วันอาทิตย์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2561
ปฐมบทสู่แดนพุทธภูมิ An introduction to Buddhabhum - India
#จุดสุดท้ายที่พวกเราจะภาวนาได้นะก็คือภาวนาจนกระทั่งจิตเป็นกลางด้วยปัญญาเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่างเลยความสุขความทุกข์กุศลอกุศลเกิดแล้วดับๆ #ดูไปวันนึงจิตมีปัญญาเห็นว่าทุกอย่างเกิดแล้วดับจิตจะเป็นกลาง จิตเป็นกลางตัวนี้เรียกว่าจิตมีสังขารุเบกขาญาณญาณแปลว่าปัญญา #สังขารุเบกขาก็คือมีเบกขาต่อความปรุงแต่งทั้งดีทั้งชั่วทั้งสุขทั้งทุกข์จิตที่เดินมาถึงสังขารุเบกขาญาณเนี่ยจะมีรอยแยกสองทาง มีทางแยก ทางที่หนึ่งนะ พวกเห็นภัยในสังสารวัฏ พวกนี้จะพลิกไปสู่การเกิดมรรคผล พวกที่สองนะ เกิดความกรุณาสงสารสัตว์โลก จิตจะพลิกไปสู่ความเป็นพระโพธิสัตว์ มีพลิกไปได้สองทาง แล้วพวกที่เป็นโพธิสัตว์ ที่เข้ามาถึงตรงนี้ได้นะ ถ้าไปเจอพระพุทธเจ้าเนี่ย อาจจะได้รับพยากรณ์ว่าอีก 16 อสงไขยแสนมหากัปป์จะได้เป็นพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง อีกนาน โลกแตกหลายรอบสิ่งที่เรารักมากที่สุดคือ ร่างกาย และจิตใจของเรานี่แหละแต่เราไม่สนใจ เราไปสนใจสิ่งอื่น สตินี้แหละยิ่งเกิดบ่อยยิ่งดี นอกจากการเจริญสติแล้วไม่ใช่ทางหรืออริยมรรคที่แท้จริง คำสอนใดที่มุ่งปรุงแต่ง(กุศล)เพื่อแก้ความปรุงแต่ง(อกุศล) คำสอนนั้นเป็นไปเพื่อความเนิ่นช้า (แต่อาจจำเป็นในเบื้องต้นสำหรับบางคน) คำสอนใดให้เจริญสติรู้ทันความปรุงแต่ง(ทั้งกุศลและอกุศล)จนพ้นจากความปรุงแต่ง(ทั้งกุศลและอกุศล) คำสอนนั้นเป็นทาง(มรรค)ตัดตรงเข้าถึงความพ้นทุกข์สิ้นเชิง(นิโรธ/นิพพาน)สิ่งที่เรารักที่สุดคือ ร่างกาย และจิตใจของเรานี่แหละแต่เราไม่สนใจ เราไปสนใจสิ่งอื่น กายกับใจเป็นตัวทุกข์อยู่แล้วนะ พอเกิดตัณหา เกิดอุปาทานคือความยึดถือ ก็เกิดภพคือการดิ้นรนทำงานของจิต ความทุกข์ก็จะเกิดซ้ำซ้อนขึ้นที่จิตอีกชั้นหนึ่ง เมื่อไม่รู้ทุกข์นะ มันก็เกิดสมุทัย จิตใจก็ดิ้นรนปรุงแต่ง นิโรธก็ไม่ปรากฏ นิโรธคือนิพพาน นิพพานคือสภาวะซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง สภาวะซึ่งพ้นจากตัณหา สภาวะที่พ้นจากความปรุงแต่ง มีชื่อเป็นภาษาแขกว่า วิสังขาร สภาวะที่พ้นจากตัณหามีชื่อว่าวิราคะ อันนี้เป็นชื่อของนิพพานทั้งสิ้นเลยนะ เมื่อจิตยังดิ้นรนค้นคว้า จิตยังมีความอยากมีความยึดถืออยู่ นิพพานไม่ปรากฏ ความพ้นทุกข์ไม่มี เพราะยังวนเวียนยึดถือขันธ์อยู่ ต่อเมื่อไรรู้ทุกข์แจ่มแจ้ง สมุทัยถูกละอัตโนมัติ นิโรธแจ้งอัตโนมัติ อริยมรรคก็เกิดอัตโนมัติเลย พระพุทธเจ้าไม่ได้เพียงบอกว่าให้เรารู้แจ้งอริยสัจเท่านั้น แต่ท่านบอกวิธีที่จะทำให้เรารู้แจ้งอริยสัจด้วย คือให้รู้ทุกข์ ทุกข์คือกายกับใจ ถ้ารู้ทุกข์แจ่มแจ้งนะ สมุทัยดับเอง นิโรธปรากฏเอง อริยมรรคเกิดขึ้นเอง ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงวิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้ แล้วอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่นี้ ถูกอริยมรรคแหวกออก แหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียว ขาดเลย มันคล้ายๆ เปิดสวิตช์ไฟปั๊บ สว่างวูบเดียว ความมืดหายไปเลยนะ ในพริบตานั้นเลย จิตถัดจากนั้นนะ จะเห็นพระนิพพานอีก ๒ – ๓ ขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็น ๒ ขณะ บางคนเห็น ๓ ขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็น ๓ ขณะ พวกอินทรีย์ไม่กล้ามาก ก็เห็น ๒ ขณะ เพราะฉะน้นพระอริยะในภูมิเดียวกันนะ ระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรอย่างนี้ไม่เท่ากัน
วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2561
Buddhist Ratna Sutta
จำหลักการปฏิบัติให้แม่นนะ
ส่วนใหญ่ที่ภาวนาแล้วมันไม่ได้ผลกัน มันไม่ใช่วิธีไหนดีวิธีไหนไม่ดี
มันอยู่ที่วางจิตไม่ถูก ไม่รู้จักจิตที่จะใช้เดินปัญญา แยกไม่ออก
มันมีจิตอยู่สามแบบนะ อันหนึ่งเป็นจิตที่เหมือนๆมีสมาธิแต่ไม่ได้มีจริง พวกเคลิ้มๆ หรือพวกเครียดๆ
อันที่สองเป็นสมาธิ ที่จิตแนบเข้าไปในอารมณ์ที่มีความสุขนะ ให้จิตสงบ นี้ได้สมถะ
ชนิดแรกนะไม่มีทั้งสมถะและวิปัสสนาเลย
ส่วนใหญ่ที่นั่งกันรุ่นหลังๆจะเป็นแบบนี้นะ
นั่งแล้วก็เคลิ้มไป ฝันโน้นฝันนี้นะ นิมิตต่างๆอะไรเกิดขึ้นมา
อันนี้ฟุ้งซ่านหรอก ออกข้างนอกไปอีก หรือไม่ก็เคลิ้มหลับในไปเลย
พวกหลับในไปเลย กับพวกฟุ้ง ฝันออกไป
นี่ไม่มีทั้งสมถะและวิปัสสนา เพราะอะไร เพราะขาดสติอย่างแรงเลย
ถ้าเมื่อไรขาดสตินะ เมื่อนั้นไม่มีหรอก ศีล สมาธิ ปัญญา ที่แท้จริง
เพราะอย่างนั้นต้องมีสติ ทำสมาธิอยู่ก็ต้องมีสติ
สมาธิอีกอย่างหนึ่งก็คือ จิตสงบ จิตแนบไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว
จิตเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว แต่ไม่ได้เพ่งแรงๆนะ คำว่าเพ่งในภาษาไทยมันแรงไป
คำว่าฌาน มันไม่ได้เพ่งอย่างรุนแรง ถ้าเพ่งอย่างรุนแรง ไม่สงบหรอก
มันคล้ายๆแค่มนสิการถึงนะ แล้วใจไปจ่ออยู่ในอารมณ์อันเดียว
ถ้าเป็นอารมณ์ที่จิตพอใจ จิตมีความสุข จิตจะไม่หนีไปหาอารมณ์อันอื่น
ถ้าจิตไม่วิ่งพล่านไปสู่อารมณ์โน้นอารมณ์นี้ จิตจะสงบ นี้จะได้สมถะ
เนี่ยสมถะก็มีเยอะแยะ หลายรูปแบบ
วิธีปฏิบัติเนี่ยนับไม่ถ้วน
จะใช้อารมณ์ อารมณ์บัญญัติก็ได้
เช่นภาวนาพุทโธ พุทโธ สัมมาอรหัง นะมะพะธะ อะไรก็ได้ เหมือนกันหมดแหละ
คิดพิจารณากาย พิจารณาอสุภะ พิจารณาปฏิกูล พิจารณาความตาย อะไรต่ออะไร
พิจารณาถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
อันนี้เป็นเรื่องใช้อารมณ์บัญญัติทั้งหมดเลย ก็ทำให้เกิดความสงบได้ มีความสุข
อารมณ์อันที่สองที่ใช้ทำสมถะ ก็คืออารมณ์รูปนาม
ตัวนี้คนที่บอกว่าทำวิปัสสนาๆ แต่ไม่เป็นวิปัสสนาจริงน่ะจะมาพลาดตรงนี้
คือไปรู้อารมณ์รูปนาม แล้วไปแนบอยู่ในอารมณ์รูปนาม
เช่นไปดูท้องพองยุบนะจิตแนบลงไปอยู่ที่ท้อง ไม่เคลื่อนไหวไปไหนเลย
ไปรู้ลมหายใจ จิตแนบอยู่ที่ลมหายใจ ไม่เคลื่อนไหวไปไหนเลย
เห็นไหม ตัวท้องก็เป็นตัววัตถุใช่ไหม เป็นตัวรูป ตัวลมหายใจก็เป็นตัวรูป
หรือเดินจงกรม ยืนเดินนั่งนอนนะก็เพ่ง
เดินจงกรมก็เพ่งร่างกายทั้งร่างกายบ้าง เพ่งอยู่ที่เท้าบ้าง
จิตแนบอยู่ในอารมณ์อันเดียว นึกว่าเป็นวิปัสสนา ไม่เป็นหรอก
วิปัสสนาไม่ใช่แค่รู้อารมณ์รูปนาม วิปัสสนาต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามถึงจะเป็นวิปัสสนา
เพราะงั้นนึกออกไหม ที่นักปฏิบัติจำนวนมากเขาทำกัน
บางคนทุ่มเทนะ หลายสิบปีเลย ทำไมมันไม่ได้ผล
อันแรกเลย เป็นสมาธิที่ใช้ไม่ได้
นั่งแล้วเคลิ้มบ้าง นั่งแล้วเครียดบ้าง นั่งแล้วก็ฝันไปบ้าง
ไม่มีสมถะไม่มีวิปัสสนา ไม่มีสตินั่นแหละ
หรือสติแรงเกินไป ไปจ้องบังคับใจ
เครียดเลยนะ สติแรงเกินไป
แต่ถ้าเคลิ้มไปฝันไป เนี่ยขาดสติ ลืมเนื้อลืมตัวนะ
นักปฏิบัติเยอะเลยที่เป็นอย่างนี้
อีกพวกหนึ่งก็ไปดูรูปดูนาม แต่ไปเพ่งรูปเพ่งนาม
จิตแนบอยู่ที่เท้า แนบอยู่ที่ท้อง แนบอยู่ที่มือ แนบอยู่ที่ลมหายใจ แนบนิ่งอยู่อย่างนั้น
นึ่ถึงจะรูปอารมณ์รูปนามก็จริงนะ แต่เป็นสมถะ
สมถะอีกชนิดหนึ่งก็ใช้นิพพานเป็นอารมณ์
เพราะงั้นการทำสมถะกรรมฐานนะ จริงๆไม่ยากเท่าไหร่หรอก
จะใช้อารมณ์อะไรก็ได้ ใช้อารมณ์บัญญัติก็ได้คือเรื่องราวที่คิด
คิดถึงพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ คิดถึงความตาย
คิดถึงร่างกายเป็นปฏิกูลเป็นอสุภะอะไรงี้ คิดเอา นี่อารมณ์บัญญัติ
อันที่สอง ใช้อารมณ์รูปนาม
เพ่งลมหายใจ เพ่งเท้า เพ่งท้อง เพ่งมือ นี่เพ่งรูป
เพ่งนามทำยังไง เพ่งนามเช่นไปเพ่งอยู่ที่จิต
ประคองจิตให้นิ่งให้ว่าง รักษาจิตให้นิ่งให้ว่าง เป็นสมถะเห็นไหม
เพ่งรูปก็เป็นสมถะนะ เพ่งนามก็เป็นสมถะ
ที่ว่าดูจิตๆนะ พวกหนึ่งที่ว่าดูจิตน่ะไม่ได้ดูจิตหรอกมันไปเพ่งอยู่เฉยๆ ไม่เดินปัญญา
ยิ่งไปคิดนะว่า ศีลสมาธิปัญญาไม่สำคัญหรอก
ทำอย่างไรจะให้จิตเลิกปรุงแต่งได้แล้วก็บรรลุมรรคผลได้ นี่เป็นความเข้าใจผิด
จิตมีธรรมชาติปรุงแต่ง มันก็ปรุงแต่งของมันนะ
ไปบังคับให้มันนิ่งมันว่าง ความนิ่งความว่างก็เป็นความปรุงแต่งอย่างหนึ่ง ไม่ใช่ไม่ปรุงแต่ง
งั้นไปประคองจิตนะ ไปคิดว่าต้องอยู่กับสุญญตา
หรือประคองไม่ให้จิตปรุงแต่งแล้วจะบรรลุมรรคผลนิพพานนะ เป็นความเข้าใจผิด
ความปรุงแต่งมาจากอวิชชา ไม่ใช่มาจากจงใจจะแต่งหรือจงใจไม่แต่ง
ตราบใดยังมีอวิชชาอยู่ จิตก็ยังปรุงแต่งอยู่ไม่เลิกหรอก
งั้นอยู่ๆก็ไปนั่งนึกเอาเองนะ ศีล สมาธิ ปัญญา ไม่ต้องทำ
รักษาจิตให้นิ่งให้ว่าง ไม่ให้ปรุงแต่ง แล้วก็บรรลุมรรคผลนิพพาน
บรรลุไม่ได้ มันนอนทับอวิชชาอยู่
จะล้างอวิชชา นั่นแหละต้องใช้ศีลสมาธิปัญญาล้าง
ไม่ใช่บอกไม่ใช้ศีลสมาธิปัญญา แล้วก็บรรลุมรรคผลนิพพาน
เห็นไหมสิ่งที่ผิดนะมันเต็มไปหมดเลย
ถ้าเพ่ง ไปเพ่งจิตนะ จะไปอรูปฌาน
บางคนไปเพ่งความว่างอยู่นะ เป็นอรูปฌานที่หนึ่งชื่ออากาสานัญจายตนะ
บางคนไปเพ่งตัวจิต ประคองจิตนะ
หรือบางทีก็ไปเพ่งตัวผู้รู้ เพ่งจิตกับเพ่งผู้รู้ยังไม่เหมือนกัน
เพ่งจิตนะ แน่วนิ่งอยู่กับจิต ไม่ให้เคลื่อนไหวเลย
ส่วนการเพ่งตัวผู้รู้เนี่ย มันจะเห็นสภาวะอันหนึ่งแล้วมีผู้รู้
พอไปดูผู้รู้มันจะเกิดผู้รู้ซ้อนไปเรื่อย
ที่ วิญญาณัญจายตนะ นะในตำราหนึ่งสอนมาว่า วิญญาณเป็นอนันต์
คือตัวรู้นั่นเอง ตัวรู้ซ้อนตัวรู้ไปไม่มีวันสิ้นสุดเลยบอกวิญญาณเป็นอนันต์
เห็นไหมดูจิตก็ไม่ใช่ว่าจะเป็นวิปัสสนานะ ดูจิตดูไม่เป็นจริงๆก็เป็นสมถะ
ไปเพ่งความว่าง เรียกอากาสานัญจายตนะ
ไปเพ่งจิต เรียกวิญญาณัญจายตนะ
เพ่งจิตยังแยกได้สองแบบ แบบหนึ่งประคองจิต ประคองนิ่งเลย
อีกอันหนึ่งไปดูผู้รู้ แล้วก็เกิดผู้รู้ซ้อนผู้รู้ไปเรื่อยๆ วิญญาณเป็นอนันต์
อย่างที่สาม ถ้าทำอรูปนะ อย่างที่สาม
ดูจิตไป ดูจิตไป ไอ้โน่นก็ไม่ยึด ไอ้นี่ก็ไม่เอา
ไม่เอาอะไรสักอย่างนะ จะเอาความไม่เอาอะไรเลย
ไปยึดอยู่ในความไม่เอาอะไรเลยนี่ชื่ออากิญจัญญายตนะ
อีกอย่างหนึ่ง ไปดูจิตนะ จนกระทั่งมันไปอยู่ในอากิญจัญญายตนะนาน
โน่นไม่ยึด นึ่ไม่ยึดนะ จิตมันรู้อารมณ์ที่ละเอียดมาก อารมณ์ที่ว่าง แทบไม่มีอะไรเลย
จิตพอละเอียดมากนะ กำลังของมันตกลงไปนะ
มันจะค่อยๆคลายความรู้สึกตัวลงไป จนกระทั่งเหลือความรู้สึกนิดเดียวนะ
เหมือนๆจะไม่รู้สึกน่ะ รู้สึกเหมือนๆจะไม่รู้สึก เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนะ
บางคนบอกตรงนี้ประณีตมากเลย แทบไม่มีอะไรเลย
เนี่ยดูจิตผิดนะ ก็ไปอรูป
ดูกายผิด เพ่งรูป ไปเพ่งรูปเข้าไปก็ไปรูปฌาน ไปเป็นรูปพรหม
ไปดูจิตซึ่งเป็นนามธรรม ถ้าดูไม่เป็นนะ ดูแบบไปเพ่งจิตเข้าก็ไปอรูปฌาน ไปเป็นอรูปพรหม
ไม่ใช่ทางเดินของมรรคผลนิพพานเลย
เนี่ยสมาธิสองอย่างนะ สมาธิ เล่าไปแล้วสองชนิด
ชนิดหนึ่งสมาธิไม่เอาไหนเลย นั่งแล้วเคลิ้มขาดสติ หรือไม่ก็เร้าสติแรงเกินไปเพ่งจนเครียด นี่พวกหนึ่ง
พวกที่สอง มารู้รูปรู้นามนะ มาเพ่งรูปเพ่งนามก็ได้
เพ่งอารมณ์บัญญัติก็ได้ รู้นิพพานก็ได้ แต่ให้จิตแนบอยู่ในอารมณ์อันเดียว
มีสติอยู่ มีจิตที่สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว ได้สมถะกรรมฐาน
นี่ตรงสมถะกรรมฐานนะต้องรู้ทันว่าตอนนั้นทำสมถะอยู่
ถ้ารู้ไม่ทันนะก็จะหลงไปเป็นรูปพรหมบ้าง อรูปพรหมบ้าง
ถ้ามันไปแน่วนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว
จิตที่แน่วนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวนะ เรียกว่ามันมีอารัมมณูปนิชฌาน
การที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เรียกอารัมมณูปนิชฌาน
สมาธิอีกชนิดหนึ่ง เป็นสมาธิชั้นเลิศเลย เป็นสมาธิที่ใช้เดินปัญญาล้วนๆเลย
เป็นสมาธิที่ในตำราเค้าเรียกลักขณูปนิชฌาน
เป็นจิตที่ตั้งมั่นเห็นลักษณะ คือเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม
เพราะงั้นจะเดินปัญญาเนี่ย ต้องรู้รูปนาม
ต้องรู้อารมณ์รูปนามแล้วก็เห็นความเป็นไตรลักษณ์ของอารมณ์รูปนาม
อันนี้สมาธิที่ตั้งมั่นแล้วเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามได้เนี่ย
เป็นสมาธิที่ใช้ทำวิปัสสนา เรียกว่าลักขณูปนิชฌาน
เห็นลักษณะ ลักขณูก็คือลักษณะนะ เห็นไตรลักษณ์นั่นเอง
สมาธิชนิดนี้จะไม่เหมือนสมาธิอย่างที่สอง ที่จิตเข้าไปแนบนิ่งอยู่ในอารมณ์ที่มีความสุข
สมาธิชนิดนี้มันตั้งมั่นอยู่นะ แต่มันไม่ไหลเข้าไปตั้งแช่อยู่ในอารมณ์อันเดียว
สภาวะที่เกิดคือจิตมันจะถอดถอนตัวเองออกมา ถอดถอนตัวเองออกมาเป็นผู้รู้ผู้ดู
เนี่ยจิตตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู เห็นปรากฏการณ์ของรูปธรรม เห็นปรากฏการณ์ของนามธรรม
ปรากฏการณ์ทั้งหลายนั่นแหละแสดงไตรลักษณ์ให้ดู
ต้องถอนตัวออกมาให้ได้ จิตมันถอนตัวออกมานะ เริ่มแยกธาตุแยกขันธ์ เริ่มเดินปัญญา
ถ้ายังไม่ถึงขั้นเดินปัญญา อย่ามาพูดถึงเรื่องมรรคผลนิพพานนะ ยังไกล
ทำแต่สมถะ สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว ไม่มีมรรคผลนิพพานหรอก
มีแต่รูปฌาน-อรูปฌาน ไปรูปพรหม-อรูปพรหม
ถ้าทำสมาธิผิด ขาดสติไป ก็ไปเป็นสัตว์เดรัจฉานก็ได้
หรือเพ่งจนเครียดนะ ภาวนาแล้วเครียดจัดนะตกนรกทั้งเป็นอยู่แล้ว อย่างนั้นไม่ได้เรื่องเลย
ส่วนใหญ่ที่ภาวนาแล้วมันไม่ได้ผลกัน มันไม่ใช่วิธีไหนดีวิธีไหนไม่ดี
มันอยู่ที่วางจิตไม่ถูก ไม่รู้จักจิตที่จะใช้เดินปัญญา แยกไม่ออก
มันมีจิตอยู่สามแบบนะ อันหนึ่งเป็นจิตที่เหมือนๆมีสมาธิแต่ไม่ได้มีจริง พวกเคลิ้มๆ หรือพวกเครียดๆ
อันที่สองเป็นสมาธิ ที่จิตแนบเข้าไปในอารมณ์ที่มีความสุขนะ ให้จิตสงบ นี้ได้สมถะ
ชนิดแรกนะไม่มีทั้งสมถะและวิปัสสนาเลย
ส่วนใหญ่ที่นั่งกันรุ่นหลังๆจะเป็นแบบนี้นะ
นั่งแล้วก็เคลิ้มไป ฝันโน้นฝันนี้นะ นิมิตต่างๆอะไรเกิดขึ้นมา
อันนี้ฟุ้งซ่านหรอก ออกข้างนอกไปอีก หรือไม่ก็เคลิ้มหลับในไปเลย
พวกหลับในไปเลย กับพวกฟุ้ง ฝันออกไป
นี่ไม่มีทั้งสมถะและวิปัสสนา เพราะอะไร เพราะขาดสติอย่างแรงเลย
ถ้าเมื่อไรขาดสตินะ เมื่อนั้นไม่มีหรอก ศีล สมาธิ ปัญญา ที่แท้จริง
เพราะอย่างนั้นต้องมีสติ ทำสมาธิอยู่ก็ต้องมีสติ
สมาธิอีกอย่างหนึ่งก็คือ จิตสงบ จิตแนบไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว
จิตเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว แต่ไม่ได้เพ่งแรงๆนะ คำว่าเพ่งในภาษาไทยมันแรงไป
คำว่าฌาน มันไม่ได้เพ่งอย่างรุนแรง ถ้าเพ่งอย่างรุนแรง ไม่สงบหรอก
มันคล้ายๆแค่มนสิการถึงนะ แล้วใจไปจ่ออยู่ในอารมณ์อันเดียว
ถ้าเป็นอารมณ์ที่จิตพอใจ จิตมีความสุข จิตจะไม่หนีไปหาอารมณ์อันอื่น
ถ้าจิตไม่วิ่งพล่านไปสู่อารมณ์โน้นอารมณ์นี้ จิตจะสงบ นี้จะได้สมถะ
เนี่ยสมถะก็มีเยอะแยะ หลายรูปแบบ
วิธีปฏิบัติเนี่ยนับไม่ถ้วน
จะใช้อารมณ์ อารมณ์บัญญัติก็ได้
เช่นภาวนาพุทโธ พุทโธ สัมมาอรหัง นะมะพะธะ อะไรก็ได้ เหมือนกันหมดแหละ
คิดพิจารณากาย พิจารณาอสุภะ พิจารณาปฏิกูล พิจารณาความตาย อะไรต่ออะไร
พิจารณาถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
อันนี้เป็นเรื่องใช้อารมณ์บัญญัติทั้งหมดเลย ก็ทำให้เกิดความสงบได้ มีความสุข
อารมณ์อันที่สองที่ใช้ทำสมถะ ก็คืออารมณ์รูปนาม
ตัวนี้คนที่บอกว่าทำวิปัสสนาๆ แต่ไม่เป็นวิปัสสนาจริงน่ะจะมาพลาดตรงนี้
คือไปรู้อารมณ์รูปนาม แล้วไปแนบอยู่ในอารมณ์รูปนาม
เช่นไปดูท้องพองยุบนะจิตแนบลงไปอยู่ที่ท้อง ไม่เคลื่อนไหวไปไหนเลย
ไปรู้ลมหายใจ จิตแนบอยู่ที่ลมหายใจ ไม่เคลื่อนไหวไปไหนเลย
เห็นไหม ตัวท้องก็เป็นตัววัตถุใช่ไหม เป็นตัวรูป ตัวลมหายใจก็เป็นตัวรูป
หรือเดินจงกรม ยืนเดินนั่งนอนนะก็เพ่ง
เดินจงกรมก็เพ่งร่างกายทั้งร่างกายบ้าง เพ่งอยู่ที่เท้าบ้าง
จิตแนบอยู่ในอารมณ์อันเดียว นึกว่าเป็นวิปัสสนา ไม่เป็นหรอก
วิปัสสนาไม่ใช่แค่รู้อารมณ์รูปนาม วิปัสสนาต้องเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามถึงจะเป็นวิปัสสนา
เพราะงั้นนึกออกไหม ที่นักปฏิบัติจำนวนมากเขาทำกัน
บางคนทุ่มเทนะ หลายสิบปีเลย ทำไมมันไม่ได้ผล
อันแรกเลย เป็นสมาธิที่ใช้ไม่ได้
นั่งแล้วเคลิ้มบ้าง นั่งแล้วเครียดบ้าง นั่งแล้วก็ฝันไปบ้าง
ไม่มีสมถะไม่มีวิปัสสนา ไม่มีสตินั่นแหละ
หรือสติแรงเกินไป ไปจ้องบังคับใจ
เครียดเลยนะ สติแรงเกินไป
แต่ถ้าเคลิ้มไปฝันไป เนี่ยขาดสติ ลืมเนื้อลืมตัวนะ
นักปฏิบัติเยอะเลยที่เป็นอย่างนี้
อีกพวกหนึ่งก็ไปดูรูปดูนาม แต่ไปเพ่งรูปเพ่งนาม
จิตแนบอยู่ที่เท้า แนบอยู่ที่ท้อง แนบอยู่ที่มือ แนบอยู่ที่ลมหายใจ แนบนิ่งอยู่อย่างนั้น
นึ่ถึงจะรูปอารมณ์รูปนามก็จริงนะ แต่เป็นสมถะ
สมถะอีกชนิดหนึ่งก็ใช้นิพพานเป็นอารมณ์
เพราะงั้นการทำสมถะกรรมฐานนะ จริงๆไม่ยากเท่าไหร่หรอก
จะใช้อารมณ์อะไรก็ได้ ใช้อารมณ์บัญญัติก็ได้คือเรื่องราวที่คิด
คิดถึงพระพุทธพระธรรมพระสงฆ์ คิดถึงความตาย
คิดถึงร่างกายเป็นปฏิกูลเป็นอสุภะอะไรงี้ คิดเอา นี่อารมณ์บัญญัติ
อันที่สอง ใช้อารมณ์รูปนาม
เพ่งลมหายใจ เพ่งเท้า เพ่งท้อง เพ่งมือ นี่เพ่งรูป
เพ่งนามทำยังไง เพ่งนามเช่นไปเพ่งอยู่ที่จิต
ประคองจิตให้นิ่งให้ว่าง รักษาจิตให้นิ่งให้ว่าง เป็นสมถะเห็นไหม
เพ่งรูปก็เป็นสมถะนะ เพ่งนามก็เป็นสมถะ
ที่ว่าดูจิตๆนะ พวกหนึ่งที่ว่าดูจิตน่ะไม่ได้ดูจิตหรอกมันไปเพ่งอยู่เฉยๆ ไม่เดินปัญญา
ยิ่งไปคิดนะว่า ศีลสมาธิปัญญาไม่สำคัญหรอก
ทำอย่างไรจะให้จิตเลิกปรุงแต่งได้แล้วก็บรรลุมรรคผลได้ นี่เป็นความเข้าใจผิด
จิตมีธรรมชาติปรุงแต่ง มันก็ปรุงแต่งของมันนะ
ไปบังคับให้มันนิ่งมันว่าง ความนิ่งความว่างก็เป็นความปรุงแต่งอย่างหนึ่ง ไม่ใช่ไม่ปรุงแต่ง
งั้นไปประคองจิตนะ ไปคิดว่าต้องอยู่กับสุญญตา
หรือประคองไม่ให้จิตปรุงแต่งแล้วจะบรรลุมรรคผลนิพพานนะ เป็นความเข้าใจผิด
ความปรุงแต่งมาจากอวิชชา ไม่ใช่มาจากจงใจจะแต่งหรือจงใจไม่แต่ง
ตราบใดยังมีอวิชชาอยู่ จิตก็ยังปรุงแต่งอยู่ไม่เลิกหรอก
งั้นอยู่ๆก็ไปนั่งนึกเอาเองนะ ศีล สมาธิ ปัญญา ไม่ต้องทำ
รักษาจิตให้นิ่งให้ว่าง ไม่ให้ปรุงแต่ง แล้วก็บรรลุมรรคผลนิพพาน
บรรลุไม่ได้ มันนอนทับอวิชชาอยู่
จะล้างอวิชชา นั่นแหละต้องใช้ศีลสมาธิปัญญาล้าง
ไม่ใช่บอกไม่ใช้ศีลสมาธิปัญญา แล้วก็บรรลุมรรคผลนิพพาน
เห็นไหมสิ่งที่ผิดนะมันเต็มไปหมดเลย
ถ้าเพ่ง ไปเพ่งจิตนะ จะไปอรูปฌาน
บางคนไปเพ่งความว่างอยู่นะ เป็นอรูปฌานที่หนึ่งชื่ออากาสานัญจายตนะ
บางคนไปเพ่งตัวจิต ประคองจิตนะ
หรือบางทีก็ไปเพ่งตัวผู้รู้ เพ่งจิตกับเพ่งผู้รู้ยังไม่เหมือนกัน
เพ่งจิตนะ แน่วนิ่งอยู่กับจิต ไม่ให้เคลื่อนไหวเลย
ส่วนการเพ่งตัวผู้รู้เนี่ย มันจะเห็นสภาวะอันหนึ่งแล้วมีผู้รู้
พอไปดูผู้รู้มันจะเกิดผู้รู้ซ้อนไปเรื่อย
ที่ วิญญาณัญจายตนะ นะในตำราหนึ่งสอนมาว่า วิญญาณเป็นอนันต์
คือตัวรู้นั่นเอง ตัวรู้ซ้อนตัวรู้ไปไม่มีวันสิ้นสุดเลยบอกวิญญาณเป็นอนันต์
เห็นไหมดูจิตก็ไม่ใช่ว่าจะเป็นวิปัสสนานะ ดูจิตดูไม่เป็นจริงๆก็เป็นสมถะ
ไปเพ่งความว่าง เรียกอากาสานัญจายตนะ
ไปเพ่งจิต เรียกวิญญาณัญจายตนะ
เพ่งจิตยังแยกได้สองแบบ แบบหนึ่งประคองจิต ประคองนิ่งเลย
อีกอันหนึ่งไปดูผู้รู้ แล้วก็เกิดผู้รู้ซ้อนผู้รู้ไปเรื่อยๆ วิญญาณเป็นอนันต์
อย่างที่สาม ถ้าทำอรูปนะ อย่างที่สาม
ดูจิตไป ดูจิตไป ไอ้โน่นก็ไม่ยึด ไอ้นี่ก็ไม่เอา
ไม่เอาอะไรสักอย่างนะ จะเอาความไม่เอาอะไรเลย
ไปยึดอยู่ในความไม่เอาอะไรเลยนี่ชื่ออากิญจัญญายตนะ
อีกอย่างหนึ่ง ไปดูจิตนะ จนกระทั่งมันไปอยู่ในอากิญจัญญายตนะนาน
โน่นไม่ยึด นึ่ไม่ยึดนะ จิตมันรู้อารมณ์ที่ละเอียดมาก อารมณ์ที่ว่าง แทบไม่มีอะไรเลย
จิตพอละเอียดมากนะ กำลังของมันตกลงไปนะ
มันจะค่อยๆคลายความรู้สึกตัวลงไป จนกระทั่งเหลือความรู้สึกนิดเดียวนะ
เหมือนๆจะไม่รู้สึกน่ะ รู้สึกเหมือนๆจะไม่รู้สึก เป็นเนวสัญญานาสัญญายตนะ
บางคนบอกตรงนี้ประณีตมากเลย แทบไม่มีอะไรเลย
เนี่ยดูจิตผิดนะ ก็ไปอรูป
ดูกายผิด เพ่งรูป ไปเพ่งรูปเข้าไปก็ไปรูปฌาน ไปเป็นรูปพรหม
ไปดูจิตซึ่งเป็นนามธรรม ถ้าดูไม่เป็นนะ ดูแบบไปเพ่งจิตเข้าก็ไปอรูปฌาน ไปเป็นอรูปพรหม
ไม่ใช่ทางเดินของมรรคผลนิพพานเลย
เนี่ยสมาธิสองอย่างนะ สมาธิ เล่าไปแล้วสองชนิด
ชนิดหนึ่งสมาธิไม่เอาไหนเลย นั่งแล้วเคลิ้มขาดสติ หรือไม่ก็เร้าสติแรงเกินไปเพ่งจนเครียด นี่พวกหนึ่ง
พวกที่สอง มารู้รูปรู้นามนะ มาเพ่งรูปเพ่งนามก็ได้
เพ่งอารมณ์บัญญัติก็ได้ รู้นิพพานก็ได้ แต่ให้จิตแนบอยู่ในอารมณ์อันเดียว
มีสติอยู่ มีจิตที่สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว ได้สมถะกรรมฐาน
นี่ตรงสมถะกรรมฐานนะต้องรู้ทันว่าตอนนั้นทำสมถะอยู่
ถ้ารู้ไม่ทันนะก็จะหลงไปเป็นรูปพรหมบ้าง อรูปพรหมบ้าง
ถ้ามันไปแน่วนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว
จิตที่แน่วนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวนะ เรียกว่ามันมีอารัมมณูปนิชฌาน
การที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เรียกอารัมมณูปนิชฌาน
สมาธิอีกชนิดหนึ่ง เป็นสมาธิชั้นเลิศเลย เป็นสมาธิที่ใช้เดินปัญญาล้วนๆเลย
เป็นสมาธิที่ในตำราเค้าเรียกลักขณูปนิชฌาน
เป็นจิตที่ตั้งมั่นเห็นลักษณะ คือเห็นความเป็นไตรลักษณ์ของรูปนาม
เพราะงั้นจะเดินปัญญาเนี่ย ต้องรู้รูปนาม
ต้องรู้อารมณ์รูปนามแล้วก็เห็นความเป็นไตรลักษณ์ของอารมณ์รูปนาม
อันนี้สมาธิที่ตั้งมั่นแล้วเห็นไตรลักษณ์ของรูปนามได้เนี่ย
เป็นสมาธิที่ใช้ทำวิปัสสนา เรียกว่าลักขณูปนิชฌาน
เห็นลักษณะ ลักขณูก็คือลักษณะนะ เห็นไตรลักษณ์นั่นเอง
สมาธิชนิดนี้จะไม่เหมือนสมาธิอย่างที่สอง ที่จิตเข้าไปแนบนิ่งอยู่ในอารมณ์ที่มีความสุข
สมาธิชนิดนี้มันตั้งมั่นอยู่นะ แต่มันไม่ไหลเข้าไปตั้งแช่อยู่ในอารมณ์อันเดียว
สภาวะที่เกิดคือจิตมันจะถอดถอนตัวเองออกมา ถอดถอนตัวเองออกมาเป็นผู้รู้ผู้ดู
เนี่ยจิตตั้งมั่นขึ้นมาเป็นผู้รู้ผู้ดู เห็นปรากฏการณ์ของรูปธรรม เห็นปรากฏการณ์ของนามธรรม
ปรากฏการณ์ทั้งหลายนั่นแหละแสดงไตรลักษณ์ให้ดู
ต้องถอนตัวออกมาให้ได้ จิตมันถอนตัวออกมานะ เริ่มแยกธาตุแยกขันธ์ เริ่มเดินปัญญา
ถ้ายังไม่ถึงขั้นเดินปัญญา อย่ามาพูดถึงเรื่องมรรคผลนิพพานนะ ยังไกล
ทำแต่สมถะ สงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว ไม่มีมรรคผลนิพพานหรอก
มีแต่รูปฌาน-อรูปฌาน ไปรูปพรหม-อรูปพรหม
ถ้าทำสมาธิผิด ขาดสติไป ก็ไปเป็นสัตว์เดรัจฉานก็ได้
หรือเพ่งจนเครียดนะ ภาวนาแล้วเครียดจัดนะตกนรกทั้งเป็นอยู่แล้ว อย่างนั้นไม่ได้เรื่องเลย
วันพฤหัสบดีที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2561
การฝึกสมาธิ ฝึกพลังจิต ฝึกอภิญญา หลวงพ่อฤๅษีลิง
พระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) หรือที่รู้จักกันโดยทั่วไปว่า หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เป็นพระภิกษุนิกายเถรวาทฝ่ายมหานิกาย เจ้าอาวาสวัดจันทาราม (ท่าซุง) จังหวัดอุทัยธานี มีชื่อเสียงในด้านการบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานจนได้วิชามโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ)
พระคันธกุฎี เขาคิชกูฏ นครราชคฤห์ - Khundhakuti Gridhkut- Rajgir
อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต,. มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง,. สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง,. สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ
วันพุธที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2561
ทางบรรลุมรรคผล
#จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเองโดย#ธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้นหนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกามคือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อยพวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหมอันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอกอารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร
#จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียวอาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียวรู้ร่างกายอยู่อันเดียวมาเพ่งรูปอยู่อันเดียวเพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเองงั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้วอย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติเพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็นถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน?
#จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียวอาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียวรู้ร่างกายอยู่อันเดียวมาเพ่งรูปอยู่อันเดียวเพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเองงั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้วอย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติเพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็นถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน?
ลักษณะของบุคคลที่จะได้บรรลุธรรม
ลักษณะของบุคคลที่จะได้บรรลุธรรม
ผู้สละโลก ปลดแอก
#ข้าแต่พระอ#ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัปก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์
#มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้วบัดนี้แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้วสมาคมก็จะมิได้มีความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว
#ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพานที่ไม่แก่ไม่ตายเกษมมีสุขเย็นสนิทไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้วงค์ผู้เจริญข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัปก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์
#มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้วบัดนี้แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้วสมาคมก็จะมิได้มีความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว
#ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพานที่ไม่แก่ไม่ตายเกษมมีสุขเย็นสนิทไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้วงค์ผู้เจริญข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัปก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์
#มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้วบัดนี้แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้วสมาคมก็จะมิได้มีความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว
#ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพานที่ไม่แก่ไม่ตายเกษมมีสุขเย็นสนิทไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว
ผู้สละโลก ปลดแอก
#ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัปก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์
#มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้วบัดนี้แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้วสมาคมก็จะมิได้มีความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว
#ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพานที่ไม่แก่ไม่ตายเกษมมีสุขเย็นสนิทไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว
ผู้สละโลก ปลดแอก
#ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัปก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์
#มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้วบัดนี้แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้วสมาคมก็จะมิได้มีความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว
#ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพานที่ไม่แก่ไม่ตายเกษมมีสุขเย็นสนิทไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว
วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2561
มงคลสูตร ภาษาอินเดีย
อะเสวะนา จะ พาลานัง,
การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑.
ปิณฑิตานัญจะ เสวะนา,
การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑,
ปูชา จะ ปูชะนียานัง,
การบูชาชนควรบูชาทั้งหลาย ๑,
เอตัมมังคะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ,
ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ,
การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑.
ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา,
การเป็นผู้มีบุญ อันทำแล้วในกาลก่อน ๑,
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ,
การตั้งตนไว้ชอบ ๑,
เอตัมมังคะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ,
พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ,
การได้ฟังมาแล้วมาก ๑ ศิลปศาสตร์ ๑,
วินะโย ตะ สุสิกขิโต,
วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑,
สุภาสิตา จะ ยา วาจา,
วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว ๑,
เอตัมมังคะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด,
มาตาปิตุอุปัฏฐานัง,
การบำรุงมารดาและบิดา ๑,
ปุตตะทารัสสะ สังคะโห,
การสงเคราห์ลูกและเมีย ๑,
อะนากุลา จะ กัมมันตา,
การงานทั้งหลายไม่อากูล ๑,
เอตัมมังตะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด,
ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ,
การให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑,
ญาตะกานัญจะ สังคะโห,
การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑,
อะนะวัชชานะ กัมมานิ,
กรรมทั้งหลายไม่มีโทษ ๑.
เอตัมมังตะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด,
การไม่คบคนพาลทั้งหลาย ๑.
ปิณฑิตานัญจะ เสวะนา,
การคบบัณฑิตทั้งหลาย ๑,
ปูชา จะ ปูชะนียานัง,
การบูชาชนควรบูชาทั้งหลาย ๑,
เอตัมมังคะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ,
ปะฏิรูปะเทสะวาโส จะ,
การอยู่ในประเทศอันสมควร ๑.
ปุพเพ จะ กะตะปุญญะตา,
การเป็นผู้มีบุญ อันทำแล้วในกาลก่อน ๑,
อัตตะสัมมาปะณิธิ จะ,
การตั้งตนไว้ชอบ ๑,
เอตัมมังคะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด ,
พาหุสัจจัญจะ สิปปัญจะ,
การได้ฟังมาแล้วมาก ๑ ศิลปศาสตร์ ๑,
วินะโย ตะ สุสิกขิโต,
วินัยอันชนศึกษาดีแล้ว ๑,
สุภาสิตา จะ ยา วาจา,
วาจาอันชนกล่าวดีแล้ว ๑,
เอตัมมังคะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด,
มาตาปิตุอุปัฏฐานัง,
การบำรุงมารดาและบิดา ๑,
ปุตตะทารัสสะ สังคะโห,
การสงเคราห์ลูกและเมีย ๑,
อะนากุลา จะ กัมมันตา,
การงานทั้งหลายไม่อากูล ๑,
เอตัมมังตะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด,
ทานัญจะ ธัมมะจะริยา จะ,
การให้ ๑ การประพฤติธรรม ๑,
ญาตะกานัญจะ สังคะโห,
การสงเคราะห์ญาติทั้งหลาย ๑,
อะนะวัชชานะ กัมมานิ,
กรรมทั้งหลายไม่มีโทษ ๑.
เอตัมมังตะละมุตตะมัง,
ข้อนี้เป็นมงคลอันสูงสุด,
วันศุกร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2561
กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เมืองเวสาลี Ashokan Pillar, Vaishali
กูฏาคารศาลา ป่ามหาวัน เมืองเวสาลี Ashokan Pillar, Vaishali
ทางสิ้นทุกข์
#พระธรรมเทศนาโดยพระราชพรหมยานเถระ#ความทุกข์มันเกิดได้อย่างไรทำอย่างไรถึงจะไม่ทุกข์
#ทางนิพพานพุทโธอัปมาโณ
www.tangnipparn.com/
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ...
#ทางนิพพานพุทโธอัปมาโณ
www.tangnipparn.com/
สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ทวารัตตะเยนะ กะตัง สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต อุกาสะ ขะมามิ ภันเตฯ หากข้าพระพุทธเจ้า ...
เทศน์ลำดับญาณ 1/2 (ท่านเจ้าคุณโชดก)
เทศน์ลำดับญาณ โดย พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)
ญาณ16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน คือ
1.นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
3.สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้(ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา(ระหว่างดับถึงเกิด)
6.ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
11.สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
12.สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ (พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ )
13.โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
14.มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
15.ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
16.ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
ญาณ16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน คือ
1.นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
3.สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้(ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา(ระหว่างดับถึงเกิด)
6.ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
11.สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
12.สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ (พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ )
13.โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
14.มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
15.ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
16.ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
เทศน์ลำดับญาณ 1/2 (ท่านเจ้าคุณโชดก)
เทศน์ลำดับญาณ โดย พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)
ญาณ16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน คือ
1.นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
3.สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้(ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา(ระหว่างดับถึงเกิด)
6.ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
11.สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
12.สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ (พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ )
13.โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
14.มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
15.ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
16.ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
ญาณ16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน คือ
1.นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
3.สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้(ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา(ระหว่างดับถึงเกิด)
6.ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
11.สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
12.สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ (พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ )
13.โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
14.มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
15.ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
16.ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
เทศน์ลำดับญาณ 1/2 (ท่านเจ้าคุณโชดก)
เทศน์ลำดับญาณ โดย พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ)
ญาณ16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน คือ
1.นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
3.สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้(ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา(ระหว่างดับถึงเกิด)
6.ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
11.สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
12.สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ (พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ )
13.โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
14.มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
15.ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
16.ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
ญาณ16 (โสฬสญาณ) เป็นญาณที่เกิดแก่ผู้บำเพ็ญวิปัสสนา
โดยลำดับตั้งแต่ต้น จนถึงจุดหมายคือมรรคผลนิพพาน คือ
1.นามรูปปริจเฉทญาณ หมายถึง ญาณกำหนดแยกนามรูป
2.นามรูปปัจจัยปริคคหญาณ หมายถึง ญาณจับปัจจัยแห่งนามรูป
3.สัมมสนญาณ หมายถึง ญาณพิจารณานามรูปโดยไตรลักษณ์
4.อุทยัพพยานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นความเกิดและความดับแห่งนามรูป วิปัสสนูปกิเลสเกิดขึ้นได้ในช่วงนี้(ระหว่างเกิดถึงดับ เห็นเป็นดุจกระแสน้ำที่ไหล)
5.ภังคานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณตามเห็นจำเพาะความดับเด่นขึ้นมา(ระหว่างดับถึงเกิด)
6.ภยตูปัฏฐานญาณ หมายถึง ญาณอันมองเห็นสังขารปรากฏเป็นของน่ากลัว ไม่แน่นอน ดุจกลัวต่อมรณะที่จะเกิด
7.อาทีนวานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นโทษภัยของสิ่งทั้งปวง ผันผวนแปรปรวน พึ่งพิงมิได้
8.นิพพิทานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณคำนึงเห็นด้วยความเบื่อหน่าย
9.มุจจิตุกัมยตาญาณ หมายถึง ญาณหยั่งรู้อันใคร่จะพ้นไปเสีย
10.ปฏิสังขานุปัสสนาญาณ หมายถึง ญาณพิจารณาทบทวนเพื่อจะหาทางหนี
11.สังขารุเบกขาญาณ หมายถึง ญาณอันเป็นไปโดยความเป็นกลางวางเฉยต่อสังขาร
12.สัจจานุโลมิกญาณ หมายถึง ญาณเป็นไปโดยควรแก่การหยั่งรู้อริยสัจ (พิจารณาวิปัสสนาญาณทั้ง๘ที่ผ่านมา ว่าเป็นทุกข์ เมื่อเห็นทุกข์ก็เห็น สมุทัย นิโรธ มรรค โดยแต่ละญาณเป็นเหตุเกิดมรรค ทั้ง๘ ตามลำดับ )
13.โคตรภูญาณ หมายถึง ญาณครอบโคตร คือ หัวต่อที่ข้ามพ้นภาวะปุถุชน (ถ้าเป็นอริยบุคคลแล้ว จะเรียกว่าวิทานะญาณ)เห็นความทุกข์จนไม่กลัวต่อความว่าง ดุจบุคคลกล้าโดดจากหน้าผาสู่ความว่างเพราะรังเกียจในหน้าผานั้นอย่างสุดจิตสุดใจ
14.มัคคญาณ หมายถึง ญาณในอริยมรรค
15.ผลญาณ หมายถึง ญาณอริยผล
16.ปัจจเวกขณญาณ หมายถึง ญาณที่พิจารณาทบทวน
คิดถึงพระพุทธเจ้าไว้ ปลอดภัยดี
#ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริงจงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน
#ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิดขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรักความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกันอยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิดขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน
#เพื่อนมนุษย์เอ๋ยขอให้ท่านจงหมั่นเปล่งคำว่าพุทฺธํ รณํคจฺฉามิไว้บ่อยๆเถิด
"พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”ดถึงพระพุทธเจ้าดีกว่าครับ
"โรครักความเป็นพระพุทธเจ้า" แต่ก็ดี..โรครักความเป็นพระพุทธเจ้านี้ ก็ เป็นปัจจัยให้พวกเราไม่ต้องลงอบายภูมิกันมากว่า พันชาติเศษแล้ว นี้เราก็ขี้เกียจตกนรกกันมานาน แล้วนะ ใครจะขยันชาตินี้ก็ตาม ใครไปบ้างล่ะ เดี๋ยวต้องถามท่านเจ้าเมืองปาตลีบุตร ท่านจะพา ใครไปมั่ง.เราสามารถที่จะบริกรรมภาวนาพุทโธๆ ไว้ทุกขณะจิตทุกลมหายใจ ... จิตอยู่กับพุทโธ ตลอดเวลาเมื่อพุทโธเข้าไป ถึงใจแล้วถึงจิตแล้ว จิตจะกลายเป็นผู้รู้ ... ให้กำหนดรู้จิตของเราอย่างเดียว อย่าไปเอะใจ อย่าไปตกใจ อย่าไปตื่นใจ ..ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว
อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ
ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ
เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น
ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน
ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง
ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ
ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง
แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา
อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง
จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ
ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต
เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต
ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ
ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร
ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร
จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง
ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว
ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ
ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง
พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้
ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง
พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป
มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา
ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก
ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน
ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก
มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ
ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต
ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน
ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร
#ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิดขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรักความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกันอยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิดขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน
#เพื่อนมนุษย์เอ๋ยขอให้ท่านจงหมั่นเปล่งคำว่าพุทฺธํ รณํคจฺฉามิไว้บ่อยๆเถิด
"พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”ดถึงพระพุทธเจ้าดีกว่าครับ
"โรครักความเป็นพระพุทธเจ้า" แต่ก็ดี..โรครักความเป็นพระพุทธเจ้านี้ ก็ เป็นปัจจัยให้พวกเราไม่ต้องลงอบายภูมิกันมากว่า พันชาติเศษแล้ว นี้เราก็ขี้เกียจตกนรกกันมานาน แล้วนะ ใครจะขยันชาตินี้ก็ตาม ใครไปบ้างล่ะ เดี๋ยวต้องถามท่านเจ้าเมืองปาตลีบุตร ท่านจะพา ใครไปมั่ง.เราสามารถที่จะบริกรรมภาวนาพุทโธๆ ไว้ทุกขณะจิตทุกลมหายใจ ... จิตอยู่กับพุทโธ ตลอดเวลาเมื่อพุทโธเข้าไป ถึงใจแล้วถึงจิตแล้ว จิตจะกลายเป็นผู้รู้ ... ให้กำหนดรู้จิตของเราอย่างเดียว อย่าไปเอะใจ อย่าไปตกใจ อย่าไปตื่นใจ ..ถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลยเพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะจิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว
อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ
ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ
เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น
ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน
ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง
ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ
ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง
แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา
อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้นจิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง
จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ
ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ
ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต
เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต
ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ
ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร
ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร
จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง
ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว
ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ
ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง
พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้
ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง
พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป
มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา
ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก
ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน
ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก
มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ
ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต
ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน
ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร
วันจันทร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2561
การบรรลุธรรม
ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา
ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร
ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามาทวนเข้ามาถึงจิตแท้ถึงธาตุวิญญาณธาตุธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุตัวนี้แหละอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น
ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร
ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามาทวนเข้ามาถึงจิตแท้ถึงธาตุวิญญาณธาตุธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุตัวนี้แหละอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น
หลวงพ่อฤาษีลิงดำ เรื่อง สีของจิต
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงปุริสคติ ๗ ประการและอนุปาทา
ปรินิพพาน เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง จงใส่ใจให้ดีเราจักกล่าว ภิกษุเหล่านั้นทูล
รับพระผู้มีพระภาคแล้ว พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ปุริสคติ
๗ ประการเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ คือ ได้ความวาง
เฉยว่า ถ้ากรรมในอดีตไม่ได้มีแล้วไซร้ อัตตภาพในปัจจุบันก็ไม่พึงมีแก่เรา ถ้า
กรรมในปัจจุบันไม่มีไซร้ อัตตภาพในอนาคตก็จักไม่มีแก่เรา เบญจขันธ์ที่กำลัง
เป็นอยู่ ที่เป็นมาแล้ว เราย่อมละได้ เธอย่อมไม่กำหนัดในเบญจขันธ์อันเป็น
อดีต ไม่ข้องในเบญจขันธ์อันเป็นอนาคต ย่อมพิจารณาเห็นบทอันสงบระงับ
อย่างยิ่งซึ่งมีอยู่ ด้วยปัญญาอันชอบ ก็บทนั้นแล ภิกษุนั้นยังทำให้แจ้งไม่ได้โดย
อาการทั้งปวง อนุสัยคือมานะ อนุสัยคือภวราคะ อนุสัยคืออวิชชา เธอก็ยังละ
ไม่ได้โดยอาการทั้งปวง เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป ภิกษุนั้นย่อม
ปรินิพพานในระหว่าง ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติ
อย่างนี้ คือ ได้ความวางเฉยว่า ถ้ากรรมในอดีตไม่มีแล้วไซร้ ... เบญจขันธ์
ที่กำลังเป็นอยู่ ที่เป็นมาแล้ว เราย่อมละได้ เธอย่อมไม่กำหนัดในเบญจขันธ์
อันเป็นอดีต ... ย่อมพิจารณาเห็นบทอันสงบระงับอย่างยิ่งซึ่งมีอยู่ ด้วยปัญญาอัน
ชอบ ก็บทนั้นแล ภิกษุนั้นยังทำให้แจ้งไม่ได้โดยอาการทั้งปวง อนุสัยคือมานะ ...
อนุสัยคืออวิชชา เธอก็ยังละไม่ได้โดยอาการทั้งปวง เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์
๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในระหว่าง เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็ก
ที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนออกแล้วดับไป ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในระหว่าง เปรียบเหมือนเมื่อ
นายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป ตกยังไม่ถึงพื้น
ก็ดับ ฉะนั้น ฯ
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอย่างนี้ ฯลฯ เพราะ
โอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในเมื่ออายุเลยกึ่ง เปรียบเหมือน
เมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป ตกถึงพื้น
แล้วก็ดับ ฉะนั้น ฯ
วันศุกร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2561
สภาวะของนิพพาน
#เราภาวนาจนเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลาย
ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง
ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า #สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ
เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่
จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา
ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ
กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา
ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย
ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย
โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป
ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า
#สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง
ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง
ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง
นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล
พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ
อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น
อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ
ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ
มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ
ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ
สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์
ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก
พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์
ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ
ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์
แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้
เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ
เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ
ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔
พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค
เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ
เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด
จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล
จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ
ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น
สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ
ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้
สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป
แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า
นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น
เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง
พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่
อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย
กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย
นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ
สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง
สงบจากอะไร สงบจากกิเลส
สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง
สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์
ชั่วคราวทั้งหมด ตรงนี้แหละ ใจจะเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง
ตัวนี้แหละคือสิ่งเรียกว่า #สังขารุเบกขาญาน จิตมีปัญญานะ
เป็นกลางกับความปรุงแต่งทั้งหลาย สุข ทุกข์ ดี ชั่วทั้งหลายนี่
จิตเป็นกลางหมดเลย เพราะอะไร เพราะปัญญา
ไม่ใช่กลางเพราะการเพ่ง ไม่ใช่เป็นกลางเพราะกำหนดนะ
กำหนดแล้วเป็นกลางนี่ยังไม่ใช่ ตัวนี้ต้องเป็นกลางเพราะปัญญา
ถ้าเราตามรู้จิตใจของเราทุกวันๆ เราจะเห็นเลย
ความสุขอยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย ความทุกข์อยู่ชั่วคราวแล้วก็หาย
โลภ โกรธ หลง อยู่ชั่วคราว แล้วก็หาย กุศลอยู่ชั่วคราวแล้วก็หายไป
ถ้าตามดูอย่างนี้นานๆไปนะ จิตมันยอมรับความจริงว่า
#สิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง
ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง
ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง
นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล
พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ
อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น
อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ
ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ
มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ
ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ
สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์
ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก
พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์
ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ
ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์
แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้
เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ
เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ
ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔
พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค
เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ
เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด
จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล
จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ
ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น
สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ
ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้
สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป
แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า
นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น
เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง
พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่
อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย
กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย
นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ
สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง
สงบจากอะไร สงบจากกิเลส
สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง
สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์
วันพฤหัสบดีที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2561
ทางพ้นทุกข์
ทางพ้นทุกข์ - หน้าหลัก | Facebook
https://th-th.facebook.com/pages/category/.../ทางพ้นทุกข์-201325626702626/
ทางพ้นทุกข์. ถูกใจ 2.5 พัน คน. "นิพพานัง ปรมัง สุขัง พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง"
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)