วันพุธที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2558

จิตหมดแรงดิ้นถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ หลักของการปฏิบัติไม่ยากอะไรหรอกนะ เราไปวาดภาพการปฏิบัติธรรมไว้เกินจริง แล้วคิดว่าต้องทำอะไรที่ผิดธรรมชาติธรรมดา­มากๆ เพื่อว่าวันหนึ่งเราจะได้ไปถึงธรรมะซึ่งอย­ู่ไกลๆ อยู่ตรงไหนก็ไม่รู้ ธรรมะเป็นอย่างไรก็ไม่รู้ อยู่ที่ไหนก็ไม่รู้ รู้แต่ว่าอยู่ไกล ต้องยากๆ ด้วย อันนี้มันเป็นภาพลวงตาที่เราสร้างขึ้นมา..การปฎิบัติ คือรู้ท้นจิตที่ปรุงแต่ง . พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา..ถ้าเราภาวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้อยเหลือเกิน..ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา..

วันอังคารที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2558

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.

3 phase induction motor controlhttp://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM

ทดสอบแผงวงจรMC3PHACที่ปรับปรุงแล้วhttp://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM

วันจันทร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2558

ปั๊มน้ำมอเตอร์สามเฟสใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A

AC DRIVE Motor inverter ปรับรอบมอเตอร์สามเฟสสร้าง เครื่อง ควบคุม มอเตอร์ ไฟฟ้ารุ่นใหม่ ที่ใช้ในรถยนต์ ในเครื่องจักรการเกษตร ในเครื่องจักรอุตสาหกรรม ในเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ทำได้ด้วยตนเองครับ ลองติดตาม ไป เรื่อย.เรื่อย..ง่ายกว่าที่คิดครับ..

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่สร้าง เครื่อง ควบคุม มอเตอร์ ไฟฟ้ารุ่นใหม่ ที่ใช้ในรถยนต์ ในเครื่องจักรการเกษตร ในเครื่องจักรอุตสาหกรรม ในเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ทำได้ด้วยตนเองครับ ลองติดตาม ไป เรื่อย.เรื่อย..ง่ายกว่าที่คิดครับ..

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่สร้าง เครื่อง ควบคุม มอเตอร์ ไฟฟ้ารุ่นใหม่ ที่ใช้ในรถยนต์ ในเครื่องจักรการเกษตร ในเครื่องจักรอุตสาหกรรม ในเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน ทำได้ด้วยตนเองครับ ลองติดตาม ไป เรื่อย.เรื่อย..ง่ายกว่าที่คิดครับ..

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่เครื่องควบคุมความเร็วแบบอินเวอร์เตอร์ (Invertor) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

การควบคุมมอเตอร์สามเฟสแบบใหม่เครื่องควบคุมความเร็วแบบอินเวอร์เตอร์ (Invertor) สามารถควบคุมความเร็ว (Speed) ได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงความเร็วตามพิกัดของมอเตอร์ นิยมใช้กันมาก ในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอร์ ยุคปัจจุบัน เช่น แอร์อินเวอร์เตอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ เครื่องซักผ้า อินเวอร์เตอร์ ปั๊มน้ำ อินเวอร์เตอร์ เครื่อง สูบน้ำ อินเวอร์เตอร์ รถ จักรยาน ไฟฟ้า รถยนต์ไฟฟ้า เรือไฟฟ้า ยานพาหนะ ในยุคปัจจุบันและอนาคต ล้วนต้องใช้ อินเวอร์เตอร์

จิตหมดแรงดิ้นถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มัน...เราอย่าไปคิดว่านิพพานเป็นอะไรก็ไม่รู้ ซึ่งชาตินี้ไม่มีโอกาสเจอ ถ้าเราคิดว่านิพพานเป็นอะไรอย่างหนึ่งที่อยู่ไกลแสนไกลนะ เป็นบรมสุขที่อยู่ไกลแสนไกล เรายังไม่มีทางเจอ ถ้าคิดอยู่อย่างนี้ละก็ ไม่มีวันเจอหรอก เพราะนิพพานไม่เคยอยู่ที่อื่นเลยนะ นิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตาเราเนี่ย แต่ใจของเราเองมันฟุ้งซ่าน ใจของเราเองมันวุ่นวาย ใจของเราเต็มไปด้วยความอยาก เต็มไปด้วยความดิ้นรน เราก็เลยไม่มีความสุขซะที เราไม่ได้สัมผัสความสุข ซึ่งอยู่ต่อหน้าต่อตาเรา น่าเสียดายโอกาส พวกเราชาวพุทธเนี่ยต้องหัดภาวนา จนวันหนึ่งเราแจ้งพระนิพพาน นิพพานอยู่ต่อหน้าเรานี่เอง ไม่ได้หาที่อื่นเลย นิพพานไม่ได้อยู่กับพระ นิพพานไม่ได้อยู่ที่วัด แต่อยู่ที่ใจของเราซึ่งมันพ้นจากกิเลส พ้นจากความดิ้นรนปรุงแต่ง พ้นจากความอยากทั้งหลาย งั้นเราค่อยมาฝึกจิตฝึกใจของเรานะ เพื่อว่าเราจะได้มีความสุขที่แท้จริง พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” นิพพานเป็นบรมสุข ของอื่นไม่มีความสุขเท่านี้นะ ความสุขอื่น ๆ เนี่ย เป็นความสุขชั่วครั้งชั่วคราวทั้งหมดเลย

วันอาทิตย์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2558

คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘รัตนะที่เสมอด้วยพุทธรัตนะย่อมไม่มีในโลกพ­ร้อมทั้งเทวโลก. เพราะฉะนั้น จึงทรงพระราชดำริว่า เราจักส่งรัตนะที่ไม่มีอะไรเสมอเท่านั้นแก­่พระสหายของเรา จึงตรัสถามพวกพ่อค้าชาวนครตักกสิลาว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย รัตนะ ๓ อย่างนี้คือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะย่อมปรากฏในชนบทของพวกท่านหรือ. ข้าแต่มหาราช แม้เสียงก็ไม่มีในชนบทนั้น ก็การเห็นจักมีแต่ที่ไหนเล่า.

คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘รัตนะที่เสมอด้วยพุทธรัตนะย่อมไม่มีในโลกพ­ร้อมทั้งเทวโลก. เพราะฉะนั้น จึงทรงพระราชดำริว่า เราจักส่งรัตนะที่ไม่มีอะไรเสมอเท่านั้นแก­่พระสหายของเรา จึงตรัสถามพวกพ่อค้าชาวนครตักกสิลาว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย รัตนะ ๓ อย่างนี้คือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะย่อมปรากฏในชนบทของพวกท่านหรือ. ข้าแต่มหาราช แม้เสียงก็ไม่มีในชนบทนั้น ก็การเห็นจักมีแต่ที่ไหนเล่า.

ศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว เป็นศาสนานำสัตว์ออกจากทุกข์.รัตนะที่เสมอด้วยพุทธรัตนะย่อมไม่มีในโลกพ­ร้อมทั้งเทวโลก. เพราะฉะนั้น จึงทรงพระราชดำริว่า เราจักส่งรัตนะที่ไม่มีอะไรเสมอเท่านั้นแก­่พระสหายของเรา จึงตรัสถามพวกพ่อค้าชาวนครตักกสิลาว่า ดูก่อนพ่อทั้งหลาย รัตนะ ๓ อย่างนี้คือ พุทธะ ธรรมะ สังฆะย่อมปรากฏในชนบทของพวกท่านหรือ. ข้าแต่มหาราช แม้เสียงก็ไม่มีในชนบทนั้น ก็การเห็นจักมีแต่ที่ไหนเล่า.

ธรรมที่ไม่เนิ่นช้าเรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อจิตหนึ่งนี้เท่านั้น และ ไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย เราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.

วงจรที่ใช้แทน TM52A ครับhttps://www.youtube.com/watch?v=umsCoMs0prk คลิปนี้ทำง่ายราคา 2000-3000 บาทใช้กับมอเตอร์สามเฟสได้สามแรงม้าสองตัวครับ ส่วนตัวที่ใช้แบตเตอรี่ ให้เปลี่ยน power module เป็นเบอร์ PS21244 ครับ ขอบพระคุณที่ติดตามผลงานครับ...

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน...https://www.youtube.com/watch?v=umsCoMs0prk คลิปนี้ทำง่ายราคา 2000-3000 บาทใช้กับมอเตอร์สามเฟสได้สามแรงม้าสองตัวครับ ส่วนตัวที่ใช้แบตเตอรี่ ให้เปลี่ยน power module เป็นเบอร์ PS21244 ครับ ขอบพระคุณที่ติดตามผลงานครับ...

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน..https://www.youtube.com/watch?v=umsCoMs0prk คลิปนี้ทำง่ายราคา 2000-3000 บาทใช้กับมอเตอร์สามเฟสได้สามแรงม้าสองตัวครับ ส่วนตัวที่ใช้แบตเตอรี่ ให้เปลี่ยน power module เป็นเบอร์ PS21244 ครับ ขอบพระคุณที่ติดตามผลงานครับ...

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน..https://www.youtube.com/watch?v=umsCoMs0prk คลิปนี้ทำง่ายราคา 2000-3000 บาทใช้กับมอเตอร์สามเฟสได้สามแรงม้าสองตัวครับ ส่วนตัวที่ใช้แบตเตอรี่ ให้เปลี่ยน power module เป็นเบอร์ PS21244 ครับ ขอบพระคุณที่ติดตามผลงานครับ...

รถยนต์ไฟฟ้าใช้มอเตอร์สามเฟสและแบตเตอรี่ง่ายดีครับhttps://www.youtube.com/watch?v=umsCoMs0prk คลิปนี้ทำง่ายราคา 2000-3000 บาทใช้กับมอเตอร์สามเฟสได้สามแรงม้าสองตัวครับ ส่วนตัวที่ใช้แบตเตอรี่ ให้เปลี่ยน power module เป็นเบอร์ PS21244 ครับ ขอบพระคุณที่ติดตามผลงานครับ...

มอเตอร์ไฟฟ้ายุคพัฒนาแล้วเครื่องจักรกลไฟฟ้ารุ่นใหม่ใช้ไฟฟ้าจากแบตเตอรี่

เครื่องจักรกลไฟฟ้า..เครื่องจักรกลไฟฟ้า ควบคุมการหมุนของมอเตอร์ สามเฟส โดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 200-370 Volts DC ราคาประหยัด ไม่เกิน 2000 บาท ขับมอเตอร์ได้ 1- 3 แรงม้าครับ..ปรับรอบให้เร็วหรือให้ช้า..กว่ามอเตอร์สามเฟสธรรมดา ได้ประมาณ..2 เท่า.ความถี่ 0-128 Hz....

เครื่องจักรกลเครื่องจักรกลไฟฟ้า ควบคุมการหมุนของมอเตอร์ สามเฟส โดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 200-370 Volts DC ราคาประหยัด ไม่เกิน 2000 บาท ขับมอเตอร์ได้ 1- 3 แรงม้าครับ..ปรับรอบให้เร็วและช้า..กว่ามอเตอร์สามเฟสธรรมดา ได้ประมาณ..2 เท่า.ความถี่ 0-128 Hz....

เครื่องจักรกลเครื่องจักรกลไฟฟ้า ควบคุมการหมุนของมอเตอร์ สามเฟส โดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 200-370 Volts DC ราคาประหยัด ไม่เกิน 2000 บาท ขับมอเตอร์ได้ 1- 3 แรงม้าครับ..ปรับรอบให้เร็วและช้า..กว่ามอเตอร์สามเฟสธรรมดา ได้ประมาณ..2 เท่า.ความถี่ 0-128 Hz....

เครื่องจักรกลเครื่องจักรกลไฟฟ้า ควบคุมการหมุนของมอเตอร์ สามเฟส โดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 200-370 Volts DC ราคาประหยัด ไม่เกิน 2000 บาท ขับมอเตอร์ได้ 1- 3 แรงม้าครับ..ปรับรอบให้เร็วและช้า..กว่ามอเตอร์สามเฟสธรรมดา ได้ประมาณ..2 เท่า.ความถี่ 0-128 Hz....

ทุกชีวิตที่เกิดมาแต่ละภพแต่ละชาติไม่แน่นอนเลย เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้.

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน

วันเสาร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2558

ปลายหัวแร้งปรับความร้อนเองได้

PS21244 แก้ไขและปรับปรุงวงจรแล้วครับIntelligent Power Module (IPM) in a compact transfer Mold package with New High Voltage Integrated Circuit (HVIC) and integrated bootstrap diodes

PS21244 แก้ไขและปรับปรุงวงจรแล้วครับIntelligent Power Module (IPM) in a compact transfer Mold package with New High Voltage Integrated Circuit (HVIC) and integrated bootstrap diodes

วันศุกร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2558

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพาน...สารีบุตรใด ละกามทั้งหลายอันเป็น ที่รื่นรมย์แห่งใจ บวชแล้วห้าร้อยชาติ พวกเธอจงไหว้พระสารีบุตรนั้น ผู้ ปราศจากราคะ มีอินทรีย์สำรวมดีแล้ว ปรินิพพานแล้วเถิด. สารีบุตรใด มีความอดทนเป็นกำลัง เสมอด้วยแผ่นดิน ย่อมไม่หวั่นไหว ทั้งไม่ เป็นไปในอำนาจจิต ด้วยมีความอนุเคราะห์ เป็นผู้ประกอบด้วยกรุณา ปรินิพพานแล้ว พวกเธอจงไหว้สารีบุตรนั้นเถิด. "ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และการดับเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี้" อุปติสสปริพาชกฟังจบแล้วรู้แจ้งว่า "ทุกสิ่งเกิดขึ้นมาแล้ว มีอันต้องดับไปเป็นธรรมดา" แล้วได้บรรลุโสดาปัตติผล ณ ที่นั้นเอง

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพาน...สารีบุตรใด ละกามทั้งหลายอันเป็น ที่รื่นรมย์แห่งใจ บวชแล้วห้าร้อยชาติ พวกเธอจงไหว้พระสารีบุตรนั้น ผู้ ปราศจากราคะ มีอินทรีย์สำรวมดีแล้ว ปรินิพพานแล้วเถิด. สารีบุตรใด มีความอดทนเป็นกำลัง เสมอด้วยแผ่นดิน ย่อมไม่หวั่นไหว ทั้งไม่ เป็นไปในอำนาจจิต ด้วยมีความอนุเคราะห์ เป็นผู้ประกอบด้วยกรุณา ปรินิพพานแล้ว พวกเธอจงไหว้สารีบุตรนั้นเถิด. "ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ พระตถาคตตรัสเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น และการดับเหตุแห่งธรรมเหล่านั้น พระมหาสมณะมีปกติตรัสอย่างนี้" อุปติสสปริพาชกฟังจบแล้วรู้แจ้งว่า "ทุกสิ่งเกิดขึ้นมาแล้ว มีอันต้องดับไปเป็นธรรมดา" แล้วได้บรรลุโสดาปัตติผล ณ ที่นั้นเอง

พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพาน..ทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอยู่จำพรรษาแล้ว เสด็จออกจากหมู่บ้านเวฬุวะ ทรงดำริว่า เราจะไปเมืองสาวัตถี แล้วเสด็จกลับจากทางที่เสด็จมานั่นเทียว ถึงเมืองสาวัตถีโดยลำดับแล้วเสด็จไปพระเชตวัน. พระธรรมเสนาบดีแสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วไปที่พักกลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้นตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระพุทธเจ้าทั้งหลายจักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพานก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุสังขารของตน. รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วันเท่านั้น จึงคิดว่า เราจะปรินิพพานที่ไหน. ลำดับนั้นจึงคิดแล้วคิดอีกว่า พระราหุลปรินิพพานในดาวดึงส์พิภพ พระอัญญาโกณฑัญญเถระปรินิพพานที่สระฉัททันต์ เราจะปรินิพพานที่ไหน ดังนี้ จึงเกิดความสังเวชปรารภมารดาว่า มารดาของเราก็เป็นมารดาของพระอรหันต์ถึง ๗ องค์ ยังไม่เลื่อมใสในพระพุทธเจ้า พระธรรมและพระสงฆ์เลย ท่านมีอุปนิสัยหรือไม่หนอ ได้เห็นอุปนิสัยแห่งพระโสดาปัตติมรรค จึงตรวจดูว่าจักบรรลุด้วยเทศนาของใคร ทราบว่าจักบรรลุด้วยธรรมเทศนาของเราเท่านั้น มิใช่ของใครอื่น ก็ถ้าเราพึงขวนขวายน้อย ก็จักมีคนกล่าวกับเราว่า พระสารีบุตรเถระเป็นที่พึ่งของคนที่เหลือทั้งหลาย. จริงอย่างนั้น ในวันแสดงสมจิตตสูตรของท่าน เทวดาพันโกฏิบรรลุพระอรหัต เทวดาที่แทงตลอดมรรคทั้ง ๓ ก็นับไม่ถ้วน ปรากฏการตรัสรู้ในที่อื่นๆ อีกมาก และตระกูลแปดหมื่นทำใจให้เลื่อมใสในพระเถระ ก็ได้เกิดในสวรรค์ทั้งนั้น บัดนี้ ท่านไม่อาจที่จะเปลื้องแม้เพียงความเห็นผิดของมารดาของตนได้ เพราะฉะนั้น จึงตกลงใจว่า เราจักเปลื้องมารดาจากความเห็นผิด แล้วปรินิพพานในห้องที่เกิดนั่นแหละ จึงคิดแล้วว่า วันนี้เทียว เราจะขออนุญาตพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วออกไป ดังนี้ จึงเรียกพระจุนทเถระมาว่า จุนทะ เธอจงให้สัญญาแก่ภิกษุบริษัท ๕๐๐ รูปของเราว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลายจงถือเอาบาตรและจีวรไป พระธรรมเสนาบดีประสงค์จะไปบ้านนาฬกะ. พระเถระก็ได้ทำอย่างนั้น. ภิกษุทั้งหลายจึงเก็บเสนาสนะถือบาตรและจีวรไปสำนักพระเถระ. พระเถระเก็บเสนาสนะ กวาดที่พักกลางวันและยืนที่ประตูที่พักกลางวัน ตรวจดูที่พักกลางวัน คิดว่า บัดนี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย จะไม่มีการมาอีกแล้ว มีภิกษุ ๕๐๐ รูปแวดล้อมเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ถวายบังคมแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตข้าพระองค์ ขอพระสุคตเจ้าทรงอนุญาต นี้เป็นกาลปรินิพพานของข้าพระองค์ อายุสังขารข้าพระองค์ปลงลงแล้ว. ก็เพราะพระพุทธเจ้าทั้งหลาย เมื่อตรัสว่า เธอจงปรินิพพาน ก็จะกลายเป็นสรรเสริญความตาย. เมื่อตรัสว่า เธออย่าปรินิพพาน คนผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิก็จะยกโทษว่า กล่าวสรรเสริญคุณของวัฏฏะ ฉะนั้น จึงไม่ตรัสคำแม้ทั้งสอง เพราะเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า เธอจักปรินิพพานที่ไหน สารีบุตร. เมื่อพระสารีบุตรกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์จักปรินิพพานในห้องที่ข้าพระองค์เกิดในบ้านนาฬกะ แคว้นมคธนั้น จึงตรัสว่า สารีบุตร เธอจงสำคัญเวลาในบัดนี้ ก็การเห็นภิกษุเช่นเธอ ของภิกษุผู้เป็นทั้งพี่และน้องของเธอจักหาได้ยากในบัดนี้ เธอจงแสดงธรรมแก่ภิกษุเหล่านั้น. พระเถระรู้แล้วว่า พระศาสดาทรงหวังเฉพาะการแสดงธรรมที่ขึ้นต้นด้วยการแสดงฤทธิ์ของเรา ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วเหาะขึ้นไปประมาณชั่วต้นตาล เหาะลงแล้วถวายบังคมพระบาทพระทศพล และเหาะขึ้นไปประมาณสองชั่วลำตาลอีกลงแล้ว ถวายบังคมพระบาทพระทศพล แล้วเหาะขึ้นไปประมาณเจ็ดชั่วลำตาลโดยทำนองนี้ แสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างแล้วปรารภธรรมกถา. พระเถระกล่าวธรรมกถาด้วยกายที่ปรากฏบ้าง ไม่ปรากฏบ้าง ด้วยการเบื้องบน เบื้องล่าง หรือครึ่งกาย บางทีก็แสดงเป็นรูปพระจันทร์โดยไม่มีใครเห็น บางครั้งก็เป็นรูปพระอาทิตย์ บางครั้งก็เป็นรูปภูเขา บางทีก็เป็นรูปทะเล บางทีก็เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ บางทีก็เป็นเวสวัณมหาราช บางทีก็เป็นท้าวสักกมหาราช บางทีก็เป็นท้าวมหาพรหม เมื่อแสดงปาฏิหาริย์หลายร้อยอย่างอย่างนี้ พระเถระจึงกล่าวธรรมกถา ชาวพระนครทั้งสิ้นประชุมกันแล้ว พระเถระเหาะลงแล้ว ได้ยืนถวายบังคมพระบาทพระทศพล. ลำดับนั้น พระศาสดาได้ตรัสกะพระเถระนั้นว่า สารีบุตร ธรรมปริยายนี้ ชื่ออะไร. ส. ชื่อ สีหนิกีฬิตะ พระเจ้าข้า. พ. สารีบุตร เอาเถิด ธรรมปริยายนี้ ชื่อว่าสีหนิกีฬิตะ สารีบุตร เอาเถิด กระบวนธรรมนี้ชื่อว่า สีหนิกีฬิตะ. พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจับที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพอถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นในลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วยภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อมกันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้วจนถึงน้ำเป็นที่สุด. เทพมโหระทึกในอากาศก็บรรเลงขึ้น มหาเมฆตั้งขึ้นแล้วให้ฝนโบกขรพรรษตกแล้ว. พระศาสดาทรงดำริว่า เราจักให้พระธรรมเสนาบดีแสดงโดยเฉพาะ ดังนี้แล้ว จึงทรงลุกขึ้นจากที่ฟังธรรม เสด็จมุ่งหน้าต่อพระคันธกุฎี ได้ประทับยืนบนแผ่นแก้ว. พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า เลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็นพระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลีซึ่งรุ่งเรืองด้วยการประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวายบังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะเหล่าภิกษุที่ยืนแวดล้อมว่า ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงติดตามพี่ชายของพวกเธอเถิด. ขณะนั้น บริษัท ๔ ละพระสัมมาสัมพุทธเจ้าไว้พระองค์เดียวในพระเชตวัน ออกไปไม่เหลือเลย. ฝ่ายชาวพระนครสาวัตถีพากันพูดว่า ข่าวว่า พระสารีบุตรเถระทูลลาพระสัมมาสัมพุทธเจ้าแล้ว ประสงค์จะปรินิพพานออกไปแล้ว พวกเราจะไปเยี่ยมท่าน พากันถือเอาของหอมและพวงมาลัยเป็นต้นออกไปจนแน่นประตูเมือง สยายผม ร้องไห้ คร่ำครวญ โดยนัยเป็นต้นว่า บัดนี้พวกเราเมื่อถามว่า ท่านผู้มีปัญญามากนั่งที่ไหน พระธรรมเสนาบดีนั่งที่ไหน ดังนี้ จะไปสำนักของใคร จะไปวางสักการะในมือของใคร พระเถระหลีกไปแล้ว จึงได้ติดตามพระเถระ. พระเถระเพราะความที่ตนดำรงอยู่ในปัญญามาก คิดแล้วว่า ทางนี้คนทั้งหมดไม่ควรก้าวเลยมา แล้วโอวาทมหาชนว่า ท่านผู้มีอายุทั้งหลาย แม้พวกท่านจงหยุด อย่าถึงความประมาทในพระทศพลเลย แล้วให้หมู่ภิกษุกลับ หลีกไปกับบริษัทของตน. พวกมนุษย์เหล่าใดต่างคร่ำครวญว่า ครั้งก่อน พระผู้เป็นเจ้าเที่ยวจารึกไปแล้วก็กลับมา บัดนี้ การไปนี้เป็นการไปเพื่อไม่กลับมาอีก จึงพากันติดตามอยู่อย่างนั้น. พระเถระกล่าวกะมนุษย์เหล่านั้นว่า ท่านทั้งหลาย พวกท่านจงเป็นผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าสังขารทั้งหลายย่อมเป็นอย่างนี้ จึงให้กลับแล้ว. ลำดับนั้นแล ท่านพระสารีบุตรทำการสงเคราะห์พวกมนุษย์ตลอดเจ็ดวัน ในระหว่างทางพักแรมคืนเดียวในที่ทุกแห่ง ถึงบ้านนาฬกะเวลาเย็น ได้ยืนที่โคนต้นนิโครธใกล้ประตูบ้าน. ลำดับนั้น หลานของพระเถระ ชื่อว่าอุปเรวตะ ไปนอกบ้าน ได้เห็นพระเถระแล้ว จึงเข้าไปยืนไหว้อยู่แล้ว. พระเถระจึงกล่าวกับเขาว่า ยายของเธออยู่ในเรือนหรือ. อุ. ครับ ท่านผู้เจริญ. ส. เธอจงไปบอกว่าเรามาที่นี้ เมื่อยายกล่าวว่า มาเพราะเหตุอะไร จงกล่าวว่า ข่าวว่า พระเถระจะอยู่ในบ้านตลอดวันหนึ่งในวันนี้ ท่านจงจัดแจงห้องที่พระเถระเกิด และข่าวว่า ท่านจงรู้ที่เป็นที่อยู่ของภิกษุ ๕๐๐ รูป. เขาไปแล้วบอกว่า ยาย ลุงของผมมาแล้ว. ยาย. เวลานี้ อยู่ที่ไหน. อุ. ประตูบ้าน. ย. มีใครอื่นมาบ้างไหม. อุ. มีภิกษุ ๕๐๐ รูป. ย. มาทำไม. เขาบอกความเป็นไปนั้น. นางพราหมณีคิดอยู่ว่า ลูกชายเราทำไมจึงให้เตรียมที่อยู่แก่พวกภิกษุเท่านี้ ท่านบวชมาตั้งแต่หนุ่ม ตอนแก่อยากจะสึกละกระมัง จึงให้จัดแจงห้องคลอด ให้ทำที่เป็นที่พักของภิกษุ ๕๐๐ รูปให้จุดเทียนและตะเกียงส่งไปถวายพระเถระๆ พร้อมกับพวกภิกษุขึ้นปราสาท เข้าไปนั่งยังห้องคลอด พอนั่งลงแล้วก็ส่งพวกภิกษุไปว่า พวกท่านจงไปพักผ่อนกันเถิด. พอพวกภิกษุไปแล้วเท่านั้น อาพาธอย่างกล้าก็เกิดขึ้นแก่พระเถระ เวทนาปางตายเพราะถ่ายเป็นโลหิต ต้องเอาภาชนะหนึ่งเข้าไป (รองรับ) เอาภาชนะหนึ่งออกมา. นางพราหมณีคิดว่า เราไม่ชอบใจความเป็นไปแห่งบุตรของเราเลย ได้ยืนพิงประตูห้องที่อยู่ของตน. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ ตรวจดูอยู่ว่า พระธรรมเสนาบดีอยู่ที่ไหน เห็นแล้วว่า นอนบนเตียงเป็นที่ปรินิพพาน. ในห้องที่ตนคลอดในบ้านนาฬกะ พวกเราจักไปเยี่ยมเป็นครั้งสุดท้าย มาแล้วได้ยืนไหว้อยู่แล้ว. สารีบุตร. พวกท่านเป็นใคร. มหาราช. เป็นท้าวมหาราชขอรับ. สารีบุตร. มาเพราะเหตุไร. มหาราช. จักบำรุงท่านผู้เป็นไข้. ส. ช่างเถิด ผู้บำรุงเราผู้เป็นไข้มีอยู่ พวกท่านจงไปเถิด แล้วได้ส่งไป คล้อยหลังท้าวมหาราชทั้ง ๔ ไปแล้ว ท้าวสักกะจอมเทพก็มาแล้วโดยนัยนั้นนั่นแหละ ก็เมื่อท้าวสักกะไปแล้ว ท้าวมหาพรหมก็มา พระเถระก็ได้ส่งท่านเหล่านั้นไป เหมือนอย่างนั้นนั่นแล. เมื่อนางพราหมณีเห็นพวกเทวดาพากันมาจึงคิดว่า เทวดาเหล่านี้ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป เพราะเหตุอะไรหนอแล จึงไปยังประตูห้องพระเถระแล้วถามว่า พ่อจุนทะมีความเป็นไปอย่างไร. พระจุนทะบอกความเป็นไปนั้นแล้วจึงเรียนพระเถระว่า ท่านผู้เจริญ มหาอุบาสิกมา. พระเถระจึงถามว่า เพราะเหตุไรจึงมาในเวลาไม่เหมาะ. นางจึงกล่าวว่า พ่อ แม่มาเพื่อเยี่ยมลูก แล้วจึงถามว่า พ่อ พวกใครมาก่อน. สารีบุตร. ท้าวมหาราชทั้ง ๔ มหาอุบาสิกา. มารดา. เจ้าใหญ่กว่าท้าวมหาราชทั้ง ๔ หรือพ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เหมือนเด็กวัด ตั้งแต่พระศาสดาของพวกเราถือปฏิสนธิ ก็ถือพระขรรค์ รักษาแล้ว. ม. พ่อ คล้อยหลังท้าวมหาราชไปแล้วใครมาเล่า. ส. ท้าวสักกะจอมเทพ. ม. เจ้าใหญ่กว่าจอมเทพหรือ พ่อ. ส. อุบาสิกา ท้าวสักกะก็เช่นเดียวกับสามเณรผู้ถือสิ่งของเวลาที่พระศาสดาของพวกเรา เสด็จลงจากดาวดึงสพิภพ ก็ได้ถือบาตรจีวรตามลงมา. ม. พ่อ หลังจากที่ ท้าวสักกะนั้นไปแล้ว ดูเหมือนสว่างไสว ใครมา. ส. อุบาสิกา นั่นก็คือมหาพรหม ผู้เป็นพระเจ้าและศาสดาของโยม. ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่านี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดาเทียว บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลังคิดอะไร. ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเหตุนี้ว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้วศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่นไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีลสมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัสสนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้าที่ขยายให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณีดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผลแล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนี้ พ่อไม่ได้ให้อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดูสำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วยเหตุเท่านี้ จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านจงไปเถิด ส่งนางพราหมณีไป จึงกล่าวว่า จุนทะ เวลาเท่าไร. จุนทะ. จวนสว่างแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประชุมภิกษุสงฆ์. จ. ภิกษุสงฆ์ประชุมกันแล้ว ขอรับ. ส. เธอจงประคองเราให้นั่ง จุนทะ. พระจุนทะประคองให้นั่งแล้ว พระเถระจึงเรียกภิกษุทั้งหลายมาว่า อาวุโส เมื่อพวกท่านทั้งหลายเที่ยวไปกับผมตลอด ๔๔ ปี กรรมใดของผมที่เป็นไปทางกายก็ดี ทางวาจาก็ดี ซึ่งพวกท่านไม่ชอบใจ ขอให้พวกท่านจงอดโทษแก่ผมด้วย. ภิกษุ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขึ้นชื่อว่าสิ่งที่ไม่น่าพอใจ ย่อมไม่มีแก่พวกข้าพเจ้าผู้ไม่ละท่านเที่ยวไป ดุจเงาของท่านตลอดกาลเท่านี้. แต่ว่า ขอท่านจงอดโทษให้แก่พวกข้าพเจ้าเถิด. ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้าสมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าตั้งต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลังเท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อพวกเราไม่รู้คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุหลายร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ไม่ได้เพื่อให้สร้างวิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้วจนถึงอรุณขึ้น. เมื่ออรุณพอขึ้นเท่านั้น นางก็ให้เรียกช่างทองมาให้เปิดห้องเก็บทอง ให้ชั่งด้วยตาชั่งใหญ่ส่งไปด้วยกล่าวว่า พ่อทั้งหลาย จงทำเรือนยอดห้าร้อย

วันพฤหัสบดีที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2558

ถ้าเราจะกลับมานั้นไม่ยากคืออย่าไปดูที่อารมณ์ที่จิตสร้างและผุดรู้ขึ้นมาให... อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง

ถ้าเราจะกลับมานั้นไม่ยากคืออย่าไปดูที่อารมณ์ที่จิตสร้างและผุดรู้ขึ้นมาให... อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง

VDO เมืองราชคฤห์(Rajgir) แคว้นมคธ (Magadha)อุกาสะ วันทามิ ภันเต, เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง, สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา, กายะสา วะจะสา มะนะสา, เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต, สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน, จาปิ สัพพะทา, อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ

VDO เมืองราชคฤห์(Rajgir) แคว้นมคธ (Magadha)อุกาสะ วันทามิ ภันเต, เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง, สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา, กายะสา วะจะสา มะนะสา, เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต, สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน, จาปิ สัพพะทา, อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ

วันพุธที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2558

การตรัสรู้คือความไม่มีอะไรให้ระลึกเมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดหวั่น เมื่อไม่หวาดหวั่น ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วันอังคารที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2558

ผู้สละโลก พระราหุลเถระเจ้า พระมหากัปปินะเถระเจ้า

ทุกข์เท่านั้นที่เกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นที่ตั้งอยู่ทุกข์เท่านั้นที่ดับไปDVDเสียงธรรมหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ฉบับสมบูรณ์ (แจกฟรี)หลวงพ่อพระราชพรหมยาน (หลวงพ่อฤาษีลิงดำ) วัดท่าซุง. เป็นลูกศิษย์หลวงพ่อปาน วัดบางนมโค รวมเสียงธรรมะหลวงพ่อฤาษีลิงดำภายในแผ่นกว่า 1000 ไฟท์ ประกอบด้วย ธรรมะหลวงพ่อฤาษีลิงดำ ก.พระวินัยย่อและธรรมปฏิบัติฯ ข.มหาสติปัฏฐานสูตร ค.กรรมฐาน 40 ง.การฝึกอารมณ์ให้เข้าถึงความเป็นพระอริยะแบบสุกขวิปัสสโก จ.เทศน์ถวายเรื่องจริต 6 และวิธีใช้กรรมฐานให้ถูกกับจริต ฉ.บารมี 10 ทัศและวิปัสสนาญาณ 9 ช.การฝึกปฏิบัติแบบเตวิชโช ซ.การฝึกปฏิบัติแบบฉฬภิญโญ ฌ.การฝึกปฏิบัติแบบปฏิสัมภิทัปปัตโต ญ.ผลแห่งการทำบาปอกุศล ฎ.ประสบการณ์ฝึกมโนมยิทธิของรัชนี เจนรถา ฏ.ปกิณกธรรม ฐ.ธรรมะจากพระสูตร ฒ.บุคคลตัวอย่างที่ควรยึดถือเป็นหลักในการปฏิบัติ ณ.พระสูตรเพื่อการศึกษาปฏิบัติธรรม ด.มหาชาดก (ทศชาติ) ต.สอนพระกรรมฐานในพรรษาปี 2521 ถ.หมวดฝึกมโนมยิทธิ ท.เทปออกใหม่ ปี 2527ธ.เทปออกใหม่ชุดกรรมฐาน 40 (ย่อ) ปี 2531 น.เทปบันทึกลงหนังสืออ่านเล่น บ.หมวดทั่วไป

Control of Mobile Inverted Pendulum (MIP) RobotControl of Mobile Inverted Pendulum (MIP) Robot

กราบสังเวชนียสถาน ๔ ตำบล อินเดีย-เนปาลอุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ,.

จิตจำสภาวะธรรมได้หน้าที่เราหัดรู้สภาวะไป...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน..สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ...ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา สติปัฏฐานนั้นเบื้องต้นทำให้เกิดสติ เบื้องปลายทำให้เกิดปัญญา: เราต้องฝึกนะ ฝึกจนสติแท้ๆ เกิดขึ้นมา สติแท้ๆ คือความระลึกได้ สติแท้ๆ เกิดจากจิตจำสภาวะได้ ..ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้าวันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ

การสร้างอินเวอร์เตอร์คอนเวอร์เตอร์ตอนการควบคุมกระแสแกนที่ทำเป็น Current Transformer รุ่นนี้มีอยู่ประมาณ 150-200 แกนครับ -ลวดทองแดงผมพันให้มีขนาดและจำนวนรอบใกล้เคียงกับรุ่นที่ใช้กับตู้เชื่อม IGBT 200 Amps ราคาแกนละ 30 บาท ครับ ทดสอบที่ความถี่ ตามคลิปนี้ 5ุ0 KHz วงจร.ในกล่อง ใช้ IC UC3845 ขา 3 ของICใช้เป็นขา ควบคุม กระแสครับ..

ศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว เป็นศาสนานำสัตว์ออกจากทุกข์..พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูโลก ทรงเห็นกุลบุตรชื่อว่าปุกกุสาติ ทรงพระดำริว่า กุลบุตรนี้อ่านเพียงสาส์นที่พระสหายส่งไป ละราชสมบัติใหญ่ เกินร้อยโยชน์ บวชอุทิศเจาะจงเรา เดินทางสิ้น ๑๙๒ โยชน์ถึงกรุงราชคฤห์ ก็เมื่อเราไม่ไป จักไม่แทงตลอดสามัญญผล ๓ จะทำกาลกิริยาไร้ที่พึ่ง โดยการพักคืนเดียว แต่ครั้นเมื่อเราไปแล้ว จักแทงตลอดสามัญญผล ๓ ก็เราบำเพ็ญบารมีทั้งหลายสิ้นสี่อสงไขยยิ่­งด้วยแสนกัป เพื่อประโยชน์แก่การสงเคราะห์ชนเท่านั้น เราจักทำการสงเคราะห์แก่กุลบุตรปุกกุสาติน­ั้น ดังนี้

วันจันทร์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2558

TM51 Episode I The Power Converter MenaceTM51 Episode I The Power Converter Menace

TM51 Episode I The Power Converter MenaceTM51 Episode I The Power Converter Menace

อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ เพาเวอร์ซัพพลายเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

วิธีซ่อมเครื่องเชื่อมตู้เชื่อม INVERTER ตอนที่1เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

วิธีซ่อมเครื่องเชื่อมตู้เชื่อม INVERTER ตอนที่1เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน เศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA

ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจ

ภาวะแห่งความไม่มีอะไรจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

ว่าด้วยร่างกายเปรียบด้วยฟองไข่ดูก่อนคฤหบดี ก็อย่างไรเล่า บุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกาย กระสับกระส่ายด้วย จึงชื่อว่าเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายด้วย ดูก่อน คฤหบดี คือ ปุถุชนในโลกนี้ผู้มีได้สดับแล้ว มิได้เห็นพระอริยะทั้งหลาย ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ มิได้รับแนะนำในอริยธรรม มิได้เห็น สัตบุรุษทั้งหลาย ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ มิได้รับแนะนำใน สัปปุริสธรรม ย่อมเห็นรูปโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมีรูป ๑ ย่อม เห็นรูปในตน ๑ ย่อมเห็นตนในรูป ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวน เป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น ย่อมเห็นเวทนาโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมีเวทนา ๑ ย่อมเห็น เวทนาในตน ๑ ย่อมเห็นตนในเวทนา ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็น เวทนา เวทนาของเรา เวทนานั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะ เวทนาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและ อุปายาสจึงเกิดขึ้น ย่อมเห็นสัญญา โดยความเป็นคน ๑ ย่อมเห็นตนมี สัญญา ๑ ย่อมเห็นสัญญาในตน ๑ ย่อมเห็นตนในสัญญา ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วย ความยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา สัญญานั้นย่อมแปรปรวน เป็นอย่างอื่นไป เพราะสัญญาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น ย่อมเห็นสังขารโดยความเป็นคน ๑ ย่อมเห็นตนมีสังขาร ๑ ย่อมเห็นสังขารในตน ๑ ย่อมเห็นตนในสังขาร ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา เมื่อเขา ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา สังขารนั้นย่อม แปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะสังขารแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น ย่อมเห็นวิญญาณ โดยความเป็นคน ๑ ย่อมเห็นตนมีวิญญาณ ๑ ย่อมเห็นวิญญาณในตน ๑ ย่อมเห็นตนในวิญญาณ ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็น วิญญาณ วิญญาณของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็น วิญญาณ วิญญาณของเรา วิญญาณนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะวิญญาณแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงเกิดขึ้น ดูก่อนคฤหบดี ด้วยเหตุอย่างนี้แล บุคคลจึงชื่อว่า เป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย. ดูก่อนคฤหบดี ก็อย่างไรเล่า บุคคลแม้เป็นผู้มีกายกระสับ กระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่ ดูก่อนคฤหบดี คือ อริยสาวก ในธรรมวินัยนี้ ผู้ได้สดับแล้ว ผู้เห็นพระอริยะทั้งหลาย ผู้ฉลาดในธรรม ของพระอริยะ ผู้ได้รับแนะนำดีแล้วในอริยะธรรม ผู้เห็นสัตบุรุษทั้งหลาย ผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ผู้ได้รับแนะนำดีแล้วในสัปปุริสธรรม ย่อมไม่เห็นรูปโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีรูป ๑ ย่อมไม่เห็นรูป ในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในรูป ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูป แปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาส จึงไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เห็นเวทนาโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมี เวทนา ๑ ย่อมไม่เห็นเวทนาในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในเวทนา ๑ ไม่เป็น ผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา เมื่ออริยสาวก นั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา เวทนานั้น ย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะเวทนาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เห็น สัญญาโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีสัญญา ๑ ย่อมไม่เห็นสัญญา ในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในสัญญา ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความ ยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา สัญญานั้นย่อมแปรปรวนเป็น อย่างอื่นไป เพราะสัญญาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เห็นสังขารโดยความ เป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีสังขาร ๑ ย่อมไม่เห็นสังขารในตน ๑ ย่อมไม่ เห็นตนในสังขาร ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็น สังขาร สังขารของเรา สังขารนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะ สังขารแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและ อุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น ย่อมไม่เห็นวิญญาณโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่ เห็นตนมีวิญญาณ ๑ ย่อมไม่เห็นวิญญาณในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนใน วิญญาณ ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณของเรา เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็น วิญญาณ วิญญาณของเรา วิญญาณนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะวิญญาณแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น ดูก่อนคฤหบดี อย่างนี้แลบุคคลแม้มีกาย กระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่. ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำนี้แล้ว นกุลปิตุคฤหบดีชื่นชมยินดี ภาษิตของท่านพระสารีบุตร ฉะนี้แล. จบ นกุลปิตุสูตรที่ ๑

เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์

เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์

พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตร.พระพุทธเจ้า...กับ...มังสวิรัติ หลายที่หลายแห่งนานาประเทศทั่วโลก มีผู้คนส่วนหนึ่งพากันดำรงชีวิตอยู่ ด้วยการอาศัยอาหาร ที่ได้มาจากพืชผัก และนมเนย โดยไม่ต้องอาศัยการฆ่าแกงทำร้ายสัตว์อื่น แล้วนำมากินเป็นอาหารเลย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ประเทศอินเดีย อันเป็นต้นกำเนิดของพุทธศาสนา ซึ่งนับแต่โบราณกาล มาจนตราบ เท่าทุกวันนี้ ชาวอินเดียส่วนใหญ่ก็ยังคงไม่กินเนื้อสัตว์กันเป็นอาหาร แต่จะกินพืช ผัก ผลไม้ นม เนย เป็นอาหาร หลักสำคัญของชีวิต บทความนี้ จะเป็นการเสนอแง่มุมคิดเกี่ยวกับ "อาหารมังสวิรัติ" ในแง่มุมทางพุทธศาสนาเท่านั้น ไม่ใช่แง่มุม ทางสุขภาพอนามัย ไม่ใช่ทางโภชนาการ ไม่ใช่ทางวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่ทางเศรษฐกิจ ฯลฯ เป็นความคิดเห็น ที่อาศัยคำตรัสของพระพุทธเจ้า ที่มีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกเป็นหลักฐานอ้างอิง ในพระไตรปิฎกมีอยู่มากมายหลายพระสูตร ที่พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ แล้วมีส่วนเกี่ยวพันกันไปถึง "มังสวิรัติ" อันคือ งดเว้นการกินอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสัตว์ ซึ่งได้มาจากการฆ่าสัตว์เพื่อทำเป็นอาหาร ที่นี้จะขอยกมากล่าวถึงเพียงบางพระสูตรเท่านั้น ได้แก่... พระพุทธองค์ตรัส (๑) "ละการฆ่า เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ(โทษภัย) วางศาสตรา(ของมีคม)แล้ว มีความละอาย มีความเอ็นดู มีความกรุณา หวังประโยชน์ แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่ ตลอดคืนหนึ่งกับวันหนึ่งในวันนี้ แม้ด้วยการกระทำอย่างนี้ ก็ชื่อว่าได้ทำตามพระอรหันต์ทั้งหลาย" (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๐ "อุโปสถสูตร" ข้อ๕๑๐) จากพระสูตรนี้ก็คือ ศีลข้อที่ ๑ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์นั่นเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงห้าม การฆ่าสัตว์เอาไว้ แก่พุทธศาสนิกชนทุกคน ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะ อาชีพใดๆ คือ เป็นข้าราชการ พ่อค้า ลูกจ้าง กรรมกร ทั้งหญิง ชาย ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ เมื่อเป็นชาวพุทธ ก็ต้องพยายามถือศีลข้อที่ ๑ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ มีใจเอ็นดู แก่สัตว์ทั้งปวง ถ้าปฏิบัติกันจริงเมืองไทยย่อมจะหาเนื้อสัตว์กินกันได้ยาก ภายในเมืองพุทธ แห่งนี้ อาหาร การกินส่วนใหญ่ ก็คงต้องเป็น "อาหารมังสวิรัติ" นั่นแหละมากกว่า ดังนั้นการที่ชาวพุทธชักชวนกันเลิกกินเนื้อสัตว์ได้ ก็จะเป็นการเอื้อเฟื้อต่อศีลข้อที่ ๑ ที่พระพุทธเจ้า ทรงบัญญัติ เอาไว้ จะได้ไม่ทำให้ศีลข้อนี้ต้องกลายเป็นหมันไป มิฉะนั้นแล้ว ยิ่งมีคนกินเนื้อสัตว์กันมากเท่าใด ก็ย่อมต้องมีการฆ่าสัตว์เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น อันเป็น การส่งเสริม ให้ชาวพุทธ กระทำผิดศีลข้อที่ ๑ เพิ่มมากขึ้นนั่นเอง พระพุทธองค์ตรัส (๒) การค้าขาย ๕ ประการนี้ อันอุบาสกไม่พึงกระทำคือ ๑.การค้าขายศาสตรา ๒.การค้าขายสัตว์(เป็น) ๓.การค้าขายเนื้อสัตว์(ตาย) ๔.การค้าขายน้ำเมา ๕.การค้าขายยาพิษ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๒ "วณิชชสูตร" ข้อ๑๗๗) นอกจากทรงห้ามการฆ่าสัตว์แล้ว พระพุทธเจ้าก็ยังทรงห้ามไปถึง....การค้าขายสัตว์ทั้งที่มีชีวิตอยู่ หรือ ทั้งที่ตาย กลายเป็นเนื้อสัตว์ด้วย ดังนั้นก็จะยิ่งเห็นได้ชัดเจน ถึงสภาพชีวิตความเป็นอยู่ ในด้านอาหารการกินของชาวพุทธได้ว่า จะทำเป็น "อาหารมังสวิรัติ" ค้าขายกันเกลื่อนกล่นทั่วไปอย่างแน่นอน ถ้าพุทธศาสนิกชน ปฏิบัติตามคำสอน ของพระพุทธเจ้า อย่างถูกตรงแล้ว พระพุทธองค์ตรัส (๓) "สัตว์ทั้งหลายที่ไม่ได้ประทุษร้ายใคร ถูกนำมาฆ่า คนผู้ทำการบูชาด้วยความตายของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมเสื่อมจากธรรม วิญญูชนติเตียนแล้วอย่างนี้ วิญญูชนเห็นความจริง อันเลวทรามเช่นนี้ ในที่ใด ย่อมติเตียนคนผู้ทำการบูชาด้วยความตายของสัตว์ในที่นั้น" (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕ "พราหมณธรรมิกสูตร" ข้อ ๓๒๓) ไม่ใช่แค่เพียงห้ามชาวพุทธไม่ให้ฆ่าสัตว์ และห้ามค้าขายเนื้อสัตว์เท่านั้น พระพุทธเจ้ายังทรงติเตียนห้ามปราม แม้กระทั่งการใช้ความตายของสัตว์อื่น มาเป็นเครื่องสักการะบูชาอีกด้วย ดังนั้นการที่จะนำเอาเลือด เนื้อ เอ็น กระดูก ตับ ไต ไส้พุง หรืออวัยวะอื่นใดของสัตว์ มาเป็นเครื่องบูชา ต่อสิ่งที่ เราเคารพนับถือ หรือต่อบุคคลที่เราเคารพนับถือนั้น จึงเป็นการทำบาปมาหวังบุญ ช่างน่าติเตียน ไม่สมควรทำอย่างยิ่ง เมื่อเป็นเช่นนี้ การกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า พระพุทธองค์ตรัส (๔) "ชนใดกล่าวอย่างนี้ว่า ชนทั้งหลายย่อมฆ่าสัตว์เจาะจงพระสมณโคดม พระสมณโคดมทรงทราบข้อนั้นอยู่ ก็ยังทรงฉัน เนื้อสัตว์ที่เขาทำเฉพาะตน อาศัยตนทำดังนี้ ชนเหล่านั้นจะชื่อว่า กล่าวตรงกับที่เรากล่าวก็หามิได้ ชื่อว่ากล่าวตู่เราด้วยคำอันไม่จริง เรากล่าวเนื้อสัตว์ว่า เป็นของควรบริโภค ด้วยเหตุ ๓ ประการคือ ๑. เนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้เห็น(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๒. เนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้ยิน(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๓. เนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้รังเกียจ(ว่าเจาะจงฆ่ามา) และเรากล่าวเนื้อสัตว์ว่า ไม่ควรเป็นของบริโภค ด้วยเหตุ ๓ ประการคือ ๑. เนื้อสัตว์ที่ตนเห็น(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๒. เนื้อสัตว์ที่ตนได้ยิน(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๓. เนื้อสัตว์ที่ตนรังเกียจ(ว่าเจาะจงฆ่ามา) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๓ "ชีวกสูตร" ข้อ ๕๗) พระพุทธเจ้าทรงเป็นคนในลัทธิฮินดูมาก่อน ซึ่งไม่เคยเสวยเนื้อสัตว์เลยตลอดชีวิต เพราะฉะนั้นใครกล่าวว่า พระพุทธเจ้าทรงฉันเนื้อสัตว์ คนนั้นย่อมกล่าวตู่พระพุทธเจ้า แต่แม้ว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็นนักมังสวิรัติก็ตาม ถึงกระนั้นก็ยังทรงมีบทอนุโลมให้แก่พระอยู่บ้าง ในกรณีที่ญาติโยมนำอาหารเนื้อสัตว์มาถวายพระ.... พระสามารถฉันเนื้อสัตว์นั้นได้ โดยไม่เป็นความผิดบาป ก็ต่อเมื่อพระนั้นจะต้องไม่ได้เห็นว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือจะต้องไม่ได้ยินว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือจะต้องไม่ได้รังเกียจว่าเขาฆ่าสัตว์กระทำผิดศีลข้อที่๑ เพื่อเอาเนื้อ มาทำเป็นอาหาร แล้วนำเนื้อนั้นมาเจาะจงถวายให้พระ แต่ถ้าพระเห็นว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือได้ยินว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือคิดรังเกียจ ว่าเขาฆ่าสัตว์ กระทำ บาปกรรมขึ้น ก็เพื่อเอาเนื้อสัตว์ มาทำอาหาร แล้วนำอาหารเนื้อสัตว์นั้นมาเจาะจงถวายให้พระ เมื่อพิจารณา ดังนี้แล้วรู้สึกรังเกียจ พระก็ไม่สมควรฉันเนื้อสัตว์นั้นเลย เพราะย่อมรู้อยู่แก่ใจดีว่า พระเองได้ กลายเป็น ต้นเหตุ ให้สัตว์ต้องตาย และเป็นต้นเหตุให้ญาติโยมต้องได้"บาป" ในการทำผิดศีลข้อ ๑ ซะแล้ว ซึ่งถือว่าเป็น "การทำบุญ" แต่"ได้บาป"ของชาวบ้านนั่นเอง ดังนั้น หากเป็น"อาหารมังสวิรัติ"แล้ว ก็คงหมดห่วงในปัญหาเหล่านี้ไปได้ทั้งหมด เพราะพระท่านสามารถ จะพิจารณา อาหารได้ง่าย และ ฉันได้อย่างสบายใจ พระพุทธองค์ตรัส (๕) "ผู้ใดฆ่าสัตว์เจาะจงตถาคต หรือสาวกตถาคต ผู้นั้นย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ด้วย เหตุ ๕ ประการคือ ๑. ผู้นั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายจงไปนำสัตว์ชื่อโน้นมา พูดดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญ เป็นอันมาก ๒. สัตว์นั้นเมื่อถูกเขาผูกคอนำมา ได้รับทุกข์เสียใจ ทำดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ๓. ผู้นั้นพูดอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายจงไปฆ่าสัตว์นี้ พูดดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ๔. สัตว์นั้นเมื่อกำลังถูกเขาฆ่า ย่อมได้รับทุกข์เสียใจ ดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ๕. ผู้นั้นย่อมยังตถาคตและสาวกตถาคตให้ยินดีด้วยเนื้อสัตว์อันเป็นอกัปปิยะ (ของต้องห้าม ไม่สมควร แก่ภิกษุ จะบริโภค) ทำดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๓ "ชีวกสูตร" ข้อที่ ๖๐) บรรดาชาวบ้านที่ทำอาหารเนื้อสัตว์ไปถวายพระ หรือใส่บาตรพระ เพื่อหวังบุญกุศลนั้น จะรู้หรือไม่ว่า การที่สัตว์ ต้องถูกฆ่า เพื่อทำเป็นอาหารนั้น ก็เป็นบาปกรรมแล้ว แต่จะบาปหนักขึ้นมิใช่บุญเลย เมื่อเจาะจง นำเนื้อสัตว์นั้น ไปถวายพระ ดังนั้นผู้ปรารถนาบุญอย่างแท้จริง ไม่น่าเสี่ยงต่อการที่จะทำบุญแล้วได้บาปแทน สมควรทำเป็น "อาหารมังสวิรัติ" ดีกว่า จะได้บุญสมใจ ทั้งยังเป็นการปฏิบัติถูกต้อง ไม่ประมาท ต่อคำเตือน ของพระพุทธเจ้า อีกด้วย ในพระสูตรนี้มีข้อน่าสังเกต ที่ชาวบ้านอาจคาดไม่ถึงก็คือ การฆ่าสัตว์ทำเป็นอาหาร แล้วเจาะจง นำอาหาร เนื้อสัตว์นั้น ไปถวายพระ จะได้รับบาปกรรมแทนบุญนั้น เหตุหนึ่งก็เพราะ ทำให้พระเกิดความยินดี ในการฉัน เนื้อสัตว์ อันเป็นของต้องห้าม ที่พระไม่ควรฉัน พระพุทธองค์ตรัส (๖) "ดูก่อนภิกษุ ภิกษุฉันเนื้อเดน(ของเหลือทิ้ง)จากราชสีห์ เนื้อเดนจากเสือโคร่ง เนื้อเดนจากเสือเหลือง เนื้อเดน จากเสือดาว เนื้อเดนจากสุนัขป่า ภิกษุนั้นไม่เป็นอาบัติ (ไม่เป็นโทษผิด) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑ "ทุติยปาราชิกกัณฑ์ วินีตวัตถุ" ข้อ ๑๓๗) โอกาสที่พระจะฉันเนื้อสัตว์ได้ ก็ยังมีอยู่อีกประการคือ เนื้อสัตว์ที่เป็นของเหลือทิ้งแล้ว จากการถูกฆ่าตาย ด้วยสัตว์ ดิรัจฉานอื่นๆ ดังนั้นหากชาวบ้านได้เนื้อเดนสัตว์ หรือเนื้อบังสุกุล(เนื้อทิ้งแล้ว)มา ย่อมสามารถนำมาทำเป็นอาหาร ถวายพระ ได้โดยปลอดภัย ไร้โทษบาปเวรใดๆ มิหนำซ้ำยังเป็นบุญกุศลอีกด้วย พระพุทธองค์ตรัส (๗) "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัข เนื้องู เนื้อราชสีห์ เนื้อเสือโคร่ง เนื้อเสือเหลือง เนื้อหมี เนื้อเสือดาว อนึ่ง ภิกษุยังไม่ได้พิจารณา ไม่พึงฉันเนื้อ หากภิกษุรูปใดฉันเนื้อนั้น ต้องอาบัติ (ต้องโทษผิด) ทุกกฏ (พระไตรปิฎก เล่ม ๕ "เภสัชชขันธกะ" ข้อ ๕๙-๖๐) พระพุทธเจ้าอนุโลมให้พระฉันเนื้อได้บ้างเท่านั้น ด้วยเหตุบางประการดังกล่าวมาแล้ว แต่แม้ในบท อนุโลม นั้น ก็ไม่ทรงอนุญาตให้พระฉันเนื้อ ๑๐ ชนิดเหล่านี้เลย หากพระรูปใดฉัน ก็ต้องมีความผิด นั่นก็คือ ชีวิตปกติจะต้องงดเว้นเนื้อ(มังสวิรัติ) ๑๐ ชนิดเหล่านี้อย่างเด็ดขาด จุดที่น่าให้ความสนใจ ในพระสูตรนี้ก็คือ ทุกครั้งที่พระจะฉันอาหารเนื้อสัตว์ ซึ่งญาติโยมนำมาถวาย จะต้อง พิจารณาเนื้อนั้น ให้ชัดเจน ก่อนขบฉันทุกครั้งไปว่า เนื้อนั้นห้ามฉันหรือไม่ อันเป็นความยุ่งยาก แก่พระ ไม่น้อยทีเดียว ฉะนั้นจึง ควรทำอาหารประเภท ไม่มีเนื้อสัตว์ ใส่บาตร หรือถวายพระจะดีกว่า โดยสรุปจากพระสูตรเท่าที่ยกตัวอย่างมานี้ ก็พอจะเห็นได้ว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็น "นักมังสวิรัติเอกของโลก" อย่างแน่นอน เพราะทรงใช้ วิธีการต่างๆ นำมาห้ามกั้นไม่ให้ชาวพุทธ ได้กินเนื้อสัตว์ ทั้งยังทรงตำหนิการฆ่าสัตว์ อันเป็นที่มาของอาหารเนื้อสัตว์ว่า เป็นเรื่องบาปกรรมแท้ๆ ส่วนผู้ที่ยังมีความสงสัยว่า พระพุทธเจ้าทรงฉันอาหารชื่อ"สุกรมัทวะ" แล้วก็ถึงแก่ปรินิพพานไปนั้น อย่าเข้าใจผิดว่า อาหารสุกรมัทวะนั้น คือ"เนื้อสุกรอ่อน" เพราะที่ถูกต้องเป็นจริงนั้นคือ "อาหารที่ปรุงด้วยเห็ด ชนิดที่หมูชอบกิน" ต่างหากเล่า ซึ่งสามารถค้นดูหลักฐานได้จาก พระไตรปิฎกเล่ม ๑๐ "มหาปรินิพพานสูตร" ข้อ ๑๑๗ แล้วท่าน ก็จะได้หมดสงสัยเสียที สุดท้ายนี้ถามใจตัวเองดูสิว่า วันพระนี้ หรือ.... วันคล้ายวันเกิด (จันทร์,อังคาร,...ฯลฯ) ในสัปดาห์นี้ หรือ.... เข้าพรรษานี้ ลองหันมากิน "อาหารมังสวิรัติ" และทำ "อาหารมังสวิรัติ" ถวายพระให้เป็นบุญกุศลอันยิ่ง.ขึ้นไป...

พระโพธิสัตว์ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิพระพุทธเจ้า...กับ...มังสวิรัติ หลายที่หลายแห่งนานาประเทศทั่วโลก มีผู้คนส่วนหนึ่งพากันดำรงชีวิตอยู่ ด้วยการอาศัยอาหาร ที่ได้มาจากพืชผัก และนมเนย โดยไม่ต้องอาศัยการฆ่าแกงทำร้ายสัตว์อื่น แล้วนำมากินเป็นอาหารเลย โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ประเทศอินเดีย อันเป็นต้นกำเนิดของพุทธศาสนา ซึ่งนับแต่โบราณกาล มาจนตราบ เท่าทุกวันนี้ ชาวอินเดียส่วนใหญ่ก็ยังคงไม่กินเนื้อสัตว์กันเป็นอาหาร แต่จะกินพืช ผัก ผลไม้ นม เนย เป็นอาหาร หลักสำคัญของชีวิต บทความนี้ จะเป็นการเสนอแง่มุมคิดเกี่ยวกับ "อาหารมังสวิรัติ" ในแง่มุมทางพุทธศาสนาเท่านั้น ไม่ใช่แง่มุม ทางสุขภาพอนามัย ไม่ใช่ทางโภชนาการ ไม่ใช่ทางวิทยาศาสตร์ ไม่ใช่ทางเศรษฐกิจ ฯลฯ เป็นความคิดเห็น ที่อาศัยคำตรัสของพระพุทธเจ้า ที่มีปรากฏอยู่ในพระไตรปิฎกเป็นหลักฐานอ้างอิง ในพระไตรปิฎกมีอยู่มากมายหลายพระสูตร ที่พระพุทธเจ้าตรัสเอาไว้ แล้วมีส่วนเกี่ยวพันกันไปถึง "มังสวิรัติ" อันคือ งดเว้นการกินอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสัตว์ ซึ่งได้มาจากการฆ่าสัตว์เพื่อทำเป็นอาหาร ที่นี้จะขอยกมากล่าวถึงเพียงบางพระสูตรเท่านั้น ได้แก่... พระพุทธองค์ตรัส (๑) "ละการฆ่า เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ วางทัณฑะ(โทษภัย) วางศาสตรา(ของมีคม)แล้ว มีความละอาย มีความเอ็นดู มีความกรุณา หวังประโยชน์ แก่สัตว์ทั้งปวงอยู่ ตลอดคืนหนึ่งกับวันหนึ่งในวันนี้ แม้ด้วยการกระทำอย่างนี้ ก็ชื่อว่าได้ทำตามพระอรหันต์ทั้งหลาย" (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๐ "อุโปสถสูตร" ข้อ๕๑๐) จากพระสูตรนี้ก็คือ ศีลข้อที่ ๑ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์นั่นเอง ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงห้าม การฆ่าสัตว์เอาไว้ แก่พุทธศาสนิกชนทุกคน ไม่ว่าจะอยู่ในฐานะ อาชีพใดๆ คือ เป็นข้าราชการ พ่อค้า ลูกจ้าง กรรมกร ทั้งหญิง ชาย ทั้งเด็ก และผู้ใหญ่ เมื่อเป็นชาวพุทธ ก็ต้องพยายามถือศีลข้อที่ ๑ ละเว้นจากการฆ่าสัตว์ มีใจเอ็นดู แก่สัตว์ทั้งปวง ถ้าปฏิบัติกันจริงเมืองไทยย่อมจะหาเนื้อสัตว์กินกันได้ยาก ภายในเมืองพุทธ แห่งนี้ อาหาร การกินส่วนใหญ่ ก็คงต้องเป็น "อาหารมังสวิรัติ" นั่นแหละมากกว่า ดังนั้นการที่ชาวพุทธชักชวนกันเลิกกินเนื้อสัตว์ได้ ก็จะเป็นการเอื้อเฟื้อต่อศีลข้อที่ ๑ ที่พระพุทธเจ้า ทรงบัญญัติ เอาไว้ จะได้ไม่ทำให้ศีลข้อนี้ต้องกลายเป็นหมันไป มิฉะนั้นแล้ว ยิ่งมีคนกินเนื้อสัตว์กันมากเท่าใด ก็ย่อมต้องมีการฆ่าสัตว์เพิ่มมากขึ้นเท่านั้น อันเป็น การส่งเสริม ให้ชาวพุทธ กระทำผิดศีลข้อที่ ๑ เพิ่มมากขึ้นนั่นเอง พระพุทธองค์ตรัส (๒) การค้าขาย ๕ ประการนี้ อันอุบาสกไม่พึงกระทำคือ ๑.การค้าขายศาสตรา ๒.การค้าขายสัตว์(เป็น) ๓.การค้าขายเนื้อสัตว์(ตาย) ๔.การค้าขายน้ำเมา ๕.การค้าขายยาพิษ (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๒ "วณิชชสูตร" ข้อ๑๗๗) นอกจากทรงห้ามการฆ่าสัตว์แล้ว พระพุทธเจ้าก็ยังทรงห้ามไปถึง....การค้าขายสัตว์ทั้งที่มีชีวิตอยู่ หรือ ทั้งที่ตาย กลายเป็นเนื้อสัตว์ด้วย ดังนั้นก็จะยิ่งเห็นได้ชัดเจน ถึงสภาพชีวิตความเป็นอยู่ ในด้านอาหารการกินของชาวพุทธได้ว่า จะทำเป็น "อาหารมังสวิรัติ" ค้าขายกันเกลื่อนกล่นทั่วไปอย่างแน่นอน ถ้าพุทธศาสนิกชน ปฏิบัติตามคำสอน ของพระพุทธเจ้า อย่างถูกตรงแล้ว พระพุทธองค์ตรัส (๓) "สัตว์ทั้งหลายที่ไม่ได้ประทุษร้ายใคร ถูกนำมาฆ่า คนผู้ทำการบูชาด้วยความตายของสัตว์ทั้งหลาย ย่อมเสื่อมจากธรรม วิญญูชนติเตียนแล้วอย่างนี้ วิญญูชนเห็นความจริง อันเลวทรามเช่นนี้ ในที่ใด ย่อมติเตียนคนผู้ทำการบูชาด้วยความตายของสัตว์ในที่นั้น" (พระไตรปิฎก เล่ม ๒๕ "พราหมณธรรมิกสูตร" ข้อ ๓๒๓) ไม่ใช่แค่เพียงห้ามชาวพุทธไม่ให้ฆ่าสัตว์ และห้ามค้าขายเนื้อสัตว์เท่านั้น พระพุทธเจ้ายังทรงติเตียนห้ามปราม แม้กระทั่งการใช้ความตายของสัตว์อื่น มาเป็นเครื่องสักการะบูชาอีกด้วย ดังนั้นการที่จะนำเอาเลือด เนื้อ เอ็น กระดูก ตับ ไต ไส้พุง หรืออวัยวะอื่นใดของสัตว์ มาเป็นเครื่องบูชา ต่อสิ่งที่ เราเคารพนับถือ หรือต่อบุคคลที่เราเคารพนับถือนั้น จึงเป็นการทำบาปมาหวังบุญ ช่างน่าติเตียน ไม่สมควรทำอย่างยิ่ง เมื่อเป็นเช่นนี้ การกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า พระพุทธองค์ตรัส (๔) "ชนใดกล่าวอย่างนี้ว่า ชนทั้งหลายย่อมฆ่าสัตว์เจาะจงพระสมณโคดม พระสมณโคดมทรงทราบข้อนั้นอยู่ ก็ยังทรงฉัน เนื้อสัตว์ที่เขาทำเฉพาะตน อาศัยตนทำดังนี้ ชนเหล่านั้นจะชื่อว่า กล่าวตรงกับที่เรากล่าวก็หามิได้ ชื่อว่ากล่าวตู่เราด้วยคำอันไม่จริง เรากล่าวเนื้อสัตว์ว่า เป็นของควรบริโภค ด้วยเหตุ ๓ ประการคือ ๑. เนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้เห็น(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๒. เนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้ยิน(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๓. เนื้อสัตว์ที่ตนไม่ได้รังเกียจ(ว่าเจาะจงฆ่ามา) และเรากล่าวเนื้อสัตว์ว่า ไม่ควรเป็นของบริโภค ด้วยเหตุ ๓ ประการคือ ๑. เนื้อสัตว์ที่ตนเห็น(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๒. เนื้อสัตว์ที่ตนได้ยิน(ว่าเจาะจงฆ่ามา) ๓. เนื้อสัตว์ที่ตนรังเกียจ(ว่าเจาะจงฆ่ามา) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๓ "ชีวกสูตร" ข้อ ๕๗) พระพุทธเจ้าทรงเป็นคนในลัทธิฮินดูมาก่อน ซึ่งไม่เคยเสวยเนื้อสัตว์เลยตลอดชีวิต เพราะฉะนั้นใครกล่าวว่า พระพุทธเจ้าทรงฉันเนื้อสัตว์ คนนั้นย่อมกล่าวตู่พระพุทธเจ้า แต่แม้ว่าพระพุทธเจ้าทรงเป็นนักมังสวิรัติก็ตาม ถึงกระนั้นก็ยังทรงมีบทอนุโลมให้แก่พระอยู่บ้าง ในกรณีที่ญาติโยมนำอาหารเนื้อสัตว์มาถวายพระ.... พระสามารถฉันเนื้อสัตว์นั้นได้ โดยไม่เป็นความผิดบาป ก็ต่อเมื่อพระนั้นจะต้องไม่ได้เห็นว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือจะต้องไม่ได้ยินว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือจะต้องไม่ได้รังเกียจว่าเขาฆ่าสัตว์กระทำผิดศีลข้อที่๑ เพื่อเอาเนื้อ มาทำเป็นอาหาร แล้วนำเนื้อนั้นมาเจาะจงถวายให้พระ แต่ถ้าพระเห็นว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือได้ยินว่าเขาเจาะจงฆ่ามา หรือคิดรังเกียจ ว่าเขาฆ่าสัตว์ กระทำ บาปกรรมขึ้น ก็เพื่อเอาเนื้อสัตว์ มาทำอาหาร แล้วนำอาหารเนื้อสัตว์นั้นมาเจาะจงถวายให้พระ เมื่อพิจารณา ดังนี้แล้วรู้สึกรังเกียจ พระก็ไม่สมควรฉันเนื้อสัตว์นั้นเลย เพราะย่อมรู้อยู่แก่ใจดีว่า พระเองได้ กลายเป็น ต้นเหตุ ให้สัตว์ต้องตาย และเป็นต้นเหตุให้ญาติโยมต้องได้"บาป" ในการทำผิดศีลข้อ ๑ ซะแล้ว ซึ่งถือว่าเป็น "การทำบุญ" แต่"ได้บาป"ของชาวบ้านนั่นเอง ดังนั้น หากเป็น"อาหารมังสวิรัติ"แล้ว ก็คงหมดห่วงในปัญหาเหล่านี้ไปได้ทั้งหมด เพราะพระท่านสามารถ จะพิจารณา อาหารได้ง่าย และ ฉันได้อย่างสบายใจ พระพุทธองค์ตรัส (๕) "ผู้ใดฆ่าสัตว์เจาะจงตถาคต หรือสาวกตถาคต ผู้นั้นย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ด้วย เหตุ ๕ ประการคือ ๑. ผู้นั้นกล่าวอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายจงไปนำสัตว์ชื่อโน้นมา พูดดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญ เป็นอันมาก ๒. สัตว์นั้นเมื่อถูกเขาผูกคอนำมา ได้รับทุกข์เสียใจ ทำดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ๓. ผู้นั้นพูดอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายจงไปฆ่าสัตว์นี้ พูดดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ๔. สัตว์นั้นเมื่อกำลังถูกเขาฆ่า ย่อมได้รับทุกข์เสียใจ ดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก ๕. ผู้นั้นย่อมยังตถาคตและสาวกตถาคตให้ยินดีด้วยเนื้อสัตว์อันเป็นอกัปปิยะ (ของต้องห้าม ไม่สมควร แก่ภิกษุ จะบริโภค) ทำดังนี้ชื่อว่า ย่อมประสบบาป มิใช่บุญเป็นอันมาก (พระไตรปิฎก เล่ม ๑๓ "ชีวกสูตร" ข้อที่ ๖๐) บรรดาชาวบ้านที่ทำอาหารเนื้อสัตว์ไปถวายพระ หรือใส่บาตรพระ เพื่อหวังบุญกุศลนั้น จะรู้หรือไม่ว่า การที่สัตว์ ต้องถูกฆ่า เพื่อทำเป็นอาหารนั้น ก็เป็นบาปกรรมแล้ว แต่จะบาปหนักขึ้นมิใช่บุญเลย เมื่อเจาะจง นำเนื้อสัตว์นั้น ไปถวายพระ ดังนั้นผู้ปรารถนาบุญอย่างแท้จริง ไม่น่าเสี่ยงต่อการที่จะทำบุญแล้วได้บาปแทน สมควรทำเป็น "อาหารมังสวิรัติ" ดีกว่า จะได้บุญสมใจ ทั้งยังเป็นการปฏิบัติถูกต้อง ไม่ประมาท ต่อคำเตือน ของพระพุทธเจ้า อีกด้วย ในพระสูตรนี้มีข้อน่าสังเกต ที่ชาวบ้านอาจคาดไม่ถึงก็คือ การฆ่าสัตว์ทำเป็นอาหาร แล้วเจาะจง นำอาหาร เนื้อสัตว์นั้น ไปถวายพระ จะได้รับบาปกรรมแทนบุญนั้น เหตุหนึ่งก็เพราะ ทำให้พระเกิดความยินดี ในการฉัน เนื้อสัตว์ อันเป็นของต้องห้าม ที่พระไม่ควรฉัน พระพุทธองค์ตรัส (๖) "ดูก่อนภิกษุ ภิกษุฉันเนื้อเดน(ของเหลือทิ้ง)จากราชสีห์ เนื้อเดนจากเสือโคร่ง เนื้อเดนจากเสือเหลือง เนื้อเดน จากเสือดาว เนื้อเดนจากสุนัขป่า ภิกษุนั้นไม่เป็นอาบัติ (ไม่เป็นโทษผิด) (พระไตรปิฎก เล่ม ๑ "ทุติยปาราชิกกัณฑ์ วินีตวัตถุ" ข้อ ๑๓๗) โอกาสที่พระจะฉันเนื้อสัตว์ได้ ก็ยังมีอยู่อีกประการคือ เนื้อสัตว์ที่เป็นของเหลือทิ้งแล้ว จากการถูกฆ่าตาย ด้วยสัตว์ ดิรัจฉานอื่นๆ ดังนั้นหากชาวบ้านได้เนื้อเดนสัตว์ หรือเนื้อบังสุกุล(เนื้อทิ้งแล้ว)มา ย่อมสามารถนำมาทำเป็นอาหาร ถวายพระ ได้โดยปลอดภัย ไร้โทษบาปเวรใดๆ มิหนำซ้ำยังเป็นบุญกุศลอีกด้วย พระพุทธองค์ตรัส (๗) "ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงฉันเนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัข เนื้องู เนื้อราชสีห์ เนื้อเสือโคร่ง เนื้อเสือเหลือง เนื้อหมี เนื้อเสือดาว อนึ่ง ภิกษุยังไม่ได้พิจารณา ไม่พึงฉันเนื้อ หากภิกษุรูปใดฉันเนื้อนั้น ต้องอาบัติ (ต้องโทษผิด) ทุกกฏ (พระไตรปิฎก เล่ม ๕ "เภสัชชขันธกะ" ข้อ ๕๙-๖๐) พระพุทธเจ้าอนุโลมให้พระฉันเนื้อได้บ้างเท่านั้น ด้วยเหตุบางประการดังกล่าวมาแล้ว แต่แม้ในบท อนุโลม นั้น ก็ไม่ทรงอนุญาตให้พระฉันเนื้อ ๑๐ ชนิดเหล่านี้เลย หากพระรูปใดฉัน ก็ต้องมีความผิด นั่นก็คือ ชีวิตปกติจะต้องงดเว้นเนื้อ(มังสวิรัติ) ๑๐ ชนิดเหล่านี้อย่างเด็ดขาด จุดที่น่าให้ความสนใจ ในพระสูตรนี้ก็คือ ทุกครั้งที่พระจะฉันอาหารเนื้อสัตว์ ซึ่งญาติโยมนำมาถวาย จะต้อง พิจารณาเนื้อนั้น ให้ชัดเจน ก่อนขบฉันทุกครั้งไปว่า เนื้อนั้นห้ามฉันหรือไม่ อันเป็นความยุ่งยาก แก่พระ ไม่น้อยทีเดียว ฉะนั้นจึง ควรทำอาหารประเภท ไม่มีเนื้อสัตว์ ใส่บาตร หรือถวายพระจะดีกว่า โดยสรุปจากพระสูตรเท่าที่ยกตัวอย่างมานี้ ก็พอจะเห็นได้ว่า พระพุทธเจ้าทรงเป็น "นักมังสวิรัติเอกของโลก" อย่างแน่นอน เพราะทรงใช้ วิธีการต่างๆ นำมาห้ามกั้นไม่ให้ชาวพุทธ ได้กินเนื้อสัตว์ ทั้งยังทรงตำหนิการฆ่าสัตว์ อันเป็นที่มาของอาหารเนื้อสัตว์ว่า เป็นเรื่องบาปกรรมแท้ๆ ส่วนผู้ที่ยังมีความสงสัยว่า พระพุทธเจ้าทรงฉันอาหารชื่อ"สุกรมัทวะ" แล้วก็ถึงแก่ปรินิพพานไปนั้น อย่าเข้าใจผิดว่า อาหารสุกรมัทวะนั้น คือ"เนื้อสุกรอ่อน" เพราะที่ถูกต้องเป็นจริงนั้นคือ "อาหารที่ปรุงด้วยเห็ด ชนิดที่หมูชอบกิน" ต่างหากเล่า ซึ่งสามารถค้นดูหลักฐานได้จาก พระไตรปิฎกเล่ม ๑๐ "มหาปรินิพพานสูตร" ข้อ ๑๑๗ แล้วท่าน ก็จะได้หมดสงสัยเสียที สุดท้ายนี้ถามใจตัวเองดูสิว่า วันพระนี้ หรือ.... วันคล้ายวันเกิด (จันทร์,อังคาร,...ฯลฯ) ในสัปดาห์นี้ หรือ.... เข้าพรรษานี้ ลองหันมากิน "อาหารมังสวิรัติ" และทำ "อาหารมังสวิรัติ" ถวายพระให้เป็นบุญกุศลอันยิ่ง.ขึ้นไป...

วันอาทิตย์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2558

ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจดูกรพราหมณ์ ท่านจงพยายามตัดกระแสตัณหาเสีย จง บรรเทากามทั้งหลายเสีย ดูกรพราหมณ์ ท่านรู้ความสิ้น ไปแห่งสังขารทั้งหลายแล้ว จะเป็นผู้รู้นิพพานอันปัจจัย อะไรๆ ปรุงแต่งไม่ได้ เมื่อใด พราหมณ์เป็นผู้ถึงฝั่งใน ธรรมทั้ง ๒ ประการ เมื่อนั้น กิเลสเป็นเครื่องประกอบทั้ง ปวงของพราหมณ์นั้นผู้รู้แจ้ง ย่อมถึงความสาบสูญไป ฝั่งก็ดี ธรรมชาติมิใช่ฝั่งก็ดี ฝั่งและธรรมชาติมิใช่ฝั่ง ย่อมไม่มีแก่ผู้ ใด เรากล่าวผู้นั้นซึ่งมีความกระวนกระวายไปปราศแล้ว ผู้ไม่ ประกอบแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้เพ่งฌาน ปราศจากธุลี นั่งอยู่ผู้เดียว ทำกิจเสร็จแล้ว ไม่มีอาสวะ บรรลุประโยชน์อันสูงสุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ พระอาทิตย์ ย่อมส่องแสงสว่างในกลางวัน พระจันทร์ย่อมส่องแสงสว่าง ในกลางคืน กษัตริย์ทรงผูกสอดเครื่องครบย่อมมีสง่า พราหมณ์ผู้เพ่งฌานย่อมรุ่งเรือง ส่วนพระพุทธเจ้าย่อมรุ่งเรือง ด้วยพระเดชตลอดวันและคืนทั้งสิ้น บุคคลผู้มีบาปอันลอย แล้วแล เรากล่าวว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลว่า เป็นสมณะเพราะประพฤติสงบ บุคคลผู้ขับไล่มลทินของ ตน เรากล่าวว่าเป็นบรรพชิต เพราะการขับไล่นั้น พราหมณ์ ไม่พึงประหารพราหมณ์ พราหมณ์ไม่พึงปล่อยเวรแก่พราหมณ์ นั้น เราติเตียนบุคคลผู้ประหารพราหมณ์ เราติเตียนบุคคล ผู้ปล่อยเวรแก่พราหมณ์ กว่าบุคคลผู้ประหารนั้น การ เกียจกันใจจากสิ่งอันเป็นที่รักทั้งหลาย ของพราหมณ์ เป็น คุณประเสริฐหาน้อยไม่ ใจประกอบด้วยความเบียดเบียน ย่อมกลับจากวัตถุใดๆ ทุกข์ย่อมสงบได้หมดจากวัตถุนั้นๆ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่มีกรรมชั่วทางกาย วาจา ใจ ผู้สำรวม แล้วจากฐานะทั้ง ๓ ว่าเป็นพราหมณ์ บุคคลพึงรู้แจ้งธรรม อันพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้วจากบุคคลใด พึง นอบน้อมบุคคลนั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นอบน้อม การบูชาไฟ ฉะนั้น บุคคลชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะการ เกล้าชฎา เพราะโคตร เพราะชาติหามิได้ สัจจะและธรรมะ มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นเป็นผู้สะอาดอยู่ ผู้นั้นเป็นพราหมณ์ ด้วย ดูกรท่านผู้มีปัญญาทราม จะมีประโยชน์อะไรด้วย การเกล้าชฎาแก่ท่าน จะมีประโยชน์อะไร ด้วยผ้าสาฎก ที่ทำด้วยหนังชะมดแก่ท่าน ภายในของท่านรกชัฏ ท่าน ย่อมขัดสีแต่อวัยวะภายนอก เรากล่าวบุคคลผู้ทรงผ้าบังสุกุล ซูบผอม สะพรั่งไปด้วยเส้นเอ็น ผู้เดียวเพ่ง (ฌาน) อยู่ในป่านั้น ว่าเป็นพราหมณ์ ก็เราไม่กล่าวผู้ที่เกิดแต่ กำเนิด ผู้มีมารดาเป็นแดนเกิด ว่าเป็นพราหมณ์ ผู้นั้น เป็นผู้ชื่อว่าโภวาที (ผู้กล่าวว่าท่านผู้เจริญ) ผู้นั้นแลเป็นผู้มี กิเลสเครื่องกังวล เรากล่าวบุคคลผู้ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล ผู้ไม่ถือมั่นนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ตัดสังโยชน์ ทั้งหมดได้ ไม่สะดุ้ง ผู้ล่วงกิเลสเป็นเครื่องข้อง ไม่ ประกอบแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ตัด ความโกรธดุจชะเนาะ ตัดตัณหาดุจหนังหัวเกวียน และ ตัดทิฐิดุจเงื่อนพร้อมทั้งอนุสัยดุจสายเสียได้ ผู้มีอวิชชาดุจ ลิ่มสลักอันถอนแล้ว ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ไม่ประทุษร้าย อดกลั้นได้ซึ่งการด่า การทุบตีและ การจองจำ ผู้มีกำลัง คือ ขันติ ผู้มีหมู่พลเมืองคือขันติ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่โกรธ มีวัตร มีศีล ไม่มีกิเลสเครื่องฟูขึ้น ฝึกตนแล้ว มีร่างกายตั้งอยู่ในที่ สุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่ติดในกามทั้งหลาย ดุจน้ำไม่ติดอยู่ในใบบัว ดังเมล็ดพันธุ์ผักกาดไม่ติดอยู่บน ปลายเหล็กแหลมนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่รู้ แจ้งความสิ้นทุกข์ของตนในธรรมวินัยนี้ มีภาระอันปลงแล้ว พรากแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้มีปัญญา ลึกซึ้ง เป็นนักปราชญ์ ผู้ฉลาดในมรรคและมิใช่มรรค ผู้ บรรลุประโยชน์อันสูงสุดนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับคน ๒ พวก คือ คฤหัสถ์และบรรพชิต ผู้ไม่มีความอาลัยเที่ยวไป ผู้มีความปรารถนาน้อยนั้น ว่าเป็น พราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่วางอาชญาในสัตว์ทั้งหลาย ผู้ที่สะดุ้ง และมั่นคง ไม่ฆ่าเอง ไม่ใช้ผู้อื่นให้ฆ่า ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้ไม่ผิดในผู้ผิด ผู้ดับเสียในผู้ที่มีอาชญาใน ตน ผู้ไม่ยึดถือในขันธ์ที่ยังมีความยึดถือนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ทำราคะ โทสะ มานะ และมักขะให้ตกไป ดุจเมล็ดพันธุ์ผักกาดที่เขาให้ตกไปจากปลายเหล็กแหลม นั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวบุคคลผู้เปล่งวาจาไม่หยาบ คาย อันเป็นเหตุให้ผู้อื่นรู้แจ่มแจ้งกันได้ เป็นคำจริง ผู้ไม่ ทำใครๆ ให้ขัดใจกันนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าว ผู้ที่ไม่ถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ให้ในโลกนี้ ยาวก็ตาม สั้น ก็ตาม น้อยก็ตาม มากก็ตาม งามก็ตาม ไม่งามก็ตาม ว่า เป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ไม่มีความหวังในโลกนี้และในโลก หน้า ไม่มีตัณหา ไม่ประกอบด้วยกิเลส ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่มีความอาลัย ไม่เคลือบแคลงสงสัยเพราะรู้ ทั่ว หยั่งลงสู่อมตะ บรรลุโดยลำดับ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละทิ้งบุญและบาปทั้งสอง ล่วงกิเลสเครื่องขัดข้อง ในโลกนี้ ผู้ไม่มีความโศก ปราศจากธุลี บริสุทธิ์ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่มีความเพลิดเพลินในภพสิ้น แล้ว ผู้บริสุทธิ์ มีจิตผ่องใส ไม่ขุ่นมัว เหมือนพระจันทร์ ปราศจากมลทินนั้น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ล่วงทาง ลื่น ทางที่ไปได้ยาก สงสาร และโมหะนี้เสียได้ เป็น ผู้ข้ามแล้ว ถึงฝั่ง เพ่ง (ฌาน) ไม่หวั่นไหว ไม่มีความ เคลือบแคลงสงสัย ดับแล้วเพราะไม่ถือมั่น ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละกามทั้งหลายในโลกนี้ เป็นผู้ไม่มีเรือน งดเว้น เสียได้ มีกามและภพหมดสิ้นแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ละตัณหาในโลกนี้ได้แล้ว ภพหมดสิ้นแล้ว ว่าเป็น พราหมณ์ เรากล่าวผู้ละโยคะของมนุษย์ ล่วงโยคะอันเป็น ทิพย์ พรากแล้วจากโยคะทั้งปวง ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ละความยินดี และความไม่ยินดีได้ เป็นผู้เย็น ไม่มีกิเลสเป็นเหตุเข้าไปทรงไว้ ครอบงำเสียซึ่งโลกทั้งปวง ผู้แกล้วกล้า ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้รู้จุติและอุบัติ ของสัตว์ทั้งหลาย โดยประการทั้งปวง ผู้ไม่ข้องอยู่ ไปดี ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่เทวดา คน ธรรพ์และมนุษย์รู้คติของเขาไม่ได้ มีอาสวะสิ้นแล้ว เป็น พระอรหันต์ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้ที่ไม่มีกิเลส เครื่องกังวลในขันธ์ที่เป็นอดีต ในขันธ์ที่เป็นอนาคต และ ในขันธ์ที่เป็นปัจจุบัน ไม่มีความกังวล ไม่มีความยึดถือ ว่าเป็นพราหมณ์ เรากล่าวผู้องอาจ ประเสริฐ แกล้ว กล้า แสวงหาคุณอันใหญ่ ชนะเสร็จแล้ว ไม่หวั่น ไหว ล้างกิเลส ตรัสรู้แล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ เรา กล่าวผู้ที่รู้ปุพเพนิวาส เห็นสวรรค์และอบาย และได้ถึง ความสิ้นไปแห่งชาติ อยู่จบพรหมจรรย์เพราะรู้ยิ่ง เป็นมุนี อยู่จบพรหมจรรย์ทั้งปวงแล้ว ว่าเป็นพราหมณ์ ฯ

ภาษามนุษย์เข้าใจง่ายง่ายใช้ควบคุมเครื่องจักรกลได้ครับ.รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรด้วยภาษามนุษย์เข้าใจง่ายง่ายใช้ควบคุมเครื่องจักรกลได้ครับ

ภาษามนุษย์เข้าใจง่ายง่ายใช้ควบคุมเครื่องจักรกลได้ครับ.รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรด้วยภาษามนุษย์เข้าใจง่ายง่ายใช้ควบคุมเครื่องจักรกลได้ครับ

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

รับเขียนโปรแกรมควบคุมเครื่องจักรภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer languages) ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของภาษาคอมพิวเตอร์ทุกภาษา ก็คือต้องมีคำสั่งต่อไปนี้ 1. คำสั่งรับข้อมูลและแสดงผล คำสั่งประเภทนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีใช้ในภาษา กับทั้งยังต้องแจกแจงละเอียดต่อไปด้วยว่า รับผ่านอุปกรณ์ใด และแสดงผลทางอุปกรณ์ใด 2. คำสั่งคำนวณ โปรแกรมหรือคำสั่งที่เขียนจะหนีไม่พ้นคำสั่งที่สั่งให้ประมวลผลประเภท บวก ลบ คูณ หาร 3. คำสั่งที่มีการเลือกทิศทาง หมายถึง สั่งให้มีการเปรียบเทียบ เช่น ถ้ามากกว่าให้ทำอย่างหนึ่ง ถ้าเท่ากันให้ทำอย่างหนึ่ง หรือน้อยกว่าให้ทำอีกอย่างหนึ่ง เป็นต้น นอกจากนั้นอาจมีคำสั่งประเภทให้ทำงานเป็นวงซ้ำแล้วซ้ำอีก จนกว่าจะมีการเปรียบเทียบค่า ซึ่งถ้าเป็นเท่านั้นเท่านี้ หรือมากกว่าหรือน้อยกว่าก็ให้หยุดได้ 4. คำสั่งให้นำโปรแกรมหรือข้อมูลออกมาจาก และ/หรือส่งเข้าไปเก็บในสื่ออย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อเรียกมาใช้ใหม่ได้ ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาเครื่อง ภาษาเครื่อง เป็นภาษาที่ใช้กันมาตั้งแต่เริ่มมีคอมพิวเตอร์ใหม่ๆ ลักษณะทั่วไปก็คือใช้รหัสเป็นเลขฐานสองทั้งหมด ซึ่งนับว่ายุ่งยากกับผู้ใช้มาก แต่ก็เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที คำสั่งที่เขียนด้วยภาษานี้จะแบ่งเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นคำสั่งที่จะสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำอะไร เรียกส่วนนี้ว่า ออปโคด (Opcode หรือที่ย่อมาจากคำ Operation code) ส่วนที่สองจะบอกคอมพิวเตอร์ว่าให้ไปนำข้อมูลมาจากที่ใด เรียกส่วนนี้ว่า โอเปอร์แรนด์(Operand) ในการเขียนด้วยคำสั่งภาษานี้ ผู้ทำโปรแกรมจะต้องจำที่อยู่ (Address) ของข้อมูลหรือที่เก็บข้อมูลเหล่านั้น (ซึ่งจะเป็นตัวเลขทั้งหมด)ได้ อาจมีตั้งแต่ 1-100,000 แล้วแต่ขนาดของเครื่อง ปกติกว่าจะจำได้ มักจะใช้เวลามากและแม้กระนั้นก็ยังผิดพลาดอยู่เสมอ เช่น ถ้าจะสั่งให้นำค่าที่หน่วยความจำเลขที่ 0184 บวกกับค่าที่อยู่ในหน่วยความจำ 8672 จะเขียนว่า 00100000000000000000000000010111000 หรือแม้แต่เขียนเป็นเลขฐานสิบก็ยังยุ่งยาก คำสั่งของภาษาเครื่องนี้ จะต่างกันไปตามชนิดของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เป็นภาษาเดียวที่คอมพิวเตอร์เข้าใจ และเป็นภาษาที่ประกอบด้วยตัวอักษรเพียงสองตัวคือ 0 กับ 1 เท่านั้น การใช้ ภาษาเครื่องนั้นค่อนข้างยากมาก นอกจากจะต้องจำคำสั่งเป็นลำดับของเลข 0 กับ 1 แล้วยังจะต้องออกคำสั่งต่างๆ อย่างละเอียดมากๆ ด้วย ตัวอย่างเช่น คำสั่งภาษาเครื่องสำหรับบวกเลขสองจำนวนอาจมีลักษณะดังนี้ 0110000000000110 0110110000010000 1010010000010001 ภาษามนุษย์ ภาษามนุษย์ เมื่อการใช้ภาษาเครื่องเป็นเรื่องที่ยุ่งยากและผิดพลาดง่าย มนุษย์ก็คิดหาวิธีทำหรือวิธีสื่อสารวิธีอื่นเพื่อให้ง่ายขึ้น จึงมีผู้คิดให้มีการทำโปรแกรมที่ใช้ภาษาที่มนุษย์สามารถเข้าใจได้ด้วยและจำได้ง่ายๆ เรียกภาษานี้ว่า ภาษามนุษย์ โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีตัวแปลที่จะแปลจากภาษามนุษย์ที่เครื่องไม่เข้าใจให้เป็นภาษาเครื่อง (Machine language) โดยเก็บตัวแปลนี้เป็นโปรแกรมระบบไว้ในตัวเครื่องเลย การพัฒนาเช่นนี้ทำให้มนุษย์กับคอมพิวเตอร์เข้าใจและสื่อสารกันได้มากขึ้นการสั่งงานจึงทำได้ง่ายและสะดวกขึ้นทุกที ภาษาที่เรียกว่าภาษามนุษย์นี้ ยังแบ่งเป็นอีก 2 ระดับ คือ 2.1 ภาษาระดับต่ำ (Low level language) 2.2 ภาษาระดับสูง (High level language) ภาษาระดับต่ำ หมายถึง ภาษาที่ยังใกล้เคียงกับภาษาเครื่องมาก ภาษานี้ยังใช้สัญลักษณ์ต่างๆแทนตัวเลขฐานสองซึ่งยุ่งยาก เช่น ถ้าสั่งให้บวกก็ใช้สัญลักษณ์ A ถ้าสั่งให้ลบก็ใช้สัญลักษณ์ S เป็นต้น ภาษาที่ใช้สัญลักษณ์เช่นนี้ เรียกว่า mnemonic code อย่างไรก็ตามภาษานี้มีเพียงภาษาเดียว คือ ภาษาแอสเซมบลี (Assembly language) เมื่อคอมพิวเตอร์รับคำสั่งภาษาแอสเซมบลี้เข้าไปแล้ว ก็จะต้องส่งไปให้ตัวแปลที่มีชื่อว่า แอสเซมเบลอร์ (Assembler) ถอดรหัสให้เสียก่อน คอมพิวเตอร์ก็จะเข้าใจ โปรแกรมที่เขียนส่งเข้าไปให้ตอนแรก เรียกว่า โปรแกรมดิบ (Source program) และโปรแกรมที่แปลเป็นภาษาเครื่องแล้ว เรียกว่า โปรแกรมผล (Object program) ภาษาระดับสูง (High Level Language) เป็นภาษาที่ใช้ง่ายขึ้นกว่าภาษาสัญลักษณ์ โดยผู้คิดค้นภาษาได้ออกแบบคำสั่ง ไวยากรณ์ และกฏเกณฑ์ต่างๆ ออกมาให้รัดกุม และจำได้ง่าย ภาษาระดับสูงนี้ยังอาจจะแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท เช่น ประเภทที่เหมาะกับงานวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ได้แก่ ภาษา Fortran ภาษา BASIC ภาษา PASCAL ภาษา C ประเภทที่เหมาะกับงานธุรกิจได้แก่ ภาษา COBOL ภาษา RPG ประเภทที่เหมาะกับงานควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร์เอง ได้แก่ ภาษา Cโปรแกรมที่จัดทำขึ้นโดยใช้ภาษาระดับนี้ก็เช่นเดียวกับโปรแกรมภาษาสัญลักษณ์คือ จะต้องใช้ตัวแปลภาษาแปลให้เป็นโปรแกรมภาษาเครื่องก่อน คอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทำงานให้ได้ ตัวอย่างภาษาระดับสูง 1. ภาษาเบสิค (BASIC ย่อมาจาก Beginnig's All Purpose Symbolic Instruction Code) เป็นภาษาที่นิยมมากที่สุดภาษาหนึ่ง ส่วนมากใช้กับมินิและไมโครคอมพิวเตอร์ เพราะสื่อสารโต้ตอบได้ทันที (Interactive language) การเขียนค่อนข้างง่าย การแก้ไขโปรแกรมก็สะดวก ภาษานี้จะต้องใช้ตัวแปลประเภท "ตัวแปลคำสั่ง" (Interpreter) แปลให้เป็นภาษาเครื่อง การแปลนั้นจะแปลทีละคำสั่ง แล้วปฏิบัติการตามคำสั่งเลย ถ้ามีการสั่งให้ทำซ้ำ ก็จะต้องแปลใหม่ทุกครั้ง ภาษาเบสิก เป็นภาษาที่เก่าแก่และได้รับการคิดค้นขึ้นเพื่อให้ง่ายต่อการเรียนและใช้นักวิชาการคอมพิวเตอร์เองไม่ชอบภาษานี้ และกล่าวหาว่าเป็นภาษาที่มีโครงสร้างภาษาไม่ค่อยดีจึงไม่ส่งเสริมให้นำไปใช้ในการเขียนโปรแกรมอย่างจริงจัง อย่างไรก็ตามผู้ผลิตไมโครคอมพิวเตอร์เห็นไม่ตรงกัน คือคิดว่าเป็นภาษาที่ง่าย ดังนั้นจึงบรรจุตัวแปลภาษานี้เอาไว้ในหน่วยความจำรอม เพื่อให้ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ใช้ภาษานี้ได้ 2. ภาษาฟอร์แทรน (FORTRAN คำนี้ย่อมาจาก Formular Translator) เริ่มพัฒนาขึ้นใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1954 โดยบริษัท IBM ได้ว่าจ้างให้ประดิษฐ์ขึ้น เพื่อใช้ในการคำนวณทางวิทยาศาสตร์ ภาษานี้ได้มีการดัดแปลงแก้ไขมาตลอดจาก FORTRAN I จนมาเป็น FORTRAN 77 ภาษานี้เหมาะกับงานคำนวณมาก จึงเป็นที่นิยมในกลุ่มวิศวกร นักสถิติและนักวิจัย ในการคำนวณจะมีฟังก์ชันต่างๆ ไว้ให้เรียกใช้ได้เต็มที่ เช่น การหารากที่สอง การหาค่าสัมบูรณ์ เป็นต้น แต่ไม่สามารถสั่งพิมพ์ผลหรือรายงานได้ดีเหมือนภาษาโคบอล ขั้นตอนวิธี (Algorithm) ขั้นตอนวิธี คือ กระบวนวิธีการ (procedure) ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มของกฎเกณฑ์ ข้อกำหนดเฉพาะที่ไม่สับสน กำหนดถึงลำดับของวิธีการ(operations) ซึ่งให้ผลลัพธ์สำหรับปัญหาต่าง ๆ ในรูปของขั้นตอนที่มีจำนวนจำกัด โดยทั่วไป ขั้นตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทำแบบวนซ้ำ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการเปรียบเทียบ (comparison) ในขั้นตอนต่างๆ จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทำงาน ในการทำงานอย่างเดียวกัน เราอาจจะเลือกขั้นตอนวิธีที่ต่างกันเพื่อแก้ปัญหาได้ โดยที่ผลลัพธ์ที่ได้ในขั้นสุดท้ายจะออกมาเหมือนกันหรือไม่ก็ได้ และจะมีความแตกต่าง ที่จำนวนและชุดคำสั่งที่ใช้ต่างกันซึ่งส่งผลให้ เวลา (time) และขนาดหน่วยความจำ (space) ที่ต้องการต่างกัน หรือเรียกได้อีกอย่างว่ามีความซับซ้อน (complexity) ต่างกัน การนำขั้นตอนวิธีไปใช้ ไม่จำกัดเฉพาะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถใช้กับปัญหาอื่น ๆ ได้เช่น การออกแบบวงจรไฟฟ้า, การทำงานเครื่องจักรกล, หรือแม้กระทั่งปัญหาในธรรมชาติ เช่น วิธีของสมองมนุษย์ในการคิดเลข หรือวิธีการขนอาหารของแมลง คุณสมบัติของขั้นตอนวิธี 1. ขั้นตอนวิธีเป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นมาจากกลุ่มของกฎเกณฑ์ อาจอยู่ในรูปแบบประโยคภาษาอังกฤษ สัญลักษณ์หรือคำสั่งจำลอง 2. กฎเกณฑ์ที่สร้างขั้นตอนวิธีจะต้องไม่คลุมเครือ(definiteness) 3. การประมวลผล operations ที่กำหนดโดยกฎเกณฑ์จะต้องเป็นลำดับที่แน่นอน(effectiveness) 4. กระบวนวิธีการต้องให้ผลลัพธ์ตามที่กำหนดในปัญหา โดยออกแบบให้อยู่ในรูปแบบทั่วไป (generality) 5. ขั้นตอนวิธีต้องอยู่ในรูปของขั้นตอนวิธีการที่มีการสิ้นสุดได้(finiteness) ขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1. เข้าใจปัญหา 2. วางแผนลำดับขั้นตอนการแก้ปัญหา 3. เขียนโปรแกรม 4. แปลงโปรแกรมเป็นภาษาเครื่อง 5. ทดสอบโปรแกรม 6. นำโปรแกรมไปใช้ ผังงาน (Flowchart) ผังงาน เป็นขั้นตอนวิธีที่เขียนโดยใช้รูปสัญลักษณ์ มีเส้นเชื่อมและหัวลูกศรบอกขั้นตอนการทำงาน การเขียนขั้นตอนวิธีด้วยวิธีนี้เป็นที่นิยมมากกว่าแบบอื่น ๆ เนื่องจากมีเส้นลากโยงใยทำให้เห็นขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน มีลูกศรกำกับทิศทางการทำงานช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น และสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ง่าย มักใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่า ผังงานมี 2 ชนิด คือ 1. ผังงานระบบ (System Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงขั้นตอนการทำงานในระบบอย่างกว้าง ๆ แต่ไม่เจาะลงในระบบงานย่อย 2. ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) คือ ผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนในการทำงานของโปรแกรม ตั้งแต่รับข้อมูล คำนวณ จนถึงแสดงผลลัพธ์ สัญลักษณ์ของผังงาน โปรแกรมโครงสร้าง ประกอบด้วยหลักการ 3 ประการ 1. การทำงานแบบตามลำดับ(Sequence) รูปแบบการเขียนโปรแกรมที่ง่ายที่สุดคือ เขียนให้ทำงานจากบนลงล่าง เขียนคำสั่งเป็นบรรทัด และทำทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทำงาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คำนวณ และพิมพ์ 2. การเลือกกระทำตามเงื่อนไข(Decision or Selection) การตัดสินใจ หรือเลือกเงื่อนไขคือ เขียนโปรแกรมเพื่อนำค่าไปเลือกกระทำ โดยปกติจะมีเหตุการณ์ให้ทำ 2 กระบวนการ คือเงื่อนไขเป็นจริงจะกระทำกระบวนการหนึ่ง และเป็นเท็จจะกระทำอีกกระบวนการหนึ่ง แต่ถ้าซับซ้อนมากขึ้น จะต้องใช้เงื่อนไขหลายชั้น เช่นการตัดเกรดนักศึกษา เป็นต้น ตัวอย่างผังงานนี้ จะแสดงผลการเลือกอย่างง่าย เพื่อกระทำกระบวนการเพียงกระบวนการเดียว 3. การทำซ้ำ(Repeation or Loop) การทำกระบวนการหนึ่งหลายครั้ง โดยมีเงื่อนไขในการควบคุม หมายถึงการทำซ้ำเป็นหลักการที่ทำความเข้าใจได้ยากกว่า 2 รูปแบบแรก เพราะการเขียนโปรแกรมแต่ละภาษา จะไม่แสดงภาพอย่างชัดเจนเหมือนการเขียนผังงาน ผู้เขียนโปรแกรมต้องจินตนาการด้วยตนเอง ประโยชน์ของผังงาน 1. ทำให้เข้าใจ และแยกแยะปัญหาได้ง่าย (Problem Define) 2. แสดงลำดับการทำงาน (Step Flowing) 3. หาข้อผิดพลาดได้ง่าย (Easy to Debug) 4. ทำความเข้าใจโปรแกรมได้ง่าย (Easy to Read) 5. ไม่ขึ้นกับภาษาใดภาษาหนึ่ง (Flexible Language รหัสเทียม (Pseudo code) รหัสเทียม (Pseudo code) คือ การเขียนโปรแกรมในรูปแบบภาษาอังกฤษที่มีขั้นตอนและรูปแบบแน่นอนกะทัดรัด และมองดูคล้ายภาษาระดับสูงที่ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ซึ่งไม่เจาะจงภาษาใดภาษาหนึ่ง การเขียนรหัสเทียมไม่มีกฎที่แน่นอนตายตัว แต่ก็มีลักษณะคล้ายกับภาษาคอมพิวเตอร์ เกณฑ์ในการเขียนรหัสเทียม 1. ประโยคคำสั่ง เขียนเป็นภาษาอังกฤษอย่างง่าย 2. ประโยคคำสั่งหนึ่ง ๆ จะเขียนต่อหนึ่งบรรทัดเท่านั้น 3. คำหลัก (key word) และการเขียนย่อหน้าใช้เพื่อแยกโครงสร้างควบคุม 4. คำสั่งถูกเขียนจากบนลงล่างโดยมีทางเข้า-ออก เพียงทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคำสั่งอาจถูกจัดอยู่ในรูปส่วนจำเพาะ(Module) และแต่ละกลุ่มต้องมีชื่อเรียก การเขียนรหัสเทียม การปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 6 แบบดังนี้ 1. การกำหนดค่าให้กับตัวเก็บข้อมูล 1.1 กำหนดค่าเริ่มต้น คำที่ใช้ Initialize หรือ Set เช่น Set AA = 500 1.2 กำหนดค่าที่เกิดจากการประมวลผลไว้ที่ตัวเก็บจะใช้เครื่องหมาย = เช่นA =500 + 1หรือ BB =100 หรือ C = AA 2. การรับข้อมูล คำที่ใช้ Read หรือ Get เช่น Read AA 3. การแสดงข้อมูลออก คำที่ใช้ Print ,Write , Put , Display , Output เช่น Print “Hello Owen” หรือ Print AA 4. การปฏิบัติการทางคณิตศาสตร์ + , - , * , ( ) เช่น C = (F-32) * 5/9 5. การเปรียบเทียบและทำการเลือก คำที่ใช้ IF, THEN, ELSE 6. คอมพิวเตอร์สามารถปฏิบัติการซ้ำ คำที่ใช้คือ DOWHILE และ END DO ปาสคาล (Pascal) ภาษาปาสคาล จัดเป็นภาษาระดับสูง สำหรับคอมพิวเตอร์ เนื่องจากมีรูปแบบคำสั่งที่เหมือนกับภาษาของมนุษย์ (ภาษาอังกฤษ) มีลำดับขั้นตอนที่ชัดเจน จึงจัดได้ว่าเป็นภาษาเชิงโครงสร้าง (Structure language) ดังนั้นเมื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาปาสคาลแล้วจึงจำเป็นที่จะต้องมี ตัวแปลคำสั่ง เพื่อแปลภาษามนุษย์ให้เป็นภาษาที่คอมพิวเตอร์เข้าใจได้ ตัวแปลคำสั่ง แบ่งได้ 2 ประเภทคือ 1. คอมไพเลอร์ (compiler) เป็นตัวแปลภาษาที่ทำการแปล ภาษามนุษย์ไปเป็นภาษาเครื่อง โดยจะทำการแปลคำสั่งทีเดียวหมดทุกคำสั่ง หากมีข้อผิดพลาด(error) ก็จะทำการแจ้งไว้พร้อมกันในตอนสุดท้าย การแปลแบบนี้ทำให้คอมไพเลอร์ มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด (ชุดคำสั่งที่รอการประมวลผล) และหากออบเจคโค้ด นั้นไม่มีข้อผิดพลาดแล้ว ก็สามารถนำไปประมวลผล(execute) หรือ รัน(run) ได้ทันที 2. อินเทอร์พรีเตอร์ (interpreter) เป็นตัวแปลภาษาโดยมีลักษณะการแปลภาษา จากบนลงล่าง ทีละคำสั่ง เมื่อเจอข้อผิดพลาดก็จะหยุดการแปลและแจ้ง ข้อผิดพลาด(error) ออกมาทันที ดังนั้นการแปลภาษาด้วย อินเทอร์พรีเตอร์ นี้ จึงไม่มีการจัดเก็บ ออบเจคโค้ด และทำงานได้ค่อนข้างรวดเร็วกว่า คอมไพเลอร์ โครงสร้างของภาษาปาสคาล ประกอบด้วย 3 ส่วนดังต่อไปนี้ 1. ส่วนหัวโปรแกรม (Program Header) ใช้สําหรับกําหนดชื่อโปรแกรม โดยจะต้องเริ่มต้นด้วยคำว่า PROGRAM และตามด้วย ชื่อโปรแกรม ปิดท้ายด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) เช่น เป็นการบอกว่าโปรแกรมนี้ชื่อ Test ส่วนเครื่องหมาย ; ใช้สําหรับจบคําสั่ง 2. ส่วนประกาศ (Declaration) อยู่ถัดจากส่วนหัวโปรแกรม บางครั้งอาจไม่มีก็ได้ หน้าที่ของส่วนนี้เช่น - กําหนดประเภทของข้อมูลโดยใช้ Type - กําหนดตัวแปรโดยใช้ VAR ชนิดของตัวแปร 1. จำนวนเต็ม เช่น -1, 0, 1 คือ integer 2. ตัวอักขระ เช่น a, b คือ char 3. ตัวอักษร เช่น weekday คือ string 4. จำนวนจริง เช่น 1.414 คือ real - กําหนดค่าคงที่โดยใช้ CONST - กําหนดโปรแกรมย่อยหรือโพรซีเยอร์ Procedure - กําหนดฟังก์ชั่น Function 3. ส่วนโปรแกรมหลัก (Program Body) ส่วนนี้ทุกโปรแกรมจะต้องมีประกอบด้วยประโยคคําสั่งต่าง ๆ ที่จะให้โปรแกรมทํางาน โดยนําคําสั่งต่างๆ มาต่อเรียงกัน แต่ละประโยคคําสั่งจะจบด้วยเครื่องหมายเซมิโคลอน ( ; ) โดยโปรแกรมหลักนี้จะเริ่มต้นด้วย BEGIN และจบด้วย END ตามด้วยเครื่องหมายจุด ‘ . ’

วันเสาร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2558

มรรควิธีที่ง่ายศึกษาคำพระศาสดา แต่อย่ายึดติดกับตัวบุคคลกันนะครับ เดี๋ยวจะหลงทางเอาได้ พ่อแม่ครูอาจารย์ที่ท่านปฎิบัติด้วยตัวท่านเองเป็นพระอริยสงฆ์สั่งสอนเราก็ควรฟังบ้าง

อย่าประมาทกิเลสเล็กๆน้อยๆ ผิดศีลได้เริ่มจากกิเลสเล็กน้อยนี่เองกิเลสที่เราต้องข้ามให้ได้ เค้าเรียกว่าโอฆะ จะเรียกอาสวะก็ได้ มีอยู่ ๔ ตัว โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ หมายถึงกิเลสที่เหมือนเราหล่นลงไปแล้วจมน้ำตายอยู่ในนั้นเลย พาให้เราจมตายอยู่ในสังสารวัฏ เวียนตายเวียนเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกนั่นเอง อาสวะเป็นกิเลสที่ยั่วย้อมใจทำให้กิเลสอย่างอื่นเข้ามาครอบงำจิตใจได้ องค์ธรรมของโอฆะหรือองค์ธรรมของอาสวะเป็นอันเดียวกัน คือมีกาม มีทิฏฐิ มีภพ มีอวิชชา มี ๔ อย่างนี้ มันเหมือนทะเลใหญ่ ๔ ทะเล เราจะต้องข้ามให้ได้ถ้าจะข้ามสังสารวัฏนะ ข้ามห้วงมหรรณพอันใหญ่ ในทะเลใหญ่นี้มีทะเลย่อยๆอยู่ ๔ อัน ต้องข้ามให้ได้ แต่ละอันข้ามยากมากเลย ทะเลอันที่ ๑ ชื่อว่าทิฏฐิ โอฆะอันที่ ๑ ชื่อ ทิฏฐิ ทิฏฐิคือความเห็นผิด เช่น เราเห็นผิดว่าตัวเรามีอยู่จริงๆ พอร่างกายนี้ตายไป จิตใจที่ไปเกิดใหม่ ยังเป็นจิตใจคนเก่าอยู่ จิตใจดวงเดิมไปเกิดใหม่ อันนี้เป็นมิจฉาทิฏฐินะ ชื่อสัสสตทิฏฐิ แท้จริงจิตไม่ได้ไปเกิดใหม่ จิตเกิดขึ้นตรงนี้ก็ดับตรงนี้ เกิดตรงตาก็ดับที่ตา เกิดที่หูก็ดับที่หู เกิดที่ใจก็ดับที่ใจนั่นเอง จิตเกิดดับอยู่อย่างนี้ตลอด เหมือนเวลาที่เราตาย จิตดวงสุดท้ายในชีวิตนี้เรียกว่าจุติจิตดับลงไปปั๊บ มันเกิดจิตดวงใหม่ในชีวิตใหม่ เรียกว่า ปฏิสนธิจิต มันเกิดสืบเนื่องไปเรื่อยๆ มันไม่ใข่จิตดวงเก่า ไม่ใช่ตัวนี้ถอดออกจากร่างนะ ส่วนใหญ่ชอบคิดว่า วิญญาณเราออกจากร่างไปหาที่เกิดใหม่ อันนั้นเป็นมิจฉาทิฏฐิ ถ้าเราหัดภาวนาก็จะเห็นว่าจิตเกิดดับตลอดเวลา ไม่มีหรอกจิตที่อยู่นานๆ ถึงขนาดถอดออกจากร่างไปเกิดใหม่ได้ ไม่มี มิจฉาทิฏฐิอีกอย่างนึงคือคิดว่าถ้าตายแล้วสูญไปเลย พวกนี้เชื่อทางวัตถุ คิดว่าตายแล้วสูญไปเลย มองไม่เห็นความสืบต่อของจิต ถ้าเราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิพวกนี้ได้ต้องมาดูที่กายที่ใจของเรา จนเห็นความจริงของกายของใจนี้ จึงจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ ข้ามความเห็นผิดได้ มิจฉาทิฏฐิมีเยอะนะ เช่น ไม่เชื่อเรื่องกรรมกับผลของกรรม ไม่เชื่อเรื่องการกระทำกับผลของการกระทำ ไม่เชื่อเรื่อง action กับ reaction พวกหนึ่งก็เชื่อว่าสัตว์มีเฉพาะที่เรามองเห็น เทวดา สัตว์นรก เปรต อสุรกาย พวกนี้ไม่มี เพราะตัวเองไม่เห็นก็ว่ามันไม่มี พวกนี้เป็นมิจฉาทิฏฐิทั้งนั้นเลย มันไม่เชื่อในปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านะ มันเป็นพวกมิจฉาทิฏฐิ ทีนี้เราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเจ้า อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้ ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดาบันเท่านั้น จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

อย่าประมาทกิเลสเล็กๆน้อยๆ ผิดศีลได้เริ่มจากกิเลสเล็กน้อยนี่เองกิเลสที่เราต้องข้ามให้ได้ เค้าเรียกว่าโอฆะ จะเรียกอาสวะก็ได้ มีอยู่ ๔ ตัว โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ หมายถึงกิเลสที่เหมือนเราหล่นลงไปแล้วจมน้ำตายอยู่ในนั้นเลย พาให้เราจมตายอยู่ในสังสารวัฏ เวียนตายเวียนเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกนั่นเอง อาสวะเป็นกิเลสที่ยั่วย้อมใจทำให้กิเลสอย่างอื่นเข้ามาครอบงำจิตใจได้ องค์ธรรมของโอฆะหรือองค์ธรรมของอาสวะเป็นอันเดียวกัน คือมีกาม มีทิฏฐิ มีภพ มีอวิชชา มี ๔ อย่างนี้ มันเหมือนทะเลใหญ่ ๔ ทะเล เราจะต้องข้ามให้ได้ถ้าจะข้ามสังสารวัฏนะ ข้ามห้วงมหรรณพอันใหญ่ ในทะเลใหญ่นี้มีทะเลย่อยๆอยู่ ๔ อัน ต้องข้ามให้ได้ แต่ละอันข้ามยากมากเลย ทะเลอันที่ ๑ ชื่อว่าทิฏฐิ โอฆะอันที่ ๑ ชื่อ ทิฏฐิ ทิฏฐิคือความเห็นผิด เช่น เราเห็นผิดว่าตัวเรามีอยู่จริงๆ พอร่างกายนี้ตายไป จิตใจที่ไปเกิดใหม่ ยังเป็นจิตใจคนเก่าอยู่ จิตใจดวงเดิมไปเกิดใหม่ อันนี้เป็นมิจฉาทิฏฐินะ ชื่อสัสสตทิฏฐิ แท้จริงจิตไม่ได้ไปเกิดใหม่ จิตเกิดขึ้นตรงนี้ก็ดับตรงนี้ เกิดตรงตาก็ดับที่ตา เกิดที่หูก็ดับที่หู เกิดที่ใจก็ดับที่ใจนั่นเอง จิตเกิดดับอยู่อย่างนี้ตลอด เหมือนเวลาที่เราตาย จิตดวงสุดท้ายในชีวิตนี้เรียกว่าจุติจิตดับลงไปปั๊บ มันเกิดจิตดวงใหม่ในชีวิตใหม่ เรียกว่า ปฏิสนธิจิต มันเกิดสืบเนื่องไปเรื่อยๆ มันไม่ใข่จิตดวงเก่า ไม่ใช่ตัวนี้ถอดออกจากร่างนะ ส่วนใหญ่ชอบคิดว่า วิญญาณเราออกจากร่างไปหาที่เกิดใหม่ อันนั้นเป็นมิจฉาทิฏฐิ ถ้าเราหัดภาวนาก็จะเห็นว่าจิตเกิดดับตลอดเวลา ไม่มีหรอกจิตที่อยู่นานๆ ถึงขนาดถอดออกจากร่างไปเกิดใหม่ได้ ไม่มี มิจฉาทิฏฐิอีกอย่างนึงคือคิดว่าถ้าตายแล้วสูญไปเลย พวกนี้เชื่อทางวัตถุ คิดว่าตายแล้วสูญไปเลย มองไม่เห็นความสืบต่อของจิต ถ้าเราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิพวกนี้ได้ต้องมาดูที่กายที่ใจของเรา จนเห็นความจริงของกายของใจนี้ จึงจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ ข้ามความเห็นผิดได้ มิจฉาทิฏฐิมีเยอะนะ เช่น ไม่เชื่อเรื่องกรรมกับผลของกรรม ไม่เชื่อเรื่องการกระทำกับผลของการกระทำ ไม่เชื่อเรื่อง action กับ reaction พวกหนึ่งก็เชื่อว่าสัตว์มีเฉพาะที่เรามองเห็น เทวดา สัตว์นรก เปรต อสุรกาย พวกนี้ไม่มี เพราะตัวเองไม่เห็นก็ว่ามันไม่มี พวกนี้เป็นมิจฉาทิฏฐิทั้งนั้นเลย มันไม่เชื่อในปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านะ มันเป็นพวกมิจฉาทิฏฐิ ทีนี้เราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเจ้า อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้ ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดาบันเท่านั้น จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ

คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์.พระพุทธเจ้าสอนนะ ขันธ์ห้าเป็นทุกข์นะ ท่านไม่ได้สอนว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์บ้างสุขบ้าง เราเห็นยังไม่ถึงที่ท่านบอก ต้องอดทน ฟังแล้วฟังอีก ฟังแล้วก็ดูไปเรื่อย ฟังแล้วก็มาสังเกตกาย สังเกตใจไปเรื่อย ทุกวันๆ เราก็จะเขยิบใกล้ความจริงเข้าไปเรื่อยๆ ถึงจุดสุดท้าย เข้าถึงความจริงแท้ เข้าถึงอริยสัจจ์นั่นเอง รู้ขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ พอรู้ว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ ใจจะวาง ไม่ยึดถือ พอไม่ยึดถือขันธ์ห้าว่าเป็นตัวเราของเราแล้วเนี่ย ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้เป็นสุข ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้พ้นทุกข์ มันจะดับไปโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้นรู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไร สมุทัยจะถูกละโดยอัตโนมัติ พอทันทีที่สมุทัยถูกละ นิโรธคือนิพพานจะปรากฏต่อหน้าต่อตาเรานี่เอง นิพพานไม่ได้อยู่ไกลๆนะ นิพพานไม่ใช่อยู่ไกลๆ นิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตานี่เอง วันใดที่ใจเราสิ้นตัณหาอย่างแท้จริง เพราะมีปัญญารู้ทุกข์อย่างแท้จริง วางกายวางใจได้ รู้ทุกข์แล้ววางกายวางใจได้ ตัณหาจะสิ้นไป นิพพานจะปรากฏต่อหน้า ใจที่มันไม่ดิ้นมันจะเห็นธรรมะที่ไม่ดิ้น ใจที่มันไม่อยากมันก็เห็นธรรมะที่ไม่อยาก เห็นนิพพานนั่นเอง มันจะมีแต่ความสุขล้วนๆ เลยถึงตรงจุดนี้ เพราะอะไรถึงมีความสุขล้วนๆ เพราะมันพ้นจากขันธ์แล้ว จิตมันพรากออกจากขันธ์นะ ขันธ์อยู่ส่วนขันธ์ จิตอยู่ส่วนจิต ไม่กระทบกันเลย โดยที่ไม่ต้องระวังรักษาอีกต่อไปแล้ว งั้นเมื่อมันพ้นขันธ์ได้ก็คือมันพ้นทุกข์นั่นเอง พระพุทธเจ้าสอนว่าขันธ์ห้าคือทุกข์ เมื่อไรมันพ้นขันธ์ก็คือพ้นทุกข์ ตัณหาก็ไม่มีนะ จิตใจมีแต่สันติสุข คำว่า “สันติ” ก็เป็นชื่อของนิพพาน จิตใจที่เข้าถึงนิพพาน มีความสุขจนไม่รู้จะเทียบกับอะไร ความสุขอย่างโลก ๆ ความสุขเหมือนกับเด็กเล่นฝุ่นเล่นทรายเท่านั้นเอง ค่อยเรียนนะ ค่อยเรียน อดทนในการเรียน

ผู้สละโลก ปลดแอก.พระพุทธเจ้าสอนนะ ขันธ์ห้าเป็นทุกข์นะ ท่านไม่ได้สอนว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์บ้างสุขบ้าง เราเห็นยังไม่ถึงที่ท่านบอก ต้องอดทน ฟังแล้วฟังอีก ฟังแล้วก็ดูไปเรื่อย ฟังแล้วก็มาสังเกตกาย สังเกตใจไปเรื่อย ทุกวันๆ เราก็จะเขยิบใกล้ความจริงเข้าไปเรื่อยๆ ถึงจุดสุดท้าย เข้าถึงความจริงแท้ เข้าถึงอริยสัจจ์นั่นเอง รู้ขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ พอรู้ว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ ใจจะวาง ไม่ยึดถือ พอไม่ยึดถือขันธ์ห้าว่าเป็นตัวเราของเราแล้วเนี่ย ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้เป็นสุข ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้พ้นทุกข์ มันจะดับไปโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้นรู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไร สมุทัยจะถูกละโดยอัตโนมัติ พอทันทีที่สมุทัยถูกละ นิโรธคือนิพพานจะปรากฏต่อหน้าต่อตาเรานี่เอง นิพพานไม่ได้อยู่ไกลๆนะ นิพพานไม่ใช่อยู่ไกลๆ นิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตานี่เอง วันใดที่ใจเราสิ้นตัณหาอย่างแท้จริง เพราะมีปัญญารู้ทุกข์อย่างแท้จริง วางกายวางใจได้ รู้ทุกข์แล้ววางกายวางใจได้ ตัณหาจะสิ้นไป นิพพานจะปรากฏต่อหน้า ใจที่มันไม่ดิ้นมันจะเห็นธรรมะที่ไม่ดิ้น ใจที่มันไม่อยากมันก็เห็นธรรมะที่ไม่อยาก เห็นนิพพานนั่นเอง มันจะมีแต่ความสุขล้วนๆ เลยถึงตรงจุดนี้ เพราะอะไรถึงมีความสุขล้วนๆ เพราะมันพ้นจากขันธ์แล้ว จิตมันพรากออกจากขันธ์นะ ขันธ์อยู่ส่วนขันธ์ จิตอยู่ส่วนจิต ไม่กระทบกันเลย โดยที่ไม่ต้องระวังรักษาอีกต่อไปแล้ว งั้นเมื่อมันพ้นขันธ์ได้ก็คือมันพ้นทุกข์นั่นเอง พระพุทธเจ้าสอนว่าขันธ์ห้าคือทุกข์ เมื่อไรมันพ้นขันธ์ก็คือพ้นทุกข์ ตัณหาก็ไม่มีนะ จิตใจมีแต่สันติสุข คำว่า “สันติ” ก็เป็นชื่อของนิพพาน จิตใจที่เข้าถึงนิพพาน มีความสุขจนไม่รู้จะเทียบกับอะไร ความสุขอย่างโลก ๆ ความสุขเหมือนกับเด็กเล่นฝุ่นเล่นทรายเท่านั้นเอง ค่อยเรียนนะ ค่อยเรียน อดทนในการเรียน

ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลก..ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยัง ไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

พระโพธิสัตว์ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ..ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขย แสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระอง­ค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำน­าจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้า­ไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว

วันศุกร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2558

พระอรหันต์เหล่าใดในโลกเราบวชอุทิศพระอรหันต์เหล่านั้นก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็น ธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะ เรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ความสำคัญ ตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็น- *สัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็น สัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่ ดูกรภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนี ผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร ข้อที่เรากล่าว ดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลส เครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและ กิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยเนื้อความดังนี้ กล่าวแล้ว ดูกรภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ ของเราไว้เถิด

วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2558

คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘..พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้ มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตน และกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่างนี้ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว . ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั้นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ จักษุ โสต ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส. นั่น เราอาศัยอายตนะนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึก ของใจ ๑๘ นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้วย่อม หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว . . . ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว. . . ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว. . . รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีสัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ ความสงบ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั้น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา. ดูก่อนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ดูก่อนภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่แข่นแข็ง กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื้อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่าหรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่แข่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตนนี้เรียกว่าปฐวีธาตุภายใน. ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่าย ปฐวีธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดปฐวีธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน. คืออาโปธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไปกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่เอิบอาบซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน. ก็อาโปธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอาโปธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน. คือ เตโชธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อนกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่มที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อนกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน. ก็เตโชธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรานั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน. คือ วาโยธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้าหรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน. ก็วาโยธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น . พึงเห็นวาโยธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่าง นี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม. เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบายของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าอากาสธาตุภายใน. ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั้นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้. ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไร ๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้างไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. ดูก่อนภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง แห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่ากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้น แลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็น ที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะไม้สองท่อนนั้น เองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉัน ใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง แห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่ากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อัน บริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อน ควรแก่การงานและผ่องแผ้ว. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือ ของนายช่างทองผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดูไปเป็นระยะ ๆ ทองนั้น จะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อนสลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใด ๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหูเครื่องประดับคอ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อน ควรแก่การงาน และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌานและเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะ เป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน. บุคคลนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญ จิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ. บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. เพราะเหตุนั้นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งด้วยประการนี้. ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ ทั้งปวงเป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะเป็นคุณไม่กำเริบ. ดูก่อนภิกษุ เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั่นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไป อุปธิเหล่านั้นเป็นอันเขาละได้แล้วถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั้น แลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้น ๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็น ธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็นอุปสนะอันประเสริฐอย่างยิ่ง. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น. นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญคนมีอยู่ดังนี้ ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญาก็มิใช่มีสัญญาก็มิใช่. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวผี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อมไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ. ไม่ทะเยอทะยาน. แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิดเมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื้อไม่แก่ จักตายได้อย่าง ไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบจักทะเยอทะยานได้อย่างไร. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่นเราอาศัยเนื้อความกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ของเราไว้เถิด. ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้อง ข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืน ตามธรรม เราขอรับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูก่อนภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้นั้น เป็นความเจริญในอริยวินัย. ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสนบทในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ. ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า. พ. ดูก่อนภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยัง ไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย. ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้ากระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร. ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรจีวรอยู่. ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังที่ประทับแล้ว ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตร ชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอนด้วย พระโอวาทย่อ ๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติอย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร. พ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วนเบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็นธรรมดา. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ต่างชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถายะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

ปัพพะโตปะมะคาถา อนุโมทนาคาถา..ยะถาปิ เสลา วิปุลา ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน นะภัง อาหัจจะ ปัพพะตา อันไพบูล สูดจดฟ้า สะมันตา อะนุปะริเยยยุง กลิ้งบดสัตว์มาทั้ง ๔ ทิศ นิปโปเถนตา จะตุททิสา แม้ฉันใด เอวัง ชะรา จะ มัจจุ จะ ความแก่ และ ความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ อะธิวัตตันติ ปาณิโณ ทั้งหลาย ฉันนั้น ขัตติเย พฺราหฺมเณ เวสเส เป็นกษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม สุทเท จัณพาละปุกกุเส เป็นพลเมืองก็ตามเป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม นะ กิญจิ ปะริวัชเชติ เป็นกุลีเทหยากเยื่อก็ตามมิได้เว้นสิ่งไรๆ ไว้ สัพพะเมวาภิมัททะติ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงทีเดียว นะ ตุตถะ หัตถีนัง ภูมิ ภูมิแห่งช้างทั้งหลายย่อมไม่มีย่อมไม่มีในชราและมรณะนั้น นะ ระถานัง นะ ปัตติยา ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี นะ จาปิ มันตะยุทเธนะ อนึ่ง อันใคร ๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะนั้น สักกะ เชตุง ธะเนนะ วา ด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนตร์หรือด้วยทรัพย์ ตัสมา หิ ปัณฑิโต โปโส เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต สัมปัสสัง อัตถะมัตตะโน เมื่อเห็นประโยชน์ของตน พุทเธ ธัมเม จะ สังเฆ จะ ผู้มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม ธีโร สัทธัง นิเวสะเย และพระสงฆ์ โย ธัมมะจารี กาเยนะ ผู้ใดเป็นผู้ประพฤติธรรมด้วยกาย วาจายะ อุทะ เจตะสา ด้วยวาจา หรือด้วยใจ อิเธวะ นัง ปะสังสันติ บัณพิตทั้งหลาย ย่อมสรรเสริญผู้นั้น ในโลกนี้ทีเดียว เปจจะ สัคเค ปะโมทะตี. ผู้นั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์·

วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

เจดีย์พุทธสถานอินเดียพม่าไทยลาวกัมพูชาเวียดนามอุกาสะ วันทามิ ภันเต เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ดังข้าพเจ้าขอถือโอกาส ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระเจดีย์ทั้งหมดอันตั้งไว้ดีแล้วในที่ทั้งปวง พุทธะสารีรังคะธาตุง มะหาโพธิง พุทธะรูปัง คันธะกุฏิง จะตุราสีติสะหัสเส ธัมมักขันเธ คือซึ่งพระสารีรังคะธาตุของพระพุทธเจ้า ซึ่งต้นพระศรีมหาโพธิ์ ซึ่งพระพุทธรูป ซึ่งพระคันธุกุฏิของพระพุทธเจ้า และซึ่งพระธรรมขันธ์ทั้งหลาย มีแปดหมื่นสี่พันพระธรรมขันธ์ สัพเพตัง ปาทะเจติยัง สักการัตถัง เพื่อสักการะซึ่งพระเจดีย์ คือรอยพระบาทเหล่านั้นทั้งหมดทั้งสิ้น อะหังวันทามิธาตุโย ข้าพเจ้าขอไหว้พระธาตุทั้งหลาย อะหังวันทามิสัพพะโส ข้าพเจ้าขอไหว้โดยประการทั้งปวง อิจเจตัง ระตะนัตตะยัง อะหัง วันทามิ สัพพะทา ข้าพเจ้าขอไหว้ซึ่งพระรัตนตรัยเหล่านั้นในกาลทุกเมื่อ ด้วยอาการดังนี้แลฯ

ทางลัดตัดตรงสู่ความพ้นทุกข์ถ้าเห็นอย่างมีวิชา ก็จะเห็นว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง เห็นยากนะ ถ้าสติ สมาธิ ปัญญา ไม่แก่กล้าพอ มันไม่เห็นขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ โดยเฉพาะจิตเนี่ย จิตผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้สงบ สะอาด สว่าง แหมฟังแล้วดีทั้งนั้นเลย ใช่มั้ย จะให้เห็นว่าเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ง่ายนะ ปฎิบัติกันปางตายเลยล่ะ เหมือนเอาชีวิตเข้าแลกเลยนะ ถึงจะเห็น เพราะฉะนั้นทะเลตัวนี้ ทะเลอวิชา เป็นทะเลที่เรียบๆนะ แต่ยากสุดๆเลย ยากมากเลย จับต้นจับปลายไม่ถูก นะ มีแต่เรียนรู้นะ มาตามลำดับๆ รู้กาย รู้ใจมาตามลำดับ พอรู้กายถูกต้องแจ่มแจ้งได้พระอนาคาฯ จิตใจก็จะสบายขึ้นเยอะเลย จะไม่แส่ส่ายไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย จะเหลือแต่ความสงบสุขอยู่ภายใน เพลิดเพลินอยู่กับความสงบสุขภายในจิตในใจของเราเอง นี่เอง ต่อมาสติปัญญาแก่รอบลงมาอีก เห็นเลย ตัวจิตตัวใจที่ว่าสุขว่าสงบเนี่ย เอาเข้าจริงก็เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ ตัวนี้ไม่รู้ว่าจะพูดภาษามนุษย์ยังไงนะ ฟังเอาไว้ก็แล้วกัน มันเห็นเป็นทุกข์ล้วนๆเมื่อไหร่นะ มันจะทิ้งแล้ว จะวาง แต่ถ้ายังเห็นทุกข์บ้างสุขบ้าง มันไม่วางหรอก มันทุกข์ล้วนๆ โอ้ ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ ตัณหาจะดับทันทีเลย เมื่อมันเป็นทุกข์ล้วนๆแล้วจะอยากให้มันสุขได้อย่างไร นะ ของเรามีตัณหาขึ้นมาเพราะอยากให้ขันธ์ ๕ มีความสุข รู้สึกมั้ย อยากให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ แต่วันหนึ่งเรียนจนกระทั่งรู้ชัดเลย ขันธ์ ๕ นี่ทุกข์ล้วนๆน่ะ ไม่มีทางอยากให้มันมีความสุข ไม่มีทางอยากให้มันพ้นทุกข์อีกต่อไปแล้ว มันไม่สมหวัง มันทุกข์ล้วนๆ เนี่ย ใจเข้าถึงตรงนี้ ใจยอมรับตรงนี้จริงๆแล้วจะสลัดคืนเลย จะหมดตัณหาแล้วก็สลัดคืนความยึดถือกายความยึดถือใจให้โลก คืนเจ้าของเดิมนั้นเอง จิตใจก็จะเข้าถึงความสงบ สันติ ที่แท้จริง คือ นิโรธ หรือ นิพพาน บางทีก็มีหลายชื่อนะ อุปสมะ ก็ได้

ซ่อมบอร์ดควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมบริการซ่อม AC Drive DC Drive Servo motor 3 Phase Motor Speed Control inverter servo Amplifier เฉพาะแผงวงจร อย่างเดียวครับ ไม่มีบริการนอกสถานที่ ทดสอบด้วย simulator รับ-ส่ง ทาง ไปรษณีย์ sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com 02-951-1356 081-803-6553 line id pornpimon 1411 จำหน่าย Power Module สำหรับ ซ่อม สร้าง เครื่อง ปรับรอบมอเตอร์ สามเฟส หนึ่งแรงมัา โดยใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวและรับ ซ่อม แผงวงจร เครื่องทอผ้า ติดต่อที่ 02-951-1356 081-803-6553

วันจันทร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2558

สิ่งมีค่าสูงสุดทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยในชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้วเมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายในปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มีความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไปแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้วเหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่งแห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้วจากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้วไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศกในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้นสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลกนี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่งทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดังที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้

กายนครสู่อมตมหานคร จะกล่าวถึงหลวงพยาธิและขุนโรคา ครั้นเห็นท้าวจิตราชล่องนาวาธรรม ทิ้งพระนคร มิมีท่าทีต่อกร จึงชวนหลวงชราไปเข้าเฝ้าพระยามัจจุราชราชา กราบทูลความ “ขอเดชะ เหล่าข้าพระพุทธเจ้า ได้ช่วยกันโจมตีกายนครได้แล้ว จิตราชราชาเสด็จล่องนาวาธรรมหลีกลี้หนีพระองค์ไปสู่ อมตมหานคร พระองค์รีบเสด็จตามไปเถิด พระเจ้าข้า” พระยามัจจุราชกษัตริย์ได้สดับคำกราบทูลของเหล่าทแกล้วมรณานครดังนั้น จึงระสั่งระดมพลครั้งสุดท้าย ยกออกติดตามท้าวจิตราชทันที ครั้งถึงฝั่งมหานที ทัพของมัจจุราชบรมกษัตริย์ก็มิอาจยกไปให้ทันได้เสียแล้ว พระยามัจจุราชแค้นพระทัยมาก จึงรับสั่งให้ หลวงมรณัง ทหารเอกตามไปสังหารให้จงได้ หลวงมรณังทหารเอกเมื่อได้รับพระบัญชาดังนั้น จึงรีบเหิรเวหานภาอากาศติดตามจิตตราชราชา กับเหล่ายมบาลทหารกล้าของหลวงมรณัง ครั้นทัพของหลวงมรณัง ถึงนาวาธรรมของพระยาจิตราช ก็ต่างเร่งโจมตีหวังจะจู่โจมล่มเรือของท้าวจิตราชให้ได้ แต่ก็มิสามารถ แม้แต่จะเอื้อมไปจับเสากระโดงเรือได้ จะทำอย่างไรๆ ก็ไม่อาจล่มเรือได้ บรรดาเหล่ากุศลเสนาของจิตราชราชาที่อยู่ในเรือต่างก็หัวเราะอยู่อึงมี่ ที่กองทัพของพระยามัจจุราชมิอาจสามารถทำอะไรได้ ท้าวจิตราชทรงมีพระทัยผ่องแผ้ว ทรงสำรวลร่าเริง ที่ทัพของพระยามัจจุราชไม่สามารถทำอะไรได้ จึงมีพระวาจากู่ก้องนภากาศ กังวาลไปกระทบโสตของพระยามัจจุราช ที่ฝั่งมหานที ว่า “ดูกร ท้าวมัจจุราช ท่านอย่ามาราวีเสียให้ยากเลย พระองค์ท่านแลบริวารทำอะไรเราไม่ได้ดอก เรายกเมืองให้ท่านแล้ว เชิญเอาไปตามสบายเถิด ทรัพย์สมบัติที่มีอยู่ในนั้นเรายกให้ เชิญกลับไปเถิดเราจะไม่เจอะเจอกับท่านอีกต่อไปแล้ว เชิญกลับไปเถิด” พระยามัจจุราชเห็นว่าสุดกำลังที่จะติดตามไปได้แล้ว จึงรับสั่งเรียกหลวงมรณังพร้อมกองทัพยมบาล แลกำลังพลทั้งหลายกลับตีเมืองอื่นต่อไป ท้าวจิตราชเมื่อเห็นข้าศึกกลับไปหมดแล้ว ก็แล่นนาวาต่อไป ท้องนทีธารเรียบเงียบสงัด ไม่มีคลื่น ไม่มีลม นภากาศแม้ค่ำมืดแต่ยังสว่างไปด้วยแสงธรรม ในไม่ช้านาวาธรรมก็ถึงอมตมหานคร อมตมหานคร นี้ มีศีลเป็นกำแพงเมือง มีปัญญาเป็นหอรบ อินทรีย์สังวรเป็นทวารบาล อัษฎางคิกมรรคเป็นวิถีทางในนคร โพธิปักขิยธรรม ๓๗ เป็นพระคลังหลวง ภาวนาเป็นยอดปราสาท พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ เป็นพระราชอาสน์ พระไตรลักษณ์เป็นห้องบรรทม พระวิมุตติญาณทัศนะเป็นดวงประทีป เมตตาเป็นสระโบกขรณี กรุณาเป็นสายธารา มุทิตาเป็นต้นกัลปพฤกษ์ อุเบกขาเป็นเนินทราย เมืองนี้เป็นเมืองที่อยู่ของพระอริยะ เป็นเมืองบรมสุข ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย คติธรรมประจำเมือง คือ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ – พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นตฺถิ สนฺติ ปรมํ สุขํ – สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ฯ ท้ายสุด พระเจ้าจิตราชราชาบรมกษัตริย์แห่งมหาอมตมหานคร ทรงมีพระราชสารมายังทุกท่านว่า “ณ ที่นี้ เราคอยต้องรับพวกท่านอยู่ เพียงแต่ท่านพร้อมหรือยังที่จะมาสู่อมตมหานคร” ----- อวสาน กายนครา นิฏฐิตา -----

วันอาทิตย์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2558

เมื่อปล่อยวางจิต จิตจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ถึงโคตรภูญาณ แล้วอริยมรรคก็จ...พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น

พาไปกราบพระพุทธเจ้าและนมัสการสังเวชนียสถานที่อินเดียครับ.ทางแห่งความหมดจด พระศาสดาทรงพิจารณาว่า " กัมมัฏฐานอะไรหนอแล เป็นที่ สบายของภิกษุเหล่านี้ ?" จึงทรงดำริว่า " ภิกษุเหล่านี้ ในกาลแห่ง พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสป ตามประกอบแล้วในอนิจจลักษณะสิ้น สองหมื่นปี, เพราะฉะนั้น การแสดงคาถาด้วยอนิจจลักษณะนั้นแลแก่เธอ ทั้งหลาย สัก ๑ คาถาย่อมควร ดังนี้แล้ว ตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลาย สังขาร แม้ทั้งปวงในภพทั้งหลายมีกามภพเป็นต้น เป็นสภาพไม่เที่ยงเลย เพราะ อรรถว่ามีแล้วไม่มี " ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- ๒. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปญฺาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. "เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า ' สังขาร ทั้งปวงไม่เที่ยง,' เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความ หน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความหมดจด."

วิธีเจริญวิปัสสนาด้วยอริยสัจ.ทางแห่งความหมดจด พระศาสดาทรงพิจารณาว่า " กัมมัฏฐานอะไรหนอแล เป็นที่ สบายของภิกษุเหล่านี้ ?" จึงทรงดำริว่า " ภิกษุเหล่านี้ ในกาลแห่ง พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสป ตามประกอบแล้วในอนิจจลักษณะสิ้น สองหมื่นปี, เพราะฉะนั้น การแสดงคาถาด้วยอนิจจลักษณะนั้นแลแก่เธอ ทั้งหลาย สัก ๑ คาถาย่อมควร ดังนี้แล้ว ตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลาย สังขาร แม้ทั้งปวงในภพทั้งหลายมีกามภพเป็นต้น เป็นสภาพไม่เที่ยงเลย เพราะ อรรถว่ามีแล้วไม่มี " ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- ๒. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปญฺาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. "เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า ' สังขาร ทั้งปวงไม่เที่ยง,' เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความ หน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความหมดจด."

จงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบเมืองโบราณสมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน.ทางแห่งความหมดจด พระศาสดาทรงพิจารณาว่า " กัมมัฏฐานอะไรหนอแล เป็นที่ สบายของภิกษุเหล่านี้ ?" จึงทรงดำริว่า " ภิกษุเหล่านี้ ในกาลแห่ง พระพุทธเจ้าทรงพระนามว่ากัสสป ตามประกอบแล้วในอนิจจลักษณะสิ้น สองหมื่นปี, เพราะฉะนั้น การแสดงคาถาด้วยอนิจจลักษณะนั้นแลแก่เธอ ทั้งหลาย สัก ๑ คาถาย่อมควร ดังนี้แล้ว ตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลาย สังขาร แม้ทั้งปวงในภพทั้งหลายมีกามภพเป็นต้น เป็นสภาพไม่เที่ยงเลย เพราะ อรรถว่ามีแล้วไม่มี " ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- ๒. สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ยทา ปญฺาย ปสฺสติ อถ นิพฺพินฺทติ ทุกฺเข เอส มคฺโค วิสุทฺธิยา. "เมื่อใด บัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า ' สังขาร ทั้งปวงไม่เที่ยง,' เมื่อนั้น ย่อมหน่ายในทุกข์, ความ หน่ายในทุกข์ นั่นเป็นทางแห่งความหมดจด."..

มหาสุญญตาสูตรพระโยคาวจรก็ฉันนั้นเหมือนกัน เป็นผู้ใคร่จะพ้นไปจากสังขารทั้­งปวง จึงกำหนดสังขารทั้งหลายด้วยปฏิส­ังขานุปัสสนาไป จนไม่เห็นความที่สังขารทั้งปวงเ­ป็นสิ่งที่น่าถือเอาว่าเป็นเรา เป็นของเราแล้ว เมื่อรู้อย่างนั้น เห็นอย่างนั้น จิตย่อมถอย ย่อมหดกลับ ไม่ยื่นไปในภพ ๓, กำเนิด ๔, คติ ๕, วิญญาณฐีติ ๗, สัตตาวาส ๙, มีความวางเฉยในสังขารทั้งหลาย เป็นอุเบกขา

จงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบเมืองโบราณสมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน...

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอัน­ใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันต­­ผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ

วันเสาร์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2558

จิตดูจิตจิตเห็นจิต..จิตนั้น ไม่มีตัวตนอะไรหรอก..จิตนั้น โดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิตเเต่ถึงกระนั้น..มันก็ยังไม่ใช่ ไม่ใช่จิต..ย่อมหมายถึง สิ่งบางสิ่ง ที่มีอยู่จริง.สิ่งนี้ คือ ความว่างเป็นสิ่งที่มีอยู่เเล้ว ทุกเเห่งอันสงบเงียบไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งสิ่งนี้ได้ลึกซึ้ง ..สิ่งทีอยู่ตรงหน้าเรานี้เเหละ คือ สิ่งสิ่งนั้นไม่มีอะไร..นอกไปจากนี้อีกเเล้ว.

กายนคร ผลงาน ของท่านแปลก สนธิ.รักษ์..ท้าวจิตราชเมื่อเห็นข้าศึกกลับไปหมดแล้ว ก็แล่นนาวาต่อไป ท้องนทีธารเรียบเงียบสงัด ไม่มีคลื่น ไม่มีลม นภากาศแม้ค่ำมืดแต่ยังสว่างไปด้วยแสงธรรม ในไม่ช้านาวาธรรมก็ถึงอมตมหานคร..อมตมหานคร นี้ มีศีลเป็นกำแพงเมือง มีปัญญาเป็นหอรบ อินทรีย์สังวรเป็นทวารบาล อัษฎางคิกมรรคเป็นวิถีทางในนคร โพธิปักขิยธรรม ๓๗ เป็นพระคลังหลวง ภาวนาเป็นยอดปราสาท พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ เป็นพระราชอาสน์ พระไตรลักษณ์เป็นห้องบรรทม พระวิมุตติญาณทัศนะเป็นดวงประทีป เมตตาเป็นสระโบกขรณี กรุณาเป็นสายธารา มุทิตาเป็นต้นกัลปพฤกษ์ อุเบกขาเป็นเนินทราย เมืองนี้เป็นเมืองที่อยู่ของพระอริยะ เป็นเมืองบรมสุข ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย คติธรรมประจำเมือง คือ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ – พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นตฺถิ สนฺติ ปรมํ สุขํ – สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ฯ ท้ายสุด พระเจ้าจิตราชราชาบรมกษัตริย์แห่งมหาอมตมหานคร ทรงมีพระราชสารมายังทุกท่านว่า “ณ ที่นี้ เราคอยต้องรับพวกท่านอยู่ เพียงแต่ท่านพร้อมหรือยังที่จะมาสู่อมตมหานคร”

กายนครสู่อมตมหานคร จะกล่าวถึงหลวงพยาธิและขุนโรคา ครั้นเห็นท้าวจิตราชล่องนาวาธรรม ทิ้งพระนคร มิมีท่าทีต่อกร จึงชวนหลวงชราไปเข้าเฝ้าพระยามัจจุราชราชา กราบทูลความ “ขอเดชะ เหล่าข้าพระพุทธเจ้า ได้ช่วยกันโจมตีกายนครได้แล้ว จิตราชราชาเสด็จล่องนาวาธรรมหลีกลี้หนีพระองค์ไปสู่ อมตมหานคร พระองค์รีบเสด็จตามไปเถิด พระเจ้าข้า” พระยามัจจุราชกษัตริย์ได้สดับคำกราบทูลของเหล่าทแกล้วมรณานครดังนั้น จึงระสั่งระดมพลครั้งสุดท้าย ยกออกติดตามท้าวจิตราชทันที ครั้งถึงฝั่งมหานที ทัพของมัจจุราชบรมกษัตริย์ก็มิอาจยกไปให้ทันได้เสียแล้ว พระยามัจจุราชแค้นพระทัยมาก จึงรับสั่งให้ หลวงมรณัง ทหารเอกตามไปสังหารให้จงได้ หลวงมรณังทหารเอกเมื่อได้รับพระบัญชาดังนั้น จึงรีบเหิรเวหานภาอากาศติดตามจิตตราชราชา กับเหล่ายมบาลทหารกล้าของหลวงมรณัง ครั้นทัพของหลวงมรณัง ถึงนาวาธรรมของพระยาจิตราช ก็ต่างเร่งโจมตีหวังจะจู่โจมล่มเรือของท้าวจิตราชให้ได้ แต่ก็มิสามารถ แม้แต่จะเอื้อมไปจับเสากระโดงเรือได้ จะทำอย่างไรๆ ก็ไม่อาจล่มเรือได้ บรรดาเหล่ากุศลเสนาของจิตราชราชาที่อยู่ในเรือต่างก็หัวเราะอยู่อึงมี่ ที่กองทัพของพระยามัจจุราชมิอาจสามารถทำอะไรได้ ท้าวจิตราชทรงมีพระทัยผ่องแผ้ว ทรงสำรวลร่าเริง ที่ทัพของพระยามัจจุราชไม่สามารถทำอะไรได้ จึงมีพระวาจากู่ก้องนภากาศ กังวาลไปกระทบโสตของพระยามัจจุราช ที่ฝั่งมหานที ว่า “ดูกร ท้าวมัจจุราช ท่านอย่ามาราวีเสียให้ยากเลย พระองค์ท่านแลบริวารทำอะไรเราไม่ได้ดอก เรายกเมืองให้ท่านแล้ว เชิญเอาไปตามสบายเถิด ทรัพย์สมบัติที่มีอยู่ในนั้นเรายกให้ เชิญกลับไปเถิดเราจะไม่เจอะเจอกับท่านอีกต่อไปแล้ว เชิญกลับไปเถิด” พระยามัจจุราชเห็นว่าสุดกำลังที่จะติดตามไปได้แล้ว จึงรับสั่งเรียกหลวงมรณังพร้อมกองทัพยมบาล แลกำลังพลทั้งหลายกลับตีเมืองอื่นต่อไป ท้าวจิตราชเมื่อเห็นข้าศึกกลับไปหมดแล้ว ก็แล่นนาวาต่อไป ท้องนทีธารเรียบเงียบสงัด ไม่มีคลื่น ไม่มีลม นภากาศแม้ค่ำมืดแต่ยังสว่างไปด้วยแสงธรรม ในไม่ช้านาวาธรรมก็ถึงอมตมหานคร อมตมหานคร นี้ มีศีลเป็นกำแพงเมือง มีปัญญาเป็นหอรบ อินทรีย์สังวรเป็นทวารบาล อัษฎางคิกมรรคเป็นวิถีทางในนคร โพธิปักขิยธรรม ๓๗ เป็นพระคลังหลวง ภาวนาเป็นยอดปราสาท พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ เป็นพระราชอาสน์ พระไตรลักษณ์เป็นห้องบรรทม พระวิมุตติญาณทัศนะเป็นดวงประทีป เมตตาเป็นสระโบกขรณี กรุณาเป็นสายธารา มุทิตาเป็นต้นกัลปพฤกษ์ อุเบกขาเป็นเนินทราย เมืองนี้เป็นเมืองที่อยู่ของพระอริยะ เป็นเมืองบรมสุข ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย คติธรรมประจำเมือง คือ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ – พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นตฺถิ สนฺติ ปรมํ สุขํ – สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ฯ ท้ายสุด พระเจ้าจิตราชราชาบรมกษัตริย์แห่งมหาอมตมหานคร ทรงมีพระราชสารมายังทุกท่านว่า “ณ ที่นี้ เราคอยต้องรับพวกท่านอยู่ เพียงแต่ท่านพร้อมหรือยังที่จะมาสู่อมตมหานคร” ----- อวสาน กายนครา นิฏฐิตา -----

Resham Firiri

Resham Firiri

กายนคร ผลงาน ท่านแปลก สนธิรักษ์๑๖. สู่อมตมหานคร จะกล่าวถึงหลวงพยาธิและขุนโรคา ครั้นเห็นท้าวจิตราชล่องนาวาธรรม ทิ้งพระนคร มิมีท่าทีต่อกร จึงชวนหลวงชราไปเข้าเฝ้าพระยามัจจุราชราชา กราบทูลความ “ขอเดชะ เหล่าข้าพระพุทธเจ้า ได้ช่วยกันโจมตีกายนครได้แล้ว จิตราชราชาเสด็จล่องนาวาธรรมหลีกลี้หนีพระองค์ไปสู่ อมตมหานคร พระองค์รีบเสด็จตามไปเถิด พระเจ้าข้า” พระยามัจจุราชกษัตริย์ได้สดับคำกราบทูลของเหล่าทแกล้วมรณานครดังนั้น จึงระสั่งระดมพลครั้งสุดท้าย ยกออกติดตามท้าวจิตราชทันที ครั้งถึงฝั่งมหานที ทัพของมัจจุราชบรมกษัตริย์ก็มิอาจยกไปให้ทันได้เสียแล้ว พระยามัจจุราชแค้นพระทัยมาก จึงรับสั่งให้ หลวงมรณัง ทหารเอกตามไปสังหารให้จงได้ หลวงมรณังทหารเอกเมื่อได้รับพระบัญชาดังนั้น จึงรีบเหิรเวหานภาอากาศติดตามจิตตราชราชา กับเหล่ายมบาลทหารกล้าของหลวงมรณัง ครั้นทัพของหลวงมรณัง ถึงนาวาธรรมของพระยาจิตราช ก็ต่างเร่งโจมตีหวังจะจู่โจมล่มเรือของท้าวจิตราชให้ได้ แต่ก็มิสามารถ แม้แต่จะเอื้อมไปจับเสากระโดงเรือได้ จะทำอย่างไรๆ ก็ไม่อาจล่มเรือได้ บรรดาเหล่ากุศลเสนาของจิตราชราชาที่อยู่ในเรือต่างก็หัวเราะอยู่อึงมี่ ที่กองทัพของพระยามัจจุราชมิอาจสามารถทำอะไรได้ ท้าวจิตราชทรงมีพระทัยผ่องแผ้ว ทรงสำรวลร่าเริง ที่ทัพของพระยามัจจุราชไม่สามารถทำอะไรได้ จึงมีพระวาจากู่ก้องนภากาศ กังวาลไปกระทบโสตของพระยามัจจุราช ที่ฝั่งมหานที ว่า “ดูกร ท้าวมัจจุราช ท่านอย่ามาราวีเสียให้ยากเลย พระองค์ท่านแลบริวารทำอะไรเราไม่ได้ดอก เรายกเมืองให้ท่านแล้ว เชิญเอาไปตามสบายเถิด ทรัพย์สมบัติที่มีอยู่ในนั้นเรายกให้ เชิญกลับไปเถิดเราจะไม่เจอะเจอกับท่านอีกต่อไปแล้ว เชิญกลับไปเถิด” พระยามัจจุราชเห็นว่าสุดกำลังที่จะติดตามไปได้แล้ว จึงรับสั่งเรียกหลวงมรณังพร้อมกองทัพยมบาล แลกำลังพลทั้งหลายกลับตีเมืองอื่นต่อไป ท้าวจิตราชเมื่อเห็นข้าศึกกลับไปหมดแล้ว ก็แล่นนาวาต่อไป ท้องนทีธารเรียบเงียบสงัด ไม่มีคลื่น ไม่มีลม นภากาศแม้ค่ำมืดแต่ยังสว่างไปด้วยแสงธรรม ในไม่ช้านาวาธรรมก็ถึงอมตมหานคร อมตมหานคร นี้ มีศีลเป็นกำแพงเมือง มีปัญญาเป็นหอรบ อินทรีย์สังวรเป็นทวารบาล อัษฎางคิกมรรคเป็นวิถีทางในนคร โพธิปักขิยธรรม ๓๗ เป็นพระคลังหลวง ภาวนาเป็นยอดปราสาท พระสูตร พระวินัย พระปรมัตถ์ เป็นพระราชอาสน์ พระไตรลักษณ์เป็นห้องบรรทม พระวิมุตติญาณทัศนะเป็นดวงประทีป เมตตาเป็นสระโบกขรณี กรุณาเป็นสายธารา มุทิตาเป็นต้นกัลปพฤกษ์ อุเบกขาเป็นเนินทราย เมืองนี้เป็นเมืองที่อยู่ของพระอริยะ เป็นเมืองบรมสุข ไม่มีเกิด ไม่มีแก่ ไม่มีเจ็บ ไม่มีตาย คติธรรมประจำเมือง คือ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ – พระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง นตฺถิ สนฺติ ปรมํ สุขํ – สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ฯ ท้ายสุด พระเจ้าจิตราชราชาบรมกษัตริย์แห่งมหาอมตมหานคร ทรงมีพระราชสารมายังทุกท่านว่า “ณ ที่นี้ เราคอยต้องรับพวกท่านอยู่ เพียงแต่ท่านพร้อมหรือยังที่จะมาสู่อมตมหานคร” ----- อวสาน กายนครา นิฏฐิตา -----

กายนคร ผลงาน ท่านแปลก สนธิรักษ์..ท้าวจิตราชเมื่อเห็นข้าศึกกลับไปหมดแล้ว ก็แล่นนาวาต่อไป ท้องนทีธารเรียบเงียบสงัด ไม่มีคลื่น ไม่มีลม นภากาศแม้ค่ำมืดแต่ยังสว่างไปด้วยแสงธรรม ในไม่ช้านาวาธรรมก็ถึงอมตมหานคร

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆเพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆเพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆเพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆเพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆเพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่ม­ีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โด­ยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั­้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได­้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่า­งๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ­์ต่างๆเพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแ­วดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จ­ะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและ­ผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทาง­อายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไ­ม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเ­จ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไร­เลยทั้งสิ้น

ผิดทางแล้วเห็นสวรรค์เห็นนั่นเห็นนี่ที่แท้กิเลสมันหลอก..หลวงปู่ : ก็ไม่มีอะไรมากมาย ลูกศิษย์ : พูดถึงตอนปฏิบัตินะครับผม เราต้องปล่อยจิตสบายๆ ใช่ไหมครับ ไม่ไปบังคับ ไม่ไปอะไรมัน หลวงปู่ : ไม่ บังคับหรอก แต่ว่าเบื้องต้น ก็ต้องบริกรรม จิตของเราให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม บริกรรมไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธเท่านั้นเอง ให้พุทโธน่ะฝังอยู่ในจิตในหัวใจ เราไปเขียนเล่นในนั้นก็ได้ ว่า พุทโธ พุทโธ พุทโธ เพื่อ ให้จิตเป็นผู้บริกรรม ให้จิตเป็นผู้ว่า ไม่ต้องว่าปากเปล่า สติของเราเป็นผู้ว่า ผู้ว่าพุทโธอยู่ตรงไหน ตั้งสติอยู่ตรงนั้น แล้วก็ผู้บริกรรม บริกรรมเรื่อยไป ลูกศิษย์ : ครับ ตอนนี้ ไปเข้ากับเรื่องที่หลวงปู่ อธิบายไว้รึเปล่า การที่เห็นแสง เห็นโอภาสเนี่ยก็ หลวงปู่ : อันนี้มันเป็น อยู่ในหลักสมาธิเนี่ยล่ะ) ลูกศิษย์ : อยู่ในหลักที่ว่าจิตส่งออกนอกเป็นสมุทัยใช่มั้ยครับ หลวงปู่ : มันจะเป็น จิตไปยึด ไปเที่ยว อยู่นั่นแหละ แล้วพาไปเห็น ไม่ว่าอะไรไม่มีที่สิ้นสุด ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : โอภาส อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง ไม่ต้องไปตัดที่อื่น ตัดที่จิต ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต เพ่งจิตเห็นจิต แล้วก็ตั้งสติให้มันเห็นจิต อะไรๆมันก็ขาดไปเอง ก็หมดเรื่องกันไป โอภาสนั้นก็หมด หมายความว่า ที่เราดู ไปเห็นตามมันน่ะ หมายความว่า เราไม่รู้เท่ามัน หมายความว่า เราหลงไป เราหลงไป เราไม่เข้าใจความเป็นจริง หลงไปตามมัน แล้วแต่มันจะสอน แล้วก็ ไปถือตามมันทั้งหมด สุดท้ายมันจะเป็นบ้า ลูกศิษย์ : ครับ ถ้าวางไม่ได้เป็นบ้า หลวงปู่ : จะเป็นบ้า (หลวงปู่หัวเราะ) ลูกศิษย์ : ครับผม

ผิดทางแล้วเห็นสวรรค์เห็นนั่นเห็นนี่ที่แท้กิเลสมันหลอก..หลวงปู่ : ก็ไม่มีอะไรมากมาย ลูกศิษย์ : พูดถึงตอนปฏิบัตินะครับผม เราต้องปล่อยจิตสบายๆ ใช่ไหมครับ ไม่ไปบังคับ ไม่ไปอะไรมัน หลวงปู่ : ไม่ บังคับหรอก แต่ว่าเบื้องต้น ก็ต้องบริกรรม จิตของเราให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม บริกรรมไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธเท่านั้นเอง ให้พุทโธน่ะฝังอยู่ในจิตในหัวใจ เราไปเขียนเล่นในนั้นก็ได้ ว่า พุทโธ พุทโธ พุทโธ เพื่อ ให้จิตเป็นผู้บริกรรม ให้จิตเป็นผู้ว่า ไม่ต้องว่าปากเปล่า สติของเราเป็นผู้ว่า ผู้ว่าพุทโธอยู่ตรงไหน ตั้งสติอยู่ตรงนั้น แล้วก็ผู้บริกรรม บริกรรมเรื่อยไป ลูกศิษย์ : ครับ ตอนนี้ ไปเข้ากับเรื่องที่หลวงปู่ อธิบายไว้รึเปล่า การที่เห็นแสง เห็นโอภาสเนี่ยก็ หลวงปู่ : อันนี้มันเป็น อยู่ในหลักสมาธิเนี่ยล่ะ) ลูกศิษย์ : อยู่ในหลักที่ว่าจิตส่งออกนอกเป็นสมุทัยใช่มั้ยครับ หลวงปู่ : มันจะเป็น จิตไปยึด ไปเที่ยว อยู่นั่นแหละ แล้วพาไปเห็น ไม่ว่าอะไรไม่มีที่สิ้นสุด ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : โอภาส อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง ไม่ต้องไปตัดที่อื่น ตัดที่จิต ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต เพ่งจิตเห็นจิต แล้วก็ตั้งสติให้มันเห็นจิต อะไรๆมันก็ขาดไปเอง ก็หมดเรื่องกันไป โอภาสนั้นก็หมด หมายความว่า ที่เราดู ไปเห็นตามมันน่ะ หมายความว่า เราไม่รู้เท่ามัน หมายความว่า เราหลงไป เราหลงไป เราไม่เข้าใจความเป็นจริง หลงไปตามมัน แล้วแต่มันจะสอน แล้วก็ ไปถือตามมันทั้งหมด สุดท้ายมันจะเป็นบ้า ลูกศิษย์ : ครับ ถ้าวางไม่ได้เป็นบ้า หลวงปู่ : จะเป็นบ้า (หลวงปู่หัวเราะ) ลูกศิษย์ : ครับผม

วันศุกร์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2558

ความน่ากลัวของสังสารวัฏ.อันแรกรู้ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในใจ อันที่สองรู้ว่าสิ่งที่เกิดขึ้น­­นั้นไม่ใช่ตัวเรา ถ้ารู้อย่างนี้แหละถึงเป็นทางสา­­ยเอกทางสายเดียวเพื่อความพ้นทุ­ก­ข์ถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง..

สลัดจิตทิ้งไปสิ้นโลกเหลือธรรม.ถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจ­­ริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหล­­ายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วครา­­วนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง

วันพฤหัสบดีที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2558

ยืนเดินนั่งนอนกินดื่มทำพูดคิดให้มีสติรู้ทันจิต..ตนนั่นเหละเป็นที่พึงของตน ตถาคตเป็นเพียงผู้บอกทางเท่านั้นเรื่องของ­มันมีแค่รู้ว่าฝันให้ตื่นทันทีตัวเราไม่มี­หรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่ม­ีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ถ้าไหว้พระสวดมนต์แล้วสงบได้ ก็ไหว้พระสวดมนต์ ถ้ามันไม่ไหวจริงๆนะ หาหนังสือมาอ่านก็ได้ ให้ใจมันคลาย พอใจมันคลายแล้วก็มาไหว้พระสวดมนต์ มารู้ลมหายใจแล้วก็มารู้ทันจิตไป ใจไหลแล้วรู้ ใจไหลแล้วรู้ ต่อไปจากนี้นะ จะง่าย ไม่ต้องเริ่มต้นไกลเลย คิดถึงพระพุทธเจ้านิดหน่อยก็พอแล้ว ใจสบาย มีความสุข คิดถึงพระพุทธเจ้าแล้ว แค่นะโมตัสสะ ยังไม่ทันภะคะวะโต จิตก็สงบแล้วนะ ค่อยๆฝึก จิตสงบเพราะว่าอะไร เพราะว่าชำนาญในการรู้ทันจิตที่เคลื่อน พอรู้ทันจิตที่เคลื่อนปุ๊บ จิตก็ตั้งมั่นเลย เคล็ดลับอยู่ตรงที่รู้ทันจิตที่เคลื่อนนะ การทำสมาธิชนิดที่ถูกต้องน่ะ ไม่ใช่เคล็ดลับอยู่ที่น้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าน้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียวที่มีความสุขเป็นสมาธิชนิดที่เป็นสมถะ ถ้าจะใช้สมาธิชนิดที่สองที่เรียกว่า “ลักขณูปนิชฌาน” เนี่ย ให้รู้ทันจิตที่เคลื่อนไป ไม่ห้าม พุทโธๆไปก็ได้ จิตเคลื่อนแล้วรู้ ไม่ใช่ว่าพุทโธไปแล้วห้ามจิตเคลื่อน จิตแข็งๆอย่างนั้นผิดนะ ค่อยๆฝึกนะ เอาสมาธิขึ้นมาให้ได้ พอได้สมาธิแล้วก็ดูไป ร่างกายก็อยู่ส่วนร่างกาย ใจเป็นคนดู จิตที่ตั้งมั่นแล้วมันจะกลายไปเป็นคนดูได้ เขาถึงเรียกว่า “ผู้รู้” ไง มันเป็น “ผู้รู้” มันไม่ใช่ผู้คิดผู้นึกผู้ปรุงผู้แต่ง เพราะฉะนั้นเรามาฝึกจิตให้เป็นผู้รู้ให้ได้นะ จิตของคนในโลกของสัตว์ทั้งหลายนั้น เป็นผู้นึกผู้คิดผู้ปรุงผู้แต่ง ไม่ใช่ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน วิธีที่จะทำให้เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน ทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง พุทโธ หายใจ อะไรก็ได้ แล้วพอจิตเคลื่อนไปแล้วรู้ เคลื่อนไปคิด รู้ เคลื่อนไปเพ่ง รู้ ต่อไปจิตพอเคลื่อนเรารู้ปุ๊บ สมาธิจะเกิด จะรู้เนื้อรู้ตัว จิตใจจะอยู่กับเนื้อกับตัว จะรู้ จะตื่น จะเบิกบานเลย พอจิตเป็นผู้รู้ได้ คราวนี้ก็มารู้อะไร ก็รู้กายมันทำงาน รู้ใจมันทำงาน ก็เห็นความจริงของกายของใจ เกิดปัญญาได้พระพุทธเจ้าสอนนะ ขันธ์ห้าเป็นทุกข์นะ ท่านไม่ได้สอนว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์บ้างสุขบ้าง เราเห็นยังไม่ถึงที่ท่านบอก ต้องอดทน ฟังแล้วฟังอีก ฟังแล้วก็ดูไปเรื่อย ฟังแล้วก็มาสังเกตกาย สังเกตใจไปเรื่อย ทุกวันๆ เราก็จะเขยิบใกล้ความจริงเข้าไปเรื่อยๆ ถึงจุดสุดท้าย เข้าถึงความจริงแท้ เข้าถึงอริยสัจจ์นั่นเอง รู้ขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ พอรู้ว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ ใจจะวาง ไม่ยึดถือ พอไม่ยึดถือขันธ์ห้าว่าเป็นตัวเราของเราแล้วเนี่ย ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้เป็นสุข ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้พ้นทุกข์ มันจะดับไปโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้นรู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไร สมุทัยจะถูกละโดยอัตโนมัติ พอทันทีที่สมุทัยถูกละ นิโรธคือนิพพานจะปรากฏต่อหน้าต่อตาเรานี่เอง นิพพานไม่ได้อยู่ไกลๆนะ นิพพานไม่ใช่อยู่ไกลๆ นิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตานี่เอง วันใดที่ใจเราสิ้นตัณหาอย่างแท้จริง เพราะมีปัญญารู้ทุกข์อย่างแท้จริง วางกายวางใจได้ รู้ทุกข์แล้ววางกายวางใจได้ ตัณหาจะสิ้นไป นิพพานจะปรากฏต่อหน้า ใจที่มันไม่ดิ้นมันจะเห็นธรรมะที่ไม่ดิ้น ใจที่มันไม่อยากมันก็เห็นธรรมะที่ไม่อยาก เห็นนิพพานนั่นเอง มันจะมีแต่ความสุขล้วนๆ เลยถึงตรงจุดนี้ เพราะอะไรถึงมีความสุขล้วนๆ เพราะมันพ้นจากขันธ์แล้ว จิตมันพรากออกจากขันธ์นะ ขันธ์อยู่ส่วนขันธ์ จิตอยู่ส่วนจิต ไม่กระทบกันเลย โดยที่ไม่ต้องระวังรักษาอีกต่อไปแล้ว งั้นเมื่อมันพ้นขันธ์ได้ก็คือมันพ้นทุกข์นั่นเอง พระพุทธเจ้าสอนว่าขันธ์ห้าคือทุกข์ เมื่อไรมันพ้นขันธ์ก็คือพ้นทุกข์ ตัณหาก็ไม่มีนะ จิตใจมีแต่สันติสุข คำว่า “สันติ” ก็เป็นชื่อของนิพพาน จิตใจที่เข้าถึงนิพพาน มีความสุขจนไม่รู้จะเทียบกับอะไร ความสุขอย่างโลก ๆ ความสุขเหมือนกับเด็กเล่นฝุ่นเล่นทรายเท่านั้นเอง ค่อยเรียนนะ ค่อยเรียน อดทนในการเรียน

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันต­ผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย ...

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันต­ผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย ...

ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจ.เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีลทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค)กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียวกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด

ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจตรัสว่า "อย่างนั้น ภิกษุทั้งหลาย เราคิดว่า ‘เราเมื่อมาสิ้นทางกันดาร ๓๐ โยชน์ เห็นอุปนิสัยของอุบาสกคนนั้นแล้วจึงมา'­;, อุบาสกนั้นหิวยิ่งนัก ลุกขึ้นแต่เช้าตรู่แล้วเที่ยวไปหาโคในป่า แม้เมื่อเราแสดงธรรมอยู่ ก็ไม่อาจบรรลุได้ เพราะความเป็นทุกข์อันเกิดแต่ความหิว จึงได้กระทำอย่างนี้ ภิกษุทั้งหลาย ด้วยว่าชื่อว่าโรค เช่นกับโรค คือความหิวไม่มี" ดังนี้แล้ว จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- ๕. ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา เอตํ ญตฺวา ยถาภูตํ นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ. ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง, สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง, บัณฑิตทราบเนื้อความนั่น ตามความจริงแล้ว (กระทำให้ แจ้งซึ่งพระนิพพาน) เพราะพระนิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง.

วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558

ทุกข์เท่านั้นที่เกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นที่ตั้งอยู่ทุกข์เท่านั้นที่ดับไป..หลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ

วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

การสร้าง และทดสอบ PURE SINE INVERTER แบบ PWM ตอนที่ 2 power converter เพาเวอร์ คอนเวอร์เตอร์ วงจรการใช้งานจริงของ Power Module GT15J331ครับ..ขับมอเตอร์สามเฟส..สามแรงม้­าได้ พร้อมกัน สองตัว โดยใช้บอร์ด mc3phac หนึง บอร์ด..งบประมาณ.. 4,000-บาท ครับ...แผงวงจรที่ใช้กับ Power Module GT15J331 TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT ประกอบด้วย อุปกรณ์ หลัก คือ IC L6569 จำนวนสามตัว..หรือจะใช้ IC half bridge driver ic ยี่ห้อ IR ที่ขา และ คุณสมบัติตรงกัน น่าจะเป็น เบอร์ IRS2795 IRS21531 ครับ

GT15J331 สำหรับ เครื่อง ควบคุมมอเตอร์สามเฟสและสร้าง PURE SINE INVERTER ครับpower converter เพาเวอร์ คอนเวอร์เตอร์ วงจรการใช้งานจริงของ Power Module GT15J331ครับ..ขับมอเตอร์สามเฟส..สามแรงม้­าได้ พร้อมกัน สองตัว โดยใช้บอร์ด mc3phac หนึง บอร์ด..งบประมาณ.. 4,000-บาท ครับ...แผงวงจรที่ใช้กับ Power Module GT15J331 TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT ประกอบด้วย อุปกรณ์ หลัก คือ IC L6569 จำนวนสามตัว..หรือจะใช้ IC half bridge driver ic ยี่ห้อ IR ที่ขา และ คุณสมบัติตรงกัน น่าจะเป็น เบอร์ IRS2795 IRS21531 ครับ

power converter power converter เพาเวอร์ คอนเวอร์เตอร์ วงจรการใช้งานจริงของ Power Module GT15J331ครับ..ขับมอเตอร์สามเฟส..สามแรงม้­าได้ พร้อมกัน สองตัว โดยใช้บอร์ด mc3phac หนึง บอร์ด..งบประมาณ.. 4,000-บาท ครับ...แผงวงจรที่ใช้กับ Power Module GT15J331 TOSHIBA Insulated Gate Bipolar Transistor Silicon N Channel IGBT ประกอบด้วย อุปกรณ์ หลัก คือ IC L6569 จำนวนสามตัว..หรือจะใช้ IC half bridge driver ic ยี่ห้อ IR ที่ขา และ คุณสมบัติตรงกัน น่าจะเป็น เบอร์ IRS2795 IRS21531 ครับ

พระอานนท์ พระพุทธอนุชา บทนำเรื่องท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใ­จของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรว­ดเร็วของส­ังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะป­ระสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปร­าชญ์ทางพุ­ทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอ­าแง่มุมต่­างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุก­ต์ใช้ได้ใ­นชีวิตปัจจุบันมากล่าว­อธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป..

ลืมตายังฝัน เรื่องมันเพียงแต่ ‘ตื่น’ และ ‘ลืมตา’ ต่อจิตหนึ่งนั้นเท่านั้น และไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ ‘จิต’ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกแล้ว จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสนและความไม­่ดีต่าง ๆ ดังจะเห็นได้ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่­ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อพระอาทิตย์ขึ้น ย่อมให้ความสว่างทั่วทั้งพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้น มันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อพระอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่าง และความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและ กัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้นยังคงไม่เปลี่ย­นแปลงอยู่นั่นเอง จิตของพุทธะและของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเ­ช่นนั้น ถ้าเรามองดูพุทธะ ว่าเป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่­บริสุทธิ์ ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองดูสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่­เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลเกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธร­รมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุด ถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปนับไ­ม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีสิ่งอื่นใดแม้แต่อนุภาคเดียวที่จะอิง­อาศัยได้ เพราะจิตนั้นเอง คือ พุทธะ

โอวาทพระอานนท์เถระแลแล้วพระอานนท์ก็กล่าวว่า "น้องหญิง! ชีวิตนี้เริ่มต้นด้วยเรื่องที่น่าละอาย ทรงตัวอยู่ด้วยเรื่องที่ยุ่งยากสับสน และจบลงด้วยเรื่องเศร้า อนึ่งชีวิตนี้เริ่มต้นและจบลงด้วยเสียงคร่ำครวญ เมื่อลืมตาขึ้นดูโลกนี้เป็นครั้งแรกเราก็ร้องไห้ และเมื่อจะหลับตาลาโลกเราก็ร้องไห้อีก หรืออย่างน้อยก็เป็นสาเหตุให้คนอื่นหลั่งน้ำตา เด็กร้องไห้พร้อมด้วยกำมือแน่นเป็นสัญญลักษณ์ว่าเขาเกิดมาเพื่อจะหน่วงเหนี่ยวยึดถือ แต่เมื่อจะหลับตานั้นทุกคนแบมือออก เหมือนจะเตือนให้ผู้อยู่เบื้องหลังสำนึก และเป็นพยานว่าเขามิได้เอาอะไรไปเลย "น้องหญิง! อาตมาขอเล่าเรื่องส่วนตัวให้ฟังสักเล็กน้อย อาตมาเกิดแล้วในศากยวงศ์อันมีศักดิ์ ซึ่งเป็นที่เลื่องลือว่าบริสุทธิ์ยิ่งในเรื่องตระกูล อาตมาเป็นอนุชาแห่งพระบรมศาสดา และออกบวชติดตามพระองค์เมื่ออายุได้ ๓๖ ปี ราชกุมารผู้มีอายุถึง ๓๖ ปีที่ยังมีดวงใจผ่องแผ้วไม่เคยผ่านเรื่องรักๆ ใคร่ๆ มาเลยนั้นเป็นบุคคลที่หาได้ยากในโลก หรืออาจจะหาไม่ได้เลยก็ได้ น้องหญิงอย่านึกว่า อาตมาจะเป็นคนวิเศษเลิศลอยกว่าราชกุมารทั้งหลาย อาตมาเคยผ่านความรักมาและประจักษ์ว่า ความรักเป็นความร้าย ความรักเป็นสิ่งทารุณและเป็นเครื่องทำลายความสุขของปวงชน อาตมากลัวต่อความรักนั้น ทุกคนต้องการความสมหวังในชีวิตรัก แต่ความรักไม่เคยให้ความสมหวังแก่ใครถึงครึ่งหนึ่งแห่งความต้องการ ยิ่งความรักที่ฉาบทาด้วยความเสน่หาด้วยแล้วจะเป็นพิษแก่จิตใจ ทำให้ทุรนทุรายดิ้นรนไม่รู้จักจบสิ้น ความสุขที่เกิดจากความรักนั้นเหมือนความสบายของคนป่วยที่ได้กินของแสลง เธออย่าพอใจในเรื่องความรักเลย เมื่อหัวใจถูกลูบไล้ด้วยความรัก หัวใจนั้นจะสร้างความหวังขึ้นอย่างเจิดจ้า แต่ทุกครั้งที่เราหวังความผิดหวังก็จะรอเราอยู่ น้องหญิง! อย่าหวังอะไรให้มากนัก จงมองดูชีวิตอย่างผู้ช่ำชอง อย่าวิตกกังวลอะไรล่วงหน้า ชีวิตนี้เหมือนเกลียวคลื่นซึ่งก่อตัวขึ้นแล้วม้วนเข้าหาฝั่งและแตกกระจายเป็นฟองฝอย จงยืนมองดูชีวิตเหมือนคนผู้ยืนอยู่บนฝั่งมองดูเกลียวคลื่นในมหาสมุทรฉะนั้น "โกกิลาเอย! เมื่อความรักเกิดขึ้น ความละอายและความเกรงกลัวในสิ่งที่ควรกลัวก็พลันสิ้นไป เหมือนก้อนเมฆมหึมา เคลื่อนตัวเข้าบดบังดวงจันทร์ให้อับแสง ธรรมดาสตรีนั้นควรจะยอมตายเพราะความละอาย แต่แทนที่จะเป็นเช่นนั้นความละอายมักจะตายไปก่อนเสมอ เมื่อความใคร่เกิดขึ้นความละอายก็หลบหน้า เพราะเหตุนี้พระบรมศาสดาจึงตรัสว่าความใคร่ทำให้คนมืดบอด อนึ่งโลกมนุษย์ของเรานี้ เต็มไปด้วยชีวิตอันประหลาดพิสดารต่างชนิดและต่างรส ชีวิตของแต่ละคนได้ผ่านมาและผ่านไป ด้วยความระกำลำบากทุกข์ทรมาน ถ้าชีวิตมีความสุขก็เป็นความหวาดเสียวที่จะต้องจากชีวิตอันรื่นรมย์นั้นไป "โกกิลาเอย! มนุษย์ทั้งหลายผู้ยังมีอวิชชาเป็นฝ้าบังปัญญาจักษุนั้น เป็นเสมือนทารกน้อยผู้หลงเข้าไปในป่าใหญ่อันรกทึบซึ่งเต็มไปด้วยอันตรายอันน่าหวาดเสียวและว้าเหว่เงียบเหงา มนุษย์ส่วนใหญ่แม้จะร่าเริงแจ่มใสอยู่ในหมู่ญาติและเพื่อนฝูง แต่ใครเล่าจะทราบว่าในส่วนลึกแห่งหัวใจเขาจะว้าเหว่ และเงียบเหงาสักปานใดแทบทุกคนว้าเหว่ไม่แน่ใจว่าจะยึดเอาอะไรเป็นหลักของชีวิตที่แน่นอน เธอปรารถนาจะเป็นอย่างนั้นด้วยหรือ? "น้องหญิง! บัดนี้เธอมีธรรมเป็นเกาะที่พึ่งแล้วจงยึดธรรมเป็นที่พึ่งต่อไปเถิด อย่าหวังอย่างอื่นเป็นที่พึ่งเลย โดยเฉพาะความรักความเสน่หาไม่เคยเป็นที่พึ่งจริงจังให้แก่ใครได้ มันเป็นเสมือนตอที่ผุ จะล้มลงทันทีเมื่อถูกคลื่นซัดสาด "ธรรมเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุดในชีวิตมนุษย์ ไม่ว่าเขาจะอยู่ในเพศใดภาวะใด การกระทำที่นึกขึ้นภายหลังแล้วต้องเสียใจนั้น พระศาสดาทรงสอนให้เว้นเสีย เพราะฉะนั้นแม้จะประสบปัญหาหัวใจ หรือได้รับความทุกข์ยากลำบากสักปานใด ก็ต้องไม่ทิ้งธรรม มนุษย์ที่ยังมีอาสวะอยู่ในใจนั้น ย่อมจะมีวันพลั้งเผลอประพฤติผิดธรรมไปบ้าง เพราะยังมีสติไม่สมบูรณ์ แต่เมื่อได้สติในภายหลังแล้ว ก็ควรตั้งใจประพฤติธรรมสั่งสมความดีกันใหม่ ยิ่งพวกเรานักบวชด้วยแล้วจำเป็นต้องมีอุดมคติ การตายด้วยอุดมคตินั้นมีค่ากว่าการเป็นอยู่โดยไร้อุดมคติ "น้องหญิง! ธรรมดาว่าไม้จันทร์นั้น แม้จะแห้งก็ไม่ทิ้งกลิ่น อัศวินก้าวลงสู่สงครามก็ไม่ทิ้งลีลา อ้อยแม้เข้าสู่หีบยนต์แล้วก็ไม่ทิ้งรสหวาน บัณฑิตแม้ประสบทุกข์ก็ไม่ทิ้งธรรม พระศาสดาทรงย้ำว่าพึงสละทุกสิ่งทุกอย่างเพื่อรักษาธรรม "โกกิลาเอย! เธอได้สละเพศฆราวาสมาแล้ว ซึ่งเป็นการเสียสละที่ยิ่งใหญ่ยากที่ใครๆ จะสละได้ ขอให้เธอเสียสละต่อไปเถิด และสละให้ลึกกว่านั้น คือไม่สละแต่เพียงเพศอย่างเดียว แต่จงสละความรู้สึกอันจะเป็นข้าศึกต่อเพศเสียด้วย เธอเคยฟังสุภาษิตอันกินใจยิ่งมาแล้วมิใช่หรือ ในคนร้อยคนหาคนกล้าได้หนึ่งคน ในคนพันคนหาคนเป็นบัณฑิตได้หนึ่งคน ในคนแสนคนหาคนพูดจริงได้เพียงหนึ่งคน ส่วนคนที่เสียสละได้ทุกสิ่งทุกอย่างนั้นไม่รู้ว่าจะมีหรือไม่ คือไม่ทราบจะคำนวณเอาจากคนจำนวนเท่าใดจึงจะเฟ้นได้หนึ่งคน สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นนักเสียสละตัวอย่างของโลก เคยมีกษัตริย์องค์ใดบ้างทำได้เหมือนพระพุทธองค์ ยอมเสียสละความสุขความเพลินใจทุกอย่างที่ชาวโลกปองหมายมาอยู่กลางดินกลางทราย ก็เพื่อทำประโยชน์อันยิ่งใหญ่แก่มนุษยชาติ การเสียสละของพวกเรา เมื่อนำไปเทียบกับการเสียสละของพระบรมศาสดาแล้ว ของเราช่างเล็กน้อยเสียนี่กระไร "น้องหญิง! พระศาสดาตรัสว่าบุคคลอาจอาศัยตัณหาละตัณหาได้ อาจอาศัยมานะละมานะได้ อาจอาศัยอาหารละอาหารได้ แต่เมถุนธรรมนั้น พระผู้มีพระภาคทรงสอนให้ชักสะพานเสีย คืออย่าทอดสะพานเข้าไปเพราะอาศัยละไม่ได้" "ข้อว่าอาศัยอาหารละอาหารนั้น คือละความพอใจในรสของอาหาร จริงอยู่สัตว์โลกทั้งมวลดำรงชีพอยู่ได้เพราะอาหาร ข้อนี้พระศาสดาก็ตรัสไว้ แต่มนุษย์และสัตว์เป็นอันมากติดข้องอยู่ในรสแห่งอาหาร จนต้องกระเสือกกระสนกระวนกระวาย และต้องทำชั่วเพราะรสแห่งอาหารนั้น ที่ว่าอาศัยอาหารละอาหารนั้นคืออาศัยอาหารละความพอใจในรสแห่งอาหารนั้น บริโภคเพียงเพื่อยังชีวิตให้ชีวิตนี้เป็นไปได้เท่านั้น เหมือนคนเดินทางข้ามทะเลทราย เสบียงอาหารหมด และบังเอิญลูกน้อยตายลงเพราะหิวโหย เขาจำใจต้องกินเนื้อบุตรเพียงเพื่อให้ข้ามทะเลทรายได้เท่านั้น หาติดในรสแห่งเนื้อบุตรไม่" "ข้อว่าอาศัยตัณหาละตัณหานั้น คือเมื่อทราบว่า ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา ชื่อโน้นได้สำเร็จเป็นโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี หรืออรหันต์ ก็มีความทะยานอยากที่จะเป็นบ้าง เพื่อพยายามจนได้เป็นแล้ว ความทะยานอยากอันนั้นก็หายไป อย่างนี้เรียกว่าอาศัยตัณหาละตัณหา" "ข้อว่าอาศัยมานะละมานะนั้น คือเมื่อได้ยินได้ฟังภิกษุหรือภิกษุณี หรืออุบาสกอุบาสิกา ชื่อโน้นได้สำเร็จเป็นโสดาบันเป็นต้น ก็มีมานะขึ้นว่าเขาสามารถทำได้ ทำไมเราซึ่งเป็นมนุษย์และมีอวัยวะทุกส่วนเหมือนเขาจะทำไม่ได้บ้าง จึงพยายามทำความเพียร เผากิเลสจนได้บรรลุโสดาปัตติผลบ้าง อรหัตตผลบ้าง อย่างนี้เรียกว่าอาศัยมานะละมานะ เพราะเมื่อบรรลุแล้วมานะนั้นย่อมไม่มีอีก" "ดูก่อนน้องหญิง! ส่วนเมถุนธรรมนั้น ใครๆ จะอาศัยละมิได้เลย นอกจากจะพิจารณาเห็นโทษของมันแล้วเลิกละเสีย ห้ามใจมิให้เลื่อนไหลไปยินดีในกามสุขเช่นนั้น น้องหญิง! พระศาสดาตรัสว่า กามคุณนั้นเป็นของไม่เที่ยงไม่ยั่งยืน มีสุขน้อยแต่มีทุกข์มาก มีโทษมากมีความคับแค้นเป็นมูล มีทุกข์เป็นผล" พระอานนท์พูดจบ คอยจับกิริยาของโกกิลาภิกษุณีว่าจะมีความรู้สึกอย่างไร ธรรมกถาของท่านได้ผลภิกษุณีค่อยๆ ลุกจากเตียงสลัดผ้าห่มออกคลานมาหมอบลงแทบเท้าของพระอานนท์ สะอึกสะอื้นจนสั่นเทิ้มไปทั้งตัว นางพูดอะไรไม่ออก นางเสียใจอย่างสุดซึ้ง อันความเสียใจและละอายนั้น ถ้ามันแยกกันเกิดคนละครั้งก็ดูเหมือนจะไม่รุนแรงเท่าใดนัก แต่เมื่อใดทั้งความเสียใจและความละอายเกิดขึ้นพร้อมๆ กัน และในกรณีเดียวกันด้วยแล้ว ย่อมเป็นความทรมานสำหรับสตรีอย่างยวดยิ่ง นางเสียใจเหลือเกินที่ความรักของนางมิได้รับสนองเลยแม้แต่น้อย คำพูดของพระอานนท์ล้วนแต่เป็นคำเสียดแทงใจสำหรับนางผู้ยังหวังความรักจากท่านอยู่ ยิ่งกว่านั้นเมื่อนางทราบว่าพระอานนท์มิได้เชื่อในอาการลวงของนางเลย นางจึงรู้สึกเหมือนถูกตบหน้าอย่างแรง ละอายสุดที่จะประมาณได้ นางจึงไม่สามารถพูดคำใดได้เลย นอกจากถอนสะอื้นอยู่ไปมา ครู่หนึ่งพระอานนท์จึงพูดว่า "น้องหญิง! หยุดร้องไห้เสียเถิด การร้องไห้ไม่มีประโยชน์อะไร ไม่ช่วยเรื่องหนักใจของเธอให้คลายลงได้" อนิจจา! พระอานนท์ช่างพูดอย่างพระอริยะแท้ "ข้าแต่พระคุณเจ้า" นางพูดทั้งเสียงสะอื้น ภิกษุผู้เป็นปัจฉาสมณะของพระอานนท์ต้องเบือนหน้าไปเสียทางหนึ่ง เกรงว่าไม่สามารถจะอดกลั้นน้ำตาได้ "ข้าพเจ้าจะพยายามกล้ำกลืนฝืนใจปฏิบัติตามโอวาทของท่านแม้จะเป็นความทรมานสักป่านใด ข้าพเจ้าก็จะอดทนและขอเทิดทูนบูชาพระพุทธอนุชา ไว้ในฐานะเป็นที่เคารพสักการะอย่างสูง ข้าพเจ้าไม่เจียมตัวเอง จึงต้องทุกข์ทรมานถึงปานนี้ ข้าพเจ้าเป็นเพียงหญิงทาสทูนหม้อน้ำ ข้าพเจ้าเพิ่งสำนึกตนเวลานี้เอง ความรักความอาลัยทำให้ข้าพเจ้าลืมกำเนิดชาติตระกูลและความเหมาะสมใดๆ ทั้งสิ้น มาหลงรักพระพุทธอนุชาผู้ทรงศักดิ์ "ข้าแต่ท่านผู้สืบอริยวงศ์! กายกรรม วจีกรรม ที่ข้าพเจ้าล่วงเกินท่านและจะพึงขอโทษนั้นไม่มี ส่วนมโนกรรมนั้นมีอยู่ ข้าพเจ้ารักท่าน และรักอย่างสุดหัวใจ ถ้าการที่ข้าพเจ้ารักท่านนั้นเป็นความผิด ขอท่านผู้ประเสริฐโปรดให้อภัยในความผิดพลาดอันนั้นด้วย" นางพูดจบแล้วนั่งก้มหน้า น้ำตาของนางหยดลงบนจีวรผืนบางเสมือนหยาดน้ำค้างถูกสลัดลงจากใบหญ้า เมื่อลมพัดเป็นครั้งคราว "น้องหญิง! เรื่องชาติเรื่องตระกูลนั้นอย่านำมาปรารมภ์เลย อาตมามิได้เคยคิดถึงมันเป็นเวลานานแล้ว ที่อาตมาไม่รักน้องหญิง มิใช่เพราะอาตมามาเกิดในตระกูลอันสูงศักดิ์ ส่วนเธอเป็นทาสีดอก แต่เป็นเพราะอาตมาเห็นโทษแห่งความรัก ความเสน่หา ตามที่พระศาสดาทรงสอนอยู่เสมอ เวลานี้อาตมามีหน้าที่ต้องบำรุงพระศาสดาผู้เป็นนาถะของโลก และพยายามทำหน้าที่กำจัดอาสวะในจิตใจ มิใช่เพิ่มอาสวะให้มากขึ้น เมื่ออาสวะยังไม่สิ้น ย่อมจะต้องเวียนว่ายอยู่ในวัฏฏสงสารอีก จะเป็นเวลานานเท่าใดก็สุดจะคำนวณ พระศาสดาตรัสว่าการเกิดบ่อยๆ เป็นความทุกข์ เพราะเมื่อมีการเกิด ความแก่ ความเจ็บ และความทรมานอื่นๆ ก็ติดตามมาเป็นสาย นอกจากนี้ผู้วนเวียนอยู่ในวัฏฏสงสารอาจจะมีบางชาติที่ประมาทพลาดพลั้งไปแล้ว ต้องตกไปในอบายเป็นการถอยหลังไปอีกมาก กว่าจะตั้งต้นได้ใหม่ก็เป็นการเสียเวลาของชีวิตไปมิใช่น้อย" "น้องหญิง! เธออย่าน้อยใจในชาติตระกูลอันต่ำต้อยของเธอเลย บุคคลจะเกิดในตระกูลกษัตริย์ พราหมณ์,แพศย์ หรือสูทรก็ตาม ย่อมตกอยู่ภายใต้กฎธรรมดาเหมือนกันหมดคือเมื่อเกิดมาแล้ว ก็ต้องแก่ต้องเจ็บ และในที่สุดก็ต้องตาย ความตายย่อมกวาดล้างสรรพสัตว์ไปโดยมิละเว้นใครไว้เลย และใครๆ ไม่อาจต่อสู่ด้วยวิธีใดๆ ได้" "นอกจากนี้ มนุษย์ทุกคนล้วนมีเลือดสีแดง รู้จักกลัวภัยและใคร่ความสุขเสมอกัน เหมือนไม้นานาชนิด เมื่อนำมาเผาไฟย่อมมีเปลวสีเดียวกัน เมื่อเป็นเช่นนี้ จะมัวมาแบ่งแยกกันอยู่ทำไมว่า คนนั้นเป็นวรรณะสูง คนนี้เป็นวรรณะต่ำ มาช่วยกันกระพือสันติสุขให้แก่โลกที่ร้อนระอุนี้จะมิดีกว่าหรือ มนุษย์ไม่ว่าจะเกิดในวรรณะใด เมื่อประพฤติดีก็เป็นคนดีเหมือนกันหมด เมื่อประพฤติชั่วก็เป็นคนชั่วเหมือนกันหมด" "เพราะฉะนั้น ขอให้น้องหญิงเลิกน้อยใจในเรื่องชาติตระกูลของตัว และตั้งหน้าพยายามทำความดีเถิด ขอให้น้องหญิงเชื่อว่าการที่อาตมาไม่สามารถสนองความรักของน้องหญิงได้นั้น มิใช่เป็นเพราะอาตมารังเกียจเรื่องชาติเรื่องตระกูลของเธอเลย แต่มันเป็นเพราะอาตมารังเกียจตัวความรักนั่นต่างหาก" "ภคินีเอย! อันธรรมดาว่าความรักนั้น มันเป็นธรรมชาติที่เร่าร้อนอยู่แล้ว ถ้ายิ่งมันเกิดขึ้นในฐานะที่ผิดที่ไม่เหมาะสมเข้าอีกมันก็จะยิ่งเพิ่มแรงร้อนมากขึ้น การที่น้องหญิงจะรักอาตมา หรืออาตมาจะรักเธออย่างเสน่หาอาลัยนั่นแล เรียกว่าความรักอันเกิดขึ้นในฐานะที่ผิดหรือไม่เหมาะสม ขอให้เธอตัดความรักความอาลัยเสียเถิด แล้วเธอจะพบความสุขความปลอดโปร่งอีกแบบหนึ่งซึ่งสูงกว่า ประณีตกว่า" พระอานนท์ละภิกษุนูปัสสยะไว้เบื้องหลัง ด้วยความรู้สึกที่แปลกประหลาด ท่านเดินลัดเลาะมาทางริมสระแล้วนั่งลง ณ ม้ายาวมีพนักตัวหนึ่ง ภิกษุผู้เป็นปัจฉาสมณะก็นั่งลง ณ ริมสุดข้างหนึ่ง พระอานนท์ถอนหายใจยาวและหนักหน่วง เหมือนจะระบายความหนักอกหนักใจออกมาเสียบ้าง ครู่หนึ่งท่านจึงบอกให้ภิกษุรูปนั้นกลับไปก่อน ท่านต้องการจะนั่งพักผ่อนอยู่ที่นั้นสักครู่ ถ้าพระศาสดาเรียกหาก็ให้มาตามที่ริมสระนั้น ท่านนั่งคิดทบทวนถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น บางครั้งรู้สึกสงสารภิกษุณีโกกิลาอย่างจับใจ แต่ด้วยอัธยาศัยแห่งมหาบุรุษประดับด้วยบารมีธรรมนั้นต่างหากเล่า จึงสามารถข่มใจและสลัดความรู้สึกสงสารอันนั้นเสีย ท่านปรารภกับตนเองว่า "อานนท์เธอเป็นเพียงโสดาบันเท่านั้น ราคะโทสะและโมหะยังมิได้ละเลย เพราะฉะนั้นอย่าประมาท อย่าเข้าใกล้ หรือยอมพบกับภิกษุณีโกกิลาอีก ธรรมชาติของจิตเป็นสิ่งดิ้นรนกลับกลอกง่าย บางคราวปรากฏเหมือนช้างตกมัน อานนท์! จงเอาสติเป็นขอสำหรับเหนียวรั้งช้าง คือจิตที่ดิ้นรนนี้ให้อยู่ในอำนาจ บุคคลผู้มีอำนาจมากที่สุด และควรแต่การสรรเสริญนั้นคือ ผู้ที่สามารถเอาตนของตนเองไว้ในอำนาจได้ สามารถชนะตนเองได้ พระศาสดาตรัสว่าผู้ชนะตนเองได้ชื่อว่าเป็นยอดนักรบในสงคราม เธอจงเป็นยอดนักรบในสงครามเถิด อย่าเป็นผู้แพ้เลย" พระอานนท์ตรึกตรองและให้โอวาทตนเองอยู่พอสมควรแล้ว ก็เข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาค ท่านไม่มีอะไรปิดบังสำหรับพระผู้มีพระภาค เพราะฉะนั้นท่านจึงกราบทูลเรื่องราวทั้งหมดให้พระจอมมุนีทรงทราบ รวมทั้งที่ท่านปรารภกับตนเอง และให้โอวาทตนเองนั้นด้วย พระมหาสมณะทรงทราบเรื่องนี้แล้ว ทรงประทานสาธุการแก่พระอานนท์แล้วตรัสให้กำลังใจว่า "อานนท์! เธอเป็นผู้มีบารมีอันได้สั่งสมมาดีแล้ว ชาตินี้เป็นชาติสุดท้ายแห่งเธอ เรื่องที่เธอจะตกไปสู่ฐานะที่ต่ำกว่านี้นั้นเป็นไม่มีอีก" แล้วพระศากยมุนีก็ทรงแย้มพระโอษฐ์น้อยๆ เมื่อพระอานนท์ทูลถามสาเหตุที่ทรงแย้มพระโอษฐ์นั้น จึงตรัสว่า "อานนท์! เธอคงลืมไปว่า พระโสดาบันนั้นมีการไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา จะต้องได้ตรัสรู้เป็นพระอรหันต์อย่างแน่นอนไม่วันใดก็วันหนึ่ง เธออย่าวิตกทุกข์ร้อนไปเลย" พระอานนท์ก็อาการแช่มชื่นแจ่มใสขึ้น เพราะพระดำรัสประโลมใจของพระศาสดานั้น เย็นวันนั้นเอง พุทธบริษัทแห่งนครโกสัมพีผู้ใคร่ต่อธรรมมีมือถือดอกไม้ธูปเทียน และสุคันธชาติหลากหลายต่างมุ่งหน้าสู่โฆสิตาราม เพื่อฟังธรรมรสจากพระพุทธองค์ เมื่อพุทธบริษัทพรั่งพร้อมนั่งอย่างมีระเบียบแล้ว พระผู้มีพระภาคทรงอันตรวาสก (สบง = ผ้าสำหรับนุ่ง) ซึ่งย้อมไว้ด้วยดีแล้ว ทรงคาดพระกายพันธนะ (ประคตเอว = ผ้ารัดเอว) อันเป็นประดุจสายฟ้า ทรงครองสุคตมหาบังสุกุลจีวร อันเป็นประดุจผ้ากัมพลสีเหลืองหม่น เสด็จออกจาพระคันธกุฎีสู่ธรรมสภาด้วยพุทธลีลาอันงามยิ่งหาที่เปรียบมิได้ ประดุจวิลาสแห่งพระยาช้างตัวประเสริฐ และประดุจอาการเยื้องกรายแห่งไกรสรสีหราช เสด็จขึ้นสู่บวรพุทธอาสน์ที่ปูลาดไว้ดีแล้วท่ามกลางมณฑลมาล ซึ่งประทับตกแต่งอย่างวิจิตรตระการตา ทรงเปล่งพระฉัพพัณณรังสีประดุจพระอาทิตย์เปล่งแสงอ่อนๆ บนยอดภูเขายุคันธร เมื่อสมเด็จพระจอมมุนีเสด็จมาถึง พุทธบริษัทก็เงียบกริบ พระพุทธองค์ทรงมองดูพุทธบริษัทด้วยพระหฤทัยอันเปี่ยมไปด้วยเมตตา ทรงดำริว่า "ชุมนุมนี้ ช่างงามน่าดูจริง จะหาคนคะนองมือคะนองเท้า หรือมีเสียงไอเสียงจามไม่ได้เลย ชนทั้งหมดนี้มีคารวะต่อเรายิ่งนัก ถ้าเราไม่พูดขึ้นก่อน แม้จะนั่งอยู่นานสักเท่าใดก็จะไม่มีใครพูดอะไรเลย แต่เวลานี้เป็นเวลาแสดงธรรม" พระองค์ทรงดำริเช่นนี้แล้วจึงส่งข่ายแห่งพระญาณของพระองค์ไปสำรวจพุทธบริษัทว่า ใครหนอจะสามารถบรรลุธรรมเบื้องสูงได้บ้างในวันนี้ ทรงเล็งเห็นอุปนิสัยแห่งภิกษุณีโกกิลาว่า มีญาณแก่กล้าพอจะบรรลุธรรมได้ พระพุทธองค์จึงทรงประกาศธรรมจักรอันประเสริฐ ด้วยพระสุรเสียงอันไพเราะกังวาน ดังนี้ "ดูก่อนท่านทั้งหลาย! ทางสองสายคือกามสุขัลลิกานุโยค การหมกมุ่นอยู่ด้วยกามสุขสายหนึ่ง และอัตตกิลมถานุโยค การทรมานกายให้ลำบากเปล่าสายหนึ่ง อันผู้หวังความเจริญในธรรมพึงละเว้นเสีย ควรเดินทางสายกลาง คือเดินตามอริยมรรคมีองค์ ๘ คือความเห็นชอบ ความดำริชอบ การพูดชอบ การทำชอบ การประกอบอาชีพในทางสุจริต ความพยายามในทางที่ชอบ การตั้งสติชอบ และการทำสมาธิชอบ "ดูก่อนท่านทั้งหลาย! ความทุกข์เป็นความจริงประการหนึ่งที่ชีวิตทุกชีวิตจะต้องประสบบ้างไม่มากก็น้อย ความทุกข์ที่กล่าวนี้มีอะไรบ้าง? ท่านทั้งหลาย! ความเกิดเป็นความทุกข์ ความแก่ความเจ็บความตายก็เป็นความทุกข์ ความแห้งใจ หรือความโศกความร่ำไรรำพันจนน้ำตานองหน้า ความทุกข์กาย ความทุกข์ใจ ความคับแค้นใจ ความพลัดพรากจากบุคคลหรือสิ่งของอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับบุคคลหรือสิ่งของอันไม่เป็นที่พอใจ ปรารถนาอะไรไม่ได้ดังใจ ทั้งหมดนี้ล้วนเป็นความทุกข์ที่บุคคลต้องประสบทั้งสิ้น เมื่อกล่าวโดยสรุปการยึดมั่นในขันธ์ ๕ ด้วยตัณหาอุปาทานนั่นเองเป็นความทุกข์อันยิ่งใหญ่ "ท่านทั้งหลาย! เราตถาคตกล่าวว่าความทุกข์ทั้งมวลย่อมสืบเนื่องมาจากเหตุ ก็อะไรเล่าเป็นเหตุแห่งทุกข์นั้น เรากล่าวว่าตัณหานั้นเป็นเหตุเกิดแห่งทุกข์ ตัณหาคือความทะยานอยากดิ้นรน ซึ่งมีลักษณะเป็นสามคือดิ้นรนอยากได้อารมณ์ที่น่าใคร่น่าปรารถนาเรียกกามตัณหาอย่างหนึ่ง ดิ้นรนอยากเป็นนั่นเป็นนี่เรียกภวตัณหาอย่างหนึ่ง ดิ้นรนอยากผลักสิ่งที่มีแล้วเป็นแล้วเรียกวิภวตัณหาอย่างหนึ่ง นี่แลคือสาเหตุแห่งทุกข์ขั้นมูลฐาน "ท่านทั้งหลาย การสละคืนโดยไม่เหลือซึ่งตัณหาประเภทต่างๆ ดับตัณหาคลายตัณหาโดยสิ้นเชิงนั่นแล เราเรียกว่านิโรธคือความดับทุกข์ได้ "ทางที่จะดับทุกข์ดับตัณหานั้นเราตถาคตแสดงไว้แล้ว คืออริยมรรคมีองค์ ๘" "ท่านทั้งหลายจงมีธรรมเป็นที่พึ่งเถิด อย่ามีอย่างอื่นเป็นที่พึ่งเลย เราตถาคตเองเป็นที่พึ่งแก่ท่านทั้งหลายไม่ได้ ตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้ทางบอกทางเท่านั้น ส่วนความเพียรพยายามเพื่อเผาบาปอกุศล ท่านทั้งหลายต้องทำเอง ทางมีอยู่เราชี้แล้วบอกแล้ว ท่านทั้งหลายต้องเดินเอง" พระธรรมเทศนา ของพระผู้มีพระภาคเจ้าในวันนั้น เหมือนเจาะจงเทศนาแก่ภิกษุณีโกกิลาโดยเฉพาะ นางรู้สึกเหมือนพระองค์ประทับแก้ปัญญาหัวใจของนางให้หลุดร่วง สมแล้วที่ใครๆ พากันชมพระพุทธองค์ ว่าเป็นเหมือนดวงจันทร์ ซึ่งทุกคนรู้สึกเหมือนว่าจงใจจะส่องแสงสีนวลไปให้แก่ตนเพียงคนเดียว โกกิลาภิกษุณีส่งกระแสจิตไปตามพระธรรมเทศนาปลดเปลื้องสังโยชน์คือกิเลสเครื่องร้อยรัดจิตใจทีละชั้น จนสามารถประหารกิเลสทั้งมวลได้สำเร็จมรรคผลชั้นสูงสุดในพระพุทธศาสนา เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งด้วยประการฉะนี้

โอวาทพระอานนท์เถระ..เวลานั้นบ่ายมากแล้ว ความอบอ้าวลดลงบริเวณอารามซึ่งมีพันธุ์ไม้หลายหลากดูร่มรื่นยิ่งขึ้น นกเล็กๆ บนกิ่งไม้วิ่งไล่เล่นกันอย่างเพลิดเพลิน บางพวกร้องทักทายกันอย่างสนิทสนมและชื่นสุข ดิรัจฉานเป็นสัตว์โลกที่มีความรู้น้อยและความสามารถน้อย มันมีความรู้ความสามารถแต่เพียงหากินและหลบหลีกภัยเฉพาะหน้า แต่ดูเหมือนมันจะมีความสุขยิ่งกว่ามนุษย์ซึ่งถือตนว่าฉลาดและมีความสามารถ เหนือสัตว์โลกทั้งมวล เป็นความจริงที่ว่าความสุขนั้นขึ้นอยู่กับความพอใจ มนุษย์ไม่ว่าจะอยู่ในเพศไหนและภาวะอย่างใด ถ้าสามารถพอใจในภาวะนั้นได้ เขาก็มีความสุข ความยากจนหาเช้ากินค่ำ อาจจะมีความสุขกว่ามหาเศรษฐี หรือมหาราชาผู้เร่าร้อนอยู่เสมอ เพราะความปรารถนาและทะยานอยากอันไม่รู้จักสิ้นสุด มนุษย์เราจะมีสติปัญญาฉลาดปานใดก็ตาม ถ้าไร้เสียแล้วซึ่งปัญญาในการหาความสุขให้แก่ตนโดยทางที่ชอบ เขาผู้นั้นควรจะทะนงตนว่าฉลาดกว่าสัตว์ละหรือ? มนุษย์ส่วนใหญ่มักจะปล่อยให้ความอยากความดิ้นรนออกหน้าแล้ววิ่งตาม เหมือนวิ่งตามเงาของตนเองในเวลาบ่าย ยิ่งวิ่งตาม ก็ดูเหมือนเงาจะห่างตัวออกไปทุกที ทุกคนต้องการและมุ่งมั่นในความสุข แต่ความสุขก็เป็นเหมือนเงานั่นเอง ความสุขมิใช่เป็นสิ่งที่เราจะต้องแสวงหาและมุ่งมอง หน้าที่โดยตรงที่มนุษย์ควรทำนั้นคือ การมองทุกข์ให้เห็น พร้อมทั้งตรวจสอบพิจารณาสาเหตุแห่งทุกข์นั้น แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์เสีย โดยนัยนี้ความสุขก็จะเกิดขึ้นเอง เหมือนผู้ปรารถนาความสุขความเจริญแก่ประเทศชาติ ถ้าปราบเสี้ยนหนามและเรื่องร้ายในประเทศมิได้ ก็อย่าหวังเลยว่าประเทศชาติจะเจริญและผาสุกหรือเหมือนผู้ปรารถนาสุขแก่ร่าง กายถ้ายังกำจัดโรคในร่างกายมิได้ ความสุขกายจะมีได้อย่างไร แต่ถ้าร่างกายปราศจากโรคมีอนามัยดี ความสุขกายก็มีมาเอง ด้วยประการฉะนี้ปรัชญาเถรวาทจึงให้หลักเราไว้ว่า "มองทุกข์ให้เห็นจึงเป็นสุข" อธิบายว่า เมื่อเห็นทุกข์กำหนดรู้ทุกข์และค้นหาสมุฏฐานของทุกข์แล้วทำลายสาเหตุแห่ง ทุกข์นั้นเสีย เหมือนหมอทำลายเชื้ออันเป็นสาเหตุแห่งโรค ยิ่งทุกข์ลดน้อยลงเท่าใด ความสุขก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเท่านั้น ความทุกข์ที่ลดลงนั้นเองคือความสุข เหมือนทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ถือว่าความเย็นไม่มี มีแต่ความร้อน ความเย็นคือความร้อนที่ลดลง เมื่อความร้อนลดลงถึงที่สุด ก็กลายเป็นความเย็นที่สุด ทำนองเดียวกัน เมื่อความทุกข์ลดลงถึงที่สุดก็กลายเป็นความสุขที่สุด ขั้นแห่งความสุขนั้นมีขึ้นตามแห่งความทุกข์ที่ลดลง คำสอนทางศาสนา เมื่อว่าโดยนัยหนึ่งจึงเป็นเรื่องของ "ศิลปะแห่งการลดทุกข์" นั่นเอง พระอานนท์ได้รับคำบอกเล่าจากสุนันทาภิกษุณีแล้ว ให้รู้สึกเป็นห่วงกังวลถึงโกกิลาภิกษุณียิ่งนัก ท่านคิดว่าหรือจะเป็นเพราะนางหกล้มเมื่อบ่ายนี้กระมัง จึงเป็นเหตุให้นางป่วยลง อนิจจา! โกกิลาเธอรักเรา เราหรือจะไม่รู้ แต่เธอมาหลงรักคนที่ไม่มีหัวใจจะรักเสียแล้ว เหมือนเด็กน้อยผู้ไม่ประสาต่อความตายนั่งร่ำร้องเร่งเร้าขอคำตอบจากมารดาผู้ นอนตายสนิทแล้ว ช่างหน้าสงสารสังเวชเสียนี่กระไร ผู้หญิงมีความอ่อนแอทั้งด้านร่างกายและจิตใจ พระศาสดาจึงกีดกันหนักหนา ในเบื้องแรกที่จะให้สตรีบวชในศาสนา ทั้งนี้เป็นเพราะมหากรุณาของพระองค์ ที่ไม่ต้องการให้สตรีต้องลำบาก

พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐจากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้.

POWER สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ ติดตาม..ดู..ไป.เรื่อย.เรื่อย...ง่ายกว่าที่คิดครับ.. จำหน่าย ขาย ic หาง่าย ใช้ง่าย จำหน่าย IGBT Power Module GT15J331 PS21244 PS21963 PS219A2 6DI15S-050 D 6DI15S-050 C MP6501A ... ตอบกลับ ·

วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระเอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที ...

สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ.ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น.

สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ.ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น.

วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง..บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณหลวงพ่อ..ครับ.https://www.youtube.com/watch?v=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtTU0k6Os https://www.youtube.com/watch?v=GTVCebNl0ws https://www.youtube.com/watch?v=xMyutB4khFM https://www.youtube.com/watch?v=ukhEHT89yT8 https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D0HgPSs https://www.youtube.com/watch?v=82qm2zIWTgE https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSkgjVo2A https://www.youtube.com/watch?v=npxT7kzgIf8 https://www.youtube.com/watch?v=BuVhzJCp8PE https://www.youtube.com/watch?v=_MacugT4Yes https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=mLGqlrBJM_g ปฏิปทาของพระโสดาบัน ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลาย สำหรับคืนนี้ ก็เป็นคืน วันที่ ๙ ตุลาคม ๒๕๒๖ แต่ว่ามองดูเวลา ถ้าทางราชการเขาจะถือว่าเป็นวันที่ ๑๐ แล้ว แต่ว่าทางพระ ก็ยังถือว่าเป็นวันที่ ๙ เพราะยังไม่ได้อรุณดูวันเวลา มันสว่างใกล้จะสว่างเข้ามาทีละน้อยๆ ร่างกายมันไม่อยากจะหลับ อาการทางร่างกายมันเครียดจริงมา ๔ วันเศษ ใกล้จะถึงวันเกิด ก็ดูเหมือนว่าพอจะใกล้จะถึงวันตาย จะเกิดหรือจะตายก็ช่าง มองดูเวลา ๓ นาฬิกาเศษๆ ก็ช่างปะไร เรื่องของร่างกายใจเราไม่เกี่ยว ร่างกายอยากจะหลับก็เชิญหลับ ไม่อยากจะหลับก็แล้วไป มันอยากจะกินก็เชิญมัน มันไม่อยากจะกินก็ช่างมันก็หมดเรื่อง เราตอนนี้ก็ไปนั่งมองดูเวลา มันใกล้จะสว่างนี่ เมื่อตอนก่อนๆ ทุกท่านก็ได้ศึกษาอริยสัจ เฉพาะเรื่องของทุกข์ แล้วก็ศึกษา บารมี ๑๐ ตอนนั้นเขาถือว่าเป็นการเตรียมตัวเพื่อความเป็นพระอริยเจ้า มาวันนี้เราก็มาฝึกกันเพื่อความเป็นพระอริยเจ้ากัน สำหรับการฝึกเป็นพระอริยเจ้านี่ บรรดาเพื่อนภิกษุ สามเณรทั้งหลาย จงอย่าหลงตนว่าเป็นพระอริยเจ้าแล้ว และก็จงอย่าเข้าใจว่าตนเป็นพระอริยเจ้า การจะเป็นพระอริยเจ้าหรือไม่เป็นไม่สำคัญ เอาแต่เพียงว่าท่านมีปฏิปทาแบบไหน เรานำปฏิปทาแบบท่านมาใช้ก็หมดเรื่องใจเราจะได้เป็นสุข อย่างน้อยที่สุดเราก็เป็นคนตกนรกยาก หรือว่าดีไม่ดีเราก็เกิดไม่อยากตกเสียเลยก็ยังได้ นรกน่ะ นิพพานจะไปได้หรือไม่ได้ ก็อยู่ที่ความตายเข้ามาถึง ถ้ายังไม่ตายเราก็ยังไม่ควรพูดกันว่า เราจะไปนิพพานในชาตินี้ แต่เราก็พร้อมเตรียมตัวเพื่อจะไปในชาตินี้อยู่เสมอ ถ้าชาตินี้ไปไม่ได้ ชาติหน้าก็ไปได้ ชาติหน้าไปไม่ได้ ชาติต่อไปก็ไปได้ เป็นอันว่าเราสร้างความสุขใจไว้ก่อนดีกว่า การฝึกฝนตนคล้ายคลึงพระอริยเจ้า จะเป็นหรือไม่เป็นอย่าเข้าไปยุ่ง อย่าไปนึกว่า เวลานี้เราเป็นพระโสดาบัน เป็นพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ ถ้าไปนึกอย่างนั้นเข้า ถ้าไม่เป็นจริงๆ จะยุ่งใหญ่ เพราะว่า..พระพุทธเจ้าทรงบอกว่า "ความอิ่ม ความเต็มจงอย่ามี จงเป็นผู้ไม่มีความอิ่ม ความเต็มในตบะ เป็นเครื่องเผาผลาญกิเลส" ทีนี้เรามาศึกษาเรื่องความเป็นพระโสดาบันกัน พระโสดาบันท่านเป็นกันอย่างไร บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลายเคยมาบอกว่าไปถามพระท่านแล้ว พระท่านบอกว่า พระโสดาบันน่ะเป็นยากแสนยาก แล้วญาติโยมทำไมไม่ถามองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า คือ พระพุทธเจ้าดูบ้าง พระพุทธเจ้าท่านไม่เคยบอกเลยว่าพระโสดาบันเป็นยาก พระโสดาบันตามปฏิปทาที่พระพุทธเจ้าทรงเทศน์ไว้เป็นง่ายจริงๆ ง่ายมาก คือถ้าเราจะตำน้ำพริกสักครก ถ้าเป็นแม่ครัว เป็นพระโสดาบันง่ายกว่าตำน้ำพริกหนึ่งครก เพราะตำน้ำพริกจิ้มหนึ่งครกนี่ ถ้ามือไม่ดี ปรุงไม่ดีจริง รสมันไม่อร่อย แต่พระโสดาบันนี่ไม่ต้องเปลี่ยนรส ใครจะเป็นพระโสดาบันก็รสเดียวเหมือนกันหมด รสที่จะเป็นพระโสดาบันได้มี ๓ รส รสอาหารน่ะ หรือจะเป็นรถขับขี่ก็ตามใจ คือ:- ๑. รสสักกายทิฏฐิ ๒. รสวิจิกิจฉา ๓. รสสีลัพพตปรามาส มีเท่านี้เอง พระโสดาบันมีเท่านี้ แล้วพระสกิทาคามีก็มีเท่านี้ แต่ละเอียดกว่ากันนิด ตอนนี้จะพูดเรื่องพระโสดาบันเสียก่อน พระโสดาบันก็ลองคิดดูว่าถ้าเป็นยากจริงๆ ท่านวิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นเด็กอายุ ๗ ปี ท่านฟังเทศน์จบเดียว ท่านก็เป็นพระโสดาบัน ทีนี้ตามแบบท่านเขียนบอกว่า คนที่จะเป็นพระโสดาบันได้ ต้องตัด สักกายทิฏฐิ ได้เด็ดขาด คือมีความรู้สึกว่าร่างกายไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเราความจริงแบบท่านเขียนไปไม่ผิด แต่ว่าท่านผู้ร้อยกรองเข้าใจผิด ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะอารมณ์นี้เป็นอารมณ์พระอรหันต์ไม่ใช่อารมณ์พระโสดาบัน อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกตามที่พระพุทธเจ้าทรงตรัสว่า มีสมาธิเล็กน้อย และมีปัญญาเล็กน้อย แต่มีศีลบริสุทธิ์อารมณ์พระโสดาบันมีความรู้สึกแต่เพียงว่า ร่างกายนี้จะต้องตามแล้วก็ยังไม่ถึงกับรังเกียจร่างกาย ถ้ารังเกียจร่างกายนี่เป็นอารมณ์พระอนาคามี ตัวอย่างจะเห็นได้ชัดอย่างกับท่าน วิสาขามหาอุบาสิกา ท่านเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี พออายุ ๑๖ ปี ท่านเป็นสาวท่านก็แต่งงาน นี่ถ้ารังเกียจร่างกายจริง ๆ จะแต่งงานทำไมเมื่อแต่งงานแล้วก็ไม่ได้แต่งกับตุ๊กตา ท่านแต่งกับคน ท่านก็มีลูกผู้ชายถึง ๑๐ คน ลูกผู้หญิง ๑๐ คน ท่านมีลูกของท่านจริง ๆ ๒๐ คน ก็ลองคิดดูว่า ถ้าคนรังเกียจร่างกายมีลูกตั้ง ๒๐ คน ได้ไหมหรือว่าจะมีลูกสัก ๑ คนได้ไหม ในเมื่อเรามีความรู้สึกว่าร่างกายมันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา ไม่สนใจกับร่างกายเลย ถ้าไม่สนใจกับร่างกายเลยนี้ ใครเขาแต่งงานกันบ้าง ก็เป็นอันว่า เข้าใจว่าพระโสดาบันมีอารมณ์ไม่สูง ยังมีความรักร่างกายเต็ม ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ร่างกายตนเองก็รัก ร่างกายคนอื่นก็รัก แล้วก็ไม่ใช่รักเฉย ๆ รักวิ่งกระโดดเข้าเป็นคู่ครองกันเสียเลย อย่าง ภรรยาของท่านพรานกุกกุฏมิตร เป็นลูกมหาเศรษฐีเป็นพระโสดาบัน ตั้งแต่อายุ ๗ ปี เหมือนกัน เห็นพรานที่เป็นเนื้อคู่เก่าในชาติก่อน ทนไม่ไหว เดินไปดักหน้าทางเกวียนเขา ไม่ได้ตาม ดักเลย นี่อารมณ์พระโสดาบันก็เหมือนคนธรรมดา แต่ไม่มีโทษทางศีล ตอนนี้ก็มาคุยกันเล่นๆ ถ้าหากว่าท่านคิดจะฝึกตามแบบฉบับทรงอารมณ์ของพระโสดาบัน ทำแบบสบายๆ อย่ารุกรานกำลังใจ ถ้ารุกรานกำลังใจเป็น อัตตกิลมถานุโยค อย่าลืมนะจะไม่มีผลในทางปฏิบัติ ถ้าจิตใจอยากได้เกินไปเป็น กามสุขัลลิกานุโยค จิตฟุ้งซ่าน ตกในลักษณะของนิวรณ์ ทำใจให้เป็นสุขเอาแค่ ๑. มีความรู้สึกว่าชีวิตนี้มันต้องตาย ๒. ถ้าชีวิตจะต้องตาย ก่อนจะตายจะต้องเอาที่พึ่งให้ได้แน่นอน คือยอมรับนับถือความดีขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และยอมรับพระธรรม ยอมรับพระอริยสงฆ์ ทั้ง ๓ ไตรสรณคมน์นี้ จะไม่ยอมปรามาส จะไม่ยอมดูถูก ดูหมิ่น ไม่เหยียดหยาม แล้วก็ ๓. จะทรงศีล ๕ บริสุทธิ์ สำหรับฆราวาส ภิกษุ สามเณร จำเป็นอย่างยิ่ง ภิกษุทรงศีล ๒๒๗ สิกขาบทที่เป็นทุกกฎและอภิสมาจาร อาจจะละเมิดบ้างเป็นของธรรมดา แต่ตั้งแต่ปาราชิก ๔ ถึง ปาจิตตีย์ ควรจะยับยั้ง อย่าให้ละเมิด และอาจจะพลาดพลั้งไปได้ ถึงไม่มีเจตนาก็ได้ สามเณรศีล ๑๐ ไม่พอ ต้องมีเสขิยวัตรอีก ๗๕ ไม่ยังงั้นความเป็นเณรไม่มี ที่วัดนี้ที่ไม่ต้องการรับเณรก็เพราะเหตุนี้แหละ หลายวัดบอกว่าเณรก็คือเด็ก เด็กก็คือเณร ถ้าอย่างนั้นจะบวชให้ทำไม มันลงนรก จะไปแนะนำให้เด็กลงนรกมันมีประโยชน์อะไร ตอนนี้เราก็มาคุยกันเล่นๆ แต่ว่าทำจริงๆ มันก็มีผลจริงๆ นะ สมมุติว่า สักกายทิฏฐิ เรามีความเข้าใจว่าชีวิตนี้ต้องตาย แต่ความตายนี่มีจริง แต่ว่าท่านญาติโยมพุทธบริษัทชายหญิง และเพื่อนภิกษุสามเณร แต่คนมักจะมองเห็นคนอื่นตาย แต่ก็ไม่ได้มองดูความตายของตัวเอง อันนี้มีเป็นปกติ อย่างนี้มีเป็นปกติธรรมดาๆ แล้วเราทำไมถึงจะไม่ลืมความตายล่ะ เรามานั่งคุยกัน เราคุยกันแบบธรรมดาๆ ของคนปัญญาโง่ๆ อย่างพวกเรา อย่าลืมว่าเวลานี้กำลังพูดตามสายแนวของ อุทุมพริกสูตร ในแนวของพระพุทธเจ้า ผมยอมรับนับถือองค์เดียว ยอมรับนับถือพระพุทธเจ้าองค์เดียว คนอื่นจะมายุ่งกับผมไม่ได้ ใครจะประกาศตนเป็นพระอรหันต์ แล้วพูดแหวกแนวสวนทางกับพระพุทธเจ้า ผมจะไม่ยอมรับฟังเด็ดขาด ผมฟังแล้ว ผมก็โยนทิ้งลงส้วมไป แต่ว่าผมเลิกวิธีขากถุยเสียแล้วนี่ เมื่อสมัยผมเป็นเด็กๆ ผมไม่ชอบใจ ผมขากถุยเลย เวลานี้ผมแก่แล้ว ผมขากไม่ไหว ถุยไม่ไหว แต่ก็จะยอมทิ้งส้วมไป อรหันต์ประเภทเดินสวนทางกับพระพุทธเจ้าน่ะ ผมไม่ยอมรับนับถือ ผมถือว่าคนนั้นเป็นเปรต หรือเป็นสัตว์นรกของพระพุทธศาสนา ตามคติของเราคิดอย่างนั้น เขาจะเป็นอรหันต์ของเขาก็ช่างปะไร ที่คุยกันนี่เราคุยกันตามแนว อุทุมพริกสูตร อย่าลืมว่า อุทุมพริกสูตร พระพุทธเจ้าตรัสว่า คนที่เขาเข้าถึง กระพี้ นั่นคือ ระลึกชาติได้ ที่เรียกกันตามภาษาบาลีว่า ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ หากเราคิดว่าเราจะลืมความรู้สึกว่าเราตาย ก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ระลึกชาติ ถอยหลังลงไปว่า เราเคยเกิดมาแล้วกี่ชาติ ลองนับทีแรกสัก ๑๐ ชาติ เป็นอะไรบ้าง ถ้าคล่องตัวดี คราวนี้ไม่ต้องนับแล้ว ปั๊บเดียวเคยเกิดเป็นอย่างนั้นไหม เคยเกิดเป็นอย่างนี้ไหม ภาพจะเกิดทันทีทันใด อันนี้จะต้องฝึกฝน ผมถือว่าทุกองค์ฝึกฝนได้แล้วเพราะครูสอนไว้แล้ว นี่ทำไมเราจะทำไม่ได้ ถ้าทุกท่านทิ้งความดี ผมก็เสียใจ ไม่ใช่เสียใจอย่างที่ชาวบ้านเขาเสียใจ เสียใจนิดหนึ่งว่าความดีมันน้อยสำหรับท่านไป ท่านทั้งหลายนิยมความชั่วที่ผมไม่รู้จะทำยังไงได้ เป็นอันว่าความดีท่านมีไว้ก็แล้วกัน เขาสอนแล้ว วัดนี้ก่อนที่จะเข้ามานี่เขาสอนกันแล้ว ก่อนที่จะบวชก็สอนแล้ว ทำได้หรือไม่ได้ ทรงได้หรือทรงไม่ได้เป็นความดีความชั่วของท่าน เราก็ใช้กำลังปุพเพนิวาสานุสสติญาณดูชาติต่างๆ เกิดเป็นคนบ้าง เกิดเป็นสัตว์บ้าง มันก็ตายทุกชาติ มีฐานะดีขนาดไหนก็ตาย มีอำนาจวาสนาดีขนาดไหนก็ตาย ยากจนเข็ญใจขนาดไหนก็ตาย เป็นเพศหญิงเพศชายก็ตาย เป็นภิกษุสามเณรก็ตาย เป็นคนหรือสัตว์ตายยังไม่พอ ถอยหลังไปดูความเป็นเทวดาหรือพรหม ทุกคนที่นั่งฟังอยู่นี่ผมขอยืนยัน ถ้าทุกท่านจะใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ เวลานี้ท่านจะได้ทราบว่าตัวของท่านเองน่ะ เคยเป็นเทวดา หรือพรหมมาแล้ว นับชาติไม่ถ้วน เอ้า! ใครแน่ใจก็ลองดู เมื่อเป็นมาแล้ว ดูสิมันเป็นเท่าไรมันถึงต้องจุติ ความจริงสภาพของโลกนี่ไม่มีอะไรดีเลย มนุษยโลก เทวโลก พรหมโลกไม่ดี ไม่มีการทรงตัว มนุษย์เรียกว่า ตาย เทวดาหรือพรหมเรียกว่า จุติ มันก็ตัวตายเหมือนกัน นั่นแหละตัวไป คำว่า "ตาย" ในพุทธศาสนามีศัพท์ว่า มรณัง แต่คนตายจริงๆ พระพุทธเจ้า ท่านตรัสว่า กาลังกัตวา แต่ในอุทุมพริกสูตร ท่านเรียกว่า จุติ เหมือนกัน เคลื่อนหมด ไม่ใช่ตาย มันเคลื่อนไป อยู่ที่นี่ไม่ได้ก็ไปอยู่ที่โน่น เป็นมนุษย์ไม่ได้ก็ไปเกิดเป็นสัตว์ เป็นเปรต เป็นสัตว์นรกไป นี่รวมความว่าถอยหลังไปจริงๆ เราก็จะเบื่อการเกิด แล้วก็จะมั่นใจจริงๆ ว่าชาตินี้มันตาย ตายถ้าพลาดท่าพลาดทาง หันเข้าไปดูอีกสองอัน วิจิกิจฉา กับ สีลัพพตปรามาส บางชาติมีความเคารพในพระไตรสรณคมน์ดี ตายปุ๊บปั๊บไปสวรรค์ ไปเป็นพรหม บางชาติมีศีลบริสุทธิ์บริบูรณ์ ตายปุ๊บปั๊บไปเป็นเทวดา ไปเป็นพรหม แล้วก็จุติจากเทวดา พรหมมาเป็นคน มีความอุดมสมบูรณ์ทุกอย่าง มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด รูปร่างหน้าตาก็สะสวยบริบูรณ์ด้วยทรัพย์สิน มีแต่ความสุข บางชาติมีความปรามาสในพระไตรสรณคมน์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น หรือปรามาสในพระธรรม ปรามาสในพระอริยสงฆ์ พระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเทศน์ไว้อย่างนี้ ยักย้ายถ่ายเทไปเทศน์อย่างโน้น ถือมติของตนเองเป็นสำคัญ อย่าง พระกบิล ตายจากความเป็นพระลงอเวจีมหานรก น่ากลัวว่าจะเทศน์ว่าเทวดาไม่มี เทวดาไม่มีความสำคัญ อะไรตามนั้น นี่ตามมติของท่านนะ แต่ในเมื่อพระอรหันต์ทั้งหลายตักเตือน ท่านก็โกรธ แล้วแม่กับน้องสาวก็พาลโกรธด้วย ช่วยกันด่าพระ คือว่าด่าพระที่ตักเตือน เมื่อตายแล้วพากันไปอเวจีทั้ง ๓ คน พระกบิลก็ไปอเวจี แม่กับน้องสาวก็ไปอเวจี นี่การปรามาสพระรัตนตรัย ดัดแปลงคำสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ใช้มติลัทธิของตนเข้าสอนแทน ตายแล้วก็ต้องไปอบายภูมิอย่างนี้ บางชาติของเราละเมิดศีลก็ลงนรกเช่นเดียวกัน… ก็รวมความว่า เราต้องการจะให้ทรงอารมณ์ความเป็นพระโสดาบัน ถ้าใช้ปุพเพนิวาสานุสสติญาณช่วยอย่างเดียวก็เหลือแหล่ในญาณ ๘ พระโสดาบันนี่ง่ายๆ ไม่ต้องถึงญาณ ๘ แล้วไม่ต้องถึง เป็นอันว่าถ้าเราเป็นพระโสดาบันจริง ท่านบอกว่าต้องมีอารมณ์ใจ คือ..นิพพาน อันนั้นเป็นของไม่ยาก ถ้าจิตของเราเข้าถึงอันดับนี้ เมื่อจิตมุ่งเข้าสู่ความเป็นพระโสดาบัน เรียกว่า พระโสดาปัตติมรรค จิตใจเริ่มมีความเข้าใจดีด้วยกำลังของปุพเพนิวาสานุสสติญาณในเรื่องการเกิดการตาย และเมื่อถอยหลังชาติเข้าไปเบื่อการเกิดต่อไปอีก ถ้ามีอารมณ์เบื่อการเกิดต่อไปเกิดขึ้น เพราะเกิดแล้วตายเกิดแล้วก็ตาย ตอนนี้แหละเป็น โคตรภูญาณของพระโสดาบัน เมื่อรู้การเกิดการตายแล้วเกิดความเบื่อหน่าย เพราะรู้ว่า ตายแล้วบางชาติลงนรก บางชาติขึ้นสวรรค์ และไม่สงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ แล้วก็มีความมั่นใจในศีล อย่างนี้อารมณ์ใจเป็นโคตรภูญาณ แล้วก็ในอุทุมพริกสูตร ท่านมี ทิพจักขุญาณ เมื่อมีทิพยจักขุญาณ ถ้าจิตเข้าถึงโคตรภูญาณ จะเห็นพระนิพพานชัดเจนแจ่มใสมาก ถ้าจิตยังไม่เข้าถึงตอนนี้ เรื่องพระนิพพานยังพูดกันไม่รู้เรื่องหรอก ไอ้ขนาดที่กินเหล้าเมายา โกหกมดเท็จ เสพกาม หลงใหลในกาม อันนี้ไม่มีโอกาส แต่คนที่เขามีสามีภรรยานี่เขายับยั้งได้ ทรงอารมณ์ได้ เขาเห็น ถ้าจิตเข้าสู่โคตรภูญาณของพระโสดาบัน จึงจะเห็นพระนิพพาน ถ้ายังไม่ถึงขนาดนั้น จะได้ทิพจักขุญาณขนาดไหนก็ตาม ถ้ายังเป็นฌานโลกีย์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ ไม่มีทางเห็นพระนิพพาน นี่จำไว้ด้วยเรื่องนิพพาน ไม่ใช่จะไปทัศนาจรกันง่ายๆ มันต้องเป็นคนดี มีความดีพอควร จึงจะไปนิพพาน ไปเที่ยวนิพพานได้ ท่านที่บอกว่าจะไปนิพพานน่ะเป็นของเปรอะเลอะเทอะ ก็เพราะเขาเห็นพรนิพพานเป็นของยาก ก็รวมความว่า ถ้าบรรดาท่านพุทธบริษัท ใช้กำลังใจขั้นกระพี้กับแก่นแล้วก็ อย่าลืมนะ อย่าไปทิ้งสะเก็ด อย่าไปทิ้งเปลือก ถ้าทิ้งสะเก็ดทิ้งเปลือกเมื่อไร ทิพจักษุญาณก็ดี ปุพเพนิวาสานุสสติญาณก็ดี จะจาง ถ้าทิ้งนานเกินไปจะสลายตัวทันที จงรักษาสะเก็ดให้ดี จงรักษากระพี้ให้ครบถ้วน อารมณ์จะทรงตัว เห็นทุกข์ เห็นโทษ เห็นภัย… แต่ความจริงพระโสดาบัน เราจะเห็นได้ว่า ท่านมีทานบารมีสูงเป็นเครื่องสังเกต คนที่เป็นพระโสดาบันมีการนิยมให้ทานหนัก แต่ว่าพระโสดาบันท่านฉลาดนะ ท่านไม่โง่ ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ อันนี้เขาไม่ให้กินแน่ ถ้าพระชั่ว… ดูอย่าง พระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสในเมืองโกสัมพีฬะ ทะเลาะกัน พระพุทธเจ้าทรงห้ามไม่ฟัง ท่านก็เลยหลีกไป บรรดาพระอริยเจ้าที่เป็นฆราวาสทั้งหลาย ตั้งแต่พระโสดาบันถึงอนาคามีมีปริมาณมากไม่ยอมใส่บาตรให้พระพวกนั้นกินเลย นี่พระอริยเจ้านี่ท่านไม่ได้โง่เง่าเต่าตุ่น ไม่ใช่ชั่วช่างชีดีช่างสงฆ์ การที่จะมาแก้ไขดัดแปลงคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นอย่างงั้นเป็นอย่างงี้ พระอริยเจ้ามีความเข้าใจ ก็รวมความว่า พระโสดาบันหนักในการให้ทาน เราจะสังเกตได้ พระพุทธเจ้าจึงได้ทรงบัญญัติไว้ในพระวินัยว่า "พระถ้าไม่มีความจำเป็นจริงๆ ห้ามไปขอวัตถุและของกินของใช้ในตระกูลของพระเสขะ" พระเสขะ หมายถึง พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี หากกว่า พระอรหันต์ ท่านเรียกว่า อเสขะ ไม่ต้องศึกษาต่อไป (เสขะ แปลว่า ยังศึกษาอยู่) แล้วการจะมองพระโสดาบันนี่ พระโสดาบันยังเคร่งครัดในศีล แต่อารมณ็เย็นๆ เขาไม่อวดเบ่งเต๊ะท่าว่า ฉันเป็นผู้มีศีลบริสุทธิ์ ท่านพวกนี้มีอารมณ์ใจสบายๆ พระโสดาบันระมัดระวังในเนกขัมมบารมีเบื้องต้นได้ดีมาก เวลาที่จะใช้ฌานสมาบัติระงับนิวรณ์ได้ทันทีทันใด แล้วสังโยชน์ ๓ ประการตัดพร้อมตาย เกิดไม่ได้อีก ความรู้สึกว่าจะไม่ตายไม่มีกับพระโสดาบัน ความสงสัยในคุณพระไตรสรณคมน์ทั้ง ๓ ประการไม่มีอีก ตัดขาดไปเลย การตั้งใจละเมิดศีลจะไม่มีด้วยกำลังใจของพระโสดาบันแน่นอน แล้วจิตของพระโสดาบัน ถ้าว่าด้วยบารมี ท่านมีอธิษฐานบารมี ตั้งมั่นพระนิพพานจริง มีสัจจบารมี อารมณ์ตรงพระนิพพาน มีขันติบารมี อดทน มีอารมณ์ใดที่เข้ามาขัดข้องท่านต่อสู้ มีวิริยบารมี ตีฟันฝ่าอุปสรรค มีสัจจบารมี ทรงใจแน่วแน่ อธิษฐานบารมี ตรงแล้ว เมตตาบารมี พระโสดาบันมีมาก อุเบกขาบารมี ท่านทรงอารมณ์เฉย กดอารมณ์ไว้ไม่ยอมให้ความเป็นพระโสดาบันเสื่อม เฉยเลยยืนนิ่ง ถึงพระโสดาบันแล้วยืนนิ่งไม่ถอยหลัง มีแต่ก้าวหน้าต่อไป เอาละ บรรดาญาติโยมพุทธบริษัททั้งหลาย และเพื่อนภิกษุสามเณร เวลาหมดแล้ว ก็ขอจบเรื่องราวของพระโสดาบันไว้เพียงเท่านี้ ที่พูดไว้แต่เป็นตัวอย่าง ความจริงถ้าเราได้ญาณ ๒ อย่าง คือ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ กับ ทิพจักขุญาณ ง่ายมาก ง่ายจริงๆ บรรดาท่านพุทธบริษัทชายหญิง เวลานี้ขอลาก่อน ขอความสุขสวัสดิ์พิพัฒนมงคล สมบูรณ์พูนผล จงมีแต่ท่านพุทธศาสนิกชนผู้เป็นสาวกขององค์สมเด็จพระชินวรทุกท่าน สวัสดี

การเข้าถึงสัจจะ ท่านจะไม่โดดเดี่ยวเดียวดายอีกต่อไป “จิตวิญญาณ” ของมนุษย์นั้นมีอยู่จริง นอกจากนี้มันยังสามารถที่จะแยกตัวออกจาก “กายหยาบ” ของเราได้ และถ้า “กายหยาบ” ปราศจากซึ่ง “จิตวิญญาณ” แล้ว มันก็ไม่สามารถจะดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วย กล่าวคือขณะที่เราฝันแบบรู้ตัว(LucidDreaming Effect)นั้น ตัวต้นของเราที่อยู่ในความฝันความจริงแล้วมันก็คือ “จิตวิญญาณ” หรือ “ตัวตนที่อยู่ในรูปของพลังงาน” ของเรานั้นเอง ปกติแล้ว จิตวิญญาณ ดังกล่าวก็จะดำรงอยู่ในโลกที่จิตปรุงแต่งขึ้นมาซึ่งก็คือ “โลกความฝัน” โดยในความฝันปกติที่เราไม่สามารถควบคุมมันได้นั้นก็เป็นเพราะ “จิต” ของเราขาดสมาธิ ความฝันจึงดำเนินไปตามจิตใต้สำนึกเป็นหลัก เมื่อความฝันจบลงเราก็จะตื่นขึ้นโดยไม่มีผลอะไรตามมา แต่ในกรณีที่เราฝันแล้วจิตของเราในตอนนั้นมีสมาธิที่สูง กรณีนี้ตัวเราจะสามารถควบคุมจิตวิญญาณของเราเองได้ สามารถกำหนดเรื่องราวที่เกิดขึ้นในความฝันได้ แต่อย่างไรก็ตามเราก็ไม่สามารถที่จะนำจิตวิญญาณของเราออกมาจากโลกของความฝันได้อยู่ดี เมื่อระดับสมาธิของเราต่ำลงถึงจุดหนึ่งเราก็จะไม่สามารถควบคุมความฝันได้อีก ความฝันของเราก็จะกลายเป็นความฝันปกติ หรือไม่เราก็จะตื่นจากความฝัน มีทางเดียวเท่านั้นที่เราจะสามารถนำดวงจิตของเราออกจากความฝันได้นั้นก็คือ เราต้องทำให้จิตของเราหยุดปรุงแต่ง หรือพูดง่ายๆแต่ทำยากมากๆนั้นก็คือ เราต้องหยุดคิดให้ได้ในขณะที่เรามีสมาธิสูงอยู่นั่นเอง “หยุดคิด” มันจะเป็นไปได้อย่างไร ตราบใดที่เรายังหายใจอยู่มีช่วงเวลาไหนที่มนุษย์เราจะหยุดคิดได้ด้วยหรือ แม้ว่ามันจะดูเหมือนว่าไม่น่าจะเป็นไปได้แต่มันเป็นเรื่องที่สามารถเกิดขึ้นได้

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิตผู้ปฏิบัติที่แท้จริงนั้น ไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงชาติหน้า-ชาติหลัง หรือ นรก-สวรรค์อะไรก็ได้ ขอให้ตั้งใจปฏิบัติให้ตรง ศีล สมาธิ ปัญญา อย่างแน่วแน่ก็พอ ถ้าสวรรค์มีจริงถึง 16 ชั้น ตามตำรา ผู้ปฏิบัติดีแล้ว ก็ย่อมได้เลื่อนฐานะของตนเองตามลำดับ หรือถ้า สวรรค์-นิพพานไม่มีเลย ผู้ปฏิบัติดีในขณะนี้ย่อมไม่ไร้ประโยชน์ ย่อมอยู่เป็นสุข เป็นมนุษย์ชั้นเลิศ " "จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็นนิโรธ" "คิดเท่าไรๆ ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดได้จึงรู้ แต่ต้องอาศัยความคิดนั้นแหละจึงรู้"

คำตอบทั้งหมดอยู่ที่จิต...ผู้ปฏิบัติที่แท้จริงนั้น ไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงชาติหน้า-ชาติหลัง หรือ นรก-สวรรค์อะไรก็ได้ ขอให้ตั้งใจปฏิบัติให้ตรง ศีล สมาธิ ปัญญา อย่างแน่วแน่ก็พอ ถ้าสวรรค์มีจริงถึง 16 ชั้น ตามตำรา ผู้ปฏิบัติดีแล้ว ก็ย่อมได้เลื่อนฐานะของตนเองตามลำดับ หรือถ้า สวรรค์-นิพพานไม่มีเลย ผู้ปฏิบัติดีในขณะนี้ย่อมไม่ไร้ประโยชน์ ย่อมอยู่เป็นสุข เป็นมนุษย์ชั้นเลิศ " "จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็นนิโรธ" "คิดเท่าไรๆ ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดได้จึงรู้ แต่ต้องอาศัยความคิดนั้นแหละจึงรู้"

ถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสองผู้ปฏิบัติที่แท้จริงนั้น ไม่จำเป็นต้องคำนึงถึงชาติหน้า-ชาติหลัง หรือ นรก-สวรรค์อะไรก็ได้ ขอให้ตั้งใจปฏิบัติให้ตรง ศีล สมาธิ ปัญญา อย่างแน่วแน่ก็พอ ถ้าสวรรค์มีจริงถึง 16 ชั้น ตามตำรา ผู้ปฏิบัติดีแล้ว ก็ย่อมได้เลื่อนฐานะของตนเองตามลำดับ หรือถ้า สวรรค์-นิพพานไม่มีเลย ผู้ปฏิบัติดีในขณะนี้ย่อมไม่ไร้ประโยชน์ ย่อมอยู่เป็นสุข เป็นมนุษย์ชั้นเลิศ " "จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิต เป็นนิโรธ" "คิดเท่าไรๆ ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดได้จึงรู้ แต่ต้องอาศัยความคิดนั้นแหละจึงรู้"

เครื่องตรวจจับและนับวัตถุโปร่งใส""ราคาเครื่องละ 3500 บาทครับ..โทร 02-951-1356 091-803-6553 Line id:pornpimon 1411 Email sompongindustrial@gmail.com mrsompongt@hotmail.com 1. วัตถุโปรงใส ( Transparent Object ) เป็นวัตถุที่แสงผ่านไปได้เกือบหมดอย่างเป็นระเบียบเราจึงมองผ่านวัตถุนี้ได้อย่างชัดเจน เช่น น้ำใส แก้วใส เป็นต้น 2. วัตถุโปร่งแสง ( Translucent Object ) เป็นวัตถุที่แสงผ่านไปได้บ้าง แต่ไม่เป็นระเบียบเราจึงมองผ่านวัตถุนี้ได้ไม่ชัด เช่น น้ำขุ่น กระจกฝ้า เป็นต้น 3. วัตถุทึบแสง ( Opaque Object ) เป็นวัตถุที่แสงผ่านไปไม่ได้เลย แสงทั้งหมดจะถูกดูดกลืนไว้หรือสะท้อนกลับ เราจึงไม่สามารถมองผ่านวัตถุชนิดนี้ได้ เช่น กระจกเงา ผนังตึก เป็นต้น

การขนาน PS21244http://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM

การขนาน PS21244http://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM

พลังงานและพลังงานทดแทน มอเตอร์สามเฟสใช้โซล่าเซลล์http://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM

แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่ใช้อินเวอร์เตอร์ควบคุมมอเตอร์อินดัตชั่่น...http://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM

AC DRIVE Motor inverter ปรับรอบมอเตอร์สามเฟสรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8

เครื่องแปลงไฟ ความถี่สูงPower electronics From Wikipedia, the free encyclopedia This article is about the technology of power electronics. For the musical genre, see power electronics (music). An HVDC thyristor valve tower 16.8 m tall in a hall at Baltic Cable AB in Sweden A battery charger is an example of a piece of power electronics A PCs power supply is an example of a piece of power electronics, whether inside or outside of the cabinet Power electronics is the application of solid-state electronics to the control and conversion of electric power. It also refers to a subject of research in electronic and electrical engineering which deals with the design, control, computation and integration of nonlinear, time-varying energy-processing electronic systems with fast dynamics. The first high power electronic devices were mercury-arc valves. In modern systems the conversion is performed with semiconductor switching devices such as diodes, thyristors and transistors, pioneered by R. D. Middlebrook and others beginning in the 1950s. In contrast to electronic systems concerned with transmission and processing of signals and data, in power electronics substantial amounts of electrical energy are processed. An AC/DC converter (rectifier) is the most typical power electronics device found in many consumer electronic devices, e.g. television sets, personal computers, battery chargers, etc. The power range is typically from tens of watts to several hundred watts. In industry a common application is the variable speed drive (VSD) that is used to control an induction motor. The power range of VSDs start from a few hundred watts and end at tens of megawatts. The power conversion systems can be classified according to the type of the input and output power AC to DC (rectifier) DC to AC (inverter) DC to DC (DC-to-DC converter) AC to AC (AC-to-AC converter)

วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558

ผู้ตั้งอยู่ในอริยะธรรม..ภุตตา โภคา ภะฎา ภัจจา วิติณณา อาปะทาสุ เม โภคะทั้งหลายเราได้บริโภคแล้ว บุคคลทั้งหลายที่ควรเลี้ยง เราได้เลี้ยงแล้ว อันตรายทั้งหลาย เราได้ข้ามพ้นไปแล้ว อุคธัคคา ทักขิณา ทินนา อะโถ ปัญจะ พะลี กะตา ทักษิณาที่เจริญผล เราได้ให้แล้ว อนึ่ง พลีห้า เราได้ทำแล้ว อุปัฏฐิตา วีละวันโต สัญญะตา พรัหมะจาริโน ท่านผู้มีศีลสำรวมระวัง ประพฤติพรหมจรรย์ เราได้บำรุงแล้ว ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ ปัณฑิโต ฆะระมาวะสัง บัณฑิตผู้อยู่ครองเรือน ปรารถนาโภคะเพื่อประโยชน์อันใด โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต กะตัง อะนะ นุตาปิยัง ประโยชน์นั้น เราได้บรรลุแล้ว กรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลังเราได้ทำแล้ว เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร นรชนผู้จะต้องตายเมื่อตามระลึกถึงคุณข้อนี้อยู่ พึงเป็นผู้ตั้งอยู่ในอริยะธรรม อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ. เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายย่อมสรรเสริญนรชนนั้นในโลกนี้ นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์ ดังนี้แล.

สิ่งที่ครอบงำทุกชีวิต..ภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน อันไพบูลย์ สูงจดฟ้า กลิ้งบดสัตว์มาโดยรอบทั้งสี่ทิศ แม้ฉันใด ความแก่ และความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้น เป็น กษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม เป็นพลเมืองก็ตาม เป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม เป็นกุลีเทหยาก เยื่อก็ตาม มิได้เว้นสิ่งอะไรๆ ไว้ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้ง ปวงทีเดียว ภูมิแห่งช้างทั้งหลาย ย่อมไม่มีในชรา และมรณะนั้น ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี อนึ่งอันใครๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะ นั้นด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนต์ หรือ ด้วยทรัพย์ ด้วย เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน ผู้ มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ผู้ใดประพฤติธรรมด้วยกาย ด้วย วาจา หรือด้วยใจ บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญนรชน นั้นในโลกนี้ นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิง ในสวรรค์ ดังนี้แล.

เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย..ว่าด้วยกายเปรียบด้วยฟองไข่ [๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้:- สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ เภสกฬาวัน (ป่าเป็นที่นางยักษ์ชื่อเภสกฬา อยู่อาศัย) อันเป็นสถานที่ให้อภัยแก่หมู่มฤค ใกล้เมืองสุงสุมารคิระในภัคคชนบท ฯลฯ ครั้งนั้นแล คฤหบดีชื่อนกุลบิดาเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวายอภิวาทแล้ว นั่ง ณ ที่ควร ส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระองค์เป็นผู้แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยแล้วโดยลำดับ มีกายกระสับกระส่าย เจ็บป่วยเนืองๆ พระพุทธเจ้าข้า ก็ข้าพระองค์มิได้เห็นพระผู้มีพระภาคและภิกษุทั้งหลาย ผู้ให้เจริญใจอยู่เป็นนิตย์ ขอพระผู้มี พระภาคโปรดสั่งสอนข้าพระองค์ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดพร่ำสอนข้าพระองค์ ด้วยธรรมที่เป็น ไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพระองค์ตลอดกาลนานเถิด. พระผู้มีพระภาคตรัสว่า นั่น ถูกแล้วๆ คฤหบดี อันที่จริง กายนี้กระสับกระส่าย เป็นดังว่าฟองไข่ อันผิวหนังหุ้มไว้ ดูกร คฤหบดี ก็บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่ พึงรับรองความเป็นผู้ไม่มีโรคได้แม้เพียงครู่เดียว จะมีอะไร เล่า นอกจากความเป็นคนเขลา ดูกรคฤหบดี เพราะเหตุนั้นแหละ ท่านพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อเรามีกายกระสับกระส่ายอยู่ จิตของเราจักไม่กระสับกระส่าย ดูกรคฤหบดี ท่านพึงศึกษา อย่างนี้แล. [๒] ครั้งนั้นแล คฤหบดีชื่อนกุลบิดา ชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาค ลุก จากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาค ทำประทักษิณแล้ว เข้าไปหาท่านพระสารีบุตร อภิวาทแล้ว นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง. ท่านพระสารีบุตร ได้กล่าวกะนกุลปิตคฤหบดีว่า คฤหบดี อินทรีย์ของท่านผ่องใสนัก สีหน้าของท่านบริสุทธิ์ เปล่งปลั่ง วันนี้ ท่านได้ฟัง ธรรมีกถาในที่เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคหรือ? นกุลปิตคฤหบดีตอบว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ไฉนจะไม่เป็นอย่างนี้เล่า พระผู้มีพระภาคทรงหลั่งอมฤตธรรมรดข้าพเจ้าด้วยธรรมีกถา. ส. ดูกรคฤหบดี พระผู้มีพระภาคทรงหลั่งอมฤตธรรมรดท่านด้วยธรรมีกถาอย่างไรเล่า? น. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (ข้าพเจ้าจะเล่าถวาย) ข้าพเจ้าเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค ถวาย อภิวาทแล้ว นั่งอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่งแล้ว ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคว่า พระพุทธเจ้าข้า ข้าพระองค์เป็นผู้แก่เฒ่า เป็นผู้ใหญ่ ล่วงกาลผ่านวัยแล้วโดยลำดับ มีกายกระสับกระส่าย เจ็บป่วยเนืองๆ พระพุทธเจ้าข้า ก็ข้าพระองค์มิได้เห็นพระผู้มีพระภาคและภิกษุทั้งหลาย ผู้ให้ เจริญใจอยู่เป็นนิตย์ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดสั่งสอนข้าพระองค์ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดพร่ำ สอนข้าพระองค์ด้วยธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ข้าพระองค์ตลอดกาลนานเถิด. เมื่อข้าพเจ้ากราบทูลอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคตรัสว่า นั่น ถูกแล้วๆ คฤหบดี อันที่จริง กายนี้กระสับกระส่าย เป็นดังว่าฟองไข่ อันผิวหนังหุ้มไว้ ดูกรคฤหบดี ก็บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่ พึงรับรองความเป็นผู้ไม่มีโรคได้แม้เพียงครู่เดียว จะมีอะไรเล่า นอกจากความเป็นคนเขลา ดูกร คฤหบดี เพราะเหตุนั้นแหละ ท่านพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อเรามีกายกระสับกระส่ายอยู่ จิตของ เราจักไม่กระสับกระส่าย ดูกรคฤหบดี ท่านพึงศึกษาอย่างนี้แล. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มี พระภาคทรงหลั่งอมฤตธรรมรดข้าพเจ้าด้วยธรรมีกถาอย่างนี้แล. [๓] ส. ดูกรคฤหบดี ก็ท่านมิได้ทูลสอบถามพระผู้มีพระภาคต่อไปว่า พระพุทธเจ้าข้า ด้วยเหตุเท่าไรหนอ? บุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่ายและเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย และก็ด้วยเหตุเท่าไรหนอ? บุคคลแม้เป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย ไม่. น. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้ามาแม้แต่ที่ไกล เพื่อจะทราบเนื้อความแห่งภาษิตนั้นใน สำนักท่านพระสารีบุตร ดีละหนอ ขอเนื้อความแห่งภาษิตนั้นจงแจ่มแจ้งกะท่านพระสารีบุตรเถิด. ส. ดูกรคฤหบดี ถ้าเช่นนั้น ท่านจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว. นกุลปิตคฤหบดีรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว. ท่านพระสารีบุตรจึงได้กล่าวว่า สักกายทิฏฐิ ๒๐ [๔] ดูกรคฤหบดี ก็อย่างไรเล่า? บุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่ายด้วย จึง ชื่อว่าเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายด้วย. ดูกรคฤหบดี คือ ปุถุชนผู้มิได้สดับแล้วในโลกนี้ มิได้ เห็นพระอริยะทั้งหลาย ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ มิได้รับแนะนำในอริยธรรม มิได้เห็น สัตบุรุษทั้งหลาย ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ มิได้รับแนะนำในสัปปุริสธรรม ย่อมเห็นรูปโดย ความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมีรูป ๑ ย่อมเห็นรูปในตน ๑ ย่อมเห็นตนในรูป ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา. เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูป ของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ย่อมเห็นเวทนาโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็น ตนมีเวทนา ๑ ย่อมเห็นเวทนาในตน ๑ ย่อมเห็นตนในเวทนา ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา. เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา เวทนานั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะเวทนาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ย่อมเห็นสัญญา โดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมี สัญญา ๑ ย่อมเห็นสัญญาในตน ๑ ย่อมเห็นตนในสัญญา ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา. เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา สัญญานั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะสัญญาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ย่อมเห็นสังขารโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมี สังขาร ๑ ย่อมเห็นสังขารในตน ๑ ย่อมเห็นตนในสังขาร ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา. เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา สังขารนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะสังขารแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ย่อมเห็นวิญญาณโดยความเป็นตน ๑ ย่อมเห็นตนมี วิญญาณ ๑ ย่อมเห็นวิญญาณในตน ๑ ย่อมเห็นตนในวิญญาณ ๑ เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณของเรา เมื่อเขาตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณ ของเรา วิญญาณนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะวิญญาณแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงเกิดขึ้น. ดูกรคฤหบดี ด้วยเหตุอย่างนี้แล บุคคลจึงชื่อว่าเป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย และเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่าย. [๕] ดูกรคฤหบดี ก็อย่างไรเล่า? บุคคลแม้เป็นผู้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มี จิตกระสับกระส่ายไม่. ดูกรคฤหบดี คือ อริยสาวกผู้ได้สดับแล้วในธรรมวินัยนี้ ผู้เห็นพระอริยะ ทั้งหลาย ผู้ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ผู้ได้รับแนะนำดีแล้วในอริยธรรม ผู้เห็นสัตบุรุษ ทั้งหลาย ผู้ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ผู้ได้รับแนะนำดีแล้วในสัปปุริสธรรม ย่อมไม่เห็นรูปโดย ความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีรูป ๑ ย่อมไม่เห็นรูปในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในรูป ๑ ไม่เป็นผู้ ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา. เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นรูป รูปของเรา รูปนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะรูปแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น. ย่อมไม่เห็นเวทนาโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีเวทนา ๑ ย่อมไม่เห็นเวทนาในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในเวทนา ๑ ไม่เป็นผู้ตั้ง อยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา. เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่น ว่า เราเป็นเวทนา เวทนาของเรา เวทนานั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะเวทนาแปร ปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น. ย่อมไม่เห็น สัญญาโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีสัญญา ๑ ย่อมไม่เห็นสัญญาในตน ๑ ย่อมไม่เห็น ตนในสัญญา ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่าเราเป็นสัญญา สัญญาของเรา. เมื่ออริยสาวก นั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสัญญา สัญญาของเรา. สัญญานั้นย่อมแปรปรวนเป็น อย่างอื่นไป เพราะสัญญาแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและ อุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น. ย่อมไม่เห็นสังขารโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนมีสังขาร ๑ ย่อมไม่ เห็นสังขารในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในสังขาร ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา. เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นสังขาร สังขารของเรา สังขารนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะสังขารแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น. ย่อมไม่เห็นวิญญาณโดยความเป็นตน ๑ ย่อมไม่เห็น ตนมีวิญญาณ ๑ ย่อมไม่เห็นวิญญาณในตน ๑ ย่อมไม่เห็นตนในวิญญาณ ๑ ไม่เป็นผู้ตั้งอยู่ด้วย ความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณของเรา. เมื่ออริยสาวกนั้นไม่ตั้งอยู่ด้วยความยึดมั่นว่า เราเป็นวิญญาณ วิญญาณของเรา วิญญาณนั้นย่อมแปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป เพราะวิญญาณ แปรปรวนเป็นอย่างอื่นไป โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัสและอุปายาสจึงไม่เกิดขึ้น. ดูกร คฤหบดี อย่างนี้แล บุคคลแม้มีกายกระสับกระส่าย แต่หาเป็นผู้มีจิตกระสับกระส่ายไม่. ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวคำเช่นนี้แล้ว นกุลปิตคฤหบดี ชื่นชมยินดีภาษิตของท่าน พระสารีบุตร ฉะนี้แล. จบ สูตรที่ ๑

การสร้างอินเวอร์เตอร์ ด้วย TRANSISTOR POWER MODULEรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8

การสร้างอินเวอร์เตอร์ ด้วย TRANSISTOR POWER MODULEรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8

กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสั...ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,

สมาธิเต็มรูปแบบพอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไป­ทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก

นี้คือคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าและพระสาวกทั้งหลายพอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้ สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เองเพราะมันไม่แส่ส่ายไปที่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดตรงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะฉะนั้นสมาธิเนี่ยเต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งทุกอย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิต ตรงนี้แหละ จิตจะไหวตัวขึ้นมา สองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะ แต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้น แล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นจิตจะรู้เลย มันไม่มีสาระนะ จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตเกิดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น 2 – 3 ขณะ นะ ความเป็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ แต่เป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง จิตดวงเก่าดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆดับไป จะทวนกระแสเข้าหาจิตที่อยู่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้ คาบลูกคาบดอก ยังเกาะอยู่ในขันธ์ แล้วก็ไม่ได้เกาะขันธ์แล้ว คือ ไม่ได้เกาะอยู่ที่จิต แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตธาตุอมตธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน นี้ต้องแยกให้ออก มันยังทวนเข้ามาไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิตนะ ไม่ใช่พระอริยะเพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตร ข้ามจากโคตรไหนไปสู่โคตรไหน จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะฉะนั้นบรรลุมรรคผลแล้วนะ เปลี่ยนโคตรนะ อันนี้ข้ามจากสกุลของปุถุชนนะ ข้ามมาสู่อริยวงศ์ อริยโคตร เรียกว่า ญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละ ที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้นะ ข้ามเข้ามา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุ วิญญาณธาตุ ธาตุรู้แท้ๆแล้ว ธรรมธาตุ ตัวนี้แหละ อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไป­ทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก

ตัวธาตุรู้นั้นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้เรียกว่า โคตรภูญาณ.ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไป­ทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก

Non Stop 48 Oldies Medley Track Volume 1

ต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนิน..30 ลิขิตฟ้า 70ต้องฝ่าฝัน ต้องสู้..ต้องสู้ถึงจะชนะ

ร่มธงแห่งธรรมดูกรมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล อริยสาวก ในพระธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล สำรวมระวังในพระปาติโมกข์ ถึงพร้อมด้วยมารยาทและโคจร มีปกติเห็นภัยในโทษเพียงเล็กน้อย สมาทานศึกษาอยู่ในสิกขาบททั้งหลาย ดูกรมหานาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีล. ดูกรมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ เห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ไม่ถือนิมิต ไม่ถืออนุพยัญชนะ เธอย่อม ปฏิบัติเพื่อสำรวมจักขุนทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้ว จะเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คือ อภิชฌาและโทมนัสครอบงำนั้น ชื่อว่ารักษาจักขุนทรีย์ ชื่อว่าถึงความสำรวมในจักขุนทรีย์ ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ... ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว ... ถูกต้องโผฏฐัพพะ ด้วยกายแล้ว ... รู้แจ้งธรรมารมณ์ด้วยใจแล้ว ไม่ถือนิมิต ไม่ถืออนุพยัญชนะ เธอย่อมปฏิบัติเพื่อ สำรวมมนินทรีย์ ที่เมื่อไม่สำรวมแล้ว จะเป็นเหตุให้อกุศลธรรมอันลามก คืออภิชฌาและโทมนัส ครอบงำนั้น ชื่อว่ารักษามนินทรีย์ ชื่อว่าถึงความสำรวมในมนินทรีย์ ดูกรมหานาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่าเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย. ดูกรมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ อริยสาวก ในพระธรรมวินัยนี้ พิจารณาโดยแยบคายแล้วกลืนกินอาหาร ไม่ใช่เพื่อจะเล่น เพื่อจะมัวเมา เพื่อความผ่องใส เพื่อความงดงาม เพียงเพื่อความดำรงอยู่แห่งกายนี้ เพื่อให้กายนี้เป็นไปได้ เพื่อบำบัดความอยากอาหาร เพื่ออนุเคราะห์พรหมจรรย์ ด้วยคิดว่า จักกำจัดเวทนาเก่าเสียด้วย จักไม่ให้เวทนาใหม่เกิดขึ้นด้วย ความเป็นไปแห่งอิริยาบถ ความเป็นผู้ไม่มีโทษ และความอยู่ เป็นผาสุกจักมีแก่เรา ดูกรมหานาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่าเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ. ดูกรมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นผู้ประกอบความเพียรเครื่องตื่น อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ เวลากลางวันชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเครื่องกั้นจิต ด้วยการเดิน การนั่ง เวลากลางคืน ในปฐมยาม ชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเครื่องกั้นจิต ด้วยการเดิน การนั่ง เวลากลางคืน ในมัชฌิมยาม สำเร็จสีหไสยาสน์โดยข้างเบื้องขวา ซ้อนเท้าเหลื่อมเท้า มีสติสัมปชัญญะ มนสิการสัญญาในอันที่จะลุกขึ้น เวลากลางคืน ในปัจฉิมยาม ลุกขึ้นแล้ว ชำระจิตให้บริสุทธิ์จากธรรมเครื่องกั้นจิต ด้วยการเดิน การนั่ง ดูกรมหานาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่าเป็นผู้ประกอบความเพียรเครื่องตื่น. ดูกรมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ ประการ คืออริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ ๑. เป็นผู้มีศรัทธา คือเชื่อความตรัสรู้ของพระตถาคตว่า แม้เพราะเหตุนี้ๆ พระผู้มี- *พระภาคพระองค์นั้นเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไป ดีแล้ว ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและ มนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จำแนกพระธรรม. ๒. เป็นผู้มีหิริ คือ ละอายกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายต่อการถึงพร้อม แห่งอกุศลธรรมอันลามก. ๓. เป็นผู้มีโอตตัปปะ คือ สะดุ้งกลัวกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุ้งกลัว ต่อการถึงพร้อมแห่งอกุศลธรรมอันลามก. ๔. เป็นพหูสูต ทรงธรรมที่ได้สดับแล้ว สั่งสมธรรมที่ได้สดับแล้ว ธรรมเหล่าใดงาม ในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด ประกาศพรหมจรรย์พร้อมทั้งอรรถ พร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์ บริบูรณ์สิ้นเชิง ธรรมทั้งหลายเห็นปานนั้น อันท่านได้สดับมามาก ทรงจำไว้ได้ สั่งสมด้วยวาจา ตามเพ่งด้วยใจ แทงตลอดด้วยดี ด้วยความเห็น. ๕. เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อถึงพร้อมแห่งกุศลธรรม มีความ เข้มแข็ง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย. ๖. เป็นผู้มีสติ คือ ประกอบด้วยสติและปัญญาเครื่องรักษาตนอย่างยิ่ง ระลึกได้ ตามระลึกได้ แม้ซึ่งกิจการที่ทำไว้แล้วนาน แม้ซึ่งถ้อยคำที่พูดไว้แล้วนาน. ๗. เป็นผู้มีปัญญา คือ ประกอบด้วยปัญญา อันเห็นความเกิดและความดับ อันเป็น อริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ดูกรมหานาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่า เป็นผู้ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ ประการ. ดูกรมหานาม อย่างไร อริยสาวกจึงจะชื่อว่าเป็นผู้ได้ฌานทั้ง ๔ อันเป็นธรรม อาศัยซึ่งจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม ตามความปรารถนา เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก อริยสาวกในพระธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน มีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกายเพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริย ทั้งหลายสรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติ บริสุทธิ์อยู่ ดูกรมหานาม อย่างนี้แล อริยสาวกชื่อว่าเป็นผู้ได้ฌานทั้ง ๔ อันเป็นธรรมอาศัย ซึ่งจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรมตามความปรารถนา เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก. ดูกรมหานาม เพราะอริยสาวกเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลอย่างนี้ คุ้มครองทวาร ในอินทรีย์ทั้งหลายอย่างนี้ รู้จักประมาณในโภชนะอย่างนี้ ประกอบความเพียรเครื่องตื่นอย่างนี้ ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ อย่างนี้ เป็นผู้ได้ฌานทั้ง ๔ อันเป็นธรรมอาศัยซึ่งจิตอันยิ่ง เป็น เครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม ตามความปรารถนาเป็นผู้ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก อย่างนี้ บัณฑิตจึงกล่าวอริยสาวกนี้ว่าเป็นผู้มีเสขปฏิปทา ถึงพร้อมด้วยคุณธรรมซึ่งเป็นดุจฟองไข่ที่ไม่เน่า ควรจะชำแรกกิเลส ควรจะตรัสรู้ ควรจะบรรลุธรรมอันปลอดโปร่งจากกิเลสเครื่องประกอบ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า. ดูกรมหานาม เปรียบเหมือนฟองไข่ ๘ ฟอง ๑๐ ฟอง หรือ ๑๒ ฟอง ฟองไข่เหล่านั้น แม่ไก่นอนทับ กก อบให้ได้ไออุ่นดีแล้ว ถึงแม่ไก่นั้นจะไม่เกิดความปรารถนาอย่างนี้ว่า ขอลูกไก่เหล่านี้พึงทำลายเปลือกไข่ด้วยปลายเล็บเท้าหรือด้วยจะงอยปาก ออกได้โดยสะดวกเถิด ดังนี้ ลูกไก่ภายในเปลือกไข่นั้นก็คงทำลายเปลือกไข่ออกได้โดยสวัสดี ฉันใด ดูกรมหานาม อริยสาวกก็ฉันนั้นเพราะท่านเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลอย่างนี้ คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายอย่างนี้ รู้จักประมาณในโภชนะอย่างนี้ ประกอบความเพียรเครื่องตื่นอย่างนี้ ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ อย่างนี้ เป็นผู้ได้ฌานทั้ง ๔ อันเป็นธรรมอาศัยซึ่งจิตอันยิ่งเป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม ตามความปรารถนา เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบากอย่างนี้ บัณฑิตจึงกล่าวอริยสาวกนี้ว่า เป็นผู้มีเสขปฏิปทา ถึงพร้อมด้วยคุณธรรมซึ่งเป็นดุจฟองไข่ที่ไม่เน่า ควรจะชำแรกกิเลส ควรจะ ตรัสรู้ ควรจะบรรลุธรรมอันปลอดโปร่งจากกิเลสเครื่องประกอบ ไม่มีธรรมอื่นยิ่งกว่า. ดูกรมหานาม อริยสาวกนั้นอาศัยจตุตถฌาน มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์ ไม่มี สิ่งอื่นยิ่งกว่านี้อย่างเดียว ย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็นอันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติ บ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็น อันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้น เรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์ อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์ อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึก ถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ข้อนี้เป็นความ แตกฉานแห่งฌานข้อที่หนึ่งของอริยสาวกนั้น เปรียบเหมือนลูกไก่เจาะเปลือกไข่ออก ฉะนั้น. ดูกรมหานาม อริยสาวกนั้นอาศัยจตุตถฌาน มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ไม่มี สิ่งอื่นยิ่งกว่านี้อย่างเดียว เธอเห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ ผู้เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียน พระอริยเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะ กายแตก เขาย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียนพระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจ สัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็น หมู่สัตว์กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษ์อันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรม ด้วยประการ ฉะนี้ ข้อนี้ เป็นความแตกฉานแห่งฌานข้อที่สองของอริยสาวกนั้น เปรียบเหมือนลูกไก่เจาะ เปลือกไข่ออก ฉะนั้น. ดูกรมหานาม อริยสาวกนั้นอาศัยจตุตถฌาน มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์ ไม่มี สิ่งอื่นยิ่งกว่านี้อย่างเดียว ย่อมทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติอันหาอาสวะมิได้ เพราะ อาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ข้อนี้เป็นความแตกฉานแห่ง ฌานข้อที่สามของอริยสาวกนั้น เปรียบเหมือนลูกไก่เจาะเปลือกไข่ออก ฉะนั้น. ความเป็นผู้มีวิชชาและจรณะ ดูกรมหานาม แม้ข้อที่อริยสาวกเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยศีลนี้ ก็เป็นจรณะของเธอ ประการหนึ่ง แม้ข้อที่อริยสาวกเป็นผู้คุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลายนี้ ก็เป็นจรณะของเธอ ประการหนึ่ง แม้ข้อที่อริยสาวกเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ ก็เป็นจรณะของเธอประการหนึ่ง แม้ข้อที่อริยสาวกเป็นผู้ประกอบความเพียรเครื่องตื่นนี้ ก็เป็นจรณะของเธอประการหนึ่ง แม้ข้อที่ อริยสาวกเป็นผู้ประกอบด้วยสัปปุริสธรรม ๗ ประการนี้ ก็เป็นจรณะของเธอประการหนึ่ง แม้ข้อที่ อริยสาวกเป็นผู้ได้ฌานทั้ง ๔ อันเป็นธรรมอาศัยซึ่งจิตอันยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรม ตามความปรารถนา เป็นผู้ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบากนี้ ก็เป็นจรณะของเธอประการหนึ่ง แม้ข้อที่ อริยสาวกระลึกชาติก่อนๆ ได้เป็นอันมาก คือระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏฏวิวัฏฏกัปเป็นอันมากบ้าง ว่าในภพโน้นเรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณ อย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้นๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพนั้นแล้ว ได้มาเกิดในภพนี้ เธอย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อมทั้ง อาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ นี้ก็เป็นวิชชาของเธอประการหนึ่ง แม้ข้อที่อริยสาวก เห็นหมู่สัตว์ที่กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของมนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมว่า สัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ติเตียนพระอริยะเจ้า เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก เขาย่อมเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก ส่วนสัตว์เหล่านี้ประกอบด้วยกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต ไม่ติเตียน พระอริยเจ้า เป็นสัมมาทิฏฐิ ยึดถือการกระทำด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เบื้องหน้าแต่ตายเพราะ กายแตก เขาย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์ ดังนี้ เธอย่อมเห็นหมู่สัตว์กำลังจุติ กำลังอุปบัติ เลว ประณีต มีผิวพรรณดี มีผิวพรรณทราม ได้ดี ตกยาก ด้วยทิพยจักษุอันบริสุทธิ์ ล่วงจักษุของ มนุษย์ ย่อมรู้ชัดซึ่งหมู่สัตว์ผู้เป็นไปตามกรรมด้วยประการฉะนี้ นี้ก็เป็นวิชชาของเธอประการหนึ่ง แม้ข้อที่อริยสาวกทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ซึ่งปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลาย สิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ นี้ก็เป็นวิชชาของเธอประการหนึ่ง. คาถาสนังกุมารพรหม ดูกรมหานาม อริยสาวกนี้ บัณฑิตสรรเสริญว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาแม้เพราะเหตุนี้ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจรณะแม้เพราะเหตุนี้ เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะแม้เพราะเหตุนี้ แม้ สนังกุมารพรหมก็ได้กล่าวคาถาไว้ว่า ในชุมชนที่ยังรังเกียจกันด้วยโคตร กษัตริย์เป็นผู้ประเสริฐสุด ในหมู่เทวดาและมนุษย์ ท่านผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เป็นผู้ประเสริฐสุด. ดูกรมหานาม คาถานั้น สนังกุมารพรหมขับดีแล้ว มิใช่ขับชั่ว กล่าวดีแล้ว มิใช่กล่าวชั่ว ประกอบด้วยประโยชน์ มิใช่ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ พระผู้มีพระภาคทรงอนุมัติ แล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเสด็จลุกขึ้นแล้ว ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า สาธุๆ อานนท์ เธอได้กล่าวเสขปฏิปทาแก่พวกเจ้าศากยะเมืองกบิลพัสดุ์ ดีแล. ท่านพระอานนท์ได้กล่าวภาษิตนี้จบลงแล้ว พระศาสดาทรงยินดี พวกเจ้าศากยะ เมือง กบิลพัสดุ์ ชื่นชม ยินดี ภาษิตของท่านพระอานนท์ ดังนี้แล.

วันเสาร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2558

มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าใช้โดยตรงจากแผงโซล่าเซลล์รวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8

มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าใช้โดยตรงจากแผงโซล่าเซลล์รวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8

ความรู้เบื้องต้นเรื่องเครื่องจักรกลไฟฟ้า""รับออกแบบแก้ไขดัดแปลงซ่อมสร้างแผงวงจรควบคุมเครื่องจักรกล sompongindustrial@gmail.com 02-951-1356 081-803-6553

วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า นอกจากปัญญาและความเพียร นอกจากความสำรวมอินทรีย์ นอกจากความสละวางโดยประการทั้งป­­­วง เรายังไม่เห็นความ สวัสดีแห่งสัตว์ทั้งหลาย

ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย..แม้เกิดมาเป็นมนุษย์ก็น่าหวาดเสียวอยู่นั่นเอง เพราะมนุษย์ มีหลายประเภท หลายสภาพ บางคนพิกลพิการ อดอยาก เจ็บกาย เจ็บใจ อยู่ตลอดชีวิต แม้คนที่มั่งมีและมีอวัยวะสมบูรณ์ก็ยังถูกกิเลส เผาให้เร่าร้อนอยู่เป็นประจำ ความต้องการออกจากโลกเป็นโลกุตตรชนนั้น เป็นทรรศนะ และอุดมคติของนักปราชญ์ ทั้งนี้เพราะได้มองเห็นด้วยปัญญา อันชอบว่า โลกนี้ไม่มีอะไรควรยึดมั่น สิ่งใดที่บุคคลเข้าไปยึดมั่น สิ่งนั้นก่อให้เกิดทุกข์เสียทุกครั้งไป ความสุขก็เล็กน้อยไม่พอกับ ความทุกข์ที่กระหน่ำอยู่ทุกเวลามิได้เว้น โลกนี้มีความทรุดโทรม แวดล้อมอยู่ด้วยทุกข์รอบด้าน มี ปัญหามาก พร่องอยู่เป็นนิตย์ มีความขัดข้องที่จะต้องแก้ไขอยู่เสมอ ข้าพเจ้าเชื่อว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นกัลยาณมิตรของท่าน ผู้ต้องการสละโลก (แม้จะยังสละไม่ได้ก็ตาม) และแม้ท่านผู้ยัง ต้องการอยู่ในโลกอย่างไม่เป็นทาสของโลกหรืออยู่อย่างมีทุกข์น้อย ที่สุด หนังสือเล่มนี้ก็คงเป็นเพื่อนที่ดีของท่านได้อยู่นั่นเอง บุญกุศลใดที่จะพึงบังเกิดแก่ข้าพเจ้าในการเขียนหนังสือเล่มนี้ ด้วยกำลังกาย กำลังใจ และกำลังศรัทธา ขอบุญกุศลนั้นพึงเป็น เพื่อนใจหยั่งลงเป็นอุปนิสัยบารมีคอยกระตุ้นเตือนชักนำให้ข้าพเจ้า เป็นผู้มีปกติเห็นโทษและเห็นภัยในโลก ไม่ติดโลก ไม่ติดในภพ มีปัญญาในการสลัดตนออก มีจิตใจมั่นคง ไม่หวั่นไหวด้วยโลกธรรม ดำรงตนอยู่อย่างอิสระ ได้รับความสงบเย็นเต็มที่ในธรรมที่ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงประกาศดีแล้วด้วยเถิด วศิน อินทสระ ๙ ธันวาคม ๒๕๒๐

เราควรเจริญจิตให้หยุดนิ่งอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น..เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดหวั่น เมื่อไม่หวาดหวั่น ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเ­สวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

การเจริญพระกรรมฐานนิโรธสูตร ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโส ทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ บ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอ ก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มี ฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ บ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารีบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่าน พระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วง ความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ผู้ถึงพร้อมด้วย ปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้ เป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วง ความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตร ว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิง การาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิต- *นิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั่นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ครั้งนั้นท่านพระสารีบุตรได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคันค้าน เราถึง ๓ ครั้ง และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนา (ภาษิต) เรา ผิฉะนั้น เราพึง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว ได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อม ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุ อรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหาร เป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารี- *บุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรท่าน พระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็น ภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึง ออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะ ที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระอุทายี ... ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตร ได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคัดค้านเราถึง ๓ ครั้ง แม้เฉพาะพระพักตร์แห่งพระผู้มี พระภาค และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนาต่อเรา ผิฉะนั้น เราพึงนิ่งเสีย ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้นิ่งอยู่ ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามท่านพระอุทายีว่า ดูกรอุทายี ก็เธอย่อมหมายถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจเหล่าไหน ท่านพระอุทายีได้ กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์หมายถึงเหล่าเทพชั้นอรูปที่สำเร็จ ด้วยสัญญา พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรอุทายี ไฉนเธอผู้เป็นพาล ไม่ฉลาด จึงได้กล่าวอย่างนั้น เธอเองย่อมเข้าใจคำที่เธอควรพูด ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ดูกรอานนท์ ไฉนพวกเธอจักวางเฉย (ดูดาย) ภิกษุผู้เถระซึ่งถูกเบียดเบียนอยู่ เพราะว่า แม้ความการุณจักไม่มีในภิกษุผู้ฉลาดซึ่ง ถูกเบียดเบียนอยู่ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกร- *ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ... ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมี ได้ พระผู้มีพระภาคผู้สุคต ครั้นตรัสดังนี้แล้ว จึงเสด็จลุกจากอาสนะเข้าไปยัง พระวิหาร ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จไปแล้วไม่นาน ท่านพระอานนท์ได้เข้าไป หาท่านพระอุปวาณะ แล้วกล่าวว่า ดูกรท่านอุปวาณะ ภิกษุเหล่าอื่นในพระศาสนา นี้ ย่อมเบียดเบียนภิกษุทั้งหลายผู้เถระ พวกเราจะไม่ถามหาภิกษุเหล่านั้น การที่ พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่พักผ่อนในเวลาเย็น จักทรงปรารภเหตุนั้นยกขึ้น แสดง เหมือนดังที่จะพึงตรัสกะท่านอุปวาณะโดยเฉพาะในเหตุนั้น ข้อนั้นไม่เป็น ของอัศจรรย์ บัดนี้ ความน้อยใจได้เกิดขึ้นแก่พวกเรา ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค เสด็จออกจากที่เร้นในเวลาเย็นแล้ว เสด็จเข้าไปนั่งที่อุปัฏฐานศาลา ประทับนั่งบน อาสนะที่ได้ตบแต่งไว้ แล้วจึงตรัสถามท่านพระอุปวาณะว่า ดูกรอุปวาณะ ภิกษุ ผู้เถระประกอบด้วยธรรมเท่าไรหนอแล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ท่านพระอุปวาณะได้กราบทูลว่า ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ธรรม ๕ ประการ เป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล ฯลฯ ศึกษาอยู่ในสิกขาบท ทั้งหลาย ๑ เธอเป็นพหุสูต ฯลฯ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ๑ เธอเป็นผู้มีวาจา ไพเราะ มีถ้อยคำไพเราะ ประกอบด้วยวาจาชาวเมืองอันสละสลวย ไม่มีโทษ ให้รู้เนื้อความได้แจ่มแจ้ง ๑ เธอเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ๑ เธอย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ๑ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระ ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ฯ พ. ดีละๆ อุปวาณะ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ถ้าหากว่าธรรม ๕ ประการนี้ ไม่พึงมีแก่ภิกษุผู้เถระไซร้ เพื่อนพรหมจรรย์พึง สักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ โดยความเป็นผู้มีฟันหัก มีผมหงอก มี หนังย่น อะไรกัน แต่เพราะธรรม ๕ ประการนี้ ย่อมมีแก่ภิกษุผู้เถระ ฉะนั้น เพื่อนพรหมจรรย์จึงสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ ฯ

วันศุกร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2558

จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้วชนทั้งหมดย่อมรู้พระตถาคตผู้รุ่งโรจน์ด้วยพุทธสิริว่านี้พระพุทธเจ้า. การรู้นั้นไม่น่าอัศจรรย์. แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปกปิดพระพุทธรัศมีเสด็จไปด้วยอำนาจของภิกษุผู้บิณฑบาตรูปหนึ่ง จึงรู้ได้ยาก. ท่านปุกกุสาติกล่าวสภาพตามเป็นจริงว่า เราไม่รู้ด้วยประการฉะนี้. ความจริงเป็นอย่างนั้น ท่านปุกสุสาติไม่รู้พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น แม้ประทับนั่ง ณ ศาลาช่างหม้อด้วยกัน. บทว่า เอตทโหสิ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความเหน็ดเหนื่อยในการเดินทางสงบระงับแล้ว ทรงมีพระดำริ. บทว่า เอวมาวุโส ความว่า กุลบุตรได้อ่านสักว่าสาส์นที่พระสหายส่งไป สละราชสมบัติออกบวช ด้วยคิดว่า เราจักได้ฟังพระธรรมเทศนาอันไพเราะของพระทศพล ครั้นบรรพชาแล้วก็เดินทางไกลประมาณนี้ ก็ไม่ได้พระศาสดาผู้ตรัสสักบทว่า ดูก่อนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน กุลบุตรนั้นจักไม่ฟังคำที่ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน โดยเคารพหรือ. กุลบุตรนี้เป็นเหมือนนักเลงสุราที่กระหายและเหมือนช้างที่ตกมันฉะนั้น. เพราะฉะนั้น กุลบุตรเมื่อปฏิญาณถึงการฟังโดยความเคารพ จึงทูลว่า เอวมาวุโส ดังนี้. บทว่า ฉธาตุโร อยํ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ตรัสข้อปฏิบัติส่วนเบื้องต้นแก่กุลบุตร แต่ทรงปรารภเพื่อตรัสบอกวิปัสสนาลักษณะเท่านั้น ซึ่งมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งอันเป็นปทัฎฐานแห่งพระอรหัต แต่เบื้องต้น. จริงอยู่ บุพภาคปฏิปทาของผู้ใดยังไม่บริสุทธิ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสบอกบุพภาคปฏิปทานี้ คือศีลสังวร ความคุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ความเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ การประกอบเนืองๆ ซึ่งความเพียรเป็นเครื่องตื่น สัทธรรม ๗ ฌาน ๔ แก่ผู้นั้นก่อนเทียว. แต่บุพภาคปฏิปทานั้นของผู้ใดบริสุทธิ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าจะไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทานั้น แต่จักตรัสบอกวิปัสสนานั้นแล ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตแก่ผู้นั้น. ก็บุพภาคปฏิปทาของกุลบุตรบริสุทธิ์แล้ว. จริงอย่างนั้น กุลบุตรนั้นอ่านพระสาส์นแล้วขึ้นปราสาทอันประเสริฐนั้นเทียว ยังอานาปานจตุตถฌานให้เกิดขึ้นแล้ว จึงเดินทางไปตลอด ๑๙๒ โยชน์ ยังกิจในยานให้สำเร็จ. แม้สามเณรศีลของกุลบุตรนั้นก็บริบูรณ์ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทา แต่ทรงปรารภเพื่อจะตรัสบอกวิปัสสนาลักษณะอันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตเท่านั้นแก่กุลบุตรนั้น.

พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌาน..ธาตุวิภังคสูตร หน้าต่างที่ ๒ / ๒. ลำดับนั้น พระองค์ทรงเห็นกุลบุตรปราศจากการคะนองมือ การคะนองเท้าและการสั่นศีรษะ นั่งเหมือนเสาเขื่อนที่ฝังไว้อย่างดีแล้ว เหมือนพระพุทธรูปทองไม่หวั่นไหวเป็นนิตย์ จึงตรัสว่า เอตํ ปาสาทิกํ นุโข เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปาสาทิโก คือ นำมาซึ่งความเลื่อมใส. ก็คำนั้นเป็นภาวนปุงสกลิงค์. ในคำนั้นมีเนื้อความดังนี้ว่า กุลบุตรย่อมเป็นไปด้วยอิริยาบถอันน่าเลื่อมใส เพราะฉะนั้น อิริยาบถเป็นกิริยาที่น่าเลื่อมใสโดยประการใด ก็ย่อมเป็นไปโดยประการนั้น. ในอิริยาบถทั้ง ๔ อย่าง อิริยาบถ ๓ อย่างย่อมไม่งาม. จริงอยู่ ภิกษุเดินไป มือทั้งหลายย่อมแกว่ง เท้าทั้งหลายย่อมเคลื่อนไป ศีรษะย่อมสั่น. กายของภิกษุผู้ยืน ย่อมแข็งกระด้าง. อิริยาบถแม้ของภิกษุผู้นอน ย่อมไม่น่าพอใจ. แต่เมื่อภิกษุปัดกวาดที่พักกลางวัน ในปัจฉาภัต ปูแผ่นหนัง มีมือและเท้าชำระล้างดีแล้ว นั่งขัดสมาธิอันประกอบด้วยสนธิสี่นั้นเทียว อิริยาบถย่อมงาม. ก็กุลบุตรนี้ขัดสมาธินั่งเข้าอานาปานจตุตถฌาน กุลบุตรประกอบด้วยอิริยาบถด้วยประการฉะนี้แล. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปริวิตกว่า กุลบุตรน่าเลื่อมใสหนอแล. ถามว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปริวิตกว่า เอาเถิดเราควรจะถามดูบ้าง แล้วตรัสถาม เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรงรู้ความที่กุลบุตรนั้นเป็นผู้บวชอุทิศพระองค์หรือ. ตอบว่า ไม่ทรงรู้หามิได้ แต่เมื่อไม่ตรัสถาม ถ้อยคำก็ไม่ตั้งขึ้น เมื่อถ้อยคำไม่ตั้งขึ้นแล้ว การแสดงย่อมไม่เกิดขึ้น เพราะฉะนั้น จึงตรัสถาม เพื่อเริ่มตั้งถ้อยคำขึ้น. บทว่า ทิสฺวาปาหํ น ชาเนยฺยํ ความว่า ชนทั้งหมดย่อมรู้พระตถาคตผู้รุ่งโรจน์ด้วยพุทธสิริว่านี้พระพุทธเจ้า. การรู้นั้นไม่น่าอัศจรรย์. แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปกปิดพระพุทธรัศมีเสด็จไปด้วยอำนาจของภิกษุผู้บิณฑบาตรูปหนึ่ง จึงรู้ได้ยาก. ท่านปุกกุสาติกล่าวสภาพตามเป็นจริงว่า เราไม่รู้ด้วยประการฉะนี้. ความจริงเป็นอย่างนั้น ท่านปุกสุสาติไม่รู้พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น แม้ประทับนั่ง ณ ศาลาช่างหม้อด้วยกัน. บทว่า เอตทโหสิ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความเหน็ดเหนื่อยในการเดินทางสงบระงับแล้ว ทรงมีพระดำริ. บทว่า เอวมาวุโส ความว่า กุลบุตรได้อ่านสักว่าสาส์นที่พระสหายส่งไป สละราชสมบัติออกบวช ด้วยคิดว่า เราจักได้ฟังพระธรรมเทศนาอันไพเราะของพระทศพล ครั้นบรรพชาแล้วก็เดินทางไกลประมาณนี้ ก็ไม่ได้พระศาสดาผู้ตรัสสักบทว่า ดูก่อนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน กุลบุตรนั้นจักไม่ฟังคำที่ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน โดยเคารพหรือ. กุลบุตรนี้เป็นเหมือนนักเลงสุราที่กระหายและเหมือนช้างที่ตกมันฉะนั้น. เพราะฉะนั้น กุลบุตรเมื่อปฏิญาณถึงการฟังโดยความเคารพ จึงทูลว่า เอวมาวุโส ดังนี้. บทว่า ฉธาตุโร อยํ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ตรัสข้อปฏิบัติส่วนเบื้องต้นแก่กุลบุตร แต่ทรงปรารภเพื่อตรัสบอกวิปัสสนาลักษณะเท่านั้น ซึ่งมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งอันเป็นปทัฎฐานแห่งพระอรหัต แต่เบื้องต้น. จริงอยู่ บุพภาคปฏิปทาของผู้ใดยังไม่บริสุทธิ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ตรัสบอกบุพภาคปฏิปทานี้ คือศีลสังวร ความคุ้มครองทวารในอินทรีย์ทั้งหลาย ความเป็นผู้รู้ประมาณในโภชนะ การประกอบเนืองๆ ซึ่งความเพียรเป็นเครื่องตื่น สัทธรรม ๗ ฌาน ๔ แก่ผู้นั้นก่อนเทียว. แต่บุพภาคปฏิปทานั้นของผู้ใดบริสุทธิ์ พระผู้มีพระภาคเจ้าจะไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทานั้น แต่จักตรัสบอกวิปัสสนานั้นแล ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตแก่ผู้นั้น. ก็บุพภาคปฏิปทาของกุลบุตรบริสุทธิ์แล้ว. จริงอย่างนั้น กุลบุตรนั้นอ่านพระสาส์นแล้วขึ้นปราสาทอันประเสริฐนั้นเทียว ยังอานาปานจตุตถฌานให้เกิดขึ้นแล้ว จึงเดินทางไปตลอด ๑๙๒ โยชน์ ยังกิจในยานให้สำเร็จ. แม้สามเณรศีลของกุลบุตรนั้นก็บริบูรณ์ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทา แต่ทรงปรารภเพื่อจะตรัสบอกวิปัสสนาลักษณะอันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตเท่านั้นแก่กุลบุตรนั้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ฉธาตุโร ได้แก่ ธาตุ ๖ มีอยู่ บุรุษไม่มี. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงสิ่งที่ไม่มีด้วยสิ่งที่มีในที่ไหน ทรงแสดงสิ่งที่มีด้วยสิ่งที่ไม่มีในที่ไหน ทรงแสดงสิ่งที่มีด้วยสิ่งที่มีในที่ไหน ทรงแสดงสิ่งที่ไม่มีด้วยสิ่งที่ไม่มีในที่ไหน คำดังกล่าวมานี้พึงให้พิสดารโดยนัยที่กล่าวแล้วในสัพพาสวสูตรนั้นแล. แต่ในธาตุวิภังคสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงสิ่งที่มีด้วยสิ่งที่ไม่มี จึงตรัสอย่างนั้น. ก็ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงสละบัญญัติว่า บุรุษ ตรัสว่า ธาตุเท่านั้นแล้วทรงวางพระหฤทัย กุลบุตรก็พึงทำความสนเท่ห์ ถึงความงงงวยไม่อาจเพื่อรับเทศนาได้. เพราะฉะนั้น พระตถาคตจึงทรงละบัญญัติว่า บุรุษโดยลำดับ ตรัสสักว่า บัญญัติว่า สัตว์หรือบุรุษหรือบุคคลเท่านั้น โดยปรมัตถ์ ชื่อว่าสัตว์ ไม่มี ทรงวางพระทัยในธรรมสักว่า ธาตุเท่านั้น ตรัสไว้ในอนังคณสูตรว่า เราจักให้แทงตลอดผลสาม ดังนี้. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้ ดุจอาจารย์ให้เรียนศิลปะด้วยภาษานั้น เพราะเป็นผู้ฉลาดในภาษาอื่น. ในธาตุวิภังคสูตรนั้น ธาตุ ๖ ของบุคคลนั้น เพราะฉะนั้น บุคคลนั้นจึงชื่อว่ามีธาตุ ๖. มีอธิบายว่า ท่านย่อมจำบุคคลใดว่า บุรุษ บุคคลนั้นมีธาตุ ๖ ก็ในที่นี้โดยปรมัตถ์ก็มีเพียงธาตุเท่านั้น. ก็บทว่า ปุริโส คือ เป็นเพียงบัญญัติ. แม้ในบทที่เหลือก็มีนัยนี้เหมือนกัน. ปติฏฐาน เรียกว่า อธิษฐาน ในบทนี้ว่า จตุราธิฏฺฐาโน ความว่า มีอธิษฐานสี่. มีอธิบายว่า ดูก่อนภิกษุ บุรุษนี้นั้นมีธาตุ ๖ มีผัสสอายตนะ ๖ มีมโนปวิจาร ๑๘ ดังนี้. กุลบุตรนั้นเวียนกลับจากธาตุนี้เทียว ถือเอาอรหัตอันเป็นสิทธิที่สูงสุด ดำรงอยู่ในฐานะ ๔ นี้ ถือเอาพระอรหัต เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่ามีอธิษฐาน ๔. บทว่า ยตฺถฏฺฐิตํ ได้แก่ ดำรงอยู่ในอธิษฐานเหล่าใด. บทว่า มญฺญสฺสวา นปฺปวตฺตนฺติ ได้แก่ ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนเป็นไป. บทว่า มุนิ สนฺโตติ วุจฺจติ ได้แก่ มุนีผู้พระขีณาสพ เรียกว่าสงบแล้ว ดับแล้ว. บทว่า ปญฺญํ นปฺปมชฺเชยฺย ความว่า ไม่พึงประมาทสมาธิปัญญาและวิปัสสนาปัญญาตั้งแต่ต้นเทียว เพื่อแทงตลอดอรหัตผลปัญญา. บทว่า สจฺจมนุรกฺเขยฺย ความว่า พึงรักษาวจีสัจ ตั้งแต่ต้นเพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งปรมัตถสัจ คือนิพพาน. บทว่า จาคมนุพฺรูเหยฺย ความว่า พึงพอกพูนการเสียสละกิเลสแต่ต้นเทียว เพื่อทำการสละกิเลสทั้งปวงด้วยอรหัตมรรค. บทว่า สนฺติเมว โส สิกฺเขยฺย ความว่า พึงศึกษาการสงบระงับกิเลสตั้งแต่ต้นเทียว เพื่อสงบระงับกิเลสทั้งหมดด้วยอรหัตมรรค. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสบุพภาคาธิษฐานทั้งหลาย มีสมถวิปัสสนาปัญญาเป็นต้นนี้ เพื่อประโยชน์แก่การบรรลุอธิษฐานทั้งหลายมีปัญญาธิษฐานเป็นต้น ด้วยประการฉะนี้. บทว่า ผสฺสายตนํ ความว่า อายตนะ คืออาการของผัสสะ. บทว่า ปญฺญาธิฏฺฐาโน เป็นต้น พึงทราบด้วยอำนาจแห่งปัญญาทั้งหลายมีอรหัตผลปัญญาเป็นต้น ซึ่งได้กล่าวแล้วในบทก่อน. บัดนี้ เป็นอันกล่าวถึงบทว่า อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไปด้วยอำนาจแห่งมาติกาที่ตั้งไว้แล้ว. แต่ครั้นบรรลุอรหัตแล้ว กิจด้วยคำว่า ไม่พึงประมาทปัญญาเป็นต้น ย่อมไม่มีอีก. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงวางมาติกาที่มีธาตุกลับกันแล้ว เมื่อจะทรงจำแนกวิภังค์ด้วยอำนาจตามธรรมเท่านั้น จึงตรัสคำว่า ไม่พึงประมาทปัญญา ดังนี้เป็นต้น ด้วยประการฉะนี้. ถามว่า ในบาทคาถานั้น ใครประมาทปัญญา ใครไม่ประมาทปัญญา. ตอบว่า บุคคลใดบวชในศาสนานี้ก่อนแล้ว สำเร็จชีวิตด้วยอเนสนา ๒๑ วิธีด้วยอำนาจกรรมมีเวชกรรมเป็นต้น ไม่อาจเพื่อตั้งจิตตุปบาทโดยสมควรแก่บรรพชา บุคคลนี้ชื่อว่าประมาทปัญญา. ส่วนบุคคลใดบวชในศาสนาแล้วตั้งอยู่ในศีล เล่าเรียนพระพุทธพจน์ สมาทานธุดงค์อันเป็นที่สบาย ถือกัมมัฏฐานอันชอบจิต อาศัยเสนาสนะอันสงัด กระทำกสิณบริกรรม ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น เจริญวิปัสสนาว่า ในวันนี้แล พระอรหัตดังนี้ เที่ยวไป บุคคลนี้ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา. แต่ในสูตรนี้ ได้ตรัสถึงความไม่ประมาทปัญญานั้นด้วยอำนาจแห่งธาตุกัมมัฏฐาน. ส่วนคำใดพึงกล่าวในธาตุกัมมัฏฐานนั้น คำนั้นได้กล่าวไว้แล้วในสูตรทั้งหลายมีหัตถิปโทปมสูตรเป็นต้นในหนก่อนนั้นแล. ในสูตรนี้มีอนุสนธิ โดยเฉพาะว่า ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีก คือวิญญาณดังนี้. เพราะได้ตรัสรูปกัมมัฏฐานในหนก่อนแล้ว. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเพื่อจะทรงเปลี่ยนแสดงอรูปกัมมัฏฐาน ด้วยอำนาจเวทนา จึงทรงปรารภเทศนานี้. ก็หรืออรูปกัมมัฏฐานนี้ใดอันเป็นวิญญาณ ผู้กระทำกรรมด้วยอำนาจวิปัสสนาที่ภิกษุนี้พึงถึงในธาตุทั้งหลายมีปฐวีธาตุเป็นต้น พระผู้มีพระภาคเจ้าแม้เมื่อจะทรงจำแนกแสดงอรูปกัมมัฏฐานนั้นด้วยอำนาจวิญญาณธาตุ จึงทรงปรารภเทศนานี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อวสิสฺสติ ความว่า จะเหลือเพื่อประโยชน์อะไร. จะเหลือเพื่อประโยชน์แก่การแสดงของพระศาสดา และเพื่อประโยชน์แก่การแทงตลอดของกุลบุตร. บทว่า ปริสุทธํ ได้แก่ ปราศจากอุปกิเลส. บทว่า ปริโยทาตํ ได้แก่ ประภัสสร. บทว่า สุขนฺติปิ ปชานาติ ความว่า ย่อมรู้ชัดว่า เมื่อเราเสวยสุข ชื่อว่าเสวยสุขเวทนา. แม้ในบททั้งสองที่เหลือก็นัยนี้เหมือนกัน. ก็ถ้าเวทนากถานี้ไม่ได้ตรัสไว้ในหนก่อนไซร้ ก็ควรเป็นไปเพื่อตรัสไว้ในสูตรนี้. ก็เวทนากถานั้นได้ตรัสไว้แล้วในสติปัฏฐานนั้นเทียว เพราะฉะนั้น พึงทราบโดยนัยที่กล่าวแล้วในสติปัฏฐานนั้นแล. บทเป็นต้นอย่างนี้ว่า สุขเวทนียํ ได้กล่าวไว้แล้ว เพื่อแสดงความเกิดขึ้นและความดับด้วยอำนาจปัจจัย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุขเวทนียํ คือ เป็นปัจจัยแห่งสุขเวทนา. แม้ในบทที่เหลือทั้งหลายก็นัยนี้เหมือนกัน. บทว่า อุเปกฺขาเยว อวสิสฺสติ ความว่า ก็ศิษย์จับมุกดาที่อาจารย์ผู้ทำแก้วมณีผู้ฉลาด ร้อยเพชรด้วยเข็มเอามาวางแล้ววางอีกให้ในแผ่นหนังเมื่อทำการร้อยด้วยด้าย ชื่อว่าทำเครื่องประดับมีตุ้มหูแก้วมุกดาและข่ายแก้วมุกดาเป็นต้นชื่อฉันใด กุลบุตรนี้เมื่อมนสิการซึ่งกัมมัฏฐานที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสให้แล้ว ชื่อว่าได้กระทำให้คล่องแคล่วฉันนั้นเหมือนกัน เพราะฉะนั้น รูปกัมมัฏฐานก็ดี อรูปกัมมัฏฐานก็ดี ได้เกิดคล่องแคล้ว ด้วยประการเท่านี้. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่ คืออุเบกขา ดังนี้. ถามว่า จะเหลือเพื่ออะไร. ตอบว่า เพื่อการทรงแสดงของพระศาสดา. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า เพื่อแทงตลอดของกุลบุตรดังนี้บ้าง. คำนั้นไม่ควรถือเอา. กุลบุตรได้อ่านสาส์นของพระสหายได้ยืนอยู่บนพื้นปราสาท ยังอานาปานจตุตถฌานให้เกิดแล้ว ก็อานาปานจตุตถฌานนั้น ย่อมยังยานกิจของกุลบุตรนั้นผู้เดินทางมาประมาณนี้ให้สำเร็จ เพราะฉะนั้น จึงเหลือเพื่อการตรัสของพระศาสดาเท่านั้น. ก็ในฐานะนี้ พระศาสดาตรัสคุณในรูปาวจรฌานแก่กุลบุตร. เพราะได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ รูปาวจรจตุตถฌานนี้ คล่องแคล่วก่อน ดังนี้. บทว่า ปริสุทฺธา เป็นต้น เป็นการแสดงคุณแห่งอุเบกขานั้นเทียว. บทว่า อุกฺกํ พนฺเธยฺย คือ เตรียมเบ้าเพลิง. บทว่า อาลิมฺเปยฺย ความว่า ใส่ถ่านเพลิงลงในเบ้านั้นแล้วจุดไฟ เป่าด้วยสูบให้ไฟลุกโพลง. บทว่า อุกฺกามุเข ปกฺขิเปยฺย ความว่า คีบถ่านเพลิงวางไว้บนถ่านเพลิง หรือใส่ถ่านเพลิงบนถ่านเพลิงนั้น. บทว่า นีหตํ คือ มีมลทินอันนำออกไปแล้ว. บทว่า นินฺนิตกสาวํ ได้แก่ มีน้ำฝาดออกแล้ว. บทว่า เอวเมว โข ความว่า ทรงแสดงคุณว่า จตุตถฌานูเปกขานี้ก่อน ย่อมมีเพื่อประโยชน์แก่ธรรมที่ท่านปรารถนา ในบรรดาธรรมนี้คือ วิปัสสนา อภิญญา นิโรธ ภโวกกันติ เหมือนทองนั้นย่อมเป็นไปเพื่อชนิดแห่งเครื่องประดับที่ปรารถนาและต้องการแล้วฉะนั้น. ถามว่า ก็เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสโทษ เพื่อความผ่องแผ้วจากความใคร่ในรูปาวจรจตุตถฌานแม้นี้ แต่ตรัสคุณเล่า. ตอบว่า เพราะการยึดมั่นความใคร่ในจตุตถฌานของกุลบุตร มีกำลัง. ถ้าจะพึงตรัสโทษไซร้ กุลบุตรก็จะพึงถึงความสงสัย ความงงงวยว่า เมื่อเราบวชแล้ว เดินทางมาตลอด ๑๙๒ โยชน์ จตุตถฌานนี้ยังยานกิจให้สำเร็จได้ เรามาสู่หนทางประมาณเท่านี้ ก็มาแล้วเพื่อความยินดีในฌานสุข ด้วยฌานสุข พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสโทษแห่งธรรมอันประณีตเห็นปานนี้ ทรงรู้หนอแลจึงตรัส หรือไม่ทรงรู้จึงตรัส ดังนี้ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคุณ. ในบทนี้ว่า ตทนุธมฺมํ ดังนี้ อรูปาวจรฌาน ชื่อว่าธรรม. รูปาวจรฌาน เรียกว่าอนุธรรม เพราะเป็นธรรมคล้อยตามอรูปาวจรฌานนั้น. อีกประการหนึ่ง วิปากฌาน ชื่อว่าธรรม กุศลฌาน ชื่อว่าอนุธรรม. บทว่า ตทุปาทานา คือ การถือเอาธรรมนั้น. บทว่า จิรํ ทีฆมทฺธานํ ได้แก่ ตลอด ๒๐,๐๐๐ กัป. ก็คำนั้น ตรัสด้วยอำนาจแห่งวิบาก. แม้นอกจากนี้ก็มีนัยเหมือนกัน. . พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นตรัสคุณของอรูปาวจรฌาน โดยวาระ ๔ อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะทรงแสดงโทษแห่งอรูปาวจรฌานนั้น จึงตรัสว่า เธอรู้ชัดอย่างนี้ เป็นต้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สงฺขตเมตํ ความว่า ในปฐมพรหมโลกนั้น มีอายุ ๒๐,๐๐๐ กัป แม้ก็จริง แต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อทรงกระทำจิตนั้นให้เป็นการปรับปรุง คือความสำเร็จ ความพอกพูนก็ย่อมทรงกระทำ. อายุนั้นไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่แน่นอน ชั่วคราว มีการเคลื่อนไป แตกดับและกระจัดกระจายเป็นธรรมดาคล้อยตามความเกิด ถูกชราบั่นทอน อันมรณะครอบงำ ตั้งอยู่ในทุกข์ ไม่มีอะไรต้านทาน ไม่เป็นที่เร้นลับ ไม่เป็นที่พึ่ง ไม่เป็นที่พึ่งพาอาศัย. แม้ในวิญญาณายตนะเป็นต้น ก็นัยนี้เหมือนกัน. บัดนี้ เมื่อจะทรงถือเอาเทศนาด้วยยอดคืออรหัต จึงตรัสว่า บุคคลนั้นจะไม่คำนึง ดังนี้เป็นต้น. เหมือนหมอผู้ฉลาดเห็นความเปลี่ยนแปลงแห่งพิษแล้ว กระทำใจให้พิษเคลื่อนจากฐานให้ขึ้นข้างบน ไม่ให้เพื่อจับคอหรือศีรษะ ให้พิษตกลงในแผ่นดินฉันใด พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงคุณในอรูปาวจรฌานแก่กุลบุตรฉันนั้นเหมือนกัน. กุลบุตร ครั้นฟังอรูปาวจรฌานนั้นแล้ว ครอบงำความใคร่ในรูปาวจรฌาน ตั้งความปรารถนาในอรูปาวจรฌาน. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรู้ความที่กุลบุตรนั้นครอบงำความใคร่ในรูปาวจรฌานนั้นแล้ว จึงทรงแสดงโทษนั้นทั้งหมด ด้วยบทเดียวเท่านั้นว่า สงฺขตเมตํ ดังนี้แก่ภิกษุผู้ยังไม่บรรลุ ยังไม่ได้อรูปาวจรฌานนั้นว่า ชื่อว่าสมบัติในอากาสานัญจายตนะเป็นต้นนั้นมีอยู่ ก็อายุของผู้ได้อากาสานัญจายตนะเป็นต้นนั้น ในพรหมโลกที่หนึ่งมี ๒๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สองมี ๔๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สามมี ๖๐,๐๐๐ กัป ในพรหมโลกที่สี่มี ๘๔,๐๐๐ กัป แต่อายุนั้นไม่เที่ยง ไม่ยั่งยืน ไม่แน่นอน เป็นไปชั่วคราว มีการเคลื่อนไป แตกดับและกระจัดกระจายเป็นธรรมดา คล้อยตามความเกิด ถูกชราบั่นทอน อันมรณะครอบงำ ตั้งอยู่ในทุกข์ ไม่มีอะไรต้านทาน ไม่เป็นที่เร้นลับ ไม่เป็นที่พึ่ง ไม่เป็นที่พึ่งพาอาศัย แม้ได้เสวยสมบัติในพรหมโลกนั้น ตลอดกาลประมาณเท่านี้ ทำกาลกิริยาอย่างปุถุชนแล้ว พึงตกในอบายสี่อีก. กุลบุตรได้ฟังพระพุทธพจน์นั้นแล้ว ยึดมั่นความใคร่ในอรูปาวจรฌาน. พระผู้มีพระภาคเจ้าครั้นทรงทราบความที่กุลบุตรนั้นเป็นผู้ยึดมั่นความใคร่ในรูปาวจรและอรูปาวจรแล้ว เมื่อจะทรงถือยอดคืออรหัต จึงตรัสว่า บุคคลนั้นจะไม่คำนึง ดังนี้เป็นต้น. ก็หรือว่ามหาโยธะ (นายทหารผู้ใหญ่) คนหนึ่ง ยังพระราชาพระองค์หนึ่งให้พอพระราชหฤทัยแล้ว จึงได้บ้านส่วยซึ่งมีรายได้หนึ่งแสน. พระราชาทรงระลึกถึงอานุภาพของมหาโยธะนั้นว่า โยธะมีอานุภาพมาก เขาได้ทรัพย์น้อย ดังนี้ จึงพระราชทานอีกว่า ดูก่อนพ่อ บ้านนี้ไม่สมควรแก่ท่าน ท่านจงรับเอาบ้านอื่นซึ่งมีรายได้ตั้งสี่แสน. เขารับสนองพระบรมราชโอการว่า ดีละ พระเจ้าข้า ละบ้านนั้นแล้วรับเอาบ้านนี้. พระราชาตรัสสั่งให้เรียกมหาโยธะนั้นผู้ยังไม่ถึงบ้านนั้นแล ทรงส่งไปว่า ท่านจะมีประโยชน์อะไรด้วยบ้านนั้น อหิวาตกโรคกำลังเกิดในบ้านนั้น แต่ในที่โน้นมีนครใหญ่ ท่านพึงยกฉัตรเสวยราชย์ในนครนั้นเถิดดังนี้. มหาโยธะนั้นพึงเสวยราชย์อย่างนั้น. ในข้อนั้น พึงเห็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเหมือนพระราชา. ปุกกุสาติกุลบุตรเหมือนมหาโยธะ. อานาปานจตุตถฌานเหมือนบ้านที่ได้ครั้งแรก. การให้กระทำการยึดมั่นซึ่งความใคร่ในอานาปานฌานแล้วตรัสอรูป เหมือนกาลให้มหาโยธะสละบ้านนั้นแล้วตรัสว่า เจ้าจงถือเอาบ้านนี้. การที่ให้กุลบุตรนั้นเปลี่ยนการปรารถนาในสมาบัติเหล่านั้นที่ยังไม่ถึง ด้วยการทรงแสดงโทษในอรูปว่า สงฺขตเมตํ แล้วทรงถือเอาเทศนาด้วยยอดคืออรหัตในเบื้องสูง เหมือนกาลที่ตรัสสั่งให้เรียกมหาโยธะซึ่งยังไม่ถึงบ้านนั้น แล้วตรัสว่า ท่านจะมีประโยชน์อะไรด้วยบ้านนั้น อหิวาตกโรคกำลังเกิดในบ้านนั้น ในที่โน้นมีนคร ท่านจงยกฉัตรเสวยราชย์ในนครนั้นเถิด. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เนว อภิสงฺขโรติ คือ ไม่สั่งสม ได้แก่ไม่ทำให้เป็นกอง. บทว่า น อภิสญฺเจตยติ คือ ไม่ให้สำเร็จ. บทว่า ภวาย วา วิภวาย วา ได้แก่ เพื่อความเจริญหรือเพื่อความเสื่อม. พึงประกอบแม้ด้วยอำนาจแห่งสัสสตะและอุจเฉทะ. บทว่า น กิญจิ โลเก อุปาทิยติ ความว่า ไม่ถือ ไม่ลูบคลำ แม้ธรรมหนึ่งอะไรๆ ในธรรมทั้งหลายมีรูปเป็นต้นในโลกด้วยตัณหา. บทว่า นาปรํ อิตฺถตฺตายาติ ปชานาติ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตั้งอยู่ในพุทธวิสัยของพระองค์ ทรงถือยอดคืออรหัตด้วยเทศนา. ส่วนกุลบุตรแทงตลอดสามัญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. พระราชาเสวยโภชนะมีรสต่างๆ ด้วยภาชนะทองคำ ทรงปั้นก้อนข้าวโดยประมาณของพระองค์ ครั้นเมื่อพระราชกุมารประทับนั่ง ณ พระเพลา แสดงความอาลัยในก้อนข้าวพึงทรงน้อมก้อนข้าวนั้น. กุมารทรงทำคำข้าวโดยประมาณพระโอษฐ์ของพระองค์ พระราชาทรงเสวยคำข้าวที่เหลือด้วยพระองค์เองหรือทรงใส่ในจานฉันใด พระตถาคตผู้ธรรมราชาก็ฉันนั้น เมื่อทรงถือยอดคือพระอรหัตโดยประมาณพระองค์ ทรงแสดงเทศนา. กุลบุตรแทงตลอดสามัญญผล ๓ ตามอุปนิสัยของตน. ก็ในกาลก่อนแต่นี้ กุลบุตรนั้นแสดงกถาอันประกอบด้วยไตรลักษณ์ อันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่งเห็นปานนี้ว่า ขันธ์ ธาตุ อายตนะทั้งหลาย ย่อมไม่กังขา ย่อมไม่สงสัยว่า นัยว่าไม่เป็นอย่างนั้น ข้อนั้นอาจารย์ของเรากล่าวแล้วอย่างนี้ ทราบว่า ความเป็นคนเขลา ความเป็นผู้ผิดไม่มี ด้วยประการฉะนี้. ได้ยินว่า ในฐานะบางอย่าง พระพุทธเจ้าทั้งหลายเสด็จไปด้วยเพศอันบุคคลไม่รู้ได้ ได้มีความสงสัย มีความเคลือบแคลงว่า นั่นเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้าหนอแล. เพราะกุลบุตรนี้แทงตลอดอนาคามิผลแล้ว ในกาลนั้นจึงถึงความตกลงว่า บุคคลนี้ คือพระศาสดาของเรา. ถามว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร กุลบุตรจึงไม่แสดงโทษล่วงเกินเล่า. ตอบว่า เพราะไม่มีโอกาส. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำวาระอันไม่ตัดแล้วด้วยมาติกาตามที่ทรงยกขึ้นแล้ว จึงทรงแสดงพระเทศนา ดุจทรงให้หยั่งลงสู่อากาศคงคาฉะนั้นแล. บทว่า โส คือ พระอรหันต์นั้น. บทว่า อนชฺโฌสิตา ความว่า รู้ชัดว่า ไม่ควรแล้ว เพื่อกลืน ติดใจ ถือเอา. บทว่า อนภินนฺทิตา คือ รู้ชัดว่า ไม่ควรแล้วเพื่อเพลิดเพลินด้วยอำนาจแห่งตัณหาและทิฐิ. บทว่า วิสํยุตฺโต น เวทิยติ ความว่า ก็ถ้าว่า ราคานุสัยเพราะปรารภสุขเวทนา ปฏิฆานุสัยเพราะปรารภทุกขเวทนา อวิชชานุสัยเพราะปรารภเวทนานอกนี้ พึงเกิดแก่บุคคลนั้นไซร้ บุคคลนั้น ก็ชื่อว่าประกอบพร้อมแล้วเสวย. แต่เพราะไม่เกิดจึงชื่อว่าไม่ประกอบเสวยคือสลัดออกแล้ว พ้นวิเศษแล้ว. บทว่า กายปริยนฺติกํ ความว่า เวทนาซึ่งเกิดขึ้นมีกายเป็นที่สุด จนถึงความเป็นไปแห่งกาย ต่อแต่นั้นก็ไม่เกิด. แม้ในบทที่สองก็นัยนี้เหมือนกัน. บทว่า อภินนฺทิตานิ สีติภวิสฺสนฺติ ความว่า ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดเป็นอันชื่อว่าไม่ยินดีแล้ว เพราะความที่กิเลสทั้งหลายไม่มีพิเศษ ในอายตนะสิบสอง จักดับในอายตนะสิบสองนี้นั้นเทียว. ก็กิเลสทั้งหลายแม้ดับแล้วเพราะมาถึงนิพพาน ย่อมไม่มีในที่ใด เรียกว่าดับแล้วในที่นั้น. เนื้อความนี้นั้นพึงแสดงด้วยสมุทยปัญหาว่า ตัณหานั้น เมื่อจะดับย่อมดับในที่นั้น. เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดแม้เป็นธรรมชาติสงบแล้ว เพราะอาศัยนิพพาน จักเป็นของสงบในโลกนี้แล. ถามว่า ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสความเสวยอารมณ์ทั้งหลายในที่นี้มิใช่หรือ ทำไมจึงไม่ตรัสกิเลสทั้งหลายเล่า. ตอบว่า เพราะแม้ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายจะเป็นของสงบ เพราะไม่มีกิเลสนั้นเทียว. ธรรมดาความที่ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายเป็นของสงบ ไม่มีในฐานะนอกนี้ เพราะฉะนั้น คำนั้นกล่าวดีแล้ว. นี้เป็นการเปรียบเทียบอุปมาในบทนี้ว่า เอวเมว โข. เหมือนบุรุษคนหนึ่ง เมื่อประทีปน้ำมันไหม้อยู่ ครั้นน้ำมันหมดแล้ว ก็เติมน้ำมันเหล่านั้น เมื่อไส้หมดก็ใส่ไส้ เมื่อเป็นเช่นนั้นเปลวประทีปก็ไม่ดับฉันใด ปุถุชนก็ฉันนั้นเหมือนกัน ตั้งอยู่ในภพหนึ่ง ย่อมทำกุศลและอกุศล เขาก็จะเกิดในสุคติและในอบายทั้งหลาย เพราะกุศลและอกุศลนั้น เมื่อเป็นเช่นนั้น เวทนาทั้งหลายก็ยังไม่ขาดสูญนั้นเทียว. อนึ่ง คนหนึ่งกระสันในเปลวประทีปแอบซ่อนด้วยคิดว่า เพราะอาศัยบุรุษนี้เปลวประทีปจึงไม่ดับดังนี้ พึงตัดศีรษะของบุรุษนั้น. เพราะไม่ใส่ไส้และไม่เติมน้ำมันอย่างนี้ เปลวประทีปที่หมดเชื้อก็ย่อมดับฉันใด พระโยคาวจรผู้กระสันในประวัตตกาลก็ฉันนั้นเหมือนกัน ย่อมตัดขาดกุศลและอกุศลด้วยอรหัตมรรค. เพราะความที่กุศลนั้นถูกตัดขาดแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหลายย่อมไม่เกิดขึ้นอีกแก่ภิกษุผู้ขีณาสพ เพราะความแตกแห่งกายดังนี้. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะอรหัตผลปัญญา ยิ่งกว่าสมาธิปัญญาและวิปัสสนาปัญญาในเบื้องต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยอรหัตผลปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ อันสูงสุดนี้. ญาณในอรหัตมรรค ชื่อว่าญาณในความสิ้นไปซึ่งทุกข์ทั้งปวง. แต่ในสูตรนี้ทรงประสงค์ญาณในอรหัตผล. เพราะเหตุนั้นแล จึงตรัสว่า ความหลุดพ้นของเขานั้นจัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ ดังนี้. ก็ในบทเหล่านั้น บทว่า วิมุตฺติ ได้แก่ อรหัตผลวิมุตติ. บทว่า สจฺจํ ได้แก่ ปรมัตถสัจ คือนิพพาน. ความหลุดพ้นนั้นตรัสว่า ไม่กำเริบ เพราะทำอารมณ์อันไม่กำเริบด้วยประการฉะนี้. บทว่า มุสา ได้แก่ ไม่จริง. บทว่า โมสธมฺมํ ได้แก่ สภาพที่พินาศ. บทว่า ตํ สจฺจํ ความว่า สัจจะนั้นเป็นของแท้มีสภาพ. บทว่า อโมสธมฺมํ ได้แก่ มีสภาพไม่พินาศ. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะปรมัตถสัจ คือนิพพานนั้นแล สูงกว่าวจีสัจบ้าง ทุกขสัจและสมุทัยสัจบ้าง ด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่ต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยปรมัตถสัจจาธิษฐานอันสูงสุดนี้. บทว่า ปุพฺเพ คือ ในกาลเป็นปุถุชน. บทว่า อุปธี โหนฺติ ได้แก่ อุปธิเหล่านี้คือขันธูปธิ กิเลสูปธิ อภิสังขารูปธิ ปัญจกามคุณูปธิ. บทว่า สมตฺตา สมาทินฺนา ความว่า บริบูรณ์คือถือเอาแล้ว ได้แก่ลูบคลำแล้ว. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะการสละกิเลสด้วยอรหัตมรรคนั้นแลดีกว่าการสละกิเลสด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่ต้น และกว่าการสละกิเลสด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต คือ ผู้ประกอบพร้อมแล้วด้วยจาคาธิษฐานอันสูงสุดนี้. ชื่อว่าอาฆาฏะ ด้วยอำนาจแห่งการทำการล้างผลาญ ในคำเป็นต้นว่า อาฆาโฏ. ชื่อว่าพยาบาท ด้วยอำนาจแห่งการปองร้าย. ชื่อว่าสัมปโทสะ ด้วยอำนาจแห่งการประทุษร้ายทุกอย่าง. ท่านกล่าวอกุศลมูลเท่านั้น ด้วยบททั้ง ๓. บทว่า ตสฺมา ความว่า เพราะการสงบระงับกิเลสด้วยอรหัตมรรคนั้นแล สูงกว่าการสงบระงับกิเลสด้วยอำนาจแห่งสมถะและวิปัสสนาแต่เบื้องต้น และการสงบระงับกิเลสด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นต้น. บทว่า เอวํ สมนฺนาคโต ความว่า ผู้ประกอบพร้อมด้วยอุปสมาธิษฐานอันอุดมนี้. บทว่า มญฺญิตเมตํ ความว่า ความสำคัญแม้ ๓ อย่างคือ ตัณหามัญญิตะ มานมัญญิตะ ทิฏฐิมัญญิตะ ย่อมเป็นไป. ก็บทนี้ว่า อสฺสมหํ ในบทนี้ว่า อหมสฺมิ คือ ความสำคัญตัณหานั้นเทียว ย่อมเป็นไป. ชื่อว่าโรค เพราะอรรถว่าเบียดเบียน ในบทว่า โรโค เป็นต้น. ชื่อว่าคัณฑะ เพราะอรรถว่าประทุษร้ายในภายใน. ชื่อว่าสัลละ เพราะอรรถว่าเสียดแทงเนืองๆ. บทว่า มุนิ สนฺโตติ วุจฺจติ ความว่า บุคคลนั้นเรียกว่า มุนีผู้พระขีณาสพ ผู้สงบแล้ว คือผู้สงบระงับแล้ว ดับทุกข์แล้ว. บทว่า ยตฺถ ฐิตํ คือ ตั้งอยู่ในฐานะใด. บทว่า สงฺขิตฺเตน ความว่า ก็พระธรรมเทศนาแม้ทั้งหมดของพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ย่อแล้วเทียว. ชื่อว่า เทศนาโดยพิสดารไม่มี. แม้สมันตปัฏฐานกถาก็ย่อแล้วนั้นแล. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังเทศนาให้ถึงตามอนุสนธิด้วยประการฉะนี้. ก็ในบุคคล ๔ จำพวก มีอุคฆฏิตัญญูเป็นต้น ปุกกุสาตีกุลบุตรเป็นวิปัจจิตัญญู. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธาตุวิภังคสูตรนี้ ด้วยอำนาจแห่งวิปัจจิตัญญู ด้วยประการฉะนี้. ในบทว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บาตรและจีวรของข้าพระองค์ยังไม่ครบแล. มีคำถามว่า เพราะเหตุไร บาตรและจีวรที่สำเร็จด้วยฤทธิ์จึงไม่เกิดขึ้นแก่กุลบุตรเล่า. ตอบว่า เพราะความที่บริขาร ๘ อย่างอันกุลบุตรไม่เคยให้ทานแล้วในกาลก่อน. กุลบุตรมีทานเคยถวายแล้ว มีอภินิหารได้กระทำแล้ว จึงไม่ควรกล่าวว่า เพราะความที่ทานไม่เคยให้แล้ว. ก็บาตรและจีวรอันสำเร็จแต่ฤทธิ์ ย่อมเกิดแก่สาวกทั้งหลายผู้มีภพสุดท้ายเท่านั้น. ส่วนกุลบุตรนี้ยังมีปฏิสนธิอีก. เพราะฉะนั้น บาตรและจีวรที่สำเร็จด้วยฤทธิ์ จึงไม่เกิดขึ้น. ถามว่า ถ้าเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ทรงแสวงหาด้วยพระองค์เองให้ถึงพร้อมเล่า. ตอบว่า เพราะพระองค์ไม่มีโอกาส. อายุของกุลบุตรก็สิ้นแล้ว. มหาพรหมผู้อนาคามีชั้นสุทธาวาส ก็เป็นราวกะมาสู่ศาลาช่างหม้อแล้วนั่งอยู่. เพราะฉะนั้น จึงไม่ทรงแสวงหาด้วยพระองค์เอง. บทว่า ปตฺตจีวรํ ปริเยสนํ ปกฺกามิ ความว่า ท่านปุกกุสาติหลีกไปในเวลานั้น เมื่ออรุณขึ้นแล้ว. ได้ยินว่า การจบพระธรรมเทศนาของพระผู้มีพระภาคเจ้า การขึ้นแห่งอรุณและการเปล่งพระรัศมี ได้มีในขณะเดียวกัน. นัยว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบพระเทศนาแล้ว ทรงเปล่งพระรัศมีมีสี ๖ ประการ. นิเวศน์แห่งช่างหม้อทั้งสิ้นก็โชติช่วงเป็นอันเดียวกัน. พระฉัพพัณณรัศมีชัชวาลย์แผ่ไปเป็นกลุ่มๆ ทำทิศทางทั้งปวงให้เป็นดุจปกคลุมด้วยแผ่นทองคำ และดุจรุ่งเรืองด้วยดอกคำและรัตนะอันประเสริฐซึ่งมีสีต่างๆ. เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอธิษฐานว่า ขอให้ชาวพระนครทั้งหลายจงเห็นเรา ดังนี้. ชาวพระนครทั้งหลายเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ต่างก็บอกต่อๆ กันว่า ได้ยินว่า พระศาสดาเสด็จมาแล้ว นัยว่า ประทับนั่ง ณ ศาลาช่างหม้อ แล้วกราบทูลแด่พระราชา. พระราชาเสด็จไปถวายบังคมพระศาสดาแล้วตรัสถามว่า พระองค์เสด็จมาแล้วเมื่อไร. เมื่อเวลาพระอาทิตย์ตกวานนี้ มหาบพิตร. พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาด้วยกรรมอะไร. พระเจ้าปุกกุสาติพระสหายของพระองค์ทรงฟังพระราชสาส์นที่มหาบพิตรส่งไปแล้ว เสด็จออกบวช เสด็จมาเจาะจงอาตมาภาพ ล่วงเลยกรุงสาวัตถีเสด็จมาสิ้น ๔๕ โยชน์ เสด็จเข้าสู่ศาลาช่างหม้อนี้แล้วประทับนั่ง อาตมภาพจึงมาเพื่อสงเคราะห์พระสหายของมหาบพิตร ได้แสดงธรรมกถา กุลบุตรทรงแทงตลอดผล ๓ มหาบพิตร. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เวลานี้ พระเจ้าปุกกุสาติประทับอยู่ที่ไหน พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า พระเจ้าปุกกุสาติกุลบุตรทรงขออุปสมบทแล้ว เสด็จไปเพื่อทรงแสวงหาบาตรและจีวร เพราะบาตรและจีวรยังไม่ครบบริบูรณ์. พระราชาเสด็จไปทางทิศทางที่กุลบุตรเสด็จไป. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเหาะไปปรากฏ ณ พระคันธกุฏีในพระเชตวันนั้นแล. แม้กุลบุตรเมื่อแสวงหาบาตรและจีวร ก็ไม่ไปสู่สำนักของพระเจ้าพิมพิสาร และของพวกพ่อค้าเดินเท้า ชาวเมืองตักกสิลา. ได้ยินว่า กุลบุตรนั้นคิดอย่างนี้ว่า การที่เลือกแสวงหาบาตรและจีวรที่พอใจและไม่พอใจในสำนักนั้นๆ แล ไม่สมควรแก่เราผู้ดุจไก่ พระนครใหญ่ จำเราจักแสวงหาที่ท่าน้ำ ป่าช้า กองขยะและตามตรอก ดังนี้. กุลบุตรปรารภเพื่อแสวงหาเศษผ้าที่กองขยะในตรอกก่อน. บทว่า ชีวิตา โวโรเปสิ ความว่า แม่โคลูกอ่อนหมุนไปวิ่งมาขวิดกุลบุตรนั้นผู้กำลังแลดูเศษผ้าในกองขยะแห่งหนึ่ง ให้กระเด็นขึ้นถึงความตาย. กุลบุตรผู้ถูกความหิวครอบงำ ถึงความสิ้นอายุในอากาศนั่นเทียว ตกลงมานอนคว่ำหน้าในที่กองขยะเป็นเหมือนรูปทองคำฉะนั้น. ก็แลทำกาละแล้วไปเกิดในพรหมโลกชั้นอวิหา. พอเกิดแล้วก็บรรลุพระอรหัต. ได้ยินว่า ชนที่สักว่าเกิดแล้วในอวิหาพรหมโลกมี ๗ คน ได้บรรลุพระอรหัต. สมจริงดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุ ๗ รูป เข้าถึงอวิหาพรหมโลกแล้วหลุดพ้น มีราคะและโทสะสิ้นแล้ว ข้ามตัณหาในโลก และท่าน เหล่านั้นข้ามเปลือกตม บ่วงมัจจุราช ซึ่งข้ามได้แสน ยาก ท่านเหล่านั้นละโยคะของมนุษย์แล้ว ก้าวล่วงโยคะ อันเป็นทิพย์. ท่านเหล่านั้น คือ อุปกะ ๑ ปลคัณฑะ ๑ ปุกกุสาติ ๑ รวม ๓ ภัททิยะ ๑ ขันฑเทวะ ๑ พาหุทัตติ ๑ ปิงคิยะ ๑ ท่านเหล่านั้น ละโยคะ ของมนุษย์แล้ว ก้าวล่วงโยคะอันเป็นทิพย์ ดังนี้. ฝ่ายพระเจ้าพิมพิสารทรงพระราชดำริว่า พระสหายของเราได้อ่านสักว่าสาส์นที่เราส่งไป ทรงสละราชสมบัติที่อยู่ในเงื้อมพระหัตถ์ เสด็จมาทางไกลประมาณเท่านี้ กิจที่ทำได้ยากอันกุลบุตรได้ทำแล้ว เราจักสักการะเข้าด้วยเครื่องสักการะของบรรพชิต ดังนี้แล้ว จึงตรัสว่า พวกท่านจงไปตามหาพระสหายของเรา ดังนี้. ราชบริวารทั้งหลายที่ถูกส่งไปในที่นั้นๆ ได้เห็นกุลบุตรนั้น. เห็นเขาล้มลงที่กองขยะ กลับมาทูลแด่พระราชา. พระราชาเสด็จไปทรงเห็นกุลบุตรแล้ว ทรงคร่ำครวญว่า ท่านทั้งหลาย พวกเราไม่ได้เพื่อทำสักการะแก่พระสหายหนอ พระสหายของเราไม่มีที่พึ่งแล้ว ตรัสสั่งให้นำกุลบุตรด้วยเตียง ทรงตั้งไว้ในโอกาสอันสมควร ตรัสสั่งให้เรียกผู้อาบน้ำให้และช่างกัลบกเป็นต้น โดยให้รู้ถึงการทำสักการะแก่กุลบุตรผู้ยังไม่ได้อุปสมบท ทรงให้อาบพระเศียรของกุลบุตร ทรงให้นุ่งผ้าอันบริสุทธิ์เป็นต้น ทรงให้ตกแต่งด้วยเพศของพระราชา ทรงยกขึ้นสู่วอทอง ทรงให้ทำการบูชาด้วยวัตถุทั้งหลายมีดนตรี ของหอมและมาลาทุกอย่างเป็นต้น ทรงนำออกจากพระนคร ทรงให้ทำมหาจิตกาธานด้วยไม้หอมเป็นอันมาก. ครั้นทรงทำสรีรกิจของกุลบุตรแล้ว ทรงนำเอาพระธาตุมาประดิษฐ์ไว้ในพระเจดีย์. คำที่เหลือในบททั้งปวงง่ายทั้งนั้นแล. จบอรรถกถาธาตุวิภังคสูตรที่ ๑๐

สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์...พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน

การตรัสรู้คือความไม่มีอะไรให้ระลึกถึง..เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดหวั่น เมื่อไม่หวาดหวั่น ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด

วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558

สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันต­ผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจ­ับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแ­ล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคาม­ี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั­้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว

สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.. พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันต­ผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจ­ับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแ­ล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคาม­ี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั­้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว

เรื่องพระมหากัสสปะมหาเถระเจ้าพระมหากัสสปะเถระ เป็นประธานปฐมสังคายนา ด้วยความที่ท่านเป็นผู้ยินดีในการอยู่ป่า มักน้อย สันโดษ ประวัติของท่านจึงไม่ค่อยโดดเด่นเป็นที่รู้จักกันมากนัก จวบจนสมัยที่พระบรมศาสดาปรินิพพานได้ ๗ วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางพร้อมด้วยภิกษุบริวารของท่านเพื่อไปเข้าเฝ้าประบรมศาสดา ได้ทราบข่าวจาก อาชีวกว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าปรินิพพานแล้ว ทำให้ภิกษุทั้งหลายที่เป็นปุถุชนพากันร่ำไห้เสียใจ รำพึงรำพันถึงพระบรมศาสดา รำพึงรำพันถึงพระบรมศาสดา แต่มีภิกษุวัยชรานามว่า สุภัททะ พูดห้ามปรามภิกษุเหล่านั้นมิให้ร้องไห้โดยกล่าว่า “ท่านทั้งหลาย อย่าร้องไห้เสียใจไปเลย พระ พุทธองค์ปรินิพพานเสียได้ก็ดีแล้ว ต่อไปนี้พวกเราพ้นจากอำนาจของพระศาสดาแล้ว จะทำ อะไรก็ย่อมได้ ไม่มีใครมาบังคับว่ากล่าวห้ามปรามพวกเราอีกแล้ว” พระเถระ ได้ฟังคำของพระสุภัททะแล้วเกิดความสังเวชสลดใจว่า “พระพุทธองค์ ปรินิพพานได้เพียง ๗ วัน ยังมีผู้กล่าวจ้วงจาบล่วงเกินพระธรรมวินัยถึงเพียงนี้ ต่อไปภายหน้าก็ คงจะหาผู้เคารพในพระธรรมวินัยได้ยากยิ่ง” ด้วยคำพูดของพระสุภัททะเพียงเท่านี้ หลังจากถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว ท่านได้ ชักชวนพระเถระผู้เป็นพระอรหันต์ ประชุมกันทำปฐมสังคายนารวบรวมพระธรรมวินัยตั้งไว้ เป็นหมวดหมู่ เป็นตัวแทนองค์พระบรมศาสดาปกครองหมู่สงฆ์ต่อไป สาระสำคัญของปฐมสังคายนา ๑) พระมหากัสสปะเถระ เป็นประธาน มีหน้าที่ซักถามเกี่ยวกับพระธรรมวินัย ๒) พระอุบาลี เป็นผู้ชี้แจงเกี่ยวกับขอบัญญัติพระวินัย ๓) พระอานนท์ เป็นผู้ชี้แจงเกี่ยวกับพระสูตร และพระอภิธรรม ๔) กระทำที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา แห่งภูเขาเวภารบรรพต กรุงราชคฤห์ ๕) พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นองค์ศาสนูปถัมภ์ ๖) กระทำอยู่ ๗ เดือน จึงสำเร็จ

ผู้สละโลก ผู้เลิศทางธุดงคคุณพระมหากัสสปะเถระ เป็นประธานปฐมสังคายนา ด้วยความที่ท่านเป็นผู้ยินดีในการอยู่ป่า มักน้อย สันโดษ ประวัติของท่านจึงไม่ค่อยโดดเด่นเป็นที่รู้จักกันมากนัก จวบจนสมัยที่พระบรมศาสดาปรินิพพานได้ ๗ วัน ขณะที่ท่านกำลังเดินทางพร้อมด้วยภิกษุบริวารของท่านเพื่อไปเข้าเฝ้าประบรมศาสดา ได้ทราบข่าวจาก อาชีวกว่าพระผู้มีพระภาคเจ้าปรินิพพานแล้ว ทำให้ภิกษุทั้งหลายที่เป็นปุถุชนพากันร่ำไห้เสียใจ รำพึงรำพันถึงพระบรมศาสดา รำพึงรำพันถึงพระบรมศาสดา แต่มีภิกษุวัยชรานามว่า สุภัททะ พูดห้ามปรามภิกษุเหล่านั้นมิให้ร้องไห้โดยกล่าว่า “ท่านทั้งหลาย อย่าร้องไห้เสียใจไปเลย พระ พุทธองค์ปรินิพพานเสียได้ก็ดีแล้ว ต่อไปนี้พวกเราพ้นจากอำนาจของพระศาสดาแล้ว จะทำ อะไรก็ย่อมได้ ไม่มีใครมาบังคับว่ากล่าวห้ามปรามพวกเราอีกแล้ว” พระเถระ ได้ฟังคำของพระสุภัททะแล้วเกิดความสังเวชสลดใจว่า “พระพุทธองค์ ปรินิพพานได้เพียง ๗ วัน ยังมีผู้กล่าวจ้วงจาบล่วงเกินพระธรรมวินัยถึงเพียงนี้ ต่อไปภายหน้าก็ คงจะหาผู้เคารพในพระธรรมวินัยได้ยากยิ่ง” ด้วยคำพูดของพระสุภัททะเพียงเท่านี้ หลังจากถวายพระเพลิงพระบรมศพแล้ว ท่านได้ ชักชวนพระเถระผู้เป็นพระอรหันต์ ประชุมกันทำปฐมสังคายนารวบรวมพระธรรมวินัยตั้งไว้ เป็นหมวดหมู่ เป็นตัวแทนองค์พระบรมศาสดาปกครองหมู่สงฆ์ต่อไป สาระสำคัญของปฐมสังคายนา ๑) พระมหากัสสปะเถระ เป็นประธาน มีหน้าที่ซักถามเกี่ยวกับพระธรรมวินัย ๒) พระอุบาลี เป็นผู้ชี้แจงเกี่ยวกับขอบัญญัติพระวินัย ๓) พระอานนท์ เป็นผู้ชี้แจงเกี่ยวกับพระสูตร และพระอภิธรรม ๔) กระทำที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา แห่งภูเขาเวภารบรรพต กรุงราชคฤห์ ๕) พระเจ้าอชาตศัตรู เป็นองค์ศาสนูปถัมภ์ ๖) กระทำอยู่ ๗ เดือน จึงสำเร็จ

พระคาถาของพระอธิมุตตเถระ..ออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์..ออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน

กามชาดก...อรรถกถา กามชาดก ว่าด้วย กามและโทษของกาม พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภพราหมณ์ผู้ใดผู้หนึ่ง ตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า กามํ กามยมานสฺส ดังนี้. เรื่องมีว่า พราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่งหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่. พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ทรงแวะลงจากทาง กระทำปฏิสันถารกับเขา ตรัสว่า เธอทำอะไรเล่าพราหมณ์. ครั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์หักร้างที่ไร่ พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดีละพราหมณ์ กระทำการงานไปเถิด แล้วเสด็จเลยไป พระองค์ได้เสด็จไปทำปฏิสันถารกับเขาบ่อยๆ คือในเวลาที่เขาขนต้นไม้ที่ตัดแล้วและชำระที่ไร่ ในเวลาก่อคัน ในเวลาหว่าน โดยอุบายอย่างนี้นั้นแล. วันรุ่งขึ้นพราหมณ์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ วันนี้เป็นมงคลในการหว่านข้าวของข้าพระองค์ ข้าพระองค์จักถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุขในเมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว พระศาสดาทรงรับด้วยทรงดุษณีภาพ เสด็จหลีกไป. รุ่งขึ้นวันหนึ่งพราหมณ์ยืนดูข้าวกล้าอยู่ พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า พราหมณ์ เธอกำลังทำอะไรอยู่ตรงนั้น เมื่อเขากราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์กำลังดูข้าวกล้า ตรัสว่า ดีพราหมณ์ แล้วเสด็จหลีกไป. ในครั้งนั้น พราหมณ์คิดว่า พระสมณโคดมมาเนืองๆ คงมีความต้องการภัตรอย่างไม่ต้องสงสัย เราจักถวายภัตรแก่ท่าน ในวันที่พราหมณ์คิดอย่างนี้แล้วไปสู่เรือน ถึงพระศาสดาก็ได้เสด็จไป ณ ที่นั้น ครั้งนั้นความพิศวาสเกิดขึ้นแก่พราหมณ์ล้นเหลือ. ต่อมาครั้นข้าวกล้าแก่แล้ว เมื่อพราหมณ์ตกลงใจว่า พรุ่งนี้เราจักเกี่ยวไร่แล้วนอน ฝนลูกเห็บตกตลอดคืน ทางเหนือของแม่น้ำอจิรวดี ห้วงน้ำใหญ่ไหลมาพัดเอาข้าวกล้าทั้งหมดเข้าไปสู่ทะเล ไม่เหลือไว้ให้ แม้มาตรว่าทะนานเดียว เมื่อห้วงน้ำเหือดแห้งลงแล้ว พราหมณ์มองดูความย่อยยับแห่งข้าวแล้ว ไม่สามารถจะดำรงอยู่โดยภาวะของตนได้ ถูกความเสียใจอย่างแรงครอบงำ ยกมือตีอกคร่ำครวญไปถึงเรือน แล้วลงนอนบ่นพร่ำ. ในเวลาใกล้รุ่ง พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์ถูกความเสียใจครอบงำ ทรงดำริว่า เราต้องเป็นที่พึ่งของพราหมณ์ รุ่งขึ้นเสด็จเที่ยวโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ภายหลังจากเสวยเสร็จเสด็จกลับจากบิณฑบาต ทรงส่งพวกภิกษุไปสู่พระวิหาร เสด็จไปสู่ประตูเรือนของเขากับด้วยสมณะติดตาม พราหมณ์ได้ยินความที่พระศาสดาเสด็จมา กล่าวว่า สหายของเราคงมาเยี่ยมเยียนค่อยได้ความโปร่งใจ จัดแจงอาสนะไว้ พระศาสดาเสด็จเข้าไป ประทับนั่งเหนืออาสนะที่จัดไว้. ตรัสถามว่า ดูก่อนพราหมณ์ เหตุไรจึงเศร้าหมองไปล่ะ ท่านไม่สบายอะไรเล่า. กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ พระองค์ย่อมทรงทราบการงานที่ข้าพระองค์กระทำ จำเดิมแต่ตัดต้นไม้ที่ฝั่งแม่น้ำอจิรวดี ข้าพระองค์เคยกราบทูลไว้ว่า เมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว ข้าพระองค์จักถวายทานแด่พระองค์ บัดนี้ห้วงน้ำใหญ่พัดข้าวกล้าของข้าพระองค์ไปสู่ทะเลเสียหมดเกลี้ยงทีเดียว ข้าวกล้าไม่มีเหลือสักหน่อย ข้าวเปลือกประมาณ ๑๐๐ เกวียนเสียหายหมด เหตุนั้นความโศกอย่างใหญ่โตจึงเกิดแก่ข้าพระองค์. ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ก็เมื่อท่านเศร้าโศกอยู่ สิ่งที่เสียหายไปแล้วจะกลับคืนมาได้หรือ กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้อนั้นเป็นไปไม่ได้แน่นอน พระเจ้าข้า. ตรัสว่า แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ท่านเศร้าโศกเพราะเหตุไร ขึ้นชื่อว่าทรัพย์และข้าวเปลือกของสัตว์เหล่านี้ ถึงคราวเกิดก็บังเกิด ถึงคราวเสียหายก็เสียหาย สิ่งไรๆ ที่ถึงการปรุงแต่ง จะชื่อว่าไม่มีความเสียหายเป็นธรรมดาน่ะ ไม่มีดอก ท่านอย่าคิดไปเลย. พระศาสดาทรงปลอบเขาด้วยประการฉะนี้ เมื่อทรงแสดงธรรมอันเป็นที่สบายแก่เขา ตรัสกามสูตร เมื่อพระสูตรถึงปริโยสาน พราหมณ์ดำรงในโสดาปัตติผล พระศาสดาทรงทำให้เขาสร่างโศก เสด็จลุกจากอาสนะไปสู่พระวิหาร. ชาวพระนครทั้งสิ้นรู้ทั่วกันว่า พระศาสดาทรงกระทำพราหมณ์ผู้โน้นผู้เพียบแปล้ด้วยโศกศัลย์ให้สร่างโศก ให้ดำรงในโสดาปัตติผลได้ พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระทศพลทรงทำไมตรีกับพราหมณ์จนคุ้นเคยกัน ทรงแสดงธรรมแก่เขาผู้เพียบแปล้ไปด้วยความโศกด้วยอุบายครั้งเดียว ทรงทำให้เขาสร่างโศกได้ ให้ประดิษฐานในโสดาปัตติผลได้. พระศาสดาเสด็จมา ตรัสถามว่า เมื่อกี้พวกเธอกำลังสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อพากันกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน เราก็ได้กระทำให้พราหมณ์นี้สร่างโศกแล้วเหมือนกัน ทรงนำอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล พระเจ้าพรหมทัต ณ พระนครพาราณสี มีพระโอรส ๒ พระองค์ ท้าวเธอประทานที่อุปราชแก่พระโอรสองค์ใหญ่ พระราชทานตำแหน่งเสนาบดีแก่พระโอรสองค์เล็ก ครั้นต่อมาพระเจ้าพรหมทัตสิ้นพระชนม์ พวกอำมาตย์พากันตั้งการอภิเษกแก่พระองค์ใหญ่ ท้าวเธอตรัสว่า ฉันไม่ต้องการครองราชสมบัติ พวกท่านจงพากันให้แก่น้องชายของฉันเถิด แม้ได้รับคำทูลวิงวอนบ่อยๆ ก็ทรงห้ามเสีย ครั้นพวกอำมาตย์ทำการอภิเษกถวายพระเจ้าน้องแล้ว ทรงดำริว่า เราไม่ต้องการความเป็นเจ้าเป็นใหญ่ ไม่ทรงปรารถนา แม้แต่ตำแหน่งอุปราชเป็นอาทิ. ถึงเมื่อพระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญเสวยโภชนะที่มีรสดีๆ ประทับอยู่ในพระนครนี้เถิด ตรัสว่า ฉันไม่มีเรื่องที่ต้องกระทำในพระนครนี้ เสด็จออกจากพระนครพาราณสี ไปสู่ชนบทปลายแดน อาศัยสกุลเศรษฐีตระกูลหนึ่ง ทรงกระทำการงานด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง ประทับอยู่. ครั้นกาลต่อมา พวกเหล่านั้นรู้ความที่ท้าวเธอเป็นพระราชกุมาร ก็พากันไม่ยอมให้ทำการงาน พากันห้อมล้อมท้าวเธอด้วยการบริหารในฐานเป็นพระราชกุมารทีเดียว จำเนียรกาลนานมา พวกข้าราชการพากันไปสู่ชนบทปลายแดน ได้ไปถึงบ้านนั้นเพื่อรังวัดเขต ท่านเศรษฐีเข้าไปเฝ้าพระราชกุมาร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นเจ้านาย พวกข้าพระองค์พากันบำรุงเลี้ยงพระองค์ ขอพระองค์ทรงส่งหนังสือถึงพระเจ้าน้องให้ทรงลดส่วยแก่พวกข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงรับว่า ได้ซี ทรงส่งหนังสือไปว่า ฉันอาศัยสกุลเศรษฐีชื่อโน้นพำนักอยู่ โปรดเห็นแก่ฉันยกเว้นส่วยแก่พวกเหล่านั้นเถิด. พระราชารับสั่งว่า ดีแล้ว ทรงโปรดให้กระทำอย่างนั้น. ครั้งนั้น พวกชาวบ้านทั้งหมดบ้าง ชาวชนบทบ้าง ชาวบ้านอื่นๆ บ้าง พากันเข้าไปเฝ้าท้าวเธอ ทูลว่า พวกข้าพระองค์จักถวายส่วยแด่พระองค์เท่านั้น โปรดให้พระราชาทรงยกเว้นแก่พวกข้าพระองค์บ้างเถิด ท้าวเธอทรงส่งหนังสือไปเพื่อช่วยเหลือพวกเหล่านั้น ให้พระราชาทรงยกเว้นส่วยให้ ตั้งแต่บัดนั้น พวกเหล่านั้นก็พากันถวายส่วยแก่ท้าวเธอ จึงบังเกิดลาภสักการะใหญ่แก่ท้าวเธอ ด้วยเหตุนั้น ความอยากของท้าวเธอก็พลอยเติบใหญ่ไปด้วย กาลต่อมา ท้าวเธอทูลขอชนบทนั้นแม้ทั้งหมด แล้วทูลขอราชสมบัติกึ่งหนึ่ง แม้พระเจ้าน้องก็ได้ประทานแก่ท้าวเธอทั้งนั้น ท้าวเธอเมื่อความอยากพอกพูน ไม่ทรงพอพระทัยด้วยราชสมบัติเพียงกึ่งนั้น ทรงดำริจะยึดราชสมบัติแวดล้อมด้วยชาวชนบท เสด็จไปสู่พระนครนั้น หยุดทัพอยู่ภายนอกพระนคร ทรงส่งหนังสือแก่พระเจ้าน้องว่า จงให้ราชสมบัติแก่เรา หรือจะรบกันก็ได้. พระเจ้าน้องทรงดำริว่า พระพี่นี้เป็นพาล เมื่อก่อนทรงห้ามราชสมบัติ แม้กระทั่งตำแหน่งอุปราชก็ทรงห้าม คราวนี้ตรัสว่า จักยึดเอาด้วยการรบ ก็ถ้าว่าเราจักฆ่าพระพี่นี้ให้ตายด้วยการรบ ความครหาจักมีแก่เราได้ เราจะต้องการอะไรด้วยราชสมบัติ จึงทรงส่งสาส์นแด่ท้าวเธอว่า ไม่ต้องรบดอก เชิญทรงครองราชสมบัติเถิดพระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงครองราชสมบัติประทานที่อุปราชแก่พระเจ้าน้อง จำเดิมแต่นั้น ทรงครองราชสมบัติ ทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งตัณหา มิได้ทรงพอพระหทัยด้วยราชสมบัติพระนครเดียว ทรงปรารถนาราชสมบัติ ๒-๓ นคร ไม่ทรงเห็นที่สุดแห่งความอยากเลย ครั้งนั้น ท้าวสักกเทวราชทรงตรวจดูว่า ในโลกชนเหล่าไหนบ้างล่ะที่บำรุงมารดาบิดา เหล่าไหนทำบุญต่างๆ มีให้ทานเป็นต้น เหล่าไหนตกอยู่ในอำนาจตัณหา ทรงทราบความที่ท้าวเธอเป็นไปในอำนาจตัณหา ทรงดำริว่า พระราชาองค์นี้เป็นพาล ไม่ทรงพอพระหทัยแม้ด้วยราชสมบัติในพระนครพาราณสี เราต้องให้ท้าวเธอศึกษาบ้าง จำแลงเพศเป็นมาณพ ประทับยืนที่พระทวารหลวง. ให้กราบทูลว่า มาณพผู้ฉลาดในอุบายผู้หนึ่ง ยืนอยู่ที่พระทวารหลวง ครั้นรับสั่งว่า เข้ามาเถิด ก็เสด็จเข้าไปกราบทูลถวายชัยพระราชา เมื่อตรัสว่า เจ้ามาด้วยเหตุไร กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ข้อที่ข้าพระองค์กราบทูลมีอยู่หน่อย ข้าพระองค์ต้องการที่รโหฐานพระเจ้าข้า ด้วยอานุภาพท้าวสักกะ ฝูงคนพากันหลบไปหมด ทันใดนั้นเอง ครั้งนั้นมาณพกราบทูลท้าวเธอว่า ข้าแต่พระมหาราช ข้าพระองค์เห็นพระนคร ๓ แห่ง มั่งคั่งมีฝูงคนแออัด สมบูรณ์ด้วยพลและพาหนะ ข้าพระองค์จักยึดราชสมบัติทั้งสามด้วยอานุภาพของตนถวายแด่พระองค์ ควรที่พระองค์จะไม่ทรงชักช้า รีบเสด็จไปเถอะ พระเจ้าข้า. พระราชานั้นทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งความโลภ ทรงรับว่า ดีละ แต่ด้วยอานุภาพแห่งท้าวสักกะ มิได้ทรงถามว่า เจ้าเป็นใคร หรือเจ้ามาจากไหน หรือว่าควรที่เจ้าจะได้สิ่งไร ท้าวสักกะนั้นเล่าตรัสเพียงเท่านี้แล้ว ก็ได้เสด็จไปดาวดึงส์พิภพทีเดียว. พระราชาตรัสให้พวกอำมาตย์มาเฝ้า ตรัสว่า มาณพผู้หนึ่งกล่าวว่าจักยึดราชสมบัติ ๓ นครให้พวกเรา พวกเธอจงเรียกมาณพนั้นมาทีเถิด จงนำกลองไปเที่ยวตีประกาศในพระนคร เรียกประชุมพลกาย พวกเราต้องยึดครองราชสมบัติ ๓ นคร ไม่ต้องชักช้า. เมื่อพวกอำมาตย์พากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ก็พระองค์ทรงกระทำสักการะแก่มาณพนั้นอย่างไร หรือทรงถามที่อยู่อาศัยของมาณพนั้นไว้อย่างไร. ตรัสว่า เราไม่ได้ทำสักการะเลย ไม่ได้ถามที่พักอาศัยไว้เลย พวกเธอจงพากันไปค้นหาเขาเถิด พวกอำมาตย์พากันค้น ไม่เห็นเขา กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์ไม่เห็นมาณพนั้นทั่วพระนคร พระเจ้าข้า ทรงสดับคำนั้นแล้ว พระราชาทรงเกิดโทมนัส ทรงพระดำริเรื่อยๆ ว่า ราชสมบัติในพระนครทั้ง ๓ เสื่อมหายแล้ว เราเสื่อมเสียจากยศอันใหญ่ มาณพคงโกรธเราว่า ไม่ให้เสบียงแก่เรา แล้วก็ไม่ให้ที่อยู่อาศัยด้วย เลยไม่มา. ครั้งนั้นความร้อนบังเกิดขึ้นในพระกายแห่งพระองค์ผู้ทรงตกอยู่ในอำนาจตัณหา เมื่อสรีระทุกส่วนเร่าร้อนอยู่ กริยาที่วิ่งพล่านแห่งโลหิตก็ทำท้องให้กำเริบแล้วพลุ่งขึ้น ภาชนะอันหนึ่งเข้าอันหนึ่งออก พวกแพทย์สุดฝีมือที่จะถวายการรักษาได้. ครั้งนั้น การที่ท้าวเธอถูกความเจ็บป่วยเบียดเบียนได้เลื่องลือไปทั้งพระนคร. กาลนั้นพระโพธิสัตว์เรียนศิลปะสำเร็จจากเมืองตักกสิลา มาสู่สำนักบิดามารดา ในพระนครพาราณสี ฟังเรื่องของพระราชานั้น คิดว่าเราต้องถวายการรักษา ไปสู่พระราชทวาร ให้กราบทูลว่า ได้ยินว่า มาณพผู้หนึ่งมาจะถวายการรักษาพระองค์. พระราชาตรัสว่า แม้ถึงพวกแพทย์ผู้ทิศาปาโมกข์ใหญ่ๆ ยังไม่สามารถรักษาเราได้ มาณพหนุ่มจักสามารถได้อย่างไร พวกท่านพากันให้เสบียง แล้วปล่อยเขาไปเสียเถิด. มาณพฟังพระดำรัสนั้น แล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่มีเรื่องที่ต้องทำด้วยค่ากำนัลหมอเลย ข้าพเจ้าจักขอถวายการรักษา โปรดให้เพียงค่ายาเท่านั้นแหละ. พระราชาทรงสดับคำนั้นแล้วตรัสว่า ลองดูที รับสั่งให้เรียก. มาณพตรวจดูพระราชาแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พระองค์อย่าทรงกลัวเลย ข้าพระองค์จักถวายการรักษา ก็แต่ว่าพระองค์ทรงโปรดบอกสมุฏฐานแห่งโรคแก่ข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. พระราชาทรงพอพระหทัยตรัสว่า เจ้าจักเอาสมุฏฐานไปทำไม จงบอกยาเท่านั้นเถิด. กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ธรรมดาหมอทราบว่า ความเจ็บนี้เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุนี้ ย่อมกระทำยาให้ถูกต้องกับความเจ็บนั้นได้พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ถูกต้องละพ่อ เมื่อตรัสสมุฏฐานได้ตรัสเรื่องทั้งหมด ตั้งต้นแต่ที่มาณพคนหนึ่งมาบอกว่าจักเอาราชสมบัติในสามพระนครมาให้ แล้วตรัสว่า แน่ะพ่อ เราเจ็บคราวนี้เพราะตัณหา ถ้าเจ้าพอจะรักษาได้ ก็จงรักษาเถิด. มาณพทูลถามว่า ข้าแต่พระมหาราช พระองค์อาจได้พระนครเหล่านั้น ด้วยการเศร้าโศกหรือ? ตรัสว่า ไม่อาจดอกพ่อ. กราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น เหตุไรพระองค์จึงทรงเศร้าโศกพระเจ้าข้า ธรรมดาสัตว์ทั้งหลายย่อมละร่างกายของตนเป็นต้น ตลอดถึงสวิญญาณกทรัพย์และอวิญญาณกทรัพย์ทั้งหมดไป แม้พระองค์จะยึดครองราชสมบัติในพระนครทั้งสี่ได้ พระองค์ก็เสวยพระกระยาหารในสุวรรณภาชนะทั้งสี่ บรรทมเหนือพระที่ทั้งสี่ ทรงเครื่องประดับทั้งสี่พร้อมกันคราวเดียวไม่ได้ พระองค์ไม่ควรตกอยู่ในอำนาจตัณหา เพราะตัณหานี้ เมื่อเจริญขึ้นย่อมไม่ปล่อยให้พ้นจากอบายทั้งสี่ไปได้. พระมหาสัตว์ ครั้นถวายโอวาทพระราชาดังนี้แล้ว เมื่อจะแสดงธรรมแก่พระราชา ได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กามํ ได้แก่ ทั้งวัตถุกาม ทั้งกิเลสกาม. บทว่า กามยมานสฺส แปลว่า ปรารถนาอยู่. บทว่า ตสฺส เจ ตํ สมิชฺฌติ ความว่า สิ่งที่เขาปรารถนาย่อมสำเร็จ และย่อมเผล็ดผลแก่บุคคลนั้น. บทว่า นํ ในคำว่า ตโต นํ อปรํ กาเม นี้เป็นเพียงนิบาต. บทว่า อปรํ เป็นบทแสดงส่วนอื่น. บทว่า กาเม เป็นพหุวจนะ ใช้ในอรรถแห่งทุติยาวิภัตติ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ถ้าเมื่อเขาปรารถนากาม สิ่งที่เขาปรารถนานั้นย่อมสำเร็จแก่เขาสมประสงค์ เมื่อสิ่งนั้นสำเร็จแล้ว เขายังปรารถนาต่อไปอีก บุคคลนั้นเมื่อปรารถนาอยู่ ย่อมประสบคือได้รับกามกล่าวคือตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมเกิดความอยากคือได้รับความกระหายน้ำฉะนั้น. ตัณหามีรูปตัณหาเป็นต้นย่อมเจริญแก่บุคคลนั่นแล. บทว่า ควํว แปลว่า เหมือนรูปโค. บทว่า สิงคิโน ได้แก่ เขาสัตว์ที่ผ่ายอดแล้วยกขึ้น. บทว่า มนฺทสฺส แปลว่า ผู้มีปัญญาอ่อน. บทว่า พาลสฺส ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยพาลธรรม. ท่านกล่าวอธิบายคำนี้ไว้ว่า เขาโคย่อมเติบโตพร้อมกับร่างของลูกโคตัวกำลังเติบโต ฉันใด กามตัณหาที่ยังไม่มาถึงก็ดี ความกระหายในกามที่มาถึงแล้วก็ดี ย่อมเจริญยิ่งๆ ขึ้นไปสำหรับอันธพาลชน. บทว่า สาลิยวกํ ได้แก่ นาข้าวสาลี และนาข้าวเหนียว. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงธัญชาติหมด มีข้าวสาลีและข้าวเหนียวเป็นต้น. ด้วยบทที่ ๒ ท่านแสดงถึงสัตว์ ๒ เท้าและสัตว์ ๔ เท้า. หรือด้วยบทที่ ๑ ท่านแสดงถึงสิ่งที่ไม่มีวิญญาณทั้งหมด ด้วยบทนอกนี้ ท่านแสดงถึงสิ่งที่มีวิญญาณทั้งสิ้น. บทว่า ทตฺวาปิ แปลว่า แม้ให้แล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า อาณาจักรทั้ง ๓ จงยกไว้ ถ้าว่า มาณพนั้นให้สิ่งอื่นๆ หรือแผ่นดินทั้งสิ้นที่มีวิญญาณและไม่มีวิญญาณ ทั้งรัตนบุรีแก่ใครแล้วไป สิ่งแม้มีประมาณเท่านี้ ย่อมไม่สิ้นสุดแก่บุคคลคนเดียวเท่านั้น นี้ชื่อว่าตัณหาให้เต็มได้โดยยากด้วยประการฉะนี้. บทว่า อิติ วิทฺธา สมํ จเร ความว่า บุรุษเมื่อรู้อย่างนี้ เป็นผู้ไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา บำเพ็ญกายสุจริตเป็นต้นให้บริบูรณ์ พึงประพฤติให้สม่ำเสมอ. บทว่า โอรํ ได้แก่ ถึงส่วนอันมีในภายใน. ด้วยบทนั้นบุคคลนั้นชื่อว่ายังไม่อิ่ม พึงปรารถนาแม้ฝั่งแห่งสมุทรอีกด้วยอาการอย่างนี้ ท่านแสดงว่า ขึ้นชื่อว่าสัตว์ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เป็นอันเต็มได้โดยยาก. บทว่า ยาว เป็นบทกำหนดนับตามอนิยม. บทว่า อนุสฺสรํ แปลว่า ระลึกถึงอยู่. บทว่า นาชฺฌคา แปลว่า ย่อมไม่ประสบ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า บุรุษมีใจระลึกถึงกามทั้งหลาย แม้อันหาที่สุดไม่ได้ ย่อมไม่ประสบความอิ่ม ปรารถนาจะบรรลุถึงอยู่นั้นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ ตัณหาในกามทั้งหลาย ย่อมเจริญแก่สัตว์ทั้งหลายอยู่นั่นเอง. บทว่า ตโต นิวตฺตา ความว่า บุคคลเหล่าใดมีจิตและกายกลับจากวัตถุกามและกิเลสกามแล้ว เห็นโทษด้วยญาณนั่นแล อิ่มเอิบบริบูรณ์ด้วยปัญญา บุคคลเหล่านั้นแลชื่อว่าย่อมอิ่ม. บทว่า ปญฺญาย ติตฺตีนํ เสฏฺฐํ คือความอิ่มด้วยปัญญานี้ ย่อมเป็นของประเสริฐเต็มที่. อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า น โส กาเมหิ ตปฺปติ นี้ บาลีว่า ย่อมไม่ถูกกามทั้งหลายแผดเผา. อธิบายว่า เพราะเหตุที่บุรุษผู้อิ่มด้วยปัญญา ย่อมไม่ถูกกามแผดเผา. บทว่า น กุรุเต วสํ ความว่า เพราะตัณหาไม่อาจยังบุรุษเช่นนั้นให้อยู่ในอำนาจได้ ก็บุรุษนั้นนั่นแลเห็นโทษแห่งตัณหาแล้ว ย่อมไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เหมือนวังวนแห่งสายน้ำ และเหมือนพระราชอัฑฒมาสก. บทว่า อปจิเนเถว แปลว่า พึงกำจัดเสียเลย. บทว่า สมุทฺทมตฺโต คือมีประมาณสมุทร เพราะประกอบด้วยปัญญาอันใหญ่. บุรุษนั้นย่อมไม่เดือดร้อน คือไม่รุ่มร้อนด้วยกิเลสกามทั้งหลาย เหมือนสมุทรไม่ร้อนแม้เพราะไฟใหญ่ฉะนั้น. บทว่า รถกาโร แปลว่า ช่างหนัง. บทว่า ปริกนฺตํ แปลว่า ตัดแล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ช่างหนังตัดรองเท้า เว้นที่ที่หนังไม่เข้าลักษณะที่ถือเอาได้ ทำให้เป็นรองเท้า ได้ค่ารองเท้า ย่อมได้รับความสุขฉันใด บัณฑิตก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาอันเสมือนกับศาสตราของช่างรองเท้า พึงถึงความสุขทางกายกรรมวจีกรรมและมโนกรรมนั้น ที่เว้นจากแดนแห่งกาม อันเป็นเหตุให้ตนละแดนกาม ปรารถนาเฉพาะสุขมีกายกรรมเป็นต้นทุกอย่างที่ปราศจากความเร่าร้อน พึงเจริญกสิณยังฌานให้เกิดละกามทั้งปวงเสีย. ก็เมื่อพระมหาสัตว์กำลังกล่าวคาถานี้อยู่ ได้เกิดฌานมีโอทาตกสิณเป็นอารมณ์ เพราะหน่วงเอาพระเศวตฉัตรของพระราชาเป็นอารมณ์. แม้พระราชาก็ทรงหายจากโรค พระองค์ทรงมีความยินดี เสด็จลุกจากพระที่บรรทม มีพระดำรัสว่า พวกแพทย์เท่านี้ยังไม่อาจรักษาได้ แต่มาณพผู้เป็นบัณฑิตได้ทำเราให้ปราศจากโรคด้วยญาณวิสัยของตนได้ เมื่อจะทรงปราศรัยกับพระโพธิสัตว์ ได้ตรัสพระคาถาที่ ๑๐ ว่า คาถาทั้งหมด ๘ คาถาที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ทั้ง ๘,๐๐๐ นี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อฏฺฐ ได้แก่ คาถา ๘ คาถาที่ประกอบด้วยโทษแห่งกาม ตั้งต้นแต่คาถาที่ ๒ ไป. บทว่า สหสฺสิยา แปลว่า ควรแก่ ๑,๐๐๐. บทว่า ปฏิคฺคณฺห ความว่า จงรับเอาทรัพย์ ๘,๐๐๐. บทว่า สาเธตํ ตว ภาสิตํ ความว่า คำที่ท่านกล่าวนี้ยังประโยชน์ให้สำเร็จ. พระมหาสัตว์ได้สดับดังนั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๑๑ ว่า ข้าพระบาทไม่ต้องการด้วยทรัพย์ร้อยทรัพย์พันหรือทรัพย์หมื่น เมื่อข้าพระบาทกล่าวคาถาสุดท้าย ใจของข้าพระบาทไม่ยินดีในกาม. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปจฺฉิมํ นี้เป็นคาถาสุดท้ายว่า รถกาโรว จมฺมสฺส. บทว่า กาเม เม นิรโต มโน ความว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า เมื่อข้าพระองค์กำลังกล่าวคาถาอยู่นั่นแล ใจไม่ยินดีทั้งในวัตถุกามทั้งกิเลสกาม เพราะข้าพเจ้านั้นเมื่อกล่าวคาถายังฌานให้บังเกิดด้วยธรรมเทศนาของตนแล. พระราชาทรงยินดีอย่างเหลือประมาณ ในเมื่อจะทรงสรรเสริญพระมหาสัตว์ ได้ตรัสคาถาสุดท้ายว่า มาณพใดเป็นบัณฑิต กำหนดรู้ตัณหาอันยังความทุกข์ให้เกิดแล้ว นำออกได้ มาณพนี้เป็นคนดี เป็นมุนีผู้รู้แจ้งโลกทั้งปวง. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุกฺขชนนึ ได้แก่ ยังทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นให้เกิด. บทว่า ปริชานาติ ได้แก่ กำหนดรู้แล้ว คือกำหนดตัด ตัดขาดนำออกไป เมื่อสรรเสริญพระโพธิสัตว์จึงได้ตรัสอย่างนี้. พระโพธิสัตว์ถวายโอวาทพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช ขอพระองค์จงเป็นผู้ไม่ประมาทประพฤติธรรมเถิด แล้วเหาะไปยังหิมวันตประเทศ บวชเป็นฤาษี เจริญพรหมวิหารอยู่จนตลอดชนมายุ แล้วไปเกิดในพรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน เราก็ได้ทำให้พราหมณ์นี้คลายความเศร้าโศกด้วยประการดังนี้. แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพราหมณ์นี้ ส่วนมาณพผู้เป็นบัณฑิต ได้มาเป็น เราตถาคต แล. จบอรรถกถากามชาดกที่ ๔ -----------------------------------------------------

ทุกชีวิตที่เกิดมาแต่ละภพแต่ละชาติไม่แน่นอนเลย..อรรถกถา กามชาดก ว่าด้วย กามและโทษของกาม พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภพราหมณ์ผู้ใดผู้หนึ่ง ตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า กามํ กามยมานสฺส ดังนี้. เรื่องมีว่า พราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่งหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่. พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ทรงแวะลงจากทาง กระทำปฏิสันถารกับเขา ตรัสว่า เธอทำอะไรเล่าพราหมณ์. ครั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์หักร้างที่ไร่ พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดีละพราหมณ์ กระทำการงานไปเถิด แล้วเสด็จเลยไป พระองค์ได้เสด็จไปทำปฏิสันถารกับเขาบ่อยๆ คือในเวลาที่เขาขนต้นไม้ที่ตัดแล้วและชำระที่ไร่ ในเวลาก่อคัน ในเวลาหว่าน โดยอุบายอย่างนี้นั้นแล. วันรุ่งขึ้นพราหมณ์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ วันนี้เป็นมงคลในการหว่านข้าวของข้าพระองค์ ข้าพระองค์จักถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุขในเมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว พระศาสดาทรงรับด้วยทรงดุษณีภาพ เสด็จหลีกไป. รุ่งขึ้นวันหนึ่งพราหมณ์ยืนดูข้าวกล้าอยู่ พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า พราหมณ์ เธอกำลังทำอะไรอยู่ตรงนั้น เมื่อเขากราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์กำลังดูข้าวกล้า ตรัสว่า ดีพราหมณ์ แล้วเสด็จหลีกไป. ในครั้งนั้น พราหมณ์คิดว่า พระสมณโคดมมาเนืองๆ คงมีความต้องการภัตรอย่างไม่ต้องสงสัย เราจักถวายภัตรแก่ท่าน ในวันที่พราหมณ์คิดอย่างนี้แล้วไปสู่เรือน ถึงพระศาสดาก็ได้เสด็จไป ณ ที่นั้น ครั้งนั้นความพิศวาสเกิดขึ้นแก่พราหมณ์ล้นเหลือ. ต่อมาครั้นข้าวกล้าแก่แล้ว เมื่อพราหมณ์ตกลงใจว่า พรุ่งนี้เราจักเกี่ยวไร่แล้วนอน ฝนลูกเห็บตกตลอดคืน ทางเหนือของแม่น้ำอจิรวดี ห้วงน้ำใหญ่ไหลมาพัดเอาข้าวกล้าทั้งหมดเข้าไปสู่ทะเล ไม่เหลือไว้ให้ แม้มาตรว่าทะนานเดียว เมื่อห้วงน้ำเหือดแห้งลงแล้ว พราหมณ์มองดูความย่อยยับแห่งข้าวแล้ว ไม่สามารถจะดำรงอยู่โดยภาวะของตนได้ ถูกความเสียใจอย่างแรงครอบงำ ยกมือตีอกคร่ำครวญไปถึงเรือน แล้วลงนอนบ่นพร่ำ. ในเวลาใกล้รุ่ง พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์ถูกความเสียใจครอบงำ ทรงดำริว่า เราต้องเป็นที่พึ่งของพราหมณ์ รุ่งขึ้นเสด็จเที่ยวโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ภายหลังจากเสวยเสร็จเสด็จกลับจากบิณฑบาต ทรงส่งพวกภิกษุไปสู่พระวิหาร เสด็จไปสู่ประตูเรือนของเขากับด้วยสมณะติดตาม พราหมณ์ได้ยินความที่พระศาสดาเสด็จมา กล่าวว่า สหายของเราคงมาเยี่ยมเยียนค่อยได้ความโปร่งใจ จัดแจงอาสนะไว้ พระศาสดาเสด็จเข้าไป ประทับนั่งเหนืออาสนะที่จัดไว้. ตรัสถามว่า ดูก่อนพราหมณ์ เหตุไรจึงเศร้าหมองไปล่ะ ท่านไม่สบายอะไรเล่า. กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ พระองค์ย่อมทรงทราบการงานที่ข้าพระองค์กระทำ จำเดิมแต่ตัดต้นไม้ที่ฝั่งแม่น้ำอจิรวดี ข้าพระองค์เคยกราบทูลไว้ว่า เมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว ข้าพระองค์จักถวายทานแด่พระองค์ บัดนี้ห้วงน้ำใหญ่พัดข้าวกล้าของข้าพระองค์ไปสู่ทะเลเสียหมดเกลี้ยงทีเดียว ข้าวกล้าไม่มีเหลือสักหน่อย ข้าวเปลือกประมาณ ๑๐๐ เกวียนเสียหายหมด เหตุนั้นความโศกอย่างใหญ่โตจึงเกิดแก่ข้าพระองค์. ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ก็เมื่อท่านเศร้าโศกอยู่ สิ่งที่เสียหายไปแล้วจะกลับคืนมาได้หรือ กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้อนั้นเป็นไปไม่ได้แน่นอน พระเจ้าข้า. ตรัสว่า แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ท่านเศร้าโศกเพราะเหตุไร ขึ้นชื่อว่าทรัพย์และข้าวเปลือกของสัตว์เหล่านี้ ถึงคราวเกิดก็บังเกิด ถึงคราวเสียหายก็เสียหาย สิ่งไรๆ ที่ถึงการปรุงแต่ง จะชื่อว่าไม่มีความเสียหายเป็นธรรมดาน่ะ ไม่มีดอก ท่านอย่าคิดไปเลย. พระศาสดาทรงปลอบเขาด้วยประการฉะนี้ เมื่อทรงแสดงธรรมอันเป็นที่สบายแก่เขา ตรัสกามสูตร เมื่อพระสูตรถึงปริโยสาน พราหมณ์ดำรงในโสดาปัตติผล พระศาสดาทรงทำให้เขาสร่างโศก เสด็จลุกจากอาสนะไปสู่พระวิหาร. ชาวพระนครทั้งสิ้นรู้ทั่วกันว่า พระศาสดาทรงกระทำพราหมณ์ผู้โน้นผู้เพียบแปล้ด้วยโศกศัลย์ให้สร่างโศก ให้ดำรงในโสดาปัตติผลได้ พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระทศพลทรงทำไมตรีกับพราหมณ์จนคุ้นเคยกัน ทรงแสดงธรรมแก่เขาผู้เพียบแปล้ไปด้วยความโศกด้วยอุบายครั้งเดียว ทรงทำให้เขาสร่างโศกได้ ให้ประดิษฐานในโสดาปัตติผลได้. พระศาสดาเสด็จมา ตรัสถามว่า เมื่อกี้พวกเธอกำลังสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อพากันกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน เราก็ได้กระทำให้พราหมณ์นี้สร่างโศกแล้วเหมือนกัน ทรงนำอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล พระเจ้าพรหมทัต ณ พระนครพาราณสี มีพระโอรส ๒ พระองค์ ท้าวเธอประทานที่อุปราชแก่พระโอรสองค์ใหญ่ พระราชทานตำแหน่งเสนาบดีแก่พระโอรสองค์เล็ก ครั้นต่อมาพระเจ้าพรหมทัตสิ้นพระชนม์ พวกอำมาตย์พากันตั้งการอภิเษกแก่พระองค์ใหญ่ ท้าวเธอตรัสว่า ฉันไม่ต้องการครองราชสมบัติ พวกท่านจงพากันให้แก่น้องชายของฉันเถิด แม้ได้รับคำทูลวิงวอนบ่อยๆ ก็ทรงห้ามเสีย ครั้นพวกอำมาตย์ทำการอภิเษกถวายพระเจ้าน้องแล้ว ทรงดำริว่า เราไม่ต้องการความเป็นเจ้าเป็นใหญ่ ไม่ทรงปรารถนา แม้แต่ตำแหน่งอุปราชเป็นอาทิ. ถึงเมื่อพระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญเสวยโภชนะที่มีรสดีๆ ประทับอยู่ในพระนครนี้เถิด ตรัสว่า ฉันไม่มีเรื่องที่ต้องกระทำในพระนครนี้ เสด็จออกจากพระนครพาราณสี ไปสู่ชนบทปลายแดน อาศัยสกุลเศรษฐีตระกูลหนึ่ง ทรงกระทำการงานด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง ประทับอยู่. ครั้นกาลต่อมา พวกเหล่านั้นรู้ความที่ท้าวเธอเป็นพระราชกุมาร ก็พากันไม่ยอมให้ทำการงาน พากันห้อมล้อมท้าวเธอด้วยการบริหารในฐานเป็นพระราชกุมารทีเดียว จำเนียรกาลนานมา พวกข้าราชการพากันไปสู่ชนบทปลายแดน ได้ไปถึงบ้านนั้นเพื่อรังวัดเขต ท่านเศรษฐีเข้าไปเฝ้าพระราชกุมาร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นเจ้านาย พวกข้าพระองค์พากันบำรุงเลี้ยงพระองค์ ขอพระองค์ทรงส่งหนังสือถึงพระเจ้าน้องให้ทรงลดส่วยแก่พวกข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงรับว่า ได้ซี ทรงส่งหนังสือไปว่า ฉันอาศัยสกุลเศรษฐีชื่อโน้นพำนักอยู่ โปรดเห็นแก่ฉันยกเว้นส่วยแก่พวกเหล่านั้นเถิด. พระราชารับสั่งว่า ดีแล้ว ทรงโปรดให้กระทำอย่างนั้น. ครั้งนั้น พวกชาวบ้านทั้งหมดบ้าง ชาวชนบทบ้าง ชาวบ้านอื่นๆ บ้าง พากันเข้าไปเฝ้าท้าวเธอ ทูลว่า พวกข้าพระองค์จักถวายส่วยแด่พระองค์เท่านั้น โปรดให้พระราชาทรงยกเว้นแก่พวกข้าพระองค์บ้างเถิด ท้าวเธอทรงส่งหนังสือไปเพื่อช่วยเหลือพวกเหล่านั้น ให้พระราชาทรงยกเว้นส่วยให้ ตั้งแต่บัดนั้น พวกเหล่านั้นก็พากันถวายส่วยแก่ท้าวเธอ จึงบังเกิดลาภสักการะใหญ่แก่ท้าวเธอ ด้วยเหตุนั้น ความอยากของท้าวเธอก็พลอยเติบใหญ่ไปด้วย กาลต่อมา ท้าวเธอทูลขอชนบทนั้นแม้ทั้งหมด แล้วทูลขอราชสมบัติกึ่งหนึ่ง แม้พระเจ้าน้องก็ได้ประทานแก่ท้าวเธอทั้งนั้น ท้าวเธอเมื่อความอยากพอกพูน ไม่ทรงพอพระทัยด้วยราชสมบัติเพียงกึ่งนั้น ทรงดำริจะยึดราชสมบัติแวดล้อมด้วยชาวชนบท เสด็จไปสู่พระนครนั้น หยุดทัพอยู่ภายนอกพระนคร ทรงส่งหนังสือแก่พระเจ้าน้องว่า จงให้ราชสมบัติแก่เรา หรือจะรบกันก็ได้. พระเจ้าน้องทรงดำริว่า พระพี่นี้เป็นพาล เมื่อก่อนทรงห้ามราชสมบัติ แม้กระทั่งตำแหน่งอุปราชก็ทรงห้าม คราวนี้ตรัสว่า จักยึดเอาด้วยการรบ ก็ถ้าว่าเราจักฆ่าพระพี่นี้ให้ตายด้วยการรบ ความครหาจักมีแก่เราได้ เราจะต้องการอะไรด้วยราชสมบัติ จึงทรงส่งสาส์นแด่ท้าวเธอว่า ไม่ต้องรบดอก เชิญทรงครองราชสมบัติเถิดพระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงครองราชสมบัติประทานที่อุปราชแก่พระเจ้าน้อง จำเดิมแต่นั้น ทรงครองราชสมบัติ ทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งตัณหา มิได้ทรงพอพระหทัยด้วยราชสมบัติพระนครเดียว ทรงปรารถนาราชสมบัติ ๒-๓ นคร ไม่ทรงเห็นที่สุดแห่งความอยากเลย ครั้งนั้น ท้าวสักกเทวราชทรงตรวจดูว่า ในโลกชนเหล่าไหนบ้างล่ะที่บำรุงมารดาบิดา เหล่าไหนทำบุญต่างๆ มีให้ทานเป็นต้น เหล่าไหนตกอยู่ในอำนาจตัณหา ทรงทราบความที่ท้าวเธอเป็นไปในอำนาจตัณหา ทรงดำริว่า พระราชาองค์นี้เป็นพาล ไม่ทรงพอพระหทัยแม้ด้วยราชสมบัติในพระนครพาราณสี เราต้องให้ท้าวเธอศึกษาบ้าง จำแลงเพศเป็นมาณพ ประทับยืนที่พระทวารหลวง. ให้กราบทูลว่า มาณพผู้ฉลาดในอุบายผู้หนึ่ง ยืนอยู่ที่พระทวารหลวง ครั้นรับสั่งว่า เข้ามาเถิด ก็เสด็จเข้าไปกราบทูลถวายชัยพระราชา เมื่อตรัสว่า เจ้ามาด้วยเหตุไร กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ข้อที่ข้าพระองค์กราบทูลมีอยู่หน่อย ข้าพระองค์ต้องการที่รโหฐานพระเจ้าข้า ด้วยอานุภาพท้าวสักกะ ฝูงคนพากันหลบไปหมด ทันใดนั้นเอง ครั้งนั้นมาณพกราบทูลท้าวเธอว่า ข้าแต่พระมหาราช ข้าพระองค์เห็นพระนคร ๓ แห่ง มั่งคั่งมีฝูงคนแออัด สมบูรณ์ด้วยพลและพาหนะ ข้าพระองค์จักยึดราชสมบัติทั้งสามด้วยอานุภาพของตนถวายแด่พระองค์ ควรที่พระองค์จะไม่ทรงชักช้า รีบเสด็จไปเถอะ พระเจ้าข้า. พระราชานั้นทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งความโลภ ทรงรับว่า ดีละ แต่ด้วยอานุภาพแห่งท้าวสักกะ มิได้ทรงถามว่า เจ้าเป็นใคร หรือเจ้ามาจากไหน หรือว่าควรที่เจ้าจะได้สิ่งไร ท้าวสักกะนั้นเล่าตรัสเพียงเท่านี้แล้ว ก็ได้เสด็จไปดาวดึงส์พิภพทีเดียว. พระราชาตรัสให้พวกอำมาตย์มาเฝ้า ตรัสว่า มาณพผู้หนึ่งกล่าวว่าจักยึดราชสมบัติ ๓ นครให้พวกเรา พวกเธอจงเรียกมาณพนั้นมาทีเถิด จงนำกลองไปเที่ยวตีประกาศในพระนคร เรียกประชุมพลกาย พวกเราต้องยึดครองราชสมบัติ ๓ นคร ไม่ต้องชักช้า. เมื่อพวกอำมาตย์พากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ก็พระองค์ทรงกระทำสักการะแก่มาณพนั้นอย่างไร หรือทรงถามที่อยู่อาศัยของมาณพนั้นไว้อย่างไร. ตรัสว่า เราไม่ได้ทำสักการะเลย ไม่ได้ถามที่พักอาศัยไว้เลย พวกเธอจงพากันไปค้นหาเขาเถิด พวกอำมาตย์พากันค้น ไม่เห็นเขา กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์ไม่เห็นมาณพนั้นทั่วพระนคร พระเจ้าข้า ทรงสดับคำนั้นแล้ว พระราชาทรงเกิดโทมนัส ทรงพระดำริเรื่อยๆ ว่า ราชสมบัติในพระนครทั้ง ๓ เสื่อมหายแล้ว เราเสื่อมเสียจากยศอันใหญ่ มาณพคงโกรธเราว่า ไม่ให้เสบียงแก่เรา แล้วก็ไม่ให้ที่อยู่อาศัยด้วย เลยไม่มา. ครั้งนั้นความร้อนบังเกิดขึ้นในพระกายแห่งพระองค์ผู้ทรงตกอยู่ในอำนาจตัณหา เมื่อสรีระทุกส่วนเร่าร้อนอยู่ กริยาที่วิ่งพล่านแห่งโลหิตก็ทำท้องให้กำเริบแล้วพลุ่งขึ้น ภาชนะอันหนึ่งเข้าอันหนึ่งออก พวกแพทย์สุดฝีมือที่จะถวายการรักษาได้. ครั้งนั้น การที่ท้าวเธอถูกความเจ็บป่วยเบียดเบียนได้เลื่องลือไปทั้งพระนคร. กาลนั้นพระโพธิสัตว์เรียนศิลปะสำเร็จจากเมืองตักกสิลา มาสู่สำนักบิดามารดา ในพระนครพาราณสี ฟังเรื่องของพระราชานั้น คิดว่าเราต้องถวายการรักษา ไปสู่พระราชทวาร ให้กราบทูลว่า ได้ยินว่า มาณพผู้หนึ่งมาจะถวายการรักษาพระองค์. พระราชาตรัสว่า แม้ถึงพวกแพทย์ผู้ทิศาปาโมกข์ใหญ่ๆ ยังไม่สามารถรักษาเราได้ มาณพหนุ่มจักสามารถได้อย่างไร พวกท่านพากันให้เสบียง แล้วปล่อยเขาไปเสียเถิด. มาณพฟังพระดำรัสนั้น แล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่มีเรื่องที่ต้องทำด้วยค่ากำนัลหมอเลย ข้าพเจ้าจักขอถวายการรักษา โปรดให้เพียงค่ายาเท่านั้นแหละ. พระราชาทรงสดับคำนั้นแล้วตรัสว่า ลองดูที รับสั่งให้เรียก. มาณพตรวจดูพระราชาแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พระองค์อย่าทรงกลัวเลย ข้าพระองค์จักถวายการรักษา ก็แต่ว่าพระองค์ทรงโปรดบอกสมุฏฐานแห่งโรคแก่ข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. พระราชาทรงพอพระหทัยตรัสว่า เจ้าจักเอาสมุฏฐานไปทำไม จงบอกยาเท่านั้นเถิด. กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ธรรมดาหมอทราบว่า ความเจ็บนี้เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุนี้ ย่อมกระทำยาให้ถูกต้องกับความเจ็บนั้นได้พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ถูกต้องละพ่อ เมื่อตรัสสมุฏฐานได้ตรัสเรื่องทั้งหมด ตั้งต้นแต่ที่มาณพคนหนึ่งมาบอกว่าจักเอาราชสมบัติในสามพระนครมาให้ แล้วตรัสว่า แน่ะพ่อ เราเจ็บคราวนี้เพราะตัณหา ถ้าเจ้าพอจะรักษาได้ ก็จงรักษาเถิด. มาณพทูลถามว่า ข้าแต่พระมหาราช พระองค์อาจได้พระนครเหล่านั้น ด้วยการเศร้าโศกหรือ? ตรัสว่า ไม่อาจดอกพ่อ. กราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น เหตุไรพระองค์จึงทรงเศร้าโศกพระเจ้าข้า ธรรมดาสัตว์ทั้งหลายย่อมละร่างกายของตนเป็นต้น ตลอดถึงสวิญญาณกทรัพย์และอวิญญาณกทรัพย์ทั้งหมดไป แม้พระองค์จะยึดครองราชสมบัติในพระนครทั้งสี่ได้ พระองค์ก็เสวยพระกระยาหารในสุวรรณภาชนะทั้งสี่ บรรทมเหนือพระที่ทั้งสี่ ทรงเครื่องประดับทั้งสี่พร้อมกันคราวเดียวไม่ได้ พระองค์ไม่ควรตกอยู่ในอำนาจตัณหา เพราะตัณหานี้ เมื่อเจริญขึ้นย่อมไม่ปล่อยให้พ้นจากอบายทั้งสี่ไปได้. พระมหาสัตว์ ครั้นถวายโอวาทพระราชาดังนี้แล้ว เมื่อจะแสดงธรรมแก่พระราชา ได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กามํ ได้แก่ ทั้งวัตถุกาม ทั้งกิเลสกาม. บทว่า กามยมานสฺส แปลว่า ปรารถนาอยู่. บทว่า ตสฺส เจ ตํ สมิชฺฌติ ความว่า สิ่งที่เขาปรารถนาย่อมสำเร็จ และย่อมเผล็ดผลแก่บุคคลนั้น. บทว่า นํ ในคำว่า ตโต นํ อปรํ กาเม นี้เป็นเพียงนิบาต. บทว่า อปรํ เป็นบทแสดงส่วนอื่น. บทว่า กาเม เป็นพหุวจนะ ใช้ในอรรถแห่งทุติยาวิภัตติ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ถ้าเมื่อเขาปรารถนากาม สิ่งที่เขาปรารถนานั้นย่อมสำเร็จแก่เขาสมประสงค์ เมื่อสิ่งนั้นสำเร็จแล้ว เขายังปรารถนาต่อไปอีก บุคคลนั้นเมื่อปรารถนาอยู่ ย่อมประสบคือได้รับกามกล่าวคือตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมเกิดความอยากคือได้รับความกระหายน้ำฉะนั้น. ตัณหามีรูปตัณหาเป็นต้นย่อมเจริญแก่บุคคลนั่นแล. บทว่า ควํว แปลว่า เหมือนรูปโค. บทว่า สิงคิโน ได้แก่ เขาสัตว์ที่ผ่ายอดแล้วยกขึ้น. บทว่า มนฺทสฺส แปลว่า ผู้มีปัญญาอ่อน. บทว่า พาลสฺส ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยพาลธรรม. ท่านกล่าวอธิบายคำนี้ไว้ว่า เขาโคย่อมเติบโตพร้อมกับร่างของลูกโคตัวกำลังเติบโต ฉันใด กามตัณหาที่ยังไม่มาถึงก็ดี ความกระหายในกามที่มาถึงแล้วก็ดี ย่อมเจริญยิ่งๆ ขึ้นไปสำหรับอันธพาลชน. บทว่า สาลิยวกํ ได้แก่ นาข้าวสาลี และนาข้าวเหนียว. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงธัญชาติหมด มีข้าวสาลีและข้าวเหนียวเป็นต้น. ด้วยบทที่ ๒ ท่านแสดงถึงสัตว์ ๒ เท้าและสัตว์ ๔ เท้า. หรือด้วยบทที่ ๑ ท่านแสดงถึงสิ่งที่ไม่มีวิญญาณทั้งหมด ด้วยบทนอกนี้ ท่านแสดงถึงสิ่งที่มีวิญญาณทั้งสิ้น. บทว่า ทตฺวาปิ แปลว่า แม้ให้แล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า อาณาจักรทั้ง ๓ จงยกไว้ ถ้าว่า มาณพนั้นให้สิ่งอื่นๆ หรือแผ่นดินทั้งสิ้นที่มีวิญญาณและไม่มีวิญญาณ ทั้งรัตนบุรีแก่ใครแล้วไป สิ่งแม้มีประมาณเท่านี้ ย่อมไม่สิ้นสุดแก่บุคคลคนเดียวเท่านั้น นี้ชื่อว่าตัณหาให้เต็มได้โดยยากด้วยประการฉะนี้. บทว่า อิติ วิทฺธา สมํ จเร ความว่า บุรุษเมื่อรู้อย่างนี้ เป็นผู้ไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา บำเพ็ญกายสุจริตเป็นต้นให้บริบูรณ์ พึงประพฤติให้สม่ำเสมอ. บทว่า โอรํ ได้แก่ ถึงส่วนอันมีในภายใน. ด้วยบทนั้นบุคคลนั้นชื่อว่ายังไม่อิ่ม พึงปรารถนาแม้ฝั่งแห่งสมุทรอีกด้วยอาการอย่างนี้ ท่านแสดงว่า ขึ้นชื่อว่าสัตว์ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เป็นอันเต็มได้โดยยาก. บทว่า ยาว เป็นบทกำหนดนับตามอนิยม. บทว่า อนุสฺสรํ แปลว่า ระลึกถึงอยู่. บทว่า นาชฺฌคา แปลว่า ย่อมไม่ประสบ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า บุรุษมีใจระลึกถึงกามทั้งหลาย แม้อันหาที่สุดไม่ได้ ย่อมไม่ประสบความอิ่ม ปรารถนาจะบรรลุถึงอยู่นั้นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ ตัณหาในกามทั้งหลาย ย่อมเจริญแก่สัตว์ทั้งหลายอยู่นั่นเอง. บทว่า ตโต นิวตฺตา ความว่า บุคคลเหล่าใดมีจิตและกายกลับจากวัตถุกามและกิเลสกามแล้ว เห็นโทษด้วยญาณนั่นแล อิ่มเอิบบริบูรณ์ด้วยปัญญา บุคคลเหล่านั้นแลชื่อว่าย่อมอิ่ม. บทว่า ปญฺญาย ติตฺตีนํ เสฏฺฐํ คือความอิ่มด้วยปัญญานี้ ย่อมเป็นของประเสริฐเต็มที่. อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า น โส กาเมหิ ตปฺปติ นี้ บาลีว่า ย่อมไม่ถูกกามทั้งหลายแผดเผา. อธิบายว่า เพราะเหตุที่บุรุษผู้อิ่มด้วยปัญญา ย่อมไม่ถูกกามแผดเผา. บทว่า น กุรุเต วสํ ความว่า เพราะตัณหาไม่อาจยังบุรุษเช่นนั้นให้อยู่ในอำนาจได้ ก็บุรุษนั้นนั่นแลเห็นโทษแห่งตัณหาแล้ว ย่อมไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เหมือนวังวนแห่งสายน้ำ และเหมือนพระราชอัฑฒมาสก. บทว่า อปจิเนเถว แปลว่า พึงกำจัดเสียเลย. บทว่า สมุทฺทมตฺโต คือมีประมาณสมุทร เพราะประกอบด้วยปัญญาอันใหญ่. บุรุษนั้นย่อมไม่เดือดร้อน คือไม่รุ่มร้อนด้วยกิเลสกามทั้งหลาย เหมือนสมุทรไม่ร้อนแม้เพราะไฟใหญ่ฉะนั้น. บทว่า รถกาโร แปลว่า ช่างหนัง. บทว่า ปริกนฺตํ แปลว่า ตัดแล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ช่างหนังตัดรองเท้า เว้นที่ที่หนังไม่เข้าลักษณะที่ถือเอาได้ ทำให้เป็นรองเท้า ได้ค่ารองเท้า ย่อมได้รับความสุขฉันใด บัณฑิตก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาอันเสมือนกับศาสตราของช่างรองเท้า พึงถึงความสุขทางกายกรรมวจีกรรมและมโนกรรมนั้น ที่เว้นจากแดนแห่งกาม อันเป็นเหตุให้ตนละแดนกาม ปรารถนาเฉพาะสุขมีกายกรรมเป็นต้นทุกอย่างที่ปราศจากความเร่าร้อน พึงเจริญกสิณยังฌานให้เกิดละกามทั้งปวงเสีย. ก็เมื่อพระมหาสัตว์กำลังกล่าวคาถานี้อยู่ ได้เกิดฌานมีโอทาตกสิณเป็นอารมณ์ เพราะหน่วงเอาพระเศวตฉัตรของพระราชาเป็นอารมณ์. แม้พระราชาก็ทรงหายจากโรค พระองค์ทรงมีความยินดี เสด็จลุกจากพระที่บรรทม มีพระดำรัสว่า พวกแพทย์เท่านี้ยังไม่อาจรักษาได้ แต่มาณพผู้เป็นบัณฑิตได้ทำเราให้ปราศจากโรคด้วยญาณวิสัยของตนได้ เมื่อจะทรงปราศรัยกับพระโพธิสัตว์ ได้ตรัสพระคาถาที่ ๑๐ ว่า คาถาทั้งหมด ๘ คาถาที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ทั้ง ๘,๐๐๐ นี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อฏฺฐ ได้แก่ คาถา ๘ คาถาที่ประกอบด้วยโทษแห่งกาม ตั้งต้นแต่คาถาที่ ๒ ไป. บทว่า สหสฺสิยา แปลว่า ควรแก่ ๑,๐๐๐. บทว่า ปฏิคฺคณฺห ความว่า จงรับเอาทรัพย์ ๘,๐๐๐. บทว่า สาเธตํ ตว ภาสิตํ ความว่า คำที่ท่านกล่าวนี้ยังประโยชน์ให้สำเร็จ. พระมหาสัตว์ได้สดับดังนั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๑๑ ว่า ข้าพระบาทไม่ต้องการด้วยทรัพย์ร้อยทรัพย์พันหรือทรัพย์หมื่น เมื่อข้าพระบาทกล่าวคาถาสุดท้าย ใจของข้าพระบาทไม่ยินดีในกาม. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปจฺฉิมํ นี้เป็นคาถาสุดท้ายว่า รถกาโรว จมฺมสฺส. บทว่า กาเม เม นิรโต มโน ความว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า เมื่อข้าพระองค์กำลังกล่าวคาถาอยู่นั่นแล ใจไม่ยินดีทั้งในวัตถุกามทั้งกิเลสกาม เพราะข้าพเจ้านั้นเมื่อกล่าวคาถายังฌานให้บังเกิดด้วยธรรมเทศนาของตนแล. พระราชาทรงยินดีอย่างเหลือประมาณ ในเมื่อจะทรงสรรเสริญพระมหาสัตว์ ได้ตรัสคาถาสุดท้ายว่า มาณพใดเป็นบัณฑิต กำหนดรู้ตัณหาอันยังความทุกข์ให้เกิดแล้ว นำออกได้ มาณพนี้เป็นคนดี เป็นมุนีผู้รู้แจ้งโลกทั้งปวง. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุกฺขชนนึ ได้แก่ ยังทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นให้เกิด. บทว่า ปริชานาติ ได้แก่ กำหนดรู้แล้ว คือกำหนดตัด ตัดขาดนำออกไป เมื่อสรรเสริญพระโพธิสัตว์จึงได้ตรัสอย่างนี้. พระโพธิสัตว์ถวายโอวาทพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช ขอพระองค์จงเป็นผู้ไม่ประมาทประพฤติธรรมเถิด แล้วเหาะไปยังหิมวันตประเทศ บวชเป็นฤาษี เจริญพรหมวิหารอยู่จนตลอดชนมายุ แล้วไปเกิดในพรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน เราก็ได้ทำให้พราหมณ์นี้คลายความเศร้าโศกด้วยประการดังนี้. แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพราหมณ์นี้ ส่วนมาณพผู้เป็นบัณฑิต ได้มาเป็น เราตถาคต แล. จบอรรถกถากามชาดกที่ ๔ -----------------------------------------------------

ทุกชีวิตที่เกิดมาแต่ละภพแต่ละชาติไม่แน่นอนเลยอรรถกถา กามชาดก ว่าด้วย กามและโทษของกาม พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภพราหมณ์ผู้ใดผู้หนึ่ง ตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า กามํ กามยมานสฺส ดังนี้. เรื่องมีว่า พราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่งหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่. พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ทรงแวะลงจากทาง กระทำปฏิสันถารกับเขา ตรัสว่า เธอทำอะไรเล่าพราหมณ์. ครั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์หักร้างที่ไร่ พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดีละพราหมณ์ กระทำการงานไปเถิด แล้วเสด็จเลยไป พระองค์ได้เสด็จไปทำปฏิสันถารกับเขาบ่อยๆ คือในเวลาที่เขาขนต้นไม้ที่ตัดแล้วและชำระที่ไร่ ในเวลาก่อคัน ในเวลาหว่าน โดยอุบายอย่างนี้นั้นแล. วันรุ่งขึ้นพราหมณ์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ วันนี้เป็นมงคลในการหว่านข้าวของข้าพระองค์ ข้าพระองค์จักถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุขในเมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว พระศาสดาทรงรับด้วยทรงดุษณีภาพ เสด็จหลีกไป. รุ่งขึ้นวันหนึ่งพราหมณ์ยืนดูข้าวกล้าอยู่ พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า พราหมณ์ เธอกำลังทำอะไรอยู่ตรงนั้น เมื่อเขากราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์กำลังดูข้าวกล้า ตรัสว่า ดีพราหมณ์ แล้วเสด็จหลีกไป. ในครั้งนั้น พราหมณ์คิดว่า พระสมณโคดมมาเนืองๆ คงมีความต้องการภัตรอย่างไม่ต้องสงสัย เราจักถวายภัตรแก่ท่าน ในวันที่พราหมณ์คิดอย่างนี้แล้วไปสู่เรือน ถึงพระศาสดาก็ได้เสด็จไป ณ ที่นั้น ครั้งนั้นความพิศวาสเกิดขึ้นแก่พราหมณ์ล้นเหลือ. ต่อมาครั้นข้าวกล้าแก่แล้ว เมื่อพราหมณ์ตกลงใจว่า พรุ่งนี้เราจักเกี่ยวไร่แล้วนอน ฝนลูกเห็บตกตลอดคืน ทางเหนือของแม่น้ำอจิรวดี ห้วงน้ำใหญ่ไหลมาพัดเอาข้าวกล้าทั้งหมดเข้าไปสู่ทะเล ไม่เหลือไว้ให้ แม้มาตรว่าทะนานเดียว เมื่อห้วงน้ำเหือดแห้งลงแล้ว พราหมณ์มองดูความย่อยยับแห่งข้าวแล้ว ไม่สามารถจะดำรงอยู่โดยภาวะของตนได้ ถูกความเสียใจอย่างแรงครอบงำ ยกมือตีอกคร่ำครวญไปถึงเรือน แล้วลงนอนบ่นพร่ำ. ในเวลาใกล้รุ่ง พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์ถูกความเสียใจครอบงำ ทรงดำริว่า เราต้องเป็นที่พึ่งของพราหมณ์ รุ่งขึ้นเสด็จเที่ยวโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ภายหลังจากเสวยเสร็จเสด็จกลับจากบิณฑบาต ทรงส่งพวกภิกษุไปสู่พระวิหาร เสด็จไปสู่ประตูเรือนของเขากับด้วยสมณะติดตาม พราหมณ์ได้ยินความที่พระศาสดาเสด็จมา กล่าวว่า สหายของเราคงมาเยี่ยมเยียนค่อยได้ความโปร่งใจ จัดแจงอาสนะไว้ พระศาสดาเสด็จเข้าไป ประทับนั่งเหนืออาสนะที่จัดไว้. ตรัสถามว่า ดูก่อนพราหมณ์ เหตุไรจึงเศร้าหมองไปล่ะ ท่านไม่สบายอะไรเล่า. กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ พระองค์ย่อมทรงทราบการงานที่ข้าพระองค์กระทำ จำเดิมแต่ตัดต้นไม้ที่ฝั่งแม่น้ำอจิรวดี ข้าพระองค์เคยกราบทูลไว้ว่า เมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว ข้าพระองค์จักถวายทานแด่พระองค์ บัดนี้ห้วงน้ำใหญ่พัดข้าวกล้าของข้าพระองค์ไปสู่ทะเลเสียหมดเกลี้ยงทีเดียว ข้าวกล้าไม่มีเหลือสักหน่อย ข้าวเปลือกประมาณ ๑๐๐ เกวียนเสียหายหมด เหตุนั้นความโศกอย่างใหญ่โตจึงเกิดแก่ข้าพระองค์. ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ก็เมื่อท่านเศร้าโศกอยู่ สิ่งที่เสียหายไปแล้วจะกลับคืนมาได้หรือ กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้อนั้นเป็นไปไม่ได้แน่นอน พระเจ้าข้า. ตรัสว่า แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ท่านเศร้าโศกเพราะเหตุไร ขึ้นชื่อว่าทรัพย์และข้าวเปลือกของสัตว์เหล่านี้ ถึงคราวเกิดก็บังเกิด ถึงคราวเสียหายก็เสียหาย สิ่งไรๆ ที่ถึงการปรุงแต่ง จะชื่อว่าไม่มีความเสียหายเป็นธรรมดาน่ะ ไม่มีดอก ท่านอย่าคิดไปเลย. พระศาสดาทรงปลอบเขาด้วยประการฉะนี้ เมื่อทรงแสดงธรรมอันเป็นที่สบายแก่เขา ตรัสกามสูตร เมื่อพระสูตรถึงปริโยสาน พราหมณ์ดำรงในโสดาปัตติผล พระศาสดาทรงทำให้เขาสร่างโศก เสด็จลุกจากอาสนะไปสู่พระวิหาร. ชาวพระนครทั้งสิ้นรู้ทั่วกันว่า พระศาสดาทรงกระทำพราหมณ์ผู้โน้นผู้เพียบแปล้ด้วยโศกศัลย์ให้สร่างโศก ให้ดำรงในโสดาปัตติผลได้ พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระทศพลทรงทำไมตรีกับพราหมณ์จนคุ้นเคยกัน ทรงแสดงธรรมแก่เขาผู้เพียบแปล้ไปด้วยความโศกด้วยอุบายครั้งเดียว ทรงทำให้เขาสร่างโศกได้ ให้ประดิษฐานในโสดาปัตติผลได้. พระศาสดาเสด็จมา ตรัสถามว่า เมื่อกี้พวกเธอกำลังสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อพากันกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน เราก็ได้กระทำให้พราหมณ์นี้สร่างโศกแล้วเหมือนกัน ทรงนำอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล พระเจ้าพรหมทัต ณ พระนครพาราณสี มีพระโอรส ๒ พระองค์ ท้าวเธอประทานที่อุปราชแก่พระโอรสองค์ใหญ่ พระราชทานตำแหน่งเสนาบดีแก่พระโอรสองค์เล็ก ครั้นต่อมาพระเจ้าพรหมทัตสิ้นพระชนม์ พวกอำมาตย์พากันตั้งการอภิเษกแก่พระองค์ใหญ่ ท้าวเธอตรัสว่า ฉันไม่ต้องการครองราชสมบัติ พวกท่านจงพากันให้แก่น้องชายของฉันเถิด แม้ได้รับคำทูลวิงวอนบ่อยๆ ก็ทรงห้ามเสีย ครั้นพวกอำมาตย์ทำการอภิเษกถวายพระเจ้าน้องแล้ว ทรงดำริว่า เราไม่ต้องการความเป็นเจ้าเป็นใหญ่ ไม่ทรงปรารถนา แม้แต่ตำแหน่งอุปราชเป็นอาทิ. ถึงเมื่อพระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญเสวยโภชนะที่มีรสดีๆ ประทับอยู่ในพระนครนี้เถิด ตรัสว่า ฉันไม่มีเรื่องที่ต้องกระทำในพระนครนี้ เสด็จออกจากพระนครพาราณสี ไปสู่ชนบทปลายแดน อาศัยสกุลเศรษฐีตระกูลหนึ่ง ทรงกระทำการงานด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง ประทับอยู่. ครั้นกาลต่อมา พวกเหล่านั้นรู้ความที่ท้าวเธอเป็นพระราชกุมาร ก็พากันไม่ยอมให้ทำการงาน พากันห้อมล้อมท้าวเธอด้วยการบริหารในฐานเป็นพระราชกุมารทีเดียว จำเนียรกาลนานมา พวกข้าราชการพากันไปสู่ชนบทปลายแดน ได้ไปถึงบ้านนั้นเพื่อรังวัดเขต ท่านเศรษฐีเข้าไปเฝ้าพระราชกุมาร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นเจ้านาย พวกข้าพระองค์พากันบำรุงเลี้ยงพระองค์ ขอพระองค์ทรงส่งหนังสือถึงพระเจ้าน้องให้ทรงลดส่วยแก่พวกข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงรับว่า ได้ซี ทรงส่งหนังสือไปว่า ฉันอาศัยสกุลเศรษฐีชื่อโน้นพำนักอยู่ โปรดเห็นแก่ฉันยกเว้นส่วยแก่พวกเหล่านั้นเถิด. พระราชารับสั่งว่า ดีแล้ว ทรงโปรดให้กระทำอย่างนั้น. ครั้งนั้น พวกชาวบ้านทั้งหมดบ้าง ชาวชนบทบ้าง ชาวบ้านอื่นๆ บ้าง พากันเข้าไปเฝ้าท้าวเธอ ทูลว่า พวกข้าพระองค์จักถวายส่วยแด่พระองค์เท่านั้น โปรดให้พระราชาทรงยกเว้นแก่พวกข้าพระองค์บ้างเถิด ท้าวเธอทรงส่งหนังสือไปเพื่อช่วยเหลือพวกเหล่านั้น ให้พระราชาทรงยกเว้นส่วยให้ ตั้งแต่บัดนั้น พวกเหล่านั้นก็พากันถวายส่วยแก่ท้าวเธอ จึงบังเกิดลาภสักการะใหญ่แก่ท้าวเธอ ด้วยเหตุนั้น ความอยากของท้าวเธอก็พลอยเติบใหญ่ไปด้วย กาลต่อมา ท้าวเธอทูลขอชนบทนั้นแม้ทั้งหมด แล้วทูลขอราชสมบัติกึ่งหนึ่ง แม้พระเจ้าน้องก็ได้ประทานแก่ท้าวเธอทั้งนั้น ท้าวเธอเมื่อความอยากพอกพูน ไม่ทรงพอพระทัยด้วยราชสมบัติเพียงกึ่งนั้น ทรงดำริจะยึดราชสมบัติแวดล้อมด้วยชาวชนบท เสด็จไปสู่พระนครนั้น หยุดทัพอยู่ภายนอกพระนคร ทรงส่งหนังสือแก่พระเจ้าน้องว่า จงให้ราชสมบัติแก่เรา หรือจะรบกันก็ได้. พระเจ้าน้องทรงดำริว่า พระพี่นี้เป็นพาล เมื่อก่อนทรงห้ามราชสมบัติ แม้กระทั่งตำแหน่งอุปราชก็ทรงห้าม คราวนี้ตรัสว่า จักยึดเอาด้วยการรบ ก็ถ้าว่าเราจักฆ่าพระพี่นี้ให้ตายด้วยการรบ ความครหาจักมีแก่เราได้ เราจะต้องการอะไรด้วยราชสมบัติ จึงทรงส่งสาส์นแด่ท้าวเธอว่า ไม่ต้องรบดอก เชิญทรงครองราชสมบัติเถิดพระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงครองราชสมบัติประทานที่อุปราชแก่พระเจ้าน้อง จำเดิมแต่นั้น ทรงครองราชสมบัติ ทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งตัณหา มิได้ทรงพอพระหทัยด้วยราชสมบัติพระนครเดียว ทรงปรารถนาราชสมบัติ ๒-๓ นคร ไม่ทรงเห็นที่สุดแห่งความอยากเลย ครั้งนั้น ท้าวสักกเทวราชทรงตรวจดูว่า ในโลกชนเหล่าไหนบ้างล่ะที่บำรุงมารดาบิดา เหล่าไหนทำบุญต่างๆ มีให้ทานเป็นต้น เหล่าไหนตกอยู่ในอำนาจตัณหา ทรงทราบความที่ท้าวเธอเป็นไปในอำนาจตัณหา ทรงดำริว่า พระราชาองค์นี้เป็นพาล ไม่ทรงพอพระหทัยแม้ด้วยราชสมบัติในพระนครพาราณสี เราต้องให้ท้าวเธอศึกษาบ้าง จำแลงเพศเป็นมาณพ ประทับยืนที่พระทวารหลวง. ให้กราบทูลว่า มาณพผู้ฉลาดในอุบายผู้หนึ่ง ยืนอยู่ที่พระทวารหลวง ครั้นรับสั่งว่า เข้ามาเถิด ก็เสด็จเข้าไปกราบทูลถวายชัยพระราชา เมื่อตรัสว่า เจ้ามาด้วยเหตุไร กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ข้อที่ข้าพระองค์กราบทูลมีอยู่หน่อย ข้าพระองค์ต้องการที่รโหฐานพระเจ้าข้า ด้วยอานุภาพท้าวสักกะ ฝูงคนพากันหลบไปหมด ทันใดนั้นเอง ครั้งนั้นมาณพกราบทูลท้าวเธอว่า ข้าแต่พระมหาราช ข้าพระองค์เห็นพระนคร ๓ แห่ง มั่งคั่งมีฝูงคนแออัด สมบูรณ์ด้วยพลและพาหนะ ข้าพระองค์จักยึดราชสมบัติทั้งสามด้วยอานุภาพของตนถวายแด่พระองค์ ควรที่พระองค์จะไม่ทรงชักช้า รีบเสด็จไปเถอะ พระเจ้าข้า. พระราชานั้นทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งความโลภ ทรงรับว่า ดีละ แต่ด้วยอานุภาพแห่งท้าวสักกะ มิได้ทรงถามว่า เจ้าเป็นใคร หรือเจ้ามาจากไหน หรือว่าควรที่เจ้าจะได้สิ่งไร ท้าวสักกะนั้นเล่าตรัสเพียงเท่านี้แล้ว ก็ได้เสด็จไปดาวดึงส์พิภพทีเดียว. พระราชาตรัสให้พวกอำมาตย์มาเฝ้า ตรัสว่า มาณพผู้หนึ่งกล่าวว่าจักยึดราชสมบัติ ๓ นครให้พวกเรา พวกเธอจงเรียกมาณพนั้นมาทีเถิด จงนำกลองไปเที่ยวตีประกาศในพระนคร เรียกประชุมพลกาย พวกเราต้องยึดครองราชสมบัติ ๓ นคร ไม่ต้องชักช้า. เมื่อพวกอำมาตย์พากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ก็พระองค์ทรงกระทำสักการะแก่มาณพนั้นอย่างไร หรือทรงถามที่อยู่อาศัยของมาณพนั้นไว้อย่างไร. ตรัสว่า เราไม่ได้ทำสักการะเลย ไม่ได้ถามที่พักอาศัยไว้เลย พวกเธอจงพากันไปค้นหาเขาเถิด พวกอำมาตย์พากันค้น ไม่เห็นเขา กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์ไม่เห็นมาณพนั้นทั่วพระนคร พระเจ้าข้า ทรงสดับคำนั้นแล้ว พระราชาทรงเกิดโทมนัส ทรงพระดำริเรื่อยๆ ว่า ราชสมบัติในพระนครทั้ง ๓ เสื่อมหายแล้ว เราเสื่อมเสียจากยศอันใหญ่ มาณพคงโกรธเราว่า ไม่ให้เสบียงแก่เรา แล้วก็ไม่ให้ที่อยู่อาศัยด้วย เลยไม่มา. ครั้งนั้นความร้อนบังเกิดขึ้นในพระกายแห่งพระองค์ผู้ทรงตกอยู่ในอำนาจตัณหา เมื่อสรีระทุกส่วนเร่าร้อนอยู่ กริยาที่วิ่งพล่านแห่งโลหิตก็ทำท้องให้กำเริบแล้วพลุ่งขึ้น ภาชนะอันหนึ่งเข้าอันหนึ่งออก พวกแพทย์สุดฝีมือที่จะถวายการรักษาได้. ครั้งนั้น การที่ท้าวเธอถูกความเจ็บป่วยเบียดเบียนได้เลื่องลือไปทั้งพระนคร. กาลนั้นพระโพธิสัตว์เรียนศิลปะสำเร็จจากเมืองตักกสิลา มาสู่สำนักบิดามารดา ในพระนครพาราณสี ฟังเรื่องของพระราชานั้น คิดว่าเราต้องถวายการรักษา ไปสู่พระราชทวาร ให้กราบทูลว่า ได้ยินว่า มาณพผู้หนึ่งมาจะถวายการรักษาพระองค์. พระราชาตรัสว่า แม้ถึงพวกแพทย์ผู้ทิศาปาโมกข์ใหญ่ๆ ยังไม่สามารถรักษาเราได้ มาณพหนุ่มจักสามารถได้อย่างไร พวกท่านพากันให้เสบียง แล้วปล่อยเขาไปเสียเถิด. มาณพฟังพระดำรัสนั้น แล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่มีเรื่องที่ต้องทำด้วยค่ากำนัลหมอเลย ข้าพเจ้าจักขอถวายการรักษา โปรดให้เพียงค่ายาเท่านั้นแหละ. พระราชาทรงสดับคำนั้นแล้วตรัสว่า ลองดูที รับสั่งให้เรียก. มาณพตรวจดูพระราชาแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พระองค์อย่าทรงกลัวเลย ข้าพระองค์จักถวายการรักษา ก็แต่ว่าพระองค์ทรงโปรดบอกสมุฏฐานแห่งโรคแก่ข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. พระราชาทรงพอพระหทัยตรัสว่า เจ้าจักเอาสมุฏฐานไปทำไม จงบอกยาเท่านั้นเถิด. กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ธรรมดาหมอทราบว่า ความเจ็บนี้เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุนี้ ย่อมกระทำยาให้ถูกต้องกับความเจ็บนั้นได้พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ถูกต้องละพ่อ เมื่อตรัสสมุฏฐานได้ตรัสเรื่องทั้งหมด ตั้งต้นแต่ที่มาณพคนหนึ่งมาบอกว่าจักเอาราชสมบัติในสามพระนครมาให้ แล้วตรัสว่า แน่ะพ่อ เราเจ็บคราวนี้เพราะตัณหา ถ้าเจ้าพอจะรักษาได้ ก็จงรักษาเถิด. มาณพทูลถามว่า ข้าแต่พระมหาราช พระองค์อาจได้พระนครเหล่านั้น ด้วยการเศร้าโศกหรือ? ตรัสว่า ไม่อาจดอกพ่อ. กราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น เหตุไรพระองค์จึงทรงเศร้าโศกพระเจ้าข้า ธรรมดาสัตว์ทั้งหลายย่อมละร่างกายของตนเป็นต้น ตลอดถึงสวิญญาณกทรัพย์และอวิญญาณกทรัพย์ทั้งหมดไป แม้พระองค์จะยึดครองราชสมบัติในพระนครทั้งสี่ได้ พระองค์ก็เสวยพระกระยาหารในสุวรรณภาชนะทั้งสี่ บรรทมเหนือพระที่ทั้งสี่ ทรงเครื่องประดับทั้งสี่พร้อมกันคราวเดียวไม่ได้ พระองค์ไม่ควรตกอยู่ในอำนาจตัณหา เพราะตัณหานี้ เมื่อเจริญขึ้นย่อมไม่ปล่อยให้พ้นจากอบายทั้งสี่ไปได้. พระมหาสัตว์ ครั้นถวายโอวาทพระราชาดังนี้แล้ว เมื่อจะแสดงธรรมแก่พระราชา ได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กามํ ได้แก่ ทั้งวัตถุกาม ทั้งกิเลสกาม. บทว่า กามยมานสฺส แปลว่า ปรารถนาอยู่. บทว่า ตสฺส เจ ตํ สมิชฺฌติ ความว่า สิ่งที่เขาปรารถนาย่อมสำเร็จ และย่อมเผล็ดผลแก่บุคคลนั้น. บทว่า นํ ในคำว่า ตโต นํ อปรํ กาเม นี้เป็นเพียงนิบาต. บทว่า อปรํ เป็นบทแสดงส่วนอื่น. บทว่า กาเม เป็นพหุวจนะ ใช้ในอรรถแห่งทุติยาวิภัตติ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ถ้าเมื่อเขาปรารถนากาม สิ่งที่เขาปรารถนานั้นย่อมสำเร็จแก่เขาสมประสงค์ เมื่อสิ่งนั้นสำเร็จแล้ว เขายังปรารถนาต่อไปอีก บุคคลนั้นเมื่อปรารถนาอยู่ ย่อมประสบคือได้รับกามกล่าวคือตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมเกิดความอยากคือได้รับความกระหายน้ำฉะนั้น. ตัณหามีรูปตัณหาเป็นต้นย่อมเจริญแก่บุคคลนั่นแล. บทว่า ควํว แปลว่า เหมือนรูปโค. บทว่า สิงคิโน ได้แก่ เขาสัตว์ที่ผ่ายอดแล้วยกขึ้น. บทว่า มนฺทสฺส แปลว่า ผู้มีปัญญาอ่อน. บทว่า พาลสฺส ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยพาลธรรม. ท่านกล่าวอธิบายคำนี้ไว้ว่า เขาโคย่อมเติบโตพร้อมกับร่างของลูกโคตัวกำลังเติบโต ฉันใด กามตัณหาที่ยังไม่มาถึงก็ดี ความกระหายในกามที่มาถึงแล้วก็ดี ย่อมเจริญยิ่งๆ ขึ้นไปสำหรับอันธพาลชน. บทว่า สาลิยวกํ ได้แก่ นาข้าวสาลี และนาข้าวเหนียว. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงธัญชาติหมด มีข้าวสาลีและข้าวเหนียวเป็นต้น. ด้วยบทที่ ๒ ท่านแสดงถึงสัตว์ ๒ เท้าและสัตว์ ๔ เท้า. หรือด้วยบทที่ ๑ ท่านแสดงถึงสิ่งที่ไม่มีวิญญาณทั้งหมด ด้วยบทนอกนี้ ท่านแสดงถึงสิ่งที่มีวิญญาณทั้งสิ้น. บทว่า ทตฺวาปิ แปลว่า แม้ให้แล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า อาณาจักรทั้ง ๓ จงยกไว้ ถ้าว่า มาณพนั้นให้สิ่งอื่นๆ หรือแผ่นดินทั้งสิ้นที่มีวิญญาณและไม่มีวิญญาณ ทั้งรัตนบุรีแก่ใครแล้วไป สิ่งแม้มีประมาณเท่านี้ ย่อมไม่สิ้นสุดแก่บุคคลคนเดียวเท่านั้น นี้ชื่อว่าตัณหาให้เต็มได้โดยยากด้วยประการฉะนี้. บทว่า อิติ วิทฺธา สมํ จเร ความว่า บุรุษเมื่อรู้อย่างนี้ เป็นผู้ไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา บำเพ็ญกายสุจริตเป็นต้นให้บริบูรณ์ พึงประพฤติให้สม่ำเสมอ. บทว่า โอรํ ได้แก่ ถึงส่วนอันมีในภายใน. ด้วยบทนั้นบุคคลนั้นชื่อว่ายังไม่อิ่ม พึงปรารถนาแม้ฝั่งแห่งสมุทรอีกด้วยอาการอย่างนี้ ท่านแสดงว่า ขึ้นชื่อว่าสัตว์ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เป็นอันเต็มได้โดยยาก. บทว่า ยาว เป็นบทกำหนดนับตามอนิยม. บทว่า อนุสฺสรํ แปลว่า ระลึกถึงอยู่. บทว่า นาชฺฌคา แปลว่า ย่อมไม่ประสบ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า บุรุษมีใจระลึกถึงกามทั้งหลาย แม้อันหาที่สุดไม่ได้ ย่อมไม่ประสบความอิ่ม ปรารถนาจะบรรลุถึงอยู่นั้นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ ตัณหาในกามทั้งหลาย ย่อมเจริญแก่สัตว์ทั้งหลายอยู่นั่นเอง. บทว่า ตโต นิวตฺตา ความว่า บุคคลเหล่าใดมีจิตและกายกลับจากวัตถุกามและกิเลสกามแล้ว เห็นโทษด้วยญาณนั่นแล อิ่มเอิบบริบูรณ์ด้วยปัญญา บุคคลเหล่านั้นแลชื่อว่าย่อมอิ่ม. บทว่า ปญฺญาย ติตฺตีนํ เสฏฺฐํ คือความอิ่มด้วยปัญญานี้ ย่อมเป็นของประเสริฐเต็มที่. อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า น โส กาเมหิ ตปฺปติ นี้ บาลีว่า ย่อมไม่ถูกกามทั้งหลายแผดเผา. อธิบายว่า เพราะเหตุที่บุรุษผู้อิ่มด้วยปัญญา ย่อมไม่ถูกกามแผดเผา. บทว่า น กุรุเต วสํ ความว่า เพราะตัณหาไม่อาจยังบุรุษเช่นนั้นให้อยู่ในอำนาจได้ ก็บุรุษนั้นนั่นแลเห็นโทษแห่งตัณหาแล้ว ย่อมไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เหมือนวังวนแห่งสายน้ำ และเหมือนพระราชอัฑฒมาสก. บทว่า อปจิเนเถว แปลว่า พึงกำจัดเสียเลย. บทว่า สมุทฺทมตฺโต คือมีประมาณสมุทร เพราะประกอบด้วยปัญญาอันใหญ่. บุรุษนั้นย่อมไม่เดือดร้อน คือไม่รุ่มร้อนด้วยกิเลสกามทั้งหลาย เหมือนสมุทรไม่ร้อนแม้เพราะไฟใหญ่ฉะนั้น. บทว่า รถกาโร แปลว่า ช่างหนัง. บทว่า ปริกนฺตํ แปลว่า ตัดแล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ช่างหนังตัดรองเท้า เว้นที่ที่หนังไม่เข้าลักษณะที่ถือเอาได้ ทำให้เป็นรองเท้า ได้ค่ารองเท้า ย่อมได้รับความสุขฉันใด บัณฑิตก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาอันเสมือนกับศาสตราของช่างรองเท้า พึงถึงความสุขทางกายกรรมวจีกรรมและมโนกรรมนั้น ที่เว้นจากแดนแห่งกาม อันเป็นเหตุให้ตนละแดนกาม ปรารถนาเฉพาะสุขมีกายกรรมเป็นต้นทุกอย่างที่ปราศจากความเร่าร้อน พึงเจริญกสิณยังฌานให้เกิดละกามทั้งปวงเสีย. ก็เมื่อพระมหาสัตว์กำลังกล่าวคาถานี้อยู่ ได้เกิดฌานมีโอทาตกสิณเป็นอารมณ์ เพราะหน่วงเอาพระเศวตฉัตรของพระราชาเป็นอารมณ์. แม้พระราชาก็ทรงหายจากโรค พระองค์ทรงมีความยินดี เสด็จลุกจากพระที่บรรทม มีพระดำรัสว่า พวกแพทย์เท่านี้ยังไม่อาจรักษาได้ แต่มาณพผู้เป็นบัณฑิตได้ทำเราให้ปราศจากโรคด้วยญาณวิสัยของตนได้ เมื่อจะทรงปราศรัยกับพระโพธิสัตว์ ได้ตรัสพระคาถาที่ ๑๐ ว่า คาถาทั้งหมด ๘ คาถาที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ทั้ง ๘,๐๐๐ นี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อฏฺฐ ได้แก่ คาถา ๘ คาถาที่ประกอบด้วยโทษแห่งกาม ตั้งต้นแต่คาถาที่ ๒ ไป. บทว่า สหสฺสิยา แปลว่า ควรแก่ ๑,๐๐๐. บทว่า ปฏิคฺคณฺห ความว่า จงรับเอาทรัพย์ ๘,๐๐๐. บทว่า สาเธตํ ตว ภาสิตํ ความว่า คำที่ท่านกล่าวนี้ยังประโยชน์ให้สำเร็จ. พระมหาสัตว์ได้สดับดังนั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๑๑ ว่า ข้าพระบาทไม่ต้องการด้วยทรัพย์ร้อยทรัพย์พันหรือทรัพย์หมื่น เมื่อข้าพระบาทกล่าวคาถาสุดท้าย ใจของข้าพระบาทไม่ยินดีในกาม. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปจฺฉิมํ นี้เป็นคาถาสุดท้ายว่า รถกาโรว จมฺมสฺส. บทว่า กาเม เม นิรโต มโน ความว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า เมื่อข้าพระองค์กำลังกล่าวคาถาอยู่นั่นแล ใจไม่ยินดีทั้งในวัตถุกามทั้งกิเลสกาม เพราะข้าพเจ้านั้นเมื่อกล่าวคาถายังฌานให้บังเกิดด้วยธรรมเทศนาของตนแล. พระราชาทรงยินดีอย่างเหลือประมาณ ในเมื่อจะทรงสรรเสริญพระมหาสัตว์ ได้ตรัสคาถาสุดท้ายว่า มาณพใดเป็นบัณฑิต กำหนดรู้ตัณหาอันยังความทุกข์ให้เกิดแล้ว นำออกได้ มาณพนี้เป็นคนดี เป็นมุนีผู้รู้แจ้งโลกทั้งปวง. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุกฺขชนนึ ได้แก่ ยังทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นให้เกิด. บทว่า ปริชานาติ ได้แก่ กำหนดรู้แล้ว คือกำหนดตัด ตัดขาดนำออกไป เมื่อสรรเสริญพระโพธิสัตว์จึงได้ตรัสอย่างนี้. พระโพธิสัตว์ถวายโอวาทพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช ขอพระองค์จงเป็นผู้ไม่ประมาทประพฤติธรรมเถิด แล้วเหาะไปยังหิมวันตประเทศ บวชเป็นฤาษี เจริญพรหมวิหารอยู่จนตลอดชนมายุ แล้วไปเกิดในพรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน เราก็ได้ทำให้พราหมณ์นี้คลายความเศร้าโศกด้วยประการดังนี้. แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพราหมณ์นี้ ส่วนมาณพผู้เป็นบัณฑิต ได้มาเป็น เราตถาคต แล. จบอรรถกถากามชาดกที่ ๔ -----------------------------------------------------

ทุกชีวิตที่เกิดมาแต่ละภพแต่ละชาติไม่แน่นอนเลย..อรรถกถา กามชาดก ว่าด้วย กามและโทษของกาม พระศาสดา เมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระเชตวันมหาวิหาร ทรงพระปรารภพราหมณ์ผู้ใดผู้หนึ่ง ตรัสเรื่องนี้ มีคำเริ่มต้นว่า กามํ กามยมานสฺส ดังนี้. เรื่องมีว่า พราหมณ์ชาวเมืองสาวัตถีผู้หนึ่งหักร้างป่าเพื่อต้องการทำเป็นไร่. พระศาสดาทรงเห็นอุปนิสัยของเขา เมื่อเสด็จเข้าไปโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ทรงแวะลงจากทาง กระทำปฏิสันถารกับเขา ตรัสว่า เธอทำอะไรเล่าพราหมณ์. ครั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์หักร้างที่ไร่ พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดีละพราหมณ์ กระทำการงานไปเถิด แล้วเสด็จเลยไป พระองค์ได้เสด็จไปทำปฏิสันถารกับเขาบ่อยๆ คือในเวลาที่เขาขนต้นไม้ที่ตัดแล้วและชำระที่ไร่ ในเวลาก่อคัน ในเวลาหว่าน โดยอุบายอย่างนี้นั้นแล. วันรุ่งขึ้นพราหมณ์นั้นกราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ วันนี้เป็นมงคลในการหว่านข้าวของข้าพระองค์ ข้าพระองค์จักถวายมหาทานแก่ภิกษุสงฆ์มีพระพุทธองค์เป็นประมุขในเมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว พระศาสดาทรงรับด้วยทรงดุษณีภาพ เสด็จหลีกไป. รุ่งขึ้นวันหนึ่งพราหมณ์ยืนดูข้าวกล้าอยู่ พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า พราหมณ์ เธอกำลังทำอะไรอยู่ตรงนั้น เมื่อเขากราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณโคดมผู้เจริญ ข้าพระองค์กำลังดูข้าวกล้า ตรัสว่า ดีพราหมณ์ แล้วเสด็จหลีกไป. ในครั้งนั้น พราหมณ์คิดว่า พระสมณโคดมมาเนืองๆ คงมีความต้องการภัตรอย่างไม่ต้องสงสัย เราจักถวายภัตรแก่ท่าน ในวันที่พราหมณ์คิดอย่างนี้แล้วไปสู่เรือน ถึงพระศาสดาก็ได้เสด็จไป ณ ที่นั้น ครั้งนั้นความพิศวาสเกิดขึ้นแก่พราหมณ์ล้นเหลือ. ต่อมาครั้นข้าวกล้าแก่แล้ว เมื่อพราหมณ์ตกลงใจว่า พรุ่งนี้เราจักเกี่ยวไร่แล้วนอน ฝนลูกเห็บตกตลอดคืน ทางเหนือของแม่น้ำอจิรวดี ห้วงน้ำใหญ่ไหลมาพัดเอาข้าวกล้าทั้งหมดเข้าไปสู่ทะเล ไม่เหลือไว้ให้ แม้มาตรว่าทะนานเดียว เมื่อห้วงน้ำเหือดแห้งลงแล้ว พราหมณ์มองดูความย่อยยับแห่งข้าวแล้ว ไม่สามารถจะดำรงอยู่โดยภาวะของตนได้ ถูกความเสียใจอย่างแรงครอบงำ ยกมือตีอกคร่ำครวญไปถึงเรือน แล้วลงนอนบ่นพร่ำ. ในเวลาใกล้รุ่ง พระศาสดาทอดพระเนตรเห็นพราหมณ์ถูกความเสียใจครอบงำ ทรงดำริว่า เราต้องเป็นที่พึ่งของพราหมณ์ รุ่งขึ้นเสด็จเที่ยวโปรดสัตว์ในพระนครสาวัตถี ภายหลังจากเสวยเสร็จเสด็จกลับจากบิณฑบาต ทรงส่งพวกภิกษุไปสู่พระวิหาร เสด็จไปสู่ประตูเรือนของเขากับด้วยสมณะติดตาม พราหมณ์ได้ยินความที่พระศาสดาเสด็จมา กล่าวว่า สหายของเราคงมาเยี่ยมเยียนค่อยได้ความโปร่งใจ จัดแจงอาสนะไว้ พระศาสดาเสด็จเข้าไป ประทับนั่งเหนืออาสนะที่จัดไว้. ตรัสถามว่า ดูก่อนพราหมณ์ เหตุไรจึงเศร้าหมองไปล่ะ ท่านไม่สบายอะไรเล่า. กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ พระองค์ย่อมทรงทราบการงานที่ข้าพระองค์กระทำ จำเดิมแต่ตัดต้นไม้ที่ฝั่งแม่น้ำอจิรวดี ข้าพระองค์เคยกราบทูลไว้ว่า เมื่อข้าวกล้านี้สำเร็จแล้ว ข้าพระองค์จักถวายทานแด่พระองค์ บัดนี้ห้วงน้ำใหญ่พัดข้าวกล้าของข้าพระองค์ไปสู่ทะเลเสียหมดเกลี้ยงทีเดียว ข้าวกล้าไม่มีเหลือสักหน่อย ข้าวเปลือกประมาณ ๑๐๐ เกวียนเสียหายหมด เหตุนั้นความโศกอย่างใหญ่โตจึงเกิดแก่ข้าพระองค์. ตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์ ก็เมื่อท่านเศร้าโศกอยู่ สิ่งที่เสียหายไปแล้วจะกลับคืนมาได้หรือ กราบทูลว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ข้อนั้นเป็นไปไม่ได้แน่นอน พระเจ้าข้า. ตรัสว่า แม้เมื่อเป็นอย่างนี้ ท่านเศร้าโศกเพราะเหตุไร ขึ้นชื่อว่าทรัพย์และข้าวเปลือกของสัตว์เหล่านี้ ถึงคราวเกิดก็บังเกิด ถึงคราวเสียหายก็เสียหาย สิ่งไรๆ ที่ถึงการปรุงแต่ง จะชื่อว่าไม่มีความเสียหายเป็นธรรมดาน่ะ ไม่มีดอก ท่านอย่าคิดไปเลย. พระศาสดาทรงปลอบเขาด้วยประการฉะนี้ เมื่อทรงแสดงธรรมอันเป็นที่สบายแก่เขา ตรัสกามสูตร เมื่อพระสูตรถึงปริโยสาน พราหมณ์ดำรงในโสดาปัตติผล พระศาสดาทรงทำให้เขาสร่างโศก เสด็จลุกจากอาสนะไปสู่พระวิหาร. ชาวพระนครทั้งสิ้นรู้ทั่วกันว่า พระศาสดาทรงกระทำพราหมณ์ผู้โน้นผู้เพียบแปล้ด้วยโศกศัลย์ให้สร่างโศก ให้ดำรงในโสดาปัตติผลได้ พวกภิกษุพากันยกเรื่องขึ้นสนทนากันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย พระทศพลทรงทำไมตรีกับพราหมณ์จนคุ้นเคยกัน ทรงแสดงธรรมแก่เขาผู้เพียบแปล้ไปด้วยความโศกด้วยอุบายครั้งเดียว ทรงทำให้เขาสร่างโศกได้ ให้ประดิษฐานในโสดาปัตติผลได้. พระศาสดาเสด็จมา ตรัสถามว่า เมื่อกี้พวกเธอกำลังสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อพากันกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในกาลก่อน เราก็ได้กระทำให้พราหมณ์นี้สร่างโศกแล้วเหมือนกัน ทรงนำอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้. ในอดีตกาล พระเจ้าพรหมทัต ณ พระนครพาราณสี มีพระโอรส ๒ พระองค์ ท้าวเธอประทานที่อุปราชแก่พระโอรสองค์ใหญ่ พระราชทานตำแหน่งเสนาบดีแก่พระโอรสองค์เล็ก ครั้นต่อมาพระเจ้าพรหมทัตสิ้นพระชนม์ พวกอำมาตย์พากันตั้งการอภิเษกแก่พระองค์ใหญ่ ท้าวเธอตรัสว่า ฉันไม่ต้องการครองราชสมบัติ พวกท่านจงพากันให้แก่น้องชายของฉันเถิด แม้ได้รับคำทูลวิงวอนบ่อยๆ ก็ทรงห้ามเสีย ครั้นพวกอำมาตย์ทำการอภิเษกถวายพระเจ้าน้องแล้ว ทรงดำริว่า เราไม่ต้องการความเป็นเจ้าเป็นใหญ่ ไม่ทรงปรารถนา แม้แต่ตำแหน่งอุปราชเป็นอาทิ. ถึงเมื่อพระราชาตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น เชิญเสวยโภชนะที่มีรสดีๆ ประทับอยู่ในพระนครนี้เถิด ตรัสว่า ฉันไม่มีเรื่องที่ต้องกระทำในพระนครนี้ เสด็จออกจากพระนครพาราณสี ไปสู่ชนบทปลายแดน อาศัยสกุลเศรษฐีตระกูลหนึ่ง ทรงกระทำการงานด้วยพระหัตถ์ของพระองค์เอง ประทับอยู่. ครั้นกาลต่อมา พวกเหล่านั้นรู้ความที่ท้าวเธอเป็นพระราชกุมาร ก็พากันไม่ยอมให้ทำการงาน พากันห้อมล้อมท้าวเธอด้วยการบริหารในฐานเป็นพระราชกุมารทีเดียว จำเนียรกาลนานมา พวกข้าราชการพากันไปสู่ชนบทปลายแดน ได้ไปถึงบ้านนั้นเพื่อรังวัดเขต ท่านเศรษฐีเข้าไปเฝ้าพระราชกุมาร กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นเจ้านาย พวกข้าพระองค์พากันบำรุงเลี้ยงพระองค์ ขอพระองค์ทรงส่งหนังสือถึงพระเจ้าน้องให้ทรงลดส่วยแก่พวกข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงรับว่า ได้ซี ทรงส่งหนังสือไปว่า ฉันอาศัยสกุลเศรษฐีชื่อโน้นพำนักอยู่ โปรดเห็นแก่ฉันยกเว้นส่วยแก่พวกเหล่านั้นเถิด. พระราชารับสั่งว่า ดีแล้ว ทรงโปรดให้กระทำอย่างนั้น. ครั้งนั้น พวกชาวบ้านทั้งหมดบ้าง ชาวชนบทบ้าง ชาวบ้านอื่นๆ บ้าง พากันเข้าไปเฝ้าท้าวเธอ ทูลว่า พวกข้าพระองค์จักถวายส่วยแด่พระองค์เท่านั้น โปรดให้พระราชาทรงยกเว้นแก่พวกข้าพระองค์บ้างเถิด ท้าวเธอทรงส่งหนังสือไปเพื่อช่วยเหลือพวกเหล่านั้น ให้พระราชาทรงยกเว้นส่วยให้ ตั้งแต่บัดนั้น พวกเหล่านั้นก็พากันถวายส่วยแก่ท้าวเธอ จึงบังเกิดลาภสักการะใหญ่แก่ท้าวเธอ ด้วยเหตุนั้น ความอยากของท้าวเธอก็พลอยเติบใหญ่ไปด้วย กาลต่อมา ท้าวเธอทูลขอชนบทนั้นแม้ทั้งหมด แล้วทูลขอราชสมบัติกึ่งหนึ่ง แม้พระเจ้าน้องก็ได้ประทานแก่ท้าวเธอทั้งนั้น ท้าวเธอเมื่อความอยากพอกพูน ไม่ทรงพอพระทัยด้วยราชสมบัติเพียงกึ่งนั้น ทรงดำริจะยึดราชสมบัติแวดล้อมด้วยชาวชนบท เสด็จไปสู่พระนครนั้น หยุดทัพอยู่ภายนอกพระนคร ทรงส่งหนังสือแก่พระเจ้าน้องว่า จงให้ราชสมบัติแก่เรา หรือจะรบกันก็ได้. พระเจ้าน้องทรงดำริว่า พระพี่นี้เป็นพาล เมื่อก่อนทรงห้ามราชสมบัติ แม้กระทั่งตำแหน่งอุปราชก็ทรงห้าม คราวนี้ตรัสว่า จักยึดเอาด้วยการรบ ก็ถ้าว่าเราจักฆ่าพระพี่นี้ให้ตายด้วยการรบ ความครหาจักมีแก่เราได้ เราจะต้องการอะไรด้วยราชสมบัติ จึงทรงส่งสาส์นแด่ท้าวเธอว่า ไม่ต้องรบดอก เชิญทรงครองราชสมบัติเถิดพระเจ้าข้า. ท้าวเธอทรงครองราชสมบัติประทานที่อุปราชแก่พระเจ้าน้อง จำเดิมแต่นั้น ทรงครองราชสมบัติ ทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งตัณหา มิได้ทรงพอพระหทัยด้วยราชสมบัติพระนครเดียว ทรงปรารถนาราชสมบัติ ๒-๓ นคร ไม่ทรงเห็นที่สุดแห่งความอยากเลย ครั้งนั้น ท้าวสักกเทวราชทรงตรวจดูว่า ในโลกชนเหล่าไหนบ้างล่ะที่บำรุงมารดาบิดา เหล่าไหนทำบุญต่างๆ มีให้ทานเป็นต้น เหล่าไหนตกอยู่ในอำนาจตัณหา ทรงทราบความที่ท้าวเธอเป็นไปในอำนาจตัณหา ทรงดำริว่า พระราชาองค์นี้เป็นพาล ไม่ทรงพอพระหทัยแม้ด้วยราชสมบัติในพระนครพาราณสี เราต้องให้ท้าวเธอศึกษาบ้าง จำแลงเพศเป็นมาณพ ประทับยืนที่พระทวารหลวง. ให้กราบทูลว่า มาณพผู้ฉลาดในอุบายผู้หนึ่ง ยืนอยู่ที่พระทวารหลวง ครั้นรับสั่งว่า เข้ามาเถิด ก็เสด็จเข้าไปกราบทูลถวายชัยพระราชา เมื่อตรัสว่า เจ้ามาด้วยเหตุไร กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ข้อที่ข้าพระองค์กราบทูลมีอยู่หน่อย ข้าพระองค์ต้องการที่รโหฐานพระเจ้าข้า ด้วยอานุภาพท้าวสักกะ ฝูงคนพากันหลบไปหมด ทันใดนั้นเอง ครั้งนั้นมาณพกราบทูลท้าวเธอว่า ข้าแต่พระมหาราช ข้าพระองค์เห็นพระนคร ๓ แห่ง มั่งคั่งมีฝูงคนแออัด สมบูรณ์ด้วยพลและพาหนะ ข้าพระองค์จักยึดราชสมบัติทั้งสามด้วยอานุภาพของตนถวายแด่พระองค์ ควรที่พระองค์จะไม่ทรงชักช้า รีบเสด็จไปเถอะ พระเจ้าข้า. พระราชานั้นทรงตกอยู่ในอำนาจแห่งความโลภ ทรงรับว่า ดีละ แต่ด้วยอานุภาพแห่งท้าวสักกะ มิได้ทรงถามว่า เจ้าเป็นใคร หรือเจ้ามาจากไหน หรือว่าควรที่เจ้าจะได้สิ่งไร ท้าวสักกะนั้นเล่าตรัสเพียงเท่านี้แล้ว ก็ได้เสด็จไปดาวดึงส์พิภพทีเดียว. พระราชาตรัสให้พวกอำมาตย์มาเฝ้า ตรัสว่า มาณพผู้หนึ่งกล่าวว่าจักยึดราชสมบัติ ๓ นครให้พวกเรา พวกเธอจงเรียกมาณพนั้นมาทีเถิด จงนำกลองไปเที่ยวตีประกาศในพระนคร เรียกประชุมพลกาย พวกเราต้องยึดครองราชสมบัติ ๓ นคร ไม่ต้องชักช้า. เมื่อพวกอำมาตย์พากันกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า ก็พระองค์ทรงกระทำสักการะแก่มาณพนั้นอย่างไร หรือทรงถามที่อยู่อาศัยของมาณพนั้นไว้อย่างไร. ตรัสว่า เราไม่ได้ทำสักการะเลย ไม่ได้ถามที่พักอาศัยไว้เลย พวกเธอจงพากันไปค้นหาเขาเถิด พวกอำมาตย์พากันค้น ไม่เห็นเขา กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พวกข้าพระองค์ไม่เห็นมาณพนั้นทั่วพระนคร พระเจ้าข้า ทรงสดับคำนั้นแล้ว พระราชาทรงเกิดโทมนัส ทรงพระดำริเรื่อยๆ ว่า ราชสมบัติในพระนครทั้ง ๓ เสื่อมหายแล้ว เราเสื่อมเสียจากยศอันใหญ่ มาณพคงโกรธเราว่า ไม่ให้เสบียงแก่เรา แล้วก็ไม่ให้ที่อยู่อาศัยด้วย เลยไม่มา. ครั้งนั้นความร้อนบังเกิดขึ้นในพระกายแห่งพระองค์ผู้ทรงตกอยู่ในอำนาจตัณหา เมื่อสรีระทุกส่วนเร่าร้อนอยู่ กริยาที่วิ่งพล่านแห่งโลหิตก็ทำท้องให้กำเริบแล้วพลุ่งขึ้น ภาชนะอันหนึ่งเข้าอันหนึ่งออก พวกแพทย์สุดฝีมือที่จะถวายการรักษาได้. ครั้งนั้น การที่ท้าวเธอถูกความเจ็บป่วยเบียดเบียนได้เลื่องลือไปทั้งพระนคร. กาลนั้นพระโพธิสัตว์เรียนศิลปะสำเร็จจากเมืองตักกสิลา มาสู่สำนักบิดามารดา ในพระนครพาราณสี ฟังเรื่องของพระราชานั้น คิดว่าเราต้องถวายการรักษา ไปสู่พระราชทวาร ให้กราบทูลว่า ได้ยินว่า มาณพผู้หนึ่งมาจะถวายการรักษาพระองค์. พระราชาตรัสว่า แม้ถึงพวกแพทย์ผู้ทิศาปาโมกข์ใหญ่ๆ ยังไม่สามารถรักษาเราได้ มาณพหนุ่มจักสามารถได้อย่างไร พวกท่านพากันให้เสบียง แล้วปล่อยเขาไปเสียเถิด. มาณพฟังพระดำรัสนั้น แล้วกล่าวว่า ข้าพเจ้าไม่มีเรื่องที่ต้องทำด้วยค่ากำนัลหมอเลย ข้าพเจ้าจักขอถวายการรักษา โปรดให้เพียงค่ายาเท่านั้นแหละ. พระราชาทรงสดับคำนั้นแล้วตรัสว่า ลองดูที รับสั่งให้เรียก. มาณพตรวจดูพระราชาแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า พระองค์อย่าทรงกลัวเลย ข้าพระองค์จักถวายการรักษา ก็แต่ว่าพระองค์ทรงโปรดบอกสมุฏฐานแห่งโรคแก่ข้าพระองค์เถิด พระเจ้าข้า. พระราชาทรงพอพระหทัยตรัสว่า เจ้าจักเอาสมุฏฐานไปทำไม จงบอกยาเท่านั้นเถิด. กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหาราช ธรรมดาหมอทราบว่า ความเจ็บนี้เกิดขึ้นเพราะอาศัยเหตุนี้ ย่อมกระทำยาให้ถูกต้องกับความเจ็บนั้นได้พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า ถูกต้องละพ่อ เมื่อตรัสสมุฏฐานได้ตรัสเรื่องทั้งหมด ตั้งต้นแต่ที่มาณพคนหนึ่งมาบอกว่าจักเอาราชสมบัติในสามพระนครมาให้ แล้วตรัสว่า แน่ะพ่อ เราเจ็บคราวนี้เพราะตัณหา ถ้าเจ้าพอจะรักษาได้ ก็จงรักษาเถิด. มาณพทูลถามว่า ข้าแต่พระมหาราช พระองค์อาจได้พระนครเหล่านั้น ด้วยการเศร้าโศกหรือ? ตรัสว่า ไม่อาจดอกพ่อ. กราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น เหตุไรพระองค์จึงทรงเศร้าโศกพระเจ้าข้า ธรรมดาสัตว์ทั้งหลายย่อมละร่างกายของตนเป็นต้น ตลอดถึงสวิญญาณกทรัพย์และอวิญญาณกทรัพย์ทั้งหมดไป แม้พระองค์จะยึดครองราชสมบัติในพระนครทั้งสี่ได้ พระองค์ก็เสวยพระกระยาหารในสุวรรณภาชนะทั้งสี่ บรรทมเหนือพระที่ทั้งสี่ ทรงเครื่องประดับทั้งสี่พร้อมกันคราวเดียวไม่ได้ พระองค์ไม่ควรตกอยู่ในอำนาจตัณหา เพราะตัณหานี้ เมื่อเจริญขึ้นย่อมไม่ปล่อยให้พ้นจากอบายทั้งสี่ไปได้. พระมหาสัตว์ ครั้นถวายโอวาทพระราชาดังนี้แล้ว เมื่อจะแสดงธรรมแก่พระราชา ได้กล่าวคาถาทั้งหลายว่า เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า กามํ ได้แก่ ทั้งวัตถุกาม ทั้งกิเลสกาม. บทว่า กามยมานสฺส แปลว่า ปรารถนาอยู่. บทว่า ตสฺส เจ ตํ สมิชฺฌติ ความว่า สิ่งที่เขาปรารถนาย่อมสำเร็จ และย่อมเผล็ดผลแก่บุคคลนั้น. บทว่า นํ ในคำว่า ตโต นํ อปรํ กาเม นี้เป็นเพียงนิบาต. บทว่า อปรํ เป็นบทแสดงส่วนอื่น. บทว่า กาเม เป็นพหุวจนะ ใช้ในอรรถแห่งทุติยาวิภัตติ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ถ้าเมื่อเขาปรารถนากาม สิ่งที่เขาปรารถนานั้นย่อมสำเร็จแก่เขาสมประสงค์ เมื่อสิ่งนั้นสำเร็จแล้ว เขายังปรารถนาต่อไปอีก บุคคลนั้นเมื่อปรารถนาอยู่ ย่อมประสบคือได้รับกามกล่าวคือตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมเกิดความอยากคือได้รับความกระหายน้ำฉะนั้น. ตัณหามีรูปตัณหาเป็นต้นย่อมเจริญแก่บุคคลนั่นแล. บทว่า ควํว แปลว่า เหมือนรูปโค. บทว่า สิงคิโน ได้แก่ เขาสัตว์ที่ผ่ายอดแล้วยกขึ้น. บทว่า มนฺทสฺส แปลว่า ผู้มีปัญญาอ่อน. บทว่า พาลสฺส ได้แก่ ผู้ประกอบด้วยพาลธรรม. ท่านกล่าวอธิบายคำนี้ไว้ว่า เขาโคย่อมเติบโตพร้อมกับร่างของลูกโคตัวกำลังเติบโต ฉันใด กามตัณหาที่ยังไม่มาถึงก็ดี ความกระหายในกามที่มาถึงแล้วก็ดี ย่อมเจริญยิ่งๆ ขึ้นไปสำหรับอันธพาลชน. บทว่า สาลิยวกํ ได้แก่ นาข้าวสาลี และนาข้าวเหนียว. ด้วยบทนี้ ท่านแสดงธัญชาติหมด มีข้าวสาลีและข้าวเหนียวเป็นต้น. ด้วยบทที่ ๒ ท่านแสดงถึงสัตว์ ๒ เท้าและสัตว์ ๔ เท้า. หรือด้วยบทที่ ๑ ท่านแสดงถึงสิ่งที่ไม่มีวิญญาณทั้งหมด ด้วยบทนอกนี้ ท่านแสดงถึงสิ่งที่มีวิญญาณทั้งสิ้น. บทว่า ทตฺวาปิ แปลว่า แม้ให้แล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า อาณาจักรทั้ง ๓ จงยกไว้ ถ้าว่า มาณพนั้นให้สิ่งอื่นๆ หรือแผ่นดินทั้งสิ้นที่มีวิญญาณและไม่มีวิญญาณ ทั้งรัตนบุรีแก่ใครแล้วไป สิ่งแม้มีประมาณเท่านี้ ย่อมไม่สิ้นสุดแก่บุคคลคนเดียวเท่านั้น นี้ชื่อว่าตัณหาให้เต็มได้โดยยากด้วยประการฉะนี้. บทว่า อิติ วิทฺธา สมํ จเร ความว่า บุรุษเมื่อรู้อย่างนี้ เป็นผู้ไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา บำเพ็ญกายสุจริตเป็นต้นให้บริบูรณ์ พึงประพฤติให้สม่ำเสมอ. บทว่า โอรํ ได้แก่ ถึงส่วนอันมีในภายใน. ด้วยบทนั้นบุคคลนั้นชื่อว่ายังไม่อิ่ม พึงปรารถนาแม้ฝั่งแห่งสมุทรอีกด้วยอาการอย่างนี้ ท่านแสดงว่า ขึ้นชื่อว่าสัตว์ผู้เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เป็นอันเต็มได้โดยยาก. บทว่า ยาว เป็นบทกำหนดนับตามอนิยม. บทว่า อนุสฺสรํ แปลว่า ระลึกถึงอยู่. บทว่า นาชฺฌคา แปลว่า ย่อมไม่ประสบ. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่มหาราชเจ้า บุรุษมีใจระลึกถึงกามทั้งหลาย แม้อันหาที่สุดไม่ได้ ย่อมไม่ประสบความอิ่ม ปรารถนาจะบรรลุถึงอยู่นั้นเอง เมื่อเป็นเช่นนี้ ตัณหาในกามทั้งหลาย ย่อมเจริญแก่สัตว์ทั้งหลายอยู่นั่นเอง. บทว่า ตโต นิวตฺตา ความว่า บุคคลเหล่าใดมีจิตและกายกลับจากวัตถุกามและกิเลสกามแล้ว เห็นโทษด้วยญาณนั่นแล อิ่มเอิบบริบูรณ์ด้วยปัญญา บุคคลเหล่านั้นแลชื่อว่าย่อมอิ่ม. บทว่า ปญฺญาย ติตฺตีนํ เสฏฺฐํ คือความอิ่มด้วยปัญญานี้ ย่อมเป็นของประเสริฐเต็มที่. อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า น โส กาเมหิ ตปฺปติ นี้ บาลีว่า ย่อมไม่ถูกกามทั้งหลายแผดเผา. อธิบายว่า เพราะเหตุที่บุรุษผู้อิ่มด้วยปัญญา ย่อมไม่ถูกกามแผดเผา. บทว่า น กุรุเต วสํ ความว่า เพราะตัณหาไม่อาจยังบุรุษเช่นนั้นให้อยู่ในอำนาจได้ ก็บุรุษนั้นนั่นแลเห็นโทษแห่งตัณหาแล้ว ย่อมไม่เป็นไปในอำนาจแห่งตัณหา เหมือนวังวนแห่งสายน้ำ และเหมือนพระราชอัฑฒมาสก. บทว่า อปจิเนเถว แปลว่า พึงกำจัดเสียเลย. บทว่า สมุทฺทมตฺโต คือมีประมาณสมุทร เพราะประกอบด้วยปัญญาอันใหญ่. บุรุษนั้นย่อมไม่เดือดร้อน คือไม่รุ่มร้อนด้วยกิเลสกามทั้งหลาย เหมือนสมุทรไม่ร้อนแม้เพราะไฟใหญ่ฉะนั้น. บทว่า รถกาโร แปลว่า ช่างหนัง. บทว่า ปริกนฺตํ แปลว่า ตัดแล้ว. ท่านอธิบายคำนี้ไว้ว่า ช่างหนังตัดรองเท้า เว้นที่ที่หนังไม่เข้าลักษณะที่ถือเอาได้ ทำให้เป็นรองเท้า ได้ค่ารองเท้า ย่อมได้รับความสุขฉันใด บัณฑิตก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาอันเสมือนกับศาสตราของช่างรองเท้า พึงถึงความสุขทางกายกรรมวจีกรรมและมโนกรรมนั้น ที่เว้นจากแดนแห่งกาม อันเป็นเหตุให้ตนละแดนกาม ปรารถนาเฉพาะสุขมีกายกรรมเป็นต้นทุกอย่างที่ปราศจากความเร่าร้อน พึงเจริญกสิณยังฌานให้เกิดละกามทั้งปวงเสีย. ก็เมื่อพระมหาสัตว์กำลังกล่าวคาถานี้อยู่ ได้เกิดฌานมีโอทาตกสิณเป็นอารมณ์ เพราะหน่วงเอาพระเศวตฉัตรของพระราชาเป็นอารมณ์. แม้พระราชาก็ทรงหายจากโรค พระองค์ทรงมีความยินดี เสด็จลุกจากพระที่บรรทม มีพระดำรัสว่า พวกแพทย์เท่านี้ยังไม่อาจรักษาได้ แต่มาณพผู้เป็นบัณฑิตได้ทำเราให้ปราศจากโรคด้วยญาณวิสัยของตนได้ เมื่อจะทรงปราศรัยกับพระโพธิสัตว์ ได้ตรัสพระคาถาที่ ๑๐ ว่า คาถาทั้งหมด ๘ คาถาที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ทั้ง ๘,๐๐๐ นี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อฏฺฐ ได้แก่ คาถา ๘ คาถาที่ประกอบด้วยโทษแห่งกาม ตั้งต้นแต่คาถาที่ ๒ ไป. บทว่า สหสฺสิยา แปลว่า ควรแก่ ๑,๐๐๐. บทว่า ปฏิคฺคณฺห ความว่า จงรับเอาทรัพย์ ๘,๐๐๐. บทว่า สาเธตํ ตว ภาสิตํ ความว่า คำที่ท่านกล่าวนี้ยังประโยชน์ให้สำเร็จ. พระมหาสัตว์ได้สดับดังนั้นแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๑๑ ว่า ข้าพระบาทไม่ต้องการด้วยทรัพย์ร้อยทรัพย์พันหรือทรัพย์หมื่น เมื่อข้าพระบาทกล่าวคาถาสุดท้าย ใจของข้าพระบาทไม่ยินดีในกาม. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปจฺฉิมํ นี้เป็นคาถาสุดท้ายว่า รถกาโรว จมฺมสฺส. บทว่า กาเม เม นิรโต มโน ความว่า ข้าแต่พระมหาราชเจ้า เมื่อข้าพระองค์กำลังกล่าวคาถาอยู่นั่นแล ใจไม่ยินดีทั้งในวัตถุกามทั้งกิเลสกาม เพราะข้าพเจ้านั้นเมื่อกล่าวคาถายังฌานให้บังเกิดด้วยธรรมเทศนาของตนแล. พระราชาทรงยินดีอย่างเหลือประมาณ ในเมื่อจะทรงสรรเสริญพระมหาสัตว์ ได้ตรัสคาถาสุดท้ายว่า มาณพใดเป็นบัณฑิต กำหนดรู้ตัณหาอันยังความทุกข์ให้เกิดแล้ว นำออกได้ มาณพนี้เป็นคนดี เป็นมุนีผู้รู้แจ้งโลกทั้งปวง. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ทุกฺขชนนึ ได้แก่ ยังทุกข์ในวัฏฏะทั้งสิ้นให้เกิด. บทว่า ปริชานาติ ได้แก่ กำหนดรู้แล้ว คือกำหนดตัด ตัดขาดนำออกไป เมื่อสรรเสริญพระโพธิสัตว์จึงได้ตรัสอย่างนี้. พระโพธิสัตว์ถวายโอวาทพระราชาว่า ข้าแต่พระมหาราช ขอพระองค์จงเป็นผู้ไม่ประมาทประพฤติธรรมเถิด แล้วเหาะไปยังหิมวันตประเทศ บวชเป็นฤาษี เจริญพรหมวิหารอยู่จนตลอดชนมายุ แล้วไปเกิดในพรหมโลก. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้ในกาลก่อน เราก็ได้ทำให้พราหมณ์นี้คลายความเศร้าโศกด้วยประการดังนี้. แล้วทรงประชุมชาดกว่า พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็นพราหมณ์นี้ ส่วนมาณพผู้เป็นบัณฑิต ได้มาเป็น เราตถาคต แล. จบอรรถกถากามชาดกที่ ๔ -----------------------------------------------------

หลวงพ่อธัมมานันทะสวดอุปปาตะสันติอุปปาตะสันติ บทสวดสงบเหตุร้าย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สามจบ) (นำ) หันทะ มะยัง อุปปาตะสันติ คาถาโย ภะณา มะเส ฯ คันถารัมภะ คำเริ่มต้นคัมภีร์ (ก) สุทุททะโส อะยัง ธัมโม โลกัตถัง ชินะเทสิโต มหาสันติกะโร โลเก สัพพะสัมปัตติทายะโก. (ข) สัพพุปะปาตูสะมะโณ ภูตะยักขะนิวาระโณ อะกาละมัจจุสะมะโณ โสกะโรคะวินาสะโน. (ค) ปะระจักกะมัททะโนปิ รัญโญ วิชะยะวัฑฒะโน สัพพานิฏฐะหะโร สันติ ธัมมัง วักขามิ ภูตะโต. (ฆ) วัตถุตตะยัสสะ โย ยัตถะ สังวัณเณติ คุณุตตะเม ตัสสะ ตัตถะ สุขาโรค๎ยะ โสตถิโย โหนติสัพพะทา. พระพุทธเจ้าในอดีต ๒๘ พระองค์ ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์ ๑. ตัณหังกะโร มหาวีโร สัพพะโลกานุกัมปะโก วันตะสังสาระคะมะโน สัพพะกามะทะโท สะทา. ๒. สัพพาภิภู สัพพะวิทู สัพพะเทวะคะรุตตะโม สัพพาสะวะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๓. วะระลักขะณะสัมปันโน เมธังกะโร มหามุนิ ชุตินธะโร มหาสิรี สุวัณณะคิริสันนิโภ. ๔. ทิพพะรูโป มหากาโย มะหานาโถ มะหัพพะโล มะหาการุณิโก สัตถา มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๕. มหาโมหะตะมัง หันตะวา โย นา โถ สะระณังกะโร เทวาเทวะมะนุสสานัง โลกานัญจะ หิตังกะโร. ๖. พ๎ยามัปปะภาภิรุจิโต นิโครธะปะริมัณฑะโล นิโครธะปักกะพิมโพฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗. อะสีติระตะนุพเพโธ ทีปังกะโร มะหามุนิ ปภา นิททาวะเต ตัสสะ ฐาเน ทะวาทะสะ โยชะเน. ๘. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัตตะวา โลเก วินายะโก โลกาโลกะกะโร สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในสารกัป ๑ พระองค์ ๙. อัฏฐาสีติหัตถุพเพโธ โกณทัญโญ นามะ นายะโก สัพพะธัมเมหิ อะสะโม สัพพะปาระมิตาคะโม. ๑๐. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มเหสิโน โมเจตุ โส สัพพะภะยา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์ ๑๑. อัฏฐาสีติ ระตะนานิ อัจจุคคะโต ชุตินธะโร มังคะโล นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก. ๑๒. ฉัพพัณณะรังสิโย ทะสะ สะหัสสะโลกะธาตุยา ผะรันตา ตัสสะ ฉาเทนติ เอสะ โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓. นะวุติระตะนุพเพโธ สุมะโน นามะ นายะโก กัญจะนาจะละสังกาโส นะวุติสะหัสสายุโก. ๑๔. อุเปโต พุทธะคุเณหิ สัพพะสัตตะหิเตสะโก กะโรตุ โน มหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา. ๑๕. อะสีติระตะนุพเพโธ สัฏฐีสะหัสสะอายุโก เรวะโต นามะ สัมพุทโธ สัพพะโลกุตตะโร มุนิ. ๑๖. ตัสสะ สะรีเร นิพพัตตา ปะภามาลา อะนุตตะรา ผะรันตา โยชะเน นิจจัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗. โสภิโต นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก สังสาระ สาคะเร สัตเต พะหู โมเจติ ทุกขะโต. ๑๘. อัฏฐะปัญญาสะระตะนัง อัจจุคคะโต มะหามุนิ โอภาเสติ ทิสา สัพพา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในวรกัป ๓ พระองค์ ๑๙. อะโนมะทัสสี สัมพุทโธ เตชัสสี ทุระติกกะโม อัฏฐะปัญญาสะระตะโน โอภาเสนโต สะเทวะเก. ๒๐. นิพพานะปาปะโก โลเก วัสสะสะตะสหัสสายุโก กะโรตุ โน มหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา. ๒๑. ปะทุโม นามะ สัมพุทโธ โลกะเชฏโฐ นะราสะโภ อัฏฐะปัญญาสะระตะโน อาทิจโจวะ วิโรจะติ. ๒๒. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มเหสิโน โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๒๓. อัฏฐาสีติระตะนุพเพโธ นาระโท สัพพะกามะโท นิรันตะรัง ทิวารัตติง โยชะนัง ผะระเต ปะภา. ๒๔. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก วินายะโก โมเจติ ทุกขะโต สัตเต โสปิ โสตถิง กะโรตุ โน. ในวรกัป ๓ พระองค์ ๒๕. อัฏฐะปัญญาสะระตะโน ปะทุมุตตะโร มหามุนิ ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ ท๎วาทะสะ โยชะเน. ๒๖. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเกมะตันทะโท โมเจติ พันธะนา สัตเต โสปิ ปาเลตุ โน สะทา. ๒๗. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต มหามุนิ สุเมโธ นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก. ๒๘. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา ปาเลตุ โน สะทา พุทโธ ภะเยหิ วิวิเธหิ จะ. ๒๙. ปัญญาสะระตะนุพเพโธ สุชาโต นามะ นายะโก เหมะวัณโณ มะหาวีโร มะหาตะมะวิโนทะโน. ๓๐. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในวรกัป ๓ พระองค์ ๓๑. อะสีติระตะนุพเพโธ ปิยะทัสสี มหามุนิ นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลกัคคะนายะโก. ๓๒. โสปิ สัพพะคุณูเปโต สัพพะโลกะสุขัปปะโท สัพพะโทสัง วินาเสนโต สะพัง โสตถิง กะโรตุ โน. ๓๓. อะสีติระตะนุพเพโธ อัตถะทัสสี นะราสะโภ วัสสะสะตะสะหัสสานิ โลเก อัฏฐาสิ นายะโก. ๓๔. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา นิรันตะรัง ทิวารัตติง นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน. ๓๕. ธัมมะทัสสี จะ สัมพุทโธ อะสีติหัตถะมุคคะโต อะติโรจะติ เตเชนะ สะเทวาสุระมานุเส. ๓๖. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก มะหายะโส สัพพะสัตเต ปะโมเจติ ภะยา รักขะตุ โน สะทา. ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์ ๓๗. สิทธัตโถ นามะ สัมพุทโธ สัฏฐิระตะนะมุคคะโต ติภะเว โสตถิชะนะโก สะติสสะหัสสะอายุโก. ๓๘. สังสาระสาคะรา โลเก สันตาเรต๎วา สะเทวะเก นิพพาเปติ จะ โส สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๓๙. สัฏฐิระตะนะมุพเพโธ ติสโส โลกัคคะนายะโก อะนูปะโม อะสะทิโส อะตุโล อุตตะโม ชิโน. ๔๐. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะมะเหสิโน อาโรค๎ยัญจะ มหาลุขัง โหตุ โน ตัสสะ เตชะสา. ๔๑. อัฏฐะปัญญาสะระตะโน ผุสโส โลกัคคะนายะโก ชะนัมพุชัง วิโพเธนโต นิพพาเปนโต สะเทวะเก ๔๒. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก มะหายะโส อุทธะรันโต พะหู สัตเต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๔๓. อะสีติระตะนุพเพโธ วิปัสสี โลกะนายะโก ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา สัตตะ โยชะเน. ๔๔. โสปิ เทวะมะนุสสานัง พันธะนา ปะริโมจะยิ อะสีติสะหัสสายุโก นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน. ในมัณฑกัป ๒ พระองค์ ๔๕. สัตตะตีหัตถะมุพเพโธ สิขี นาเมสะ นายะโก ปภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา โยชะนัตตะเย. ๔๖. โสปิ อะตุล๎โย สัมพุทโธ สัตตะตีสะหัสสายุโก กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา. ๔๗. เวสสะภู นามะ สัมพุทโธ เหมะรูปะสะมูปะโม สัฏฐีิระตะนะมุพเพโธ สัฏฐี จะ สะหัสสายุโก. ๔๘. พ๎รัห๎มะเทวะมะนุสเสหิ นาคาสุระทิเชหิ วา ปูชิโตปิ สะทา นาโถ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในภัททกัป ๔ พระองค์ ๔๙. ตาฬีสะระตะนุพเพโธ กะกุสันโธ มหามุนิ ตัสสะ กายา นิจฉะรันติ ปะภา ท๎วาทะสะ โยชะนา. ๕๐. จัตตาลฬีสะ สะหัสสานิ ตัสสะ อายุ อะนุตตะโร กะโรตุ โส สะทา นาโถ อายุ สุขัง พะลัญจะ โน. ๕๑. โกนาคะมะนะ สัมพุทโธ ติงสะหัตถะ สะมุคคะโต ติงสะวัสสะ สะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน. ๕๒. ธัมมามะเตนะ ตัปเปตา เทวะสังฆัง สุราละเย มะหีตะเล จะ ชะนะตัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๕๓. กัสสะโป นามะ สัมพุทโธ ธัมมะราชา ปะภังกะโร วีสะตีหัตถะมุพเพโธ วีสะสะหัสสะอายุโก. ๕๔. อะนูปะโมสะมะสะโม เทวะสัตถา อะนุตตะโร กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรค๎ยัญจะ ชะยัง สะทา. ๕๕. อัฏฐาระสะหัตถะถุพเพโธ โคตะโม สักกะยะวัฑฒะโน สัพพัญญู สัพพะติละโก สัพพะโลกะสุขัปปะโท. ๕๖. สัมพุทโธ สัพพะธัมมานัง ภะเคหิ ภาค๎ยะวายุโก วิชชาจะระณะสัมปันโน โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๕๗. อัพภะตีตา จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏิโย สัพพะโลกะมะภิญญายะ สัพพะสัตตานุกัมปิโน. ๕๘. สัพพะเวระภะยาตีตา สัพพะโลกะสุขัปปะทา สัพพะโทสัง วินาเสนตา สัพพะโสตถิง กะโรนตุ โน. พระพุทธเจ้าในอนาคต ๑ พระองค์ ๕๙. อะนาคะเต จะ สัมพุทโธ เมตเตยโย เทวะปูชิโต มะหิทธิโก มหาเทโว มะหาสันติง กะโรตุ โน. พระปัจเจกพุทธเจ้า ๖๐. สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มเหสะโย. ๖๑. ทูเรปิ วิเนยเย ทิส๎วา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต สันทิฏฐิกะผะเล กัต๎วา สะทา สันติง กะโรนตุ โน. นวโลกุตตรธรรม ๙ และพระปริยัติธรรม ๑ ๖๒. ส๎วากขาตะตาทิสัมปันโน ธัมโม สะปะริยัตติโก สังสาระ สาคะรา โลเก ตาเรติ ชินะโคจะโร. ๖๓. กิเลสะชาละวิทธังสี วิสุทโธ พุทธะเสวิโต นิพพานะคะมะโน สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. พระสังฆรัตนะ ๖๔. สีลาทิคุณะสัมปันโน สังโฆ มัคคะผะเล ฐิโต ชิตินท๎ริโย ชิตะปาโป ทักขิเนยโย อะนุตตะโร. ๖๕. อะนาสะโว ปะริสุทโธ นิราสาโส ภะวาภะเว นิพพานะโคจะโร สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. พระเถระชั้นผู้ใหญ่ ๑๐๘ รูป ๖๖. อัญญาตะโกญทัญญัตเถโร รัตตัญญูณังอัคโค อะหุ ธัมมะจักกาภิสะมะโย สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๖๗. วัปปัตเถโร มะหาปัญโญ มะหาตะมะวิโนทะโน มะหาสันติกะโร โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๖๘. ภัททิโย ภัททะสีโล จะ ทักขิเนยโย อะนุตตะโร โลกัตถะจะริโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๖๙. มะหานาโม มหาปัญโญ มะหาธัมมะวิทู สุโต มะหาขีณาสะโว เถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๗๐. อัสสะชิตะเถโร มหาปัญโญ ชิตะมาโร ชิตินท๎ริโย ชิตะปัจจัตถิโก โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๑. อะนุปุพพิกะถัง สุต๎วา ยะโส เอกัคคะมานะโส อัคคะธัมมะมะนุปปัตโต โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๗๒. จัต๎วาธิกา จะ ปัญญาสะ เถรา คิหิสะหายะกา ปัต๎วานะ ปะระมัง สันติง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๓. เย ติงสะ ภัททะวัคคิยา รูเปนาตุละวัณณิโน ขีณาสะวา วะสีภูตา เต กะโรนตุ อะนามะยัง. ๗๔. อุรุเวลละกัสสะโปปิ มะหาปะริสานะมุตตะโม ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๕. โย นะทีกัสสะปัตเถโร ปุญญักเขตโต อะนุตตะโร สาสังโฆ สีละสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๖. ธัมมะปัชชะลิโต สันโต โย เถโร คะยากัสสะโป สังยุตโต ภะวะนิเสนโห สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๗. โลกะนาถัง ฐะเปต๎วานะ ปัญญะวันตานะ ปาณินัง ปัญญายะ สารีปุตตัสสะ กะลัง นาคฆะติ โสฬะสิง. ๗๘. สาริปุตโต มะหาปัญโญ ปะฐะโม อัคคะสาวะโก ธัมมะเสนาปะติ เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๙. ปาทังคุลิกะมัตเตนะ เวชะยันตะปะกัมปะโน ปะถะวิง มะหะติง สัพพัง สะมัตโถ ปะริวัตติตุง. ๘๐. โมคคัลลาโน มะหาเถโร ทุติโย อัคคะสาวะโก อิทธิมันตานัง โส อัคโค สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๑. มะหากัสสะปัตเถโรปิ อุตตัตตะกะนะกะสันนิโภ ธุตะคุณัค คะ นิกขิตโต ตะติโย สัตถุสาวะโก ๘๒. อะรัญญะวาสาภิระโต ปังสุกูละธะโรมุนิ สุคะตะสาสะนะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๓. อาปัตติอะนาปัตติยา สเตกิจฉายะ โกวิโท วินะเย อัคคะนิกขิตโต อุปาลิ สัตถุวัณณิโต. ๘๔. วินะเย ปาระมิปปัตโต วินะยัคโคจะโร มุนิ กะโรตุ โน มหาสันติง โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๘๕. อะนุรุทธะ มะหาเถโร ทิพพะจักขู นะมุตตะโม ญาติเสฏโฐ ภะคะวะโต โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๘๖. อุจจากุลิกานัง อัคโค ภัททิโย สุสะมาหิโต กาฬิโคธายะ ปุตโต จะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๗. อานันโท พุทธุปัฏฐาโก สังคีติสาธุสัมมะโต พะหุสสุโต ธัมมะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๘. กิมพิโล สิริสัมปันโน มะหาสุขะสะมัปปิโต มะหาขีณาสะโว ชาโต มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๘๙. คะรุวาสัง วะสิต๎วานะ ปะสันโน พุทธะสาสะเน ภะคุ จะระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๐. กุลัปปะสาทะชะนะโก กาฬุทายี มะหิทธิโก เอตะทัคคัฏฐิโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๑. เสฏโฐ ธัมมะกะถิกานัง ติณณัง เวทานะ ปาระคู ปุณโณ มันตานิยา ปุตโต เถโร โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๒. ภาระท๎วาโช มะหาเถโร สีหะนาทานะมุตตะโม ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๓. สังขิตตะ ภาสิตะมัตถัง วิตถาเรนะ วิชานะโก กัจจายะโน ภะวะนิเสนโห เถโร โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๔. ละกุณฏะกะภัททิโย เถโร มัญชุสสะรานะ มุตตะโม ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๕. อะระณะวิหารีณัง อัคโค ทักขิเนยโย อะนุตตะโร สุภูติ ภูตะทะมะโน เถโร โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๖. อะรัญญะวาสีนัง อัคโค เรวะโต ขะทิระวะนิโย วิเวกาภิระโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๗. ณายีนัง อุตตะโม เถโร กังขาเรวะตะนามะโก สะมาธิฌานะกุสะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๘. โสโณ จะ โกฬิวีโสปิ อารัทธะวีริยานะ มุตตะโม ปะหิตัตโต สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๙๙. กัลยาณะวากกะระณานัง โสโณ กุฏิกัณโณปิ จะ อัคโคติ วัณณิโต เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๑๐๐. ลาภีนะมุตตะโม เถโร สีวะลิ อิติ วิสุโต โส ระโต ปัจจะยาทิมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๑. สัทธาธิมุตตานัง อัคโค วักกะลิ อิติ นามะโก ปาโมชชะพะหุโล เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๒. ราหุโล พุทธะปุตโตปิ สิกขากามานะ มุตตะโม ทายาโท สัพพะธัมเมสุ มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๐๓. สัทธายะ ปัพพะชิต๎วานะ รัฏฐะปาโล ปะรักกะมี เอตะทัคเค ฐิโตเยวะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๔. กุณฑะธาโน มะหาเถโร สะลากัง ปะฐะมัง คะโต ฐะปิโตเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๕. ปะฏิภานะวันตานัมปิ อัคโคติ พุทธะวัณณิโต วังคีโส อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๖. สะมันตะปาสาทิกานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต อุปะเสโน วังคันตะปุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๗. ทัพโพ มัลละปุตโต เถโร เสนาสะนะปัญญาปะโก ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๘. ปิลินทะวัจฉะสะมะโณ เทวะตานัง ปิโย อะหุ ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๑๐๙. พาหิโย ทารุจีริโย ขิปปาภิญญานะ มุตตะโม กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรค๎ยัญจะ ชะยัง สะทา. ๑๑๐. กุมาระกัสสะปัตเถโร จิตตะกะถีนะ มุตตะโม มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๑. ปฏิสัมภิทาปัตตานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต โกฏฐิโต อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๒. อัปปาพาโธ มะหาเถโร อัปปาพาธานะ มุตตะโม พากุโล อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๓. ปุพเพนิวาสะเวทีนัง อัคโคติ พุทธะวัณณิโต โสภิโต นามะโส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๔. มหากัปปินัตเถโรปิ ภิกขุโอวาทะโก อะหุ กุสะโล โอวาททะทาเน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๕. ภิกขุโนวาทะกานัค โค นันทะโก อิติ วิสสุโต ปาเลตุ โน สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๑๑๖. อินท๎ริเยสุ คุตตะท๎วาโร อัคคัฏฐาเน ฐิโต อะหุ นันทัตเถโร วะสิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๗. เตโชธาตุกุสะลานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต สาคะโต นามะ โส เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๑๑๘. สัญญาวิวัฏฏะกุสะโล ปะธาโน ภาวะนาระโต พุทธะสิสโส มหาปันโถ มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๑๙. จูฬะปันถะกัตเถโรปิ มะโนมะยาภินิมมิโต ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๐. ปฏิภาเนยยะกานัง ตุ อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต ราโธ เถโร มหาโสตถิง กะโรตุ โน อะนามะยัง. ๑๒๑. ลูขะจีวะระธะรานัง ภิกขูนัง อุตตะโม อะหุ โมฆะราชะมะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๒. วิมะโล วิมะสัปปัญโญ สุรูโป สุสะมาหิโต ระโช นะ ลิมปะติ ขันเธ มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๓. ธัมมะปาโล มะหาปาโล มะหาธัมมะธะโร ยะติ มะหาขีณาสะโว โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๔. จักขุปาโล มะหาเถโร ปะธาโน สีละสังวุโต ปะหิตัตโต มะหากาโย มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๕. สัพพะเวระภะยาตีโต นาระโท อาสะวักขะโย มหาสันติกะโร โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๖. พุทธะปูชายะ นิระโต ชินะภัตติปะรายะโน สัทธัมมะสะวะโน เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๗. ปัจฉิมะภะวะสัมปัตโต โคตะโม ภาวะนาระโต ราคักขะยะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๘. เสนาสะเนสุ สัปปายัง สัทธา ฌานัง สะมาระภิ โคธิโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๙. พุทเธ ปะสันนะมานะโส สุพาหุ ปัญชะลีกะโต ขีณาสะโว วะสีภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๓๐. วิปัสสะนายะ ปะสุโต วัลลิโย สุสะมาหิโต สะโต ณายี วะเนวาสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๑. อุตติโย วินะยะธะโร อะติกกันโต นะรามะเร ธาเรณโต อันติมัง เทหัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๒. วิมะโล วิระโชชัลโล ชาโต ปัญฑะระเกตุนา พิมพิสารัทธะโช เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๓. รัมมารัญเญ วะสีต๎วานะ ภาเวนโต กุสะลัง พะหุง โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะภิโย สันติง กะโรตุ โน. ๑๓๔. ปุพเพนิวาสัง ชานันโต ทิพพะจักขุ วิโสธะโน นาคีโตระหะติง ปัตโต โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๑๓๕. ปาติโมกขะมะนุปปัตโต วิชะโย รัญญะโคจะโร ลาภาลาภี ตะถาสังสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๖. ตัณหาชะฏัง วิชะเฏต๎วา วัฑเฒต๎วานะ วิปัสสะนัง สังฆรักขิโต มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๓๗. อะรัญญะวาสาภิระโต ภะวะเนตติสะมูหะโต ธัมมานัง ปาระมิปปัตโต อุตตะโร ปาตุ โน ภะยา. ๑๓๘. ปุพเพ ปุญญานิ กัต๎วานะ ปุพพะโยคัง สะมาระภิ อุสสะโภ ระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๙. สะมาปัตติ สะมาปันโน ฉะฬะภิญโญ มหิทธิโก สิวะโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๐. สัตตาริยะธะโน เถโร ธะนิโย ธัมมะสาคะโร วันตะสังสาระคะมะโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๑. ปัญจักขันเธ ปะริญญายะ ภาวะยิต๎วานะ นิพพุตัง ปัต๎วานะ ปะระมัง สันติง โปสิโย ปาตุ โน ภะยา ๑๔๒. อุปะนิสสะยะสัมปันโน อุชชะโย พุทธะมามะโก โลกัตถะปะสุโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๓. พุทธัปปะสาทะสัมปันโน ปัพพะชิ ชินะสาสะเน สัญชะโย นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๔. มารัญชะโย มะหาเถโร รามะเณยโย มะหิทธิโก นิพพานะนินนะจิตโต โส สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๕. อุโภ ปาปัญจะ ปุญญัญจะ วีติวัตโต อะนาสะโว วีรัตเถโร ระหัปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๖. ปุณณะมาสะมะหาเถโร ปังสุกูละธะโร ยะติ ปุพพะกิจจะวิธิง กัต๎วา มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๔๗. ปัญจะฉินโน ปัญจะชะโห ปัญจะ จุตตะริภาวะโน. ปัญจะสังคาติโค เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๘. ปุพเพ ราคัง วิจาเรนโต ชินะภัตติปะรายะโน เพลัฏฐะสีโส วังสะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๙. ปัญจุปันนานิ อะภะโย นิกันติ นัตถิ ชีวิเต อะชิโต โส มะหาเถโร มหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๐. วิวัฏฏะนิสสะเย ปุญเญ กัต๎วา สัมพุทธะภัตติมา กุลลัตเถโร ระหัปปัตโต มหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๑. วิปัสสี ธัมมะทายาโท เถโร นิโค๎รธะนามะโก นิพพานาคะมะสันทิฏโฐ สะทา สันติง กะโรตุ โน. ๑๕๒. ติสโส วิชชา อะนุปปัตโต สุคันโธ นามะ โส ระโห สัพพะปาปะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๓. นันทิโย สัทธาสัมปันโน ชิตะเกลโส มะหาเถโร อะภิญญา ปาระมิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๔. กิเลสา ฌาปิตา เยนะ ชิตะธัมมะระเตนะ โส กัมมาระปุตตะวิมะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๕. เทวะโลกะมะนุสเสสุ อะนุภุต๎วา วิภูติโย ติสสัตเถโร มะหาภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๖. สุวิมุตโต มะหานาโค ตีหิ วังเกหิ มุตตะโก สุมังคะโล มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๗. นิรัคคะโฬ นิราสาโส มะละขีละวิโสธะโน วิเวกาภิระโต คุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๘. ปะวิเวกะมะนุปปัตโต คิริมานันทะนามะโก ภาเวนโต กุสะเล ธัมเม สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๙. พุทธะสาสะนะมารัทโธ สะมิทธิ ภาวะนาระโต สะมิทธิคุณะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๐. อาราธิตะชิโน สันโต โชติตเถโร มหาระหา วิมุตโต สัพพะสังสารา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๑. เสนาสะนานิ ปันตานิ เสวันโต ฌานะมาระภิ ฉะฬะภิญโญ มะหาจุนโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๒. ฉันนัตเถโร สะหะชาโต สุณันโต ชินะสาสะนัง โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๓. เมฆิโย พุทธุปัฏฐาโก ชินะภัตติปะรายะโน มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๔. อุปะวาโณ มะหาเถโร มะหากาโย มะหาระหา มะหิทธิโก มะหาเตโช สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๕. สังกิจโจ โจระฑะมะโน สัพพะสังโยชะนักขะโย ปาเลตุ โน สัพพะภะยา โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๑๖๖. ปัญหะพ๎ยากะระเณ เฉโก เมตตาฌานะระโต ยะติ โสปาโกปายะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๗. เขตตะสัมปัตติสัมปัตโต วัฑฒะมาโนวะ โสตถินา สุมะโน อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๘. ปิโย เทวะมะนุสสานัง สานุตเถโร พะหุสสุโต เมตตาฌายี ตะโมฆาตี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๙. โย จะ ปุพเพ กะตัง ปาปัง กุสะ เลนะ ปะหียะติ อังคุลิมาโล โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๐. วิปัสสะนาธะรา เยปิ เถรา สะมะถะยานิกา ขีณาสะวา มะหาเตชา มะหาตะมะวิโนทะนา. ๑๗๑. ฌานิกาฌานิกา เยปิ ธัมมาภิสะมะยาทะโย สัพเพ โสตถิง สะทา เทนตุ ชะยะมาโรค๎ยะมายุโน พระเถรีชั้นผู้ใหญ่ ๑๓ รูป ๑๗๒. รัตตัญญูณัง ภิกขุนีนัง โคตะมี ชินะมาตุจฉา ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๓. มะหาปัญญานะมัคคัฏฐา เขมาเถรีติ ปากะฏา สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๔. เถรี อุปปะละวัณณา จะ อิทธิมันตีนะ มุตตะมา สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๕. วินะยัทธะรีนัง อัคคา ปะฏาจาราติ วิสสุตา ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๖. ธัมมะกะถิกะปะวะรา ธัมมะทินนาติ นามิกา ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๗. ฌายิกานัง ภิกขุนีนัง นันทา เภรีติ นาเมสา อัคคัฏฐาเน ฐิตา อะหุ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๘. อารัทธะวีริยานัง อัคคา โสณาเถรีติ นามิกา ฐะปิตา ตัตถะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๙. ทิพพะจักขุกานัง อัคคา พะกุลา อิติ วิสสุตา วิสุทธะนะยะนา สาปิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๐. กุณฑะละเกสี ภิกขุนี ขิปปาภิญญานะมุตตะมา ฐะปิตาเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๑. เถรี ภัททะกาปิลานี ปุพพะชาติมะนุสสะรี ตาสังเยวะ ภิกขุนีนัง อัคคา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๒. เถรี ตุ ภัททะกัจจานา มะหาภิญญานะมุตตะมา ชิเนนะ สุขะทุกขัง สา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๓. ลูขะจีวะระธารีนัง อัคคา กิสาปิ โคตะมี ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๔. สิงคาละมาตา ภิกขุนี สัทธาธิมุตตานะ มุตตะมา กะโรนตุโน มะหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา. ๑๘๕. อัญญา ภิกขุนิโย สัพพา นานาคุณะธะรา พะหู ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา โสกะโรคาทิสัมภะวา. ๑๘๖. โสตาปันนาทะโย เสกขา สัทธาปัญญาสีลาทิกา ภาคะโส เกลสะทะหะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. พญานาค ๑๘๗. สุมะโน สุมะนะจะโล อะระวาเฬระปัตตะโก จัมเปยโย มุจะลินโท จะ กัมพะโล ภุชะคิสสะโร. ๑๘๘. กาละนาโค มะหากาโฬ สังขะปาโล มะโหทะโร มะณิกัณโฐ มะณิอัคขิ นันทะนาโคปะนันทะโก. ๑๘๙. วะรุโณ ธะตะรัฏโฐ จะ กุงคุวิโล ปะลาละโก จิต๎ระนาโค มะหาวีโร ฉัพ๎ยาปุตโต จะ วาสุกี. ๑๙๐. กัณหาโคตะโม ภุชะนินโท อัคคิธูมะสิโข ตะถา จูโฬทะโร อะหิจฉัตโต นาคา เอราปะถาทะโย. ๑๙๑. อาสิวิสา โฆระวิสา เย สัพเพ นะยะนาวุธา ชะลัฏฐา วะ ถะลัฏฐา วา ปัพพะ เตยยา นะทีจะรา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อายุมาโรคิยัง สะทา. เปรต ๑๙๒. นิชฌามะตัณหิกา เปตา อุสุสัตติ จะ โลมะกา มังสะปิณฑาทะโย เปตา เปตา เวมานิกาทะโย ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา สะทา เต สุขิโน สะทา. อสูร ๑๙๓. เย ปะหาราทะสัมพะรา พะละยาสุระคะณา จะ เย เวปะจิตตาสุระคะณา จันทาสุระคะณาทะโย. ๑๙๔. สัพเพ เตปิ มหาเตชา ภูตะยักขะนิวาระณา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา. เทวดา ๑๙๕. เย ยักขา สัตตะสะหัสสา ภุมมา กาปิละวัตถุกา อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสสิโณ. ๑๙๖. สัพเพ ติสะระณา ยักขา มะเหสักขา ชุตินธะรา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา. ๑๙๗. ฉะสะหัสสา เหมะวะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๑๙๘. สาตาคิรา ติสะหัสสา ยักขา นีลาทิวัณณิโน นานาปะภายะ สัมปันนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๑๙๙. เวสสามิตตา ปัญจะสะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโณ โมทะมานา อะภิกกามุง สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๐. กุมภีโร ราชะคะหิโก เวปุลลัสสะนิเวสะนัง ภิยโย นัง สะตะสะหัสสัง ยักขานัง ปะยิรุปาสะติ โส ยักเขหิ ปะริวาโร สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๑. ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ คันธัพพานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๒. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา โส ราชา สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๓. ทักขินัญจะ ทิสัง ราชา วิรุฬโห ตัง ปะสาสะติ กุมภัณฑานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๔. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา วิรุฬโห สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๕. ปัจฉิมัญจะ ทิสัง ราชา วิรูปักโข ปะสาสะติ นาคานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๖. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา วิรูปักโข สะปุสเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๗. อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา กุเวโร ตัง ปะสาสะติ ยักขานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๘. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา กุเวโร สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๙. ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง. ๒๑๐. จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัททัฬหะมานา อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๑๑. เตสัง มายาวิโน ทาสา อาคุง วัญจะนิกา สะฐา มายา กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วิตุจจะ วิตุโฏ สะหะ. ๒๑๒. จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ. ๒๑๓. จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะโนสะโภ วะโร ปัญจะสิโข เจวะ ติมพะรู สุริยะวัจฉะสา. ๒๑๔. เอเต จัญเญ จะ ราชาโน คันธัพพา จะ มะหัพพะลา โมทะมานา สะทา โสตถิง โน กะโรณตุ อะนามะยัง. ๒๑๕. มะหันตา นาคะสา นาคา เวสาลา สะหะ ตัจฉะกา กัมพะลัสสะตะรา จาปิ เมรูปาทะสิตา พะลา. ๒๑๖. ยามุนา ธะตะรัฏฐา จะ สัพเพ นาคา ยะสัสสิโน เอราวะโณ มะหานาโค โน กะโรณตุ อานามะยัง. ๒๑๗. มะหิทธิกา สุปัณณา เย นาคะราเช มะหัพพะเล คะเหตตะวา ชินะเขตเตวะ ปักขันทิงสุ นะเภ พะลา. ๒๑๘. ปะฐัพ๎ยาโป จะเตโช จะ วาโย เทวา มะหิทธิกา อุปะจาเรนะ นิพพัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๑๙. วะรุณา วาระณา เทวา โสโม จะ ยะสะสา สะหะ เมตตาการุณิกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๐. ปัณณาสะโยชะนายาเม วิมาเน ระตะนามะเย ฐิโต ตะเม วิหันตะวานะ สุริโย โสตถิง กะโรตุ โน. ๒๒๑. จันโท สีตะกะโร โลเก ปะภายุชชะลิโตทะโย มะหันธะการะวิทธังสิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๒๒๒. เวณฑู จะ สะหัสสี เทวา อะสะมา จะ ทุเว ยะมา จันทัสสูปะนิสา เทวา เทวาสูริยะนิสสิตา พุทธัสสะ มามะกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๓. นักขัตตานิ ปุรักขิต๎วา เทวา มันทะวะลาหะกา สักโก ปุรินทะโท เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๔. มะหันตา สะหะภู เทวา ชะละมัคคิสิขาริวะ อะริฏฐะกา จะ โรชา จะ อุมาปุปผะนิภาสิโน. ๒๒๕. วะรูณา สะหะธัมมา จะ อัจจุตา จะ อะเนชะกา สุเลยยะรุจิรา เทวา เทวา วาสะวะเนสิโน ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๖. สะมานา มะหาสะมานา มานุสา มานุสุตตะมา ขิฑฑาปะโทสิกา เทวา เทวา มะโนปะโทสิกา. ๒๒๗. อะถาปิ หะระโย เทวา เทวา โลหิตะวาสิโน ปะระคา มะหาปาระคา สัพเพ เทวา ยะสัสสิโน ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๘. สุกกา กะรุมหา อะรุณา อาคุง เวฆะนะสา สะหะ โอทาตะคัยหา ปาโมกขา อาคุง เทวา วิจักขะณา. ๒๒๙. สะทามัตตา หาระคะชา มิสสะกา จะ ยะสัสสิโน ถะยะนัง อาคะปัชชุนโน โย ทิสาสะวะภิวัสสะติ. ๒๓๐. ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา ชินะทานา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๓๑. โลกะธาตุสะหัสเสสุ ทะสะเสววะ สะมันตะโต เทวาทะโย ปาณะคะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๓๒. เขมิยา กัฏฐะกายา จะ โชตินามา มะหิทธิกา ลัมพีตะกา ลามะเสฏฐา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๓๓. ชะลัฏฐา จะ ถะลัฏฐัญเญ เทวากาสัฏฐะกาทะโย ยักขะคันธัพพะกุมภัณฑา ปิสาจา เย มะโหระคา เมตตะจิตตา จะ สัพเพ เต โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน. ๒๓๔. ตาวะติงสา จะ เย เทวา ยามา เทวา มะหิทธิกา ตุสิตา จะ มะหา เทวา นิมมานะระติโนมะรา. ๒๓๕. วะสะวัตตีสุ ระติโน สัพเพ เทวา สะวาสะวา พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. พรหม ๒๓๖. พ๎รัห๎มาโน ปาริสัชชา จะ เย จะ พ๎รัห๎มะปุโรหิตา มะหาพ๎รัห๎มา จะ สัพเพ เต ปะฐะมัชฌานะสัณฐิโน. ๒๓๗. เมตตาวิหาริโน สันตา สัมพุทธัสสะ ปะรายะนา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง เสกขาเสกขะปุถุชชะนา. ๒๓๘. ปะริตตาภัปปะมาณาภา พ๎รัห๎มา จาภัสสะรา ตะถา พุทธะปูชายะ นิระตา ทุติยัชฌานะสัณฐิโน. ๒๓๙. เมตตาการุณิกา สัพเพ สัพพะสัตตะหิเตสิโน กะโรนตุ โน มะหาสันติง โสตถิมาโรค๎ยะมายุวัง. ๒๔๐. ปะริตตะสุภาพ๎รัห๎มาโน อัปปะมาณะสุภา จะ เย สุภะกิณหา จะ พ๎รัห๎มาโน ตะติยัชฌานะสัณฐิโน. ๒๔๑. ปะภายะ ผะระณา โลเก พุทธะฌานะระตา สะทา อะหิงสา สัพพะสัตเตสุ สะทา สันติง กะโรนตุ โน. ๒๔๒. เวหัปผะลาปิ พ๎รัห๎มาโน จะตุถถัชฌานะสัณฐิโน เสกขะปุถุชชะนาเสกขา สะทา สันติง กะโรนตุ โน. ๒๔๓. สัมปัตติยา นะ หายันติ พ๎รัห๎มาโน ชินะสาวะกา อะวิหานามะกา สัพเพ สะทา สันติง กะโรนตุ โน. ๒๔๔. อะตัปปา นามะ พ๎รัห๎มาโน จะตุถถัชฌานะสัณฐิโน พ๎รัห๎มะวิหาริกา สัพเพ โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน. ๒๔๕. สุทัสสา นามะ พ๎รัห๎มาโน ภิรูปา ฌานะโภคิโน อะปุนาคะมะนา กาเม สันติง ผาสุง กะโรนตุ โน. ๒๔๖. พ๎รัห๎มะวิหาระสัมปันนา ชินะภัตติปะรายะนา พ๎รัห๎มาโน สุทัสสี นามะ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๔๗. อะกะนิฏฐา จะ พ๎ร้ห๎มาโน เชฏฐา สัพพะคุเณหิ จะ ปะหีนะภะวะนิเสนหา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๔๘. ปะฐะมารูปะพ๎รัห๎มาโน สัพพะรูปะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๔๙. ทุติยารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๕๐. ตะติยารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๕๑. จะตุตถารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. บุคคลประเภทรวม ๒๕๒. เวเทเหปะระโคยาเน ชัมพูทีเป กุรุมหิ จะ เทวะยักขะปิสาเจหิ สัทธิง วิชชาธะราทะโย. ๒๕๓. อากาสัฏฐา จะ พ๎รัห๎มาโน ชะลัฏฐา จันตะลิกขะชา ทะวิปะทาทะโย เย สัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๕๔. มาระเสนะวิฆาตัสสะ ชินัสสะ สุขะฌายิโน เตโชพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๕. นานาคุณะวิจิตตัสสะ รูปะกายัสสะ สัตถุ โน สัพพะเทวะมะนุสสานัง มาระพันธะวิโมจิโน เมตตาพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๖. สัพพัยญุตาทิกายัสสะ ธัมมะกายัสสะ สัตถุโน จักขาทะยะโคจะรัสสาปิ โคจะรัสเสวะ ภูริยา เตโชพะเลนะ มะหะตา สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๗. รูปะกายะสะทิสัสสะ นิมมิตัสสะ มะเหสิโน ธัมมัสสะ วัตตุโน สัคเค เทวานัง สุคะตา ปะติ เตโชพะเลนะ มะหาตา สะทา มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๘. สิกขิต๎วา มานุเส เทเว โมจะวิต๎วา สะเทวะเก สังขาเร ปะชะหันตัสสะ นิพพุตัสสะ มะเหสิโน มหันเตนานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๙. จะตุราสีติสะหัสสะ ธัมมักขันธัสสะ เตชะสา นะวังคะสาสะนัสสาปิ นะวะโลกุตตะรัสสะ จะ สัพพะปาปะปะวาเหนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๖๐. มะหะโตริยะสังฆัสสะ ปัญญักเขตตัสสะ ตาทิโน ปะหีนะสัพพะปาปัสสะ สีลาทิกขันธะธาริโณ มะหาเตชานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๖๑. ปาตาเล ภูตะลากาเส เทวะยักขะปิสาจะกา วิชชาธะรา จะ คันธัพพา นาคะกุมภัณฑะรักขะสา สัพเพสะมานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. อานุภาพของอุปปาตะสันติ ๒๖๒. อิจเจวะมุปปาตะสันติง โย วะเทยยะ สุเณยยะ วา วิเชยยะ สัพพะปาปานิ วุทธัตตัญจะ ภะวิสสะติ. ๒๖๓. โสตถิกาโม ละเภ โสตถิง สุขะกาโม สุขังละเภ อายุกาโม ละเภยยายุง ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง. ๒๖๔. นะ ตัสสะ โรคา พาเธนติ วาตะปิตตาทิสัมภะวะ อะกาละมะระณัง นัตถิ นะ เทโว วิสะโมสะเร. ๒๖๕. นะ จุปปาตะภะตัง ตัสสะ ดนปี ปัตตะภะยัง ตะถา นัสสันติ ทุนนิมิตตานิ ปาปะกัมมัฏฐิตานิ จะ ทีฆะมายุ มะหาโสตถิง อาโรค๎ยัญจะ สะทา ภะเว. ๒๖๖. โย สุต๎วาปิ มะหาสันติง สังคามัง ปะวิเส นะโร วิชะเย เวริโน สัพเพ นะ สัตเถหะยะภิภูยะเต. ๒๖๗. สัพพะทา ละภะเต ปิติง นะวิปัตติง นาวะคาหะติ โรเคหิ นาภิภูยะเต สะวัตถูหิ วิวัฑฒะเต. ๒๖๘. ยัต๎ระ เทเส วะโกวะกา พาฬหะกา รักขะสาทะโย อุปปาตะสันติโฆเสนะ สัพเพ ตัตถะ สะมันติ เต. ๒๖๙. ยะมุททิสสะ วะเท สันติง สะชีวัญจาปะยะชีวิตัง โส มุจจะเต มะหาทุกขา ปัปโปติ สุคะติง สะทา. ๒๗๐. เทวัฏฐาเน นาคะเร วา นิจจะมุปปาตะสันติยา ปาละกา เทวะราชาโน เตชะสิรีวิวัฑฒะนา. ๒๗๑. ปะถะพะยาปาทิสัญชาตา อุปปาตา จันตะลิกขะชา อินทาทิชะนิตุปปาตา ปาปะกัมมะสะมุฏฐิตา สัพพุปปาตา วินัสสันติ เตชะสุปปาตะสันติ. อุปปาตะสันติ นิฏฐิตาฯ จบอุปปาตะสันติ มนต์สำหรับระงับเหตุร้ายทั้งปวง

หลวงพ่อธัมมานันทะสวดอุปปาตะสันติอุปปาตะสันติ บทสวดสงบเหตุร้าย นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (สามจบ) (นำ) หันทะ มะยัง อุปปาตะสันติ คาถาโย ภะณา มะเส ฯ คันถารัมภะ คำเริ่มต้นคัมภีร์ (ก) สุทุททะโส อะยัง ธัมโม โลกัตถัง ชินะเทสิโต มหาสันติกะโร โลเก สัพพะสัมปัตติทายะโก. (ข) สัพพุปะปาตูสะมะโณ ภูตะยักขะนิวาระโณ อะกาละมัจจุสะมะโณ โสกะโรคะวินาสะโน. (ค) ปะระจักกะมัททะโนปิ รัญโญ วิชะยะวัฑฒะโน สัพพานิฏฐะหะโร สันติ ธัมมัง วักขามิ ภูตะโต. (ฆ) วัตถุตตะยัสสะ โย ยัตถะ สังวัณเณติ คุณุตตะเม ตัสสะ ตัตถะ สุขาโรค๎ยะ โสตถิโย โหนติสัพพะทา. พระพุทธเจ้าในอดีต ๒๘ พระองค์ ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์ ๑. ตัณหังกะโร มหาวีโร สัพพะโลกานุกัมปะโก วันตะสังสาระคะมะโน สัพพะกามะทะโท สะทา. ๒. สัพพาภิภู สัพพะวิทู สัพพะเทวะคะรุตตะโม สัพพาสะวะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๓. วะระลักขะณะสัมปันโน เมธังกะโร มหามุนิ ชุตินธะโร มหาสิรี สุวัณณะคิริสันนิโภ. ๔. ทิพพะรูโป มหากาโย มะหานาโถ มะหัพพะโล มะหาการุณิโก สัตถา มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๕. มหาโมหะตะมัง หันตะวา โย นา โถ สะระณังกะโร เทวาเทวะมะนุสสานัง โลกานัญจะ หิตังกะโร. ๖. พ๎ยามัปปะภาภิรุจิโต นิโครธะปะริมัณฑะโล นิโครธะปักกะพิมโพฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗. อะสีติระตะนุพเพโธ ทีปังกะโร มะหามุนิ ปภา นิททาวะเต ตัสสะ ฐาเน ทะวาทะสะ โยชะเน. ๘. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัตตะวา โลเก วินายะโก โลกาโลกะกะโร สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในสารกัป ๑ พระองค์ ๙. อัฏฐาสีติหัตถุพเพโธ โกณทัญโญ นามะ นายะโก สัพพะธัมเมหิ อะสะโม สัพพะปาระมิตาคะโม. ๑๐. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มเหสิโน โมเจตุ โส สัพพะภะยา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์ ๑๑. อัฏฐาสีติ ระตะนานิ อัจจุคคะโต ชุตินธะโร มังคะโล นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก. ๑๒. ฉัพพัณณะรังสิโย ทะสะ สะหัสสะโลกะธาตุยา ผะรันตา ตัสสะ ฉาเทนติ เอสะ โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓. นะวุติระตะนุพเพโธ สุมะโน นามะ นายะโก กัญจะนาจะละสังกาโส นะวุติสะหัสสายุโก. ๑๔. อุเปโต พุทธะคุเณหิ สัพพะสัตตะหิเตสะโก กะโรตุ โน มหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา. ๑๕. อะสีติระตะนุพเพโธ สัฏฐีสะหัสสะอายุโก เรวะโต นามะ สัมพุทโธ สัพพะโลกุตตะโร มุนิ. ๑๖. ตัสสะ สะรีเร นิพพัตตา ปะภามาลา อะนุตตะรา ผะรันตา โยชะเน นิจจัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗. โสภิโต นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก สังสาระ สาคะเร สัตเต พะหู โมเจติ ทุกขะโต. ๑๘. อัฏฐะปัญญาสะระตะนัง อัจจุคคะโต มะหามุนิ โอภาเสติ ทิสา สัพพา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในวรกัป ๓ พระองค์ ๑๙. อะโนมะทัสสี สัมพุทโธ เตชัสสี ทุระติกกะโม อัฏฐะปัญญาสะระตะโน โอภาเสนโต สะเทวะเก. ๒๐. นิพพานะปาปะโก โลเก วัสสะสะตะสหัสสายุโก กะโรตุ โน มหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา. ๒๑. ปะทุโม นามะ สัมพุทโธ โลกะเชฏโฐ นะราสะโภ อัฏฐะปัญญาสะระตะโน อาทิจโจวะ วิโรจะติ. ๒๒. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มเหสิโน โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๒๓. อัฏฐาสีติระตะนุพเพโธ นาระโท สัพพะกามะโท นิรันตะรัง ทิวารัตติง โยชะนัง ผะระเต ปะภา. ๒๔. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก วินายะโก โมเจติ ทุกขะโต สัตเต โสปิ โสตถิง กะโรตุ โน. ในวรกัป ๓ พระองค์ ๒๕. อัฏฐะปัญญาสะระตะโน ปะทุมุตตะโร มหามุนิ ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ ท๎วาทะสะ โยชะเน. ๒๖. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเกมะตันทะโท โมเจติ พันธะนา สัตเต โสปิ ปาเลตุ โน สะทา. ๒๗. อัฏฐาสีติระตะนานิ อัจจุคคะโต มหามุนิ สุเมโธ นามะ สัมพุทโธ นะวุติสะหัสสายุโก. ๒๘. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา ปาเลตุ โน สะทา พุทโธ ภะเยหิ วิวิเธหิ จะ. ๒๙. ปัญญาสะระตะนุพเพโธ สุชาโต นามะ นายะโก เหมะวัณโณ มะหาวีโร มะหาตะมะวิโนทะโน. ๓๐. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน โสปิ พุทโธ การุณิโก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในวรกัป ๓ พระองค์ ๓๑. อะสีติระตะนุพเพโธ ปิยะทัสสี มหามุนิ นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลกัคคะนายะโก. ๓๒. โสปิ สัพพะคุณูเปโต สัพพะโลกะสุขัปปะโท สัพพะโทสัง วินาเสนโต สะพัง โสตถิง กะโรตุ โน. ๓๓. อะสีติระตะนุพเพโธ อัตถะทัสสี นะราสะโภ วัสสะสะตะสะหัสสานิ โลเก อัฏฐาสิ นายะโก. ๓๔. ตัสสะ ปากะติกา รังสี ผะรันติ โยชะนัง สะทา นิรันตะรัง ทิวารัตติง นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน. ๓๕. ธัมมะทัสสี จะ สัมพุทโธ อะสีติหัตถะมุคคะโต อะติโรจะติ เตเชนะ สะเทวาสุระมานุเส. ๓๖. วัสสะสะตะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก มะหายะโส สัพพะสัตเต ปะโมเจติ ภะยา รักขะตุ โน สะทา. ในสารมัณฑกัป ๔ พระองค์ ๓๗. สิทธัตโถ นามะ สัมพุทโธ สัฏฐิระตะนะมุคคะโต ติภะเว โสตถิชะนะโก สะติสสะหัสสะอายุโก. ๓๘. สังสาระสาคะรา โลเก สันตาเรต๎วา สะเทวะเก นิพพาเปติ จะ โส สัตถา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๓๙. สัฏฐิระตะนะมุพเพโธ ติสโส โลกัคคะนายะโก อะนูปะโม อะสะทิโส อะตุโล อุตตะโม ชิโน. ๔๐. วัสสะสะตะสะหัสสานิ อายุ ตัสสะมะเหสิโน อาโรค๎ยัญจะ มหาลุขัง โหตุ โน ตัสสะ เตชะสา. ๔๑. อัฏฐะปัญญาสะระตะโน ผุสโส โลกัคคะนายะโก ชะนัมพุชัง วิโพเธนโต นิพพาเปนโต สะเทวะเก ๔๒. นะวุติวัสสะสะหัสสานิ ฐัต๎วา โลเก มะหายะโส อุทธะรันโต พะหู สัตเต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๔๓. อะสีติระตะนุพเพโธ วิปัสสี โลกะนายะโก ปะภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา สัตตะ โยชะเน. ๔๔. โสปิ เทวะมะนุสสานัง พันธะนา ปะริโมจะยิ อะสีติสะหัสสายุโก นาโถ โสตถิง กะโรตุ โน. ในมัณฑกัป ๒ พระองค์ ๔๕. สัตตะตีหัตถะมุพเพโธ สิขี นาเมสะ นายะโก ปภา นิทธาวะเต ตัสสะ สะมันตา โยชะนัตตะเย. ๔๖. โสปิ อะตุล๎โย สัมพุทโธ สัตตะตีสะหัสสายุโก กะโรตุ โน มะหาสันติง สุขิตา จะ มะยัง สะทา. ๔๗. เวสสะภู นามะ สัมพุทโธ เหมะรูปะสะมูปะโม สัฏฐีิระตะนะมุพเพโธ สัฏฐี จะ สะหัสสายุโก. ๔๘. พ๎รัห๎มะเทวะมะนุสเสหิ นาคาสุระทิเชหิ วา ปูชิโตปิ สะทา นาโถ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ในภัททกัป ๔ พระองค์ ๔๙. ตาฬีสะระตะนุพเพโธ กะกุสันโธ มหามุนิ ตัสสะ กายา นิจฉะรันติ ปะภา ท๎วาทะสะ โยชะนา. ๕๐. จัตตาลฬีสะ สะหัสสานิ ตัสสะ อายุ อะนุตตะโร กะโรตุ โส สะทา นาโถ อายุ สุขัง พะลัญจะ โน. ๕๑. โกนาคะมะนะ สัมพุทโธ ติงสะหัตถะ สะมุคคะโต ติงสะวัสสะ สะหัสสานิ อายุ ตัสสะ มะเหสิโน. ๕๒. ธัมมามะเตนะ ตัปเปตา เทวะสังฆัง สุราละเย มะหีตะเล จะ ชะนะตัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๕๓. กัสสะโป นามะ สัมพุทโธ ธัมมะราชา ปะภังกะโร วีสะตีหัตถะมุพเพโธ วีสะสะหัสสะอายุโก. ๕๔. อะนูปะโมสะมะสะโม เทวะสัตถา อะนุตตะโร กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรค๎ยัญจะ ชะยัง สะทา. ๕๕. อัฏฐาระสะหัตถะถุพเพโธ โคตะโม สักกะยะวัฑฒะโน สัพพัญญู สัพพะติละโก สัพพะโลกะสุขัปปะโท. ๕๖. สัมพุทโธ สัพพะธัมมานัง ภะเคหิ ภาค๎ยะวายุโก วิชชาจะระณะสัมปันโน โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๕๗. อัพภะตีตา จะ สัมพุทธา อะเนกะสะตะโกฏิโย สัพพะโลกะมะภิญญายะ สัพพะสัตตานุกัมปิโน. ๕๘. สัพพะเวระภะยาตีตา สัพพะโลกะสุขัปปะทา สัพพะโทสัง วินาเสนตา สัพพะโสตถิง กะโรนตุ โน. พระพุทธเจ้าในอนาคต ๑ พระองค์ ๕๙. อะนาคะเต จะ สัมพุทโธ เมตเตยโย เทวะปูชิโต มะหิทธิโก มหาเทโว มะหาสันติง กะโรตุ โน. พระปัจเจกพุทธเจ้า ๖๐. สัพเพ ปัจเจกะสัมพุทธา นิโรธะฌานะโกวิทา นิราละยา นิราสังกา อัปปะเมยยา มเหสะโย. ๖๑. ทูเรปิ วิเนยเย ทิส๎วา สัมปัตตา ตังขะเณนะ เต สันทิฏฐิกะผะเล กัต๎วา สะทา สันติง กะโรนตุ โน. นวโลกุตตรธรรม ๙ และพระปริยัติธรรม ๑ ๖๒. ส๎วากขาตะตาทิสัมปันโน ธัมโม สะปะริยัตติโก สังสาระ สาคะรา โลเก ตาเรติ ชินะโคจะโร. ๖๓. กิเลสะชาละวิทธังสี วิสุทโธ พุทธะเสวิโต นิพพานะคะมะโน สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. พระสังฆรัตนะ ๖๔. สีลาทิคุณะสัมปันโน สังโฆ มัคคะผะเล ฐิโต ชิตินท๎ริโย ชิตะปาโป ทักขิเนยโย อะนุตตะโร. ๖๕. อะนาสะโว ปะริสุทโธ นิราสาโส ภะวาภะเว นิพพานะโคจะโร สันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. พระเถระชั้นผู้ใหญ่ ๑๐๘ รูป ๖๖. อัญญาตะโกญทัญญัตเถโร รัตตัญญูณังอัคโค อะหุ ธัมมะจักกาภิสะมะโย สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๖๗. วัปปัตเถโร มะหาปัญโญ มะหาตะมะวิโนทะโน มะหาสันติกะโร โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๖๘. ภัททิโย ภัททะสีโล จะ ทักขิเนยโย อะนุตตะโร โลกัตถะจะริโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๖๙. มะหานาโม มหาปัญโญ มะหาธัมมะวิทู สุโต มะหาขีณาสะโว เถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๗๐. อัสสะชิตะเถโร มหาปัญโญ ชิตะมาโร ชิตินท๎ริโย ชิตะปัจจัตถิโก โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๑. อะนุปุพพิกะถัง สุต๎วา ยะโส เอกัคคะมานะโส อัคคะธัมมะมะนุปปัตโต โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๗๒. จัต๎วาธิกา จะ ปัญญาสะ เถรา คิหิสะหายะกา ปัต๎วานะ ปะระมัง สันติง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๓. เย ติงสะ ภัททะวัคคิยา รูเปนาตุละวัณณิโน ขีณาสะวา วะสีภูตา เต กะโรนตุ อะนามะยัง. ๗๔. อุรุเวลละกัสสะโปปิ มะหาปะริสานะมุตตะโม ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๕. โย นะทีกัสสะปัตเถโร ปุญญักเขตโต อะนุตตะโร สาสังโฆ สีละสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๖. ธัมมะปัชชะลิโต สันโต โย เถโร คะยากัสสะโป สังยุตโต ภะวะนิเสนโห สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๗. โลกะนาถัง ฐะเปต๎วานะ ปัญญะวันตานะ ปาณินัง ปัญญายะ สารีปุตตัสสะ กะลัง นาคฆะติ โสฬะสิง. ๗๘. สาริปุตโต มะหาปัญโญ ปะฐะโม อัคคะสาวะโก ธัมมะเสนาปะติ เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๗๙. ปาทังคุลิกะมัตเตนะ เวชะยันตะปะกัมปะโน ปะถะวิง มะหะติง สัพพัง สะมัตโถ ปะริวัตติตุง. ๘๐. โมคคัลลาโน มะหาเถโร ทุติโย อัคคะสาวะโก อิทธิมันตานัง โส อัคโค สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๑. มะหากัสสะปัตเถโรปิ อุตตัตตะกะนะกะสันนิโภ ธุตะคุณัค คะ นิกขิตโต ตะติโย สัตถุสาวะโก ๘๒. อะรัญญะวาสาภิระโต ปังสุกูละธะโรมุนิ สุคะตะสาสะนะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๓. อาปัตติอะนาปัตติยา สเตกิจฉายะ โกวิโท วินะเย อัคคะนิกขิตโต อุปาลิ สัตถุวัณณิโต. ๘๔. วินะเย ปาระมิปปัตโต วินะยัคโคจะโร มุนิ กะโรตุ โน มหาสันติง โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๘๕. อะนุรุทธะ มะหาเถโร ทิพพะจักขู นะมุตตะโม ญาติเสฏโฐ ภะคะวะโต โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๘๖. อุจจากุลิกานัง อัคโค ภัททิโย สุสะมาหิโต กาฬิโคธายะ ปุตโต จะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๗. อานันโท พุทธุปัฏฐาโก สังคีติสาธุสัมมะโต พะหุสสุโต ธัมมะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๘๘. กิมพิโล สิริสัมปันโน มะหาสุขะสะมัปปิโต มะหาขีณาสะโว ชาโต มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๘๙. คะรุวาสัง วะสิต๎วานะ ปะสันโน พุทธะสาสะเน ภะคุ จะระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๐. กุลัปปะสาทะชะนะโก กาฬุทายี มะหิทธิโก เอตะทัคคัฏฐิโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๑. เสฏโฐ ธัมมะกะถิกานัง ติณณัง เวทานะ ปาระคู ปุณโณ มันตานิยา ปุตโต เถโร โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๒. ภาระท๎วาโช มะหาเถโร สีหะนาทานะมุตตะโม ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๓. สังขิตตะ ภาสิตะมัตถัง วิตถาเรนะ วิชานะโก กัจจายะโน ภะวะนิเสนโห เถโร โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๔. ละกุณฏะกะภัททิโย เถโร มัญชุสสะรานะ มุตตะโม ฐะปิโต อัคคะฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๕. อะระณะวิหารีณัง อัคโค ทักขิเนยโย อะนุตตะโร สุภูติ ภูตะทะมะโน เถโร โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๖. อะรัญญะวาสีนัง อัคโค เรวะโต ขะทิระวะนิโย วิเวกาภิระโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๗. ณายีนัง อุตตะโม เถโร กังขาเรวะตะนามะโก สะมาธิฌานะกุสะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๙๘. โสโณ จะ โกฬิวีโสปิ อารัทธะวีริยานะ มุตตะโม ปะหิตัตโต สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๙๙. กัลยาณะวากกะระณานัง โสโณ กุฏิกัณโณปิ จะ อัคโคติ วัณณิโต เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๑๐๐. ลาภีนะมุตตะโม เถโร สีวะลิ อิติ วิสุโต โส ระโต ปัจจะยาทิมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๑. สัทธาธิมุตตานัง อัคโค วักกะลิ อิติ นามะโก ปาโมชชะพะหุโล เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๒. ราหุโล พุทธะปุตโตปิ สิกขากามานะ มุตตะโม ทายาโท สัพพะธัมเมสุ มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๐๓. สัทธายะ ปัพพะชิต๎วานะ รัฏฐะปาโล ปะรักกะมี เอตะทัคเค ฐิโตเยวะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๔. กุณฑะธาโน มะหาเถโร สะลากัง ปะฐะมัง คะโต ฐะปิโตเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๕. ปะฏิภานะวันตานัมปิ อัคโคติ พุทธะวัณณิโต วังคีโส อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๖. สะมันตะปาสาทิกานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต อุปะเสโน วังคันตะปุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๗. ทัพโพ มัลละปุตโต เถโร เสนาสะนะปัญญาปะโก ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๐๘. ปิลินทะวัจฉะสะมะโณ เทวะตานัง ปิโย อะหุ ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๑๐๙. พาหิโย ทารุจีริโย ขิปปาภิญญานะ มุตตะโม กะโรตุ โน มะหาสันติง อาโรค๎ยัญจะ ชะยัง สะทา. ๑๑๐. กุมาระกัสสะปัตเถโร จิตตะกะถีนะ มุตตะโม มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๑. ปฏิสัมภิทาปัตตานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต โกฏฐิโต อะระหา เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๒. อัปปาพาโธ มะหาเถโร อัปปาพาธานะ มุตตะโม พากุโล อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๓. ปุพเพนิวาสะเวทีนัง อัคโคติ พุทธะวัณณิโต โสภิโต นามะโส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๔. มหากัปปินัตเถโรปิ ภิกขุโอวาทะโก อะหุ กุสะโล โอวาททะทาเน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๕. ภิกขุโนวาทะกานัค โค นันทะโก อิติ วิสสุโต ปาเลตุ โน สะทา เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๑๑๖. อินท๎ริเยสุ คุตตะท๎วาโร อัคคัฏฐาเน ฐิโต อะหุ นันทัตเถโร วะสิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๑๗. เตโชธาตุกุสะลานัง อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต สาคะโต นามะ โส เถโร โสตถิง ผาสุง กะโรตุ โน. ๑๑๘. สัญญาวิวัฏฏะกุสะโล ปะธาโน ภาวะนาระโต พุทธะสิสโส มหาปันโถ มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๑๙. จูฬะปันถะกัตเถโรปิ มะโนมะยาภินิมมิโต ฐะปิโต อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๐. ปฏิภาเนยยะกานัง ตุ อัคคัฏฐานัมหิ ฐะปิโต ราโธ เถโร มหาโสตถิง กะโรตุ โน อะนามะยัง. ๑๒๑. ลูขะจีวะระธะรานัง ภิกขูนัง อุตตะโม อะหุ โมฆะราชะมะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๒. วิมะโล วิมะสัปปัญโญ สุรูโป สุสะมาหิโต ระโช นะ ลิมปะติ ขันเธ มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๓. ธัมมะปาโล มะหาปาโล มะหาธัมมะธะโร ยะติ มะหาขีณาสะโว โลเก มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๔. จักขุปาโล มะหาเถโร ปะธาโน สีละสังวุโต ปะหิตัตโต มะหากาโย มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๒๕. สัพพะเวระภะยาตีโต นาระโท อาสะวักขะโย มหาสันติกะโร โลเก สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๖. พุทธะปูชายะ นิระโต ชินะภัตติปะรายะโน สัทธัมมะสะวะโน เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๗. ปัจฉิมะภะวะสัมปัตโต โคตะโม ภาวะนาระโต ราคักขะยะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๘. เสนาสะเนสุ สัปปายัง สัทธา ฌานัง สะมาระภิ โคธิโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๒๙. พุทเธ ปะสันนะมานะโส สุพาหุ ปัญชะลีกะโต ขีณาสะโว วะสีภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๓๐. วิปัสสะนายะ ปะสุโต วัลลิโย สุสะมาหิโต สะโต ณายี วะเนวาสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๑. อุตติโย วินะยะธะโร อะติกกันโต นะรามะเร ธาเรณโต อันติมัง เทหัง สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๒. วิมะโล วิระโชชัลโล ชาโต ปัญฑะระเกตุนา พิมพิสารัทธะโช เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๓. รัมมารัญเญ วะสีต๎วานะ ภาเวนโต กุสะลัง พะหุง โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะภิโย สันติง กะโรตุ โน. ๑๓๔. ปุพเพนิวาสัง ชานันโต ทิพพะจักขุ วิโสธะโน นาคีโตระหะติง ปัตโต โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๑๓๕. ปาติโมกขะมะนุปปัตโต วิชะโย รัญญะโคจะโร ลาภาลาภี ตะถาสังสี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๖. ตัณหาชะฏัง วิชะเฏต๎วา วัฑเฒต๎วานะ วิปัสสะนัง สังฆรักขิโต มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๓๗. อะรัญญะวาสาภิระโต ภะวะเนตติสะมูหะโต ธัมมานัง ปาระมิปปัตโต อุตตะโร ปาตุ โน ภะยา. ๑๓๘. ปุพเพ ปุญญานิ กัต๎วานะ ปุพพะโยคัง สะมาระภิ อุสสะโภ ระหะตัง ปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๓๙. สะมาปัตติ สะมาปันโน ฉะฬะภิญโญ มหิทธิโก สิวะโก พุทธะฌายันโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๐. สัตตาริยะธะโน เถโร ธะนิโย ธัมมะสาคะโร วันตะสังสาระคะมะโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๑. ปัญจักขันเธ ปะริญญายะ ภาวะยิต๎วานะ นิพพุตัง ปัต๎วานะ ปะระมัง สันติง โปสิโย ปาตุ โน ภะยา ๑๔๒. อุปะนิสสะยะสัมปันโน อุชชะโย พุทธะมามะโก โลกัตถะปะสุโต เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๓. พุทธัปปะสาทะสัมปันโน ปัพพะชิ ชินะสาสะเน สัญชะโย นามะ โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๔. มารัญชะโย มะหาเถโร รามะเณยโย มะหิทธิโก นิพพานะนินนะจิตโต โส สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๕. อุโภ ปาปัญจะ ปุญญัญจะ วีติวัตโต อะนาสะโว วีรัตเถโร ระหัปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๖. ปุณณะมาสะมะหาเถโร ปังสุกูละธะโร ยะติ ปุพพะกิจจะวิธิง กัต๎วา มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๔๗. ปัญจะฉินโน ปัญจะชะโห ปัญจะ จุตตะริภาวะโน. ปัญจะสังคาติโค เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๘. ปุพเพ ราคัง วิจาเรนโต ชินะภัตติปะรายะโน เพลัฏฐะสีโส วังสะธะโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๔๙. ปัญจุปันนานิ อะภะโย นิกันติ นัตถิ ชีวิเต อะชิโต โส มะหาเถโร มหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๐. วิวัฏฏะนิสสะเย ปุญเญ กัต๎วา สัมพุทธะภัตติมา กุลลัตเถโร ระหัปปัตโต มหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๑. วิปัสสี ธัมมะทายาโท เถโร นิโค๎รธะนามะโก นิพพานาคะมะสันทิฏโฐ สะทา สันติง กะโรตุ โน. ๑๕๒. ติสโส วิชชา อะนุปปัตโต สุคันโธ นามะ โส ระโห สัพพะปาปะปะริกขีโณ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๓. นันทิโย สัทธาสัมปันโน ชิตะเกลโส มะหาเถโร อะภิญญา ปาระมิปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๔. กิเลสา ฌาปิตา เยนะ ชิตะธัมมะระเตนะ โส กัมมาระปุตตะวิมะโล สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๕. เทวะโลกะมะนุสเสสุ อะนุภุต๎วา วิภูติโย ติสสัตเถโร มะหาภูโต มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๖. สุวิมุตโต มะหานาโค ตีหิ วังเกหิ มุตตะโก สุมังคะโล มะหาเถโร มะหาสันติง กะโรตุ โน. ๑๕๗. นิรัคคะโฬ นิราสาโส มะละขีละวิโสธะโน วิเวกาภิระโต คุตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๘. ปะวิเวกะมะนุปปัตโต คิริมานันทะนามะโก ภาเวนโต กุสะเล ธัมเม สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๕๙. พุทธะสาสะนะมารัทโธ สะมิทธิ ภาวะนาระโต สะมิทธิคุณะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๐. อาราธิตะชิโน สันโต โชติตเถโร มหาระหา วิมุตโต สัพพะสังสารา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๑. เสนาสะนานิ ปันตานิ เสวันโต ฌานะมาระภิ ฉะฬะภิญโญ มะหาจุนโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๒. ฉันนัตเถโร สะหะชาโต สุณันโต ชินะสาสะนัง โยคักเขมะมะนุปปัตโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๓. เมฆิโย พุทธุปัฏฐาโก ชินะภัตติปะรายะโน มิจฉาวิตักกุปัจเฉโท สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๔. อุปะวาโณ มะหาเถโร มะหากาโย มะหาระหา มะหิทธิโก มะหาเตโช สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๕. สังกิจโจ โจระฑะมะโน สัพพะสังโยชะนักขะโย ปาเลตุ โน สัพพะภะยา โสตถ๎ยาโรค๎ยัง ทะทาตุ โน. ๑๖๖. ปัญหะพ๎ยากะระเณ เฉโก เมตตาฌานะระโต ยะติ โสปาโกปายะสัมปันโน สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๗. เขตตะสัมปัตติสัมปัตโต วัฑฒะมาโนวะ โสตถินา สุมะโน อะระหา ชาโต สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๘. ปิโย เทวะมะนุสสานัง สานุตเถโร พะหุสสุโต เมตตาฌายี ตะโมฆาตี สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๖๙. โย จะ ปุพเพ กะตัง ปาปัง กุสะ เลนะ ปะหียะติ อังคุลิมาโล โส เถโร สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๐. วิปัสสะนาธะรา เยปิ เถรา สะมะถะยานิกา ขีณาสะวา มะหาเตชา มะหาตะมะวิโนทะนา. ๑๗๑. ฌานิกาฌานิกา เยปิ ธัมมาภิสะมะยาทะโย สัพเพ โสตถิง สะทา เทนตุ ชะยะมาโรค๎ยะมายุโน พระเถรีชั้นผู้ใหญ่ ๑๓ รูป ๑๗๒. รัตตัญญูณัง ภิกขุนีนัง โคตะมี ชินะมาตุจฉา ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๓. มะหาปัญญานะมัคคัฏฐา เขมาเถรีติ ปากะฏา สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๔. เถรี อุปปะละวัณณา จะ อิทธิมันตีนะ มุตตะมา สาวิกา พุทธะเสฏฐัสสะ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๕. วินะยัทธะรีนัง อัคคา ปะฏาจาราติ วิสสุตา ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๖. ธัมมะกะถิกะปะวะรา ธัมมะทินนาติ นามิกา ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๗. ฌายิกานัง ภิกขุนีนัง นันทา เภรีติ นาเมสา อัคคัฏฐาเน ฐิตา อะหุ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๘. อารัทธะวีริยานัง อัคคา โสณาเถรีติ นามิกา ฐะปิตา ตัตถะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๗๙. ทิพพะจักขุกานัง อัคคา พะกุลา อิติ วิสสุตา วิสุทธะนะยะนา สาปิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๐. กุณฑะละเกสี ภิกขุนี ขิปปาภิญญานะมุตตะมา ฐะปิตาเยวะ ฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๑. เถรี ภัททะกาปิลานี ปุพพะชาติมะนุสสะรี ตาสังเยวะ ภิกขุนีนัง อัคคา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๒. เถรี ตุ ภัททะกัจจานา มะหาภิญญานะมุตตะมา ชิเนนะ สุขะทุกขัง สา สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๓. ลูขะจีวะระธารีนัง อัคคา กิสาปิ โคตะมี ฐะปิตา อัคคัฏฐานัมหิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๑๘๔. สิงคาละมาตา ภิกขุนี สัทธาธิมุตตานะ มุตตะมา กะโรนตุโน มะหาสันติง อาโรคะยัญจะ สุขัง สะทา. ๑๘๕. อัญญา ภิกขุนิโย สัพพา นานาคุณะธะรา พะหู ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา โสกะโรคาทิสัมภะวา. ๑๘๖. โสตาปันนาทะโย เสกขา สัทธาปัญญาสีลาทิกา ภาคะโส เกลสะทะหะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. พญานาค ๑๘๗. สุมะโน สุมะนะจะโล อะระวาเฬระปัตตะโก จัมเปยโย มุจะลินโท จะ กัมพะโล ภุชะคิสสะโร. ๑๘๘. กาละนาโค มะหากาโฬ สังขะปาโล มะโหทะโร มะณิกัณโฐ มะณิอัคขิ นันทะนาโคปะนันทะโก. ๑๘๙. วะรุโณ ธะตะรัฏโฐ จะ กุงคุวิโล ปะลาละโก จิต๎ระนาโค มะหาวีโร ฉัพ๎ยาปุตโต จะ วาสุกี. ๑๙๐. กัณหาโคตะโม ภุชะนินโท อัคคิธูมะสิโข ตะถา จูโฬทะโร อะหิจฉัตโต นาคา เอราปะถาทะโย. ๑๙๑. อาสิวิสา โฆระวิสา เย สัพเพ นะยะนาวุธา ชะลัฏฐา วะ ถะลัฏฐา วา ปัพพะ เตยยา นะทีจะรา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อายุมาโรคิยัง สะทา. เปรต ๑๙๒. นิชฌามะตัณหิกา เปตา อุสุสัตติ จะ โลมะกา มังสะปิณฑาทะโย เปตา เปตา เวมานิกาทะโย ปาเลนตุ โน สัพพะภะยา สะทา เต สุขิโน สะทา. อสูร ๑๙๓. เย ปะหาราทะสัมพะรา พะละยาสุระคะณา จะ เย เวปะจิตตาสุระคะณา จันทาสุระคะณาทะโย. ๑๙๔. สัพเพ เตปิ มหาเตชา ภูตะยักขะนิวาระณา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา. เทวดา ๑๙๕. เย ยักขา สัตตะสะหัสสา ภุมมา กาปิละวัตถุกา อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสสิโณ. ๑๙๖. สัพเพ ติสะระณา ยักขา มะเหสักขา ชุตินธะรา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง อาโรคะยัญจะ ชะยัง สะทา. ๑๙๗. ฉะสะหัสสา เหมะวะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๑๙๘. สาตาคิรา ติสะหัสสา ยักขา นีลาทิวัณณิโน นานาปะภายะ สัมปันนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๑๙๙. เวสสามิตตา ปัญจะสะตา ยักขา นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโณ โมทะมานา อะภิกกามุง สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๐. กุมภีโร ราชะคะหิโก เวปุลลัสสะนิเวสะนัง ภิยโย นัง สะตะสะหัสสัง ยักขานัง ปะยิรุปาสะติ โส ยักเขหิ ปะริวาโร สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๑. ปุริมัญจะ ทิสัง ราชา ธะตะรัฏโฐ ปะสาสะติ คันธัพพานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๒. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา โส ราชา สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๓. ทักขินัญจะ ทิสัง ราชา วิรุฬโห ตัง ปะสาสะติ กุมภัณฑานัง อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๔. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา วิรุฬโห สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๕. ปัจฉิมัญจะ ทิสัง ราชา วิรูปักโข ปะสาสะติ นาคานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๖. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา วิรูปักโข สะปุสเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๗. อุตตะรัญจะ ทิสัง ราชา กุเวโร ตัง ปะสาสะติ ยักขานัญจะ อะธิปะติ มะหาราชา ยะสัสสิ โส. ๒๐๘. ปุตตาปิ ตัสสะ พะหะโว อินทะนามา มะหัพพะลา กุเวโร สะหะ ปุตเตหิ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๐๙. ปุริมัง ทิสัง ธะตะรัฏโฐ ทักขิเณนะ วิรุฬหะโก ปัจฉิเมนะ วิรูปักโข กุเวโร อุตตะรัง ทิสัง. ๒๑๐. จัตตาโร เต มะหาราชา สะมันตา จะตุโร ทิสา ทัททัฬหะมานา อัฏฐังสุ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๑๑. เตสัง มายาวิโน ทาสา อาคุง วัญจะนิกา สะฐา มายา กุเฏณฑุ เวเฏณฑุ วิตุจจะ วิตุโฏ สะหะ. ๒๑๒. จันทะโน กามะเสฏโฐ จะ กินนุฆัณฑุ นิฆัณฑุ จะ ปะนาโท โอปะมัญโญ จะ เทวะสูโต จะ มาตะลิ. ๒๑๓. จิตตะเสโน จะ คันธัพโพ นะโฬราชา ชะโนสะโภ วะโร ปัญจะสิโข เจวะ ติมพะรู สุริยะวัจฉะสา. ๒๑๔. เอเต จัญเญ จะ ราชาโน คันธัพพา จะ มะหัพพะลา โมทะมานา สะทา โสตถิง โน กะโรณตุ อะนามะยัง. ๒๑๕. มะหันตา นาคะสา นาคา เวสาลา สะหะ ตัจฉะกา กัมพะลัสสะตะรา จาปิ เมรูปาทะสิตา พะลา. ๒๑๖. ยามุนา ธะตะรัฏฐา จะ สัพเพ นาคา ยะสัสสิโน เอราวะโณ มะหานาโค โน กะโรณตุ อานามะยัง. ๒๑๗. มะหิทธิกา สุปัณณา เย นาคะราเช มะหัพพะเล คะเหตตะวา ชินะเขตเตวะ ปักขันทิงสุ นะเภ พะลา. ๒๑๘. ปะฐัพ๎ยาโป จะเตโช จะ วาโย เทวา มะหิทธิกา อุปะจาเรนะ นิพพัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๑๙. วะรุณา วาระณา เทวา โสโม จะ ยะสะสา สะหะ เมตตาการุณิกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๐. ปัณณาสะโยชะนายาเม วิมาเน ระตะนามะเย ฐิโต ตะเม วิหันตะวานะ สุริโย โสตถิง กะโรตุ โน. ๒๒๑. จันโท สีตะกะโร โลเก ปะภายุชชะลิโตทะโย มะหันธะการะวิทธังสิ สะทา โสตถิง กะโรตุ โน. ๒๒๒. เวณฑู จะ สะหัสสี เทวา อะสะมา จะ ทุเว ยะมา จันทัสสูปะนิสา เทวา เทวาสูริยะนิสสิตา พุทธัสสะ มามะกา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๓. นักขัตตานิ ปุรักขิต๎วา เทวา มันทะวะลาหะกา สักโก ปุรินทะโท เสฏโฐ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๔. มะหันตา สะหะภู เทวา ชะละมัคคิสิขาริวะ อะริฏฐะกา จะ โรชา จะ อุมาปุปผะนิภาสิโน. ๒๒๕. วะรูณา สะหะธัมมา จะ อัจจุตา จะ อะเนชะกา สุเลยยะรุจิรา เทวา เทวา วาสะวะเนสิโน ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๖. สะมานา มะหาสะมานา มานุสา มานุสุตตะมา ขิฑฑาปะโทสิกา เทวา เทวา มะโนปะโทสิกา. ๒๒๗. อะถาปิ หะระโย เทวา เทวา โลหิตะวาสิโน ปะระคา มะหาปาระคา สัพเพ เทวา ยะสัสสิโน ทะเสเต ทะสะธา กายา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๒๘. สุกกา กะรุมหา อะรุณา อาคุง เวฆะนะสา สะหะ โอทาตะคัยหา ปาโมกขา อาคุง เทวา วิจักขะณา. ๒๒๙. สะทามัตตา หาระคะชา มิสสะกา จะ ยะสัสสิโน ถะยะนัง อาคะปัชชุนโน โย ทิสาสะวะภิวัสสะติ. ๒๓๐. ทะเสเต ทะสะธา กายา สัพเพ นานัตตะวัณณิโน อิทธิมันโต ชุติมันโต วัณณะวันโต ยะสัสสิโน โมทะมานา ชินะทานา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๓๑. โลกะธาตุสะหัสเสสุ ทะสะเสววะ สะมันตะโต เทวาทะโย ปาณะคะนา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๓๒. เขมิยา กัฏฐะกายา จะ โชตินามา มะหิทธิกา ลัมพีตะกา ลามะเสฏฐา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๓๓. ชะลัฏฐา จะ ถะลัฏฐัญเญ เทวากาสัฏฐะกาทะโย ยักขะคันธัพพะกุมภัณฑา ปิสาจา เย มะโหระคา เมตตะจิตตา จะ สัพเพ เต โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน. ๒๓๔. ตาวะติงสา จะ เย เทวา ยามา เทวา มะหิทธิกา ตุสิตา จะ มะหา เทวา นิมมานะระติโนมะรา. ๒๓๕. วะสะวัตตีสุ ระติโน สัพเพ เทวา สะวาสะวา พุทธะปูชายะ นิระตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. พรหม ๒๓๖. พ๎รัห๎มาโน ปาริสัชชา จะ เย จะ พ๎รัห๎มะปุโรหิตา มะหาพ๎รัห๎มา จะ สัพเพ เต ปะฐะมัชฌานะสัณฐิโน. ๒๓๗. เมตตาวิหาริโน สันตา สัมพุทธัสสะ ปะรายะนา กะโรนตุ โน มะหาโสตถิง เสกขาเสกขะปุถุชชะนา. ๒๓๘. ปะริตตาภัปปะมาณาภา พ๎รัห๎มา จาภัสสะรา ตะถา พุทธะปูชายะ นิระตา ทุติยัชฌานะสัณฐิโน. ๒๓๙. เมตตาการุณิกา สัพเพ สัพพะสัตตะหิเตสิโน กะโรนตุ โน มะหาสันติง โสตถิมาโรค๎ยะมายุวัง. ๒๔๐. ปะริตตะสุภาพ๎รัห๎มาโน อัปปะมาณะสุภา จะ เย สุภะกิณหา จะ พ๎รัห๎มาโน ตะติยัชฌานะสัณฐิโน. ๒๔๑. ปะภายะ ผะระณา โลเก พุทธะฌานะระตา สะทา อะหิงสา สัพพะสัตเตสุ สะทา สันติง กะโรนตุ โน. ๒๔๒. เวหัปผะลาปิ พ๎รัห๎มาโน จะตุถถัชฌานะสัณฐิโน เสกขะปุถุชชะนาเสกขา สะทา สันติง กะโรนตุ โน. ๒๔๓. สัมปัตติยา นะ หายันติ พ๎รัห๎มาโน ชินะสาวะกา อะวิหานามะกา สัพเพ สะทา สันติง กะโรนตุ โน. ๒๔๔. อะตัปปา นามะ พ๎รัห๎มาโน จะตุถถัชฌานะสัณฐิโน พ๎รัห๎มะวิหาริกา สัพเพ โสตถิง ผาสุง กะโรนตุ โน. ๒๔๕. สุทัสสา นามะ พ๎รัห๎มาโน ภิรูปา ฌานะโภคิโน อะปุนาคะมะนา กาเม สันติง ผาสุง กะโรนตุ โน. ๒๔๖. พ๎รัห๎มะวิหาระสัมปันนา ชินะภัตติปะรายะนา พ๎รัห๎มาโน สุทัสสี นามะ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๔๗. อะกะนิฏฐา จะ พ๎ร้ห๎มาโน เชฏฐา สัพพะคุเณหิ จะ ปะหีนะภะวะนิเสนหา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๔๘. ปะฐะมารูปะพ๎รัห๎มาโน สัพพะรูปะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๔๙. ทุติยารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๕๐. ตะติยารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๕๑. จะตุตถารูปะพ๎รัห๎มาโน เหฏฐาฌานะวิราคิโน ชินะภัตติระตา สัพเพ สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. บุคคลประเภทรวม ๒๕๒. เวเทเหปะระโคยาเน ชัมพูทีเป กุรุมหิ จะ เทวะยักขะปิสาเจหิ สัทธิง วิชชาธะราทะโย. ๒๕๓. อากาสัฏฐา จะ พ๎รัห๎มาโน ชะลัฏฐา จันตะลิกขะชา ทะวิปะทาทะโย เย สัตตา สะทา โสตถิง กะโรนตุ โน. ๒๕๔. มาระเสนะวิฆาตัสสะ ชินัสสะ สุขะฌายิโน เตโชพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๕. นานาคุณะวิจิตตัสสะ รูปะกายัสสะ สัตถุ โน สัพพะเทวะมะนุสสานัง มาระพันธะวิโมจิโน เมตตาพะเลนะ มะหะตา สะทา มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๖. สัพพัยญุตาทิกายัสสะ ธัมมะกายัสสะ สัตถุโน จักขาทะยะโคจะรัสสาปิ โคจะรัสเสวะ ภูริยา เตโชพะเลนะ มะหะตา สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๗. รูปะกายะสะทิสัสสะ นิมมิตัสสะ มะเหสิโน ธัมมัสสะ วัตตุโน สัคเค เทวานัง สุคะตา ปะติ เตโชพะเลนะ มะหาตา สะทา มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๘. สิกขิต๎วา มานุเส เทเว โมจะวิต๎วา สะเทวะเก สังขาเร ปะชะหันตัสสะ นิพพุตัสสะ มะเหสิโน มหันเตนานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๕๙. จะตุราสีติสะหัสสะ ธัมมักขันธัสสะ เตชะสา นะวังคะสาสะนัสสาปิ นะวะโลกุตตะรัสสะ จะ สัพพะปาปะปะวาเหนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๖๐. มะหะโตริยะสังฆัสสะ ปัญญักเขตตัสสะ ตาทิโน ปะหีนะสัพพะปาปัสสะ สีลาทิกขันธะธาริโณ มะหาเตชานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. ๒๖๑. ปาตาเล ภูตะลากาเส เทวะยักขะปิสาจะกา วิชชาธะรา จะ คันธัพพา นาคะกุมภัณฑะรักขะสา สัพเพสะมานุภาเวนะ สัพพะ มังคะละมัตถุ โน. อานุภาพของอุปปาตะสันติ ๒๖๒. อิจเจวะมุปปาตะสันติง โย วะเทยยะ สุเณยยะ วา วิเชยยะ สัพพะปาปานิ วุทธัตตัญจะ ภะวิสสะติ. ๒๖๓. โสตถิกาโม ละเภ โสตถิง สุขะกาโม สุขังละเภ อายุกาโม ละเภยยายุง ปุตตะกาโม ละเภปุตตัง. ๒๖๔. นะ ตัสสะ โรคา พาเธนติ วาตะปิตตาทิสัมภะวะ อะกาละมะระณัง นัตถิ นะ เทโว วิสะโมสะเร. ๒๖๕. นะ จุปปาตะภะตัง ตัสสะ ดนปี ปัตตะภะยัง ตะถา นัสสันติ ทุนนิมิตตานิ ปาปะกัมมัฏฐิตานิ จะ ทีฆะมายุ มะหาโสตถิง อาโรค๎ยัญจะ สะทา ภะเว. ๒๖๖. โย สุต๎วาปิ มะหาสันติง สังคามัง ปะวิเส นะโร วิชะเย เวริโน สัพเพ นะ สัตเถหะยะภิภูยะเต. ๒๖๗. สัพพะทา ละภะเต ปิติง นะวิปัตติง นาวะคาหะติ โรเคหิ นาภิภูยะเต สะวัตถูหิ วิวัฑฒะเต. ๒๖๘. ยัต๎ระ เทเส วะโกวะกา พาฬหะกา รักขะสาทะโย อุปปาตะสันติโฆเสนะ สัพเพ ตัตถะ สะมันติ เต. ๒๖๙. ยะมุททิสสะ วะเท สันติง สะชีวัญจาปะยะชีวิตัง โส มุจจะเต มะหาทุกขา ปัปโปติ สุคะติง สะทา. ๒๗๐. เทวัฏฐาเน นาคะเร วา นิจจะมุปปาตะสันติยา ปาละกา เทวะราชาโน เตชะสิรีวิวัฑฒะนา. ๒๗๑. ปะถะพะยาปาทิสัญชาตา อุปปาตา จันตะลิกขะชา อินทาทิชะนิตุปปาตา ปาปะกัมมะสะมุฏฐิตา สัพพุปปาตา วินัสสันติ เตชะสุปปาตะสันติ. อุปปาตะสันติ นิฏฐิตาฯ จบอุปปาตะสันติ มนต์สำหรับระงับเหตุร้ายทั้งปวง

คาถาของท่านพระสารีปุตตเถระพระสารีบุตรเถระ ครั้นสำเร็จแห่งสาวกบารมีญาณ ดำรงอยู่ในตำแหน่งพระธรรมเสนาบดี อย่างนี้แล้ว เมื่อจะทำประโยชน์แก่หมู่สัตว์ วันหนึ่งเมื่อพยากรณ์อรหัตผลโดยมุขะ คือ ประกาศความประพฤติของตนแก่เพื่อนพรหมจรรย์ทั้งหลาย จึงได้กล่าวคาถาความว่า [๓๙๖] ผู้ใดสมบูรณ์ด้วยศีล สงบระงับ มีสติ มีความดำริชอบ ไม่ประมาท ยินดีแต่เฉพาะกรรมฐานภาวนาอันเป็นธรรมภายใน มีใจมั่นคงอย่างยิ่ง อยู่ผู้เดียว ยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้ ปราชญ์ทั้งหลายเรียกผู้นั้นว่าภิกษุ ภิกษุเมื่อบริโภคอาหารจะเป็นของสดหรือของแห้งก็ตาม ไม่ควรติดใจจน เกินไป ควรเป็นผู้มีท้องพร่อง มีอาหารพอประมาณ มีสติอยู่ การ บริโภคอาหารยังอีก ๔-๕ คำจะอิ่ม ควรงดเสีย แล้วดื่มน้ำเป็นการ สมควรเพื่ออยู่สบายของภิกษุผู้มีใจเด็ดเดี่ยว อนึ่งการนุ่งห่มจีวรอันเป็น กัปปิยะ นับว่าเป็นประโยชน์ จัดว่าพอ เป็นการอยู่สบายของภิกษุผู้มีใจ เด็ดเดี่ยว การนั่งขัดสมาธินับว่าพอ เป็นการอยู่สบายของภิกษุ ผู้มีใจเด็ด เดี่ยว ภิกษุรูปใดพิจารณาเห็นสุข โดยความเป็นทุกข์ พิจารณาเห็น ทุกข์โดยความเป็นลูกศรปักอยู่ที่ร่าง ความถือมั่นว่าเป็นตัวเป็นตนใน อทุกขมสุขเวทนา ไม่ได้มีแก่ภิกษุนั้น จะพึงติดอยู่ในโลกอย่างใด ด้วยกิเลสอะไร ภิกษุผู้มีความปรารถนาลามกเกียจคร้าน มีความเพียร เลวทราม ได้สดับน้อย ไม่เอื้อเฟื้อ อย่าได้มาในสำนักของเราแม้ใน กาลไหนๆ เลย จะมีประโยชน์อะไรด้วยการให้โอวาทบุคคลเช่นนั้นใน หมู่สัตว์โลกนี้ อนึ่ง ขอให้ภิกษุผู้เป็นพหูสูต เป็นปราชญ์ตั้งมั่นอยู่ใน ศีล ประกอบใจให้สงบระงับเป็นเนืองนิตย์ จงมาประดิษฐานอยู่บน ศีรษะของเราเถิด ภิกษุใดประกอบด้วยธรรมเครื่องเนิ่นช้า ยินดีใน ธรรมเครื่องเนิ่นช้า ภิกษุนั้นย่อมพลาดนิพพานอันเป็นธรรมเกษมจาก โยคะอย่างยอดเยี่ยม ส่วนภิกษุใด ละธรรมเครื่องเนิ่นช้าได้แล้ว ยินดี ในอริยมรรคอันเป็นทางไม่มีธรรมเครื่องเนิ่นช้า ภิกษุนั้น ย่อมบรรลุ นิพพานอันเป็นธรรมเกษม จากโยคะอย่างยอดเยี่ยม พระอรหันต์ทั้ง หลาย อยู่ในสถานที่ใด เป็นบ้านหรือป่าก็ตามที่ดอนหรือที่ลุ่มก็ตาม สถานที่นั้นเป็นภูมิสถานที่น่ารื่นรมย์ คนผู้แสวงหากามย่อมไม่ยินดีใน ป่าอันน่ารื่นรมย์เช่นใด ท่านผู้ปราศจากความกำหนัด จักยินดีในป่าอัน น่ารื่นรมย์เช่นนั้น เพราะท่านเหล่านั้นไม่เป็นผู้แสวงหากาม บุคคลควร เห็นท่านผู้มีปัญญาชี้โทษมีปกติกล่าวข่มขี่ เหมือนผู้บอกขุมทรัพย์ให้ ควรคบบัณฑิตเช่นนั้น เพราะว่าเมื่อคบกับบัณฑิตเช่นนั้น ย่อมมีแต่ ความดีไม่มีชั่วเลย ปราชญ์ก็ควรโอวาทสั่งสอน ควรห้ามผู้อื่นจากธรรม ที่มิใช่ของสัตบุรุษ แต่บุคคลเห็นปานนั้น ย่อมเป็นที่รักใคร่ของสัตบุรุษ เท่านั้น ไม่เป็นที่รักใคร่ของอสัตบุรุษ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสรู้แล้ว มีพระจักษุ ทรงแสดงธรรมแก่ผู้อื่นอยู่ เมื่อพระองค์กำลังทรงแสดง ธรรมอยู่ เราผู้มุ่งประโยชน์ตั้งใจฟัง การตั้งใจฟัง ฟังของเรานั้น ไม่ไร้ประโยชน์ เราเป็นผู้หมดอาสวะ เป็นผู้หลุดพ้นพิเศษ เราไม่ ได้ตั้งความปรารถนาเพื่อปุพเพนิวาสญาณ ทิพจักขุญาณ เจโตปริยญาณ อิทธิวิธี จุตูปปาตญาณ ทิพโสตญาณ อันเป็นธาตุบริสุทธิ์ มาแต่ปางก่อน เลย แต่คุณธรรมของสาวกทั้งหมดได้มีขึ้นแก่เรา พร้อมกับการบรรลุ มรรคผล เหมือนคุณธรรม คือ พระสัพพัญญุตญาณ ได้มีแก่พระพุทธ- เจ้า ฉะนั้น มียักษ์ตนหนึ่งมากล่าวว่า มีภิกษุหัวโล้นรูปหนึ่งชื่ออุปติสสะ เป็นพระเถระผู้อุดมด้วยปัญญา ห่มผ้าสังฆาฏินั่งเข้าฌานอยู่ที่โคนไม้ สาวกของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้กำลังเข้าสมาบัติอันไม่มีวิตกในขณะ ถูกยักษ์ตีศีรษะ ก็ยังประกอบด้วยธรรมคือความนิ่งอย่างประเสริฐ ภูเขา หินล้วนตั้งมั่นไม่หวั่นไหว ฉันใด ภิกษุย่อมไม่หวั่นไหวเหมือน ภูเขาเพราะสิ้นโมหะ ก็ฉันนั้น ความชั่วช้าเพียงเท่าปลายขนทราย ย่อม ปรากฏเหมือนเท่าก้อนเมฆที่ลอยอยู่บนท้องฟ้า แก่ภิกษุผู้ไม่มีกิเลส เครื่องยั่วยวน แสวงหาความสะอาดเป็นนิตย์ เราไม่ยินดีต่อความตาย และชีวิต เราเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะจักละทิ้งร่างกายนี้ไป ไม่ยินดีต่อ ความตายและชีวิต รอคอยเวลาตายอยู่ เหมือนลูกจ้างรอให้หมดเวลา ทำงาน ฉะนั้น ความตายนี้มีแน่นอนในสองคราว คือ ในเวลาแก่ หรือในเวลาหนุ่ม ที่จะไม่ตายเลยย่อมไม่มี เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลาย จงบำเพ็ญแต่สัมมาปฏิบัติเถิด ขอจงอย่าได้ปฏิบัติผิดพินาศเสียเลย ขณะอย่าได้ล่วงเลยท่านทั้งหลายไปเสีย เมืองที่ตั้งอยู่ชายแดน เขาคุ้ม ครองป้องกันดีทั้งภายนอกและภายในฉันใด ท่านทั้งหลายก็จงคุ้มครอง ตนฉันนั้นเถิด ขณะอย่าได้ล่วงเลยท่านทั้งหลายไปเสีย เพราะผู้มีขณะ อันล่วงเลยไปเสียแล้ว ต้องพากันไปเศร้าโศกยัดเยียดอยู่ในนรก ภิกษุ ผู้สงบระงับ งดเว้นโทษเครื่องเศร้าหมองใจได้อย่างเด็ดขาด มีปกติพูด ด้วยปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน ย่อมกำจัดบาปธรรมได้เหมือนลมพัดใบไม้ล่วง หล่นไป ฉะนั้น ภิกษุผู้สงบระงับ งดเว้นจากโทษเครื่องเศร้าหมอง ใจได้อย่างเด็ดขาด มีปกติพูดด้วยปัญญา ไม่ฟุ้งซ่าน ได้ลอยบาปธรรม เสียได้ เหมือนลมพัดใบไม้ร่วงหล่นไป ฉะนั้น ภิกษุผู้สงบระงับละเว้น กองกิเลสและกองทุกข์ ที่เป็นเหตุทำให้เกิดความคับแค้น มีใจผ่องใส ไม่ขุ่นมัว มีศีลงาม เป็นนักปราชญ์ พึงทำที่สุดทุกข์ได้ บุคคลไม่ควร คุ้นเคย ในบุคคลบางพวกจะเป็นคฤหัสถ์หรือบรรพชิตก็ตาม หรือเบื้องต้น เขาจะเป็นคนดี ตอนปลายเป็นคนไม่ดีก็ตาม นิวรณ์ ๕ คือกามฉันทะ ๑ พยาบาท ๑ ถีนมิทธะ ๑ อุทธัจจะ ๑ วิจิกิจฉา ๑ เป็นธรรมเครื่อง เศร้าหมองจิต สมาธิของภิกษุผู้มีปกติชอบอยู่ด้วยความไม่ประมาท ไม่หวั่นไหวด้วยเหตุ ๒ ประการ คือ ด้วยมีผู้สักการะ ๑ ด้วยไม่มี ผู้สักการะ ๑ นักปราชญ์เรียกบุคคลผู้เพ่งธรรมอยู่เป็นปกติ พากเพียร เป็นเนืองนิตย์ พิจารณาเห็นด้วยปัญญาสุขุม สิ้นความยึดถือและความ ยินดีว่า เป็นสัตบุรุษ มหาสมุทร ๑ แผ่นดิน ๑ ภูเขา ๑ และ แม้ลม ๑ ไม่ควรเปรียบเทียบความหลุดพ้นกิเลสอย่างประเสริฐของพระ ศาสดาเลย พระเถระผู้ยังพระธรรมจักรอันพระศาสดาให้เป็นไปแล้ว ให้เป็นไปตาม ผู้มีปัญญามาก มีจิตมั่นคง เป็นผู้เสมอด้วยแผ่นดินและ ไฟย่อมไม่ยินดียินร้าย ภิกษุผู้บรรลุปัญญาบารมีธรรมแล้ว มีปัญญา เครื่องตรัสรู้มาก เป็นนักปราชญ์ผู้ใหญ่ ไม่ใช่เป็นคนเขลา ทั้งไม่เหมือน คนเขลา เป็นผู้ดับความทุกข์ร้อนได้ทุกเมื่อ ท่องเที่ยวไปอยู่ เรามีความคุ้น เคยกับพระศาสดามาก เราทำคำสอนของพระพุทธเจ้าเสร็จแล้ว ปลง ภาระหนักลงได้แล้ว ถอนตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพแล้ว ท่านทั้งหลาย จงยังความไม่ประมาทให้ถึงพร้อมเถิด นี้เป็นอนุศาสนีย์ของเรา เรา พ้นจากกิเลสทั้งปวงแล้ว จักปรินิพพาน.

วิธีการเข้าถึงพระนิพพานพระธรรมเทศนาโดย พระราชพรหมยานเถระ หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง https://www.youtube.com/watch?v=njI_rbdl-YY https://www.youtube.com/watch?v=9xMtTU0k6Os https://www.youtube.com/watch?v=GTVCebNl0ws https://www.youtube.com/watch?v=xMyutB4khFM https://www.youtube.com/watch?v=ukhEHT89yT8 https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=XeR5D0HgPSs https://www.youtube.com/watch?v=82qm2zIWTgE https://www.youtube.com/watch?v=ZOKSkgjVo2A https://www.youtube.com/watch?v=npxT7kzgIf8 https://www.youtube.com/watch?v=BuVhzJCp8PE https://www.youtube.com/watch?v=_MacugT4Yes https://www.youtube.com/watch?v=lvATETJz5Hc https://www.youtube.com/watch?v=mLGqlrBJM_g

พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญูรู้เห็นธรรมทั้งปวงชนะหมู่มารมีพระกรุณาใหญ่..ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้

วันพุธที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2558

ไม่มีภาพ ภาพไม่มี ไม่เกี่ยวกับภาพ ให้รู้ด้วยปัญญา.: ทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่ง­ทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง

ทางนิพพาน"": ทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่ง­ทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง

ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลส.วันประชุมชาดกสุภาษิตชี้โทษแห่งบ่วงมัจจุราชเราเดินเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร ได้เห็นหญิงฟ้อนรำคนหนึ่ง ตกแต่งร่างกายด้วยเครื่องอาภรณ์ นุ่งห่มผ้าสวยงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ฟ้อนรำอยู่ในวงดนตรีที่ถนนหลวง ท่ามกลางพระนคร เป็นดุจบ่วงแห่งมัจจุราชอันธรรมชาติมาดักไว้ เพราะฉะนั้นการกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย จึงบังเกิดขึ้นแก่เรา อาทีนวโทษปรากฏแก่เรา ความเบื่อหน่ายก็ตั้งลงมั่น ลำดับนั้นจิตของเราก็หลุดพ้นจากสรรพกิเลส ขอท่านจงดูความที่แห่งธรรมเป็นธรรมอันดีเลิศเราได้บรรลุวิชชา ๓ แล้ว ได้ทำกิจพระพุทธศาสนาเสร็จแล้ว.

วันอังคารที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2558

ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษ.ผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชาเป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร

สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ..ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น

สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว

พระราชพรหมยานเถระ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์""เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว

ข้ามทะเลทั้งสี่แล้วจะถึงจิตหนึ่ง.ผมไม่มีอะไรแล้ว ผมอยู่กับความไม่มีไม่เป็นอะไรหรอก อู๊ยสะใจ สะใจจริงๆ จริงๆเราอยู่กับความไม่มีไม่เป็น แต่ความสำคัญมั่นหมายของเราเพราะความเห็นผิดนั่นนะ ไปสำคัญว่ามันมีมันเป็นขึ้นมา มันมีเรามีเขาขึ้นมา กว่าเราจะข้ามทิฎฐิ ที่ว่ามันมีเรามีเขาขึ้นมาได้นี้นะ ข้ามยาก อันนี้เป็นทะเลหรือเป็นมหาสมุทรอันแรกนะ ของผู้ปฎิบัติ เรียกว่าโอฆะ โอฆะแปลว่าห้วงน้ำห้วงมหาสมุทรอะไรอย่างนี้ มหาสมุทรในโลกมันมีกี่อัน จำไม่ได้แล้ว เคยเรียน แต่มหาสมุทรในการปฏิบัตินี้มันมี ๔ อันนะ ต้องข้ามให้ได้ให้หมดเลย มีทะเลอยู่ ๔ ทะเล ถ้าข้ามได้หมดก็จะเอาตัวรอดได้ มหาสมุทรอันแรกเลย คือ ทิฎฐิ ทะเลคือทิฎฐิ คือความเห็นผิดของเรานี้แหละ เราไปเห็นผิดในของที่ไม่มีตัวมีตน ว่ามีตัวมีตนขึ้นมา เวลาเรามองโลกแล้วสะดุดปั๊บขึ้นมาเลย เกิดเราเกิดเขา เกิดสัตว์เกิดคน เกิดต้นไม้ เกิดสิ่งโน้น เกิดสิ่งนี้ โลกนี้ลุ่มๆดอนๆ ในทางมหายานนะเคยมีสูตรอยู่สูตรหนึ่ง พระสารีบุตร ไปบอกพระพุทธเจ้าบอกว่า พระองค์ สร้างบารมีไม่ค่อยดีเท่าไร พุทธเกษตรของ.. หรือโลกของพระองค์ดูลุ่มๆดอนๆ พวกพระโพธิสัตว์ก็เถียง บอกว่าไม่จริงหรอก พุทธเกษตรของพระพุทธเจ้าเนี่ยเรียบเลย ราบเรียบไปหมดเลย ไม่มีความเป็นลุ่มเป็นดอน ไม่มีอะไรสะดุดขึ้นมาเป็นตัวเป็นตนได้เลย มันว่างเปล่า แต่ไม่ใช่ว่างแบบไม่มีอะไร จริงๆนี่ก็แต่งเกินไป พระสารีบุตรไม่ได้โง่ขนาดนั้นหรอก สาวกรุ่นหลังๆ ภาวนาไปยังเห็นโลกว่างได้เลย ทำไมพระสารีบุตรท่านจะไม่เห็น มิจฉาทิฎฐิ เป็นสิ่งแรกที่พวกเราต้องภาวนา แล้วก็ข้ามมันให้ได้ คือเราสำคัญมั่นหมายว่ากายนี้ใจนี้คือตัวเรา เราไปแบ่งแยกสมบัติของโลกส่วนหนึ่งออกมาเป็นตัวเราขึ้นมา ส่วนที่เหลือมันก็เป็นคนอื่น เป็นสิ่งอื่นๆ เป็นสิ่งที่แวดล้อมอยู่ ไปแบ่งตัวเองออกมา สำคัญมั่นหมายว่ามี ว่าเป็น เป็นโน่นเป็นนี่ด้วยนะ เป็นใหญ่เป็นโต เป็นคนดีเป็นคนเลว เป็นพวกทุศีลเป็นพวกมีศีล แบ่งตัวเองออกไปจากธรรมชาติ ซึ่งไม่มีอะไรอยู่แล้ว เสมอภาคกันทั้งหมด พอมีตัวเราขึ้นมาก็มีมิจฉาทิฎฐิต่อไปอีก ถ้าตัวเราตายไป เราไปเกิดอีก ตัวเราเที่ยง จิตเรานี้เที่ยง ร่างกายแตกสลายไป จิตนี้ยังไม่เกิดได้อีก นี่ก็มิจฉาทิฎฐิแขนงหนึ่ง เรียกว่า สัสตทิฎฐิ อีกพวกหนึ่งเห็นว่าตัวเรามีอยู่ แล้วตายไปก็หายไปเลย นี่ก็เป็นมิจฉาทิฎฐิอีก เรียกว่า อุจเฉทิกทิฎฐิ รากเหง้าของมันก็เริ่มมาจากความมีตัวเรานี่แหละ มีตัวเราแล้วก็มีตัวเราอย่างเที่ยงแท้ถาวร หรือมีตัวเราชั่วครั้งชั่วคราวแล้วก็หายสาบสูญไป ทะเลทิฎฐินี้จะข้ามได้ต้องเป็นพระโสดาบัน เพราะฉะนั้น ๔ ทะเลนี้ พวกเรายังข้ามไม่ได้สักทะเลหนึ่งเลยนะ ข้ามได้แค่ริมทะเลอะไรอย่างนี้ เที่ยวๆไปอย่างนี้ จะข้ามทิฎฐิตัวนี้ได้ต้องมีสติ มีปัญญา มีสัมมาสมาธิ มีสติรู้ลงมาในกายในใจนี่ มีใจที่ตั้งมั่นเป็นสัมมาสมาธิ สักว่ารู้ สักว่าดู เวลาดูกายจะรู้สึกเหมือนว่ากายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เวลาดูเวทนาคือความรู้สึกสุขรู้สึกทุกข์ มันจะรู้สึกว่าเวทนาอยู่ส่วนหนึ่งจิตก็อยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างนะ ไม่ ไม่เป็นอันเดียวกัน มีช่องว่างมาคั่น เวลาดูจิตที่เป็นกุศล อกุศล จะเห็นเลย อกุศลหรือกุศลทั้งหลายนะ กับจิตเนี่ยคนละอันกัน มีช่องว่างมาคั่น พวกเราดูออกแล้วใช่มั้ย เนี่ยเราดูไปเรื่อยนะ ใจเราตั้งมั่นจะสักว่ารู้สักว่าดูได้ เสร็จแล้วปัญญามันถึงจะเกิด มันจะเห็นเลย ทุกสิ่ง ทุกสิ่งทุกอย่างที่จิตไปรู้เข้าล้วนแต่มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับไป บังคับไม่ได้สักอันเดียว ดูมาจนกระทั่งถึงจิตที่เป็นผู้รู้ผู้ดูนี่เอง ก็เห็นมันเกิดดับ เดี๋ยวก็เป็นผู้รู้ เดี๋ยวก็เป็นผู้หลง เป็นผู้รู้บ้าง เป็นผู้หลงบ้าง ดูไปดูมาในขันธ์ ๕ นี้ ไม่มีตัวตนที่แท้จริง ไม่มีตัวเราที่แท้จริง ให้มีสติรู้ลงมาในกายในใจนี้นะ ถึงจะละมิจฉาทิฏฐิได้ ข้ามทะเลตัวแรกได้ เหลืออีก ๓ ทะเล ข้ามยากนะ ทะเลหรือโอฆะตัวต่อไปคือกาม ข้ามยาก พวกเรา เห็นแต่กามคุณ เราไม่เห็นกามโทษ ทำให้เราข้ามไม่ได้ กามคืออะไร กามก็คืออารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจ อย่างเราเห็นรูปที่สวยๆอย่างนี้ รูปนั้นเรียกว่ากาม หูเราได้ยินเสียงที่เพราะๆ ถูกอกถูกใจ เรียกว่ากาม กลิ่นหอมๆ ถูกอกถูกใจ นี่เขาเรียกว่ากาม รสอร่อยๆก็เรียกว่ากาม สัมผัสที่นุ่มนวล อบอุ่น สบาย อะไรอย่างนี้ ก็เรียกว่ากาม การคิดคำนึงถึงอารมณ์เหล่านี้ เป็นกามทางใจ เรียกว่า กามธรรม พวกเราเกิดมา เราก็แสวงหาแต่อารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจมาตลอดชีวิต เราเห็นว่าถ้าได้อารมณ์ที่เพลิดเพลินพอใจได้แล้วเราจะมีความสุข งั้นเราเห็นว่ากามเนี่ยนำความสุขมาให้ ยากนักยากหนานะจะกล้าข้ามพ้นอำนาจของกามได้ ถ้าไม่ใช่พระอนาคามีข้ามไม่ได้ ทีนี้ทำอย่างไรถึงจะข้ามพ้นทะเลอันที่สองคือทะเลกาม เคยได้ยินใช่มั้ย คนชอบพูดทะเลกาม แต่ไม่มีคนพูดทะเลทิฎฐิใช่มั้ย เพราะอะไร เพราะคนพูดเนี่ยยังมีทิฎฐิอยู่ ก็พูดไปอย่างนั้นแหละ ทะเลกาม ข้ามยาก ข้ามยาก ต้องรู้ลงมาอีก รู้ลงมาในกายในใจนี้น่ะนะมากๆ จนวันใดเห็นนะว่ากายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ ตา หู จมูก ลิ้น กาย เป็นทุกข์ล้วนๆ เห็นอย่างนี้ มันจะหมดความเพลิดเพลินยินดีพอใจในรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลาย หมดความติดอกติดใจในกามคุณทั้งหลาย มันหมดของมันเองนะ ถ้ามันเห็นตัวนี้.. อย่างสังเกตมั้ย คนไหนเจ้าชู้มากๆนะ เกิดเจ็บหนักใกล้จะตายนะ หรือตัวเป็นแผลทั้งตัวแล้ว อะไรมาถูกนิดนึงก็แสบก็ปวดเนี่ย ให้มันไปกอดนางงามจักรวาลมันก็ไม่เอานะ เพราะมันไม่มีความสุขแล้ว ถ้าเมื่อไรเราเห็นกายนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆนะ มันจะไม่สนใจกามแล้ว จะไม่สนใจกามแล้ว ตาเห็นรูปจะสักว่าเห็นเลย ไม่ยินดีไม่ยินร้ายกับมันแล้ว หูได้ยินเสียง จมูกได้กลิ่น ลิ้นได้รส กายสัมผัส นะ จิตใจจะไม่ยินดียินร้าย มันไม่รักกายก็จะไม่รักกาม ทะเลทิฏฐิเหมือนทะเลที่กว้างนะ ถ้าเทียบ เหมือนทะเลที่กว้างขวางไร้ขอบไร้เขต หลงเข้าไปแล้วไม่รู้จะไปทางไหนเลย ไม่รู้เหนือรู้ใต้ เพราะฉะนั้นปุถุชนทั้งหลาย หลงอยู่ในทะเลที่ไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ทางไหน มีพระพุทธเจ้ามาบอกทาง ทางนี้.. ทางนี้.. นะ คนที่รู้ทางเรียกว่าพระโสดาบัน รู้แล้ว ไปทางนี้แหละ ปลอดภัย งั้นจะข้ามทะเลทิฏฐิได้นะ ยาก เป็นทะเลที่กว้าง ไร้ขอบไร้เขต ดูอะไรดูไม่ออกหรอก ดูยาก แต่ข้ามได้ด้วยการที่เห็นลงมาในกายในใจว่าไม่ใช่เรา ทะเลกามนี้จะข้ามได้ เมื่อหมดความยึดถือกาย หมดความยึดถือในกาย ถัดจากนั้นเหลืออีกสองทะเลนะ คือทะเลของภพ และทะเลของอวิชา เรียกว่า ภวะโอฆะ กับ อวิชาโอฆะ โอฆะคือภพ โอฆะคืออวิชา ห้วงน้ำ ภพคืออะไร ภพคือการทำงานของจิต สังเกตมั้ยพวกเราภาวนา เห็นมั้ย จิตทำงานทั้งวันทั้งคืน หมุนจี๋ จี๋ จี๋ ทั้งวันทั้งคืน เห็นมั้ยจิตเดี๋ยวก็วิ่งพล่านๆไปทางตา เดี๋ยววิ่งพล่านๆไปทางหู วิ่งพล่าน ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักนะ จิตนี้สร้างภพสร้างชาติหมุนติ้วๆอยู่ภายในตลอดวันตลอดคืน จะข้ามมันไม่ใช่ง่ายนะ แค่เห็นมันยังยากเลย ภาวนากว่าจะเห็นจิตเข้าไปทำงานตรงนี้ยังยากแสนเข็ญเลย รู้สึกมั้ย นะ จะข้ามทะเลของภพได้นะ ภพนี้เหมือนทะเลที่น้ำเชี่ยว เพราะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ ทั้งวันทั้งคืนนะ เดี๋ยวซัดไปทางโน้นซัดไปทางนี้ นะ กระแสน้ำนี้รุนแรง กระแสน้ำที่ซัดจิตใจเราวิ่งไปวิ่งมา พล่านๆทำงานไปในภพก็คือ ตัณหา นั่นเอง ตัณหาเป็นเหมือนคลื่นลูกใหญ่เลย เหมือนกระแสน้ำเชี่ยวที่ซัดเราไป ซัดไปไม่รู้ทิศทางเลยนะ สร้างภพไปเรื่อย เดี๋ยวไปเกิดที่ตา เกิดที่หู เกิดที่จมูก ที่ลิ้น ที่กาย ที่ใจ จะข้ามภพข้ามชาติได้ ก็ต้องละตัณหาได้ ทีนี้ตัณหาเกิดจากอะไร ตัณหาเกิดจากอวิชา นี้ ทะเลตัวสุดท้ายนี้ ข้ามยากที่สุด ถ้าข้ามตัวนี้ได้นะ จะหลุดจากน้ำเชี่ยวนี้ได้ด้วย อวิชาเหมือนทะเลหมอก น้ำสงบนะ ไม่มีคลื่น ไม่มีลม สบายๆ แต่เหมือนมีหมอกปกคลุมจนไม่รู้อะไรเลย บางทีเราอยู่ห่างฝั่งใช่มั้ย ถูกคลื่นซัดตูมตาม ตูมตาม กระเสือกกระสนเข้ามา จนจะถึงฝั่งอยู่แล้ว เกือบถึงฝั่งแล้วนะ มันมีหมอกลง มันมองไม่เห็น ว่ายไปว่ายมา ว่ายออกทะเลลึกไปอีกแล้ว เพราะฉะนั้นข้ามอวิชานี้ยากที่สุดเลย ทะเลตัวนี้จะข้ามได้ต้องเห็นอริยสัจจ์ เห็นไม่เหมือนกันนะ เห็นมั้ย เห็นอริยสัจจ์ เห็นแจ้งอริยสัจจ์ อริยสัจจ์ที่ตัวลึกซึ้งที่สุดเลย คือการเห็นว่าจิตเป็นทุกข์นี่เอง นะ เราภาวนาไปนาน เราเห็นแต่จิตเป็นสุข เพราะจิตเริ่มสงบแล้ว ใช่มั้ย ข้ามทะเลโน้นทะเลนี้มาถึงภพที่สงบ ภพที่ไม่มีคลื่นมีลมแล้ว จิตใจก็พอใจ รักใคร่พอใจอยู่แค่นี้แหละ สบายใจแล้ว เสร็จแล้วก็ว่ายกลับไปกลับมาแล้ว ถูกคลื่นซัดออกไปอีกแล้ว ถ้าเป็นปุถุชนเนี่ย ซัดไปหาทิฎฐิเลย เกิดมิจฉาทิฎฐิได้เรื่อยๆนะ ถ้าไม่ใช่พระอนาคาฯ ก็หลงไปในกามได้อีก เพราะฉะนั้นมันพร้อมจะถอยหลังได้ ทีนี้จะละอวิชาได้นะ ต้องรู้อริยสัจจ์ รู้ลงมานะ กายนี้ใจนี้เป็นทุกข์ล้วนๆเลย พวกเรามีแต่อวิชา เราเห็นว่ากายนี้ใจนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง นี่อวิชานะ อวิชาพาให้เห็น ไหนสารภาพมา มีใครรู้สึกมั้ย กายนี้ เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง มีมั้ย สารภาพ มีผู้ร้ายปากแข็งครึ่งห้อง นะ ไม่ยอมสารภาพ นะ พวกเรารู้สึกมั้ย จิตนี้เป็นทุกข์บ้างเป็นสุขบ้าง เห็นอย่างนี้แหละ อวิชา ถ้าเห็นอย่างมีวิชา ก็จะเห็นว่า ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ทุกข์บ้างสุขบ้าง เห็นยากนะ ถ้าสติ สมาธิ ปัญญา ไม่แก่กล้าพอ มันไม่เห็นขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ โดยเฉพาะจิตเนี่ย จิตผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ผู้สงบ สะอาด สว่าง แหมฟังแล้วดีทั้งนั้นเลย ใช่มั้ย จะให้เห็นว่าเป็นทุกข์ล้วนๆ ไม่ใช่ง่ายนะ ปฎิบัติกันปางตายเลยล่ะ เหมือนเอาชีวิตเข้าแลกเลยนะ ถึงจะเห็น เพราะฉะนั้นทะเลตัวนี้ ทะเลอวิชา เป็นทะเลที่เรียบๆนะ แต่ยากสุดๆเลย ยากมากเลย จับต้นจับปลายไม่ถูก นะ มีแต่เรียนรู้นะ มาตามลำดับๆ รู้กาย รู้ใจมาตามลำดับ พอรู้กายถูกต้องแจ่มแจ้งได้พระอนาคาฯ จิตใจก็จะสบายขึ้นเยอะเลย จะไม่แส่ส่ายไปทาง ตา หู จมูก ลิ้น กาย จะเหลือแต่ความสงบสุขอยู่ภายใน เพลิดเพลินอยู่กับความสงบสุขภายในจิตในใจของเราเอง นี่เอง ต่อมาสติปัญญาแก่รอบลงมาอีก เห็นเลย ตัวจิตตัวใจที่ว่าสุขว่าสงบเนี่ย เอาเข้าจริงก็เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ ตัวนี้ไม่รู้ว่าจะพูดภาษามนุษย์ยังไงนะ ฟังเอาไว้ก็แล้วกัน มันเห็นเป็นทุกข์ล้วนๆเมื่อไหร่นะ มันจะทิ้งแล้ว จะวาง แต่ถ้ายังเห็นทุกข์บ้างสุขบ้าง มันไม่วางหรอก มันทุกข์ล้วนๆ โอ้ ขันธ์ ๕ เป็นทุกข์ล้วนๆ ตัณหาจะดับทันทีเลย เมื่อมันเป็นทุกข์ล้วนๆแล้วจะอยากให้มันสุขได้อย่างไร นะ ของเรามีตัณหาขึ้นมาเพราะอยากให้ขันธ์ ๕ มีความสุข รู้สึกมั้ย อยากให้ขันธ์ ๕ พ้นทุกข์ แต่วันหนึ่งเรียนจนกระทั่งรู้ชัดเลย ขันธ์ ๕ นี่ทุกข์ล้วนๆน่ะ ไม่มีทางอยากให้มันมีความสุข ไม่มีทางอยากให้มันพ้นทุกข์อีกต่อไปแล้ว มันไม่สมหวัง มันทุกข์ล้วนๆ เนี่ย ใจเข้าถึงตรงนี้ ใจยอมรับตรงนี้จริงๆแล้วจะสลัดคืนเลย จะหมดตัณหาแล้วก็สลัดคืนความยึดถือกายความยึดถือใจให้โลก คืนเจ้าของเดิมนั้นเอง จิตใจก็จะเข้าถึงความสงบ สันติ ที่แท้จริง คือ นิโรธ หรือ นิพพาน บางทีก็มีหลายชื่อนะ อุปสมะ ก็ได้ นะ มีหลายชื่อเยอะแยะเลย ชื่อ ความจริงก็คือ ความสงบ สันติ ซึ่งมันพ้นทุกข์ พ้นกิเลส พ้นความยึดถือในธาตุในขันธ์ ในกาย ในใจ นี้เอง พอพ้นปั๊บเราจะเห็นโลกนี้ มี แต่ไม่มีอะไร โลกนี้มีอยู่ แต่ไม่มีอะไรเลย ว่างเปล่า ว่างเปล่าไม่ใช่แปลว่า ไม่มีอะไรเลย มันว่างเปล่าจากความเป็นตัวเป็นตน ว่างเปล่าจากกิเลส ว่างเปล่าจากขันธ์ ว่างเปล่าจากทุกข์ มันมีอยู่ของมันตามสภาพของมัน มันเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของมัน แต่จิตใจที่ฝึกฝนอบรมจนกระทั่งไม่ยึดถือในจิตแล้วเนี่ย จะไม่ยึดถืออะไรในโลกอีก เห็นโลกนี้มีแต่ไม่มี ว่างเปล่าอยู่อย่างนั้นเอง จิตใจมีแต่ความสุขล้วนๆ สุขแบบนึกไม่ถึงนะ สุข สุขที่สุดเลย มีความสุขมาก ไม่รู้จะใช้ภาษาอะไร พระพุทธเจ้าท่านก็เลยใช้เอาง่ายๆ “นิพพานัง ปรมัง สุขัง” บรมสุขเลย ไม่รู้จะใช้คำอะไรแล้ว ท่านใช้คำว่า “ปรมัง สุขัง” บรมสุขเลย ความสุขของโลกๆที่พวกเรารู้สึกน่ะนะ รู้จักกันนะ ความสุขลุ่มๆดอนๆ สุกๆดิบๆ เป็นความสุขร้อนๆ สุกๆ เผ็ดๆ นะ เผ็ดร้อนรุนแรง สุขชั่วครั้งชั่วคราวได้มาแล้วก็เสียไป ตะกายหาอีก จับได้ปั๊บหลุดมือไปอีกแล้ว อย่างนี้ตลอดชีวิตเลย เดินทางในสังสารวัฏฏ์นะ ข้ามภพข้ามชาติไม่ได้ ข้ามมหาสมุทรสี่อันนี้ไม่ได้ ก็ข้ามภพข้ามชาติไม่ได้ เพราะฉะนั้นตั้งอกตั้งใจนะ อันแรก ต่อสู้กับมิจฉาทิฎฐิของตัวเองก่อน ทะเลอันที่หนึ่ง มิจฉาทิฎฐิ คือ ความเห็นผิดว่าตัวเรามีอยู่จริงๆ วิธีจะดูให้เห็นว่าตัวเราไม่มีนะ ไม่ใช่ไปนั่งคิดเอาว่าตัวเราไม่มี คิดยังไงมันก็เชื่อว่า “ฉันมี” แต่ฉันแกล้งไม่มี นะ มันจะแกล้งทำ ให้เรารู้ลงในกาย รู้ลงในใจ อะไรก็ได้ เริ่มจากกายก็ได้ ถ้าเริ่มจากกายถูกต้องก็จะรู้ใจ หรือจะเริ่มจากใจก่อนก็ได้ ถ้าเริ่มรู้ใจถูกต้องก็จะรู้กายด้วย นะ จะรู้สองอัน ไม่รู้อันเดียว ถ้าคนไหนภาวนาแล้วรู้อันเดียว ทำผิดแน่นอนนะ เพราะจริงๆมันมีสองอัน จะมารู้อันเดียว เลือกรู้อันเดียว ทำผิดแล้ว เช่นบางคนจะดูแต่ลมหายใจอย่างเดียว ให้ลืมโลกไปเลย โลกนี้เหลือแต่ลมหายใจ เนี่ยสะสมมิจฉาทิฎฐินะ แทนที่จะละมิจฉาทิฎฐิ จะรู้สึก “กูเก่งๆ” “กูบังคับจิตให้อยู่กับลมได้” หรือ “กูบังคับจิตให้อยู่กับท้องพองยุบได้” จิตไม่หนีไปที่อื่นเลย “กูเก่งๆ” ความจริงต้องรู้ ตามที่เขาเป็น ตามความเป็นจริง ของเราก็คือมันมีทั้งกายมีทั้งใจนะ เดี๋ยวก็รู้กาย เดี๋ยวก็รู้ใจไป ถ้าจะรู้กาย เราก็เห็นร่างกายนี้ มันยืน มันเดิน มันนั่ง มันนอนไป ใจเป็นแค่คนรู้มัน ถ้าจะรู้จิตใจเราก็เห็นจิตใจเคลื่อนไหว ทำงานไป พอมีการเคลื่อนไหวทางกาย เช่น ตามองเห็น จิตใจก็เคลื่อนไหวตาม หู ได้ยินเสียง เช่น เขาด่ามา ใจก็เคลื่อนไหว คือ โทสะเกิดขึ้น นะ มันเนื่องกัน ทั้งกายทั้งใจ ไม่ใช่รู้อันเดียวนะ ถ้าจงใจไปรู้อันเดียวเป็นสมถะ เป็นสมถกรรมฐาน ถ้ารู้ถูกต้อง มันรู้ทั้งกายรู้ทั้งใจ เห็นกายนี้ ยืน เดิน นั่ง นอน ใจเป็นคนดูไป ถ้าทำอย่างนี้ได้ก็จะเห็นเลย กายนี้ไม่ใช่ตัวเรา เป็นสิ่งที่ใจไปรู้เข้าเท่านั้นเอง เป็นวัตถุเป็นก้อนธาตุ มันไม่บรรยายอย่างที่หลวงพ่อพูดนะ มันจะรู้สึกแค่ว่ามันไม่ใช่เราหรอก ไม่ใช่ว่าต้องมาพร่ำรำพัน เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นธาตุ เป็นขันธ์ มันไม่พูดนะ เป็นความรู้สึกเท่านั้นแหละ รู้สึกถึงความไม่ใช่ตัวเรา ดูลงมาในเวทนา ในความรู้สึกสุข รู้สึกทุกข์ เราจะเห็นเลย ความรู้สึกสุข รู้สึกทุกข์ ก็ไม่ใช่ตัวเรา เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้า จะเห็นอย่างนี้ นะ กุศล อกุศลทั้งหลาย นะ ที่เรียกว่าสังขาร กุศล อกุศลทั้งหลาย โลภ โกรธ หลง ทั้งหลายก็เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้า ไม่ใช่เราอีก ดูไปอย่างนี้ ตัวจิตเองล่ะ จิตเดี๋ยวก็เกิดที่ตา ดับที่ตา เกิดที่หู ดับที่หู เกิดที่ใจก็ดับที่ใจ จิตเกิดที่ไหนก็ดับที่นั่น นะ ไม่ใช่มีจิตดวงเดียววิ่งไปวิ่งมา ถ้าเห็นว่าจิตมีดวงเดียววิ่งไปวิ่งมาเป็นมิจฉาทิฏฐินะ หลวงปู่หล้า ภูจ้อก้อ ท่านสอนดี ท่านบอกว่า ถ้าใครเห็นว่า จิตผู้รู้เที่ยง เป็นมิจฉาทิฎฐิ ตัวผู้รู้เองก็ไม่เที่ยง เป็นผู้รู้แล้วก็เป็นผู้หลง เดี๋ยวก็หลงไปทางตา หลงไปทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ เนี่ยดูลงมาในกายในใจบ่อยๆ ดูจนเห็นความจริงเลย มันไม่ใช่ตัวเราสักอันเดียวเลยนะ ร่างกายมันก็เป็นแค่วัตถุ พวกเราลองทดสอบนะ เอ้า แก้ง่วงไปด้วย เอามือของตัวเองมา แล้วลองลูบดู ลองสัมผัสดูไปรู้สึกมั้ย มันเป็นท่อนๆแข็งๆรู้สึกมั้ย เนี่ย รู้สึกนะ รู้สึกไว้ แล้วลองตั้งใจฟังมันบอกมั้ยว่ามันเป็นตัวเรา มันเงียบๆ รู้สึกมั้ย มันไม่พูดหรอก จริงๆเราไปขี้ตู่ว่ามันเป็นตัวเรานะ จริงๆ เนี่ย ลองจับลงไปสิ เป็นก้อนแข็งๆอะไรก้อนหนึ่ง ถ้าเราจับไปนะเราจะรู้สึก มันไม่มีตัวเราในก้อนนี้แล้ว เวลาความสุขความทุกข์เกิดขึ้นเราก็รู้ไปตรงๆ เหมือนที่เรารู้สัมผัสมืออย่างนี้ กุศล อกุศล เกิดขึ้นก็รู้มันเข้าไปตรงๆนั้นแหละ แล้วมันจะบอกเรามั้ยว่าเป็นตัวเรา ไม่มีพูดสักคำหนึ่ง ความเป็นตัวเราจริงๆไม่มี ความเป็นตัวเราเกิดจากความคิดล้วนๆเลย คิดเอาเองว่าเป็นเรา ถ้าไม่ไปหลงอยู่ในโลกของความคิดนะ กายนี้ใจนี้ก็ไม่ใช่ตัวเรา เนี่ย พอเราเห็นซ้ำ ซ้ำ ซ้ำ นะ ถึงจุดหนึ่งจิตมันจะรวมเข้ามา มันจะเข้าสมาธิ รวมเอง ตั้งแต่ปฐมฌานขึ้นไป จิตมี ปีติ สุข เอกัคคตา มีวิตกวิจารณ์คือการตรึกถึงอารมณ์ การตรองเคล้าเคลียอยู่ในอารมณ์นั้น อารมณ์อะไร อารมณ์นิพพาน จิตจะรวมเข้ามานะ ขั้นแรกพอรวมเข้ามาปั๊บ มันจะเห็นสภาวธรรม อะไรก็ไม่รู้ นะ ไม่รู้ว่าคืออะไร นะ ถ้ายังรู้ว่าคืออะไรนี่ยังเจือด้วยสมมุติบัญญัติ ไม่ใช่ของจริง จิตจะเห็นสภาวธรรมบางอย่าง เกิดดับ เกิดดับ เกิดดับ ขึ้นมา บางคนเห็นสองครั้ง บางคนเห็นสามครั้ง เห็นสองทีเนี่ย จิตก็วางการรับรู้อารมณ์นั้นแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ทวนกระแสเข้ากลับมาหาธาตุรู้ จากนั้นสิ่งที่ห่อหุ้มปิดบังธาตุรู้ไว้ จะถูกแหวกถูกทำลายออกชั่วขณะ จะแหวกออก จิตที่เป็นอิสระล้วนๆเลยที่สัมผัสกับธรรมะคือนิพพานล้วนๆเลยจะปรากฎขึ้นมา เสร็จแล้วจิตจะถอยออกมานะ ตรงนี้ไม่มีคำพูดนะ แว้บเดียวเอง แต่มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา พร้อมอยู่ตรงนี้เลย พอถอยออกมากลับมาสู่โลกภายนอก จิตจะทวนกลับเข้าไปพิจารณาใหม่ว่าเมื่อกี้นี้เกิดอะไรขึ้น มันจะรู้เลยว่า อ้อ..เมื่อตะกี้นี้เกิดอริยมรรคขึ้นแล้ว สังโยชน์เบื้องต้นถูกละไปแล้ว ความเห็นผิดถูกละไปแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ดูยังไงก็ไม่เป็นเราอีกต่อไปแล้ว จะละความเห็นผิดได้ จะหมดความลังเลสงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พวกเรายังลังเล รู้สึกมั้ย ฝึกๆไปช่วงหนึ่งก็รู้สึก เอ้อ.. จริง ไม่จริงว้า.. จริง ไม่จริงว้า.. อั้นนั้นเป็นธรรมชาตินะ ต้องมี ไม่ต้องแกล้งทำเป็นไม่มี หรือเราเคยงมงาย เห็นว่าต้องปฎิบัติอย่างนี้แล้วจะดี ปฏิบัติแล้วจะดี ต้องทำอย่างนั้นดี ทำอย่างนี้ดี จะหมดความงมงายอย่างนี้เลย รู้แต่ว่ามีแต่การเจริญสติรู้กายรู้ใจทางสายเดียว ทางสายเอก มีอันนี้อันเดียว ไม่มีอันอื่นอีกแล้ว เนี่ย พระโสดาบันละสิ่งเหล่านี้ได้ ละความเห็นผิดว่ามีตัวมีตน ละความลังเลสงสัยในพระรัตนตรัยได้ ละการถือศีลบำเพ็ญพรตแบบงมงาย ลูบๆคลำๆ ว่าทำอย่างนั้นดี ทำอย่างนี้ดี รู้แล้วว่าไม่มีทางอื่นเลยนอกจากการมีสติรู้กายรู้ใจ หรือสติปัฏฐานนั่นเอง เพราะฉะนั้นเวลาที่บรรลุพระโสดาบันไม่ใช่จิตดับนะ ทุกวันนี้มีคำสอนเรื่องจิตดับมากมาย คิดว่าภาวนาไปเรื่อย กำหนดไปเรื่อยนะ อย่างจะหยิบอะไรสักอันหนึ่ง กำหนดไปเรื่อยให้จิตมันแนบอยู่ที่มือเนี่ย เพ่งมากๆนะ จิตจะดับลงไป จิตดับแล้วสำคัญมั่นหมายว่าบรรลุธรรมแล้ว ดับ ๔ หน ก็เป็นพระอรหันต์นะ ออกมาจากพระอรหันต์ก็มาทะเลาะกับเมียเหมือนเดิมแหละ นะ ละกิเลสไม่ได้จริง ในขณะที่บรรลุ มรรค ผล นิพพาน มีจิตนะ ไม่ใช่ไม่มีจิต ขณะที่บรรลุอริยมรรค นะ ก็มี มรรคจิต ขณะที่บรรลุอริยผล มีผลจิต มรรคจิตมี ๔ ดวง ผลจิตอีก ๔ ดวง นี่เรียก มรรค ๔ ผล ๔ นิพพาน ๑ คนโบราณชอบพูด ถ้าพูดอย่างละเอียด ก็มี ๒๐ อย่างละ ๒๐ เพราะว่ามันเจือด้วยฌานเข้าไปในแต่ละชนิด ฌานมันไม่เท่ากัน มีฌาน ๕ อย่าง เพราะฉะนั้นจิตที่บรรลุมรรคผลเนี่ย รวมแล้วมีจิตตั้ง ๔๐ ดวงแหน่ะ ทีนี้พวกเรารุ่นหลังๆนะ เชื่อคำสอนของอาจารย์มากไป เลยคิดว่าเวลาบรรลุมรรคผลนิพพาน จิตดับวูบลงไปหมดสติ พอรู้สึกตัวขึ้นใหม่ บอกบรรลุไปแล้ว ตรงที่จิตดับลงไปนั้น คือ อสัญญสัตตาภูมิ คือ พรหมลูกฟักนะ มีองค์หนึ่งท่านเล่น เมื่อไม่กี่วันมานี้ ท่านอนุสรณ์ เนี่ย ท่านลองเล่นๆของท่านนะ ดับปั๊บเลย และท่านรู้ว่าไม่ใช่ ไม่ใช่ เพราะมันขาดสติ ออกมาแล้วไม่เห็นจะละกิเลสอะไรเลย ดับไปเฉยๆ ฝึกไม่กี่วันก็เป็นแล้ว นี่คือการเพ่งกาย เพ่งกายแล้วลืมจิต จนจิตดับลงไป เหลือแต่กายอันเดียวล้วนๆ เพราะฉะนั้นเวลาบรรลุมรรคผลนิพพานมีจิต ไม่ใช่ไม่มี ถ้าไม่มีจิตแล้วใครจะรู้นิพพาน นิพพานเป็นอารมณ์นะ มีอารมณ์ต้องมีจิต เป็นกฎนะ กฏของธรรมะ ชื่อภาษาแขกเพราะๆเรียกว่า “ธรรมนิยาม” กฎของธรรมะ ทีนี้พอได้โสดาบันแล้ว การภาวนาก็ยังทำอย่างเก่านั้นแหละ นะ การทำภาวนาอย่างเก่า รู้กายไปรู้ใจไป มีสติ รู้กายรู้ใจลงเป็นปัจจุบัน ทีละขณะ ทีละขณะ คำว่าปัจจุบันก็คือ ๑ ขณะจิตต่อหน้าเรานี่แหละ รู้ลงทีละขณะ ทีละขณะ นิดเดียว เล็กนิดเดียว ๑ ขณะ สำคัญนะ ในทางศาสนาพุทธ อะไรหนึ่ง หนึ่ง เนี่ย สำคัญทั้งนั้นเลย นะ เราภาวนาไปจนถึงจุดสุดท้ายนะ จิตเป็นหนึ่งนะ จิตเป็นหนึ่ง อารมณ์ก็เป็นหนึ่ง ธรรมก็เป็นหนึ่ง ครูบาอาจารย์บางองค์เรียกว่า เอกจิต เอกธรรม หรือจิตหนึ่ง ธรรมหนึ่ง บางองค์เรียก ฐีติจิต ฐีติธรรม แล้วแต่จะเรียก เป็นหนึ่งทั้งหมดเลย หนึ่งเดียวรวด เพราะฉะนั้นภาวนาอยู่กับหนึ่งขณะจิตต่อหน้านี้ ไม่มีตัวมีตน คอยรู้ไปๆนะ ถึงจุดหนึ่ง จิตของเราก็จะเป็นหนึ่งอยู่อย่างนั้น หมายถึง ไม่มีอะไรเข้ามาปรุงแต่งให้เป็นสองได้อีกแล้ว จิตที่มันเป็นสองได้ เป็นสามได้ เพราะว่ามันถูกปรุงแต่ง เหมือนอย่างน้ำที่บริสุทธิ์นี้มีอยู่หนึ่งเดียว ใช่มั้ย น้ำเขียว น้ำแดง น้ำซ่าๆ น้ำเน่า น้ำเหม็น น้ำหอมอะไรนี่ เพราะมันมีของอื่นไปปรุงแต่งเอา พอมันกลั่นตัวของมันจนบริสุทธิ์เต็มที่แล้ว ก็เป็นสภาวะอันเดียวล้วนๆเลย ก็เป็นความบริสุทธิ์ล้วนๆ ของจิตของใจ เวลามีจิตใจเข้าถึงความบริสุทธิ์แล้ว มาดูโลก ดูสรรพสัตว์ ดูตัวเอง ดูอะไรต่ออะไรทั้งหมดเนี่ย ก็จะเห็นเป็นหนึ่งเหมือนกัน คือว่างเปล่าจากความเป็นตัวตนเสมอกันหมดเลย ภาวนานะ ถึงจุดสุดท้าย เข้าถึงจิตก็เป็นหนึ่ง ธรรมก็เป็นหนึ่ง อยู่กับความเป็นหนึ่งนั้นแหละ อยู่กับความไม่มี อยู่กับความไม่เป็นอะไร นี่ ฟังของหลวงพ่อคำเขียนท่านพูด ท่านอยู่กับความไม่มีไม่เป็นแล้วสะใจ ถ้าคนมาเล่าว่าเนี่ย จิตเป็นอย่างนี้ แล้วไปอยู่ตรงนี้นะ ฟังแล้วไม่สะใจ ฟังแล้วเอียนๆ นะ ฝึกเอานะ ศาสนายังไม่ใช่สูญหายไป แต่เรียนให้ดี เรียนคำสอนของพระพุทธเจ้าให้ดี อย่าเชื่ออาจารย์มากเกินไป สติปัฏฐานสำคัญนะ ต้องเรียน อริยสัจจ์ ๔ ต้องเรียน เรียนปริยัติไปก่อน ถ้าเราไม่รู้จักสติปัฏฐาน ไม่รู้จักอริยสัจจ์ ไม่รู้จักไตรลักษณ์ อะไรอย่างนี้นะ ไม่ไหว ภาวนาไม่ไหว พวกนี้เป็นความรู้พื้นฐาน เพราะฉะนั้นจะเรียนพวกนี้นะ หลวงพ่อเขียนไว้ให้อ่านแล้วนะ เยอะแยะเลย นะ ไปอ่านเอาเอง ช่วยตัวเอง หลวงพ่อช่วยไม่ไหวแล้ว นะ เรือหลวงพ่อลำเล็กนะ หลวงพ่อเป็นเรือบด ลำเล็กๆเอาตัวรอดเท่านั้นแหละ พายตุ๊บป่อง ตุ๊บป่อง ข้ามทะเลของหลวงพ่อเอาเอง พวกเราก็ต้องหาเรือของเราเองนะ สิ่งที่จะเป็นเรือให้กับพวกเราคือธรรมนั่นแหละ ทำอะไรบ้างล่ะ สติ สมาธิ ปัญญา นั่นแหละ สติ สัมมาสมาธิ ปัญญา หรือ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ สัมมาทิฎฐิ สิ่งเหล่านี้ต้องพัฒนาขึ้นมา

พระราชพรหมยานเถระ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตฺตํ ราชรถูปมํ. ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ. สูทั้งหลาย จงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถ ที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตฺตํ ราชรถูปมํ. ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ. สูทั้งหลาย จงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถ ที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่

พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..เอถ ปสฺสถิมํ โลกํ จิตฺตํ ราชรถูปมํ. ยตฺถ พาลา วิสีทนฺติ นตฺถิ สงฺโค วิชานตํ. สูทั้งหลาย จงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถ ที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่พวกผู้รู้หาข้องอยู่ไม่

สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.พระธรรมเทศนาโดยพระราชพรหมยานเถระ หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง..มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั­้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันต­ผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจ­ับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแ­ล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคาม­ี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั­้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว

ความจริงมีแต่ทุกข์เท่านั้นเอง พระพุทธเจ้าสอนนะ ขันธ์ห้าเป็นทุกข์นะ ท่านไม่ได้สอนว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์บ้างสุขบ้าง เราเห็นยังไม่ถึงที่ท่านบอก ต้องอดทน ฟังแล้วฟังอีก ฟังแล้วก็ดูไปเรื่อย ฟังแล้วก็มาสังเกตกาย สังเกตใจไปเรื่อย ทุกวันๆ เราก็จะเขยิบใกล้ความจริงเข้าไปเรื่อยๆ ถึงจุดสุดท้าย เข้าถึงความจริงแท้ เข้าถึงอริยสัจจ์นั่นเอง รู้ขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ พอรู้ว่าขันธ์ห้าเป็นทุกข์ล้วนๆ ใจจะวาง ไม่ยึดถือ พอไม่ยึดถือขันธ์ห้าว่าเป็นตัวเราของเราแล้วเนี่ย ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้เป็นสุข ความอยากที่จะให้กายนี้ใจนี้พ้นทุกข์ มันจะดับไปโดยอัตโนมัติ เพราะฉะนั้นรู้ทุกข์แจ่มแจ้งเมื่อไร สมุทัยจะถูกละโดยอัตโนมัติ พอทันทีที่สมุทัยถูกละ นิโรธคือนิพพานจะปรากฏต่อหน้าต่อตาเรานี่เอง นิพพานไม่ได้อยู่ไกลๆนะ นิพพานไม่ใช่อยู่ไกลๆ นิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตานี่เอง วันใดที่ใจเราสิ้นตัณหาอย่างแท้จริง เพราะมีปัญญารู้ทุกข์อย่างแท้จริง วางกายวางใจได้ รู้ทุกข์แล้ววางกายวางใจได้ ตัณหาจะสิ้นไป นิพพานจะปรากฏต่อหน้า ใจที่มันไม่ดิ้นมันจะเห็นธรรมะที่ไม่ดิ้น ใจที่มันไม่อยากมันก็เห็นธรรมะที่ไม่อยาก เห็นนิพพานนั่นเอง มันจะมีแต่ความสุขล้วนๆ เลยถึงตรงจุดนี้ เพราะอะไรถึงมีความสุขล้วนๆ เพราะมันพ้นจากขันธ์แล้ว จิตมันพรากออกจากขันธ์นะ ขันธ์อยู่ส่วนขันธ์ จิตอยู่ส่วนจิต ไม่กระทบกันเลย โดยที่ไม่ต้องระวังรักษาอีกต่อไปแล้ว งั้นเมื่อมันพ้นขันธ์ได้ก็คือมันพ้นทุกข์นั่นเอง พระพุทธเจ้าสอนว่าขันธ์ห้าคือทุกข์ เมื่อไรมันพ้นขันธ์ก็คือพ้นทุกข์ ตัณหาก็ไม่มีนะ จิตใจมีแต่สันติสุข คำว่า “สันติ” ก็เป็นชื่อของนิพพาน จิตใจที่เข้าถึงนิพพาน มีความสุขจนไม่รู้จะเทียบกับอะไร ความสุขอย่างโลก ๆ ความสุขเหมือนกับเด็กเล่นฝุ่นเล่นทรายเท่านั้นเอง ค่อยเรียนนะ ค่อยเรียน อดทนในการเรียน การปฎิบัติไม่มีอะไรยาก ง่ายสุด สุด เลย ร่างกายเป็นอย่างไร รู้ว่าเป็น อย่างนั้น จิตใจ รู้ว่าเป็นอย่างนั้น ไม่ใช่ไปดัดแปลงกาย ดัดแปลงใจ..จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์

การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนามถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว

พระอริยะบุคคล พระอนาคามี...ดูกรมหานาม ถ้าแม้ว่า อริยสาวกเล็งเห็นด้วยปัญญาโดยชอบตามเป็นจริงว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ แต่อริยสาวก นั้นเว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม ยังไม่บรรลุปีติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบกว่านั้น เธอจะ ยังเป็นผู้ไม่เวียนมาในกามไม่ได้ก่อน แต่เมื่อใด อริยสาวกได้เล็งเห็นด้วยปัญญาโดยชอบ ตาม ความเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ และเธอก็เว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม บรรลุปีติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบกว่า นั้น เมื่อนั้น เธอย่อมเป็นผู้ไม่เวียนมาในกามเป็นแท้. ดูกรมหานาม แม้เราเมื่อเป็นโพธิสัตว์ ยังมิได้ตรัสรู้ ก่อนตรัสรู้ทีเดียว ก็เล็งเห็นด้วย ปัญญาโดยชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ และเราก็เว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม ไม่บรรลุปีติและสุข หรือกุศล ธรรมอื่นที่สงบกว่านั้น เราจึงปฏิญาณว่าเป็นผู้ไม่เวียนมาในกามมิได้ก่อน แต่เมื่อใด เราเล็งเห็น ด้วยปัญญาโดยชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้น มาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ และเราก็เว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม บรรลุปีติและสุข และ กุศลอื่นที่สงบกว่านั้น เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณได้ว่า เป็นผู้ไม่เวียนมาในกาม.