วันจันทร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2559

เราจะ ก้าวข้าม ยุคสมัย ร่วมกันคลื่นลูกที่สาม (THE THIRD WAVE) : คลื่นลูกที่สาม (THE THIRD WAVE) อัลวิน ทอฟเลอร์ คลื่นลูกที่สาม : Company Logo www.themegallery.com คลื่นลูกที่สาม คลื่นลูกที่หนึ่ง (First Wave) : คลื่นลูกที่หนึ่ง (First Wave) คลื่นลูกที่หนึ่ง (First Wave) เป็นช่วงเวลาที่สังคมมนุษย์ปฏิวัติระบบ เศรษฐกิจด้วยการรู้จักการทำ “เกษตรกรรม” ซึ่งการที่มนุษย์รู้จักการทำ กสิกรรม ปลูกพืชเป็นไร่ เลี้ยงสัตว์เป็นฟาร์ม สิ่งที่ขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจ ของประเทศนั้นๆ จะขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่แปลงเกษตร การครอบครองพื้นที่ การทำฟาร์ม ปริมาณผลผลิตที่ได้จากการปศุสัตว์และการเกษตรกรรม สิ่งเหล่านี้ ทำให้ระบบเศรษฐกิจของชาตินั้นๆ เติบโตแข็งแกร่ง คลื่นลูกที่สอง (Second Wave) : คลื่นลูกที่สอง (Second Wave) คลื่นลูกที่สอง (Second Wave) สังคมมนุษย์ปฏิวัติระบบเศรษฐกิจด้วย “อุตสาหกรรม” ในช่วงเวลาปี 1650-1750 มนุษย์รู้จักการใช้เครื่องมือ (Machines) การทำสายการผลิต (Production line) สามารถผลิตสินค้าที่มีคุณภาพเหมือนกันจำนวนมากๆ ได้และมีคุณภาพเหมือนกัน (Quality control) และสามารถผลิตจำหน่ายจำนวนมากๆ ได้ (Mass Production) สิ่งที่ขับเคลื่อนการเติบโต ของเศรษฐกิจประเทศใดๆ นั้น ขึ้นอยู่กับการทำ Mass Production ควบคุมมาตรฐานในการผลิตสินค้าจำนวนมากๆ ได้และผลิตจำนวนมากได้ คลื่นลูกที่สาม (Third Wave) : คลื่นลูกที่สาม (Third Wave) คลื่นลูกที่สาม (Third Wave) เป็นการเปลี่ยนแปลงของสังคมมนุษย์ด้วยการปฏิวัติ ข้อมูลข่าวสาร ซึ่งได้เริ่มต้นราวๆ ปี 1955 ด้วย เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเครือข่ายโทรคมนาคม จนกลายเป็นระบบเศรษฐกิจใหม่ (New Economy) ดังในโลกยุคปัจจุบันที่เรียกกันทั่วไปว่า เป็นคลื่นลูกที่สาม (Third Wave) หรือการปฏิวัติ “การสื่อสารโทรคมนาคม” หรือยุคโลกาภิวัฒน์ สิ่งที่เป็นตัวขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจของประเทศใด ให้มีความมั่งคั่งเจริญรุ่งเรืองจะขึ้นอยู่กับการมี “เครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพสูง” (High Performance Network) เครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูงจะสร้างให้เกิดความเจริญก้าวหน้าของประเทศในทุกด้าน คลื่นลูกที่สี่ : คลื่นลูกที่สี่ ตอนนี้โลกกำลังจะก้าวเข้าสู่ยุคที่สี่แล้ว บางคนบอกว่ายุคนี้จะเป็นยุค KM (Knowledge Management) คนที่สามารถคัดเลือก information ที่ดี เป็นจริง มาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าก็มีโอกาสพัฒนามากกว่า สังคมจะมีการป้อนข้อมูลที่เร็วขึ้นๆ การปิดกั้นหรือเลือกเปิดเผยเฉพาะข้อมูลที่ต้องการเท่านั้นจะหายไป ฉะนั้นพวกเราเตรียมตัวที่จะรับการเปลี่ยนแปลงหรือยัง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น