วันเสาร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2560

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธอิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol การตั้งค่าช่อง เพิ่มลงใน แชร์ เพิ่มเติม ดู 417 ครั้ง 11 0 เผยแพร่เมื่อ 15 พ.ค. 2017 หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "สังขารุเบกขาญาณ" สังขารุเบกขาญาณ ญาณ แปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขา เป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่าสังขาร ร่างกายก็เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็เป็นสังขาร อะไรๆ ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป เราจะเห็นเลย ร่างกายที่หายใจออกก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่วคราว ความสุขก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวไหม มีไหม สุขถาวรมีไหม ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ใครทุกข์ถาวร ไม่มี นี่เรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ เราจะเห็นเลย สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามันเกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาแล้ว เป็นกลางนี่เกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า ก็กัดฟัน ไม่โกรธเลย ไม่โกรธเลยนะ บอกเป็นกลางเพราะกดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก เป็นกลางด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างหนึ่ง เป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมา เราเห็นเลยใจมันโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัตินี่ เราเห็นว่าใจเราโมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจเกิดยินร้าย ไม่ชอบความโกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี อย่างนี้จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา แล้วมันจะเห็นเลยว่า ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธ หลง อะไรต่ออะไรก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่ จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญาขึ้นมา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแล้ว เพราะมันรู้แล้วว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มันไม่หลงระเริงเลยนะ ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นไหมพอมันเห็นว่าทุกอย่าง เป็นของชั่วคราวนี่ ใจจะหมดความดิ้นรน นี่เรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู หมวดหมู่ การศึกษา สัญญาอนุญาต สัญญาอนุญาตมาตรฐานของ YouTube แสดงน้อยลง ความคิดเห็น • 11 Sompong Tungmepol เพิ่มความคิดเห็นสาธารณะ... ความคิดเห็นยอดนิยม Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 สัปดาห์ที่ผ่านมา ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิดขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”ดถึงพระพุทธเจ้าดีกว่าครับ "โรครักความเป็นพระพุทธเจ้า" แต่ก็ดี..โรครักความเป็นพระพุทธเจ้านี้ ก็ เป็นปัจจัยให้พวกเราไม่ต้องลงอบายภูมิกันมากว่า พันชาติเศษแล้ว นี้เราก็ขี้เกียจตกนรกกันมานาน แล้วนะ ใครจะขยันชาตินี้ก็ตาม ใครไปบ้างล่ะ เดี๋ยวต้องถามท่านเจ้าเมืองปาตลีบุตร ท่านจะพา ใครไปมั่ง.เราสามารถที่จะบริกรรมภาวนาพุทโธๆ ไว้ทุกขณะจิตทุกลมหายใจ ... จิตอยู่กับพุทโธ ตลอดเวลาเมื่อพุทโธเข้าไป ถึงใจแล้วถึงจิตแล้ว จิตจะกลายเป็นผู้รู้ ... ให้กำหนดรู้จิตของเราอย่างเดียว อย่าไปเอะใจ อย่าไปตกใจ อย่าไปตื่นใจ ..ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้น­­กายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเร­­ื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลร­­ูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจ­ิ­ตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข­­้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในท­­ุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่­­ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตท­­ี่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภ­­ูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที­­่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร แสดงน้อยลง ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 เดือนที่ผ่านมา กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ ที่ให้โอกาส เห็นร่างกายมันเต็มไปด้วยความทุกข์ ตัวจิตเอง พอมีสติถี่ๆขึ้นมานะ เห็นทุกอย่างหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มันไม่ใช่สุขบ้างทุกข์บ้างแล้วนะ มันจะกลายเป็นทุกข์ล้วนๆเลย ทุกอย่างเกิดขึ้นมาแล้วก็บีบคั้นทั้งนั้นเลย เป็นความบีบคั้นทั้งสิ้น เป็นทุกข์ทั้งสิ้นเลย เนี่ยเห็นอย่างนี้นะ เห็นมาก มากๆเข้า ถึงจุดหนึ่งนะ มันไม่รู้จะไปทางไหนแล้ว จนมุมเลย จะไปอยู่ตามวัดภาวนา หวังว่าจะมีความสุข ก็ไม่มี เพราะว่าไปที่ไหนนะ ก็เอากายเอาใจไปด้วย กายกับใจมันตัวทุกข์น่ะ ไปไหนก็เอาทุกข์ไปด้วย เพราะฉะนั้นไม่มีที่หนีเลย เข้าสมาธินะ เข้าไปลึกเลย สบายๆ เผลอๆ เพลินๆ นะ เข้าไม่นานนะ สติปัญญาทำงานขึ้นมา มันถอนออกมา เห็นเลย สมาธิก็เป็นภพอีกอันหนึ่ง ไปเข้าฌานอยู่ เป็นภพอีกอันหนึ่ง ก็ทุกข์อีกนะ อยู่ได้ชั่วคราวก็ถอนออกมาอีกแล้ว เนี่ยฝึกจนกระทั่ง ครูบาอาจารย์ท่านใช้คำบอกว่า สามแดนโลกธาตุเนี่ย หาที่จะหยั่งเท้าลงไปด้วยความสุขไม่ได้เลย แล้วทำอย่างไร ทำอย่างไรดี จึงจะพ้นจากความทุกข์ ไม่มีทางทำเลย ขอเลิกไม่ดูได้มั้ย เลิกก็ไม่ได้อีก สติปัญญามันอัตโนมัตินะ หมุนจี๋อยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืนนะ เห็นจิตหมุนติ้วๆๆ จับอารมณ์โน้น จับอารมณ์นี้ ตลอดเวลาเลยนะ เดี๋ยวเหวี่ยงไปที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นะ หมุนจี๋ๆๆอยู่ ข้างในก็หมุนอยู่ตลอด มีแต่ทุกข์ล้วนๆเกิดขึ้นเลย นี่เห็นอย่างนี้จนถึงจุดหนึ่งที่จิตมันพอนะ จิตมันจนมุมแล้ว มันไม่รู้จะหาทางออกยังไงอีกต่อไปแล้ว เพราะว่า ไม่ว่าทำอะไรก็ทุกข์หมดเลย ไม่มีทางหนีจากความทุกข์ได้เลย พอจิตยอมจำนนกับความทุกข์ จิตยอมรับความจริง เรียกว่าคล้อยตามความจริงแล้วว่า กายนี้ใจนี้มีแต่ทุกข์ล้วนๆ นี่เรียกว่าจิตคล้อยตามอริยสัจจ์แล้วล่ะ คล้อยตามความจริงนะ จิตก็หมดความดิ้นรนเลย เพราะจิตมันหมดความดิ้นรนนะ มันยอมรับความจริงแล้ว มีแต่ทุกข์ล้วนๆ นอกจากทุกข์ไม่มีอะไรเกิดขึ้น ไม่มีอะไรตั้งอยู่ ไม่มีอะไรดับไป มีแต่ทุกข์ล้วนๆ จิตยอมรับความจริงแล้วจิตจะสลัดตัวเองออกจากกองทุกข์ ตรงนี้มันสลัดของมันเอง มันจะพ้นออกไปเอง เป็นเรื่องที่แปลกเป็นเรื่องที่อัศจรรย์นะ เราดิ้นรนหาทางพ้นทุกข์แทบตายก็ไม่พ้นหรอก แต่ว่าพอจิตมันเอียนทุกข์เต็มที่นะ มันรู้เต็มที่แล้ว จนกระทั่งมันรู้ว่าไม่มีทางหนีแล้ว มันยอมจำนนกับความทุกข์แล้ว หมดดสติหมดปัญญาที่จะแก้ไขให้พ้นจากความทุกข์แล้ว แบบหลังชนกำแพง ถูกผู้ร้าย ๕ ตัว ถือมีดมาไล่จิ้มเอาๆ ๕ ตัวคือมารทั้ง ๕ ตัว ไล่จิ้มเอาๆ หลังชนกำแพง รอบนี้ตายแน่ อย่างนี้จิตถึงจะยอมปล่อยวาง โอ้… กายนี้ใจนี้มีแต่ทุกข์ล้วนๆ บีบคั้นอยู่ตลอดเวลา เอาไว้ก็ไม่มีประโยชน์อะไรนะ หนีมันก็ไม่ได้ เห็นมั้ยเอาไว้ก็ไม่ดีใช่มั้ย หนีไปก็ไม่ได้ เนี่ยจิตยอมรับตรงนี้ จิตเป็นกลางเลย ยอมรับความจริง จิตจะเป็นกลางแล้วยอมรับความเป็นจริง กายนี้ใจนี้ทุกข์นะ ยอมรับมัน ความจริง รู้เลย หนีก็ไม่ได้นะ สู้ก็ไม่ได้ ทำอย่างไรก็ไม่ได้ ทำอย่างไรก็ไม่พ้น ตรงนี้แหละที่จิตจะสลัดคืนกายคืนใจให้โลกไป เป็นภาวะที่พวกเรานึกไม่ถึงน่ะ คิดด้วยคำพูดไม่ได้ นึกเอาไม่ได้ ต้องฝึกเอา เราจะรู้เลยความพ้นทุกข์มีจริง มันสว่าง มันผ่องใสนะ มันมีอวิชาซ่อนอยู่ ถ้าหยาบๆขึ้นมานะ ไม่ใช่อวิชาแล้ว ตื้น กลายเป็นกิเลสหยาบๆแล้ว ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้­เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง ถ้าเห็นตัวผู้รู้เป็นตัวทุกข์ ก็เรียกว่ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้ว ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไหร่นะ ก็หมดความยึดถือจิต มันจะสลัดคืนจิตให้โลกไปเลย จะสลัดคืนตัวรู้ คืนตัวรู้ให้โลกไป พอสลัดตัวรู้ทิ้ง ตัณหาจะไม่เกิดอีก ทันที่รู้แจ้งทุกข์นะ มันจะสลัดตัวทุกข์ออกไป พอรู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วมันจะสลัดทิ้งเอง สลัดคืน เรียกว่าสลัดคืน ปฏินิสสัคคะสลัดคืนจริงๆ คืนโลก เนี่ยคำแต่ละคำในพระไตรปิฎก ในตำรับตำรานะ ตรงเป๊ะๆเลย เห็นทุกข์แจ่มแจ้ง เห็นตัวจิตผู้รู้นี้แหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ตัวดีตัววิเศษหรอก ก็สลัดคืนตัวผู้รู้ให้โลกไป ในขณะนั้นละสมุทัยเรียบร้อยแล้ว ความอยากจะไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว รู้ทุกข์เมื่อไหร่ก็ละสมุทัยในคราวเดียวกั­นเลย ในขณะนั้นแจ้งนิโรธคือพระนิพพานเลย ในขณะเดียวกัน ในขณะนั้นเกิดอริยมรรคเลย ในขณะเดียวกัน อัศจรรย์ อัศจรรย์ที่สุดนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้า พวกเราต้องพากเพียรนะ ค่อยๆศึกษาไปเรื่อยๆ เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง เวลาที่สติที่แท้จริงเกิดนะ เดี๋ยวก็รู้กาย เดี๋ยวก็รู้เวทนา เดี๋ยวก็รู้จิต แต่ทุกสิ่งแสดงธรรมะเรื่องเดียวกัน คล้ายๆ มีครูหลายคนนะ ครูเวียนกันเข้ามาสอนเราตลอดเวลาเลยเดี๋ยวครูยิ้มหวานมา เดี๋ยวครูหน้ายักษ์มา เดี๋ยวครูใจดี เดี๋ยวครูใจร้าย หมุนเวียนเข้ามาสอนเราทั้งวันเลยสอนเรื่องเดียวกันคือสอนไตรลักษณ์ทั้งหมดเลย สอนถึงความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา โลภ โกรธ หลง ก็สอนไตรลักษณ์ มีโลภแล้วมันก็ไม่มี มีโกรธแล้วก็ไม่มี มีหลงแล้วก็มันไม่มี กุศลทั้งหลายก็สอนไตรลักษณ์ใช่ไหม จิตมีสติขึ้นมาแล้วก็ขาดสติ มีปัญญาขึ้นมาบางทีก็ไม่มีปัญญา เอาแน่เอานอนไม่ได้บางทีก็มีฉันทะ บางทีก็ขี้เกียจ บางทีก็มีศรัทธา บางทีก็เสื่อมศรัทธา มันหมุนเวียนอยู่ คอยรู้มันไปเรื่อย รู้มันไปทุกสิ่งทุกอย่างสอนไตรลักษณ์ทั้งสิ้นเลย สอนให้เห็นเลยว่า มีแล้วก็ไม่มี มีแล้วก็ไม่มี การที่เห็นทุกสิ่งทุกอย่างนะ สอนไตรลักษณ์ไปเรื่อย มีแล้วก็ไม่มี มีแล้วก็ไม่มี ถึงจุดหนึ่งจะได้พระโสดาบัน เพราะพระโสดาบันคือท่านผู้เห็นความจริง ผู้ยอมรับความจริงว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นมาดับทั้งสิ้นเลย สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไปเป็นธรรมดาเราฝึกให้มีสตินะ แล้วทุกอย่างมันจะไหลเข้ามา เราก็รู้ไปเรื่อยๆ อย่าไปเพ่งมัน มันจะแสดงไตรลักษณ์ แสดงน้อยลง ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์2 สัปดาห์ที่ผ่านมา เราเห็นตัวการ์ตูนเคลื่อนไหวได้ฉันใด เราก็เห็นจิตวิ่งไปวิ่งมาได้ฉันนั้น นี่เป็นความหลงผิด นี่เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง แท้จริงจิตก็เกิดดับ เกิดดับเหมือนการ์ตูนทีละรูป ทีละรูป นั่นเอง แต่ว่าสติปัญญาของคนทั่วไปซึ่งไม่เคยฝึกฝนไม่สามารถเห็นได้ ก็จะรู้สึกว่าจิตเที่ยง ถ้าเราสามารถเห็นว่าจิตเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับไปเรื่อยๆ ไม่นาน ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราจะเห็นความจริงว่าจิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราที่แท้จริงไม่มี มันมีแต่ของเกิดแล้วก็ดับ เกิดแล้วก็ดับ ถ้าเมื่อไรวันใดเห็นว่าจิตไม่ใช่ตัวเรานะ ทุกอย่างในโลกนี้จะไม่ใช่ตัวเราแล้ว ร่างกายมันไม่ใช่เราตั้งแต่เริ่มหัดเจริญสติแล้ว พอจิตเราตั้งมั่นขึ้นมา เราจะเห็นเลยว่าร่างกายมันอยู่ต่างหากแล้ว เหลือแต่จิตอันเดียวนี่แหละรู้สึกว่าวิ่งไปวิ่งมา การเจริญสติจนเห็นจิตเกิดดับเกิดดับ เกิดที่ตาแล้วดับ เกิดที่หูแล้วดับ เกิดที่ใจแล้วดับ ก็คือสันตติขาด การที่สันตติขาดนี่แหละคือวิปัสสนาที่แท้จริง ถ้าสันตติยังไม่ขาดยังไม่ใช่วิปัสสนาที่แท้จริง เราต้องค่อยๆ ดูไป ฝึกไปเรื่อยๆ พอสันตติขาดแล้วจะสั่นสะเทือนขึ้นมาเลย บางคนรู้สึกกลัว บางคนรู้สึกเบื่อ บางคนรู้สึกโหวงๆ ตัวเราหายไปแล้ว โหวงๆ เวิ้งว้างหาที่พึ่งที่อาศัยไม่ได้ บางคนเบื่อจิบจิตจับใจเลย เบื่อสุขเบื่อทุกข์ เบื่อทุกอย่าง เบื่อสามี เบื่อภรรยา แต่เบื่ออย่างนี้ไม่ใช่เบื่อด้วยกิเลส มันเบื่อด้วยสติด้วยปัญญา เห็นทุกอย่างไม่มีสาระเลย ไม่มีตัวมีตนอะไร ใจมันจะเบื่อไปหมดทุกสิ่งทุกอย่างเลย เบื่อสุขกับทุกข์เท่าๆ กัน เบื่อดีกับชั่วเท่าๆ กัน เบื่อหยาบกับละเอียดเท่าๆ กัน เบื่อภายในกับภายนอกเท่าๆ กัน จิตก็หมดแรงดิ้น ไม่ดิ้นรนค้นคว้า บางคนกลัว กลัวมากๆ เลยนะ พอภาวนามาจนเห็นว่าตัวเราไม่มี กลัวเพราะรู้สึกว่าตัวเราหายไปแล้ว ตกอกตกใจขึ้นมา เมื่อสภาวะอันนี้เกิดขึ้นแล้วให้มีสติรู้ทันเข้าไป สภาวะอันนี้ก็เช่นเดียวกับความโกรธความหลงที่เคยเห็นมานั่นเอง คือเกิดแล้วก็ดับเช่นเดียวกัน พอดับไปแล้วใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดู เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วคราวหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย พอจิตมันยอมรับความจริงว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรนค้นคว้าเที่ยวแสวงหาอารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ หมดแรงดิ้นรนค้นคว้าที่จะหลีกหนีอารมณ์ที่ไม่พอใจ จิตจะเข้าสู่ความเป็นกลางที่แท้จริง ความเป็นกลางเพราะปัญญานี่แหละเป็นความเป็นกลางที่สำคัญมาก ปัญญาตัวนี้เรียกว่า “ สังขารุเปกขาญาณ ” เห็นสุขกับทุกข์มันเท่ากัน นรกกับสวรรค์มันก็เท่ากัน ไม่กลัวนะ หมดความดิ้นรน จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไป ตรงหยุดปั๊บลงไปนี่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโนมัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแหวกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไป ตรงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะ ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกนี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า ท่านไม่ได้หอบเอานิพพานแล้วหายไปไหน นิพพานยังอยู่เต็มโลกเต็มบริบูรณ์อยู่นี่แหละ คนมีบุญวาสนามีปัญญาแก่รอบ เจริญวิปัสสนาแก่รอบแล้วก็จะได้รับ นี่รางวัลสูงสุดของชีวิตอยู่ตรงนี้ ชีวิตที่เหลือเป็นชีวิตที่อิสระโปร่งเบา ปราศจากความอยาก ความยึดและความดิ้นรนปรุงแต่ง ไม่มีความทุกข์หรือสิ่งใดครอบงำจิตได้อีกแล้ว แสดงน้อยลง ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์3 สัปดาห์ที่ผ่านมา หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "สังขารุเบกขาญาณ" สังขารุเบกขาญาณ ญาณ แปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขา เป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่าสังขาร ร่างกายก็เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็เป็นสังขาร อะไรๆ ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป เราจะเห็นเลย ร่างกายที่หายใจออกก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่วคราว ความสุขก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวไหม มีไหม สุขถาวรมีไหม ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ใครทุกข์ถาวร ไม่มี นี่เรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ เราจะเห็นเลย สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามันเกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาแล้ว เป็นกลางนี่เกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า ก็กัดฟัน ไม่โกรธเลย ไม่โกรธเลยนะ บอกเป็นกลางเพราะกดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก เป็นกลางด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างหนึ่ง เป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมา เราเห็นเลยใจมันโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัตินี่ เราเห็นว่าใจเราโมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจเกิดยินร้าย ไม่ชอบความโกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี อย่างนี้จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา แล้วมันจะเห็นเลยว่า ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธ หลง อะไรต่ออะไรก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่ จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญาขึ้นมา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแล้ว เพราะมันรู้แล้วว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มันไม่หลงระเริงเลยนะ ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นไหมพอมันเห็นว่าทุกอย่าง เป็นของชั่วคราวนี่ ใจจะหมดความดิ้นรน นี่เรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์1 เดือนที่ผ่านมา เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์2 เดือนที่ผ่านมา หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "สังขารุเบกขาญาณ" สังขารุเบกขาญาณ ญาณ แปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขา เป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่าสังขาร ร่างกายก็เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็เป็นสังขาร อะไรๆ ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป เราจะเห็นเลย ร่างกายที่หายใจออกก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่วคราว ความสุขก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวไหม มีไหม สุขถาวรมีไหม ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ใครทุกข์ถาวร ไม่มี นี่เรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ เราจะเห็นเลย สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามันเกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาแล้ว เป็นกลางนี่เกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า ก็กัดฟัน ไม่โกรธเลย ไม่โกรธเลยนะ บอกเป็นกลางเพราะกดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก เป็นกลางด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างหนึ่ง เป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมา เราเห็นเลยใจมันโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัตินี่ เราเห็นว่าใจเราโมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจเกิดยินร้าย ไม่ชอบความโกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี อย่างนี้จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา แล้วมันจะเห็นเลยว่า ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธ หลง อะไรต่ออะไรก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่ จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญาขึ้นมา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแล้ว เพราะมันรู้แล้วว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มันไม่หลงระเริงเลยนะ ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นไหมพอมันเห็นว่าทุกอย่าง เป็นของชั่วคราวนี่ ใจจะหมดความดิ้นรน นี่เรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์2 เดือนที่ผ่านมา ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลางด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 เดือนที่ผ่านมา เมื่อเห็นกายเห็นใจตรงตามความเป็นจริงว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก แรกๆ บางคนอินทรีย์อ่อนหน่อย ก็จะเกิดความเบื่อขึ้น บางคนเกิดความเบื่อ บางคนเกิดความรู้สึกน่าสยดสยอง ในโลกนี้หาความสุขไม่ได้อีกแล้ว บางคนรู้สึกโหวงๆ ทุกอย่างว่างเปล่า ไม่รู้จะยึดอะไรดี มีหลายแบบ สติปัญญารู้ลงไปอีก เบื่อก็รู้ กลัวก็รู้ โหวงๆ ก็รู้ นะ สักว่ารู้ สักว่าเห็น ใจก็ตั้งมั่นเป็นกลางขึ้นมาอีก ก็รู้ทุกสิ่งทุกอย่างในกาย ในใจไปเรื่อยๆ เห็นว่ามันเปลี่ยนแปลงบังคับไม่ได้ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บังคับไม่ได้เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ รู้จนกระทั่งใจยอมรับความจริงว่า ทุกอย่างชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลงก็ชั่วคราว อะไรๆ ก็ชั่วคราว พอภาวนาจนสติปัญญาเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว จิตจะเข้าไปสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง ตรงที่จิตเข้าสู่ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง สุขกับทุกข์ก็เสมอกัน ดีกับชั่วก็เสมอกัน เข้าไปถึงความเป็นกลางด้วยปัญญาเห็นว่าทุกสิ่งชั่วคราว ถ้าเป็นกลางแบบนี้เรียกว่ามีปัญญาที่เรียกว่า สังขารุเบกขาญาณ จิตจะเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างสุขกับทุกข์ ดีกับชั่วจะเสมอภาคกัน ไม่ใช่รักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่ง พวกเรารู้สึกไหม ใจเรายังรักอันหนึ่ง เกลียดอันหนึ่งอยู่ตลอดเวลา นั่นละ ปัญญายังไม่พอ ให้รู้ลงไปอีก จนกระทั่งเห็นว่าทุกอย่างก็ชั่วคราวทั้งหมดเลย ทั้งสิ่งที่เรารัก สิ่งที่เราเกลียด พอเห็นซ้ำลงไปจนทุกอย่างชั่วคราวหมด จิตจะเป็นกลาง เมื่อจิตเป็นกลางคือจุดสูงสุดที่เราจะภาวนาได้ละ คือจุดสุดท้ายถัดจากนี้ก็คือมรรคผลจะเกิดขึ้น แต่บางคนจะไม่เกิดมรรคผล บางคนเมื่อภาวนาไป จนเป็นกลางต่อสรรพสิ่งนั้น จิตใจน้อมไปสู่มหากรุณา เห็นอกเห็นใจสรรพสัตว์ทั้งหลาย อยากช่วยสรรพสัตว์ทั้งหลาย จิตจะน้อมไปสู่พุทธภูมิ ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย2 เดือนที่ผ่านมา ถ้าเข้าใจแจ่มแจ้ง ในคําสอนของพระพุทธเจ้า จะรู้เลยว่า ขันธ์นั่นแหละเป็นตัวทุกข์ ไม่ใช่ขันธ์นี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง แต่เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ มีแต่ทุกข์มากกับทุกข์น้อย ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งความอยากให้ขันธ์เป็นสุขจะไม่เกิดขึ้น ความอยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ก็ไม่เกิดขึ้น อยากให้มีสุขไปทําไม อยากให้โง่หรือ มันไม่มีทางมีความสุขได้เพราะมันเป็นตัวทุกข์ อยากให้มันพ้นทุกข์หรือ อยากให้โง่สิ เพราะถึงอย่างไรมันก็ทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ความอยากทั้งหลายแหล่มันก็มีอยู่แค่นี้เอง ความอยากที่ ว่ากิเลส ๑,๕๐๐ ตัณหา ๑๐๘ จริงๆ ก็คืออยากให้ขันธ์เป็นสุข อยากให้ขันธ์พ้นทุกข์ ย่อๆ ลงมาก็คือรักสุขเกลียดทุกข์นั่นแหละ พอเข้าใจขันธ์เท่านั้น ความอยากดับเอง ไม่ต้องไปทรมาน กายทรมานใจเพื่อจะดับตัณหา ขอให้รู้ทุกข์แจ่มแจ้งแล้วตัณหา จะดับไปโดยอัตโนมัติเลย ถ้าเราเข้าใจตัวนี้ ความเข้าใจมันจะประณีตมาก จิตมันจะสลัดคืนขันธ์ให้โลกไปเลย พอจิตมันเห็นว่าขันธ์ไม่ใช่ของดีของวิเศษ ขันธ์นี้เป็นทุกข์ล้วนๆ กระทั่งตัวจิตก็เป็นทุกข์ล้วนๆ จิตมันก็อยู่ใน ขันธ์นั่นเอง อยู่ในวิญญาณขันธ์ พอมันปล่อยขันธ์ทิ้งไป ไม่มีอะไรให้ยึดอีก มันก็พ้นจากอุปาทานขันธ์ อุปาทานขันธ์ก็กองอยู่อย่างนั้น กองอยู่กับโลกนั้นเอง ไม่ใช่ต้องไปทําลายล้างมัน มันมีเหตุมันก็เกิด หมดเหตุมันก็ดับ บังคับมันไม่ได้ แต่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันแล้ว ที่ใจไม่เข้าไปยึดถือมันก็เพราะรู้ทุกข์แจ่มแจ้ง รู้ว่าขันธ์ทั้งหลาย ทั้งปวงนี้แหละเป็นตัวทุกข์ ฉะนั้น การรู้ทุกข์นี่เป็นเรื่องสําคัญที่สุดสําหรับการปฏิบัติ ธรรมในทางพระพุทธศาสนา ไม่ใช่แค่นั่งสมาธิ หวังว่าทําสมาธิ ไปเรื่อยๆ แล้วจะพ้นทุกข์ ไม่มีทางพ้นเลย ทําสมาธิก็ไปสร้างภพภูมิ ที่ละเอียดขึ้นไปอีก นอกจากการรู้ทุกข์แล้ว ไม่มีวิธีอย่างอื่นที่จะเห็นธรรมได้เลย อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย2 เดือนที่ผ่านมา ถ้าจิตใจมันตั้งมั่น เป็นผู้รู้ผู้ดูได้นะ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานได้ จะเห็นว่า กายกับใจ เป็นคนละอันกัน แล้วร่างกายเป็นแค่วัตถุ ไม่ใช่ตัวเราอีกต่อไปแล้ว เนี่ย ถ้าเราหัดดู มากเข้าๆนะ สุดท้ายมันก็ล้างความเห็นผิดว่า ร่างกายเป็นตัวเราได้ ถ้าล้างความเห็นผิดได้นะ ขนาดยังไม่ได้มรรคได้ผลอะไรนะ เพราะฉะนั้น เบื้องต้น พวกเราจำนวนมากเลย ทุกวันนี้ คนมหาศาลเลยนะ ที่ได้ฟังธรรมเนี่ย สามารถแยกได้ว่า กายกับจิตเป็นคนละอันกัน ในห้องนี้ก็ทำได้ตั้งหลายคนนะ แยกได้เยอะแยะเลย . ถ้าพอเราแยกได้ว่า กายกับจิตเป็นคนละอันกันแล้วเนี่ย ถ้ากายมันแก่ มันจะไม่ใช่เราแก่ กายมันเจ็บ มันจะไม่ใช่เราเจ็บ กายมันตาย มันจะไม่ใช่เราตายอีกต่อไปแล้ว ก็วัตถุธาตุมันมารวมกันชั่วคราว แล้วธาตุนั้นก็แตกแยกออกไป เป็นเรื่องปกติ เป็นเรื่องธรรมดา ไม่ใช่เราอีกต่อไปแล้ว เนี่ย อย่างนี้เรียกว่า หัดเจริญปัญญา มาดูความจริงของกายของใจนะ ของความรู้สึกนึกคิดทั้งหลาย จนเห็นเลยว่า ทุกๆอย่างที่เกิดขึ้น ในกายในใจของเราเนี่ย เป็นของชั่วคราวเท่านั้นเอง เกิดแล้วก็ดับไป เกิดแล้วก็ดับไป ไม่มีอะไรที่เป็นตัวตนถาวรเลย ความสุขเกิดขึ้นในกาย เรามีสติรู้ทัน จิตเราเป็นคนดู เราจะเห็นว่า ความสุขกับร่างกาย เป็นคนละอันกัน ความสุขกับจิตใจ ก็เป็นคนละอันกัน พอเราเห็นอย่างนี้ได้นะ ต่อไป เราก็จะเห็นเลยว่า ความสุขก็ไม่ใช่ตัวเรา เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้าเท่านั้นเอง หรือความโกรธที่เกิดขึ้น คนไหนขี้โมโห เราก็ดูจิตที่มันโกรธนะ เราก็จะเห็นอีก ความโกรธไม่ใช่ร่างกาย ความโกรธ ไม่ใช่ความสุข-ความทุกข์ ความโกรธ ไม่ใช่จิต เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้า เพราะฉะนั้นความโกรธ สุดท้ายความโกรธ ไม่ใช่ตัวเราหรอก เป็นสิ่งที่ เกิดแล้วก็หายไปๆ ไม่ใช่ตัวเราอีก มาดูจนถึงจิตถึงใจของเรานะ เราจะเห็นว่า จิตเนี่ย เดี๋ยวก็วิ่งไปรับรู้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวก็ไปรับรู้อารมณ์ทางหู เดี๋ยวก็รับรู้อารมณ์ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย เดี๋ยวก็หนีไปคิด จิตมันไปดู มันก็ดูของมันได้เอง จิตจะไปฟัง มันก็ไปฟังของมันได้เอง จิตมันจะคิด มันก็ไปคิดของมันได้เอง จิตนี้ไม่ใช่ตัวเรา เราสั่งมันไม่ได้ อย่างขณะที่ฟังหลวงพ่อพูดเนี่ย รู้สึกมั้ย บางทีจิตหนีไปคิด คิดเรื่องอื่นเลยก็มี ใช่มั้ย บางทีก็คิดตามที่หลวงพ่อพูด จงใจคิดรึเปล่า ไปดูให้ดี ไม่ได้จงใจนะ มันคิดได้เอง . เนี่ย การที่เรามาคอยรู้คอยดู สุดท้ายเราจะเห็นเลย มันไม่ใช่เราหรอก มันทำงานได้เอง มันโกรธได้เองด้วยนะ มันโลภได้เอง เคยมั้ย ตั้งใจจะไม่โกรธ แล้วก็โกรธ ตั้งใจจะไม่เสียใจ แล้วก็เสียใจ ตั้งใจจะไม่น้อยใจ แล้วก็น้อยใจ ตั้งใจว่าจะไม่กลัว แล้วก็กลัว เพราะอะไร..? เราสั่งมันไม่ได้ เนี่ย การที่เรามาคอยดูของจริงในกายในใจ นี่แหละ เรียกว่า วิปัสสนากรรมฐานนะ . เราคอยรู้สึกอยู่ที่กาย รู้สึกอยู่ที่ใจ ดูกายมันทำงาน ดูจิตใจมันทำงานไป ความสุข-ความทุกข์ เกิดขึ้นแล้ว ก็ดับไป โลภ โกรธ หลง เกิดขึ้นแล้ว ก็ดับไป จิตเอง เดี๋ยวก็วิ่งไปดู เดี๋ยวก็วิ่งไปฟัง เดี๋ยวก็วิ่งไปคิด จิตที่ดู อยู่ชั่วคราว แล้วก็หายไป จิตที่ฟัง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หายไป จิตที่คิด อยู่ชั่วคราว แล้วก็หายไป เนี่ย เราหัดรู้ หัดดู อย่างนี้เนืองๆนะ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราควรจะได้อะไรบ้าง . พวกเราเคยได้ยินคำว่า สติปัฏฐานมั้ย ใครเคยได้ยินสติปัฏฐาน ยกมือให้หลวงพ่อชื่นใจซิ โฮ้..ชื่นใจมาก รู้จักชื่อ ใครเคยเจริญสติปัฏฐาน คราวนี้จะเหลือน้อยแล้ว สติปัฏฐานเนี่ย ถ้าเราทำถูกต้องนะ ถูกต้อง ก็ต้องมีสมาธิ(จิตตั้งมั่น) ขึ้นมาเป็นคนดูก่อนนะ แล้วแยกขันธ์ออกไปเป็นส่วนๆ นั้นแหละ เราถึงจะทำเจริญสติปัฏฐานถูกต้อง ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี จะต้องได้ผลบ้าง ควรจะได้ผลบ้าง แล้วพระพุทธเจ้าสอนถึงขนาดว่า ถ้าเรายังมีผู้เจริญสติปัฏฐานอยู่ โลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์ . ตำรารุ่นหลัง ชอบไปแต่งกันว่า รุ่นหลังๆ จะไม่มีพระอรหันต์ อันนั้น ขัดกับคำสอนของพระพุทธเจ้านะ พระพุทธเจ้าบอก ตราบใดที่ยังมีผู้เจริญสติปัฏฐาน โลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์ พระอรหันต์คือพวกไหน พระอรหันต์ คือ ท่านผู้ซึ่งไม่ยึดถือ ในรูปนาม/ขันธ์ ๕ ไม่ยึดถือสิ่งใดอีกแล้ว . ทำไมท่านไม่ยึดถือ เพราะท่านได้เจริญสติปัฏฐาน ท่านมีสติรู้สึกกาย ท่านมีสติรู้สึกจิตใจอยู่เรื่อยนะ จนเห็นความจริงเลย ร่างกายไม่ใช่เรา ความสุข-ความทุกข์ ไม่ใช่เรา กิเลส ไม่ใช่เรา จิตใจ ก็ไม่ใช่เรา อะไรๆ ก็ไม่ใช่เราไปหมด เนี่ยท่านก็ภาวนาไปเรื่อย เบื้องต้นจะเห็นว่า มันไม่ใช่เรานะ ได้พระโสดาบัน เบื้องปลายจะเห็นเลยว่า ตัวที่มันไม่ใชเรา มันเป็นอะไร..? มันเป็นตัวทุกข์ กายนี้ เป็นตัวทุกข์ เวทนา เป็นความสุข-ทุกข์ เป็นตัวทุกข์ สังขาร ก็เช่นกิเลสทั้งหลาย เป็นตัวทุกข์ จิต ที่ไปรับรู้อารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ เป็นตัวทุกข์ ถ้าเห็นได้ถึงขนาดนี้ จิตจะสลัดคืนจิตให้โลก แล้วก็จะพ้นจากความทุกข์ทั้งปวง สิ่งที่เรายึดถือเหนียวแน่นที่สุด ก็คือจิตของเรา สิ่งที่เราสำคัญมั่นหมายเหนียวแน่นว่า เป็นตัวเรามากที่สุด ก็คือจิตนี่เอง จิตนี้เป็นที่ตั้งเลย เป็นตัวใหญ่ เป็นตัวหลักเลย ถ้าเราไม่เห็นว่า จิตเป็นตัวเรา ก็จะไม่เห็นว่า สิ่งใดในโลกเป็นตัวเรา ถ้าเห็นความจริงแล้วว่า จิตเป็นตัวทุกข์ ในโลกนี้จะเป็นตัวทุกข์ทั้งหมดเลย แล้วจิตตัวเดียวนี้เอง ถ้าเรารู้แจ่มแจ้ง ความพ้นทุกข์ก็จะเกิดขึ้น สลัดคืนจิตให้โลกได้เมื่อไหร่นะ ที่สุดแห่งทุกข์ก็อยู่ตรงนั้นแหละ . มันสลัดได้จริงๆนะ แต่ถ้าพวกเราหัดใหม่ๆ มันยังไม่สลัดคืนจิตให้โลก มันสลัดอารมณ์ได้ ใครเคยเห็นบ้างว่า จิตปล่อยอารมณ์ได้ ยกมือให้หลวงพ่อดูซิ พวกที่ฟังหลวงพ่อมาแล้ว ยกสูงๆหน่อย ก็พอสมควรนะ เห็นมั้ย จิตกับอารมณ์ บางทีมันก็เข้าไปจับ ใช่มั้ย บางทีมันก็ปล่อย บางทีมันก็จับ บางทีมันก็ปล่อย ใครเห็นแบบนี้บ้าง ยกมือซิ มีมั้ย..? ก็เยอะแล้วนะ ไปหัดดูนะ สุดท้ายจะรู้เลย จิตมันจะเข้าไปจับอารมณ์ มันก็จับได้เอง จะปล่อยอารมณ์มันก็ปล่อยได้เอง นี่แค่ปล่อยอารมณ์ สังเกตมั้ย พอจิตปล่อยอารมณ์ได้ มีความสุขเยอะแยะเลย สบายขึ้นเยอะเลย ลองคิดดูสิ ถ้าจิตมันปล่อยขันธ์ได้ มันจะสุขขนาดไหน นี่แค่ปล่อยอารมณ์นะ ถ้าจิตมันปล่อยตัวมันเองได้ มันจะสุขมหาศาลขนาดไหน มันสุข เรียกว่า สุขปางตายเลยนะ ในขณะที่อริยมรรค อริยผลเกิดขึ้นนั้น เป็นความสุขที่มหาศาลจริงๆเลย งั้นพวกเราต้องฝึกนะ . สรุปให้ฟัง เอาง่ายๆ เลยนะ เบื้องต้น ตั้งใจรักษาศีล ๕ ไว้ก่อน ศีล ๕ เป็นมาตรฐานขั้นต่ำของมนุษย์ ถ้าเสียศีล ๕ ไป จิตใจจะฟุ้งซ่าน . อันที่ ๒ พยายามฝึกให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว ทำกรรมฐานขึ้นสักอย่างหนึ่ง ช่วงไหนที่จิตใจว้าวุ่นมาก ก็ให้จิตไปจับอยู่ที่อารมณ์กรรมฐาน เรียกว่าทำสมถะ ช่วงไหน จิตใจสงบพอสมควรแล้ว ก็ค่อยๆฝึก แยกไปนะ เห็นว่า ร่างกาย ก็เป็นของที่จิตไปรู้เข้า อะไรๆ ก็เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้า ค่อยๆฝึกไปเรื่อยนะ จิตใจมันจะเป็นคนดูออกมานะ ค่อยๆ แยกขันธ์ไปเรื่อย ฝึกให้จิตใจอยู่กับเนื้อกับตัว ด้วยการรู้ทันว่า จิตมันเคลื่อนไป เคลื่อนไปคิด เคลื่อนไปเพ่งอารมณ์ ถ้ารู้ทันว่า จิตมันเคลื่อนไป จิตจะตั้งมั่น . สรุปนะ อีกที ข้อ ๑. รักษาศีล ๕ ไว้ ข้อ ๒. ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว ใจลอยไปแล้วรู้ ใจลอยไปแล้วรู้ ฝึกอย่างนี้นะ แต่ถ้าวันไหนจิตมันฟุ้งซ่านมาก ก็เอาจิตเข้าไปจับอารมณ์ให้นิ่งๆไปเลย พักผ่อน (ทำสมถกรรมฐาน) ถ้าวันไหนมีแรง เอาแค่ว่า ใจลอยแล้วรู้ ใจลอยแล้วรู้ไปเรื่อยนะ ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งนะ พุทโธไป หายใจไป แล้วใจลอยไป แล้วรู้ ใจเคลื่อนไปเพ่งลมหายใจ ก็รู้ ใจเคลื่อนไปเพ่งท้อง เพ่งเท้า ก็รู้ เนี่ย รู้อย่างนี้เรื่อยๆ ในที่สุดจิตใจจะตั้งมั่น จิตใจจะอยู่กับเนื้อกับตัว . ข้อ ๑. รักษาศีล ๕ ข้อ ๒. ฝึกจิตใจให้อยู่กับเนื้อกับตัว พอจิตใจอยู่กับเนื้อกับตัวแล้ว ข้อ ๓. ดูกายมันทำงาน ดูใจมันทำงาน ดูด้วยจิตที่เป็นคนดูนี่แหละ จิตใจที่อยู่กับเนื้อกับตัวนี่แหละ เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง เห็นจิตใจมันเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง เดี๋ยวสุข เดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดี เดี๋ยวร้าย คอยดูความเปลี่ยนแปลงของกายของใจให้มากนะ ดูไป ดูไปจนจิตมันหมดแรงแล้ว ถ้าจิตมันหมดแรงนะ ดูจิตไม่ไหว ให้ดูกาย ดูจิตก็ไม่ไหว ดูกายก็ไม่ไหว ทำสมถะ น้อมจิตไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ให้จิตได้พักผ่อน มีเรี่ยวมีแรงขึ้นมาใหม่ พอจิตมีแรงขึ้นมาใหม่ กลับมาดูจิตอีก ... ดูจิตได้.. ให้ดูจิต ... ดูจิตไม่ได้.. ให้ดูกาย ... ดูจิตก็ไม่ได้ ดูกายก็ไม่ได้ ... ก็ทำความสงบไว้ (ทำสมถะ) . เนี่ยฝึกอย่างนี้เรื่อยๆนะ ถ้าเราตั้งใจทำได้จริงๆ ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี เราควรจะได้อะไรบ้าง คนที่เรียนกับหลวงพ่อนะ เดือนสองเดือน แล้วชีวิตก็เปลี่ยนไปตั้งมากมายแล้ว เคยทุกข์มากก็ทุกข์น้อย เคยทุกข์นานก็ทุกข์สั้นๆ . อยู่ที่พวกเรานะว่า เราจะให้โอกาสกับชีวิตตัวเองรึเปล่า หรือเราจะปล่อยชีวิตตามยถากรรม เหมือนที่ผ่านมาแล้วหลายสิบปี สุดท้ายมันก็หมดไป โดยที่ไม่ได้อะไรติดเนื้อติดตัวไป แต่ถ้าเราหัดเจริญสติ ตั้งแต่วันนี้นะ ถ้าบุญกุศลเราพอ บุญบารมีเราสร้างมาพอแล้ว เราอาจจะได้มรรคผลในชีวิตนี้ ชีวิตเราจะไม่ตกต่ำอีกแล้ว ถ้าเกิดเรายังไม่ได้มรรคผลในชีวิตนี้ ชาติต่อๆไป เราจะภาวนาง่าย สติ สมาธิ ปัญญาอะไร มันจะเกิดง่ายเลย เพราะมันเคยฝึก อะไรที่ไม่เคยฝึก ไม่เคยทำ มันยากทั้งนั้นแหละ อะไรที่เคยฝึกแล้ว ทำแล้วนะ มันคุ้นจนชิน มันก็ง่ายไปหมดแหละนะ /|\ /|\ /|\ #หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี แสดงธรรม ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 12 มีนาคม 2556 อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 เดือนที่ผ่านมา หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า "สังขารุเบกขาญาณ"สังขารุเบกขาญาณ ญาณ แปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขา เป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่าสังขาร ร่างกายก็เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ความหลง ก็เป็นสังขาร อะไรๆ ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป เราจะเห็นเลย ร่างกายที่หายใจออกก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่วคราว ความสุขก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวไหม มีไหม สุขถาวรมีไหม ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ใครทุกข์ถาวร ไม่มี นี่เรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ เราจะเห็นเลย สุขก็ชั่วคราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามันเกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมันเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาแล้ว เป็นกลางนี่เกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า ก็กัดฟัน ไม่โกรธเลย ไม่โกรธเลยนะ บอกเป็นกลางเพราะกดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก เป็นกลางด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างหนึ่ง เป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมา เราเห็นเลยใจมันโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัตินี่ เราเห็นว่าใจเราโมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจเกิดยินร้าย ไม่ชอบความโกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี อย่างนี้จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา แล้วมันจะเห็นเลยว่า ความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธ หลง อะไรต่ออะไรก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลยถ้าเมื่อไหร่ จิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญาขึ้นมา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแล้ว เพราะมันรู้แล้วว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มันไม่หลงระเริงเลยนะ ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นไหมพอมันเห็นว่าทุกอย่าง เป็นของชั่วคราวนี่ ใจจะหมดความดิ้นรน นี่เรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่นอย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ เล่นอัตโนมัติ รายการถัดไป อิติปิโส pratiwat kao ดู 2,392,481 ครั้ง 4:04 อิติปิโส นพเคราะห์ ทัตเทพ เพชรทอง ดู 26,528 ครั้ง 12:18 การบรรลุธรรม Sompong Tungmepol ดู 292 ครั้ง 2:44 อิติปิโส (แปล)แม้คนสวดแบบไม่ทราบคำแปลเลยก็จะเกิดปาฏิหาริย์หากทราบคำแปลก็จะเกิดความอัศจรรย์ยิ่งขึ้น namo putaya ดู 18,226 ครั้ง 4:42 เพลงอิติปิโสฯ ทัตเทพ เพชรทอง ดู 900,524 ครั้ง 26:22 *อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ นะโมข้าจะไหว้ ..... S Sopit ดู 421 ครั้ง 3:22 บทสวดมนต์อิติปิโส๑๐๘จบ namo putaya ดู 5,695,270 ครั้ง 1:03:18 จิตเข้าฌานอัตโนมัติ Sompong Tungmepol ดู 3,079 ครั้ง 4:33 อิติปิโส 8 ทิศ ชุมพร บำเพ็ญ ดู 1,643 ครั้ง 11:22 การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม Sompong Tungmepol ขอแนะนำสำหรับคุณ 3:33:49 อิติปิโส9จบ yern ธรรมทาน ดู 23,119 ครั้ง 15:17 ร่างกายไม่มีในเรา เราไม่มีในร่างกาย จิตไม่ใช่เรา เราไม่ใช่จิต จิตไม่มีในเรา เราไม่มีในจิต Sompong Tungmepol ดู 896 ครั้งใหม่ 9:26 ฆราวาสที่บรรลุเป็นพระอรหันต์ต้องบวชภายในวันนั้นหรือไม่ รัตนะนาถะ (R T) ขอแนะนำสำหรับคุณ 8:57 ทางพ้นทุกข์ หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย ขอแนะนำสำหรับคุณ 2:51:44 ครูที่สอนธรรมะ คือ กายกับใจของเรา Sompong Tungmepol ขอแนะนำสำหรับคุณ 14:51 บทสวดมนต์ ฟังก่อนนอน อิติปิโส 15 จบ พลิกชีวิต เพื่อชีวิตที่ดีขึ้น เสียงที่ฟังแล้วเย็น [ชุดนี้ดีมากๆ] บทสวดมนต์ ธรรมะออนไลน์ ดู 21,145 ครั้ง 47:00 *จิตที่ฝึกดีแล้วย่อมนำสุขมาให้ ,ใครเป็นผู้เวียนว่ายตายเกิด ,ทิฏฐิ ๖๒และอจินไตยคืออย่างไร ศากยบุตร โอรสอันเกิดโดยธรรม ขอแนะนำสำหรับคุณ 2:52:04 วิธีทำสมาธิแบบหลวงปู่มั่น_ นั่งภาวนา Decha Pidsaya ดู 483,693 ครั้ง 25:26 เราเป็นผู้ไม่มีอะไรเลย มีแต่ ''จิต'' ที่เป็นสมบัติของเรา - ท่านจิตโต ชนะใจ ขัยชาญ ดู 357 ครั้ง 43:56 พุทธวจน : เพียงรู้ลมเข้า-ออก ปัญญาทุกประเภทจะเกิดขึ้น Aon Waraporn ขอแนะนำสำหรับคุณ 33:43

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น