วันจันทร์ที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2558
การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนามหากจะถามว่าคนเรามีชีวิตอยู่เพื่อสิ่งใด? คำตอบคงออกมาในลักษณะที่แตกต่างกัน บ้างว่า มีชีวิตเพื่อความร่ำรวย บ้างว่าเพื่อความรัก บ้างว่าเพื่อชื่อเสียง บ้างว่าเพื่อหากินไปวันๆ ไม่ว่าคำตอบ จะออกมาแตกต่างกันอย่างไรก็ตาม หากจะสรุปคำตอบเหล่านั้นลงในคำๆเดียวว่า “มีชีวิตเพื่อแสวงหา ความสุข” คงไม่มีใครปฏิเสธว่าคำตอบนี้ไม่ถูกต้อง เพราะอย่างน้อยที่สุดคงไม่มีใครมีชีวิตเพื่อแสวงหา ความทุกข์แน่นอน แม้จะมีข้อสรุปว่าคนเรามีชีวิตเพื่อแสวงหาความสุข แต่หากลองพิจารณาดูชีวิตของแต่ละคนแล้ว กลับพบว่าไม่มีใครที่มีความสุขแท้จริงสักคนเดียว มีแต่ความสุขจอมปลอม ชั่วครู่ชั่วคราว ขาดๆหายๆ ครึ่งๆกลางๆ สุขบ้างทุกข์บ้าง สลับกันไป เช่นนั้นทำอย่างไรจึงจะมีความสุขที่สมบูรณ์ แท้จริง ยั่งยืนถาวร ความสุขก็เช่นเดียวกับสังขาร ธรรมอื่นๆ ย่อมเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัยหลายๆประการประกอบกัน ช่วยกันอุดหนุนให้ความสุขเกิดขึ้นและ ตั้งอยู่ได้ หากต้องการความสุขที่สมบูรณ์แท้จริง ยั่งยืนถาวร ก็ต้องทำเหตุปัจจัยเหล่านั้นให้พร้อม ก็จะได้ความสุขดังหวัง ความสุขนอกจากจะเกิดจากเหตุปัจจัยหลายประการแล้ว ความสุขก็ยังมีเสี้ยนหนามที่คอยทิ่มตำ ความสุขให้ได้รับความเจ็บปวด คอยทำลายความสุขให้กลับกลายเป็นความทุกข์อยู่เสมอๆ ในบรรดา เสี้ยนหนามทั้งหลายของความสุข สิ่งที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งก็คือความกลัวตาย ความตายเป็นความสิ้นสุดของชีวิต ซึ่งคู่กับความเกิดคือการเริ่มต้นของชีวิต เพราะฉะนั้นสำหรับ ชีวิตที่เกิดมาแล้วก็ไม่มีทางหนีความตายได้พ้น เมื่อเป็นเช่นนี้ความตายก็เป็นสิ่งที่น่ากลัวอยู่เหมือนกัน แต่ใช่ว่าจะไม่มีทางออกเสียเลยทีเดียว แม้เราจะหนีความตายไม่พ้น แต่เราก็มีวิธีปฏิบัติที่จะอยู่เหนือ ความตายคือไม่เป็นทุกข์เพราะความตายเป็นเหตุ เมื่อเราปฏิบัติตามวิธีนั้นแล้ว ความกลัวตายก็จะ ถูกทำลายลง จิตใจก็จะอยู่เหนือความตาย ชีวิตของเราก็จะมีความสุขที่สมบูรณ์ เพราะฉะนั้นจึงควรทำ ความรู้จักกับความตายในแง่มุมต่างๆ รวมทั้งวิธีปฏิบัติเพื่อให้จิตใจอยู่เหนือความตาย
การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนาม""สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคและท่านพระสารีบุตร ท่านพระ อุปเสนะ อยู่ที่ป่าชื่อสีตวัน ใกล้เงื้อมสัปปโสณฑิกะ ใกล้พระนครราชคฤห์ สมัยนั้นแล อสรพิษตัวหนึ่งได้ตกลงที่กายของท่านพระอุปเสนะ ครั้งนั้นแล ท่านพระอุปเสนะเรียกภิกษุทั้งหลายว่า จงมาเถิด ผู้มีอายุ จงยกกายเรานี้ขึ้นสู่เตียง แล้วนำออกไปในภายนอก ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยรายในที่นี้แล ประดุจกำแกลบ เมื่อท่านพระอุปเสนะกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะท่านพระ อุปเสนะว่า ความที่กายของท่านพระอุปเสนะเป็นอย่างอื่น หรือความแปรปรวนแห่ง อินทรีย์ของท่านพระอุปเสนะ เราทั้งหลายยังไม่เห็นเลย เมื่อเป็นเช่นนี้ ท่านพระ อุปเสนะยังพูดอย่างนี้ว่า จงมาเถิด ผู้มีอายุ จงยกกายเรานี้ขึ้นสู่เตียงแล้วนำไป ภายนอก ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยราย ณ ที่นี้ ประดุจกำแกลบเล่า ท่านพระอุปเสนะ กล่าวว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ผู้ใดพึงมีความตรึกอย่างนี้ว่า เราเป็นจักษุ หรือ จักษุเป็นของเรา ฯลฯ เราเป็นจิต หรือจิตเป็นของเรา ความที่กายเป็นอย่างอื่น หรือความแปรปรวนแห่งอินทรีย์พึงมีแก่ผู้นั้นแน่นอน ดูกรท่านพระสารีบุตร เรา มิได้มีความตรึกอย่างนี้ว่า เราเป็นจักษุ หรือจักษุเป็นของเรา ฯลฯ เราเป็นจิต หรือจิตเป็นของเรา ความที่กายจักกลายเป็นอย่างอื่น หรือความแปรปรวนแห่ง อินทรีย์จักมีแก่เรานั้น ได้อย่างไร
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..พระราชพรหมยานเถระ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ
พระราชพรหมยานเถระ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..พระราชพรหมยานเถระ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์.ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ
เราเห็นโทษในกามทั้งหลายเราสลัดตนจากกามทั้งปวงเราได้บรรลุความสิ้นอาสวะแล้ว.. ปุถุชนเหล่าใดมีจิตกำหนัด เข้าไปซ่องเสพหญิงเหล่า นั้น ปุถุชนเหล่านั้นย่อมยังสงสารอันน่ากลัวให้เจริญ ย่อมก่อ ภพใหม่ขึ้นอีก ส่วนผู้ใดงดเว้นหญิงเหล่านั้น เหมือนบุคคล สลัดหัวงูด้วยเท้า ผู้นั้นเป็นผู้มีสติ ระงับตัณหาอันซ่านไปใน โลกเสียได้ เราเห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นการออกบรรพชา โดยความเกษม สลัดตนจากกามทั้งปวง เราได้บรรลุความ สิ้นอาสวะแล้ว..
วันอาทิตย์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2558
Buddan Saranan Gachchami _ (Original) Mohideen Beg _ New Sinhala Songs...เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”
วันเสาร์ที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2558
พุทธคยาถึงพาราณสีอุกาสะ วันทามิ ภันเต, เจติยัง สัพพัง สัพพัตถะฐาเน สุปะติฏฐิตัง, สารีริกะธาตุ มะหาโพธิง พุทธะรูปัง สะกะลัง สะทา, กายะสา วะจะสา มะนะสา, เจวะ วันทาเมเต ตะถาคะเต, สะยะเน อาสะเน ฐาเน คะมะเน, จาปิ สัพพะทา, อุกาสะ วันทามิ ภันเต, สัพพัง อะปะราธัง ขะมะถะ เม ภันเต, มะยา กะตัง ปุญญัง สามินา อะนุโมทิตัพพัง, สามินา กะตัง ปุญญัง มัยหัง ทาตัพพัง, สาธุ สาธุ สาธุ อะนุโมทามิ ตอบกลับ ·
อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม ..วัดท่าซุงสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว ...
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน
กิเลสก็ส่วนกิเลสจิตก็ส่วนจิตถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลยสันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
กิเลสก็ส่วนกิเลสจิตก็ส่วนจิตถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลยสันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุข..คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ
โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดก..คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ
โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดก... บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ.
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์.. บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ.
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์.. บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ.
งานที่ทำแล้วจบไม่ต้องทำอีก.. บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ.
พระพุทธพจน์ธรรมบท เป็นชื่อประชุมพระพุทธพจน์ในรูปแบบคาถา และเป็น 1 ในตำราพุทธศาสนาซึ่งได้รับความนิยมอ่านทั้งเป็นที่รู้จักมากที่สุด ธรรมบทฉบับต้นที่สุดอยู่ในขุททกนิกาย
วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2558
กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสั...กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า
ผู้สละโลก ทุกข์ในรูปแห่งสุข..ผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชาเป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี..ดูกรมหานาม ถ้าแม้ว่า อริยสาวกเล็งเห็นด้วยปัญญาโดยชอบตามเป็นจริงว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ แต่อริยสาวก นั้นเว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม ยังไม่บรรลุปีติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบกว่านั้น เธอจะ ยังเป็นผู้ไม่เวียนมาในกามไม่ได้ก่อน แต่เมื่อใด อริยสาวกได้เล็งเห็นด้วยปัญญาโดยชอบ ตาม ความเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ และเธอก็เว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม บรรลุปีติและสุข หรือกุศลธรรมอื่นที่สงบกว่า นั้น เมื่อนั้น เธอย่อมเป็นผู้ไม่เวียนมาในกามเป็นแท้. ดูกรมหานาม แม้เราเมื่อเป็นโพธิสัตว์ ยังมิได้ตรัสรู้ ก่อนตรัสรู้ทีเดียว ก็เล็งเห็นด้วย ปัญญาโดยชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ และเราก็เว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม ไม่บรรลุปีติและสุข หรือกุศล ธรรมอื่นที่สงบกว่านั้น เราจึงปฏิญาณว่าเป็นผู้ไม่เวียนมาในกามมิได้ก่อน แต่เมื่อใด เราเล็งเห็น ด้วยปัญญาโดยชอบ ตามเป็นจริงอย่างนี้ว่า กามให้ความยินดีน้อย มีทุกข์มาก มีความคับแค้น มาก โทษในกามนี้ยิ่ง ดังนี้ และเราก็เว้นจากกาม เว้นจากอกุศลธรรม บรรลุปีติและสุข และ กุศลอื่นที่สงบกว่านั้น เมื่อนั้น เราจึงปฏิญาณได้ว่า เป็นผู้ไม่เวียนมาในกาม.
ทุกข์เท่านั้นที่เกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นที่ตั้งอยู่ทุกข์เท่านั้นที่ดับไป..พรจากหลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุงให้ทำบุญดีกว่านะ
พรจากหลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุงให้ทำบุญดีกว่านะ..พรจากหลวงพ่อฤาษีวัดท่าซุงให้ทำบุญดีกว่านะ
วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์เพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก
อริยสัจสี่ของคนธรรมดาสามัญhttps://www.youtube.com/watch?v=xkJEUQpkROk ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ
สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด
เครื่องสำรองไฟ กระแสตรงใช้ขับมอเตอร์สามเฟส สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ 1 วินาทีที่ผ่านมา ใช้ TM 51 เพิ่มแรงดันไฟฟ้า ครับ...ดูรายละเอียด ให้พิมพ์ TM51 ใน google แล้ว คลิก Video ครับ...
เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าโปรด พร่ำสอนข้าพระองค์ ด้วยธรรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ เพื่อความสุขแก่ ข้าพระองค์ตลอดกาลนานเถิด. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า นั่น ถูกแล้ว ๆ คฤหบดี อันที่จริง กายนี้กระสับกระส่ายเป็นดังฟองไข่ อันหนังหุ้มไว้ ดูก่อนคฤหบดี ก็บุคคลผู้บริหารกายนี้อยู่ พึงรู้ตัวได้ชัดว่าไม่มีโรคได้แม้ เพียงครู่เดียว ก็จะมีอะไรเล่า นอกจากความเป็นคนเขลา ดูก่อนคฤหบดี เพราะเหตุนี้แหละ ท่านพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เมื่อเรามีกายกระสับกระส่าย อยู่ จิตของเราจักไม่กระสับกระส่าย ดูก่อนคฤหบดี ท่านพึงศึกษา อย่างนี้แล.
งานที่ทำแล้วจบไม่ต้องทำอีกจิตจำสภาวะธรรมได้หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน. ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,
โซล่าเซลล์ ต่อกับ โทรทัศน์ และ คอมพิวเตอร์ดูจาก Link ข้างล่าง ครับ... http://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM
SOLAR CELL LCD TV 32'' COMPUTER 350 WATTSดูจาก Link ข้างล่าง ครับ... http://www.youtube.com/user/MrSompongt/featured http://www.youtube.com/watch?v=LPlTdDmECso&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Jr4PA2yZjFY&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=Z_JSi0kmXMg&list=UU20nBm3_5W2tAtyJOL_qaXw http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8 http://www.youtube.com/watch?v=kyzT6zvmkDw http://www.youtube.com/watch?v=CX9f6zgZmWI http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=VSgnpBGL1Pg http://www.youtube.com/watch?v=57bJlcdrLqg http://www.youtube.com/watch?v=6Mys6jv1YRk http://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA http://www.youtube.com/watch?v=z1x7NKF_Sy8 http://www.youtube.com/watch?v=WE9riRuQLcs http://www.youtube.com/watch?v=_JNSc2QOdwY http://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg http://www.youtube.com/watch?v=_XPWPI3uJXw http://www.youtube.com/watch?v=ynxSRSOsF8w http://www.youtube.com/watch?v=FPC67MdEZiI http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=svdDbLp23js http://www.youtube.com/watch?v=tUat2rFQYsM http://www.youtube.com/watch?v=-L_ACmhE4ro http://www.youtube.com/watch?v=djVTbW-sg_Q http://www.youtube.com/watch?v=C-_50YAt3AA http://www.youtube.com/watch?v=3zpTA3pF_ao http://www.youtube.com/watch?v=2Jfv7hEbg88 http://www.youtube.com/watch?v=fX-s0ODbXho http://www.youtube.com/watch?v=xtz1_-1oMsk http://www.youtube.com/watch?v=JboEh5T-VdE http://www.youtube.com/watch?v=nwrjWZ7XicA http://www.youtube.com/watch?v=z8Y_M_4MDqU http://www.youtube.com/watch?v=yWG6RHYU8Rw http://www.youtube.com/watch?v=j-9v856xrl0 http://www.youtube.com/watch?v=UlfpFRHun14 http://www.youtube.com/watch?v=w3MeaL7d-ZE http://www.youtube.com/watch?v=FCXR0ReeBsg http://www.youtube.com/watch?v=CYiiYnBgLdc http://www.youtube.com/watch?v=vUD68rti4Lk http://www.youtube.com/watch?v=GtZcAIPgxxo http://www.youtube.com/watch?v=skqQYQm1grw http://www.youtube.com/watch?v=xSwU4kiRdw8 http://www.youtube.com/watch?v=CzVp_-MP84k http://www.youtube.com/watch?v=0YMr5JhaHoU http://www.youtube.com/watch?v=SnhnNlu9Gi8 http://www.youtube.com/watch?v=MYsdOYikxfM http://www.youtube.com/watch?v=PZzMvTEnl0A http://www.youtube.com/watch?v=7ZFjwbYbaFk http://www.youtube.com/watch?v=VcWYY1Ot83Y http://www.youtube.com/watch?v=fZ6W2K3VAVs http://www.youtube.com/watch?v=XAxWglkvxhc http://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 http://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 http://www.youtube.com/watch?v=ucDsgWDC3lo http://www.youtube.com/watch?v=OY1u0LSMZ9E http://www.youtube.com/watch?v=3VfbBbfMFGU http://www.youtube.com/watch?v=LjH1nxFdJXM http://www.youtube.com/watch?v=XPhW6LNOVLU http://www.youtube.com/watch?v=9g9TroSM1gI http://www.youtube.com/watch?v=QTUk4a4l6sI http://www.youtube.com/watch?v=0FsWDpTZTJM http://www.youtube.com/watch?v=LHR_jSk5Dag http://www.youtube.com/watch?v=998KKwoPCl0 http://www.youtube.com/watch?v=YERYlMCHpn0 http://www.youtube.com/watch?v=fFZXYPB8w9E http://www.youtube.com/watch?v=AuVMkjmOjxc http://www.youtube.com/watch?v=ZQpVoosUZBM
วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2558
เพื่อความไม่ประมาทในการเจริญกุศลเมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ. พระราชาทรงปราบชนะทั่วแผ่นดิน ทรงครอบครองแผ่นดินใหญ่มีมหาสมุทรเป็นขอบเขต ทรงครองมหาสมุทรฝั่งนี้แล้ว มีพระทัยไม่อิ่ม ยังปรารถนาแม้มหาสมุทรฝั่งโน้นต่อไปอีก. เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วยปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็นโทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นนั่นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วยปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหาย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญาเปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนเพราะกามทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประกอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ดีๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้วย่อมมีความสุข เราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรารถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย.
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด
การนั่งสมาธิให้จิตนิ่ง กับการบรรลุธรรม เป็นคนละเรื่องกันพระอรหันต์ส่วนใหญ่ในสมัยพุทธกาลนะ ก่อนที่จะบรรลุพระอรหันต์ ก่อนที่จะบรรลุพระโสดาฯอะไรอย่างนี้ ก็ทำฌานไม่ได้เหมือนพวกเรานี้เอง ยกตัวอย่างเมื่อวานนี้ที่หลวงพ่อเล่าให้ฟัง พวกที่ไม่ได้มา เล่าย่อๆนิดนึงพระพุทธเจ้าท่านอยู่กับพระ หมู่สงฆ์จำนวนมากนะ แล้วท่านก็อธิบายให้สงฆ์ฟัง บอกว่าในบรรดาพระอรหันต์ ๕๐๐ องค์เนี่ย เป็นพระอรหันต์ที่ได้วิชา ๓ เนี่ย ๖๐ องค์ อภิญญา ๖ อีก ๖๐ องค์ ได้อุภโตภาควิมุตติ ๖๐ องค์ พระอรหันต์ ๓ จำพวกนี้ต้องทรงฌาน รวมแล้ว ๑๘๐ องค์ อีก ๓๒๐ องค์ คือคนอย่างพวกเรานี่เองเพราะฉะนั้นไม่ใช่ว่าเราเข้าฌานไม่ได้เราจะสิ้นหวังเป็นพระอรหันต์ไม่ได้ ไม่ใช่เลยนะ เราก็ต้องรู้จักวิธีปฏิบัติที่พอเหมาะพอควรกับสิ่งที่เราเป็นสิ่งที่เรามีอยู่ เรามีความฟุ้งซ่านมาก เราไม่ได้มีสมาธิมาก เข้าฌานไม่เป็น เราก็มาฝึกให้ได้สมาธิชนิดตั้งมั่น แต่มันจะตั้งอยู่ชั่วขณะเท่านั้นเอง ไม่ตั้งนาน ไม่ใช่อัปนาสมาธิ แต่จะตั้งเป็นขณะๆเรียกว่า ขณิกสมาธิ จิตตั้งเป็นขณะๆนะขณิกสมาธิ วิธีฝึกนะ พวกเรา เบื้องต้นทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้ทำเพื่อจะเข้าฌาน ทำเพื่อเป็นเครื่องอยู่ของจิตเท่านั้นเอง หัดพุทโธไปก็ได้ หัดรู้ลมหายใจไปก็ได้ หัดดูท้องพองยุบไปก็ได้ ทำกรรมฐานอะไรก็ได้ แต่ไม่ได้ทำเพื่อน้อมจิตไปอยู่กับอารมณ์อันนั้น ถ้าน้อมจิตไปอยู่ที่อารมณ์อันนั้นจะเป็นสมาธิชนิดที่ ๑ (ดู วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่น (๑/๓)) คือสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว เรียกว่า อารัมณูปนิชฌาน ถ้าทำกรรมฐานขึ้นอย่างหนึ่งแล้วรู้ทันจิต จิตไหลไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปเพ่งอารมณ์กรรมฐานอันนั้นก็รู้ทัน จิตมันเคลื่อนตลอดนะ เคลื่อนไปคิดก็ได้ เคลื่อนไปเพ่งก็ได้ ถ้าเรารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะเลิกเคลื่อน เพราะจิตที่เคลื่อนเป็นจิตฟุ้งซ่าน ทันที่สติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตจะไม่ฟุ้งซ่าน จิตก็จะตั้งมั่นอยู่กับฐานเพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา รู้ลมหายใจอยู่ จิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจ รู้ว่าจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจแล้ว จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา ถ้ารู้ทันว่าจิตไหลไปนะ จิตจะตั้งมั่น เพราะฉะนั้นเบื้องต้นจะต้องทำกรรมฐานอย่างหนึ่งเสียก่อนนะ ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทัน เดี๋ยวก็ไหลไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ดูไม่ทันหรอก เพราะฉะนั้นเบื้องต้นทำกรรมฐานขึ้นมาสักอย่างหนึ่งก่อน พุทโธก็ได้ หายใจก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิตไป จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตไปเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวก็รู้นะ จิตเคลื่อนไปเมื่อไหร่ให้รู้ทันถ้ารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยไม่ได้เจตนาให้ตั้ง มันตั้งของมันเอง
พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานพระอรหันต์ส่วนใหญ่ในสมัยพุทธกาลนะ ก่อนที่จะบรรลุพระอรหันต์ ก่อนที่จะบรรลุพระโสดาฯอะไรอย่างนี้ ก็ทำฌานไม่ได้เหมือนพวกเรานี้เอง ยกตัวอย่างเมื่อวานนี้ที่หลวงพ่อเล่าให้ฟัง พวกที่ไม่ได้มา เล่าย่อๆนิดนึงพระพุทธเจ้าท่านอยู่กับพระ หมู่สงฆ์จำนวนมากนะ แล้วท่านก็อธิบายให้สงฆ์ฟัง บอกว่าในบรรดาพระอรหันต์ ๕๐๐ องค์เนี่ย เป็นพระอรหันต์ที่ได้วิชา ๓ เนี่ย ๖๐ องค์ อภิญญา ๖ อีก ๖๐ องค์ ได้อุภโตภาควิมุตติ ๖๐ องค์ พระอรหันต์ ๓ จำพวกนี้ต้องทรงฌาน รวมแล้ว ๑๘๐ องค์ อีก ๓๒๐ องค์ คือคนอย่างพวกเรานี่เองเพราะฉะนั้นไม่ใช่ว่าเราเข้าฌานไม่ได้เราจะสิ้นหวังเป็นพระอรหันต์ไม่ได้ ไม่ใช่เลยนะ เราก็ต้องรู้จักวิธีปฏิบัติที่พอเหมาะพอควรกับสิ่งที่เราเป็นสิ่งที่เรามีอยู่ เรามีความฟุ้งซ่านมาก เราไม่ได้มีสมาธิมาก เข้าฌานไม่เป็น เราก็มาฝึกให้ได้สมาธิชนิดตั้งมั่น แต่มันจะตั้งอยู่ชั่วขณะเท่านั้นเอง ไม่ตั้งนาน ไม่ใช่อัปนาสมาธิ แต่จะตั้งเป็นขณะๆเรียกว่า ขณิกสมาธิ จิตตั้งเป็นขณะๆนะขณิกสมาธิ วิธีฝึกนะ พวกเรา เบื้องต้นทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง แต่ไม่ได้ทำเพื่อจะเข้าฌาน ทำเพื่อเป็นเครื่องอยู่ของจิตเท่านั้นเอง หัดพุทโธไปก็ได้ หัดรู้ลมหายใจไปก็ได้ หัดดูท้องพองยุบไปก็ได้ ทำกรรมฐานอะไรก็ได้ แต่ไม่ได้ทำเพื่อน้อมจิตไปอยู่กับอารมณ์อันนั้น ถ้าน้อมจิตไปอยู่ที่อารมณ์อันนั้นจะเป็นสมาธิชนิดที่ ๑ (ดู วิธีฝึกสมาธิชนิดตั้งมั่น (๑/๓)) คือสงบอยู่ในอารมณ์อันเดียว เรียกว่า อารัมณูปนิชฌาน ถ้าทำกรรมฐานขึ้นอย่างหนึ่งแล้วรู้ทันจิต จิตไหลไปคิดก็รู้ทัน จิตไหลไปเพ่งอารมณ์กรรมฐานอันนั้นก็รู้ทัน จิตมันเคลื่อนตลอดนะ เคลื่อนไปคิดก็ได้ เคลื่อนไปเพ่งก็ได้ ถ้าเรารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะเลิกเคลื่อน เพราะจิตที่เคลื่อนเป็นจิตฟุ้งซ่าน ทันที่สติรู้ทันจิตที่ฟุ้งซ่าน จิตจะไม่ฟุ้งซ่าน จิตก็จะตั้งมั่นอยู่กับฐานเพราะฉะนั้นๆเราหัดพุทโธๆนะ จิตหนีไปคิดเรารู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา เราหัดรู้ลมหายใจนะ จิตหนีไปคิดก็รู้ทัน จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา รู้ลมหายใจอยู่ จิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจ รู้ว่าจิตไหลไปอยู่ที่ลมหายใจแล้ว จิตก็จะตั้งมั่นขึ้นมา ถ้ารู้ทันว่าจิตไหลไปนะ จิตจะตั้งมั่น เพราะฉะนั้นเบื้องต้นจะต้องทำกรรมฐานอย่างหนึ่งเสียก่อนนะ ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทัน เดี๋ยวก็ไหลไปทางตา ทางหู ทางจมูก ทางลิ้น ทางกาย ทางใจ ดูไม่ทันหรอก เพราะฉะนั้นเบื้องต้นทำกรรมฐานขึ้นมาสักอย่างหนึ่งก่อน พุทโธก็ได้ หายใจก็ได้ แล้วก็คอยรู้ทันจิตไป จิตหนีไปคิดก็รู้ จิตไปเพ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียวก็รู้นะ จิตเคลื่อนไปเมื่อไหร่ให้รู้ทันถ้ารู้ทันจิตที่เคลื่อน จิตจะไม่เคลื่อน จิตจะตั้งมั่นขึ้นโดยอัตโนมัติ โดยไม่ได้เจตนาให้ตั้ง มันตั้งของมันเอง
วันเสาร์ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2558
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
สัมมาสมาธิที่พระพุทธเจ้าทรงสอนเอโกทิภาวะ หรือภาวะแห่งความเป็นหนึ่ง ในอรรถกถาบอกว่า คือสัมมาสมาธินั่นเอง เอโกทิภาวะก็คือ สภาวะที่ใจนี้ตั้งมั่น เด่นดวง ขึ้นมา แล้วมันเห็นอารมณ์ทุกสิ่งทุกอย่างเป็นของถูกรู้ถูกดู ใจมันเป็นแค่ผู้รู้ผู้ดู เนี่ยถ้าใจเราเข้าไปถึงฌานที่ ๒ ทุติยฌาน เราจะได้ เอโกทิภาวะ ขึ้นมา และถ้าถึง ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ถึงฌานที่ ๘ อะไรเหล่านี้ เอโกทิภาวะก็ยังอยู่ ใจจะตั้งมั่นเด่นอยู่อย่างนั้น พอออกจากฌานแล้ว เอโกทิภาวะ นี้ยังทรงตัวอยู่อีกช่วงหนึ่ง อีกหลายชั่วโมง หรืออีกเป็นวันๆได้ ทรงตัว ถ้าฌานนั้นเกิดจากการเดินจงกรม เราเดินจงกรมอยู่แล้วจิตรวมลงไปถึงฌานที่ ๒ เนี่ย ถอยออกมาแล้วนะ เอเอโกทิภาวะทรงตัวอยู่ได้นาน เพราะฉะนั้นถ้าเราทำสมาธิด้วยการเดินได้เนี่ย กำลังของความรู้สึกตัวนี้จะทรงอยู่นานมาก จะนานกว่านั่ง เพราะฉะนั้นสมาธิที่เกิดจากการเดินงกรมจะเข้มแข็ง ทีนี้พอเรามีตัวผู้รู้ขึ้นมา พระป่าท่านจะเรียกว่าตัวผู้รู้นะ ทันทีที่จิตทรงมีตัวผู้รู้ขึ้นมาแล้วเนี่ย เราจะเห็นทันที ว่าร่างกายที่ยืน เดิน นั่ง นอน เนี่ย ไม่ใช่ตัวเรา เห็นมั้ย พอใจทรงตัวขึ้นมา มีสัมมาสมาธิขึ้นมา ปัญญาจะเกิดขึ้นมาทันทีเลย จะเห็นทันทีเลยว่า กายที่ยืนเดินนั่งนอนอยู่นี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่หายใจเข้าหายใจออกนี้ไม่ใช่ตัวเรา กายที่พองที่ยุบนี้ไม่ใช่ตัวเรา จะเห็นทันที ไม่ต้องคิดนะ แต่จะเห็นทันที จะรู้สึกทันที เนี่ยถ้าเราฝึกเต็มภูมินะ เราจะเดินมาอย่างนี้ เพราะฉะนั้นกายานุปัสสนานะ หรือเวทนานุปัสสนาก็ตามเนี่ย ในอภิธรรมท่านถึงสอบบอกว่า เหมาะกับคนเล่นฌาน กายานุปัสสนา เวทนานุปัสสนา จะทำได้ดีถ้าเราทำฌาน และฌานนั้นถ้าจะดีจริงๆต้องถึงฌานที่ ๒ แล้ว จะมีเอโกทิภาวะขึ้นมา แล้วจะเห็นทันทีว่ากายนี้ไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จะเห็นอย่างนั้น ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย
อันแรกเริ่มเดิมความตามจิตแท้จิตนั้นแลเป็นพุทธะสุขหนักหนาจิตจุติแต่หนใดไร...ไม่ควรเพื่อทำกรรมที่ บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยัง ไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตรไม่ควรเพื่อทำกรรมที่ บุคคลทำแล้วพึงเข้าถึงนรก กำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน หรือปิตติวิสัย ไม่ควรเพื่อทำกาละตราบเท่าที่ยัง ไม่ทำให้แจ้งซึ่งโสดาปัตติผล. ดูกรภิกษุทั้งหลาย ผู้ใดรู้เห็นธรรมเหล่านี้อย่างนี้. เรากล่าวผู้นี้ว่า เป็นโสดาบัน มีความไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงที่จะตรัสรู้เป็นเบื้องหน้า.
พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตรข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว
พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตรข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว
เดินสมาธิถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
สมาธิเต็มรูปแบบถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริง ไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนก...อริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558
มีอยู่สองอย่างคือจิตกับกิเลส กิเลสเกิดที่จิตถ้าทันรู้จิตกิเลสก็ดับเรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อจิตหนึ่งนี้เท่านั้น และ ไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย เราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น
ศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว เป็นศาสนานำสัตว์ออกจากทุกข์เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อจิตหนึ่งนี้เท่านั้น และ ไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย เราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น
ไม่ใช่วิปัสสนาผิดทางแล้วใช้ไม่ได้มันเป็นนิมิต..ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์...ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
สติปัฎฐาน อริยสัจ พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์..ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี..พระอนาคามี มีอยู่ 5 ประเภท ได้แก่ 1. อันตราปรินิพพายี ผู้ปรินิพพานในระหว่าง คือ เกิดในสุทธาวาสภพใดภพหนึ่งแล้ว อายุยังไม่ถึงกึ่ง ก็ปรินิพพานโดยกิเลสปรินิพพาน 2. อุปหัจจปรินิพพายี ผู้จวนจะถึงจึงปรินิพพาน คือ อายุพ้นกึ่งแล้ว จวนจะถึงสิ้นอายุจึงปรินิพพาน 3. อสังขารปรินิพพายี ผู้ปรินิพพานโดยไม่ต้องใช้แรงชักจูง คือ ปรินิพพานโดยง่าย ไม่ต้องใช้ความเพียรนัก 4. สสังขารปรินิพพายี ผู้ปรินิพพานโดยใช้แรงชักจูง คือ ปรินิพพานโดยต้องใช้ความเพียรมาก 5. อุทธังโสโต อกนิฏฐคามี ผู้มีกระแสในเบื้องบนไปสู่อกนิฏฐภพ คือ เกิดในสุทธาวาสภพใดภพหนึ่งแล้วก็ตาม จะเกิดเลื่อนต่อขึ้นไปจนถึงอกนิฏฐภพแล้วจึงปรินิพพาน
วันพฤหัสบดีที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2558
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี..ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี..ผู้ที่เคยบำเพ็ญพรตมานาน เป็นผู้สลดใจได้เร็ว และมีอำนาจจิตพิเศษในการต่อต้านซึ่งสิ่งที่ต่อต้านได้ยาก มีพลังจิตเข้มแข็งในการที่จะสละสิ่งที่บุคคลสละได้โดยยาก บารมีธรรมที่สั่งสมอยู่ในดวงจิตเป็นสิ่งที่ไม่เคยสูญหาย มันคอยกระตุ้นเตือนให้บุคคลเบนชีวิตไปตามวิถีทางที่เขาเคยเดินมาแล้วเป็นเวลานาน เขาเดินฝ่าความมืดออกไป มีทางเลี้ยวไปทางไหน เขาก็ไปทางนั้น ไปอย่างไม่มีจุดหมาย เขาคิดว่าพออรุณรุ่งก็พอจะหาทางที่แน่นอนได้ และพยายามสืบถามว่า เวลานี้พระอนันตชินอยู่ที่ใด จนกระทั่งสายตะวันโด่ง เขารู้สึกหิวเพราะเดินทางมาเป็นเวลานาน อาหารก็มิได้ติดตัวมาเลย เขาออกจากบ้านอย่างกะทันหัน ไม่มีแผนการล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อมาถึงหมู่บ้านแห่งหนึ่งจึงเข้าไปขออาหารจากชาวบ้านพอประทังหิวแล้วเดินทางต่อไป ค่ำที่ไหนนอนที่นั่น เที่ยงวันวันหนึ่งอากาศร้อนอบอ้าว หลังจากได้เดินทางเหน็ดเหนื่อยเหงื่อโซมกายแล้ว เขาแวะเข้าพัก ณ ใต้ร่มพฤกษ์ใหญ่ใบหนาลมโชยมาเบา ๆ ต้องผิวกายชุ่มชื่น เขาเอนตัวลงนอนพัก เอารากไม้แทนหมอน และหลับไปด้วยความอ่อนเพลีย เขาตื่นขึ้นเมื่อพระอาทิตย์คล้อยไปทางทิศตะวันตกมากแล้ว รู้สึกชุ่มชื่นและมีกำลัง เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีต โดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดี เป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่า ๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี..เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีตโดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดีเป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่าๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ -- มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู -- ความรู้เป็นประดุจยาพิษเพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษเพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา -- แสงจันทร์ และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว -- สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้เป็นภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขม หรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้สตรีจึงเอาใจออกห่างจากผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น -- ความรักในสมบัติ ความรักชีวิตย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไป ทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ -- ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมณ์ ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี ไม่มีสถานที่ ไม่มีโอกาส ไม่มีบุรุษจะชักชวนให้ไขว้เขว นารีบริสุทธิ์อยู่ได้เพราะเหตุนี้ต่างหาก -- เหตุที่สตรีจะทนเป็นพรหมจารีอยู่ได้ มิใช่จะเป็นเพราะรู้สึกละอาย มีจริยสมบัติ เกลียดการหยาบคายหรือมีใจเกรงขาม ที่แท้เป็นเพราะยังไม่มีผู้ปรารถนาอย่างเดียวเท่านั้น -- สตรีบางคนทำเป็นหวงตัวอย่างน่าหมั่นไส้ เหมือนใครกระทบกระแทกมิได้เลยแม้แต่น้อย แต่พออยู่ในที่ลับตาคน เธอกลับโถมเข้าหาผู้ชายเหมือนปลากระโดดลงน้ำ บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่าอนันตชิน เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี..เขานั่งตรองถึงชีวิตในอดีตโดยเฉพาะเวลา ๒ ปีที่อยู่ร่วมกับสุชาวดีเป็นระยะเวลาที่เขาลำบากชอกช้ำสุดประมาณได้ ลำดับนั้นสุภาษิตเก่าๆ ที่โบราณบัณฑิตได้กล่าวไว้ก็แจ่มแจ้งแก่เขา ประดุจคบเพลิงสว่างโร่ขึ้นในมุมมืด สุภาษิตนั้นมีดังนี้ -- มีบิดาผู้ซึ่งสะสมหนี้สินไว้มากคือศัตรู มีมารดาผู้ซึ่งมิได้ประพฤติในความบริสุทธิ์คือศัตรู มีภรรยารูปงามคือศัตรู มิตรที่ปราศจากความรู้คือศัตรู -- ความรู้เป็นประดุจยาพิษเพราะมิได้ใช้ความรู้นั้นให้เหมาะสม อาหารก็เปรียบเหมือนยาพิษเพราะไม่ย่อย พระราชวังเป็นประดุจยาพิษสำหรับคนเข็ญใจ ภรรยาสาวก็เปรียบเหมือนยาพิษสำหรับสามีชรา -- แสงจันทร์ และละอองฝนไม่เป็นที่ยินดีของคนหนาว แสงอาทิตย์ไม่เป็นที่พอใจของคนร้อน สามีชราย่อมไม่เป็นที่ยินดีพอใจของภรรยาสาว -- สามีเกศาหงอก ความรักของหญิงสาวผู้เป็นภรรยาจะมีรุนแรงได้อย่างไร ประดุจยาขม หรือไม่ขมก็ตาม ใครจะชอบรับประทานบ้าง เมื่อไม่จำเป็น ด้วยเหตุนี้สตรีจึงเอาใจออกห่างจากผัวแก่ไปฝักใฝ่ในชายอื่น -- ความรักในสมบัติ ความรักชีวิตย่อมมีอยู่ในบุคคลทั่วไป ทุกรูปทุกนาม แต่เมียสาวเป็นที่รักเลิศของผัวเฒ่ายิ่งกว่าหัวใจ -- ชายแก่มีสังขารทรุดโทรม แม้หมดกำลังเพื่อความสนุกรื่นรมณ์ ก็ยังมิวายกระเสือกกระสน เหมือนสุนัขถึงฟันหักเหี้ยน หากพบเนื้อติดกระดูกที่ตนไม่สามารถแทะทึ้งได้ ถึงกระนั้นก็ยังขอแต่ให้ได้เลียก็ยังดี ไม่มีสถานที่ ไม่มีโอกาส ไม่มีบุรุษจะชักชวนให้ไขว้เขว นารีบริสุทธิ์อยู่ได้เพราะเหตุนี้ต่างหาก -- เหตุที่สตรีจะทนเป็นพรหมจารีอยู่ได้ มิใช่จะเป็นเพราะรู้สึกละอาย มีจริยสมบัติ เกลียดการหยาบคายหรือมีใจเกรงขาม ที่แท้เป็นเพราะยังไม่มีผู้ปรารถนาอย่างเดียวเท่านั้น -- สตรีบางคนทำเป็นหวงตัวอย่างน่าหมั่นไส้ เหมือนใครกระทบกระแทกมิได้เลยแม้แต่น้อย แต่พออยู่ในที่ลับตาคน เธอกลับโถมเข้าหาผู้ชายเหมือนปลากระโดดลงน้ำ บัดนี้เขาตัดใจจากสุชาวดีได้แล้ว เรื่องเดียวที่วนเวียนอยู่ในจิตของเขา คือสหายผู้มีนามว่าอนันตชิน เขารอนแรมมาตามลำพังจนกระทั่งถึงเขตสาวัตถี ราชธานีแห่งแคว้นโกศล
พระสกิทาคามี.. ท่านสาธุชนพุทธบริษัททั้งหลายบารมี ๑๐ จบไปแล้ว ต่อแต่นี้ไปก็มาพูดกันถึงพระสกิทาคามี การปฏิบัติเพื่อมรรคผลพระนิพพานคงจะเป็นของไม่ยากของท่านพุทธบริษัท พระโสดาบันเท่านั้นที่เราจะขึ้นกันได้ยาก เพราะว่าเป็นของใหม่ ถ้าถึงพระโสดาบันแล้ว เราจะปฏิบัติตนเพื่อพระสกิทาคามี พระอนาคามี พระอรหันต์ตอนนี้เป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์ท่านพูดไว้ในวิสุทธิมรรคว่า ถ้าบุคคลใดเป็นพระโสดาบันในที่นั่งใด จงทำตอนให้เข้าถึงพระอรหันตผลในที่นั่งอันนั้น เป็นเจตนาของท่านที่กล่าวไว้ด้วยดี แต่ความจริงก็เป็นอย่างนั้น เพราะการเป็นพระโสดาบันนี้ยาก คำว่ายากก็เพราะว่าเป็นของใหม่แก่จิตใจของบรรดาท่านพุทธบริษัท เพราะจิตใจของเราคบกับอกุศลอยู่ตลอดเวลา ถ้าเราจะมีตั้งหน้าตั้งตาคิดว่า จะทำตนให้เป็นพระโสดาบัน อกุศลที่เป็นเพื่อนเก่าของเรานั้นมันก็จะเข้าประหัตประหาร มันจะเข้ามาพยายามทำลาย แต่ก็ไม่เป็นไร เราฟังบารมีกันมาแล้วนี่ ถึงแม้จะฟังบารมีแต่เพียงย่อๆ ก็พอเข้าใจแล้วว่ากำลังใจของเราครบถ้วนบริบูรณ์ ถ้ากำลังใจของเรายังไม่ครบถ้วนบริบูรณ์เราก็ไม่ต้องยุ่ง ทำให้มันครบถ้วนบริบูรณ์เสียก่อน ถ้ากำลังใจในด้านปฏิบัติบารมี ๑๐ ประการครบถ้วนเป็นปกติ คำว่าบริบูรณ์คือเห็นตามนั้นเป็นปกติ ไม่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง จะนั่งอยู่ ยืนอยู่ เดินอยู่ นอนอยู่ ทำกิจการงานใดก็ตาม จะไปนั่งในวงเหล้าเมากัญชาก็ช่าง เราจะไปอยู่ในสังคมไหนก็ช่าง เราอาจจะพูดคุยตามใจเขาได้แต่ว่าจิตใจของเราไม่เป็นไปตามนั้น อันนี้เป็นสิ่งที่เราควรสนใจ ท่านเห็นดีด้วยไหม เห็นดีหรือไม่เห็นดีด้วยก็ตามใจ ตอนนี้เรามาพูดกันถึงพระสกิทาคามี เราเป็นพระโสดาบันแล้วมีศีลบริสุทธิ์ รู้แล้วว่าอัตภาพร่างกายของเรามันจะพัง เราเชื่อคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เราไม่สงสัยในคำสอนของพระองค์ว่า อัตภาพร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราไม่มีในร่างกาย ร่างกายไม่มีในเรา ร่ายกายเป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะหาความสุขด้วยการตัดร่างกาย คือหนีร่างกายให้พ้นไป พระโสดาบันนี่ถ้าเราปฏิบัติได้มันก็ยังดีไม่มากนัก เพียงแค่คุมศีลไว้ให้เป็นปกติ ไม่ละเมิดในศีล ยังมีความพอใจในกามารมณ์แต่ก็ยังอยู่ในของเขตของศีล แล้วเราไม่สงสัยในคำสอนของพระพุทธเจ้า พระโสดาบันไม่ประมาทคิดว่าเราจะต้องตายเป็นปกติ ถ้าเราตายแล้วเราปรารถนาพระนิพพาน พระโสดาบันเป็นผู้มีสติปัญญาและเป็นผู้มีศรัทธาสูง มีความมั่นในคุณพระรัตนตรัย เรามานั่งมองดูพระโสดาบันก็คิดว่าการเป็นพระโสดาบันก็ดี แต่ทว่าเวลาที่ความวุ่นวายของจิตนี้มันยังมาก เราเห็นว่าไม่เป็นเรื่องเปลืองเวลา ทำไมเราจึงจะต้องไปยุ่งกับกามราคะ ความพอใจในกามคุณ การมีผัวมีเมียซึ่งเต็มไปด้วยความสกปรก หรือพอใจอยู่ในความร่ำรวยเกินไป แล้วเราก็ยังมีความพอใจในขันธ์ ๕ ความสวยสดงดงาม ความจริงพระโสดาบันไม่ละเมิดในศีล ๕ แต่ทว่ายังอยู่ในกามารมณ์ ยังยุ่งอยู่ในความรวย เรายังเห็นว่ากามารมณ์ทำให้เราเป็นทุกข์ ความร่ำรวยไม่ได้สร้างความสุขใจให้เกิดแก่บุคคลใด เป็นปัจจัยของความทุกข์ เราจะทำอย่างไรล่ะ? ก็ใช้ปัญญาบารมีหรือบารมีทั้ง ๑๐ ประการ เข้ามาประหัตประหารอารมณ์ที่เห็นว่าอัตภาพร่างกายนี้มันเป็นเราเป็นของเราให้หนักขึ้น นอกจากจะเห็นว่ามันไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเราแล้ว เราก็ยังเห็นความสกปรกโสมมของมันหนักขึ้น จนกระทั่งเกิดความเบื่อหน่าย มีความสะอิดสะเอียนในร่างกายของเราและบุคคลอื่น ตอนนี้จะถามว่ามีกรรมฐานบทไหนเป็นเครื่องยึด ไม่ตอบแล้วเพราะการจะขึ้นเป็นพระโสดาบันนี่มันต้องพบมาทุกอย่างแล้ว จะมานั่งบอกกันอยู่อีกเหรอ ไม่มีความจำเป็น ถ้ายังต้องมานั่งบอกกันอยู่อีกก็แสดงว่าท่านยังไม่ได้เป็นพระโสดาบัน จะเป็นกันได้อย่างไร ถ้ากรรมฐานหยาบๆ ในด้านสมถภาวนา เขาต้องบุกแหลกกันมาตั้งแต่ก่อนเป็นพระโสดาบัน มันจึงจะเป็นพระโสดาบันได้ แต่ว่าสมถภาวนาก็ต้องคุมให้อยู่ ไม่ใช้ผ่านแล้วก็ทิ้งกันไป แล้วจะมานั่งถามกันว่าตัดเพราะอะไร ถ้ามาถามด้วยตนเองจะไม่บอกให้ฟังเลย ทั้งนี้เพราะว่าสิ่งที่จะต้องถามมันไม่มี มันผ่านมาแล้ว แต่ตอนนี้เป็นตอนพูดให้ฟังก็จะพูด เพราะการที่เราจะมาห้ำหั่นด้วยอำนาจสักกายทิฏฐิ ทำลายกามฉันทะ หรือทำลายความรู้สึกของกามให้มันลดน้อยถอยลงไป ถ้าเราจะพูดกันถึงสกิทาคามี อาตมาว่าไม่ดี เอาอนาคามีเลยดีกว่า พระสกิทาคามีก็ละสังโยชน์ได้แค่พระโสดาบัน เป็นแต่เพียงว่าอารมณ์จิตละเอียดกว่า ความรู้สึกในกามยังพอมี แต่เบาบางมาก มันมีอาการคล้ายกับว่าคนที่ความรู้สึกในกามมันไม่มีนะ มีความรู้สึกในกามน้อยแต่มันก็ยังมีอยู่ ความโกรธความพยาบาทมันก็น้อยแต่ก็ยังมีอยู่ เราเอาแบบไม่มีเลยดีกว่า เป็นพระอนาคามีเลยดีไหม เลือกเอาพระอนาคามี จากพระโสดาบันเป็นพระสกิทาคามีมันก็เป็นของง่าย ขยับใจขึ้นไปนิดไปหน่อยมันก็ถึง ถ้าเราจะตั้งเป้าหมายเข้าหาพระอนาคามี เขาทำกันอย่างไร? กรรมฐานตัวสำคัญคืออสุภกรรมฐานกับกายคตานุสสติกรรมฐานเอาเป็นตัวยืนโรงเข้าไว้ มองเห็นอัตภาพร่างกายเราหรือบุคคลอื่นมันเป็นซากศพไปหมด มันเป็นของสกปรกทำให้เกิดนิพพิทาญาณ ความเหนื่อยหน่ายจริงๆ รังเกียจด้วยประการทั้งปวง จนกระทั่งไม่มีความรู้สึกว่ามีความต้องการ และพิจารณาด้วยอำนาจของสักกายทิฏฐิว่า นอกจากมันสกปรกแล้วยังเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ ความจริงมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่ตัวตนของใครทั้งหมด มันเป็นเรือนร่างที่กิเลสตัณหาอุปาทานสร้างขึ้นมาล่อคนโง่ให้หลงอยู่เท่านั้น เราจะยุ่งอะไรมัน มองตรงไหนก็สกปรกมองตรงไหนก็เลอะเทอะเต็มไปด้วยความสกปรกโสมม มีแต่ปฏิกูลโสโครกหาความดีอะไรไม่ได้ ทำใจให้มันเต็ม ตอนนี้ใช้ปัญญาพิจารณาจริงๆ มองเข้าไปทะลุภายใน อย่าทำปัญญาลอยชายอยู่ภายนอก ทำเป็นบุคคลเจ้าสำรวย คิดบ้างไม่คิดบ้าง อันนี้ใช้ไม่ได้ คิดมันอยู่เสมอในอารมณ์ใจมันปรกติเป็นของธรรมดาไปเลย เห็นใครก็สกปรก เห็นใครก็น่าเกลียด นอกจากสกปรก นอกจากน่าเกลียดแล้ว มันเป็นปัจจัยให้เกิดความทุกข์ คือตัวทุกข์ทั้งนั้น ของเหม็นเราเข้าไปใกล้มันสุขหรือมันทุกข์ ของทรุดโทรมที่มันไม่มีการทรงตัวเรารักษามันไว้ เราสุขหรือเราทุกข์ เรามันก็เต็มไปด้วยความทุกข์ น่าเบื่อหน่าย ทำลายให้มันพินาศไปจากอำนาจของความรักความพอใจ ใช้พิจารณาให้มันเห็นจริงๆ จนกระทั่งจิตมันยืนนิ่ง เห็นคนสวยคนสมาร์ทแทนที่เราจะนึกว่าสวยนึกว่าจะสมาร์ท แต่ทว่าเราเห็นเป็นซากศพไป เป็นของสกปรก เป็นที่น่าสะอิดสะเอียน ไม่มีอะไรที่จะเป็นที่พอใจสำหรับเรา รังเกียจด้วยประการทั้งปวง อันนี้เป็นอารมณ์ของพระอนาคามี ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้แล้วอำนาจของกามารมณ์ในใจมันไม่มีเลย มันกลายเป็นคนไม่สู้คนไปเสียแล้ว พระพุทธเจ้ากล่าวว่า ถ้าจิตเข้าถึงจุดนี้น้ำอสุจิมันเหือดแห้งไป แล้วความรู้สึกในใจมันไม่มีเรื่องกามารมณ์ องค์กำเนิดของแต่ละคนจะหมดฤทธิ์ ไม่มีกำลัง ถ้าหากว่าท่านสงสัยก็ปฏิบัติให้มันถึงก็แล้วกัน ถ้าถามว่าเพราะอะไรร่างกายมันจึงสร้างสภาวะขึ้นมาเป็นอย่างนั้นใจจึงทำลายได้อันนี้ไม่ตอบ จะตอบได้อย่างไรล่ะ ตอบไปเท่าไรก็ไม่หมดสงสัย ถ้าทำให้มันถึงแล้วมันหมดสงสัยเอง เพราะมันถึงจริงๆ มาว่าถึงอำนาจของความโกรธและความพยาบาท พระโสดาบันกับพระสกิทาคามียังมี แต่กำลังมันน้อยมันทรุดตัวแล้ว พอถึงพระอนาคามี ใช้พรหมวิหาร ๔ หรือกสิณ ๔ เป็นตัวยืนโรง คราวนี้ไม่ต้องเกะกะมาก เรื่องอารมณ์ที่จะเข้าสู่อกุศลมันไม่มีอีกแล้วนี่ มันมีอย่างเดียวคือพุ่งขึ้น การแสวงหาพระกรรมฐานให้ตรงอัธยาศัยตอนนี้ไม่มี ตัดไปแล้ว ใช้เมตตาบารมีคือพรหมวิหาร ๔ หรือกสิณอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กล่าวมาแล้วตั้งทรงตัวเข้าไว้ เห็นโทษแห่งความโกรธความพยาบาท จิตใจจะทรงไปด้วยอำนาจพรหมวิหาร ๔ เป็นปรกติ มีแต่ความเยือกเย็น ถ้าเรารักและสงสารกันแล้วเราจะโกรธกันได้อย่างไร เมื่อใช้พรหมวิหาร ๔ แล้วก็ใช้กายคตานุสสติว่า เราจะโกรธเขาเพื่อประโยชน์อะไร เขาต้องตาย เขาต้องมีทุกข์ เขามีทุกข์อยู่แล้ว เขาตายอยู่แล้ว ไม่ต้องไปเข่นฆ่า มีแต่น่าเวทนาเท่านั้น ที่เขาทั้งหลายเหล่านั้นมีความผิดคิดชั่ว ทำตัวให้เกิดความทุกข์ ถ้าอารมณ์อย่างนี้มันทรงตัวแล้วเอาอะไรไปโกรธ เอาอะไรไปคิดประทุษร้ายเขา เท่านี้ก็เป็นพระอนาคามีแล้ว ไม่ยากอะไรเลยนี่ มันยากอยู่ที่พระโสดาบันเท่านั้น จบกันรึยังล่ะ จะจบทำไมเวลาเหลืออีก ๑๕ นาที วิ่งชนอรหันต์เลยวันนี้ เพราะบารมีของท่านเต็มแล้วมันเป็นของง่าย พระพุทธโฆษาจารย์จึงได้กล่าวไว้ว่า ถ้าเป็นพระโสดาบันในที่นั่งอันใด จงทำใจของท่านเองให้เข้าถึงความเป็นอรหันตผลในที่นั่งอันเดียวนั้น เพราะตอนหลังนี้มันง่าย พอถึงอนาคามีแล้วเหลืออะไรอีกที่เป็นกิเลส มันเป็นอุปกิเลสหรืออนุสัยตัวเล็กๆ เป็นของเด็กเหมือนกับลูกน้ำ เราฆ่าตะเข้ตะโขงตายหมด เสือสางช้างม้าฆ่าตายหมด เหลือแต่มดกับลูกน้ำ แต่ก็ต้องระวังให้ดีเพราะลูกน้ำหรือมดมันจับยากเหมือนกัน เพราะตัวมันเล็ก แต่ถ้าอารมณ์จิตของเราเข้าถึงอนาคามีเสียแล้ว รู้สึกว่าจะเล็กขนาดไหนเราก็จับไหว อารมณ์ที่มันยังขังใจอยู่มีตรงไหนล่ะ เหลืออีก ๕ ข้อเท่านั้น คือ รูปราคะ เห็นว่ารูปฌานเป็นของดี อรูปราคะ เห็นว่าอรูปฌานเป็นของดี แต่ความจริงมันก็ดี แต่ว่าดีกว่านี้มันยังมีอยู่อีก เราไม่หยุดดีกันแค่การทรงรูปฌานและอรูปฌาน ก้าวดีต่อไป มานะ คือถือตัวถือตน เอาอย่างนี้ก็แล้วกัน คนจนคนรวย คนสกปรกคนสะอาด เข้ากันไม่ได้ คนกับสัตว์เดรัจฉานถือตัวว่าเหนือกว่ากัน อย่างนี้มันเป็นกิเลส มันเป็นตัวถ่วง อารมณ์อย่างนี้ยังพอเหลืออยู่ ทำลายมันให้พินาศไป อุทธัจจะ อารมณ์ที่ฟุ้งซ่าน ตอนนี้พระมหานามเคยถามพระพุทธเจ้าว่า พระองค์บอกว่าข้าพระพุทธเจ้าเป็นพระอนาคามี แต่ว่าอารมณ์ฟุ้งซ่านทำไมยังมีอยู่ แต่ว่าฟุ้งซ่านในด้านกุศล องค์สมเด็จพระทศพลก็ตอบว่า มันยังมี ไปตัดได้ตอนเป็นพระอรหันต์ อารมณ์ที่ไม่ฟุ้งซ่านน่ะเป็นอรหันต์เท่านั้น นอกนั้นยังมีอยู่ ยังปักหลักไม่หยุด คือหลักมันยังมีความหวั่นไหวอยู่บ้าง ไม่ไหวมากมันก็ไหวน้อย ถ้าพระอรหันต์มันก็เหมือนเสาเขื่อน ไม่หวั่นไม่ไหว อวิชชา ความโง่ ตอนนี้เราจะเข้ามาตัดกันตอนไหน ของทั้ง ๕ ประการนี้ รูปฌานและอรูปฌานนี้เป็นของง่าย แต่เรารู้ว่าความเป็นอรหันต์ยังดีกว่านี้ เราก็ใช้รูปฌานและอรูปฌานทั้ง ๒ ประการ เป็นกำลังช่วยประคับประคอง เป็นพาหนะเพื่อวิ่งไปหาความเป็นพระอรหันตผล คือเราไม่หยุดอยู่ตรงนั้น เท่านี้มันก็หมดไป ตัวที่ถือตัวถือตนก็ดี อารมณ์ฟุ้งซ่านก็ดีไม่ต้องตัด คือไปตัดตัวปลายคืออวิชชาเลยดีกว่า ตัดอวิชชามันตัดกันตรงไหนล่ะ ก็จับสักกายทิฏฐิตัวนั้นตัวเดียว คือเห็นว่าร่างกายเป็นเราเป็นของเรา เรามีในร่ายกาย ร่างกายมีในเรา ตอนนี้นักเจริญวิปัสสนาหรืออาจารย์ทั้งหลายจะเห็นว่าอาตมาพูดย่อเกินไป เขาใช้คำว่าขันธ์ ๕ แต่อาตมาไม่ชอบ เวลาปฏิบัติมาจริงๆ ก็ไม่ชอบเหมือนกัน เพราะเราก็รู้กันอยู่แล้วว่าร่างกายก็คือ ขันธ์ ๕ และขันธ์ ๕ ก็คือร่างกาย และเราก็พูดกันจนชินแล้วว่าร่างกาย จะไปนั่งเรียกว่าขันธ์ ๕ ให้มันยุ่งเพื่อประโยชน์อะไร เรามานั่งตัดนั่งคิดพิจารณาดูว่า ร่างกายมันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเราแล้ว ความปรารถนาคือฉันทะ ความพอใจ ในการที่เราจะยึดถือความเกิดเป็นมนุษย์ เป็นเทวดาหรือพรหม ทำไมจึงจะต้องมีสำหรับเราอีก เพราะว่าการเกิดเป็นมนุษย์ก็ดี เป็นเทวดาก็ดี เป็นพรหมก็ดี ยังอยู่ในเกณฑ์ของความเป็นทุกข์ หรือจะมีคือว่ามนุษย์ไม่ดี ร่างกายที่ประกอบไปด้วยขันธ์ ๕ ไม่ดี มันมีความทุกข์เราไม่ต้องการ เราต้องการกายทิพย์ คือกายของเทวดาหรือกายพรหม นี่ถ้าหลงอยู่ในกายเทวดาหรือกายพรหมก็ชื่อว่ายังหลงอยู่ในรูปฌานหรืออรูปฌาน เราก็มานั่งนึกว่า เทวดาหรือพรหมนี่ดีไหม ถ้าเราจะพูดกับคนธรรมดาก็ต้องตอบว่าดี ทำไมมันจะไม่ดี เพราะว่าเทวดาก็มีร่างกายเป็นทิพย์ พรหมก็มีร่างกายเป็นทิพย์ มันเป็นทิพย์เหมือนกันนี่มันก็ต้องดี แล้วมีดีกันตรงไหนล่ะ ดีที่ร่างกายเป็นทิพย์ไม่ต้องกิน ไม่ต้องอาบน้ำ ไม่ต้องหาอะไร มีไว้แล้วทุกอย่าง แต่ว่าส่วนที่ไม่ดีมันยังมีอยู่อีก ถ้าหมดบุญวาสนาบารมีจากเทวดาหรือพรหม เราก็ต้องโดดมาเป็นมนุษย์ มาเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เปรต อสุรกาย เป็นต้น มาพบกับความทุกข์อีก พบกับความยุ่งยากใจอีก นี่มันจะดีตรงไหน แล้วก็เลยหาความดีกันไม่ได้ ใช้ปัญญาบารมี อย่าลืมนะ ปัญญาบารมีเป็นบารมีครอบจักรวาล เอาปัญญามานั่งพิจารณาว่ามีไหมเทวดาหรือพรหมที่หมดบุญวาสนาบารมีแล้วลงมาเกิดเป็นมนุษย์หรือมาเกิดเป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย มีไหม เราก็จะเห็นว่ามีถมเถไป ถ้าเข้าถึงอนาคามีแล้วก็สบาย คลำเอาสบายเลย ตัวที่โยกโคลงทั้งหลายมันไม่มีแล้ว มันมีแต่ตัวตรง ตัวหยาบก็หมดไปแล้วเหลือแต่กิเลสละเอียด ช้อนลูกน้ำหรือช้อนมด จับมดจับลูกน้ำมันตัวเล็กแต่ว่าจับยาก แต่ไม่เป็นไร ปัญญาบารมีนี้ถ้าเป็นแหหรือสวิงก็เป็นแหหรือสวิงที่ตาถี่ ช้อนอะไรก็ติดทั้งหมด ก็มีนั่งคลำกันให้ดีว่าพรหมกับเทวดานี่ถึงที่สุดแล้วรึยัง พระพุทธเจ้าท่านบอกเสมอว่า “พรหมกับเทวดาก็ต้องจุติ ยังไม่พ้นจากความเป็นมนุษย์ ไม่พ้นจากความเกิด” แล้วเราจะนั่งสนใจอะไรกับการเป็นพรหมเป็นเทวดาเพื่อประโยชน์อะไร ยกเลิก ความต้องการคือราคะ ความรักใจความเป็นเทวดาหรือพรหมยกเลิกกันไป ตอนนี้ไม่ต้องมานั่งยกเลิกมนุษย์แล้ว ความเป็นมนุษย์มันไม่มีสำหรับเราอีกแล้ว เพราะว่าถ้าเราเป็นพระอนาคามี ตายจากความเป็นคนไปเกิดเป็นเทวดาหรือพรหม ก็บำเพ็ญบารมีบนนั้นเป็นอรหันต์ไปนิพพานเลย เราไม่ต้องมานั่งมองมนุษย์ให้มันเหนื่อยเมื่อยลูกตา เมื่อยใจ นั่งมองพรหมกับเทวดาดีกว่า ถ้าเราไปอยู่ที่เทวดาหรือพรหมก็ยังมีกิจที่จะต้องทำ เวลานี้เวลาของเราก็ยังมีอยู่นี่ ใช้เวลาอีกไม่กี่นาทีมันก็เสร็จแล้ว เพราะว่าเราเชื่อองค์สมเด็จพระประทีปแก้ว เป็นอนาคามีหรือเป็นอรหันต์ไม่ใช่ของยาก ง่ายมาก เป็นของตัวเล็ก ถ้ามีกำลังใจเข้มแข็งไม่เกิน ๓๐ นาทีก็เป็นพระอรหันต์ จะเป็นได้เราก็มานั่งมองว่า เทวดาหรือพรหมไม่ดีเราไม่รัก และความรักความพอใจมันไม่มีแล้ว เรามานั่งเชือดเฉือนความดีของเทวดาหรือพรหมเพื่อประโยชน์อะไร มันก็พ้นไป นี่เราก็มานั่งกลับหน้ากลับหลัง ทวนไปทวนมา ไปเอาปัญญาบารมีเป็นเครื่องใช้ ใช้จิตอนุโลมพยายามค้นคว้ากำลังใจว่า เวลาที่จิตของเราเข้าถึงพระโสดาบันมันเป็นอย่างไร ตอนจิตของเราที่เข้าถึงพระโสดาบัน เราจะมองได้เฉพาะที่เห็นชัดคือศีลบริสุทธิ์ เรามั่นคงอยู่ในศีล การละเมิดศีลของเราไม่มี เรามีความเคารพในพระพุทธเจ้าจริงๆ ในพระธรรมจริงๆ ในพระสงฆ์จริงๆ อารมณ์ของเราจับเฉพาะอย่างเดียวคือมีนิพพานเป็นอารมณ์ นี่นั่งมองพระโสดาบันมีตัวนี้ มันไม่หวั่นไม่ไหวไปจากตรงนี้ ตัวนี้ทรงอยู่ ความรักความโลภความโกรธความหลงยังมี แต่ว่าศีลไม่ขาด ไม่ฝืนคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ เคารพในพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์จริง ตัวนี้เป็นอารมณ์ของพระโสดาบัน ทีนี้ตอนที่เราเข้าถึงอนาคามี สกิทาคามีจะไม่พูดเพราะไม่จำเป็น ของเล็กๆ นี่พูดทำไม พระสกิทาคามีกับพระโสดาบันก็ใกล้เคียงกัน จะว่ากันไปอีกทีก็เป็นคนรุ่นพี่รุ่นน้องเท่านั้น ถ้าจะเปรียบเทียบแบบนายทหารก็คือร้อยตรีเหมือนกัน เพราะว่าร้อยตรีรุ่นพี่กับรุ่นน้องมันก็แค่นั้นแหละ แต่ว่าเงินดาวน์เงินเดือนเขามันสูงกว่านิดหน่อยนี่ก็เป็นเรื่องธรรมดา การงานอาจจะก้าวหน้าไปกว่ากันหน่อยมันก็เป็นของเล็กน้อยไม่ต้องมานั่งพูด นี่เราพูดกันถึงนายพันกันเลยดีกว่า ถ้าอารมณ์จิตเข้าถึงพระอนาคามีมันถึงจริงๆ แล้วมันเป็นอย่างไร รู้เลยว่าเรามีกำลังใจสิ้นแล้วจากกามคุณ เป็นคนกามตายด้าน อารมณ์จิตมันตายด้านในกามจริงๆ ถ้าเราไม่แน่ใจก็ไปหาหมอ ให้เขาฉีดยาบำรุงกามให้ ยาอะไรก็ตามอย่างแรงที่สุด อย่างเบาอย่างกลาง ให้หมอเขาวินิจฉัย ไปบอกเขาว่าเราเป็นโรคกามตายด้าน ถ้าหมอทำอย่างไรก็หมดท่า แล้วยกเลิกไป นั่นใช่แล้ว เราเข้าถึงพระอนาคามีแล้ว คนสวยไม่มีมีแต่คนสกปรก วัตถุสวยไม่มีมีแต่วัตถุสกปรก ความติดความพอใจในความสวยสดงดงามในคนและวัตถุก็ไม่มีสำหรับเรา ใจมันทรงอารมณ์เป็นปกติอย่างนี้นั่นคือพระอนาคามีอันดับที่หนึ่ง ยังไม่เต็ม พระอนาคามีอันดับที่ ๒ ก็ต้องไปดูความโกรธความพยาบาท เขาด่าปาวๆ เราฟังแล้วมีความรู้สึกอย่างไร? เฉย...ยิ้มได้สบายๆ มีอารมณ์ปกติ เขาจะด่ามากด่าน้อย เขาจะด่าว่าเป็นหมูเป็นหมาก็ช่าง เรารู้ตัวของเราว่าเราไม่ใช่หมา เราไม่ใช่หมู และเราก็ไม่ใช่คน ร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา เราคือพระอนาคามี เพราะเป็นบุคคลที่มีความโกรธความพยาบาทสิ้นไปแล้ว มีแต่แมตตาปรานีมีอารมณ์ยิ้มเป็นปกติ มันยิ้มเป็นปกติไม่ใช่ฝืนยิ้ม ยิ้มแบบธรรมดาๆ ยิ้มด้วยอาการสดชื่น จิตใจมันไม่กระทบกับอารมณ์แบบประเภทนี้ความเร่าร้อนไม่มี มีแต่ความเยือกเย็นใจ ตอนนี้เราเป็นพระอนาคามีเต็มที่แล้ว ความสบายมันเกิดขึ้นมาก แต่ก็ยัง จุดเบ่งมันยังมี คืออารมณ์ในบางครั้งมีอารมณ์ฟุ้งซ่านคือถือตัวถือตน แยกสัตว์กับคนว่ามีค่าไม่เสมอกัน คนรวยกับคนจนมีค่าไม่เสมอกัน คนสกปรกกับคนสะอาดมีค่าไม่เสมอกัน ยังมีอารมณ์รังเกียจ ตอนนี้ก็จับสักกายทิฏฐิเข้าไปตัดมันเลย ตัดฉันทะกับราคะคือความพอใจในความเป็นเทวดาหรือพรหม หรือความรักในความเป็นเทวดาหรือพรหม ความนิยมใดๆ ในโลกโยนทิ้งไปหมดเลย โลกทั้งโลกโยนทิ้งไป ร่างกายของเรามันเลว มันจะไปชนกับใครก็ได้ เห็นคนสกปรก เราก็สกปรก เห็นคนจน เราก็จน มันจะไปรวยอะไร มันไม่จนจริงแล้วมันจะตายทำไม แล้วมันจนจากความเป็นอิสรภาพ จากกิเลสมันบังคับให้แก้ก็ต้องแก่ มันบังคับให้ป่วยก็ต้องป่วย บังคับให้ตายก็ต้องตาย เราไม่มีสมบัติใดๆ ที่จะไปต่อต้านกิเลส ในเมื่อร่างกายมันจะเป็นอย่างนั้น มันก็จนเท่ากันแหละ ความฟุ้งซ่านของอารมณ์ เพราะอำนาจว่าเรายังหลงในรูปฌานและอรูปฌาน เรารู้จักมานะทิฏฐิ พอตัดตัวนี้ได้เสียแล้ว ความฟุ้งซ่านมันก็ไม่มี อารมณ์พอมันก็เกิด ความสบายใจมันก็เกิด เพราะว่าร่างกายไม่ใช่เรา ไม่ใช่ของเรา โลกนี้ไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา ความเป็นมนษย์ความเป็นเทวดา ความเป็นพรหมไม่มีอะไรเป็นเรา เป็นของเรา เราเอาจิตใจของเราจับอารมณ์เฉพาะพระนิพพานอย่างเดียว มีแต่ความสุข เห็นใครเขารวยก็ดี เห็นใครเขาสวยก็ดี เห็นใครเขาโมโหโทโส รบราฆ่าฟันกันก็ดี เห็นใครเขาถือโน่นถือนี่ว่าเป็นเราเป็นของเรา เรานอนสบายยิ้มแฉ่ง นายถืออย่างไรก็ถือไปฉันสบายใจแล้ว นี่ก็ฟุ้ง โลกนี้เธออยู่กันเถอะ พระพุทธเจ้ากล่าวว่า "สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้อันตระการดุจราชรถที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ว่าท่านผู้รู้หาข้องอยู่ไม่" เวลานี้เรามีกำลังใจถึงแล้วนี่ ถึงแล้วเราวางโลกเสียได้แล้ว อะไรเป็นเราเป็นของเราไม่มีแล้ว มีแต่ความสดชื่นมีแต่ความหรรษา มีแต่ความสุขกายสุขใจ กายมันจะเป็นอย่างไรก็ช่างหัวมัน ใจเป็นสุข ถือว่าเป็นกฎธรรมดา อารมณ์อย่างนี้เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์ เมื่อจิตใจของทุกท่านวางเสียได้หมดอย่างนี้ว่าช่างมันๆ หรือ ธรรมดาๆ ก็ชื่อว่าท่านทั้งหลายเป็นผู้จบกิจของพระพุทธศาสนา เรื่องนี้ก็ขอยุติไว้เพียงเท่านี้ ขอความสุขสวัสดีจงมีแด่ทุกท่าน สวัสดี.
จริยาของพระสกิทาคามีมรรค.. พระสกิทาคามีมรรค ก็หมายความถึงว่า ผู้ปฏิบัติเพื่อความเป็นพระสกิทาคามีผล อันนี้อารมณ์จะต้องเลยพระโสดาบันมาแล้ว เพราะว่าพระโสดาบันทรงคุณธรรม 4 ประการ คือ นึกถึงพระพุทธเจ้า เคารพพระพุทธเจ้า พระธรรม พระสงฆ์ และมีศีลบริสุทธิ์ ส่วนแถมที่เกินก็คือ มีพระนิพพานเป็นอารมณ์ นี่หมายถึงว่ามีความมั่นคงจริง ๆ คำว่านับถือพระพุทธ พระธรรม พระอริยสงฆ์ ก็หมายถึง ว่าเป็นบุคคลที่ไม่ละเมิดคำสั่ง หมายถึงศีล สิ่งใดที่พระองค์ทรงสั่งห้ามตามพระวินัย สิ่งนั้นท่านที่เป็นพระโสดาบันย่อมไม่ปฏิบัติ สิ่งใดที่องค์สมเด็จพระทรงสวัสดิ์ทรงแนะนำให้ปฏิบัตินั่นเป็นทางของพระโสดาบัน คือ ความไม่ยาก เฉพาะอาศัยที่มีความเคารพพระพุทธเจ้าจริง ๆ จึงทรงศีลบริสุทธิ์ คำว่าศีลของพระโสดาบันก็ต้องหมายเอาถึงกรรมบถ 10 ด้วย คำว่ากรรมบถ 10 เป็นทั้งศีล เป็นทั้งธรรม และมีพระนิพพานเป็นอารมณ์ อยู่ในขอบเขตของศีลในวงจำกัด พระสกิทาคามี ถ้าจะกล่าวกันไปก็เป็นแต่เพียงว่า จริยาทั้งหมดเหมือนพระโสดาบัน แต่ว่าระงับความโลภ ระงับความโกรธ ระงับความหลงให้เบาบางลงกว่าพระโสดาบัน ทีนี้เราก็ย้อนไปดูพระโสดาบันว่า มีกรรมฐานอะไรบ้างเป็นอารมณ์ พระโสดาบันมีมรณานุสสติกรรมฐานเป็นอารมณ์ นึกถึงความตายเป็นปกติ เมื่อรู้ตัวว่าจะตายก็ไม่ยอมตายเลว จะตายอย่างดี ทีนี้ก่อนที่จะตายดี หรือเป็นผีดี ก็ต้องเป็นคนดีก่อน คนจะเป็นคนดีได้ก็ต้องอาศัยพุทธานุสสติกรรมฐาน ธัมมานุสสติกรมมฐาน สังฆานุสสติกรรมฐาน สีลานุสสติกรรมฐาน พรหมวิหาร และอุปสมานุสสติกรรมฐาน ยิ่งกว่านั้นก็มีหิริและโอตตัปปะประจำใจอย่างนี้เป็นพระโสดาบัน นี่พระโสดาบันทรงคุณธรรมได้อย่างนี้ สำหรับพระสกิทาคามีก็ทรงคุณธรรมเหมือนกัน แต่ว่าสำหรับพระอนาคามีมรรคเบื้องต้น ก็เพิ่ม อภัยทาน ตามที่กล่าวมาแล้วเมื่อคืนนี้ คือ รวบรวมกำลังใจของพรหมวิหาร 4 ให้หนักขึ้น มีความเข้มข้นยิ่งขึ้น เมื่อกระทบกระทั่งกับอารมณ์ที่บุคคลทำให้เราไม่ถูกใจ เราให้อภัย ไม่ถือโทษโกรธคนนั้น ถ้าอารมณ์ทรงอยู่ได้อย่างนี้จริง ๆ ก็จัดว่าเป็น พระสกิทาคามิมรรคอย่างหยาบ ยังไม่ถึงสกิทาคามีผล การปฏิบัติตนให้เข้าถึงพระสกิทาคามีผล ก็ต้องเพิ่มกรรมฐานหรือวิปัสสนาญาณบางอย่างเข้ามาควบคุม เพราะว่า สำหรับวิปัสสนาญาณในด้านของพระโสดาบันนั้น ในด้านสักกายทิฏฐิยังไม่มีการรังเกียจในร่างกาย อารมณ์ยังไม่ละในร่างกายเด็ดขาด เพียงแต่มีความรู้สึกว่าร่างกายมันจะต้องตาย ความพอใจในร่างกายว่าเป็นของสวยสดงดงามของน่ารักน่าชมยังมีอยู่ ทีนี้มาด้านพระสกิทาคามี เราก็มาเพ่งดูตามคำสอน ท่านบอกว่า พระสกิทาคามี บรรเทาความโลภ บรรเทาความโกรธ บรรเทาความหลง อาการที่จะบรรเทาความโลภเขาต้องทำยังไง ก็ต้องเพิ่มกรรมฐานเข้ามาอีกกองหนึ่ง นั่นก็คือ จาคานุสติกรรมฐาน จาคานุสตินี่หมายถึงว่า จิตคิดอยู่เสมอในการที่จะกำจัดความเหนียวแน่น ความตระหนี่หรือความโลภในทรัพย์สิน มีความรู้สึกด้วยอำนาจของปัญญา ว่าคนที่มีความตระหนี่เหนียวแน่น เกาะอยู่ในทรัพย์สินมากเกินไป จนกระทั่งไม่สามารถจะบริจาคทานการสงเคราะห์ ไม่มีการเกื้อกูลบุคคลอื่นให้มีความสุข ตามที่เราจะพึงช่วยได้ อย่างในสมัยปัจจุบันเขาเรียกว่า ไม่รู้จักลดช่องว่าง แต่ความจริงการลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน มีการสงเคราะห์เกื้อกูลซึ่งกันและกันนี้ พระพุทธเจ้าทรงสอนมานานแล้ว แต่ชาวโลกไม่มีความสนใจ ไม่ปฏิบัติตาม ทีนี้การที่จะเป็นพระสกิทาคามีต้องมีจาคานุสติกรรมฐานเป็นอารมณ์ จาคานุสติกรรมฐานนี่ ความจริงก็มาจากพรหมวิหาร 4 นั่นเอง การที่เราจะสละทรัพย์สินให้แก่บุคคลอื่นใด เพราะทรัพย์สินเราหามาได้โดยยาก เราก็จะให้ได้ด้วยอำนาจเมตตา ความรัก กรุณา ความสงสาร ถ้าเราเกลียด ไม่สงสาร เราก็ไม่ให้แน่ หรืออย่างดีที่สุดก็ให้ด้วยความไม่เต็มใจ ทีนี้สำหรับพระสกิทาคามีไม่ยังงั้น มีอารมณ์ใจคิดอยู่เสมอว่าทรัพย์สินเป็นของนอกกาย แม้แต่กายของเราเองเรายังควบคุมให้มันดีตลอดสมัยไม่ได้ ห้ามความตายไม่ได้ เราจะสงเคราะห์เพื่อนมนุษย์และสัตว์ ที่เรียกกันว่า เพื่อนเกิด แก่ เจ็บ ตาย ให้มีความสุขตามฐานะที่เราพึงจะทำได้ และจาคะตัวนี้เป็นการให้ตัดขาด ให้เพื่อสงเคราะห์จริง ๆ ไม่มีความหวังในผลตอบแทน แม้แต่คำสรรเสริญเยินยอจากบุคคลผู้รับก็ไม่ต้องการ ให้ด้วยการมีความหวังว่าคิดจะตัดโลภะ ความโลภในจิตให้มันขาดไป แต่ว่าทั้งนี้ไม่ได้หมายความว่ามีเท่าไหร่ให้หมดเท่านั้น การให้ต้องคิดพิจารณาดูก่อนว่าให้แล้วเราจะเดือดร้อนไหม ถ้าให้ถึงกับเราเดือดร้อน พระพุทธเจ้าทรงตำหนิ สำหรับท่านที่เป็นพระโสดาบันก็ดี พระสกิทาคามีก็ดี เป็นคนประกอบไปด้วยศรัทธา ฉะนั้นท่านพวกนี้องค์สมเด็จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงห้ามรบกวน สำหรับบุคคลประเภทนี้ ถ้าขอเข้า ท่านนึกว่ามีความจำเป็นท่านก็ให้ แต่ขอบ่อย ๆ มันเกินวิสัยของสมณะ คนขอเลยไม่ใช่พระ กลายเป็นขอทานไป ฉะนั้นถ้าเราจะพึงรู้ว่าบุคคลใดเขามีศรัทธาก็อย่าอ้าปากขอ ถ้ากิจนั้นไม่จำเป็นถึงที่สุด เช่น ผ้ามันไม่ขาดจนกระทั่งนุ่งไม่ได้ก็อย่าไปขอเขา มันยังใช้ได้ก็จงอย่าขอ มันไม่อดถึงกับจะตาย ก็อย่าไปออกปากขอ อาการขอมันเป็นจริยาของคนเลว ไม่ใช่จริยาของคนดี เพราะว่า คนขอนี่ต้องตัดอารมณ์หน้าด้านออกไป การขอบ่อย ๆ หรือขอเกินจำเป็น ไม่ใช่สมณวิสัย ฉะนั้น พระพุทธเจ้าจึงทรงห้ามว่า ตระกูลใดถ้าเป็นพระเสขะห้ามการขอทุกอย่าง เว้นไว้แต่สิ่งนั้นมันถึงที่สุดที่เราไม่สามารถจะทรงตัวได้ จำเป็นที่จะต้องขอก็ขอในสิ่งที่จำเป็น มีค่าไม่สูงนัก ทั้งนี้เพราะอะไร เพราะว่าอารมณ์ของพระโสดาบันสกิทาคา มีพรหมวิหาร 4 ประจำ ย่อมเป็นคนมีใจดีเพราะเกื้อกูล ในสมัยพระพุทธเจ้าก็มีผู้ขอในสำนักของพระโสดาสกิทาคามีจนเกินพอดี มีเยอะแยะไป เมื่อเหตุนี้ปรากฏขึ้น องค์สมเด็จพระจอมไตรจึงห้ามขอ นี่สำหรับพระเราต้องมีความสำรวมในด้านนี้ให้มาก ถึงแม้ว่าท่านจะไม่เป็นพระโสดาบัน ก็จงอย่าเอ่ยปากขอ ถ้าไม่มีความจำเป็นจริง ๆ ขอเขามากเกินไป ให้เขามากเกินไป มันจะเป็นการรุ่มร่าม ไม่ใช่วิสัยของพระ จงมัธยัสถ์อาการทุกอย่าง อย่าคิดว่าขอเขาให้ก็ได้ใจ ขอกันหนัก นี่สำหรับพระสกิทาคามี มีอารมณ์ในการให้ ไม่มีอารมณ์ในการขอ หรือพระโสดาบันก็เหมือนกัน มีอารมณ์ในการให้ ไม่ใช่มีอารมณ์ในการขอ นี่วัดกำลังใจของเราไว้ การปฏิบัติของเราเข้าถึงพระโสดาปัตติมรรคหรือสกิทาคามีมรรคแล้วหรือยัง เป็นอันว่ามีอารมณ์ที่จะให้อยู่เป็นปกติ อาการความโลภมันก็บรรเทาลง การที่จะคิดโกงเขาก็ไม่คิดอยู่แล้ว การตะเกียกตะกายแสวงหาทรัพย์เกินพอดีย่อมไม่มีกับพระสกิทาคามี เพราะจิตเริ่มเป็นสุข มีเท่าไหร่ก็เป็นสุข แต่การหากินต้องหา แต่หาแบบสบาย ๆ อย่างอารมณ์ที่มีความสุข ไม่เบียดเบียนตนจนเกินไป นี่เป็นอันว่าพระสกิทาคามีมรรคเพิ่มจาคานุสติกรรมฐานเข้ามาอีกบทหนึ่ง ทำเป็นฌานสมาบัติให้อารมณ์ทรงตัว คิดไว้เสมอ การคิดไว้เสมอ มีความรู้สึกไว้เสมอ นี่ชื่อว่าเป็นอาการทรงฌาน ถ้าท่านนั่งภาวนาตามปกติ โดยเวลาเลิกแล้วจิตไม่ได้คิด จิตมีความเลว อันนี้ไม่ใช่พระสกิทาคามี หรืออนาคามี มันเป็นของสัตว์ในอบายภูมิ จงใคร่ครวญคิดไว้ อย่าไปนั่งภาวนาเฉย ๆ นั่งภาวนาเฉย ๆ นี่อารมณ์ใจมันไม่ดี มันก็ดีอยู่แค่ภาวนา บางทีก็ภาวนากันไปเป็นปกติ แต่เวลาภาวนาจิตก็ซ่านไปโน่นไปนี่ มันใช้ไม่ได้ มันต้องมีปัญญาใคร่ครวญ มีความรู้สึกอยู่ตลอดเวลา ถ้าอาการอย่างนี้มีอยู่ละก็ แดนไหนก็แดนนั้นมีแต่ความสุข ไม่มีความทุกข์ ไม่มีความเร่าร้อน อันดับที่สอง พระสกิทาคามีระงับความโกรธลงไปได้มากตัวนี้ก็ไม่จำเป็นแล้ว เพราะมีพรหมวิหาร 4 เป็นประจำ แต่ทว่าพระสกิทาคามีก็เพิ่มอารมณ์ที่กล่าวมาแล้ว คือ ให้อภัยทาน นอกจากจะระงับความโกรธ ยับยั้งความโกรธ แต่ความโกรธมันยังมีอยู่ อย่างพระโสดาบันยังมีความโกรธ แต่ทว่าไม่ทำร้ายเขา คือ โกรธแล้วยังจะพยาบาท คือ อาจจะคิดว่า แหม ไอ้เจ้านี่มันเลวจริง ๆ ไม่คิดจะฆ่า ไม่คิดจะทำร้าย แต่คิดว่ามันเลว ยังเจ็บใจแต่ไม่คิดจะฆ่า ไม่คิดจะทำร้าย แต่ว่าไม่อยากสังคมสมาคมด้วย ยังมีอาการใบหน้าเครียด แต่มาถึงพระสกิทาคามี อาการเครียดของใบหน้าไม่มี โกรธยังมีความโกรธ ไม่ชอบใจ คิดไว้ว่าไม่ชอบใจยังมีอยู่ แต่อารมณ์จิตอีกส่วนหนึ่งก็พยายามหักห้ามความโกรธ หักห้ามความพยาบาท คิดให้อภัยกับบุคคลผู้กระทำความผิด โดยมีความรู้สึกว่าจิตของบุคคลผู้นี้เป็นจิตของสัตว์ในอบายภูมิ ซึ่งเป็นทาสของ กิเลส ตัณหา อุปาทาน และอกุศลกรรม เราไม่ควรจะตอบแทนอาการลักษณะเช่นเดียวกัน เมื่อเขาจะเป็นสัตว์นรก เป็นเปรต เป็นอสุรกาย เป็นสัตว์เดรัจฉาน เป็นเรื่องของเขา เราไม่สนใจให้อภัยกับความผิดของเขา นี่เป็นอารมณ์ของพระสกิทาคามีมรรค ทีนี้ มาด้านความหลง ตัวนี้ก็มาจับสักกายทิฏฐิเพิ่มขึ้น เพิ่มขึ้นที่ว่ามาพิจารณาถึงร่างกายของเรา นอกจากจะตายแล้วก็มามองร่างกายว่ามันเป็นของไม่เที่ยง เป็นอันว่าเพิ่มกายคตานุสสติกับอสุภกรรมฐานหนักขึ้น โดยมาพิจารณาว่า ร่างกายนี้มันไม่ใช่เรา มันไม่ใช่ของเรา มันตาย ตายแน่ มาเป็นพระโสดาบันติดอยู่แค่ตาย แต่ยังมีความพอใจในลักษณะของร่างกายและผิวพรรณของร่างกาย ความสวยสดงดงาม การตบแต่งของร่างกาย แต่มาในด้านของพระสกิทาคามีนี่ เพิ่มอารมณ์ที่มีความรู้สึกว่าร่างกายนี้มันเป็นแต่เพียงธาตุ 4 เข้ามาประชุมกัน แล้วก็มีความสกปรกทุกด้าน เสลดน้ำลายสกปรก เหงื่อไคลสกปรกเลือดและเนื้อสกปรก น้ำเหลืองน้ำหนองสกปรก อุจจาระปัสสาวะสกปรก รวมความว่าทุกส่วนของร่างกายนี่มันสกปรกจริง ๆ เมื่อสกปรก ก็รู้สึกว่าเป็นของน่าเบื่อ ไม่น่ารัก แต่ก็ยัง ยังไม่หมด แต่อารมณ์ในการพิจารณาเห็นว่าร่างกายของคนและสัตว์และของตัวเองมันก็เกิดอาการสลด ว่าร่างกายนี้มีสภาพไม่ต่างอะไรกับส้วมเคลื่อนที่ เพราะจะมองไปดูทุกจุดทุกประการ มันก็เต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก ผิวนิดเดียวที่เรามองเห็นกันว่าสวย แต่ทั้ง ๆ ผิวเห็นว่าสวยนั่นแหละ ต้องชำระล้างกันทุกวัน ถ้าปล่อยเกรอะกรัง ไม่อาบน้ำไม่อาบท่า ไม่ชำระล้างกันทุกวัน ถ้าปล่อยเกรอะกรัง ไม่อาบน้ำไม่อาบท่า ไม่ชำระล้างสัก 7 วัน มันก็ทนไม่ไหว ก็แสดงว่าแม้แต่ผิวกายที่เราเห็นว่าสวยมันก็สกปรก ส่วนที่อยู่ในผิวกายลงไปข้างใน ถ้าลอกหนังออกไปนิดเดียวเลือดไหลซึมออกมา เห็นเลือด มีกลิ่นเลือดเหม็นคาว เราก็พากันสะอิดสะเอียนว่าเลือดสกปรก ทีนี้ลอกเนื้อเข้าไปภายใน เห็น ตับ ไต ไส้ ปอด อาหารใหม่ อาหารเก่า อุจจาระ ปัสสาวะ น้ำเลือด น้ำเหลือง น้ำหนอง เต็มไปหมด ตอนนี้ดูไม่ได้ มันสกปรกจริง ๆ อารมณ์เบื่อจากร่างกายที่เห็นว่าสวยสดงดงามเป็นของน่ารัก มันก็เริ่มคลายตัวลงไป ยังไม่หมด กำหนดจิตเป็นเอกัคคตารมณ์เป็นฌาน ไม่มีความรู้สึกเมามันในร่างกายแต่บางขณะย่อมปรากฎ ทีนี้อาการของสักกายทิฏฐิตัวนี้ มันก็เข้าไปพิจารณาด้วย กายคตานุสสติกับ อสุภกรรมฐาน เพื่อตัดความหลงในร่างกาย เห็นว่าร่างกายสกปรกแล้ว ยังเห็นว่าร่างกายมีสภาพจะต้องสลายตัว ยึดถือดึงมันไว้ไม่อยู่ นี่เป็นอารมณ์จิตตรงนี้ ถ้าเราจะเข้าไปพิจารณาว่า จุดไหนหนอเราจะเป็นพระอนาคามี แต่ว่าเป็นพระสกิทาคามีผล มันมีอารมณ์พอที่จะยังพิจารณาไว้ นั่นก็คืออามรณ์ความรู้สึกกับเพศตรงข้าม คือ เรื่องของเพศมันเริ่มสลายตัวไป ความรู้สึกในใจเรื่องของระหว่างเพศมันมีเหมือนกัน แต่ทว่าน้อยเต็มที ยามปกติมันจะไม่มีความรู้สึกกระสันในเรื่องระหว่างเพศ แต่บางครั้งเห็นคนเดินผ่านไปผ่านมาก็มีความรู้สึกขึ้นมาบ้าง แต่ทว่าด้วยฉับพลันนั้นเอง ในขณะเดียวจิตก็จะสลายซึ่งความพอใจ เพราะอะไร เพราะอารมณ์เห็นว่าร่างกายเต็มไปด้วยความสกปรก เห็นผ้าตาทะลุไปถึงหนัง ทะลุหนังเข้าไปถึงเนื้อ ทะลุจากเนื้อถึง ตับ ไต ไส้ ปอด มองเห็นทะลุปรุโปร่งว่าทุกส่วนของร่างกายทั้งคนและสัตว์มันเต็มไปด้วยความสกปรกโสโครก และมีความเสื่อมโทรมเป็นปกติ อาการของคนเต็มไปด้วยความทุกข์ เพราะการต้องบริหารร่างกาย ไม่ให้ร่างกายทรุดโทรมด้วยกฎของธรรมดา และในที่สุดมันก็สลายไป ตัวนี้จะทำให้คลายความพอใจในร่างกายของบุคคลอื่นเสีย แม้แต่ร่างกายของตัวเองก็มีความเบื่อหน่าย ไม่พึงปรารภนา แต่ทว่าอารมณ์ความพอใจในร่างกายยังไม่หมด ยังเหลือบ้าง ทีนี้มาด้านความโกรธ ก็ยังมีอยู่ แต่มีเบา ๆ กระทบปัง โกรธปัง เมื่อโกรธแล้วระงับความโกรธด้วยการให้อภัย ใช้เวลาไม่เกิน 5 นาที อารมณ์ก็คลายไป และก็ไม่ติดใจในความผิดของบุคคลอื่น มาด้านของความโลภ มีอารมณ์จิตสบาย พอใจตามฐานะที่ทรงอยู่ ยังไง ๆ ก็คิดว่าถ้าเลี้ยงตัวเองรอดเป็นพอ นี่ถ้าอารมณ์จิตของบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายมีอารมณ์เบาในด้านโลภ มีความพอปรากฏขึ้นในจิต คิดว่ามีมากมันก็พอ มีน้อยก็พอ ปีหน้าได้น้อยพอ คือ จิตไม่ดิ้นรนโดยการยอมรับนับถือว่าเหตุที่ได้มามันก็ปรากฏ ตามความสามารถตามกาลสมัย ความโกรธระงับเสียได้โดยฉับไว ไม่มีการผูกพันในการพยาบาท อาการของทางกายที่มีความพอใจในระหว่างเพศหรือวัตถุต่าง ๆ ความสวยสดงดงามของวัตถุก็ดี ความสวยสดงดงามของร่างกายของบุคคลอื่นก็ดี มันไหลไปจากใจเกือบหมดสิ้น ถ้ามีอารมณ์อย่างนี้องค์สมเด็จพระมหามุนีทรงตรัสว่าท่านผู้นั้นเป็น พระสกิทาคามี เอาละ สำหรับวันนี้การที่จะแนะนำก็หมดเวลาลงแล้ว ต่อนี้ไปขอทุกท่านตั้งกายให้ตรง ดำรงจิตให้มั่น กำหนดรู้ลมหายใจเข้าออก ใช้คำภาวนาและพิจารณาตามอัธยาศัย จนกว่าจะได้ยินสัญญาณบอกหมดเวลา
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง. บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ.
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง. บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น. กราบขอบพระคุณและอนุโมทนาท่านอาจารย์มากครับ.
สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ. บุคคลรู้แจ้งในธรรมที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงแล้ว จากผู้ใด พึงนอบน้อมผู้นั้นโดยเคารพ เหมือนพราหมณ์นับถือการบูชาไฟ ฉะนั้น.
ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจ" จงอย่าลืมเพราะมันเป็นความจริง ไม่ว่าร่างกายของชายหรือหญิงมันเต็มไปด้วยความสกปรก สกปรกและก็เสื่อมลงทุกวัน มีอาการเต็มไปด้วยความทุกข์ ด้วยการบริหารร่างกาย " มีความเหน็ดเหนื่อย เพราะต้องเลี้ยงร่างกายด้วยทรัพย์สิน จะกินก็ไม่สะดวก จะนอนก็ไม่สะดวก การแสวงหาทรัพย์ไม่ใช่ของง่าย กว่าจะได้มาต้องพบกับอุปสรรคทุกประการ เราทำงานกับผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาไม่ดีเราก็กลุ้ม หรือบางทีผู้บังคับบัญชาดี เพื่อนร่วมงานด้วยกันไม่ดีเราก็กลุ้ม เวลาป่วยไข้ไม่สบายจะพักจะผ่อนบ้าง ถ้าวันลาหรือไปลาผู้บังคับบัญชาเขาไม่ยอมให้ลา เราก็ลำบากกายลำบากใจ เป็นอันว่าเราเกิดมาเป็นคนที่มันมีทุกข์ ถ้ายิ่งเราจะแสวงหาความสุขจากการแต่งงานแทนที่มันจะคลายความทุกข์ มันจะเพิ่มความทุกข์มากขึ้น ก็เป็นอันว่า เราไม่พบกับความสุข เราพบกับความทุกข์ แล้วก็มานั่งคิดในใจว่า เราเป็นคนมีเมตตา ความรัก เราเป็นคนมีความกรุณา ความสงสาร เราควรจะสงสารตัวเราไหม ถ้าเราคิดว่าเราจะรักใครสักคนหนึ่ง หวังผลในการแต่งงาน ถ้าแต่งงานแล้วมันเป็นความทุกข์ นี่เราควรจะแต่งงานหรือว่าไม่ควรจะแต่ง ถ้าหากว่าเราคิดว่ามันเป็นความสุข เราก็ควรแต่ง ถ้าคิดว่ามันเป็นความทุกข์เราก็ต้องสงสารตัวเราเองว่า แค่ตัวเราเองนี้เรายังแบกเกือบไม่ไหว และไม่สามารถทรงกำลังกายให้มันเป็นสุขอยู่ได้ ถ้าเราไปแบกอีกคนหนึ่งเข้ามาแล้ว วันต่อมาอีกหลายคน คือ ลูกสาว ลูกชาย ความทุกข์ใหญ่มันก็เกิด เราก็หันกลับมามีเมตตา ความรักตัวเอง กรุณา ความสงสารตัวเองว่า " โอหนอ เราอยากโง่ไปทำไม ร่างกายของเราก็สกปรก ถ้าเราต้องการมีคู่ครอง ร่างกายของคู่ครองก็สกปรก เราคนเดียวแบกหนึ่งทุกข์ ทุกข์เท่านี้ คือ ขันธ์ ๕ ไปมีคู่ครองเข้า อีกคนหนึ่งก็แบกมาอีก ๕ ขันธ์ กลายเป็น ๑๐ ถ้ามีลูก มีหลาน มีเหลนออกมาไปกันใหญ่ " องค์สมเด็จพระจอมบรมไตรโลกศาสดาทรงตรัสว่า " ภารา หเว ปัญจขันธา " : " ขันธ์ ๕ ทั้งหลาย เป็นภาระอันหนัก " คือ เราคนเดียวมี ๕ ขันธ์ หนักแค่นี้ ถ้าเพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๑๐ เพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๑๕ เพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๒๐ มันจะหนักปานไหน ตอนนี้เราก็เริ่มรัก เริ่มสงสารตัว ขอตัดกำลังใจว่าจะไม่คิดพึงหาคู่ครอง เห็นโทษจากความรัก ในความปรารถนาที่มีคู่ครอง เพราะมันเป็นปัจจัยของความทุกข์ มันหาความสุขไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคู่ครองก็ดี เราก็ดี ย่อมทรุดโทรมลงไปทุกวัน ไม่ช้าก็จากกันด้วยความตาย ถ้าเรายังมีความหลงใหลใฝ่ฝันด้วยอำนาจตัณหาแบบนี้อีก เราก็ต้องเกิดอีก มันจะหาความสุขอะไรไม่ได้ ควรจะตัดสินใจแล้วก็จำพระบาลีของค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาไว้ว่า " ปิยโต ชายเต โสโก ปิยโต ชายเต ภยัง " : " ความเศร้าโศกเสียใจเกิดจากความรัก ภัยอันตรายเกิดจากความรัก " และสิ่งที่เรารัก มันจะอยู่กับเราตลอดกาลตลอดสมัยหรือไม่ สมบัติของโลกมีความเกิดขึ้นในเบื้อต้น มีความเสื่อมไปในท่ามกลาง แล้วก็สลายทั้งหมด องค์สมเด็จพระบรมสุคตเห็นโทษอย่างนั้นสมเด็จพระมหามุนีจึงได้หนีพระนางพิมพากับพระราหุล ออกสู่มหาภิเนษกรมณ์บำเพ็ญตนเป็นพระอรหันต์หมดความทุกข์ มีแต่อารมณ์ความสุขฉันใด เราก็ขอตัดกำลังใจ คือ จะรักเรา และสงสารตัวเราเข้าไปว่า กรรมใดที่เนื่องจากกามารมณ์ เป็นปัจจัยของความทุกข์ นับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปเราไม่ต้องการ เราจะแสวงหาความสุข คือ อยู่แต่ผู้เดียวตามที่พระองค์ทรงตรัสไว้ว่า " เอกายโน อยัง ภิกขเว มัคโค สัตตานัง วิสุทธิยา " เป็นต้น แปลว่า " ทางของบุคคลผู้เดียวเป็นทางเอก เป็นทางนำมาซึ่งความสุข " เราก็พยายามจับเอากายคตานุสสติกรรมฐานกับอสุภกรรมฐานพร้อมกับสักกายทิฏฐิมาบวกกันเข้าว่าร่างกายนี่เป็นเพียงธาตุ ๔ มีสภาพสกปรก มันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา เป็นเรือนร่างที่อาศัยชั่วคราว ทำไมเราจึงไปรักร่างกายเขาเพื่อประโยน์อะไร เพราะมันเป็นปัจจัยของความทุกข์ หาความสุขไม่ได้ ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายมีความรักตัว สงสารตัว คิดอย่างนี้เป็นปกติ ไม่ช้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่านก็จะชนะอำนาจกามกิเลสเสียได้ จัดว่าเป็นครึ่งหนึ่งของพระอนาคามี ยังไม่หมดแต่เวลามันหมด ต่อแต่นี้ไป ขอบรรดาสาวกขององค์สมเด็จพระบรมสุคตจงพยายามตั้งกายให้ตรง ดำรงจิตให้มั่น อยู่ในอิริยาบถที่เห็นว่าสมควร ใช้คำภาวนาและพิจารณาตามอัธยาศัย จนกว่าจะถึงเวลาที่ท่านเห็นว่าสมควรว่าควรจะเลิก
กายคตาสติกรรมฐานการพิจารณาร่างกาย" จงอย่าลืมเพราะมันเป็นความจริง ไม่ว่าร่างกายของชายหรือหญิงมันเต็มไปด้วยความสกปรก สกปรกและก็เสื่อมลงทุกวัน มีอาการเต็มไปด้วยความทุกข์ ด้วยการบริหารร่างกาย " มีความเหน็ดเหนื่อย เพราะต้องเลี้ยงร่างกายด้วยทรัพย์สิน จะกินก็ไม่สะดวก จะนอนก็ไม่สะดวก การแสวงหาทรัพย์ไม่ใช่ของง่าย กว่าจะได้มาต้องพบกับอุปสรรคทุกประการ เราทำงานกับผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาไม่ดีเราก็กลุ้ม หรือบางทีผู้บังคับบัญชาดี เพื่อนร่วมงานด้วยกันไม่ดีเราก็กลุ้ม เวลาป่วยไข้ไม่สบายจะพักจะผ่อนบ้าง ถ้าวันลาหรือไปลาผู้บังคับบัญชาเขาไม่ยอมให้ลา เราก็ลำบากกายลำบากใจ เป็นอันว่าเราเกิดมาเป็นคนที่มันมีทุกข์ ถ้ายิ่งเราจะแสวงหาความสุขจากการแต่งงานแทนที่มันจะคลายความทุกข์ มันจะเพิ่มความทุกข์มากขึ้น ก็เป็นอันว่า เราไม่พบกับความสุข เราพบกับความทุกข์ แล้วก็มานั่งคิดในใจว่า เราเป็นคนมีเมตตา ความรัก เราเป็นคนมีความกรุณา ความสงสาร เราควรจะสงสารตัวเราไหม ถ้าเราคิดว่าเราจะรักใครสักคนหนึ่ง หวังผลในการแต่งงาน ถ้าแต่งงานแล้วมันเป็นความทุกข์ นี่เราควรจะแต่งงานหรือว่าไม่ควรจะแต่ง ถ้าหากว่าเราคิดว่ามันเป็นความสุข เราก็ควรแต่ง ถ้าคิดว่ามันเป็นความทุกข์เราก็ต้องสงสารตัวเราเองว่า แค่ตัวเราเองนี้เรายังแบกเกือบไม่ไหว และไม่สามารถทรงกำลังกายให้มันเป็นสุขอยู่ได้ ถ้าเราไปแบกอีกคนหนึ่งเข้ามาแล้ว วันต่อมาอีกหลายคน คือ ลูกสาว ลูกชาย ความทุกข์ใหญ่มันก็เกิด เราก็หันกลับมามีเมตตา ความรักตัวเอง กรุณา ความสงสารตัวเองว่า " โอหนอ เราอยากโง่ไปทำไม ร่างกายของเราก็สกปรก ถ้าเราต้องการมีคู่ครอง ร่างกายของคู่ครองก็สกปรก เราคนเดียวแบกหนึ่งทุกข์ ทุกข์เท่านี้ คือ ขันธ์ ๕ ไปมีคู่ครองเข้า อีกคนหนึ่งก็แบกมาอีก ๕ ขันธ์ กลายเป็น ๑๐ ถ้ามีลูก มีหลาน มีเหลนออกมาไปกันใหญ่ " องค์สมเด็จพระจอมบรมไตรโลกศาสดาทรงตรัสว่า " ภารา หเว ปัญจขันธา " : " ขันธ์ ๕ ทั้งหลาย เป็นภาระอันหนัก " คือ เราคนเดียวมี ๕ ขันธ์ หนักแค่นี้ ถ้าเพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๑๐ เพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๑๕ เพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๒๐ มันจะหนักปานไหน ตอนนี้เราก็เริ่มรัก เริ่มสงสารตัว ขอตัดกำลังใจว่าจะไม่คิดพึงหาคู่ครอง เห็นโทษจากความรัก ในความปรารถนาที่มีคู่ครอง เพราะมันเป็นปัจจัยของความทุกข์ มันหาความสุขไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคู่ครองก็ดี เราก็ดี ย่อมทรุดโทรมลงไปทุกวัน ไม่ช้าก็จากกันด้วยความตาย ถ้าเรายังมีความหลงใหลใฝ่ฝันด้วยอำนาจตัณหาแบบนี้อีก เราก็ต้องเกิดอีก มันจะหาความสุขอะไรไม่ได้ ควรจะตัดสินใจแล้วก็จำพระบาลีของค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาไว้ว่า " ปิยโต ชายเต โสโก ปิยโต ชายเต ภยัง " : " ความเศร้าโศกเสียใจเกิดจากความรัก ภัยอันตรายเกิดจากความรัก " และสิ่งที่เรารัก มันจะอยู่กับเราตลอดกาลตลอดสมัยหรือไม่ สมบัติของโลกมีความเกิดขึ้นในเบื้อต้น มีความเสื่อมไปในท่ามกลาง แล้วก็สลายทั้งหมด องค์สมเด็จพระบรมสุคตเห็นโทษอย่างนั้นสมเด็จพระมหามุนีจึงได้หนีพระนางพิมพากับพระราหุล ออกสู่มหาภิเนษกรมณ์บำเพ็ญตนเป็นพระอรหันต์หมดความทุกข์ มีแต่อารมณ์ความสุขฉันใด เราก็ขอตัดกำลังใจ คือ จะรักเรา และสงสารตัวเราเข้าไปว่า กรรมใดที่เนื่องจากกามารมณ์ เป็นปัจจัยของความทุกข์ นับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปเราไม่ต้องการ เราจะแสวงหาความสุข คือ อยู่แต่ผู้เดียวตามที่พระองค์ทรงตรัสไว้ว่า " เอกายโน อยัง ภิกขเว มัคโค สัตตานัง วิสุทธิยา " เป็นต้น แปลว่า " ทางของบุคคลผู้เดียวเป็นทางเอก เป็นทางนำมาซึ่งความสุข " เราก็พยายามจับเอากายคตานุสสติกรรมฐานกับอสุภกรรมฐานพร้อมกับสักกายทิฏฐิมาบวกกันเข้าว่าร่างกายนี่เป็นเพียงธาตุ ๔ มีสภาพสกปรก มันไม่ใช่เราไม่ใช่ของเรา เป็นเรือนร่างที่อาศัยชั่วคราว ทำไมเราจึงไปรักร่างกายเขาเพื่อประโยน์อะไร เพราะมันเป็นปัจจัยของความทุกข์ หาความสุขไม่ได้ ถ้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัททั้งหลายมีความรักตัว สงสารตัว คิดอย่างนี้เป็นปกติ ไม่ช้ากำลังใจของบรรดาท่านพุทธบริษัททุกท่านก็จะชนะอำนาจกามกิเลสเสียได้ จัดว่าเป็นครึ่งหนึ่งของพระอนาคามี ยังไม่หมดแต่เวลามันหมด ต่อแต่นี้ไป ขอบรรดาสาวกขององค์สมเด็จพระบรมสุคตจงพยายามตั้งกายให้ตรง ดำรงจิตให้มั่น อยู่ในอิริยาบถที่เห็นว่าสมควร ใช้คำภาวนาและพิจารณาตามอัธยาศัย จนกว่าจะถึงเวลาที่ท่านเห็นว่าสมควรว่าควรจะเลิก
กายคตาสติกรรมฐานการพิจารณาหลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
วิธี การ ระงับ ข้อพิพาท วิวาทะ การทะเลาะ วิวาท การโต้เถียง และอธิกรณ์กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558
การเจริญกรรมฐาน ทางสู่พระนิพพาน หลวงพ่อฤาษี พระราชพรหมยานเถระ วัดท่าซุง..ในขณะแห่งโสดาปัตติมรรค อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจเชื่อเป็นบริวาร วิริยินทรีย์มีความประคองไว้เป็นบริวาร สตินทรีย์มีความตั้งมั่นเป็นบริวาร สมาธินทรีย์มีความไม่ฟุ้งซ่านเป็นบริวาร ปัญญินทรีย์มีความเห็นเป็นบริวาร มนินทรีย์มีความรู้แจ้งเป็นบริวาร โสมนัสสิน ทรีย์มีความยินดียิ่งเป็นบริวาร ชีวิตินทรีย์มีความเป็นใหญ่ในการสืบต่อแห่ง ความเป็นไปเป็นบริวาร ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะโสดาปัตติมรรค เว้นรูปที่มี จิตเป็นสมุฏฐาน ล้วนเป็นกุศลทั้งนั้น ล้วนไม่มีอาสวะ ล้วนเป็นธรรมที่นำ ออก ล้วนเป็นเครื่องให้ถึงความไม่สั่งสม ล้วนเป็นโลกุตระ ล้วนเป็นธรรมมี นิพพานเป็นอารมณ์ ในขณะโสดาปัตติมรรค อนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์มี อินทรีย์ทั้ง ๘ นี้ ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร มีธรรมอื่นเป็นบริวาร มีธรรม ที่อาศัยเป็นบริวาร มีสัมปยุตธรรมเป็นบริวาร เป็นสหคตธรรม เป็น สหชาตธรรม เป็นธรรมเกี่ยวข้องกัน เป็นธรรมประกอบกัน ธรรมเหล่านั้น แลเป็นอาการและเป็นบริวารแห่งอนัญญาตัญญัสสามีตินทรีย์ ในขณะโสดา- *ปัตติผล ฯลฯ ฯ ในขณะอรหัตผล อัญญาตาวินทรีย์ มีสัทธินทรีย์ซึ่งมีความน้อมใจ เชื่อเป็นบริวาร ฯลฯ ชีวิตินทรีย์มีความเป็นใหญ่ในความสืบเนื่องแห่งความเป็น ไปเป็นบริวาร ฯลฯ ธรรมทั้งหลายที่เกิดในขณะอรหัตผล เว้นรูปอันมีจิตเป็น สมุฏฐาน ล้วนเป็นอัพยากฤตทั้งนั้น ล้วนไม่มีอาสวะ ล้วนเป็นโลกุตระ ล้วนมีนิพพานเป็นอารมณ์ ฯลฯ ในขณะอรหัตผล อัญญาตาวินทรีย์มี อินทรีย์ทั้ง ๘๘ นี้ซึ่งมีสหชาตธรรมเป็นบริวาร ฯลฯ ธรรมเหล่านั้นแลเป็น อาการและเป็นบริวารแห่งอัญญาตาวินทรีย์นั้น อินทรีย์ ๘ หมวดนี้รวมเป็น อินทรีย์ ๖๔ ด้วยประการฉะนี้
วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ท่านผู้เฒ่าเล่าให้ฟังสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระอนุรุทธะอยู่ ที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์ ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกเร้นอยู่ ในที่ลับ เกิดความปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วย หมู่คณะ ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ของบุคคลผู้ มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคล ผู้มีจิตไม่มั่นคง ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ฯ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกทางใจของท่านพระอนุรุทธะ แล้ว เสด็จจากเภสกลามิคทายวัน แขวงสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ไป ปรากฏเฉพาะหน้าท่านอนุรุทธะที่วิหารปาจีนวังสทายวัน เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลัง เหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะ ที่จัดไว้ถวายแล้ว แม้ท่านพระอนุรุทธะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่าธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มี ปัญญาทราม ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอจงตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ ทำให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำ ให้เนิ่นช้า ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึก มหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตก วิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในการนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ในกาลใดแล เธอ จักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุ จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้มีปรกติได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่ง ฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุล จีวรจักปรากฏแก่เธอ ผู้สันโดษ อยู่ด้วยความยินดี ด้วยความไม่หวาดเสียว ด้วย ความอยู่เป็นสุข ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนหีบใส่ผ้าของคฤหบดี หรือบุตรแห่งคฤหบดี อันเต็มไปด้วยผ้าสีต่างๆ ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใด แล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน ปัจจุบัน ในกาลนั้น โภชนะ คือ คำข้าวที่ได้มาด้วยปลีแข้ง จักปรากฏแก่เธอผู้ สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนข้าวสุก (หุงจาก) ข้าวสาลี คัดเอาดำออกแล้ว มีแกงและกับหลายอย่าง ของคฤหบดีและบุตรแห่งคฤหบดี ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และ จักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิต ยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น เสนาสนะ คือ โคนไม้ จัก ปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเรือนยอด ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉาบทาไว้ดีแล้ว ปราศจากลม ลงลิ่มสลักมิด ชิด ปิดหน้าต่างสนิท ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริส- *วิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ที่นอน ที่นั่งอันลาดด้วยหญ้า จักปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนบัลลังก์ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี อันลาดด้วยผ้าโกเชาว์ขน ยาว ลาดด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยผ้าสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ มีเครื่องลาดอย่างดี ทำด้วยหนังชะมด มีเครื่องลาดเพดานแดง มีหมอนข้างแดงสองข้าง ฉะนั้น ดูกร อนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า จักปรากฏ แก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเภสัชต่างๆ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉะนั้น ฯ ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอพึงอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นี้แหละ ต่อไปอีกเถิด ท่านพระอนุรุทธะทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสสอนท่านพระอนุรุทธะด้วยพระโอวาทนี้แล้ว เสด็จจากวิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นคร ไปปรากฏที่ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคะ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่จัดไว้ถวายแล้ว ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาปุริสวิตก ๘ ประการ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มหาปุริสวิตก ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑ ธรรมนี้เป็นของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคล ผู้เกียจคร้าน ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของผู้มีสติหลงลืม ๑ ธรรมนี้ ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มี ปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบ ใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนา น้อยย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย เป็นผู้ สันโดษย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ ตั้งมั่นย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้าย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจ ในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ดังนี้ เรา อาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของ บุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อม แห่งกุศลธรรม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม ข้อที่ เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของ บุคคลผู้เกียจคร้าน ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง ระลึกนึกถึง กิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคล ผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและ ความดับ เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เรา อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น ข้อที่เรา กล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้ กล่าวแล้ว ฯ ครั้งนั้นแล ท่านพระอนุรุทธะอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้น เจดีย์นครนั้นนั่นแล ต่อไปอีก ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกจากหมู่อยู่ ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ไม่นานนัก ก็กระทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกบวชเป็นบรรพชิต โดยชอบต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติ สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ก็ท่านพระอนุรุทธะได้เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งในจำนวนพระ- *อรหันต์ทั้งหลาย ลำดับนั้น ท่านพระอนุรุทธะบรรลุอรหัตแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ไว้ ในเวลานั้นว่า พระศาสดาผู้เป็นเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดำริของเราแล้ว ได้เข้ามาหาเราด้วยฤทธิ์ทางพระกายอันสำเร็จแต่พระหฤทัย พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอันยิ่งกว่าความดำริของเราเท่าที่ดำริ ไว้ พระพุทธเจ้าผู้ยินดีแล้วในธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ได้ทรงแสดงซึ่งธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เราได้รู้ทั่วถึง ธรรมของพระองค์แล้ว ยินดีในศาสนาอยู่ เราได้บรรลุ วิชชา ๓ แล้วโดยลำดับ คำสอนของพระพุทธเจ้าเรา กระทำแล้ว ฯ จบคหปติวรรคที่ ๓ ----------------------------------------------------- รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ ๑. อุคคสูตรที่ ๑ ๒. อุคคสูตรที่ ๒ ๓. หัตถสูตรที่ ๑ ๔. หัตถสูตรที่ ๒ ๕. มหานามสูตร ๖. ชีวกสูตร ๗. พลสูตรที่ ๑ ๘. พลสูตรที่ ๒ ๙. อักขณสูตร ๑๐. อนุรุทธสูตร ฯ
การเจริญกรรมฐาน ทางสู่พระนิพพาน หลวงพ่อฤาษี พระราชพรหมยานเถระ วัดท่าซุง..สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ก็โดยสมัยนั้น ท่านพระอนุรุทธะอยู่ ที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์ ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกเร้นอยู่ ในที่ลับ เกิดความปริวิตกทางใจอย่างนี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ยินดีในการคลุกคลีด้วย หมู่คณะ ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน ของบุคคลผู้ มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคล ผู้มีจิตไม่มั่นคง ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ฯ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบความปริวิตกทางใจของท่านพระอนุรุทธะ แล้ว เสด็จจากเภสกลามิคทายวัน แขวงสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคชนบท ไป ปรากฏเฉพาะหน้าท่านอนุรุทธะที่วิหารปาจีนวังสทายวัน เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลัง เหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะ ที่จัดไว้ถวายแล้ว แม้ท่านพระอนุรุทธะถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้ว นั่ง ณ ที่ ควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคได้ตรัสกะท่านพระอนุรุทธะว่า ดีแล้วๆ อนุรุทธะ ถูกละ ที่เธอตรึกมหาปุริสวิตกว่าธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ... ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มี ปัญญาทราม ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอจงตรึกมหาปุริสวิตกข้อที่ ๘ นี้ว่า ธรรมนี้เป็นธรรมของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่ ทำให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ทำให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ทำ ให้เนิ่นช้า ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรม บรรลุ ปฐมฌาน มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขเกิดแต่วิเวกอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึก มหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิตในภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตกวิจาร เพราะวิตก วิจารสงบไป มีปีติและสุขเกิดแต่สมาธิอยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในการนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักมีอุเบกขา มีสติสัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป บรรลุตติยฌานที่พระอริยเจ้าทั้งหลาย สรรเสริญว่า ผู้ได้ฌานนี้ เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติอยู่เป็นสุข ในกาลใดแล เธอ จักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ ในกาลนั้น เธอจักหวังได้ทีเดียวว่า จักบรรลุ จตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัสโทมนัสก่อนๆ ได้ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้มีปรกติได้ตามปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่ง ฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุล จีวรจักปรากฏแก่เธอ ผู้สันโดษ อยู่ด้วยความยินดี ด้วยความไม่หวาดเสียว ด้วย ความอยู่เป็นสุข ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนหีบใส่ผ้าของคฤหบดี หรือบุตรแห่งคฤหบดี อันเต็มไปด้วยผ้าสีต่างๆ ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใด แล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขใน ปัจจุบัน ในกาลนั้น โภชนะ คือ คำข้าวที่ได้มาด้วยปลีแข้ง จักปรากฏแก่เธอผู้ สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนข้าวสุก (หุงจาก) ข้าวสาลี คัดเอาดำออกแล้ว มีแกงและกับหลายอย่าง ของคฤหบดีและบุตรแห่งคฤหบดี ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และ จักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิต ยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น เสนาสนะ คือ โคนไม้ จัก ปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเรือนยอด ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉาบทาไว้ดีแล้ว ปราศจากลม ลงลิ่มสลักมิด ชิด ปิดหน้าต่างสนิท ฉะนั้น ดูกรอนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริส- *วิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ที่นอน ที่นั่งอันลาดด้วยหญ้า จักปรากฏแก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนบัลลังก์ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี อันลาดด้วยผ้าโกเชาว์ขน ยาว ลาดด้วยขนแกะสีขาว ลาดด้วยผ้าสัณฐานเป็นช่อดอกไม้ มีเครื่องลาดอย่างดี ทำด้วยหนังชะมด มีเครื่องลาดเพดานแดง มีหมอนข้างแดงสองข้าง ฉะนั้น ดูกร อนุรุทธะ ในกาลใดแล เธอจักตรึกมหาปุริสวิตก ๘ ประการนี้ และจักเป็นผู้ได้ ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ นี้อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ในกาลนั้น ยาดองด้วยน้ำมูตรเน่า จักปรากฏ แก่เธอผู้สันโดษ ... ด้วยการก้าวลงสู่นิพพาน เปรียบเหมือนเภสัชต่างๆ คือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ของคฤหบดีหรือบุตรของคฤหบดี ฉะนั้น ฯ ดูกรอนุรุทธะ ถ้าอย่างนั้น เธอพึงอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นี้แหละ ต่อไปอีกเถิด ท่านพระอนุรุทธะทูลรับพระผู้มีพระภาคแล้ว ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสสอนท่านพระอนุรุทธะด้วยพระโอวาทนี้แล้ว เสด็จจากวิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้นเจดีย์นคร ไปปรากฏที่ป่าเภสกลามิคทายวัน แขวงเมืองสุงสุมารคิระ แคว้นภัคคะ เปรียบเหมือนบุรุษผู้มีกำลังเหยียดแขนที่คู้ หรือคู้แขนที่เหยียด ฉะนั้น พระผู้มีพระภาคประทับนั่งบนอาสนะที่จัดไว้ถวายแล้ว ครั้นแล้วตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมหาปุริสวิตก ๘ ประการ แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงตั้งใจฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็มหาปุริสวิตก ๘ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีความ ปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ๑ ธรรมนี้เป็นของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคล ผู้เกียจคร้าน ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของผู้มีสติหลงลืม ๑ ธรรมนี้ ของบุคคลผู้มีจิตตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่ตั้งมั่น ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้มี ปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ๑ ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบ ใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ๑ ฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ธรรมของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก เราอาศัย อะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีความปรารถนา น้อยย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีความปรารถนาน้อย เป็นผู้ สันโดษย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สันโดษ เป็นผู้สงัด ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้สงัด เป็นผู้ปรารภความเพียร ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า ปรารภความเพียร เป็นผู้มีสติ ตั้งมั่นย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีสติตั้งมั่น เป็นผู้มีจิตมั่นคง ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้มีจิตมั่นคง เป็นผู้มีปัญญา ย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า มีปัญญา เป็นผู้ชอบใจในธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้าย่อมไม่ปรารถนาว่า ขอชนทั้งหลายพึงรู้เราว่า เป็นผู้ชอบใจ ในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของ บุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย มิใช่ของบุคคลผู้มีความปรารถนามาก ดังนี้ เรา อาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สันโดษ มิใช่ ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรม วินัยนี้ เป็นผู้สันโดษด้วยจีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และคิลานปัจจัยเภสัช บริขาร ตามมีตามได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ สันโดษ มิใช่ของบุคคลผู้ไม่สันโดษ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของ บุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย พวกภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา พระราชา มหาอำมาตย์ของพระราชา เดียรถีย์ และสาวกแห่งเดียรถีย์ เข้าไปหาภิกษุนั้น ภิกษุมีจิตน้อมไป โอนไป เงื้อมไปในวิเวก ตั้งอยู่ในวิเวก ยินดีในเนกขัมมะ ย่อมกล่าวกถาอันปฏิสังยุต ด้วยถ้อยคำตามสมควร ในสมาคมนั้นโดยแท้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้สงัด มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจการคลุกคลีด้วยหมู่คณะ ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของบุคคลผู้เกียจคร้าน เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อความถึงพร้อม แห่งกุศลธรรม มีกำลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรม ข้อที่ เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ปรารภความเพียร มิใช่ของ บุคคลผู้เกียจคร้าน ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีสติ ประกอบด้วยสติเครื่องรักษาตัวอย่างยิ่ง ระลึกนึกถึง กิจที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคล ผู้มีสติตั้งมั่น มิใช่ของบุคคลผู้มีสติหลงลืม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ ในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกร ภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีจิตมั่นคง มิใช่ของบุคคลผู้มีจิตไม่มั่นคง ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีปัญญา ประกอบด้วยปัญญาเครื่องพิจารณาความเกิดและ ความดับ เป็นอริยะ ชำแรกกิเลส ให้ถึงความสิ้นทุกข์โดยชอบ ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้มีปัญญา มิใช่ของบุคคลผู้มีปัญญาทราม ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้กล่าวแล้ว ฯ ก็ข้อที่เรากล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคล ผู้ชอบใจในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เรา อาศัยอะไรกล่าวแล้ว ดูกรภิกษุทั้งหลาย จิตของภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแล่นไป เลื่อมใส ตั้งมั่นอยู่ในความดับกิเลสเป็นเครื่องเนิ่นช้า ย่อมหลุดพ้น ข้อที่เรา กล่าวว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมนี้ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า มิใช่ของบุคคลผู้ชอบใจในธรรม ที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ผู้ยินดีในธรรมที่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ดังนี้ เราอาศัยข้อนี้ กล่าวแล้ว ฯ ครั้งนั้นแล ท่านพระอนุรุทธะอยู่จำพรรษาที่วิหารปาจีนวังสทายวัน แคว้น เจดีย์นครนั้นนั่นแล ต่อไปอีก ครั้งนั้น ท่านพระอนุรุทธะหลีกออกจากหมู่อยู่ ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ไม่นานนัก ก็กระทำให้แจ้ง ซึ่งที่สุดแห่งพรหมจรรย์อันยอดเยี่ยม ที่กุลบุตรทั้งหลายออกบวชเป็นบรรพชิต โดยชอบต้องการนั้นด้วยปัญญาอันยิ่งเอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่ รู้ชัดว่า ชาติ สิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความ เป็นอย่างนี้มิได้มี ก็ท่านพระอนุรุทธะได้เป็นพระอรหันต์รูปหนึ่งในจำนวนพระ- *อรหันต์ทั้งหลาย ลำดับนั้น ท่านพระอนุรุทธะบรรลุอรหัตแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ไว้ ในเวลานั้นว่า พระศาสดาผู้เป็นเยี่ยมในโลก ทรงทราบความดำริของเราแล้ว ได้เข้ามาหาเราด้วยฤทธิ์ทางพระกายอันสำเร็จแต่พระหฤทัย พระองค์ได้ทรงแสดงธรรมอันยิ่งกว่าความดำริของเราเท่าที่ดำริ ไว้ พระพุทธเจ้าผู้ยินดีแล้วในธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า ได้ทรงแสดงซึ่งธรรมอันไม่เป็นเหตุให้เนิ่นช้า เราได้รู้ทั่วถึง ธรรมของพระองค์แล้ว ยินดีในศาสนาอยู่ เราได้บรรลุ วิชชา ๓ แล้วโดยลำดับ คำสอนของพระพุทธเจ้าเรา กระทำแล้ว ฯ จบคหปติวรรคที่ ๓ ----------------------------------------------------- รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ ๑. อุคคสูตรที่ ๑ ๒. อุคคสูตรที่ ๒ ๓. หัตถสูตรที่ ๑ ๔. หัตถสูตรที่ ๒ ๕. มหานามสูตร ๖. ชีวกสูตร ๗. พลสูตรที่ ๑ ๘. พลสูตรที่ ๒ ๙. อักขณสูตร ๑๐. อนุรุทธสูตร ฯ
อันแรกเริ่ม เดิมความ ตามจิตแท้ จิตนั้นแล เป็นพุทธะ สุขหนักหนา จิตจุติ แต...อันแรกเริ่ม เดิมความ ตามจิตแท้ จิตนั้นแล เป็นพุทธะ สุขหนักหนา จิตจุติ แต่หนใด ไร้ที่มา จิตนั้นหนา นานนม ตรมฤดี ทุกคราจิต พิสมัย ใคร่กำหนัด ดำเนินพัฒน์ ปัจจัตตัง ตามวิถี อวิชา พามืดบอด อนันตี ทุกชีวี จิตมืดมน นนทกาล อวิชา พาใจ ให้ยืดสุข แต่ลืม ทุกข์คู่ กันไป ในแก่นสาร มิอาจแยก จากกันไกล แต่ช้านาน สุขทุกข์พาน พบเจอ เป็นเกลอกัน ทั้งอินทร์ พรหม ยมยักต์ รวมสัตว์โลก เต็มหมื่นโลกธาตุไซร้ ให้โศกสันต์ หลงกันอยู่ในวัตถะ สงสารกัน ทั่วทุกชั้น ยังเวียนสุข ทุกข์กันไป ยังมิอาจ จะตัดภพ และตัดชาติ กิเลสขาด จากดวงจิต สิ้นสงสัย ยัง รับ รู้ จด จำ อุปทานไป สร้างชาติ ภพ ประสบใหม่ ใคร่ยินดี ต้องเร่งศิล สมาธิ และปัญญา ภาวนา ตามหลัก อริยสัจสี่ เจริญธรรม ลงสู่จิต ทั้งอินทรีย์ สิ้นกันที กับกองไฟ ไหม้หัวมา อันว่าธรรมนั้นว่ายาก ก็ยากได้ จะว่าง่าย แสนง่าย ไม่หนักหนา แต่ตัวเรา เขาสัตว์ ยังคณา ว่าเป็นเรา เขา ข้า ชั่งน่ากลัว ยังคงติด ยึดบ่วงกรรม ดำกิเลส ทุกประเทศ เพศ ภพ ประสบทั่ว โอกาสดี มีชัย จงเตรียมตัว พบผู้สอน ให้ละชั่ว พึงกราบกราน อันว่ามีด เหล็กหนา พาเห็นแน่ แต่เบื้องแท้ ที่มา น่าสงสาร ต้องทนร้อน ทนทุบ อยู่ช้านาน ทั้งไฟผลาญ หินฝน จนได้คม จะหลุดได้ พ้นได้ ต้องสลัด ต้องพานพลัด พลาดอยาก มากขื่นขม ต้องทิ้งละ โกรธ โลภ และหลง ตรม อีกทั้งปลง ในวัฎฏะ ไตรลักษณ์กัน จะได้มา ซื่งหลุด พ้นกิเลส มิเหลือเศษ เหลือหลง ให้โศกสันต์ ใช้ปัญญา พิจารณา ให้เร็วพลัน ชีวานั้น ใช่ยืด และยืนนาน กิเลสดุจ ไปกราน ผลาญศรีษะ เมื่อไหลหละ จะดับไป ในสังขาร ดับวันนี้ วันไหน อย่าช้านาน พอถึงกาล เวลาหมด ชดใช้กรรม ทางสายกลาง ทางเดียวไหน ให้รู้แน่ ธรรมแท้แท้ แน่นหนัก ละโศกสันต์ คือธรรมที่ ชี้ทาง สว่างพลัน มิเกิดกัน อีกอยู่ ทุกผู้ตน จงเบื่อหน่าย คลายเมา ในกิเลส ปฏิเสธ ยึดติด มีสิทธิ์ขน ว่าตัวกู ของกู เป็นของตน เวลาป่น เป็นธุรี ขี้เถ้าใคร ไม่ขนแบก แอกหนัก สรรพสิ่ง ให้ประวิง หวาดหวั่น พลันสั่นไหว ขนาดตัว ของตัวเอง ยังบรรลัย เกิด แก่... ตาย แปรไป ตามเวลา แม้แต่ธรรม ความรู้ ก็อยากแบก ให้ละแยก นิวรไป อย่าถือสา ประตูโลก พระนิพพาน สราญตา ยังเล็กกว่า ผ่าเกสา ถึงสามที อันบึงเล็ก บึงใหญ่ ต่างสันฐาน ลึกประมาณ โคลนตม สมวิถี มีแต่สิ่ง ปฏิกูล ถมทวี ในน้ำมี ทั้งเพทภัย ให้พบพา เปรียบดั่ง โลกธาตุใหญ่ ใส่กิเลส มีสาเหตุ ให้ดึงฉุด ทรุดหนักหนา ฝังบัวน้อย เหง้าลึก สุดคณา กว่าจะเกิด ผุดขึ้นมา แต่ช้านาน อันผลบ่วง ห่วงกรรม ชักนำจิต ตนมีสิทธิ ที่จะทำ นำสังขาร ให้ดอกลึก ดอกตื้น หรือพ้นพาน จากหมู่มาร ที่พานพบ ประสบกัน กว่าจะได้เป็น บัวเหล่า เถาที่หนึ่ง ต้องผ่านซึ่ง ทุกข์ทน ปนทั้งนั้น สะสมบุญ บารมีกัน แต่นานวัน ตัวเรานั้น ถือโชคดี ที่เกิดมา ได้พานพบ พุทธศาสตร์ สรนะแท้ น้อยกว่าแค่ หนึ่งหัวเต่า ในไพรศา พระสมุทร ผุดพลัน โผล่ขึ้นมา ได้พบพา ลอดห่วงพลุ๊ด เข้าพอดี เมื่อเป็นบัว ได้ผุดพ้น พบพุทธศาสตร์ อภิวาท วันทา เหนือเศียรศรี ปวารณา ไตรสรณะ ขณะมี ประพฤติดี ตามกฏ รสพระธรรม
พระโพธิสัตว์ ดีใจที่ได้อำลาพุทธภูมิ กรุณาธารณีสูตร..ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว..
คาถาของท่านพระสารีปุตตเถระ.คาถาของท่านพระสารีปุตตเถระเราไม่ยินดีต่อความตาย และชีวิต เราเป็นผู้มีสติสัมปชัญญะจักละทิ้งร่างกายนี้ไป ไม่ยินดีต่อ ความตายและชีวิต รอคอยเวลาตายอยู่ เหมือนลูกจ้างรอให้หมดเวลา ทำงาน ฉะนั้น ความตายนี้มีแน่นอนในสองคราว คือ ในเวลาแก่ หรือในเวลาหนุ่ม ที่จะไม่ตายเลยย่อมไม่มี เพราะฉะนั้น ท่านทั้งหลาย จงบำเพ็ญแต่สัมมาปฏิบัติเถิด ขอจงอย่าได้ปฏิบัติผิดพินาศเสียเลย ขณะอย่าได้ล่วงเลยท่านทั้งหลายไปเสีย เมืองที่ตั้งอยู่ชายแดน เขาคุ้ม ครองป้องกันดีทั้งภายนอกและภายในฉันใด ท่านทั้งหลายก็จงคุ้มครอง ตนฉันนั้นเถิด ขณะอย่าได้ล่วงเลยท่านทั้งหลายไปเสีย เพราะผู้มีขณะ อันล่วงเลยไปเสียแล้ว ต้องพากันไปเศร้าโศกยัดเยียดอยู่ในนรก
แบตเตอรี่สองลูกใช้กับมอเตอร์สามเฟส220/380หนึ่งแรงม้าเศรษฐกิจดี สังคมไม่มีปัญหา การพัฒนายั่งยืน ไม่ใช้ฟืน ไม่ใช้น้ำมัน ไม่ใช้แก๊ส ไม่ทำลาย ธรรมชาติ ...ใช้แทน...เครื่องจักร...ที่ สันดาป..ภายใน...เนื่องจากใช้ไฟฟ้าเพียง 48 โวลต์ หรือ แบตเตอรี่รถยนต์ 4 ลูก สามารถ ขับเคลื่อน มอเตอร์ สามเฟส ได้ 1 แรงม้า เร่ง และลด ความเร็วได้ ดู รายละเอียด จากคลิป ได้ครับ..โชคดี มีความสุข ปลอดภัย สบายกาย สบายใจ ทุกท่าน...ครับ. ราคา ประมาณ 2000-3000 บาท ไม่รวมแบตเตอรี่ และมอเตอร์ ครับ...กันไว้ดีกว่า..แก้..แย่แล้ว แก้ไม่ทัน..ปลอดภัยไว้ก่อน..ดีกว่า..ครับ..https://www.youtube.com/watch?v=zNyOWave-cw.https://www.youtube.com/watch?v=_RFP-XV77_0 https://www.youtube.com/watch?v=tv5Rsva52Cg https://www.youtube.com/watch?v=2t3Ox2L5Pis https://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 https://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw https://www.youtube.com/watch?v=w_YexIQfHI0 https://www.youtube.com/watch?v=lpthWsRW8yA หากใช้แบตเตอรี่รถยนต์ 100 แอมป์ 4 ลูก ประจุเต็มที่ เท่ากับ 4,800 วัตต์ 750 วัตต์ เท่ากับ หนึ่งแรงม้า จะเหมือนมี ม้า 1 ตัว ที่ วิ่งได้ ประมาณ 6 ชั่งโมง..ถ้า เครื่อง ทำงาน ตามปกติ...
การฟังธรรมเป็นเหตุให้จิตหลุดพ้นจากอาสวะดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป แสดงธรรมแก่ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือ เพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มี ใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความ สิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อมแสดงธรรมเท่า ที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ @๑. หมายถึงอาสวักขยญาณ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒ ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้ อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมทำ การสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิด ปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๓ ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้ อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ทำการ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อม ตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้ สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมย่อมเกิด ปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔ ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมเท่าที่ได้ สดับได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่า เรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อม เกิดปีติ เมื่อมีใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของ ภิกษุผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่ หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้ บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ฯ จบสูตรที่ ๖
นิสสรณะ วิมุติดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะ ชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการเป็นไฉน ดูกรภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป แสดงธรรมแก่ภิกษุใน ธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือ เพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติกายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มี ใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความ สิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อมแสดงธรรมเท่า ที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ @๑. หมายถึงอาสวักขยญาณ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒ ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้ อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมทำ การสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิด ปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๓ ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้ อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ทำการ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อม ตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้ สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมย่อมเกิด ปราโมทย์ ... เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔ ... ดูกรภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมเท่าที่ได้ สดับได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่า เรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อม เกิดปีติ เมื่อมีใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของ ภิกษุผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่ หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้ บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ ฯ จบสูตรที่ ๖
วันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ผิดทางแล้วเห็นสวรรค์เห็นนั่นเห็นนี่ที่แท้กิเลสมันหลอก.. มันออกไปแสวง ทุกสิ่งทุกอย่าง จิตออกไปแสวงทั้งนั้น เพราะว่าไม่รู้ถึงจิตแท้ ถ้ารู้ไม่ถึง ไปหลงกับไอ้สิ่งเหล่านั้น ไปหลงกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฐถัพพะ ไปหลงจิตมันออกไปแสวง เห็นเป็นรูปเทวบุตร เทวดา นรก เปรต มันเห็น ไอ้ตัวโอภาสตัวนี้ มันเห็น แม้แต่ เราไม่เคยรู้ มันรู้ เราไม่เคยเห็น มันเห็น แหม ไปหลงอะไร หลงกับรูปตัวนั้นน่ะ ผิดทางแล้ว
มหัศจรรย์ฝันรู้ตัว Lucid Dreamingความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
มหัศจรรย์ฝันรู้ตัว Lucid Dreamingสิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมันเวทนานั้นอยู่ในขันธ์ ๕ ในขันธ์ ๕ ส่วนใหญ่อยู่ในกองทุกข์ ยกเว้นตัวตัณหาตัวโลภะอะไรพวกนี้ มี ๒ หมวก หมวดนึงอยู่ในกองทุกข์ หมวดนึงอยู่ในกองสมุทัย สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นต้องรู้ รู้ตามความเป็นจริง เค้าเรียกว่ารู้ทุกข์ ถึงจะเรียกว่าการปฏิบัติด้วยปัญญาอันยิ่งงั้นอย่างจะนั่งสมาธิปวดเมื่อยขึ้นมาจะนั่งทนเอาชนะเวทนาเนี่ย อันนี้ทำผิดแล้วไม่ได้ทำด้วยปัญญาอันยิ่ง แต่ทำเพราะโลภะมันหนุนหลังอยู่ ถ้าทำสำเร็จนะนั่งสำเร็จไม่กระดุกกระดิกได้จนมันหายเมื่อยไป มันก็กูเก่งขึ้นมาอีก งั้นที่ท่านสอนนะแต่ละคำๆของท่านมีความหมาย เราเวลาทรงจำแล้วอย่าให้มันแหว่งไป สิ่งที่ควรเจริญด้วยปัญญาอันยิ่งคือ สมถะและวิปัสสนา
รู้ว่าฝันให้ตื่นทันที..สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมันเวทนานั้นอยู่ในขันธ์ ๕ ในขันธ์ ๕ ส่วนใหญ่อยู่ในกองทุกข์ ยกเว้นตัวตัณหาตัวโลภะอะไรพวกนี้ มี ๒ หมวก หมวดนึงอยู่ในกองทุกข์ หมวดนึงอยู่ในกองสมุทัย สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นต้องรู้ รู้ตามความเป็นจริง เค้าเรียกว่ารู้ทุกข์ ถึงจะเรียกว่าการปฏิบัติด้วยปัญญาอันยิ่งงั้นอย่างจะนั่งสมาธิปวดเมื่อยขึ้นมาจะนั่งทนเอาชนะเวทนาเนี่ย อันนี้ทำผิดแล้วไม่ได้ทำด้วยปัญญาอันยิ่ง แต่ทำเพราะโลภะมันหนุนหลังอยู่ ถ้าทำสำเร็จนะนั่งสำเร็จไม่กระดุกกระดิกได้จนมันหายเมื่อยไป มันก็กูเก่งขึ้นมาอีก งั้นที่ท่านสอนนะแต่ละคำๆของท่านมีความหมาย เราเวลาทรงจำแล้วอย่าให้มันแหว่งไป สิ่งที่ควรเจริญด้วยปัญญาอันยิ่งคือ สมถะและวิปัสสนา
การข้ามภพข้ามชาติ สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน เวทนานั้นอยู่ในขันธ์ ๕ ในขันธ์ ๕ ส่วนใหญ่อยู่ในกองทุกข์ ยกเว้นตัวตัณหาตัวโลภะอะไรพวกนี้ มี ๒ หมวก หมวดนึงอยู่ในกองทุกข์ หมวดนึงอยู่ในกองสมุทัย สิ่งใดเป็นทุกข์สิ่งนั้นต้องรู้ รู้ตามความเป็นจริง เค้าเรียกว่ารู้ทุกข์ ถึงจะเรียกว่าการปฏิบัติด้วยปัญญาอันยิ่ง งั้นอย่างจะนั่งสมาธิปวดเมื่อยขึ้นมาจะนั่งทนเอาชนะเวทนาเนี่ย อันนี้ทำผิดแล้วไม่ได้ทำด้วยปัญญาอันยิ่ง แต่ทำเพราะโลภะมันหนุนหลังอยู่ ถ้าทำสำเร็จนะนั่งสำเร็จไม่กระดุกกระดิกได้จนมันหายเมื่อยไป มันก็กูเก่งขึ้นมาอีก งั้นที่ท่านสอนนะแต่ละคำๆของท่านมีความหมาย เราเวลาทรงจำแล้วอย่าให้มันแหว่งไป สิ่งที่ควรเจริญด้วยปัญญาอันยิ่งคือ สมถะและวิปัสสนา
วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิต ต้องมีสติ รู้สึกตัวบ่อยๆ รู้สึกกายรู้สึกใจ รู้สึกกายรู้สึกใจไป รู้สึกกายรู้สึกใจเรียกว่ารู้ทุกข์ รู้สึกไปเรื่อยถ้ารู้แจ่มแจ้งเห็นมันเป็นไตรลักษณ์จะเบื่อ พอเบื่อหน่ายก็รู้ว่าเบื่อหน่ายนะ ใจก็คลายออก ไม่ยึดถือ เห็นแล้วว่าความจริงเป็นยังไง ความจริงของกายก็คือทุกข์ ความจริงของจิตใจก็คือทุกข์ ความจริงเค้าเป็นอย่างนั้น ใจยอมรับความจริง พอใจยอมรับความจริงใจก็หมดความดิ้นรนใช่มั้ย ตัวสำคัญนะตรงที่ยอมรับความจริง ถ้าคนที่ยอมรับความจริงได้จะไม่ทุกข์ คนที่ยอมรับความจริงไม่ได้จะทุกข์ อย่างร่างกายเราต้องแก่ใช่มั้ย ต้องเจ็บต้องตาย นี่เป็นความจริง ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ทุกข์แล้ว ตีนกาขึ้นหน่อยก็กลุ้มแล้วใช่มั้ย หายานี้มาลองทาไม่ได้ผลเอาตัวนี้ทา ทาไปทามาเลยเหี่ยวไปเลย คราวนี้ตีนวัวตีนควาย ท้อใจแล้วยอมรับสภาพ มันเยอะสู้ไม่ไหวแล้ว ถ้ายอมรับได้ก็ไม่ทุกข์ใช่มั้ย อย่างหลวงพ่อนะหลวงพ่อรู้สึกตัวเองแก่มานานแล้ว ตั้งแต่เด็กๆก็รู้สึกแก่นะ ภาวนามามากๆนะ รู้สึกโลกมันจืดมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เพื่อนฝูงเค้าเฮๆฮาๆนะ เราก็เฮ้อ เล่นๆไปกับเค้านะเหมือนเล่นละครยังไงหยั่งงั้นน่ะ เอาใจมันให้ไม่ดูแปลกกว่ามันมากนัก กลมกลืน แต่ในใจเรารู้สึกไม่เห็นมีอะไรเลย จืดชืด นี่ใจมันแก่มาตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆมันล้อหลวงพ่อนะว่าหน้าตาแก่ ท่าทางก็เหมือนคนแก่ เดี๋ยวนี้ลองมาดูสิมันแก่กว่าหลวงพ่อแล้วรายไหนรายนั้นเลย ของเราแก่คงที่มาตั้งแต่เด็ก มันมาแก่ทีหลัง มันดังกว่า ไปดูสิแต่ละคนนะหัวหงอกขาวโพลนเลยก็มีนะ หัวล้านเหน่งเลยก็มี เราภาวนานะภาวนา ใจยอมรับความจริงได้เมื่อไหร่ใจจะไม่ทุกข์ ใจจะยอมรับความจริงได้ต่อเมื่อใจยอมจำนน นี่ไม่ยอมง่ายๆนะ อยู่ๆจะไปบอก เอ้า ผมยอมแล้ว เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องธรรมดา ปิ๊ง บรรลุพระอรหันต์ ใจมันไม่ยอมด้วยหรอก งั้นมันจะยอมต่อเมื่อมันยอมจำนน ทำยังไงมันถึงจะยอมจำนน ต้องเอาข้อเท็จจริงตีแผ่ให้มันดูทุกวันๆ ดูลงมาในกาย ดูลงมาในใจ ดูซิมันสุขหรือมันทุกข์ มันดีหรือมันร้ายนะ ดูลงไป มันน่ารักหรือมันไม่น่ารัก มันสวยมันงามหรือไม่สวยไม่งาม มันเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันสุขหรือมันทุกข์นะ มันบังคับได้หรือบังคับไม่ได้ เอาของจริงมาให้มันดู พวกเราวิปลาส ปุถุชนจะวิปลาสสี่อย่าง คือเห็นของไม่สวยไม่งามก็ว่าสวยว่างาม เห็นของไม่เที่ยงก็ว่าเที่ยง เห็นของเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข เห็นของไม่ใช่ตัวตนว่าเป็นตัวเป็นตนของตน นี่เรียกวิปลาส นี้จะหายบ้าหายวิปลาสได้นะเอาข้อเท็จจริงมาให้ดู พอดูทุกวันๆนะ ดูอยู่ในกายดูอยู่ในใจ รู้สึกกายรู้สึกใจอย่าไปแทรกแทรง อย่าไปบังคับ เราต้องการดูความจริง เพราะงั้นอย่าไปบังคับกายบังคับใจ “หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนจะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า สังขารุเบกขาญาน สังขารุเบกขาญาน ญานแปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขาเป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่า สังขาร ร่างกายก็ เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ก็เป็น สังขาร อะไร อะไร ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป ก็จะเห็นว่าร่างกายที่หายใจออก ก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่ว คราว ความสุข ก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่อยู่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวมั๊ย มีมั๊ย มีใครสุขถาวรมีมั๊ย ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ไม่มี เนี่ยะเรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ จะเห็นเลยว่า สุขก็ชั่ว คราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามัน เกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมัน เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวจิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางเนี่ยะเกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า (ไม่โกรธนะ ไม่โกรธนะ) เป็นกลางเพราะ กดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก ด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างนึงเป็นกลางด้วย ปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมาเราเห็น เราเห็นใจเลยว่าใจเราโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัติเนี่ยะ พอเราเห็นใจเรา โมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจยินร้าย ไม่ชอบตอนที่โกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี ในแง่จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ ใจจะเป็นกลางด้วยปัญญาแล้วก็จะเห็นเลยเนี่ยะว่า ความสุขก็ชั่วคราวความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธหลง อะไรต่อมิอะไรก็ชั่วคราว ความฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่เห็นว่าจิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแระ เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย …. ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิตจนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ 'มันมีการทำลายจิตผู้รู้' ระหว่างทางปฏิบัตินั้นเราไปสร้างจิตผู้รู้ขึ้น เพื่อเป็นคนรู้ เห็นรูป นาม กาย ใจ เคลื่อนไหว ทำงานไปนะ แท้จริงการทำลายจิตผู้รู้ก็คือความรู้แจ้งในอริยสัจนั่นเองนะว่าจิตนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ แล้วหมดความยึดถือจิต นี้สำนวนท่านบอกว่าทำลายผู้รู้ ที่จริงก็คือไม่ยึดถือจิตนั่นแหละ เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิต จนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ จิตที่เหลือมันจะเป็นกิริยา จะไม่ใช่เป็นตัวผู้รู้อีก ให้จิตเป็นผู้แสดงเราไม่ต้องแสดงเราเป็นคนดูใจเป็นคนดู ต้องมีใจเป็นคนดูเห็นร่างกายทำงาน ร่างกายเป็นผู้แสดง ใจเป็นคนดู. คนไหนถนัดรู้เวทนา ... ใครเป็นคนรู้..? จิตเป็นคนรู้. เห็นมั๊ย...งั้นในสติปัฏฐานนะ เวลาเราลงมือทำ เราไม่ต้องไปแยกขันธ์ ๕ หรอก มากไป ... ไม่ยากอะไรหรอก ใช้เวลาไม่มาก แต่ว่าต้องจับหลักให้ได้.
วันที่พบพระพุทธเจ้าให้จิตเป็นผู้แสดงเราไม่ต้องแสดงเราเป็นคนดูใจเป็นคนดู ต้องมีใจเป็นคนดูเห็นร่างกายทำงาน ร่างกายเป็นผู้แสดง ใจเป็นคนดู. คนไหนถนัดรู้เวทนา ... ใครเป็นคนรู้..? จิตเป็นคนรู้. เห็นมั๊ย...งั้นในสติปัฏฐานนะ เวลาเราลงมือทำ เราไม่ต้องไปแยกขันธ์ ๕ หรอก มากไป ... ไม่ยากอะไรหรอก ใช้เวลาไม่มาก แต่ว่าต้องจับหลักให้ได้.
กิเลสก็ส่วนกิเลสจิตก็ส่วนจิตให้จิตเป็นผู้แสดงเราไม่ต้องแสดงเราเป็นคนดูใจเป็นคนดู ต้องมีใจเป็นคนดูเห็นร่างกายทำงาน ร่างกายเป็นผู้แสดง ใจเป็นคนดู. คนไหนถนัดรู้เวทนา ... ใครเป็นคนรู้..? จิตเป็นคนรู้. เห็นมั๊ย...งั้นในสติปัฏฐานนะ เวลาเราลงมือทำ เราไม่ต้องไปแยกขันธ์ ๕ หรอก มากไป ... ไม่ยากอะไรหรอก ใช้เวลาไม่มาก แต่ว่าต้องจับหลักให้ได้.
คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายหลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยรายประดุจกำแกลบหลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
ทุกข์เท่านั้นที่เกิดขึ้นทุกข์เท่านั้นที่ตั้งอยู่ทุกข์เท่านั้นที่ดับไปหลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
วิธีการเข้าถึงพระนิพพานหลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธาผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชาเป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ดูกรภิกษุทั้งหลาย สัตว์เหล่าใดปฏิญาณความไม่มีโรคทางใจแม้ครู่หนึ่ง สัตว์เหล่านั้นหาได้ยากในโลก เว้นจากพระขีณาสพ" คนที่ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคทางกายอาจจะมีอยู่บ้าง แต่ทว่าคนที่ไม่ป่วยด้วยโรคทางใจหาได้ยากยิ่ง
มหัศจรรย์ฝันรู้ตัว Lucid Dreamingความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป..ผู้สละโลกและพระอานนท์พระพุทธอนุชาเป็นผลของของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ
เพื่อนรักเพื่อนแท้ไม่ใช่ใครกายและใจของเรานี่เอง.. Sompong Tungmepol แชร์ใน Google+ แล้ว · 7 เดือนที่ผ่านมา จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน คือมองไม่เห็นว่า เจตนาที่จะประคองรักษาจิต ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไรรใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้ หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่กาแจ้งอาสวกิเลส ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ ๔ แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้ เรา (พระศาสดา) ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ เรา(พระพุทธเจ้า)ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่ เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่ เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่ เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออก..ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น ธรรมตรงนี้ท่านแสดงไว้อย่างชัดเจนถึง กะเปาะฟองที่ห่อหุ้ม (จิต) สิ่งนี้ก็คือห้องขังที่มองไม่เห็น ที่ขังให้จิตติดข้องอยู่ในอาสวกิเลส และทรงกล่าวถึงการชำแรกออก หรือทำลายออกจากกะเปาะนั้น เพราะมีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจจ์ และเห็นแจ้งอาวสกิเลส ฟังผิวเผินเหมือนเป็นถ้อยคำเปรียบเทียบของพระองค์ แต่ผู้ปฏิบัติที่พบเห็นสภาวะ ภพของจิตผู้รู้ อ่านตรงนี้แล้วจะสะดุ้งใจ เพราะจะรู้สึกว่า พระองค์รับสั่งถึงสภาวะอันหนึ่งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด เพราะเห็นชัดว่า จิตถูกขัง ถูกแช่จม อยู่ในขอบเขตอันหนึ่งจริงๆ ผมมีเรื่องอยู่เรื่องหนึ่ง ที่จะเล่าให้พวกเราฟังกันเป็นการภายใน ดังนี้ เมื่อประมาณปี ๒๕๒๖ ผมได้ไปกราบหลวงพ่อพุธ ที่วัดป่าสาลวัน ท่านได้ถามถึงธรรมที่หลวงปู่ดูลย์สอนผม อันเป็นเรื่องการทำลายผู้รู้ แล้วท่านก็กล่าวว่า หลวงปู่ดูลย์ก็สอนท่านอย่างเดียวกันนี้ จากนั้นท่านก็เมตตา ให้โอกาสแก่ผมด้วยกุสโลบาย คือตามธรรมเนียมของผู้ปฏิบัติแล้ว จะไม่ก้าวก่ายเข้าไปสอนศิษย์ของท่านผู้อาวุโสกว่า หลวงพ่อจึงไม่บอกว่า จะสอนธรรมให้แก่ผม แต่กลับบอกว่า "คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกันไว้ ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อน ให้มาบอกวิธีแก่กัน" เมื่อ ๒๕๒๖ ผมมีโอกาสพบท่านอีกครั้งหนึ่ง เข้าไปกราบท่าน รายงานตัวฟื้นความหลังให้ว่าผมเป็นใคร ท่านก็บอกว่า ท่านจำได้ ผมก็กราบเรียนท่านว่า จนป่านนี้ผมยังทำลายจิตผู้รู้ไม่ได้เลย ขออุบายวิธีปฏิบัติจากหลวงพ่อ เพื่อทำลายผู้รู้ด้วยเถิด หลวงพ่อตอบว่า “จิตผู้รู้ก็เหมือนฟองไข่ เมื่อจิตมีปัญญาแก่รอบแล้ว จิตจะทำลายสิ่งห่อหุ้มนั้นออกมาเอง เหมือนลูกไก่ที่โตได้ที่แล้ว เจาะทำลายเปลือกไข่ออกมาเอง”
วันเสาร์ที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2558
เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น..ท่านเจ้าคุณพระราชวุฒาจารย์ หลวงปู่ฝากไว้. 'จิต คือ ผู้รู้ ผู้รู้ คือ จิต พิจารณาจิตให้เป็นแล้วจะเห็น. 'กิเลสเกิดที่จิตถ้ารู้ทันจิตกิเลสก็ดับ. พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย เราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้นมีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น
การเจริญพระกรรมฐานนิโรธสูตร ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโส ทั้งหลาย ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระสารีบุตรแล้ว ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ บ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอ ก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มี ฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธ บ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารีบุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่าน พระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วง ความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระสารีบุตรได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ผู้ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ผู้ถึงพร้อมด้วย ปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้ เป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุอรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วง ความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทาง ใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนี้เป็นฐานะที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตร ว่า ดูกรท่านพระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิง การาหารเป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิต- *นิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั่นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อ นั้นไม่เป็นฐานะที่จะมีได้ ครั้งนั้นท่านพระสารีบุตรได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคันค้าน เราถึง ๓ ครั้ง และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนา (ภาษิต) เรา ผิฉะนั้น เราพึง เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว ได้กล่าวกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรอาวุโสทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อม ด้วยศีล ถึงพร้อมด้วยสมาธิ ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ ถ้าเธอไม่พึงบรรลุ อรหัตผลในปัจจุบันไซร้ เธอก็ก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหาร เป็นภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมีได้ เมื่อท่านพระสารี- *บุตรกล่าวอย่างนี้แล้ว ท่านพระอุทายีได้กล่าวกะท่านพระสารีบุตรว่า ดูกรท่าน พระสารีบุตร ข้อที่ภิกษุก้าวล่วงความเป็นสหายเหล่าเทพผู้มีกวฬิงการาหารเป็น ภักษา เข้าถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจบางเหล่า พึงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง พึง ออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธบ้าง นั้นมิใช่ฐานะ มิใช่โอกาส ข้อนั้นไม่เป็นฐานะ ที่จะมีได้ แม้ครั้งที่ ๒ ฯลฯ แม้ครั้งที่ ๓ ท่านพระอุทายี ... ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตร ได้คิดว่า ท่านพระอุทายีคัดค้านเราถึง ๓ ครั้ง แม้เฉพาะพระพักตร์แห่งพระผู้มี พระภาค และภิกษุบางรูปก็ไม่อนุโมทนาต่อเรา ผิฉะนั้น เราพึงนิ่งเสีย ครั้งนั้น ท่านพระสารีบุตรได้นิ่งอยู่ ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคได้ตรัสถามท่านพระอุทายีว่า ดูกรอุทายี ก็เธอย่อมหมายถึงเหล่าเทพผู้มีฤทธิ์ทางใจเหล่าไหน ท่านพระอุทายีได้ กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์หมายถึงเหล่าเทพชั้นอรูปที่สำเร็จ ด้วยสัญญา พระผู้มีพระภาคได้ตรัสว่า ดูกรอุทายี ไฉนเธอผู้เป็นพาล ไม่ฉลาด จึงได้กล่าวอย่างนั้น เธอเองย่อมเข้าใจคำที่เธอควรพูด ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค ได้ตรัสกะท่านพระอานนท์ว่า ดูกรอานนท์ ไฉนพวกเธอจักวางเฉย (ดูดาย) ภิกษุผู้เถระซึ่งถูกเบียดเบียนอยู่ เพราะว่า แม้ความการุณจักไม่มีในภิกษุผู้ฉลาดซึ่ง ถูกเบียดเบียนอยู่ ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูกร- *ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล ... ข้อนั้นเป็นฐานะที่จะมี ได้ พระผู้มีพระภาคผู้สุคต ครั้นตรัสดังนี้แล้ว จึงเสด็จลุกจากอาสนะเข้าไปยัง พระวิหาร ครั้นเมื่อพระผู้มีพระภาคเสด็จไปแล้วไม่นาน ท่านพระอานนท์ได้เข้าไป หาท่านพระอุปวาณะ แล้วกล่าวว่า ดูกรท่านอุปวาณะ ภิกษุเหล่าอื่นในพระศาสนา นี้ ย่อมเบียดเบียนภิกษุทั้งหลายผู้เถระ พวกเราจะไม่ถามหาภิกษุเหล่านั้น การที่ พระผู้มีพระภาคเสด็จออกจากที่พักผ่อนในเวลาเย็น จักทรงปรารภเหตุนั้นยกขึ้น แสดง เหมือนดังที่จะพึงตรัสกะท่านอุปวาณะโดยเฉพาะในเหตุนั้น ข้อนั้นไม่เป็น ของอัศจรรย์ บัดนี้ ความน้อยใจได้เกิดขึ้นแก่พวกเรา ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาค เสด็จออกจากที่เร้นในเวลาเย็นแล้ว เสด็จเข้าไปนั่งที่อุปัฏฐานศาลา ประทับนั่งบน อาสนะที่ได้ตบแต่งไว้ แล้วจึงตรัสถามท่านพระอุปวาณะว่า ดูกรอุปวาณะ ภิกษุ ผู้เถระประกอบด้วยธรรมเท่าไรหนอแล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ท่านพระอุปวาณะได้กราบทูลว่า ข้าแต่ พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่ พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ธรรม ๕ ประการ เป็นไฉน คือ ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้มีศีล ฯลฯ ศึกษาอยู่ในสิกขาบท ทั้งหลาย ๑ เธอเป็นพหุสูต ฯลฯ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง ๑ เธอเป็นผู้มีวาจา ไพเราะ มีถ้อยคำไพเราะ ประกอบด้วยวาจาชาวเมืองอันสละสลวย ไม่มีโทษ ให้รู้เนื้อความได้แจ่มแจ้ง ๑ เธอเป็นผู้ได้ตามความปรารถนา ได้โดยไม่ยาก ไม่ ลำบาก ซึ่งฌาน ๔ อันมีในจิตยิ่ง เป็นเครื่องอยู่เป็นสุขในปัจจุบัน ๑ เธอย่อม ทำให้แจ้งซึ่งเจโตวิมุติ ปัญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได้ เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ด้วยปัญญาอันยิ่งเองในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ ๑ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภิกษุผู้เถระ ประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ฯ พ. ดีละๆ อุปวาณะ ภิกษุผู้เถระประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล ย่อมเป็นที่รัก เป็นที่พอใจ เป็นที่เคารพ และเป็นที่ยกย่องของเพื่อนพรหมจรรย์ ถ้าหากว่าธรรม ๕ ประการนี้ ไม่พึงมีแก่ภิกษุผู้เถระไซร้ เพื่อนพรหมจรรย์พึง สักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ โดยความเป็นผู้มีฟันหัก มีผมหงอก มี หนังย่น อะไรกัน แต่เพราะธรรม ๕ ประการนี้ ย่อมมีแก่ภิกษุผู้เถระ ฉะนั้น เพื่อนพรหมจรรย์จึงสักการะ เคารพ นับถือ บูชาเธอ ฯ
วันศุกร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2558
เจดีย์พุทธสถานอินเดียพม่าไทยลาวกัมพูชาเวียดนามกาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา พุทเธ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง พุทโธ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ พุทเธ กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา ธัมเม กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง ธัมโม ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ ธัมเม กาเยนะ วาจายะ วะ เจตะสา วา สังเฆ กุกัมมัง ปะกะตัง มะยา ยัง สังโฆ ปฏิคคัณหะตุ อัจจะยันตัง กาลันตะเร สังวะริตุง วะ สังเฆ ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้า ขอพระพุทธเจ้า จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระพุทธเจ้า ในกาลต่อไป ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระธรรม ขอพระธรรม จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระธรรม ในกาลต่อไป ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี กรรมน่าติเตียนอันใด ที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ในพระสงฆ์ ขอพระสงฆ์ จงงดซึ่งโทษล่วงเกินอันนั้น เพื่อการสำรวมระวัง ในพระสงฆ์ ในกาลต่อไป
วันพฤหัสบดีที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2558
พระอานนท์เถระเจ้า ลำดับที่ 1ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของท่านอาจารย์ วศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป..
ป้องกันโรคด้วยนาฬิการ่างกายนาฬิกาชีวิต (Biological Clock) คุณทราบไหมว่า ร่างกายของคุณทำงานตามช่วงเวลา ขณะที่เราทำกิจวัตรประจำวันอยู่นั้นร่างกายและอวัยวะของเราก็ทำงานอยู่เหมือนกันแต่หากเราไม่ได้ใส่ใจ กินนอนตามแต่ใจชอบ ร่างกายก็อาจเกิดความผิดปกติเล็กๆน้อยๆนานวันเข้าก็อาจกลายเป็นโรคขึ้นได้ ดังนั้นเราจึงควรปรับเปลี่ยนการดำเนินชีวิตให้สอดคล้องกับแต่ละช่วงเวลาของวัน ดังนี้ 5.00-6.00 น. เป็นช่วงเวลาที่น่าตื่นนอนที่สุดเพราะเป็นช่วงเวลาที่ร่างกายจะเริ่มหลั่งสารคอร์ติซอลและจะเพิ่มสูงสุดในเวลา 8.00 น. ซึ่งสารคอร์ติซอลเป็นสเตรอยด์ตามธรรมชาติในร่างกาย เพื่อต้านการอักเสบ ควบคุมระดับความเครียด และช่วยให้สมองปลอดโปร่ง มีชีวิตชีวา ถ้าไม่ตื่นช่วงนี้เราจะไม่ได้รับประโยชน์จากสารนี้เลย เพราะฉะนั้นไม่ว่าท่านจะหลับกี่โมงก็ควรตื่นในเวลานี้ และในตอนเช้าจะเป็นเวลาการทำงานของลำไส้ใหญ่ด้วย มันจะบีบตัวแรงสุดในช่วงนี้ซึ่งเหมาะมากกับการขับถ่ายอุจจาระ การไม่ถ่ายอุจจาระในตอนเช้าจะทำให้ของเสียคั่งค้างถูกดูดซึมกลับมาใหม่ ฉะนั้น การถ่ายอุจจาระทุกวัน ยังไม่สำคัญเท่าถ่ายทุกเช้า 6.00-8.00 น. ถือเป็นช่วงที่เหมาะกับการออกกำลังกายมากที่สุด แนะนำให้ออกกำลังกายติดต่อกันอย่างน้อย 30นาที และเคล็ดลับสำหรับผู้ทีอยากลดความอ้วน ควรออกกำลังกายต่อไปอีก 30 นาที เนื่องจาก 30 นาทีแรก ร่างกายจะดึงน้ำตาลในเลือดกับในตับมาใช้ แต่หลังจากนั้นถือว่าเป็นนาทีทอง ที่ร่างกายจะเผาผลาญไขมันที่สะสมอยู่เดิมตามร่างกาย ดังนั้นผู้ที่ต้องการลดน้ำหนักต้องกำลังกายเบาๆติดต่อกันประมาณ 1 ชั่วโมง และแนะนำให้งดทานอาหารหลังจากออกกำลังกายอีกประมาณ 1 ชั่วโมง อาจดื่มน้ำเปล่าได้บ้าง ที่ทำเช่นนี้ก้เพื่อปล่อยให้ร่างกายนำไขมันที่สะสมออกมาใช้อย่างเต็มที่ หลังออกกำลังกายเสร็จก็ควรอาบน้ำ ซึ่งน้ำที่อาบควรเป็นน้ำเย็นหรืออุณหภูมิปกติ เพื่อช่วยในการเผาผลาญ และทำให้สดชื่นกระปรี้กระเปร่าพร้อมที่จะเผชิญความเครียดตลอดวัน พอสายหน่อยควรเติมพลังด้วยอาหารมื้อที่สำคัญที่สุดคือ มื้อเช้า ซึ่งควรทานมื้เช้าทุกเช้า ถ้าเราไม่รับประทานอาหาร ร่างกายจะคิดว่าเราขาดอาหาร โดยจะไปดึงอาหารที่ค้างไว้เมื่อคืนนำกลับมาใช้ใหม่ ซึ่งผลเสียคือของเสียและสารพิษจะคั่งค้างอยู่ในร่างกายส่งผลถึงการมีกลิ่นตัว สิว และโรค อ้วน ตามมาได้ 08.00-13.00 น. ช่วงนี้หันมาทำงานกันดีกว่า เพราะช่วงนี้เป็นช่วงที่ร่างกายสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพราะตั้งแต่เที่ยงวันเป็นต้นไปนั้น สมาธิของเราจะเริ่มลดลง และการทำงานไม่ดีนัก นั่นเป็นเพราะว่าได้เวลาของอาหารมื้อที่ 2 แล้ว (ในมื้อกลางวันสำหรับผู้ที่อยากมีหุ่นสวยก็ขอแนะนำให้เลี่ยงอาหารประเภทแป้ง อย่างอื่นทานได้ตามสมควร) 13.00-17.00 น. เป็นช่วงเวลาเผาผลาญของร่างกายทำให้ความร้อนสูง จึงควนดื่มน้ำเยอะๆหรืออาจทานผลไม้เติมพลังงานได้เล็กน้อย แต่ไม่ควรทานอาหารมื้อหนัก เนื่องด้วยเวลานี้เป็นเวลาการทำงานของลำไส้เล็ก การทานอาหารมื้อหนักจะทำให้เลือดไปเลี้ยงกระเพาะอาหารแทนที่จะไปเลี้ยงที่ลำไส้เล็ก ทำให้อาหารที่เราทานเข้าไปในตอนเช้าถูกดูดซึมได้ไม่ค่อยดี 17.00-21.00 น. ช่วงนี้ร่างกายจะเรื่มซ่อมแซมตัวเอง ดังนั้นเราควรพัก งดกิน งดออกกำลังกายได้มีเวลาฟื้นฟูตัวเอง เพราะถ้ามีกิจกรรมที่ร่างกายต้องใช้พลังงาน แร่ธาตุต่างๆที่ควรจะเข้าไปช่วยซ่อมแซมร่างกายก็กลายมาเป็นพลังงานแทน แต่ก้าในช่วงเวลานี้จำเป็นต้องกินจริงๆ เช่น ต้องไปปาร์ตี้กับเพื่อนฝูงก็ขอแนะนำให้ทานอะไรก็ได้ที่ไม่ใช่แป้งและน้ำตาลเพราะมันจะไปสะสมทำให้เราอ้วนได้ 21.00-23.00 น. เป็นช่วงที่ต้องการให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย ถ้าเป็นไปได้อย่าอาบน้ำเย็นเพราะอาจทำให้ป็นหวัดง่าย จำไว้ง่ายๆคือ ตอนเช้าอาบน้ำเย็น ตอนเย็นอาบน้ำอุ่น แล้วเวลานี้ยังเป็นเวลาที่ควรเข้านอนที่สุด ด้วย 23.00-01.00 น. เป็นช่วงเวลาของถุงน้ำดี อวัยวะใดในร่างกายเมื่อขาดน้ำ จะดึงน้ำในถุงน้ำดี ทำให้ ถุงน้ำดีข้น เป็นผลให้อารมณ์ฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวม ปวดฟัน นอนไม่หลับตื่นกลางดึกหรือตอนเช้าจะจาม ฉะนั้นแนะนำให้ทานน้ำเยอะๆก่อนนอน 01.00-03.00 น. ร่างกายก็ยังคงทำงานอยู่ ช่วงที่หลับอยู่นี้ตับจะทำหน้าที่ขจัดสารพิษ ฆ่าเชื้อโรคเพราะฉะนั้นถ้าใครนอนดึกไขมันจะไปพอกตัวที่ตับซึ่งจะทำให้ติดเชื้อง่าย แต่ถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ จะทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย 03.00-05.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด จะตื่นหรือหลับก็ได้ แต่หากได้ อยากให้ลุกขึ้นมาสูดอากาศบริสุทธิ์ในยามเช้า ลองสูดหายใจ เข้า-ออกลึกๆ สัก 3-4 รอบ เพื่อเป็นการกระตุ้นการทำงานของปอดได้เป็นอย่างดี
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”
การข้ามภพข้ามชาติงานหลักของเราคือทำตัวให้พ้นสังสารวัฏ หลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเมื่อไหร่เราปฏิบัติโดยการเข้าไปแทรกแซงเรื่อยๆนะ เช่น โกรธขึ้นมากำหนด โลภขึ้นมากำหนดนะ นานๆ เราจะรู้สึกว่าเราบังคับจิตได้ จะรู้สึกคึกคักห้าวหาญ ไม่กลัวกิเลสแล้ว กิเลสมาทีไรกำหนดแล้วจอดหมดทุกทีเลย จิตนี้เป็นอัตตาขึ้นมาแล้ว ได้พอกพูนความเห็นผิดว่าจิตเป็นตัวเป็นตน เป็นสิ่งบังคับได้ขึ้นมา จะไม่ใช่วิปัสสนานะ วิปัสสนาจะรู้กายอย่างที่เขาเป็นรู้ใจอย่างที่เขาเป็น เห็นจิตเห็นใจทำงานของเขาไปเรื่อย เราบังคับไม่ได้ เขาไม่เที่ยง เขาทนอยู่ในสภาวะอันใดอันหนึ่งนานๆ ไม่ได้ ดูไป ใจเห็นความจริงใจถึงยอมรับนะ ยอมรับแล้วมรรคผลมันจะเกิด พระพุทธเจ้าจึงสอนว่าเพราะรู้ตามความเป็นจริง รู้ตามความเป็นจริงหมายถึงรู้รูปนามนะ รู้รูปนามตามความเป็นจริง ตามความเป็นจริงคือไตรลักษณ์นั่นเอง รู้ว่ารูปนามตกอยู่ใต้ไตรลักษณ์ มีลักษณะเป็นไตรลักษณ์ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตาไม่ใช่ตัวเรา เพราะรู้ตามความเป็นจริงจึงเบื่อหน่าย ...รู้สึกไหม มันน่าเบื่อ สุขก็น่าเบื่อนะ ทุกข์ก็น่าเบื่อนะ ดีก็น่าเบื่อ ชั่วก็น่าเบื่อนะ อะไรๆ ก็น่าเบื่อ หยาบก็น่าเบื่อ ละเอียดก็น่าเบื่อ เพราะมันของไม่เที่ยงทั้งหมดเลยนะ เพราะรู้ตามความเป็นจริงจึงเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด คลายกำหนัดนี่มาจาก ภาษาไทยฟังแล้วแปลยาก ภาษาบาลีเรียกว่า “วิราคะ” หมายถึงใจเราไม่เข้าไปผูกพันกับมัน ใจไม่เข้าไปผูกพันในความสุข เพราะรู้ว่าความสุขชั่วคราว ไม่ไปหลงยินดีว่ามันจะต้องถาวร อยากให้มันถาวร ไม่มีอย่างนี้ จะไม่ดิ้นรนเพื่อจะรักษาความสุขแล้ว ใจไปเห็นความทุกข์เข้า ก็ไม่ผูกพันกับความทุกข์ ไม่ใช่คิดว่าความทุกข์เป็นตัวเราของเรานะ งั้นต้องไปหาทางละ ใจจะไม่เข้าไปผูกพันกับสภาวะที่มันไปรู้เข้า ใจมันคลายออก เพราะรู้ตามความเป็นจริงก็เลยเบื่อหน่าย เพราะเบื่อหน่ายเลยคลายกำหนัดคือคลายความผูกพัน คลายความรักใคร่ในสภาวะอันหนึ่ง เกลียดสภาวะอันหนึ่ง เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น หลุดพ้นจากอะไร จากรูปจากนามนั่นเอง ที่...เห็น จิตมันไปคว้าจิตขึ้นมา มันไม่หลุดพ้นนะ มันปล่อยไม่ได้ ถ้ามันเห็นความจริง จิตนี่ทุกข์ล้วนๆ นะ มันจะทิ้ง เรียกเห็นไตรลักษณ์ จิตแจ่มแจ้งแล้วมันทิ้งเลย มันทิ้ง เพราะเบื่อหน่ายจึงคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัดจึงหลุดพ้น อะไรหลุดพ้นอะไร จิตหลุดพ้นจากความถือมั่นในขันธ์นั่นเองนะ จิตหลุดพ้นจากกิเลสที่ห่อหุ้มจิตที่เรียกว่า “อาสวะ” กิเลสที่ห้อหุ้มจิต จิตหลุดพ้นออกมา เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว รู้เลยนะ รู้ด้วยตัวเองนะ ของมันเคยยึดเคยถือไว้หนักๆ นะ มันหลุดแล้วมันวาง เห็นต่อหน้าต่อตา มันวางจริงๆ เพราะมันไปเห็นธรรมที่พ้นจากความเกิดความตาย เพราะหลุดพ้นจึงรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ก็จะรู้ธรรมะที่พ้นออกไป เรียกว่า “วิมุตติญาณทัสสนะ” รู้ธรรมะแห่งความหลุดพ้น รู้นิพพานนั่นเอง แล้วก็รู้อีกนะว่าชาติสิ้นแล้วคือความเกิดสิ้นแล้ว ความเกิดคืออะไร คือการที่ใจเราเข้าไปหยิบฉวยรูปนามนั่นเอง ใจที่เราเข้าไปหยิบฉวยจิตนี่ คว้าปั๊บเข้ามาหยิบฉวยเข้ามา นี่แหละคือความเกิดคือชาติ ใจเข้ามาหยิบฉวยกายก็เกิดชาติ ใจหยิบฉวยจิตก็เกิดชาติ พอเบื่อหน่ายคลายกำหนัดก็หลุดพ้น รู้ว่าหลุดพ้นแล้วนะ รู้ว่าชาติสิ้นแล้ว ไม่หยิบฉวยอะไรขึ้นมาอีกแล้ว ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์คือการประพฤติปฏิบัติธรรมเนี่ย การศึกษาธรรมะเนี่ย ศึกษาจบแล้ว ศึกษาจบแล้ว จบในศีลในจิตในปัญญา ศีลสิกขา จิตตสิกขา ปัญญาสิกขา ไม่ใช่ศีลสมาธิปัญญานะ เราพูดเล่นคล่องๆ ปากหรอกศีลสมาธิปัญญา ไตรสิกขาคือศีลสิกขา จิตตสิกขา ปัญญาสิกขา แจ่มแจ้งแล้วรู้หมดแล้ว ศีลเนี่ยเป็นการศึกษาเพื่อสู้กิเลสหยาบๆ เพื่อให้จิตนี่มีความตั้งมั่นเพียงพอพร้อมที่จะมาเรียนรู้จิต คือทำจิตตสิกขา จิตตสิกขาเนี่ย จิตจะสงบจากนิวรณ์จากกิเลสชั้นกลาง พร้อมที่จะไปเจริญปัญญา มันจะรู้ว่าจิตยังไงที่ข่มนิวรณ์ได้ จิตยังไงข่มนิวรณ์ได้แล้วพร้อมที่จะเจริญปัญญาด้วย จิตที่ข่มนิวรณ์ได้คือจิตที่ทำสมถะ จิตที่ข่มนิวรณ์แล้วพร้อมจะเจริญปัญญาคือจิตที่พร้อมต่อการทำวิปัสสนา ไม่เหมือนกัน พอถึงปัญญาสิกขาก็คือการเรียนรู้ความจริงของกายของใจจนละกิเลสขั้นละเอียดคือความหลงผิดได้ละอวิชชาได้ งั้นศีลสิกขา จิตตสิกขา ปัญญาสิกขา ชำแหละกิเลสเป็นชั้นๆ ๆ เข้ามานะ จนกระทั่งจิตใจเราบริสุทธิ์หมดจดแล้ว หมดงานต้องทำเรียกว่าเรียนจบ เรียกว่าจบหลักสูตร ที่ว่าพรหมจรรย์อยู่จบแล้วหมายถึงว่าเรียนจบหลักสูตรแล้ว คนที่เรียนจบหลักสูตรเรียกว่า “อเสขบุคคล” คือคนที่ไม่ต้องเรียนอีกแล้ว คือพระอรหันต์นั่นเอง พวกเราเป็นนักเรียนนะ พวกเรายังเป็นนักเรียน พระโสดาบันน่ะเป็นนักเรียนจริงๆ พระโสดาบันน่ะเป็นนักเรียน พวกเรานั้นเป็นคล้ายๆ นักเรียนเตรียมอนุบาลนะ ยังไม่ถึงขั้นเป็นนักเรียน เพราะพระโสดาบันขึ้นไปนี่ถึงจะเรียกว่าเป็น “เสขบุคคล” เป็นนักเรียน พระอรหันต์เรียกอเสขบุคคล ไม่ต้องเรียน ส่วนเราเป็น “กัลยาณปุถุชน” เป็นปุถุชนที่ดี ปุถุชนแปลว่าหนา กิเลสหนานั่นแหละ ไม่ใช่อะไรหนานะ กิเลสหนา ไม่ใช่สมองหนา กะโหลกหนานะ กิเลสหนาหมายถึงว่ากิเลสนี่มีแรงมาก ลากจูงจิตใจเราไปลงนรก เราก็ยอมไปกับมันนะ เอาความหอมหวานมาหลอกมาล่อ งั้นเราค่อยศึกษาไปนะ จนกระทั่งวันหนึ่งงานเสร็จแล้วนะ เสร็จแล้ว ใจไม่ไปหยิบฉวยอะไรอีกแล้ว มันพ้นทุกข์แล้ว มันเห็นนิพพานเต็มบริบูรณ์ต่อหน้าต่อตา นี่พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำทำเสร็จแล้ว กิจที่ควรทำเนี่ยควรทำในอะไร ในสังสารวัฏนี่เอง พวกเราที่เวียนว่ายในสังสารวัฏนะ เรามีงานหลักของเรานะคือทำตัวให้พ้นสังสารวัฏให้ได้นะ นี่คืองานหลักของเรานะ ไม่ใช่ร่อนเร่ไปในสังสารวัฏเวียนเกิดเวียนตายไปเรื่อยๆ งั้นงานไม่มีที่สิ้นสุดเลย กิจที่ควรทำก็คือการข้ามภพข้ามชาตินั่นเอง ได้ทำเสร็จแล้วทำหมดแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีก กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้ไม่มีอีก เพราะตรงนี้ไม่มีอะไรจะต้องทำแล้ว กายกับใจเราคืนให้ธรรมชาติคืนให้โลกเขาไปแล้ว จิตใจจะมีแต่ความสุขนะ มีความสุขมีความสงบมีความเบิกบานถาวรอยู่อย่างนั้น จะหลับตื่นยืนเดินนั่งนอนมีแต่ความสุขล้วนๆ นะ เพราะว่าจิตใจไม่ถูกขยำขยี้ จิตใจของเราถูกปู้ยี่ปู้ยำนะ ปู้ยี่ปู้ยำด้วยตัวเองนี่แหละ สวนสันติธรรม
วันพุธที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2558
คิดถึงพระพุทธเจ้าดีกว่าครับปลอดภัยไว้ก่อนถ้าไหว้พระสวดมนต์แล้วสงบได้ ก็ไหว้พระสวดมนต์ ถ้ามันไม่ไหวจริงๆนะ หาหนังสือมาอ่านก็ได้ ให้ใจมันคลาย พอใจมันคลายแล้วก็มาไหว้พระสวดมนต์ มารู้ลมหายใจแล้วก็มารู้ทันจิตไป ใจไหลแล้วรู้ ใจไหลแล้วรู้ ต่อไปจากนี้นะ จะง่าย ไม่ต้องเริ่มต้นไกลเลย คิดถึงพระพุทธเจ้านิดหน่อยก็พอแล้ว ใจสบาย มีความสุข คิดถึงพระพุทธเจ้าแล้ว แค่นะโมตัสสะ ยังไม่ทันภะคะวะโต จิตก็สงบแล้วนะ ค่อยๆฝึก จิตสงบเพราะว่าอะไร เพราะว่าชำนาญในการรู้ทันจิตที่เคลื่อน พอรู้ทันจิตที่เคลื่อนปุ๊บ จิตก็ตั้งมั่นเลย เคล็ดลับอยู่ตรงที่รู้ทันจิตที่เคลื่อนนะ การทำสมาธิชนิดที่ถูกต้องน่ะ ไม่ใช่เคล็ดลับอยู่ที่น้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าน้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียวที่มีความสุขเป็นสมาธิชนิดที่เป็นสมถะ ถ้าจะใช้สมาธิชนิดที่สองที่เรียกว่า “ลักขณูปนิชฌาน” เนี่ย ให้รู้ทันจิตที่เคลื่อนไป ไม่ห้าม พุทโธๆไปก็ได้ จิตเคลื่อนแล้วรู้ ไม่ใช่ว่าพุทโธไปแล้วห้ามจิตเคลื่อน จิตแข็งๆอย่างนั้นผิดนะ ค่อยๆฝึกนะ เอาสมาธิขึ้นมาให้ได้ พอได้สมาธิแล้วก็ดูไป ร่างกายก็อยู่ส่วนร่างกาย ใจเป็นคนดู จิตที่ตั้งมั่นแล้วมันจะกลายไปเป็นคนดูได้ เขาถึงเรียกว่า “ผู้รู้” ไง มันเป็น “ผู้รู้” มันไม่ใช่ผู้คิดผู้นึกผู้ปรุงผู้แต่ง เพราะฉะนั้นเรามาฝึกจิตให้เป็นผู้รู้ให้ได้นะ จิตของคนในโลกของสัตว์ทั้งหลายนั้น เป็นผู้นึกผู้คิดผู้ปรุงผู้แต่ง ไม่ใช่ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน วิธีที่จะทำให้เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน ทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง พุทโธ หายใจ อะไรก็ได้ แล้วพอจิตเคลื่อนไปแล้วรู้ เคลื่อนไปคิด รู้ เคลื่อนไปเพ่ง รู้ ต่อไปจิตพอเคลื่อนเรารู้ปุ๊บ สมาธิจะเกิด จะรู้เนื้อรู้ตัว จิตใจจะอยู่กับเนื้อกับตัว จะรู้ จะตื่น จะเบิกบานเลย พอจิตเป็นผู้รู้ได้ คราวนี้ก็มารู้อะไร ก็รู้กายมันทำงาน รู้ใจมันทำงาน ก็เห็นความจริงของกายของใจ เกิดปัญญาได้
คิดถึงพระพุทธเจ้าดีกว่าครับปลอดภัยไว้ก่อนถ้าไหว้พระสวดมนต์แล้วสงบได้ ก็ไหว้พระสวดมนต์ ถ้ามันไม่ไหวจริงๆนะ หาหนังสือมาอ่านก็ได้ ให้ใจมันคลาย พอใจมันคลายแล้วก็มาไหว้พระสวดมนต์ มารู้ลมหายใจแล้วก็มารู้ทันจิตไป ใจไหลแล้วรู้ ใจไหลแล้วรู้ ต่อไปจากนี้นะ จะง่าย ไม่ต้องเริ่มต้นไกลเลย คิดถึงพระพุทธเจ้านิดหน่อยก็พอแล้ว ใจสบาย มีความสุข คิดถึงพระพุทธเจ้าแล้ว แค่นะโมตัสสะ ยังไม่ทันภะคะวะโต จิตก็สงบแล้วนะ ค่อยๆฝึก จิตสงบเพราะว่าอะไร เพราะว่าชำนาญในการรู้ทันจิตที่เคลื่อน พอรู้ทันจิตที่เคลื่อนปุ๊บ จิตก็ตั้งมั่นเลย เคล็ดลับอยู่ตรงที่รู้ทันจิตที่เคลื่อนนะ การทำสมาธิชนิดที่ถูกต้องน่ะ ไม่ใช่เคล็ดลับอยู่ที่น้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าน้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียวที่มีความสุขเป็นสมาธิชนิดที่เป็นสมถะ ถ้าจะใช้สมาธิชนิดที่สองที่เรียกว่า “ลักขณูปนิชฌาน” เนี่ย ให้รู้ทันจิตที่เคลื่อนไป ไม่ห้าม พุทโธๆไปก็ได้ จิตเคลื่อนแล้วรู้ ไม่ใช่ว่าพุทโธไปแล้วห้ามจิตเคลื่อน จิตแข็งๆอย่างนั้นผิดนะ ค่อยๆฝึกนะ เอาสมาธิขึ้นมาให้ได้ พอได้สมาธิแล้วก็ดูไป ร่างกายก็อยู่ส่วนร่างกาย ใจเป็นคนดู จิตที่ตั้งมั่นแล้วมันจะกลายไปเป็นคนดูได้ เขาถึงเรียกว่า “ผู้รู้” ไง มันเป็น “ผู้รู้” มันไม่ใช่ผู้คิดผู้นึกผู้ปรุงผู้แต่ง เพราะฉะนั้นเรามาฝึกจิตให้เป็นผู้รู้ให้ได้นะ จิตของคนในโลกของสัตว์ทั้งหลายนั้น เป็นผู้นึกผู้คิดผู้ปรุงผู้แต่ง ไม่ใช่ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน วิธีที่จะทำให้เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน ทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง พุทโธ หายใจ อะไรก็ได้ แล้วพอจิตเคลื่อนไปแล้วรู้ เคลื่อนไปคิด รู้ เคลื่อนไปเพ่ง รู้ ต่อไปจิตพอเคลื่อนเรารู้ปุ๊บ สมาธิจะเกิด จะรู้เนื้อรู้ตัว จิตใจจะอยู่กับเนื้อกับตัว จะรู้ จะตื่น จะเบิกบานเลย พอจิตเป็นผู้รู้ได้ คราวนี้ก็มารู้อะไร ก็รู้กายมันทำงาน รู้ใจมันทำงาน ก็เห็นความจริงของกายของใจ เกิดปัญญาได้
คิดถึงพระพุทธเจ้าดีกว่าครับปลอดภัยไว้ก่อนถ้าไหว้พระสวดมนต์แล้วสงบได้ ก็ไหว้พระสวดมนต์ ถ้ามันไม่ไหวจริงๆนะ หาหนังสือมาอ่านก็ได้ ให้ใจมันคลาย พอใจมันคลายแล้วก็มาไหว้พระสวดมนต์ มารู้ลมหายใจแล้วก็มารู้ทันจิตไป ใจไหลแล้วรู้ ใจไหลแล้วรู้ ต่อไปจากนี้นะ จะง่าย ไม่ต้องเริ่มต้นไกลเลย คิดถึงพระพุทธเจ้านิดหน่อยก็พอแล้ว ใจสบาย มีความสุข คิดถึงพระพุทธเจ้าแล้ว แค่นะโมตัสสะ ยังไม่ทันภะคะวะโต จิตก็สงบแล้วนะ ค่อยๆฝึก จิตสงบเพราะว่าอะไร เพราะว่าชำนาญในการรู้ทันจิตที่เคลื่อน พอรู้ทันจิตที่เคลื่อนปุ๊บ จิตก็ตั้งมั่นเลย เคล็ดลับอยู่ตรงที่รู้ทันจิตที่เคลื่อนนะ การทำสมาธิชนิดที่ถูกต้องน่ะ ไม่ใช่เคล็ดลับอยู่ที่น้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าน้อมใจไปอยู่ในอารมณ์อันเดียวที่มีความสุขเป็นสมาธิชนิดที่เป็นสมถะ ถ้าจะใช้สมาธิชนิดที่สองที่เรียกว่า “ลักขณูปนิชฌาน” เนี่ย ให้รู้ทันจิตที่เคลื่อนไป ไม่ห้าม พุทโธๆไปก็ได้ จิตเคลื่อนแล้วรู้ ไม่ใช่ว่าพุทโธไปแล้วห้ามจิตเคลื่อน จิตแข็งๆอย่างนั้นผิดนะ ค่อยๆฝึกนะ เอาสมาธิขึ้นมาให้ได้ พอได้สมาธิแล้วก็ดูไป ร่างกายก็อยู่ส่วนร่างกาย ใจเป็นคนดู จิตที่ตั้งมั่นแล้วมันจะกลายไปเป็นคนดูได้ เขาถึงเรียกว่า “ผู้รู้” ไง มันเป็น “ผู้รู้” มันไม่ใช่ผู้คิดผู้นึกผู้ปรุงผู้แต่ง เพราะฉะนั้นเรามาฝึกจิตให้เป็นผู้รู้ให้ได้นะ จิตของคนในโลกของสัตว์ทั้งหลายนั้น เป็นผู้นึกผู้คิดผู้ปรุงผู้แต่ง ไม่ใช่ผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน วิธีที่จะทำให้เป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบาน ทำกรรมฐานสักอย่างหนึ่ง พุทโธ หายใจ อะไรก็ได้ แล้วพอจิตเคลื่อนไปแล้วรู้ เคลื่อนไปคิด รู้ เคลื่อนไปเพ่ง รู้ ต่อไปจิตพอเคลื่อนเรารู้ปุ๊บ สมาธิจะเกิด จะรู้เนื้อรู้ตัว จิตใจจะอยู่กับเนื้อกับตัว จะรู้ จะตื่น จะเบิกบานเลย พอจิตเป็นผู้รู้ได้ คราวนี้ก็มารู้อะไร ก็รู้กายมันทำงาน รู้ใจมันทำงาน ก็เห็นความจริงของกายของใจ เกิดปัญญาได้
เรารู้สึกตัวแล้วความคิดจะไม่ถูกปรุงแต่งไปถ้าหากเราไม่เห็นความคิดแล้วมันจ...รารู้สึกตัวแล้ว ความคิดจะไม่ถูกปรุงแต่งไป ถ้าหากเราไม่เห็นความคิดแล้ว มัน จะปรุงแต่งเรื่อยไปเลย อันนี้เป็นวิธีปฏิบัติอย่างลัดๆ อึดใจเดียวก็ได้
หลวงพ่อพระราชพรหมยานเถระ..หลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
หลวงพ่อพระราชพรหมยานเถระ..หลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
หลวงพ่อพระราชพรหมยานเถระ..หลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
หลวงพ่อพระราชพรหมยานเถระ..หลักของการปฏิบัติสมาธิภาวนาเพื่อเพิ่มบุญบารมีให้เต็ม 1. ก่อนภาวนาให้พิจารณาว่า ตั้งแต่เกิดมานี้ มีความสุขจริงหรือไม่ ร่างกายเราหิว ต้องแสวงหาอาหารวันละ 3 มื้อ อิ่มแล้วนึกว่า ประเดี๋ยวก็หิวอีก ต้องกินต้องถ่าย วุ่นวาย เพราะอาหาร ทำงานเหนื่อยยาก ให้ได้เงินเพื่อซื้ออาหาร บรรเทาความหิวกระหาย แล้วร่างกายก็เหม็นสกปรกทุกวัน ให้วิจัยสังเกตดูร่างกายเรา เขา เป็นสุขเป็นทุกข์ ถ้ายังมองไม่เห็นทุกข์ ก็ยากที่จะปฏิบัติสมาธิภาวนาได้ เพราะคิดว่าเป็นคนมีความสุข โลกนี้น่าอยู่ นอกจากนี้เรายังเดินเข้าหาความตายทุกลมหายใจเข้าออก เราในที่นี้หมายถึง จิตที่มาอาศัยอยู่ในกายที่มีเลือดเนื้อ ไขมัน กระดูก ที่เสื่อมสลายตลอดเวลา เซลล์เนื้อเยื่อในร่างกายมีอายุ 1 เดือน 2 เดือน 2 ปี ก็ตาย สังเกตเห็นง่าย คือ เส้นผมและเล็บงอกยาวต้องตัด สะอาดหรือสกปรก เหงื่อไคล ก็คือเซลล์ที่ตายแล้วจากผิวหนัง ต้องชำระล้าง ถ้าไม่ล้างก็เหม็นเน่าเป็นซากศพ ร่างกายตายแน่นอน แต่จิตไม่ตายตามร่างกาย เราปฏิบัติเพื่อให้จิตเลิกยึดติดกับร่างกายเสีย เราเชื่อพระพุทธองค์ว่าท่านมีปัญญา พ้นทุกข์จากการเวียนเกิด เวียนตาย เราปฏิบัติตามท่านเราก็พ้นทุกข์จากการเกิดเป็นคน สัตว์ เทวดาได้ ดูร่างกายมีอะไรดี โลกนี้เป็นสุขจริงหรือ ถ้าเป็นสุขก็เป็นความสุขชั่วคราว คือสุขหลอกลวง ไม่ช้าไม่นานก็ทุกข์ ความสุขทางโลกคือความสุขทางตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส ของสวยงาม อ่อนนุ่ม แต่วัตถุธาตุคนทุกอย่างมีแต่ผุพังสลาย แม้ทรัพย์สมบัติมีหลายล้าน ก็ต้องเจ็บป่วยตาย ไม่มีใครช่วยเราเป็นสุขได้จริง ๆ นอกจากจิตเรา จะฝึกหัด ปฏิบัติ เจริญสมาธิ ภาวนา แล้วท่านจะได้พบความสุขจริง คือ จิตเป็นสุขยิ่งกว่าสุขใด ๆ ในโลก นี่เป็นตัวปัญญาเพื่อจิตฉลาด คิดรู้เท่าทันสภาวะธรรมชาติ คือ เกิด แก่ เจ็บ ตาย เกิดขึ้นเปลี่ยนไป สลายตัวในที่สุดคือ อนิจจัง (ความแก่) ทุกขัง(ความเจ็บปวด) อนัตตา( ความแตกสลายตายไป ) คิดแบบนี้เพื่อเพิ่มปัญญาบารมีให้เต็ม 2. มีความขยันหมั่นเพียรดูลมหายใจตนเอง อย่าสนใจเรื่องคนอื่น เขาจะดีจะชั่วเรื่องของเขา เรื่องของเราคือชำระจิตใจให้สะอาด สว่างไสว เบิกบานด้วยพุทโธ แล้วเราจะช่วยคนรอบข้างให้มีความสุขได้อย่างมหัศจรรย์ ไม่ท้อถอยเมื่อมีอุปสรรค 3. มีจิตเมตตาคิดสงสารเพื่อนมนุษย์ทั่วไป มีอารมณ์ที่จะช่วยเหลือสงเคราะห์โดยไม่หวังการตอบแทน มีการทำบุญในพระพุทธศาสนาเพื่อพระศาสนาจะได้รุ่งเรือง เต็มใจในการให้ทาน เป็นการตัดกิเลสตัวสำคัญ คือ ความโลภออกไปโดยอัตโนมัติไม่รู้ตัว 4. ไม่ยอมละเมิดศีล 5 ตัวตายดีกว่าผิดศีล 5 ไม่ยุยง ไม่ยินดี เมื่อผู้อื่นผิดศีล เป็นศีลบารมีคือ กำลังใจเต็มในศีล 5. ทำจิตให้สะอาด ไม่ยอมให้นิวรณ์ 5 คือ รักในรูป เสียง กลิ่น รส ความโกรธพยาบาท ความฟ้งซ่าน รำคาญใจ ความง่วงเหงาหาวนอน ความสงสัยในผลของการปฏิบัติ มาเป็นเจ้าหัวใจ คือทรงสมาธิ (จิตอยู่ในฌาน) เป็นปกติ นึกพุทโธ หรือสวดมนต์ก็ดีเพื่อไล่สิ่งสกปรก ออกจากใจ 6. มีจิตอดทนต่อความยากลำบาก การปฏิบัติธรรมเป็นการง่ายกว่าการไปหาเงินเลี้ยงชีวิต เพราะไม่ต้องออกแรงกายให้เหนื่อย ไม่ต้องลงทุนด้วยเงินตรา ใช้จิตคิดพิจารณาสบาย ๆ จะอยู่ที่ไหนก็ทำได้ ไม่มีใครว่า เพียงแต่จิตเราต้องไล่กิเลส ความวิตกกังวล ความคิดไร้สาระ ออกจากจิตให้ได้ ฝืนใจระงับอารมณ์ที่ไม่ถูกใจ ไม่หวั่นไหว มีอารมณ์อดกลั้นเป็นปกติ ถ้ามีความโกรธกับบุคคลที่เขาทำไม่ถูกใจ ก็คิดว่าในจิตใจเขาก็มีความทุกข์เช่นเรา อย่าทำให้ความทุกข์เพิ่มขึ้นโดยจุดไฟเผาจิตใจเราด้วยการโกรธตอบ ใช้น้ำเย็นคือความเมตตาสงสาร ขอให้เขาเป็นสุขเถิด จิตใจเราจะสงบสุขเยือกเย็น ใบหน้าแจ่มใส ไม่แก่เร็ว หลับเป็นสุข ตายแล้วยิ่งสุขมากกว่าคือ ไปเกิดเป็นพรหม ข้อนี้มีทั้งขันติบารมีและ เมตตาบารมี เป็นการเดินทางใกล้พระนิพพานเต็มที 7. มีความจริงใจ คือ สัจจะบารมี ตั้งใจปฏิบัติความดี ด้วยศีล สมาธิ พิจารณาโลกเป็นสุขหรือเป็นทุกข์จริง เพื่อมรรคผล คือพระนิพพานในชาตินี้ การปฏิบัติเพื่ออริยผลก็เป็นของง่ายเมื่อมีความจริงใจ 8. อธิษฐานบารมี มีความตั้งใจจริงในการปฏิบัติสมาธิ ภาวนา คือตั้งใจทำไปจนกว่าจะหมดลมหายใจจึงจะหยุดเลิกทำ คือ การทำความดีโดยไม่สนใจกายที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เราเหน็ดเหนื่อย ทุกข์ยาก ในการเกิดเป็นคน เราดูแลเอาใจร่างกายอย่างดีมานาน ประคบประหงมให้อาหารอย่างดี เสื้อผ้า ที่นอน แต่ร่างกายก็เหม็นทุกวัน แก่เฒ่าทุกวัน เจ็บป่วยเสมอ และเดินทางเข้าหาความแตกสลาย พังทลาย คือตายในที่สุด พระพุทธองค์ทรงอธิษฐานที่ใต้ต้นโพธิ์ว่า ถ้าพระองค์ไม่สำเร็จพระโพธิญาณ จะไม่ยอมลุกจากที่นี้ แม้เนื้อและเลือดจะเหือดแห้งก็ตามที และพระองค์ก็ทรงบรรลุพระสัมมาสัมโพธิญาณในคืนนั้น เราก็อธิษฐาน ปฏิบัติสมาธิภาวนา เพื่อพ้นทุกข์ หมดกิเลส เข้าเสวยสุขพระนิพพานในชาตินี้ ทำจิตใจให้มั่นคงจริงจัง 9. มีใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ให้ทาน คน สัตว์ เป็นปกติ ให้ทานพระภิกษุสงฆ์ ผู้ปฏิบัติดี ปฏิบัติตรงในพระพุทธศาสนา บุญกุศลในการให้ทานในพระพุทธศาสนาทำให้เรามีทรัพย์สมบูรณ์ ไม่อดอยากยากจน มั่งมีตลอดกาล ให้ทานแก่คนยากจน ทำให้เรามีคนรัก เมตตา และความโลภ ความอยากได้ทรัพย์สิ่งของต่าง ๆ ในโลกก็หมดไป ยิ่งให้ยิ่งได้ คือ ได้อริยทรัพย์ที่เป็นสุขตลอดกาลทั้งชาตินี้ชาติหน้า 10. อุเบกขาบารมี เมื่อมีอารมณ์ที่ถูกใจ ขัดใจ ก็ปลงตกว่า เรื่องอย่างนี้มันเป็นธรรมดาของโลกแท้ ๆ คือเราจะต้องเจอโลกธรรม 8 หนีไม่พ้นพยายามบังคับใจให้นิ่ง ๆ ยิ้มเข้าไว้ เฉยไว้ เดี๋ยวได้ดีเอง โลกธรรม 8 ที่เป็นธรรมดาในโลกนี้คือ ได้ลาภเสื่อมลาภ ได้ยศเสื่อมยศ มีสรรเสริญ มีคนนินทาว่าร้าย มีความสุขกายใจ มีความทุกข์กายใจ เราปฏิบัติธรรมเอาชนะโลก ไม่หนีโลกทำใจให้สะอาดกว่าเหตุการณ์ในโลก บารมี 10 อย่างนี้มีความสำคัญมาก วิปัสสนาญาณ จะมีผลสมบูรณ์ไม่ได้ถ้าไม่มีบารมี 10 ครบ ท่านอาจจะเข้าใจผิดว่าเราไม่ใช่พระพุทธเจ้านี่ จะต้องครบบารมี 10 แต่เราเป็นสาวกภูมิ เราก็พยายามปฏิบัติ 10 บารมี ได้เพียง 25 % ของพระองค์ก็ได้แล้ว ในชาติเดียว ไม่ต้องไปเกิด 10 ชาติ สะสมแต่ละชาติแบบพระพุทธองค์ เพราะเราไม่ต้องไปค้นคว้าตรัสรู้เอง ความรู้ทุกอย่างมีอยู่ครบในพระไตรปิฏก เราปฏิบัติ ตามท่านง่าย ๆ ด้วยใจจริง ไม่สงสัย ไม่นานท่านก็จะเห็นแสงสว่างพระนิพพานในดวงจิตดวงใจท่านเอง ขออย่าได้คัดค้านทั้ง ๆ ที่ยังไม่ได้ปฏิบัติจริง เมื่อได้มรรคผลเป็นพระอริยเจ้า หรืออริยบุคคลจึงจะเข้าใจพระธรรมที่ละเอียดลึกซึ้ง ต้องมีปัญญาดี มีจิตใจที่สะอาด จึงจะเข้าใจได้ การอ่านแล้วคิดเข้าใจเองแบบชาวโลกยังเป็นอวิชชา จากเวปแสงทิพย์นิพพาน บางตอนจากหนังสือธรรมประทานพร เล่ม 1 เกษร สุทธจิต จันทร์ประภาพ
การตรัสรู้คือความไม่มีอะไรให้ระลึกถึง.จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น
พระพุทธอนุชาอานนท์เถระผลงานของอ วศิน อินทสระท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสนวุ่นวายเหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป
วันอังคารที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2558
มีสติรู้กายรู้ใจในขณะปัจจุบันด้วยจิตตั้งมั่นและเป็นกลาง.ผู้เผลอลืมกายลืมใจ ที่ไปของเราก็คือ ทุคติ ผู้เพ่งบังคับกายบังคับใจไว้ ที่ไปของเราในอนาคตคือสุคติ แต่ไม่ไปนิพพาน เพราะฉะนั้นการที่เราบังคับกายบังคับใจเรื่อยไป ไม่ตกนรกหรอก ดี แต่มันหยุดอยู่แค่ดีเท่านั้นเอง ไม่สามารถไปถึงนิพพานได้ เพราะฉะนั้นเราอย่าไปสุดโต่งสองฝั่ง ถ้าเราไปสุดโต่งสองฝั่ง ไม่ไปนิพพาน ครั้งหนึ่งมีเทวดาไปทูลถามพระพุทธเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ ก็คือกิเลสทั้งหลายนั้นเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า เราข้ามโอฆะได้เพราะเราไม่พักและเราไม่เพียร เทวดาฟังแล้วงง ไม่พักอยู่เนี่ยฟังแล้วเข้าใจ แต่ไม่เพียรฟังแล้วไม่เข้าใจ ก็ถามท่านอีกว่า ไม่พักไม่เพียรเป็นอย่างไร ท่านบอกว่า ถ้าพักอยู่เราจะจมลง ถ้าเพียรอยู่เราจะลอยขึ้น เราไม่พักเราไม่เพียร เราพ้นจากโอฆะข้ามห้วงน้ำได้ด้วยวิธีนี้ ทำไมจมลงไม่ดี จมลงไปทุคติ ฟูขึ้นลอยขึ้น ไปสู่สุคติ ไม่ได้ไปนิพพาน คำว่าไม่พักก็คือไม่ปล่อยตัวปล่อยใจไปตามกิเลส ไม่หลงไปตามกามสุขัลลิกานุโยค เผลอไปนั่นแหละ คำว่าไม่เพียรของท่านก็คือ ไม่ได้ไปเพ่งกายเพ่งใจ เป็นอัตตกิลมถานุโยค เพราะฉะนั้นเราต้องเดินทางสายกลางให้เป็น
หลวงพ่อปราโมทย์ แสดงธรรม ไม่เพ่งไม่เผลอไม่เพียรไม่พัก ผู้เผลอลืมกายลืมใจ ที่ไปของเราก็คือ ทุคติ ผู้เพ่งบังคับกายบังคับใจไว้ ที่ไปของเราในอนาคตคือสุคติ แต่ไม่ไปนิพพาน เพราะฉะนั้นการที่เราบังคับกายบังคับใจเรื่อยไป ไม่ตกนรกหรอก ดี แต่มันหยุดอยู่แค่ดีเท่านั้นเอง ไม่สามารถไปถึงนิพพานได้ เพราะฉะนั้นเราอย่าไปสุดโต่งสองฝั่ง ถ้าเราไปสุดโต่งสองฝั่ง ไม่ไปนิพพาน ครั้งหนึ่งมีเทวดาไปทูลถามพระพุทธเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ ก็คือกิเลสทั้งหลายนั้นเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า เราข้ามโอฆะได้เพราะเราไม่พักและเราไม่เพียร เทวดาฟังแล้วงง ไม่พักอยู่เนี่ยฟังแล้วเข้าใจ แต่ไม่เพียรฟังแล้วไม่เข้าใจ ก็ถามท่านอีกว่า ไม่พักไม่เพียรเป็นอย่างไร ท่านบอกว่า ถ้าพักอยู่เราจะจมลง ถ้าเพียรอยู่เราจะลอยขึ้น เราไม่พักเราไม่เพียร เราพ้นจากโอฆะข้ามห้วงน้ำได้ด้วยวิธีนี้ ทำไมจมลงไม่ดี จมลงไปทุคติ ฟูขึ้นลอยขึ้น ไปสู่สุคติ ไม่ได้ไปนิพพาน คำว่าไม่พักก็คือไม่ปล่อยตัวปล่อยใจไปตามกิเลส ไม่หลงไปตามกามสุขัลลิกานุโยค เผลอไปนั่นแหละ คำว่าไม่เพียรของท่านก็คือ ไม่ได้ไปเพ่งกายเพ่งใจ เป็นอัตตกิลมถานุโยค เพราะฉะนั้นเราต้องเดินทางสายกลางให้
พระธรรมคำสอนขององค์พระบรมศาสดาพระอรหันต์สัมมาสัมพุทธเจ้าคารโว จะ นิวาโต จะ สันตุฏฐี จะ กตัญญุตา กาเลน ธัมมัมสะวะนัง เอตัมมังคะละมุตตะมัง. ความเคารพ 1 ความถ่อมตน 1 ความสันโดษ 1 ความกตัญญู 1 การฟังธรรมตามกาล 1 ข้อ.นี้เป็นมงคล อันสูงสุด..
ง่ายแสนง่ายไม่มีอะไรยากหรอกหลักของการปฏิบัติไม่ยากอะไรหรอกนะ เราไปวาดภาพการปฏิบัติธรรมไว้เกินจริง แล้วคิดว่าต้องทำอะไรที่ผิดธรรมชาติธรรมดามากๆ เพื่อว่าวันหนึ่งเราจะได้ไปถึงธรรมะซึ่งอยู่ไกลๆ อยู่ตรงไหนก็ไม่รู้ ธรรมะเป็นอย่างไรก็ไม่รู้ อยู่ที่ไหนก็ไม่รู้ รู้แต่ว่าอยู่ไกล ต้องยากๆ ด้วย อันนี้มันเป็นภาพลวงตาที่เราสร้างขึ้นมา.. การปฎิบัติ คือรู้ท้นจิตที่ปรุงแต่ง . พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา..ถ้าเราภาวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้อยเหลือเกิน..ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา..
ง่ายแสนง่ายไม่มีอะไรยากหรอกหลักของการปฏิบัติไม่ยากอะไรหรอกนะ เราไปวาดภาพการปฏิบัติธรรมไว้เกินจริง แล้วคิดว่าต้องทำอะไรที่ผิดธรรมชาติธรรมดามากๆ เพื่อว่าวันหนึ่งเราจะได้ไปถึงธรรมะซึ่งอยู่ไกลๆ อยู่ตรงไหนก็ไม่รู้ ธรรมะเป็นอย่างไรก็ไม่รู้ อยู่ที่ไหนก็ไม่รู้ รู้แต่ว่าอยู่ไกล ต้องยากๆ ด้วย อันนี้มันเป็นภาพลวงตาที่เราสร้างขึ้นมา.. การปฎิบัติ คือรู้ท้นจิตที่ปรุงแต่ง . พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา..ถ้าเราภาวนาไปนะ จนใจเราอิ่ม ใจเราพอ ใจเราพอแล้วเขาตัดของเขาเอง ไม่มีใครสั่งจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จำไว้นะ ไม่ใครทำจิตให้บรรลุมรรคผลนิพพานได้ จิตที่เจริญสติเจริญปัญญาจนแก่รอบนั้นแหละ เขาบรรลุมรรคผลนิพพานของเขาเอง เราสั่งเขาไม่ได้..เบื้องต้นมีความสุขเยอะเลย เบื้องปลายเจอความทุกข์เยอะเลย แจ้งแล้วนะ เจอบรมสุข ตรงที่จิตเข้าถึงความเป็นผู้รู้ผู้ตื่นผู้เบิกบานนั้นแหละ อวิชาซ่อนอยู่ที่นั้นเอง ไม่รู้ ไม่รู้อะไร ไม่รู้ทุกข์ ทุกข์อะไร ไม่รู้ว่าตัวผู้รู้นี้แหละ ตัวทุกข์ มันบังกันอยู่นิดเดียวเอง..เพราะฉะนั้นไม่รีบร้อนนะ เราทำเหตุ คือเราเจริญสติ เจริญปัญญาไปเรื่อย.. รู้กายรู้ใจด้วยจิตที่ตั้งมั่นเป็นกลางเรื่อยไป ทุกอย่างที่ปรากฎขึ้นในกายในใจ คอยรู้เท่าที่รู้ได้ ไม่ใช่รู้ตลอดเวลา รู้ตลอดเวลาไม่ได้ เพราะสติไม่ได้เกิดตลอดเวลา จิตพวกเราเนี่ย ส่วนใหญ่ที่เกิดคืออกุศลนะ ไม่ใช่สติ นึกออกมั้ย เวลาสติเกิดนะ เกิดแว้บเดียว เวลาหลง หลงนาน หลงตั้ง ๑ นาทีแหน่ะ นี่กับคนเก่งๆนะ คนไม่เก่งภาวนาไม่เป็นนะ หลงตั้งแต่ตื่นจนหลับ ไม่มีสติสักแว้บหนึ่งเลย คนในโลกไม่มีสติแท้ๆนะ ถึงมีสติ ก็เป็นสติอย่างโลกๆ ไม่ใช่สติปัฏฐาน ไม่ใช่สติรู้กายรู้ใจ คนที่มีสติรู้กายรู้ใจเนี่ย นับตัวได้เลย เพราะฉะนั้นคนที่บรรลุมรรคผลนิพพานถึงมีน้อยเหลือเกิน..ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา..
กายคตาสติกรรมฐานการพิจารณาร่างกาย.. จงอย่าลืมเพราะมันเป็นความจริง ไม่ว่าร่างกายของชายหรือหญิงมันเต็มไปด้วยความสกปรก สกปรกและก็เสื่อมลงทุกวัน มีอาการเต็มไปด้วยความทุกข์ ด้วยการบริหารร่างกาย " มีความเหน็ดเหนื่อย เพราะต้องเลี้ยงร่างกายด้วยทรัพย์สิน จะกินก็ไม่สะดวก จะนอนก็ไม่สะดวก การแสวงหาทรัพย์ไม่ใช่ของง่าย กว่าจะได้มาต้องพบกับอุปสรรคทุกประการ เราทำงานกับผู้บังคับบัญชา ผู้บังคับบัญชาไม่ดีเราก็กลุ้ม หรือบางทีผู้บังคับบัญชาดี เพื่อนร่วมงานด้วยกันไม่ดีเราก็กลุ้ม เวลาป่วยไข้ไม่สบายจะพักจะผ่อนบ้าง ถ้าวันลาหรือไปลาผู้บังคับบัญชาเขาไม่ยอมให้ลา เราก็ลำบากกายลำบากใจ เป็นอันว่าเราเกิดมาเป็นคนที่มันมีทุกข์ ถ้ายิ่งเราจะแสวงหาความสุขจากการแต่งงานแทนที่มันจะคลายความทุกข์ มันจะเพิ่มความทุกข์มากขึ้น ก็เป็นอันว่า เราไม่พบกับความสุข เราพบกับความทุกข์ แล้วก็มานั่งคิดในใจว่า เราเป็นคนมีเมตตา ความรัก เราเป็นคนมีความกรุณา ความสงสาร เราควรจะสงสารตัวเราไหม ถ้าเราคิดว่าเราจะรักใครสักคนหนึ่ง หวังผลในการแต่งงาน ถ้าแต่งงานแล้วมันเป็นความทุกข์ นี่เราควรจะแต่งงานหรือว่าไม่ควรจะแต่ง ถ้าหากว่าเราคิดว่ามันเป็นความสุข เราก็ควรแต่ง ถ้าคิดว่ามันเป็นความทุกข์เราก็ต้องสงสารตัวเราเองว่า แค่ตัวเราเองนี้เรายังแบกเกือบไม่ไหว และไม่สามารถทรงกำลังกายให้มันเป็นสุขอยู่ได้ ถ้าเราไปแบกอีกคนหนึ่งเข้ามาแล้ว วันต่อมาอีกหลายคน คือ ลูกสาว ลูกชาย ความทุกข์ใหญ่มันก็เกิด เราก็หันกลับมามีเมตตา ความรักตัวเอง กรุณา ความสงสารตัวเองว่า " โอหนอ เราอยากโง่ไปทำไม ร่างกายของเราก็สกปรก ถ้าเราต้องการมีคู่ครอง ร่างกายของคู่ครองก็สกปรก เราคนเดียวแบกหนึ่งทุกข์ ทุกข์เท่านี้ คือ ขันธ์ ๕ ไปมีคู่ครองเข้า อีกคนหนึ่งก็แบกมาอีก ๕ ขันธ์ กลายเป็น ๑๐ ถ้ามีลูก มีหลาน มีเหลนออกมาไปกันใหญ่ " องค์สมเด็จพระจอมบรมไตรโลกศาสดาทรงตรัสว่า " ภารา หเว ปัญจขันธา " : " ขันธ์ ๕ ทั้งหลาย เป็นภาระอันหนัก " คือ เราคนเดียวมี ๕ ขันธ์ หนักแค่นี้ ถ้าเพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๑๐ เพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๑๕ เพิ่มอีกคนเป็นขันธ์ ๒๐ มันจะหนักปานไหน ตอนนี้เราก็เริ่มรัก เริ่มสงสารตัว ขอตัดกำลังใจว่าจะไม่คิดพึงหาคู่ครอง เห็นโทษจากความรัก ในความปรารถนาที่มีคู่ครอง เพราะมันเป็นปัจจัยของความทุกข์ มันหาความสุขไม่ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคู่ครองก็ดี เราก็ดี ย่อมทรุดโทรมลงไปทุกวัน ไม่ช้าก็จากกันด้วยความตาย ถ้าเรายังมีความหลงใหลใฝ่ฝันด้วยอำนาจตัณหาแบบนี้อีก เราก็ต้องเกิดอีก มันจะหาความสุขอะไรไม่ได้ ควรจะตัดสินใจแล้วก็จำพระบาลีของค์สมเด็จพระจอมไตรบรมศาสดาไว้ว่า " ปิยโต ชายเต โสโก ปิยโต ชายเต ภยัง " : " ความเศร้าโศกเสียใจเกิดจากความรัก ภัยอันตรายเกิดจากความรัก " และสิ่งที่เรารัก มันจะอยู่กับเราตลอดกาลตลอดสมัยหรือไม่ สมบัติของโลกมีความเกิดขึ้นในเบื้อต้น มีความเสื่อมไปในท่ามกลาง แล้วก็สลายทั้งหมด องค์สมเด็จพระบรมสุคตเห็นโทษอย่างนั้นสมเด็จพระมหามุนีจึงได้หนีพระนางพิมพากับพระราหุล ออกสู่มหาภิเนษกรมณ์บำเพ็ญตนเป็นพระอรหันต์หมดความทุกข์ มีแต่อารมณ์ความสุขฉันใด เราก็ขอตัดกำลังใจ คือ จะรักเรา และสงสารตัวเราเข้าไปว่า กรรมใดที่เนื่องจากกามารมณ์ เป็นปัจจัยของความทุกข์ นับตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไปเราไม่ต้องการ เราจะแสวงหาความสุข คือ อยู่แต่ผู้เดียวตามที่พระองค์ทรงตรัสไว้ว่า " เอกายโน อยัง ภิกขเว มัคโค สัตตานัง วิสุทธิยา " เป็นต้น แปลว่า " ทางของบุคคลผู้เดียวเป็นทางเอก เป็นทางนำมาซึ่งความสุข "
กายคตาสติกรรมฐานการพิจารณาร่างกายเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก บุรุษผู้มีจักษุ คือปัญญา ปรารถนา ความสุขแก่ตน พึงเว้นหญิงเสียเหมือนกับบ่วงและข่ายที่ดักไว้ในสกุล ในถนนสายหนึ่ง ในราชธานี หรือในนิคม ผู้ใดสละเสียแล้วซึ่งตบะคุณ อันเป็นกุศล ประพฤติจริตอันมิใช่ของพระอริยะ ผู้นั้นต้องกลับจาก เทวโลกไปคลุกเคล้าอยู่กับนรก เหมือนพ่อค้าซื้อหม้อแตก ฉะนั้น บุรุษ ผู้ตกอยู่ในอำนาจของหญิง ย่อมถูกติเตียนทั้งในโลกนี้และโลกหน้า กรรมของตนกระทบแล้ว เป็นคนโง่เขลา ย่อมไปพลั้งๆ พลาดๆ โดย ไม่แน่นอน เหมือนรถที่เทียมด้วยลาโกง ย่อมไปผิดทาง ฉะนั้น ผู้ตกอยู่ ในอำนาจของหญิง ย่อมเข้าถึงนรกเป็นที่เผาสัตว์ให้รุ่มร้อน และนรกอัน มีป่าไม้งิ้ว มีหนามแหลมดังหอกเหล็ก แล้วมาในกำเนิดสัตว์ ดิรัจฉาน ย่อมไม่พ้นจากวิสัยเปรตและอสุรกาย หญิงย่อมทำลายความ เล่นหัว ความยินดี ความเพลิดเพลินอันเป็นทิพย์ และจักรพรรดิสมบัติ ในมนุษย์ของชายผู้ประมาทให้พินาศ และยังทำชายนั้นให้ถึงทุคติอีกด้วย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้ การเล่นหัว ความยินดีอันเป็นทิพย์ จักรพรรดิสมบัติในมนุษย์ และนาง เทพอัปสรอันอยู่ในวิมานทอง โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการ หญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชายเหล่านั้นพึงได้คติที่ก้าวล่วงเสียซึ่ง กามธาตุ รูปธาตุ สมภพ และคติที่เข้าถึงวิสัยความปราศจากราคะ โดยไม่ยากเลย ชายเหล่าใดไม่ต้องการหญิง ประพฤติพรหมจรรย์ ชาย เหล่านั้นเป็นผู้ดับแล้ว สะอาด พึงได้นิพพานอันเกษม อันก้าวล่วงเสีย ซึ่งทุกข์ทั้งปวง ล่วงส่วน ไม่หวั่นไหว ไม่มีอะไรปรุงแต่ง โดยไม่ยาก เลย. พญานกกุณาละในครั้งนั้นเป็นเรา พญานกดุเหว่าขาวเป็นพระอุทายี พญา แร้งเป็นพระอานนท์ นารทฤาษีเป็นพระสารีบุตร บริษัททั้งหลายเป็น พุทธบริษัท เธอทั้งหลายจงทรงจำกุณาลชาดกไว้อย่างนี้แล
วันจันทร์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ละกามราคะกามฉันทะไปนิพพาน พระราชพรหมยาน หลวงพ่อฤาษี วัดท่าซุงเพราะละราคะได้อารมณ์สำหรับวิญญาณก็ขาดลงที่ตั้งของวิญญาณก็ไม่มี,วิญญาณอันไม่มีที่ตั้งนั้นก็ไม่งอกงามหลุดพ้นไปเพราะไม่ถูกปรุงแต่ง,เพราะหลุดพ้นไปก็ตั้งมั่น,เพราะตั้งมั่นก็ยินดีในตนเอง,เพราะยินดีในตนเองก็ไม่หวั่นไหว,เมื่อไม่หวั่นไหว ก็ปรินิพพานเฉพาะตน.ย่อมรู้ชัดว่า“ชาตินี้สิ้นแล้ว พรหมจรรย์ได้อยู่จบแล้ว,กิจที่ควรทำ ได้ทำสำเร็จแล้ว,กิจอื่นที่จะต้องทำ เพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มีอีก
อย่าประมาทกิเลสเล็กๆน้อยๆ ผิดศีลได้เริ่มจากกิเลสเล็กน้อยนี่เอง..อย่าประมาทกิเลสเล็กๆน้อยๆ ผิดศีลได้เริ่มจากกิเลสเล็กน้อยนี่เอง คือการพัฒนาคุณภาพของจิตใจเราทิ้งหลักของ”ไตรสิกขา”ไม่ได้ ถ้าทิ้งหลักไตรสิกขาละก็ ไม่ใช่ชาวพุทธแท้หรอก ไตรสิกขาคือเรื่องศีลสิกขา เรื่องจิตสิกขา เรื่องปัญญาสิกขา เราจะเรียนเรื่องศีลเรียนเรื่องจิตเรียนเรื่องการเจริญปัญญา ศีลในเบื้องต้นเนี่ยต้องเจตนา งดเว้นการทำบาปอกุศลทางกายทางวาจาไว้ก่อน เบื้องต้นต้องตั้งใจงดเว้นไว้ก่อน ต่อมาเรามาฝึกอาศัยสตินี่แหล่ะ คอยรู้ทัน ใจมันทำผิดศีลได้นะเพราะกิเลสมันครอบงำจิต ให้เราคอยรู้ทันจิตไว้ กิเลสอะไรเกิดขึ้นเรารู้ทัน กิเลสอะไรเกิดรู้ทันนะ กิเลสจะครอบงำไม่ได้ อย่างโทสะเกิดเนี่ยรู้ทันมัน โทสะครอบงำจิตไม่ได้ มันไม่ฆ่าใครไม่ตีใครไม่ด่าใครไม่เบียดเบียนใคร ราคะเกิดขึ้นเรามีสติรู้ทันไม่ครอบงำจิต เราก็ไม่ไปลักใครขโมยใครไม่เป็นชู้กับใคร ไม่ปลิ้นปล้อนตลบแตลงล่อลวงเค้า เนี่ยกิเลสทั้งนั้นเลยนะ คนทำผิดศีลได้เพราะกิเลสครอบงำจิตได้ กิเลสเล็กกิเลสน้อยก็อย่าไปไว้ใจมันนะ อย่ามีข้อยกเว้นแก่กิเลส บางคนเห็นว่ากิเลสเล็กๆน้อยๆไม่เป็นไร แรกๆไม่เป็นไรนะ ตัวเล็กไม่เป็นไรต่อไปตัวกลางๆก็ไม่เป็นไรเหมือนกันนะ สุดท้ายตัวใหญ่ๆก็ไม่เป็นไร อย่างตอนเด็กๆหัดรังแกสัตว์ตัวเล็กๆก็รังแกสัตว์ตัวใหญ่ได้มากขึ้นๆ สุดท้ายมันก็แกล้งคนได้ ฆ่าคนได้ ใจมันเคยชินที่จะเบียดเบียน นั้นเรามีสตินะ รักษาจิตไว้ให้ดี อย่าให้กิเลสครอบงำจิตได้ คอยรู้ทันมันเข้าไป ศีลมันจะเกิดขึ้น พอจิตเรามีศีลเนี่ยสมาธิจะเกิดง่าย คนที่ไม่มีศีลนะจะฟุ้งซ่าน ฟุ้งไปในกาม ฟุ้งไปในความไม่พอใจ กามและปฏิฆะมายั่วจิตให้ฟุ้งไป เดี๋ยวก็อยากดู เดี๋ยวก็อยากฟัง อยากได้กลิ่น อยากได้รส ถ้าเรามีสติคุ้มครองจิตอยู่ กิเลสมันครอบงำจิตไม่ได้ กิเลสหยาบๆนะครอบงำไม่ได้ สติปัญญาเร็วขึ้นๆนะ ต่อไปกิเลสอย่างกลางก็ครอบงำจิตไม่ได้ กิเลสอย่างหยาบเนี่ยเอาศีลกั้นไว้ ราคะ โทสะ โมหะแรงๆเกิดขึ้นนะ จะทำผิดศีลไม่ทำ ตั้งใจงดเว้นไม่ทำ ทุกวันต้องคิดว่าเราจะรักษาศีลตั้งแต่ตื่นเช้าขึ้นมาทุกวัน..
ต้นตอของมันอยู่ตรงนี้..เราเดินเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร ได้เห็นหญิงฟ้อนรำคนหนึ่ง ตก แต่งร่างกายด้วยเครื่องอาภรณ์ นุ่งห่มผ้าสวยงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบ ไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ฟ้อนรำอยู่ในวงดนตรีที่ถนนหลวง ท่ามกลาง พระนคร เป็นดุจบ่วงแห่งมัจจุราชอันธรรมชาติมาดักไว้ เพราะฉะนั้น การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย จึงบังเกิดขึ้นแก่เรา อาทีนว- โทษปรากฏแก่เรา ความเบื่อหน่ายก็ตั้งลงมั่น ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลส ขอท่านจงดูความที่แห่งธรรมเป็นธรรมอันดีเลิศ เราได้บรรลุวิชชา ๓ แล้ว ได้ทำกิจพระพุทธศาสนาเสร็จแล้ว
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น.. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ สัตว์ปรารถนาสิ่งใดได้สิ่งนั้นแล้ว ย่อมมีใจอิ่มเอิบแท้. เมื่อบุคคลปรารถนากาม ถ้าสิ่งที่ปรารถนาของ บุคคลนั้นย่อมสำเร็จได้ ครั้นสิ่งที่ปรารถนานั้นสำเร็จ บุคคลยังปรารถนาต่อไปอีก ก็ย่อมได้ประสบกาม ตัณหา เหมือนบุคคลที่ถูกลมแดดแผดเผาในฤดูร้อน ย่อมจะเกิดความกระหายใคร่จะดื่มน้ำฉะนั้น. ตัณหาก็ดี ความกระหายก็ดี ของคนพาล มีปัญญาน้อย ไม่รู้อะไร ย่อมเจริญยิ่งขึ้นทุกที เหมือนเขาโคย่อมเจริญขึ้นตามตัวฉะนั้น. แม้จะให้สมบัติ ข้าวสาลี ข้าวเหนียว โค ม้า ข้าทาสหญิงชายหมดทั้งแผ่นดิน ก็ยังไม่พอแก่คนคนเดียว รู้อย่างนี้แล้วพึงประพฤติธรรมสม่ำเสมอ.
วันอาทิตย์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2558
การตรัสรู้คือความไม่มีอะไรให้ระลึกถึง..แม้สามเณรศีลของกุลบุตรนั้นก็บริบูรณ์ เพราะฉะนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงไม่ตรัสบุพภาคปฏิปทา แต่ทรงปรารภเพื่อจะตรัสบอกวิปัสสนาลักษณะอันมีความว่างเปล่าอย่างยิ่ง ซึ่งเป็นปทัฏฐานแห่งพระอรหัตเท่านั้นแก่กุลบุตรนั้น.
เรื่องนี้คล้ายนิยายอิงธรรมะแต่เป็นเรื่องจริงสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อ ชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด. ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยศรัทธา. ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ ในโรงของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้า ไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรงดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก. แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน . ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรถามดูบ้าง. ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร. ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์งามฟุ้งไป อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหา คนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจงธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็เดี่ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น ประทับอยู่ที่ไหน. ปุ. ดูก่อนท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือ เดี่ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม. ปุ. ดูก่อนผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เลย ถึงเห็นแล้ว ก็ไม่รู้จัก . ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้มีพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตร นี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา. แต่นั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า ดูก่อนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงพึงธรรมนี้ จงใส่ใจให้ดี. เราจักกล่าวต่อไป ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้ มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตน และกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่างนี้ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว . ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั้นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ จักษุ โสต ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส. นั่น เราอาศัยอายตนะนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึก ของใจ ๑๘ นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้วย่อม หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว . . . ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว. . . ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว. . . รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีสัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ ความสงบ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั้น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา. ดูก่อนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ดูก่อนภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่แข่นแข็ง กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื้อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่าหรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่แข่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตนนี้เรียกว่าปฐวีธาตุภายใน. ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่าย ปฐวีธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดปฐวีธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน. คืออาโปธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไปกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่เอิบอาบซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน. ก็อาโปธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอาโปธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน. คือ เตโชธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อนกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่มที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อนกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน. ก็เตโชธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรานั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน. คือ วาโยธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้าหรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน. ก็วาโยธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น . พึงเห็นวาโยธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่าง นี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม. เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบายของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าอากาสธาตุภายใน. ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั้นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้. ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไร ๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้างไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. ดูก่อนภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง แห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่ากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้น แลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็น ที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะไม้สองท่อนนั้น เองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉัน ใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง แห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่ากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อัน บริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อน ควรแก่การงานและผ่องแผ้ว. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือ ของนายช่างทองผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดูไปเป็นระยะ ๆ ทองนั้น จะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อนสลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใด ๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหูเครื่องประดับคอ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อน ควรแก่การงาน และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌานและเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะ เป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน. บุคคลนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญ จิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ. บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. เพราะเหตุนั้นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งด้วยประการนี้. ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ ทั้งปวงเป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะเป็นคุณไม่กำเริบ. ดูก่อนภิกษุ เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั่นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไป อุปธิเหล่านั้นเป็นอันเขาละได้แล้วถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั้น แลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้น ๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็น ธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็นอุปสนะอันประเสริฐอย่างยิ่ง. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น. นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญคนมีอยู่ดังนี้ ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญาก็มิใช่มีสัญญาก็มิใช่. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวผี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อมไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ. ไม่ทะเยอทะยาน. แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิดเมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื้อไม่แก่ จักตายได้อย่าง ไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบจักทะเยอทะยานได้อย่างไร. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่นเราอาศัยเนื้อความกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ของเราไว้เถิด. ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้อง ข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืน ตามธรรม เราขอรับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูก่อนภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้นั้น เป็นความเจริญในอริยวินัย. ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสนบทในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ. ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า. พ. ดูก่อนภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยัง ไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย. ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้ากระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร. ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรจีวรอยู่. ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังที่ประทับแล้ว ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตร ชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอนด้วย พระโอวาทย่อ ๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติอย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร. พ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วนเบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็นธรรมดา. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ต่างชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล. แสดงน้อยลง
พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อเสด็จจาริกไปในมคธชนบท ทรงแวะยังพระนครราชคฤห์ เสด็จเข้าไปหานายช่างหม้อ ชื่อภัคควะยังที่อยู่ แล้วตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนนายภัคควะ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. นายภัคควะทูลว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ข้าพเจ้าไม่มีความหนักใจเลย แต่ในโรงนี้มีบรรพชิตเข้าไปอยู่ก่อนแล้ว ถ้าบรรพชิตนั้นอนุญาต ก็นิมนต์ท่านพักตามสบายเถิด. ก็สมัยนั้นแล กุลบุตรชื่อปุกกุสาติ ออกจากเรือนบวชเป็น บรรพชิตอุทิศพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยศรัทธา. ปุกกุสาติกุลบุตรนั้นเข้าไปพักอยู่ ในโรงของนายช่างหม้อนั้นก่อนแล้ว. ครั้งนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้า ไปหาท่านปุกกุสาติยังที่พัก แล้วตรัสกะท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ ถ้าไม่เป็นความหนักใจแก่ท่าน เราจะขอพักอยู่ในโรงสักคืนหนึ่งเถิด. ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ โรงช่างหม้อกว้างขวาง นิมนต์ท่านผู้มีอายุพักตามสบายเถิด. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปสู่โรงช่างหม้อแล้ว ทรงลาดสันถัดหญ้า ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ประทับนั่งคู้บัลลังก์ ตั้งพระกายตรงดำรงพระสติมั่นเฉพาะหน้า พระองค์ประทับนั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมาก. แม้ท่านปุกกุสาติก็นั่งล่วงเลยราตรีไปเป็นอันมากเหมือนกัน . ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตรนี้ ประพฤติน่าเลื่อมใสหนอ เราควรถามดูบ้าง. ต่อนั้น พระองค์จึงตรัสถามท่านปุกกุสาติดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุท่านบวช อุทิศใครเล่า หรือว่าใครเป็นศาสดาของท่าน หรือท่านชอบใจธรรมของใคร. ท่านปุกกุสาติตอบว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ มีพระสมณโคดมผู้ศากยบุตร เสด็จออกจากศากยราชสกุลทรงผนวชแล้ว ก็พระโคดมผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นแล มีกิตติศัพท์งามฟุ้งไป อย่างนี้ว่า แม้เพราะเหตุดังนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นเป็นผู้ไกลจากกิเลส รู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ ดำเนินไปดี รู้แจ้งโลก เป็นสารถีผู้ฝึกบุรุษที่ควรฝึกอย่างหา คนอื่นยิ่งกว่ามิได้ เป็นครูของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นแล้ว เป็นผู้แจงธรรม ดังนี้ ข้าพเจ้าบวชอุทิศพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น และพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นศาสดาของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าชอบใจธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็เดี่ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น ประทับอยู่ที่ไหน. ปุ. ดูก่อนท่านผู้มีอายุ มีพระนครชื่อว่าสาวัตถีอยู่ในชนบท ทางทิศเหนือ เดี่ยวนี้ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น ประทับอยู่ที่นั่น. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็ท่านเคยเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นหรือ และท่านเห็นแล้วจะรู้จักไหม. ปุ. ดูก่อนผู้มีอายุ ข้าพเจ้าไม่เคยเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เลย ถึงเห็นแล้ว ก็ไม่รู้จัก . ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้มีพระดำริดังนี้ว่า กุลบุตร นี้บวชอุทิศเรา เราควรจะแสดงธรรมแก่เขา. แต่นั้น พระองค์จึงตรัสเรียกท่านปุกกุสาติว่า ดูก่อนภิกษุ เราจักแสดงธรรมแก่ท่าน ท่านจงพึงธรรมนี้ จงใส่ใจให้ดี. เราจักกล่าวต่อไป ท่านปุกกุสาติทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ชอบแล้ว ท่านผู้มีอายุ. พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้ มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตน และกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นี้อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ อย่างนี้ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธาตุ ๖ นั้น เราอาศัยธาตุดังนี้ กล่าวแล้ว . ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ นั้นเราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ จักษุ โสต ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีแดนสัมผัส. นั่น เราอาศัยอายตนะนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึก ของใจ ๑๘ นั้น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้วย่อม หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา ฟังเสียงด้วยโสตแล้ว . . . ดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ... ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว. . . ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว. . . รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโทมนัส หน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งอุเบกขา นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ นั่น เราอาศัยความหน่วงนึกนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. คือ มีปัญญาเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีสัจจะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีจาคะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ มีอุปสมะเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ ความสงบ ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุ คนเรานี้ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ นั้น เราอาศัยธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา. ดูก่อนภิกษุ ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ. ดูก่อนภิกษุ ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน คือ ปฐวีธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่แข่นแข็ง กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื้อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่าหรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่แข่นแข็ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตนนี้เรียกว่าปฐวีธาตุภายใน. ก็ปฐวีธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นปฐวีธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นปฐวีธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่าย ปฐวีธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดปฐวีธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็อาโปธาตุเป็นไฉน. คืออาโปธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็อาโปธาตุภายใน เป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่เอิบอาบ ซึมซาบไปกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ดี เสลด น้ำเหลือง เลือด เหงื่อ มันข้น น้ำตา เปลวมัน น้ำลาย น้ำมูก ไขข้อ มูตร หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่เอิบอาบซึมซาบไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า อาโปธาตุภายใน. ก็อาโปธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอาโปธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอาโปธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอาโปธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอาโปธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็เตโชธาตุเป็นไฉน. คือ เตโชธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็เตโชธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อนกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ธาตุที่เป็นเครื่องยังกายให้อบอุ่น ยังกายให้ทรุดโทรม ยังกายให้กระวนกระวาย และธาตุที่เป็นเหตุให้ของที่กิน ที่ดื่มที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วถึงความย่อยไปด้วยดี หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่อบอุ่น ถึงความเร่าร้อนกำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่า เตโชธาตุภายใน. ก็เตโชธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นเตโชธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นเตโชธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรานั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายเตโชธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดเตโชธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็วาโยธาตุเป็นไฉน. คือ วาโยธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี. ก็วาโยธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่พัดผันไป กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในลำไส้ ลมแล่นไปตามอวัยวะน้อยใหญ่ ลมหายใจออก ลมหายใจเข้าหรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่พัดผันไป กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าวาโยธาตุภายใน. ก็วาโยธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นวาโยธาตุทั้งนั้น . พึงเห็นวาโยธาตุนั้น ด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่าง นี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายวาโยธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดวาโยธาตุได้. ดูก่อนภิกษุ ก็อากาสธาตุเป็นไฉน คือ อากาสธาตุภายในก็มีภายนอกก็มี ก็อากาสธาตุภายในเป็นไฉน. ได้แก่สิ่งที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้มีในตน อาศัยตน คือ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปากซึ่งเป็นทางให้กลืนของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม. เป็นที่ตั้งของที่กิน ที่ดื่ม ที่เคี้ยว ที่ลิ้ม และเป็นทางระบายของที่กิน ที่ดม ที่เคี้ยว ที่ลิ้มแล้วออกทางเบื้องล่าง หรือแม้สิ่งอื่นไม่ว่าชนิดไร ๆ ที่ว่าง ปรุโปร่ง กำหนดได้ มีในตน อาศัยตน นี้เรียกว่าอากาสธาตุภายใน. ก็อากาสธาตุทั้งภายในและภายนอก นี้แล เป็นอากาสธาตุทั้งนั้น. พึงเห็นอากาสธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั้นไม่ใช่ของเรา นั่นไม่ใช่เรา นั้นไม่ใช่อัตตาของเรา. ครั้นเห็นแล้ว จะเบื่อหน่ายอากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดอากาสธาตุได้. ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไร ๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้างไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง. ดูก่อนภิกษุ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง แห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่ากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้น แลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวทุกขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้นเมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่าความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็น ที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนเกิดความร้อน เกิดไฟได้ เพราะไม้สองท่อนประชุมสีกัน ความร้อนที่เกิดแต่ไม้สองท่อนนั้น ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะไม้สองท่อนนั้น เองแยกกันไปเสียคนละทาง แม้ฉัน ใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง แห่งสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมเกิดทุกขเวทนา บุคคลนั้นเมื่อเสวยทุกขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่ากำลังเสวยทุกขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือ ตัวทุกขเวทนาอันเกิด เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งทุกขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดอทุกขมสุขเวทนา. บุคคลนั้น เมื่อเสวยอทุกขมสุขเวทนา ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนานั้นแลดับไป ย่อมรู้ชัดว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวอทุกขมสุขเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะ เป็นที่ตั้งแห่งอทุกขมสุขเวทนา ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ. ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อัน บริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อน ควรแก่การงานและผ่องแผ้ว. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนนายช่างทอง หรือลูกมือ ของนายช่างทองผู้ฉลาด ติดเตาสุมเบ้าแล้ว เอาคีมคีบทองใส่เบ้า หลอมไป ซัดน้ำไป สังเกตดูไปเป็นระยะ ๆ ทองนั้น จะเป็นของถูกไล่ขี้แล้ว หมดฝ้า เป็นเนื้ออ่อนสลวย และผ่องแผ้ว เขาประสงค์ชนิดเครื่องประดับใด ๆ จะเป็นแหวน ตุ้มหูเครื่องประดับคอ มาลัยทองก็ตาม ย่อมสำเร็จความประสงค์อันนั้นแต่ทองนั้นได้ ฉันใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อน ควรแก่การงาน และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยอากาสานัญจายตนฌานนั้น ยึดอากาสานัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ยึดวิญญาณัญจายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌานและเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะ เป็นอุเบกขาอาศัยอากิญจัญญายตนฌานนั้น ยึดอากิญจัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขาอาศัยเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ยึดเนวสัญญานาสัญญายตนฌานนั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน. บุคคลนั้นย่อมรู้ชัดอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากาสานัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่ วิญญาณัญจายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อากิญจัญญายตนฌาน และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน และเจริญ จิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ. บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด ดูก่อนภิกษุ ฉันนั้นเหมือนกันแล บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. เพราะเหตุนั้นผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งด้วยประการนี้. ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ ทั้งปวงเป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะเป็นคุณไม่กำเริบ. ดูก่อนภิกษุ เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรม ควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั่นแล ยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงเป็นอันพรั่งพร้อม สมาทานอุปธิเข้าไป อุปธิเหล่านั้นเป็นอันเขาละได้แล้วถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็จาคะนี้ คือความสละคืนอุปธิทั้งปวง เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง. อนึ่ง บุคคลนั้น แลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้น ๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ทำให้เหมือนตาลยอดด้วนแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา เพราะฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็น ธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้. ก็อุปสมะนี้ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ เป็นอุปสนะอันประเสริฐอย่างยิ่ง. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น. นั่น เราอาศัยเนื้อความนี้ กล่าวแล้ว. ก็ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่น เราอาศัยอะไรกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญคนมีอยู่ดังนี้ ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญาก็มิใช่มีสัญญาก็มิใช่. ดูก่อนภิกษุ ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวผี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อมไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ. ไม่ทะเยอทะยาน. แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิดเมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื้อไม่แก่ จักตายได้อย่าง ไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบจักทะเยอทะยานได้อย่างไร. ข้อที่เรากล่าวดังนี้ว่า คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว นั่นเราอาศัยเนื้อความกล่าวแล้ว. ดูก่อนภิกษุ ท่านจงทรงจำธาตุวิภังค์ ๖ โดยย่อนี้ของเราไว้เถิด. ลำดับนั้นแล ท่านปุกกุสาติทราบแน่นอนว่า พระศาสดา พระสุคต พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เสด็จมาถึงแล้วโดยลำดับ จึงลุกจากอาสนะทำจีวรเฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้วทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ โทษล่วงเกินได้ต้อง ข้าพระองค์เข้าแล้ว ผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งข้าพระองค์ได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับอดโทษล่วงเกินแก่ข้าพระองค์ เพื่อจะสำรวมต่อไปเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ เอาเถอะ โทษล่วงเกินได้ต้องเธอผู้มีอาการโง่เขลา ไม่ฉลาด ซึ่งเธอได้สำคัญ ถ้อยคำที่เรียกเราด้วยวาทะว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ แต่เพราะเธอเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษแล้วกระทำคืน ตามธรรม เราขอรับอดโทษนั้นแก่เธอ ดูก่อนภิกษุ ก็ข้อที่บุคคลเห็นโทษล่วงเกินโดยความเป็นโทษ แล้วกระทำคืนตามธรรม ถึงความสำรวมต่อไปได้นั้น เป็นความเจริญในอริยวินัย. ปุ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอข้าพระองค์พึงได้อุปสนบทในสำนักของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. พ. ดูก่อนภิกษุ ก็บาตรจีวรของเธอครบแล้วหรือ. ปุ. ยังไม่ครบ พระพุทธเจ้าข้า. พ. ดูก่อนภิกษุ ตถาคตทั้งหลาย จะให้กุลบุตรผู้มีบาตรและจีวรยัง ไม่ครบอุปสมบทไม่ได้เลย. ลำดับนั้น ท่านปุกกุสาติ ยินดี อนุโมทนาพระภาษิตของ พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ลุกจากอาสนะ ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้ากระทำประทักษิณแล้ว หลีกไปหาบาตรจีวร. ทันใดนั้นแล แม่โคได้ปลิดชีพท่านปุกกุสาติ ผู้กำลังเที่ยวหาบาตรจีวรอยู่. ต่อนั้น ภิกษุมากรูปด้วยกัน ได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ยังที่ประทับแล้ว ถวายอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่งณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พอนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ กุลบุตร ชื่อปุกกุสาติที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสอนด้วย พระโอวาทย่อ ๆ คนนั้น ทำกาละเสียแล้ว เขาจะมีคติอย่างไร มีสัมปรายภพอย่างไร. พ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตรเป็นบัณฑิต ได้บรรลุธรรมสมควรแก่ธรรมแล้ว ทั้งไม่ให้เราลำบากเพราะเหตุแห่งธรรม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ปุกกุสาติกุลบุตร เป็นผู้เข้าถึงอุปปาติกเทพ เพราะสิ้นสัญโญชน์อันเป็นส่วนเบื้องต่ำ ๕ เป็นอันปรินิพพานในโลกนั้น มีความไม่กลับมาจากโลกนั้นอีกเป็นธรรมดา. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสพระภาษิตนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้น ต่างชื่นชมยินดีพระภาษิตของพระผู้มีพระภาคเจ้าแล. แสดงน้อยลง
พระเจ้าปุกกุสาติ อานาปานจตุถฌานพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูโลก ทรงเห็นกุลบุตรชื่อว่าปุกกุสาติ ทรงพระดำริว่า กุลบุตรนี้อ่านเพียงสาส์นที่พระสหายส่งไป ละราชสมบัติใหญ่ เกินร้อยโยชน์ บวชอุทิศเจาะจงเรา เดินทางสิ้น ๑๙๒ โยชน์ถึงกรุงราชคฤห์ ก็เมื่อเราไม่ไป จักไม่แทงตลอดสามัญญผล ๓ จะทำกาลกิริยาไร้ที่พึ่ง โดยการพักคืนเดียว แต่ครั้นเมื่อเราไปแล้ว จักแทงตลอดสามัญญผล ๓ ก็เราบำเพ็ญบารมีทั้งหลายสิ้นสี่อสงไขยยิ่งด้วยแสนกัป เพื่อประโยชน์แก่การสงเคราะห์ชนเท่านั้น เราจักทำการสงเคราะห์แก่กุลบุตรปุกกุสาตินั้น ดังนี้
การเจริญพระกรรมฐานจิตเกาะพระนิพพานก็ไปพระนิพพาน ทรงให้อุบายปฏิบัติง่าย ๆ ว่า รู้ลม - รู้ตาย - รู้นิพพาน หมายความว่า รู้ลม คือ การกำหนดรู้ลมหายใจเข้าและออก ทำจิตให้สงบเป็นสุข รู้ตาย หมายความว่า เป็นผู้ไม่ประมาทในความตาย เท่ากับไม่ประมาทในธรรมทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ บท รู้นิพพาน หมายความว่า จิตมั่นคงทุกขณะจิตว่า หากร่างกายตาย เป้าหมายมีจุดเดียว คือพระนิพพาน ทำอะไรทุกอย่างเพื่อพระนิพพานจุดเดียว หากใครปฏิบัติได้ตามนี้ ก็มั่นใจได้ว่าท่านมีที่นั่ง ในรถไฟขบวนสุดท้ายอย่างแน่นอน
เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้นจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น
เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้นจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น
เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้นจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น
เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้นจิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น
ผู้รู้แจ้งแผ่นดินนี้มนุษย์โลกพร้อมนอกจากปัญญาและความเพียร นอกจากความสำรวมอินทรีย์ นอกจากความสละวางโดยประการทั้งปวง เรายังไม่เห็นความ สวัสดีแห่งสัตว์ทั้งหลาย
พระอริยะบุคคล พระอนาคามีคามณิสังยุตต์ จัณฑสูตร [๕๘๖] ครั้งนั้นแล นายจัณฑคามณีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอ เป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้บุคคลบางคนในโลก นี้ ถึงความนับว่า เป็นคนดุ เป็นคนดุ ก็อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้ บุคคลบางคนในโลกนี้ถึงความนับว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม เป็นคนสงบเสงี่ยม พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรนายคามณี คนบางคนในโลกนี้ยังละราคะไม่ได้ เพราะเป็นผู้ยังละราคะไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ คนที่ยังละราคะไม่ได้คนอื่นยั่ว ให้โกรธ ย่อมแสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่าเป็นคนดุ คนบางคน ในโลกนี้ยังละโทสะไม่ได้ เพราะเป็นผู้ยังละโทสะไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ คนที่ยังละโทสะไม่ได้คนอื่นยั่วให้โกรธ ย่อมแสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึง นับได้ว่าเป็นคนดุ คนบางคนในโลกนี้ยังละโมหะไม่ได้ เพราะเป็นผู้ยังละโมหะ ไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ คนที่ยังละโมหะไม่ได้อันคนอื่นยั่วให้โกรธ ย่อม แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่าเป็นคนดุ ดูกรนายคามณี นี้เป็นเหตุ เป็นปัจจัยเครื่องให้คนบางคนในโลกนี้ถึงความนับว่าเป็นคนดุ เป็นคนดุ ฯ [๕๘๗] ดูกรนายคามณี อนึ่ง คนบางคนในโลกนี้ละราคะได้แล้ว เพราะ เป็นผู้ละราคะได้ คนอื่นจึงยั่วไม่โกรธ คนที่ละราคะได้แล้วอันคนอื่นยั่วให้โกรธ ก็ไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม คนบางคน ในโลกนี้ละโทสะได้แล้ว เพราะเป็นผู้ละโทสะได้ คนอื่นจึงยั่วไม่โกรธ คนที่ละ โทสะได้แล้วอันคนอื่นยั่วให้โกรธ ก็ไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ ว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม คนบางคนในโลกนี้ละโมหะได้แล้ว เพราะเป็นผู้ละ โมหะได้ คนอื่นจึงยั่วไม่โกรธ คนที่ละโมหะได้แล้วอันคนอื่นยั่วให้โกรธ ก็ไม่ แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม ดูกรนายคามณี นี้ เป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้คนบางคนในโลกนี้ถึงความนับว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม เป็นคนสงบเสงี่ยม ฯ [๕๘๘] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว นายจัณฑคามณีได้กราบทูล พระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระธรรมเทศนาของพระองค์แจ่มแจ้ง ยิ่งนัก พระธรรมเทศนาของพระองค์แจ่มแจ้งยิ่งนัก พระผู้มีพระภาคทรงประกาศ- *ธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกหนทาง ให้แก่คนหลงทาง หรือตามประทีปในที่มืดด้วยหวังว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ฉะนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์นี้ขอถึงพระผู้มีพระภาค กับทั้งพระธรรม และพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่าเป็น อุบาสก ผู้ถึงสรณะจนตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ฯ จบสูตรที่ ๑ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ บรรทัดที่ ๗๗๓๓ - ๗๗๖๗. หน้าที่ ๓๓๕ - ๓๓๖. http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=18&A=7733&Z=7767&pagebreak=0 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=18&i=586 ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรไทย ได้ที่ :- [586-588] http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=18&A=586&Z=588 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘
พระอริยะบุคคล พระอนาคามีคามณิสังยุตต์ จัณฑสูตร [๕๘๖] ครั้งนั้นแล นายจัณฑคามณีเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อะไรหนอ เป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้บุคคลบางคนในโลก นี้ ถึงความนับว่า เป็นคนดุ เป็นคนดุ ก็อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้ บุคคลบางคนในโลกนี้ถึงความนับว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม เป็นคนสงบเสงี่ยม พระผู้มีพระภาคตรัสตอบว่า ดูกรนายคามณี คนบางคนในโลกนี้ยังละราคะไม่ได้ เพราะเป็นผู้ยังละราคะไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ คนที่ยังละราคะไม่ได้คนอื่นยั่ว ให้โกรธ ย่อมแสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่าเป็นคนดุ คนบางคน ในโลกนี้ยังละโทสะไม่ได้ เพราะเป็นผู้ยังละโทสะไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ คนที่ยังละโทสะไม่ได้คนอื่นยั่วให้โกรธ ย่อมแสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึง นับได้ว่าเป็นคนดุ คนบางคนในโลกนี้ยังละโมหะไม่ได้ เพราะเป็นผู้ยังละโมหะ ไม่ได้ คนอื่นจึงยั่วให้โกรธ คนที่ยังละโมหะไม่ได้อันคนอื่นยั่วให้โกรธ ย่อม แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่าเป็นคนดุ ดูกรนายคามณี นี้เป็นเหตุ เป็นปัจจัยเครื่องให้คนบางคนในโลกนี้ถึงความนับว่าเป็นคนดุ เป็นคนดุ ฯ [๕๘๗] ดูกรนายคามณี อนึ่ง คนบางคนในโลกนี้ละราคะได้แล้ว เพราะ เป็นผู้ละราคะได้ คนอื่นจึงยั่วไม่โกรธ คนที่ละราคะได้แล้วอันคนอื่นยั่วให้โกรธ ก็ไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม คนบางคน ในโลกนี้ละโทสะได้แล้ว เพราะเป็นผู้ละโทสะได้ คนอื่นจึงยั่วไม่โกรธ คนที่ละ โทสะได้แล้วอันคนอื่นยั่วให้โกรธ ก็ไม่แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ ว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม คนบางคนในโลกนี้ละโมหะได้แล้ว เพราะเป็นผู้ละ โมหะได้ คนอื่นจึงยั่วไม่โกรธ คนที่ละโมหะได้แล้วอันคนอื่นยั่วให้โกรธ ก็ไม่ แสดงความโกรธให้ปรากฏ ผู้นั้นจึงนับได้ว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม ดูกรนายคามณี นี้ เป็นเหตุเป็นปัจจัยเครื่องให้คนบางคนในโลกนี้ถึงความนับว่า เป็นคนสงบเสงี่ยม เป็นคนสงบเสงี่ยม ฯ [๕๘๘] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว นายจัณฑคามณีได้กราบทูล พระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระธรรมเทศนาของพระองค์แจ่มแจ้ง ยิ่งนัก พระธรรมเทศนาของพระองค์แจ่มแจ้งยิ่งนัก พระผู้มีพระภาคทรงประกาศ- *ธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกหนทาง ให้แก่คนหลงทาง หรือตามประทีปในที่มืดด้วยหวังว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ฉะนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์นี้ขอถึงพระผู้มีพระภาค กับทั้งพระธรรม และพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอพระผู้มีพระภาคโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่าเป็น อุบาสก ผู้ถึงสรณะจนตลอดชีวิต ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป ฯ จบสูตรที่ ๑ เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๘ บรรทัดที่ ๗๗๓๓ - ๗๗๖๗. หน้าที่ ๓๓๕ - ๓๓๖. http://www.84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=18&A=7733&Z=7767&pagebreak=0 ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :- http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=18&i=586 ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรไทย ได้ที่ :- [586-588] http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali.php?B=18&A=586&Z=588 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘
มีอยู่สองอย่างสังฆานุสสติ ท่านเจ้าคุณพระราชวุฒาจารย์ หลวงปู่ฝากไว้. 'จิต คือ ผู้รู้ ผู้รู้ คือ จิต พิจารณาจิตให้เป็นแล้วจะเห็น. 'กิเลสเกิดที่จิตถ้าทันรู้จิตกิเลสก็ดับ หลวงปู่ดูลย์
วันเสาร์ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2558
เพียงแต่ ตื่น และลืมตา ต่อจิตหนึ่งนั้นเท่านั้น และไม่มีอะไรที่จะต้องบรรล...ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
ไม่ทำงานอะไรเลิกทำงานแล้วไม่มีอะไรงานไม่มีงานจะทำแล้วที่ว่างหมดงานหมดงาน...ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
ผิดทางแล้วเห็นสวรรค์เห็นนั่นเห็นนี่ที่แท้กิเลสมันหลอกดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
ไม่ใช่วิปัสสนาผิดทางแล้วใช้ไม่ได้มันเป็นนิมิตดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
ไม่ใช่วิปัสสนาผิดทางแล้วใช้ไม่ได้มันเป็นนิมิตดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
ผิดทางแล้วเห็นสวรรค์เห็นนั่นเห็นนี่ที่แท้กิเลสมันหลอกดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
สิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริงดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง
อย่าคิดว่าเราเป็นพระอริยะเจ้าอย่ากลัวติดสมถะ สมาธิขั้นสมถะนี่ต้องเอาให้ได้ ต้องพยายามบริกรรมภาวนาเอาให้ได้ ให้จิตสงบ นิ่ง สว่าง รู้ ตื่น เบิกบาน มีปีติ มีความสุข กายเบา จิตเบา กายสงบ จิตสงบ นิวรณ์ ๕ หายไป ความฟุ้งซ่านรำคาญหายไป มีแต่ปีติและความสุขบังเกิดขึ้นในจิต จิตมีปีติและความสุขเป็นภักษาหาร ผู้ภาวนาย่อมอยู่อย่างสงบเยือกเย็น หาความสุขอันใดจะเทียมเท่าความสงบจิตที่ประกอบด้วยปีติและความสุขไม่มีแล้วดังนั้น อย่ามองข้ามความสงบ อย่ามองข้ามสมาธิ ต้องให้เอาสมาธิให้ได้อย่าไปกลัวจิตจะติดสมาธิ ถ้าจิตไปติดความสงบ ติดสมาธิ ดี ดีกว่าไปติดอย่างอื่น ให้มันติดสมาธิ ติดความสงบเอาไว้ก่อน อย่าไปกลัว บางทีบางท่านภาวนาพุทโธแล้วกลัวจิตจะติดสมถะ ทั้งๆ ที่ตัวเองก็ยังไม่เคยเป็นสมถะ จิตยังไม่สงบเป็นสมถะ ยังไม่สงบเป็นสมาธิ แต่ไปกลัวจิตจะติดเสียก่อนแล้ว ในเมื่อเกิดกลัวขึ้นมา จิตก็ไม่เป็นสมาธิ เมื่อไม่เป็นสมาธิ วิปัสสนาก็ไม่มี ต้องเอาจิตให้เป็นสมาธิก่อน อันนี้สำหรับผู้ปฏิบัติเบื้องต้น ต้องยึดอันนี้เป็นหลัก
การเจริญพระกรรมฐานอย่ากลัวติดสมถะ สมาธิขั้นสมถะนี่ต้องเอาให้ได้ ต้องพยายามบริกรรมภาวนาเอาให้ได้ ให้จิตสงบ นิ่ง สว่าง รู้ ตื่น เบิกบาน มีปีติ มีความสุข กายเบา จิตเบา กายสงบ จิตสงบ นิวรณ์ ๕ หายไป ความฟุ้งซ่านรำคาญหายไป มีแต่ปีติและความสุขบังเกิดขึ้นในจิต จิตมีปีติและความสุขเป็นภักษาหาร ผู้ภาวนาย่อมอยู่อย่างสงบเยือกเย็น หาความสุขอันใดจะเทียมเท่าความสงบจิตที่ประกอบด้วยปีติและความสุขไม่มีแล้วดังนั้น อย่ามองข้ามความสงบ อย่ามองข้ามสมาธิ ต้องให้เอาสมาธิให้ได้อย่าไปกลัวจิตจะติดสมาธิ ถ้าจิตไปติดความสงบ ติดสมาธิ ดี ดีกว่าไปติดอย่างอื่น ให้มันติดสมาธิ ติดความสงบเอาไว้ก่อน อย่าไปกลัว บางทีบางท่านภาวนาพุทโธแล้วกลัวจิตจะติดสมถะ ทั้งๆ ที่ตัวเองก็ยังไม่เคยเป็นสมถะ จิตยังไม่สงบเป็นสมถะ ยังไม่สงบเป็นสมาธิ แต่ไปกลัวจิตจะติดเสียก่อนแล้ว ในเมื่อเกิดกลัวขึ้นมา จิตก็ไม่เป็นสมาธิ เมื่อไม่เป็นสมาธิ วิปัสสนาก็ไม่มี ต้องเอาจิตให้เป็นสมาธิก่อน อันนี้สำหรับผู้ปฏิบัติเบื้องต้น ต้องยึดอันนี้เป็นหลัก
วิธีสร้างความผ่องใสให้กับจิตใจกาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด
สิ่งที่อยู่ตรงหน้าเรานี่แหละ คือสิ่งสิ่งนั้นในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้ง...วิธีเจริญจิตภาวนา วิธีเจริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ๑. เริ่มต้นอริยาบถที่สบาย ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คือ รู้ตัว อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อยๆ ให้ "รู้อยู่เฉยๆ" ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่างๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้นๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อยๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอรักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อๆ ไป ในกรณีที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ ให้ลองนึกคำว่า "พุทโธ" หรือคำอะไรก็ได้ที่ไม่เป็นเหตุเย้ายวน หรือเป็นเหตุขัดเคืองใจ นึกไปเรื่อยๆ แล้วสังเกตดูว่า คำที่นึกนั้น ชัดที่สุดที่ตรงไหน ที่ตรงนั้นแหละคือฐานแห่งจิต พึงสังเกตว่า ฐานนี้ไม่อยู่คงที่ตลอดกาล บางวันอยู่ที่หนึ่ง บางวันอยู่อีกที่หนึ่ง ฐานแห่งจิตที่คำนึงพุทโธปรากฏชัดที่สุดนี้ ย่อมไม่อยู่ภายนอกกายแน่นอน ต้องอยู่ภายในกายแน่ แต่เมื่อพิจารณาดูให้ดีแล้ว จะเห็นว่าฐานนี้จะว่าอยู่ที่ส่วนไหนของร่างกายก็ไม่ถูก ดังนั้น จะว่าอยู่ภายนอกก็ไม่ใช่ จะว่าอยู่ภายในก็ไม่เชิง เมื่อเป็นเช่นนี้ แสดงว่าได้กำหนดถูกฐานแห่งจิตแล้ว เมื่อกำหนดถูก และพุทโธปรากฏในมโนนึกชัดเจนดี ก็ให้กำหนดนึกไปเรื่อย อย่าให้ขาดสายได้ ถ้าขาดสายเมื่อใด จิตก็จะแล่นสู่อารมณ์ทันที เมื่อเสวยอารมณ์อิ่มแล้ว จึงจะรู้สึกตัวเองก็ค่อยๆ นึกพุทโธต่อไป ด้วยอุบายวิธีในทำนองเดียวกับที่กล่าวไว้เบื้องต้น ในที่สุดก็จะค่อยๆ ควบคุมจิตให้อยู่ในอำนาจได้เอง ข้อควรจำ ในการกำหนดจิตนั้น ต้องมีเจตจำนงแน่วแน่ ในอันที่จะเจริญจิตให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการ เจตจำนงนี้ คือ ตัว "ศีล" การบริกรรม "พุทโธ" เปล่าๆ โดยไร้เจตจำนงไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย กลับเป็นเครื่องบั่นทอนความเพียร ทำลายกำลังใจในการเจริญจิตในคราวต่อๆ ไป แต่ถ้าเจตจำนงมั่นคง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครั้งไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน ดังนั้น ในการนึก พุทโธ การเพ่งเล็งสอดส่อง ถึงความชัดเจน และความไม่ขาดสายของพุทโธ จะต้องเป็นไปด้วยความไม่ลดละ เจตจำนงที่มีอยู่อย่างไม่ลดละนี้ หลวงปู่เคย เปรียบไว้ว่า มีลักษณาการประหนึ่งบุรุษหนึ่งจดจ้องสายตาอยู่ที่คมดาบที่ข้าศึกเงื้อขึ้นสุดแขนพร้อมที่จะฟันลงมา บุรุษผู้นั้นจดจ้องคอยทีอยู่ว่า ถ้าคมดาบนั้นฟาดฟันลงมา ตนจะหลบหนีประการใดจึงจะพ้นอันตราย เจตจำนงต้องแน่วแน่เห็นปานนี้ จึงจะยังสมาธิให้บังเกิดได้ ไม่เช่นนั้นอย่าทำให้เสียเวลา และบั่นทอนความศรัทธาตนเองเลย เมื่อจิตค่อยๆ หยั่งลงสู่ความสงบทีละน้อย ๆ อาการที่จิตแล่นไปสู่อารมณ์ภายนอก ก็ค่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถึงไปก็ไปประเดี๋ยวประด๋าว ก็รู้สึกตัวได้เร็ว ถึงตอนนี้คำบริกรรมพุทโธ ก็จะขาดไปเอง เพราะคำบริกรรมนั้นเป็นอารมณ์หยาบ เมื่อจิตล่วงพ้นอารมณ์หยาบ และคำบริกรรมขาดไปแล้ว ไม่ต้องย้อนถอยมาบริกรรมอีก เพียงรักษาจิตไว้ในฐานที่กำหนดเดิมไปเรื่อยๆ และสังเกตดูความรู้สึกและ "พฤติแห่งจิต" ที่ฐานนั้น ๆ บริกรรมเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง สังเกตดูว่า ใครเป็นผู้บริกรรมพุทโธ ๒. ดูจิตเมื่ออารมณ์สงบแล้ว ให้สติจดจ่ออยู่ที่ฐานเดิมเช่นนั้น เมื่อมีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น ก็ให้ละอารมณ์นั้นทิ้งไป มาดูที่จิตต่อไปอีก ไม่ต้องกังวลใจ พยายามประคับประคองรักษาให้จิตอยู่ในฐานที่ตั้งเสมอๆ สติคอยกำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อยู่) ไม่ต้องวิจารณ์กิริยาจิตใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงกำหนดรู้แล้วละไปเท่านั้น เป็นไปเช่นนี้เรื่อยๆ ก็จะค่อยๆ เข้าใจกิริยาหรือพฤติแห่งจิตได้เอง (จิตปรุงกิเลส หรือ กิเลสปรุงจิต) ทำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคิด สังเกตอารมณ์ทั้งสาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ ๓. อย่าส่งจิตออกนอก กำหนดรู้อยู่ในอารมณ์เดียวเท่านั้น อย่าให้ซัดส่ายไปในอารมณ์ภายนอก เมื่อจิตเผลอคิดไปก็ให้ตั้งสติระลึกถึงฐานกำหนดเดิม รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่เสมอ (รูปนิมิตให้ยกไว้ ส่วนนามนิมิตทั้งหลายอย่าได้ใส่ใจกับมัน) ระวัง จิตไม่ให้คิดเรื่องภายนอก สังเกตการหวั่นไหวของจิตตามอารมณ์ที่รับมาทางอายตนะ ๖ ๔. จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป เมื่อเราสังเกตกิริยาจิตไปเรื่อย ๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ได้แล้ว จิตก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรื่อยๆ จนจิตว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระ อยู่ต่างหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานกำหนดเดิมนั่นเอง การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ คิดเท่าไหร่ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด ๕. แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เมื่อสามารถเข้าใจได้ว่า จิต กับ กาย อยู่คนละส่วนได้แล้ว ให้ดูที่จิตต่อไปว่า ยังมีอะไรหลงเหลืออยู่ที่ฐานที่กำหนด (จิต) อีกหรือไม่ พยายามให้สติสังเกตดูที่ จิต ทำความสงบอยู่ใน จิต ไปเรื่อยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติของจิต ได้อย่างละเอียดลออตามขั้นตอน เข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผลกันว่า เกิดจากความคิดมันออกไปจากจิตนี่เอง ไปหาปรุงหาแต่ง หาก่อ หาเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด มันเป็นมายาหลอกลวงให้คนหลง แล้วจิตก็จะเพิกถอนสิ่งที่มีอยู่ในจิตไปเรื่อยๆ จนหมด หมายถึงเจริญจิตจนสามารถเพิกรูปปรมาณูวิญญาณที่เล็กที่สุดภายในจิตได้ คำว่า แยกรูปถอด นั้น หมายความถึง แยกรูปวิญญาณ นั่นเอง ๖. เหตุต้องละ ผลต้องละ เมื่อเจริญจิตจนปราศจากความคิดปรุงแต่งได้แล้ว (ว่าง) ก็ไม่ ต้องอิงอาศัยกับกฎเกณฑ์แห่งความเป็นเหตุเป็นผลใด ๆ ทั้งสิ้น จิตก็อยู่เหนือภาวะแห่งคลองความคิดนึกต่างๆ อยู่เป็นอิสระ ปราศจากสิ่งใดๆ ครอบงำอำพรางทั้งสิ้น เรียกว่า "สมุจเฉทธรรมทั้งปวง" ๗. ใช้หนี้--ก็หมด พ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปในเบื้องหน้า การเพิ่มหนี้ก็เป็นอันสะดุดหยุดลง เหตุปัจจัยภายนอกภายในที่มากระทบ ก็เป็นสักแต่ว่ามากระทบ ไม่มีผลสืบเนื่องต่อไป หนี้กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ตั้งแต่ชาติแรก ก็เป็นอันได้รับการชดใช้หมดสิ้น หมดเรื่องหมดราวหมดพันธะผูกพันที่จะต้องเกิดมาใช้หนี้กรรมกันอีก เพราะ กรรมชั่วอันเป็นเหตุให้ต้องเกิดอีก ไม่อาจให้ผลต่อไปได้ เรียกว่า "พ้นเหตุเกิด" ๘. ผู้ที่ตรัสรู้แล้ว เขาไม่พูดหรอกว่า เขารู้อะไร เมื่อธรรมทั้งหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว สิ่งที่เรียกว่า ธรรม จะเป็นธรรมไปได้อย่างไร สิ่งที่ว่า ไม่มีธรรม นั่นแหละมันเป็นธรรมของมันในตัว (ผู้รู้น่ะจริง แต่สิ่งที่รู้ทั้งหลายนั้นไม่จริง) เมื่อจิตว่างจาก "พฤติ" ต่างๆ แล้ว จิตก็จะถึง ความว่างที่แท้จริง ไม่มีอะไรให้สังเกตได้อีกต่อไป จึงทราบได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว จิตนั้นไม่มีรูปร่าง มันรวมอยู่กับความว่าง ในความว่างนั้น ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ซาบซึมอยู่ในสิ่งทุกๆ สิ่ง และจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน และเป็นความว่าง ก็ย่อมไม่มีอะไรที่จะให้อะไรหรือให้ใครรู้ถึง ไม่มีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรู้ความมีความเป็นของอะไร เมื่อเจริญจิตจนเข้าถึงสภาวะเดิมแท้ของมันได้ดังนี้แล้ว "จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง" จิตก็จะอยู่เหนือสภาวะสมมุติบัญญัติทั้งปวง เหนือความมีความเป็นทั้งปวง มันอยู่เหนือคำพูด และพ้นไปจากการกล่าวอ้างใดๆ ทั้งสิ้น เป็นธรรมชาติอันบริสุทธิ์และสว่าง รวมกันเข้ากับความว่างอันบริสุทธิ์และสว่างของ จักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า "นิพพาน" โดยปกติ คำสอนธรรมะของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล นั้น เป็นแบบ "ปริศนาธรรม" มิใช่เป็นการบรรยายธรรม ฉะนั้น คำสอนของท่านจึงสั้น จำกัดในความหมายของธรรม เพื่อไม่ให้เฝือหรือฟุ่มเฟือยมากนัก เพราะจะทำให้สับสน เมื่อผู้ใดเป็นผู้ปฏิบัติธรรม เขาย่อมเข้าใจได้เองว่า กิริยาอาการของจิตที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายหลายอย่าง ยากที่จะอธิบายให้ได้หมด ด้วยเหตุนั้น หลวงปู่ท่านจึงใช้คำว่า "พฤติของจิต" แทนกิริยาทั้งหลายเหล่านั้น คำว่า "ดูจิต อย่าส่งจิตออกนอก ทำญาณให้เห็นจิต" เหล่านี้ ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพื่ออธิบายให้เป็นขั้นตอน จึงจัดเรียงให้ดูง่ายเท่านั้น หาได้จัดเรียงไปตามลำดับกระแสการเจริญจิตแต่อย่างใดไม่ ท่านผู้มีจิตศรัทธาในทางปฏิบัติ เมื่อเจริญจิตภาวนาตามคำสอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏิบัติในแนวนี้ ผู้ปฏิบัติจะค่อยๆ มีความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเองเป็นลำดับๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสังเกตและกำหนดรู้ "พฤติแห่งจิต" อยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าหากเกิดปัญหาในระหว่างการปฏิบัติ ควรรีบเข้าหาครูบาอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาธุระโดยเร็ว หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลัง เพราะคำว่า "มรรคปฏิปทา" นั้น จะต้องอยู่ใน "มรรคจิต" เท่านั้น มิใช่มรรคภายนอกต่างๆ นานาเลย การเจริญจิตเข้าสู่ที่สุดแห่งทุกข์นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วย วิสุทธิศีล วิสุทธิธรรม พร้อมทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ จึงจะยังกิจให้ลุล่วงถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้
ความตรัสรู้คือความไม่มีอะไรให้ระลึกถึง ผู้ถึงได้ก็ไม่พูดแล้ววิธีเจริญจิตภาวนา วิธีเจริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ๑. เริ่มต้นอริยาบถที่สบาย ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คือ รู้ตัว อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อยๆ ให้ "รู้อยู่เฉยๆ" ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่างๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้นๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อยๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอรักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อๆ ไป ในกรณีที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ ให้ลองนึกคำว่า "พุทโธ" หรือคำอะไรก็ได้ที่ไม่เป็นเหตุเย้ายวน หรือเป็นเหตุขัดเคืองใจ นึกไปเรื่อยๆ แล้วสังเกตดูว่า คำที่นึกนั้น ชัดที่สุดที่ตรงไหน ที่ตรงนั้นแหละคือฐานแห่งจิต พึงสังเกตว่า ฐานนี้ไม่อยู่คงที่ตลอดกาล บางวันอยู่ที่หนึ่ง บางวันอยู่อีกที่หนึ่ง ฐานแห่งจิตที่คำนึงพุทโธปรากฏชัดที่สุดนี้ ย่อมไม่อยู่ภายนอกกายแน่นอน ต้องอยู่ภายในกายแน่ แต่เมื่อพิจารณาดูให้ดีแล้ว จะเห็นว่าฐานนี้จะว่าอยู่ที่ส่วนไหนของร่างกายก็ไม่ถูก ดังนั้น จะว่าอยู่ภายนอกก็ไม่ใช่ จะว่าอยู่ภายในก็ไม่เชิง เมื่อเป็นเช่นนี้ แสดงว่าได้กำหนดถูกฐานแห่งจิตแล้ว เมื่อกำหนดถูก และพุทโธปรากฏในมโนนึกชัดเจนดี ก็ให้กำหนดนึกไปเรื่อย อย่าให้ขาดสายได้ ถ้าขาดสายเมื่อใด จิตก็จะแล่นสู่อารมณ์ทันที เมื่อเสวยอารมณ์อิ่มแล้ว จึงจะรู้สึกตัวเองก็ค่อยๆ นึกพุทโธต่อไป ด้วยอุบายวิธีในทำนองเดียวกับที่กล่าวไว้เบื้องต้น ในที่สุดก็จะค่อยๆ ควบคุมจิตให้อยู่ในอำนาจได้เอง ข้อควรจำ ในการกำหนดจิตนั้น ต้องมีเจตจำนงแน่วแน่ ในอันที่จะเจริญจิตให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการ เจตจำนงนี้ คือ ตัว "ศีล" การบริกรรม "พุทโธ" เปล่าๆ โดยไร้เจตจำนงไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย กลับเป็นเครื่องบั่นทอนความเพียร ทำลายกำลังใจในการเจริญจิตในคราวต่อๆ ไป แต่ถ้าเจตจำนงมั่นคง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครั้งไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน ดังนั้น ในการนึก พุทโธ การเพ่งเล็งสอดส่อง ถึงความชัดเจน และความไม่ขาดสายของพุทโธ จะต้องเป็นไปด้วยความไม่ลดละ เจตจำนงที่มีอยู่อย่างไม่ลดละนี้ หลวงปู่เคย เปรียบไว้ว่า มีลักษณาการประหนึ่งบุรุษหนึ่งจดจ้องสายตาอยู่ที่คมดาบที่ข้าศึกเงื้อขึ้นสุดแขนพร้อมที่จะฟันลงมา บุรุษผู้นั้นจดจ้องคอยทีอยู่ว่า ถ้าคมดาบนั้นฟาดฟันลงมา ตนจะหลบหนีประการใดจึงจะพ้นอันตราย เจตจำนงต้องแน่วแน่เห็นปานนี้ จึงจะยังสมาธิให้บังเกิดได้ ไม่เช่นนั้นอย่าทำให้เสียเวลา และบั่นทอนความศรัทธาตนเองเลย เมื่อจิตค่อยๆ หยั่งลงสู่ความสงบทีละน้อย ๆ อาการที่จิตแล่นไปสู่อารมณ์ภายนอก ก็ค่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถึงไปก็ไปประเดี๋ยวประด๋าว ก็รู้สึกตัวได้เร็ว ถึงตอนนี้คำบริกรรมพุทโธ ก็จะขาดไปเอง เพราะคำบริกรรมนั้นเป็นอารมณ์หยาบ เมื่อจิตล่วงพ้นอารมณ์หยาบ และคำบริกรรมขาดไปแล้ว ไม่ต้องย้อนถอยมาบริกรรมอีก เพียงรักษาจิตไว้ในฐานที่กำหนดเดิมไปเรื่อยๆ และสังเกตดูความรู้สึกและ "พฤติแห่งจิต" ที่ฐานนั้น ๆ บริกรรมเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง สังเกตดูว่า ใครเป็นผู้บริกรรมพุทโธ ๒. ดูจิตเมื่ออารมณ์สงบแล้ว ให้สติจดจ่ออยู่ที่ฐานเดิมเช่นนั้น เมื่อมีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น ก็ให้ละอารมณ์นั้นทิ้งไป มาดูที่จิตต่อไปอีก ไม่ต้องกังวลใจ พยายามประคับประคองรักษาให้จิตอยู่ในฐานที่ตั้งเสมอๆ สติคอยกำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อยู่) ไม่ต้องวิจารณ์กิริยาจิตใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงกำหนดรู้แล้วละไปเท่านั้น เป็นไปเช่นนี้เรื่อยๆ ก็จะค่อยๆ เข้าใจกิริยาหรือพฤติแห่งจิตได้เอง (จิตปรุงกิเลส หรือ กิเลสปรุงจิต) ทำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคิด สังเกตอารมณ์ทั้งสาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ ๓. อย่าส่งจิตออกนอก กำหนดรู้อยู่ในอารมณ์เดียวเท่านั้น อย่าให้ซัดส่ายไปในอารมณ์ภายนอก เมื่อจิตเผลอคิดไปก็ให้ตั้งสติระลึกถึงฐานกำหนดเดิม รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่เสมอ (รูปนิมิตให้ยกไว้ ส่วนนามนิมิตทั้งหลายอย่าได้ใส่ใจกับมัน) ระวัง จิตไม่ให้คิดเรื่องภายนอก สังเกตการหวั่นไหวของจิตตามอารมณ์ที่รับมาทางอายตนะ ๖ ๔. จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป เมื่อเราสังเกตกิริยาจิตไปเรื่อย ๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ได้แล้ว จิตก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรื่อยๆ จนจิตว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระ อยู่ต่างหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานกำหนดเดิมนั่นเอง การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ คิดเท่าไหร่ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด ๕. แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เมื่อสามารถเข้าใจได้ว่า จิต กับ กาย อยู่คนละส่วนได้แล้ว ให้ดูที่จิตต่อไปว่า ยังมีอะไรหลงเหลืออยู่ที่ฐานที่กำหนด (จิต) อีกหรือไม่ พยายามให้สติสังเกตดูที่ จิต ทำความสงบอยู่ใน จิต ไปเรื่อยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติของจิต ได้อย่างละเอียดลออตามขั้นตอน เข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผลกันว่า เกิดจากความคิดมันออกไปจากจิตนี่เอง ไปหาปรุงหาแต่ง หาก่อ หาเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด มันเป็นมายาหลอกลวงให้คนหลง แล้วจิตก็จะเพิกถอนสิ่งที่มีอยู่ในจิตไปเรื่อยๆ จนหมด หมายถึงเจริญจิตจนสามารถเพิกรูปปรมาณูวิญญาณที่เล็กที่สุดภายในจิตได้ คำว่า แยกรูปถอด นั้น หมายความถึง แยกรูปวิญญาณ นั่นเอง ๖. เหตุต้องละ ผลต้องละ เมื่อเจริญจิตจนปราศจากความคิดปรุงแต่งได้แล้ว (ว่าง) ก็ไม่ ต้องอิงอาศัยกับกฎเกณฑ์แห่งความเป็นเหตุเป็นผลใด ๆ ทั้งสิ้น จิตก็อยู่เหนือภาวะแห่งคลองความคิดนึกต่างๆ อยู่เป็นอิสระ ปราศจากสิ่งใดๆ ครอบงำอำพรางทั้งสิ้น เรียกว่า "สมุจเฉทธรรมทั้งปวง" ๗. ใช้หนี้--ก็หมด พ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปในเบื้องหน้า การเพิ่มหนี้ก็เป็นอันสะดุดหยุดลง เหตุปัจจัยภายนอกภายในที่มากระทบ ก็เป็นสักแต่ว่ามากระทบ ไม่มีผลสืบเนื่องต่อไป หนี้กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ตั้งแต่ชาติแรก ก็เป็นอันได้รับการชดใช้หมดสิ้น หมดเรื่องหมดราวหมดพันธะผูกพันที่จะต้องเกิดมาใช้หนี้กรรมกันอีก เพราะ กรรมชั่วอันเป็นเหตุให้ต้องเกิดอีก ไม่อาจให้ผลต่อไปได้ เรียกว่า "พ้นเหตุเกิด" ๘. ผู้ที่ตรัสรู้แล้ว เขาไม่พูดหรอกว่า เขารู้อะไร เมื่อธรรมทั้งหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว สิ่งที่เรียกว่า ธรรม จะเป็นธรรมไปได้อย่างไร สิ่งที่ว่า ไม่มีธรรม นั่นแหละมันเป็นธรรมของมันในตัว (ผู้รู้น่ะจริง แต่สิ่งที่รู้ทั้งหลายนั้นไม่จริง) เมื่อจิตว่างจาก "พฤติ" ต่างๆ แล้ว จิตก็จะถึง ความว่างที่แท้จริง ไม่มีอะไรให้สังเกตได้อีกต่อไป จึงทราบได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว จิตนั้นไม่มีรูปร่าง มันรวมอยู่กับความว่าง ในความว่างนั้น ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ซาบซึมอยู่ในสิ่งทุกๆ สิ่ง และจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน และเป็นความว่าง ก็ย่อมไม่มีอะไรที่จะให้อะไรหรือให้ใครรู้ถึง ไม่มีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรู้ความมีความเป็นของอะไร เมื่อเจริญจิตจนเข้าถึงสภาวะเดิมแท้ของมันได้ดังนี้แล้ว "จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง" จิตก็จะอยู่เหนือสภาวะสมมุติบัญญัติทั้งปวง เหนือความมีความเป็นทั้งปวง มันอยู่เหนือคำพูด และพ้นไปจากการกล่าวอ้างใดๆ ทั้งสิ้น เป็นธรรมชาติอันบริสุทธิ์และสว่าง รวมกันเข้ากับความว่างอันบริสุทธิ์และสว่างของ จักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า "นิพพาน" โดยปกติ คำสอนธรรมะของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล นั้น เป็นแบบ "ปริศนาธรรม" มิใช่เป็นการบรรยายธรรม ฉะนั้น คำสอนของท่านจึงสั้น จำกัดในความหมายของธรรม เพื่อไม่ให้เฝือหรือฟุ่มเฟือยมากนัก เพราะจะทำให้สับสน เมื่อผู้ใดเป็นผู้ปฏิบัติธรรม เขาย่อมเข้าใจได้เองว่า กิริยาอาการของจิตที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายหลายอย่าง ยากที่จะอธิบายให้ได้หมด ด้วยเหตุนั้น หลวงปู่ท่านจึงใช้คำว่า "พฤติของจิต" แทนกิริยาทั้งหลายเหล่านั้น คำว่า "ดูจิต อย่าส่งจิตออกนอก ทำญาณให้เห็นจิต" เหล่านี้ ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพื่ออธิบายให้เป็นขั้นตอน จึงจัดเรียงให้ดูง่ายเท่านั้น หาได้จัดเรียงไปตามลำดับกระแสการเจริญจิตแต่อย่างใดไม่ ท่านผู้มีจิตศรัทธาในทางปฏิบัติ เมื่อเจริญจิตภาวนาตามคำสอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏิบัติในแนวนี้ ผู้ปฏิบัติจะค่อยๆ มีความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเองเป็นลำดับๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสังเกตและกำหนดรู้ "พฤติแห่งจิต" อยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าหากเกิดปัญหาในระหว่างการปฏิบัติ ควรรีบเข้าหาครูบาอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาธุระโดยเร็ว หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลัง เพราะคำว่า "มรรคปฏิปทา" นั้น จะต้องอยู่ใน "มรรคจิต" เท่านั้น มิใช่มรรคภายนอกต่างๆ นานาเลย การเจริญจิตเข้าสู่ที่สุดแห่งทุกข์นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วย วิสุทธิศีล วิสุทธิธรรม พร้อมทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ จึงจะยังกิจให้ลุล่วงถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้
ความประพฤติของพระโพธิสัตว์วิธีเจริญจิตภาวนา วิธีเจริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ๑. เริ่มต้นอริยาบถที่สบาย ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คือ รู้ตัว อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อยๆ ให้ "รู้อยู่เฉยๆ" ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่างๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้นๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อยๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอรักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อๆ ไป ในกรณีที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ ให้ลองนึกคำว่า "พุทโธ" หรือคำอะไรก็ได้ที่ไม่เป็นเหตุเย้ายวน หรือเป็นเหตุขัดเคืองใจ นึกไปเรื่อยๆ แล้วสังเกตดูว่า คำที่นึกนั้น ชัดที่สุดที่ตรงไหน ที่ตรงนั้นแหละคือฐานแห่งจิต พึงสังเกตว่า ฐานนี้ไม่อยู่คงที่ตลอดกาล บางวันอยู่ที่หนึ่ง บางวันอยู่อีกที่หนึ่ง ฐานแห่งจิตที่คำนึงพุทโธปรากฏชัดที่สุดนี้ ย่อมไม่อยู่ภายนอกกายแน่นอน ต้องอยู่ภายในกายแน่ แต่เมื่อพิจารณาดูให้ดีแล้ว จะเห็นว่าฐานนี้จะว่าอยู่ที่ส่วนไหนของร่างกายก็ไม่ถูก ดังนั้น จะว่าอยู่ภายนอกก็ไม่ใช่ จะว่าอยู่ภายในก็ไม่เชิง เมื่อเป็นเช่นนี้ แสดงว่าได้กำหนดถูกฐานแห่งจิตแล้ว เมื่อกำหนดถูก และพุทโธปรากฏในมโนนึกชัดเจนดี ก็ให้กำหนดนึกไปเรื่อย อย่าให้ขาดสายได้ ถ้าขาดสายเมื่อใด จิตก็จะแล่นสู่อารมณ์ทันที เมื่อเสวยอารมณ์อิ่มแล้ว จึงจะรู้สึกตัวเองก็ค่อยๆ นึกพุทโธต่อไป ด้วยอุบายวิธีในทำนองเดียวกับที่กล่าวไว้เบื้องต้น ในที่สุดก็จะค่อยๆ ควบคุมจิตให้อยู่ในอำนาจได้เอง ข้อควรจำ ในการกำหนดจิตนั้น ต้องมีเจตจำนงแน่วแน่ ในอันที่จะเจริญจิตให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการ เจตจำนงนี้ คือ ตัว "ศีล" การบริกรรม "พุทโธ" เปล่าๆ โดยไร้เจตจำนงไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย กลับเป็นเครื่องบั่นทอนความเพียร ทำลายกำลังใจในการเจริญจิตในคราวต่อๆ ไป แต่ถ้าเจตจำนงมั่นคง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครั้งไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน ดังนั้น ในการนึก พุทโธ การเพ่งเล็งสอดส่อง ถึงความชัดเจน และความไม่ขาดสายของพุทโธ จะต้องเป็นไปด้วยความไม่ลดละ เจตจำนงที่มีอยู่อย่างไม่ลดละนี้ หลวงปู่เคย เปรียบไว้ว่า มีลักษณาการประหนึ่งบุรุษหนึ่งจดจ้องสายตาอยู่ที่คมดาบที่ข้าศึกเงื้อขึ้นสุดแขนพร้อมที่จะฟันลงมา บุรุษผู้นั้นจดจ้องคอยทีอยู่ว่า ถ้าคมดาบนั้นฟาดฟันลงมา ตนจะหลบหนีประการใดจึงจะพ้นอันตราย เจตจำนงต้องแน่วแน่เห็นปานนี้ จึงจะยังสมาธิให้บังเกิดได้ ไม่เช่นนั้นอย่าทำให้เสียเวลา และบั่นทอนความศรัทธาตนเองเลย เมื่อจิตค่อยๆ หยั่งลงสู่ความสงบทีละน้อย ๆ อาการที่จิตแล่นไปสู่อารมณ์ภายนอก ก็ค่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถึงไปก็ไปประเดี๋ยวประด๋าว ก็รู้สึกตัวได้เร็ว ถึงตอนนี้คำบริกรรมพุทโธ ก็จะขาดไปเอง เพราะคำบริกรรมนั้นเป็นอารมณ์หยาบ เมื่อจิตล่วงพ้นอารมณ์หยาบ และคำบริกรรมขาดไปแล้ว ไม่ต้องย้อนถอยมาบริกรรมอีก เพียงรักษาจิตไว้ในฐานที่กำหนดเดิมไปเรื่อยๆ และสังเกตดูความรู้สึกและ "พฤติแห่งจิต" ที่ฐานนั้น ๆ บริกรรมเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง สังเกตดูว่า ใครเป็นผู้บริกรรมพุทโธ ๒. ดูจิตเมื่ออารมณ์สงบแล้ว ให้สติจดจ่ออยู่ที่ฐานเดิมเช่นนั้น เมื่อมีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น ก็ให้ละอารมณ์นั้นทิ้งไป มาดูที่จิตต่อไปอีก ไม่ต้องกังวลใจ พยายามประคับประคองรักษาให้จิตอยู่ในฐานที่ตั้งเสมอๆ สติคอยกำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อยู่) ไม่ต้องวิจารณ์กิริยาจิตใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงกำหนดรู้แล้วละไปเท่านั้น เป็นไปเช่นนี้เรื่อยๆ ก็จะค่อยๆ เข้าใจกิริยาหรือพฤติแห่งจิตได้เอง (จิตปรุงกิเลส หรือ กิเลสปรุงจิต) ทำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคิด สังเกตอารมณ์ทั้งสาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ ๓. อย่าส่งจิตออกนอก กำหนดรู้อยู่ในอารมณ์เดียวเท่านั้น อย่าให้ซัดส่ายไปในอารมณ์ภายนอก เมื่อจิตเผลอคิดไปก็ให้ตั้งสติระลึกถึงฐานกำหนดเดิม รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่เสมอ (รูปนิมิตให้ยกไว้ ส่วนนามนิมิตทั้งหลายอย่าได้ใส่ใจกับมัน) ระวัง จิตไม่ให้คิดเรื่องภายนอก สังเกตการหวั่นไหวของจิตตามอารมณ์ที่รับมาทางอายตนะ ๖ ๔. จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป เมื่อเราสังเกตกิริยาจิตไปเรื่อย ๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ได้แล้ว จิตก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรื่อยๆ จนจิตว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระ อยู่ต่างหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานกำหนดเดิมนั่นเอง การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ คิดเท่าไหร่ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด ๕. แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เมื่อสามารถเข้าใจได้ว่า จิต กับ กาย อยู่คนละส่วนได้แล้ว ให้ดูที่จิตต่อไปว่า ยังมีอะไรหลงเหลืออยู่ที่ฐานที่กำหนด (จิต) อีกหรือไม่ พยายามให้สติสังเกตดูที่ จิต ทำความสงบอยู่ใน จิต ไปเรื่อยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติของจิต ได้อย่างละเอียดลออตามขั้นตอน เข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผลกันว่า เกิดจากความคิดมันออกไปจากจิตนี่เอง ไปหาปรุงหาแต่ง หาก่อ หาเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด มันเป็นมายาหลอกลวงให้คนหลง แล้วจิตก็จะเพิกถอนสิ่งที่มีอยู่ในจิตไปเรื่อยๆ จนหมด หมายถึงเจริญจิตจนสามารถเพิกรูปปรมาณูวิญญาณที่เล็กที่สุดภายในจิตได้ คำว่า แยกรูปถอด นั้น หมายความถึง แยกรูปวิญญาณ นั่นเอง ๖. เหตุต้องละ ผลต้องละ เมื่อเจริญจิตจนปราศจากความคิดปรุงแต่งได้แล้ว (ว่าง) ก็ไม่ ต้องอิงอาศัยกับกฎเกณฑ์แห่งความเป็นเหตุเป็นผลใด ๆ ทั้งสิ้น จิตก็อยู่เหนือภาวะแห่งคลองความคิดนึกต่างๆ อยู่เป็นอิสระ ปราศจากสิ่งใดๆ ครอบงำอำพรางทั้งสิ้น เรียกว่า "สมุจเฉทธรรมทั้งปวง" ๗. ใช้หนี้--ก็หมด พ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปในเบื้องหน้า การเพิ่มหนี้ก็เป็นอันสะดุดหยุดลง เหตุปัจจัยภายนอกภายในที่มากระทบ ก็เป็นสักแต่ว่ามากระทบ ไม่มีผลสืบเนื่องต่อไป หนี้กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ตั้งแต่ชาติแรก ก็เป็นอันได้รับการชดใช้หมดสิ้น หมดเรื่องหมดราวหมดพันธะผูกพันที่จะต้องเกิดมาใช้หนี้กรรมกันอีก เพราะ กรรมชั่วอันเป็นเหตุให้ต้องเกิดอีก ไม่อาจให้ผลต่อไปได้ เรียกว่า "พ้นเหตุเกิด" ๘. ผู้ที่ตรัสรู้แล้ว เขาไม่พูดหรอกว่า เขารู้อะไร เมื่อธรรมทั้งหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว สิ่งที่เรียกว่า ธรรม จะเป็นธรรมไปได้อย่างไร สิ่งที่ว่า ไม่มีธรรม นั่นแหละมันเป็นธรรมของมันในตัว (ผู้รู้น่ะจริง แต่สิ่งที่รู้ทั้งหลายนั้นไม่จริง) เมื่อจิตว่างจาก "พฤติ" ต่างๆ แล้ว จิตก็จะถึง ความว่างที่แท้จริง ไม่มีอะไรให้สังเกตได้อีกต่อไป จึงทราบได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว จิตนั้นไม่มีรูปร่าง มันรวมอยู่กับความว่าง ในความว่างนั้น ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ซาบซึมอยู่ในสิ่งทุกๆ สิ่ง และจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน และเป็นความว่าง ก็ย่อมไม่มีอะไรที่จะให้อะไรหรือให้ใครรู้ถึง ไม่มีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรู้ความมีความเป็นของอะไร เมื่อเจริญจิตจนเข้าถึงสภาวะเดิมแท้ของมันได้ดังนี้แล้ว "จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง" จิตก็จะอยู่เหนือสภาวะสมมุติบัญญัติทั้งปวง เหนือความมีความเป็นทั้งปวง มันอยู่เหนือคำพูด และพ้นไปจากการกล่าวอ้างใดๆ ทั้งสิ้น เป็นธรรมชาติอันบริสุทธิ์และสว่าง รวมกันเข้ากับความว่างอันบริสุทธิ์และสว่างของ จักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า "นิพพาน" โดยปกติ คำสอนธรรมะของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล นั้น เป็นแบบ "ปริศนาธรรม" มิใช่เป็นการบรรยายธรรม ฉะนั้น คำสอนของท่านจึงสั้น จำกัดในความหมายของธรรม เพื่อไม่ให้เฝือหรือฟุ่มเฟือยมากนัก เพราะจะทำให้สับสน เมื่อผู้ใดเป็นผู้ปฏิบัติธรรม เขาย่อมเข้าใจได้เองว่า กิริยาอาการของจิตที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายหลายอย่าง ยากที่จะอธิบายให้ได้หมด ด้วยเหตุนั้น หลวงปู่ท่านจึงใช้คำว่า "พฤติของจิต" แทนกิริยาทั้งหลายเหล่านั้น คำว่า "ดูจิต อย่าส่งจิตออกนอก ทำญาณให้เห็นจิต" เหล่านี้ ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพื่ออธิบายให้เป็นขั้นตอน จึงจัดเรียงให้ดูง่ายเท่านั้น หาได้จัดเรียงไปตามลำดับกระแสการเจริญจิตแต่อย่างใดไม่ ท่านผู้มีจิตศรัทธาในทางปฏิบัติ เมื่อเจริญจิตภาวนาตามคำสอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏิบัติในแนวนี้ ผู้ปฏิบัติจะค่อยๆ มีความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเองเป็นลำดับๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสังเกตและกำหนดรู้ "พฤติแห่งจิต" อยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าหากเกิดปัญหาในระหว่างการปฏิบัติ ควรรีบเข้าหาครูบาอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาธุระโดยเร็ว หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลัง เพราะคำว่า "มรรคปฏิปทา" นั้น จะต้องอยู่ใน "มรรคจิต" เท่านั้น มิใช่มรรคภายนอกต่างๆ นานาเลย การเจริญจิตเข้าสู่ที่สุดแห่งทุกข์นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วย วิสุทธิศีล วิสุทธิธรรม พร้อมทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ จึงจะยังกิจให้ลุล่วงถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้
เราจะรู้ แจ้งในจิตของเราได้ใน แวบเดียววิธีเจริญจิตภาวนา วิธีเจริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ๑. เริ่มต้นอริยาบถที่สบาย ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คือ รู้ตัว อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อยๆ ให้ "รู้อยู่เฉยๆ" ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่างๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้นๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อยๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอรักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อๆ ไป ในกรณีที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ ให้ลองนึกคำว่า "พุทโธ" หรือคำอะไรก็ได้ที่ไม่เป็นเหตุเย้ายวน หรือเป็นเหตุขัดเคืองใจ นึกไปเรื่อยๆ แล้วสังเกตดูว่า คำที่นึกนั้น ชัดที่สุดที่ตรงไหน ที่ตรงนั้นแหละคือฐานแห่งจิต พึงสังเกตว่า ฐานนี้ไม่อยู่คงที่ตลอดกาล บางวันอยู่ที่หนึ่ง บางวันอยู่อีกที่หนึ่ง ฐานแห่งจิตที่คำนึงพุทโธปรากฏชัดที่สุดนี้ ย่อมไม่อยู่ภายนอกกายแน่นอน ต้องอยู่ภายในกายแน่ แต่เมื่อพิจารณาดูให้ดีแล้ว จะเห็นว่าฐานนี้จะว่าอยู่ที่ส่วนไหนของร่างกายก็ไม่ถูก ดังนั้น จะว่าอยู่ภายนอกก็ไม่ใช่ จะว่าอยู่ภายในก็ไม่เชิง เมื่อเป็นเช่นนี้ แสดงว่าได้กำหนดถูกฐานแห่งจิตแล้ว เมื่อกำหนดถูก และพุทโธปรากฏในมโนนึกชัดเจนดี ก็ให้กำหนดนึกไปเรื่อย อย่าให้ขาดสายได้ ถ้าขาดสายเมื่อใด จิตก็จะแล่นสู่อารมณ์ทันที เมื่อเสวยอารมณ์อิ่มแล้ว จึงจะรู้สึกตัวเองก็ค่อยๆ นึกพุทโธต่อไป ด้วยอุบายวิธีในทำนองเดียวกับที่กล่าวไว้เบื้องต้น ในที่สุดก็จะค่อยๆ ควบคุมจิตให้อยู่ในอำนาจได้เอง ข้อควรจำ ในการกำหนดจิตนั้น ต้องมีเจตจำนงแน่วแน่ ในอันที่จะเจริญจิตให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการ เจตจำนงนี้ คือ ตัว "ศีล" การบริกรรม "พุทโธ" เปล่าๆ โดยไร้เจตจำนงไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย กลับเป็นเครื่องบั่นทอนความเพียร ทำลายกำลังใจในการเจริญจิตในคราวต่อๆ ไป แต่ถ้าเจตจำนงมั่นคง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครั้งไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน ดังนั้น ในการนึก พุทโธ การเพ่งเล็งสอดส่อง ถึงความชัดเจน และความไม่ขาดสายของพุทโธ จะต้องเป็นไปด้วยความไม่ลดละ เจตจำนงที่มีอยู่อย่างไม่ลดละนี้ หลวงปู่เคย เปรียบไว้ว่า มีลักษณาการประหนึ่งบุรุษหนึ่งจดจ้องสายตาอยู่ที่คมดาบที่ข้าศึกเงื้อขึ้นสุดแขนพร้อมที่จะฟันลงมา บุรุษผู้นั้นจดจ้องคอยทีอยู่ว่า ถ้าคมดาบนั้นฟาดฟันลงมา ตนจะหลบหนีประการใดจึงจะพ้นอันตราย เจตจำนงต้องแน่วแน่เห็นปานนี้ จึงจะยังสมาธิให้บังเกิดได้ ไม่เช่นนั้นอย่าทำให้เสียเวลา และบั่นทอนความศรัทธาตนเองเลย เมื่อจิตค่อยๆ หยั่งลงสู่ความสงบทีละน้อย ๆ อาการที่จิตแล่นไปสู่อารมณ์ภายนอก ก็ค่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถึงไปก็ไปประเดี๋ยวประด๋าว ก็รู้สึกตัวได้เร็ว ถึงตอนนี้คำบริกรรมพุทโธ ก็จะขาดไปเอง เพราะคำบริกรรมนั้นเป็นอารมณ์หยาบ เมื่อจิตล่วงพ้นอารมณ์หยาบ และคำบริกรรมขาดไปแล้ว ไม่ต้องย้อนถอยมาบริกรรมอีก เพียงรักษาจิตไว้ในฐานที่กำหนดเดิมไปเรื่อยๆ และสังเกตดูความรู้สึกและ "พฤติแห่งจิต" ที่ฐานนั้น ๆ บริกรรมเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง สังเกตดูว่า ใครเป็นผู้บริกรรมพุทโธ ๒. ดูจิตเมื่ออารมณ์สงบแล้ว ให้สติจดจ่ออยู่ที่ฐานเดิมเช่นนั้น เมื่อมีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น ก็ให้ละอารมณ์นั้นทิ้งไป มาดูที่จิตต่อไปอีก ไม่ต้องกังวลใจ พยายามประคับประคองรักษาให้จิตอยู่ในฐานที่ตั้งเสมอๆ สติคอยกำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อยู่) ไม่ต้องวิจารณ์กิริยาจิตใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงกำหนดรู้แล้วละไปเท่านั้น เป็นไปเช่นนี้เรื่อยๆ ก็จะค่อยๆ เข้าใจกิริยาหรือพฤติแห่งจิตได้เอง (จิตปรุงกิเลส หรือ กิเลสปรุงจิต) ทำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคิด สังเกตอารมณ์ทั้งสาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ ๓. อย่าส่งจิตออกนอก กำหนดรู้อยู่ในอารมณ์เดียวเท่านั้น อย่าให้ซัดส่ายไปในอารมณ์ภายนอก เมื่อจิตเผลอคิดไปก็ให้ตั้งสติระลึกถึงฐานกำหนดเดิม รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่เสมอ (รูปนิมิตให้ยกไว้ ส่วนนามนิมิตทั้งหลายอย่าได้ใส่ใจกับมัน) ระวัง จิตไม่ให้คิดเรื่องภายนอก สังเกตการหวั่นไหวของจิตตามอารมณ์ที่รับมาทางอายตนะ ๖ ๔. จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป เมื่อเราสังเกตกิริยาจิตไปเรื่อย ๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ได้แล้ว จิตก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรื่อยๆ จนจิตว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระ อยู่ต่างหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานกำหนดเดิมนั่นเอง การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ คิดเท่าไหร่ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด ๕. แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เมื่อสามารถเข้าใจได้ว่า จิต กับ กาย อยู่คนละส่วนได้แล้ว ให้ดูที่จิตต่อไปว่า ยังมีอะไรหลงเหลืออยู่ที่ฐานที่กำหนด (จิต) อีกหรือไม่ พยายามให้สติสังเกตดูที่ จิต ทำความสงบอยู่ใน จิต ไปเรื่อยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติของจิต ได้อย่างละเอียดลออตามขั้นตอน เข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผลกันว่า เกิดจากความคิดมันออกไปจากจิตนี่เอง ไปหาปรุงหาแต่ง หาก่อ หาเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด มันเป็นมายาหลอกลวงให้คนหลง แล้วจิตก็จะเพิกถอนสิ่งที่มีอยู่ในจิตไปเรื่อยๆ จนหมด หมายถึงเจริญจิตจนสามารถเพิกรูปปรมาณูวิญญาณที่เล็กที่สุดภายในจิตได้ คำว่า แยกรูปถอด นั้น หมายความถึง แยกรูปวิญญาณ นั่นเอง ๖. เหตุต้องละ ผลต้องละ เมื่อเจริญจิตจนปราศจากความคิดปรุงแต่งได้แล้ว (ว่าง) ก็ไม่ ต้องอิงอาศัยกับกฎเกณฑ์แห่งความเป็นเหตุเป็นผลใด ๆ ทั้งสิ้น จิตก็อยู่เหนือภาวะแห่งคลองความคิดนึกต่างๆ อยู่เป็นอิสระ ปราศจากสิ่งใดๆ ครอบงำอำพรางทั้งสิ้น เรียกว่า "สมุจเฉทธรรมทั้งปวง" ๗. ใช้หนี้--ก็หมด พ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปในเบื้องหน้า การเพิ่มหนี้ก็เป็นอันสะดุดหยุดลง เหตุปัจจัยภายนอกภายในที่มากระทบ ก็เป็นสักแต่ว่ามากระทบ ไม่มีผลสืบเนื่องต่อไป หนี้กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ตั้งแต่ชาติแรก ก็เป็นอันได้รับการชดใช้หมดสิ้น หมดเรื่องหมดราวหมดพันธะผูกพันที่จะต้องเกิดมาใช้หนี้กรรมกันอีก เพราะ กรรมชั่วอันเป็นเหตุให้ต้องเกิดอีก ไม่อาจให้ผลต่อไปได้ เรียกว่า "พ้นเหตุเกิด" ๘. ผู้ที่ตรัสรู้แล้ว เขาไม่พูดหรอกว่า เขารู้อะไร เมื่อธรรมทั้งหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว สิ่งที่เรียกว่า ธรรม จะเป็นธรรมไปได้อย่างไร สิ่งที่ว่า ไม่มีธรรม นั่นแหละมันเป็นธรรมของมันในตัว (ผู้รู้น่ะจริง แต่สิ่งที่รู้ทั้งหลายนั้นไม่จริง) เมื่อจิตว่างจาก "พฤติ" ต่างๆ แล้ว จิตก็จะถึง ความว่างที่แท้จริง ไม่มีอะไรให้สังเกตได้อีกต่อไป จึงทราบได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว จิตนั้นไม่มีรูปร่าง มันรวมอยู่กับความว่าง ในความว่างนั้น ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ซาบซึมอยู่ในสิ่งทุกๆ สิ่ง และจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน และเป็นความว่าง ก็ย่อมไม่มีอะไรที่จะให้อะไรหรือให้ใครรู้ถึง ไม่มีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรู้ความมีความเป็นของอะไร เมื่อเจริญจิตจนเข้าถึงสภาวะเดิมแท้ของมันได้ดังนี้แล้ว "จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง" จิตก็จะอยู่เหนือสภาวะสมมุติบัญญัติทั้งปวง เหนือความมีความเป็นทั้งปวง มันอยู่เหนือคำพูด และพ้นไปจากการกล่าวอ้างใดๆ ทั้งสิ้น เป็นธรรมชาติอันบริสุทธิ์และสว่าง รวมกันเข้ากับความว่างอันบริสุทธิ์และสว่างของ จักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า "นิพพาน" โดยปกติ คำสอนธรรมะของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล นั้น เป็นแบบ "ปริศนาธรรม" มิใช่เป็นการบรรยายธรรม ฉะนั้น คำสอนของท่านจึงสั้น จำกัดในความหมายของธรรม เพื่อไม่ให้เฝือหรือฟุ่มเฟือยมากนัก เพราะจะทำให้สับสน เมื่อผู้ใดเป็นผู้ปฏิบัติธรรม เขาย่อมเข้าใจได้เองว่า กิริยาอาการของจิตที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายหลายอย่าง ยากที่จะอธิบายให้ได้หมด ด้วยเหตุนั้น หลวงปู่ท่านจึงใช้คำว่า "พฤติของจิต" แทนกิริยาทั้งหลายเหล่านั้น คำว่า "ดูจิต อย่าส่งจิตออกนอก ทำญาณให้เห็นจิต" เหล่านี้ ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพื่ออธิบายให้เป็นขั้นตอน จึงจัดเรียงให้ดูง่ายเท่านั้น หาได้จัดเรียงไปตามลำดับกระแสการเจริญจิตแต่อย่างใดไม่ ท่านผู้มีจิตศรัทธาในทางปฏิบัติ เมื่อเจริญจิตภาวนาตามคำสอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏิบัติในแนวนี้ ผู้ปฏิบัติจะค่อยๆ มีความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเองเป็นลำดับๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสังเกตและกำหนดรู้ "พฤติแห่งจิต" อยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าหากเกิดปัญหาในระหว่างการปฏิบัติ ควรรีบเข้าหาครูบาอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาธุระโดยเร็ว หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลัง เพราะคำว่า "มรรคปฏิปทา" นั้น จะต้องอยู่ใน "มรรคจิต" เท่านั้น มิใช่มรรคภายนอกต่างๆ นานาเลย การเจริญจิตเข้าสู่ที่สุดแห่งทุกข์นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วย วิสุทธิศีล วิสุทธิธรรม พร้อมทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ จึงจะยังกิจให้ลุล่วงถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้
ปัญญาสูงสุดคือจิตเห็นจิตวิธีเจริญจิตภาวนา วิธีเจริญจิตภาวนาตามแนวการสอนของ หลวงปู่ดูลย์ อตุโล ๑. เริ่มต้นอริยาบถที่สบาย ยืน เดิน นั่ง นอน ได้ตามสะดวก ทำความรู้ตัวเต็มที่ และ รู้อยู่กับที่ โดยไม่ต้องรู้อะไร คือ รู้ตัว อย่างเดียว รักษาจิตเช่นนี้ไว้เรื่อยๆ ให้ "รู้อยู่เฉยๆ" ไม่ต้องไปจำแนกแยกแยะ อย่าบังคับ อย่าพยายาม อย่าปล่อยล่องลอยตามยถากรรม เมื่อรักษาได้สักครู่ จิตจะคิดแส่ไปในอารมณ์ต่างๆ โดยไม่มีทางรู้ทันก่อน เป็นธรรมดาสำหรับผู้ฝึกใหม่ ต่อเมื่อจิตแล่นไป คิดไปในอารมณ์นั้นๆ จนอิ่มแล้ว ก็จะรู้สึกตัวขึ้นมาเอง เมื่อรู้สึกตัวแล้วให้พิจารณาเปรียบเทียบภาวะของตนเอง ระหว่างที่มีความรู้อยู่กับที่ และระหว่างที่จิตคิดไปในอารมณ์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อเป็นอุบายสอนจิตให้จดจำ จากนั้น ค่อยๆ รักษาจิตให้อยู่ในสภาวะรู้อยู่กับที่ต่อไป ครั้นพลั้งเผลอรักษาไม่ดีพอ จิตก็จะแล่นไปเสวยอารมณ์ข้างนอกอีก จนอิ่มแล้ว ก็จะกลับรู้ตัว รู้ตัวแล้วก็พิจารณา และรักษาจิตต่อไป ด้วยอุบายอย่างนี้ ไม่นานนัก ก็จะสามารถควบคุมจิตได้ และบรรลุสมาธิในที่สุด และจะเป็นผู้ฉลาดใน "พฤติแห่งจิต" โดยไม่ต้องไปปรึกษาหารือใคร ข้อห้าม ในเวลาจิตฟุ้งเต็มที่ อย่าทำ เพราะไม่มีประโยชน์ และยังทำให้บั่นทอนพลังความเพียร ไม่มีกำลังใจในการเจริญจิตครั้งต่อๆ ไป ในกรณีที่ไม่สามารถทำเช่นนี้ ให้ลองนึกคำว่า "พุทโธ" หรือคำอะไรก็ได้ที่ไม่เป็นเหตุเย้ายวน หรือเป็นเหตุขัดเคืองใจ นึกไปเรื่อยๆ แล้วสังเกตดูว่า คำที่นึกนั้น ชัดที่สุดที่ตรงไหน ที่ตรงนั้นแหละคือฐานแห่งจิต พึงสังเกตว่า ฐานนี้ไม่อยู่คงที่ตลอดกาล บางวันอยู่ที่หนึ่ง บางวันอยู่อีกที่หนึ่ง ฐานแห่งจิตที่คำนึงพุทโธปรากฏชัดที่สุดนี้ ย่อมไม่อยู่ภายนอกกายแน่นอน ต้องอยู่ภายในกายแน่ แต่เมื่อพิจารณาดูให้ดีแล้ว จะเห็นว่าฐานนี้จะว่าอยู่ที่ส่วนไหนของร่างกายก็ไม่ถูก ดังนั้น จะว่าอยู่ภายนอกก็ไม่ใช่ จะว่าอยู่ภายในก็ไม่เชิง เมื่อเป็นเช่นนี้ แสดงว่าได้กำหนดถูกฐานแห่งจิตแล้ว เมื่อกำหนดถูก และพุทโธปรากฏในมโนนึกชัดเจนดี ก็ให้กำหนดนึกไปเรื่อย อย่าให้ขาดสายได้ ถ้าขาดสายเมื่อใด จิตก็จะแล่นสู่อารมณ์ทันที เมื่อเสวยอารมณ์อิ่มแล้ว จึงจะรู้สึกตัวเองก็ค่อยๆ นึกพุทโธต่อไป ด้วยอุบายวิธีในทำนองเดียวกับที่กล่าวไว้เบื้องต้น ในที่สุดก็จะค่อยๆ ควบคุมจิตให้อยู่ในอำนาจได้เอง ข้อควรจำ ในการกำหนดจิตนั้น ต้องมีเจตจำนงแน่วแน่ ในอันที่จะเจริญจิตให้อยู่ในสภาวะที่ต้องการ เจตจำนงนี้ คือ ตัว "ศีล" การบริกรรม "พุทโธ" เปล่าๆ โดยไร้เจตจำนงไม่เกิดประโยชน์อะไรเลย กลับเป็นเครื่องบั่นทอนความเพียร ทำลายกำลังใจในการเจริญจิตในคราวต่อๆ ไป แต่ถ้าเจตจำนงมั่นคง การเจริญจิตจะปรากฏผลทุกครั้งไม่มากก็น้อยอย่างแน่นอน ดังนั้น ในการนึก พุทโธ การเพ่งเล็งสอดส่อง ถึงความชัดเจน และความไม่ขาดสายของพุทโธ จะต้องเป็นไปด้วยความไม่ลดละ เจตจำนงที่มีอยู่อย่างไม่ลดละนี้ หลวงปู่เคย เปรียบไว้ว่า มีลักษณาการประหนึ่งบุรุษหนึ่งจดจ้องสายตาอยู่ที่คมดาบที่ข้าศึกเงื้อขึ้นสุดแขนพร้อมที่จะฟันลงมา บุรุษผู้นั้นจดจ้องคอยทีอยู่ว่า ถ้าคมดาบนั้นฟาดฟันลงมา ตนจะหลบหนีประการใดจึงจะพ้นอันตราย เจตจำนงต้องแน่วแน่เห็นปานนี้ จึงจะยังสมาธิให้บังเกิดได้ ไม่เช่นนั้นอย่าทำให้เสียเวลา และบั่นทอนความศรัทธาตนเองเลย เมื่อจิตค่อยๆ หยั่งลงสู่ความสงบทีละน้อย ๆ อาการที่จิตแล่นไปสู่อารมณ์ภายนอก ก็ค่อย ๆ ลดความรุนแรงลง ถึงไปก็ไปประเดี๋ยวประด๋าว ก็รู้สึกตัวได้เร็ว ถึงตอนนี้คำบริกรรมพุทโธ ก็จะขาดไปเอง เพราะคำบริกรรมนั้นเป็นอารมณ์หยาบ เมื่อจิตล่วงพ้นอารมณ์หยาบ และคำบริกรรมขาดไปแล้ว ไม่ต้องย้อนถอยมาบริกรรมอีก เพียงรักษาจิตไว้ในฐานที่กำหนดเดิมไปเรื่อยๆ และสังเกตดูความรู้สึกและ "พฤติแห่งจิต" ที่ฐานนั้น ๆ บริกรรมเพื่อรวมจิตให้เป็นหนึ่ง สังเกตดูว่า ใครเป็นผู้บริกรรมพุทโธ ๒. ดูจิตเมื่ออารมณ์สงบแล้ว ให้สติจดจ่ออยู่ที่ฐานเดิมเช่นนั้น เมื่อมีอารมณ์อะไรเกิดขึ้น ก็ให้ละอารมณ์นั้นทิ้งไป มาดูที่จิตต่อไปอีก ไม่ต้องกังวลใจ พยายามประคับประคองรักษาให้จิตอยู่ในฐานที่ตั้งเสมอๆ สติคอยกำหนดควบคุมอยู่อย่างเงียบๆ (รู้อยู่) ไม่ต้องวิจารณ์กิริยาจิตใดๆ ที่เกิดขึ้น เพียงกำหนดรู้แล้วละไปเท่านั้น เป็นไปเช่นนี้เรื่อยๆ ก็จะค่อยๆ เข้าใจกิริยาหรือพฤติแห่งจิตได้เอง (จิตปรุงกิเลส หรือ กิเลสปรุงจิต) ทำความเข้าใจในอารมณ์ความนึกคิด สังเกตอารมณ์ทั้งสาม คือ ราคะ โทสะ โมหะ ๓. อย่าส่งจิตออกนอก กำหนดรู้อยู่ในอารมณ์เดียวเท่านั้น อย่าให้ซัดส่ายไปในอารมณ์ภายนอก เมื่อจิตเผลอคิดไปก็ให้ตั้งสติระลึกถึงฐานกำหนดเดิม รักษาสัมปชัญญะให้สมบูรณ์อยู่เสมอ (รูปนิมิตให้ยกไว้ ส่วนนามนิมิตทั้งหลายอย่าได้ใส่ใจกับมัน) ระวัง จิตไม่ให้คิดเรื่องภายนอก สังเกตการหวั่นไหวของจิตตามอารมณ์ที่รับมาทางอายตนะ ๖ ๔. จงทำญาณให้เห็นจิต เหมือนดั่งตาเห็นรูป เมื่อเราสังเกตกิริยาจิตไปเรื่อย ๆ จนเข้าใจถึงเหตุปัจจัยของอารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ได้แล้ว จิตก็จะค่อย ๆ รู้เท่าทันการเกิดของอารมณ์ต่างๆ อารมณ์ความนึกคิดต่างๆ ก็จะค่อยๆ ดับไปเรื่อยๆ จนจิตว่างจากอารมณ์ แล้วจิตก็จะเป็นอิสระ อยู่ต่างหากจากเวทนาของรูปกาย อยู่ที่ฐานกำหนดเดิมนั่นเอง การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ คิดเท่าไหร่ก็ไม่รู้ ต่อเมื่อหยุดคิดจึงรู้ แต่ต้องอาศัยการคิด ๕. แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เมื่อสามารถเข้าใจได้ว่า จิต กับ กาย อยู่คนละส่วนได้แล้ว ให้ดูที่จิตต่อไปว่า ยังมีอะไรหลงเหลืออยู่ที่ฐานที่กำหนด (จิต) อีกหรือไม่ พยายามให้สติสังเกตดูที่ จิต ทำความสงบอยู่ใน จิต ไปเรื่อยๆ จนสามารถเข้าใจ พฤติของจิต ได้อย่างละเอียดลออตามขั้นตอน เข้าใจในความเป็นเหตุเป็นผลกันว่า เกิดจากความคิดมันออกไปจากจิตนี่เอง ไปหาปรุงหาแต่ง หาก่อ หาเกิด ไม่มีที่สิ้นสุด มันเป็นมายาหลอกลวงให้คนหลง แล้วจิตก็จะเพิกถอนสิ่งที่มีอยู่ในจิตไปเรื่อยๆ จนหมด หมายถึงเจริญจิตจนสามารถเพิกรูปปรมาณูวิญญาณที่เล็กที่สุดภายในจิตได้ คำว่า แยกรูปถอด นั้น หมายความถึง แยกรูปวิญญาณ นั่นเอง ๖. เหตุต้องละ ผลต้องละ เมื่อเจริญจิตจนปราศจากความคิดปรุงแต่งได้แล้ว (ว่าง) ก็ไม่ ต้องอิงอาศัยกับกฎเกณฑ์แห่งความเป็นเหตุเป็นผลใด ๆ ทั้งสิ้น จิตก็อยู่เหนือภาวะแห่งคลองความคิดนึกต่างๆ อยู่เป็นอิสระ ปราศจากสิ่งใดๆ ครอบงำอำพรางทั้งสิ้น เรียกว่า "สมุจเฉทธรรมทั้งปวง" ๗. ใช้หนี้--ก็หมด พ้นเหตุเกิด เมื่อเพิกรูปปรมาณูที่เล็กที่สุดเสียได้ กรรมชั่วที่ประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับรูปปรมาณูนั้น ก็หมดโอกาสที่จะให้ผลต่อไปในเบื้องหน้า การเพิ่มหนี้ก็เป็นอันสะดุดหยุดลง เหตุปัจจัยภายนอกภายในที่มากระทบ ก็เป็นสักแต่ว่ามากระทบ ไม่มีผลสืบเนื่องต่อไป หนี้กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ตั้งแต่ชาติแรก ก็เป็นอันได้รับการชดใช้หมดสิ้น หมดเรื่องหมดราวหมดพันธะผูกพันที่จะต้องเกิดมาใช้หนี้กรรมกันอีก เพราะ กรรมชั่วอันเป็นเหตุให้ต้องเกิดอีก ไม่อาจให้ผลต่อไปได้ เรียกว่า "พ้นเหตุเกิด" ๘. ผู้ที่ตรัสรู้แล้ว เขาไม่พูดหรอกว่า เขารู้อะไร เมื่อธรรมทั้งหลายได้ถูกถ่ายทอดไปแล้ว สิ่งที่เรียกว่า ธรรม จะเป็นธรรมไปได้อย่างไร สิ่งที่ว่า ไม่มีธรรม นั่นแหละมันเป็นธรรมของมันในตัว (ผู้รู้น่ะจริง แต่สิ่งที่รู้ทั้งหลายนั้นไม่จริง) เมื่อจิตว่างจาก "พฤติ" ต่างๆ แล้ว จิตก็จะถึง ความว่างที่แท้จริง ไม่มีอะไรให้สังเกตได้อีกต่อไป จึงทราบได้ว่าแท้ที่จริงแล้ว จิตนั้นไม่มีรูปร่าง มันรวมอยู่กับความว่าง ในความว่างนั้น ไม่มีขอบเขต ไม่มีประมาณ ซาบซึมอยู่ในสิ่งทุกๆ สิ่ง และจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน เมื่อจิตกับผู้รู้เป็นสิ่งเดียวกัน และเป็นความว่าง ก็ย่อมไม่มีอะไรที่จะให้อะไรหรือให้ใครรู้ถึง ไม่มีความเป็นอะไรจะไปรู้สภาวะของอะไร ไม่มีสภาวะของใครจะไปรู้ความมีความเป็นของอะไร เมื่อเจริญจิตจนเข้าถึงสภาวะเดิมแท้ของมันได้ดังนี้แล้ว "จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง" จิตก็จะอยู่เหนือสภาวะสมมุติบัญญัติทั้งปวง เหนือความมีความเป็นทั้งปวง มันอยู่เหนือคำพูด และพ้นไปจากการกล่าวอ้างใดๆ ทั้งสิ้น เป็นธรรมชาติอันบริสุทธิ์และสว่าง รวมกันเข้ากับความว่างอันบริสุทธิ์และสว่างของ จักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า "นิพพาน" โดยปกติ คำสอนธรรมะของหลวงปู่ดูลย์ อตุโล นั้น เป็นแบบ "ปริศนาธรรม" มิใช่เป็นการบรรยายธรรม ฉะนั้น คำสอนของท่านจึงสั้น จำกัดในความหมายของธรรม เพื่อไม่ให้เฝือหรือฟุ่มเฟือยมากนัก เพราะจะทำให้สับสน เมื่อผู้ใดเป็นผู้ปฏิบัติธรรม เขาย่อมเข้าใจได้เองว่า กิริยาอาการของจิตที่เกิดขึ้นนั้นมีมากมายหลายอย่าง ยากที่จะอธิบายให้ได้หมด ด้วยเหตุนั้น หลวงปู่ท่านจึงใช้คำว่า "พฤติของจิต" แทนกิริยาทั้งหลายเหล่านั้น คำว่า "ดูจิต อย่าส่งจิตออกนอก ทำญาณให้เห็นจิต" เหล่านี้ ย่อมมีความหมายครอบคลุมไปทั้งหมดตลอดองค์ภาวนา แต่เพื่ออธิบายให้เป็นขั้นตอน จึงจัดเรียงให้ดูง่ายเท่านั้น หาได้จัดเรียงไปตามลำดับกระแสการเจริญจิตแต่อย่างใดไม่ ท่านผู้มีจิตศรัทธาในทางปฏิบัติ เมื่อเจริญจิตภาวนาตามคำสอนแล้ว ตามธรรมดาการปฏิบัติในแนวนี้ ผู้ปฏิบัติจะค่อยๆ มีความรู้ความเข้าใจได้ด้วยตนเองเป็นลำดับๆ ไป เพราะมีการใส่ใจสังเกตและกำหนดรู้ "พฤติแห่งจิต" อยู่ตลอดเวลา แต่ถ้าหากเกิดปัญหาในระหว่างการปฏิบัติ ควรรีบเข้าหาครูบาอาจารย์ฝ่ายวิปัสสนาธุระโดยเร็ว หากประมาทแล้วอาจผิดพลาดเป็นปัญหาตามมาภายหลัง เพราะคำว่า "มรรคปฏิปทา" นั้น จะต้องอยู่ใน "มรรคจิต" เท่านั้น มิใช่มรรคภายนอกต่างๆ นานาเลย การเจริญจิตเข้าสู่ที่สุดแห่งทุกข์นั้น จะต้องถึงพร้อมด้วย วิสุทธิศีล วิสุทธิธรรม พร้อมทั้ง ๓ ทวาร คือ กาย วาจา ใจ จึงจะยังกิจให้ลุล่วงถึงที่สุดแห่งทุกข์ได้
จำหน่าย power module แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่การใช้ MC3PHAC และ MITSUBISHI POWER MODULE PS21963 ควบคุมมอเตอร์มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์..หรือ..ไฟฟ้าจากไฟฟ้าเฟสเดียวตามบ้านเรือน จำหน่าย PS21244 POWER MITSUBISHI MODULE FOR 3 PHASE INVERTER
จำหน่าย power module แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่การใช้ MC3PHAC และ MITSUBISHI POWER MODULE PS21963 ควบคุมมอเตอร์มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์..หรือ..ไฟฟ้าจากไฟฟ้าเฟสเดียวตามบ้านเรือน จำหน่าย PS21244 POWER MITSUBISHI MODULE FOR 3 PHASE INVERTER
คนเล่นฌานสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
คนเล่นฌานสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
คนเล่นฌานสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
คนเล่นสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
คนเล่นฌานสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
คนเล่นฌานสมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว(วัดท...สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว(วัดท...สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลสตรัสรู้ชอ...สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นซึ่งเป็นผู้ไกลจากกิเลสตรัสรู้ชอ...สมถะ อันบุคคลเจริญแล้ว ย่อมทำให้จิตได้รับการอบรม จิตได้รับการอบรมแล้ว ย่อมทำให้ละราคะ ... หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ การเสวยอารมณ์ทั้งปวงของภิกษุนั้น ดับสนิท ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอเพลิดเพลิน เชยชม ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น วิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น ความยึดมั่นในตัณหานั้นมีอยู่ ภิกษุผู้มีอุปาทานย่อมไม่ปรินิพพาน ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเธอ ไม่เพลิดเพลิน ไม่เชยชม ไม่ยึดติด ในรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์นั้น ก็ไม่มีวิญญาณที่อาศัยตัณหานั้น เพราะความยึดมั่นในตัณหานั้นไม่มี ภิกษุผู้ไม่มีอุปาทานย่อมปรินิพพาน ภิกษุผู้สิ้นความเพลิดเพลิน จึงสิ้นราคะ เพราะสิ้นราคะ จึงสิ้นความเพลิดเพลิน เพราะสิ้นทั้งราคะ และความเพลิดเพลิน จึงเรียกว่าหลุดพ้นดีแล้ว
ปฐมชนสูตรพราหมณรักษาศีล บัดนี้เพราะเหตุที่พราหมณเหลานั้น แมบวชแลวก็ไมสามารถ จะบําเพ็ญวัตรใหบริบูรณไดเพราะเปนคนแกฉะนั้น พระผูมีพระ ภาคเจาเมื่อจะใหัพราหมณทั้งสองนั้น ดํารงอยูในศีล ๕ จึงตรัสวา โยธ กาเยน สฺโม. บรรดาบทเหลานั้น การสํารวมทางกายทวาร ชื่อวา กายสัญญมะ แมในบทที่เหลือ ก็มีนัยนั้นเหมือนกัน. ดวยบท วา ตํตสฺส เปตสฺส นี้พระผูมีพระภาคเจาทรงแสดงวา บุญนั้น ชื่อ วา ตาณะ เพราะหมายความวา เปนที่ตานทานของผูไปสูปรโลก ชื่อ วา เลณะ เพื่อหมายความวา เปนที่ซอนเรน ชื่อวา ทีปะ เพราะหมาย ความวา เปนที่พํานัก ชื่อวา สรณะ เพราะหมายความวา เปนที่พึ่ง อาศัย และชื่อวา ปรายนะ เพราะสามารถจะใหคติที่สูงได. พระคาถา มีเนื้อความ งายทั้งนั้น. พราหมณเหลานั้น อันพระตถาคตเจาให สมาทานศีล ๕ อยางนี้แลวรักษาศีล ๕ ตลอดชีวิต เกิดแลวในสวรรค.
วันศุกร์ที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2558
วิธีการเข้าถึงพระสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฎาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วจึงกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สิกขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้ ย่อมมาสู่อุเทศ (สวด) ทุกกึ่งเดือน ข้าพระองค์ไม่สามารถที่จะศึกษาในสิกขาบทเหล่านี้พระเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า “ดูก่อนภิกษุ ! ก็เธอสามารถจะศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ ได้หรือ ?” ภิกษุวัชชีบุตรกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์สามารถจะศึกษาได้ในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ พระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุ ! เพราะฉะนั้นแล เธอจงศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ เมื่อใดเธอจักศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี จักศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และจักศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี เมื่อนั้น เมื่อเธอนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาอยู่ก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาอยู่ก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาอยู่ก็ดี จักละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เพราะละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เธอนั้นจักไม่กระทำกรรมอันเป็นอกุศล จักไม่เสพกรรมที่เป็นบาป” ครั้นสมัยต่อมา ภิกษุนั้นศึกษาแล้ว ทั้งอธิศีลสิกขา ทั้งอธิจิตตสิกขา และทั้งอธิปัญญาสิกขา เมื่อภิกษุนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี ย่อมละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว เพราะละราคะ โทสะ และ โมหะเสียได้ เธอมิได้ทำกรรมที่เป็นอกุศล มิได้เสพกรรมที่เป็นบาป ฯ วัชชีปุตตสูตร ๒๐/๒๖๐
ทานสูตรพระสารีบุตรสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ กูฎาคารศาลา ป่ามหาวัน ใกล้เมืองเวสาลี ครั้งนั้นแล ภิกษุวัชชีบุตรรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วจึงกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ สิกขาบท ๑๕๐ ถ้วนนี้ ย่อมมาสู่อุเทศ (สวด) ทุกกึ่งเดือน ข้าพระองค์ไม่สามารถที่จะศึกษาในสิกขาบทเหล่านี้พระเจ้าข้า” พระผู้มีพระภาคตรัสถามว่า “ดูก่อนภิกษุ ! ก็เธอสามารถจะศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ ได้หรือ ?” ภิกษุวัชชีบุตรกราบทูลว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์สามารถจะศึกษาได้ในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ พระเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “ดูก่อนภิกษุ ! เพราะฉะนั้นแล เธอจงศึกษาในสิกขา ๓ คือ อธิศีลสิกขา ๑ อธิจิตตสิกขา ๑ และอธิปัญญาสิกขา ๑ เมื่อใดเธอจักศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี จักศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และจักศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี เมื่อนั้น เมื่อเธอนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาอยู่ก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาอยู่ก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาอยู่ก็ดี จักละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เพราะละราคะ โทสะ และโมหะเสียได้ เธอนั้นจักไม่กระทำกรรมอันเป็นอกุศล จักไม่เสพกรรมที่เป็นบาป” ครั้นสมัยต่อมา ภิกษุนั้นศึกษาแล้ว ทั้งอธิศีลสิกขา ทั้งอธิจิตตสิกขา และทั้งอธิปัญญาสิกขา เมื่อภิกษุนั้นศึกษาอธิศีลสิกขาก็ดี ศึกษาอธิจิตตสิกขาก็ดี และศึกษาอธิปัญญาสิกขาก็ดี ย่อมละราคะ โทสะ และโมหะได้แล้ว เพราะละราคะ โทสะ และ โมหะเสียได้ เธอมิได้ทำกรรมที่เป็นอกุศล มิได้เสพกรรมที่เป็นบาป ฯ วัชชีปุตตสูตร ๒๐/๒๖๐
แสงสว่างเสมอด้วยปัญญาย่อมไม่มี ฝนต่างหากเป็นสระยอดเยี่ยมแสงสว่างเสมอด้วยปัญญาย่อมไม่มี ฝนต่างหากเป็นสระยอดเยี่ยม ฯ ... ส่วนปัญญาย่อมสามารถเพื่อทำโลกธาตุตั้งหมื่นให้เป็นแสงสว่าง อันประเสริฐ หาสิ่งอื่นเสมอมิได้
วิธีสร้างความผ่องใสให้กับจิตใจเอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด
วิธี การ ระงับ ข้อพิพาท วิวาทะ การทะเลาะ วิวาท การโต้เถียง และอธิกรณ์เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว กุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์ ปรารถนาจะตรัสรู้บทอันสงบแล้วอยู่พึงบำเพ็ญไตรสิกขา กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญเป็นผู้ตรง ซื่อตรงว่าง่ายอ่อนโยน ไม่เย่อหยิ่ง สันโดษ เลี้ยงง่าย มีกิจน้อย มีความประพฤติเบากาย จิตมีอินทรีย์อันสงบระงับ มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย ไม่พึงประพฤติทุจริตเล็กน้อยอะไร ๆ ซึ่งเป็นเหตุให้ท่านผู้รู้เหล่าอื่นติเตียนได้ พึงแผ่ไมตรีจิตใจสัตว์ทั้งหลายว่า ขอสัตว์ทั้งปวงจงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด
ก่อนที่กายนี้จะเรี่ยรายประดุจกำแกลบต้องดูกายต้องดูใจตัวเองเรื่อย ๆ แล้วถึงจะเข้าใจสิ่งที่หลวงพ่อบอกได้ ถ้าวันใดเข้าใจสิ่งที่หลวงพ่อบอกจนถึงจุดที่เห็นว่ากายนี้ใจนี้นี่เป็นตัวทุกข์ล้วนๆนะ จะเข้าใจธรรมะจริงๆ เลย จะพ้นทุกข์ได้จริงๆก็ตรงนี้แหละ ถ้ายังเห็นกายนี้ใจนี้เป็นตัวทุกข์บ้างสุขบ้าง ยังพ้นไม่ได้หรอก เรียกว่าเราไม่รู้ทุกข์
เครื่องจักรกลเครื่องจักรกลไฟฟ้า ควบคุมการหมุนของมอเตอร์ สามเฟส โดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ ราคาประหยัด ไม่เกิน 2000 บาท ขับมอเตอร์ได้ 1- 3 แรงม้าครับ..รับรอบให้เร็วกว่ามอเตอร์สามเฟสธรรมดา ได้ประมาณ..2 เท่า.ความถี่ 0-128 Hz....
อย่าประมาทกิเลสเล็กๆน้อยๆ ผิดศีลได้เริ่มจากกิเลสเล็กน้อยนี่เอง
อย่าประมาทกิเลสเล็กๆน้อยๆ ผิดศีลได้เริ่มจากกิเลสเล็กน้อยนี่เอง
วันพฤหัสบดีที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2558
พระอริยะบุคคล พระอนาคามีได้ยินว่า ชนที่ สักว่าเกิดแล้วในอวิหาพรหมโลกมี ๗ คน ได้บรรลุพระอรหัต สมจริง ดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า ภิกษุ ๗ รูป เข้าถึงอวิหาพรหมโลก แล้ว หลุดพ้น มีราคะและโทสะสิ้นแล้ว ข้ามตัณหาในโลก และท่านเหล่านั้น ข้าม เปลือกตม บ่วงมัจจุราช ซึ่งข้ามได้แสน ยาก ท่านเหล่านั้นละโยคะ ของมนุษย์ แล้ว เข้าถึงโยคะอันเป็นทิพย์. ท่านเหล่านั้น คือ อุปกะ ๑ ปล- คัณฑะ ๑ ปุกกุสาติ ๑ รวม ๓ ภัททิยะ ๑ ขันฑเทวะ ๑ พาหุทัตติ ๑ ปิงคิยะ ๑ ท่านเหล่านั้น ละโยคะของมนุษย์แล้ว เข้าถึงโยคะอันเป็นทิพย์ ดังนี้.
ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ สิ้นนันทิ สิ้นราคะ สิ้นทุกข์ สิ้นตัณหาดูกรภิกษุทั้งหลาย ถ้าแม้บัณฑิตผู้ฉลาด มีปัญญาใคร่ครวญ อายตนะภายใน ๖ นั้น ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ก็จะปรากฏว่าเป็นของว่างเปล่า สูญทั้งนั้น ฯตาย่อมเดือดร้อนเพราะรูปเป็นที่พอใจและไม่พอใจ หูย่อมเดือดร้อน เพราะเสียงเป็นที่พอใจและไม่พอใจ จมูกย่อมเดือดร้อนเพราะกลิ่นเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ลิ้นย่อมเดือดร้อนเพราะรสเป็นที่พอใจและไม่พอใจกายย่อมเดือดร้อนเพราะโผฏฐัพพะเป็นที่พอใจและไม่พอใจ ใจย่อมเดือดร้อนเพราะธรรมารมณ์เป็นที่พอใจและไม่พอใจ คำว่า ห้วงน้ำใหญ่นั้น เป็นชื่อแห่งโอฆะทั้ง ๔ คือ กาโมฆะ ภโวฆะ ทิฏโฐฆะ อวิชโชฆะ คำว่า ฝั่งข้างนี้อันเป็นที่น่ารังเกียจ เต็มไปด้วยภัยอันตรายนั้น เป็นชื่อแห่งร่างกายของตน คำว่า ฝั่งข้างโน้นเป็นที่เกษม ปลอดภัยนั้น เป็นชื่อแห่งนิพพาน คำว่า แพนั้น เป็นชื่อแห่งอริยมรรคมีองค์ ๘ ประการ คือสัมมาทิฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิคำว่า พยายามข้ามไปด้วยมือและเท้า เป็นชื่อแห่งวิริยารัมภะ คำว่า ผู้เป็นพราหมณ์ว่ายข้ามฟากถึงฝั่งโน้นแล้วขึ้นบกไป เป็นชื่อแห่งพระอรหันต์
ไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับมอเตอร์สามเฟสรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8
พลังงานทดแทน โซล่าเซลล์ สามารถใช้กับมอเตอร์สามเฟสได้ครับรวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 http://www.youtube.com/watch?v=_zt1O0mfmew http://www.youtube.com/watch?v=35AA4IP0_0U http://www.youtube.com/watch?v=DMCSAUKl6Hk http://www.youtube.com/watch?v=wxPVFYizJ0M http://www.youtube.com/watch?v=kMvOS5FTKhE http://www.youtube.com/watch?v=bCfqUWItVm0 http://www.youtube.com/watch?v=VQZMdARwscg http://www.youtube.com/watch?v=abqrLKoLNsc http://www.youtube.com/watch?v=cXU3N1R9jZg http://www.youtube.com/watch?v=pyXrLOJzIOo http://www.youtube.com/watch?v=z_qdTnBuUKY http://www.youtube.com/watch?v=YrSDqbWSArc http://www.youtube.com/watch?v=-6F-Hj92w6A http://www.youtube.com/watch?v=XuThYLw1pIg http://www.youtube.com/watch?v=go3qKeRgMwc http://www.youtube.com/watch?v=IU-2nXZQG3M http://www.youtube.com/watch?v=cNeXJn2GzgE http://www.youtube.com/watch?v=jryLXkvK9nA http://www.youtube.com/watch?v=IuMOeAVq2P8 http://www.youtube.com/watch?v=kElglwzdyW4 http://www.youtube.com/watch?v=Wt9RjhKJNOU http://www.youtube.com/watch?v=2s-tXCj0UPY http://www.youtube.com/watch?v=IuS6KKuh_8w http://www.youtube.com/watch?v=_ZznWVylw5I http://www.youtube.com/watch?v=twkvQQ7c3qc http://www.youtube.com/watch?v=nse37ZeifwY http://www.youtube.com/watch?v=GGZgiUVukd4 http://www.youtube.com/watch?v=YeCJuUyvpAU http://www.youtube.com/watch?v=lsOLNshDQSw http://www.youtube.com/watch?v=TrC1qe5UntU http://www.youtube.com/watch?v=ZgzGk_ZUpzw http://www.youtube.com/watch?v=dfjbGcMJxpU http://www.youtube.com/watch?v=P3WDJJxTb64 http://www.youtube.com/watch?v=L8kTdxN2s4o http://www.youtube.com/watch?v=VKDcA13WWFE http://www.youtube.com/watch?v=fddoE6RFDtc http://www.youtube.com/watch?v=qdsDOm6L7Vs http://www.youtube.com/watch?v=Cb3yJW1M3ro http://www.youtube.com/watch?v=ow8OmeUU0cw http://www.youtube.com/watch?v=jFMX1WeqkAM http://www.youtube.com/watch?v=eX5unrmGnPc http://www.youtube.com/watch?v=iImuzuFDgKU http://www.youtube.com/watch?v=avQRpxDpdos http://www.youtube.com/watch?v=YLtIHEKLyQ8 http://www.youtube.com/watch?v=OHj-ptQ9ZyE http://www.youtube.com/watch?v=f3SOLzOUnvw http://www.youtube.com/watch?v=L_faXSRpoY8 http://www.youtube.com/watch?v=v6qpsaL0HhE http://www.youtube.com/watch?v=jbqcYAisSwo http://www.youtube.com/watch?v=n5B0VJYvu9U http://www.youtube.com/watch?v=eEv64R6jDMw http://www.youtube.com/watch?v=00WG-HgrVn0 http://www.youtube.com/watch?v=UxZq52trUGg http://www.youtube.com/watch?v=VhCAhtSUiVg http://www.youtube.com/watch?v=hAvZsskUcLg http://www.youtube.com/watch?v=RUtBhIv_xOg http://www.youtube.com/watch?v=PPU3xr1nDv4 http://www.youtube.com/watch?v=_hgE0RUmwOs http://www.youtube.com/watch?v=ChOUGDG5OU0 http://www.youtube.com/watch?v=9yrM81EELx8
พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ
ไม่มีภาพ ภาพไม่มี ไม่เกี่ยวกับภาพ ให้รู้ด้วยปัญญานิมิต ในทางพุทธศาสนามีความหมายได้หลายประการ เช่นหมายถึง อาการที่เชิญชวนให้เขาถวาย หรือหมายถึงเครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนด ในการเจริญกรรมฐาน, หรือภาพหรือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการปฏิบัติพระกรรมฐาน, แต่นิมิตที่จะเน้นกล่าวถึงในที่นี้ก็คือ นิมิตอันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกรรมฐาน กล่าวคือ เป็นสิ่งที่ปรากฎหรือแสดงขึ้นเฉพาะตน ให้รับรู้ อันเกิดแต่ใจหรือสัญญาของนักปฏิบัติเป็นปัจจัยสำคัญ ดังนั้นเมื่อได้กล่าวถึงเรื่องฌาน,สมาธิไปโดยละเอียดแล้ว จึงจำเป็นต้องกล่าวถึงนิมิต อันมักจะเป็นผลข้างเคียงหรือเครื่องเคียงที่มักเกิดร่วมด้วยเสมอๆ และจัดได้ว่าเป็นบ่วงมารอันหนึ่ง กล่าวคือถ้าไปอยากหรือไปยึดหรือไปเชื่ออย่างแน่นแฟ้นด้วยเหตุผลกลใดก็ตามทีในนิมิต ก็จัดว่าเป็นบ่วงมารทันที ซึ่งจักผูกมัดสัตว์ไว้ไม่ให้เห็นธรรม กล่าวคือ เกิดวิปัสสนูปกิเลส จัดอยู่ทั้งในข้อโอภาส,ญาณและอธิโมกข์ฯ. ซึ่งเมื่อเกิดกับผู้ใดแล้วก็จะน้อมเชื่อ,น้อมใจอยากด้วยอธิโมกข์จนถอดถอนไม่ออก แม้อธิบายอย่างไรก็ไม่ยอมฟังไม่ยอมเชื่อด้วยฤทธิ์ของอธิโมกข์และเพราะตัวตนเองเป็นผู้เห็น, ตัวตนเองเป็นผู้ทำให้เกิดขึ้น จึงมีความน้อมเชื่ออย่างรุนแรงด้วยอัตตาโดยไม่รู้ตัว ต้องให้เกิดปัญญาพิจารณาเห็นด้วยตนเอง จึงจะสามารถถอดถอนความเชื่อความคิดอันเห็นผิดในนิมิตได้ดี จึงจำเป็นต้องกล่าวเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจกันไว้บ้าง เพราะจำเป็นต้องผ่านกล่าวคืออย่างไรเสียก็ต้องเกิดขึ้นในที่สุดนั่นเอง
สิ่งที่ครอบงำทุกชีวิตภูเขาทั้งหลาย ล้วนด้วยหิน อันไพบูลย์ สูงจดฟ้า กลิ้งบดสัตว์มาโดยรอบทั้งสี่ทิศ แม้ฉันใด ความแก่ และความตาย ย่อมครอบงำสัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้น เป็น กษัตริย์ก็ตาม เป็นพราหมณ์ก็ตาม เป็นพลเมืองก็ตาม เป็นไพร่ก็ตาม เป็นครึ่งชาติก็ตาม เป็นกุลีเทหยาก เยื่อก็ตาม มิได้เว้นสิ่งอะไรๆ ไว้ ย่อมครอบงำสัตว์ทั้ง ปวงทีเดียว ภูมิแห่งช้างทั้งหลาย ย่อมไม่มีในชรา และมรณะนั้น ภูมิแห่งรถทั้งหลาย แห่งพลเดินเท้า ย่อมไม่มี อนึ่งอันใครๆ ไม่อาจเพื่อจะชนะชรามรณะ นั้นด้วยการสู้รบ ด้วยเวทมนต์ หรือ ด้วยทรัพย์ ด้วย เหตุนั้นแล ผู้เป็นบัณฑิต เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน ผู้ มีปัญญา ควรจะปลูกความเชื่อในพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ผู้ใดประพฤติธรรมด้วยกาย ด้วย วาจา หรือด้วยใจ บัณฑิตทั้งหลาย ย่อมกล่าวสรรเสริญนรชน นั้นในโลกนี้ นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิง ในสวรรค์ ดังนี้แล.
วันอังคารที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ข้ามพ้นมัจจุราช พวกเรา มาสนใจเรียน ก็ดีนะ ค่อยๆเรียนไป ถ้าเรียนแล้ววันหนึ่งเราก็ไม่ตาย ไม่ตาย เขาเรียกข้ามพ้นมัจจุราช ร่างกายตายนะ ขันธ์ ๕ แตก แต่ธรรมนั้นไม่ตาย เคยมีคนไปถามพระพุทธเจ้า ชื่อ โมฆราช ไปถามพระพุทธเจ้าว่า “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บุคคลตามเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงมองไม่เห็น” ต้องถามหลายหนนะ ถามครั้งที่ ๓ พระพุทธเจ้าจึงตอบ ถามครั้งแรกท่านก็เฉยๆ ครั้งที่สองก็ยังเฉย ท่านทิ้งเวลาให้คนอื่นถามไปก่อน ทีมของท่านมี ๑๖ คน ท่านน่ะอาวุโสเป็นอันดับสาม พอถึงอันดับสามขอถาม พระพุทธเจ้าก็ไม่ตอบ ที่สี่ก็ขึ้นมาถามแทนอะไรอย่างนี้ พอถามจบท่านถามอีก ท่านก็ไม่ตอบ ท่านก็เลยนั่งเงียบๆไป จนถึงคนที่ ๑๕ รองโหล่แล้ว ถาม พระพุทธเจ้าก็ตอบว่า ให้ท่านมีสติทุกเมื่อ “ดูกรโมฆราช ท่านจงเป็นผู้มีสติทุกเมื่อ ตามพิจารณาเห็นโลกโดยความว่างเปล่า ถอนการตามหมายว่าเป็นตัวเป็นตนเสีย” ให้ท่านทำ ๓ อย่างนี้ อันแรกมีสติทุกเมื่อ อันที่สองตามเห็นโลกโดยความเป็นของว่างเปล่า อันที่สาม ถอนความสำคัญมั่นหมายความคิดเห็นว่าเป็นตัวเป็นตนเสีย เป็น ๓ อัน สิ่งที่หลวงพ่อมาเล่าให้พวกเราฟังทุกวันนี้ก็อย่างนี้แหละ มีสติอยู่เรื่อยๆนะ มีสติบ่อยๆ จะบอกว่าสติทุกเมื่อเดี๋ยวก็ไปนั่งเพ่งอีก เลยบอกว่าสติเนืองๆ แต่อย่าเนืองนานนักก็แล้วกันนะ ให้มันถี่ๆ แล้วตามเห็นอะไร ตามเห็นโลก ตามเห็นโลกโดยความเป็นอะไร โดยความเป็นไตรลักษณ์ ทีนี้สำหรับท่านโมฆราชท่านมีปัญญามาก พระพุทธเจ้าท่านก็เลยบอก “ตามเห็นโลกโดยความว่างเปล่า” เห็นอนัตตา คำว่าเห็นโลกคืออะไร เห็นโลกคือเห็นรูปกับนาม เห็นกายกับใจนี้ คำว่าโลกไม่ใช่สิ่งอื่นนะ โลกก็คือ กายยาววา หนาคืบ กว้างศอก ที่มีใจครอง ก็คือรูปธรรมนามธรรมนี้แหละที่เรียกว่าโลก ท่านให้เห็นโลกโดยความว่างเปล่าไม่ใช่ตัวใช่ตน คอยถอนความเห็นผิด ความรู้สึกผิดๆ ว่าเป็นตัวเป็นตนซะ ท่านไม่สอนบอกว่า จงไปดูความว่างเปล่า ท่านบอกให้มีสติทุกเมื่อแล้วก็ตามเห็นโลก สิ่งที่เราเห็นคือเห็นโลก เห็นรูปเห็นนาม เห็นกายเห็นใจ ท่านโมฆราชฉลาด มีปัญญามาก ก็เห็นโลกเป็นอนัตตา เห็นโลกว่างเปล่า พระพุทธเจ้าไม่ได้สอนให้ไปดูความว่างเปล่า ดูสุญญตานะ คนละเรื่องกันเลย บางคนเอาพระสูตรนี้ไปอ้าง บอกว่าพระพุทธเจ้าสอนให้ดูสุญญตา ไม่มีนะ สุญญตานุปัสสนาสติปัฏฐาน มีแต่ให้รู้รูปรู้นาม ให้รู้โลก แล้วถอนการตามรู้ว่าเป็นตัวตนนั้นเป็นอย่างไร ก็เหมือนกับที่หลวงพ่อพูดทุกวันๆแหละ อย่างเราเห็นร่างกาย ยืน เดิน นั่ง นอน เรารู้เลย ตัวที่ ยืน เดิน นั่ง นอน เป็นรูป ยืน เดินนั่ง นอน ไม่ใช่เรา ยืน เดิน นั่ง นอน ค่อยๆถอนความเห็นผิดว่าเป็นตัวเป็นตนเสีย ไม่ใช่คิดนะ แต่เป็นความรู้สึก เห็นความโกรธเกิดขึ้น ก็เห็น ความโกรธมันเกิด ไม่ใช่เราโกรธนะ จิตโกรธขึ้นมาหรือเปล่า จิตก็ไม่ได้โกรธ แต่ความโกรธผุดขึ้นมาในจิต ผุดขึ้นมาให้จิตรู้ ถ้ารู้ไม่ทันก็ครอบงำจิต จิตยังไม่ได้โกรธเลย เราก็ไม่ได้โกรธ เพราะว่าความโกรธก็ไม่ใช่เรา จิตก็ไม่ใช่เรา คอยรู้ลงไปที่ตัวสภาวะนะ แล้วก็เห็นตัวสภาวะว่ามันไม่ใช่ตัวเรา ดูไปอย่างนี้เรื่อยๆ นี่ท่านสอนท่านโมฆราชนะ เพราะฉะนั้นพวกเราก็เอาไปทำได้ คอยรู้สึกอยู่ ร่างกายที่เคลื่อนไหวไม่ใช่เราเคลื่อนไหว จิตใจที่เคลื่อนไหวไม่ใช่เราเคลื่อนไหว กลายเป็นจิตไม่ใช่เรา แค่รู้สึกไปเรื่อย เห็นแต่สภาวธรรมเกิดขึ้นดับไป เกิดขึ้นดับไป มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้ ดูไปเรื่อยๆ เห็นมั้ยธรรมะหลายพันปีก็ยังสอนอย่างเดิมนั่นแหละ หลวงพ่อก็สอนเท่านี้เอง ไม่มีสอนนะว่า หายใจมีกี่จังหวะ จะหยิบข้าวหยิบของมีกี่จังหวะ จะเดินหนึ่งก้าวมีกี่จังหวะ ไม่ได้สอน ทำไมไม่ได้สอน เพราะพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้สอนไว้ หลวงพ่อจะปัญญาที่ไหนไปสอน เราไม่ได้ฉลาดกว่าพระพุทธเจ้านะ ไม่ได้สอนเก่งกว่าพระพุทธเจ้า สอนเกินที่ท่านสอน ท่านสอนให้มีสติทุกเมื่อ “สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ” รู้สึกไว้ๆ คำว่าสติ ให้รู้สึกอะไร รู้สึกโลก รู้สึกกาย รู้สึกใจ สติที่รู้สึกกาย สติที่รู้สึกใจ นี่แหละเรียกว่าสติปัฏฐาน สติที่ไปรู้อารมณ์ที่เป็นกุศลอื่นๆไม่เรียกว่าสติปัฏฐาน สตินี้เกิดกับจิตที่เป็นกุศลทุกๆดวง แต่บางทีก็ไปรู้อย่างอื่นไม่ใช่รู้กายรู้ใจ เฉพาะสติที่รู้กายรู้ใจจึงจะเรียกว่าสติปัฏฐาน สติปัฏฐานนี่แหละเป็นทางเดียวที่จะไปถึงความบริสุทธิ์หลุดพ้น เรียกว่ารู้กายรู้ใจแจ่มแจ้ง รู้โลกแจ่มแจ้ง โลกภายในโลกภายนอกก็แจ่มแจ้งพร้อมๆกันนั่นแหละ ถ้าเราเห็นความจริงกายนี้ใจนี้ไม่ใช่เรานะ เราก็จะเห็นโลภายนอกไม่ใช่เราไปด้วย พร้อมๆกัน เรียกว่ารู้ทั้งภายในภายนอกนะ ไม่เห็นมีความแตกต่างระหว่างภายในภายนอก ไม่มีการแบ่งแยกภายในภายนอกอีกต่อไป พวกเราตอนนี้มีการแบ่งแยกภายในภายนอกอยู่ เวลาเราภาวนาเรารู้สึกมีข้างในมีข้างนอกนะ อันนี้อยู่ในช่วงของทางผ่าน คนซึ่งไม่เคยภาวนาเลย ก็ไม่มีข้างในข้างนอก มีอันเดียว ข้างในข้างนอกเป็นอันเดียว คือเป็นตัวเราหมดเลย ถ้าไม่ใช่ตัวเราก็ของเรา ถ้าไม่ใช่ของเรา ก็เป็นของที่ไม่ใช่ของเรา มันหา “เรา” มาใส่จนได้นะ ของคนอื่นก็ยังบอกว่าของที่ไม่ใช่ของเราได้ อะไรๆก็มีเราแทรกอยู่ ตามรู้นะ ตามรู้ลงไปเรื่อย ในที่สุดก็เห็น ไม่มีเราหรอก วันใดที่เห็นว่าโลกนี้ไม่ใช่เราหรอกนะ โลกว่างเปล่า ได้โสดา… CD สวนสันติธรรมแผ่นที่ ๒๕ source file: 510426.mp3 ระหว่าง นาทีที่ ๐ วินาทีที่ ๐ ถึง นาทีที่ ๗ วินาทีที่ ๒ เว็บไซต์ Dhammada.net
การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ นิมิต ในทางพุทธศาสนามีความหมายได้หลายประการ เช่นหมายถึง อาการที่เชิญชวนให้เขาถวาย หรือหมายถึงเครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนด ในการเจริญกรรมฐาน, หรือภาพหรือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการปฏิบัติพระกรรมฐาน, แต่นิมิตที่จะเน้นกล่าวถึงในที่นี้ก็คือ นิมิตอันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกรรมฐาน กล่าวคือ เป็นสิ่งที่ปรากฎหรือแสดงขึ้นเฉพาะตน ให้รับรู้ อันเกิดแต่ใจหรือสัญญาของนักปฏิบัติเป็นปัจจัยสำคัญ ดังนั้นเมื่อได้กล่าวถึงเรื่องฌาน,สมาธิไปโดยละเอียดแล้ว จึงจำเป็นต้องกล่าวถึงนิมิต อันมักจะเป็นผลข้างเคียงหรือเครื่องเคียงที่มักเกิดร่วมด้วยเสมอๆ และจัดได้ว่าเป็นบ่วงมารอันหนึ่ง กล่าวคือถ้าไปอยากหรือไปยึดหรือไปเชื่ออย่างแน่นแฟ้นด้วยเหตุผลกลใดก็ตามทีในนิมิต ก็จัดว่าเป็นบ่วงมารทันที ซึ่งจักผูกมัดสัตว์ไว้ไม่ให้เห็นธรรม กล่าวคือ เกิดวิปัสสนูปกิเลส จัดอยู่ทั้งในข้อโอภาส,ญาณและอธิโมกข์ฯ. ซึ่งเมื่อเกิดกับผู้ใดแล้วก็จะน้อมเชื่อ,น้อมใจอยากด้วยอธิโมกข์จนถอดถอนไม่ออก แม้อธิบายอย่างไรก็ไม่ยอมฟังไม่ยอมเชื่อด้วยฤทธิ์ของอธิโมกข์และเพราะตัวตนเองเป็นผู้เห็น, ตัวตนเองเป็นผู้ทำให้เกิดขึ้น จึงมีความน้อมเชื่ออย่างรุนแรงด้วยอัตตาโดยไม่รู้ตัว ต้องให้เกิดปัญญาพิจารณาเห็นด้วยตนเอง จึงจะสามารถถอดถอนความเชื่อความคิดอันเห็นผิดในนิมิตได้ดี จึงจำเป็นต้องกล่าวเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจกันไว้บ้าง เพราะจำเป็นต้องผ่านกล่าวคืออย่างไรเสียก็ต้องเกิดขึ้นในที่สุดนั่นเอง
การเห็นนี้เป็นการเห็นด้วยปัญญาจักษุ นิมิต ในทางพุทธศาสนามีความหมายได้หลายประการ เช่นหมายถึง อาการที่เชิญชวนให้เขาถวาย หรือหมายถึงเครื่องหมายสำหรับให้จิตกำหนด ในการเจริญกรรมฐาน, หรือภาพหรือสิ่งที่ใช้เป็นอารมณ์ในการปฏิบัติพระกรรมฐาน, แต่นิมิตที่จะเน้นกล่าวถึงในที่นี้ก็คือ นิมิตอันเป็นผลที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติกรรมฐาน กล่าวคือ เป็นสิ่งที่ปรากฎหรือแสดงขึ้นเฉพาะตน ให้รับรู้ อันเกิดแต่ใจหรือสัญญาของนักปฏิบัติเป็นปัจจัยสำคัญ ดังนั้นเมื่อได้กล่าวถึงเรื่องฌาน,สมาธิไปโดยละเอียดแล้ว จึงจำเป็นต้องกล่าวถึงนิมิต อันมักจะเป็นผลข้างเคียงหรือเครื่องเคียงที่มักเกิดร่วมด้วยเสมอๆ และจัดได้ว่าเป็นบ่วงมารอันหนึ่ง กล่าวคือถ้าไปอยากหรือไปยึดหรือไปเชื่ออย่างแน่นแฟ้นด้วยเหตุผลกลใดก็ตามทีในนิมิต ก็จัดว่าเป็นบ่วงมารทันที ซึ่งจักผูกมัดสัตว์ไว้ไม่ให้เห็นธรรม กล่าวคือ เกิดวิปัสสนูปกิเลส จัดอยู่ทั้งในข้อโอภาส,ญาณและอธิโมกข์ฯ. ซึ่งเมื่อเกิดกับผู้ใดแล้วก็จะน้อมเชื่อ,น้อมใจอยากด้วยอธิโมกข์จนถอดถอนไม่ออก แม้อธิบายอย่างไรก็ไม่ยอมฟังไม่ยอมเชื่อด้วยฤทธิ์ของอธิโมกข์และเพราะตัวตนเองเป็นผู้เห็น, ตัวตนเองเป็นผู้ทำให้เกิดขึ้น จึงมีความน้อมเชื่ออย่างรุนแรงด้วยอัตตาโดยไม่รู้ตัว ต้องให้เกิดปัญญาพิจารณาเห็นด้วยตนเอง จึงจะสามารถถอดถอนความเชื่อความคิดอันเห็นผิดในนิมิตได้ดี จึงจำเป็นต้องกล่าวเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจกันไว้บ้าง เพราะจำเป็นต้องผ่านกล่าวคืออย่างไรเสียก็ต้องเกิดขึ้นในที่สุดนั่นเอง
ข้ามโอฆะได้ด้วยการไม่พักและไม่เพียรผู้เผลอลืมกายลืมใจ ที่ไปของเราก็คือ ทุคติ ผู้เพ่งบังคับกายบังคับใจไว้ ที่ไปของเราในอนาคตคือสุคติ แต่ไม่ไปนิพพาน เพราะฉะนั้นการที่เราบังคับกายบังคับใจเรื่อยไป ไม่ตกนรกหรอก ดี แต่มันหยุดอยู่แค่ดีเท่านั้นเอง ไม่สามารถไปถึงนิพพานได้ เพราะฉะนั้นเราอย่าไปสุดโต่งสองฝั่ง ถ้าเราไปสุดโต่งสองฝั่ง ไม่ไปนิพพาน ครั้งหนึ่งมีเทวดาไปทูลถามพระพุทธเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ ก็คือกิเลสทั้งหลายนั้นเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า เราข้ามโอฆะได้เพราะเราไม่พักและเราไม่เพียร เทวดาฟังแล้วงง ไม่พักอยู่เนี่ยฟังแล้วเข้าใจ แต่ไม่เพียรฟังแล้วไม่เข้าใจ ก็ถามท่านอีกว่า ไม่พักไม่เพียรเป็นอย่างไร ท่านบอกว่า ถ้าพักอยู่เราจะจมลง ถ้าเพียรอยู่เราจะลอยขึ้น เราไม่พักเราไม่เพียร เราพ้นจากโอฆะข้ามห้วงน้ำได้ด้วยวิธีนี้ ทำไมจมลงไม่ดี จมลงไปทุคติ ฟูขึ้นลอยขึ้น ไปสู่สุคติ ไม่ได้ไปนิพพาน คำว่าไม่พักก็คือไม่ปล่อยตัวปล่อยใจไปตามกิเลส ไม่หลงไปตามกามสุขัลลิกานุโยค เผลอไปนั่นแหละ คำว่าไม่เพียรของท่านก็คือ ไม่ได้ไปเพ่งกายเพ่งใจ เป็นอัตตกิลมถานุโยค เพราะฉะนั้นเราต้องเดินทางสายกลางให้เป็น
ข้ามโอฆะได้ด้วยการไม่พักและไม่เพียรผู้เผลอลืมกายลืมใจ ที่ไปของเราก็คือ ทุคติ ผู้เพ่งบังคับกายบังคับใจไว้ ที่ไปของเราในอนาคตคือสุคติ แต่ไม่ไปนิพพาน เพราะฉะนั้นการที่เราบังคับกายบังคับใจเรื่อยไป ไม่ตกนรกหรอก ดี แต่มันหยุดอยู่แค่ดีเท่านั้นเอง ไม่สามารถไปถึงนิพพานได้ เพราะฉะนั้นเราอย่าไปสุดโต่งสองฝั่ง ถ้าเราไปสุดโต่งสองฝั่ง ไม่ไปนิพพาน ครั้งหนึ่งมีเทวดาไปทูลถามพระพุทธเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ ก็คือกิเลสทั้งหลายนั้นเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า เราข้ามโอฆะได้เพราะเราไม่พักและเราไม่เพียร เทวดาฟังแล้วงง ไม่พักอยู่เนี่ยฟังแล้วเข้าใจ แต่ไม่เพียรฟังแล้วไม่เข้าใจ ก็ถามท่านอีกว่า ไม่พักไม่เพียรเป็นอย่างไร ท่านบอกว่า ถ้าพักอยู่เราจะจมลง ถ้าเพียรอยู่เราจะลอยขึ้น เราไม่พักเราไม่เพียร เราพ้นจากโอฆะข้ามห้วงน้ำได้ด้วยวิธีนี้ ทำไมจมลงไม่ดี จมลงไปทุคติ ฟูขึ้นลอยขึ้น ไปสู่สุคติ ไม่ได้ไปนิพพาน คำว่าไม่พักก็คือไม่ปล่อยตัวปล่อยใจไปตามกิเลส ไม่หลงไปตามกามสุขัลลิกานุโยค เผลอไปนั่นแหละ คำว่าไม่เพียรของท่านก็คือ ไม่ได้ไปเพ่งกายเพ่งใจ เป็นอัตตกิลมถานุโยค เพราะฉะนั้นเราต้องเดินทางสายกลางให้เป็น
วันจันทร์ที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2558
หลวงปู่ชา::ธรรมะความสงบพระธรรมเทศนา ธรรมะความสงบ หลวงปู่ชา สุภัทโท วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี
ปล่อยวางผู้รู้ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ว่าไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากันเห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย,,,
จิตเห็นจิตเป็นมรรค ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอก ศาสนาเป็นอย่างไร เรารู้ของเราเอง อย่าปล่อยให้มันปรุงแต่งมากนัก ข้อสำคัญ ให้รู้จักจิตของเราเท่านั้นเอง เพราะว่าจิตคือ ตัวหลักธรรม นอกจากจิตแล้วไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย
สิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริง ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอก ศาสนาเป็นอย่างไร เรารู้ของเราเอง อย่าปล่อยให้มันปรุงแต่งมากนัก ข้อสำคัญ ให้รู้จักจิตของเราเท่านั้นเอง เพราะว่าจิตคือ ตัวหลักธรรม นอกจากจิตแล้วไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย
สิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริง ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอก ศาสนาเป็นอย่างไร เรารู้ของเราเอง อย่าปล่อยให้มันปรุงแต่งมากนัก ข้อสำคัญ ให้รู้จักจิตของเราเท่านั้นเอง เพราะว่าจิตคือ ตัวหลักธรรม นอกจากจิตแล้วไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย
เสาอโศกหัวสิงห์ เมืองเวสาลีว่าด้วยผลแห่งการกวาดลานโพธิ์ ในกาลก่อน เราเก็บใบโพธิ์ที่ถูกทิ้งไว้ ณ ลานพระเจดีย์เอาไปทิ้งเสีย เราจึงได้คุณ ๒๐ ประการ ด้วยเดชแห่งกรรมนั้น เมื่อเรายัง ท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ย่อมท่องเที่ยวไปแต่ในสองภพ คือ ในเทวดาและมนุษย์ จุติจากเทวโลกแล้วมาสู่มนุษยโลก ก็ เกิดแต่ในสองสกุล คือ สกุลกษัตริย์และสกุลพราหมณ์ เรามี อวัยวะน้อยใหญ่สมบูรณ์ สูงใหญ่ รูปสวย สะอาดสะอ้าน เต็มเปี่ยม ไม่บกพร่อง เราเกิดในภพใดภพหนึ่ง คือ ในเทวโลกหรือ มนุษยโลก ในภพนั้น เรามีผิวพรรณเหมือนทองคำ เปรียบดัง ทองคำที่นายช่างหลอมแล้ว ผิวของเราอ่อนนุ่ม สนิท สุขุม ละเอียดอ่อนอยู่ตลอดเวลา เพราะใบโพธิ์อันเราทิ้งดีแล้ว ในคติ ไหนๆ ก็ตามที ฝุ่นละอองย่อมไม่ติดในสรีระของเราผู้ที่อยู่ในที่ ประชุม นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์เพราะความร้อนลม แดด หรือเพราะความร้อนของไฟก็ตาม ที่ตัวของเราไม่มีเหงื่อไหล นี้ เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ ในกายของเรา ไม่มีโรคเรื้อน ฝี กราก ตกกระ หูดและหิด เปื่อยเลย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้ง ใบโพธิ์ คุณแห่งการทิ้งใบโพธิ์อีกข้อหนึ่ง คือ บุคคลเกิดใน ภพน้อยภพใหญ่ ย่อมไม่มีโรคในกาย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขาเกิดในภพน้อยใหญ่ ย่อมไม่มีความบีบคั้น ที่เกิดขึ้นทางใจเลย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขาเกิดในภพน้อยภพใหญ่ ย่อมไม่มีใครเป็นข้าศึกเลย นี้เป็น วิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือเขาเกิดในภพน้อย ภพใหญ่ ย่อมมีโภคทรัพย์ไม่บกพร่องเลย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้ง ใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขาเกิดในภพน้อยภพใหญ่ ย่อม ไม่มีภัยแต่ไฟ พระราชา โจรและน้ำ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขา เกิดในภพน้อยภพใหญ่ทาสหญิงชายและคนเดินตาม ย่อมประพฤติ ตามจิตของเขา เขาเกิดในมนุษยโลกในปริมาณอายุเท่าใด อายุ ของเขาย่อมไม่ลดไปจากปริมาณอายุนั้น ย่อมดำรงอยู่ตราบเท่าสิ้น อายุคนใน คนนอก ตลอดถึงชาวนิคม ชาวรัฐ ล้วนแต่เป็น ผู้ช่วยเหลือ ใคร่ความเจริญปรารถนาความสุขแก่เขาทั้งนั้น ใน ทุกๆ ภพ เราเป็นคนมีโภคทรัพย์ มียศ มีศิริ มีญาติ พวกพ้อง ไม่มีเวร หมดความสะดุ้ง ในกาลทั้งปวง เมื่อเรายังท่องเที่ยวอยู่ ในภพ เทวดา มนุษย์ อสูร คนธรรพ์ ยักษ์และรากษส ล้วน แต่ป้องกันรักษาเราทุกเมื่อ เราเสวยยศสองอย่างทั้งในเทวโลกและ มนุษยโลก ในอวสานเราได้บรรลุศิวโมกข์มหานฤพานอันยอดเยี่ยม บุรุษใดประสพบุญเพราะเจาะจงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือโพธิพฤกษ์ของพระศาสดาพระองค์นั้น สำหรับบุรุษเช่นนั้น สิ่งอะไร เล่าที่เขาจะหาได้ยาก เขาย่อมเป็นผู้ยิ่งใหญ่กว่าคนอื่นๆ ในเพราะ มรรคผล นิกายเป็นที่มาและคุณ คือ ฌานและ อภิญญา ไม่มี อาสวะ ปรินิพพาน เมื่อก่อน เรามีใจยินดีเก็บใบโพธิ์เอาไปทิ้ง จึงเป็นผู้พร้อมเพรียงด้วยองค์ ๒๐ ประการนี้ ทุกทิพาราตรีกาล เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ... พระพุทธศาสนาเราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
เสาอโศกหัวสิงห์ เมืองเวสาลีว่าด้วยผลแห่งการกวาดลานโพธิ์ ในกาลก่อน เราเก็บใบโพธิ์ที่ถูกทิ้งไว้ ณ ลานพระเจดีย์เอาไปทิ้งเสีย เราจึงได้คุณ ๒๐ ประการ ด้วยเดชแห่งกรรมนั้น เมื่อเรายัง ท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ย่อมท่องเที่ยวไปแต่ในสองภพ คือ ในเทวดาและมนุษย์ จุติจากเทวโลกแล้วมาสู่มนุษยโลก ก็ เกิดแต่ในสองสกุล คือ สกุลกษัตริย์และสกุลพราหมณ์ เรามี อวัยวะน้อยใหญ่สมบูรณ์ สูงใหญ่ รูปสวย สะอาดสะอ้าน เต็มเปี่ยม ไม่บกพร่อง เราเกิดในภพใดภพหนึ่ง คือ ในเทวโลกหรือ มนุษยโลก ในภพนั้น เรามีผิวพรรณเหมือนทองคำ เปรียบดัง ทองคำที่นายช่างหลอมแล้ว ผิวของเราอ่อนนุ่ม สนิท สุขุม ละเอียดอ่อนอยู่ตลอดเวลา เพราะใบโพธิ์อันเราทิ้งดีแล้ว ในคติ ไหนๆ ก็ตามที ฝุ่นละอองย่อมไม่ติดในสรีระของเราผู้ที่อยู่ในที่ ประชุม นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์เพราะความร้อนลม แดด หรือเพราะความร้อนของไฟก็ตาม ที่ตัวของเราไม่มีเหงื่อไหล นี้ เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ ในกายของเรา ไม่มีโรคเรื้อน ฝี กราก ตกกระ หูดและหิด เปื่อยเลย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้ง ใบโพธิ์ คุณแห่งการทิ้งใบโพธิ์อีกข้อหนึ่ง คือ บุคคลเกิดใน ภพน้อยภพใหญ่ ย่อมไม่มีโรคในกาย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขาเกิดในภพน้อยใหญ่ ย่อมไม่มีความบีบคั้น ที่เกิดขึ้นทางใจเลย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขาเกิดในภพน้อยภพใหญ่ ย่อมไม่มีใครเป็นข้าศึกเลย นี้เป็น วิบากแห่งการทิ้งใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือเขาเกิดในภพน้อย ภพใหญ่ ย่อมมีโภคทรัพย์ไม่บกพร่องเลย นี้เป็นวิบากแห่งการทิ้ง ใบโพธิ์ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขาเกิดในภพน้อยภพใหญ่ ย่อม ไม่มีภัยแต่ไฟ พระราชา โจรและน้ำ คุณอีกข้อหนึ่ง คือ เขา เกิดในภพน้อยภพใหญ่ทาสหญิงชายและคนเดินตาม ย่อมประพฤติ ตามจิตของเขา เขาเกิดในมนุษยโลกในปริมาณอายุเท่าใด อายุ ของเขาย่อมไม่ลดไปจากปริมาณอายุนั้น ย่อมดำรงอยู่ตราบเท่าสิ้น อายุคนใน คนนอก ตลอดถึงชาวนิคม ชาวรัฐ ล้วนแต่เป็น ผู้ช่วยเหลือ ใคร่ความเจริญปรารถนาความสุขแก่เขาทั้งนั้น ใน ทุกๆ ภพ เราเป็นคนมีโภคทรัพย์ มียศ มีศิริ มีญาติ พวกพ้อง ไม่มีเวร หมดความสะดุ้ง ในกาลทั้งปวง เมื่อเรายังท่องเที่ยวอยู่ ในภพ เทวดา มนุษย์ อสูร คนธรรพ์ ยักษ์และรากษส ล้วน แต่ป้องกันรักษาเราทุกเมื่อ เราเสวยยศสองอย่างทั้งในเทวโลกและ มนุษยโลก ในอวสานเราได้บรรลุศิวโมกข์มหานฤพานอันยอดเยี่ยม บุรุษใดประสพบุญเพราะเจาะจงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า หรือโพธิพฤกษ์ของพระศาสดาพระองค์นั้น สำหรับบุรุษเช่นนั้น สิ่งอะไร เล่าที่เขาจะหาได้ยาก เขาย่อมเป็นผู้ยิ่งใหญ่กว่าคนอื่นๆ ในเพราะ มรรคผล นิกายเป็นที่มาและคุณ คือ ฌานและ อภิญญา ไม่มี อาสวะ ปรินิพพาน เมื่อก่อน เรามีใจยินดีเก็บใบโพธิ์เอาไปทิ้ง จึงเป็นผู้พร้อมเพรียงด้วยองค์ ๒๐ ประการนี้ ทุกทิพาราตรีกาล เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ... พระพุทธศาสนาเราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
วันอาทิตย์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2558
หลวงพ่อปราโมทย์ แสดงธรรม ไม่เพ่งไม่เผลอไม่เพียรไม่พัก ผู้เผลอลืมกายลืมใจ ที่ไปของเราก็คือ ทุคติ ผู้เพ่งบังคับกายบังคับใจไว้ ที่ไปของเราในอนาคตคือสุคติ แต่ไม่ไปนิพพาน เพราะฉะนั้นการที่เราบังคับกายบังคับใจเรื่อยไป ไม่ตกนรกหรอก ดี แต่มันหยุดอยู่แค่ดีเท่านั้นเอง ไม่สามารถไปถึงนิพพานได้ เพราะฉะนั้นเราอย่าไปสุดโต่งสองฝั่ง ถ้าเราไปสุดโต่งสองฝั่ง ไม่ไปนิพพาน ครั้งหนึ่งมีเทวดาไปทูลถามพระพุทธเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระองค์ข้ามโอฆะได้อย่างไร โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ ก็คือกิเลสทั้งหลายนั้นเอง พระพุทธเจ้าบอกว่า เราข้ามโอฆะได้เพราะเราไม่พักและเราไม่เพียร เทวดาฟังแล้วงง ไม่พักอยู่เนี่ยฟังแล้วเข้าใจ แต่ไม่เพียรฟังแล้วไม่เข้าใจ ก็ถามท่านอีกว่า ไม่พักไม่เพียรเป็นอย่างไร ท่านบอกว่า ถ้าพักอยู่เราจะจมลง ถ้าเพียรอยู่เราจะลอยขึ้น เราไม่พักเราไม่เพียร เราพ้นจากโอฆะข้ามห้วงน้ำได้ด้วยวิธีนี้ ทำไมจมลงไม่ดี จมลงไปทุคติ ฟูขึ้นลอยขึ้น ไปสู่สุคติ ไม่ได้ไปนิพพาน คำว่าไม่พักก็คือไม่ปล่อยตัวปล่อยใจไปตามกิเลส ไม่หลงไปตามกามสุขัลลิกานุโยค เผลอไปนั่นแหละ คำว่าไม่เพียรของท่านก็คือ ไม่ได้ไปเพ่งกายเพ่งใจ เป็นอัตตกิลมถานุโยค เพราะฉะนั้นเราต้องเดินทางสายกลางให้เป็น
เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเรา...
มหาสุญญตาสูตรจิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน
อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม (วัดท..การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓..
อารมณ์ของฌานสมาบัติ พระธรรมเทศนา โดย พระราชพรหมยานเถระ วัดจันทาราม (วัดท..ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อนุตริยะ ๖ ประการนี้. ๖ ประการเป็นไฉน? คือ - ๑. ทัสนานุตริยะ - การเห็นอันประเสริฐ, ๒. สวนานุตริยะ - การฟังอันประเสริฐ, ๓. ลาภานุตริยะ - การได้อันประเสริฐ, ๔. สิกขานุตริยะ - การศึกษาอันประเสริฐ, ๕. ปาริจริยานุตริยะ - การบำรุงอันประเสริฐ, ๖. อนุสตานุตริยะ - อนุสติอันประเสริฐ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทัสนานุตริยะเป็นไฉน? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อจะดูช้างแก้วบ้าง, ม้าแก้วบ้าง, แก้วมณี บ้าง, ของใหญ่ของเล็ก หรือสมณพรหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ทัสนะมีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าทัสนะนี้นั้นแลเป็น ทัสนะอันเลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน มิใช่ ของพระอริยะ ไม่ประกอบด้วยประโยชน์ ไม่เป็นไป เพื่อเบื่อหน่าย เพื่อคลายกำหนัด เพื่อความดับ เพื่อ ความสงบ เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อตรัสรู้ เพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปเพื่อจะเห็นตถาคตหรือสาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การเห็นนี้ยอดเยี่ยมกว่า การเห็นทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย เพื่อก้าวล่วงความโศกและความร่ำไร เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุญาย- ธรรม เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ไปเห็นพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคตนี้ เราเรียกว่าทัสนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สวนานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมไปเพื่อฟังเสียงกลองบ้าง เสียงพิณบ้าง เสียงเพลง บ้าง หรือเสียงสูงๆ ต่ำๆ ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของสมณ- พราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้มีอยู่ เรามิได้กล่าว ว่าไม่มี ก็แต่ว่าการฟังนี้เป็นการฟังอันเลว ฯลฯ ไม่เป็น ไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลมีสัทธา ตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความ เลื่อมใสยิ่ง ย่อมไปเพื่อฟังธรรมของตถาคต หรือของ สาวกของตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การฟังนี้ประเสริฐกว่าการ ฟังทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้ง หลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใส ยิ่ง ย่อมไปฟังธรรมของตถาคตหรือของสาวกของพระ ตถาคต นี้ เราเรียกว่าสวนานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะเป็นดังนี้. ก็ลาภานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุ บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อมได้บุตร บ้าง ภรรยาบ้าง ทรัพย์บ้าง หรือลาภมากบ้าง น้อยบ้าง หรือได้สัทธาในสมณพราหมณ์ผู้เห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่าไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่า ลาภคือการได้นี้ เป็นลาภเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดแลเป็นผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคต หรือ สาวกของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ลาภคือการได้นี้เป็นลาภ อันประเสริฐกว่าลาภทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความ บริสุทธิ์แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่ง พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมได้สัทธาในพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต นี้ เราเรียกว่าลาภานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะเป็นดังนี้. ก็สิกขานุตตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ย่อม ศึกษาศิลปะเกี่ยวกับช้างบ้าง ม้าบ้าง รถบ้าง ธนูบ้าง ดาบบ้าง หรือศึกษาศิลปะชั้นสูงชั้นต่ำ ย่อมศึกษาต่อ สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การศึกษานี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าการศึกษานั้น เป็น การศึกษาที่เลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ส่วนบุคคลใดมีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้ว. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การศึกษานี้ประเสริฐกว่า การศึกษาทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมศึกษาอธิศีลบ้าง อธิจิตบ้าง อธิปัญญาบ้าง ในธรรม วินัยอันตถาคตประกาศแล้วนี้ เราเรียกว่าสิกขานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ เป็นดังนี้. ก็ปาริจริยานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมบำรุงกษัตริย์บ้าง, พราหมณ์บ้าง, คฤหบดีบ้าง, ก็หรือว่า ย่อมบำรุงบุคคลชั้นสูงและต่ำ, หรือย่อมบำรุง สมณพราหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้มีอยู่ เรามิได้ กล่าวว่า การบำรุงไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่การบำรุงนี้แลเป็นการ บำรุงอันเลว ฯลฯ ไม่เป็นไปเพื่อพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มี ความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของ พระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การบำรุงนี้ประเสริฐกว่า การบำรุงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิแห่ง สัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมบำรุงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้เรา เรียกว่าปาริจริยานุตริยะ. ทัสนานุตริยะ สวนานุตริยะ ลาภานุตริยะ สิกขา- นุตริยะ ปาริจริยานุตริยะ เป็นดังนี้. ก็อนุสตานุตริยะเป็นอย่างไร? ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ ย่อมระลึกถึงการได้บุตรบ้าง การได้ภรรยาบ้าง การ ได้ทรัพย์บ้าง ก็หรือว่าย่อมระลึกถึงการได้มากบ้าง น้อยบ้าง, หรือระลึกถึงสมณพรหมณ์ผู้มีความเห็นผิด ผู้ปฏิบัติผิด. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้มีอยู่ เรา มิได้กล่าวว่า การระลึกถึงนี้ไม่มี. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แต่ว่า การระลึกถึงนี้นั้น แลเป็นการระลึกถึงอันเลว ฯลฯ ย่อมไม่เป็นไปเพื่อ พระนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แต่ว่าบุคคลใดแลผู้มี สัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวก ของพระตถาคต. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย การระลึกถึงนี้ประเสริฐ กว่าการระลึกถึงทั้งหลาย ย่อมเป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์ แห่งสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ เพื่อทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน, ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่บุคคลผู้มีสัทธาตั้งมั่น มีความรักตั้งมั่น มีสัทธาไม่หวั่นไหว มีความเลื่อมใสยิ่ง ย่อมระลึกถึงพระตถาคตหรือสาวกของพระตถาคต. นี้ เราเรียกว่า อนุสตานุตริยะ.
อุรคชาดก ขอนอบน้อมแด่ พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์นั้น บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ อรรถกถา อุรคชาดก ว่าด้วย เปรียบคนตายเหมือนงูลอกคราบ พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภกฎุมพีคนหนึ่งผู้มีบุตรตายแล้ว จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ มีคำเริ่มต้นว่า อุรโคว ตจํ ชิณฺณํ ดังนี้ เรื่องปัจจุบันเป็นเหมือน เรื่องกฎุมพีผู้มีภรรยาตาย และมีบิดาตายแล้วนั่นแหละ. แม้ในชาดกนี้ พระศาสดาเสด็จไปยังนิเวศน์ของกฎุมพีนั้น อย่างนั้นเหมือนกัน แล้วตรัสถามกฎุมพีนั้น ผู้มาถวายบังคมแล้วนั่งอยู่ว่า อาวุโส ท่านเศร้าโศกหรือ. เมื่อกฎุมพีนั้นกราบทูลว่า พระเจ้าข้า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์เศร้าโศก ตั้งแต่บุตรของข้าพระองค์ตายไปแล้ว. จึงตรัสว่า อาวุโส ชื่อว่าสิ่งที่มีการแตกทำลายเป็นธรรมดา ย่อมจะแตกทำลายไป ชื่อว่าสิ่งที่มีการพินาศไปเป็นธรรมดา ย่อมจะพินาศไป ก็แหละสิ่งที่มีการแตกและการพินาศไปนั้น จะมีแก่คนผู้เดียวเท่านั้นก็หามิได้ จะมีในหมู่บ้านเดียวเท่านั้น ก็หามิได้ ชื่อว่าสภาวธรรม คือ ความไม่ตายย่อมไม่มีในภพทั้งสาม ในจักรวาลอันหาประมาณมิได้ แม้สังขารอย่างหนึ่งซึ่งสามารถดำรงอยู่โดยภาวะนั้นเท่านั้น ชื่อว่าเที่ยงยั่งยืนย่อมไม่มี สัตว์ทั้งปวงมีความตายเป็นธรรมดา สังขารทั้งหลายมีการแตกสลายไปเป็นธรรมดา แม้โบราณกบัณฑิตทั้งหลาย เมื่อบุตรตายแล้ว คิดว่าสิ่งที่มีการพินาศไปเป็นธรรมดา พินาศไปแล้ว จึงไม่เศร้าโศกเลย. อันกฎุมพีนั้นทูลอาราธนาแล้ว จึงทรงนำเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุลพราหมณ์ ณ หมู่บ้านใกล้ประตูเมืองพาราณสี สั่งสมทรัพย์สมบัติไว้เลี้ยงชีพด้วยกสิกรรม. พระโพธิสัตว์นั้นได้มีทารก ๒ คน คือ บุตร ๑ ธิดา ๑. พระโพธิสัตว์นั้น เมื่อบุตรเจริญวัยแล้ว ได้นำนางกุมาริกามาจากสกุลที่เสมอกัน. ดังนั้นชนเหล่านั้นได้เป็น ๖ คนด้วยกันกับนางทาสี คือ พระโพธิสัตว์ ภรรยา บุตร ธิดา ลูกสะใภ้และทาสี. ชนเหล่านั้นได้เป็นผู้สมัครสมานยินดีอยู่กันด้วยความรัก. พระโพธิสัตว์ได้ให้โอวาทแก่คนทั้ง ๕ ที่เหลืออย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายจงให้ทานโดยนิยามตามทำนองที่หาได้เท่านั้น จงรักษาศีล กระทำอุโบสถกรรม เจริญมรณัสสติ จงกำหนดถึงภาวะคือความตายของท่านทั้งหลาย เพราะความตายของสัตว์เหล่านี้เป็นของยั่งยืน ชีวิตไม่ยั่งยืน สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง มีความเสื่อมสิ้นไปเป็นธรรม (ดา) เทียว ท่านทั้งหลายจงเป็นผู้ไม่ประมาททั้งกลางคืนและกลางวันเถิด. ชนทั้ง ๕ นั้นรับโอวาทว่า สาธุ แล้วเป็นผู้ไม่ประมาท เจริญมรณสติอยู่. อยู่มาวันหนึ่ง พระโพธิสัตว์ไปนาพร้อมกับบุตรไถนาอยู่ บุตรลากหยากเหยื่อมาเผา ในที่ไม่ไกลบุตรนั้น มีอสรพิษอยู่ในจอมปลวกแห่งหนึ่ง ควันไฟกระทบตาของอสรพิษนั้น มันโกรธเลื้อยออกมาคิดว่า ภัยเกิดแก่เราเพราะอาศัยคนผู้นี้ จึงกัดบุตรชายจมทั้ง ๔ เขี้ยว เขาล้มลงตายทันที. พระโพธิสัตว์เหลียวมาดูเห็นบุตรชายนั้นล้มลง จึงหยุดโคแล้วไปหา รู้ว่าบุตรชายนั้นตายแล้ว จึงยกบุตรนั้นขึ้นให้นอนอยู่ที่โคนไม้แห่งหนึ่ง คลุมผ้าไว้ ไม่ร้องไห้ ไม่ปริเทวนาการร่ำไร ไถนาไปพลาง กำหนดถึงเฉพาะความเป็นอนิจจังว่า ก็สิ่งที่มีการแตกเป็นธรรมดา แตกไปแล้ว สิ่งที่มีความตายเป็นธรรมดา ตายไปแล้ว สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง สำเร็จด้วยความตาย. พระโพธิสัตว์นั้นเห็นบุรุษผู้คุ้นเคยกันคนหนึ่งเดินไปทางใกล้นา จึงถามว่า จะไปเรือนหรือพ่อ. เมื่อเขากล่าวว่า จ้ะ. จึงกล่าวว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านพึงแวะไปยังเรือน แม้ของพวกเรา บอกกะนางพราหมณีเขาว่า วันนี้ ไม่ต้องนำภัตตาหารไปเพื่อคนสองคนเหมือนดังก่อน พึงนำอาหารไปเฉพาะสำหรับคนผู้เดียวเท่านั้น และเมื่อก่อน ทาสีผู้เดียวเท่านั้นนำอาหารมา แต่วันนี้ คนทั้ง ๔ พึงนุ่งห่มผ้าขาว ถือของหอมและดอกไม้มา. บุรุษนั้นรับคำแล้วไปบอกแก่นางพราหมณีเหมือนอย่างนั้น. นางพราหมณีถามว่า ดูก่อนพ่อ ข่าวนี้ใครให้ท่านมา? บุรุษนั้นตอบว่า พราหมณ์ให้มาจ้ะ แม่เจ้า. นางพราหมณีนั้นรู้ได้ว่า บุตรของเราตายแล้ว แม้ความวิปริตสักว่า ความหวั่นใจก็มิได้มีแก่นางพราหมณีนั้น ก็นางมีจิตอบรมไว้ดีแล้วอย่างนี้ นุ่งห่มผ้าขาว ถือของหอมและดอกไม้ ให้ถืออาหารแล้วได้ไปพร้อมกับคนที่เหลือ แม้คนผู้เดียวก็มิได้มีความร้องไห้หรือความร่ำไร. พระโพธิสัตว์นั่งในร่มเงาที่บุตรชายนอนอยู่นั่นแหละบริโภคอาหาร ในเวลาเสร็จการบริโภคอาหาร คนแม้ทั้งหมดก็ขนฟืนมา ยกบุตรชายนั้นขึ้นสู่เชิงตะกอน บูชาด้วยของหอมและดอกไม้แล้วเผา น้ำตาแม้หยดเดียวก็ไม่ได้มีแก่ใครๆ ทั้งหมดเป็นผู้เจริญมรณัสสติไว้ดีแล้ว. ด้วยเดชแห่งศีลของชนเหล่านั้น ภพแห่งท้าวสักกะจึงแสดงอาการร้อน. ท้าวสักกะนั้นทรงใคร่ครวญอยู่ว่า ใครหนอประสงค์จะให้เราเคลื่อนจากที่ ทรงทราบว่า ภพร้อนเพราะเดชแห่งคุณของชนเหล่านั้น เป็นผู้มีพระมนัสเลื่อมใส ทรงดำริว่า เราไปยังสำนักของชนเหล่านี้ ทำให้เขาบันลือสีหในเวลาเสร็จสิ้นการบันลือสีหนาท จึงกระทำนิเวศน์ของชนเหล่านั้นให้เต็มด้วยรัตนะทั้ง ๗ แล้วจึงมา ย่อมจะควร จึงเสด็จไปในที่นั้นโดยเร็ว แล้วประทับยืนอยู่ที่ข้างป่าช้าตรัสว่า ดูก่อนพ่อ พวกท่านทำอะไรกัน. ชนเหล่านั้นกล่าวว่า นาย พวกเราเผามนุษย์คนหนึ่ง. ท้าวสักกะตรัสว่า พวกท่านจักไม่เผามนุษย์ แต่เห็นจะฆ่าเนื้อตัวหนึ่งแล้วจึงปิ้งอยู่. ชนเหล่านั้นกล่าวว่า นาย ข้อนั้นก็หามิได้ พวกเราเผาเฉพาะมนุษย์เท่านั้น. ท้าวสักกะตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น เขาคงจะเป็นมนุษย์ที่มีเวรกับพวกท่าน. ลำดับนั้น พระโพธิสัตว์จึงกล่าวกะท้าวสักกะนั้นว่า นาย เขาเป็นบุตรผู้เกิดแต่อกของพวกเรา ไม่ใช่คนมีเวรกัน. ท้าวสักกะตรัสว่า ถ้าอย่างนั้น เขาคงจะเป็นบุตรผู้ที่ไม่เป็นที่รักของท่าน. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า นาย เขาเป็นบุตรที่รักยิ่งของข้าพเจ้า. ท้าวสักกะตรัสว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร ท่านจึงไม่ร้องไห้. พระโพธิสัตว์นั้น เมื่อจะบอกถึงเหตุที่ไม่ร้องไห้ จึงกล่าวคาถาที่ ๑ ว่า บุตรของข้าพเจ้าละทิ้งร่างกายของตนไป ดุจงูละทิ้งคราบเก่าฉะนั้น เมื่อร่างกายแห่งบุตรของข้าพเจ้าใช้อะไรไม่ได้ ทำกาละไปแล้วอย่างนี้ บุตรของข้าพเจ้าถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไรของหมู่ญาติ เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่เศร้าโศกถึงเขา คติของตนมีอย่างใด เขาก็ย่อมไปสู่คติของตนอย่างนั้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สนฺตนุ ํ แปลว่า ร่างกายของตน. นิพฺโภเค ความว่า ชื่อว่าเว้นจากการใช้สอย เพราะไม่มีชีวิตินทรีย์ คือความเป็นใหญ่ คือชีวิต. บทว่า เปเต ได้แก่ กลับไปยังปรโลก. บทว่า กาลกเต ได้แก่ กระทำกาละแล้ว. อธิบายว่า ตายแล้ว. ท่านกล่าวคำอธิบายนี้ไว้ว่า นาย บุตรของข้าพเจ้าละทิ้งร่างกายของตนไป เหมือนงูลอกคราบเก่า ไม่เหลียวแลห่วงใย ละทิ้งไปฉะนั้น เมื่อร่างกายแห่งบุตรของเรานั้น เว้นขาดจากชีวิตินทรีย์ ใช้การไม่ได้อย่างนี้ และเมื่อบุตรของเรานั้นละไปแล้ว คือหวนกลับไปแล้ว กระทำมรณกาลแล้ว ประโยชน์อะไรด้วยความการุณย์หรือความร่ำไห้ เพราะบุตรของเรานี้ย่อมไม่รู้ แม้ความร่ำไห้ของพวกญาติ เหมือนเอาหลาวแทงแล้วเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกสุขและทุกข์ฉะนั้น เพราะเหตุนั้น เราจึงไม่เศร้าโศกถึงเขา เขาไปตามคติแห่งตนของเขาแล้ว. ท้าวสักกะได้ทรงฟังคำของพระโพธิสัตว์ แล้วตรัสถามนางพราหมณีว่า ดูก่อนแม่ เขาเป็นอะไรแก่ท่าน? นางพราหมณีตอบว่า นาย เขาเป็นบุตรที่ข้าพเจ้าบริหารด้วยครรภ์ถึง ๑๐ เดือน ให้ดื่มถันแล้ว บำรุงเลี้ยงให้เจริญเติบโต. ท้าวสักกะตรัสว่า ดูก่อนแม่ บิดาไม่ร้องไห้ เพราะเป็นบุรุษก็ยกไว้ ส่วนหทัยของมารดาอ่อนโยน เพราะเหตุไร ท่านจึงไม่ร้องไห้. นางพราหมณีนั้น เมื่อจะบอกเหตุที่ไม่ร้องไห้ จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า บุตรของดิฉันนี้ ดิฉันมิได้เชื้อเชิญให้เขามาจากปรโลก เขาก็มาเอง แม้เมื่อจะไปจากมนุษยโลกนี้ ดิฉันก็มิได้อนุญาตให้เขาไป เขามาอย่างใด เขาก็ไปอย่างนั้น การปริเทวนาถึงในการที่บุตรของดิฉันไปจากมนุษย์โลกนั้น จะเกิดประโยชน์อะไร บุตรของดิฉันถูกเผาอยู่ ก็ไม่รู้สึกถึงความร่ำไรของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่เศร้าโศกถึงเขา คติของเขามีอย่างใด เขาก็ไปสู่คติของตนอย่างนั้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อนพฺภิโต ความว่า ดูก่อนพ่อ บุตรของดิฉันนี้ ดิฉันมิได้เชื้อเชิญ คือมิได้ขอร้องให้มาจากปรโลก. บทว่า อาคา ความว่า มาสู่เรือนของดิฉันแล้ว. บทว่า อิโต ความว่า แม้เมื่อจะไปจากมนุษยโลกนี้ ดิฉันมิได้อนุญาตเลย ได้ไปแล้ว. บทว่า ยถาคโต ความว่า แม้เมื่อจะมาก็มาตามความชอบใจของตนอย่างใด แม้เมื่อจะไปก็ไปอย่างนั้นนั่นแหละ. บทว่า ตตฺถ ความว่า จะมัวไปปริเทวนาการร่ำไห้อะไร ในการที่เขาไปจากมนุษยโลกนี้นั้น. คาถาว่า ทยฺหมาโน ดังนี้ไปพึงทราบโดยนัยดังกล่าวแล้วแล. ลำดับนั้น ท้าวสักกะ ครั้นได้สดับถ้อยคำของนางพราหมณีแล้ว จึงตรัสถามน้องสาวว่า แน่ะแม่ เขาเป็นอะไรแก่เธอ? น้องสาวกล่าวว่า เขาเป็นพี่ชายของดิฉันจ้ะนาย. ท้าวสักกะตรัสว่า แน่ะแม่ ธรรมดา น้องสาวทั้งหลายย่อมมีความสิเนหารักใคร่พี่ชาย เพราะเหตุไร เธอจึงไม่ร้องไห้. ฝ่ายน้องสาวนั้น เมื่อจะบอกเหตุที่ไม่ร้องให้แก่ท้าวสักกะนั้น จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า เมื่อพี่ชายตายแล้ว หากว่าดิฉันจะพึงร้องไห้ ดิฉันก็จะผ่ายผอม เมื่อดิฉันร้องไห้อยู่ จะมีผลอะไร ความไม่ยินดีก็จะพึงมีแก่ญาติ มิตร และสหายของดิฉันยิ่งขึ้น พี่ชายของดิฉันถูกเผาอยู่ ก็ไม่รู้สึกถึงความร่ำไห้ของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่เศร้าโศกถึงพี่ชายนั้น คติของตนมีอย่างใด เขาก็ไปสู่คติของตนอย่างนั้น. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สเจ นี้ ท่านแสดงว่า ถ้าเมื่อพี่ชายตาย ดิฉันจะพึงร้องไห้ไซร้ ดิฉันจะพึงเป็นผู้มีร่างกายผ่ายผอม. อนึ่ง ชื่อว่าความเจริญอันมีการร้องไห้นั้นเป็นปัจจัย ก็ไม่มีแก่พี่ชายของดิฉัน. ด้วยบทว่า ตสฺสา เม นี้ แสดงว่า เมื่อดิฉันนั้นร้องไห้อยู่ ผลอะไร คืออานิสงส์อะไร จะพึงมี แต่ความไม่เจริญจะปรากฎ. บทว่า ญาติมิตฺตาสุหชฺชานํ ได้แก่ ญาติ มิตรและสหาย. อีกอย่างหนึ่ง บาลีก็อย่างนี้เหมือนกัน. บทว่า ภิยฺโย โน ความว่า ความไม่ยินดีอย่างยิ่ง จะพึงมีแก่ญาติ มิตร และสหายเหล่านั้นของดิฉัน. ครั้นท้าวสักกะได้ทรงสดับถ้อยคำของหญิงผู้เป็นน้องสาวแล้ว จึงตรัสถามภรรยาของบุตรที่ตายนั้นว่า แน่ะแม่ เขาเป็นอะไรแก่เธอ? ภรรยาตอบว่า นาย เขาเป็นสามีดิฉัน. ท้าวสักกะตรัสว่า ธรรมดาสตรีทั้งหลาย เมื่อสามีตายไป ย่อมเป็นหม้าย ไร้ที่พึ่ง เพราะเหตุไร เธอจึงไม่ร้องไห้. ฝ่ายภรรยานั้น เมื่อจะบอกเหตุที่ไม่ร้องไห้แก่ท้าวสักกะนั้น จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า เด็กร้องไห้ขอพระจันทร์อันโคจรอยู่ในอากาศฉันใด การที่บุคคลมาเศร้าโศกถึงผู้ที่ละไปสู่ปรโลกแล้วนี้ ก็มีอุปไมยฉันนั้น สามีของดิฉันถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไห้ของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่เศร้าโศกถึงสามีนั้น คติของตนมีอย่างใด เขาก็ไปสู่คติของตนอย่างนั้น. คำที่เป็นคาถานั้นมีเนื้อความว่า ทารกผู้อ่อนเยาว์ไม่รู้สิ่งที่ควรและไม่ควร สิ่งที่ควรได้และไม่ควรได้ ในที่ใดที่หนึ่ง นั่งอยู่บนตักของมารดา เห็นพระจันทร์เต็มดวงในเดือนวันเพ็ญ ลอยเด่นอยู่ในอากาศ ย่อมร้องไห้แล้วๆ เล่าๆ ว่า แม่จ๋า จงให้พระจันทร์ฉัน แม่จ๋า จงให้พระจันทร์ฉัน ดังนี้ ฉันใด ความถึงพร้อมอุปไมย ก็ฉันนั้นเหมือนกัน คือ ความร้องไห้ของคนผู้เศร้าโศกถึงคนที่ละไป คือตายไปแล้วนั้น สำเร็จความอุปไมยเหมือนฉันนั้น ทั้งไม่มีประโยชน์ ยิ่งกว่าพาลทารกผู้ร้องไห้ อยากได้พระจันทร์แม้นี้ เพราะเหตุไร? เพราะพาลทารกเด็กอ่อนนั้นร้องไห้ถึงพระจันทร์ที่มีอยู่ ส่วนสามีของดิฉันตายแล้ว บัดนี้ ไม่ปรากฎอยู่ แม้เขาเอาหลาวแทงเผาอยู่ ก็ไม่รู้อะไรๆ. ท้าวสักกะได้ทรงสดับถ้อยคำของภรรยา แล้วจึงตรัสถามทาสีว่า ดูก่อนแม่ เขาเป็นอะไรแก่เจ้า? ทาสีตอบว่า ข้าแต่นาย เขาเป็นนายของดิฉัน. ท้าวสักกะตรัสว่า เจ้าจักได้ถูกบุรุษนี้เบียดเบียนโบยตีแล้วใช้สอยเป็นแน่ เพราะฉะนั้น เจ้าจึงไม่ร้องไห้เพราะคิดว่า บุรุษนี้พ้นไปเสียดีแล้ว. ทาสีกล่าวว่า นาย ท่านอย่าพูดอย่างนั้น คำที่ท่านพูดนี้ไม่สมควรแก่นายดิฉันนี้ ลูกเจ้านายของดิฉันเพียบพร้อมด้วยขันติ เมตตาและความเอ็นดู ได้เป็นผู้เสมือนบุตรที่ดิฉันให้เจริญเติบโตในอก. ท้าวสักกะตรัสว่า เมื่อเป็นเช่นนั้น เพราะเหตุไร เจ้าจึงไม่ร้องไห้. ฝ่ายทาสีนั้น เมื่อจะบอกเหตุที่ไม่ร้องไห้แก่ท้าวสักกะนั้น จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า หม้อน้ำที่แตกแล้ว เชื่อมให้สนิทอีกไม่ได้ ฉันใด การที่บุคคลเศร้าโศกถึงผู้ที่ละไปสู่ปรโลกแล้วนี้ ก็มีอุปไมยฉันนั้น นายของดิฉันถูกเผาอยู่ ย่อมไม่รู้สึกถึงความร่ำไห้ของพวกญาติ เพราะฉะนั้น ดิฉันจึงไม่เศร้าโศกถึงนายนั้น คติของตนมีอย่างใด นายของดิฉันก็ไปสู่คติของตนอย่างนั้น. คำที่เป็นคาถานั้นมีความว่า หม้อน้ำอันเขายกขึ้น พลัดตกแตกออก ๗ เสี่ยง ย่อมไม่อาจที่จะเรียงเชื่อมกระเบื้องเหล่านั้นแล้ว ทำให้กลับเป็นของปกติได้อีก ชื่อฉันใด ความเศร้าโศกของคนผู้เศร้าโศก ถึงคนที่ละไปแล้วนั้น ก็ให้สำเร็จความอุปไมยเหมือนฉันนั้น เพราะไม่อาจทำคนตายให้เป็นขึ้นมาได้อีก. อีกอย่างหนึ่ง ผู้มีฤทธิ์ไม่อาจเชื่อมหม้อที่แตกแล้วให้เต็มด้วยน้ำ ด้วยอานุภาพแห่งฤทธิ์ ฉันใด ถึงผู้ที่ตายแล้ว ใครๆ ก็ไม่อาจทำให้กลับเป็นปกติตามเดิม แม้ด้วยกำลังฤทธิ์ได้ฉันนั้น. คาถานอกนี้ มีเนื้อความได้กล่าวไว้แล้วในคาถาก่อนทั้งนั้น. ท้าวสักกะทรงสดับธรรมกถาของคนทั้งหมดแล้ว ทรงเลื่อมใส ตรัสว่า ท่านทั้งหลายเป็นผู้ไม่ประมาทเจริญมรณัสสติแล้ว จำเดิมแต่นี้ไป ท่านทั้งหลายไม่ต้องทำการงานด้วยมือของตน เราเป็นท้าวสักกะเทวราช เราจักทำรัตนะทั้ง ๗ อันหาประมาณมิได้ไว้ในเรือนของพวกท่าน ท่านทั้งหลายจงให้ทาน รักษาศีล อยู่จำอุโบสถ จงเป็นผู้ไม่ประมาทเถิด. ครั้นให้โอวาทแก่ชนเหล่านั้นแล้ว ทรงกระทำเรือนให้มีทรัพย์นับประมาณไม่ได้ แล้วเสด็จหลีกไป. พระศาสดา ครั้นทรงนำพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว จึงทรงประกาศสัจจะ แล้วประชุมชาดก ในเวลาจบสัจจะ กฎุมพีดำรงอยู่ในโสดาปัตติผล. ทาสีในครั้งนั้น ได้เป็น นางขุชชุตตรา ธิดาได้เป็น นางอุบลวรรณา บุตรได้เป็น พระราหุล มารดาได้เป็น นางเขมา ส่วนพราหมณ์ได้เป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบอรรถกถาอุรคชาดกที่ ๔
สัจจะยังมีอยู่ครั้นสำรวจดูแล้วมันก็แค่นั้นแหละ แค่ที่เราเคยพบมาแล้วนั่นเอง ทำไมจึงไม่มากกว่านั้น มากกว่านั้นไม่มี โลกนี้มีอยู่แค่นั้นเอง แล้วก็ซ้ำๆ ซากๆ อยู่แค่นั้น เกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่ร่ำไป มันจึงน่าจะมีความสุขชนิดพิเศษกว่า ประเสริฐกว่านั้น ปลอดภัยกว่านั้น พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านจึงสละสุขส่วนน้อยนั้นเสีย เพื่อแสวงหาสุขอันเกิดจากความสงบกาย สงบจิต สงบกิเลส เป็นความสุขที่ปลอดภัยหาสิ่งใดเปรียบมิได้เลย * ภิกษุเราถ้าปลูกความยินดีในเพศภาวะของตนได้แล้ว ก็จะมีแต่ความสุข เยือกเย็น ถ้าตัวเองอยู่ในเพศภิกษุ แต่กลับไปยินดีในเพศอื่น ความทุกข์ก็จะทับถมอยู่ร่ำไป หยุดกระหาย หยุดแสวงหาได้ นั่นคือภิกษุภาวะโดยแท้ ความเป็นพระนั้น ยิ่งจน ยิ่งมีความสุข * ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว สัตว์เลื้อยคลานเล็กน้อยเช่น เหาย่อมอาศัยอยู่ไม่ได้ฉันใด จิตที่พ้นจากอารมณ์ ขาดการปรุงแต่งแล้ว ทุกข์ก็อาศัยอยู่ไม่ได้ฉันนั้น * ในทางโลกเขามีสิ่งที่มี แต่ในทางธรรมมีสิ่งที่ไม่มี คนในโลกนี้ต้องมีสิ่งที่มี เพื่ออาศัยสิ่งนั้นเป็นอยู่ ส่วนผู้ปฏิบัติธรรมต้องปฏิบัติจนถึงสิ่งที่ไม่มีและอยู่กับสิ่งที่ไม่มี * การปฏิบัติธรรม ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปไหน ในเมื่อกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเป็นตัวธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิดแห่งธรรม เป็นที่ดับแห่งธรรม เป็นที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อาศัยบัญญัติไว้ซึ่งธรรมทั้งปวง แม้ใครใคร่จะปฏิบัติธรรม ก็ต้องปฏิบัติที่กายและใจนี้ หาได้ปฏิบัติที่อื่นไม่ ดังนั้น ถ้าตั้งใจจริงแล้ว นั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น
สัจจะยังมีอยู่ครั้นสำรวจดูแล้วมันก็แค่นั้นแหละ แค่ที่เราเคยพบมาแล้วนั่นเอง ทำไมจึงไม่มากกว่านั้น มากกว่านั้นไม่มี โลกนี้มีอยู่แค่นั้นเอง แล้วก็ซ้ำๆ ซากๆ อยู่แค่นั้น เกิด แก่ เจ็บ ตาย อยู่ร่ำไป มันจึงน่าจะมีความสุขชนิดพิเศษกว่า ประเสริฐกว่านั้น ปลอดภัยกว่านั้น พระอริยเจ้าทั้งหลาย ท่านจึงสละสุขส่วนน้อยนั้นเสีย เพื่อแสวงหาสุขอันเกิดจากความสงบกาย สงบจิต สงบกิเลส เป็นความสุขที่ปลอดภัยหาสิ่งใดเปรียบมิได้เลย * ภิกษุเราถ้าปลูกความยินดีในเพศภาวะของตนได้แล้ว ก็จะมีแต่ความสุข เยือกเย็น ถ้าตัวเองอยู่ในเพศภิกษุ แต่กลับไปยินดีในเพศอื่น ความทุกข์ก็จะทับถมอยู่ร่ำไป หยุดกระหาย หยุดแสวงหาได้ นั่นคือภิกษุภาวะโดยแท้ ความเป็นพระนั้น ยิ่งจน ยิ่งมีความสุข * ศีรษะที่ปลงผมหมดแล้ว สัตว์เลื้อยคลานเล็กน้อยเช่น เหาย่อมอาศัยอยู่ไม่ได้ฉันใด จิตที่พ้นจากอารมณ์ ขาดการปรุงแต่งแล้ว ทุกข์ก็อาศัยอยู่ไม่ได้ฉันนั้น * ในทางโลกเขามีสิ่งที่มี แต่ในทางธรรมมีสิ่งที่ไม่มี คนในโลกนี้ต้องมีสิ่งที่มี เพื่ออาศัยสิ่งนั้นเป็นอยู่ ส่วนผู้ปฏิบัติธรรมต้องปฏิบัติจนถึงสิ่งที่ไม่มีและอยู่กับสิ่งที่ไม่มี * การปฏิบัติธรรม ไม่จำเป็นต้องเดินทางไปไหน ในเมื่อกายยาว ๑ วา หนา ๑ คืบ นี้แลเป็นตัวธรรม เป็นตัวโลก เป็นที่เกิดแห่งธรรม เป็นที่ดับแห่งธรรม เป็นที่ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าได้อาศัยบัญญัติไว้ซึ่งธรรมทั้งปวง แม้ใครใคร่จะปฏิบัติธรรม ก็ต้องปฏิบัติที่กายและใจนี้ หาได้ปฏิบัติที่อื่นไม่ ดังนั้น ถ้าตั้งใจจริงแล้ว นั่งอยู่ที่ไหน ธรรมก็เกิดที่ตรงนั้น
ประตูสู่การบรรลุมรรคผลทำไปเรื่อยๆ จนถึงวันหนึ่งก็พบว่า เอ๊.. ทำยังไง ดีก็ไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวรนะ ตัวผู้รู้เกิดได้ก็กลายเป็นตัวผู้คิดได้ ยังกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย้ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวเราดู ที่เราปฏิบัติ เราอยากได้ตรงนี้ใช่มั้ย อยากได้ มรรค ผล นิพพาน จริงๆเพราะอะไร มรรค ผล นิพพาน มันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากจะได้ มรรค ผล นิพพาน เพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ก็ต้องมาทำอีก นี่ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนก็อยากได้มรรค ผล นิพพาน ก็เพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบ นั่นแหละ ทีนี้ตะเกียกตะกายนะ หาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดี เต็มที่แล้ว วันหนึ่งจิตของเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร แล้วคิดก็ว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำมันให้ดีให้ได้ คิดจะทำมันให้สุขให้ได้ คิดจะทำมันให้สงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว เราก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้ายเนี่ย พากเพียรแทบล้มแทบตายนะ ก็พบว่า ดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวไปหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้นะ จิตก็หมดแรงดิ้นละ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก เนี่ย จิตจะหยุดแรงดิ้นนะ หมดแรงดิ้น แต่จิตที่หมดแรงดิ้นเพราะดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้ๆๆ รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่น เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว้บๆ แล้วก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง มันจนมุมไปหมดเลย คือสติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนื่ยจิตถ้าภาวนามาจนสุดขีดนะ มันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุมนี้ มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าจะทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาสุดฤทธิ์สุดเดชแล้วก็ไม่รู้จะทำยังไง มันทำไม่ได้สักทีหนึ่งพอจิตหมดแรงดิ้นแล้ว จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา
เสียงที่ฟังแล้วจะบรรลุธรรมอันสูงสุดในศาสนาของพระศาสดาอาทิยะสุตตะคาถา ภุตตา โภคา ภะฎา ภัจจา วิติณณา อาปะทาสุ เม โภคะทั้งหลายเราได้บริโภคแล้ว บุคคลทั้งหลายที่ควรเลี้ยง เราได้เลี้ยงแล้ว อันตรายทั้งหลาย เราได้ข้ามพ้นไปแล้ว อุคธัคคา ทักขิณา ทินนา อะโถ ปัญจะ พะลี กะตา ทักษิณาที่เจริญผล เราได้ให้แล้ว อนึ่ง พลีห้า เราได้ทำแล้ว อุปัฏฐิตา วีละวันโต สัญญะตา พรัหมะจาริโน ท่านผู้มีศีลสำรวมระวัง ประพฤติพรหมจรรย์ เราได้บำรุงแล้ว ยะทัตถัง โภคะมิจเฉยยะ ปัณฑิโต ฆะระมาวะสัง บัณฑิตผู้อยู่ครองเรือน ปรารถนาโภคะเพื่อประโยชน์อันใด โส เม อัตโถ อะนุปปัตโต กะตัง อะนะ นุตาปิยัง ประโยชน์นั้น เราได้บรรลุแล้ว กรรมไม่เป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลังเราได้ทำแล้ว เอตัง อะนุสสะรัง มัจโจ อะริยะธัมเม ฐิโต นะโร นรชนผู้จะต้องตายเมื่อตามระลึกถึงคุณข้อนี้อยู่ พึงเป็นผู้ตั้งอยู่ในอริยะธรรม อิเธวะ นัง ปะสังสันติ เปจจะ สัคเค ปะโมทะตีติ. เทวดาและมนุษย์ทั้งหลายย่อมสรรเสริญนรชนนั้นในโลกนี้ นรชนนั้นละโลกนี้ไปแล้ว ย่อมบันเทิงในสวรรค์ ดังนี้แล.
กามชาดกออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
กามชาดกออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
พระอานนท์พระพุทธอนุชาลำดับที่ 1**ในที่ประชุมสงฆ์ ณ เชตวันมหาวิหาร*** สมณะทั้งสองเดินดุ่มผ่านทุ่งกว้างเข้าสู่เขตป่าโปร่ง มีทางพอเดินได้สะดวก สมณะซึ่งเดินนำหน้ามีอินทรีย์ผ่องใส มีสายตาทอดลงต่ำ ผิวขาวละเอียดอ่อนลักษณะแสดงว่ามาจากวรรณะสูง อากัปกิริยาและท่าที่เยื้องย่างน่าทัศนา นำมาซึ่งความเลื่อมใสปีติปราโมชแก่ผู้พบเห็นยิ่งนัก ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะทำขึ้นอย่างง่ายๆ ไม่มีรูปทรงอะไร แต่ก็มองดูสะอาดเรียบร้อยดี ส่วนสมณะผู้เดินอยู่เบื้องหลัง แม้จะมีส่วนสูงไม่เท่าองค์หน้า แต่ก็มีรูปร่างอยู่ในขนาดเดียวกัน ท่านเดินได้ระยะพองามไม่ห่างกันและไม่ชิดจนเกินไป ทั้งสองเดินมาถึงทางสองแพร่ง เมื่อสมณะผู้เดินหน้ามีอาการว่าจะเลี้ยวไปทางขวา สมณะผู้เดินหลังก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่พระผู้มีพระภาค! ข้าพระองค์ต้องการไปทางซ้าย พระเจ้าข้าฯ" "อย่าเลย - นาคสมาละ! ตถาคตต้องการไปทางขวา เรามีเรื่องสำคัญที่จะต้องไปโปรดสัตว์ทางนี้" "ข้าพระองค์ต้องการไปทางซ้าย พระเจ้าข้าฯ" พระนาคสมาละยืนยัน "อย่าเลย - นาคสมาละ! มากับตถาคตทางขวานี่เถิด" พระผู้มีพระภาคขอร้อง พระพุทธองค์ทรงห้ามถึงสามครั้งแต่พระนาคสมาละก็หายอมไม่ ในที่สุดท่านก็วางบาตรของพระผู้มีพระภาคไว้ในทางสองแพร่ง แล้วเดินหลีกไปทางซ้ายตามความปรารถนาของท่าน พระจอมมุนีศากบุตรต้องนำบาตรของพระองค์ไปเองและเสด็จไปโดดเดี่ยว อีกครั้งหนึ่ง พระเมฆิยะเป็นพระอุปฐากพระผู้มีพระภาค พระองค์เสด็จไปยังชันตุคาม เขตปาจีนวังสะมีพระเมฆิยะตามเสด็จ เวลาเช้าพระเมฆิยะไปบิณฑบาตในชันตุคาม กลับจากบิณฑบาตแล้วท่านเดินผ่านสวนมะม่วงอันน่ารื่นรมย์แห่งหนึ่ง ปรารถนาจะไปบำเพ็ญสมณธรรมที่นั่น จึงกราบทูลขออนุญาตพระพุทธองค์ พระพุทธองค์ทรงห้ามถึงสามครั้งว่า "อย่าเพิ่งไปเลย - เมฆิยะ เวลานี้เราอยู่คนเดียว ขอให้ภิกษุอื่นมาแทนเสียก่อนแล้วเธอจึงค่อยไป" ความจริงพระพุทธองค์ทรงเห็นอุปนิสัยของพระเมฆิยะว่ายังไม่สมควรที่จะไป จึงไม่ทรงอนุญาต หาใช่เพราะทรงคำนึงถึงความลำบากไม่ และไม่ใช่พระองค์จะไม่ทรงเห็นความจำเป็นในการบำเพ็ญสมณธรรม เกี่ยวกับเรื่องสมณธรรมนั้น พระพุทธองค์ทรงส่งเสริมให้ภิกษุกระทำอยู่เสมอ พระเมฆิยะไม่ยอมฟังคำท้วงติงของพระพุทธองค์ ละทิ้งพระองค์ไว้แล้วไปสู่สวนมะม่วงอันร่มรื่น บำเพ็ญสมณธรรมทำจิตให้สงบ แต่ก็หาสงบไม่ ถูกวิตกทั้งสามรบกวนจนไม่อาจให้จิตสงบได้เลย วิตกทั้งสามนั้นคือกามวิตก - ความตรึกเรื่องกาม พยาบาทวิตก - ความตรึกในทางปองร้าย และวิหิงสาวิตก - ความตรึกในทางเบียดเบียน ในที่สุดจึงกลับมาเฝ้าพระผู้มีพระภาค พระพุทธองค์ทรงเตือนว่า "เมฆิยะเอย! จิตนี้เป็นสิ่งที่ดิ้นรนกวัดแกว่งรักษายาก ห้ามได้ยาก ผู้มีปัญญาจึงพยายามทำจิตนี้ให้หายดิ้นรน และเป็นจิตตรงเหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง เมฆิยะเอย! จิตนี้คอยแต่จะกลิ้งเกลือกลงไปคลุกเคล้ากับกามคุณ เหมือนปลาซึ่งเกิดในน้ำถูกนายพรานเบ็ดยกขึ้นจากน้ำแล้ว คอยแต่จะดิ้นลงไปในน้ำอยู่เสมอ ผู้มีปัญญาจึงพยายามยกจิตขึ้นจากอาศัยในกามคุณ ให้ละบ่วงมารเสีย" ภายใน ๒๐ ปีแรก จำเดิมแต่การตรัสรู้ของพระผู้มีพระภาค คือระหว่างพระชนมายุ ๓๕ ถึง ๕๔ พรรษา พระพุทธองค์ ไม่มีพระสาวกผู้อยู่อุปฐากประจำ บางคราวก็เป็นพระอุปวาณะ บางคราวพระนาคิตะ บางคราวพระสุนักขัตตะ บางคราวพระสาคตะ บางคราวพระราธะ บางคราวพระนาคสมาละ และบางคราวพระเมฆิยะที่กล่าวแล้ว บางคราวก็เป็นสามเณรจุนทะ น้องชายพระสารีบุตร พระผู้มีพระภาคได้รับความลำบากด้วยการที่ภิกษุผู้อุปฐากไม่รู้พระทัยของพระองค์ ต้องเปลี่ยนอยู่บ่อยๆ ถ้าจะมีผู้สงสัยว่า เหตุไฉนพระพุทธเจ้าจึงต้องมีพระอุปฐากประจำด้วย ดูๆ จะมิเป็นการยังถือยศศักดิ์ถือฐานะอยู่หรือ? เรื่องนี้ถ้าพิจารณาด้วยดี จะเห็นความจำเป็นที่พระองค์จะต้องมีพระอุปฐากประจำ หรือผู้รับใช้ใกล้ชิด เพราะพระองค์ต้องทำหน้าที่ของพระพุทธเจ้า ต้องมีการประชุมสงฆ์เป็นคราวๆ และต้องต้อนรับคฤหัสถ์บรรพชิตมากหลาย ที่มาเฝ้าเพื่อถวายปัจจัยบ้าง เพื่อทูลถามปัญหาข้อข้องใจบ้าง ในบรรดาผู้มาเฝ้าเหล่านั้น ที่เป็นมาตุคามก็มีมาก จะเห็นว่าพระองค์ไม่ควรประทับอยู่แต่ลำพัง แต่ก็มีนานๆ ครั้งที่พระศาสดาทรงปลีกพระองค์ไปประทับแต่ลำพัง ในระยะนั้นเป็นที่ทราบกันว่าพระองค์ไม่ทรงต้อนรับผู้ใด ทรงหลีกเร้นอยู่เพื่อแสวงหาความสุขในปัจจุบัน ที่เรียกว่า "ทิฏฐธรรมสุขวิหาร" ด้วยประการดังกล่าวมานี้ จึงคราวหนึ่ง เมื่อพระองค์ประทับอยู่ ณ เชตวันมหาวิหาร ใกล้กรุงสาวัตถีราชธานีแห่งแคว้นโกศล พระเถระชั้นผู้ใหญ่เป็นจำนวนมาก มีพระสารีบุตร พระมหาโมคคัลลานะ เป็นต้น มาประชุมกันพร้อม พระผู้มีพระภาคทรงปรารภในท่ามกลางสงฆ์ว่า บัดนี้พระองค์ทรงพระชราแล้ว ภิกษุผู้อุปฐากพระองค์ บางรูปก็ทอดทิ้งพระองค์ไปเสียเฉยๆ บางรูปวางบาตร และจีวรของพระองค์ไว้บนพื้นดินแล้วเดินจากไป จึงขอให้สงฆ์เลือกภิกษุรูปใดรูปหนึ่งขึ้นรับตำแหน่งอุปฐากพระองค์เป็นประจำ ภิกษุทั้งหลายได้ฟังพระดำรัสนี้แล้ว มีความสังเวชสลดจิตอย่างยิ่ง พระสารีบุตรกราบบังคมทูลขึ้นก่อนว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นดวงตาของโลก! ข้าพระพุทธเจ้าขออาสา รับเป็นอุปฐากปฏิบัติพระองค์เป็นประจำ ขอพระผู้มีพระภาคอาศัยความอนุเคราะห์รับข้าพระองค์เป็นอุปฐากเถิด" พระผู้มีพระภาคตรัสตอบขอบใจพระสารีบุตร แล้วตรัสว่า "สารีบุตร! อย่าเลย - เธออย่าทำหน้าที่อุปฐากเราเลย เธออยู่ ณ ที่ใดที่นั้นก็มีประโยชน์มาก โอวาทคำสั่งสอนของเธอเป็นเหมือนโอวาทของพระพุทธเจ้า เธอสามารถหมุนธรรมจักรให้เป็นประโยชน์สุขแก่ปวงชนเช่นกับด้วยเรา ผู้ได้เข้าใกล้เธอเหมือนได้เข้าใกล้เรา ผู้ที่สนทนากับเธอเหมือนได้สนทนากับเรา" ต่อจากนั้นพระมหาเถระรูปอื่นๆ ต่างก็แสดงความจำนงจะเป็นอุปฐากปฏิบัติพระพุทธองค์เป็นประจำ แต่พระองค์ทรงห้ามเสียทั้งสิ้น เหลือแต่พระอานนท์เท่านั้นที่ยังคงนั่งเฉยอยู่ พระสารีบุตรจึงกล่าวเตือนพระอานนท์ขึ้นว่า "อานนท์! เธอไม่เสนอเพื่อรับเป็นอุปฐากพระผู้มีพระภาคหรือ ทำไมจึงนั่งเฉยอยู่" "ข้าแต่ท่านธรรมเสนาบดี" พระอานนท์ตอบ "อันตำแหน่งที่ขอได้มานั้นจะประเสริฐอะไร อีกประการหนึ่งเล่า พระผู้มีพระภาคก็ทรงทราบอัธยาศัยของข้าพเจ้าอยู่ ถ้าพระองค์ทรงประสงค์ก็คงจะตรัสให้ข้าพเจ้าเป็นอุปฐากของพระองค์เอง ความรู้สึกของข้าพเจ้าที่มีต่อพระผู้มีพระภาคเป็นอย่างไร พระองค์ก็ทรงทราบอยู่แล้ว" ที่ประชุมเงียบไปครู่หนึ่ง ไม่มีผู้ใดไหวกายหรือวาจาเลย เงียบสงบเหมือนไม่มีพระภิกษุอาศัยอยู่ ณ ที่นั้นเลย ภิกษุทุกรูปนั่งสงบ ไม่มีแม้แต่เพียงไอหรือจามหรืออาการกระดุกกระดิก พระผู้มีพระภาคตรัสขึ้นท่ามกลางความเงียบขึ้นว่า "ภิกษุทั้งหลาย! อานนท์มีความประสงค์ที่จะอุปฐากเราอยู่แล้ว เป็นเพียงขอให้สงฆ์รับทราบเท่านั้น เพราะฉะนั้นตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป อานนท์จักอุปฐากเรา" เป็นความรอบคอบสุขุมของพระผู้มีพระภาคที่ตรัสเช่นนั้น ความจริงหากพระองค์จะไม่ตรัสในที่ประชุมสงฆ์ แต่ตรัสเฉพาะพระอานนท์เอง พระอานนท์ก็พอใจที่จะอุปฐากอยู่ใกล้ชิดพระองค์ตลอดเวลา แต่เพื่อจะยกย่องพระอานนท์ และให้สงฆ์รับทราบในอัธยาศัยของพระอานนท์ พระองค์จึงปรารภเรื่องนี้ท่ามกลางสงฆ์ ความเป็นจริงพระอานนท์ได้สั่งสมบารมีมาเป็นเวลาหลายร้อยชาติ เพื่อตำแหน่งอันมีเกียรตินี้ พระอานนท์เป็นผู้รอบคอบ มองเห็นกาลไกล เมื่อพระผู้มีพระภาคและสงฆ์มอบตำแหน่งนี้ไว้แล้ว จึงทูลของเงื่อนไขบางประการดังนี้ "ข้าแต่พระผู้เป็นนาถาของโลก! เมื่อข้าพระองค์รับเป็นพุทธอุปฐากแล้ว ข้าพระองค์ทูลขอพระกรุณาบางประการ คือ ๑. ขอพระองค์อย่าได้ประทานจีวรอันประณีตที่มีผู้นำมาถวายแก่ข้าพระองค์เลย ๒. ขอพระองค์อย่าได้ประทานบิณฑบาต อันประณีตที่พระองค์ได้แล้วแก่ข้าพระองค์ ๓. ขอพระองค์อย่าได้ให้ข้าพระองค์อยู่ในที่ๆ เดียวกันกับที่พระองค์ประทับ ๔. ขออย่าได้พาข้าพระองค์ไปในที่นิมนต์ ซึ่งพระองค์รับไว้ "ดูก่อนอานนท์! เธอเห็นประโยชน์อย่างไรจึงขอเงื่อนไข ๔ ประการนี้" "ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้าพระองค์ทูลขอพร ๔ ประการนี้ เพื่อป้องกันมิให้คนทั้งหลายตำหนิได้ ว่าข้อพระองค์รับตำแหน่งพุทธอุปฐาก เพราะเห็นแก่ลาภสักการะ" พระอานนท์ยังได้ทูลขึ้นอีกในบัดนี้ว่า "ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นบุรุษสูงสุด! ข้ออื่นยังมีอีกคือ ๕. ขอพระองค์โปรดกรุณา เสด็จไปสู่ที่นิมนต์ ซึ่งข้าพระองค์รับไว้เพื่อพระองค์ไม่อยู่ ๖. ขอให้ข้าพระองค์ได้พาพุทธบริษัทเข้าเฝ้าพระองค์ได้ในขณะที่เขามาเพื่อจะเฝ้า ๗. ถ้าข้าพระองค์มีความสงสัยเรื่องใด เมื่อใดขอให้ได้เข้าเฝ้าทูลถามได้ทุกโอกาส" "อานนท์! เธอเห็นประโยชน์อย่างไร จึงขอพร ๓ ประการนี้!" "ข้าพระองค์ทูลขอ เพื่อป้องกันมิให้คนทั้งหลายตำหนิได้ว่า ข้าพระองค์บำรุงพระองค์อยู่ทำไมกัน เรื่องเพียงเท่านี้พระองค์ก็ไม่ทรงสงเคราะห์ ข้าแต่พระจอมมุนี ข้ออื่นยังมีอีก คือ ๘. ถ้าพระองค์แสดงพระธรรมเทศนา ในที่ใดแก่ผู้ใด ซึ่งข้าพระองค์มิได้อยู่ด้วย ขอได้โปรดเล่าพระธรรมเทศนานั้นแก่ข้าพระองค์อีกครั้งหนึ่ง" "อานนท์! เธอเห็นประโยชน์อย่างไร จึงขอพรข้อนี้?" "ข้าแต่พระจอมมุนี! ข้าพระองค์ทูลขอพรข้อนี้เพื่อป้องกันมิให้คนทั้งหลายตำหนิได้ว่า ดูเถิด พระอานนท์เฝ้าติดตามพระศาสดาอยู่เหมือนเงาตามตัว แต่เมื่อถามถึงพระสูตร หรือชาดก หรือคาถา ว่าสูตรนี้ ชาดกนี้ คาถานี้ พระผู้มีพระภาคทรงแสดงแก่ใคร ที่ไหนก็หารู้ไม่ เรื่องเพียงเท่านี้ยังไม่รู้ จะมัวติดตามพระศาสดาอยู่ทำไม เหมือนกบอยู่ในสระบัว แต่หารู้ถึงเกสรบัวไม่" พระพุทธองค์ ประทานพรทั้ง ๘ ประการ แก่พระอานนท์พุทธอนุชาตามปรารถนาและพระอานนท์ก็รับตำแหน่งพุทธอุปฐากตั้งแต่บัดนั้นมา พระผู้มีพระภาคมีพระชนมายุได้ ๕๕ พรรษา เป็นปีที่ ๒๐ จำเดิมแต่ตรัสรู้ ส่วนพระอานนท์มีอายุได้ ๕๕ ปีเช่นกัน แต่มีพรรษาได้ ๑๙ จำเดิมแต่อุปสมบท.
สมาธิเต็มรูปแบบออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
กระบวนการที่จิตรู้แจ้งทวนกระแสและเกิดมรรคจิตออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลยเพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน
เอานั่นมาแก้เอานี่มาแก้ไม่ได้ความจิตยังส่งออกนอกอยู่ศิษย์ : ปัญญาน่ะครับ ทำให้เกิดยังไง หลวงปู่ : เกิดปัญญาเหรอ ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : เมื่อจิตเป็นสมาธิ แล้วก็ทำให้เกิดปัญญา ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : เกิดปัญญา ก็ต้อง ถ้าหาก ว่าจิตเป็นสมาธิอยู่แล้วล่ะก็ ต้องให้จิตมันเดินตามอาการสามสิบสอง ตั้งแต่ ผม ขนเล็บ ฟันหนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่ อาหารเก่า ให้มันเดินอย่างนี้ เรื่อยไป ศิษย์ : วิธีเดิน เดินยังไงครับ หลวงปู่ : คือดู ศิษย์ : เอาจิตไปดูหรือครับ หลวงปู่ : คือ ผมอยู่บนเจ้าของ ศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : นึกดูผม ผมมันเป็นยังไง ลักษณะมันเป็นยังไง มันเข้าไปในหนัง ลึกไปเท่าไหร่ แล้วก็ ออกมามันยาว มันเรื่องอะไร ทำไมมันจึงยาวไม่มีที่สิ้นสุด แล้วก็ให้เข้าใจให้ซึมซาบถึงจิตถึงใจ ว่า อ้อมันเป็นอย่างนั้น แล้วก็ขนก็เหมือนกัน เล็บก็เหมือนกัน ดู ดูอันนี้ ดูผม เสร็จแล้ว ดูเล็บ ทุกเล็บ เนี่ยแหละ เล็บมือเล็บตีนอะไรก็ดู ทุกเล็บ ดู คือ ดูให้มันเห็นชัดเจน ในจิตใจของเรา ให้มันซึมซาบถึงจิตถึงใจ ดูอาการลักษณะของมัน มันเป็นอย่างไง ศิษย์ : ตอนดู ดูตอนนี้ มันจะเกิดภาพประกอบด้วยหรือเปล่า หลวงปู่ : ไม่มี ศิษย์ : ไม่มีภาพหรือครับ หลวงปู่ : ภาพไม่มีภาพ ภาพไม่มี ไม่เกี่ยวกับภาพ ให้รู้ด้วยปัญญา ว่าเป็น ลักษณะมันเป็น ดูด้วยปัญญา รู้ด้วยจิตอันลึกซึ้ง ดูด้วยปัญญา แล้วก็ดูอาการสาบสิบ ดูจนทั้งหมด ศิษย์ : แล้วก็พิจารณา ทีละอย่างละอย่างครับ หลวงปู่ : ดูทีละอย่างละอย่าง ดูทีละอย่างละอย่างไป เพื่อจะทำสมาธิของเราให้มีกำลัง และสติ ก็มีกำลังไปด้วย ดูเสร็จแล้ว หมดอาการสามสิบสองแล้ว แยกอีก ศิษย์ : แยก หลวงปู่ : แยก ถอนผมไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ถอนเล็บไปกองหนึ่ง ฟันไปกองหนึ่งกองหนึ่ง ศิษย์ : ทำ หลวงปู่ : ทำได้ คือทำได้ด้วยจิต คือจิตมันทำได้ กองหมดทุกกอง แล้วก็ ให้ นึกถึง ดูหมดทุกกอง แล้วก็ให้ดู ให้บริกรรมถึง อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ให้จิต ให้มันรู้สึกว่า ทุกขังนี่ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา แล้วก็ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ก็เห็นซึมซาบในจิต เหมือนเหมือนกันล่ะ ดูจิต ทุกขัง อนิจจัง อนัตตา เออ ดูอาการของจิตล่ะ ทั้งสามหลักเรียกว่า ไตรลักษณ์ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จิตมันเป็นทุกขังมันเป็นยังไง ดูมัน ให้ดูอาการ ของจิต แล้วก็ เป็นอนิจจังมันเป็นยังไง มันเป็นอนัตตามันเป็นยังไง ให้ดูให้เข้าใจชัดเจน ด้วยปัญญา ศิษย์ : อย่างเช่นจะพิจารณา ปฏิจสมุปบาท นี่จะเป็นขั้นปัญญาด้วยรึเปล่า หลวงปู่ : นี่ตัวขั้นปัญญา ทำปัญญาให้เกิด ศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ปฏิจสมุทปบาท ก็ ไม่ต้องพิจารณาอะไรมากมาย ให้พิจารณาสังขาร ศิษย์ : ให้พิจารณาสังขาร หลวงปู่ : อวิชชา อวิชชา หนึ่งเป็นตัวไม่รู้ถึงความเป็นจริงของสิ่งทั้งปวง แล้วก็ให้รู้ ตัวอวิชชานี่ซะก่อน อวิชชาในจิตของเรามันเป็นยังไง เวลามันเกิดอวิชชา มันเกิดนั้นมันเป็นอย่างไร ดูอาการของมัน ไม่พิจารณาที่อื่น ดูตัวนี้ พิจารณาในร่างกายของเรานี่แหละ ตั้งแต่ อวิชชา ปัจจยา สังขารา สังขารา ปัจจยา ดูไป ตามลำดับไป แท้ที่จริง ถ้าหากว่า เราพิจารณาตามแบบ เป็นส่วนส่วนไป มันยาวไป ที่จริง ให้เห็นอวิชชาให้ชัดเจน ด้วยปัญญา มันดับไป ตามลำดับไป มันดับเอง มันเป็น แวบ ไป แวบ เดียวไป มันหมดแล้วกัน อวิชชาทั้งหมดน่ะ สามสิบสอง มันดับๆไป มันดับไปเอง ลูกศิษย์ : เอ่อ ตอนนี้ วิธี ที่จะพิจารณาขันธ์ห้า รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ นี่พิจารณายังไงครับผม หลวงปู่ : ก็เหมือนกัน เหมือนกัน ก็ เวทนา สัญญา รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ให้ดูรูปซะก่อน ดูรูปซะก่อน แล้วก็ ไอ้ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ก็ ลูกศิษย์ : กระผมอยากได้รายละเอียด ตรงว่า ดูรูปดูยังไงครับผม หลวงปู่ : ดูรูปก็ดู ที่ว่างซิ ให้รู้จักรูปซะก่อน แล้วก็ ดู รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ดูไปตามลำดับซะก่อน รูปมันเป็นยังไง เวทนามันเป็นยังไง สัญญามันเป็นยังไง สังขารมันเป็นยังไง วิญญาณมันเป็นยังไง ดูลักษณะก่อน อยู่ในจิตทั้งหมด จิตอันเดียวนั่นแหละ มันเป็นทั้ง ขันธ์ห้า ลูกศิษย์ : มันจะเกิดคำถามคำตอบขึ้นในจิตมั้ยครับ หลวงปู่ : มันรู้เอง มันรู้เอง มันรู้ถึงความเป็นจริง มันรู้ถึงความเป็นจริง ลูกศิษย์ : เอ่อ ตอนที่พิจารณานี่น่ะครับผม หลวงปู่ : พิจารณาอย่างนี้แหละ ลูกศิษย์ : สมมุติว่า พิจารณา ตอนที่ว่า สมมุติว่าสมาธิมันเข้าลึกเข้าไป แล้วถอยมารึเปล่าครับ หลวงปู่ :ไม่ถอย อยู่ในสมาธิ พิจารณาอยู่ในสมาธิ ให้สมาธิเป็นกำลังให้พิจารณาได้ แล้วก็ ปัญญาก็เกิดจากสมาธิ ลูกศิษย์ : ตอนพิจารณานี่ เราไม่ต้องยึดพุทโธ ไม่ต้องอะไรครับ หลวงปู่ : ไม่ต้องหรอก พิจารณาไม่ต้องยึด ไม่ต้องยึด ปริกรรมไม่ต้องยึด วางหมด ดูให้รู้ ให้ลึกซึมซาบถึงจิตถึงใจเลย ลูกศิษย์ : อันนี้ ถ้าสมาธิลึกไปนี่ ก็ต้องถอนออกมา หลวงปู่ : ไม่ ไม่ถอน ลูกศิษย์ : ไม่ต้องถอน หรือครับผม ประคองจิตให้อยู่ หลวงปู่ : อือ ประคองจิต จิตกับสมาธิ ให้อยู่ไปด้วยกัน ให้สมาธิมันเป็นกำลังให้พิจารณาได้ ถึงความเป็นจริง ถ้านอกจากสมาธิแล้ว ปฏิบัติเอาข้างนอก มันไม่ถูก มันไม่เห็นถึงความเป็นจริง เราเข้าถึงแล้วได้ก็ไม่ได้ความ หมายความว่า ให้รู้ถึงจิตถึงใจ ดูอาการถึงจิตถึงใจ ถ้าดูอันหนึ่งแล้ว มันก็ เหมือนกัน กับ ดูทั้งหมด เมื่อเราดู รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เข้าใจในจิตของเราอันลึกซึ้งแล้ว ก็ ให้รวม ว่ามูลธาตุทั้งห้า มูลธาตุทั้งห้าคือ เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นความว่างเปล่า ให้ว่างให้หมด เป็นความว่างเปล่าให้หมด ไม่มีอะไร จนไม่มีอะไร แยกออก แยกออกจากกัน เวลามันยึดมันเป็นรูปนะ เวลาแยกออกจากกัน เวลาแยกจนหมดรูป จิตของเราก็ ถึงที่ว่าง ลูกศิษย์ : ที่ว่างนี่หมายความว่า หลวงปู่ : หมายความ ไม่มีอะไรบรรจุอยู่ แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที่สุดอยู่ในความว่าง เหมือนกับกลางอากาศ…อะไรบรรจุอยู่ไม่ได้ มันเหมือนกับกลางอากาศ ถ้าว่าง เหมือนกับกลางอากาศ ไม่มีอะไรบรรจุได้ในอากาศ แม้เส้นผมที่เล็กที่สุดอยู่ในอากาศก็บรรจุไม่ได้ มันเปล่า ว่างเปล่า แล้วจิตก็เป็นอย่างนั้น ลูกศิษย์ : แล้ว อีก คำที่ว่า รูปดับนามก็ดับนี่ ไอ้นามดับ หลวงปู่ : ไปพร้อมกัน นามก็คือเวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ รูปก็คือรูปนี่แหละ พอมันดับแล้วมันดับพร้อมกัน ไอ้เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ มันดับพร้อมกัน ลูกศิษย์ : ไอ้นามดับตัวนี้ มันมีความหมายคล้ายๆกับ ไอ้สังขาร มั้ยครับ คือหมายความว่า สังขารดับ คือไม่ปรุงแต่ง เหมือนกันมั้ยครับ หลวงปู่ : หมดสังขาร ลูกศิษย์ : หมดสังขาร หลวงปู่ : เวทนาสัญญาสังขาร หมดสังขาร มันก็หมด หมดความคิด ลูกศิษย์ : หมดความคิดนึก การปรุงแต่งไม่มี หลวงปู่ : หมดความปรุงแต่งไม่มี หมดสังขารหมดสัญญาอันเดียว มันหมด หมดไปแล้วทั้งอาการ มันหมดไปแล้ว ลูกศิษย์ : อันนี้เรียกว่าอะไร นามดับ หลวงปู่ : นามดับ ลูกศิษย์ : คือนามดับนี่หมายความว่า หลวงปู่ : คือไม่คิด หยุดคิด นามดับ หยุดคิดแล้วหมดทั้งรูปทั้งนาม หยุดแล้วก็หมดทั้งรูปทั้งนาม เหลือแต่ว่าง ลูกศิษย์ : ทีนี้คำว่าหยุดคิดน่ะครับผม มันจะไปคล้ายๆ มันจะเป็นว่าจิตมันจะไม่ได้ทำงานหรือเปล่า หลวงปู่ : ไม่ทำงานอะไร เลิกทำงานแล้ว ไม่มีอะไรงาน ไม่มีงานจะทำแล้ว ที่ว่าง หมดงาน หมดงานทำ จิตมันหมดงานทำ ลูกศิษย์ : ครับ สมมุติว่า ขณะนี้ที่เรานั่งอยู่คุยอยู่นี่ ครับ จิตมันก็คุยไปตามปกติ แต่ว่า ไอ้ความว่างมันมียังอยู่หรือครับ หลวงปู่ : ว่างมันก็อยู่ในนั้นล่ะ ว่างก็อยู่ในนั้น หยุดมันก็หยุด หยุดแล้วก็ มันไม่มีตัวมีตนอะไร ลูกศิษย์ : ไม่มีการปรุงแต่ง หลวงปู่ : ไม่มีการปรุงแต่ง เราจะไปเห็นตัวเห็นตน ไม่มี ลูกศิษย์ : ไม่ยึดถือตัวตน ไม่ยึดถือรูปถือนาม ไม่ยึดทั้งหมด หลวงปู่ : ไม่ยึดทั้งหมดเลย ลูกศิษย์ : แต่ว่าไอ้การทำการพูดการจานี่ยังเป็นไปตามธรรมชาติ หลวงปู่ : ให้เป็น ให้รู้ไปตามธรรมชาติ ลูกศิษย์ : ครับผม ถ้ารู้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นธรรมชาติ หลวงปู่ : เป็นธรรมชาติ ลูกศิษย์ : จิตไม่เกาะ หลวงปู่ : จิตไม่เกาะ สิ่งทั้งหลายทั้งปวงแล้วไม่เกาะเลย ลูกศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : นั่นแหละ จิตว่างเปล่า ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ที่ว่าง ลูกศิษย์ : ไอ้ตัวว่างเปล่านี่ รูปดับ นามก็ดับ ที่นี้มันก็เหลืออยู่ตัวว่างฮะ หลวงปู่ : เหลือตัวว่าง ลูกศิษย์ : ตัวว่างนี้เขาเรียกว่าอะไรครับ เขาเรียกว่าเป็นอะไร ครับผม เป็นธรรมะหรือเปล่า หรือเป็นเรียกว่า ตัวเป็น หลวงปู่ : นั้นล่ะ ธรรมะที่สูงที่สุดอยู่ตรงนั้น ลูกศิษย์ : ตัวธรรมะที่สูงที่สุดอยู่ตรงนั้น ตัวธรรมะที่แท้จริงอยู่ตรงนั้นใช่มั้ย หลวงปู่ : ตัวนั้น ธรรมะที่แท้จริง อยู่ตรงนั้น คือเรียกว่า จะให้ชื่อก็ได้ ไม่มีชื่อหรอก แต่ว่าจะให้ชื่อสมมุติขึ้นมาชื่อหนึ่ง สมมุติชื่อว่า นามกาย ลูกศิษย์ : นามกาย หลวงปู่ : ชื่อว่า นามกาย นามกายคือที่ว่างนั่นเอง ว่าง ว่าง คือ มันว่างเปล่าไม่มีอะไรบรรจุอยู่ในความว่าง แม้แต่นิดเดียว ลูกศิษย์ : ถึงแม้ว่าเราจะคุย เราจะคิด เราจะ เอ่อ เราคิดจะสร้างโบสถ์สร้างศาลา สร้างวิหาร เราก็ทำไปตามธรรมชาติของมัน ตามหน้าที่ หลวงปู่ : ทำตามหน้าที่ ลูกศิษย์ : แต่จิต ไม่มีความเร่าร้อน ไม่มียึดถือ อะไร หลวงปู่ : ไม่ยึดถือ ทำแล้วก็แล้วไป อยู่ในนั้น ตัวสังขาร ตัวปรุงตัวแต่ง หากปัญญา ปัญญาของเรามันถึงแล้ว ทำสักแต่ทำ ลูกศิษย์ : ครับผม ไอ้ตรงนี้จะเกิดความคล่องตัว ใช่มั้ยครับผม หลวงปู่ : คล่อง ลูกศิษย์ : ไม่มีการอึดอัด ไม่มีอะไรแล้ว หลวงปู่ : ไม่มีแล้ว ลูกศิษย์ : แต่ว่า บางทีนี่ คนปฏิบัติก็มักจะปล่อยนิ่งกันเฉยๆ แล้วก็คล้ายๆว่า หลวงปู่ : อ้อ อันนั้น ไม่เอา ลูกศิษย์ : เป็นขั้นอะไร หลวงปู่ : ไม่เอา นิ่งเฉยๆ ลูกศิษย์ : ไม่เป็นธรรมชาติ เพราะกดเอาไว้ หลวงปู่ : ไม่เป็น มันไม่รู้ถึง อันนี้ ไม่ใช่เฉย เฉยก็ไม่ได้ ไม่เฉยก็ไม่ได้ (หลวงปู่หัวเราะ) มัน ไม่รู้น่ะ หมายความว่า มันเท่าไปหมดแล้ว ลูกศิษย์ : รู้สักแต่ว่ารู้ หลวงปู่ : รู้สักแต่ว่ารู้ ไม่ยึดอะไรซักอย่าง ลูกศิษย์ : ไอ้คนที่ยังปฏิบัติไม่ถึง ไม่เข้า ไม่รู้สภาวะตรงนี้ หลวงปู่ : ไม่รู้สภาวะไ ปเดาเอา ไปคิดเอา ไปให้ชื่อเอาเอง มันไม่ได้หรอก นอกจากสมาธิ นอกจากปัญญา ลูกศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : ปัญญา ปัญญา ให้มันเป็น สมาธิ มันรู้ถึงความเป็นจริง ถ้ารู้แล้ว มันหมดความสงสัย ไม่ต้องไปถามใครก็ได้ มันรู้เอาเอง เหมือนกับว่า อวิชชายังไม่รู้ พูดให้รู้ก็รู้ไม่ได้หรอก เพราะว่าจิตมันไม่ถึง ลูกศิษย์ : ครับผม ลูกศิษย์ : ที่นี้ คนมาติดตรงนี้ครับผม พอปฏิบัติไปแล้ว มันเกิดความสว่างขึ้นเฉยๆ ติดอยู่ตรงนี้ไม่รู้จะไปตรงไหน ทำยังไง หลวงปู่ : อ๋อ ไอ้สว่างตัวนี้ ลูกศิษย์ : ดับยังไง หลวงปู่ : อ้อ สว่างตัวนี้ คือ มันเรียก โอภาส โอภาส แสงสว่างภายนอก ใช้ไม่ได้เลย ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ใช้ไม่ได้ ลูกศิษย์ : แล้วจะแก้ยังไงครับผม หลวงปู่ : ดูจิต ดูจิตให้มันดับไปเอง จิตมันไปแสวง ลูกศิษย์ : อ๋อ หลวงปู่ : มันออกไปแสวง ทุกสิ่งทุกอย่าง จิตออกไปแสวงทั้งนั้น เพราะว่าไม่รู้ถึงจิตแท้ ถ้ารู้ไม่ถึง ไปหลงกับไอ้สิ่งเหล่านั้น ไปหลงกับรูป เสียง กลิ่น รส โผฐถัพพะ ไปหลงจิตมันออกไปแสวง เห็นเป็นรูปเทวบุตร เทวดา นรก เปรต มันเห็น ไอ้ตัวโอภาสตัวนี้ มันเห็น แม้แต่ เราไม่เคยรู้ มันรู้ เราไม่เคยเห็น มันเห็น แหม ไปหลงอะไร หลงกับรูปตัวนั้นน่ะ ผิดทางแล้ว ลูกศิษย์ : ทีนี้ที่เห็นแสง เห็นอะไรต่างๆ เราจะไม่เห็นแล้วกลับมาดูจิต ดูยังไงครับ หลวงปู่ : มาดูจิต ดูจิต ไอ้สิ่งเหล่านั้นมันขาดไปเอง ลูกศิษย์ : อ๋อ หลวงปู่ : ไม่ต้องลำบากไปตัด ลูกศิษย์ : มาเพ่งดูจิตหรือครับ หลวงปู่ : ต้นตอมันอยู่ทีนี้ ต้นตอมันอยู่ที่จิตทั้งหมด จิตมันออกไปปรุงแต่ง มันเป็นนิมิต มันออกไป ไปปรุงไปแต่ง ลูกศิษย์ : หลบเข้ามา เอา เขาเรียกว่า อะไร เอาจิตมากำหนดดูจิตหรือครับผม หลวงปู่ : จิตดูจิตแหละ เอาจิตดูจิต ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว อะไรมันขาดไปเอง อะไรทุกสิ่งทุกอย่างมันขาดไปเอง มันรู้ถึงความเป็นจริง แล้วก็ มันหมดความสงสัย แต่ว่า ต้องรู้ถึงความเป็นจริง รู้โดยปัญญา อริยมรรค หลวงปู่ : ก็ไม่มีอะไรมากมาย ลูกศิษย์ : พูดถึงตอนปฏิบัตินะครับผม เราต้องปล่อยจิตสบายๆ ใช่ไหมครับ ไม่ไปบังคับ ไม่ไปอะไรมัน หลวงปู่ : ไม่ บังคับหรอก แต่ว่าเบื้องต้น ก็ต้องบริกรรม จิตของเราให้เป็นสมาธิ แล้วบริกรรม บริกรรมไม่เอาอะไรมากมาย พุทโธเท่านั้นเอง ให้พุทโธน่ะฝังอยู่ในจิตในหัวใจ เราไปเขียนเล่นในนั้นก็ได้ ว่า พุทโธ พุทโธ พุทโธ เพื่อ ให้จิตเป็นผู้บริกรรม ให้จิตเป็นผู้ว่า ไม่ต้องว่าปากเปล่า สติของเราเป็นผู้ว่า ผู้ว่าพุทโธอยู่ตรงไหน ตั้งสติอยู่ตรงนั้น แล้วก็ผู้บริกรรม บริกรรมเรื่อยไป ลูกศิษย์ : ครับ ตอนนี้ ไปเข้ากับเรื่องที่หลวงปู่ อธิบายไว้รึเปล่า การที่เห็นแสง เห็นโอภาสเนี่ยก็ หลวงปู่ : อันนี้มันเป็น อยู่ในหลักสมาธิเนี่ยล่ะ) ลูกศิษย์ : อยู่ในหลักที่ว่าจิตส่งออกนอกเป็นสมุทัยใช่มั้ยครับ หลวงปู่ : มันจะเป็น จิตไปยึด ไปเที่ยว อยู่นั่นแหละ แล้วพาไปเห็น ไม่ว่าอะไรไม่มีที่สิ้นสุด ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : โอภาส อยากเห็นอะไรมันเห็น อยากรู้อะไรมันรู้ มันรู้เอง ไอ้สิ่งที่แปลกๆเหมือนกัน ที่เราไม่เคยรู้ อยากเห็นอะไร มันเห็น อันนั้น อยากรู้อะไร มันรู้อันนั้น มันผุดขึ้นมาให้รู้ น่ะ แต่ไอ้สิ่งผุดขึ้นนั้น ตัวกิเลสทั้งหมดเลย ไม่ใช่ตัวจริง แล้วเราจะไปเห็นเป็นเงา แล้วจิตของเราเข้าไปยึดเอาสิ่งภายนอก ที่ ไปเห็น เข้าใจว่าเป็นตัวจริง เข้าใจว่าอย่างนั้นเอง เข้าใจว่าเป็นตัวจริง แท้ที่จริงไม่ใช่ตัวจริง คือตัวกิเลส ถ้าไปหลงอะไรนั่น เป็นวิปัสนู วิปัสสนูปกิเลส วิปัสนูคือไม่ใช่วิปัสสนา คือ วิปัสนู อุปกิเลส คือตัวกิเลสตั้งหาก ไม่ใช่ของจริงทั้งหมดเลย ของภายนอก แล้วถ้าเราจะตัดมัน ตัดมันไม่ยาก ก็ต้นตอ มันอยู่ในนี้ มาดูจิต ตั้งจิตให้เห็นจิต แล้วอะไรๆมันขาดไปเอง ไม่ต้องไปตัดที่อื่น ตัดที่จิต ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต เพ่งจิตเห็นจิต แล้วก็ตั้งสติให้มันเห็นจิต อะไรๆมันก็ขาดไปเอง ก็หมดเรื่องกันไป โอภาสนั้นก็หมด หมายความว่า ที่เราดู ไปเห็นตามมันน่ะ หมายความว่า เราไม่รู้เท่ามัน หมายความว่า เราหลงไป เราหลงไป เราไม่เข้าใจความเป็นจริง หลงไปตามมัน แล้วแต่มันจะสอน แล้วก็ ไปถือตามมันทั้งหมด สุดท้ายมันจะเป็นบ้า ลูกศิษย์ : ครับ ถ้าวางไม่ได้เป็นบ้า หลวงปู่ : จะเป็นบ้า (หลวงปู่หัวเราะ) ลูกศิษย์ : ครับผม ลูกศิษย์ : เอ่อตอนนี้ มีปัญหา บางคนที่นั่ง แล้วมีตัวหมุนบ้าง มีตัวโคลงบ้าง มีตัวลอยบ้าง อันนี้จะแก้ยังไงครับ หลวงปู่ :อยู่ในปิติทั้งหมดเลย อยู่ในปิติทั้งหมด ลูกศิษย์ :ปิติทั้งหมด หลวงปู่ :อืม ขุททกาปิติ ,ขณิกาปิติ,โอกกันติกาปิต,อุพเพงคาปิติ,ผรณาปิติ ปิติมีหลายอย่าง ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ขุททกาปิติ ,ขณิกาปิติ,โอกกันติกาปิต,อุพเพงคาปิติ,ผรณาปิติ อะไรน่ะ จิตมันลอยไป อันนั้น อันนี้ก็ยังเอาไม่ได้ ลูกศิษย์ : ทีนี้จะแก้ ครับผม ไม่ให้เกิดปิติ หลวงปู่ : ก็ดูในจิต ลูกศิษย์ : ก็กลับมาดูจิต หลวงปู่ : ดูในจิต เห็นจิต อะไรมันก็ดับไป หมายความว่า จิตของเราอยู่เหนือปิติเหล่านั้นอีก ให้มันอยู่เหนือปิติเหล่านั้นอีก สิ่งเหล่านี้ ให้มันอยู่เหนือทั้งหมดเลย แล้วมันขาดไปเอง ไม่มีอะไร แต่ก็ไอ้สิ่งเหล่านี้ มัน มันยากมาก เพราะว่า ไอ้จิตมันไม่มีตัวมีตนอะไร แล้วก็ จะให้รู้จิตจริงๆ มันก็ต้อง นั่นแหละ ลูกศิษย์ : เมื่อวานซืน ครับผม เรียนถามท่านอาจารย์เทสก์ อาจารย์เทสก์บอกว่า ให้นั่งให้จิตเป็นสมาธิ แล้วปัญญามันจะเกิดขึ้นมาเอง หลวงปู่ : ปัญญามันก็เกิดจากสมาธินั่นแหละ ลูกศิษย์ :ครับผม ไม่ต้องเอาอะไรมาพิจารณา ว่างั้น ถ้าพิจารณามันยังเป็นการเอาสัญญามาใช้อยู่ หลวงปู่ : ก็พิจาณาจิตนั่นแหละ พิจารณาจิตอยู่ในจิต ให้รู้ถึงจิต ปัญญาสูงสุดคือจิตดูจิต ถ้าหากเรารู้จิตชัดเจนแล้ว หมดปัญญา ไม่ต้องดูอะไรอีก อะไรอยู่ในจิต. มันก็หมด ให้รู้จิตเห็นจิต มันไม่ใช่ของต่ำๆ น่ะมันเป็นอริยมรรค ลูกศิษย์ :ครับผม หลวงปู่ :สำหรับตัด ตัดสมุทัยได้ทั้งหมด อริยสัจ พูดไปแล้วอยู่ในหนังสือเล่มนี้ ว่าจิตส่งออกนอกเป็นตัวสมุทัย ลูกศิษย์ :ครับผม หลวงปู่ :เป็นตัวสมุทัย แล้วผลของสมุทัยเป็นตัวทุกข์ ลูกศิษย์ :ผลของจิตส่งออกนอกเป็นทุกข์ ผลเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้งเป็นนิโรธ หลวงปู่ :จิตเห็นจิตเป็นตัวมรรค ลูกศิษย์ :จิตเห็นจิตเป็นตัวมรรค หลวงปู่ :ผลของมรรคเป็นตัวนิโรธ ลูกศิษย์ :ผลของมรรคเป็นตัวนิโรธ ผลเห็นจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง ตัวนั้นเป็นตัวนิโรธ ผลของจิตที่เห็นจิต หลวงปู่ :เห็นอย่างนั้นเป็นตัวมรรค ลูกศิษย์ :การเห็นเป็นตัวมรรค หลวงปู่ :อือเป็นตัวมรรค แล้วก็ดับ มรรคอันนี้ แหละเป็นผลนะ ลูกศิษย์ :ครับ เป็นนิโรธ หลวงปู่ :เป็นตัวนิโรธ คือ ดับทุกข์ ไม่มีทุกข์ …มันมีเหตุผลนี่แหละ เหตุของนิโรธก็คือ เหตุของนิโรธก็คือตัวอริยมรรค เหตุของทุกข์ ก็คือสมุทัย นิโรธเป็นผล ผลของสมุทัยเป็น ตัวทุกข์ และผลของมรรคคือตัวนิโรธ ลูกศิษย์ :ครับ ลูกศิษย์ : ไอ้คำว่าจิตดูจิต หมายความว่า เอาสติดูจิต หรือเปล่า หลวงปู่ : จิตก็คือผู้รู้ แล้วก็ตั้งสติให้อยู่ในนั้น ให้อยู่กับผู้รู้ สติระลึกอยู่ในนั้น คือจิตกับสตินั่นเอง ตั้งจิตในจิต คือให้เป็นอันเดียว ตั้งจิตอยู่ในจิต จิตกับผู้รู้เป็นของสิ่งเดียวกัน ไม่ได้แตกต่างกันเลย การแตกต่างทั้งหลาย เกิดขึ้นจากเราคิดผิดทั้งนั้น และนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิดไม่มีหยุด เนื่องจากเราเข้าใจผิด แล้วก็ไปสร้างกรรมไม่มีที่สิ้นสุด ถ้าจิตเห็นจิต แล้ว อะไรอะไร มันขาดหมด มันตัดขาดไปหมดแล้ว กิเลสตัณหาอะไรมันหมดแล้ว เวลานั้นมันหมด ลูกศิษย์ : ผู้ที่จะตัดกิเลสตัณหาอุปทาน หมดคือพระอรหันต์นี่นะครับผม ดวงจิตดวงนั้นยังอยู่ใช่มั้ยครับผม หลวงปู่ : ก็อยู่สิ ลูกศิษย์ : แต่ไม่มีปรุงแต่งอะไรทั้งนั้น หลวงปู่ : ไม่มีปรุงแต่ง ลูกศิษย์ : แม้แต่ละสังขารไปแล้วจิตของเรา หลวงปู่ : นั่นเลย นั่นเลย สัจธรรม สัจธรรม ก็คือจิตของเรา สัจธรรม สัจธรรมของเรานั้นไม่ได้หายไปจากเรา แม้ในขณะที่เรากำลังหลงผิดอยู่ในอวิชชา และไม่ได้รับกลับมาในขณะที่เรามีการตรัสรู้ อันเดียวนี่แหละ อวิชชาคือตัวนี้ รู้ขึ้นในตัวนี้ รู้ อันเดียว หลวงปู่ : จิตมันเป็นธรรมธาตุ ภูตตถตา ลูกศิษย์ : จิตเป็นธรรมธาตุอย่างหนึ่งหรือครับ หลวงปู่ : เป็นธรรมธาตุ ภูตตถตา คือมันมีอยู่อย่างนั้น เป็นอยู่อย่างนั้น ไอ้สัจจะของเรา ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภูตตถตา ลูกศิษย์ : ขออภัยครับ ไม่มีทั้งจิต ไม่มีทั้งอวิชชา หลวงปู่ : มีจิต ไม่ได้คิด…หยุดตัวคิดเท่านั้นเอง หมดก็หมดคิดใช่ไหม แต่จิตมันยังอยู่ มันไม่เปลี่ยนแปลงไปไหน ลูกศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : อวิชชามันก็อยู่ในนั้น แต่จิตมันหลงผิดไปตามอวิชชา มันก็อยู่ในนั้น อยู่ในตัวนั้น ลูกศิษย์ : ครับผม มันยังอยู่อย่างนั้นเอง หลวงปู่ : มันอยู่อย่างนั้นเอง มันไม่เปลี่ยนแปลง ลูกศิษย์ : ถูกอวิชชาครอบงำ หลวงปู่ : ไปยึดเงา ไอ้สัจจะ ก็อยู่ในนั้น แต่ว่ามีปัญญาเกิดขึ้น ปัญญาเกิดขึ้น จึงได้มีความตรัสรู้ ตัวนี้ ตัวรู้ ตรัสรู้ ตัวนี้เป็นผู้ตรัสรู้ อวิชชามันก็หมดไป ลูกศิษย์ : กระผมเคยเขียนเรื่องหนึ่ง เรียกว่าจิตครับผม เรียกว่าจิตแท้ และก็จิตรับคือรับอารมณ์ต่างๆเข้ามา ทีนี้คือจิตรู้ จิตรู้พอรู้มากๆ ก็กลายเป็นจิตละ ครับผม เริ่มละไอ้กิเลสตัณหาออก ตอนนี้ก็เป็นจิตหลุดครับ หลวงปู่ :คือละ เราละยังไง อันนี้ตัวเปรียบสำคัญที่สุดเลย ละไม่ต้นทาง มันก็ไม่ดับ ลูกศิษย์ : ต้องละจนกว่าจะดับ หลวงปู่ : ต้องละต้นทางมันถึงจะดับ ต้องละต้นทางถึงจะดับ ตามสติปัญญาให้ ได้รู้ได้เห็น เอานั้นมาแก้ เอานั้นมาแก้ ไม่ได้ความ ลูกศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : ไม่ดับ ลูกศิษย์ : ครับผม จิตยังส่งออกนอกอยู่ หลวงปู่ : จิตยังส่งออกนอก ลูกศิษย์ : ที่เรียกว่า ต้องดูจิตข้างในเท่านั้นเอง หลวงปู่ : นั่นล่ะ เห็นจิต ดับหมดแล้ว ให้ตั้งจิตอยู่ในจิต อะไรๆมันขาดหมดแล้ว ดับด้วยปัญญาข้างนอก มันดับไม่สนิท หลวงปู่ : ภาวะที่แท้ของจิต เป็นสิ่งก่อกำเนิดกรรมทั้งหลายเรียกว่าวิญญาณ เมื่อมีวิญญาณแล้ว ก็เริ่มมีที่แห่งความคิดนึก มีที่แห่งตัณหาเหตุผล ภาวะที่แท้ของจิต ก็คือ อรูปเป็นวิญญาณประเภทต่างๆ เมื่อวิญญาณรับรู้ อารมณ์ทั้งหกเกิดขึ้น ก็จะสำเหนียกรู้ในวัตถุทางอารมณ์ทั้งหกนั้นจากทวารทั้งหก ดังนั้น จิตของธาตุสิบแปดจึงเนื่องมาจากแรงกระตุ้นของภาวะที่แท้ของจิต ไม่ว่าบุคคลนั้นจะปฏิบัติผิดในทางชั่ว หรือปฏิบัติผิดในทางดี แล้วแต่ว่า ภาวะที่แท้ของจิตจะอยู่ในอารมณ์เช่นใด อยู่ในอารมณ์ดี หรืออยู่ในอารมณ์ชั่ว อารมณ์ชั่วก็เป็นลักษณะของสามัญชน อารมณ์ดีก็เป็นลักษณะของพุทธะ เพราะว่า ความรู้สึกที่เป็นของคู่ ประเภทตรงกันข้าม ฝังจิต อยู่ ในนิสัย แห่งภาวะที่แท้ของจิต นั่นเอง ของคู่คืออะไร ดีชั่วสูงต่ำ อะไรบาป ดำขาวอะไร มีเป็นคู่ๆเท่านั้น เป็นคู่ๆกัน เ ป็นเนื้อเดียวกันทั้งหมด ถ้าแยกคู่นี้ได้แล้วเท่านั้น ตัวนั้นเป็นตัวว่าง ลูกศิษย์ : ครับ ไม่ซ้ายไม่ขวา หลวงปู่ :ไม่ซ้ายไม่ขวา ลูกศิษย์ : อยู่ตรงกลาง ไม่มีทั้งบุญทั้งบาป หลวงปู่ : อยู่เหนือบุญเหนือบาป ลูกศิษย์ : เหนือบุญเหนือบาป หลวงปู่ : เหนือสมมุติเหนือบัญญัติ เหนือ อนิจจัง ทุกขังอนัตตาอีก เหนือเหตุเหนือผล สมมุติบัญญัติ ทุกขังอนิจจังอนัตตา เหตุผล อะไรไม่มี.อยู่ในนี้หรอก ไอ้สิ่งเหล่านี้ มันอยู่เหนือเหตุเหนือผล ทั้งหมด เรียกว่าโลกุตระ อยู่เหนือโลก อยู่เหนือโลกทั้งสาม กามภพ รูปภพ อรูปภพ มันอยู่เหนือหมด ไอ้ที่ว่างนะ ลูกศิษย์ : เหนือเหตุเหนือผลทั้งหมด หลวงปู่ : เหนือเหตุเหนือผลทั้งหมด ถ้ามันมีเหตุผล มันยังเป็นโลก ทั้งหมด ลูกศิษย์ : ครับ ธรรมะแค่นี้ ก็จะปฏิบัติกันเป็นสิบๆปีก็ยังไม่ค่อยจะได้ผล หลวงปู่ : แล้วแต่วิสัย ลูกศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : บางทีก็ช้า บางทีก็เร็ว ลูกศิษย์ : ครับ หลวงปู่ : ถ้าผู้ที่อบรมมาแล้ว ก็ พูดอย่างนี้ก็ได้ความ ถ้าผู้ที่ไม่เคยอบรม พูดอย่างนี้ เหมือนกันกับเป่าหูซ้ายหูขวา ลูกศิษย์ : ครับผม หลวงปู่ : อะไรไม่ซึมซาบไป ถึงจิตถึงใจ ลูกศิษย์ : ตอนที่หลวงปู่เลิกเดินธุดงค์นั่น หลวงปู่คงพบทางแล้วครับ ถึงกลับเข้ามาในเมือง หลวงปู่ : ก็พบแล้วก็ไม่ใช่ ไม่พบแล้วก็ไม่ใช่ (หลวงปู่หัวเราะ) แต่ว่า ถ้ามาพูดตรงนี้ก็เนื่องจาก มาปฏิบัติ จากเรามา ปฏิบัติให้ถึง เอาอะไรมาพูดอย่างนี้ ลูกศิษย์ :ก็คือ ที่เขาว่า ถ้าผู้ปฏิบัตินี่ยังไม่เห็นทางอะไรนี่ครับ พอเข้าเมืองมักจะหลุดเก่ง หลวงปู่ : มีอยู่สองอย่าง ให้แยกรูปถอดด้วยวิชชามรรคจิต เหตุก็ต้องละ ผลต้องละใช้ หนี้ก็หมด พ้นเหตุเกิด ลูกศิษย์ :ครับ หลวงปู่ : เหตุต้องละ ผลต้องละใช้ หมายความว่าอยู่เหนือเหตุเหนือผลแล้ว อยู่เหนือเหตุเหนือผล ผู้ที่ไปเกิดไม่มี มันหมดเกิด หมดแก่ หมดเจ็บหมดตาย แท้จริงสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในจักรวาลมีนับไม่ถ้วน รวมแล้ว มีรูปกับนาม สองอย่างเท่านั้น นามเดิมคือความว่างของจักรวาล เข้าคู่กัน เป็นเหตุเกิดตัวอวิชชา เกิดตัวก่อ ที่ใดมีรุปที่นั่นต้องมีนาม ที่ใดมีนามที่นั่นต้องมีรูป รูปนามรวมกัน เป็นเหตุเกิดตัวอวิชชา ตัวเหตุเกิดให้ก่อ ตัวอวิชชาเป็นผู้ก่อ ถ้ามีรูปกับนามรวมกัน มันแยกออกจากกันไม่ได้ ลูกศิษย์ :คือ วันนั้น นั่งอยู่จิตก็บอกขึ้นมาเองว่า มีรูปรูปก็ดับ นามนามก็ดับ ดับทั้งรูปทั้งนาม หลวงปู่ : ดับทั้งรูปทั้งนาม แต่สัจจะมันยังมีอยู่ ลูกศิษย์ :ครับ หลวงปู่ : คือไม่มีอะไร ลูกศิษย์ :ครับ แล้ว จึงบอกว่า เมื่อรูปดับนามก็ดับ แต่ตัวเหลืออยู่นั่นเป็นอะไรล่ะ หลวงปู่ : นั่นแหละสัจจะ สัจจะตัวจริงมันอยู่ลึกกว่านั้น
พระโสดาบัน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ 1คำพูดเป็นประโยชน์ ๑๐ เรื่อง เรื่องที่ควรพูด ๑๐ ประการ อันเป็นไปเพื่อขูดเกลากิเลส คือ เรื่องปรารถนาน้อย เรื่องสันโดษ เรื่องความสงบสงัด เรื่องไม่คลุกคลี เรื่องมีความเพียร เรื่องศีล เรื่องสมาธิ เรื่องปัญญา เรื่องวิมุตติ เรื่องวิมุตติญาณทัสสนะ
วันเสาร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2558
สวดมนต์ ที่หลวงพ่อองค์ดำ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ในมหาวิทยาลัยนาลันทา คณะ...สังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
หลวงพ่อองค์ดำ พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ในมหาวิทยาลัยนาลันทา คณะพระครูสมุห์...สังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
สักการะหลวงพ่อดำ แห่งกรุงราชคฤห์สังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
หลวงพ่อองค์ดำ นาลันทา อินเดียสังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
หลวงพ่อองค์ดำสังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
หลวงพ่อดำนาลันทาสังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
หลวงพ่อดำ กลางทุ่ง นาลันทา อินเดียสังเวชนียสถานอันเป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธาด้วยมาตาม ระลึกว่า พระตถาคตเสด็จปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ในที่นี้ สังเวชนียสถาน ๔ แห่งนี้แล เป็นที่ควรเห็นของกุลบุตรผู้มีศรัทธา ฯ ดูกรอานนท์ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา จักมาด้วยความเชื่อว่า พระตถาคตประสูติในที่นี้ก็ดี พระตถาคตตรัสรู้พระอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณในที่นี้ ก็ดี พระตถาคตทรงยังอนุตรธรรมจักรให้เป็นไปในที่นี้ก็ดี พระตถาคตเสด็จ ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุในที่นี้ก็ดี ก็ชนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง เที่ยว จาริกไปยังเจดีย์ มีจิตเลื่อมใสแล้ว จักทำกาละลง ชนเหล่านั้นทั้งหมดเบื้องหน้า แต่ตายเพราะกายแตก จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ฯ
จิตที่ส่งออกนอกเป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอกเป็นทุกข์ จิตเห็นจิ..ถ้าเราจะกลับมานั้นไม่ยาก..หมายความว่าเราหลงไป.. สุดท้่าย จะเป็นบ้าเอา..ให้..กลับมาดูจิตของเรา.ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น
จิตนี่แหละคือตัวทุกข์ต้องปฏิบัตินะ ต้องมีสติ รู้สึกตัวบ่อยๆ รู้สึกกายรู้สึกใจ รู้สึกกายรู้สึกใจไป รู้สึกกายรู้สึกใจเรียกว่ารู้ทุกข์ รู้สึกไปเรื่อยถ้ารู้แจ่มแจ้งเห็นมันเป็นไตรลักษณ์จะเบื่อ พอเบื่อหน่ายก็รู้ว่าเบื่อหน่ายนะ ใจก็คลายออก ไม่ยึดถือ เห็นแล้วว่าความจริงเป็นยังไง ความจริงของกายก็คือทุกข์ ความจริงของจิตใจก็คือทุกข์ ความจริงเค้าเป็นอย่างนั้น ใจยอมรับความจริง พอใจยอมรับความจริงใจก็หมดความดิ้นรนใช่มั้ย ตัวสำคัญนะตรงที่ยอมรับความจริง ถ้าคนที่ยอมรับความจริงได้จะไม่ทุกข์ คนที่ยอมรับความจริงไม่ได้จะทุกข์ อย่างร่างกายเราต้องแก่ใช่มั้ย ต้องเจ็บต้องตาย นี่เป็นความจริง ถ้ายอมรับไม่ได้ก็ทุกข์แล้ว ตีนกาขึ้นหน่อยก็กลุ้มแล้วใช่มั้ย หายานี้มาลองทาไม่ได้ผลเอาตัวนี้ทา ทาไปทามาเลยเหี่ยวไปเลย คราวนี้ตีนวัวตีนควาย ท้อใจแล้วยอมรับสภาพ มันเยอะสู้ไม่ไหวแล้ว ถ้ายอมรับได้ก็ไม่ทุกข์ใช่มั้ย อย่างหลวงพ่อนะหลวงพ่อรู้สึกตัวเองแก่มานานแล้ว ตั้งแต่เด็กๆก็รู้สึกแก่นะ ภาวนามามากๆนะ รู้สึกโลกมันจืดมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว เพื่อนฝูงเค้าเฮๆฮาๆนะ เราก็เฮ้อ เล่นๆไปกับเค้านะเหมือนเล่นละครยังไงหยั่งงั้นน่ะ เอาใจมันให้ไม่ดูแปลกกว่ามันมากนัก กลมกลืน แต่ในใจเรารู้สึกไม่เห็นมีอะไรเลย จืดชืด นี่ใจมันแก่มาตั้งแต่เด็ก เพื่อนๆมันล้อหลวงพ่อนะว่าหน้าตาแก่ ท่าทางก็เหมือนคนแก่ เดี๋ยวนี้ลองมาดูสิมันแก่กว่าหลวงพ่อแล้วรายไหนรายนั้นเลย ของเราแก่คงที่มาตั้งแต่เด็ก มันมาแก่ทีหลัง มันดังกว่า ไปดูสิแต่ละคนนะหัวหงอกขาวโพลนเลยก็มีนะ หัวล้านเหน่งเลยก็มี เราภาวนานะภาวนา ใจยอมรับความจริงได้เมื่อไหร่ใจจะไม่ทุกข์ ใจจะยอมรับความจริงได้ต่อเมื่อใจยอมจำนน นี่ไม่ยอมง่ายๆนะ อยู่ๆจะไปบอก เอ้า ผมยอมแล้ว เกิดแก่เจ็บตายเป็นเรื่องธรรมดา ปิ๊ง บรรลุพระอรหันต์ ใจมันไม่ยอมด้วยหรอก งั้นมันจะยอมต่อเมื่อมันยอมจำนน ทำยังไงมันถึงจะยอมจำนน ต้องเอาข้อเท็จจริงตีแผ่ให้มันดูทุกวันๆ ดูลงมาในกาย ดูลงมาในใจ ดูซิมันสุขหรือมันทุกข์ มันดีหรือมันร้ายนะ ดูลงไป มันน่ารักหรือมันไม่น่ารัก มันสวยมันงามหรือไม่สวยไม่งาม มันเที่ยงหรือไม่เที่ยง มันสุขหรือมันทุกข์นะ มันบังคับได้หรือบังคับไม่ได้ เอาของจริงมาให้มันดู พวกเราวิปลาส ปุถุชนจะวิปลาสสี่อย่าง คือเห็นของไม่สวยไม่งามก็ว่าสวยว่างาม เห็นของไม่เที่ยงก็ว่าเที่ยง เห็นของเป็นทุกข์ว่าเป็นสุข เห็นของไม่ใช่ตัวตนว่าเป็นตัวเป็นตนของตน นี่เรียกวิปลาส นี้จะหายบ้าหายวิปลาสได้นะเอาข้อเท็จจริงมาให้ดู พอดูทุกวันๆนะ ดูอยู่ในกายดูอยู่ในใจ รู้สึกกายรู้สึกใจอย่าไปแทรกแทรง อย่าไปบังคับ เราต้องการดูความจริง เพราะงั้นอย่าไปบังคับกายบังคับใจ “หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนจะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า สังขารุเบกขาญาน สังขารุเบกขาญาน ญานแปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขาเป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่า สังขาร ร่างกายก็ เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ก็เป็น สังขาร อะไร อะไร ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป ก็จะเห็นว่าร่างกายที่หายใจออก ก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่ว คราว ความสุข ก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่อยู่เฉยๆ ก็ชั่วคราว มีใครไม่สุขชั่วคราวมั๊ย มีมั๊ย มีใครสุขถาวรมีมั๊ย ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ไม่มี เนี่ยะเรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ จะเห็นเลยว่า สุขก็ชั่ว คราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามัน เกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมัน เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวจิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญา เป็นกลางเนี่ยะเกิดได้หลายแบบ เป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า (ไม่โกรธนะ ไม่โกรธนะ) เป็นกลางเพราะ กดข่มเอาไว้ เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก ด้วยมีสติ เป็นกลางอีกอย่างนึงเป็นกลางด้วย ปัญญา เป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมาเราเห็น เราเห็นใจเลยว่าใจเราโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัติเนี่ยะ พอเราเห็นใจเรา โมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ย เราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจยินร้าย ไม่ชอบตอนที่โกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี ในแง่จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติ แต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ ใจจะเป็นกลางด้วยปัญญาแล้วก็จะเห็นเลยเนี่ยะว่า ความสุขก็ชั่วคราวความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธหลง อะไรต่อมิอะไรก็ชั่วคราว ความฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลย ถ้าเมื่อไหร่เห็นว่าจิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแระ เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย …. ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคนี่ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลาง ด้วยปัญญานี่ เราจะต้อง หัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไป จนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่ง นอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะ มีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย มาเสถียรก็มาชั่วคราวใช่ไหมนะ เดี๋ยวก็ไปแล้ว นี่ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ทุกสิ่งในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วมันจะเกิดอะไรขึ้น จิตจะหมดความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิก พวกเรารู้สึกไหม อย่างจิตใจเราไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ ดิ้นว่าทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิตมันดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิตจนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ 'มันมีการทำลายจิตผู้รู้' ระหว่างทางปฏิบัตินั้นเราไปสร้างจิตผู้รู้ขึ้น เพื่อเป็นคนรู้ เห็นรูป นาม กาย ใจ เคลื่อนไหว ทำงานไปนะ แท้จริงการทำลายจิตผู้รู้ก็คือความรู้แจ้งในอริยสัจนั่นเองนะว่าจิตนี้เป็นตัวทุกข์ล้วนๆ แล้วหมดความยึดถือจิต นี้สำนวนท่านบอกว่าทำลายผู้รู้ ที่จริงก็คือไม่ยึดถือจิตนั่นแหละ เมื่อไรรู้ลงมาที่กาย รู้ลงมาที่จิต จนแจ่มแจ้งไม่ยึดถือจิต ตรงนั้นแหละที่เรียกว่าทำลายผู้รู้ จิตที่เหลือมันจะเป็นกิริยา จะไม่ใช่เป็นตัวผู้รู้อีก
พุทธานุสติกรรมฐานหลวงพ่อพระราชพรหมยาน (วีระ ถาวโร) วัดจันทาราม (ท่าซุง) พุทธานุสติกรรมฐาน
จิตดูจิตแหละ เอาจิตดูจิต ไม่ต้องไปลำบากไปตัดอะไร รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว .วันทามิ พุทธัง ภะวะปาระติณณัง ตืโลกะเกตุง ติภะเวกะนาถัง โย โลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง เฉต์วานะ โพเธสิ ชะนัง อะนันตัง ฯ ยัง นัมมะทายะ นะทิยา ปุลิเน จะ ตีเร ยัง สัจจะพันธะคิริเก .
พึงเป็นผู้สำรวมด้วยใจ"ทะเลทั้งสี่ที่ต้องข้าม" - ธรรมะจากพระผู้รู้ กิเลสที่เราต้องข้ามให้ได้ เค้าเรียกว่าโอฆะ จะเรียกอาสวะก็ได้ มีอยู่ ๔ ตัว โอฆะแปลว่าห้วงน้ำ หมายถึงกิเลสที่เหมือนเราหล่นลงไปแล้วจมน้ำตายอยู่ในนั้นเลย พาให้เราจมตายอยู่ในสังสารวัฏ เวียนตายเวียนเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกนั่นเอง อาสวะเป็นกิเลสที่ยั่วย้อมใจทำให้กิเลสอย่างอื่นเข้ามาครอบงำจิตใจได้ องค์ธรรมของโอฆะหรือองค์ธรรมของอาสวะเป็นอันเดียวกัน คือมีกาม มีทิฏฐิ มีภพ มีอวิชชา มี ๔ อย่างนี้ มันเหมือนทะเลใหญ่ ๔ ทะเล เราจะต้องข้ามให้ได้ถ้าจะข้ามสังสารวัฏนะ ข้ามห้วงมหรรณพอันใหญ่ ในทะเลใหญ่นี้มีทะเลย่อยๆอยู่ ๔ อัน ต้องข้ามให้ได้ แต่ละอันข้ามยากมากเลย ทะเลอันที่ ๑ ชื่อว่าทิฏฐิ โอฆะอันที่ ๑ ชื่อ ทิฏฐิ ทิฏฐิคือความเห็นผิด เช่น เราเห็นผิดว่าตัวเรามีอยู่จริงๆ พอร่างกายนี้ตายไป จิตใจที่ไปเกิดใหม่ ยังเป็นจิตใจคนเก่าอยู่ จิตใจดวงเดิมไปเกิดใหม่ อันนี้เป็นมิจฉาทิฏฐินะ ชื่อสัสสตทิฏฐิ แท้จริงจิตไม่ได้ไปเกิดใหม่ จิตเกิดขึ้นตรงนี้ก็ดับตรงนี้ เกิดตรงตาก็ดับที่ตา เกิดที่หูก็ดับที่หู เกิดที่ใจก็ดับที่ใจนั่นเอง จิตเกิดดับอยู่อย่างนี้ตลอด เหมือนเวลาที่เราตาย จิตดวงสุดท้ายในชีวิตนี้เรียกว่าจุติจิตดับลงไปปั๊บ มันเกิดจิตดวงใหม่ในชีวิตใหม่ เรียกว่า ปฏิสนธิจิต มันเกิดสืบเนื่องไปเรื่อยๆ มันไม่ใข่จิตดวงเก่า ไม่ใช่ตัวนี้ถอดออกจากร่างนะ ส่วนใหญ่ชอบคิดว่า วิญญาณเราออกจากร่างไปหาที่เกิดใหม่ อันนั้นเป็นมิจฉาทิฏฐิ ถ้าเราหัดภาวนาก็จะเห็นว่าจิตเกิดดับตลอดเวลา ไม่มีหรอกจิตที่อยู่นานๆ ถึงขนาดถอดออกจากร่างไปเกิดใหม่ได้ ไม่มี มิจฉาทิฏฐิอีกอย่างนึงคือคิดว่าถ้าตายแล้วสูญไปเลย พวกนี้เชื่อทางวัตถุ คิดว่าตายแล้วสูญไปเลย มองไม่เห็นความสืบต่อของจิต ถ้าเราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิพวกนี้ได้ต้องมาดูที่กายที่ใจของเรา จนเห็นความจริงของกายของใจนี้ จึงจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ ข้ามความเห็นผิดได้ มิจฉาทิฏฐิมีเยอะนะ เช่น ไม่เชื่อเรื่องกรรมกับผลของกรรม ไม่เชื่อเรื่องการกระทำกับผลของการกระทำ ไม่เชื่อเรื่อง action กับ reaction พวกหนึ่งก็เชื่อว่าสัตว์มีเฉพาะที่เรามองเห็น เทวดา สัตว์นรก เปรต อสุรกาย พวกนี้ไม่มี เพราะตัวเองไม่เห็นก็ว่ามันไม่มี พวกนี้เป็นมิจฉาทิฏฐิทั้งนั้นเลย มันไม่เชื่อในปัญญาตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านะ มันเป็นพวกมิจฉาทิฏฐิ ทีนี้เราจะข้ามมิจฉาทิฏฐิได้ยังไง มิจฉาทิฏฐิเป็นทะเลที่กว้างที่สุด ลักษณะของทะเลมิจฉาทิฏฐิคือทะเลที่กว้างมากเลย ไม่เห็นฝั่ง คนทั้งหลายที่ตกอยู่ในมิจฉาทิฏฐิจะเวียนว่ายตายเกิดซ้ำแล้วซ้ำอีกอยู่อย่างนั้นเอง เพราะไม่รู้ว่าฝั่งอยู่ตรงไหน ขึ้นฝั่งไม่ได้ พระพุทธเจ้าท่านถึงสอนบอกว่าเราตถาคตไม่เห็นว่าอะไรจะมีโทษเท่ากับมิจฉาทิฏฐิเลย มิจฉาทิฏฐิมีโทษมากที่สุด ตัวศาสนาพุทธแท้ๆ นั่นแหละคือตัวสัมมาทิฏฐิ แล้วเราจะข้ามทะเลที่กว้างนี้นั้น เราไม่มีปัญญาจะข้ามด้วยตนเองเพราะเราไม่ใช่พระพุทธเจ้า อาศัยพระพุทธเจ้าท่านบอกทางให้ เหมือนท่านอยู่บนบกนะ ท่านตั้งประภาคารขึ้นมา เราเห็นแสงไฟแล้ว เรารู้ทิศทางแล้วว่าต้องเข้ามาทางนี้นะ ถึงจะเข้าฝั่งได้ ผู้ที่ข้ามทะเลทิฏฐิที่กว้างขวางอันนี้ได้คือพระโสดาบันเท่านั้น จะเป็นโสดาบันได้จะต้องเห็นความจริงของกายของใจ ถ้าเห็นความจริงก็จะล้างความเห็นผิดได้ เห็นความจริงของกายของใจ มันไม่เที่ยง มันเป็นทุกข์ มันเป็นอนัตตานะ มันเป็นสิ่งที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ แล้วก็ดับไป มันเป็นสิ่งที่ถ้ามีเหตุมันก็เกิดอีก ถ้าไม่มีเหตุมันก็ไม่เกิดอีก มันจะเห็นอย่างนี้ เพราะฉะนั้นมันจะไม่มีตายแล้วเกิดหรือตายแล้วสูญหรอก มันมีแต่ว่ามันสืบเนื่องไปเรื่อยๆ ถ้ามันมีเหตุ ถ้าไม่มีเหตุ คือไม่มีกิเลสแล้ว มันจะไม่สืบเนื่องไป แต่ก็ไม่ได้แปลว่าสูญนะ อย่าไปแปลว่าสูญนะ มันมีธรรมชาติอย่างหนึ่งซึ่งมีแต่ไม่มี หรือไม่มีความมี เป็นธรรมะอีกชนิดนึงซึ่งเรายังไม่รู้จัก มันไม่ใช่สาบสูญไปเลย เพราะฉะนั้นให้คอยมาดูกายมาดูใจมากๆ วันนึงละความเห็นผิดได้ ได้โสดาบัน ข้ามทะเลอันที่หนึ่งได้แล้ว คือทะเลของทิฏฐิ ทะเลตัวที่สองคือทะเลกาม ถ้าบอกว่าทะเลทิฏฐิคือทะเลที่กว้างหาขอบเขตไม่เจอนะ ทะเลกามนี้มีขอบมีเขต ขอบเขตของกามอยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ นี้เอง อยู่ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ แต่ทะเลกามเป็นทะเลน้ำวนนะ จิตเราจะวนเที่ยวแสวงหาอารมณ์อยู่ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ อยู่ตลอดเวลา มันหิวตลอด มันหิวอารมณ์ทางตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ จะหมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว อยู่ทั้งวัน เดี๋ยวก็อยากได้อารมณ์ทางตา เดี๋ยวอยากทางหู เดี๋ยวอยากทางลิ้น ทางจมูก ทางกาย ทางใจ จะหมุนจี๋ จี๋ จี๋ อยู่ทั้งวันทั้งคืน เป็นทะเลตัณหานั่นเอง ทะเลของกาม หมุนติ้ว ติ้ว ติ้ว ไม่หยุด คนที่จะข้ามทะเลกามได้หรือทะเลน้ำวนนี้ได้ ต้องเห็นความจริงลงมาในกายนี้ได้ เห็นถ่องแท้เลย ตา หู จมูก ลิ้น กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ที่เนื่องด้วยตา หู จมูก ลิ้น กาย ล้วนเป็นของไม่เที่ยง ล้วนเป็นของเป็นทุกข์ ล้วนเป็นของไม่ใช่ตัวเรา ถ้าเห็นอย่างนี้แจ่มแจ้ง เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆได้นะ ปล่อยวางความยึดถือกายได้ก็จะข้ามกามได้ แต่คำว่ากามนี้ ในตำรานะ ตำราชั้นหลังๆ อธิบายมากกว่านี้ กามไม่ใช่แค่กามราคะ ถ้ากามราคะนี่ แค่พระอนาคามีละได้ ถ้าไปถือเอารูปราคะ อรูปราคะเป็นกามด้วย ก็จะมีแต่พระอรหันต์ถึงจะละได้เด็ดขาด ทีนี้พวกเราเข้าใจยากอย่างนี้ ก็จะพูดแค่กามที่พวกเรารู้จักก็แล้วกัน พระอนาคาก็ละได้แล้ว เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนนี้ข้ามยากนะ ถูกดูด เห็นมั้ยมันดึงดูดใจเรา กามมันดึงดูดนะ ใครเคยได้ยินชื่อเจ้าคุณนรฯ บ้างมั้ย เจ้าคุณนรฯ แต่งกลอนไว้อันนึงนะ แต่งไว้เจ็บๆ แสบๆ นะ เออ..คนสมัยนี้อาจจะว่าไม่ค่อยสุภาพ ท่านบอกว่า บ่อน้อยเท่ารอยโค รอยโค คือบ่อน้อยเนี่ยเท่าตีนวัวเท่านั้นแหละ เท่ารอยตีนวัว บ่อน้อยเท่ารอยโค หรือจะโผข้ามพ้น หมายถึงข้ามยาก เป็นมหาเปรียญก็ยังเวียนไปหาก้น ท่านบอกอย่างนี้ ท่านว่าแสบนะ กามไม่ใช่ของสู้ได้ง่ายนะ ถ้าใจไม่ถึงจริงๆ สติปัญญาไม่แก่รอบจริงๆ รู้ลงมาไม่เห็นความจริงของกายนี้ มันยังรักกาย ยังหวงแหนกายอยู่ มันจะรักรูป รส กลิ่น เสียง โผฏฐัพพะ ไปด้วย ถ้าเราเห็นกายเรา มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ มันจะไม่รักรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ยกตัวอย่าง อย่างเราชอบอะไรที่นุ่มๆ ใช่มั้ย อย่างหนุ่มๆ นี่ ชอบสาวๆ ตัวนุ่มๆ ถ้าตัวเราเป็นแผลนะ เป็นแผลเหวอะหวะ ทั้งตัวเลย ใครมาถูกเรา เราก็เจ็บก็แสบ เราจะไม่อยากสัมผัสทางกายแล้ว ถ้าสติปัญญาเราแก่รอบจริงๆ เห็นกายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ เลยนะ มันจะไม่เอากาม มันจะไม่เอากาม เพราะฉะนั้นทะเลน้ำวนมันจะดูดเราไม่ได้ เพราะเรารู้แล้วว่ามันทุกข์นะ มันทุกข์ ทะเลที่สามนะมีชื่อว่าภพ ภวโอฆะ ภพก็คือ การทำงานของจิต มันก็เนื่องมาจากตัณหานั่นแหละ จิตของเรามันทำงานทั้งวันทั้งคืน ไม่เคยหยุดพักเลย ปรุงแต่ง คิดนึกปรุงแต่ง ปรุงดี ปรุงชั่ว ปรุงสุข ปรุงทุกข์ มันปรุงทั้งวันทั้งคืน ทันทีที่จิตปรุงแต่งอะไรขึ้นมา จิตก็มีความทุกข์ขึ้นมาทุกที ทะเลภพนี้เป็นทะเลที่ไม่ใช่หมุนวนแล้ว มีลักษณะอีกชนิดหนึ่ง เป็นทะเลที่น้ำเชี่ยว มันพัดพาเราจากภพหนึ่งไปสู่อีกภพหนึ่งตลอดเวลาเลย จิตเราจะเปลี่ยนภพตลอดเวลานะ จากภพอันนึงไปสู่ภพอีกอันนึง จากภพหนึ่งไปสู่ภพอีกอันหนึ่ง เราจะเวียนตายเวียนเกิดไม่มีเงื่อนต้นเงื่อนปลายใดๆในสังสารวัฏนี้ แม้กระทั่งในชีวิตเดียวของเราขณะนี้ จิตของเราก็เปลี่ยนภพย่อยๆ อยู่ในใจตลอดเวลา เดี๋ยวเราก็เป็นคนดี เดี๋ยวเราก็เป็นคนร้าย เดี๋ยวเราเป็นนักปฏิบัติ เดี๋ยวเราเป็นจอมเจ้าเล่ห์แสนกล เดี๋ยวเราเป็นคนเมตตา เดี๋ยวเราเป็นคนขี้โมโห จิตใจเราเปลี่ยนภพอยู่ตลอดเวลา เวลาเราโมโหทีนะ เราก็เป็นสัตว์นรกที เพราะมันเป็นโทสะ เวลาเราโลภขึ้นมาทีนะ เราก็เป็นเปรตทีนึง เวลาเรายึดถือในความคิดความเห็น เราก็ไปอยู่ในภพของอสุรกายทีนึง เวลาเราใจลอยไป เผลอไป เหม่อไป เราไปภพของเดรัจฉาน ถ้าเราเป็นคนมีศีลมีธรรมนะ เราก็ไปภพมนุษย์ ถ้าเราเป็นคนที่มีหิริโอตตัปปะ ละอายบาป กลัวผลของบาป เราก็ไปภพของเทวดา ถ้าเรามีใจสงบ มีใจตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์อันเดียว เราก็ไปภพของพรหม จิตใจของเราหมุนเวียนอยู่ตามภพต่างๆ ภพทั้งหมดเป็นทุกข์ทั้งหมดนะ ไม่มีนะภพที่ไม่ทุกข์ ถึงเป็นพรหมเป็นเทวดาก็มีความทุกข์ ทุกข์แบบเทวดา ทุกข์แบบพรหม ไม่ว่าภพอะไรก็ลำบากหมดเลย มีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย นี่ถ้าสติปัญญาของเราแก่กล้าไม่พอ เราจะมองไม่ออก การจะข้ามทะเลน้ำเชี่ยวอันนี้ได้ มีทางเดียว ต้องละอวิชชาได้ เพราะฉะนั้นการข้ามภพ กับการละอวิชชานี้จะควบกันไป เป็นเรื่องของพระอรหันต์ที่จะเห็น ทะเลของอวิชชานี้ไม่เหมือนทะเลของทิฏฐิที่เป็นทะเลกว้างไม่มีขอบมีเขต หาฝั่งไม่เจอ ไม่เหมือนทะเลกามที่เป็นทะเลน้ำวน ไม่เหมือนทะเลภพที่เป็นทะเลน้ำเชี่ยว ทะเลของอวิชชาเป็นทะเลน้ำตื้น คลื่นลมสงบ แต่หมอกลง เป็นทะเลหมอกนะ เพราะฉะนั้นเราว่ายน้ำมาจนถึงริมฝั่งแล้ว ขึ้นฝั่งไม่ได้หรอก ว่ายไปว่ายมานะมันหลุดออกไปทะเลลึกได้อีกนะ เพราะฉะนั้นอย่างปุถุชนหลายคนนะ ที่คิดจะสู้อวิชชา ไม่ได้กินหรอก แป๊ปเดียวก็กลับไปมีทิฏฐิอย่างเดิม อย่างถ้าเราไม่ใช่พระอนาคานะ จะมาริหาญสู้อวิชชา มวยคนละชั้นนะ แป๊ปเดียวก็หลงกามไปอีกแล้ว หลงในกาม หลงในทิฏฐิอีกแล้ว ถ้าไม่ใช่พระอนาคานะ ทีนี้เราจะละอวิชชา ทะเลน้ำตื้นหรือทะเลหมอกนี้ได้ต้องมีวิชชา คือรู้แจ้งอริยสัจจ์ก่อน การรู้แจ้งอริยสัจจ์นี้ทำให้เราขึ้นฝั่งได้ ถ้ายังไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ได้นะ จะขึ้นฝั่งไม่ได้ พระไตรปิฎกสอนไว้ว่า ตราบใดที่ไม่รู้แจ้งอริยสัจจ์ ยังข้ามภพไม่ได้ ยังวนเวียนอยู่ในสังสารวัฏ เพราะฉะนั้นการเรียนธรรมะนะ ต้องรู้แจ้งอริยสัจจ์ถึงจะข้ามภพข้ามชาติได้ ข้ามทุกข์ได้ ถ้ารู้แจ้งอริยสัจจ์ซะอย่างเดียว ทิฏฐิก็ไม่มี กามก็ไม่มีนะ ภพก็ไม่มี อวิชชาก็ไม่มี การรู้แจ้งอริยสัจจ์ตัวที่ ๑ เรียกว่า ทุกขสัจจ์ ทุกขสัจจ์คืออะไร คือกายกับใจนี้เอง เพราะฉะนั้นหน้าที่ของผู้ปฏิบัติ ตั้งแต่เบื้องต้นเลย จนสุดท้ายมีแต่การรู้กายรู้ใจตนเอง รู้ลงมาเรื่อยๆ กายของเราเป็นยังไง รู้สึกไว้ จิตใจของเราเป็นยังไง คอยรู้สึกไว้ อย่าลืมกาย อย่าลืมใจ ถ้าลืมกายลืมใจเรียกว่าขาดสติ แต่ก็ห้ามเพ่งกายเพ่งใจ ให้รู้กายรู้ใจ ไม่ได้ให้เพ่งกายเพ่งใจ ไม่ได้ให้กำหนดกายกำหนดใจ คนละเรื่องเลยนะ รุ่นหลังๆ นี้ชอบกำหนดนะ กำหนดเป็นสมถะ กำหนดลงไป จิตจะไปแน่วไปนิ่งอยู่ในอารมณ์อันเดียว บังคับให้อยู่ในอารมณ์อันเดียว ถ้าบังคับไม่เป็น หรือบังคับแบบฝืนใจ ก็จะหนักๆขึ้นมา แน่นๆ แข็งๆ ทื่อๆ เครียดๆ ขึ้นมา ถ้าน้อมใจเก่ง จะสงบ จะสบาย จะโปร่ง โล่ง เ ร่างกายของเราเคลื่อนไหวคอยรู้สึก จิตใจของเราเคลื่อนไหวเราคอยรู้สึก แต่อย่าไปเพ่งให้นิ่ง ไม่ใช่คอยบังคับกายให้นิ่ง จะเดินก็เดินไม่เหมือนคนธรรมดา คล้ายๆ ผีดิบนะ เดินต้องตัวทื่อๆ อย่างนั้นใช้ไม่ได้นะ จิตใจก็อย่าไปข่มให้มันซึมกะทือซื่อบื้ออยู่อย่างนั้นทั้งวันทั้งคืน เราต้องการเห็นความจริงของกายของใจ เพราะฉะนั้นอย่าไปบังคับมัน แต่คอยดูมันไป แต่ถ้ามันจะเอากายเอาใจไปทำผิดศีลห้าไม่เอานะ ตรงนี้ต้องฝืนใจ ศีลห้านี้มาตรฐานปราการขั้นสุดท้ายแล้ว มาตรฐานของเราเลย ถ้าขาดศีลห้าเราไม่ใช่มนุษย์แล้ว ต้องระมัดระวังนะ ขนาดพระโพธิสัตว์ยังตกนรกได้เลย นับประสาอะไรกับพวกเราจะไม่ตก ยังเชื่อใจตัวเองไม่ได้นะ อย่าประมาทกิเลสนะ สันตินันท์ ท่านพระอาจารย์ ปราโมทย์ ปาโมชฺโชบานะ จะเป็นสมาธิไปอีกแบบนึง แต่ส่วนใหญ่ที่พวกเราทำจะเป็นมิจฉาสมาธิแท้ๆ เลย เป็นสมาธิที่หนักๆ แข็งๆ ตัวก็เกร็งๆ กายก็เกร็งๆ ใจก็เกร็งๆ ใช้ไม่ได้จริงนะ เราคอยรู้สึกนะ คอยรู้ รู้ลงมาในกาย รู้ลงมาในใจ
รีบรู้สึกตัวไว้อย่ารีบละวางให้จิตเค้าวางเองอนุมัติ ตรวจสอบความคิดเห็น Sompong Tungmepol 1 วินาทีที่ผ่านมา การที่จิตต้องดิ้นรนอยู่ตลอดเวลานี่นะ คือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้างความปรุงแต่งอยู่ตลอดเวลา พวกเราเห็นไหม ในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่น อย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอย ถอยไปอยู่ข้างหลัง ถอยได้ แบ่งๆ กันนะ แบ่งๆกัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ สังเกตมั้ยตอนหัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
อย่าคิดว่าเราเป็นพระอริยะเจ้าตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทรายตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
พระธรรมจักรตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
พระธรรมจักรตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
การเจริญกรรมฐาน ทางสู่พระนิพพาน หลวงพ่อฤาษี พระราชพรหมยานเถระ วัดท่าซุง ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.
พระราชพรหมยานเถระหลวงพ่อฤๅษี ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.
หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช-สองสิ่งที่ควรทำคือสมถะและวิปัสนา ว่าด้วยวิมุตตายตนะ ๕ คำว่า ปญฺจ วิมุตฺตายตนานิ - วิมุตตายตนะ ๕. ความว่า เหตุแห่งการพ้น ๕ ประการเหล่านี้ คือ การสดับธรรมเทสนาที่ผู้อื่นแสดงเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน ๑, การแสดงธรรมตามที่ตนได้สดับมาแล้วเพื่อประโยชน์เกื้อกูลแก่คนเหล่าอื่น ๑, การสาธยายธรรมที่ตนได้สดับมาแล้ว ๑, การตรึกถึงธรรมตามที่ได้สดับมาแล้วด้วยใจ ๑, อารมณ์อันสมควรแก่สมถกรรมฐาน ๔๐ มีกสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐ เป็นต้น ๑. ดุจดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า๑- ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อน สพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การเคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ภิกษุนั้นย่อมเข้า ใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้นตามที่พระศาสดา หรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควรแก่การ เคารพ แสดงธรรมแก่ภิกษุ, เมื่อภิกษุนั้นเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ก็ย่อมเกิดความปราโมทย์, เมื่อเกิดความ ปราโมทย์แล้ว ปีติก็ย่อมเกิด, เมื่อใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ, ผู้มีกายสงบก็ย่อมเสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น, นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๑. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ย่อมไม่ได้แสดงธรรม แก่ภิกษุเลย แต่ว่า ภิกษุย่อมแสดงธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดย พิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรม นั้นที่ภิกษุแสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๒. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดงตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรมตามที่ได้ สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อภิกษุ เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๓. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุ ก็ไม่ได้ทำการสาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตาม ที่ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่าภิกษุย่อมตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่า เรียนมาด้วยใจ ภิกษุย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ ฯลฯ เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น นี้ เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๔. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระ- ศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้ตั้งอยู่ในฐานะควร แก่การเคารพรูปใดรูปหนึ่ง ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้เล่าเรียนมาแก่คนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้สาธยายธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ ได้เล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ตรึก- ตรองใคร่ครวญธรรมตามที่ได้สดับมา ตามที่ได้ เล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่าสมาธินิมิตอย่างใดอย่าง หนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรง ไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา ภิกษุย่อม เข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมนั้น ตามที่ได้เล่าเรียน สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อภิกษุเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดความ ปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจสหรคตด้วยปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกาย สงบแล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น. นี้เป็นวิมุตตายตนะข้อที่ ๕ ดังนี้แล.
Andrea Bocelli "Besame Mucho" Live on stage in TuscanyAndrea Bocelli Sings beautifully live on stage in Tuscany, Italy. His angelic voice resonates amazingly across the stage. His voice could play with all emotions of the heart, he can make you cry then make you laugh in moments time. His voice will last for ever with us and are future generations. If you want to see more videos of him visit my channel (AndreaBocelli77)
จิตปล่อยวางจิตใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั้ย ลืมตัวเอง นี่ฝึกนะ ฝึกรู้อย่างนี้แหละ ดูไปเรื่อยๆนะ ถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอนี่ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยะมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส จะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการข่มไว้ อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลย ไม่ต้องล้างอีกแล้ว ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะ วันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนา มันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึกตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้แหละ ลองไปทำดู ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้าอรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม ... ที่จะเกิดอริยมรรค อริยผล ในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรค จนถึงอรหัตตมรรค .. เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน จริงๆนะ จะรู้เลยว่าตัวเราไม่มีหรอก เป็นภาพลวงตาเท่านั้นเอง เป็นมายาหลอกลวง เหมือนฝัน ฝันไปว่ามีตัวเรา จริงๆไม่มีเรา ถ้าเมื่อไหร่ปัญญาแทงทะลุลงไปว่าจริงๆไม่มีเราหรอก เป็นภาพลวงตาทั้งหมดเลย นั่นแหละคือภูมิธรรมของพระโสดาบัน ฟังแล้วเหมือนยากนะ แต่ลงมือทำจริงไม่ยากหรอก บางคนใช้เวลาไม่กี่วันด้วยซ้ำไป บางคนใช้เวลาสั้นนิดเดียวนะ อย่าว่าแต่พระโสดาบันเลย บางท่านฟังธรรมะไม่กี่ประโยค ท่านก็เป็นพระอรหันต์ ยกตัวอย่างพระพาหิยะ ฟังธรรมะนิดเดียว ฟังอยู่กลางตลาดเลย ท่านได้เป็นพระอรหันต์ เวลาเราปฏิบัตินะ แต่เดิมเราก็จะหลงผิดว่าเราปฏิบัติให้มันมีความสุข เราเห็นว่าในโลกนี้มีทั้งความสุขและความทุกข์ เราก็จะพยายามหลบไอ้ตรงทุกข์ จะไปเอาตรงสุข ดิ้นไปเรื่อยๆ เวลาเจอความสุขก็พอใจ เพลิน เจอความทุกข์ก็พยายามจะหนี ทุกข์กายทุกข์ใจ มี ๒ อัน ทางกายเราก็อยากจะไปเห็น อยากได้กลิ่น ได้รส ได้สัมผัสที่มันดีๆ หนีที่ไม่ดี เวลาเจอของไม่ดีเราก็หวังว่าถ้าหนีอันนี้ไปได้แล้วจะได้ไปเจอของดี ลืมไปอันนึงว่าไอ้ต้นตอตัวหัวโจกเลยมันไม่ใช่รูปรสกลิ่นเสียงโผฏฐัพพะหรอก กระทั่งกายเรานี้ก็ไม่ใช่ของดิบดีอะไร ไม่มีความสุขจริง ทั้งกายนี้มีแต่ความทุกข์ จิตใจก็เหมือนกันนะ จิตใจก็เที่ยวหาอารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายของเรา เราก็อยากให้ร่างกายเราได้แต่อารมณ์ที่เป็นสุข ร่างกายจิตใจอยากจะเอาแต่สุข ไม่เอาทุกข์ แล้วที่ใจเราดิ้นรนไม่เลิกเนี่ย เพราะเรายังหลงผิดว่าสุขมันมีอยู่ เจอทุกข์แล้วหลบให้ดีเหอะ เดี๋ยวเราจะเจอสุข ถ้าศึกษาศาสนาพุทธอย่างถึงแก่นจริงๆจะพบว่าเราหลบหลีกไปไม่ได้นาน เพราะตัวเราเองเป็นตัวทุกข์ ร่างกายจิตใจของเราเองนั่นแหละตัวทุกข์ ไม่ใช่คนอื่นทุกข์นะ อย่างสมมติไปหาของอร่อยที่สุดมากิน ร่างกายก็ยังมีความทุกข์อีก ของที่อร่อยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุขได้ถาวรอะไร รูปที่สวยที่สุดไม่ได้ทำให้ร่างกายมีความสุข อารมณ์ที่ดีก็ไม่ได้ทำให้จิตมีความสุขถาวรได้เพราะจิตไม่เที่ยง ถ้าเราเข้าใจว่าร่างกายจิตใจของเราบังคับไม่ได้ ไม่เที่ยง ไม่ใช่ตัวตน ก็ค่อยคลายความยึดถือ มันจะไม่ไปดิ้นหาความสุข แล้วก็ไม่ดิ้นหนีความทุกข์ แต่ก็ไม่ใช่โง่แช่ความทุกข์อยู่นะ ไม่ใช่นั่งภาวนา มดกัดให้มันกัดไป ไม่ใช่กายเรา เนี่ยโง่เกินไปแล้ว สุดโต่งไป ก็มีความเพียรนะ มีสติแล้วก็มีความเพียรไป พอมีสติแล้ว ศรัทธาก็เพิ่มขึ้น มีสติแล้วใจก็จะตั้งมั่น ที่ใจเรานั่งภาวนาแล้วเคลิ้มง็อกแง็ก ง็อกแง็ก เป็นเพราะขาดสติ สติจำเป็นในที่ทุกสถานในกาลทุกเมื่อ ต้องมีสติ จะยืน จะเดิน จะนั่ง จะนอน รู้สึกตัว แต่รู้สึกตัวไม่ใช่เพ่งตัว ไม่ใช่เพ่งกาย ไม่ใช่เพ่งใจ ไม่ใช่เพ่งลมหายใจ ไม่ใช่เพ่งท้องพองยุบ ไม่ใช่เพ่งเท้าเพ่งมือ ไม่ใช่เพ่งร่างกายทั้งกาย ไม่ใช่เพ่งจิต ไม่ใช่เพ่งเวทนา ไม่ได้เพ่งอะไรเลย แค่รู้สึกตัวขึ้นมาแล้วก็รู้ถึงความมีอยู่ของกาย รู้ถึงความมีอยู่ของใจ พอรู้ไปใจมันตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูอยู่นะ ไม่ขาดสตินะใจมันตั้งมั่นเป็นคนดู ตรงที่ใจตั้งมั่นเป็นคนดูเราจะเห็นเลย ร่างกายอยู่ส่วนหนึ่งใจอยู่ส่วนหนึ่งมีช่องว่างมาคั่น เวทนา ความสุขความทุกข์อยู่ส่วนหนึ่งจิตใจอยู่ส่วนหนึ่ง มีช่องว่างมาคั่น เราจะเห็นเวทนาอยู่นอกๆ ใจอยู่ต่างหาก สัญญา สังขารก็เหมือนกันนะ กุศล อกุศล ทั้งหลายเป็นสังขาร เราเห็นมันอยู่นอกๆ มันไม่ใช่จิตหรอก มันอยู่นอกๆ มีช่องว่างมาคั่นระหว่างจิตกับกิเลสเนี่ย ไม่สัมผัสกัน อย่างนี้เรียกว่าใจของเราตั้งมั่นอยู่ ทีนี้อะไรๆเกิดขึ้นในกายในใจ เราก็เห็นว่า ทั้งกายทั้งใจเขาทำงานของเขาไปเรื่อย ใจมันอยู่ต่างหาก ใจมันตั้งมั่น ตัวนี้เรียกว่ามีสัมมาสมาธิ ใจมันตั้งมั่นอยู่ ถ้าใจไม่ตั้งมั่นใจก็ไหล ไหลเข้าไปไหน ไหลเข้าไปรวมอยู่กับกาย ไหลไปรวมอยู่กับเวทนา ไหลไปรวมอยู่กับสังขาร จิตตสังขารในใจเรา ไหลไปรวมกับความว่างๆ หรือบางทีก็ไหลออกนอก ไหลไปคิดไปนึกไปปรุงไปแต่ง นี้เรียกว่าใจมันไม่ตั้งมั่น ใจเราจะแฉลบซ้ายแฉลบขวาอยู่ทั้งวันนะ ค่อยฝึกนะ ฝึกไปช่วงหนึ่งจะมองเห็น ใจจะแฉลบไปแฉลบมาอยู่ตลอดเวลา เนี่ยในห้องเนี่ย รู้สึกมั้ย ใจจะแฉลบอยู่ตลอดเวลา เดี๋ยวแฉลบไปดู เดี๋ยวแฉลบไปฟัง เดี๋ยวแฉลบไปคิด เดี๋ยวแฉลบไปเพ่ง มีสารพัดรูปแบบ เนี่ยใจมันไม่มีสัมมาสมาธิ ถ้ามันมีสตินะ ใจหลงไปคิด รู้ทันว่าใจมันหลงไปคิด ใจจะตั้งมั่นขึ้นมา ตั้งขึ้นได้แว้บเดียวนะ เดี๋ยวก็ไหลอีก นี่พอเราไหลไปแล้วรู้ เราไหลไปรู้ จะตั้งได้นาน มันจะเหมือนตั้งได้ต่อเนื่อง ความจริงไม่ได้ต่อเนื่องหรอก จิตที่ตั้งมั่นก็เกิดดับทีละขณะเหมือนกับจิตชนิดอื่นนั่นแหละ แต่มันเกิดบ่อย เกิดบ่อยจนรู้สึกเหมือนอยู่ได้นานๆ พออยู่ได้อย่างนี้เรื่อยๆนะ ก็ บางทีสติไประลึกรู้กายเข้า บางทีสติไประลึกรู้จิตเข้า จงใจระลึกไม่ได้ ระลึกของมันเอง เดี๋ยวก็รู้กายเดี๋ยวก็รู้จิต รู้มากๆมันจะเห็นความจริง เอ๊ะกายตะกี้นี้อย่างนี้ กายตอนนี้อย่างนี้ จิตตะกี้นี้อย่างนี้จิตเดี๋ยวนี้อย่างนี้ เห็นว่าไม่เหมือนกัน หรือเห็นว่ากายในปัจจุบันนี้ ที่เรามองอยู่นี้มันของถูกรู้ถูกดู จิตที่เราตามรู้ตามดูก็ของถูกรู้ถูกดู ไม่มีตัวเราเลย ไม่ใช่ตัวเราเลย เป็นของถูกรู้ถูกดูทั้งหมด การที่เห็นกายเห็นใจไม่เที่ยง เป็นทุกข์ ไม่ใช่ตัวเรา เป็นของถูกรู้ถูกดูบ้าง เป็นของอยู่นอกๆบ้าง เป็นของเกิดดับบ้าง เป็นของที่ถูกความทุกข์บีบคั้นบ้าง เห็นอย่างนี้เรียกว่าเห็นความจริง การเห็นความจริงนี้เรียกว่าปัญญา เพราะฉะนั้นอาศัยการมีสติเนี่ย เราก็เลยเกิดศรัทธา เกิดวิริยะ เกิดสมาธิ เกิดปัญญาขึ้นมา ไม่ใช่ว่าต้องทำแยกเป็นตัวๆนะ ยกเว้นสมาธิน่ะ สมาธิบางทีเราเจริญสตินานๆไปนะ สมาธิมันตกได้เหมือนกัน อย่างนั้นต้องพักผ่อนจิตใจบ้าง ทำสมถะได้ก็ทำ ถ้าทำสมถะไม่เป็นก็ให้รู้ทันเอาว่าจิตมันไหลไปข้างนอกแล้ว ไปแช่อยู่ข้างนอกนิ่งๆละ ถ้าจิตยังมีแรงอยู่นะ มันจะไหลแว้บไป กลับไปกลับมา กลับไปกลับมา นี่ยังมีแรงอยู่ ถ้าไหลไปแว้บ..ออกไป แล้วก็ไปนอนนิ่งๆอยู่ข้างนอกนะ ส่วนใหญ่ไปนอนแช่อยู่ข้างหน้าเนี่ย นั่นน่ะมันหมดแรงแล้ว นั่นหมดแรงอย่างหนึ่งนะ อีกอย่างหนึ่งก็คือ ไปหลงเพลินในความสุขเสียแล้ว นะ มีสองแบบนะ ที่ไหลไปแช่อยู่ข้างหน้า อันหนึ่งเพราะว่าหมดเรี่ยวหมดแรงที่จะรู้สึกตัวละ ใจไม่มีแรงที่จะตั้งมั่น นะ อีกอันหนึ่งก็มันไปเพลินในความสุข ไปนอนแช่นิ่งๆอยู่ ทีแรกก็ใจมันไม่มีแรงก่อนนะ มันก็เลยไหลไปอยู่ข้างหน้าไปนอนนิ่งๆ พอนอนนิ่งๆแล้วรู้สึกเอ๊ะสบายดี..เลยชอบเลยคราวนี้เลยติดอยู่ข้างหน้า กลับบ้านไม่ได้แล้วไปนอนอยู่หน้าบ้าน คล้ายๆนอนอยู่ในบ้านนานแล้ว เบื่อแล้ว ออกไปนอนเล่นหน้าบ้านนะ ดูเอ๊..ท้องฟ้าปลอดโปร่ง ดาวสวย อะไรอย่างนี้ นอนไปนอนมาเพลินเลยไม่เข้าบ้านเลย กลายเป็นพวกเร่ร่อนจรจัดไปแล้ว เนี่ยใจมันไม่ตั้งมั่น ค่อยสังเกตเอา เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้าวันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ
พระธรรมจักรตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
พระธรรมจักรตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าhttps://www.youtube.com/watch?v=soxGTKkTKgM ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่นวาย เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป..
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)