺเจน กตฺตพฺพํ กุสลํ พหุฯ ช่างดอกไม้ ย่อมร้อยพวงดอกไม้ จากกองดอกไม้ให้มากได้ฉันใด บุคคลผู้เกิดมาแล้วจำต้องตาย ควรทำกุศลให้มากแม้ฉันนั้น

ยากเหลือเกินที่จะหลอกกิเลสได้เพราะกิเลสอยู่ในใจเราเราคิดอะไรกิเลสรู้หมดเ...

ถ้าเรารู้ทันจิตคิดเราจะหลุดจากโลกของความคิดพอฝันเรารู้ว่าฝันเราจะหยุดฝันงงล่ะซิงง มันไม่มีในตำราถึงได้งง : มันเป็นธรรมของครูบาอาจารย์ ท่านจะบอกโดยนัยว่า จิตหรือตัวผู้รู้ก็เป็นสังขาร มีลักษณะไตรลักษณ์ คำว่า ทำลายไม่ได้หมายถึง การเข้าไปให้พินาจหรือหายไป เพียงแต่ให้รู้ด้วยปัญญาว่า แม้กระทั้งตัวผู้รู้หรือจิต เมื่อมันเกิด ขึ้นตั้งอยู่แล้วก็ดับไปเหมือนสังขารอื่นๆเช่นกัน

จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับงงล่ะซิงง มันไม่มีในตำราถึงได้งง :: มันเป็นธรรมของครูบาอาจารย์ ท่านจะบอกโดยนัยว่า จิตหรือตัวผู้รู้ก็เป็นสังขาร มีลักษณะไตรลักษณ์ คำว่า ทำลายไม่ได้หมายถึง การเข้าไปให้พินาจหรือหายไป เพียงแต่ให้รู้ด้วยปัญญาว่า แม้กระทั้งตัวผู้รู้หรือจิต เมื่อมันเกิด ขึ้นตั้งอยู่แล้วก็ดับไปเหมือนสังขารอื่นๆเช่นกัน