วันอังคารที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2560

เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เก...ศึกครั้งนี้ไม่เหมือนครั้งก่อน เราฝึกให้มีสตินะแล้วทุกอย่างมันจะไหลเข้ามา เราก็รู้ไป เวลาที่สติที่แท้จริงเกิดนะ เดี๋ยวก็รู้กาย เดี๋ยวก็รู้เวทนา เดี๋ยวก็รู้จิต แต่ทุกสิ่งแสดงธรรมะเรื่องเดียวกัน คล้ายๆ มีครูหลายคนนะ ครูเวียนกันเข้ามาสอนเราตลอดเวลาเลยเดี๋ยว­ครูยิ้มหวานมา เดี๋ยวครูหน้ายักษ์มา เดี๋ยวครูใจดี เดี๋ยวครูใจร้าย หมุนเวียนเข้ามาสอนเราทั้งวันเลยสอนเรื่อง­เดียวกันคือสอนไตรลักษณ์ทั้งหมดเลย สอนถึงความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา โลภ โกรธ หลง ก็สอนไตรลักษณ์ มีโลภแล้วมันก็ไม่มี มีโกรธแล้วก็ไม่มี มีหลงแล้วก็มันไม่มี กุศลทั้งหลายก็สอนไตรลักษณ์ใช่ไหม จิตมีสติขึ้นมาแล้วก็ขาดสติ มีปัญญาขึ้นมาบางทีก็ไม่มีปัญญา เอาแน่เอานอนไม่ได้บางทีก็มีฉันทะ บางทีก็ขี้เกียจ บางทีก็มีศรัทธา บางทีก็เสื่อมศรัทธา มันหมุนเวียนอยู่ คอยรู้มันไปเรื่อย รู้มันไปทุกสิ่งทุกอย่างสอนไตรลักษณ์ทั้งส­ิ้นเลย สอนให้เห็นเลยว่า มีแล้วก็ไม่มี มีแล้วก็ไม่มี การที่เห็นทุกสิ่งทุกอย่างนะ สอนไตรลักษณ์ไปเรื่อย มีแล้วก็ไม่มี มีแล้วก็ไม่มี ถึงจุดหนึ่งจะได้พระโสดาบัน เพราะพระโสดาบันคือท่านผู้เห็นความจริง ผู้ยอมรับความจริงว่า ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นมาดับทั้งสิ้นเลย สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไปเป็นธรรมดาเรา­ฝึกให้มีสตินะ แล้วทุกอย่างมันจะไหลเข้ามา เราก็รู้ไปเรื่อยๆ อย่าไปเพ่งมัน มันจะแสดงไตรลักษณ์ เราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า เราก็ดูกายดูใจของเราต่อไป จิตมันจะค่อยเข้าใจความเป็นจริงมากขึ้นๆ มันจะเห็นเลยว่าความสุขก็ชั่วคราว ความทุกข์ก็ชั่วคราว โลภโกรธหลงก็ชั่วคราว ฟุ้งซ่านหดหู่ดีใจเสียใจทั้งหมดนี้ชั่วครา­­­วหมดเลย จะเห็นว่าสิ่งใดเกิดแล้วก็ดับไป ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลยพอจิตมันยอมรับความ­จริงว่าทุกอย่างเป็นของ­­ชั่วคราว จิตจะหมดแรงดิ้น จิตจะหมดการดิ้นรน เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำลังของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมาให้เรารู้สึกได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณาว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกันนะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง แสดงน้อยลง ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol3 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้เถิด ตอบกลับ 3 Sompong Tungmepol ยกเลิก ตอบกลับ ดูการตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol3 ปีที่ผ่านมา มาร้องเพลง..ละกิเลส..กันไว้..ดีกว่า..แก้..ปลอดภัยดี ตอบกลับ 2 ดูการตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 ดูการตอบกลับทั้ง 2 รายการ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” แสดงน้อยลง อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา พระสาวกพระวิหารอันมีชนทุกหมู่เหล่า น่าดูน่าชม พระอิริยาบถ 002 หายไปหมดสิ้นแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระเวสสภู 003 ศาสดาชินเจ้าผู้ประเสริฐ เสด็จนิพพานที่เขมาราม พระธาตุของ 004 พระองค์แผ่ไปกว้างขวางในประเทศนั้นๆ ฉะนี้แล. 005 จบเวสสภูพุทธวงศ์ที่ ๒๑ 006 กุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒ 007 ว่าด้วยพระประวัติพระกกุสันธพุทธเจ้า 008 [๒๓] สมัยต่อมาจากพระเวสสภูพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ 009 พระนามว่า กุกกุสันธะ มีพระคุณประมาณมิได้ยากที่จะเทียมถึง 010 ทรงเพิกภพทั้งปวง ถึงที่สุดแห่งจริยา ทรงทำลายกิเลสดังราชสีห์ทำ 011 ลายกรงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระกุกกุสันธะ 012 พุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย 013 ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สี่หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงแผลงฤทธิ์ 014 กระทำยมกปาฏิหาริย์ในอากาศ พระองค์ทรงยังเทวดาและมนุษย์ให้ 015 ตรัสรู้สามหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อทรงประกาศจตุราริยสัจ แก่มนุษย์ 016 เทวดาและยักษ์ ธรรมาภิสมัยครั้งนั้น จะคำนวณนับมิได้ พระผู้มี 017 พระภาคกุกกุสันธะ ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ปราศจาก 018 มนทิน ผู้มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียวในกาลนั้น พระภิกษุขีณาสพ 019 ผู้บรรลุถึงภูมิที่ฝึกแล้ว เพราะสิ้นกิเลสเหตุให้เป็นหมู่คณะมีอาสวะ 020 เป็นต้น มาประชุมกันสี่หมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์ มีพระนามว่า 021 เขมะ เราได้ถวายทานมิใช่น้อยแด่พระตถาคตและพระสาวก เรา 022 ถวายบาตร จีวร ยาหยอดตา ชะเอมเครือ เราถวายของดีๆ ทุกอย่าง 023 ตามที่ภิกษุสงฆ์ปรารถนา แม้พระมุนีกุกกุสันธะผู้เป็นนายกชั้นพิเศษ 358 001 พระองค์นั้น ก็ทรงพยากรณ์เราว่าในภัทรกัปนี้ ผู้นี้จักได้เป็นพระ 002 พุทธเจ้าในโลก ....... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธ 003 พยากรณ์แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราอธิษฐานวัตร 004 ในการบำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการยิ่งขึ้น นครชื่อว่าเขมวดี ในกาลนั้น 005 เรามีชื่อว่าเขมะ เมื่อแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณจึงออกบวชใน 006 สำนักของพระองค์ พราหมณ์นามว่าอัคคิทัตตะเป็นพุทธบิดา 007 นางพราหมณีชื่อว่าวิสาขา เป็นพุทธมารดา ตระกูลใหญ่ของพระ 008 สัมพุทธเจ้าเป็นตระกูลที่ประเสริฐสุดกว่าตระกูลอื่นๆ มีชาติสูง 009 มียศมาก อยู่ในเขมนครนั้น พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่ 010 สี่พันปี มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อกามวัฑฒะ กามสุทธิ 011 และรติวัฑฒนะ มีนางสาวนารีสามหมื่นนาง บุตรชายนามว่าอุตระ 012 พระพิชิตมารทรงเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยรถอันเป็น 013 ยานพาหนะ บำเพ็ญเพียรอยู่ ๘ เดือนเต็ม พระกุกกุสันธมหาวีรเจ้า 014 ผู้อุดมกว่านรชน ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมี 015 พระวิธุรเถระและพระสัญชีวนามเถระเป็นพระอัครสาวก พระเถระ 016 ชื่อว่าพุทธิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสามาเถรีและพระจัมปนามา 017 เถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่าไม้ซึก 018 อัจจุคตอุบาสก และสุมนอุบาสกเป็นอัครอุปัฏฐาก นันทาอุบาสิกา 019 และสุนันทาอุบาสิกา เป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระมหามุนีมีพระองค์ 020 สูง ๔๐ ศอก พระรัศมีสีเปล่งปลั่งดังทองคำ เปล่งออกไป ๑๐ โยชน์ 021 โดยรอบ พระองค์มีพระชนมายุสี่หมื่นปี เมื่อทรงดำรงอยู่เท่านั้น 022 ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย ทรงแจกจ่าย 023 ตลาดธรรมให้แก่บุรุษและสตรี ทรงบันลือสีหนาทในโลกพร้อมทั้ง 024 เทวโลกแล้ว เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก พระองค์ ทรงถึง 359 001 พร้อมด้วยพระดำรัสมีองค์ ๘ ไม่มีช่องเนืองนิตย์ ทุกอย่างหายไป 002 หมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระกุกกุสันธชินเจ้าผู้ 003 ประเสริฐเสด็จนิพพานที่เขมาราม พระสถูปอันประเสริฐของ 004 พระองค์สูงคาวุตหนึ่ง ประดิษฐานอยู่ ณ เขมารามนั้น ฉะนี้แล. 005 จบกุกกุสันธพุทธวงศ์ที่ ๒๒ 006 โกนาคมนพุทธวงศ์ที่ ๒๓ 007 ว่าด้วยพระประวัติพระโกนาคมนพุทธเจ้า 008 [๒๔] สมัยต่อมาจากพระกุกกุสันธพุทธเจ้า พระสัมพุทธนราสภชินเจ้าผู้ 009 อุดมกว่าสัตว์ เชษฐบุรุษของโลก พระนามว่าโกนาคมนะ ทรง 010 บำเพ็ญธรรม ๑๐ ประการบริบูรณ์ ข้ามทางกันดารได้แล้ว ทรงลอย 011 มลทินทั้งปวงแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อพระองค์ผู้ 012 เป็นนายกชั้นพิเศษของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัย 013 ครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สามหมื่นโกฏิ และในคราวเมื่อพระองค์ 014 ทรงทำปฏิหาริย์ย่ำยีวาทะของผู้อื่น ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ ได้มีแก่ 015 สัตว์สองหมื่นโกฏิ ต่อแต่นั้น พระมุนีสัมพุทธชินเจ้าทรงแผลงฤทธิ์ 016 ต่างๆ เสด็จไปยังดาวดึงส์เทวโลก ประทับเหนือบัณฑุกัมพลศิลา 017 อาสน์ ทรงจำพรรษาอยู่ ณ ดาวดึงส์นั้น ทรงแสดงพระอภิธรรม ๗ 018 คัมภีร์ ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ ได้มีแก่ทวยเทพหมื่นโกฏิ แม้ 019 พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ก็ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพผู้ 020 ปราศจากมลทิน ผู้มีจิตสงบระงับ คงที่ ครั้งเดียว ในกาลนั้น 021 พระภิกษุขีณาสพผู้ล่วงโอฆะทั้งหลายและทำลายมัจจุราชแล้ว มา 022 ประชุมกันสามหมื่น สมัยนั้น เราเป็นกษัตริย์พระนามว่าบรรพต 023 ถึงพร้อมด้วยมิตรและอำมาตย์ มีพลนิกายและพาหนะมากมาย เรา 360 001 ไปเฝ้าพระสัมพุทธเจ้าได้ฟังธรรมอันยอดเยี่ยมแล้ว นิมนต์พระสงฆ์ 002 พร้อมด้วยพระชินเจ้า ได้ถวายทานตามปรารถนา เราได้ถวายผ้า 003 ปัตตุณณะ ผ้าเมืองจีน ผ้าไหม ผ้ากัมพล และรองเท้าทอง แก่ 004 พระศาสดาและพระสาวก แม้พระมุนีพระองค์นั้น ก็ประทับนั่ง 005 ท่ามกลางสงฆ์ตรัสพยากรณ์เราว่า ในภัทรกัปนี้ผู้นี้จักได้เป็นพระพุทธ 006 เจ้าในโลก .... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น เราได้ฟังพระพุทธพยากรณ์ 007 แม้นั้นแล้ว ก็ยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เราได้อธิษฐานวัตรในการ 008 บำเพ็ญบารมี ๑๐ ประการให้ยิ่งขึ้นไป เราผู้อุดมกว่านรชน เมื่อ 009 แสวงหาพระสัพพัญญุตญาณ จึงให้ทาน ละราชสมบัติอันใหญ่หลวง 010 บวชในพระสำนักพระชินเจ้า พระนครชื่อว่าโสภวดี พระบรมกษัตริย์ 011 พระนามว่าโสภะ ตระกูลใหญ่ของพระสัมพุทธเจ้าอยู่ในพระนครนั้น 012 ยัญทัตตพราหมณ์เป็นพุทธบิดา นางอุตราพราหมณีเป็นพุทธมารดา 013 พระองค์ครอบครองอาคารสถานอยู่สามหมื่นปี มีปราสาทอันประเสริฐ 014 ๓ ปราสาท ชื่อดุสิต สันดุสิต และสันตุฏฐะ มีนางสาวนารี หมื่น 015 หกพันนาง ล้วนประดับประดาสวยงาม นางรุจิคุตตาพราหมณีเป็น 016 ภรรยา บุตรชายนามว่าสัตถวาหะ พระองค์ผู้เป็นอุดมบุรุษได้เห็น 017 นิมิต ๔ ประการ จึงออกบวชด้วยยานช้างยานพาหนะ บำเพ็ญเพียร 018 อยู่ ๖ เดือน พระโกนาคมนมหาวีรเจ้า นายกของโลก ผู้อุดมกว่า 019 นรชน อันพรหมทูลอาราธนาแล้ว ทรงประกาศพระธรรมจักรที่ 020 มฤคทายวัน ทรงมีพระภิยโยสเถระ และพระอุตรเถระเป็นพระอัคร 021 สาวก พระเถระชื่อว่าโสตถิชะเป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระสมุททา 022 เถรีและพระอุตราเถรีเป็นพระอัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์ 023 เรียกชื่อว่า ไม้มะเดื่อ อุคคอุบาสกและโสมเทวอุบาสกเป็นอัคร- 024 อุปัฏฐาก สีวลาอุบาสิกาและสามาอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา 361 001 พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น มีพระองค์สูง ๓๐ ศอก ประดับด้วย 002 พระรัศมีเปล่งปลั่ง ดังทองที่ปากเบ้า พระองค์มีพระชนมายุในขณะ 003 นั้นสามหมื่นปี ทรงดำรงอยู่เท่านั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้น 004 วัฏสงสารได้มากมาย ทรงยกธรรมเจดีย์อันประดับด้วยผ้าคือธรรม 005 ขึ้นแล้ว ทรงร้อยพวงดอกไม้คือธรรมเสร็จแล้ว เสด็จนิพพานพร้อม 006 ด้วยพระสาวก พระองค์มีพระลีลาอันใหญ่มีธรรมอันเป็นสิริเป็นเครื่อง 007 ปรากฏ สิ่งทั้งปวงหายไปหมดแล้ว สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระ 008 โคนาคมนสัมพุทธเจ้า เสด็จนิพพาน ณ ปัพพตาราม พระธาตุของ 009 พระองค์แผ่กว้างไปในประเทศนั้นๆ ฉะนี้แล. 010 จบโกนาคมนพุทธวงศ์ที่ ๒๓ 011 กัสสปพุทธวงศ์ที่ ๒๔ 012 ว่าด้วยพระประวัติพระกัสสปพุทธเจ้า 013 [๒๕] สมัยต่อมาพระโกนาคมนพุทธเจ้า มีพระสัมพุทธเจ้าผู้อุดมกว่าสัตว์ 014 เป็นพระธรรมราชา มีพระรัสมีสว่างไสวทรงพระนามว่า กัสสปะ 015 ทรัพย์อันเป็นต้นทุนของตระกูล ที่สัตว์เป็นอันมากบูชา พระองค์ 016 ทรงละทิ้งเสียแล้วทรงเป็นทายกผู้องอาจให้ทาน ยังฉันทะให้เต็ม ทรง 017 ทำลายกิเลสดังสัตว์ร้ายแล้ว ทรงบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม เมื่อ 018 พระกัสสปะผู้เป็นนายกของโลก ทรงประกาศพระธรรมจักร ธรรมา 019 ภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์สองหมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระพุทธเจ้า 020 เสด็จจาริกไปในโลกตลอด ๔ เดือน ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ ได้มี 021 แก่สัตว์หมื่นโกฏิ ในคราวเมื่อพระองค์ทรงทำยมกปาฏิหาริย์แสดง 022 ฤทธิ์ต่างๆ ทรงประกาศพระญาณธาตุ ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ ได้มี 362 001 แก่สัตว์ห้าพันโกฏิ ในคราวที่พระองค์ทรงแสดงธรรม ณ สุธรรมเทพ 002 นครอันรื่นรมย์ พระชินเจ้าทรงทำให้เทวดาสามพันโกฏิได้ตรัสรู้ 003 และในคราวทรงแสดงธรรมแก่มนุษย์ เทวดา และยักษ์อีกครั้งหนึ่ง 004 มนุษย์เป็นต้นผู้ได้ตรัสรู้ธรรมนั้นจะคณนานับมิได้ แม้พระพุทธเจ้า 005 พระองค์นั้นก็ทรงมีการประชุมพระภิกษุขีณาสพ ผู้ปราศจากมลทิน 006 มีจิตสงบระงับ ผู้คงที่ ครั้งเดียว ครั้งนั้นพระภิกษุขีณาสพผู้ล่วง 007 สุดภพแล้ว ผู้คงที่ด้วยหิริและศีลมาประชุมกันสองหมื่น ในกาลนั้น 008 เราเป็นมาณพ มีชื่อปรากฏ ว่าโชติปาละ เป็นผู้เล่าเรียน ทรงมนต์ 009 รู้จบไตรเพทถึงที่สุดในคำภีร์ทำนายลักษณะและคัมภีร์อิติหาสะ เป็น 010 ผู้ฉลาดในวิชาดูพื้นที่และอากาศ เป็นผู้ใช้วิชา ไม่มีทุกข์ ฆฏิการ 011 อุบาสกผู้อุปัฏฐากแห่งพระผู้มีพระภาคกัสสปะ เป็นผู้มีความเคารพ 012 ยำเกรง เป็นพระอนาคามี ฆฏิการอุบาสกได้พาเราเข้าไปเฝ้าพระ 013 กัสสปชินเจ้า เราได้ฟังธรรมของพระองค์แล้วบวชในสำนักของ 014 พระองค์ เราเป็นผู้ปรารภความเพียร ฉลาดในวัตรและมิใช่วัตร 015 ไม่เสื่อมในที่ไหนๆ ปฏิบัติตามคำสั่งสอนของพระชินเจ้าบริบูรณ์ 016 เล่าเรียนนวังคสัตถุศาสน์เท่าที่พระพุทธเจ้าตรัสแล้วทุกอย่าง ยัง 017 พระศาสนาของพระพิชิตมารให้งดงาม แม้พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น 018 ทรงเห็นความอัศจรรย์ของเราแล้ว จึงทรงพยากรณ์ว่า ในภัทรกัปนี้ 019 ผู้นี้จักได้เป็นพระพุทธเจ้าในโลก ...... ข้ามแม่น้ำใหญ่ ฉะนั้น 020 เราได้ฟังพระพุทธพยากรณ์แม้นั้นแล้วยังจิตให้เลื่อมใสอย่างยิ่ง เรา 021 อธิษฐานวัตรในการบำเพ็ญเพียรบารมี ๑๐ ประการ การให้ยิ่งขึ้นไป 022 เรานึกถึงพระพุทธพยากรณ์อย่างนี้แล้ว งดเว้นอนาจาร กระทำกรรม 023 ที่ทำได้ยาก เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณเท่านั้น พระนครชื่อว่า 024 พาราณสี พระบรมกษัตริย์ พระนามว่ากิกี ตระกูลใหญ่ของพระ- 363 001 สัมพุทธเจ้าอยู่ในพระนครนั้น พรหมทัตตพราหมณ์เป็นพุทธบิดา 002 นางธนวดีพราหมณีเป็นพุทธมารดา พระองค์ทรงครอบครองอาคาร 003 สถานอยู่สองพันปี ทรงมีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อหังษะ 004 ยสะ และสิริจันทะ มีนางสาวนารีสี่หมื่นแปดพันนางล้วนประดับ 005 ประดาสวยงาม นางสุนันทาพราหมณีเป็นภรรยา บุตรชายนามว่า 006 วิชิตเสน พระองค์ผู้เป็นบุรุษอุดม ได้เห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออก 007 บวชพร้อมด้วยปราสาท ทรงบำเพ็ญเพียรอยู่ ๗ วัน พระกัสสปมหา 008 วีรเจ้าผู้เป็นนายกของโลกผู้อุดมกว่านรชน อันพรหมทูลอาราธนาแล้ว 009 ทรงประกาศพระธรรมจักรที่มฤคทายวัน ทรงมีพระติสสเถระและ 010 พระภารทวาชเถระ เป็นพระอัครสาวก พระเถระชื่อว่าสรรพมิตตะ 011 เป็นพระพุทธอุปัฏฐาก พระอนุลาเถรีและพระอุรุเวลาเถรีเป็นพระ 012 อัครสาวิกา ไม้โพธิพฤกษ์ของพระองค์เรียกชื่อว่านิโครธ สุมังคล 013 อุบาสกและฆฏิการอุบาสก เป็นอัครอุปัฏฐาก วิชิตเสนาอุบาสก และ 014 ภัททาอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา พระพุทธเจ้าพระองค์นั้น มี 015 พระองค์สูง ๒๐ ศอก มีพระรัศมีเปล่งปลั่งดังสายฟ้าในอากาศ 016 ดุจพระจันทร์เต็มดวง พระองค์มีพระชนมายุสองหมื่นปี เมื่อทรง 017 ดำรงอยู่เพียงนั้น ทรงช่วยให้ประชุมชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย 018 ทรงสร้างสระน้ำคือธรรมไว้ ทรงประทานเครื่องลูบไล้ คือ ศีล 019 ทรงจัดผ้าคือธรรมไว้นุ่งห่ม ทรงแจกพวงมาลัยคือธรรม ทรงตั้ง 020 กระจกเงาอันไร้มลทินคือธรรมไว้ให้มหาชน ด้วยทรงหวังว่า ชน 021 บางพวกปรารถนานิพพาน จงเห็นเครื่องประดับของเรา ทรงจัดเสื้อ 022 คือศีล เกราะหนังคือญาณ ทรงจัดหนังคือธรรมไว้ให้คลุม และ 023 เครื่องรบอย่างดีเลิศให้ ทรงจัดโล่ห์คือสติ หอกคือญาณอันคมกล้า 024 ดาบอย่างดีคือธรรม และศาตราวุธเครื่องย่ำยีศัตรูคือศีลไว้ให้ ทรงจัด 364 001 ภูษา คือไตรวิชา พวงมาลัยสวมศีรษะคือผล ๔ เครื่องอาภรณ์ คือ 002 อภิญญา ๖ และดอกไม้เครื่องประดับคือธรรม ร่มขาวคือพระสัทธรรม 003 อันเป็นเครื่องป้องกันบาป ทรงนิรมิตดอกไม้ คือ ความไม่มีเวรภัย 004 ไว้ให้เสร็จแล้ว พระองค์ก็เสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก แท้ 005 จริง พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามีพระคุณหาประมาณมิได้ ยากที่จะรู้ได้ 006 พระธรรมรัตนะที่ตรัสไว้ดีแล้วควรเรียกให้มาดู พระสังฆรัตนะผู้ 007 ปฏิบัติดี ไม่มีผู้อื่นยิ่งไปกว่า ทั้ง ๓ รัตนะนี้ หายไปหมดทุกอย่างแล้ว 008 สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ พระมหากัสสปชินศาสดา เสด็จนิพพาน 009 ที่เสตัพยาราม ทระสถูปของพระองค์ สูงหนึ่งโยชน์ ประดิษฐานอยู่ 010 ณ เสตัพยารามนั้น ฉะนี้แล. 011 จบกัสสปพุทธวงศ์ที่ ๒๔ 012 โคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ 013 ว่าด้วยพระประวัติพระโคตมพุทธเจ้า 014 [๒๖] บัดนี้ เราเป็นพระสัมพุทธเจ้านามว่า โคดม เจริญในศากยสกุล 015 เราบำเพ็ญเพียรแล้ว ได้บรรลุสัมโพธิญาณอันอุดม พรหมอาราธนา 016 แล้ว ประกาศพระธรรมจักร ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๑ ได้มีแก่สัตว์ 017 ๑๘ โกฏิ ต่อแต่นั้น เมื่อเราแสดงธรรมในสมาคมมนุษย์และเทวดา 018 ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๒ จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ ในคราวที่เรา 019 กล่าวสอนราหุลบุตรของเราบัดนี้ ณ ที่นี้แล ธรรมาภิสมัยครั้งที่ ๓ 020 จะพึงกล่าวโดยคำนวณนับมิได้ เรามีการประชุมพระสาวกผู้แสวงหา 021 คุณใหญ่ครั้งเดียว ภิกษุที่ประชุมกันมี ๑๒๕๐ รูป เราผู้ปราศจาก 022 มลทินรุ่งเรือนอยู่ในท่ามกลางภิกษุสงฆ์ เราให้สิ่งที่ปรารถนาทุกอย่าง 023 เหมือนแก้วมณีให้สิ่งที่ต้องการทั้งปวง ฉะนั้น เราประกาศจตุราริยสัจ 365 001 เพื่ออนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลาย ผู้หวังผล ผู้แสวงหาธรรมเครื่องละ 002 ความพอใจในภพ ธรรมาภิสมัยได้มีแก่สัตว์สองแสน ธรรมาภิสมัย 003 ครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ ได้มีแก่สัตว์โดยจะคณนานับมิได้ คำสั่งสอน 004 ของเราผู้เป็นศากยมุนี กว้างขวางเจริญแพร่หลายงอกงามดี บริสุทธิ์ 005 ผ่องแผ้ว เป็นประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก ภิกษุหลายร้อยล้วนเป็น 006 ผู้ไม่มีอาสวะ ปราศจากราคะมีจิตสงบระงับมั่นคงแวดล้อมเราอยู่ทุก 007 เมื่อในกาลบัดนี้ ภิกษุเหล่าใด เป็นพระเสขะยังมิได้บรรลุอรหัต 008 ละภพมนุษย์ไป ภิกษุเหล่านั้น วิญญูชนตำหนิ ชนทั้งหลายผู้ชอบใจ 009 ทางพระอริยเจ้า ยินดีในธรรมทุกเมื่อ มีปัญญารุ่งเรือง ถึงจะยัง 010 ท่องเที่ยวอยู่ในสงสาร ก็จักตรัสรู้ได้ นครของเราชื่อกบิลพัสดุ์ 011 พระเจ้าสุทโธทนะเป็นโยมบิดาของเรา โยมมารดาบังเกิดเกล้าของเรา 012 เรียกพระนามว่า มายาเทวี เราครอบครองอาคารสถานอยู่ ๒๙ ปี 013 มีปราสาทอันประเสริฐ ๓ ปราสาท ชื่อสุจันทะ โกกนุทะ และ 014 โกญจะ มีสนมนารีกำนัลในแปดหมื่นสี่พันนาง ล้วนประดับประดา 015 สวยงาม มเหสีของเรานามว่า ยโสธรา บุตรชายของเราชื่อว่าราหุล 016 เราเห็นนิมิต ๔ ประการ จึงออกผนวชด้วยอัสวราชยาน ได้บำเพ็ญ 017 เพียรประพฤติทุกกรกิริยาอยู่ ๖ ปี เราประกาศธรรมจักที่ป่าอิสิปตน 018 มฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี เราเป็นพระสัมพุทธเจ้าชื่อว่าโคดม 019 เป็นที่พึ่งของสัตว์ทั้งปวง ภิกษุ ๒ รูป ชื่ออุปติสสะและโกลิตะ 020 เป็นอัครสาวกของเรา ภิกษุชื่ออานนทะ เป็นอุปัฏฐาก อยู่ในสำนัก 021 ของเรา ภิกษุณีชื่อเขมาและอุบลวรรณาเป็นอัครสาวิกา จิตต 022 คฤหบดีและหัตถกอุบาสกชาวเมืองอาฬวี เป็นอัครอุปัฏฐาก นันท 023 มาดาและอุตราอุบาสิกาเป็นอัครอุปัฏฐายิกา เราบรรลุสัมโพธิญาณ- 024 อันอุดม ที่ควงไม้อัสสัตถพฤกษ์ เรามีรัศมีซ่านออกด้านละวาทุกเมื่อ 366 001 สูงขึ้นไป ๑๖ ศอก บัดนี้ อายุของเราน้อย มี ๑๐๐ ปี ถึงเราจะดำรง 002 อยู่เพียงนั้น ก็ช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย เราตั้งคบ 003 เพลิงคือธรรมไว้สำหรับให้คนภายหลังได้ตรัสรู้ อีกไม่นานเลย แม้ 004 เรากับสงฆ์สาวกก็จักนิพพาน ณ ที่นี้แลเพราะสิ้นอาหาร เหมือน 005 ไฟสิ้นเชื้อ ฉะนั้น เรามีร่างกายเป็นเครื่องทรงคุณ คือ เดชอันไม่มี 006 เทียบเคียง ยศ กำลังและฤทธิ์เหล่านี้ วิจิตด้วยลักษณะอันประเสริฐ 007 ๓๒ ประการ มีรัศมี ๖ ประการ สว่างไสวไปทั่วทิศน้อยใหญ่ ดุจ 008 พระอาทิตย์ ทุกอย่างจักหายไปหมดสิ้น สังขารทั้งปวงว่างเปล่าหนอ 009 ฉะนี้แล. 010 จบโคตมพุทธวงศ์ที่ ๒๕ 011 พุทธปกิรณกกัณฑ์ 012 ว่าด้วยเรื่องเบ็ดเตล็ดเกี่ยวกับพระพุทธเจ้า 013 [๒๗] ในกัปอันประมาณมิได้แก่ภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกชั้น 014 พิเศษ ๔ พระองค์ คือ พระตัณหังกรสัมพุทธเจ้า ๑ 015 พระเมธังกรสัมพุทธเจ้า ๑ พระสรณังกรสัมพุทธเจ้า ๑ และพระ 016 ทีปังกรสัมพุทธเจ้า ๑ ท่านเหล่านั้นเสด็จอุบัติในกัปเดียวกัน ต่อจาก 017 ที่พระทีปังกรสัมพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่าโกณฑัญญะ 018 พระองค์เดียวเสด็จอุบัติกัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสาร 019 ได้มากมาย ระหว่างพระผู้มีพระภาคทีปังกร และพระโกณฑัญญะ 020 บรมศาสดา เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิได้ ต่อจากพระโกณ 021 ฑัญญะบรมศาสดา มีพระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ แม้ระหว่าง 022 พระโกณฑัญญะและพระมังคละพุทธเจ้านั้น ก็เป็นอันตรกัป โดยจะ 023 คำนวณนับมิได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่ามังคละ สุมนะ เรวตะ และ 024 โสภิตะ ผู้เป็นมุนี มีจักษุ มีพระรัศมีสว่างไสว แม้พระพุทธเจ้า ๔ 025 พระองค์นั้นก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว กันต่อจากพระโสภิตพุทธเจ้า 367 001 มีพระมหามุนีพระนามว่าอโนมทัสสี แม้ระหว่างพระพุทธเจ้าพระนาม 002 ว่าโสภิตะ และอโนมทัสสีนั้นก็เป็นอันตรกัป โดยจะคำนวณนับมิ 003 ได้ พระพุทธเจ้าพระนามว่าอโนมทัสสี ปทุมะ และนารทะ ผู้เป็น 004 มุนีกระทำที่สุดความมืด ก็เสด็จอุบัติขึ้นในกัปเดียว ต่อจากพระ 005 นารทสัมพุทธเจ้า มีพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ เสด็จอุบัติใน 006 กัปหนึ่ง ทรงช่วยให้หมู่ชนข้ามพ้นวัฏสงสารได้มากมาย แม้ระหว่าง 007 พระผู้มีพระภาคนารทะและพระปทุมุตรศาสดานั้น ก็เป็นอันตรกัป 008 โดยจะคำนวณนับมิได้ในแสนกัป มีพระมหามุนีพระองค์เดียว คือ 009 พระปทุมุตระผู้รู้แจ้งโลก ผู้สมควรรับเครื่องบูชา ในสามหมื่นกัป 010 ต่อจากพระพุทธเจ้าพระนามว่าปทุมุตระ มีพระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ 011 คือ พระสุเมธะและพระสุชาตะ ในพันแปดร้อยกัป (แต่กัปนี้) มี 012 พระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระปิยทัสสี พระอัตถทัสสี และ 013 พระธรรมทัสสี ต่อจากพระสุชาตพุทธเจ้า พระสัมพุทธเจ้าผู้อุดม 014 กว่าสัตว์ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบในโลก ๓ พระองค์นั้น เสด็จอุบัติใน 015 กัปเดียวกัน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระมหามุนีพระองค์เดียว 016 คือ พระสิทธัตถะ ผู้ทรงรู้แจ้งโลก ยอดเยี่ยมโดยมีบุญสิริ ในกัป 017 ที่ ๙๒ แต่ภัทรกัปนี้ มีพระสัมพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระติสสะ 018 และพระปุสสะ ผู้ไม่มีบุคคลเปรียบเสมอ ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ 019 มีพระพุทธเจ้าผู้เป็นนายกของโลก ผู้มีพระกรุณาพระนามว่าวิปัสสี 020 ทรงเปลื้องสัตว์ทั้งหลายจากเครื่องผูก ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ มี 021 พระพุทธเจ้า ๒ พระองค์ คือพระสิขีและพระเวสสภู ผู้ไม่มีบุคคล 022 เปรียบเสมอ ในภัทรกัปนี้ มีพระพุทธเจ้า ๓ พระองค์ คือ พระ 023 กุกกุสันธะ พระโกนาคมนะ และพระกัสสปะ บัดนี้เราเป็นพระ 024 สัมพุทธเจ้าและจักมีพระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้า แม้พระพุทธเจ้า ๕ 368 001 พระองค์นี้ ก็เป็นนักปราชญ์ อนุเคราะห์โลก บรรดาพระพุทธเจ้า 002 ผู้เป็นธรรมราชาเหล่านี้ พระเมตไตรย์สัมพุทธเจ้าจักตรัสบอกมรรคา 003 นั้นแก่ผู้อื่นหลายโกฏิ แล้วจักเสด็จนิพพานพร้อมด้วยพระสาวก 004 ฉะนี้แล. 005 จบพุทธปกิรณกกัณฑ์. 006 ธาตุภาชนียกถา 007 ว่าด้วยการแบ่งพระบรมสารีริกธาตุ 008 [๒๘] พระมหาโคดมชินเจ้าผู้ประเสริฐ เสด็จนิพพานที่นครกุสินารา 009 พระธาตุของพระองค์ เรี่ยรายแผ่ไปในประเทศนั้นๆ พระธาตุ 010 ทะนานหนึ่ง พระเจ้าอชาตศัตรูทรงนำไปไว้ในพระนครราชคฤห์ 011 ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองเวสาสี ทะนานหนึ่งอยู่ในนครกบิลพัสดุ์ 012 ทะนานหนึ่งอยู่ในอัลลากัปปนคร ทะนานหนึ่งอยู่ในรามคาบ 013 ทะนานหนึ่งอยู่ในเวฏฐาทีปกนคร ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองปาวาของ 014 มัลลกษัตริย์ ทะนานหนึ่งอยู่ในเมืองกุสินารา โทณพราหมณ์ให้ช่าง 015 สร้างสถูป บรรลุทะนานทอง กษัตริย์โมริยะผู้มีหทัยยินดี รับสั่งให้ 016 สร้างสถูปบรรจุพระอังคาร พระสถูปบรรจุพระสารีริกธาตุ ๘ แห่ง 017 เป็น ๙ แห่ง ทั้งตุมพเจดีย์ รวมพระอังคารสถูปด้วยเป็น ๑๐ แห่ง 018 ประดิษฐานอยู่แล้วในกาลนั้น พระทาฐธาตุข้างหนึ่งอยู่ในดาวดึงส 019 พิภพ ข้างหนึ่งอยู่ในนาคบุรี ข้างหนึ่งอยู่ในเมืองคันธารวิสัย ข้าง 020 หนึ่งอยู่ในเมืองกาลิงคราช พระทันตธาตุ ๔๐ พระเกศธาตุและพระ 021 โลมาทั้งหมด เทวดานำไปไว้ในจักรวาลหนึ่งๆ จักรวาลละอย่าง 022 บาตรไม้เท้าและจีวรของพระผู้มีพระภาค อยู่ในวชิรานครสงบอยู่ใน 023 กุลฆรนคร ผ้าปัจจัตถรณะอยู่ในสีหฬ ธมกรกและประคตเอว อยู่ 024 ในนครปาฏลิบุตร ผ้าอาบน้ำอยู่ในจำปานคร อุณณาโลมอยู่ใน 025 แคว้นโกศล ผ้ากาสาวพัสตร์อยู่ในพรหมโลก ผ้าโพกอยู่ในดาวดึงส์ 369 001 (รอยพระบาทอันประเสริฐที่หิน เหมือนมีอยู่ที่กัจฉตบุรี) ผ้านิสีทนะ 002 อยู่ในอวันตีชนบท ผ้าลาดอยู่ในดาวดึงส์ ไม้สีไฟอยู่ในมิถิลานคร 003 ผ้ากรองน้ำอยู่ในวิเทหรัฐ มีดและกล่องเข็มอยู่ในอินทปัตถนคร ใน 004 กาลนั้น บริขารที่เหลือ อยู่ในชนบท ๓ แห่งในกาลนั้น หมู่ 005 มนุษย์ในกาลนั้นจักบูชาบริขารที่พระมุนีทรงบริโภค พระธาตุของ 006 พระโคดมผู้แสวงหาคุณอันใหญ่หลวง กระจายแผ่กว้างไป เพื่อ 007 อนุเคราะห์แก่สัตว์ทั้งหลายเป็นของเก่าในกาลนั้น ฉะนี้แล. 008 จบธาตุภาชนียกถา. 009 จบพุทธวงศ์ 010 -------------- 370 001 จริยาปิฎก 002 ๑. การบำเพ็ญทานบารมี 003 อกิตติจริยาที่ ๑ 004 ว่าด้วยจริยาวัตรของอกิตติดาบส 005 [๑] ในสี่อสงไขยแสนกัป ความประพฤติอันใดในระหว่างนี้ ความ 006 ประพฤติทั้งหมดนั้น เป็นเครื่องบ่มพระโพธิญาณ เราจักเว้นความ 007 ประพฤติในภพน้อยใหญ่ในกัปเสีย จักบอกความประพฤติในกัปนี้ 008 จงฟังเรา ในกาลใด เราเป็นดาบสชื่ออกิตติ เข้าไปอาศัยอยู่ในป่า 009 ใหญ่อันว่างเปล่า สงัดเงียบปราศจากเสียงอื้ออึง ในกาลนั้น ด้วย 010 เดชแห่งการประพฤติตบะของเรา สมเด็จอัมรินทร์ผู้ครองไตรทิพย์ 011 ทรงร้อนพระทัย ทรงแปลงเพศเป็นพราหมณ์เข้ามาหาเราเพื่อภิกษา 012 เราได้เห็นอินทพราหมณ์มายืนอยู่ใกล้ประตูบรรณศาลาของเรา จึง 013 เอาใบหมากเม่าที่เรานำมาแต่ป่า อันไม่มีน้ำมัน ทั้งไม่เค็ม ให้หมด 014 พร้อมกับภาชนะ ครั้นได้ให้หมากเม่าแก่อินทพราหมณ์นั้นแล้ว 015 เราจึงคว่ำภาชนะ ละการแสวงหาใบหมากเม่าใหม่ เข้าไปยังบรรณ 016 ศาลา แม้ในวันที่ ๒ แม้ในวันที่ ๓ อินทพราหมณ์ก็เข้ามายังสำนัก 017 ของเรา เราไม่หวั่นไหว ไม่อาลัยในชีวิต ได้ให้หมดสิ้นเช่น 018 วันก่อนเหมือนกัน ในสรีระของเราไม่มีความหมองศรีเพราะการอด 019 อาหารนั้นเป็นปัจจัย เรายับยั้งอยู่ตลอดวันนั้นๆ ด้วยปีติ สุข และ 020 ความยินดี (อันเกิดแต่ความยินดี) ถ้าเราพึงได้ทักขิเณยยบุคคลผู้ 021 ประเสริฐ แม้เดือนหนึ่งสองเดือนเราก็ไม่หวั่นไหว ไม่ท้อแท้ใจ 022 พึงให้ทานอันอุดม เมื่อให้ทานแก่อินทพราหมณ์นั้น เราจะได้ 371 001 ปรารถนายศและลาภก็หามิได้ เราปรารถนาพระสัพพัญญุตญาณ 002 (เท่านั้น) จึงได้ประพฤติกรรมเหล่านั้น ฉะนี้. 003 จบอกิตติจริยาที่ ๑ 004 สังขพราหมณจริยาที่ ๒ 005 ว่าด้วยจริยาวัตรของสังขพราหมณ์ 006 [๒] อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อเราเป็นพราหมณ์มีนามว่าสังขะ ต้องการจะข้าม 007 มหาสมุทรไปอาศัยปัฏฏนคามอยู่ ในกาลนั้น เราได้เห็นพระปัจเจก 008 พุทธเจ้าผู้รู้เอง ใครๆ ชนะไม่ได้ ซึ่งเดินสวนทางมาตามทางกันดาร 009 บนภาคพื้นอันแข็ง ร้อนจัด ครั้นเราเห็นท่านเดินสวนทางมา จึงคิด 010 เนื้อความนี้ว่า บุญเขตนี้มาถึงแก่เราผู้เป็นสัตว์ที่ต้องการบุญเปรียบ 011 เหมือนบุรุษชาวนาเห็นนาอันเป็นอู่ข้าวอู่น้ำ (เป็นที่น่ายินดีมาก) ไม่ 012 ปลูกพืชลงในนานั้น เขาชื่อว่าเป็นผู้ไม่ต้องการด้วยข้าวเปลือกฉันใด 013 เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ต้องการบุญ เห็นเขตบุญอันประเสริฐ 014 สุดแล้ว ถ้าไม่ทำบุญ (สักการะ) เราก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ต้องการบุญ 015 เปรียบเหมือนอำมาตย์ต้องการจะให้ชนชาวเมืองของพระราชายินดี 016 แต่ไม่ให้ทรัพย์และข้าวเปลือกแก่เขา ก็ย่อมเสื่อมจากความยินดี 017 ฉันใด เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ต้องการบุญ เห็นทักขิเณยย 018 บุคคลอันไพบูลย์แล้ว ถ้าไม่ให้ทานในทักขิเณยยบุคคลนั้นก็จัก 019 เสื่อมจากบุญ ครั้นเราคิดอย่างนี้แล้วจึงถอดรองเท้า ไหว้เท้าของ 020 ท่านแล้ว ได้ถวายร่มและรองเท้า เพราะฉะนั้น เราจึงเป็นผู้ละเอียด 021 อ่อนเจริญสุขได้ร้อยเท่าพันทวี อนึ่ง เมื่อเราบำเพ็ญทานให้บริบูรณ์ 022 ได้ถวายแก่ท่านนั้น อย่างนี้แล. 023 จบสังขพราหมณจริยาที่ ๒ 372 001 กุรุธรรมจริยาที่ ๓ 002 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าธนญชัย 003 [๓] อีกเรื่องหนึ่ง เมื่อเราเป็นพระราชามีนามว่าธนญชัย อยู่ใน 004 อินทปัตถบุรีอันอุดม ประกอบด้วยกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการ 005 ในกาลนั้น พวกพราหมณ์ชาวกาลิงครัฐ ได้มาหาเรา ขอพระยาคช 006 สารทรง อันประกอบด้วยมงคลหัตถี กะเราว่าชนบทฝนไม่ตกเลย 007 เกิดทุพภิกขภัย อดอยากอาหารมาก ขอพระองค์จงทรงพระราชทาน 008 พระยาคชสารตัวประเสริฐมีสีกายเขียวชื่ออัญชนะเถิด เราคิดว่า 009 การห้ามยาจกทั้งหลายที่มาถึงแล้ว ไม่สมควรแก่เราเลย กุศล 010 สมาทานของเราอย่าทำลายเสียเลย เราจักให้คชสารตัวประเสริฐ 011 เราได้รับงวงพระยาคชสาร วางลงบนมือพราหมณ์ แล้วจึงหลั่งน้ำใน 012 เต้าทองลงบนมือได้ให้พระยาคชสารแก่พราหมณ์ เมื่อเราได้ให้ 013 พระยาคชสารแล้ว พวกอำมาตย์ได้กล่าวดังนี้ว่า เหตุไรหนอพระองค์ 014 จึงพระราชทานพระยาคชสารตัวประเสริฐ อันประกอบด้วยธัญญ 015 ลักษณ์ สมบูรณ์ด้วยมงคล ชนะในสงครามอันสูงสุด แก่ยาจก 016 เมื่อพระองค์ทรงพระราชทานคชสารแล้ว พระองค์จักเสวยราชสมบัติ 017 ได้อย่างไร [เราได้ตอบว่า] แม้ราชสมบัติทั้งหมดเราก็พึงให้ ถึง 018 สรีระของตน เราก็พึงให้ เพราะสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา 019 ฉะนั้น เราจึงได้ให้พระยาคชสาร ดังนี้แล. 020 จบกุรุธรรมจริยาที่ ๓ 021 มหาสุทัสนจริยาที่ ๔ 022 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระมหาสุทัสนจักรพรรดิ 023 [๔] ในเมื่อเราเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ทรงพระนามว่ามหาสุทัสนะ 373 001 มีพลานุภาพมาก ได้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน เสวยราชสมบัติในพระนคร 002 กุสาวดี ในกาลนั้น เราได้สั่งให้ประกาศทุกๆ วัน วันละ ๓ ครั้งว่า 003 ใครอยากปรารถนาอะไร เราจะให้ทรัพย์อะไรแก่ใคร ใครหิว ใคร 004 กระหาย ใครต้องการดอกไม้ ใครต้องการเครื่องลูบไล้ ใครขาด 005 แคลนผ้าสีต่างๆ ก็จงมาถือเอาไปนุ่งห่ม ใครต้องการร่มไปในหนทาง 006 ก็จงมารับเอาไป ใครต้องการรองเท้าอันอ่อนงาม ก็จงมารับเอาไป 007 เราให้ประกาศดังนี้ทั้งเวลาเย็น ทั้งเวลาเช้า ทุกวัน ทานนั้นมิใช่เรา 008 ตกแต่งไว้ในที่ ๑๐ แห่ง หรือมิใช่ ๑๐๐ แห่งเราตกแต่งทรัพย์ไว้ 009 สำหรับยาจกในที่หลายร้อยแห่ง วณิพกจะมาในเวลากลางวันก็ตาม 010 หรือในเวลากลางคืนก็ตามก็ได้โภคะตามความปรารถนา พอเต็มมือ 011 กลับไป เราได้ให้มหาทานเห็นปานนี้จนตราบเท่าสิ้นชีวิต เราได้ให้ 012 ทรัพย์ที่น่าเกลียดก็หามิได้ และเราไม่มีการสั่งสมก็หามิได้ เปรียบ 013 เหมือนคนไข้กระสับกระส่าย เพื่อจะพ้นจากโรค ต้องการให้หมอ 014 พอใจด้วยทรัพย์จึงหายจากโรคได้ ฉันใด เราก็ฉันนั้น รู้อยู่ (ว่า ทาน 015 บริจาคเป็นอุบายเครื่องเปลื้องตนและสัตว์โลกทั้งสิ้น ให้พ้นจากโลก 016 คือสังขารทุกข์ทั้งสิ้นได้) จึงบำเพ็ญทานให้บริบูรณ์โดยไม่มีเศษเหลือ 017 เพื่อยังใจที่บกพร่องให้เต็มเราจึงให้ทานแก่วณิพกเรามิได้อาลัย มิได้ 018 หวังอะไร ได้ให้ทานเพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้แล. 019 จบมหาสุทัสนจริยาที่ ๔ 020 มหาโควินทจริยาที่ ๕ 021 ว่าด้วยจริยาวัตรของโควินทพราหมณ์ 022 [๕] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นพราหมณ์นามว่ามหาโควินท์เป็น 023 ปุโรหิตของพระราชา ๗ พระองค์ อันนรชนและเทวดาบูชา ใน 374 001 กาลนั้น เครื่องบรรณาการอันใดในราชอาณาจักรทั้ง ๗ ได้มีแล้วแก่ 002 เรา เราได้ให้มหาทานร้อยล้านแสนโกฏิเปรียบด้วยสาครด้วย 003 บรรณาการนั้น เราจะเกลียดทรัพย์และข้าวเปลือกก็หามิได้ และ 004 เราจะไม่มีการสั่งสมก็หามิได้ แต่พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของ 005 เรา ฉะนั้น เราจึงให้ทานอย่างประเสริฐ ฉะนี้แล. 006 จบมหาโควินทจริยาที่ ๕ 007 เนมิราชจริยา ที่ ๖ 008 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าเนมิราช 009 [๖] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นมหาราชาพระนามว่าเนมิเป็นบัณฑิต 010 ต้องการกุศลอยู่ในพระนครมิถิลาอันอุดมในกาลนั้น เราได้สร้าง 011 ศาลา ๔ แห่ง อันมีหน้ามุขหลังละสี่ๆ เรายังทานให้เป็นไปในศาลา 012 นั้นแก่ เนื้อ นก และนรชนเป็นต้น ยังมหาทาน คือ เครื่อง 013 นุ่งห่ม ที่นอน และโภชนะ คือ ข้าว และน้ำ ให้เป็นไปแล้วไม่ 014 ขาดสาย เปรียบเหมือนเสวก เข้าไปหานายเพราะเหตุแห่งทรัพย์ 015 ย่อมแสวงหานายที่พึงให้ยินดีได้ ด้วยกายกรรม วจีกรรม และ 016 มโนกรรมฉันใด เราก็ฉันนั้น จักแสวงหาพระสัพพัญญุตญาณใน 017 ภพทั้งปวง จึงยังสัตว์ทั้งหลายให้อิ่มหนำด้วยทาน แล้วปรารถนา 018 โพธิญาณอันอุดม ฉะนี้แล. 019 จบเนมิราชจริยาที่ ๖ 020 จันทกุมารจริยาที่ ๗ 021 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระจันทกุมาร 022 [๗] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นโอรสของพระเจ้าเอกราชมีนามว่า 023 จันทกุมาร อยู่ในพระนครปุบผวดี ในกาลนั้นเราพ้นจากการบูชายัญ 024 แล้ว ออกไปจากที่บวงสรวงนั้นยังความสังเวชให้เกิดขึ้น แล้วยัง 375 001 มหาทานให้เป็นไป เราไม่ให้ทานแก่ทักขิเณยยบุคคลแล้วย่อมไม่ 002 ดื่มน้ำ ไม่เคี้ยวของเคี้ยว และไม่บริโภคโภชนะ ๕-๖ ราตรีบ้าง 003 เปรียบเหมือนพ่อค้า รวบรวมสินค้าไว้แล้ว ในที่ใดจะมีลาภมาก 004 (ได้กำไรมาก) ก็นำสินค้าไปในที่นั้น ฉันใดแม้อาหารของตนที่เรา 005 ให้แล้วแก่คนอื่น มีกำลังมาก (มากมาย) ฉันนั้น (สิ่งของที่เราให้ผู้ 006 อื่น มีกำลังมากกว่าสิ่งของที่ตนใช้เอง ฉันนั้น) เพราะฉะนั้น พาน 007 ที่เราให้ผู้อื่นจักเป็นส่วนร้อย เรารู้อำนาจประโยชน์นี้ จึงให้ทาน 008 ในภพน้อยภพใหญ่ เราไม่ถอยกลับ (ไม่ท้อถอย) จากการให้ทาน 009 เพื่อบรรลุสัมโพธิญาณ ฉะนี้แล. 010 จบจันทกุมารจริยาที่ ๗ 011 สีวีราชจริยาที่ ๘ 012 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเจ้าสีวีราช 013 [๘] ในกาลเมื่อเราเป็นกษัตริย์พระนามว่าสีวี อยู่ในพระนครอันมีนามว่า 014 อริฏฐะ เรานั่งอยู่ในปราสาทอันประเสริฐ ได้ดำริอย่างนี้ว่า ทานที่ 015 มนุษย์พึงให้อย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เราไม่ได้ให้แล้วไม่มี แม้ผู้ใดพึงขอ 016 จักษุกะเรา เราก็พึงให้ไม่หวั่นใจเลย ท้าวสักกะผู้เป็นใหญ่กว่า 017 ทวยเทพทรงทราบความดำริของเราแล้ว ประทับนั่งในเทพบริษัท 018 ได้ตรัสพระดำรัสนี้ว่าพระเจ้าสีวีผู้มีฤทธิ์มาก ประทับนั่งในปราสาท 019 อันประเสริฐ พระองค์ทรงดำริถึงทานต่างๆ ไม่ทรงเห็นสิ่งที่ยังมิได้ 020 ให้ข้อนั้นจะเป็นจริงหรือไม่หนอ ผิฉะนั้น เราจักทดลองพระองค์ดู 021 ท่านทั้งหลายพึงคอยอยู่สักครู่หนึ่ง เพียงเรารู้น้ำใจของพระเจ้าสีรี 022 เท่านั้น ท้าวสักกะจึงทรงแปลงเพศเป็นคนตาบอด มีกายสั่น ศีรษะ 023 หงอก หนังหย่อน กระสับกระส่าย เพราะชรา เข้าไปเฝ้าพระราชา 024 ในกาลนั้น อินทพราหมณ์นั้น ประคองพระพาหาเบื้องซ้ายขวา 376 001 ประนมกรอัญชลีเหนือเศียรได้กล่าวคำนี้ว่า ข้าแต่พระมหาราชาผู้ 002 ทรงธรรม ทรงปกครองรัฐให้เจริญ ข้าพระองค์จะขอกะพระองค์ 003 เกียรติคุณคือความยินดีในทานของพระองค์ ขจรไปในเทวดาและ 004 มนุษย์หน่วยตาแม้ทั้งสองของข้าพระองค์บอดเสียแล้ว ขอจงพระ 005 ราชทานพระเนตรข้างหนึ่งแก่ข้าพระองค์เถิด แม้พระองค์จักทรงยัง 006 อัตภาพให้เป็นไปด้วยพระเนตรข้างหนึ่ง เราได้ฟังคำของพราหมณ์ 007 นั้นแล้ว ทั้งดีใจและสลดใจประคองอัญชลี มีปีติและปราโมทย์ ได้ 008 กล่าวคำนี้ว่า เราคิดแล้วลงจากปราสาทมาถึงที่นี้บัดนี้เอง ท่านรู้จิต 009 ของเราแล้ว มาขอนัยน์ตา โอ ความปรารถนาของเราสำเร็จแล้ว 010 ความดำริของเราบริบูรณ์แล้ว วันนี้ เราจักให้ทานอันประเสริฐ ซึ่ง 011 เราไม่เคยให้ แก่ยาจก มานี่แน่ะหมอสิวิกะ จงขมีขมันอย่าชักช้า 012 อย่าครั่นคร้าม จงควักนัยน์ตาแม้ทั้งสองข้างออกให้แก่วณิพกนี้ 013 เดี๋ยวนี้ หมอสิวิกะนั้นเราเตือนแล้ว เชื่อฟังคำของเรา ได้ควัก 014 นัยน์ตาทั้งสองออกให้แก่ยาจกทันที เมื่อเราจะให้ก็ดี กำลังให้ก็ดี 015 ให้แล้วก็ดี จิตของเราไม่เป็นอย่างอื่น เพราะเหตุแห่งพระโพธิญาณ 016 นั้นเอง จักษุทั้งสองเราจะเกลียดชังก็หามิได้ แม้ตนเราก็มิได้ 017 เกลียดชัง แต่พระสัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา ฉะนั้น เราจึง 018 ได้ให้จักษุ ฉะนี้แล. 019 จบสีวีราชจริยาที่ ๘ 020 เวสสันตรจริยาที่ ๙ 021 ว่าด้วยพระจริยาวัตรของพระเวสสันดร 022 [๙] นางกษัตริย์พระนามว่าผุสสดีพระชนนีของเรา พระนางเป็นมเหสี  อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 2 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา (แก้ไขแล้ว) ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 ดูการตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol3 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้เถิด ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol3 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ฟังเพลง บรรลุธรรม เอนทรี่ก่อนได้พูดถึงแนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย12 ชั่วโมงที่ผ่านมา https://www.youtube.com/watch?v=c3xs8TW8gJc ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol1 เดือนที่ผ่านมา พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์3 เดือนที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”คำอ่านอักษรไทย พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ. ฆพฑาเอ ชพฺ มนฺ-อนฺโมลฺ หฺริทย โห อุเธ ฑาณฺวาโฑลฺ. ฆพฑาเอ ชพฺ มนฺ-อนฺโมลฺ ออุรฺ หฺริทย อุเธ โห ฑาณฺวาโฑลฺ. โห ตพฺ มานวฺ ตุ มุขเส โพลฺ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฮี ตพฺ มานวฺ ตุ มุขเส โพลฺ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ. ชพฺ อศานฺติกา รคฺ อุเธ. ลาลฺลหุกา ภคฺ อุเธ. หินฺสา กี ตุ อาคฺ อุเธ. มานวฺ เมญฺ ปศุ ชคฺ อุเธ. อูปรเส มุสกา เตนนฺ ภิตารฺ ทหก รเห ตุ โห. โห ตพฺ มานวฺ ตุ มุขเส โพลฺ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฮี ตพฺ มานวฺ ตุ มุขเส โพลฺ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ. พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ชพฺ ทุนิยานฺ เส ปฺยารฺ อุเธ. ชพฺ ทุนิยานฺ เส ปฺยารฺ อุเธ. นผรตฺ กี ทีวารฺ อุเธ. มานฺ กี มมตา ปารฺ อุสกี เพเตกี ตลวารฺ อุเธ. ธรตี กี กายากาเป อมฺพรฺ ทคฺมคฺ อุเธ โทลฺ. โห ตพฺ มานวฺ ตุ มุขเส โพลฺ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฮี ตพฺ มานวฺ ตุ มุขเส โพลฺ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ. ทูรฺ กิยา ชิสเน ชนชนเก วฺยากุล มนกา อนฺธิยารา ชิสฺสกี เอกกีรณโก ฉูกรฺ จมกฺ อุธา เย ชค ศารา. ทีป สตฺยกา สทา ชเล. ทยา อหึสา สทา ปเล. สุขศานฺติ กี ฉยมฺ เมนฺ ชนฺ คณ มนกา เปฺรมฺ ปเล. ภารตฺ เก ภควนฺ พุทฺธกา คูญเช ฆรฺฆรฺ มนฺตร อโมลฺ. เห มานวฺ นิต มุขเส โพลฺ. พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ เห มานวฺ นิต มุขเส โพลฺ. พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ. แสดงน้อยลงBUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์8 เดือนที่ผ่านมา หลวงพ่อปราโมย์ : ในขั้นของการเดินปัญญานั้นคือขั้นรู้ทุกข์ ไม่ใช่ขั้นเสพสุข พอใจเรามีความสุข ใจเราตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานแล้ว ต้องเจริญปัญญา วิธีเจริญปัญญา ขั้นแรกสุดเลย ต้องแยกธาตุแยกขันธ์ให้เป็น ให้เห็นเลยว่า ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง รูปกับนามเป็นคนละอันกัน ถ้าสมาธิเรามาก และเราชำนาญในการดูกาย แยกกายต่อไปอีก ร่างกายก็แยกเป็นธาตุ ๔ ดินน้ำไฟลม แยกธาตุออกไป ถ้าเราชำนาญการดูจิต เรามาแยกขันธ์ จิตใจของเราไม่ใช่อยู่ลำพัง จิตใจประกอบด้วย ความรู้สึกสุขรู้สึกทุกข์ ความรู้สึกสุขรู้สึกทุกข์นี้เรียกว่า เวทนาขันธ์ ความจำได้หมายรู้เรียกว่าสัญญาขันธ์ ความปรุงดีปรุงชั่วปรุงไม่ดีไม่ชั่วเรียกว่าสังขารขันธ์ จิตที่เกิดทางตาหูจมูกลิ้นกายใจ เรียกว่าวิญญาณ วิญญาณทางตาคือจิตที่ไปรับรู้รูป วิญญาณทางหูคือจิตที่ไปรับรู้เสียง วิญญาณทางทวารทั้ง ๖ ไม่ได้มีจิตดวงเดียว คือจิตเกิดดับทางทวารทั้ง ๖ เรียกจักขุวิญญาณจิต โสตวิญญาณจิต เป็นมโนวิญญาณ จิตเกิดทางใจ รับรู้อารมณ์ทางใจ เช่นเรื่องราวที่เราคิด เพราะฉะนั้นจิตไม่ได้มีดวงเดียว เป็นกลุ่มเป็นกองเหมือนกัน เรียกว่า วิญญาณขันธ์ เป็นกองของวิญญาณ กลุ่มของวิญญาณ แต่เวลามันเกิด มันเกิดทีละตัว เกิดทีละดวง เรามาแยก พอใจเราเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานแล้ว แยกร่างกายกับใจออกจากกัน อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์8 เดือนที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้เถิด คำสอนของพุทธะทั้งหมดในวัฏฏ์นี้ ก็คือการเพาะให้พุทธจิตนั้นผลิออกมาให้เรา­ปรากฏเห็นเท่านั้นเอง เพียงแต่เราทำให้มันว่างจากความคิดปรุงแต่­งต่าง ๆ ซึ่งล้วนแต่นำไปสู่การเกิดและการดับอยู่ตล­อดกาล และนำไปสู่ความทุกข์เดือดร้อนใจของสัตว์โล­ก และโลกอื่นไปจริง ๆ เท่านั้น เราก็ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องมีวิธิปฏิบั­ติเพื่อการตรัสรู้และหาทางออกทั้งหลายทั้ง­สิ้นเลย อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์8 เดือนที่ผ่านมา สมาธิไม่ใช่เรื่องยากอะไร จิตมันฟุ้งซ่านไป ฟุ้งไปในอารมณ์โน้นฟุ้งไปในอารมณ์นี้ ถ้าเรามีสติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน ความฟุ้งซ่านจะดับโดยอัตโนมัติ มันมีกฎของธรรมะข้อนึงก็คือ กิเลสกับกุศลเนี่ยจะไม่เกิดร่วมกัน สติเป็นตัวกุศลนะ เพราะนั้นถ้าเมื่อไหร่เรามีสติอยู่ จิตฟุ้งซ่านเรามีสติรู้ทันปั๊บ จิตสงบอัตโนมัติ งั้นวิธีที่เราจะทำจิตให้สงบเนี่ยไม่ใช่เรื่องยาก ถ้าเราไม่รู้วิธีแล้วมันก็ยาก เช่นเราอุตสาห์ไปนั่งสมาธินะ นั่งกันเป็นวันๆพุทโธไปหายใจไป ฝึกกันแรมปีนะกว่าจะค่อยๆสงบได้บ้าง บางทีสงบมากๆไปอีกซึมไปเลย ออกจากสมาธิมานะใจก็ซึมๆเซื่องๆ หรือเวลาอยู่ในสมาธิมีความสุขมาก ออกมากระทบอารมณ์ข้างนอกนะ ใจทนไม่ไหว มันคล้ายๆเรามีชีวิตอยู่แต่ในห้องปลอดเชื้อ พอออกมาสู่อากาศข้างนอกโดนเชื้อโรคแป๊บเดียวตายเลย เวลาติดอยู่ในสมาธินะใจสงบสบายมีความสุขนึกว่าไม่มีกิเลส พอออกมากระทบอารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกายใจเท่านั้น กิเลสระเบิดเปรี้ยงปร้างเลย งั้นสมาธิอย่างนั้นไม่ค่อยได้เรื่องอะไรหรอก เราลองมาฝึกสมาธิชนิดใหม่นะ สมาธิ วิธีการไม่ได้ยากอะไร ความจริงหลวงพ่อไม่ได้คิดเองหรอกนะ มีคำสอนอันนี้อยู่ตั้งแต่ในพระไตรปิฎกก็มี ในสามัญญผลสูตรนะพระพุทธเจ้าสอนอชาตศตรู รู้ทันนิวรณ์ที่เกิดขึ้นที่จิต นิวรณ์มันจะดับอัตโนมัติ อย่างความฟุ้งซ่านเกิดขึ้นที่จิตนะเรารู้ทันว่าจิตฟุ้งซ่านปุ๊บ ความฟุ้งซ่านดับ ทันทีที่นิวรณ์ดับสมาธิเกิด มันง่ายแค่นี้เอง ครูบาอาจารย์สอนหลวงพ่อภาวนามานะ ท่านสอนให้รู้ทันที่จิตนี้เอง สมาธิมันเกิดขึ้นได้ง่ายๆเลย อย่างใจเราฟุ้งซ่านเก่งมั้ย วันนึงวันนึงนะใจเราหนีไปคิดนับครั้งไม่ถ้วน ร้อยครั้งพันครั้งหมื่นครั้งนะหนีทั้งวัน นั้นเราคอยมีสติรู้ทันนะจิตมันไหลไปแล้ว จิตมันฟุ้งซ่านไปแล้ว จิตมันหนีไปคิดแล้ว ให้เราคอยรู้ทันไว้ ถ้าเรารู้ทันจิตที่ไหลไปคิดจิตจะตั้งมั่น จิตจะตื่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ใช่ผู้คิดผู้นึกผู้ปรุงผู้แต่ง จิตที่เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานเนี่ยเป็นจิตที่มีสมาธิที่ดี สมาธิอย่างนี้เป็นสมาธิที่สำคัญสำหรับการเจริญปัญญา เมื่อเดินปัญญาแก่รอบเต็มที่แล้ว จิตจะรวมเข้าอัปปนาเอง ในนาทีที่จะตัดสินความรู้บรรลุ อริยมรรค อริยผล ... เจริญปัญญาให้มาก มีแค่ขณิกสมาธินะ ทุกวันพยายามไหว้พระสวดมนต์ไว้ ทำในรูปแบบ จิตหนีไปคิดแล้วรู้ทัน ฝึกให้มันมีขณิกสมาธิ แล้วมาเดินปัญญา รู้กาย รู้ใจ ในชีวิตประจำวัน ...สิ่งใดเกิดขึ้นแล้ว แล้วสิ่งนั้นดับไป อย่างนี้ก็ใช้ได้ ถ้าถึงขนาดเห็นองค์ฌานเกิดดับอย่างนี้มีน้อยเต็มที ถ้าจิตเราเป็นกลาง เราไม่ได้มุ่งพุทธภูมิ เราไม่ได้ทำกรรมชั่วหยาบมา จิตเราจะก้าวกระโดดเกิดอริยมรรคขึ้นมา ขั้นแรกมันจะรวมลงก่อน รวมเข้า อัปปนาสมาธิ รวมเองโดยที่ไม่ได้เจตนาจะรวม ไม่ได้คิดได้ฝันที่จะรวม รวมโดยอัตโนมัติ เมื่อรวมลงมาแล้วจะเห็นสภาวธรรมเกิดดับ เกิดดับ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง ถัดจากนั้นจิตจะวางการรับรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ เมื่อทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วสิ่งที่ห่­­อหุ้มปิดบังจิตอยู่คือ อาสวกิเลส ทั้งหลาย สังโยชน์ทั้งหลายถูกขาดสะบั้นออกไป ด้วยกำล­­ัง ของอริยมรรค นิพพานก็จะปรากฏเด่นดวงขึ้นมา ให้เรารู้สึก­­ได้ สองขณะบ้าง สามขณะบ้าง คนไหนซึ่งอินทรีย์ไม่แก่กล้ามาก ตอนที่จิตรวมไปทีแรก เห็นสภาวธรรมก็จะเห็นสามครั้ง แล้วพอเห็นนิพพานพอได้ผลจะเห็นสองขณะ แต่คนที่อินทรีย์แก่กล้าเห็นสภาวะทีแรกจะเ­­ห็นสองขณะ และจะมาเห็นนิพพานสามขณะ เห็นยาวต่างกัน อินทรีย์ไม่เท่ากัน ผลที่เกิดขึ้นก็ไม่เท่ากัน ถัดจากนั้นจิตจะถอยออกจาก อัปปนาสมาธิ นะ ถอยเอง ถัดจากนั้นไม่ทรงอยู่แล้วจะถอยออกมา พอถอยออกมาแล้วจะทวนกระแสกลับเข้าไปพิจารณ­­าว่าเมื่อกี้เกิดอะไรขึ้น ก็แจ่มแจ้งแล้วว่า เมื่อกี้นี้ตัวตนอะไรไม่มีอีกแล้ว ไม่มีอะไรที่เป็นตัวเป็นตนอีกเลย แต่ว่ากิเลสยังเหลืออยู่อีกเพียบเลย พระโสดาบันกับปุถุชนแทบจะไม่มีอะไรต่างกัน­­นะ พระโสดาบันละมิจฉาทิฏฐิได้เท่านั้น ละความเห็นผิดได้ ส่วนโลภ โกรธ หลงอื่นๆ เหมือนปุถุชนนั่นเอง อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol1 ปีที่ผ่านมา ความเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งหลายทั้งปวงนี้แหล่ะ คือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล ถ้าเรายังภาวนาไม่สามารถเข้ามาสู่ความเป็นกลาง ต่อรูปนาม ต่อความปรุงแต่ง ได้ด้วยปัญญา ยังไกลกับมรรคผลอยู่ อย่างถ้าเราเป็นกลางด้วยสติ เป็นกลางด้วยสมาธิ ยังไกลต่อมรรคผลอยู่ แต่ถ้าเราอบรมปัญญามากพอนะ มีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นและเป็นกลางมากเข้่าๆนะ ตรง(ที่)ตั้งมั่นและเป็นกลางเนี่ย เป็นกลางด้วยสมาธิ (เป็น)กลางด้วยสติด้วยสมาธิ ในที่สุดจิตจะเกิดปัญญา เห็นว่าทุกอย่างเนี่ย เป็นของชั่วคราว เท่าๆกันหมดเลย ตรงนี้จะเป็นกลางด้วยปัญญาเมื่อมันเป็นกลางด้วยปัญญา จิตจะหมดความดิ้นรน หมดความปรุงแต่ง หมดการแสวงหา หมดกิริยาอาการทั้งหลาย จิตชนิดนี้แหล่ะพร้อมที่จะสัมผัสกับพระนิพพาน บางคนจิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ แล้วผ่านกระบวนการแห่งอริยมรรค แต่บางคนมาถึงสังขารุเปกขา(ญาณ)แล้วนะ จิตถอยออกมาอีก เสื่อมไปเลยก็ได้ บางคนไปอยู่ตรงนี้นะ แล้วปรารถนาพุทธภูมิก็ได้ เป็นทางแยกไปพุทธภูมิเพราะงั้นจะเป็นพระโพธิสัตว์ หรือจะเป็นพระอริยสงฆ์เป็นสาวกธรรมดา ก็ต้องฝึกจนกระทั่งได้สังขารุเปกขาญาณ ถ้าไม่มีสังขารุเปกขาฯเนี่ย พระโพธิสัตว์ก็อยู่ไม่รอดหรอก เดี๋ยวเจอความทุกข์เข้าก็ถอย ไม่เป็นกลางกับความทุกข์งั้นพวกเราทุกคนนะ รู้เป้าหมายของเรา เราจะต้องพัฒนาจิตใจของตนเอง จนวันหนึ่งมันเป็นกลางต่อความปรุงแต่งทั้งปวง เช่นเป็นกลางต่อความสุขความทุกข์ เป็นกลางต่อกุศลอกุศล เป็นกลางต่อความยินดียินร้ายทั้งหลาย จะเป็นกลางได้นะ อาศัยมีสติรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริง รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่น รู้ด้วยจิตที่เป็นกลาง เป็นกลางตัวนี้กลางด้วยสติด้วยสมาธิไปก่อน แล้วสุดท้ายมันจะกลางด้วยปัญญา อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระ พุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัด จากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำ ให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อ บุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ 1 Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol2 ปีที่ผ่านมา เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” อ่านเพิ่มเติม ตอบกลับ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น