วันอังคารที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2559

ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นด้วยเศียรเกล้าพระสังคิณี บาลี คำอ่าน กุสลา ธมฺมา อกุสลา ธมฺมา อพฺยากตา ธมฺมา, กุสะลา ธัมมา อะกุสะลา ธัมมา อัพยากะตา ธัมมา, กตเม ธมฺมา กุสลา, ยสฺมึ สมเย กามาวจรํ กะตะเม ธัมมา กุสะลา, ยัสมิง สะมะเย กามาวะจะรัง กุสลํ จิตฺตํ อุปฺปนฺนํ โหติ โสมนสฺสสหคตํ กุสะลัง จิตตัง อุปปันนัง โหติ โสมะนัสสะสะหะคะตัง าณสมฺปยุตฺตํ รูปารมฺมณํ วา สทฺทารมฺมณํ วา ญาณะสัมปะยุตตัง รูปารัมมะณัง วา สัททารัมมะณัง วา คนฺธารมฺมณํ วา รสารมฺมณํ วา คัณธารัมมะณัง วา ระสารัมมะนัง วา โผฏฺพฺพารมฺมณํ วา ธมฺมารมฺมณํ วา โผฏฐัพพา รัมมะณัง วา ธัมมา รัมมะณัง วา ยํ ยํ วา ปนารพฺภ ตสฺมึ สมเย ยัง ยัง วา ปะนารัพภะ ตัสมิง สะมะเย ผสฺโส โหติ อวิกฺเขโป โหติ เย วา ปน ตสฺมึ ผัสโส โหติ อะวิกเขโป โหติ เย วา ปะนะ ตัสมิง สมเย อญฺเปิ อตฺถิ ปฏิจฺจสมุปฺปนฺนา สะมะเย อัญเญปิ อัตถิ ปฏิจจะสะมุปปันนา อรูปิโน ธมฺมา อิเม ธมฺมา กุสลา ฯ อรูปิโน ธัมมา อิเม ธัมมา กุสะลา. พระสังคิณี (แปล) ธรรมทั้งหลายที่เป็นกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอกุศล ธรรมทั้งหลายที่เป็นอัพยากฤต ธรรมเหล่าไหนเป็นกุศล ในสมัยใด กามาวจรกุศลจิต ที่สหรคตด้วยโสมนัส สัมปยุคด้วยญาณ เกิดขึ้น ปรารภอารมณ์ใดๆ จะเป็นรุปารมณ์ก็ดี สัททารมณ์ก็ดี คันธารมณ์ก็ดี รสารมณ์ก็ดี โผฏฐัพพารมณ์ก็ดี ธรรมารมณ์ก็ดี ในสมัยนั้น ผัสสะ ความฟุ้งซ้านย่อมมี อีกอย่างหนึ่งในสมัยนั้น ธรรมเหล่าใดแม้อื่น มีอยู่ เป็นธรรมที่ไม่มีรูป อาศัยกันและกันเกิดขึ้น ธรรมเหล่านี้เป็นกุศล. พระวิภังค์ บาลี คำอ่าน ปญฺจกฺขนฺธา รูปกฺขนฺโธ เวทนากฺขนฺโธ สญฺากฺขนฺโธ ปัญจักขันธา รูปักขันโธ เวทะนากขันโธ สัญญากขันโธ สงฺขารกฺขนฺโธ วิญฺาณกฺขนฺโธ ฯ สังขารักขันโธ วิญญาณักขันโธ, ตตฺถ กตโม รูปกฺขนฺโธ ตัตถะ กะตะโม รูปักขันโธ, ยงฺกิญฺจิ รูปํ อตีตานาคตปจฺจุปฺปนฺนํ ยังกิญจิ รูปัง อะตีตานาคะ ตะปัจจุปปันนัง อชฺฌตฺตํ วา พหิทฺธา วา โอฬาริกํ วา สุขุมํ วา อัชฌัตตัง วา พะหิตธา วา โอฬาริกัง วา สุขุมัง วา หีนํ วา ปณีตํ วา ยํ ทูเร สนฺติเก วา หีนัง วา ปะณีตัง วา ยัง ทูเร สันติเก วา ตเทกชฺฌํ อภิสญฺูหิตฺวา อภิสงฺขิปิตฺวา ตะเทกัชฌัง อภิสัญญูหิตวา อภิสังขิปิตวา อยํ วุจฺจติ รูปกฺขนฺโธ ฯ อะยัง วุจจะติ รูปักขันโธ. พระวิภังค์ (แปล) ขันธ์ ๕ คือ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ วิญญาณขันธ์ บรรดาขันธ์ทั้งหมด รูปขันธ์เป็นอย่างไร รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีต อนาคต ปัจจุปัน ภายในก็ตาม หยาบก็ตาม ละเอียดก็ตาม เลวก็ตาม ประณีตก็ตาม อยู่ไกลก็ตาม อยู่ใกล้ก็ตาม นั้นกล่าวรวมกันเรียกว่ารูปขันธ์ พระธาตุกถา บาลี คำอ่าน สงฺคโห อสงฺคโห , สังคะโห อะสังคะโห, สงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน สงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ สังคะหิตัง สงฺคหิเตน สงฺคหิตํ อสงฺคหิเตน อสงฺคหิตํ สังคะหิเตนะ สังคะหิตัง อะสังคะหิเตนะ อะสังคะหิตัง สมฺปโยโค วิปฺปโยโค สมฺปยุตฺเตน วิปฺปยุตฺตํ สัมปะโยโค วิปปะโยโค, สัมปะยุตเตนะ วิปปะยุตตัง วิปฺปยุตฺเตน สมฺปยุตฺตํ อสงฺคหิตํ ฯ วิปปะยุตเตนะ สัมปะยุตตัง อะสังคะหิตัง. พระธาตุกถา (แปล) การสงเคราะห์ การไม่สงเคราะห์ คือ สิ่งที่ไม่ให้สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ สิ่งที่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ได้ สิ่งที่ไม่สงเคราะห์เข้ากับสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้ การอยู่ด้วยกัน การพลัดพรากคือ การพลัดพรากจากสิ่งที่อยู่ด้วยกัน การอยู่ร่วมกับสิ่งที่พลัดพรากไปจัดเป็นสิ่งที่สงเคราะห์ไม่ได้. พระปุคคะละปัญญัตติ บาลี คำอ่าน ฉ ปญฺตฺติโย ขนฺธปญฺตฺติ อายตนปญฺตฺติ ฉะ ปัญญัตติโย ขันธะปัญญัตติ อายะตะนะปัญญัตติ ธาตุปญฺตฺติ สจฺจปญฺตฺติ อินฺทฺริยปญฺตฺติ ธาตุปัญญัตติ สัจจะปัญญัตติ อินทริยะปัญญัตติ ปุคฺคลปญฺตฺติ ฯ ปุคคะละปัญญัตติ, กิตตาวะตา กิตฺตาวตา ปุคฺคลานํ ปุคฺคลปญฺตฺติ, ปุคคะลานัง ปุคคะละปัญญัตติ, สมยวิมุตฺโต อสมยวิมุตฺโต สะมะยะวิมุตโต อะสะมะยะวิมุตโต กุปฺปธมฺโม อกุปฺปธมฺโม กุปปะธัมโม อะกุปปะธัมโม ปริหานธมฺโม อปริหานธมฺโม ปะริหานะธัมโม อะปะริหานะธัมโม เจตนาภพฺโพ อนุรกฺขนาภพฺโพ เจตะนาภัพโพ อนุรักขะนาภัพโพ ปุถุชฺชโน โคตฺรภู ภยูปรโต อภยูปรโต ปุถุชชะโน โคตระภู ภะยูปะระโต อะภะยูปะระโต ภพฺพาคมโน อภพฺพาคมโน นิยโต อนิยโต ภัพพาคะมะโน อะภัพพาคะมะโน นิยะโต อะนิยะโต ปฏิปนฺนโก ผเลฏฺิโต อรหา อรหตฺตาย ปฏิปนฺโน ฯ ปฏิปันนะโก ผะเลฏฐิโต อะระหา อะระหัตตายะ ปฏิปันโน. พระปุคคะละปัญญัตติ (แปล) บัญญัติ ๖ คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทรีย์บัญญัติ บุคคลบัญญัติ บุคคลบัญญัติของบุคคลมีเท่าไร มีการพ้นจากสิ่งที่ควรรู้ การพ้นจากสิ่งที่ไม่ควรรู้ ผู้มีธรรมที่กำเริบได้ ผู้มีธรรมที่กำเริบไม่ได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมได้ ผู้มีธรรมที่เสื่อมไม่ได้ ผู้มีธรรมที่ควรแก่เจตนา ผู้มีธรรมที่ควรแก่การรักษา ผู้ที่เป็นปุถุชน ผู้รู้ตระกูลโคตร ผู้เข้าถึงภัย ผู้เข้าถึงอภัย ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ควร ผู้ไม่ถึงสิ่งที่ไม่ควร ผู้เที่ยง ผู้ไม่เที่ยง ผู้ปฏิบัติ ผู้ตั้งอยู่ในผล ผู้เป็นพระอรหันต์ ผู้ปฏิบัติเพื่อพระอรหันต์. พระกถาวัตถุ บาลี คำอ่าน ปุคฺคโล อุปลพฺภติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สัจฉิกัฏฐะปะระมัตเฐนาติ อามนฺตา ฯ อามันตา, โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, น เหวํ วตฺตพฺเพ ฯ นะ เหวัง วัตตัพเพ, อาชานาหิ นิคฺคหํ หญฺจิ ปุคฺคโล อุปลพฺภติ อาชานาหิ นิคคะหัง หัญจิ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเน เตน วต เร สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนะ เตนะ วะตะ เร วตฺตพฺเพ โย สจฺฉิกฏฺโ ปรมฏฺโ ตโต โส วัตตัพเพ โย สัจฉิกัฏโฐ ปะระมัฏโฐ ตะโต โส ปุคฺคโล อุปลพฺภติ ปุคคะโล อุปะลัพภะติ สจฺฉิกฏฺปรมฏฺเนาติ มิจฺฉา ฯ สัจฉิกัฏฐะปะระมัฏเฐนาติ, มิจฉา. พระกถาวัตถุ (แปล) (ถาม) ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ ความหมายที่แท้จริงหรือ (ตอบ) ใช่... ค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายที่แท้จริง (ถาม) ปรมัตถ์ คือ ความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ ค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงอันนั้นหรือ (ตอบ) ท่านไม่ควรกล่าวอย่างนี้ ท่านจงรู้นิคคะหะเถิด ว่าท่านค้นหาบุคคลไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือ โดยความหมายอันแท้จริงแล้ว ท่านก็ควรกล่าวด้วยเหตุนั้นว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์ คือโดยความหมายอันแท้จริงนั้น คำตอบของท่านที่ว่า ปรมัตถ์คือความหมายอันแท้จริงอันใดมีอยู่ เราค้นหาบุคคลนั้นไม่ได้โดยปรมัตถ์คือ โดยความหมายอันแท้จริงนั้นจึงผิด. พระยะมะกะ บาลี คำอ่าน เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูลา, เย วา ปน กุสลมูลา สพฺเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ เย วา ปะนะ กุสะละมูลา สัพเพ เต ธัมมา กุสะลา, เยเกจิ กุสลา ธมฺมา สพฺเพ เต กุสลมูเลน เอกมูลา เย เกจิ กุสะลา ธัมมา สัพเพ เต กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา, เย วา ปน กุสลมูเลน เอกมูลา สพฺเพ เต เย วา ปะนะ กุสะละมูเลนะ เอกะมูลา สัพเพ เต ธมฺมา กุสลา ฯ ธัมมา กุสะลา. พระยะมะกะ (แปล) ธรรมบางเหล่าเป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีกุศลเป็นมูล อีกอย่าง ธรรมเหล่าใดมีกุศลเป็นมูล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดก็เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดมีอันเดียวกับธรรมที่มีกุศลเป็นมูล อีกอย่างหนึ่ง ธรรมเหล่าใดมีมูลอันเดียวกับธรรมที่เป็นกุศล ธรรมเหล่านั้นทั้งหมดเป็นกุศล. พระมหาปัฏฐาน บาลี คำอ่าน เหตุปจฺจโย อารมฺมณปจฺจโย อธิปติปจฺจโย เหตุปัจจะโย อารัมมะณะปัจจะโย อธิปะติปัจจะโย อนนฺตรปจฺจโย สมนนฺตรปจฺจโย อนันตะระปัจจะโย สะมะนันตะระปัจจะโย สหชาตปจฺจโย อญฺมญฺปจฺจโย สะหะชาตะปัจจะโย อัญญะมัญญะปัจจะโย นิสฺสยปจฺจโย อุปนิสฺสยปจฺจโย ปุเรชาตปจฺจโย นิสสะยะปัจจะโย อุปะนิสสะยะปัจจะโย ปุเรชาตะปัจจะโย ปจฺฉาชาตปจฺจโย อาเสวนปจฺจโย กมฺมปจฺจโย ปัจฉาชาตะปัจจะโย อาเสวะนะปัจจะโย กัมมะปัจจะโย วิปากปจฺจโย อาหารปจฺจโย อินฺทฺริยปจฺจโย วิปากะปัจจะโย อาหาระปัจจะโย อินทริยะปัจจะโย ฌานปจฺจโย มคฺคปจฺจโย ฌานะปัจจะโย มัคคะปัจจะโย สมฺปยุตฺตปจฺจโย วิปฺปยุตฺตปจฺจโย อตฺถิปจฺจโย สัมปะยุตตะปัจจะโย วิปปะยุตตะปัจจะโย อัตถิปัจจะโย นตฺถิปจฺจโย วิคตปจฺจโย อวิคตปจฺจโย ฯ นัตถิปัจจะโย วิคะตะปัจจะโย อะวิคะตะปัจจะโย. พระมหาปัฏฐาน (แปล) ธรรมที่มีเหตุเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอารมณ์เป็นปัจจัย ธรรมที่มีอธิบดีเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัยหาที่สุดมิได้ ธรรมที่มีปัจจัยมีที่สุดเสมอกัน ธรรมที่เกิดพร้อมกับปัจจัย ธรรมที่เป็นปัจจัยของกันและกัน ธรรมที่มีนิสัยเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดก่อนเป็นปัจจัย ธรรมที่มีธรรมเกิดภายหลังเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการเสพเป็นปัจจัย ธรรมที่มีกรรมเป็นปัจจัย ธรรมที่มีวิบากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอาหารเป็นปัจจัย ธรรมที่มีอินทรีย์เป็นปัจจัย ธรรมทีมีฌานเป็นปัจจัย ธรรมที่มีมรรคเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการประกอบเป็นปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ไม่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่มีปัจจัย ธรรมที่ไม่มีปัจจัย ธรรมที่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย ธรรมที่ไม่มีการอยู่ปราศจากเป็นปัจจัย.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น