วันอาทิตย์ที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

เจดีย์พุทธสถานอินเดียพม่าไทยลาวกัมพูชาเวียดนาม วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม ...

วันทา บทขอขมา

วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง
ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย
แสดงน้อยลง
Sompong Tungmepol
เรามาฝึกพัฒนาสติมาฝึกพัฒนา สมาธ­ิ ให้จิตตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้รูปรู้นาม รู้กายรู้ใจ ตามความเป็นจริง ด้วยจิตที่ตั้งมั่นด้วยจิตที่ เป็­นกลางเรื่อยไป ปัญญาจะเกิด เมื่อปัญญาแก่รอบแล้ว จิตเค้าจะบรรลุมรรคผลนิพพานของเ­ค้าเอง เค้าเป็นเอง ไม่ใช่กูเก่งกูสั่งจิตให้บรรลุม­รรคผลได้ ไม่มีใครทำได้ หน้าที่ก็คือเปิดโอกาสให้จิตได้­เรียนรู้ความจริงของรูปนาม ด้วยการมีสติ รู้กายรู้ใจ รู้รูปรู้นาม ตามความเป็นจริง เราจะรู้ตามความเป็นจริงได้ต้อง­รู้ด้วยจิตที่ตั้งมั่นรู้ด้วยจิ­ตที่เป็นกลาง จับหลักให้แม่นแล้วจะไม่พล­าด
Sompong Tungmepol
วันทาตอนเย็น
วันทามิ ภันเต, เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน, สุปะติฏฐิตัง, สารีริกะธาตุมะหา-โพธิง, พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา, กายะสา, วะจะสา มะนะสา เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต สะยะเน, อาสะเน ฐาเน คะมะเน จาปิ สัพพะทา ฯ
(กราบ)
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ สาธุ, อะนุโมทามิ ฯ
(กราบ)
วันทามิ พุทธัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ
วันทามิ ธัมมัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ
วันทามิ สังฆัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ
วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง, โพธิรุกขัง เจติยัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ
วันทามิ มาตาปิตาครูอุปัชฌาอาจะริยะคุณัง, สัพพะ เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ
วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง, อะนาคะตัง เม โทสัง, ปัจจุปปันนัง เม โทสัง, ขะมะถะ เม ภันเต ฯ สาธุ, สาธุ, สาธุ, อะนุโมทามิ ฯ
(กราบ ๓ ครั้ง)
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
วันทา บทขอขมา
วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง
ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย
Sompong Tungmepol
จิตมันรู้ตื่นแล้วก็เป็นกลาง สักว่ารู้ สักว่าเห็น มันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วดับ ทุกสิ่งทุกอย่างเท่าเทียมกัน สุขกับทุกข์เท่ากัน มีความสุขเกิดขึ้นมาก็สักว่ารู้สักว่าเห็น­ได้ มีความทุกข์เกิดขึ้นมา ก็สักว่ารู้สักว่าเห­็นได้ เมื่อสักว่า สักว่า แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ก็จะหมดการดิ้นรนของจิต หมดความปรุงแต่งของจิต จิตจะค่อยๆ ปรุงน้อยลงๆ ถึงจุดหนึ่งหยุดปั๊บลงไปตรงหยุดปั๊บ ลงไปนี­่จิตจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิโดยสมาธิโดยอัตโน­มัติเลย เมื่อรวมเข้าอัปปนาสมาธิแล้ว ตรงนี้จะไม่คิดไม่นึกอะไรแล้ว จะเห็นสภาวธรรม (รูปธรรม นามธรรม) เกิดดับขึ้นภายใน ๒-๓ ขณะ ใจนี้สักว่ารู้สักว่าเห็นอย่างแท้จริง ไม่มีกระทั่งความคิดนึกปรุงแต่งใดๆ สักนิดเดียวเลย ถัดจากนั้น จิตจะวางการรู้สภาวะทบทวนกระแสเข้าหาธาตุร­ู้ พอทวนกระแสเข้าถึงธาตุรู้แล้วอริยมรรคจะแห­วกอาสวะกิเลสทั้งหลายหรือสังโยชน์ทั้งหลาย อาสวะที่ห่อหุ้มจิตอยู่ สังโยชน์ที่แทรกอยู่ในจิตจะถูกทำลายออกไปต­รงกระบวนการทำลายล้างนี่ ๑ ขณะเท่านั้น พอขาดสะบั้นลงแล้ว ตรงนี้เราจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะบ้าง ๓ ขณะบ้าง ตรงนี้เป็นผลแล้ว เป็นโลกุตรผลนะ ตรงที่เกิดอริยมรรคเรียกว่าโลกุตตรเหตุ มรรคเป็นเหตุ ผลเป็นผล ตรงที่เห็นเป็นผลนี่จะเห็นไม่เท่ากัน พวกที่สติปัญญาแก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๓ ครั้ง ๓ ขณะ พวกที่ยังไม่แก่กล้าจะเห็นนิพพาน ๒ ขณะถัดจากนั้นจิตจะถอยออกมากลับสู่โลกภายนอกน­ี้ พอกลับมาสู่โลกภายนอก มันจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้­นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่ากิเลสตัวไหนหายไปแล้ว กิเลสตัวไหนยังเหลืออยู่ รู้ว่ายังมีงานต้องทำอีก แต่ถ้าตัดครั้งที่สี่เป็นพระอรหันต์นะ มันทวนวับเข้าไป มันจะเห็นนิพพานชัดเจนเลย ไม่มีกิเลสอะไรให้ต้องลดละอีกแล้ว มันไม่มีกิเลสเหลือ จะเห็นนิพพานล้วนๆเราเป็นลูกพระพุทธเจ้า เราต้องเชื่อพ่อแม่ เราต้องรู้กายรู้ใจของเราไปเรื่อยๆ แล้ววันหนึ่งเราจะได้มรดกของพระพุทธเจ้า
Sompong Tungmepol
อิมินาสักกาเรนะ พุทธังอะภิปูชะยามิ ... ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ ... วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา ..... วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ข้ามพ้นฝั่งแห่งภพ,.
Sompong Tungmepol
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา ..... วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ข้ามพ้นฝั่งแห่งภพ,.
หมดเกิดหมดแก่หมดเจ็บหมดตาย
จิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง อุททิสสะ อะระหันตัง สัมมาสัมพุทธัง, สัทธา ..... วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ข้าพเจ้าขอนมัสการพระพุทธเจ้าผู้ข้ามพ้นฝั่งแห่งภพ,.
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
วันทามิ พุทธัง สัพพัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
ใช้สวดคืนเนสัชชิกก่อนเวียนเทียน
บูชาพระรัตนตรัย (นั่งสวด)
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ,
พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบแล้ว,
ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม คือ ศาสนาที่พระผู้มีพระภาคเจ้านั้นพระองค์ใด, ตรัสไว้ดีแล้ว,
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ,
พระสงฆ์คือผู้ทรงธรรมวินัย, ซึ่งเป็นสาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นหมู่ใด, เป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว,
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ,
ข้าพเจ้าขอบูชาอย่างยิ่งซึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า, พร้อมทั้งพระสัทธรรม, และพระอริยสงฆ์เจ้าทั้งหลาย, ด้วยเครื่องสักการะเหล่านี้, ข้าพเจ้าได้ยกขึ้นประดิษฐานไว้ดีแล้วในที่อันสมควรอย่างยิ่งเช่นนี้,
สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ,
พระผู้มีพระภาคเจ้าพระ องค์นั้น, แม้ปรินิพพานนานแล้วก็ตาม, ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ, ซึ่งยังประโยชน์อันยิ่งใหญ่แก่สาธุชนทั้งหลาย,
ปัจฉิมา ชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ,
ขอจงรับเครื่องสักการะบรรณาการ, ของคนยากทั้งหลายเหล่านี้ด้วย, เพื่ออนุเคราะห์แก่ประชุมชนผู้เกิดแล้วในภายหลังด้วย,
อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.
เพื่อเป็นประโยชน์ เพื่อความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ.

วันทาขอขมาพระ

วันทามิ พุทธัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทามิ สังฆัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทามิ คะรุ อุปัชฌายาจาริยะ คุณัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปันนัง เม โทสัง
ขะมะถะ เม ภันเต,
สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ.

คำไหว้พระ

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ,
ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว,
ธัมมัง นะมัสสามิ,
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม, (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะฆังสังโฆ,
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว,
สังฆัง นะมามิ,
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์, (กราบ)
มาตาปิตุคุณัง อะหัง วันทามิ,
ข้าพเจ้ากราบวันทาบิดามารดา ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ, (กราบ)
คะรุอุปัชฌายาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ.
ข้าพเจ้ากราบวันทา ครู อุปัชฌาย์ อาจารย์ ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ. (กราบ)

(ลุกขึ้น เดินเวียนเทียน)
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอสิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ.
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.
(เดินเวียนเทียน ๓ รอบ)

ยืนสวดหน้าพระพุทธรูป
บูชาพระรัตนตรัย
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ, ส๎วากขาโต เยนะ ภะคะวะตา ธัมโม, สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวกะสังโฆ, ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง, อิเมหิ สักกาเรหิ, ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ, สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ, ปัจฉิมาชะนะตา นุกัมปะมานะสา, อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ, อัม๎หากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ.


วันทาขอขมาพระ
วันทา-มิ พุทธัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทา-มิ ธัมมัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทา-มิ สังฆัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทา-มิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง เจติยัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทา-มิ คะรุ อุปัชฌายาจาริยะ คุณัง สัพ-พะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต,
วันทา-มิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง ปัจจุปันนัง เม โทสัง
ขะมะถะ เม ภันเต,
สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ.

คำไหว้พระ
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันต์, ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์สิ้นเชิง, ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง,
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ,
ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า, ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน, (กราบ)
ส๎วากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม,
พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว,
ธัมมัง นะมัสสามิ,
ข้าพเจ้า นมัสการพระธรรม, (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะฆังสังโฆ,
พระสงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว,
สังฆัง นะมามิ.
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์. (กราบ)



ธรรมที่นักบวชและผู้ปฏิบัติ
ควรพิจารณาเนืองๆ ๑๐ อย่าง

๑. บัดนี้เรามีเพศต่างจากคฤหัสถ์แล้ว, อาการกิริยาใดๆของสมณะ, เราต้องทำอาการกิริยานั้นๆ
๒. การเลี้ยงชีวิตของเราเนื่องด้วยผู้อื่น, เราควรทำตัวให้เขาเลี้ยงง่าย
๓. อาการกายวาจาอย่างอื่น, ที่เราจะต้องทำให้ดีขึ้นไปกว่านี้ยังมีอยู่อีก ไม่ใช่แต่เพียงเท่านี้
๔. ตัวของเราเองติเตียนตัวเราเองได้หรือไม่
๕. ผู้รู้ใคร่ครวญแล้วติเตียนเราได้โดยศีลหรือไม่
๖. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งนั้น
๗. เรามีกรรมเป็นของๆตัวเราทำดีจักได้ดีทำชั่วจักได้ชั่ว
๘. วันคืนล่วงไปๆ บัดนี้เราทำอะไรอยู่
๙. เรายินดีในที่สงัดหรือไม่
๑๐. คุณวิเศษของเรามีอยู่หรือไม่ ที่จะทำให้เราเป็นผู้ไม่ เก้อเขิน ในเวลาที่เพื่อนพรหมจรรย์มาถาม เมื่อภายหลัง

หลักตัดสินธรรมวินัย ๘ ประการ

เย จะโข ตะวัง โคตะมิ ธัมเม ชาเนยยาสิ,
ดูก่อนพระนางโคตรมี ก็ท่านพึงรู้ซึ่งธรรมเหล่าใดแล,

อิเม ธัมมา วิราคายะ สังวัตตันติ,;
ว่าธรรมเหล่านี้, เป็นไปเพื่อความคลายกำหนัด,

โน สะราคายะ,
หาเป็นไปเพื่อความกำหนัดไม่,

วิสังโยคายะ สังวัตตันติ,
ธรรมเหล่านี้ เป็นไปเพื่อความปราศจากความประกอบทุกข์,

โน สัง โยคายะ,
หาเป็นไปเพื่อความประกอบทุกข์ไม่,

อะปะจะยายะ สังวัตตันติ,
ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความไม่สั่งสมกองกิเลส,

โน อาจะยายะ,
หาเป็นไปเพื่อสั่งสมกองกิเลสไม่,

อะปิจฉะตายะ สังวัตตันติ,
หาเป็นไปเพื่อความอยากอันน้อย,

โน มะหิจฉะตายะ,
หาเป็นไปเพื่อความอยากใหญ่ไม่,

สันตุฏฐิยา สังวัตตันติ,
ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความสันโดษ,

โน อะสันตุฏฐิยา,
หาเป็นไปเพื่อความไม่สันโดษไม่,

ปะวิเวกายะ สังวัตตันติ,
ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความสงัดจากหมู่คณะ,

โน สังคะณิกายะ,
หาเป็นไป เพื่อความคลุกคลีด้วยหมู่คณะไม่,

วิริยารัมภายะ สังวัตตันติ,
ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อปรารภความเพียร,

โน โกสัชชายะ,
หาเป็นไป เพื่อความเกียจคร้านไม่,

สุภะระตายะ สังวัตตันติ,
ธรรมเหล่านี้เป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงง่าย,

โน ทุพภะระตายะ,
หาเป็นไปเพื่อความเป็นคนเลี้ยงยากไม่,

เอกังเสนะ โคตะมิ ธาเรยยะสิ,
ดูก่อนนางโคตรมีท่านพึงทรงจำไว้โดยส่วนเดียว,

เอโส ธัมโม เอโส วินะโย เอตัง สัตถุสาสะนันติ,
ว่านี่เป็นธรรม นี่เป็นวินัย. นี่เป็นสัตถุศาสนา,

อิทะมะโวจะ ภะคะวา,
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระสูตรนี้จบลง,

อัตตะมะนา มะหาปะชาปะติ โคตะมี,
พระนางมหาปชาบดีโคตรมี ก็มีใจยินดี,

ภะคะวะโต ภาสิตัง อะภินันทีติ.
เพลินภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วแล.


อุปกิเลส ๑๖
(เครื่องทำใจให้เศร้าหมอง)


๑. อะภิชฌาวิสะมะโลโภ,
ความโลภเพ่งเล็งอยากได้ของเขา,
๒. โทโส,
ความประทุษร้ายเขา,
๓. โกโธ,
ความโกรธเคืองเขา,
๔. อุปะนาโห,
ความผูกเวรหมายมั่นกัน,
๕. มักโข,
ความลบหลู่ดูถูกเขา,
๖. ปะลาโส,
ความยกตัวขึ้นเทียมเขา,
๗. อิสสา,
ความริษยาเขา,
๘. มัจฉะริยัง,
ความตระหนี่เหนียวแน่น เกียดกัน หวงข้าวของและวิชาความรู้ ที่อยู่ที่อาศัย,
๙. มายา,
ความเป็นคนเจ้าเล่ห์เจ้ากล,
๑๐. สาเถยยัง,
ความโอ้อวดตัวให้ยิ่งกว่าคุณที่มีอยู่,
๑๑. ถัมโภ,
ความแข็งกระด้างดื้อดึง, เมื่อเขาสั่งสอนว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ,
๑๒. สารัมโภ,
ความปรารภไม่ยอมตาม, หาเหตุผลมาอ้าง ทุ่มเถียงต่างๆ, เมื่อขณะเขาว่ากล่าวโดยธรรมโดยชอบ,
๑๓. มาโน,
ความเย่อหยิ่งถือเราถือเขา ถือตัว ถือตน,
๑๔. อะติมาโน,
ความดูถูกล่วงเกินผู้อื่น,
๑๕. มะโท,
ความเมาหลงในร่างกายที่ทรุดโทรมด้วยความชรา มีอยู่ทุกๆ วัน, มาสำคัญว่ายังหนุ่มยังสาวอยู่ประมาทไป, และเมาหลงในร่างกายที่ป่วยไข้อยู่เป็นนิจ, ต้องกินยาคือข้าวน้ำทุกเช้าค่ำ, มาสำคัญว่าไม่มีโรค เป็นสุขสบาย ประมาทไป, และเมาหลงในชีวิตที่เป็นของไม่เที่ยง, พลันดับไปดังประทีปจุดไว้ในที่แจ้งฉะนั้น, มาสำคัญว่ายังไม่ตายประมาทไป,
๑๖. ปะมาโท.
ความเมามัวทั่วไป, อารมณ์อันใดที่น่ารัก ก็ไปหลงรักอารมณ์นั้น, อารมณ์อันใดที่น่าชัง ก็ไปหลงชิงชัง โกรธต่ออารมณ์เหล่านั้น.

บรรจบเป็นอุปกิเลสเครื่องเศร้าหมองใจ ๑๖ ข้อ จิตเศร้าหมองด้วยอุปกิเลสข้อใดข้อหนึ่งดังว่ามานี้แล้ว, จิตนั้นล้วนเป็นบาปอกุศลหมดทั้งสิ้น.
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
อุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพเจ้าขอถือโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระเจดีย์ทั้งหมดอันตั้งไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง
พุทธะสารีรังคะธาตุง มะหาโพธิง พุทธะรูปัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ
คือซึ่งพระสารีรังคะธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งพระพุทธรูป ซึ่งพระคันธุกุฏิของพระพุทธเจ้า และซึ่งพระธรรมขันธ์ทั้งหลาย มีแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์
สัพเพตัง ปาทะเจติยัง สักการัตถัง
เพื่อสักการะซึ่งพระเจดีย์ คือรอยพระบาทเหล่านั้นทั้งหมดทั้งสิ้น
อะหังวันทามิธาตุโย
ข้าพเจ้าขอไหว้พระธาตุทั้งหลาย
อะหังวันทามิสัพพะโส
ข้าพเจ้าขอไหว้โดยประการทั้งปวง
อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา
ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระรัตนตรัยเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ ด้วยอาการดังนี้แลฯ
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก
มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต 
วันทามิ ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต 
วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต 
วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง 
เจฏิยัง พุทธะรูปัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต 
วันทามิ ปัจเจกะพุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต 
วันทามิ คุรูอุปปัชฌาอาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต

วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เมโทสัง อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปัณณัง เมโทสัง 
ขะมะถะเม ภันเต สาธุ สาธุ อนุโมทามิ กายะกัมมัง วะจีกัมมัง มะโนกัมมัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ โยโทโส โมหะจิตเตนะ พุทธัสสะมิง ธัมมัสสะมิง สังฆัสสะมิง ปะกะโตมะยา ขะมะถะเม กะตังโทสัง สัพพะปะปัง วินัสสะตุ อามันตะยามิโว ภิกขะเว ปฏิเวทะยามิโว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปามาเทนะ สัมปาเทถาติ อิจเจวะมัจ จันตะมะนัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญา ภิสันธัง วิปุลัง อะรัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย
สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
พุทโธ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม
กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา
สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง
สังโฆ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง
กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า
ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
เพื่อการสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้า ในกาลต่อไป
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม
ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
เพื่อการสำรวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป
ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี
กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์
ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น
เพื่อการสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ ในกาลต่อไป
Sompong Tungmepol
วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพังอะปะราทัง ขะมะถะเม ภันเต
      วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพังสัพพัตถะฐาน สุปฏิตะฐิตัง
สารีรัง คะทาตุง มหาโพธิง พุทธรูปัง สักการัตถัง อะหัง
วันทามิ ธาตุโย อะหังวันทามิ สัพพะโส อิจเจตัง ระตะนัต-
ตะยัง อะหังวันทามิ สัพพะทา
      พุทธะบูชา มหาเตชะวันโต ธัมมะบูชา มะหัปปัญโญ
สังฆะบูชา มะหาโภคะวะโห
      พุทธัง ธัมมัง สังฆัง ชีวิตตัง ยาวะนิพพานัง สะระณัง
คัจฉามิ สาธุ สาธุ สาธุ
Sompong Tungmepol
กิเลสเกิดที่จิต นิพพานก็เกิดที่จิต กิเลสเป็นอกาลิโก ธรรมะของพระพุทธเจ้าก็เป็นอกาลิโกเช่นกัน กิเลสไม่ตาย เราตาย. ผลงานของกิเลสก็คือความทุกข์ มรดกของกิเลสก็คือความทุกข์ ..
Sompong Tungmepol
วันทามิ
วัทามิ เจติยัง สัพพัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง....... สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง
พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ฯ
--------------------------
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ตืโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร
ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต
สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา
ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ
............อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
............นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
............ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง
............ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ
Sompong Tungmepol
วันทามิ
วัทามิ เจติยัง สัพพัง
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง....... สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง
พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ฯ
วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง
ตืโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร
ยัง สัจจะพันธะคิริเก สุมะนาจะลัคเค
ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง
ตัง ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ ฯ
สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต
สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา
ปัญจะปาทะวะรัง ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ
.อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง
.นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง
.ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง
.ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย ฯ
อามันตะยามิ โว ภิกขะเว ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว
ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถาติ ฯ
Sompong Tungmepol
..วัทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง สารีริกะธาตุ
มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา ฯ
..........วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ตืโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง
โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ
ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก
สุมะนาจะลัคเค ยัง ตัตถะ โยนะกะปุเร มุนิโน จะ ปาทัง ตัง
ปาทะลัญชะนะมะหัง สิระสา นะมามิ สุวัณณะมาลิเก สุวัณณะปัพพะเต
สุมะนะกูเฏ โยนะกะปุเร นัมมะทายะ นะทิยา ปัญจะปาทะวะรัง
ฐานัง อะหัง วันทามิ ทูระโต ฯ อะหัง วันทามิ ธาตุโย อะหัง วันทามิ
สัพพะโส สีสัง เม ปะทุมัง กัต์วา ทีปัญจะนะยะนา ทะวะยัง วะจะ
สาธูปะกาเรนะ มะนะสาจะ สุคันธะคา พุทธะคาระวะตา ธัมมะคาระ-
วะตา สังฆะคาระวะตา สิกขาคาระวะตา สะมาธิคาระวะตา อัปปะมาทะ-
คาระวะตา ปะฏิสันถาระคาระวะตา กัล์ยาณะมิตตะตา โสวะจัสสะตา
อะหัง ภันเต พุทธะรักขิโต ยาวะชีวัง พุทธังสะระณัง คัจฉามิ อะหัง
ภันเต ธัมมะรักขิโต ยาวะชีวัง ธัมมังสะระณัง คัจฉามิ อะหัง ภันเต
สังฆะรักขิโต ยาวะช๊วัง สังฆังสะระณัง คัจฉามิ
..........วันทามิ พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ
ธัมมัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ สังฆัง
สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง
โพธิรุกขัง เจติยัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ
ครูอุปัชฌาย์ อาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
วันทามิ กัมมัฏฐานัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต
..........วันทามิ ภันเต ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตังเมสัง
อะนาคะตัง เมโทสัง ปัจจุปันนัง เมโทสัง ขะมะถะเม ภันเต
วันทามิ พุทธัง ปุณณะสากะลันตัง สัตตา สะทา โหนตุ สุขี
อะเวรา กาโย ชิคัณโย สะกะโล ทุคันโธ คัจฉันติ สัพเพ มะระณัง
อะหัง จะ นะมามิ ธัมมัง สุคะเต นะเตสิตัง สัตตา สะทา โหนตุ
สุขี อะเวรา กาโย ชิคัณโย สะกะโล ทุคันโธ คัจฉันติ สัพเพ
มะระณัง อะหัง จะ นะมามิ สังฆัง มุนิลา จะสาวะกัง สัตตา
สะทา โหนตุ สุขี อะเวรา กาโย ชิคัณโย สะกะโล ทุคันโธ
คัจฉันติ สัพเพ มะระณัง อะหัง จะ อามันตะยามิ โว ภิกขะเว
ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะ ธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ
สัมปาเทถาติ อิเจวะมัจจันตะนะมัสสะเนยยัง นะมัสสะมาโน
ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ
หะตันตะราโย ฯ
Sompong Tungmepol
....วัทามิ เจติยัง สัพพัง สัพพัฏฐาเน สุปะติฏฐิตัง 
สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา วันทามิ 
พุทธัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ ธัมมัง
สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ สังฆัง สัพพะเมโทสัง 
ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ กัมมัฏฐานานัง สัพพะเมโทสัง ขะมะถะ 
เม ภันเต วันทามิ ครูอุปัชฌาย์ อาจาริยะคุณัง สัพพะเมโทสัง 
ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ อาราเม พัทธะเสมายัง โพธิรุกขัง
เจติยัง สัพพะเม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต วันทามิ ภันเต
ภะคะวา โลกะนาถัง อะตีตัง เม โทสัง อะนาคะตัง เม โทสัง
ปัจจุปปันนัง เม โทสัง ขะมะถะ เม ภันเต อะหัง ภันเต
พุทธะรักขิโต ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ อะหัง ภันเต
ธัมมะรักขิโต ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ อะหัง ภันเต
สังฆะรักขิโต ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ โย โทโส
โมหะจิตเต พระพุทธัส์มืง ปะกะโต มะยา ขะมะถะ เม กะตัง
โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสะตุ โย โทโส โมหะจิตเต พระธัมมัส์มิง
ปะกะโต มะยา ขะมะถะ เม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสะตุ
โย โทโส โมหะจิตเต พระสังฆัส์มิง ปะกะโต มะยา ขะมะถะ
เม กะตัง โทสัง สัพพะปาปัง วินัสสะตุ อิจเจวะมัจจันตะนะมัสสะ-
เนยยัง นะมัสสะมาโน ระตะนัตตะยัง ยัง ปุญญาภิสันทัง วิปุลัง
อะลัตถัง ตัสสานุภาเวนะ หะตันตะราโย อามันตะยามิ โว ภิกขะเว
ปะฏิเวทะยามิ โว ภิกขะเว ขะยะวะยะธัมมา สังขารา อัปปะมาเทนะ
สัมปาเทถาติ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น