วันอังคารที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2563

มรรคจิต ผลจิตสถานที่ตรัสรู้ มรรคจิต ผลจิต การดู 142 ครั้ง•28 ก.ย. 2018 2 0 แชร์ บันทึก Sompong Tungmepol ผู้ติดตาม 9.44 หมื่น คน #การที่เราแต่ละคนๆนะจะบรรลุพระโสดาบันบรรลุพระสกทาคามีอนาคามีบรรลุพระอรหันต์ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลยเราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนามเห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะจนจิตมันเป็นกลางจิตมันเป็นกลางแล้วถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค #ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผลถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็นกลางต่อรูปนามต่อความปรุงแต่งได้ด้วยปัญญายังไกลกับมรรคผลอยู่ #อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติเป็นกลางด้วยสมาธิยังไกลต่อมรรคผลอยู่แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะตรงที่ตั้งมั่นและเป็นกลางเป็นกลางด้วยสมาธิเป็นกลางด้วยสติด้วยสมาธิในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวเท่าๆกันหมดเลยตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญาจิตจะหมดความดิ้นรนหมดความปรุงแต่งหมดการแสวงหาหมดกิริยาอาการทั้งหลาย #จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพานบางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรคแต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขาแล้วจิตถอยออกมาอีกเสื่อมไปเลยก็ได้บางคนไปอยู่ตรงนี้นะแล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดาก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯพระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอกเดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอยไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะรู้เป้าหมายของเราเราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเองจนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวงเช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

สถานที่ตรัสรู้

มรรคจิต ผลจิต

การดู 142 ครั้ง
28 ก.ย. 2018
ผู้ติดตาม 9.44 หมื่น คน
ติดตามแล้ว
#การที่เราแต่ละคนๆนะจะบรรลุพระโสดาบันบรรลุพระสกทาคามีอนาคามีบรรลุพระอรหันต์ก็เดินอยู่ในร่องรอยอันเดียวกันทั้งหมดเลยเราต้องมาเห็นความเป็นจริงของรูปของนามเห็นซ้ำแล้วซ้ำอีกนะจนจิตมันเป็นกลางจิตมันเป็นกลางแล้วถึงจะมีโอกาสเกิดอริยมรรค
#ความเป็นกลางต่อสังขารนี่นะความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผลถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็นกลางต่อรูปนามต่อความปรุงแต่งได้ด้วยปัญญายังไกลกับมรรคผลอยู่ #อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติเป็นกลางด้วยสมาธิยังไกลต่อมรรคผลอยู่แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะตรงที่ตั้งมั่นและเป็นกลางเป็นกลางด้วยสมาธิเป็นกลางด้วยสติด้วยสมาธิในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวเท่าๆกันหมดเลยตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลา­งด้วยปัญญาจิตจะหมดความดิ้นรนหมดความปรุงแต่งหมดการแสวงหาหมดกิริยาอาการทั้งหลาย
#จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพานบางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรคแต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขาแล้วจิตถอยออกมาอีกเสื่อมไปเลยก็ได้บางคนไปอยู่ตรงนี้นะแล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดาก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯพระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอกเดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอยไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะรู้เป้าหมายของเราเราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเองจนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวงเช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า
ตรงคำสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว ท่านสอนบอกว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ เป็นทุกข์ล้วนๆนะ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง พวกเราแค่เห็นร่างกาย ก็ยังเห็นว่าร่างกายเราทุกข์บ้างสุขบ้างเล­­ย อย่าว่าแต่จิตใจเลย จิตใจยังไงก็ยังเห็นว่าทุกข์บ้างสุขบ้าง สุขทุกข์ของเราอยู่ที่ว่า ได้อย่างที่อยากมั้ย ถ้าไม่ได้อย่างที่อยากก็ทุกข์ ถ้าได้อย่างที่อยากก็ไม่ทุกข์ เพราะฉะนั้นทุกข์ของเราที่พวกเรารู้จัก นี่คือทุกข์จากความไม่สมอยาก ส่วนทุกข์ของพระอนาคามีที่ท่านรู้เนี่ย ทุกข์เพราะความอยาก เห็นว่าถ้าอยากแล้วทุกข์นะ ของเราเห็นได้แค่ว่า ถ้าไม่สมอยากแล้วทุกข์ พระอนาคามีเห็นว่า แค่มีความอยากก็ทุกข์แล้ว ก็ยังมีสองอย่าง มีทุกข์กับสุข ถ้าอยากหรือไม่อยาก ถ้าปัญญาเห็นแจ้งจริงๆเลย มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จะอยากหรือไม่อยากก็ทุกข์แล้ว ทุกข์ไม่ใช่อยู่ที่อยากแล้ว ทุกข์อยู่ที่ตัวขันธ์เองแหละเป็นตัวทุกข์ อย่างนี้เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว จิตจะปล่อยวางลง ปล่อยวางจิต ทีนี้บางท่านก็เห็นว่าจิตนี้เป็นสุญญตา เป็นความว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ไม่เกี่ยวอะไรกับเรา คืน ยอมคืน ยอมสลัดคืนให้กับโลกเขาไป พวกนี้เรียกว่าสุญญตวิโมกข์ พวกปัญญากล้า หลุดพ้นด้วยการเห็นจิตใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ปลดปล่อยออกไปแล้ววางออกไป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น