วันอังคารที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2559
การเจริญสติและกรรมฐานจากเรื่องความตายใช่น่ากลัวอย่างที่คิด โดย ภิกษุ นิรนามนวสีวถิกาบรรพ (นำ) หันทะ มะยัง นะวะสีวะถิกาปัพพะปาฐัง ภะณามะ เส ฯ (รับ) ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า เอกาหะมะตัง วา ทะวีหะมะตัง วา ตีหะมะตัง วา - ตายแล้ววันหนึ่งบ้าง สองวันบ้าง สามวันบ้าง อุทธุมาตะกัง วินีละกัง วิปุพพะกะชาตัง - ที่ขึ้นพองมีสีเขียว มีน้ำเหลืองไหลน่าเกลียด โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้น ความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า กาเกหิ วา ขัชชะมานัง - อันฝูงกาจิกกินอยู่บ้าง คิชเฌหิ วา ขัชชะมานัง - อันฝูงแร้งจิกกินอยู่บ้าง กุละเลหิ วา ขัชชะมานัง - อันฝูงนกตะกรุมจิกกินอยู่บ้าง สุวาเณหิ วา ขัชชะมานัง - อันหมู่สุนัขกัดกินอยู่บ้าง สิงคาเลหิ วา ขัชชะมานัง - อันหมู่สุนัขจิ้งจอกกัดกินอยู่บ้าง วิวิเธหิ วา ปาณะกะชาเตหิ ขัชชะมานัง - อันหมู่สัตว์ตัวเล็กตัวน้อยกัดกินอยู่บ้าง โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้น ความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิสังขะลิกัง - เป็นร่างกระดูก สะมังสะโลหิตัง - ยังมีเนื้อและเลือด นะหารุสัมพันธัง - ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิสังขะลิกัง - เป็นร่างกระดูก นิมมังสะโลหิตะมักขิตัง - ปราศจากเนื้อ แต่ยังเปื้อนเลือดอยู่ นะหารุสัมพันธัง - ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิสังขะลิกัง - เป็นร่างกระดูก อะปะคะตะมังสะโลหิตัง - ปราศจากเนื้อและเลือดแล้ว นะหารุสัมพันธัง - ยังมีเส้นเอ็นผูกรัดอยู่ โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิกานิ - เป็นกระดูก อะปะคะตะนะหารุสัมพันธานิ - ปราศจากเส้นเอ็นผูกรัดแล้ว ทิสาวิทิสา วิกขิตตานิ - เรี่ยรายไปในทิศน้อยทิศใหญ่คือ อัญเญนะ หัตถัฏฐิกัง อัญเญนะ ปาทัฏฐิกัง - กระดูกมือไปทาง กระดูกเท้าไปทาง อัญเญนะ ชังฆัฏฐิกัง อัญเญนะ อูรัฏฐิกัง - กระดูกแข้งไปทาง กระดูกขาไปทาง อัญเญนะ กะกิฏฐิกัง อัญเญนะ ปิฏฐิกัณฏะกัฏฐิกัง - กระดูกสะเอวไปทาง กระดูกสันหลังไปทาง อัญเญนะ ผาสุกัฏฐิกัง อัญเญนะ อุรัฏฐิกัง - กระดูกซี่โครงไปทาง กระดูกหน้าอกไปทาง อัญเญนะ พาหุฏฐิกัง อัญเญนะ อังสัฏฐิกัง - กระดูกแขนไปทาง กระดูกไหล่ไปทาง อัญเญนะ คีวัฏฐิกัง อัญเญนะ หะนุฏฐิกัง - กระดูกคอไปทาง กระดูกคางไปทาง อัญเญนะ ทันตัฏฐิกัง อัญเญนะ สีสะกะฏาหัง - กระดูกฟันไปทาง กะโหลกศรีษะไปทาง โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิกานิ เสตานิ สังขะวัณณุปะนิกานิ - เป็นกระดูกมีสีขาวเปรียบด้วยสีสังข์ โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิกานิ ปุญชะกิตานิ เตโรวัสสิกานิ - เป็นกระดูกกองเรี่ยรายอยู่ นานเกินปีหนึ่งขึ้นไป โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ ปุนะ จะปะรัง ภิกขะเว ภิกขุ - ภิกษุทั้งหลาย อีกข้อหนึ่ง เสยยะถาปิ ปัสเสยยะ สะรีรัง - ภิกษุเหมือนกับว่า พึงเห็นสรีระ สีวะถิกายะ ฉัฑฑิตัง - ที่เขาทิ้งไว้ ในป่าช้า อัฏฐิกานิ ปูตีนิ จุณณะกะชาตานิ - เป็นกระดูกผุเป็นจุณแล้ว โส อิมะเมวะ กายัง อุปะสังหะระติ - เธอย่อมน้อมเข้ามาสู่กายนี้แหละว่า อะยัมปิ โข กาโย - ถึงร่างกายอันนี้เล่า เอวัง ธัมโม เอวัง ภาวี เอวัง อะนะตีโตติ - ก็มีอย่างนี้เป็นธรรมดา คงเป็นอย่างนี้ ไม่ล่วงพ้นความเป็นอย่างนี้ไปได้ อิติ อัชฌัตตัง วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ด้วยอาการอย่างนี้ ภิกษุพิจารณาเห็นกายในกาย ภายในบ้าง พะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ภายนอกบ้าง อัชฌัตตะพะหิทธา วา กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - พิจารณาเห็นกายในกาย ทั้งภายในและภายนอกบ้าง สะมุทะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเกิดขึ้น ในกายบ้าง วะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม คือความเสื่อมไป ในกายบ้าง สะมุทะยะวะยะธัมมานุปัสสี วา กายัส๎มิง วิหะระติ - พิจารณาเห็นธรรม ทั้งความเกิดขึ้นและเสื่อมไป ในกายบ้าง อัตถิ กาโยติ วา ปะนัสสะ สะติ ปัจจุปัฏฐิตา โหติ - อีกอย่างหนึ่ง สติของเธอที่ตั้งมั่นอยู่ว่า กายมีอยู่ ยาวะเทวะ ญาณะมัตตายะ ปะติสสะติมัตตายะ - เพียงสักว่ารู้ เพียงสักว่าอาศัยระลึกเท่านั้น อะนิสสิโต จะ วิหะระติ - เธอเป็นผู้อันตัณหาและทิฏฐิอาศัยไม่ได้ นะ จะ กิญจิ โลเก อุปาทิยะติ - ไม่ถือมั่นอะไรๆ ในโลก เอวัมปิ ภิกขะเว ภิกขุ กาเย กายานุปัสสี วิหะระติ - ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล ภิกษุชื่อว่าพิจารณาเห็นกายในกายอยู่ [ อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ อานนท์ ! อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ-ไม่เป็นที่ชอบใจ เป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ย่อมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายังคงดำรงอยู่ อานนท์ ! นี้แล เราเรียกว่า อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศในอริยวินัย... อุปริ. ม. ๑๔/๕๔๑/๘๕๖ ]
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น