วันอาทิตย์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

จิตทวนกระแส

สีเล ปติฏฺฐาย นโร สปญฺโญ จิตฺตํ ปญฺญญฺจ ภาวยํ อาตาปี นิปโก ภิกฺขุ โส อิมํ วิชฏฺเย ชฏํํ นรชนผู้ฉลาด มีความเพียรเครื่องเผากิเลสอย่า­งต่อเนื่อง มีปัญญา คือ สัมปชัญญะ 4 (นับ) เป็นภิกษุผู้เห็นภัยในวัฏฏะ ตั้งมั่นอยู่ในศีล อบรมจิตและปัญญาอยู่นรชนผู้นั้นจะพึงถางรกชัฏออกได้


ไตรสิขา๓ - ศีล สมาธิ ปัญญา
ปัญญา๓ - สุตมยปัญญา จินตมปัญญษ ภาวนามยปัญญา
ภาวนามยปัญญา เป็นปัญญาจากการเจริญวิปัสสนากรรมฐานเกิดญาณ๑๖
๑. นามรูปปริเฉทญาณ ๒. ปจยปริคหญาณ ๓. สมสณญาณ ๔. อุทยัพพยญาณ
๕. ภังคญาณ ๖.ภยตูปัฏฐานญาณ ๗. อาทีนวาญาณ ๘. นิพพิทาญาณ ๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ ๑๐. ปฏิสังขาญาณ ๑๑. สังขารุเบกขาญาณ ๑๒. สัจจานุโลมิกญาณ ๑๓. โคตรภูญาณ ๑๔.มรรคญาณ ๑๕.ผลญาณ ๑๖. ปัจจเวกขณญาณ

วิสุทธิมรรค๗ ๑.ศีลวิสุทธิ ๒.จิตตวิสุทธิ ๓.ทิฏฐิวิสุทธิ - นามรูปปริเฉทญาณ ๔.กังขาวิตรณวิสุทธิ - ปจยปริคหญาณ
๕.มัคคามัคคะญาณทัศนวิสุทธิ - ๓.สมสณญาณ ๔.อุทยพยญาณ เกิดวิปัสสนูปกิเลส๑๐ - ๑.โอภาส ๒.ปิติ ๓.ญาณ ๔.ปัสสัทธิ ๕.สุข ๖.อธิโมกข์ ๗.ปัคคคาหะ ๘.อุปัฏฐานะ ๙.อุเบกขา ๑๐.นิกันติ
๖.ปฏิปทาญาณทัศนวิสุทธิ - ๔. อุทยัพพยญาณ ๕. ภังคญาณ ๖.ภยตูปัฏฐานญาณ ๗. อาทีนวาญาณ ๘. นิพพิทาญาณ ๙. มุญจิตุกัมยตาญาณ ๑๐. ปฏิสังขาญาณ ๑๑. สังขารุเบกขาญาณ ๑๒. สัจจานุโลมิกญาณ ๑๓. โคตรภูญาณ ๖.ปฏิปทาญาณทัศนวิสุทธิ - ๑๒. สัจจานุโลมิกญาณ ๑๓. โคตรภูญาณ
๗.ญาณทัศนวิสุทธิ - ๑๔.มรรคญาณ ๑๕.ผลญาณ ๑๖. ปัจจเวกขณญาณ ละสังโยชน์๑๐ บรรลุธรรม พระโสดาบัน พระสกิทาคามี พระอนาคามี พระ อรหันต์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น