วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล..... เพลงธรรมะสมัยพุทธกาล 3 แนวทางการบรรลุธรรม ดังที่ปรากฎในพระคัมภีร์ คือ 1.ได้ฟัง 2.ได้คิด 3.ได้ปฏิบัติ ในอรรถกถามังคลัตถทีปนี กล่าวไว้ว่า"การได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้วได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์" ที่อัศจรรย์ คือ "การฟังเพลงหรือเสียงขับ ถ้าผู้ฟังได้พิจารณาไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังบรรลุธรรมได้" ตัวอย่าง เช่น เมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะ ขณะที่ทรงบำเพ็ญบารมี แล้วได้ยินเสียงพิณจากพระอินทร์ เกิดสติปัญญา จนเป็นเหตุพาไปสู่การบรรลุธรรมขั้นสูงสุด ถ้าจะพูดเป็นภาษาปัจจุบัน ก็ว่าพระพุทธเจ้าฟังเพลง Folk Song(ซอสามสาย) พระอินทราธิราชทรงทราบวาระจิตของพระโพธิสัตว์ จึงจัดพิณทิพย์ 3 สาย ดีดเป็นเพลงร้องบรรเลงถวาย พระโพธิสัตว์สดับแจ่มชัดสบายคลายกังขา....มัชฌิมาปฏิปทางสายกลาง ไม่ตึงเกินไป ไม่หย่อนเกินไป ทางนี้แหละถูกทาง ปฏิบัติพอดีจึงดี จึงงดงาม หลังจากนั้นอีกไม่นาน พระโพธิสัตว์จึงตรัสรู้ เป็นพระอนุตระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลังจากนั้นไม่นาน จึงเกิดชุมชน"ทวนกระแส"ขึ้นทั่วทั้งโลกอีกครั้งหนึ่ง เพลงพาไปบรรลุธรรม พระเจ้าพิมพิสารอยากให้พระนางเขมาพระมเหสีได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า เพื่อจะได้เข้าถึงความจริงของชีวิต...... แต่เพราะพระนางเขมาเป็นผู้มีความงดงามเลอเลิศ จึงติดที่พระพุทธเจ้าเทศนาว่ารูปกายของคนไม่สวยไม่งาม พระนางเขมาจึงไม่อยากไปฟังเทศนา.... พระเจ้าพิมพิสารจึงทรงให้คนแต่งเพลงบรรยายความงามของวัดเวฬุวัน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า..... แล้วทรงให้คนขับร้องให้พระนางเขมาฟังทุกวัน จนพระนางเขมาตัดสินใจเสด็จไปวัดเวฬุวัน เพราะเพลงไพเราะจับใจเหลือเกิน จึงได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ทันใด!!!..... บทเพลง 4 บรรทัด บรรลุพระอรหันต์ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!.... แสดงน้อยลง ตอบกลับ · Sompong Tungmepol 1 วินาทีที่ผ่านมา พระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!.... อ่านเพิ่มเติม (122 บรรทัด) ตอบกลับ · Sompong Tungmepol ผ่าน Google+1 สัปดาห์ที่ผ่านมา สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล..... เพลงธรรมะสมัยพุทธกาล 3 แนวทางการบรรลุธรรม ดังที่ปรากฎในพระคัมภีร์ คือ 1.ได้ฟัง 2.ได้คิด 3.ได้ปฏิบัติ ในอรรถกถามังคลัตถทีปนี กล่าวไว้ว่า"การได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้วได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์" ที่อัศจรรย์ คือ "การฟังเพลงหรือเสียงขับ ถ้าผู้ฟังได้พิจารณาไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังบรรลุธรรมได้" ตัวอย่าง เช่น เมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะ ขณะที่ทรงบำเพ็ญบารมี แล้วได้ยินเสียงพิณจากพระอินทร์ เกิดสติปัญญา จนเป็นเหตุพาไปสู่การบรรลุธรรมขั้นสูงสุด ถ้าจะพูดเป็นภาษาปัจจุบัน ก็ว่าพระพุทธเจ้าฟังเพลง Folk Song(ซอสามสาย) พระอินทราธิราชทรงทราบวาระจิตของพระโพธิสัตว์ จึงจัดพิณทิพย์ 3 สาย ดีดเป็นเพลงร้องบรรเลงถวาย พระโพธิสัตว์สดับแจ่มชัดสบายคลายกังขา....มัชฌิมาปฏิปทางสายกลาง ไม่ตึงเกินไป ไม่หย่อนเกินไป ทางนี้แหละถูกทาง ปฏิบัติพอดีจึงดี จึงงดงาม หลังจากนั้นอีกไม่นาน พระโพธิสัตว์จึงตรัสรู้ เป็นพระอนุตระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลังจากนั้นไม่นาน จึงเกิดชุมชน"ทวนกระแส"ขึ้นทั่วทั้งโลกอีกครั้งหนึ่ง เพลงพาไปบรรลุธรรม พระเจ้าพิมพิสารอยากให้พระนางเขมาพระมเหสีได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า เพื่อจะได้เข้าถึงความจริงของชีวิต...... แต่เพราะพระนางเขมาเป็นผู้มีความงดงามเลอเลิศ จึงติดที่พระพุทธเจ้าเทศนาว่ารูปกายของคนไม่สวยไม่งาม พระนางเขมาจึงไม่อยากไปฟังเทศนา.... พระเจ้าพิมพิสารจึงทรงให้คนแต่งเพลงบรรยายความงามของวัดเวฬุวัน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า..... แล้วทรงให้คนขับร้องให้พระนางเขมาฟังทุกวัน จนพระนางเขมาตัดสินใจเสด็จไปวัดเวฬุวัน เพราะเพลงไพเราะจับใจเหลือเกิน จึงได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ทันใด!!!..... บทเพลง 4 บรรทัด บรรลุพระอรหันต์ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!.... แสดงน้อยลง ตอบกลับ · พระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!.... แสดงน้อยลง ตอบกลับ · 1 Sompong Tungmepol แชร์สิ่งนี้ ผ่าน Google+1 เดือนที่ผ่านมา ตอบกลับ · Sompong Tungmepol ผ่าน Google+3 เดือนที่ผ่านมา เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ตอบกลับ · Sompong Tungmepol ผ่าน Google+8 เดือนที่ผ่านมา เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ตอบกลับ · Sompong Tungmepol8 เดือนที่ผ่านมา การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม ตอบกลับ · Sompong Tungmepol9 เดือนที่ผ่านมา "พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า: โอ, มหาบัณฑิต! ด้วยน้ำหนักแห่งเหตุผลอันมากมายเหลือจะประมาณ บ่งแสดงว่าเนื้อทุกชนิดเป็นสิ่งที่ควรปฏิเสธ โดยสาวกแห่งพระพุทธศาสนา ผู้มีใจเปี่ยมอยู่ด้วยความกรุณา สำหรับเขาเหล่านั้น เราจักกล่าวแต่โดยย่อๆ โอ, มหาบัณฑิต! ในวัฏสงสาร อันไม่มีใครทราบที่สุดในเบื้องต้นนี้ สัตว์ผู้มีชีพได้พากันท่องเที่ยวไป ในการว่ายเวียนในการเกิดอีกตายอีก, ไม่มีสัตว์แม้แต่ตัวเดียว ที่ในบางสมัย ไม่เคยเป็น แม่ พ่อ พี่น้องชาย พี่น้องหญิง ลูกชาย ลูกหญิง หรือเครือญาติอย่างอื่นๆ แก่กัน สัตว์ตัวเดียวกัน ย่อมถือปฏิสนธิในภพต่างๆ เป็นกวาง หรือสัตว์สองเท้าสัตว์สี่เท้าอื่นๆ เป็นนก ฯลฯ ซึ่งยังนับได้ว่าเป็นเครือญาติของเราโดยตรง สาวกแห่งพระพุทธศาสนา จะทำลงไปได้อย่างไรหนอ, จะเป็นผู้สำเร็จแล้วหรือยังเป็นสาวกธรรมดาอยู่ก็ตาม ผู้เห็นอยู่ว่าสัตว์เหล่านี้ทั้งหมด, เป็นภราดรของตน, แล้วจะเชือดเถือเนื้อหนังของมันอีกหรือ? โอ, มหาบัณฑิต! เนื้อสุนัข เนื้อลา อูฐ ม้า โค และเนื้อมนุษย์ เหล่านี้เป็นเนื้อที่ประชาชนไม่รับประทาน แม้กระนั้นเนื้อของสัตว์เหล่านี้ก็ถูกนำมาปลอมขาย ในนามของเนื้อแกะฯ ภายในเมืองเพราะเห็นแก่เงิน เพราะเหตุนี้ เนื้อสัตว์จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรกิน โดยสาวกแห่งพระพุทธศาสนา โอ, มหาบัณฑิต! เพราะว่าเนื้อย่อมเกิดจากเลือด และน้ำอสุจิ, เพราะฉะนั้นมันจึงเป็นสิ่งไม่ควรบริโภค สำหรับสาวกแห่งพระพุทธศาสนา ผู้ประสงค์ต่อความสะอาดบริสุทธิ์ (หลุดพ้นทุกข์ทางจิตใจ) และเพราะมันเป็นการสร้างความหวาดกลัว ให้เกิดขึ้นในระหว่างกันและกัน โอ, มหาบัณฑิต! เพราะฉะนั้นเนื้อนี้ จึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรบริโภคโดยบรรพชิตแห่งพระพุทธศาสนา ผู้ประสงค์มิตรภาพในเพื่อนสัตว์ด้วยกัน ทุกถ้วนหน้า ตัวอย่างอันประจักษ์เช่นเมื่อสัตว์ได้เห็นนายพรานป่า ชาวประมงหรือนักกินเนื้ออื่นๆ เดินมาแม้ในระยะอันไกล สัตว์ทั้งหลายก็สะดุ้งกลัวเสียแล้ว บางครั้งหรือสัตว์บางชนิดขาดใจตาย ทำนองเดียวกัน สัตว์ตัวน้อยๆ อื่นๆ ในท้องฟ้า บนบกหรือในน้ำก็ตาม เมื่อได้เห็นนักกินเนื้อแต่ที่ไกล หรือได้กลิ่นด้วยจมูกอันไวของมัน ก็จะพากันวิ่งหนีไปไกลพร้อมกับความรู้สึกอยู่ในใจว่า เขาเหล่านั้นเป็นผียักษ์อสุรกายผู้ล้างผลาญ นั่นเพราะความกลัวต่อความตายของมัน เนื้อเป็นสิ่งที่ควรกินสำหรับผู้ใจดำอำมหิต เป็นสิ่งที่มีกลิ่นน่ารังเกียจ เป็นต้นเหตุแห่งความเสื่อมเสีย และเป็นสิ่งที่จะถูกห้ามกันโดยท่านสัตบุรุษ โอ, มหาบัณฑิต! เนื้อนี้เป็นของไม่ควรบริโภคโดยพุทธสาวก โอ, มหาบัณฑิต! สัตบุรุษย่อมบริโภคเฉพาะแต่ อาหารที่สมควรแด่ท่านผู้บริสุทธิ์ ไม่ยอมบริโภคเนื้อและเลือด เพราะฉะนั้นควรที่สาวกแห่งพระพุทธศาสนา จะต้องไม่บริโภคเนื้อสัตว์เลย พระพุทธเจ้าผู้ซึ่งเยือกเย็นไปด้วยพระกรุณา มีพระทัยเต็มเปี่ยมไปด้วยความเป็นที่พึ่งที่ป้องกันภัยแก่ดวงใจของปวงสัตว์ และมีพระสัมปชัญญะสมบูรณ์พอที่จะไม่ปล่อยให้เป็นโอกาสสำหรับความเสื่อมเสียระบาดขึ้นได้เลยนั้น ย่อมจะทรงบัญญัติเนื้อสัตว์ว่าเป็นสิ่งไม่ควรบริโภค โอ, มหาบัณฑิต! ในโลกนี้มีคนเป็นอันมาก ซึ่งกล่าวคำเท็จเทียมต่อพระพุทธดำรัสฯ ให้ผิดไปจากความจริง เขากล่าวกันว่า บรรดาผู้ซึ่งคัดค้านอาหารอันสมควรแด่ท่านผู้บริสุทธิ์แห่งสมัยเพรงกาล ย่อมกินอาหารเหมือนนักกินเนื้อ ย่อมเที่ยวใส่ความทุกข์เจ็บปวดให้แก่สัตว์น้อยๆ ที่มีชีวิตอยู่ในอากาศ บนบก และในน้ำ เที่ยวรบกวนรังควานมัน ทั้งที่นี่และที่นั่นอยู่เสมอ สมณภาพของเขาถูกทำลายเสียย่อยยับแล้ว พราหมณ์ภาพของเขาถูกทำให้เศร้าหมองเสียแล้ว เขามิได้ประกอบด้วยศรัทธาและสมาจาร คนชนิดนี้แหละ ที่กล่าวคำเท็จเทียมมากมายหลายชนิด แด่พระพุทธวจนะ โอ, มหาบัณฑิต! มีกลิ่นที่น่ารังเกียจ ไม่น่าบริโภคอยู่ในเนื้อสัตว์ เช่นเดียวกับกลิ่นแห่งศพ แม้เหตุผลเพียงเท่านี้ เนื้อก็เป็นของไม่ควรบริโภคสำหรับพุทธศาสนิกชนอยู่แล้ว ถ้าหากว่าศพถูกเผา และเนื้อสัตว์อย่างใดอย่างหนึ่งก็ถูกเผา มันก็จะมีกลิ่นอันน่ารังเกียจ ไม่แตกต่างอะไรกันเลย ดังนั้น บรรพชิตในพระพุทธศาสนาผู้หวังความบริสุทธิ์ จะไม่บริโภคเนื้อใดเลย เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่ถูกเกียจกันแล้ว สำหรับท่านผู้บริสุทธิ์ และสาวกของท่าน ในกรณีที่จะพยายามเพื่อโมกษะและความตรัสรู้ เพราะฉะนั้นสาวกผู้ดำเนินตามทางอันสูงยิ่งนี้ ทั้งครอบครัวลูกหญิงชาย ย่อมรู้อยู่อย่างเต็มใจว่ามันเป็นสิ่งที่ถูกเกียจกัน ในทุกๆกรณีที่พยายามเพื่อสมาธิ โอ, มหาบัณฑิต! เพราะฉะนั้น เนื้อทุกๆ ชนิดเป็นสิ่งที่ไม่ควรบริโภคสำหรับพุทธศาสนิกชนซึ่งเป็นผู้ที่ปรารถนาจะมีสาธุคุณในทางจิต ทั้งเพื่อตนเองและผู้อื่น นักกินเนื้อ ย่อมเป็นเหยื่อแห่งโรคหลายชนิด เช่น โรคไส้เดือน โรคพยาธิ โรคเรื้อน โรคเจ็บในท้อง ฯลฯ โอ, มหาบัณฑิต! เรากำลังประกาศว่า การกินเนื้อสัตว์เป็นการกินเนื้อบุตรของตนเองอยู่ดั่งนี้ แล้วจะกล่าวไปอย่างไรได้ ที่เราจะบัญญัติให้สาวกของเรากินเนื้อสัตว์ซึ่งเป็นของจัดไว้ต้อนรับของพวกคนใจอำมหิต เป็นของถูกห้ามโดยท่านสัตบุรุษทั่วไป เต็มไปด้วยมลทิน ปราศจากคุณธรรมใดๆ ไม่เหมาะที่จะบริโภคสำหรับผู้บริสุทธิ์ และเป็นของควรห้ามเด็ดขาด โดยประการทั้งปวง โอ, มหาบัณฑิต! เราได้บัญญัติไว้แล้วว่า สำหรับอาหารอันสมควรซึ่งได้กำหนดนิยมกันมาแล้วโดยบรรดาท่านผู้บริสุทธิ์แห่งสมัยเพรงกาล ได้แก่อาหารที่ปรุงขึ้นจากข้าว ลูกเดือย ข้าวสาลี สารแห่งหญ้ามุญชะ อูรทะและมสุร ฯลฯ นมส้ม น้ำนม นม น้ำตาลสด กุท (?) น้ำตาล และน้ำตาลกรวด ฯลฯ โอ, มหาบัณฑิต! ในกาลก่อน มีพระราชาครองราชสมบัติอย่างผาสุกพระองค์หนึ่ง นามว่า ราชาสิงหะเสาทโส ต่อมาได้กลายเป็นผู้ละโมบอย่างแรงในการบริโภคเนื้อ ในที่สุดถึงกับใช้เนื้อคนเป็นอาหาร เนื่องจากความอยากได้เป็นไปแก่กล้าหนักเข้า เพราะเหตุนั้น พระองค์ถูกถอดออกจากความเป็นพระราชา โดยพระสหาย เสนาบดี และประยูรญาติของพระองค์เอง และคนอื่นๆ ต่อจากนั้นต้องสละราชสมบัติ ถูกเนรเทศออกไปจากแว่นแคว้นของพระองค์โดยประชาชน ต้องรับทุกข์ทรมานอันใหญ่หลวง เนื่องจากเนื้อสัตว์เป็นต้นเหตุ โอ, มหาบัณฑิต! ก็ในปัจจุบันชาตินี้เอง เขาเหล่านั้นซึ่งเคยชินเกินไปในการกินเนื้อสัตว์ ในมาตรฐานนี้ เมื่อความอยากเป็นไปรุนแรงเข้า ก็กินเนื้อคนได้ (ในยามขาดแคลน) ย่อมเป็นผู้ละโมบในการกิน และเป็นเหมือนยักษ์ปีศาจร้าย ครั้นถึงอนาคตชาติหน้า เพราะอำนาจจิตติดฝังแน่นในการอยากกินเนื้อ เขาย่อมตกไปสู่กำเนิดแห่งสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร เช่น สิงโต เสือ สุนัขป่า สุนัขไน แมว สุนัขจิ้งจอก นกเค้า และ ฯลฯ โอ, มหาบัณฑิต! มิใช่เพราะเนื้อจะเป็นของต้องกิน หรือการฆ่าเป็นของต้องทำก็หามิได้ ในกรณีนั้นๆ ส่วนมากทั้งหมดเป็นเพราะการเห็นแก่เงิน จึงฆ่าสัตว์ที่มีชีวิต ถึงแม้จะเป็นสัตว์เชื่องและปราศจากอันตรายแต่อย่างใด ก็ได้ถูกฆ่า การฆ่าเพราะเหตุอื่นนั้นมีน้อยที่สุด มันเป็นการทรมานใจเขามาก ในเมื่อใจเต็มไปด้วย ความอยากกินเนื้ออย่างแรงกล้า คนก็กินเนื้อคนได้อยู่เสมอ จะต้องกล่าวไปทำไมกะเนื้อสัตว์ เนื้อนก ฯลฯ ส่วนมากที่สุด เนื่องจากความโง่เง่าเข้าใจผิด มนุษย์จึงได้รับกรรม ความกระวนกระวายใจ โดยความอยากในเนื้อสัตว์ คนฆ่านก ฆ่าแกะ และปลา โดยใช้ข่ายหรือเครื่องกล การฆ่ามันเหล่านั้นซึ่งเป็นสัตว์ที่เชื่องและหาอันตรายมิได้ นั่นก็เพื่อหวังจะให้ได้เงิน โอ, มหาบัณฑิต! ในกรณีแห่งอาหาร ที่เราได้บัญญัติแก่สาวกนั้น มิใช่เป็นเนื้อสัตว์ชนิดใดชนิดหนึ่งเลย ซึ่งเป็นของควรกิน สัตว์ซึ่งเป็นของไม่ควรกิน ไม่เป็นเหตุควรถูกกิน ไม่ใช่สิ่งที่ควรสมมุติว่าควรกิน ในอนาคตกาล ในหมู่สงฆ์ของเราจะเกิดมีคนบางคน ซึ่งกำลังสมาทานข้อปฏิบัติแห่งบรรพชิต และกำลังปฏิญาณตนเป็นศากยบุตร กำลังครองผ้ากาสาวพัสตร์สีแดงหม่น จะเป็นผู้มัวเมาและประกอบตนคลุกเคล้าอยู่ในความเพลิดเพลิน เขาจะมีจิตที่เต็มไปด้วย ความปรารถนาลามก บัญญัติข้อปฏิบัติที่ผิดแบบแผนขึ้นใหม่ เขาเหล่านั้น เป็นผู้อยากเสพเพราะติดรส และจะเรียบเรียงพระคัมภีร์ให้มีข้อความเท็จ อันจะเป็นเครื่องยืนยัน และโต้แย้งอย่างพอเพียง สำหรับการกินเนื้อสัตว์กัน เขาจะบัญญัติสิ่งที่ตถาคตมิได้บัญญัติไว้ เขาจะกล่าวข้อความที่ส่งเสริมการกินเนื้อสัตว์ เขาจะกล่าวว่าเรา ตถาคตได้บัญญัติไว้ในเรื่องนี้ เช่นนี้ และว่าเราตถาคตนับมันเข้าไว้ ในสิ่งทั้งหลายที่ควรกิน และว่าพระภควันต์ก็ได้ทรงเสวยเนื้อสัตว์โดยพระองค์เอง แต่ โอ, มหาบัณฑิต! เรามิได้เคยบัญญัติเนื้อสัตว์ไว้ในสูตรใดๆ หรือกล่าวว่ามันเป็นของควรกิน หรือนับมันเข้าในประเภทของดีที่ควรกิน โอ, มหาบัณฑิต! อริยสาวกทั้งหลาย ไม่บริโภค แม้แต่สิ่งที่คนธรรมดาชอบกินนิยมกันว่าดี เขาเหล่านั้นจะมาบริโภคเนื้อและเลือด ซึ่งเป็นของควรปฏิเสธได้อย่างไรเล่า? เหล่าสาวกของตถาคต เป็นผู้เดินตามแนวแห่งสัจธรรม คนผู้มีปัญญาเป็นเครื่องคิดค้นของตนเอง และบรรดาพุทธศาสนิกชนทั้งหลายอื่นๆ (แห่งพระพุทธเจ้าองค์อื่นๆ) ก็เป็นเช่นเดียวกัน เขาเหล่านั้นมิใช่ผู้กินเนื้อสัตว์ พระตถาคตเจ้าทั้งหลายในกาลก่อนๆ ก็เป็นดังนั้น… พระตถาคตเจ้าทั้งหลาย มีสัจธรรมเป็นพระกายของพระองค์ ทรงดำรงพระชนม์ชีพอยู่ด้วยสัจธรรม ไม่ทรงดำรงกายด้วยเนื้อสัตว์ ท่านเหล่านั้น ไม่เคยเสวยเนื้อสัตว์อย่างใดๆ เลย พระองค์ทรงเพิกถอนความอยากในโลกียวัตถุได้ทั้งหมดแล้ว ท่านเหล่านั้นปราศจากมลจิต อันเป็นมูลแห่งความทุกข์ ท่านเต็มเปี่ยมไปด้วยปรีชาญาณอันไม่ข้องขัด ในอันจะหยั่งทราบสิ่งซึ่งเป็นกุศลและอกุศล ทรงทราบสิ่งทั้งปวง เห็นแจ้งสิ่งทั้งปวง พระองค์ทรงมองไปที่สรรพสัตว์คล้ายกับเป็นบุตรของพระองค์เอง ทรงประกอบด้วยมหาเมตตากรุณาคุณ โดยทำนองเดียวกันนี้ เราตถาคตเห็นสรรพสัตว์เช่นเดียวกับบุตรของเราเอง เราจะบัญญัติให้สาวกของเรา บริโภคเนื้อลูกของเราได้อย่างไรเล่า? และเราเองก็จะบริโภคมันได้อย่างไรเล่า? มันไม่มีข้อควรสงสัยเลยในเรื่องว่า เราได้บัญญัติให้สาวกบริโภค หรือเราได้บริโภคมันโดยตนเองหรือไม่" (ในที่สุด ได้ตรัสคำที่ผูกเข้าเป็นคาถา ซึ่งจะยกมาในที่นี้แต่บางคาถา มีใจความว่า: ) โอ, มหาบัณฑิต! พระชินวรได้ตรัสไว้แล้วว่า สุรา เนื้อ และหอมกระเทียม เป็นสิ่งที่พุทธศาสนิก หรือมหาพุทธศาสนิกใดๆ ไม่ควรบริโภค (๑) บรรพชิตควรเว้นเสมอ จากเนื้อสัตว์ หัวหอม และนานาประเภทแห่งเครื่องดื่มอันมึนเมา กระเทียม และหัวผักกาด (๕) เขาผู้ฆ่าสัตว์ชนิดใดๆ ก็ตาม เพื่อเงิน และเขาผู้ซึ่งจ่ายเงินซื้อเนื้อนั้น ทั้งสองพวกชื่อว่าเป็น ผู้ประกอบอกุศลกรรม และจักจมลงในนรกโรรุวะ และนรก ฯลฯ (๙) เราบัญญัติห้ามเนื้อสัตว์ไว้ในข้อความ แห่งคัมภีร์เหล่านี้ คือ ๑. หัสติกักสยะ ๒. มหาเมฆะ ๓. นิรวาณางคลี มาลิกา และ ๔. ลังกาวตารสูตร (๑๖) อันเดียวกันกับที่ ความถูกผูกพันเป็นข้าศึกของความหลุดพ้นเป็นอิสรภาพ, เนื้อสัตว์ สุรา และ ฯลฯ ก็เป็นข้าศึกของนิรวาณ (คือนิพพาน) ฉะนั้น (๒๐) ดังนั้น เนื้อสัตว์ซึ่งเป็นของดูน่ากลัวแก่สรรพสัตว์ และเป็นอุปสรรคแก่การปฏิบัติเพื่อวิมุติ จึงเป็นของไม่ควรกิน นี่คือธงชัยแห่งอารยชน (๒๔)  อ่านเพิ่มเติม (105 บรรทัด) ตอบกลับ · Sompong Tungmepol ผ่าน Google+8 เดือนที่ผ่านมา เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ตอบกลับ · 1 Sompong Tungmepol ผ่าน Google+6 เดือนที่ผ่านมา พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ ตอบกลับ · 1 Sompong Tungmepol9 เดือนที่ผ่านมา เมื่อใดเกิดทุกข์ใจ ให้ท่านพูดในใจคำว่า่...พุท..โธ..หายใจ..ลึก..ลึก..ช้า..ช้า... ตอบกลับ · 1 Sompong Tungmepol9 เดือนที่ผ่านมา ถ้าเรารู้ทันจิตเราจะหลุดจากโลกของความคิดเราจะหยุดฝัน ตอบกลับ · 1 Sompong Tungmepol9 เดือนที่ผ่านมา เหมือนบุรุษคนหนึ่ง เมื่อ ประทีปน้ำมัน ไหม้อยู่ ครั้นน้ำมันหมดแล้ว ก็เติมน้ำมันเหล่านั้น เมื่อไส้หมด ก็ใส่ไส้ เมื่อเป็นเช่นนั้นเปลวประทีปก็ไม่ดับฉันใด ปุถุชนก็ฉันนั้นเหมือนกัน ตั้งอยู่ในภพหนึ่ง ย่อมทำกุศลและอกุศล เขาก็จะเกิดในสุคติและในอบายทั้ง หลาย เพราะกุศลและอกุศลนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น เวทนาทั้งหลายก็ยังไม่ขาด สูญนั้นเทียว ตอบกลับ · 2 Sompong Tungmepol10 เดือนที่ผ่านมา เมื่อใดบุคคลพิจารณา เห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อนั้นบุคคล นั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้าโศกว่า ของ เราไม่มี. เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้องการภพ ร่าง- กายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกายอื่น ตอบกลับ · 2

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น