วันพุธที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2557
พระสารีบุตรมหาเถระเจ้าพระอัครสาวกเบื้องขวาเสด็จปรินิพพานข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญบารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันในที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคยกันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมืองคือพระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิท ไม่มีภัยที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัยโทษไรๆ ของข้าพระองค์ที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไรๆ ของเธอที่เป็นไปทางกายหรือทางวาจาที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญกาลอันควรเถิด.
ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย หญ้าสดในทะเลทราย ภราดา ! เรื่องเป็นมาอย่างนี้ สมณะรูปหนึ่ง ผิวพรรณผ่องใส มีอินทรีย์สงบ ดำเนินอย่างเชื่องช้าออกจากโคจรคาม ท่านมีจักษุทอดลงต่ำ จะเหลียวซ้ายแลขวา ก็เต็มไปด้วยความสำรวมระวังมั่นคงและแจ่มใส ผ้าสีเหลืองหม่นที่คลุมกาย แม้จะเป็นผ้าราคาถูก แต่ได้กลายเป็นของสูงส่งและศักดิ์สิทธิ์ควรแก่การเชิดชูบูชา เพราะได้มาห่อหุ้มสรีระของผู้ทรงศีล มีใจอันประเสริฐ ใครเห็นก็น้อมกายลงเคารพ กาสาวพัสตร์-สัญลักษณ์แห่งความบริสุทธิ์สูงส่ง ที่พระมหาสมณโคดมบรมศาสดาแห่งพระบวรพุทธศาสนา เคยตรัสว่า “ผู้ใดคายกิเลสที่เหนียวแน่นดุจน้ำฝาดได้แล้ว มั่นคงในศีล ประกอบด้วยการฝึกอินทรีย์ (ทมะ) และมีสัจจะ ผู้นั้นควรห่มผ้ากาสาวะ” กาสาวพัสตร์-ธงชัยแห่งผู้มีชัย คือชนะจิตของตนเองได้แล้ว ใครเล่าจะรังเกียจกาสาวพัสตร์ ถ้ากาสาวะนั้นห่อหุ้มร่างของบุคคลผู้มีกายวาจาใจสะอาด สมควรแก่ภูมิชั้นของตน หนุ่มใหญ่ สง่างาม เครื่องแต่งกายบอกว่าเป็นนักพรตประเภทปริพพาชก* ได้เดินตามสมณะรูปนั้นไปห่างๆ กิริยาอาการของสมณะนั้นจับตาจับใจของเขายิ่งนัก เขาคิดว่าภายในของสมณะรูปนี้ น่าจะมีรัศมีแห่งธรรมอันประเสริฐส่องแสงเจิดจ้าอยู่เป็นแน่แท้ จึงทำให้ท่านมีอินทรีย์สงบและผ่องใสเช่นนั้น มาถึงบริเวณร่มไม้ใหญ่แห่งหนึ่ง สมณะแสดงอาการว่าจะนั่ง ผู้เฝ้าติดตามจึงจัดอาสนะถวาย รอคอยท่านฉัน ไม่กล้าถามอะไรเพราะเกรงใจ เห็นอาการที่ท่านฉันยิ่งเลื่อมใสมากขึ้น ท่านฉันอย่างสำรวมเรียบร้อย มีอาการแห่งผู้กำหนดรู้ในอาหาร คุณและโทษของอาหาร ไม่ติดในรสอาหาร ไม่บริโภคเพื่อเล่น เพื่อเมา หรือเพื่อสนุกสนาน เอร็ดอร่อยในรสอาหาร แต่บริโภคเพื่อให้ร่างกายนี้ดำรงอยู่ได้ เพื่อบำเพ็ญคุณงามความดี เหมือนนายช่างให้น้ำมันแก่เครื่องจักร เพื่อให้ทำหน้าที่ของมันต่อไปได้เท่านั้น (*ปริพพาชก นักบวชลัทธิหนึ่งในพุทธกาล ท่องเที่ยวไปโดยลำพังเพื่อแสวงหา ความจริง บ้างอยู่กันเป็นกลุ่มๆ เป็นสำนักบ้าง) เมื่อท่านฉันเสร็จแล้ว ปริพพาชกได้รินน้ำในกุณโฑของตนเข้าไปถวายแล้วถามว่า “อินทรีย์ของท่านผ่องใสยิ่งนัก มรรยาทของท่านงามยิ่งนัก ผิวพรรณของท่านบริสุทธิ์ผ่องใส ท่านบวชอุทิศใคร? ใครเป็นศาสดาของท่าน? ท่านชอบใจธรรมของใคร?” สมณะรูปนั้นมองปริพพาชก ด้วยดวงเนตรที่เปี่ยมด้วยความปรานี ดวงตาของท่านแสดงแววแห่งเมตตา และความสงบลึกอยู่ภายใน บ่งบอกว่าดวงใจของท่านผ่องแผ้ว ไร้ราคี กระแสเสียงที่นุ่มนวลแจ่มใสผ่านโอษฐ์ของท่านออกมาว่า “ดูก่อนผู้แสวงสันติวรบท ! พระศาสดาของข้าพเจ้าตรัสว่า ‘ผู้ใดไม่เศร้าโศกถึงอดีต ไม่กังวลถึงอนาคต มีชีวิตอยู่ด้วยปัจจุบันธรรมผิวพรรณของผู้นั้นย่อมผ่องใส แม้จะบริโภคอาหารหนเดียวต่อวัน ประพฤติพรหมจรรย์สงบนิ่งอยู่ในป่า ส่วนผู้ที่มัวเศร้าโศกถึงสิ่งที่ล่วงแล้ว กังวลหวังอย่างเร่าร้อนต่อสิ่งที่ยังไม่มาถึง ย่อมซูบซีดเศร้าหมองเหมือนไม้สดที่ถูกตัดแล้ว’ กังวลหวังอย่างเร่าร้อน ! มนุษย์ส่วนมากเป็นอย่างนั้น เขาไม่ค่อยรู้จักรอคอยอย่างสงบเยือกเย็น เขาไม่ค่อยรู้ ไม่ค่อยเข้าใจว่าเขาบันดาลผลไม่ได้ เหตุที่เขาทำนั่นแหละจะบันดาลผลให้เกิดขึ้นเอง เหมือนชาวสวนปลูกต้นไม้คอยรดน้ำพรวนดิน ให้ปุ๋ยป้องกันศัตรูพืช นั่นคือเหตุ ส่วนการออกดอกออกผล ชาวสวนบันดาลไม่ได้ กระบวนการธรรมชาติของต้นไม้เองนั่นแหละ จะบันดาลให้เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มนุษย์ส่วนใหญ่ไม่ได้กำหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตน ไว้ให้แน่นอนว่าอะไรคือสิ่งที่เขาต้องการจริงๆ เมื่อเป็นดังนี้ เขาจะมีชีวิตอยู่อย่างสงบสุขไม่ได้ เขาจะไม่พบความพอใจในชีวิต”
ผู้สละโลกหญ้าสดในทะเลทราย หน้าแรกของ YouTubeTH อัปโหลด Analytics เครื่องมือจัดการวิดีโอ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า Sompong Tungmepol Sompong Tungmepol การตั้งค่าช่อง 117,476 เผยแพร่เมื่อ 3 มิ.ย. 2011 http://www.youtube.com/watch?v=5clHnN...,การเจริญวิปัสสนา พระธรรมเทศนาโดยหลวงพ่อ ปราโมช ปราโมชโช http://www.youtube.com/watch?v=kTlZEw...,ศีลอบรมสมาธิ สมาธิอบรมปัญญา ปัญญาอบรมจิต พระธรรมเทศนาโดย หลวงพ่อพุท ฐานิโย http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A... พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า โดย arm wirekharat 110 วิดีโอ ▶ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า โดย Sompong Tungmepol 2 คิริมานนทสูตร 1 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla 3 คิริมานนทสูตร 2 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla 4 ผู้สละโลก ปลดแอก โดย Sompong Tungmepol 5 ผู้สละโลก ทุกข์ในรูปแห่งสุข โดย Sompong Tungmepol 6 ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลก โดย Sompong Tungmepol 7 ผู้สละโลก ขุมทรัพย์อันวิเศษ โดย Sompong Tungmepol 8 ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด โดย Sompong Tungmepol 9 ผู้สละโลก ผู้เลิศทางศรัทธา โดย Sompong Tungmepol 10 มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิต โดย Sompong Tungmepol 1:20:08 คิริมานนทสูตร 1 [Girimananda Sutta] โดย hiphoplanla ดู 436,018 ครั้ง 1:15:37 ปฏิจจสมุปบาท โดย hiphoplanla ดู 159,812 ครั้ง 1:29:19 พระอานนท์พุทธอนุชา โดย hiphoplanla ดู 307,996 ครั้ง 27:49 เหตุที่บุคคลระลึกชาติไม่ได้ โดย hiphoplanla ดู 95,601 ครั้ง 27 วิดีโอ ธรรมฯพระโพธิญาณเถระโดย hiphoplanla 51:31 ต่อสู้ความกลัว โดย hiphoplanla ดู 364,138 ครั้ง 48:46 มิติโลก 070756 จุดกำเนิดตำนานน้ำท่วมโลก โดย manee tuesday แนะนำสำหรับคุณ 10 วิดีโอ พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้าโดย Sompong Tungmepolแนะนำสำหรับคุณ 47:46 คำสอนที่ออกจากปากของพระพุทธเจ้า 1-40 โดย thumnong Janjaeng ดู 92,641 ครั้ง 1:18:58 ความรัก ความร้าย โดย hiphoplanla ดู 686,641 ครั้ง 3:30:36 กว่าจะเป็นพระพุทธเจ้า (อ.สนธิชัย) โดย dod946 ดู 68,467 ครั้ง 26:51 พระมหาโมคคัลลานเถระ โดย hiphoplanla ดู 38,906 ครั้ง 42:04 ธรรมคีตะ ศิลปะแห่งการดับทุกข์ โดย Anakaric Dharma ดู 166,826 ครั้ง 1:04:31 กรรม12 หลวงพ่อสุรศักดิ์ โดย Weerayut note ดู 21,348 ครั้ง 1:15:26 กรรมทำให้คนแตกต่างกัน โดย hiphoplanla ดู 464,699 ครั้ง 59:14 บ้านที่แท้จริง โดย hiphoplanla ดู 599,164 ครั้ง 9:09 Buddha Thus Have I Heard - 36 โปรดพกาพรหม โดย hiphoplanla ดู 71,111 ครั้ง 32:11 พระสารีบุตรเถระ.wmv โดย Lek musicday ดู 81,324 ครั้ง 9:40 เว่ยหล่าง-3 โดย pakasit999 ดู 26,823 ครั้ง 1:40:20 พระมหาโมคคัลลานะ โดย sailom admin ดู 371,513 ครั้ง ประวัติการเข้าชม เกี่ยวกับ ข่าว & บล็อก ลิขสิทธิ์ ผู้สร้าง & พาร์ทเนอร์ การโฆษณา นักพัฒนาซอฟต์แวร์ +YouTube ข้อกำหนด ความเป็นส่วนตัว นโยบายและความปลอดภัย ส่งความคิดเห็น ลองสิ่งใหม่!
วันอังคารที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า เศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ
พุทธจักรไทยในแดนพุทธภูมิ "สาวัตถี" เศรษฐีมุ่งหน้าเข้าสู่ป่าสีตวัน อันเป็นที่ประทับแห่งพระศาสดา เวลานั้นพระพุทธองค์ตื่นบรรทมแล้ว ทรงแผ่ข่ายพระญาณพิจารณาดูสัตวโลกที่พระองค์ควรจะโปรด เห็นอุปนิสัยของอนาถบิณฑิกเศรษฐีว่า.เป็นผู้ที่ควรแก่การบรรลุธรรม จึงทรงจงกรมคือเดินกลับไปกลับมาอยู่ ณ บริเวณ ที่ประทับ เมื่อเศรษฐีเข้ามาใกล้ พระพุทธองค์จึงตรัสว่า “ เข้ามาเถิด สุทัตตะ ตถาคตอยู่ที่นี่ ” ดูก่อน..ภราดา ! พระดำรัสตรัสเรียกเศรษฐีโดยชื่อว่า สุทัตตะ โดยถูกต้องนั้น นำความปราโมชมาให้เศรษฐีอย่างล้นเหลือ เขาไม่เคยรู้จักพระศาสดา และพระศาสดาก็ไม่เคยรู้จักเขา แต่พระองค์สามารถเรียกชื่อเขาได้อย่างถูกต้อง เขาซบหน้าลงแทบบาทมูลแห่งพระตถาคตเจ้า แล้วกราบทูลว่า“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น พระศาสดาทรงเทศนาอริยสัจแต่โดยย่อแก่ท่านสุทัตตะ จนเศรษฐีได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นเป็นผู้มีศรัทธาไม่หวั่นไหวในพระรัตนตรัย แล้วทรงย้ำในตอนสุดท้ายว่า “ ดูก่อนสุทัตตะ ! การได้อัตภาพมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก การดำรงชีพอยู่แห่งสัตว์ทั้งหลายเป็นของยาก การได้ฟังธรรมของสัตบุรุษเป็นของยาก และการอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็เป็นของยาก ดูก่อนสุทัตตะ ! เพราะเหตุนั้นการแสดงธรรมของสัตบุรุษก็ตาม การเกิดขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าก็ตาม ล้วนเป็นเหตุนำความสุขความสงบสู่โลก"ดูก่อนผู้สืบอริยวงค์" 'พระธรรมเทศนาของพระศาสดานั้น ไพเราะจับใจและแจ่มแจ้งยิ่งนัก เพราะเหตุนี้เมื่อพระองค์แสดงธรรมจบลง จึงมักมีผู้ชมเชยเสมอว่า "แจ่มแจ้งจริงพระเจ้าข้าฯ เหมือนหงายของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง ส่องประทีปในที่มืด เพื่อให้ผู้มีตาดีได้มองเห็นรูป' ดังนี้ อนาถปิณฑิกเศรษฐี หรืออีกนัยหนึ่งคือสุทัตตคฤหบดี ซึ่งบัดนี้ได้เป็นโสดาบันแล้ว ด้วยการฟังพระธรรมเทศนาครั้งเดียว ได้ทูลอาราธนาพระตถาคตเจ้าเพื่อเสด็จสู่กรุงสาวัตถี ราชธานีแห่งโกศลรัฐ เมื่อพระพุทธองค์ทรงรับแล้ว เศรษฐีจึงมุ่งหน้ากลับสู่นครตน ล่วงหน้าไปก่อน ตามรายทางเศรษฐีให้คนสร้างที่พักไว้เป็นแห่งๆ และป่าวประกาศให้ประชาชนสร้างที่พัก เพื่อพระสงฆ์สาวก ตามเส้นทางที่พระศาสดาจะเสด็จ
Frances Yip ฟรานซิสยิป ใต้ร่มไทร Thai Song..ใต้ร่มไทร... อยู่ใต้ร่มไทรแล้วใจเป็นสุข ลืมความทุกข์หมองเศร้าจนสิ้น มีลมโชยพัดโรยระริน เป็นอาจิณตลอดกาล ร่มไทรในพฤษาริมชายฝั่ง มีสายธารไหลดั่งวิมาน น้ำเจ้าพระยานี้มีมานาน สุดแสนสุขสราญเมื่อมาได้ยล **เราลูกหลานต้นไทร บูชาไว้ในใจทุกคน จะรักษาไว้เพียงกมล ยั่งยืนจวบจนวัฒนา ชีวิตเช่นนี้ไม่มีที่อื่น ธรรมชาติสดชื่นหรรษา ไม่อยากห่างไทรแม้เพียงไกลตา ผูกพันวิญญาชั่วนิรันดร
ต้องสู้ เจินเจิน บุญสูงเนิน30 ลิขิตฟ้า 70ต้องฝ่าฝัน ต้องสู้..ต้องสู้ถึงจะชนะ
สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุสิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล.....
สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุสิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล.....
ความไม่เศร้าโศกเราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ สิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล..... เพลงธรรมะสมัยพุทธกาล 3 แนวทางการบรรลุธรรม ดังที่ปรากฎในพระคัมภีร์ คือ 1.ได้ฟัง 2.ได้คิด 3.ได้ปฏิบัติ ในอรรถกถามังคลัตถทีปนี กล่าวไว้ว่า"การได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า แล้วได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์" ที่อัศจรรย์ คือ "การฟังเพลงหรือเสียงขับ ถ้าผู้ฟังได้พิจารณาไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังบรรลุธรรมได้" ตัวอย่าง เช่น เมื่อครั้งที่เจ้าชายสิทธัตถะ ขณะที่ทรงบำเพ็ญบารมี แล้วได้ยินเสียงพิณจากพระอินทร์ เกิดสติปัญญา จนเป็นเหตุพาไปสู่การบรรลุธรรมขั้นสูงสุด ถ้าจะพูดเป็นภาษาปัจจุบัน ก็ว่าพระพุทธเจ้าฟังเพลง Folk Song(ซอสามสาย) พระอินทราธิราชทรงทราบวาระจิตของพระโพธิสัตว์ จึงจัดพิณทิพย์ 3 สาย ดีดเป็นเพลงร้องบรรเลงถวาย พระโพธิสัตว์สดับแจ่มชัดสบายคลายกังขา....มัชฌิมาปฏิปทางสายกลาง ไม่ตึงเกินไป ไม่หย่อนเกินไป ทางนี้แหละถูกทาง ปฏิบัติพอดีจึงดี จึงงดงาม หลังจากนั้นอีกไม่นาน พระโพธิสัตว์จึงตรัสรู้ เป็นพระอนุตระสัมมาสัมพุทธเจ้า และหลังจากนั้นไม่นาน จึงเกิดชุมชน"ทวนกระแส"ขึ้นทั่วทั้งโลกอีกครั้งหนึ่ง เพลงพาไปบรรลุธรรม พระเจ้าพิมพิสารอยากให้พระนางเขมาพระมเหสีได้ฟังธรรมของพระพุทธเจ้า เพื่อจะได้เข้าถึงความจริงของชีวิต...... แต่เพราะพระนางเขมาเป็นผู้มีความงดงามเลอเลิศ จึงติดที่พระพุทธเจ้าเทศนาว่ารูปกายของคนไม่สวยไม่งาม พระนางเขมาจึงไม่อยากไปฟังเทศนา.... พระเจ้าพิมพิสารจึงทรงให้คนแต่งเพลงบรรยายความงามของวัดเวฬุวัน ซึ่งเป็นที่ประทับของพระพุทธเจ้า..... แล้วทรงให้คนขับร้องให้พระนางเขมาฟังทุกวัน จนพระนางเขมาตัดสินใจเสด็จไปวัดเวฬุวัน เพราะเพลงไพเราะจับใจเหลือเกิน จึงได้ฟังธรรมจากพระพุทธเจ้า จึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ทันใด!!!..... บทเพลง 4 บรรทัด บรรลุพระอรหันต์ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!.... แสดงน้อยลง ตอบกลับ · Sompong Tungmepol 1 วินาทีที่ผ่านมา พระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!....
สาวเวียตนามร้องเพลงไทยสิ้นเสียงสิ้นกรรมธรรมบรรลุ ในคัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่งพร้อมด้วยบุตรชาย 7 คน ขณะกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่ง กำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงนางไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลง ฟังแล้วชวนให้พิจารณาอย่างยิ่ง "สรีระนี้ อาศัยหนัง มีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ ถึงความเป็นอามิส คือ เหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้ เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่างๆ สรีระนี้ เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้ เสมอด้วยท่อนไม้!!!" ๐ สิ้นเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง 7 บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที!!!..... บรรลุพระโสดาบัน เพราะหมั่นร้องเพลง ๐ พระยานาคเอรกปัตตะ อยากรู้ว่าองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าเกิดขึ้นหรือยัง? จึงได้แต่งเพลงให้"มาณวิกา"ลูกสาวนั้น ยืนร้องเพลงบนพังพานของตน.... ใครสามารถแต่งเพลงแก้ได้ จะได้ธิดาแลนาคพิภพ ชายทั่วแคว้นแดนใด ต่างไปต่างปราชัย นับวันยิ่งนานไป ยังไม่มีผู้ใด สามารถอาจหาญ ณ เช้าวันหนึ่ง พระพุทธองค์ทรงตรวจอุปนิสัยสัตว์โลกใด ใครจะบรรลุธรรม? นาม"อุตตระ"ปรากฎพลัน!!! ๐ บ่ายวันนั้น พระพุทธองค์จึงเสด็จไปประทับอยู่ใกล้ทาง ไปร้องเพลงแก้กับลูกสาวพระยานาค เนื้อหาของเพลง มาณวิกา-"ผู้เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา?" อุตตระมานพ-"ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง 6 ชื่อว่าเป็นพระราชา" มาณวิกา-"เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร?" อุตตระมานพ-พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่า มีธุลีบนพระเศียร" มาณวิกา-"แบบไหนจึงได้ชื่อว่า ปราศจากธุลี?" อุตตระมานพ-"ผู้ไม่กำหนัด ชื่อว่า ปราศจากธุลี" พระศาสดาตรัสกับอุตตระมานพว่า เมื่อเธอขับเพลงนี้ นางจักขับเพลงขับแก้เพลงขับของเธออย่างนี้ มาณวิกา-"คนพาลอันอะไรเอ่ย ย่อมพัดไป?" อุตตระมานพ-"คนพาลอันห้วงน้ำย่อมพัดไป" ๐ มาณวิกา-"อย่างไรจึงเป็นผู้มีความเกษมจากโยคะ?" อุตตระมานพ-"บัณฑิตย่อมบรรเทาเสียด้วยความเพียร" มาณวิกา-"ท่านผู้อันเราถามแล้ว โปรดบอกข้อนั้นแก่เรา" อุตตระมานพ-"บัณฑิตผู้ไม่ประกอบด้วยโยคะทั้งปวง ท่านเรียกว่า ผู้มีความเกษมจากโยคะ" สิ้นเสียงเพลง พระยานาคก็ทราบทันที จึงแปลงร่างเป็นคน แล้วไปเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ ณ ที่ประทับ พระพุทธองค์ทรงแสดงธรรม"ความได้อัตภาพเป็นมนุษย์เป็นการยาก ชีวิตของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอยู่ยาก การฟังพระสัทธรรมเป็นของยาก การอุบัติขึ้นแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นการยาก" จบเทศนา เหล่าสัตว์ 8 หมื่น 4 พัน ได้ตรัสรู้ธรรมแล้วฝ่ายนาคราช ควรจะได้โสดาปัตติผลในวันนั้น.....แต่ก็ไม่ได้ เพราะค่าที่ตนเป็นสัตว์ดิรัจฉาน.... นาคราชนั้น ถึงภาวะ คือ ความไม่ลำบากในฐานะทั้ง 5 กล่าวคือ การถือปฏิสนธิ การลอกคราบ การวางใจแล้วก้าวลงสู่ความหลับ การเสพเมถุนด้วยนางนาคผู้มีชาติเสมอกัน และจุติที่พวกนาคถือเอาสรีระแห่งนาคนั่นแหละ....แล้วลำบากอยู่ย่อมได้ เพื่อเที่ยวไปด้วยรูปแห่งมานพนั่นแล ดังนี้แล.....
สาวเวียตนามร้องเพลงไทยพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา.... ท่านเดินทางผ่านสระบัว เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่ง เก็บดอกบัวไปร้องเพลงไป เพลงนี้มีเนื้อความว่า "ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่..... ๐ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้ง..... ๐ สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์..... ๐ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น บทเพลง 4 บทนี้ ทำให้พระติสสะเถระ ถึงกับบรรลุพระอรหันต์ทันที!!!....
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าhttps://www.youtube.com/watch?v=MPgo1ixGmhQ
โอวาทพระอานนท์เถระ "มองทุกข์ให้เห็นจึงเป็นสุข" อธิบายว่า เมื่อเห็นทุกข์กำหนดรู้ทุกข์และค้นหาสมุฏฐานของทุกข์แล้วทำลายสาเหตุแห่งทุกข์นั้นเสีย เหมือนหมอทำลายเชื้ออันเป็นสาเหตุแห่งโรค ยิ่งทุกข์ลดน้อยลงเท่าใด ความสุขก็ยิ่งเพิ่มขึ้นเท่านั้น ความทุกข์ที่ลดลงนั้นเองคือความสุข เหมือนทัศนะทางวิทยาศาสตร์ที่ถือว่าความเย็นไม่มี มีแต่ความร้อน ความเย็นคือความร้อนที่ลดลง เมื่อความร้อนลดลงถึงที่สุด ก็กลายเป็นความเย็นที่สุด ทำนองเดียวกัน เมื่อความทุกข์ลดลงถึงที่สุดก็กลายเป็นความสุขที่สุด ขั้นแห่งความสุขนั้นมีขึ้นตามแห่งความทุกข์ที่ลดลง คำสอนทางศาสนา เมื่อว่าโดยนัยหนึ่งจึงเป็นเรื่องของ "ศิลปะแห่งการลดทุกข์" นั่นเอง
ฮีตซิงก์ หรือ แผงระบายความร้อน (อังกฤษ: Heat sink) ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นชิ้นส่วนซึ่งทำหน้าที่ลดอุณหภูมิขณะทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เอิเล็กทรอนิกส์ โดยเพิ่มพื้นที่สัมผัสอากาศ ทำให้การพาความร้อนจากตัวอุปกรณ์สู่อากาศโดยรอบทำได้เร็วขึ้น โดยปกติ จะมีการติดตั้งแผงระบายความร้อนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มีความร้อนสูง เช่นทรานซิสเตอร์กำลัง, ไดโอดเปล่งแสงบางชนิด, หลอดเลเซอร์ และในคอมพิวเตอร์ มักจะมีการติดตั้งแผงระบายความร้อนที่หน่วยประมวลผลกลาง กับที่หน่วยประมวลผลกราฟิกส์ วัสดุที่นิยมนำมาทำแผงระบายความร้อนในปัจจุบันมีอยู่ 3 รูปแบบคือ อะลูมิเนียม, ทองแดง และทองแดง+อะลูมิเนียม ซึ่งมีข้อดีและข้อเสียแตกต่างกันไป อะลูมิเนียม โดยคุณสมบัติของอะลูมิเนียมจะนำความร้อนได้ไม่ดีเท่าทองแดง แต่มีน้ำหนักเบา, มีราคาถูกกว่าและขั้นตอนการผลิตง่ายกว่าจึงทำให้เป็นที่นิยมมากกว่าทองแดง ทองแดง มีคุณสมบัตินำความร้อนได้ดีกว่าอะลูมิเนียม แต่ด้วยขั้นตอนการผลิตที่ยุ่งยาก การประกอบครีบต้องใช้การเชื่อม มีน้ำหนักมากและราคาแพงจึงทำให้เป็นที่นิยมเฉพาะกลุ่มบุคคลที่ชื่นชอบการโอเวอร์คล็อกซึ่งจะทำให้เกิดความร้อนมากกว่าปกติและต้องการการระบายความร้อนที่รวดเร็ว ซึ่งฮีตซิงก์ทองแดงทำหน้าที่ได้ดีกว่า ทองแดง+อะลูมิเนียม โครงสร้างส่วนใหญ่มักจะมีแกนกลางที่สัมผัสผิวหน้าของซีพียูทำจากทองแดง และครีบทำจากอะลูมิเนียม ซึ่งผิวสัมผัสระหว่างทองแดงและอะลูมิเนียมจะมีสารช่วยนำความร้อนอยู่เพื่อให้ผิวสัมผัสแนบสนิทและถ่ายเทความร้อนได้ดี ทำให้ประสิทธิภาพโดยรวมดีกว่าแบบอะลูมิเนียมทั้งชิ้น, ราคาประหยัด และน้ำหนักเบากว่าแบบทองแดงทั้งชิ้น
การดับขันธ์ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด
วิธีระงับข้อพิพาทและวิวาทะอธิกรณสมถะ การทำอธิกรณ์ให้สงบระงับ หมายถึง วิธีระงับอธิกรณ์ตามพระธรรมวินัย 7 อย่าง คือ สัมมุขาวินัย ตัดสินในที่พร้อมหน้าทั้ง โจทย์และจำเลยพร้อมพยาน ตามพยานหลักฐาน สติวินัย ถือสติเป็นหลัก การยกเลิกความผิดเพราะเป็นพระอรหันต์หรืออริยบุคคลที่จะไม่ทำผิดวินัยในข้อนั้นได้ อมูฬหวินัย ผู้หายจากเป็นบ้า การเลิกความผิดเพราะผู้กระทำผิดนั้นวิกลจริตหรือเป็นบ้า ปฏิญญาติกรณะ ทำตามที่รับ การตัดสินตามการยอมรับผิด คำสารภาพของผู้กระทำผิด ตัสสปาปิยสิกา ลงโทษแก่ผู้ผิดที่ไม่รับ การลงโทษผู้ที่ไม่ยอมพูดในการสอบสวนของคณะสงฆ์ เยภุยเยสิกา การตัดสินตามมติเสียงข้างมาก ติณวัตถารกะ ดุจกลบไว้ด้วยหญ้า วิธีประณีประนอม การตัดสินยกฟ้อง เลิกแล้วต่อกัน(ในกรณีทะเลาะกัน)
วิธีระงับข้อพิพาทและวิวาทะ กะระณียะเมตตะสูตร กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ กิจอันใด อันพระอริยเจ้าบรรลุบทอันกระทำแล้ว กิจอันนั้นกุลบุตรผู้ฉลาดในประโยชน์พึงกระทำ สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ กุลบุตรนั้นพึงเป็นผู้อาจหาญ และซื่อตรงดี สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี เป็นผู้ว่าง่าย อ่อนโยน ไม่มีอติมานะ สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ เป็นผู้สันโดษ เลี้ยงง่าย อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ เป็นผู้มีธุรกิจน้อย ประพฤติเบากายจิต สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ มีอินทรีย์อันระงับแล้ว มีปัญญา อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ เป็นผู้ไม่คะนอง ไม่พัวพันในสกุลทั้งหลาย นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง วิญญูชนติเตียนชนทั้งหลายอื่นด้วยกรรมอันใด ไม่พึงประพฤติกรรมอันนั้นเลย สุขิโน วา เขมิโน โหนตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวง จงเป็นผู้มีสุข มีความเกษม มีตนถึงความสุขเถิด เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ สัตว์มีชีวิตทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งมีอยู่ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา ยังเป็นผู้สะดุ้ง ( คือมีตัณหา ) หรือเป็นผู้มั่นคง ( ไม่มีตัณหา ) ทั้งหมดไม่เหลือ ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิมา รัสสะกา อะณุกะถูลา เหล่าใดยาวหรือใหญ่ หรือปานกลางหรือสั้นหรือผอมพี ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เหล่าใดที่เราเห็นแล้ว หรือมิได้เห็น เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร เหล่าใดอยู่ในที่ไกลหรือที่ไม่ไกล ภูตา วา สัมภะเวสี วา ที่เกิดแล้ว หรือแสวงหาภพก็ดี สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา ขอสัตว์ทั้งปวงเหล่านั้น จงเป็นผู้มีตนถึงความสุขเถิด นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ สัตว์อื่นอย่างพึงข่มเหงสัตว์อื่น นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ อย่าพึงดูหมิ่นอะไรๆ เขา ในที่ไรๆ เลย พยาโรสะนา ปะฏิฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ ไม่ควรปรารถนาทุกข์แก่กันและกัน เพราะความกริ้วโกรธด้วยความคับแค้นใจ มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข มารดาถนอลูกคนเดียว ผู้เกดในตนด้วยยอมพร่าชีวิตได้ฉันใด เอวัมปิ สัพพะภูเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง ุพึงเจริญเมตตา มีในใจ ไม่มีประมาณในสัตว์ฉันนั้น เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง บุคคลพึงเจริญเมตตา มีในใจไม่มีประมาณไปในโลกทั้งสิ้น อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ ทั้งเบื้องบน เบื้องต่ำ เบื้องเฉียง อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง เป็นธรรมอันไม่คับแคบ ไม่มีเวร ไม่มีศัตรู ติฎฐัญจะรัง นิสินโน วา ผู้เจริญเมตตาจิตนั้น ยืนอยู่ก็ดี เดินไปก็ดี นั่งแล้วก็ดี สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ นอนแล้วก็ดี เป็นผู้ปราศจากความง่วงนอนเพียงใด เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ ก็ตั้งสติอันนั้นไว้เพียงนั้น พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ ับัณฑิตทั้งหลาย กล่าวกิริยาอันนี้ว่า เป็นพรหมวิหาร ในพระศาสนานี้ ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีสะวา บุคคลที่มีเมตตา ไม่เข้าถึงทิฏฐิ เป็นผู้มีศีล ทัสสะเนนะ สัมปันโน ถึงพร้อมแล้วด้วยทัศนะ ( คือโสดาปัตติมรรค) กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นำความหมกมุ่นในกามทั้งหลายออก นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติฯ ย่อมไม่ถึงความนอน ( เกิด) ในครรภ์อีก โดยแท้ทีเดียว
ผู้รู้อยู่ตรงไหนจิตก็ตั้งอยู่ตรงนั้น ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะมักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลยสันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษมักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อยทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละบางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
mc3phac epoxy printed circuit board 2015 ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะมักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลยสันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษมักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อยทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละบางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลาย อธิมุตตเถรคาถา ว่าด้วยผู้หลุดพ้นย่อมไม่กลัวตาย พระอธิมุตตเถระถูกพวกโจรจับไว้ มิได้มีความกลัวหวาด หวั่น มีหน้าผ่องใส เมื่อหัวหน้าโจรเห็นดังนั้น เกิดความอัศจรรย์ใจ จึง ได้กล่าวคาถาสรรเสริญ ๒ คาถาว่า เมื่อก่อน เราจะฆ่าสัตว์เหล่าใดเพื่อบูชายัญ หรือเพื่อ ปล้นเอาทรัพย์ สัตว์เหล่านั้นหมดอำนาจ เกิดความกลัว ย่อมพากันหวาดหวั่นและบ่นเพ้อ แต่ความกลัวมิได้มีแก่ ท่านเลย ซ้ำยังมีสีหน้าผ่องใสยิ่งนัก เมื่อภัยใหญ่เห็น ปานนี้ปรากฏแล้ว เหตุไรท่านจึงไม่คร่ำครวญเล่า. ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่ง
วันจันทร์ที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ความเป็นจริงของร่างกายและจิตใจดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้
คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้
ดูก่อนนายโจร ทุกข์ทางใจย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ห่วงใยใน ชีวิต ความกลัวทั้งปวงอันเราผู้สิ้นสังโยชน์ล่วงพ้นได้แล้ว เมื่อตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพสิ้นไปแล้ว ความกลัวตายใน ปัจจุบัน มิได้มีด้วยประการใดประการหนึ่งเลย ดุจบุรุษ ไม่กลัวความหนัก เพราะวางภาระแล้วฉะนั้น พรหมจรรย์ เราประพฤติดีแล้ว แม้ธรรมเราก็อบรมดีแล้ว เราไม่มี ความกลัวตาย เหมือนบุคคลไม่กลัวโรคเพราะโรคสิ้นไป แล้วฉะนั้น พรหมจรรย์เราประพฤติดีแล้ว แม้มรรคเราก็ อบรมดีแล้ว ภพทั้งหลายอันไม่น่ายินดีเราได้เห็นแล้ว เหมือนบุคคลดื่มยาพิษแล้วบ้วนทิ้งฉะนั้น บุคคลผู้ถึงฝั่ง แห่งภพ ไม่มีความถือมั่น ทำกิจเสร็จแล้ว หมดอาสวะ ย่อมยินดี เพราะเหตุความสิ้นอายุ เหมือนบุคคลพ้นแล้ว จากการถูกประหารฉะนั้น บุคคลผู้บรรลุธรรมอันสูงสุดแล้ว ไม่มีความต้องการอะไรในโลกทั้งปวง ย่อมไม่เศร้าโศก ในเวลาตาย ดุจบุคคลออกจากเรือนที่ถูกไฟไหม้ฉะนั้น สิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งมีอยู่ในโลกนี้ก็ดี ภพที่สัตว์ได้อยู่ในโลก นี้ก็ดี พระพุทธเจ้าผู้แสวงหาคุณอันใหญ่ได้ตรัสไว้ว่า สิ่ง ทั้งหมดนี้ไม่เป็นอิสระ ผู้ใดรู้แจ้งธรรมข้อนั้น เหมือนดัง ที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ ผู้นั้นย่อมไม่ยึดถือภพไร ๆ ดังบุคคลผู้ไม่จับก้อนเหล็กแดงอันร้อนโชนฉะนั้น เราไม่มี ความคิดว่า ได้มีมาแล้ว จักมีต่อไป สังขารจักปราศจาก ไป จะคร่ำครวญไปทำไมในเพราะสังขารนั้นเล่า. ดูก่อนนายโจร ความกลัวย่อมไม่มีแก่ผู้พิจารณาเห็น ตามความเป็นจริง ซึ่งความเกิดขึ้นแห่งธรรมอันบริสุทธิ์ และความสืบต่อแห่งสังขารอันบริสุทธิ์ เมื่อใดบุคคล พิจารณาเห็นโลกเสมอด้วยหญ้าและไม้ด้วยปัญญา เมื่อ นั้น บุคคลนั้นย่อมไม่ยึดถือว่าเป็นของเรา ย่อมไม่เศร้า โศกว่า ของเราไม่มี เรารำคาญด้วยสรีระ เราไม่ต้อง- การด้วยภพ ร่างกายนี้จักแตกไป และจักไม่มีร่างกาย อื่น ถ้าท่านทั้งหลายปรารถนาจะทำกิจใดด้วยร่างกายของ เรา ก็จงทำกิจนั้นเถิด ความขัดเคืองและความรักใคร่ใน ร่างกายนั้น จักไม่มีแก่เรา เพราะเหตุที่ท่านทั้งหลายทำ กิจตามปรารถนาด้วยร่างกายของเรานั้น. โจรทั้งหลายได้ ฟังคำของท่านอันน่าอัศจรรย์ ทำให้ขนลุกชูชัน จึงพา กันวางศาสตราวุธ แล้วกล่าวดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ความไม่เศร้าโศกที่ท่านได้นี้ เพราะท่านได้ทำกรรมอะไร ไว้ หรือใครเป็นอาจารย์ของท่าน หรือเพราะอาศัยคำสั่ง สอนของใคร. พระศาสดาผู้เป็นสัพพัญญู รู้เห็นธรรมทั้งปวง ชนะ หมู่มาร มีพระกรุณาใหญ่ ผู้รักษาพยาบาลชาวโลกทั้งปวง เป็นอาจารย์ของเรา ธรรมเครื่องให้ถึงความสิ้นอาสวะอัน ยอดเยี่ยมนี้ พระองค์ทรงแสดงไว้แล้ว ความไม่เศร้าโศก เราได้เพราะอาศัยคำสั่งสอนของพระองค์ พวกโจรฟัง ถ้อยคำอันเป็นสุภาษิตของพระเถระผู้เป็นฤาษีแล้ว พากัน วางศาสตราและอาวุธ บางพวกก็งดเว้นจากโจรกรรม บาง พวกก็ขอบรรพชา โจรเหล่านั้นครั้นได้บรรพชาในศาสนา ของพระสุคตแล้ว ได้เจริญโพชฌงค์และพลธรรม เป็น บัณฑิต มีจิตเฟื่องฟู เบิกบาน มีอินทรีย์อันอบรมดีแล้ว ได้บรรลุสันตบท คือนิพพานอันหาปัจจัยปรุงแต่งมิได้
ผู้รู้อยู่ตรงไหนจิตก็ตั้งอยู่ตรงนั้น เบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
วันอาทิตย์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2557
การดับขันธ์ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้าเมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไร ๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี. ถ้าเขาเสวยสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า สุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยทุกขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่า ทุกขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาอยู่ ย่อมรู้ชัดว่าอทุกขมสุขเวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน. ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้ไม่ประกอบเสวย เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด. เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด ย่อมรู้ชัดว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด. และรู้ชัดว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกัน แล้วในโลกนี้แล จักเป็นของสงบ. ดูก่อนภิกษุ เปรียบเหมือนประทีปน้ำมัน อาศัยน้ำมันและไส้ จึงโพลงอยู่ได้ เพราะสิ้นน้ำมันและไส้นั้น และไม่เติมน้ำมัน และไส้อื่นย่อมเป็นประทีปหมดเชื้อ ดับไป ฉันใด
วิธีวัด Power module ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส ทรานซิสเตอร์เพาเวอร์โมดูล Transistor Power Module มอสเฟท เพาเวอร์โมดูล Mosfet Power Module ไอจีบีที เพาเวอร์โมดูล Igbt Power Module สำหรับใช้ กับมอเตอร์ สามเฟส ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมล ทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...
ทดสอบแผงวงจรMC3PHACที่ปรับปรุงแล้วบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....
โซล่าเซลล์ขับมอเตอร์สามเฟสควบคุมด้วย PS21244 MC3PHACบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....
วิธีการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....
เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสขนาดไม่เกินหนึ่งแรงม้าครับบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration สวัสดีปีใหม่..ขอให้..โชคดี..และ..ขอบคุณ ทุกท่าน...ครับ... ที่..กรุณา....
สาธิตดินและน้ำแห้งมอเตอร์หมุนเร็วสูบน้ำเข้านาอัตโนมัติบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration
สาธิตดินและน้ำแห้งมอเตอร์หมุนเร็วสูบน้ำเข้านาอัตโนมัติบอร์ด MC3PHAC จะมีจุดต่อ 5 FUNCTION เพื่อ ใช้งาน คือ 1 RUN STOP 2 REVERS 3 RESET 4 SPEED 5 acceleration deceleration
การดับขันธ์ ปรินิพพาน ของพระพุทธเจ้า การเสด็จดับขันธปรินิพพานของพระพุทธเจ้า..หลวงปู่ดูลย์ อตุโล เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนาให้ก่อเกิดเป็นชีวิตอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์ทรงละวิภวตัณหานั้น เสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน คือเป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบ โดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระองค์ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนืออรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไป เพื่อทรงกระบวนการแห่งการเข้าสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือเข้าสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่า สิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ ! กระบวนการกระทำจิตตนให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่ เผยแจ้งออกสู่สัตว์โลก ให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือปฐมฌานแล้ว จึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อนวิภวตัณหาได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ทุติยฌาน แล้วจึงดับสัญญาขันธ์เลื่อนเข้าสู่ตติยฌาน เมื่อพระองค์ดับสังขารขันธ์หรือสังขารธรรมชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่จตุตถฌาน คงมีแต่เวทนาขันธ์สุดท้ายแห่งชีวิตนั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมใหญ่สุดท้าย ที่มีทั้งสิ้นแล้ว ก็มาดับ เวทนาขันธ์อันเป็นจิตขันธ์ หรือนามขันธ์ที่ในจิตส่วนใน คือภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจากจตุตถฌาน พร้อมกับมาดับจิตขันธ์ หรือนามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้นนี้ พระองค์เข้าสู่นิพพานอย่างจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไร ? ที่ไหนดอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ดับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกติของมนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติ และสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดที่มาครอบงำ อำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป็นภาวะแห่งตนเองอย่างบริบูรณ์ เมื่อเวทนาขันธ์สุดท้ายแท้ๆ จริงๆ ได้ถูกทำลายลงอย่างสนิท จึงเป็นผู้บริสุทธิ์ หมดสิ้นแล้วซึ่งสังขารธรรม และหมดเชื้อจิตขันธ์ หรือนามขันธ์ ทั้งปวงใดๆ ในพระองค์ท่านไม่มีเหลือ คงทิ้งแต่รูปขันธ์ อันจะมีชีวิตนั้นไม่ได้แน่ เพราะรูปไม่ใช่ชีวิตหากสิ้นนามเสียแล้ว ก็คือแท่ง คือก้อนวัตถุหนึ่งเท่านั้นเอง นั่นแล คือลำดับฌาน ที่ท่านพระอนุรุทธมหาเถระเจ้าได้นำฌานจิตเข้าไปดู เป็นวิธีการดับโดยแท้ ดับโดยจริง โดยพระองค์เป็นผู้ดับเองเสียด้วย
จิตหนึ่ง-จิตคือพุทธะจิตคือพุทธะ พระราชวุฒาจารย์ (หลวงปู่ดูลย์ อตุโล) วัดบูรพาราม อ.เมือง จ.สุรินทร์ คัดลอกมาจาก http://www.geocities.com/pudule/dharma3.htm พระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้นไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจากจิตหนึ่งแล้ว มิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่มิได้เกิดขึ้น และไม่อาจถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียว หรือสีเหลือง และ ไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก ทั้งนี้ เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัด เหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และ เหนือการเปรียบเทียบทั้งหมด จิตหนึ่งนี้ เป็นสิ่งที่เราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้ เป็นเหมือนกับความว่าง อันปราศจากขอบทุกๆ ด้าน ซึ่งไม่อาจจะหยั่ง หรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธะ ไม่มีความแตกต่างระหว่างพุทธะกับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้น เขาจึงแสวงหาพุทธะภาวะจากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นนั่นเอง ทำให้เขาพลาดจากพุทธภาวะ การทำเช่นนั้น เท่ากับ การใช้สิ่งที่เป็นพุทธะ ให้เที่ยวแสวงหาพุทธะ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขา อยู่ตั้งกัปป์หนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถลุถึงพุทธภาวะได้เลย เขาไม่รู้ว่า ถ้าเขาเอง เพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวายเพราะการแสวงหา เสียเท่านั้น พุทธะก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่า จิต นี้คือ พุทธะ นั่นเอง และ พุทธะ คือ สิ่งที่มีชีวิตทั้งหลายทั้งปวง นั่นเอง สิ่งๆ นี้ เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์ จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่ สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้ง ๖ ก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วน เหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้นจงคิดดูเถิด เมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกกรณีอยู่แล้ว คือเป็น จิตหนึ่ง หรือ เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับพุทธะทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งที่สมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้ว อยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน ถ้าเราไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธะ ก็ดี และถ้าเรายัง ยึดมั่นถือมั่น ต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องเข้ารอยกันกับ ทาง ทางโน้นเสียแล้ว จิตหนึ่ง นั่นแหละคือ พุทธะ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิเช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่างหรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรม ซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธะซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่พุทธะของความยึดมั่นถือมั่น การปฏิบัติปารมิตาทั้ง ๖ และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็นพุทธะสักองค์หนึ่งนั้น เป็นการปฏิบัติชนิดที่คืบหน้าทีละขั้นๆ แต่พุทธะซึ่งมีอยู่ตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้น หาใช่พุทธะที่ลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อจิตหนึ่งนั้นเท่านั้น และ ไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละคือพุทธะที่แท้จริง พุทธะและสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่งนี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสน และความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น ย่อมให้ความสว่างทั่วพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้น มันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อดวงอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่าง และความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิตของพุทธะและของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น ถ้าเรามองดูพุทธะ ว่าเป็นผู้แสดงออก ซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลที่เกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุด ถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปป์นับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้น และไม่มีสิ่งใดแม้แต่อนุภาคเดียวที่จะอิงอาศัยได้ เพราะ จิตนั้นเอง คือ พุทธะ เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่อง ทาง ทางโน้นไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบัง จิต นั้นเสีย ด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหา พุทธะ นอกตัวเราเอง พวกเรายังคงยึดมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลาย ต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใด เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกับไม้หรือก้อนหิน คือภายในนั้นปราศจาก การเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขตหรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรม หรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปได้เลย จิตนี้ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้น พระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ จิตนั่นแหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้น โดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่จะกล่าวว่าจิตนั้นมิใช่จิต ดังนี้นั่นแหละ ย่อมหมายถึง สิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริง สิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้น เราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ถูกตัดขาดไปแล้ว และ พฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิด กระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติอันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่แตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวงทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็นพุทธะดั้งเดิมของเรานั้น โดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตนแม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่งสงบเงียบ และไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งสิ่งนี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละ คือสิ่ง สิ่งนั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีก จิตคือพุทธะ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลายเป็นสิ่งที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานและแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่ง มันย่อมมีส่วนแห่งความเป็นพุทธะเท่ากันหมด และทุกๆ สิ่งมีเนื้อหาเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธะ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ เพราะจิตซึ่งเป็นธรรมชาติที่แท้ของคนเรานั้น มันเป็นครรภ์หรือกำเนิด ไม่มีใครทำให้เกิดขึ้นและไม่อาจถูกทำลายได้เลย ในการทำปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆ นั้น มันเปลี่ยนรูปของมันเองออกมาเป็นปรากฏการณ์ต่างๆ เพื่อสะดวกในการพูด เราพูดถึงจิตในฐานะที่เป็นตัวสติปัญญา แต่ในขณะที่มันไม่ได้ทำการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม คือไม่ได้เป็นตัวสติปัญญาที่นึกคิด หรือสร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมานั้น มันเป็นสิ่งที่ไม่อาจถูกกล่าวถึงในการที่จะบัญญัติว่ามันเป็นความมีอยู่ หรือไม่ใช่ความมีอยู่ ยิ่งไปกว่านั้น แม้ในขณะที่มันทำหน้าที่สร้างสิ่งต่างๆ ขึ้นมา ในฐานะที่ตอบสนองต่อกฎแห่งความเป็นเหตุและผลของกันและกันนั้น มันก็ยังเป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ ตา หู จมูก ลิ้น กาย และมโนทวาร อยู่นั่นเอง ถ้าเราทราบความเป็นจริงข้อนี้ เราทำความสงบเงียบสนิทอยู่ในภาวะแห่งความไม่มีอะไร ในขณะนั้น พวกเรากำลังเดินอยู่แล้วในทางแห่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายโดยแท้จริง ดังนั้น เราควรเจริญจิตให้หยุดอยู่บนความไม่มีอะไรเลยทั้งสิ้น มูลธาตุทั้ง ๕ ซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นวิญญาณนั้น เป็นของว่างเปล่า และมูลธาตุทั้ง ๔ ของรูปกายนั้น ไม่ใช่เป็นสิ่งซึ่งประกอบกันขึ้นเป็นตัวของเรา จิต จริงแท้นั้น ไม่มีรูปร่าง และไม่มีอาการมาหรืออาการไป ธรรมชาติเดิมแท้ของเรานั้นเป็นสิ่งๆ หนึ่ง ซึ่งไม่มีการตั้งต้นที่การเกิด และไม่มีการสิ้นสุดลงที่การตาย แต่เป็นของสิ่งเดียวกันรวด และปราศจากการเคลื่อนไหวใดๆ ในส่วนลึกจริงๆ ของมันทั้งหมด จิตของเรากับสิ่งต่างๆ ซึ่งแวดล้อมเราอยู่นั้นเป็นสิ่งๆ เดียวกัน ถ้าเราทำความเข้าใจได้ตามนี้จริงๆ เราจะได้ลุถึงความรู้แจ้งเห็นแจ้งได้โดยแวบเดียวในขณะนั้น และเราเป็นผู้ที่ไม่ต้องเกี่ยวข้องในโลกทั้งสามอีกต่อไป เราจะเป็นผู้อยู่เหนือโลก เราไม่มีการโน้มเอียงไปสู่การเกิดใหม่อีกแม้แต่นิดเดียว เราจะเป็นแต่ตัวเราเองเท่านั้น ปราศจากความคิดปรุงแต่งโดยสิ้นเขิง และเป็นสิ่งเดียวกับสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น เราจะได้ลุถึงภาวะแห่งความที่ไม่มีอะไรปรุงแต่งได้อีกต่อไป ฉะนั้น นี่แหละคือหลักธรรมที่เป็นหลักมูลฐานอยู่ในที่นี้ สัมมาสัมโพธิ เป็นชื่อของการเห็นแจ้งชัดว่าไม่มีธรรมใดเลยที่ไม่เป็นโมฆะ ถ้าเราเข้าใจความจริงข้อนี้แล้ว ของหลอกลวงทั้งหลายจะมีประโยชน์อะไรแก่เรา ปรัชญา คือความรู้แจ้ง ความรู้แจ้ง คือจิตต้นกำเนิดดั้งเดิม ซึ่งปราศจากรูป ถ้าเราสามารถทำความเข้าใจได้ว่า ผู้กระทำและสิ่งที่ถูกกระทำ คือจิตและวัตถุเป็นสิ่งๆ เดียวกัน นั่นแหละ จะนำเราไปสู่ความเข้าใจอันลึกซึ้ง และลึกลับเหนือคำพูด และโดยความเข้าใจอันนี้เอง พวกเราจะได้ลืมตาต่อสัจธรรมที่แท้จริงด้วยตัวเราเอง สัจธรรมที่แท้จริงของเรานั้น ไม่ได้หายไปจากเรา แม้ในขณะที่เรากำลังหลงผิดอยู่ด้วยอวิชชา และไม่ได้รับกลับมา ในขณะที่เรามีการตรัสรู้ มันเป็นธรรมชาติแห่งภูตัตถตา ในธรรมชาตินี้ไม่มีทั้งอวิชชา ไม่มีทั้งสัมมาทิฐิ มันเต็มอยู่ในความว่าง เป็นเนื้อหาอันแท้จริงของจิตหนึ่งนั้น เมื่อเป็นดังนี้แล้ว อารมณ์ต่างๆ ที่จิตของเราได้สร้างขึ้น ทั้งฝ่ายนามธรรมและฝ่ายรูปธรรม จะเป็นสิ่งซึ่งอยู่ภายนอกความว่างนั้นได้อย่างไร โดยหลักมูลฐานแล้ว ความว่างนั้นเป็นสิ่งซึ่งปราศจากมิติต่างๆ แห่งการกินเนื้อที่ คือปราศจากกิเลส ปราศจากกรรม ปราศจากอวิชชา และปราศจากสัมมาทิฏฐิ พวกเราต้องทำความเข้าใจอย่างกระจ่างแจ้งว่า โดยแท้จริงแล้ว ไม่มีอะไรเลย ไม่มีมนุษย์สามัญ ไม่มีพุทธทั้งหลาย เพราะว่าในความว่างนั้น ไม่มีอะไรบรรจุอยู่แม้เท่าเส้นขนที่เล็กที่สุด อันเป็นสิ่งซึ่งสามารถจะมองเห็นได้โดยทางมิติ หรือกฎแห่งการกินเนื้อที่เลย มันไม่ต้องอาศัยอะไร และไม่ติดเนื่องอยู่กับสิ่งใด มันเป็นความงามที่ไร้ตำหนิ เป็นสิ่งซึ่งอยู่ได้ด้วยตัวมันเอง และเป็นสิ่งสูงสุดที่ไม่มีอะไรสร้างขึ้น มันเป็นเพชรพลอยที่อยู่เหนือการตีค่าทั้งปวงเสียจริงๆ เราต้อง แยกรูปถอด ด้วยวิชชา มรรคจิต เหตุต้องละ ผลต้องละ ใช้หนี้ก็หมด พ้นเหตุเกิด สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิตในจักรวาล มีนับไม่ถ้วนรวมแล้วมี รูปกับนาม สองอย่างเท่านั้น นามเดิม ก็คือ ความว่างของจักรวาล เข้าคู่กันเป็น เหตุเกิด ตัวอวิชชา เกิดเหตุก่อ ที่ใดมีรูป ที่นั้นต้องมีนาม ที่ใดมีนาม ที่นั้นต้องมีรูป รูปนามรวมกัน เป็นเหตุเกิดปฏิกิริยา ให้เปลี่ยนแปลงตลอดกาล และ เกิดกาลเวลาขึ้น คือรูปย่อมมีความดึงดูดซึ่งกันและกัน จึงเป็นเหตุให้รูปเคลื่อนไหว และหมุนรอบตัวเองตามปัจจัย รูปเคลื่อนไหวได้ ต้องมีนาม ความว่างคั่นระหว่างรูป รูปจึงเคลื่อนไหวได้ เมื่อสภาวธรรมเป็นอย่างนี้ สรรพสิ่งของวัตถุ สสารมีชีวิต และไม่มีชีวิตจึงต้องเปลี่ยนแปลง เป็นไตรลักษณ์ เกิด ดับ สืบต่อทุกขณะจิตไม่มีวันหยุดนิ่งให้คงทนเป็นปัจจุบันได้ จิต วิญญาณ ก็เกิดมาจาก รูปนามของจักรวาล มันเป็นมายาหลอกลวงแล้วเปลี่ยนแปลงให้คนหลง จากรูปนามไม่มีชีวิต เปลี่ยนมาเป็นรูปนามที่มีชีวิต จากรูปนามที่มีชีวิต มาเป็นรูปนามมีชีวิตที่มีจิตวิญญาณ แล้วจิตวิญญาณก็เปลี่ยนแปลงแยกออกจากกัน คงเหลือแต่ นามว่างที่ปราศจากรูป นี้ เป็นจุดสุดยอดของการหลอกลวงของรูปนาม ต้นเหตุเกิดรูปนามของจักรวาลนั้น เป็นเหตุเกิด รูปนามพิภพ ต่างๆ ตลอดจนดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย ๕ อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส ๕ อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลงมี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน ๕ กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป ๕ กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย ๕ กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ ๕ กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น นี่ พระองค์เข้าสู่นิพพานอย่างจริงๆ อยู่ตรงนี้ พระองค์ไม่ได้เข้าสู่นิพพานในฌานสมาบัติอะไรที่ไหนดอก เมื่อพระองค์ออกจากจตุตถฌานแล้ว จิตขันธ์หรือนามขันธ์ก็ดับพร้อม ไม่มีอะไรเหลือ นั่นคือ พระองค์ ดับเวทนาขันธ์ในภาวะจิตตื่น หรือวิถีจิตปกติของมนุษย์ ครบพร้อมทั้งสติและสัมปชัญญะ ไม่ถูกภาวะอื่นใดที่มาครอบงำอำพราง ให้หลงใหลใดๆ ทั้งสิ้น เป็นภาวะแห่งตนเองอย่างบริบูรณ์ เมื่อ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแท้ๆ จริงๆ ได้ถูกทำลายลงอย่างสนิท จึงเป็นผู้บริสุทธิ์ หมดสิ้นแล้วซึ่งสังขารธรรม และหมดเชื้อ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ทั้งปวงใดๆ ในพระองค์ท่าน ไม่มีเหลือ คงทิ้งแต่ รูปขันธ์ อันจะมีชีวิตนั้นไม่ได้แน่ เพราะรูปไม่ใช่ชีวิตหากสิ้นนามเสียแล้ว ก็คือแท่ง คือก้อนวัตถุหนึ่ง เท่านั้นเอง นั่นแล คือ ลำดับฌาน ที่พระอนุรุทธเถระเจ้าได้นำฌานจิตเข้าไปดู เป็นวิธีการดับโดยแท้ ดับโดยจริงโดยพระองค์เป็นผู้ดับเองเสียด้วย
วันเสาร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า เฝ้ารู้อยู่อย่างนี้เรื่อยๆ พอมันไม่มีเราขึ้นมาจริงๆ ความทุกข์มันอยู่ที่ไหน ความทุกข์มีอยู่ เพราะขันธ์ยังมีอยู่ ตัวขันธ์นั่นแหละคือตัวทุกข์ ขันธ์เป็นตัวทุกข์นะ ไม่ใช่ขันธ์เป็นตัวสุข ไม่ใช่ว่าภาวนาแล้ววันหนึ่งขันธ์กลายเป็นตัวสุขขึ้นมาได้ ยังไงก็เป็นตัวทุกข์ เพราะขันธ์มันไม่เที่ยง มันถูกบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา มันบังคับไม่ได้ ไม่อยู่ในอำนาจ ยังไงก็เป็นทุกข์ แต่ว่าเมื่อใจยอมรับความจริง ว่าขันธ์มันเป็นทุกข์นะ ทุกอย่างที่ปรากฏขึ้นที่ขันธ์ก็อยู่ชั่วคราว ตัวขันธ์เองก็อยู่ชั่วคราว การที่เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวเนี่ย เรียกว่าเรารู้ทันความจริงละ เมื่อจิตรู้ทันความจริง เวลาความจริงมาปรากฏให้จิตยอมรับความจริงได้ จิตก็ไม่ทุกข์ ที่จิตทุกข์เพราะจิตยอมรับความจริงไม่ได้ เช่น ร่างกายมันจะแก่ จิตยอมรับความจริงได้ ของธรรมดา มันของชั่วคราว พอใจยอมรับความจริงได้ ใจมันก็ไม่ทุกข์ มันจะเจ็บมันจะตาย จิตใจเราจะพลัดพรากจากสิ่งที่รัก เจอสิ่งที่ไม่รัก เรายอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างชั่วคราว สุขทุกข์ดีชั่ว ของชั่วคราวทั้งหมด เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ตอนนี้พวกเรายังเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งไม่ได้ เพราะจิตเรายังปรุงแต่งอยู่ ที่จิตปรุงแต่งอยู่เพราะยังไม่รู้ความจริงของขันธ์ ยังไม่เห็นหรอกว่า ขันธ์ห้าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยังยอมรับไม่ได้ เวลาเห็นก็เห็นนิดๆ หน่อยๆ แต่ยังยอมรับความจริงไม่ได้ ใจลึกๆ มันก็ยังอยากให้ร่างกายนี้แข็งแรงตลอดกาล เป็นหนุ่มเป็นสาวตลอดกาล ยอมรับไม่ได้ที่จะไม่สมหวัง อยากให้มันสมหวัง อยากให้มันมีความสุข อยากให้มันบรรลุมรรคผล นิพพาน มันอดอยากไม่ได้ งั้นใจที่เรายังมีความอยากอยู่เนี่ย มันดิ้นรนไม่เลิก ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้า วันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ พอไม่มีตัวเราซะอย่างเดียว โลกทั้งโลกไม่มีเจ้าของ แล้วเราค่อยฝึกเอา ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก
แผ่นวงจรพิมพ์จะประกอบด้วยส่วนสําคัญ 2 ส่วนคือแผ่นฐานหรือซับสเตรตกับส่วนที่เป็นตัวนํา ในชุดแรกแผ่นวงจรพิมพ์จะ ประกอบขึ้นจากแผ่นฐานที่ทําจากฉนวนบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยสารประเภทเทอร์โมเซตติง เพื่อให้รองรับกับตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์ตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์จะใช้วิธีการพิมพ์หรือเคลือบสิ่งที่สามารถนําไฟฟ้าได้ลง ไปบนแผ่นฐานวงจรพิมพ์ จึงเป็นที่มาของคําว่า PrintedCircuit Board หรือ PCB และยังนิยมใช้คํานี้อยู่จนถึงปัจจุบัน แผ่นวงจรพิมพ์ Printed circuit board (PCB)หรือ Printed circuit wiring board (PWB)เป็นแผ่นฉนวนบางๆ ทําหน้าที่เป็นที่ วางและยึดติดตัวอุปกรณ์มีตัวนําไฟฟ้าเป็นตัวต่อวงจรให้แก่อุปกรณ์ไปด้วยใน ตัว โดยทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวต่ออาจจะทําเป็นหน้าเดียว (Single-sided) หรือสองหน้า(Double-sided)แต่ถ้าวงจรมีความหนาสูงมีความซับซ้อนมากๆ ก็อาจจะต้องทำเป็นหลายๆ ชั้น(Multi-layered) ก็ได้ วิธีการพิมพ์หมึกลงบนแผ่นวงจรพิมพ์นั้น ในการนำมาใช้งานพบว่าหมึกหลุดล่อนได้ง่ายทําให้เกิดความเสียหายต่อวงจร เทคนิคที่นํามา ใช้แทนที่คือ วิธีที่เรียกว่าซับแทร็กตีฟโปรเซส (Suptractive process) หรือ เคมิคอลฟอยล์เอนซึ่ง (chemical foilencing) โดยขั้นแรกจะ ทําการยึดแผ่นทองแดงบางๆ ซึ่งเป็นวัสดุที่นําไฟฟ้าได้ดีกว่าหมึกพิมพ์ และมีความคงทนกว่าเข้ากับผิวหน้าของแผ่นฐานด้วยกาวผลที่ได้จะ เกิดวัสดุที่เรียกว่า “metal clad laminate” แต่เราก็ยังเรียกกันว่า “Printed Circuit Board” อยู่ดีแผ่นฐานจะทํามาจากวัสดุที่เป็นฉนวน น้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงที่นิยมใช้มี 3 ชนิด คือ 1. ฟีนอลิก (phenolic) 2. กลาสอีพอกซี่ (glass epoxy) 3. สารประกอบ อีพอกซี่ (composite epoxy) ในครั้งแรกๆ การใช้งานแผ่นวงจรพิมพ์ แผ่นฐานที่ใช้จะทําจากกระดาษบางๆ ชุบฟีนอลิกแล้วอัดรวมกันให้แข็งแรงแต่แผ่น วงจรพิมพ์ที่ทําจากฟีนอลิกนั้นจะมีลักษณะประเภทแตกหักได้ง่าย มีความแข็งแรงต่ำไม่ค่อยต้านทานความชื้นต่อมาได้มีการนําใยฝ้ายมาใช้ แทนที่กระดาษ ทําให้ได้ความแข็งแรงทางกลสูงขึ้น และมีความต้านทานต่อความชื้นสูงแต่ทําให้ความแข็งแรงทางไฟฟ้าลดลงจากนั้นจึง ได้ มีการนําใยแก้วมาทําเป็นแผ่นฐาน โดยทอใยแก้วชั้นเดียวหรือหลายชั้นเข้าด้วยกัน แล้วยึดด้วยอีพอกซีเรซินจึงเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ว่า กลาสอีพอกซี่ ลักษณะการทอเป็นพื้นของใยแก้ว การแบ่งเกรดของแผ่นวงจรพิมพ์ สมาคมผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อเมริกา (NEVA:National Electrical Manufacturers Association) ได้แบ่งชนิดของ แผ่นวงจรพิมพ์ไว้ถึง 30 ชนิด แต่โดยทั่วไปเราจะพบประมาณ 10 ชนิด ดังต่อไปนี้ เกรด XXX PC แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ ทําขึ้นจากกระดาษยึดรวมตัวกันด้วยฟีนอลิกเรชั่นเป็นชนิดที่ ใช้งานทั่วๆ ไป ทนความชื้นได้ไม่สูงนักมีความต้านทานค่อนข้างตํ่าเมื่อเทียบกับแผ่นวงจร พิมพ์ที่ทําจากสารชนิดอื่นสามารถใช้กับงานความถี่สูงได้ถึงย่าน ความถี่วิทยุ ออกแบบมาเพื่อให้ตัดเจาะได้ที่อุณหภูมิตํ่า เกรด FR-2 ทําจากฟีนอลิก ลักษณะโดยทั่วๆ ไป คล้ายกับ เกรด XXX PC แต่ออกแบบมาให้ติดไฟได้ยากกว่า ทําให้ สามารถนําไปใช้กับงานที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ เกรด FR-3 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ทําจากกระดาษบาง ๆ ยิดติดกันด้วยอีพ็อกซี่เรซินมีความแข็งแรงสูงสามารถใช้กับ งานที่แรงดันสูงและความชื้นสูงได้ ดีกว่าเกรด XXX PC และยังออกแบบมาให้ตัดเจาะได้ง่ายที่อุณหภูมิห้อง เกรด FR-4 พัฒนาขึ้นมาจากเกรด FR-3 ทําจากใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซิน สามารถใช้ได้กับงานหลายประเภท ทน ต่อความชื้นและอุณหภูมิสูง และสามารถใช้งานกับแรงดันสูงได้ดีกว่า เกรด XXX PC, FR-2 และ FR-3 เกรด FR-5 พัฒนาขึ้นจากเกรดFR-4 โดยยังคงใช้เส้นใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซินแต่มีความแข็งแรงสูงกว่าทั้งทางกล และทางไฟฟ้า นอกจากนี้ยังติดไฟได้ยากอีกด้วย เกรด FR-6 ทําจากแผ่นใยแก้วบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยเทอร์โมเซตติงโพลีเอสเตอร์ มีค่าคงที่ทางไดอิเล็กตริกตํ่า มีความ แข็งแรงตํ่า แต่ได้ปรับปรุงคุณสมบัติในด้านการทนต่อความชื้น จึงสามารถใช้กับงานที่ความชื้นสูงได้ เกรด CEM1 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ใช้เซลลูโลสเป็นแกนกลางมีใยแก้วทอเป็นผิวสองด้านยึดติดกันด้วยอีพอกซี่เรซิน เช่นเดิม ทําให้ตัดเจาะได้ง่าย แต่ทนความชื้นได้ตํ่ากว่าเกรด FR-4,FR-5 และ FR-6 เกรด G-10 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ ชนิดอีพอกซี่ไฟเบอร์ไกลาส มีความแข็งแรงทางกลสูง มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าดีเยี่ยม ลักษณะทั่วไปคล้ายกับเกรด FR-4 แต่ติดไฟยากกว่าแผ่นวงจรทั้งหมดที่กล่าวมานั้น ยังใช้วัสดุแบบเดิม ๆ ทําเป็นแผ่นฐาน ซึ่งยังมีแผ่นวงจร พิมพ์ที่ใช้สารที่พัฒนาขึ้นมาใหม่เป็นแผ่นฐาน ได้แก่เกรด G-30 และเกรด G-60 เกรด G-30 ใช้ใยแก้วทอยึดตัวด้วยโพลีอะไมค์เรซินมีความคงตัวสามารถต้านทานต่อความชื้นสูงมีคุณสมบัติทาง ไฟฟ้าดีเยี่ยม เหมาะสําหรับการนํามาใช้ทําแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดมัลติเลเยอร์ เกรด G-60 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดพิเศษที่ใช้สารโพลีซัลโฟนเทอร์โมพลาสติก ทําเป็นแผ่นฐานเนื่องจากมีค่าความ สูญเสียในไดอิเล็กตริกตํ่า สามารถควบคุมคุณสมบัติของไดอิเล็กตริกได้ง่าย นิยมใช้ในงานความถี่สูงมาก ๆ เป็นกิกะเฮิรตซ์ (GHZ) สําหรับ ไมโครชิปเป็นต้น คุณสมบัติทางไดอิเล็กตริกและความสูญเสียในไดอิเล็กตริกของสารโพลีซัลไฟด์ที่ใช้กับย่านความถี่ไมโครเวฟ แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ พีซีบี (PCB ย่อจาก Printed Circuit Board) หรือนิยมเรียกว่า "แผ่นปรินท์ หรือ แผ่นแผงวงจรอิเลคทรอนิกส์" เป็นแผงที่มีลายทองแดงนำไฟฟ้าอยู่ใช้สำหรับต่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประกอบเป็นวงจร แทนการต่อวงจรด้วยสายไฟ ซึ่งมีความซับซ้อนและยุ่งยาก โดยแผงวงจรนี้อาจมีเพียงด้านเดียว (Single side)หรือสองด้าน (Double side)หรือสามารถวางซ้อนกันได้หลายๆ ชั้น (Multi layer) ได้เช่นกัน ตามความต้องการของผู้ออกแบบ PCB ชนิดหน้าเดียว (Single Side) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าอยู่ด้านเดียวและมักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์์อยู่ด้านตรงข้ามกับเส้นลายวงจร และมัก จะมี Silk Screen ด้านเดียวกับอุปกรณ์ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side PCB) แบบนี้จะมีทองแดงเคลือบอยู่ทั้ง 2 ด้าน ส่วนใหญ่ด้านหนึ่งมักจะปล่อยให้เป็นลายทองแดงเต็มแผ่นในลักษณะเป็น กราวน์เพลน (Ground Plane) โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดสัญญาณรบกวน มักใช้ในวงจรเครื่องรับหรือเครื่องส่งวิทยุ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side Plate Through Hole) เป็น ชนิดที่มีลายทองสองด้านซึ่งประกอบไปด้วย ชั้นของแผ่นตัวนำสองด้านคือด้านบนและด้านล่างประกบกับชั้นซัพเตรดอยู่ PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าทั้งสองด้าน และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดงเพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างด้าน และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน วัสดุที่นิยมนำมาใช้คือ ไฟเบอร์กลาสอิพ็อกซี่ แผ่นงวงจรลักษณะนี้จะเหมาะสำหรับงานที่มีตัวอุปกรณ์ที่มีความหนาแน่นมากซึ่ง แผ่น PCB ประเภท Double-sided จะเหมาะสำหรับงานหรือวงจรที่ใช้ความถี่ปานกลางถึงความถี่สูง และยังสามารถเชื่อมต่อแบบ Plat through Hole (PTH) เพื่อให้เส้นทั้งสองเชื่อมต่อกันได้สั้นลงด้วย PCB ชนิดหลายชั้น (Multi Layer) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้า ระหว่างชั้นใน (Inner Layer) 2,4..Layer และชั้นนอก (Outer Layer) และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดง เพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างชั้น และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน เป็น แผ่นวงจรชนิดหลายชั้น แผ่นวงจรชนิดนี้จะประกอบไปด้วยชั้นของแผ่นตัวนำและซัพเตรดมากกว่าสองชั้น ขึ้นไป โดยการอัดชั้นต่างเข้าหากันโดยใช้ความร้อนและเครื่องอัดแรงดันสูงเหมาะ สำหรับงานที่มีความหนาแน่นของตัวอุปกรณ์สูงถึงสูงมาก ชนิด ฟีนอลลิกอัดและชนิด อีพ็อกซี่ไฟเบอร์กลาส ซึ่งชนิด อีพ็อกซี่จะเป็นที่นิยมกันมากเพราะคุณสมบัติที่ดีคือการทนต่ออุณหภูมิที่สูง และไม่บิดงอได้ง่ายเหมือนกับชนิด ฟีนอลลิกซึ่งไม่เป็นที่นิยมและมีความต้านทานความชื้นต่ำทำให้สูญเสียความเป็นฉนวนง่ายจึงไม่เหมาะกับการใช้งานที่มีความถี่สูงๆ แต่ ยังพบเห็นได้บ้างตามงานที่ไม่เน้นคุณภาพที่สูงมากนักเพราะราคาของเจ่าฟีนอ ลลิกนั้นจะมีราคาที่ถูกกว่าชนิดอีพ็อกซี่มากซึ่งเป็นการลดต้นทุนทางการผลิต นอกจากนี้ยังมีการเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ ตามสารที่เป็นพื้นฉนวน เข่น แผ่นวงจรพิมพ์แบบเบกาไลต์ (Bakelite) ซึ่งใช้ เบกาไลต์เป็นฉนวน ส่วนใหญ่มักมีสีน้ำตาล แผ่นวงจรพิมพ์แบบกลาสอีพ๊อกซี่ (Glass Epoxy) ซึ่งจะใช้ใยแก้ว เป็นฉนวน มักมีสีต่าง ๆ แต่ส่วนใหญ่มักทำเป็นสีเขียวหรือสีฟ้า Copper Thickness Measurement Copper 1 Oz = 35 µm (1.4 mil) บันทึกการเข้า นักประดิษฐ์ Global Moderator Hero Member *** กระทู้: 529 Re: แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ PCB « ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 08:50:35 PM » โปรแกรมที่นิยมใช้ออกแบบ Protel,Altium Designer P-CAD OrCAD EAGLE โปรแกรมออกแบบ PCB หนึ่งเดียวที่ทำงานได้ 3 OS
วันศุกร์ที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2557
เราเป็นใครจิตของเรามาจากไหนดวงดาวนับไม่ถ้วน เพราะไม่มีที่สิ้นสุด รูปนามพิภพต่างๆ เป็นเหตุให้เกิด รูปนามพืช รูปนามพืชเป็นเหตุให้เกิด รูปนามสัตว์ เคลื่อนไหวได้ จึงเรียกกันว่า เป็นสิ่งมีชีวิต ความจริง รูปนามจะมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตมันก็เคลื่อนไหวได้ เพราะมันมีรูปกับนาม เป็นเหตุเป็นผลให้เกิดปฏิกิริยาอยู่ในตัว ให้เคลื่อนไหวตลอดกาล และ(เกิด) การเปลี่ยนแปลง บางอย่างเรามองด้วยตาเนื้อไม่เห็น จึงเรียกกันว่าเป็นสิ่งไม่มีชีวิต เมื่อรูปนามของพืชเปลี่ยนมาเป็นรูปนามของสัตว์ เป็นจุดตั้งต้นชีวิตของสัตว์ และเป็น เหตุให้เกิด จิต วิญญาณ การแสดง การเคลื่อนไหว เป็นเหตุให้เกิดกรรม สัตว์ชาติแรกมีแต่สร้างกรรมชั่ว สัตว์กินสัตว์ และ(มี)ความโกรธ โลภ หลง ตามเหตุ ปัจจัย ภายนอกภายในที่มากระทบ กรรมที่สัตว์แสดง มี ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 อย่าง ไปกระทบกับ รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส 5 อย่าง แล้วมาประทับ บรรจุ บันทึก ถ่ายภาพ ติดอยู่กับ รูปปรมาณู ซึ่งเป็น สุขุมรูป แฝงอยู่ในความว่าง เราไม่สามารถมองเห็นด้วยตาได้ ที่แฝงอยู่ในความว่างระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั้นไว้ได้หมดสิ้น เมื่อสัตว์ชาติแรกเกิดนี้ ได้ตายลง มี กรรมชั่ว อย่างเดียว เป็น เหตุให้สัตว์ต้องเกิดอีก เพื่อให้สัตว์ต้อง ใช้หนี้ กรรมชั่วที่ได้ทำไว้ แต่สัตว์เกิดขึ้นมาแล้วหายอม ใช้หนี้เกิด กันไม่ มันกลับ เพิ่มหนี้ ให้เป็น เหตุเกิด ทวีคูณ ด้วยเพศผู้เพศเมียเกิดเป็น สุขุมรูป ติดอยู่ใน 5 กองนี้ เป็นทวีคูณจนปัจจุบันชาติ ดังนั้น ด้วยอำนาจกรรมชั่วในสุขุมรูป 5 กอง ก็เกิดหมุนรวมกันเข้าเป็น รูปปรมาณูกลม คงรูปอยู่ได้ด้วยการหมุนรอบตัวเอง มิหยุดนิ่ง เป็นคูหาให้จิตใจได้อาศัยอยู่ข้างใน เรียกว่า รูปวิญญาณ หรือจะเรียกว่า รูปถอด ก็ได้ เพราะถอดมาจากนามระวางคั่น ตา หู จมูก ลิ้น กาย นั่นเอง ซึ่งเป็นสุขุมรูปแฝงอยู่ในความว่าง รูปวิญญาณ จึงมีชีวิตอยู่คงทนอยู่ ยืนนานกว่า รูปหยาบ มีกรรมชั่วคอยรักษาให้หมุนคงรูปอยู่ ไม่มีเทพเจ้าองค์ใดฆ่าให้ตายได้ นอกจาก นิพพาน เท่านั้น รูปวิญญาณจึงจะสลาย ส่วนการแสดงกรรมของสัตว์ที่ประทับอยู่ในสุขุมรูป มีรูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย 5 กองนั้นรวมกันเข้าเรียกว่า จิต จึงมี สำนักงานจิต ติดอยู่ในวิญญาณ 5 กอง รวมกันเป็นที่ทำงานของ จิตกลาง แล้วไปติดต่อกับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ภายนอก ซึ่งเป็นสื่อติดต่อของจิต ดังนั้น จิต กับ วิญญาณ จึงไม่เหมือนกัน จิตเป็นผู้รู้สึกนึกคิด ส่วนวิญญาณเป็นคูหาให้จิตได้อาศัยอยู่ และเป็นยานพาหนะพาจิตไปเกิด หรือจะไปไหนๆ ก็ได้ เป็นผู้รักษา สุขุมรูป รูปที่ถอดจากรูปหยาบ มีรูปเพศผู้ เพศเมีย รูป ตา หู จมูก ลิ้น กาย อยู่ในวิญญาณไว้ได้เป็นเหตุเกิดสืบภพต่อชาติ เมื่อสัตว์ตาย ชีวิตร่างกายหยาบของภพภูมิชาตินั้นๆ ก็หมดไปตามอายุขัย (ของ) ชีวิตร่างกายหยาบของภูมิชาตินั้นๆ ส่วนชีวิตแท้ รูป ปรมาณู วิญญาณ จะไม่ตายสลายตาม จะต้องไปเกิดตามภพภูมิต่างๆ ตามเหตุปัจจัยของวัฏฏะหมุนเวียนเปลี่ยนไปด้วย ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณหมุนรอบตัวเอง นี้เอง เป็นเหตุให้จิตเกิดดับ สืบต่อ คอยรับเหตุการณ์ภายนอกภายในที่มากระทบ จะดีหรือชั่วก็สะสมเข้าไว้ เป็นทุน เหตุเกิด เหตุดับ หรือปรุงแต่งต่อไป จนกว่า กรรมชั่ว-เหตุเกิด จะหมดไป ชีวิตแท้-รูปถอดหรือวิญญาณ ก็จะหยุดการหมุน รูปสุขุม-รูปวิญญาณ ซึ่งเกิดมาจากกรรมชั่ว สืบต่อมาแต่ชาติแรกเกิด ก็จะสลายแยกออกจากกันไป คงรูปอยู่ไม่ได้ มันก็กระจายไป ส่วนกิจกรรมดี ธรรมะที่ติดอยู่กับวิญญาณ มันก็จะกระจายไปกับรูปปรมาณู คงเหลือแต่ความว่างที่คั่นช่องว่างของรูปปรมาณูทุกๆ ช่อง ฉะนั้น โดยปราศจากรูปปรมาณู ความว่างนั้น จึงบริสุทธิ์และสว่าง รวมเข้ากับความว่าง บริสุทธิ์ สว่าง ของจักรวาลเดิม เข้าเป็นหนึ่งเรียกว่า นิพพาน เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระองค์ทรงสร้างชีวิตพระพุทธศาสนา ให้ก่อเกิดอย่างบริบูรณ์ดังพระประสงค์แล้ว พระพุทธองค์จึงได้ทรงเสด็จสู่อนุปาทิเสสนิพพาน (นิพพานไม่มีอุปาทิเหลือ, ดับกิเลสไม่มีเบญจขันธ์เหลือ คือสิ้นทั้งกิเลสและชีวิต) เป็นผู้หมดสิ้นทุกตัณหา เป็นผู้ดับรอบโดยลักษณาการแห่งอนุปาทิเสสนิพพานของพระพุทธองค์ก็คือ ลำดับแรก ก็เจริญฌานดิ่งสนิทเข้าไปจนถึงสัญญาเวทยิตนิโรธ หมายความว่า เข้าไปดับลึกสุดอยู่เหนือ อรูปฌาน ในวาระแรกนั้น พระองค์ยังไม่ได้ดับขันธ์ต่างๆ ให้สิ้นสนิทเป็นเด็ดขาดแต่อย่างใด ยังเพียงเข้าไปเพื่อทรงกระบวนการแห่งการสู่นิพพาน หรือนิโรธ เป็นครั้งสุดท้ายแห่งชีวิต พูดง่ายๆ ก็คือสู่สิ่งที่พระองค์ได้ทรงสร้าง ได้ทรงพากเพียรก่อเป็นทาง เป็นแบบอย่างไว้ เป็นครั้งสุดท้ายเสียหน่อย ซึ่งเรียกได้ว่าสิ่งอันเกิดจากที่พระองค์ได้ยอมอยู่กับธุลีทุกข์ อันเป็นธุลีทุกข์ที่มนุษย์ธรรมดา (เป็น) ผู้ที่มีจิตหยาบเกินกว่าจะสัมผัสว่า มันเป็นทุกข์ นี่แหละ กระบวนการกระทำจิตตน ให้ถึงซึ่งสัญญาเวทยิตนิโรธนั้น เป็นกระบวนการที่พระอนุตตรสัมมาสัมพุทธเจ้า พระผู้เป็นยอดแห่งศาสดาในโลกเท่านั้นที่ทรงค้นพบ ทรงนำมาตีแผ่เผย แจ้งออกสู่สัตว์โลกให้พึงปฏิบัติตาม เมื่อทรงสิ่งซึ่งสุดท้ายนี้แล้ว จึงได้ถอยกลับมาสู่สภาวะต้น คือ ปฐมฌาน แล้วจึงได้ตัดสินพระทัยสุดท้าย เสด็จดับขันธ์ต่างๆ ไปทีละขันธ์ วิญญาณขันธ์แห่งชีวิต และร่างกายนั้น เพราะต้องดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรมชั้นแรกเสียก่อน วิญญาณขันธ์จึงได้ดับ ดังนั้น จึงไม่มีเชื้อใดเหลืออยู่แห่งวิญญาณขันธ์ที่หยาบนั้น พระองค์เริ่มดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที อันจะส่งผลให้ก่อ วิภวตัณหา ได้ชั้นหนึ่งเสียก่อน แล้วจึงได้เลื่อนเข้าสู่ ทุติยฌาน แล้วจึงดับ สัญญาขันธ์ เลื่อนเข้าสู่ ตติยฌาน เมื่อ พระองค์ดับสังขารขันธ์ หรือสังขารธรรม ชั้นในสุดอีกที ก็เป็นอันเลื่อนเข้าสู่ จตุตถฌาน คงมีแต่ เวทนาขันธ์ สุดท้ายแห่งชีวิต นั้นแล คือลักษณาการแห่งขั้นสุดท้ายของการจะดับสิ้นไม่เหลือ เมื่อพระองค์ดับ สังขารขันธ์ หรือ สังขารธรรม ใหญ่สุดท้ายที่มีทั้งสิ้นแล้ว แล้วก็มาดับ เวทนาขันธ์ อันเป็น จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ ที่ในจิตส่วนในคือ ภวังคจิต เสียก่อน แล้วจึงได้ออกจาก จตุตถฌาน พร้อมกับมาดับ จิตขันธ์ หรือ นามขันธ์ สุดท้ายจริงๆ ของพระองค์เสียลงเพียงนั้น
พบตัวเองพบธรรมะพาไปพบพระพุทธเจ้าเป็นปริศนา พื้นบ้าน อีสานใต้ คำทำนาย ท่านกล่าวไว้ กาลล่วงหน้า ปราชญ์โบราณ รุ่นสู่รุ่น สืบต่อมา ภูมิปัญญา จากปู่ย่า ถึงโกนเจา 1.ฉนัม นิ ซี เดก ฉนัม พํแนก ซี เฎ็ย ตึ๊ก ลิ๊จ จง ฤเซ็ย แม๊จ ตเร็ย กเรียม ซกา ฯ 2. เมิงกอก เนิงระลม พนมเป็ญ นองระเลือย ปอยสักแก กระจัดกระจาย แสนสบาย อังกัวร์ เวือด ฯ 3.อังกัวร์ ตระเปียงสโน นองโสน โสนแอง มินปะบาก ระนา ตันเลือย นองตันเลือย คะเนียแองฯ 4.นอง เมียน มนึฮ์ เทอรฺร์ เมียนแศล เตียน เดอะ เนือม ตันรอง ตะรอง พะโลว์ เนือมโตว์ จีย์ ชะเนียฮ์ฯ เป็นปริศนาจากรุ่นทวดสมัยปู่ย่าตายายทำนายไว้ เป็นการเปรียบเทียบเปรียบเปรย ความเปลี่ยนแปลงของยุคสมัย อาจแปลได้ไม่สละสลวยจนเห็นภาพเหมือนภาษาเขมรเท่าไหร่ แปลใจความได้ว่า... 1.ปีนี้ได้กินแล้วนอน ปีหน้าได้กินดิน (อาจเพราะไม่มีอะไรจะกิน) น้ำท่วมสูงปลายยอดไผ่ แต่ทำไมปลาแห้งตาย ฯ 2.กรุงเทพฯจะล่ม กรุงพนมเปญจะสลาย ต้นสังแกที่เกาะกลุ่มจะแตกกระจัดกระจาย ผู้คนสุขสบายที่นครวัด ฯ 3.มีนครหนึ่งที่เต็มไปด้วยต้นโสน เป็นที่ราบลุ่ม อันอุดมสมบูรณ์ ไม่เห็นมีคนนอกเข้าไปทำลาย แต่กลับล่มสลายด้วยพวกเดียวกันเอง ฯ 4.จากนั้นจะมีผู้นำที่มีศีลธรรม มีจิตเมตตาชักจูงนำประชา นำไปสู่ทิศทางที่ถูกต้องดีกว่า พาไปสู่ชัยชนะ สร้างความรุ่งเรือง ต่อไป ฯ
วันพฤหัสบดีที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วิธีพาจิตกลับบ้าน การปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ... เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน รู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป
แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่ใช้อินเวอร์เตอร์ควบคุมมอเตอร์อินดัตชั่่น...ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์การติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM51 เหลืออยู่ ประมาณ 1400 ตัว ครับ.... TL105C และ TM52A หมดแล้ว ก็ยังมี PS21244 อยู่ 1000 นิดนิด..ราคา เบา..เบา...ประหยัดดีครับ...400 บาท...ใช้ได้กับมอเตอร์..หนึ่งแรงม้า...ถ้าต้องการ แรงม้าเพิ่ม...ก็....ขนานได้ครับ..... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
POWER MODULE TM52A MC3PHAC ควบคุมมอเตอร์สามเฟสการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM51 เหลืออยู่ ประมาณ 1400 ตัว ครับ.... TL105C และ TM52A หมดแล้ว ก็ยังมี PS21244 อยู่ 1000 นิดนิด..ราคา เบา..เบา...ประหยัดดีครับ...400 บาท...ใช้ได้กับมอเตอร์..หนึ่งแรงม้า...ถ้าต้องการ แรงม้าเพิ่ม...ก็....ขนานได้ครับ..... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
การต่อมอเตอร์สามเฟสกับ TM52A MC3PHACการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM51 เหลืออยู่ ประมาณ 1400 ตัว ครับ.... TL105C และ TM52A หมดแล้ว ก็ยังมี PS21244 อยู่ 1000 นิดนิด..ราคา เบา..เบา...ประหยัดดีครับ...400 บาท...ใช้ได้กับมอเตอร์..หนึ่งแรงม้า...ถ้าต้องการ แรงม้าเพิ่ม...ก็....ขนานได้ครับ..... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
TM52A ที่ต่อโดยตรงจากโซล่าเซลล์ให้ทำตามนี้ครับการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
PS21244 ใช้ได้กับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าครับการติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส ควบคุมด้วย MC3PHAC PS21244การติดตั้ง Power Module สำหรับ งานควบคุมมอเตอร์ สามเฟส ให้ติดตั้ง บนแผ่นระบายความร้อน ที่มี ขนาด และ พื้นที่ ให้ เหมาะสมกับ ขนาดของ มอเตอร์ เนื่องจาก อุณภูมิ ที่ เหมาะกับ อุปกรณ์ Power Electronics จะอยู่ที่ 25 ํ C...และไม่เกิน 40 ํ C...จะใช้ได้นาน...เกิน...สิบปี... TM52A หมดแล้วนะครับ...รุ่นใหม่จะเป็นเบอร์ PS21244 PS21963 6DI15S-050 ครับ... ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน คือมองไม่เห็นว่า เจตนาที่จะประคองรักษาจิต ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ ๔ แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้ เรา (พระศาสดา) ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่ เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่ เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่ เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออก..ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น ธรรมตรงนี้ท่านแสดงไว้อย่างชัดเจนถึง กะเปาะฟองที่ห่อหุ้ม (จิต) สิ่งนี้ก็คือห้องขังที่มองไม่เห็น ที่ขังให้จิตติดข้องอยู่ในอาสวกิเลส และทรงกล่าวถึงการชำแรกออก หรือทำลายออกจากกะเปาะนั้น เพราะมีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจจ์ และเห็นแจ้งอาวสกิเลส ฟังผิวเผินเหมือนเป็นถ้อยคำเปรียบเทียบของพระองค์ แต่ผู้ปฏิบัติที่พบเห็นสภาวะ ภพของจิตผู้รู้ อ่านตรงนี้แล้วจะสะดุ้งใจ เพราะจะรู้สึกว่า พระองค์รับสั่งถึงสภาวะอันหนึ่งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด เพราะเห็นชัดว่า จิตถูกขัง ถูกแช่จม อยู่ในขอบเขตอันหนึ่งจริงๆ ผมมีเรื่องอยู่เรื่องหนึ่ง ที่จะเล่าให้พวกเราฟังกันเป็นการภายใน ดังนี้ เมื่อประมาณปี ๒๕๒๖ ผมได้ไปกราบหลวงพ่อพุธ ที่วัดป่าสาลวัน ท่านได้ถามถึงธรรมที่หลวงปู่ดูลย์สอนผม อันเป็นเรื่องการทำลายผู้รู้ แล้วท่านก็กล่าวว่า หลวงปู่ดูลย์ก็สอนท่านอย่างเดียวกันนี้ จากนั้นท่านก็เมตตา ให้โอกาสแก่ผมด้วยกุสโลบาย คือตามธรรมเนียมของผู้ปฏิบัติแล้ว จะไม่ก้าวก่ายเข้าไปสอนศิษย์ของท่านผู้อาวุโสกว่า หลวงพ่อจึงไม่บอกว่า จะสอนธรรมให้แก่ผม แต่กลับบอกว่า "คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกันไว้ ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อน ให้มาบอกวิธีแก่กัน" เมื่อ ๒๕๒๖ ผมมีโอกาสพบท่านอีกครั้งหนึ่ง เข้าไปกราบท่าน รายงานตัวฟื้นความหลังให้ว่าผมเป็นใคร ท่านก็บอกว่า ท่านจำได้ ผมก็กราบเรียนท่านว่า จนป่านนี้ผมยังทำลายจิตผู้รู้ไม่ได้เลย ขออุบายวิธีปฏิบัติจากหลวงพ่อ เพื่อทำลายผู้รู้ด้วยเถิด หลวงพ่อตอบว่า “จิตผู้รู้ก็เหมือนฟองไข่ เมื่อจิตมีปัญญาแก่รอบแล้ว จิตจะทำลายสิ่งห่อหุ้มนั้นออกมาเอง เหมือนลูกไก่ที่โตได้ที่แล้ว เจาะทำลายเปลือกไข่ออกมาเอง”
วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่น เรื่องของอาสวกิเลส ผมสังเกตเห็นอย่างหนึ่งว่า พวกเรามักกล่าวถึง กิเลส และนิวรณ์กันบ่อยครั้ง แต่ไม่ค่อยได้กล่าวถึง อาสวกิเลส กันมากนัก แทบไม่เคยเห็นกล่าวถึงกันทีเดียว แท้ที่จริง อาสวกิเลส เป็นเรื่องสำคัญมาก ถ้าสังเกตธรรมในพระไตรปิฎก จะเห็นได้ชัดเจนว่า เมื่อท่านกล่าวถึงความหลุดพ้น ท่านมักจะกล่าวว่า หลุดพ้นจากอาสวกิเลส ไม่กล่าวว่า หลุดพ้นจากกิเลส หรือนิวรณ์ อันที่จริง กิเลส นิวรณ์ และอาสวกิเลส ต่างก็เป็นกิเลสด้วยกัน แต่มีความหยาบและความละเอียดแตกต่างกัน กิเลส คือราคะ โทสะ และโมหะนั้น เป็นของหยาบๆ มันพลุ่งๆ วูบวาบขึ้นมาครอบงำจิต ในลักษณะเป็นสิ่งแปลกปลอมเข้ามาเป็นครั้งคราว ส่วนนิวรณ์ มักจะแทรกเข้ามานิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้ามา นักปฏิบัติด้วยการดูจิต หรือเจริญจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐาน สามารถรู้เห็นกิเลสได้ไม่ยากเลย แม้แต่ผู้หัดดูจิตวันแรก ก็มักมองเห็นได้แล้ว โดยเฉพาะโทสะนั้น เป็นอารมณ์ที่รุนแรง สังเกตง่ายที่สุด ราคะมีความประณีตกว่าโทสะ แต่ก็ยังเป็นสิ่งแปลกปลอมที่มองเห็นง่าย ส่วนโมหะ เป็นความหมอง ความมัวของจิต เหมือนม่านควันที่ซึมซ่านเข้ามาทำให้จิตเสื่อมคุณภาพในการ "รู้ตามความเป็นจริง" ตัวนี้สังเกตยากขึ้นไปอีกหน่อย สำหรับ "นิวรณ์" มีความละเอียดประณีตยิ่งขึ้นไปอีก เพราะมันซึมซ่านนิ่มๆ ตามหลังความคิดเข้าครอบงำจิตได้ง่ายๆ โดยไม่ทันระวังตัว บางคราวถ้าไม่ชำนาญ จะดูไม่ออกเสียด้วยซ้ำไปว่ามันเป็นนิวรณ์ ส่วนอาสวกิเลสนั้น ดูยากกว่านิวรณ์มากนัก ในชั้นแรกนี้ ลองมาดูความหมายในทางปริยัติกันก่อน พจนานุกรมของท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก ท่านอธิบายความหมายของอาสวกิเลสไว้ดังนี้ อาสวะ กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ไหลซึมซ่านไปย้อมจิตเมื่อประสบอารมณ์ต่างๆ มี ๓ อย่างคือ กามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ ๑. กามาสวะ อาสวะคือกาม (กิเลสดองอยู่ในสันดาน ที่ทำให้เกิดความใคร่ ) ๒. ภวาสวะ อาสวะคือภพ (กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้อยากเป็น อยากเกิด อยากมีอยู่คงอยู่ตลอดไป) ๓. อวิชชาสวะ อาสวะคืออวิชชา (กิเลสที่หมักหมมหรือดองอยู่ในสันดาน ทำให้ไม่รู้ตามความเป็นจริง) คราวนี้เราลองหันมาพิจารณา ถึงสภาวะของอาสวกิเลสในมุมมองของนักปฏิบัติบ้าง อาสวกิเลสไม่ได้พลุ่งขึ้นมาเหมือนกิเลสหยาบ ไม่ได้ซึมซ่านเข้ามาเหมือนนิวรณ์อันเป็นกิเลสชั้นกลาง แต่เป็นกิเลสละเอียด ที่จิตจมแช่อยู่มาแต่ไหนแต่ไรแล้ว โดยจมแช่อยู่ อย่างไม่รู้ตัวว่ากำลังจมแช่อยู่ ถ้าเปรียบเทียบให้เป็นรูปธรรมหยาบๆ ก็คล้ายกับร่างกายนี้ จมแช่อยู่ในอากาศ เราแช่ในอากาศมาตั้งแต่เกิด จนลืม จนไม่เคยนึกถึง ถ้าไม่ลงไปแช่ในของหยาบยิ่งกว่านั้น เช่น แช่น้ำ เราจะรู้สึกเหมือนร่างกายนี้เป็นอิสระ ไม่ได้จมแช่อยู่ในอะไรเลย ทั้งที่ความจริง กายนี้จมแช่อยู่ในอากาศมาแต่ไหนแต่ไรแล้ว จิตเองก็จมแช่หมักดองอยู่ในอาสวกิเลสโดยไม่รู้ตัว แต่อาสวกิเลสที่จิตจมแช่อยู่นั้น มีถึง ๓ ระดับ หรือ ๓ ชนิด สิ่งแรกคือกาม ถัดไปคือภพและอวิชชา จิตของสรรพสัตว์ที่ยังไม่บรรลุพระอนาคามี ล้วนยังจมแช่อยู่ในกามทั้งสิ้น ถ้าทำใจให้สบาย มีสติปัญญาระลีกรู้ไปในกาย จะเห็นว่าจิตจมแช่อยู่ในกาม ซึมซ่านไปทั่วกายตลอดทุกขุมขน ยินดีพอใจในผัสสะทางกายที่เป็นสุข ระแวดระวัง เกลียดกลัวผัสสะทางกายที่เป็นทุกข์ ไม่ผิดอะไรกับสาวงามที่อาบน้ำใหม่ๆ ทาแป้งและของหอมเรียบร้อย มีความอิ่มเอิบพอใจอยู่ทุกขุมขน และเกลียดกลัวสิ่งสกปรกแม้เพียงเล็กน้อยที่จะมากระทบกาย เครื่องดองชั้นหยาบนี้จะถูกทำลายไปเมื่อจิตบรรลุพระอนาคามี เพราะจิตมีปัญญารู้แจ้งแทงตลอดในกาย เห็นแต่ความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เป็นอสุภะของกาย จึงหมดยางใยที่จะยึดถือในความสุขและความทุกข์ทางกายลงอย่างเด็ดขาด สำหรับภวาสวกิเลสนั้น พวกเราบางคนก็อาจจะเคยเห็นร่องรอยบ้าง คือเมื่อเรามีสติสัมปชัญญะ มีธรรมเอกหรือจิตผู้รู้ เห็นอารมณ์เกิดดับหมุนเวียนไปเรื่อยๆ คือผ่านภพน้อยภพใหญ่นับไม่ถ้วน ในที่สุดเมื่อจิตวางอารมณ์หยาบทั้งหมด มาหยุดรู้อยู่ที่จิตผู้รู้ ก็ยังเห็นอีกว่า จิตผู้รู้ที่กำลังรู้อยู่นั้น เอาเข้าจริงก็ยังเป็นภพอีกอันหนึ่ง จิตจมแช่อยู่ในภพ โดยไม่เคยเห็นเลยว่า กระทั่งจิตที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดแล้วนั้น เอาเข้าจริงก็ยังหลงอยู่ในภพอันหนึ่ง ที่ดูสะอาดหมดจดสุดขีดนั้น ผมเองเมื่อเจริญสติสัมปชัญญะ และเห็นจิตผู้รู้ จะรู้ชัดว่าจิตยังข้องอยู่ในภพ ยังผูกพันอยู่ในภพ เหมือนคนที่ถูกขังอยู่ในห้องขังที่ฝาและเพดานเป็นกระจกใส หรือเป็นแสงที่มองด้วยตาเปล่าไม่เห็น ดูผิวเผินเหมือนกับคนที่เป็นอิสระ ไม่ได้ถูกกักขัง แต่เอาเข้าจริงแล้ว จิตไม่ได้เป็นอิสระจริง ผู้ที่เคยเข้าถึงความหลุดพ้นชั่วขณะ จะเห็นจิตที่จมแช่ภวาสวกิเลสได้ชัดเจน เพราะสามารถเทียบกับสภาวะที่จิตเป็นอิสระ หลุดพ้นจากภพ ได้อย่างชัดเจน สำหรับอวิชชาสวกิเลสนั้น โยงใยอยู่กับภวาสวกิเลส คือที่จิตยังติดข้องอยู่ในภพ หรือจมแช่อยู่ด้วยภวาสวกิเลสนั้น ก็เพราะจิตยังถูกย้อมด้วยอวิชชา และปราศจากวิชชา คือยังมองไม่เห็น ทุกข์ มองไม่ออกว่า จิตผู้รู้ ก็คือก้อนทุกข์อันหนึ่ง ยังข้องอยู่ในภพอันหนึ่ง ยังเป็นทุกข์ ยังแปรปรวน ยังไม่ใช่ที่พึ่งที่แท้จริง หรือแม้ว่าจะพอรู้สึกบ้างว่า จิตผู้รู้เป็นจิตในภพอันหนึ่ง เป็นทุกข์อันหนึ่ง ก็ยังมองไม่เห็นว่า สมุทัย ที่ทำให้ภพของจิตผู้รู้เกิดขึ้นนั้น อยู่ตรงไหน คือมองไม่เห็นว่า เจตนาที่จะประคองรักษาจิต ทำให้มโนวิญญาณหยั่งลง และสร้างภพของผู้รู้ขึ้นมา ครั้นจะ เจตนาที่จะไม่มีเจตนา มันก็ยังเป็นเจตนาอยู่อีก จึงจนปัญญา จมแช่อยู่กับความไม่รู้ว่าจะรอดจากความทุกข์ได้อย่างไร หนทางที่จะทำลายอาวสวกิเลสนั้น พระศาสดาทรงแสดงไว้ชัดเจน วิธีที่มาตรฐานที่สุด ได้แก่การใช้จิตที่มีคุณภาพ คือมีสติสัมปชัญญะบริสุทธิ์แล้ว น้อมไปเจริญปัญญาจนรู้แจ้งอริยสัจจ์ และรู้แจ้งอาสวกิเลส ซึ่งพระองค์เองทรงใช้วิธีทำจิตจนถึงฌานที่ ๔ แล้วน้อมจิตไปเจริญปัญญา ดังนี้ เรา (พระศาสดา) ก็เหมือนอย่างนั้นแล พราหมณ์ เมื่อประชาชนผู้ตกอยู่ในอวิชชา เกิดในฟอง อันกะเปาะฟองหุ้มห่อไว้ ผู้เดียวเท่านั้นในโลก ได้ทำลายกะเปาะฟอง คือ อวิชชา แล้วได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยม เรานั้นเป็นผู้เจริญที่สุด ประเสริฐที่สุดของโลก เพราะความเพียรของเราที่ปรารภแล้วแล ไม่ย่อหย่อน สติดำรงมั่นไม่ฟั่นเฟือน กายสงบ ไม่กระสับกระส่าย จิตตั้งมั่น มีอารมณ์เป็นหนึ่ง เรานั้นแล สงัดแล้วจากกาม สงัดแล้วจากอกุศลธรรม ได้บรรลุปฐมฌาน มีวิตก มีวิจาร มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่วิเวกอยู่ เราได้บรรลุทุติยฌาน มีความผ่องใสแห่งจิต ณ ภายใน เป็นธรรมเอกผุดขึ้น ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร เพราะวิตก วิจาร สงบไป มีปีติและสุขซึ่งเกิดแต่สมาธิอยู่ เรามีอุเบกขาอยู่ มีสติ มีสัมปชัญญะ และเสวยสุขด้วยนามกาย เพราะปีติสิ้นไป ได้บรรลุตติยฌาน ที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญว่า เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ มีสุขอยู่ ดังนี้ อยู่ เราได้บรรลุจตุตถฌาน ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์และดับโสมนัส โทมนัส ก่อนๆ มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ เรานั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลส ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้แล้ว ได้น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ เรานั้นได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า เหล่านี้อาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้เหตุให้เกิดอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ความดับอาสวะ ได้รู้ชัดตามเป็นจริงว่า นี้ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับอาสวะ เมื่อเรานั้นรู้อยู่อย่างนี้ เห็นอยู่อย่างนี้ จิตได้หลุดพ้นแล้วแม้จากกามาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากภวาสวะ ได้หลุดพ้นแล้วแม้จากอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้ว ได้มีญาณหยั่งรู้ว่าหลุดพ้นแล้ว ได้รู้ด้วยปัญญาอันยิ่งว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นอีกเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี พราหมณ์ วิชชาที่สามนี้แล เราได้บรรลุแล้วในปัจฉิมยามแห่งราตรี อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว เหมือนที่เกิดแก่บุคคลผู้ไม่ประมาท มีความเพียรเผากิเลสส่งจิตไปแล้วอยู่ ฉะนั้น ความชำแรกออก..ของเรานี้แล ได้เป็นเหมือนการทำลายออกจากกะเปาะฟองแห่งลูกไก่ ฉะนั้น ธรรมตรงนี้ท่านแสดงไว้อย่างชัดเจนถึง กะเปาะฟองที่ห่อหุ้ม (จิต) สิ่งนี้ก็คือห้องขังที่มองไม่เห็น ที่ขังให้จิตติดข้องอยู่ในอาสวกิเลส และทรงกล่าวถึงการชำแรกออก หรือทำลายออกจากกะเปาะนั้น เพราะมีปัญญาเห็นแจ้งอริยสัจจ์ และเห็นแจ้งอาวสกิเลส ฟังผิวเผินเหมือนเป็นถ้อยคำเปรียบเทียบของพระองค์ แต่ผู้ปฏิบัติที่พบเห็นสภาวะ ภพของจิตผู้รู้ อ่านตรงนี้แล้วจะสะดุ้งใจ เพราะจะรู้สึกว่า พระองค์รับสั่งถึงสภาวะอันหนึ่งอย่างตรงไปตรงมาที่สุด เพราะเห็นชัดว่า จิตถูกขัง ถูกแช่จม อยู่ในขอบเขตอันหนึ่งจริงๆ ผมมีเรื่องอยู่เรื่องหนึ่ง ที่จะเล่าให้พวกเราฟังกันเป็นการภายใน ดังนี้ เมื่อประมาณปี ๒๕๒๖ ผมได้ไปกราบหลวงพ่อพุธ ที่วัดป่าสาลวัน ท่านได้ถามถึงธรรมที่หลวงปู่ดูลย์สอนผม อันเป็นเรื่องการทำลายผู้รู้ แล้วท่านก็กล่าวว่า หลวงปู่ดูลย์ก็สอนท่านอย่างเดียวกันนี้ จากนั้นท่านก็เมตตา ให้โอกาสแก่ผมด้วยกุสโลบาย คือตามธรรมเนียมของผู้ปฏิบัติแล้ว จะไม่ก้าวก่ายเข้าไปสอนศิษย์ของท่านผู้อาวุโสกว่า หลวงพ่อจึงไม่บอกว่า จะสอนธรรมให้แก่ผม แต่กลับบอกว่า "คุณกับอาตมามาทำกติกาตกลงกันไว้ ใครทำลายผู้รู้ได้ก่อน ให้มาบอกวิธีแก่กัน" เมื่อ ๒๕๒๖ ผมมีโอกาสพบท่านอีกครั้งหนึ่ง เข้าไปกราบท่าน รายงานตัวฟื้นความหลังให้ว่าผมเป็นใคร ท่านก็บอกว่า ท่านจำได้ ผมก็กราบเรียนท่านว่า จนป่านนี้ผมยังทำลายจิตผู้รู้ไม่ได้เลย ขออุบายวิธีปฏิบัติจากหลวงพ่อ เพื่อทำลายผู้รู้ด้วยเถิด หลวงพ่อตอบว่า “จิตผู้รู้ก็เหมือนฟองไข่ เมื่อจิตมีปัญญาแก่รอบแล้ว จิตจะทำลายสิ่งห่อหุ้มนั้นออกมาเอง เหมือนลูกไก่ที่โตได้ที่แล้ว เจาะทำลายเปลือกไข่ออกมาเอง”
วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่น“จิตที่ส่งออกนอก เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตที่ส่งออกนอก เป็นทุกข์ จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นมรรค ผลอันเกิดจากจิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง เป็นนิโรธ” “อนึ่ง ตามสภาพที่แท้จริงของจิต ย่อมส่งออกนอกเพื่อรับอารมณ์นั้นๆ โดยธรรมชาติของมันเอง ก็แต่ว่าถ้าจิตส่งออกนอกได้รับอารมณ์แล้ว จิตเกิดหวั่นไหวหรือกระเพื่อมไปตามอารมณ์นั้น เป็นสมุทัย ผลอันเกิดจากจิตหวั่นไหวหรือกระเพื่อมไปตามอารมณ์นั้นๆ เป็นทุกข์ ถ้าจิตที่ส่งออกนอกได้รับอารมณ์แล้ว แต่ไม่หวั่นไหว หรือไม่กระเพื่อมไปตามอารมณ์นั้นๆ มีสติอยู่อย่างสมบูรณ์ เป็ฯมรรคผลอันเกิดจากจิตไม่หวั่นไหว หรือไม่กระเพื่อม เพราะมีสติอยู่อย่างสมบูรณ์ เป็นนิโรธ พระอริยเจ้าทั้งหลายมีจิตไม่ส่งออกนอก จิตไม่หวั่นไหว จิตไม่กระเพื่อม เป็นวิหารธรรม จบอริยสัจจ์ ๔” อริยสัจแห่งจิต เป็นปรมัตถธรรมที่ลึกซึ้งกว้างขวาง และครอบคลุมคำสอนทั้งหมดของหลวงปู่
จิตเห็นจิตเป็นมรรคหลวงปู่ดูลย์ อธิบาย จิตเห็นจิตเป็นมรรค ..ทำญาณให้เห็นจิตเหมือนดั่งตาเห็นรูป... ..เป็นไปเพื่อความสงบ เพื่อความตรัสรู้พร้อม เป็นไปเพื่อตรัสรู้ยิ่ง เพื่อพระนิพพาน..ทางตรงอยู่ตรงนี้.. โดยความจริงอันสูงสุดเเล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายในความเป็นตัวตน เเม้เเต่สักปรมาณูเดียว จิตนั้น ไม่มีตัวตนอะไรหรอก.. จิตนั้น โดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต เเต่ถึงกระนั้น..มันก็ยังไม่ใช่ ไม่ใช่จิต ..ย่อมหมายถึง สิ่งบางสิ่ง ที่มีอยู่จริง.. สิ่งนี้ คือ ความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่เเล้ว ทุกเเห่งอันสงบเงียบ ไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุข สิ่งทีอยู่ตรงหน้าเรานี้เเหละ คือ สิ่งสิ่งนั้น ไม่มีอะไร..นอกไปจากนี้อีกเเล้ว...
วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตพวกเราเวลาคิดถึงการปฏิบัติในใจลึกๆมีไหมคำว่า "จะทำยังไง" คิดตลอดนะ คิดทุกคนแหละ จะทำยังไง จะทำยังไง ห้ามมันไม่ได้หรอก มันจะคิด เพราะมันอยากทำ มันคิดว่าทำแล้วถึงจะได้ ปลอบใจตัวเองอีกนะ ความพยายามอยู่ที่ไหน ความสำเร็จอยู่ที่นั่น พยายามอยู่อย่างนั้น พยายามจนสุดสติสุดปัญญาถึงตรงนั้นนะถึงจะได้ของจริง แต่อาศัยที่เคยพยายามปฏิบัตินะ มันเป็นการพัฒนาสติให้เร็วขึ้น สมาธิให้ตั้งมั่นมากขึ้น ปัญญาก็มีสะสมไปนะ เห็นรูปธรรมนามธรรมเค้าทำงานได้เอง ตรงที่เราจงใจปฏิบัติ จงใจอยากทำ นั่นแหละมันค่อยๆฝึกฝนสติสมาธิปัญญาให้เข้มแข็งมากขึ้นๆนะ ถึงจุดหนึ่งสติปัญญา สติ สมาธิ ปัญญา มันแก่กล้าขึ้นมา จนมันอัตโนมัติ ร่างการพลิกนะ พลิกตัวเนี่ย รู้สึกเองเลยไม่ต้องเจตนารู้สึก ความสุขความทุกข์ กุศลอกุศล อะไรเกิดขึ้นที่จิตนะรู้เองเลยโดยไม่เจตนาจะรู้ มันสารพัดจะเกิดมันจะรู้ได้เอง นี่สติมันอัตโนมัติขึ้นมาแล้ว ไม่ได้จงใจ แต่ก่อนที่จะอัตโนมัติก็ต้องจงใจมาก่อน การที่เราคิดอยู่นะ ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะดี แล้วพยายามทำ มันได้พัฒนาสติสมาธิปัญญาขึ้นมา ทำไปเรื่อยๆถึงวันหนึ่งพบว่า เอ..ทำไงมันก็ดีไม่ถาวร สุขก็ไม่ถาวร สงบก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้ก็ไม่ถาวร ตัวผู้รู้เกิดได้กลายเป็นตัวผู้คิดได้ หรือกลายเป็นตัวผู้เพ่งได้ มีแต่ของไม่ถาวร ก็พย๊ามพยามนะ อยากจะให้ดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถามใจของพวกเราดูซิ เราปฏิบัติเราอยากได้ตรงนี้ใช่ไหม อยากได้มรรคผลนิพพานนะจริงๆเพราะอะไร? มรรคผลนิพพานมันน่าจะดีถาวร มันน่าจะสุขถาวร มันน่าจะสงบถาวร เราอยากได้สิ่งเหล่านี้ ถ้ามีสติปัญญามาก ก็อยากได้มรรคผลนิพพานเพื่อจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร ถ้าโง่กว่านั้นนะ ก็ไปทำสมาธิ ทำอะไรขึ้นมา ก็ดีเหมือนกัน ดีช่วงที่มีสมาธิอยู่ สงบช่วงที่มีสมาธิอยู่ สุขช่วงที่มีสมาธิอยู่ พอมันเสื่อมแล้วก็หายไปอีก ต้องมาทำอีก นี้ก็แล้วแต่สติ แล้วแต่ปัญญา บางคนอยากได้มรรคผลนิพพานเพราะว่ามันดี มันสุข มันสงบนั่นแหละ ตะเกียกตะกายนะหาสิ่งเหล่านี้ไปเรื่อย คิดว่าถ้าเราฝึกได้ดีเต็มที่แล้ววันหนึ่งจิตเราจะดีถาวร สุขถาวร สงบถาวร เพราะคิดว่าจิตเป็นเรานั่นแหละ คิดจะทำให้มันดีให้ได้ คิดจะทำให้มันสุขให้ได้ คิดจะทำให้มันสงบให้ได้ ดีชั่วคราว สุขชั่วคราว สงบชั่วคราว ก็ไม่พอใจ จะเอาถาวร สุดท้าย พากเพียรแทบล้มแทบตายก็พบว่าดีก็ชั่วคราว สุขก็ชั่วคราว สงบก็ชั่วคราว จิตผู้รู้ก็ชั่วคราว อะไรๆก็ชั่วคราวหมดเลย ไม่เห็นมีตรงไหนเลยที่มันจะถาวรได้ จิตยอมรับความจริงตรงนี้ได้ จิตก็หมดแรงดิ้นนะ จะดิ้นไปทำไมล่ะ ดิ้นหาดี หาสุข หาสงบ ดิ้นยังไงก็ไม่มี มีก็มีชั่วคราวเดี๋ยวก็หายไปอีก นี่จิตจะหยุดแรงดิ้น หมดแรงดิ้น จิตที่แรงดิ้นเพราะว่าดิ้นมาสุดขีดแล้วนะ สติก็สุดขีดแล้ว สมาธิก็สุดขีดแล้ว ปัญญาก็สุดขีดแล้ว สติสุดขีดก็คือ ไม่เจตนาจะรู้ ก็รู้..รู้..รู้ทั้งวันเลย รู้ทั้งคืนด้วย สมาธิก็จิตตั้งมั่นเป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน รู้อยู่อย่างนี้ ไม่เป็นผู้หลงนะ อย่างมากก็หลงแว๊บๆ ก็กลับมาเป็นผู้รู้อย่างรวดเร็ว จะทำสมาธิให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะทำสติให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไง จะเจริญปัญญาให้มากกว่านี้ก็ไม่รู้จะทำยังไงนะ มันจนมุมไปหมดเลย คือ สติก็ทำมาจนไม่รู้จะทำยังไงแล้ว สมาธิก็ทำจนไม่รู้จะทำยังไง ปัญญาก็ไม่รู้จะพลิกแพลงไปพิจารณาอะไรอีกต่อไปแล้ว เนี่ยจิตถ้าภาวนามาสุดขีดนะมันจะเข้ามาสู่ภาวะแห่งความจนมุม มันจะหยุดแรงดิ้น มันจะหมดความอยากว่าทำยังไงจะพ้นทุกข์ได้ ทำยังไงจะสุขถาวร ทำยังไงจะดีถาวร ทำยังไงจะสงบถาวร เพราะมันดิ้นมาจนสุดฤทธิ์สุดเดชแล้ว ก็ไม่รู้จะทำยังไง ทำไม่ได้สักที พอจิตหมดแรงดิ้นนะ จิตก็สักว่ารู้ว่าเห็น ตรงนี้แหละสักว่ารู้ว่าเห็นขึ้นมา อย่างที่พวกเราพูดว่าสักว่ารู้ว่าเห็น ไม่จริงหรอก ไม่ยอมสักว่ารู้ว่าเห็นหรอก มีแต่ว่าทำยังไงจะดีกว่านี้อีก ทำยังไงดี ทำยังไงจะดี ทำยังไงจะถูก รู้สึกไหมแต่ละวัน นักปฏิบัติตื่นนอนก็คิดวันนี้จะทำยังไงดี คิดอย่างนี้แหละนะ จนกระทั่งมันสุดสติสุดปัญญา ทำยังไงมันก็ดีกว่านี้ไปไม่ได้แล้ว ยอมรับสภาพมัน จิตหมดแรงดิ้น จิตหมดความปรุงแต่ง หมดแรงดิ้นรน พอจิตไม่มีความปรุงแต่ง ไม่มีความดิ้นรน อยู่ตรงนี้ช่วงหนึ่งนะ พอจิตหมดแรงดิ้นก็ไม่ปรุง อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ อะไรเกิดขึ้นก็แค่รู้ ไม่ปรุงต่อ จิตก็เรียกว่าจิตเข้าถึงความเป็นอนุโลม อนุโลมญาณ หมายถึงว่าอะไรเกิดขึ้นก็คล้อยตามมันไป คล้อยตามนี่ไม่ใชหลงตามมันไป ก็แค่เห็นนะ เออ ก็มีขึ้นมา เออ หายไป ก็แค่นั้นเองนะ ไม่ต่อต้าน ไม่หลงตามไป ยอมรับ มันมาก็มา มันไปก็ไป นี่จิตมีอุเบกขาอย่างแท้จริงเลยนะ คล้อยตามทุกสิ่งทุกอย่าง ก็เห็นแต่ความจริง ทุกอย่างมาแล้วก็ไปมาแล้วก็ไป นี่จิตเห็นอยู่แค่นี้เอง นี่ถ้าจิต สติ สมาธิ ปัญญา ศีล สมาธิ ปัญญา บุญบารมีอะไรแก่รอบแล้วนะ จิตหยุดความปรุงแต่งแล้วมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเอง ทำไมมันรวมเข้าอัปปนาสมาธิได้เอง เพราะว่าจิตไม่ไหลไปตามกาม ฌานมันจะเกิดเอง โดยธรรมชาติของจิตนี่ต้องเวียนอยู่ในภพ ภพที่จิตเวียนอยู่ได้มี ๓ ภพเท่านั้น หนึ่ง กามาวจรภพ ภพที่เวียนไปในกาม คือหาอารมณ์เพลิดเพลินไปทางตา หู จมูก ลิ้น กาย เพลินไปเรื่อย พวกเราจิตหมุนอยู่ติ้วๆ ทางตาหูจมูกลิ้นกาย นึกออกไหม อันนี้แหละเรียกว่ากามภพ เรียกให้เต็มยศนะเรียก กามาวจรภูมิ ใจก็ไปเวียนอย่างนี้ ถ้าหลุดออกจากกามภพนะ ก็เข้าไป รูปภพ หรือว่า รูปภูมิ ก็คือเข้าไปสงบอยู่กับการรู้รูป เช่นรู้ลมหายใจ แล้วจิตไม่เอาแล้วโลกข้างนอก อารมณ์ทางตาหูจมูกลิ้นกาย ไม่เห็นจะมีสาระอะไร จิตมารวมลงที่อารมณ์ภายในอันเดียว อาจจะมารู้ลมหายใจอยู่อันเดียว รู้ร่างกายอยู่อันเดียว มาเพ่งรูปอยู่อันเดียว เพ่งดวงกสิณ ดวงนิมิตอยู่อันเดียว จิตเพ่งรูปอยู่เรียกว่ารูปภูมิ ถ้าจิตไม่อยู่ในกามภูมิ ไม่อยู่ในรูปภูมิ จิตก็ต้องเข้า อรูปภูมิ ทิ้งรูปไปแล้วไปอยู่กับนามธรรม เช่นไปอยู่กับความว่าง จิตอยู่ในความว่าง อยู่กับความไม่มีอะไรเลย เพราะงั้นที่เค้าสอนภาวนา บางคนสอนภาวนาให้ไปอยู่ในความว่าง อันนั้นเพี้ยนนะ ไม่ใช่ทางของพระพุทธเจ้า มันก็เป็นอรูปภูมิ เป็นภูมิอีกภูมิหนึ่ง เป็นภพอีกภพหนึ่งเท่านั้นเอง งั้นถ้าสติปัญญาเราพอนะ เรารู้เลยจิตมันแส่ส่ายออกทางตาหูจมูกลิ้นกายมีแต่ทุกข์ จิตไม่แส่ส่าย พอจิตไม่แส่ส่ายจิตก็หลุดออกจากกามภูมิ เข้ารูปภูมิหรืออรูปภูมิ เข้าเองเลย เพราะงั้นพวกเราหัดเจริญสติไปเรื่อย พอศีลสมาธิปัญญา สติสมาธิปัญญาแก่รอบนะ จิตจะหมดความหลงไหลรูปเสียงกลิ่นรสโผฏฐัพพะทั้งหลายมาดึงดูดจิตไหลไปไม่ได้แล้ว อย่างน้อยก็ชั่วขณะ ชั่วขณะเท่านั้นแหละ ถ้าจิตมันตั้งมั่นรู้ไหลออกไปแล้วทุกข์ ก็ตั้งเด่นดวงอยู่ จิตก็เข้าฌานอัตโนมัติ เพราะงั้นถึงเราจะเจริญสติเจริญปัญญาโดยเข้าฌานไม่เป็น ถึงนาทีสุดท้ายที่จะเกิดอริยมรรคอริยผลในทุกขั้นตอน ตั้งแต่โสดาปัตติมรรคจนถึงอรหัตมรรคเนี่ย จิตจะเข้าฌานของเค้าเอง ยกเว้นคนซึ่งเดินปัญญาอยู่ในฌาน เวลาที่จะเกิดอริยมรรคไม่ต้องถอยออกมาอยู่ในโลกก่อนนะ ไม่ต้องกลับมาอยู่กามภูมิก่อนนะ จิตเค้าจะตัดอยู่ข้างในได้เลย นี่เป็นพวกหนึ่ง แต่รวมความก็คืออริยมรรคไม่เกิดอยู่ในจิตที่อยู่ในกามอย่างพวกเรา อริยมรรคจะต้องเกิดอยู่ในรูปภูมิหรืออรูปภูมินะ จะเกิดอยู่ตรงนั้น ไปล้างกันตรงนั้น จิตจะเข้าฌานอัตโนมัติ พอจิตเข้าฌานแล้วคราวนี้สติระลึกรู้อยู่ที่จิตนะ ไม่ได้เจตนาระลึก มันรู้เอง เพราะมันไม่แส่ส่ายออกไปที่ตาหูจมูกลิ้นกายใจ ไม่แส่ส่ายไปในความคิด ก็หยุดลงที่จิตดวงเดียว สติหยั่งลงที่จิต จิตตั้งมั่นอยู่ที่จิต เพราะงั้นสมาธินี่เต็มสมบูรณ์แล้ว ตั้งมั่นอยู่ที่จิต สติสมบูรณ์แล้ว ระลึกอยู่ที่จิต ปัญญาสมบูรณ์แล้ว เห็นความเป็นจริงทุกสิ่งที่อย่างที่เคลื่อนไหวอยู่ในจิตนะ ตรงนี้แหละจิตจะไหวตัวขึ้นมาสองสามขณะ คือปรุงขึ้นมานะแต่ไม่รู้ว่าคิดอะไร ไม่รู้ว่าปรุงอะไร มีความปรุงแต่งเกิดขึ้นแต่ไม่รู้ว่าปรุงอะไร จะเห็นแต่ว่าสิ่งบางสิ่งเกิดขึ้นแล้วสิ่งนั้นดับไป จะเห็นอย่างนี้เอง เห็นเอง ถัดจากนั้นนะจิตจะรู้เลยมันไม่มีสาระอะไร จิตมันจืดนะ มันไม่เอาอีกแล้ว ก็แค่เห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้น พอเห็นความปรุงภายในจิตผุดขึ้นสองสามขณะ ความเห็นกลางอย่างแท้จริงเลย รู้อย่างเป็นกลางอย่างแท้จริงไม่ปรุงต่อนะ จิตจะวาง พอมันวางแล้วมันจะทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ วางจิตแล้วทวนกระแสเข้าหาธาตุรู้ ธาตุรู้ก็จิตนั่นแหละ มันเป็นจิตอีกอย่างหนึ่ง พอจิตดวงเก่ามันดับไป จิตที่อยู่ในภพภูมิต่างๆมันดับไป มันทวนกระแสเข้าหาจิตที่เหนือภพเหนือภูมิ ทวนกระแสเข้ามา ขณะที่มันปล่อยวางจิตดวงเดิมนะ แล้วก็ทวนเข้ามาแต่ยังไม่ถึงธาตุรู้นะ คาบลูกคาบดอก ไม่ได้เกาะขันธ์แล้วนะ แต่ก็ยังเข้ามาไม่ถึงตัวธาตุรู้ ไม่ถึงอมตะธาตุอมตะธรรม ไม่ถึงพระนิพพาน ธาตุรู้ไม่ใช่พระนิพพานนะ แต่ธาตุรู้ไปเห็นพระนิพพาน ต้องแยกให้ออก มันยังทวนไม่ถึงธาตุรู้ ไม่ใช่ปุถุชน ไม่ใช่พระอริยะ ทำไมไม่ใช่ปุถุชน เพราะมันปล่อยขันธ์แล้ว ขันธ์สุดท้ายที่มันปล่อยก็คือจิต ไม่ใช่พระอริยะ เพราะยังไม่เข้ามาถึงธาตุรู้ ไม่เข้าถึงพระนิพพาน ตัวธาตุรู้นั่นแหละเป็นตัวไปเห็นพระนิพพาน ตรงนี้นะเรียกว่าโคตรภูญาณ ญาณข้ามโคตร มีปัญญาข้ามโคตร ข้ามโคตรจากโคตรไหนมาสู่โคตรไหน? จากโคตรของปุถุชนมาสู่โคตรของอริยชน เพราะงั้นบรรลุมรรคผลแล้วเปลี่ยนโคตรนะ ข้ามจากสกุลของปุถุชน ข้ามมาสู่อริยวงศ์อริยโคตร เรียกญาณข้ามโคตร ไม่ใช่ปุถุชนนะ กำลังข้ามอยู่ ไม่ใช่พระอริยะ มีอยู่ขณะจิตเดียวแหละที่คาบลูกคาบดอกประหลาดอยู่อย่างนี้ ข้ามมา ทวนเข้ามาถึงจิตแท้ ถึงธาตุรู้แท้ๆ ธรรมธาตุ ตัวนี้อริยมรรคก็จะเกิดขึ้น อาสวกิเลสที่ห่อหุ้มจิตอยู่ถูกอริยมรรคแหวกออกทำลายออก ก็ล้างกิเลส ล้างในพริบตาเดียว ในขณะเดียว วับเดียวเลย ขาดเลย มันคล้ายๆเปิดสวิตซ์ไฟ ปั๊บ สว่างวุ๊บเดียวความมืดหายไปเลย ในพริบตานั้นเลย จากนั้นนะจะเห็นพระนิพพานอีกสองสามขณะ เห็นไม่เท่ากันหรอก บางคนเห็นสองขณะ บางคนเห็นสามขณะ ถ้าพวกอินทรีย์กล้ามากๆก็เห็นสามขณะ พวกอินทรีย์ยังไม่กล้ามากก็เห็นสองขณะนะ งั้นพระอริยะในภูมิธรรมอันเดียวกันระดับเดียวกัน ความรู้ความเข้าใจไม่เท่ากัน ความแตกฉานอะไรนี้ไม่เท่ากัน เห็นพระนิพพานแล้วก็รู้ว่านิพพานอยู่ต่อหน้าต่อตา นิพพานไม่เคยหายไปไหน อยู่ต่อหน้าต่อตานี่แหละ แต่โง่เองไม่เห็น ทำไมไม่เห็น? มัวแต่เห็นแต่กาม มัวแต่เห็นรูปภพ มัวแต่เห็นอรูปภพ จิตไม่รู้จักปล่อย ตรงที่เค้าปล่อยน่ะเค้าข้าม เค้าทิ้งแล้ว ตรงโคตรภูญาณที่จิตข้ามโคตร ข้ามจากปุถุชนมาเป็นพระอริยะ ข้ามตรงนี้มันทิ้งหมดเลยนะ มันทิ้งกามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ ทิ้งหมดเลย ข้ามมาสู่อริยภูมิ โลกุตรภูมิ ข้ามเอง พวกเราก็มีหน้าที่ภาวนาให้มันพอเท่านั้นแหละนะ ถ้ามันพอเมื่อไหร่มันก็ข้ามโคตรไป เปลี่ยนสกุลไม่ใช่นามสกุลเดิม โดยสมมุติบัญญัติก็เป็นนามสกุลเดิม โดยปรมัตถ์แท้ๆก็ไม่ใช่แล้ว ก็มาเป็นลูกพระพุทธเจ้า ..งั้นเราภาวนานะ ค่อยหัดไปเรื่อย ถึงวันหนึ่งเราก็คงได้รับผลประโยชน์จากการที่เราอดทนภาวนากันนะ สวนสันติธรรม วันศุกร์ ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๕๔
คาถาธรรมบทบาลีฮินดีมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น
กรรมฐาน 40 11 กายคตานุสสติกรรมฐาน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ "ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
กายคตาสติกรรมฐานการพิจารณาร่างกาย "ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙ "ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
วันพุธที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2557
คาถาธรรมบทบาลีฮินดี พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ๑๔. พุทธวรรค หมวดพระพุทธเจ้า ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องพระพุทธเจ้า พุทธภาวะ และคำสั่งสอน คำว่า พระพุทธเจ้า คือ ผู้ที่ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณด้วยพระองค์เอง และทรงสามารถสอนผู้อื่นให้รู้ตามได้ การอุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้า การอุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้าเป็นสิ่งที่หาได้ยากยิ่ง ดังที่ตรัสว่า “กิจฺโฉ พุทฺธานมุปฺปาโท” การที่พระพุทธเจ้าทั้งหลายทรงอุบัติขึ้น ยากยิ่งนัก ผู้ที่จะมาเกิดเป็นพระพุทธเจ้าได้นั้น ถ้าต้องการเกิดเป็นพระพุทธเจ้าผู้เลิศทางปัญญา (ปัญญาธิกะ) ต้องบำเพ็ญบารมี ๓๐ ประการ เป็นเวลานานถึง ๔ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป ถ้าต้องการเกิดเป็นพระพุทธเจ้าผู้เลิศทางศรัทธา (สัทธาธิกะ) ต้องบำเพ็ญบารมีเป็นเวลานานถึง ๘ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป ถ้าต้องการเกิดเป็นพระพุทธเจ้าผู้เลิศทางความเพียร (วิริยาธิกะ) ต้องบำเพ็ญบารมีเป็นเวลานานถึง ๑๖ อสงไขย ๑๐๐,๐๐๐ กัป (ดูเทียบกับ ขุ.อป. (แปล) ๓๒/๑-๘๒/๑-๑๒, วิสุทฺธิ. ๒/๔๙-๕๐) พุทธภาวะ คือ คุณสมบัติของพระพุทธเจ้า เช่น ทรงกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ไม่มีร่องรอย ทรงก้าวล่วงมารและเสนามาร สามารถแสดงอิทธิปาฏิหาริย์ได้ เช่น ยมกปาฏิหาริย์ (การแสดงปาฏิหาริย์เป็นคู่ เช่น เนรมิตสายน้ำกับสายไฟเป็นคู่ ๆ เนรมิตพระพุทธเจ้าเป็น ๒ องค์ ดู ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ ยมกปาฏิหาริยวัตถุ) ทรงเป็นสรณะอันเกษมสูงสุดของมนุษย์ เพราะทำให้ถึงความหลุดพ้นจากกองทุกข์ทั้งปวง หลักคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ทรงแสดงหลักคำสั่งสอนสำคัญของพระพุทธศาสนาไว้ในธรรมบทวรรคนี้ว่า สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธาน สาสนํ ฯเปฯ การไม่ทำบาปทั้งปวง การทำกุศลให้ถึงพร้อม การทำจิตของตนให้ผ่องแผ้ว นี้คือ คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ฯลฯอนึ่ง พระองค์ตรัสไว้ว่า บุญที่เกิดจากการบูชาพระพุทธเจ้าหรือพระสาวก ใคร ๆ ไม่สามารถนับได้ว่า เป็นบุญประมาณเท่าไร ๑๕. สุขวรรค หมวดความสุข ในวรรคนี้ ทรงสอนวิธีสร้างความสุขที่แท้จริงให้แก่ชีวิต โดยสรุป คือ ๑. ไม่ก่อเวร ๒. ไม่ทำตนให้เดือดร้อน ๓. กำจัดความกังวล ๔. ละความชนะและความพ่ายแพ้ ๕. แสวงหาความสงบกับนักปราชญ์ ๖. คบหาพระอริยะ อยู่ร่วม ๗. ไม่คบคนพาล ทรงชี้ให้เห็นว่า การแข่งดีมุ่งจะเอาชนะผู้อื่นทำให้ไม่มีความสุข ก่อให้เกิดภัยเวร ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทที่ว่า ชยํ เวรํ ปสวติ ทุกฺขํ เสติ ปราชิโต อุปสนฺโต สุขํ เสติ หิตฺวา ชยปราชยํ ฯ ผู้ชนะย่อมก่อเวร ผู้พ่ายแพ้ย่อมนอนเป็นทุกข์ ผู้ละทั้งความชนะและความพ่ายแพ้ได้แล้ว มีใจสงบ ย่อมนอนเป็นสุขธรรมบทที่แสดงถึงสิ่งสุดยอดต่าง ๆ ในวรรคนี้ คือ ยอดแห่งไฟ : นตฺถิ ราคสโม อคฺคิ ไฟเสมอด้วยราคะไม่มี ยอดแห่งโทษ : นตฺถิ โทสสโม กลิ โทษเสมอด้วยโทสะไม่มี ยอดแห่งทุกข์ : นตฺถิ ขนฺธสมา ทุกฺขา ทุกข์เสมอด้วยขันธ์ ๕ ไม่มี ยอดแห่งสุข : นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกว่าความสงบไม่มี ยอดแห่งโรค : ชิคจฺฉา ปรมา โรคา ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง ยอดแห่งทุกข์ : (อีกอย่างหนึ่ง) สงฺขารา ปรมา ทุกฺขา สังขารทั้งหลายเป็นทุกข์อย่างยิ่ง ยอดแห่งสุข : (อีกอย่างหนึ่ง) นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเป็นสุขอย่างยิ่ง ยอดแห่งลาภ : อาโรคฺยปรมา ลาภา ความไม่มีโรคเป็นลาภอย่างยิ่ง ยอดแห่งทรัพย์ : สนฺตุฏฺฐิ ปรมํ ธนํ ความสันโดษเป็นทรัพย์อย่างยิ่ง ยอดแห่งญาติ : วิสฺสาสา ปรมา ญาติ ความคุ้นเคยเป็นญาติอย่างยิ่ง ๑๖. ปิยวรรค หมวดสิ่งอันเป็นที่รัก ในวรรคนี้ ทรงสอนวิธีที่ควรปฏิบัติต่อสิ่งอันเป็นที่รัก คำว่า สิ่งอันเป็นที่รัก มี ๒ ประเภท คือ ๑. ทางโลก หมายถึง รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ(สิ่งที่มากระทบ) และธรรมารมณ์ ที่น่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ หรือหมายถึงกิเลสตัณหา ๒. ทางธรรม หมายถึง ศีล สมาธิ ปัญญา นิพพาน บุญกุศล วิธีปฏิบัติต่อสิ่งอันเป็นที่รัก สิ่งอันเป็นที่รักทางโลกเป็นเหตุให้เกิดความเศร้าโศกและภัยต่าง ๆ ผู้ปราศจาก สิ่งอันเป็นที่รักย่อมไม่มีความเศร้าโศกและภัย ฉะนั้น จึงควรหาทางหลุดพ้น หาทางกำจัดกิเลสตัณหาที่จะเกิดขึ้นจากสิ่งอันเป็นที่รักเหล่านั้น ดังที่ตรัสสอนไว้ว่า ปิยโต ชายตี โสโก ปิยโต ชายตี ภยํ ปิยโต วิปฺปมุตฺตสฺส นตฺถิ โสโก กุโต ภยํ ความโศกเกิดจากสิ่งเป็นที่รัก ภัยก็เกิดจากสิ่งเป็นที่รัก ผู้พ้นจากสิ่งเป้ฯที่รักได้เด็ดขาด ย่อมไม่มีความโศกและภัยจากที่ไหนเลยสิ่งอันเป็นที่รักในทางธรรม ทรงสอนให้บำเพ็ญศีล สมาธิ และปัญญา ผู้ประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้ ย่อมจะเป็นที่รักของทุกคน เมื่อจากโลกนี้ไปสู่โลกหน้าย่อมมีบุญคอยต้อนรับ ๑๗. โกธวรรค หมวดความโกรธ ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความโกรธ โทษแห่งความโกรธ วิธีละความโกรธ ประโยชน์ของการละความโกรธ วิธีละความโกรธ คือ ให้เห็นว่าเป็นโลกธรรม มีมานานแล้ว ทุกยุคทุกสมัย เช่น ความโกรธที่เกิดจากถูกนินทาว่าร้ายทรงสอนว่า “นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต” คนไม่ถูกนินทาไม่มีในโลกหน้าที่ของเราคือ สำรวมกาย วาจา ใจ ไม่ให้กำเริบ มีศีลมั่นคง ดำรงชีวิตให้ปราศจากข้อที่ควรตำหนิ ถ้ามีคนโกรธ พึงปฏิบัติตามธรรมบทที่ว่า อกฺโกเธน ชิเน โกธํ อสาธุ สาธุนา ชิเน ชิเน กทริยํ ทาเนน สจฺเจนาลิกวาทินํ บุคคลพึงชนะคนโกรธด้วยความไม่โกรธ พึงชนะคนไม่ดีด้วยความดี พึงชนะคนตระหนี่ด้วยการให้ พึงชนะคนพูดเหลาะแหละด้วยคำสัตย์ ๑๘. มลวรค หมวดมลทิน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องมลทิน คือ มลทินชองชีวิต ได้แก่ กิเลสและอกุศลกรรม มลทินของมนต์ ได้แก่ การไม่ท่องบ่น มลทินของบ้านเรือน ได้แก่ ความไม่ขยัน มลทินของผิวพรรณ ได้แก่ ความเกียจคร้านชำระร่างกาย มลทินของผู้รักษา ได้แก่ ความประมาท มลทินของคู่สามีภรรยา ได้แก่ การนอกใจกันมลทินดังกล่าวมานี้ ย่อมทำลายชีวิตของผู้ที่มีมลทิน เหมือนสนิมที่เกิดจากเหล็กก็กัดกินเหล็กนั้นนั่นเอง ผู้มีปัญญาควรกำจัดมลทินของตนทีละน้อย ทุกขณะ โดยลำดับ เหมือนช่างทองกำจัดสนิมทอง ๑๙. ธัมมัฏฐวรรค หมวดผู้ตั้งอยู่ในธรรม ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคุณธรรมที่ทำให้ชื่อว่าเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม โดยทรงแสดงไปตามหน้าที่ของแต่ละบุคคลที่ทรงตรัสถึง ดังนี้ คุณธรรมของผู้พิพากษา คือ วินิจฉัยคดี และสาเหตุแห่งคดี ทั้งฝ่ายที่เป็นจริง และไม่เป็นจริง วินิจฉัยโดยไม่ผลีผลาม เที่ยงธรรม (ถูกต้องตามหลักการ ไม่ลำเอียง) และโดยสม่ำเสมอ (เสมอภาคกับทุกคน ไม่เลือกที่รักมักที่ชัง) คุณธรรมของบัณฑิต คือ มีความเกษม ไม่มีเวร ไม่มีภัย คุณธรรมของผู้ทรงธรรม คือ บุคคลไม่ชื่อว่าผู้ทรงธรรม เพียงเพราะพูดมาก ส่วนผู้ใดได้สดับธรรมน้อย แต่พิจารณาเห็นธรรมด้วยนามกาย ทั้งไม่ประมาทธรรมนั้น ผู้นั้นชื่อว่าผู้ทรงธรรม คุณธรรมของพระเถระ คือ บุคคลไม่ชื่อว่าเป็นเถระ เพียงเพราะมีผมหงอก ผู้ที่แก่แต่วัยเท่านั้น เรียกว่าคนแก่เปล่า ส่วนผู้มีสัจจะ มีธรรม มีความไม่เบียดเบียน มีความสำรวม ฝึกตน ละมลทินได้ เป็นปราชญ์ ชื่อว่า เถระ พระบาลีว่า น เตน เถโร โหติ เยนสฺส ปลิตํสิโร ปริปกฺโก วโย ตสฺส โมฆชิณฺโณติ วุจฺจติ ฯเปฯ บุคคลไม่ชื่อว่าเป็นเถระเพียงเพราะมีผมหงอก ผู้ที่แแก่แต่วัยเท่านั้น เรียกว่าคนแก่เปล่า ส่วนผู้มีสัจจะมีธรรม มีอหิงสา สัญญมะ และทมะ คายมลทินได้แล้ว เป็นปราชญ์ ชื่อว่าเถระคุณธรรมของคนดี คือ ละความริษยาได้เด็ดขาด กำจัดโทษได้ มีปัญญา คุณธรรมของสมณะ คือ ผู้ที่ไม่มีวัตร พูดจาเหลาะแหละ แม้มีศีรษะโล้น ก็ไม่ชื่อว่า สมณะ เขาเต็มไปด้วยความปรารถนาและความอยากได้ จะเป็นสมณะได้อย่างไร ส่วนผู้ใดระงับบาปน้อยใหญ่ลงได้โดยสิ้นเชิง ผู้นั้น จึงเรียกว่า สมณะ คุณธรรมของภิกษุ คือ เป็นผู้ลอยบุญและบาปได้ ประพฤติพรหมจรรย์ มีปัญญา คุณธรรมของมุนี คือ บุคคลโง่เขลา ไม่รู้อะไร เพียงแต่นั่งนิ่ง ๆ หาชื่อว่ามุนีไม่ ส่วนบุคคลผู้ฉลาด เลือกชั่งเอาแต่สิ่งที่ดี ละทิ้งสิ่งที่ชั่ว เหมือนบุคคลชั่งสิ่งของ จึงจะชื่อว่า มุนี แท้ ผู้ที่รู้โลกทั้งสอง ก็เรียกว่า มุนี เช่นกัน คุณธรรมของผู้เป็นอริยะ คือ ไม่เบียดเบียนสัตว์ทั้งปวง ๒๐. มัคควรรค หมวดมรรค(ทาง) ในวรรคนี้ ทรงแสดงอริยมรรคมีองค์ ๘ ว่าเป็นทางอันประเสริฐที่สุด ทรงย้ำว่า “ทางเพื่อความหมดจดแห่งทรรศนะ คือทางนี้เท่านั้น มิใช่ทางอื่น เพราะเหตุนั้น เธอทั้งหลายจงดำเนินไปตามทางนี้แล เพราะทางนี้เป็นทางลวงมารให้หลง อนึ่ง เธอทั้งหลายดำเนินไปตามทางนี้แล้ว จักทำที่สุดแห่งทุกข์ได้ เรารู้วิธีถอนลูกศรคือกิเลสแล้ว จึงชี้บอกทางนี้แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายควรทำความเพียรเองเถิด ตถาคตเป็นเพียงผู้ชี้บอกเท่านั้น ผู้บำเพ็ญภาวนา ดำเนินตามทางนี้แล้ว เพ่งพินิจอยู่ จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมารได้”เหตุที่ทำให้ไม่พบทาง (อริยมรรค) คือ ไม่ขยัน เกียจคร้าน มีความคิดใฝ่ต่ำ ปราศจากความเพียร จึงไม่ประสบทางด้วยปัญญา (ปธานกัมมิกติสสเถรวัตถุ) วิธีที่จะทำให้พบทาง คือ รักษากาย วาจา สำรวมใจ และไม่พึงทำความชั่วทางกาย พึงชำระกรรมบถ(กาย วาจา ใจ) ทั้ง ๓ ทางนี้ ให้หมดจดจึงจะพบทางที่พระพุทธเจ้าประกาศไว้ (สูกรเปตวัตถุ) ทรงตักเตือนให้เตรียมทางว่า บุคคลเมื่อถึงคราวจะตาย บุตรทั้งหลายก็ต้านทานไม่ได้ บิดาก็ต้านทานไม่ได้ พวกพ้องก็ต้านทานไม่ได้ แม้ญาติพี่น้องก็ต้านทานไม่ได้ บัณฑิตผู้สำรวมในศีล รู้ความจริงนี้แล้ว พึงรีบเร่งชำระทางอันจะนำไปสู่นิพพาน ๒๑. ปกิณณกวรรค หมวดเบ็ดเตล็ด ในวรรคนี้ ทรงสอนหลักธรรมทั่วไป เช่น -ในเรื่องบุรพกรรมของพระองค์ ทรงสอนให้สละสุขเล็กน้อยเพื่อความสุขอันยิ่งใหญ่ -ในเรื่องกุมาริกากินไข่ไก่ ทรงสอนว่า ผู้หาความสุขจากความทุกข์ของผู้อื่น ไม่พ้นจากเวรไปได้ -ในเรื่องภิกษุโอรสของเจ้าวัชชี ผู้เห็นชาวเมืองจัดงานสมโภช คิดจะสึกไปครองเรือน ทรงสอนว่า การบวชเป็นของยาก ความยินดีในการบำเพ็ญธรรมก็เป็นของยาก เรือนที่ครอบครองไม่ดี ก่อให้เกิดทุกข์ การอยู่ร่วมกับคนเสมอกันเป็นทุกข์ การเดินทางไกล (คือ วัฏฏะ) ก็เป็นทุกข ์เพราะฉะนั้น บุคคลจึงไม่ควรเดินทางไกล และไม่ควรให้ทุกข์ติดตามได้-ในเรื่องจูฬสุภัททา ทรงเปรียบเทียบคนดีกับคนชั่วว่า สัตบุรุษย่อมปรากฏเด่นชัด เหมือนขุนเขาหิมพานต์ ส่วนอสัตบุรุษย่อมไม่ปรากฏ เหมือนลูกศรที่ยิงไปในเวลากลางคืน ๒๒. นิรยวรรค หมวดเรื่องนรก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องนรก ซึ่งเป็นสถานที่รองรับคนชั่ว รวมทั้งผู้ที่ต้องตกนรก ซึ่งเป็นผู้ที่ทำกรรมชั่วต่าง ๆ เช่น ๑. ชอบกล่าวคำไม่จริง ๒. ทำความชั่ว ซ้ำยังโกหกว่าไม่ได้ทำ ๓. เป็นภิกษุ แต่มีธรรมเลวทราม ไม่สำรวม ปฏิบัติไม่ดี ๔. ละอายในสิ่งที่ไม่ควรละอาย ไม่ละอายในสิ่งที่ควรละอาย กลัวในสิ่งที่ไม่ควรกลัว ไม่กลัวในสิ่งที่ควรกลัว เห็นสิ่งที่ไม่มีโทษว่ามีโทษ เห็นสิ่งที่มีโทษว่าไม่มีโทษ ผู้ที่ทำดีตรงกันข้ามกับความชั่วดังกล่าวมาแล้ว ย่อมไปสู่สวรรค์ แนวทางปฏิบัติในเรื่องความดีความชั่ว ตรัสสอนไว้ว่า อกตํ ทุกฺกตํ เสยฺโย ปจฺฉา ตปฺปติ ทุกฺกตํ กตญฺจ สุกตํ เสยฺโย ยํ กตฺวา นานุตปฺปติ ความชั่วไม่ทำเสียเลยดีกว่า เพราะระลึกถึงความชั่ว บุคคลย่อมเดือดร้อนในภายหลัง ส่วนความดีทำไว้เถิดดีกว่า เพราะทำแล้วระลึกถึงภายหลัง บุคคลย่อมไม่เดือดร้อน ๒๓. นาควรรค หมวดช้าง ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องการฝึกตนเปรียบเทียบกับการฝึกช้าง เนื่องจากช้างเป็นสัตว์สำคัญในการสงคราม การเดินทาง และเป็นสัตว์ที่ฝึกง่าย เมื่อได้รับการฝึกดีแล้ว ย่อมเป็นสัตว์ฉลาด มีความอดทนสูง ผู้ที่ฝึกตนได้แล้ว ประเสริฐกว่าช้างที่ฝึกแล้ว ครั้งหนึ่ง พระพุทธเจ้าถูกใส่ร้าย ถูกด่าว่าด้วยคำหยาบคาย ท่านพระอานนท์กราบทูลให้เสด็จไปเสียจากที่นั้น พระองค์ตรัสว่า อหํ นาโคว สงฺคาเม จาปาโต ปติตํ สรํ อติวากฺยนฺติติกฺขิสฺสํ ทุสฺสีโล หิ พหุชฺชโน เราจักอดกลั้นซึ่งคำล่วงเกิน ดุจช้างอดทนซึ่งลูกศร ที่ออกมาจากแล่งในสงคราม เพราะคนทุศีลมีมาก ผู้ที่ไม่ฝึกฝนตนพระองค์ได้ตรัสเปรียบเทียบกับหมู ดังนี้ มิทฺธี ยทา โหติ มหคฺฆโส จ นิทฺทายิตา สมฺปริวตฺตสายี มหาวราโหว นิวาปปุฏฺโฐ ปุนปฺปุนํ คพฺภมุเปติ มนฺโท เมื่อใด บุคคลผู้ถูกความง่วงเหงาครอบงำ บริโภคมาก ชอบแต่นอนกลิ้งเกลือกไปมา เมื่อนั้น เขาย่อมมีปัญญาเฉื่อยชา ชอบเข้าห้องเป็นอาจิณ เหมือนสุกรอ้วนที่เขาขุนด้วยเศษอาหาร ฉะนั้น วิธีฝึกตน จะแสดงพอเป็นแนวทาง คือ ๑. ให้ฝึกจิตที่ชอบฟุ้งซ่าน เหมือนควาญช้างปราบพยศช้างตกมัน ๒. ฝึกถอนตนออกจากหล่มคือกิเลส เหมือนช้างแก่จมโคลนถอนตัวขึ้นไม่ได้ พอได้ยินเสียงกลองรบก็สามารถถอนตัวขึ้นได้ เพราะเคยฝึกฝนและผ่านสนามรบมาแล้ว .๓. ฝึกคบกับสหายผู้มีปัญญา มีความประพฤติดี เป็นนักปราชญ์ ๔. ฝึกเป็นคนมีความสุข ตามวิธีต่าง ๆ ที่ตรัสไว้ว่า เมื่อมีกิจเกิดขึ้น สหายทั้งหลายนำสุขมาให้ ความยินดีด้วยปัจจัยตามมีตามได้ นำสุขมาให้ ในเวลาสิ้นชีวิต บุญนำสุขมาให้ การละทุกข์ได้ทั้งหมด นำสุขมาให้ ในโลก การเกื้อกูลมารดา นำสุขมาให้ การเกื้อกูลบิดา นำสุขมาให้ การเกื้อกูลสมณะ นำสุขมาให้ การเกื้อกูลท่านผู้ประเสริฐ นำสุขมาให้ ศีลนำสุขมาให้ตราบเท่าชรา ศรัทธาที่ตั้งมั่นแล้ว นำสุขมาให้ การไม่ทำบาปทั้งหลาย ก็นำสุขมาให้ ๒๔. ตัณหาวรรค หมวดตัณหา ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักตัณหา (ความทะยานอยาก) ๓ ประการ คือ (๑) กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม (๒) ภวตัณหา ความอยากเป็น (๓) วิภวตัณหา ความไม่อยากเป็น ตัณหา ๓ ประการนี้ เกิดขึ้นแก่คนที่ประมาท เหมือนเถาย่านทรายเจริญอยู่ในป่า และเกิดแก่ผู้ที่กำหนัดยินดีด้วยราคะ ดังที่ตรัสไว้ในเรื่องพระนางเขมาเถรีว่า “สัตว์ทั้งหลายผู้กำหนัดยินดีด้วยราคะ ย่อมตกไปสู่กระแสตัณหา เหมือนแมงมุมติดใยที่ตนถักไว้เอง” ผลจากการถูกตัณหาครอบงำ ผู้ที่ตกอยู่ใต้อำนาจของตัณหา มีลักษณะ คือ -เร่ร่อนไปมา เหมือนวานรที่ต้องการผลไม้เที่ยวเร่ร่อนไปมาในป่า -เกิดความเศร้าโศก เข้าถึงชาติชราร่ำไป เกิดความทุกข์ -เมื่อถูกตัณหาครอบงำ ย่อมสะดุ้ง ดิ้นรน เหมือนกระต่ายติดบ่วง วิธีกำจัดตัณหา คือ มีปัญญา เจริญฌาน ผลดีจากการกำจัดตัณหาได้ คือ -ทำให้ความโศกสิ้นไป เหมือนหยาดน้ำกลิ้งตกไปจากใบบัว -ละทุกข์ทั้งปวงได้ -ไม่ต้องเกิดอีกต่อไป -ทำให้สิ้นตัณหา ซึ่งเป็นการชนะทุกข์ทั้งปวง ดังที่ตรัสไว้ว่า สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ สพฺพํ รสํ ธมฺมรโส ชินาติ สพฺพํ รตึ ธมฺมรตี ชินาติ ตณฺหกฺขโย สพฺพทุกฺขํ ชินาติ การให้ธรรม ชนะการให้ทั้งปวง รสแห่งธรรม ชนะรสทั้งปวง ความยินดีในธรรม ชนะความยินดีทั้งปวง ความสิ้นตัณหา ชนะทุกข์ทั้งปวง -ทานที่ให้แก่คนที่ปราศจากราคะ โทสะ โมหะ และตัณหา มีผลมากกว่าทานที่ให้แก่คนที่มีกิเลสเหล่านั้น ๒๕. ภิกขุวรรค หมวดภิกษุ ในวรรคนี้ ทรงแสดงเรื่องภิกษุ ทรงสอนว่า สิ่งแรกที่ภิกษุผู้มีปัญญาในศาสนานี้ต้องกระทำคือ สำรวมอินทรีย์ มักน้อยสันโดษ ระมัดระวังในวินัยบัญญัติ คบกัลยาณมิตร ผู้ขยันขันแข็ง มีอาชีพสะอาด ทรงสอนไม่ให้เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลาย มุ่งเจริญกรรมฐาน ไม่ถือมั่นในรูป ไม่ประมาท รู้จักตักเตือนตนเอง รู้จักพึ่งตนเอง ดังพระอมตพจน์ที่ว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ อตฺตา หิ อตฺตโน คติ ตสฺมา สญฺญม อตฺตานํ อสฺสํ ภทฺรํว วาณิโช ฯ ตนแล เป็นที่พึ่งของตน ตนแล เป็นคติของตน เพาะฉะนั้น เธอจงสงวนตนให้ดี เหมือนพ่อค้าม้าสงวนม้าพันธุ์ดี ฉะนั้นทรงสอนให้พัฒนาปัญญาว่า นตฺถิ ฌานํ อปญฺญสฺส นตฺถิ ปญฺญา อฌายิโน ฯเปฯ ฌานย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีปัญญา ปัญญาก็ย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่มีฌาน ผู้ใดมีทั้งฌานและปัญญานั่นแล จึงนับว่าอยู่ใกล้นิพพาน ๒๖. พราหมณวรรค หมวดพราหมณ์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพราหมณ์ ตามพุทธทรรศนะ เดิมที คำว่า พราหมณ์ เป็นคำเรียกวรรณะพราหณ์ของชาวอินเดีย เมื่อพระพุทธเจ้าทรงอุบัติขึ้น พระองค์ทรงบัญญัติคุณสมบัติของพราหมณ์ใหม่ ซึ่งก็คือพระขีณาสพนั่นเอง คุณสมบัติของพราหมณ์หรือพระขีณาสพที่ทรงแสดงไว้ในวรรคนี้ เป็นคุณสมบัติและปฏิปทาของพระสาวกแต่ละท่าน เช่น ไม่มีกรรมชั่วทางกาย วาจา ใจ มีความสำรวมระวัง มีสัจจะ มีธรรม เป็นผู้สะอาด ทรงแสดงเพื่อให้เป็นเยี่ยงอย่างในการนำไปปฏิบัติ มีจำนวนพระสูตรถึง ๓๑ สูตร ธรรมบทที่นำมากล่าวไว้นี้ ถ้าหากอ่านด้วยความพิจารณาแล้ว แม้บทเดียวก็ให้ประโยชน์มหาศาล คงพอจะเป็นแนวทางในการนำไปปฏิบัติแก่ท่านที่สนใจ ก่อนจบ ขอฝากธรรมบทบทหนึ่งไว้เตือนใจผู้อ่านว่า วาจาสุภาษิต ย่อมไม่มีผลแก่ผู้ไม่ทำตาม เหมือนดอกไม้งาม มีสีสวย (แต่) ไม่มีกลิ่น วาจาสุภาษิต ย่อมมีผลแก่ผู้ทำตามด้วยดี เหมือนดอกไม้งาม มีทั้งสีและกลิ่น (มีสีสวยกลิ่นหอม) ฉะนั้น ฯ บรรณานุกรม มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๙. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, มหาวิทยาลัย. พระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย, ๒๕๓๐. คณะกรรมการแผนกตำรา. มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระธัมมปทัฏฐกถาแปลภาค ๑-๘. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฏ ราชวิทยาลัย, ๒๕๒๘. เสฐียรพงษ์ วรรณปก. พุทธวจนะในธรรมบท. กรุงเทพฯ : อมรินทร์ปรินท์ติ้ง จำกัด, ๒๕๓๑. สหภูมิสงฆ์พิจิตร, คาถาพระธรรมบทคำกลอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, ๒๕๓๑. อักษรย่อชื่อคัมภีร์ ม.ม. มัชฌิมนิกาย มัชฌินปัณณาสก์ สํ.ม. สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ขุ.ธ.อ. ขุททกนิกาย ธัมมปทัฏฐกถา วิสุทฺธิ. วิสุทฺธิมคฺค
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
คาถาธรรมบท ภาษาไทย ฉบับสมบูรณ์พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบท พระมหาสุเทพ อคฺคเมธี เก็บเพชรจากคัมภีร์พระไตรปิฎก โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร 2542 หน้า 165 - 196 ธรรมบท เป็นชื่อของคัมภีร์หนึ่ง ในจำนวน ๑๕ คัมภีร์ ของพระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ คำว่า ธรรมบท แปลว่า บทแห่งธรรม คัมภีร์ธรรมบทจึงเป็นคัมภีร์รวบรวมบทธรรมต่าง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสเป็นพุทธภาษิตแก่บุคคลต่าง ๆ ต่างกรรม ต่างวาระ ต่างสถานที่ เป็นบทธรรมสั้น ๆ ในรูปคาถา ประพันธ์เป็นบทร้อยกรองหรือบทกวี ตามหลักฉันทลักษณศาสตร์ ผู้อ่านสามารถจดจำได้ง่าย และมีความไพเราะลึกซึ้งมาก ที่สำคัญคือ ธรรมบทแต่ละบทล้วนเป็นสัจจธรรม และถือว่าเป็นอมตวาจาของพระพุทธเจ้าเลยทีเดียว นัยว่า บรรดาคัมภีร์ในพระไตรปิฎก คัมภีร์ธรรมบทเป็นคัมภีร์ที่มีการแปลเป็นภาษาต่าง ๆ มากที่สุด ธรรมบทจึงเป็นเพชรงามน้ำเอกชั้นเยี่ยมที่ควรค่าแก่การศึกษาเป็นอย่างยิ่ง การศึกษาธรรมบท ควรศึกษาหนังสืออธิบายธรรมบทด้วย ซึ่งเรียกว่า อรรถกถาธรรมบท เป็นหนังสือที่พระภิกษุสามเณรผู้เริ่มต้นเรียนภาษาบาลี จะต้องแปลให้ได้ เพราะเป็นหลักสูตรการศึกษาภาษาบาลีของพระภิกษุสามเณรในปัจจุบัน ในธรรมบทนี้ มีบทธรรม ๔๒๓ บท โดยนับตามจำนวนคาถา ถ้านับเป็นเรื่อง ๆ ที่พระพุทธเจ้าตรัสถึงมีจำนวนมากถึง ๓๐๒ เรื่อง เรื่องเหล่านี้ท่านจัดรวมกันเป็นหมวด เรียกว่า วรรค มีจำนวน ๒๖ วรรค ในแต่ละวรรคมีหัวข้อธรรมอยู่เป็นจำนวนมาก หัวข้อธรรมเหล่านี้เป็นพุทธวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงใช้สอนบุคคลต่าง ๆ ในต่างสถานที่ ต่างเวลา จะขอหยิบยกมาอธิบายเป็นตัวอย่างเป็นบางบทเท่านั้น แต่พึงทราบว่า ธรรมบทนั้นมีความสำคัญทุกบท หากได้นำมาเป็นแนวทางในการทำความดีก็จะได้รับประโยชน์สมดังปรารถนาทุกประการ พุทธวิธีในการสอนตามแนวธรรมบทแต่ละวรรคนั้น ดังนี้ ๑. ยมกวรรค หมวดธรรมที่เป็นคู่ ในวรรคนี้ พระพุทธองค์ตรัสสอนธรรมเป็นคู่ ๆ เช่น เรื่องคนใจดีกับคนใจชั่ว เรื่องผู้ผูกเวรกับผู้ไม่ผูกเวร เรื่องความสามัคคีกับความแตกสามัคคี ทรงชี้ให้เห็นคุณของธรรมฝ่ายดี และชี้ให้เห็นโทษของธรรมฝ่ายชั่ว พร้อมทั้งแนวทางในการทำดีละเว้นชั่ว เช่น ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดชั่วว่า มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฐา มโนมยา มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ จกฺกํ ว วหโต ปทํ ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ เหมือนล้อหมุนตามรอยเท้าโคที่ลากเกวียนไป ฉะนั้น ถ้าคนมีใจชั่ว ก็พูดชั่วหรือทำชั่วตามไปด้วย เพราะความชั่วนั้น ทุกข์ย่อมติดตามเขาไป ในทางตรงกันข้ามก็ทรงสอนให้เห็นผลของการมีความคิดดีว่า มโน ปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา มนสา เจ ปสนฺเนน ภาสติ วา กโรติ วา ตโต นํ สุขมนฺเวติ ฉายา ว อนุปายินี ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ ถ้าคนมีใจดี ก็จะพูดดีหรือทำดีตามไปด้วย เพราะความดีนั้น สุขย่อมติดตามเขาไป เหมือนเงาติดตามตัวเขาไป ฉะนั้น ทรงสอนให้รู้จักเปรียบเทียบระหว่างผลของความดีกับผลของความชั่ว แล้วเลือกปฏิบัติตามธรรมที่คิดว่าจะทำให้ได้รับผลดีที่สุด อนึ่ง การที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมบทแต่ละบทนั้น ล้วนแต่มีที่มาหรือสาเหตุทั้งนั้น แต่ในคัมภีร์ธรรมบทจริง ๆ จะไม่ปรากฏที่มาของเรื่อง จะปรากฏเพียงคาถาสุภาษิตเท่านั้น หากต้องการทราบรายละเอียดความเป็นมา ควรศึกษาจากอรรถกถา จะยกตัวอย่างธรรมบทอีกบทหนึ่งซึ่งเป็นที่มาของสุภาษิตไทยที่ว่า “เวรไม่ระงับด้วยการจองเวร” คือ น หิ เวเรน เวรานิ สมฺมนฺตีธ กุทาจนํ อเวเรน จ สมฺมนฺติ เอส ธมฺโม สนนฺตโน เพราะว่า ในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า ถ้าเราได้อ่านอรรถกถา ก็จะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น เพราะท่านได้เล่าเรื่องประกอบพุทธภาษิตนี้ไว้ด้วย อ่านแล้วสนุกมากเช่นเรื่องที่เป็นเหตุให้ตรัสธรรมบทบทนี้ ดังจะนำมาเล่าไว้โดยย่อเพื่อเป็นตัวอย่าง ต่อไปนี้ กำเนิดยักษิณี มีบุตรของผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง หลังจากที่พ่อตายแล้ว ต้องทำงานคนเดียว มารดาสงสารจึงคิดจะหาหญิงสาวมาเป็นภรรยาให้ แม้เขาจะปฏิเสธอย่างไรมารดาก็ไม่ยอม ในที่สุด จึงต้องแต่งงานกับหญิงคนหนึ่ง บังเอิญหญิงที่เขาแต่งงานด้วยเป็นหมัน มารดากลัวว่าจะไม่มีใครสืบต่อวงศ์ตระกูล จึงบอกว่าจะหาหญิงสาวคนอื่นมาให้ใหม่ ขณะนั้น หญิงหมันได้ยินคำนั้นจึงเกิดความกลัวขึ้นว่า “ถ้าสามีมีภรรยาใหม่และมีลูกให้เขา ภรรยาใหม่จะต้องใช้เราอย่างทาสเป็นแน่ เราควรจะหาสาวน้อยสักคนหนึ่งมาเสียเองจะดีกว่า” เมื่อคิดได้ดังนั้น จึงไปขอสาวน้อยคนหนึ่งมาเป็นภรรยาของสามี ต่อมา หญิงหมันกลัวว่า ถ้าภรรยาน้อยมีบุตรจะต้องเป็นเจ้าของทรัพย์ของสามี (ตามธรรมเนียม) จึงคิดหาอุบายที่จะไม่ให้ภรรยาน้อยมีบุตร วันหนึ่ง จึงไปบอกภรรยาน้อยว่าถ้าตั้งครรภ์เมื่อไรก็ให้บอก พอภรรยาน้อยตั้งครรภ์ก็ได้บอกแก่นาง ตอนแรก หญิงหมันก็ทำทีเป็นใจดี โดยการนำข้าวน้ำมาเลี้ยงดูอย่างดี พอภรรยาน้อยตายใจก็แอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ในที่สุดครรภ์ก็แท้ง ครั้งที่ ๒ ครรภ์ก็แท้งอีก พวกเพื่อน ๆ ของภรรยาน้อยจึงถามว่าเกิดอะไรขึ้น เมื่อทราบเรื่องว่าทุกครั้งที่ตั้งครรภ์จะต้องบอกให้หญิงหมันรู้ ทุกคนก็รู้ทันทีว่าหญิงหมันผสมยาทำแท้งให้นางกิน ครั้งต่อไปจึงห้ามมิให้บอกเรื่องตั้งครรภ์แก่หญิงหมัน ครั้งที่ ๓ หญิงหมันถามอย่างไร ภรรยาน้อยก็ไม่บอก เมื่อครรภ์แก่ขึ้น ๆ หญิงหมันได้โอกาสจึงแอบผสมยาทำแท้งลงไปในอาหาร ภรรยาน้อยซึ่งมีครรภ์แก่กินเข้า ครรภ์ก็แท้งอีก แต่ครั้งนี้ เนื่องจากครรภ์แก่ทำให้นางได้รับทุกข์ทรมานแสนสาหัส และถึงแก่ความตายในที่สุด ก่อนตายนางผูกอาฆาตว่า “เจ้าทำให้ลูกข้าตายถึง ๓ คน ครั้งนี้ข้าเองต้องตาย เกิดชาติหน้า ขอให้ข้าเกิดเป็นนางยักษิณี ได้เคี้ยวกินลูกของเจ้า” ผูกอาฆาตจองเวรเสร็จนางก็ตายไปเกิดเป็นแมวที่บ้านหลังนั้นนั่นเอง ฝ่ายสามีทราบเรื่องเข้าก็โกรธจัด จึงทุบตีหญิงหมันลงศอกตอกเข่าจนหญิงหมันตายคาที่ และได้เกิดเป็นแม่ไก่ในเรือนนั้นเหมือนกัน ผลัดกันจองเวรคนละชาติ แม่ไก่ตกฟองทีไร แมวก็ดอดมากินเกลี้ยงถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่ไก่ด้วย แม่ไก่จึงจองเวรว่า “ตายแล้วขอให้ข้าได้กินลูกของเจ้า” พอตายไปก็ไปเกิดเป็นแม่เสือ ฝ่ายแมวได้ไปเกิดเป็นแม่เนื้อ พอแม่เนื้อคลอดลูก แม่เสือก็แอบมากินถึง ๓ ครั้ง ครั้งสุดท้ายกินแม่เนื้อด้วย แม่เนื้อจึงจองเวรว่า “ตายไปขอให้ได้กินลูกของมันบ้าง” แล้วตายไปเกิดเป็นนางยักษิณี ฝ่ายแม่เสือได้ไปเกิดเป็นกุลธิดาในเมืองสาวัตถี ต่อมานางได้สามี ขณะคลอดบุตรอยู่ในห้อง นางยักษิณีได้แปลงร่างเป็นเพื่อนรักของนางเข้าไปในห้องแล้วจับเด็กกินถึง ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๓ นางได้หนีไปคลอดบุตรที่อื่น ขากลับได้เดินผ่านมาทางวิหารที่พระพุทธเจ้าประทับอยู่ ฝ่ายนางยักษิณีก็ตามจองล้างจองผลาญมาถึงวิหารนั้นพอดี แต่เข้าวิหารไม่ได้เพราะมีเทวดาคอยรักษาอยู่ พระพุทธเจ้าจึงให้ท่านพระอานนท์ ไปเรียกนางยักษิณีมาแล้วตรัสสอนไม่ให้ผูกเวรกัน เป็นคาถาหรือบทกวี ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้นว่า เวรทั้งหลายย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร (ขุ.ธ.อ. ภาค ๒ กาลียักขินีวัตถุ) ๒. อัปปมาทวรรค หมวดความไม่ประมาท ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ทำความดีตามแนวอัปปมาทธรรม คือ ความไม่ประมาท ความไม่ประมาทนี้ถือว่าเป็นยอดแห่งธรรม เพราะธรรมทั้งหมดรวมลงในความไม่ประมาท เหมือนรอยเท้าของสัตว์ทุกชนิดรวมลงในรอยเท้าช้าง หน้าที่ที่ควรปฏิบัติต่อความไม่ประมาท คือ รักษาความไม่ประมาทไว้ เหมือนคนรักษาทรัพย์อันประเสริฐไว้ แต่การจะรักษาความไม่ประมาทได้นั้น จะต้องอาศัยปัญญาจึงจะรักษาไว้ได้ ผลจากการไม่ประมาท ผู้ปฏิบัติตามความไม่ประมาทนั้น จะได้รับผลดีมากมาย เช่น -พระจูฬปันถกท่องหนังสือเพียง ๔ บรรทัดไม่ได้ เมื่อไม่ประมาทก็บรรลุอรหัตตผล พร้อมกับปฏิสัมภิทา มีมโนมยิทธิ (ฤทธิ์ทางใจ) สามารถเนรมิตกายได้เป็น ๑,๐๐๐ องค์ -ในเรื่องภิกษุสองสหาย คือ รูปหนึ่งขยันไม่ประมาท อีกรูปหนึ่งประมาท ทรงเปรียบเทียบไว้อย่างยอดเยี่ยมว่า ผู้มีปัญญาดี เป็นผู้ไม่ประมาท ในเมื่อผู้อื่นประมาท เป็นผู้ตื่นอยู่โดยมาก ในเมื่อผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้งคนมีปัญญาทรามไปไกล เหมือนม้าฝีเท้าจัด วิ่งละทิ้งม้าที่หมดแรงไไว้ ฉะนั้น ความไม่ประมาทย่อมให้ผลไปจนตาย เช่น ครั้งหนึ่ง พระนางสามาวดี พระชายาของพระเจ้าอุเทน พระนางเลื่อมใสในพระพุทธเจ้ามาก ต่อมา ถูกพระนางมาคันธิยาพระชายาอีกองค์หนึ่งของพระเจ้าอุเทนสั่งให้จุดไฟเผาตายทั้งเป็นพร้อมกับบริวารอีก ๕๐๐ นาง การตายของพระนางทำให้พระราชาทรงโทมนัสยิ่งนัก ทรงกริ้วมาก จึงรับสั่งให้จับพระนางมาคันธิยาเผาไฟตายทั้งเป็นเช่นเดียวกัน เนื่องจากพระนางสามาวดีเป็นพระโสดาบัน ผู้เข้าถึงกระแสนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นผู้ไม่ประมาท พระพุทธเจ้าทรงปรารภเรื่องนี้จึงได้ตรัสพระคาถาธรรมบทเพื่อเป็นคติสอนใจว่า อปฺปมาโท อมตํ ปทํ ปมาโท มจฺจุโน ปท อปฺปมตฺตา น มียนฺติ เย ปมตฺตา ยถา มตา ฯเปฯ ความไม่ประมาทเป็นทางแห่งอมตะ (ความไม่ตาย) ความประมาทเป็นทางแห่งความตาย คนผู้ไม่ประมาท ชื่อว่าย่อมไม่ตาย คนผู้ประมาท จึงเหมือนคนตายแล้ว ฯลฯ ๓. จิตตวรรค หมวดจิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้ปฏิบัติโดยการควบคุมจิต เพราะธรรมชาติของจิตคือ ดิ้นรน กวัดแกว่ง รักษายาก ห้ามยากต้องควบคุมให้ตรง เหมือนช่างศรดัดลูกศรให้ตรง จิตนี้มักดิ้นรนไปมาเหมือนปลาที่ถูกจับขึ้นมาไว้บนบก เปลี่ยนแปลงได้ง่าย เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ (คือกาย) วิธีฝึกจิต คือ ต้องมีปัญญา กำจัดราคะ โทสะ มีสติ ในอรรถกถากล่าวว่า ต้องฝึกด้วยอริยมรรค ๔ คือ โสดาปัตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตตมรรค (ขุ.ธ.อ. ๒/๑๐๘) พระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า การฝึกจิตเป็นการทำความดีประการหนึ่ง ผลดีจากการฝึกจิต การฝึกจิตทำให้ได้รับผลมากมาย ดังที่ตรัสไว้ในหลายแห่ง เช่น จิตที่ฝึกแล้วนำสุขมาให้ทูรํคมํ เอกจรํ อสรีรํ คุหาสยํ เย จิตฺตํ สญฺญเมสฺสนฺติ โมกฺขนฺติ มารพนฺธนา คนเหล่าใดสำรวมจิต ที่เที่ยวไปไกล เที่ยวไปดวงเดียว ไม่มีรูปร่าง อาศัยอยู่ในถ้ำ คนเหล่านั้น จักพ้นจากเครื่องผูกแห่งมาร น ตํ มาตา ปิตา กยิรา อญฺเญ วาปิ จ ญาตกา สมฺมาปณิหิตํ จิตฺตํ เสยฺยโส นํ ตโต กเร จิตที่ตั้งไว้ชอบ ย่อมอำนวยให้ได้ผลที่ประเสริฐยิ่ง ที่มารดาบิดาก็ทำให้ไม่ได้ หรือแม้ญาติเหล่าอื่นก็ทำให้ไม่ได้ ผลร้ายจากการไม่ฝึกจิต การปล่อยจิตให้เป็นไปตามธรรมชาติ ย่อมให้ผลร้ายมากกว่าผลดี เพราะจิตมักจะใฝ่หาแต่อารมณ์ที่น่าปรารถนา และห้ามได้ยาก การปล่อยจิตเช่นนี้จึงให้ผลร้ายต่าง ๆ ดังที่ตรัสไว้ในธรรมบทว่า ผู้มีจิตไม่มั่นคง ไม่รู้แจ้งสัทธรรม มีความเลื่อมใสเลื่อนลอย ย่อมไม่มีปัญญาสมบูรณ์ จิตที่ตั้งไว้ผิด พึงทำให้ได้รับความเสียหาย ยิ่งกว่าความเสียหาย ที่โจรเห็นโจร หรือผู้จองเวรเห็นผู้จองเวร จะพึงทำให้แก่กัน ๔. ปุปผวรรค หมวดดอกไม้ ในวรรคนี้ ทรงสอนธรรมโดยเปรียบเทียบกับสิ่งธรรมชาติ คือ ดอกไม้ ทรงเปรียบเทียบดอกไม้กับกิเลสบ้าง เปรียบเทียบอาการเก็บดอกไม้กับอาการในการปฏิบัติธรรมบ้าง ธรรมบทแต่ละบทสามารถนำมาเป็นแนวทางในการทำความดีได้อย่างชัดเจน เช่น ทรงสอนว่า -ให้เลือกบทธรรมที่ทรงแสดงไว้ดีแล้ว เหมือนช่างดอกไม้ผู้ชาญฉลาดเลือกเก็บดอกไม้ -ตัดพวงดอกไม้ของมารได้แล้ว ก็จะไปถึงสถานที่ที่มัจจุราชหาไม่พบ -มฤตยูย่อมฉุดคร่านรชน ผู้มีใจติดข้องอยู่ในอารมณ์ต่าง ๆ ผู้มัวแต่เลือกเก็บดอกไม้ (คือกามคุณ) เหมือนห้วงน้ำใหญ่พัดพาเอาชาวบ้านที่หลับไหลไป ฉะนั้น บางบท ทรงสอนให้ภิกษุรู้จักประมาณในการขอ เพราะคนที่จะให้ทาน บางคนก็เป็นคนตระหนี่ ไม่ควรทำให้เขารำคาญ โดยทรงเปรียบเทียบกับแมลงภู่ว่า ภมรไม่ทำลายดอก สี และกลิ่น ดูดแต่น้ำหวานแล้วบินไป ฉันใด มุนีพึงเที่ยวไปในหมู่บ้าน ฉันนั้นทรงสอนให้ทำความดีให้มาก เหมือนช่างดอกไม้ร้อยพวงมาลัย และทรงแนะนำให้รักษาศีล เพราะกลิ่นแห่งศีลหอมยิ่งกว่ากลิ่นดอกไม้หรือกลิ่นต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น กลิ่นจันทน์ กลิ่นกฤษณา กลิ่นดอกอุบล และกลิ่นดอกมะลิ ถ้าได้อ่านพระไตรปิฎกเล่ม ๑๙ (สํ.ม. (แปล) ๑๙/๑๔๑-๑๔๕/๗๕-๗๖) ก็จะพบว่ากลิ่นจันทน์เป็นต้นล้วนเป็นสุดยอดแห่งกลิ่นหอมทั้งปวง แต่ในธรรมบทนี้ พระองค์ตรัสว่า เป็นกลิ่นหอมเพียงเล็กน้อย เมื่อเทียบกับกลิ่นศีล ๕. พาลวรรค หมวดคนพาล ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องคนพาล คือ คนโง่ ไม่มีปัญญา ไม่รู้จักประโยชน์ในโลกนี้และประโยชน์ในโลกหน้า ไม่รู้จักพระสัทธรรม ทรงเน้นให้เห็นโทษของความเป็นคนพาล และวิธีปฏิบัติต่อคนพาล ทรงเปรียบเทียบระหว่างคนพาลกับบัณฑิต ผู้ประสงค์จะทำความดีตามแนวทางในธรรมบทวรรคนี้ คงจะต้องตรวจสอบว่า เรามีลักษณะของคนพาลอยู่หรือไม่ ถ้าเรามีลักษณะดังกล่าวนั้นก็ต้องรีบแก้ไข จะทำให้เราเป็นบัณฑิตได้บ้าง ดังที่ตรัสไว้บทหนึ่งว่า คนพาลที่รู้ตัวว่าเป็นคนพาล ยังเป็นบัณฑิตได้บ้าง แต่คนพาลที่สำคัญตนว่าเป็นบัณฑิต นั่นแหละ เรียกว่า คนพาลแท้คำว่า พาล ในที่นี้ มิใช่เฉพาะคนทั่วไปเท่านั้น แม้แต่พระภิกษุ ถ้าปฏิบัติตนไม่ดีก็เป็นคนพาลเช่นกัน ครั้งหนึ่ง ทรงตักเตือนเจ้าอาวาสบางรูปที่ประพฤติไม่เหมาะสม ไม่ให้ระเริงหลงในอำนาจของตนเองจนเกิดความถือตัวว่าดีกว่าคนอื่น ดังความว่า ภิกษุพาล ปรารถนาการยกย่องที่ตนไม่มี ปรารถนาให้ภิกษุทั้งหลายตามแวดล้อมตน ปรารถนาความเป็นใหญ่ในอาวาส และปรารถนาเครื่องบูชาจากชาวบ้านทั้งหลาย ภิกษุพาลเกิดความดำริว่า “ขอให้คฤหัสถ์และบรรพชิตทั้ง ๒ ฝ่าย จงเข้าใจว่า เราผู้เดียวทำกิจนี้ได้ เราผู้เดียวพึงมีอำนาจในการงาน ไม่ว่ากิจการใหญ่หรือเล็ก” ความริษยา และความถือตัว จึงเกิดพอกพูนขึ้นโทษของความเป็นคนพาล คนพาลแม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตชั่วชีวิต ก็ไม่รู้แจ้งธรรม เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง วิญญูชน แม้จะอยู่ใกล้บัณฑิตเพียงชั่วครู่ ก็รู้แจ้งธรรมได้ฉับพลัน เหมือนลิ้นรู้รสแกง ท่าทีที่ควรปฏิบัติต่อคนพาล ทรงสอนให้หลบหลีกคนพาล โดยตรัสว่า หากบุคคลเที่ยวหาคนที่ดีกว่าตนหรือเสมอกับตนไม่ได้ ก็ควรถือการเที่ยวไปคนเดียวให้มั่นคง เพราะจะหาความเป็นเพื่อนในคนพาลไม่ได้เลย (นตฺถิ พาเล สหายตา) ๖. ปัณฑิตวรรค หมวดบัณฑิต ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เป็นบัณฑิต ให้คบบัณฑิต คำว่า บัณฑิต หมายถึง ผู้ปฏิบัติตามธรรมคือกุศลกรรมบถ ๑๐ประการ โดยสรุปก็คือ ผู้คิดดี ทำดี พูดดี ถ้าพบบัณฑิตเช่นนี้ ให้คบท่านไว้ ก็จะมีแต่ความเจริญ ไม่มีเสื่อมเลย ถึงแม้ท่านจะชี้โทษ ก็ให้ถือว่าท่านเป็นผู้ชี้ขุมทรัพย์ วิธีทำตนให้เป็นบัณฑิต การที่จะเป็นบัณฑิตได้นั้น ทรงแนะนำให้ฝึกฝนตนเอง ดังธรรมบทที่ว่า คนไขน้ำ ย่อมไขน้ำ ช่างศร ย่อมดัดลูกศร ช่างไม้ ย่อมถากไม้ บัณฑิต ย่อมฝึกตน มีผู้แต่งเป็นบทกวีไว้น่าฟังว่า ช่างเหมืองย่อม ทดน้ำ ทำระหัด ช่างศรดัด ลูกธนู ให้อยู่ที่ ช่างถากแต่ง ตัวไม้ ให้รูปดี ท่านผู้มีวัตรงาม ปราบปรามตนนอกจากนี้ ทรงแสดงลักษณะของบัณฑิตว่า ต้องไม่ทำบาปเพราะตนหรือเพราะบุคคลอื่น ไม่หาทรัพย์โดยทางมิชอบ แต่ให้มีศีล มีปัญญา ยึดมั่นอยู่ในธรรม เป็นต้น ๗. อรหันตวรรค หมวดพระอรหันต์ ในวรรคนี้ ทรงแสดงคุณสมบัติของพระอรหันต์ ซึ่งควรถือเป็นเยี่ยงอย่างที่ดีและควรปฏิบัติตามแนวทางของท่านคุณสมบัติของพระอรหันต์ในที่นี้ คือ ไม่มีความเร่าร้อนกระวนกระวาย ไม่ติดอาลัย บรรลุนิพพาน เป็นที่รักของเทวดาและมนุษย์ เป็นผู้ไม่หวั่นไหวในอารมณ์ที่น่าปรารถนาหรือไม่น่าปรารถนา จะอยู่ ณ สถานที่ใด ๆ จะเป็นบ้านหรือป่าก็ตาม สถานที่นั้น ๆ ย่อมเป็นที่รื่นรมย์ เพราะท่านไม่แสวงหากามอีกต่อไป ๘. สหัสสวรรค หมวดหนึ่งในร้อยในพัน ในวรรคนี้ ทรงสอนให้เราทราบว่า อะไรคือสาระของชีวิต อะไรคือความไร้สาระของชีวิต การกระทำอย่างไรมีสาระ อย่างไรไร้สาระ ทรงเปรียบเทียบชีวิตหรือการกระทำที่มีสาระจำนวน ๑ ว่ามีคุณค่ามากว่าชีวิตหรือการกระทำที่ไร้สาระจำนวน ๑,๐๐๐ มีเรื่องเล่าว่า ชายคนหนึ่งรับหน้าที่เป็นเพชฌฆาต ฉายา “เพชฌฆาตเคราแดง” เขาทำหน้าที่ตัดหัวโจรและคนทำผิดเป็นจำนวนมาก นานถึง ๕๕ ปี ต่อมา ในวัยแก่ เขาหมดแรง ไม่สามารถตัดหัวให้ขาดได้ภายในดาบเดียว ต้องตัดถึง ๒-๓ครั้ง ทำให้คนที่ถูกตัดหัวทรมานมาก จึงถูกปลดออกจากตำแหน่ง วันที่ถูกปลดมีการฉลอง มีการเตรียมอาหารอย่างดีให้เขาขณะที่เขาจะลงมือรับประทาน สายตาก็เหลือบไปเห็นท่านพระสารีบุตรเดินบิณฑบาตมาพอดี จึงเกิดความเลื่อมใสนำอาหารมาตักบาตรท่าน พระเถระก็อนุโมทนา แต่เขาไม่เข้าใจเพราะมัวแต่นึกถึงบาปกรรมที่ทำไว้ พระเถระจึงพูดให้เขาเข้าใจว่า การกระทำตามหน้าที่ไม่มีบาป เขาก็นึกว่าจริง พอได้ฟังธรรมอีกนิดหน่อยก็เข้าใจธรรม หลังจากพระเถระกลับไปไม่นาน เขาถูกวัวขวิดตาย ได้ไปเกิดเป็นเทวดาอยู่บนสวรรค์ชั้นดุสิต ภิกษุหลายรูปทราบเรื่องนี้จากพระพุทธองค์ ต่างก็เกิดความสงสัยว่าเป็นไปได้อย่างไร ที่คนทำชั่วมานานป่านนี้กลับได้ดี พระพุทธองค์จึงตรัสธรรมบทว่า คำพูดที่มีประโยชน์คำเดียว ที่คนฟังแล้วสงบระงับได้ ย่อมดีกว่าคำพูดที่ไร้ประโยชน์ตั้ง ๑,๐๐๐ คำ อีกบทหนึ่ง ทรงสอนเรื่องการชนะที่แท้จริงว่า ผู้ชนะข้าศึกจำนวนพันคูณด้วยพัน ในสงคราม หาชื่อว่าผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมไม่ แต่ผู้ชนะตนได้ จึงชื่อว่า ผู้ชนะที่ยอดเยี่ยมในเรื่องคุณค่าของชีวิต ทรงสอนไว้ในวรรคนี้ว่า ผู้มีศีล มีปัญญา มีความเพียร เห็นความเกิดดับ(ของขันธ์ ๕) เห็นทางอมตะ เห็นธรรมขั้นสูงสุด แม้มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ก็ประเสริฐกว่าผู้ไม่มีศีล เป็นต้น ที่มีชีวิตอยู่ตั้ง ๑๐๐ ปี ๙. ปาปวรรค หมวดบาป ในวรรคนี้ ทรงสอนให้รู้จักบุญและบาป รวมทั้งผลของบุญและบาปว่ามีความแตกต่างกัน ให้พยายามรีบเร่งทำบุญละเว้นบาป บุญต้องหาบ บาปต้องละ ถ้าทำบุญช้า บาปมักจะเข้ามาแทนที่ ดังที่ตรัสไว้ว่า อภิตฺถเรถ กลฺยาเณ ปาปา จิตฺตํ นิวารเย ทนฺธํ หิ กรโต ปุญฺญํ ปาปสฺมึ รมตี มโน บุคคลควรรีบเร่งทำบุญ ควรห้ามจิตจากบาป เพราะเมื่อทำบุญช้าไป ใจจะยินดีในบาป มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ดังนี้ พึงเร่งทำ กรรมดี แก่ชีวิต พึงห้ามจิต จากชั่ว ความมัวหมอง เพราะถ้าทำ ดีเนิ่น เพลินลำพอง ใจย่อมปอง ในชั่ว กลั้วมลทินอนึ่ง ทรงสอนให้ทำบุญบ่อย ๆ เพราะการสั่งสมบุญนำสุขมาให้ แต่เป็นธรรมดาที่คนเราอาจทำผิดพลาดได้ ในทำนองเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เห็นความชั่วเป็นความดี เช่น ครั้งหนึ่ง อนาถบิณฑิกเศรษฐีทำบุญจนกลายเป็นคนยากจน เทวดาผู้รักษาประตูขอร้องให้ท่านเลิกทำ ท่านเศรษฐีก็ไม่ยอมเลิกทำบุญ ซ้ำยังขับไล่เทวดาให้ออกจากบ้านท่าน เทวดาสำนึกผิด จึงไถ่โทษด้วยการหาขุมทรัพย์ใต้ดินที่ไร้เจ้าของมาให้ท่าน ทำให้ท่านกลับมาร่ำรวยอีกครั้งหนึ่ง เหตุการณ์นี้ทำให้พระพุทธองค์ตรัสธรรมบทเป็นการสอนให้เห็นผลกรรมว่า ปาโปปิ ปสฺสตี ภทฺรํ ยาว ปาปํ น ปจฺจติ ยทา จ ปจฺจติ ปาปํ อถ (ปาโป) ปาปานิ ปสฺสติ ฯเปฯ ตราบใดที่บาปยังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าดี แต่เมื่อใด บาปให้ผล เมื่อนั้น คนชั่วจะเห็นบาปว่าชั่วแท้ ตราบใดที่กรรมดียังไม่ให้ผล ตราบนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าชั่ว แต่เมื่อใด กรรมดีให้ผล เมื่อนั้น คนดีจะเห็นกรรมดีว่าดีแท้ หลักคำสอนที่สำคัญบทหนึ่ง คือ ทรงสอนไม่ให้ดูหมิ่นบาปหรือบุญว่ามีเพียงเล็กน้อย ดังที่ตรัสไว้ว่า มาวมญฺเญถ ปาปสฺส น มตฺตํ อาคมิสฺสติ อุทพินฺทุนิปาเตน อุทกุมฺโภปิ ปูรติ ฯเปฯ บุคคลอย่าสำคัญว่าบาปเล็กน้อยคงจักมาไม่ถึง แม้หม้อน้ำยังเต็มด้วยน้ำที่ตกลงมาทีละหยาด ๆ ได้ ฉันใด คนพาลเมื่อสั่งสมบาปทีละเล็กละน้อย เต็มด้วยบาปได้ ฉันนั้นทำบาปแล้วหนีไม่พ้น ผู้ทำบาปแล้วไม่ว่าจะหลบไปอยู่ในที่ใด ๆ ก็ไม่พ้นบาป ได้ ดังที่ตรัสไว้ว่า น อนฺตลิกฺเข น สมุทฺทมชฺเฌ น ปพฺพตานํ วิวรํ ปวีสํ ฯเปฯ คนทำบาปถึงจะเหาะขึ้นไปในอากาศ ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะดำลงไปกลางทะเล ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม ถึงจะเข้าไปหลบตัวในซอกเขา ก็ไม่พ้นจากบาปกรรม เพราะไม่มีแผ่นดินสักส่วนหนึ่งที่คนทำบาปยืนอยู่แล้ว จะพ้นจากบาปกรรมได้ มีผู้แต่งเป็นกลอนไว้ว่า จะซ่อนกาย ในกลีบเมฆ กลางเวหา ซ่อนกายา กลางสมุทร สุดวิสัย จะซ่อนตัว กลางป่าเขา ลำเนาไพร ณ ถิ่นใด พ้นบาปนี้ ไม่มีเลยคติภพของคนทำบาปหรือทำบุญ คนเราจะเกิดในภพใดคติไหน ขึ้นอยู่กับบุญที่เราทำกรรมที่เราสร้าง พระองค์ตรัสคติภพของสัตว์ไว้อย่างชัดเจนว่า สัตว์พวกหนึ่ง ย่อมเกิดในครรภ์ พวกที่ทำบาปกรรม ย่อมไปนรก พวกที่ทำความดี ย่อมไปสวรรค์ ส่วนผู้ที่ไม่มีอาสวะย่อมนิพพาน ๑๐. ทัณฑวรรค หมวดอาชญา ในวรรคนี้ ทรงสอนเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ คือ การใช้กำลังทำร้าย เข่นฆ่า หรือเบียดเบียนผู้อื่น ให้ได้รับความเดือดร้อน หรือพูดวาจาหยาบคายให้ร้ายป้ายสี ทรงชี้ให้เห็นว่า สัตว์ทั้งหลายรักสุข เกลียดทุกข์ด้วยกันทั้งนั้น ไม่ควรเบียดเบียนกัน ผู้ที่เบียดเบียนผู้อื่น จะได้รับโทษต่าง ๆ เช่น ได้รับทุกขเวทนาอย่างแรงกล้า เสื่อมทรัพย์ ถูกทำร้าย อนึ่ง ทรงสอนให้เว้นการลงทัณฑ์ ให้อยู่เหมือนพราหมณ์ (ผู้ลอยบาป) สมณะ (ผู้สงบ) ภิกษุ (ผู้ทำลายกิเลส) ธรรมบทในวรรคนี้ เหมาะสำหรับนักบริหาร ผู้ปกครอง และบรรดาผู้มีอำนาจทั้งหลาย เพราะทรงชี้ให้เห็นว่า ก่อนจะลงทัณฑ์ลงโทษใคร ต้องคำนึงถึงความถูกต้องเป็นหลัก โดยใช้เมตตาธรรม ถ้าลงโทษโดยไม่ใคร่ครวญ ผู้ลงโทษอาจได้รับโทษเสียเอง พึงระลึกอยู่เสมอว่า แม้ไม่มีการลงทัณฑ์ลงอาชญา ทุกชีวิตก็ต้องถูกความแก่ชราต้อนเข้าไปสู่ความตายทุกคน ดังธรรมบทในวรรคนี้ที่ว่า ยถา ทณฺเฑน โคปาโล คาโว ปาเชติ โคจรํ ฯเปฯ คนเลี้ยงโคใช้ท่อนไม้ไล่โค ต้อนฝูงโคไปยังที่หากิน ฉันใด ความแก่และความตาย ก็ไล่ต้อนอายุของสัตว์ทั้งหลายไป ฉันนั้น ๑๑. ชราวรรค หมวดความชรา ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องความชรา คือ ความแก่ ความทรุดโทรม ซึ่งเป็นเสมือนไฟเผาผลาญชีวิตสรรพสัตว์อยู่เป็นนิตย์ ความแก่ชรานี้ แม้จะเป็นความจริงด้านหนึ่งของชีวิต แต่ก็ไม่เป็นที่น่าปรารถนาของมนุษย์ไม่ว่าหญิงหรือชาย หากสอนเรื่องนี้ด้วยวิธีการธรรมดา อาจไม่เป็นที่พอใจของผู้ฟัง และไม่เกิดประโยชน์มากนัก ในธรรมบทวรรคนี้ ทรงใช้วิธีการสอนต่าง ๆ กัน เช่น ทรงสอนนางอุตตราภิกษุณีผู้มีอายุ ๑๒๐ ปีว่า “ร่างกายนี้แก่หง่อมแล้ว เป็นที่อาศัยของโรค แตกทำลายง่าย ร่างกายอันเน่าเหม็นนี้ จักแตกสลายพังพินาศ เพราะชีวิตสิ้นสุดลงที่ความตาย” ผลจากธรรมบทนี้ ทำให้นางอุตตราภิกษุณีบรรลุเป็นพระโสดาบัน แก่อย่างมีคุณค่า แม้ชีวิตจะต้องแก่ชราไปตามกาลเวลา ถ้ารู้จักแสวงหาปัญญา และไม่ประมาท ไม่มัวเมาหลงระเริงอยู่ในโลก ก็เป็นการแก่อย่างมีคุณค่า ไม่แก่เปล่า ถ้าไม่มีปํญญาย่อมแก่เปล่า ดังที่ตรัสว่า “คนที่มีการศึกษาน้อยนี้ ย่อมแก่ไปเปล่า เหมือนโคพลิพัท (โคผู้ทรงพลัง)เจริญแต่เนื้อหนัง ส่วนปัญญาหาเจริญไม่” ครั้งหนึ่ง หญิงสหายของนางวิสาขามหาอุบาสิกา แอบพกขวดเหล้าเข้าไปดื่มในวัด พอเมาได้ที่(มารเข้าสิง) ก็เริ่มปรบมือ ฟ้อนรำขับร้องกัน พระศาสดาจึงบันดาลให้เกิดความมืดขึ้น พวกนางตกใจกลัวตายจนหายเมา พระองค์ได้ตรัสสอนธรรมบทเตือนใจว่า โก นุ หาโส กิมานนฺโท นิจฺจํ ปชฺชลิเต สติ อนฺธกาเรน โอนทฺธา ปทีปํ น คเวสถ เมื่อโลกลุกเป็นไฟอยู่เนืองนิตย์ ทำไมจึงมัวหัวเราะร่าเริงกันอยู่เล่า เธอทั้งหลายถูกความมืดปกคลุม ไฉนไม่แสวงหาดวงประทีปกันเล่า ผลจากการตรัสธรรมบทนี้ทำให้พวกนางบรรลุเป็นพระโสดาบัน ตอนที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้ใหม่ ๆ พระองค์ทรงเห็นสัจธรรมของชีวิตข้อนี้ ถึงกับทรงเปล่งอุทานธรรมว่า อเนกชาติสํสารํ สนฺธาวิสฺสํ อนิพฺพิสํ ฯเปฯ เราตามหานายช่างผู้สร้างเรือน เมื่อไม่พบ จึงท่องเที่ยวไปในสงสารเป็นอเนกชาติ เพราะการเกิดบ่อย ๆ เป็นทุกข์ นายช่างเอ๋ย เราพบท่านแล้ว ท่านจะสร้างเรือนไม่ได้อีก ซี่โครงทุกซี่ของท่านเราหักแล้ว ยอดเรือนเราก็รื้อแล้ว จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้ว เราได้บรรลุธรรมเป็นที่สิ้นตัณหาแล้ว ๑๒. อัตตวรรค หมวดตน ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องตน คำว่า ตน ในที่นี้ หมายถึงผู้กระทำ (สยกตฺตา) โดยทั่วไป ไม่ได้หมายถึง อัตตา หรืออาตมัน ในศาสนาพราหมณ์ พระองค์ทรงสอนให้รู้จักรักษาตนด้วยการทำดี ให้รู้จักวางจังหวะของชีวิต ในทำนองที่ว่า วัยแรกเรียนวิชา วัยต่อมาสร้างหลกฐาน วัยแก่ทำบุญ จะเกิดคุณตลอดกาล ทรงสอนให้ฝึกฝนตนและทำตนให้เป็นที่พึ่ง ดังที่ตรัสว่า อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ โก หิ นาโถ ปโร สิยา ตนแลเป็นที่พึ่งของตน บุคคลอื่นใครเล่าจะเป็นที่พึ่งได้การทำหน้าที่ต่อผู้อื่น ไม่ควรทำหน้าที่ของตนให้บกพร่อง ก่อนจะสอนคนอื่นควรพยายามสอนตนให้ได้ก่อนเพื่อป้องกันความเดือดร้อนที่จะเกิดแก่ตน ดังที่ตรัสไว้ว่า อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา ยถญฺญมนุสาสติ สุทนฺโต วต ทเมถ อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม บุคคลสอนคนอื่นอย่างไร ก็พึงทำตนเองอย่างนั้น ผู้ที่ฝึกตนดีแล้ว จึงควรฝึกผู้อื่น เพราะตนนั่นแล ฝึกได้ยากยิ่งบางครั้ง ทรงสอนให้ยึดประโยชน์ตนเป็นสำคัญ ดังธรรมบทที่ว่า อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน พหุนาปิ น หาปเย ฯเปฯ บุคคลไม่ควรให้ประโยชน์ตนเสียไป เพราะประโยชน์คนอื่นแม้มาก เมื่อรู้ประโยชน์ตนแล้ว ก็ควรขวนขวายในประโยชน์ตนในบทนี้ ไม่ควรเข้าใจผิดโดยคิดว่า พระพุทธเจ้าทรงสอนให้เห็นแก่ตัว ความจริง คำว่า ประโยชน์ตน ในที่นี้หมายถึง มรรค ผล นิพพาน เป็นเรื่องความบริสุทธิ์เฉพาะตน ซึ่งคนอื่นทำให้เราไม่ได้ ตนเองเท่านั้นที่จะทำให้แก่ตน ดังธรรมบทที่ว่า “สุทฺธิ อสุทฺธิ ปจฺจตฺตํ นาญฺโญ อญฺญํ วิโสธเย = ความบริสุทธิ์หรือไม่บริสุทธิ์เป็นของเฉพาะตน คนอื่นจะทำให้คนอื่นบริสุทธิ์ไม่ได้” ๑๓. โลกวรรค หมวดโลก ในวรรคนี้ ทรงสอนเรื่องเกี่ยวกับโลก คำว่า โลก ในที่นี้มีความหมายหลายอย่าง คือ โลกคือหมู่สัตว์ โลกคือแผ่นดินโลกคือภพนี้และภพหน้า โลกคือขันธ์ ๕ โลกคือชาวโลก โลกคือวัฏฏทุกข์ (ขุ.ธ.อ. ๖/๓๑-๔๒) ทรงสอนให้อยู่ในโลกอย่างไม่ประมาท ไม่ควรเป็นคนรกโลก (น สิยา โลกวฑฺฒโน) ให้อยู่อย่างมีคุณธรรมจึงจะมีความสุข ดังพระดำรัสที่ว่า ธมฺมจารี สุขํ เสติ ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็นสุข ทรงสอนให้เห็นความเป็นจริงของโลกว่า โลกนี้มืดมน คนในโลกนี้ น้อยคนนักจักเห็นแจ้ง น้อยคนนักจักไปสวรรค์ เหมือนนกติดข่าย น้อยตัวนักที่จะพ้นจากข่าย ฉะนั้นบางบท ทรงสอนในทำนองว่า การอยู่ในโลกอาจทำผิดพลาดได้ แต่ผู้ที่ทำผิดนั้นต้องแก้ไข เมื่อแก้ไขแล้วก็ทรงยกย่อง เช่น จอมโจรองคุลีมาล ซึ่งฆ่าคนตายมากกว่า ๙๙๙ คน และคิดจะฆ่ามารดาเป็นคนที่ ๑,๐๐๐ ภายหลังได้พบพระพุทธเจ้าและฟังธรรมจากพระองค์ สามารถกลับใจได้ จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์ (ดูเทียบกับ ม.ม. (แปล) ๑๓/๓๕๒/๔๓๐) พระองค์ตรัสว่า บาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
วันอังคารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้อง โทษของกาม ปัญหา พระพุทธเจ้าทรงอธิบายเปรียบเทียบความสุข อันเกิดแต่กามไว้อย่างไรบ้าง? พุทธดำรัสตอบ “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนสุนัขอันความเพลียเพราะความหิวเบียดเบียนแล้ว พึงเข้าไปยืนอยู่ใกล้เขียงของนายโคฆาต นายโคฆาตหรือลูกมือของนายโคฆาตผู้ฉลาด พึงโยนร่างกระดูกที่เชือดชำแหลออกจนหมดเนื้อแล้วเปื้อนแต่เลือดไปยังสุนัข ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่าเปรียบด้วยร่างกระดูก มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนแร้งก็ดี นกตะกรุมก็ดี เหยี่ยวก็ดี พาชิ้นเนื้อบินไป แร้งทั้งหลาย หรือนกตะรุมทั้งหลาย หรือเหยี่ยวทั้งหลายจะพึงโผเข้ารุมจิกแย่งชิ้นเนื้อนั้น ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยชิ้นเนื้อ มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงถือคบเพลิงหญ้าอันไฟติดทั่วแล้ว เดินทวนลมไปฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยคบเพลิง มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนหลุมถ่านเพลิงลึกกว่าชั่วบุรุษหนึ่ง เต็มด้วยถ่านเพลิงอันปราศจากเปลว ปราศจากควัน บุรุษผู้รักชีวิต ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ พึงมา บุรุษมีกำลังสองคนช่วยกันจับแขนบุรุษนั้นข้างละคน ฉุดเข้าไปยังหลุมถ่านเพลิง ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบเหมือนหลุมถ่ายเพลิง มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงฝันเห็นสวนอันน่ารื่นรมย์ ป่าอันน่ารื่นรมย์ ภาคพื้นอันน่ารื่นรมย์ สระโบกขรณีอันน่ารื่นรมย์ บุรุษนั้นตื่นขึ้นแล้ว ไม่พึงเห็นอะไร ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยความฝัน มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนบุรุษพึงยืมโภคสมบัติ มีแก้วมณีและกุณฑลอย่างดีบรรทุกยานไป เขาแวดล้อมด้วยทรัพย์สมบัติที่ตนยืมมา พึงเดินไปภายในตลาด คนเห็นเขาเข้าแล้ว พึงกล่าวอย่างนี้ว่า ดูก่อนท่านผู้เจริญบุรุษผู้นี้มีโภคสมบัติหนอ ได้ยินว่าชนทั้งหลายผู้มีโภคสมบัติ ย่อมใช้สอยโภคสมบัติอย่างนี้ดังนี้ พวกเจ้าของพึงพบบุรุษนั้น ณ ที่ใดๆ พึงนำเอาของตนคืนไปในที่นั้นๆ ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยของยืม มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง” “... ดูก่อนคหบดี เปรียบเหมือนราวป่าใหญ่ที่ไม่ไกลบ้านหรือนิคม ต้นไม้ในราวป่านั้น พึงมีผลรสอร่อย ทั้งมีผลดก แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว บุรุษผู้ต้องการผลไม้ พึงมาเที่ยวเสาะแสวงหาผลไม้ เขาแวะยังราวป่านั้น เห็นต้นไม้อันมีผลรสอร่อย มีผลดกนั้น เขาพึงคิดอย่างนี้ว่าต้นไม้นี้มีผลรสอร่อย มีผลดก แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว แต่เรารู้เพื่อขึ้นต้นไม้ ไฉนหนอ เราพึงขึ้นต้นไม่นี้แล้วกินพออิ่ม และห่อพกไปบ้าง เราขึ้นต้นไม้นั้นแล้ว กินจนอิ่มและห่อพกไว้ ลำดับนั้นบุรุษคนที่สองต้องการผลไม้ ถือขวานอันคมเที่ยวมาเสาะแสวงหาผลไม้เขาแวะยังราวป่านั้นแล้ว เห็นต้นไม้มีผลรสอร่อย มีผลดกนั้น เขาพึงคิดอย่างนี้ว่า ต้นไม้นี้มีผลรสอร่อย แต่ไม่มีผลหล่นลง ณ ภาคพื้นสักผลเดียว และเราก็ไม่รู้เพื่อขึ้นต้นไม้ ไฉนหนอ เราพึงตัดต้นไม้นี้แค่โคนต้นแล้วกินพออิ่ม และห่อพกไปบ้าง เขาพึงตัดต้นนั้นแค่โคนต้น ฉันใด...” “... ดูก่อนคหบดี อริยสาวกก็ฉันนั้นแล ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า กามทั้งหลายพระผู้มีพระภาคตรัสว่า เปรียบด้วยผลไม้ มีทุกข์มาก มีความคับแค้นมาก ในกามนี้มีโทษอย่างยิ่ง...”
เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เม เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อใดแล เกิดความมัวเมาอันเป็นเหตุแห่งความไม่สงบวุ่นวาย พื้นแผ่นดินไหลอาบนองแดงฉานไปด้วยเลือด เปลวไฟแห่งความมุ่งร้ายเบียดเบียนแผดเผากระจายไป จิตใจของมวลหมู่มนุษย์กลับกลายไปเป็นดั่งเดรัจฉาน มีใบหน้ายิ้มแย้มแจ่มใส แต่ภายในแผดเผาเร่าร้อน เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" เมื่อใดแล ความรักเมตตาแห้งเหือดหายไปจากโลก ความกรุณาสงสารก็แห้งเหือดหายไป คนทั้งหลายเชือดเฉือนสายใยแห่งความรัก แม้ของมารดาตนเอง เกิดผืนแผ่นดินเลื่อนลั่น ฟ้าสั่นไหว เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด เมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด "พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ" พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ”
วิธีส่งจิตใจไปในกายในใจของเราจะพบทางพระนิพพาน"ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
เรื่องของ บารมี เทศนาธรรมโดยหลวงพ่อฤาษีลิงดำ"ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙"ความเพียรของบุคคลผู้ตื่นอยู่" หมายความว่า การพยายามบังคับจิตให้มีลักษณะสดชื่นแจ่มใสอาจหาญร่าเริงอยู่ตลอดเวลา ไม่มีลักษณะหดหู่ ท้อแท้ งัวเงีย ของบุคคลผู้ต้องการจะหลับ ในทางปฏิบัติมีหลักใหญ่ๆ อยู่ว่า ถ้าไม่ถึงเวลานอน ก็จะดำรงจิตให้อยู่ในลักษณะที่กล่าวนี้ทุกอิริยาบถ เว้นอิริยาบถนอน ครั้นถึงเวลานอน ก็มีสติกำหนดระยะเวลาที่จะนอน ตามที่กำหนดไว้ แล้วนอนด้วยอาการที่เรียกว่า "สีหไสยา" แล้วตื่นตรงตามเวลาที่กำหนดไว้ คำว่า "สีหไสยา" แปลว่า นอนอย่างราชสีห์ ต้องนอนตะแคงข้างขวา เท้าเหลื่อมกันพอสบาย และนอนโดยอิริยาบถเดียวนี้จนตลอดเวลา ไม่มีการดิ้น เวลาที่กำหนดไว้สำหรับบรรพชิตผู้บำเพ็ญเพียรภาวนาคือ มัชฌิมยามเพียงยามเดียว หลับลงไปด้วยการกำหนดธรรมะข้อใด ต้องตื่นขึ้นมาด้วยการกำหนดธรรมะข้อนั้น แล้วพิจารณาต่อไปตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ไม่มีระยะขาดตอน นี้เรียกว่า "ชาคริยานุโยค" มีความหมายคล้ายๆ กับว่าผู้นั้นไม่เคยเผลอสติ แม้กระทั่งเวลาหลับ ก็ไม่เปิดโอกาสให้กิเลสครอบงำ โดยไม่ต้องกล่าวถึงเวลาตื่น จึงไม่มีการฝันร้าย ฝันลามก และถึงกับไม่มีการฝันเลย ข้อปฏิบัติเหล่านี้ถือว่าไม่มีทางผิดในทุกกรณี แม้แต่ฆราวาสหรือแม้แต่เด็กๆ เพียงแต่จะต้องปรับปรุงข้อปลีกย่อย เช่น เวลา เป็นต้น ให้เหมาะสมเท่านั้น โดยส่วนใหญ่มุ่งหมายถึงความเป็นบุคคลที่มีร่างกายกระปรี้กระเปร่า มีจิตใจสดชื่นแจ่มใสร่าเริง มีสติสัมปชัญญะเต็มตัวอยู่ตลอดเวลาที่ตื่นอยู่ เมื่อหลับก็หลับอย่างสนิท เมื่อตื่นก็แจ่มใสเต็มที่ สิ่งที่ตนกระทำอยู่ก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วทั้งทางโลกและทางธรรมดังกล่าวแล้ว การปฏิบัติเช่นนี้ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง สำหรับผู้บำเพ็ญเพียรเพื่อบรรลุนิพพาน ซึ่งกำลังดำเนินอยู่ในสิกขา ๓ หรือในมรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น จนกว่าจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทาง แม้กระนั้นแล้วข้อปฏิบัติที่เรียกว่าอปัณณกปฏิปทา ๓ ประการนี้ ก็ยังคงมีอยู่ประจำตัวด้วยอำนาจความเคยชินเป็นนิสัย
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ ขอนอบน้อมแด่พระรัตนตรัยและพระสารีบุตร พระธรรมเสนาบดี สารีบุตร แสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ไปที่พัก กลางวัน. เพื่อนเหล่าอันเตวาสิกในที่นั้นแสดงวัตรหลีกไปแล้ว ท่านจึงกวาดที่ พักกลางวัน ปูแผ่นหนัง ล้างเท้าแล้วนั่งคู้บัลลังก์เข้าผลสมาบัติ. ลำดับนั้น เมื่อท่านออกจากผลสมาบัตินั้น ตามกำหนดแล้ว เกิดความปริวิตกนี้ว่า พระ พุทธเจ้าทั้งหลาย จักปรินิพพานก่อนหรือหนอ หรือว่าพระอัครสาวกปรินิพพาน ก่อน. แต่นั้นรู้แล้วว่า พระอัครสาวกปรินิพพานก่อน แล้วจึงตรวจดูอายุ สังขารของตน รู้แล้วว่า อายุสังขารของเราจักเป็นไปได้เพียง ๗ วัน เท่านั้น พระเถระได้เหยียดมือมีสีดังครั่งสด แล้วจีบที่ข้อพระบาท เช่นกับลายเต่าทอง ของพระศาสดา พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยกำไรแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของ พระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ แต่นี้ไปการประชุมกันใน ที่เดียวกันด้วยอำนาจปฏิสนธิจะมิได้มีอีกแล้ว สมาคมก็จะมิได้มี ความคุ้นเคย กันได้ขาดแล้ว ข้าพระองค์จักเข้าเมือง คือ พระนิพพาน ที่ไม่แก่ ไม่ตาย เกษม มีสุข เย็นสนิทไม่มีภัย ที่พระพุทธเจ้าหลายแสนพระองค์เข้าไปแล้ว พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค เล่ม ๕ ภาค ๑ - หน้าที่ 429 ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า นี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว. พ. สารีบุตร เราอดโทษต่อเธอ ก็โทษไร ๆ ขอเธอที่เป็นไปทาง กาย หรือทางวาจา ที่ไม่ชอบใจเราไม่มีเลย สารีบุตร บัดนี้เธอจงสำคัญ กาลอันควรเถิด. เมื่อท่านพระสารีบุตรพถวายบังคมพระบาทพระศาสดา ลุกขึ้นใน ลำดับที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตแล้ว แผ่นดินใหญ่แม้ที่กำหนดนับด้วย ภูเขาสิเนรุ ภูเขาจักรวาล ภูเขาหิมพานต์ และภูเขาบริภัณฑ์ ร้องขึ้นพร้อม กันดุจกล่าวว่า เราไม่อาจจะทรงกองแห่งพระคุณนี้ไว้ได้ในวันนี้ ได้ไหวแล้ว จนถึงน้ำเป็นที่สุด พระเถระทำประทักษิณ ๓ ครั้งแล้ว ถวายบังคมในที่ ๔ แห่ง กราบทูล แล้วว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขย กำไรแสนกัปแต่กัปนี้ไป ข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ความปรารถนาของข้าพระองค์นั้นสำเร็จแล้ว ข้าพระองค์เห็นพระองค์แล้ว เป็นการเห็นครั้งแรก นี้เป็นการเห็นครั้งสุดท้าย การได้เห็น พระองค์ไม่ได้มีอีกแล้ว ดังนี้ แล้วประคองอัญชลี ซึ่งรุ่งเรื่องด้วยการ ประชุมแห่งนิ้วทั้งสิบ หันหน้าเฉพาะตราบเท่าที่ที่จะเห็นได้ ถอยกลับแล้วถวาย บังคมแล้วหลีกไป. มหาปฐพีไม่อาจจะทรงไว้ได้ ไหวจนถึงน้ำรองรับแผ่นดิน. เมื่อนางพราหมณี เห็นพวกเทวดา เทวดาเหล่านี้ ไหว้บุตรของเราแล้วก็ไป ..................... ม. พ่อยังใหญ่กว่ามหาพรหมพระเจ้าของโยมหรือ. ส. ใช่ อุบาสิกา เล่ากันมาว่า ชื่อว่ามหาพรหม ๔ เหล่านั้น วันที่ พระศาสดาของพวกเราประสูติ เอาข่ายทองรองรับพระมหาบุรุษ. ขณะนั้น เมื่อนางพราหมณีคิดว่า เพียงลูกของเรายังมีอานุภาพเท่า นี้ พระศาสดาซึ่งเป็นพระเจ้าของลูกเราจักมีอานุภาพขนาดไหนหนอ พลันปีติ ห้าอย่างเกิดขึ้นแผ่ไปทั่วสรีระ. พระเถระคิดว่า ปีติโสมนัสเกิดขึ้นแล้วแก่มารดา เที่ยว. บัดนี้เป็นเวลาสมควรแสดงธรรม จึงกล่าวว่า มหาอุบาสิกา ท่านกำลัง ม. พ่อ แม่กำลังคิดถึงเห็นว่า เพียงลูกเรายังมีคุณถึงเพียงนี้ แล้ว ศาสดาของลูกนั้นจะขนาดไหน. ส. มหาอุบาสิกา ในขณะที่พระศาสดาของอาตมาประสูติ ในขณะเสด็จ ออกผนวช ในขณะตรัสรู้ และในขณะประกาศธรรมจักร หมื่นโลกธาตุหวั่น ไหวแล้ว ขึ้นชื่อว่าผู้ที่เสมอด้วยศีล สมาธิ ปัญญา วิมุตติและวิมุตติญาณทัส- สนะไม่มี แล้วก็แสดงพระธรรมเทศนาเกี่ยวกับพระคุณของพระพุทธเจ้า ที่ขยาย ให้พิสดารว่า แม้เพราะเหตุนี้พระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ดังนี้ เป็นต้น. เวลาจบธรรมเทศนาของลูกรัก นางพราหมณี ดำรงอยู่ในพระโสดาปัตติผล แล้ว จึงกล่าวกับลูกว่า พ่ออุปติสสะ ทำไม พ่อจึงทำอย่างนั้น พ่อไม่ได้ให้ อมตธรรมเห็นปานนี้แก่แม่ตลอดกาลเท่านี้. พระเถระคิดว่า บัดนี้เราให้ เท่านี้ก็ควรแก่มารดาแล้ว ค่าเลี้ยงดู สำหรับแม่พราหมณีสารี จักควรด้วย เหตุเท่านี้ ลำดับนั้น พระเถระดึงมหาจีวรมาปิดหน้า นอนโดยข้างขวา เข้า สมาบัติ ๙ ตามลำดับสมาบัติทั้งโดยอนุโลมและปฏิโลม เหมือนพระศาสดา แต่ว่าเข้าต้นแต่ปฐมฌานจนถึงจตุตถฌาน ออกจากจตุตถฌานนั้นแล้ว ให้ มหาปฐพีสั่นสะเทือนในทันใดนั้นเอง ปรินิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพาน ธาตุ. อุบาสิกาคิดว่า ลูกของเราไม่กล่าวอะไรเลยหรือหนอ ลุกขึ้นนวดหลัง เท้ารู้ว่าปรินิพพานแล้ว เปล่งเสียงดังหมอบที่เท้า กล่าวว่า พ่อ พวกเราไม่รู้ คุณของพ่อ ก่อนแต่นี้ ก็บัดนี้แม่ไม่ได้เพื่อนิมนต์ภิกษุร้อยหลายพัน หลายแสน ตั้งต้นแต่พ่อให้นั่งฉันในนิเวศน์นี้ ไม่ได้เพื่อให้นุ่งห่มด้วยจีวร ได้เพื่อให้สร้าง วิหารเป็นพัน ดังนี้ คร่ำครวญอยู่แล้ว จนถึงอรุณขึ้น.
ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าเลยไปหนึ่งอสงไขยแสนกัปแต่กัปนี้ไปข้าพระองค์หมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า อโนมทัสสี ปรารถนาเห็นพระองค์ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์บำเพ็ญ บารมีมาหนึ่งอสงไขยแสนกัป ก็เพื่อถวายบังคมพระบาททั้งสองนี้ของพระองค์ มโนรถของข้าพระองค์ถึงที่สุดแล้ว ถ้าว่า พระองค์ไม่ทรงชอบพระทัย โทษไร ๆ ของข้าพระองค์ ที่เป็นไปทาง กายหรือทางวาจา ขอพระองค์ทรงอดโทษนั้นด้วย ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้านี้เป็นการไปของข้าพระองค์แล้ว
mc3phac epoxy printed circuit board 2015แผ่นวงจรพิมพ์จะประกอบด้วยส่วนสําคัญ 2 ส่วนคือแผ่นฐานหรือซับสเตรตกับส่วนที่เป็นตัวนํา ในชุดแรกแผ่นวงจรพิมพ์จะ ประกอบขึ้นจากแผ่นฐานที่ทําจากฉนวนบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยสารประเภทเทอร์โมเซตติง เพื่อให้รองรับกับตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์ตัวนําที่ใช้เชื่อมต่อตัวอุปกรณ์จะใช้วิธีการพิมพ์หรือเคลือบสิ่งที่สามารถนําไฟฟ้าได้ลง ไปบนแผ่นฐานวงจรพิมพ์ จึงเป็นที่มาของคําว่า PrintedCircuit Board หรือ PCB และยังนิยมใช้คํานี้อยู่จนถึงปัจจุบัน แผ่นวงจรพิมพ์ Printed circuit board (PCB)หรือ Printed circuit wiring board (PWB)เป็นแผ่นฉนวนบางๆ ทําหน้าที่เป็นที่ วางและยึดติดตัวอุปกรณ์มีตัวนําไฟฟ้าเป็นตัวต่อวงจรให้แก่อุปกรณ์ไปด้วยใน ตัว โดยทั่วไปจะใช้ทองแดงเป็นตัวต่ออาจจะทําเป็นหน้าเดียว (Single-sided) หรือสองหน้า(Double-sided)แต่ถ้าวงจรมีความหนาสูงมีความซับซ้อนมากๆ ก็อาจจะต้องทำเป็นหลายๆ ชั้น(Multi-layered) ก็ได้ วิธีการพิมพ์หมึกลงบนแผ่นวงจรพิมพ์นั้น ในการนำมาใช้งานพบว่าหมึกหลุดล่อนได้ง่ายทําให้เกิดความเสียหายต่อวงจร เทคนิคที่นํามา ใช้แทนที่คือ วิธีที่เรียกว่าซับแทร็กตีฟโปรเซส (Suptractive process) หรือ เคมิคอลฟอยล์เอนซึ่ง (chemical foilencing) โดยขั้นแรกจะ ทําการยึดแผ่นทองแดงบางๆ ซึ่งเป็นวัสดุที่นําไฟฟ้าได้ดีกว่าหมึกพิมพ์ และมีความคงทนกว่าเข้ากับผิวหน้าของแผ่นฐานด้วยกาวผลที่ได้จะ เกิดวัสดุที่เรียกว่า “metal clad laminate” แต่เราก็ยังเรียกกันว่า “Printed Circuit Board” อยู่ดีแผ่นฐานจะทํามาจากวัสดุที่เป็นฉนวน น้ำหนักเบาและมีความแข็งแรงที่นิยมใช้มี 3 ชนิด คือ 1. ฟีนอลิก (phenolic) 2. กลาสอีพอกซี่ (glass epoxy) 3. สารประกอบ อีพอกซี่ (composite epoxy) ในครั้งแรกๆ การใช้งานแผ่นวงจรพิมพ์ แผ่นฐานที่ใช้จะทําจากกระดาษบางๆ ชุบฟีนอลิกแล้วอัดรวมกันให้แข็งแรงแต่แผ่น วงจรพิมพ์ที่ทําจากฟีนอลิกนั้นจะมีลักษณะประเภทแตกหักได้ง่าย มีความแข็งแรงต่ำไม่ค่อยต้านทานความชื้นต่อมาได้มีการนําใยฝ้ายมาใช้ แทนที่กระดาษ ทําให้ได้ความแข็งแรงทางกลสูงขึ้น และมีความต้านทานต่อความชื้นสูงแต่ทําให้ความแข็งแรงทางไฟฟ้าลดลงจากนั้นจึง ได้ มีการนําใยแก้วมาทําเป็นแผ่นฐาน โดยทอใยแก้วชั้นเดียวหรือหลายชั้นเข้าด้วยกัน แล้วยึดด้วยอีพอกซีเรซินจึงเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ว่า กลาสอีพอกซี่ ลักษณะการทอเป็นพื้นของใยแก้ว การแบ่งเกรดของแผ่นวงจรพิมพ์ สมาคมผู้ผลิตอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อเมริกา (NEVA:National Electrical Manufacturers Association) ได้แบ่งชนิดของ แผ่นวงจรพิมพ์ไว้ถึง 30 ชนิด แต่โดยทั่วไปเราจะพบประมาณ 10 ชนิด ดังต่อไปนี้ เกรด XXX PC แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ ทําขึ้นจากกระดาษยึดรวมตัวกันด้วยฟีนอลิกเรชั่นเป็นชนิดที่ ใช้งานทั่วๆ ไป ทนความชื้นได้ไม่สูงนักมีความต้านทานค่อนข้างตํ่าเมื่อเทียบกับแผ่นวงจร พิมพ์ที่ทําจากสารชนิดอื่นสามารถใช้กับงานความถี่สูงได้ถึงย่าน ความถี่วิทยุ ออกแบบมาเพื่อให้ตัดเจาะได้ที่อุณหภูมิตํ่า เกรด FR-2 ทําจากฟีนอลิก ลักษณะโดยทั่วๆ ไป คล้ายกับ เกรด XXX PC แต่ออกแบบมาให้ติดไฟได้ยากกว่า ทําให้ สามารถนําไปใช้กับงานที่อุณหภูมิสูงกว่าได้ เกรด FR-3 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ทําจากกระดาษบาง ๆ ยิดติดกันด้วยอีพ็อกซี่เรซินมีความแข็งแรงสูงสามารถใช้กับ งานที่แรงดันสูงและความชื้นสูงได้ ดีกว่าเกรด XXX PC และยังออกแบบมาให้ตัดเจาะได้ง่ายที่อุณหภูมิห้อง เกรด FR-4 พัฒนาขึ้นมาจากเกรด FR-3 ทําจากใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซิน สามารถใช้ได้กับงานหลายประเภท ทน ต่อความชื้นและอุณหภูมิสูง และสามารถใช้งานกับแรงดันสูงได้ดีกว่า เกรด XXX PC, FR-2 และ FR-3 เกรด FR-5 พัฒนาขึ้นจากเกรดFR-4 โดยยังคงใช้เส้นใยแก้วยึดด้วยอีพอกซี่เรซินแต่มีความแข็งแรงสูงกว่าทั้งทางกล และทางไฟฟ้า นอกจากนี้ยังติดไฟได้ยากอีกด้วย เกรด FR-6 ทําจากแผ่นใยแก้วบาง ๆ ยึดรวมกันด้วยเทอร์โมเซตติงโพลีเอสเตอร์ มีค่าคงที่ทางไดอิเล็กตริกตํ่า มีความ แข็งแรงตํ่า แต่ได้ปรับปรุงคุณสมบัติในด้านการทนต่อความชื้น จึงสามารถใช้กับงานที่ความชื้นสูงได้ เกรด CEM1 แผ่นวงจรพิมพ์ชนิดนี้ใช้เซลลูโลสเป็นแกนกลางมีใยแก้วทอเป็นผิวสองด้านยึดติดกันด้วยอีพอกซี่เรซิน เช่นเดิม ทําให้ตัดเจาะได้ง่าย แต่ทนความชื้นได้ตํ่ากว่าเกรด FR-4,FR-5 และ FR-6 เกรด G-10 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ ชนิดอีพอกซี่ไฟเบอร์ไกลาส มีความแข็งแรงทางกลสูง มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าดีเยี่ยม ลักษณะทั่วไปคล้ายกับเกรด FR-4 แต่ติดไฟยากกว่าแผ่นวงจรทั้งหมดที่กล่าวมานั้น ยังใช้วัสดุแบบเดิม ๆ ทําเป็นแผ่นฐาน ซึ่งยังมีแผ่นวงจร พิมพ์ที่ใช้สารที่พัฒนาขึ้นมาใหม่เป็นแผ่นฐาน ได้แก่เกรด G-30 และเกรด G-60 เกรด G-30 ใช้ใยแก้วทอยึดตัวด้วยโพลีอะไมค์เรซินมีความคงตัวสามารถต้านทานต่อความชื้นสูงมีคุณสมบัติทาง ไฟฟ้าดีเยี่ยม เหมาะสําหรับการนํามาใช้ทําแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดมัลติเลเยอร์ เกรด G-60 เป็นแผ่นวงจรพิมพ์ชนิดพิเศษที่ใช้สารโพลีซัลโฟนเทอร์โมพลาสติก ทําเป็นแผ่นฐานเนื่องจากมีค่าความ สูญเสียในไดอิเล็กตริกตํ่า สามารถควบคุมคุณสมบัติของไดอิเล็กตริกได้ง่าย นิยมใช้ในงานความถี่สูงมาก ๆ เป็นกิกะเฮิรตซ์ (GHZ) สําหรับ ไมโครชิปเป็นต้น คุณสมบัติทางไดอิเล็กตริกและความสูญเสียในไดอิเล็กตริกของสารโพลีซัลไฟด์ที่ใช้กับย่านความถี่ไมโครเวฟ แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ พีซีบี (PCB ย่อจาก Printed Circuit Board) หรือนิยมเรียกว่า "แผ่นปรินท์ หรือ แผ่นแผงวงจรอิเลคทรอนิกส์" เป็นแผงที่มีลายทองแดงนำไฟฟ้าอยู่ใช้สำหรับต่อวางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อประกอบเป็นวงจร แทนการต่อวงจรด้วยสายไฟ ซึ่งมีความซับซ้อนและยุ่งยาก โดยแผงวงจรนี้อาจมีเพียงด้านเดียว (Single side)หรือสองด้าน (Double side)หรือสามารถวางซ้อนกันได้หลายๆ ชั้น (Multi layer) ได้เช่นกัน ตามความต้องการของผู้ออกแบบ PCB ชนิดหน้าเดียว (Single Side) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าอยู่ด้านเดียวและมักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์์อยู่ด้านตรงข้ามกับเส้นลายวงจร และมัก จะมี Silk Screen ด้านเดียวกับอุปกรณ์ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side PCB) แบบนี้จะมีทองแดงเคลือบอยู่ทั้ง 2 ด้าน ส่วนใหญ่ด้านหนึ่งมักจะปล่อยให้เป็นลายทองแดงเต็มแผ่นในลักษณะเป็น กราวน์เพลน (Ground Plane) โดยมีจุดประสงค์เพื่อลดสัญญาณรบกวน มักใช้ในวงจรเครื่องรับหรือเครื่องส่งวิทยุ PCB ชนิดสองหน้า (Double Side Plate Through Hole) เป็น ชนิดที่มีลายทองสองด้านซึ่งประกอบไปด้วย ชั้นของแผ่นตัวนำสองด้านคือด้านบนและด้านล่างประกบกับชั้นซัพเตรดอยู่ PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้าทั้งสองด้าน และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดงเพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างด้าน และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน วัสดุที่นิยมนำมาใช้คือ ไฟเบอร์กลาสอิพ็อกซี่ แผ่นงวงจรลักษณะนี้จะเหมาะสำหรับงานที่มีตัวอุปกรณ์ที่มีความหนาแน่นมากซึ่ง แผ่น PCB ประเภท Double-sided จะเหมาะสำหรับงานหรือวงจรที่ใช้ความถี่ปานกลางถึงความถี่สูง และยังสามารถเชื่อมต่อแบบ Plat through Hole (PTH) เพื่อให้เส้นทั้งสองเชื่อมต่อกันได้สั้นลงด้วย PCB ชนิดหลายชั้น (Multi Layer) PCB ที่มีเส้นลายวงจรเพื่อเชื่อมสัญญาณทางไฟฟ้า ระหว่างชั้นใน (Inner Layer) 2,4..Layer และชั้นนอก (Outer Layer) และภายในรูมักจะชุบด้วยทองแดง เพื่อเชื่อมสัญญาณระหว่างชั้น และ มักจะใส่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และมี Silk Screen ได้ทั้งสองด้าน เป็น แผ่นวงจรชนิดหลายชั้น แผ่นวงจรชนิดนี้จะประกอบไปด้วยชั้นของแผ่นตัวนำและซัพเตรดมากกว่าสองชั้น ขึ้นไป โดยการอัดชั้นต่างเข้าหากันโดยใช้ความร้อนและเครื่องอัดแรงดันสูงเหมาะ สำหรับงานที่มีความหนาแน่นของตัวอุปกรณ์สูงถึงสูงมาก ชนิด ฟีนอลลิกอัดและชนิด อีพ็อกซี่ไฟเบอร์กลาส ซึ่งชนิด อีพ็อกซี่จะเป็นที่นิยมกันมากเพราะคุณสมบัติที่ดีคือการทนต่ออุณหภูมิที่สูง และไม่บิดงอได้ง่ายเหมือนกับชนิด ฟีนอลลิกซึ่งไม่เป็นที่นิยมและมีความต้านทานความชื้นต่ำทำให้สูญเสียความเป็นฉนวนง่ายจึงไม่เหมาะกับการใช้งานที่มีความถี่สูงๆ แต่ ยังพบเห็นได้บ้างตามงานที่ไม่เน้นคุณภาพที่สูงมากนักเพราะราคาของเจ่าฟีนอ ลลิกนั้นจะมีราคาที่ถูกกว่าชนิดอีพ็อกซี่มากซึ่งเป็นการลดต้นทุนทางการผลิต นอกจากนี้ยังมีการเรียกแผ่นวงจรพิมพ์ ตามสารที่เป็นพื้นฉนวน เข่น แผ่นวงจรพิมพ์แบบเบกาไลต์ (Bakelite) ซึ่งใช้ เบกาไลต์เป็นฉนวน ส่วนใหญ่มักมีสีน้ำตาล แผ่นวงจรพิมพ์แบบกลาสอีพ๊อกซี่ (Glass Epoxy) ซึ่งจะใช้ใยแก้ว เป็นฉนวน มักมีสีต่าง ๆ แต่ส่วนใหญ่มักทำเป็นสีเขียวหรือสีฟ้า Copper Thickness Measurement Copper 1 Oz = 35 µm (1.4 mil) บันทึกการเข้า นักประดิษฐ์ Global Moderator Hero Member ***** กระทู้: 529 Re: แผ่นลายวงจรพิมพ์ หรือ PCB « ตอบ #1 เมื่อ: สิงหาคม 14, 2010, 08:50:35 PM » โปรแกรมที่นิยมใช้ออกแบบ Protel,Altium Designer P-CAD OrCAD EAGLE โปรแกรมออกแบบ PCB หนึ่งเดียวที่ทำงานได้ 3 OS PCB Wizard
วันจันทร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2557
Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting
Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting
Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting
วันอาทิตย์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2557
บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ
ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓
ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓
ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓
ผู้สละโลก ธรรมอันพ้นจากโลกหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าหลวงพ่อปราโมทย์ : ถ้าเราปฏิบัติธรรมได้ตามที่พระพุทธเจ้าสอน เราจะพ้นทุกข์ในเวลาที่ไม่ช้าเกินไป เพราะธรรมะของพระพุทธเจ้านั้น ไม่เนิ่นช้า มันอยู่ที่ตัวเราเองว่าจะเนิ่นช้าหรือไม่ช้า ถ้าเราไม่อยากจะเนิ่นช้านะ อันแรกคือ ก็มาปรับพฤติกรรมของตัวเอง ปรับจิตใจของเราเองนะ ให้มันเหมาะกับการปฏิบัติธรรม ต้องรู้จักคำว่ามักน้อย ต้องรู้จักคำว่าสันโดษ ต้องรู้จักคำว่าวิเวก ไม่คลุกคลี ต้องรู้จักการปรารภความเพียร ต้องรู้จักการเจริญสติ การเจริญสมาธิ การเจริญปัญญา ถ้าเรารู้จักในสิ่งเหล่านี้แล้ว เราจะไม่ช้าหรอกนะ มักน้อยเป็นอย่างไร มักน้อยหมายถึง มีความต้องการน้อย ยกตัวอย่างพระ พระต้องมักน้อย พระมีอาหารมากเฉพาะวัดนี้นะ บางวัดอาหารไม่ถูกปาก คือไม่มีอะไรเข้าปากเลย อดๆอยากๆ มักน้อยหมายถึงว่า ฉันเท่าที่ร่างกายจะอยู่ได้ อย่างนี้เรียกว่ามักน้อย มักมากหมายถึงว่า เท่าไหร่ก็ไม่พอใจ อยากได้เยอะไม่มีที่สิ้นสุดเลย สันโดษหมายถึงอะไร สันโดษหมายถึงว่า ยินดีพอใจ ในสิ่งที่ได้มา ฆราวาสเนี่ย สันโดษ แต่อาจจะไม่ต้องมักน้อยแต่ต้องสันโดษ ตัวพระนี่ต้องมักน้อย ต้องสันโดษ มักน้อย มีความปราถนาน้อย คือ ต้องการอะไร ต้องการแค่ Basic Minimum Need เท่านั้นเอง ที่คนเราต้องการ พวกเราอาจจะมากกว่านั้นนิดหน่อย ที่ในหลวงพูดคำว่า “พอๆ” นะ ก็คือคำว่ามักน้อย ทีนี้ฆราวาสอยากรวยได้มั้ย อยากรวยได้ ไม่ต้องมักน้อยแบบพระ อยากรวยก็ได้ แต่อยากมีเมียหลายคนไม่ได้ ผิดศีล อยากรวยได้ เช่นตั้งเป้าหมายว่าปีนี้เราจะทำกำไรสัก ๕ ล้านบาท ตั้งใจไว้อย่างนี้ แล้วลงมือทำเต็มที่เลย ได้ ๑๐ ล้านบาท เราก็พอใจแล้ว เราได้ทำเต็มที่แล้ว ได้มา ๑๐ ล้านบาท หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ทำเต็มที่สุดฝีมือแล้ว ได้มา ๕ ล้านบาท พอใจแล้ว ยินดีพอใจมีความสุขแล้ว ที่ได้ทำงานนะ ก็พอใจ หรือตั้งเป้าไว้ ๕ ล้านบาท ได้ ๑ ล้านบาท หรือขาดทุน พอใจแล้ว มีความพอใจแล้ว คือ ได้ทำเต็มทีทำสุดฝีมือแล้ว มีความสุขที่ได้ทำงานแล้ว นี่เรียกว่าสันโดษนะ มีความสุขพอใจแล้ว ที่ได้ทำทุกสิ่งทุกอย่างเต็มที่เต็มฝีมือแล้ว ไม่ได้ละเลย แต่มันได้แค่นี้แหละ บางคนทำบริษัทฯ กำลังดีๆ ค้าขายกำลังดีๆ เขาเผาบ้านเผาเมือง เผาบริษัทฯเราไปด้วยอะไรอย่างนี้ ทำอย่างไรล่ะ ทำอะไรไม่ได้ ถูกเผาไปแล้วนะ ก็ยังพอใจ ยังเหลือชีวิตรอดอยู่กับประสบการณ์ หมดเนื้อหมดตัวแล้ว ไม่มีอะไรเหลือแล้ว ก็ยังเหลือชีวิตอยู่กับประสบการณ์ชีวิต ประสบการณ์ชีวิตแพงนะ เป็นทรัพยากรที่แพงมากเลย พวกเราบางคน ลำบากยากจนลงอะไรเนี่ย อย่าไปนึกว่าเรากลับไปที่ศูนย์ เราไม่ได้กลับไปที่จุดตั้งต้นที่ศูนย์หรอก ตราบใดเรายังมีชีวิตอยู่ ทุกคราวที่เกิดปัญหาชีวิตนะ ก็คือการได้ประสบการณ์มาแล้วนะ มีความมักน้อยนะ คือปราถนาน้อย มีความสันโดษ ยินดีพอใจตามมีตามได้ ไม่คลุกคลี กายวาจาใจของเรานะอย่าไปคลุกคลีกับคนอื่นมาก วุ่นวายอยู่กับคนอื่นมากเนี่ย เสียเวลา เนิ่นช้าแน่นอน บางคนภาวนานะ ห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ อย่างนิสัยพระโพธิสัตว์ถึงได้เนิ่นช้า อย่างนั้นต้องเป็นอสงไขยแสนมหากัปป์อะไรอย่างนี้นะ หลายๆอสงไขย มันห่วงคนโน้นห่วงคนนี้นะ มันก็คลุกคลไปเรื่อย มันอยากไปช่วยเขานะ เพราะฉะนั้นถ้าเราอยากพ้นทุกข์เร็วๆนะ อย่าคลุกคลีมาก คลุกคลีเท่าที่จำเป็น ไปกินเลี้ยง เลี้ยงลูกค้า เป็นการคลุกคลีมั้ย ไม่ใช่นะ เป็นการทำหน้าที่ พาลูกน้องไปเลี้ยง ไม่ได้เรียกว่าคลุกคลีนะ เป็นการทำหน้าที่ คลุกคลีหมายถึง ไม่จำเป็นอะไรเลยก็ไปยุ่งกับคนอื่นตลอดเวลา ว่างๆไม่มีอะไรนะก็ขับรถไปคุยกับเขา รถติดมากก็โทรฯไปคุยกับเขา อะไรอย่างนี้ อยู่ไม่ได้ อยู่เฉยไม่ได้ ไม่มีใครคุยด้วยก็เข้าห้องแชต คุยกับหมากับแมวที่ไหนก็ไม่รู้เหมือนกัน วุ่นวายอยู่กับคนอื่น วุ่นวายอยู่กับสิ่งอื่นตลอดเวลา ใจออกนอกตลอดนะ อย่างนี้ภาวนาอย่างไรก็เนิ่นช้า นี่พวกเรามาสำรวจตัวเองนะ เรามักน้อยมั้ย เราสันโดษมั้ย เราคลุกคลีกับคนอื่นเกินจำเป็นมั้ย หลวงพ่อไม่คลุกคลีนะ แต่ไหนแต่ไรตั้งแต่เป็นโยม ทำงานทำเต็มที่นะ ถ้าหมดเวลางานของเราแล้วนะ ไม่มีธุระต้องไปเลี้ยงต้องไปอะไรอย่างนี้นะ ไม่มีธุระแล้วเนี่ย กลับบ้าน อาบน้ำอาบท่านะ พักผ่อนพอมีเรี่ยวมีแรง ก็ภาวนา มันก็ไม่ช้าหรอก ถ้าคลุกคลีมากก็ช้า ทุกครั้งที่เราพูดกับคนอื่น เราเสียพลังงานนะ พลังของจิตจะเสียไป เพราะฉะนั้นพูดน้อยๆนะ ดี คนที่มีฤทธิ์ทางใจ สังเกตให้ดีเถอะ เงียบๆ พวกที่มีฤทธิ์มากๆนะ มีอภิญญามากๆ ไม่ค่อยพูดอะไรหรอก เงียบๆ เพราะพูดมาก เสียพลัง พลังฝึกปรือเสื่อม ยิ่งไปคลุกคลีกับคนยิ่งไปคบคนฟุ้งซ่านนะ ยิ่งหมดพลังฝึกปรือเลย แล้วไปคบกับพวกพูดธรรมะด้วยกันนะ วันๆนั่งพูดธรรมะเรื่อยๆนะก็หมดพลังนะ กระทั่งพูดธรรมะก็หมดพลังนะ ไม่ใช่ไม่หมดพลัง พูดเท่าที่จำเป็น เพราะฉะนั้นมักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ต่อมาต้องปรารภความเพียร ต้องคิดนะว่าชีวิตเราเกิดมาเพื่ออะไร ชีวิตเราเกิดมาเนี่ย ไม่ยาวนานเท่าไหร่หรอก ไม่นานเราก็ต้องจากโลกนี้ไป จากทุกสิ่งทุกอย่างที่เรารักนะ ลูกเมีย ครอบครัว ทรัพย์สมบัติ ชื่อเสียงเกียรติยศ ต้องสูญเสียไปหมดเลย ไม่มีอะไรเหลือเลย เรามีชีวิตอยู่ในโลกนี้เพียงชั่วคราว เราจะเที่ยวแสวงหาแต่สิ่งชั่วคราวรึ สิ่งชั่วคราวก็เช่น หาครอบครัว หาเงินทอง หาชื่อเสียงเกียรติยศตำแหน่งหน้าที่ นี่คือของชั่วคราว อาศัยอยู่กับโลกก็ต้องมีสิ่งเหล่านี้นะ แต่ก็มีพอประมาณก็พอแล้ว งานหลักของเราจริงๆคืองานยกระดับจิตใจขึ้นไป ชีวิตของเราเนี่ยสั้นนิดเดียว มีเวลาไม่มาก โดยเฉลี่ยของคนยุคนี้ก็อายุประมาณสามหมื่นวัน สามหมื่นวันเนี่ยฟังแล้วเยอะนะ จริงๆไม่เยอะเท่าไหร่ สามหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปนอนเสียหมื่นวันแล้วๆ เหลือสองหมื่นวัน สองหมื่นวันเนี่ยเราเอาไปทำมาหากินเสียเกินครึ่ง เหลือนิดเดียวแล้วนะ แล้วยังจะเอาเวลาที่เหลืออีกนิดเดียวเนี่ยเอาไปเที่ยวไปเล่นเพลิดเพลินสนุกสนาน ไม่เหลือเวลาที่จะเอาไปพัฒนาตัวเองแล้วนะ เพราะฉะนั้นเราต้องตั้งเป้าเอาไว้ให้ดีเลย ชาตินี้ต้องได้พระโสดาบัน ตั้งเอาไว้อย่างนี้ ใครว่าโลภก็โลภล่ะวะ เอาไว้ก่อนแหละ ตั้งเป้าไว้ก่อน ชาตินี้ขอเป็นพระโสดาบันให้ได้นะ ชาวพุทธต้องเอาอย่างนั้นเลยนะ ไม่ใช่ขอทำบุญทำทาน นั่งภาวนาทำสมาธิ อีกแสนๆชาติข้างหน้าค่อยให้ได้ธรรมะ โง่น่ะสิ ธรรมะของพระพุทธเจ้าท่านไม่ได้เนิ่นช้าปานนั้นนะ ธรรมะของพระพุทธเจ้าให้ผลรวดเร็วมากเลย ถ้ารู้จักปฏิบัติที่ถูกต้อง ปฏิบัติได้สมควรแก่ธรรม ทำให้ถูกต้องก่อน แล้วก็ทำให้พอ แค่นี้เอง ไม่เนิ่นช้าเท่าไหร่หรอก มันจะยากอะไรในการเรียนรู้ความจริงของกายของใจตัวเอง การปฏิบัติธรรมจริงๆก็คือการเรียนรู้กายรู้ใจของตัวเองเท่านั้นเองถ้ารู้เห็นความจริงแล้ว กายนี้ใจนี้ไม่ใช่ตัวเรา ตัวเราไม่มี แค่นี้ก็เป็นพระโสดาบันแล้ว ถ้าเห็นความจริงนะว่า กายนี้เป็นทุกข์ล้วนๆ หมดความยึดถือในกาย ก็ได้พระอนาคาฯ หมดความยึดถือในจิต เขาก็สมมุติเรียกว่า “พระอรหันต์” มันมีแต่เรื่องเรียนรู้กายเรียนรู้ใจตั้งแต่ต้นจนจบเลยของการปฏิบัติ มันไม่ใช่เรื่องยากอะไร กายของเราก็มีอยู่แล้ว จิตใจของเราก็มีอยู่แล้ว เราก็แค่คอยรู้คอยดูบ่อยๆ ว่าจริงๆกายนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น จิตนี้เป็นตัวเราหรือไม่เป็น คอยรู้คอยดูอยู่บ่อยๆ ความจริงมันจะแสดงตัวให้ดูอยู่แล้ว ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก ฆราวาสก็ทำได้นะ ไม่ใช่ฆราวาสทำไม่ได้ สมัยพุทธกาลฆราวาสได้ธรรมะเยอะแยะเลยนะ ถมเถไป เพราะฉะนั้นพวกเรานะ ตอนนี้ปรารภความเพียร ต้องรู้ว่าเราจะต้องปฏิบัตินะ ถ้าชีวิตของเราไม่ปฏิบัติ ชีวิตของเราไร้คุณค่า เราไม่ได้ต่างกับหมากับแมวอะไรนะ มีชีวิตอยู่ กินแล้วก็สืบพันธุ์ แล้วก็นอน แล้วก็เที่ยวเล่นเห่าหอนสนุกสนานอะไรอย่างนั้น จะได้อะไรขึ้นมา ชีวิตมันควรจะมีคุณค่ากว่านั้น พระพุทธเจ้าท่านสอนอย่างนี้นะ บอกว่า อดีตก็ล่วงไปแล้วนะ อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ให้มีสติอยู่กับปัจจุบันนี้ ไม่ง่อนแง่นคลอนแคลนอยู่กับปัจจุบัน ท่านบอกว่าอย่าตามอาลัยอาวรณ์ไปถึงอดีตนะ อย่ากังวลไปถึงอนาคต ให้อยู่กับปัจจุบัน เพราะว่าอดีตก็ล่วงไปแล้ว อนาคตก็ยังมาไม่ถึง ปัจจุบันน่ะมันมีจริง ให้เรามีสติอยู่กับปัจจุบันนี้แหละ มีสติอยู่กับปัจจุบันไม่หลงเพลินไป ร่างกายเคลื่อนไหวรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวรู้สึกนะ เรียกว่าเราไม่ประมาท เรามีสติอยู่ มีสติเป็นไปในกาย มีสติเป็นไปในจิตใจ ตามรู้อยู่ในกาย ตามรู้อยู่ในใจ พระพุทธเจ้าท่านบอกว่า คนที่ทำได้อย่างนี้นะ แม้จะมีชีวิตอยู่เพียงวันเดียวหรือคืนเดียวเนี่ย ก็ควรชมแล้ว มีชีวิตร้อยปี แต่หลงร้อยปี ไม่ควรชมเลยนะ คนส่วนใหญ่มีชีวิตเท่าไหร่ กี่ปี มันก็หลงอยู่เท่านั้นปีแหละนะ เพราะฉะนั้นพวกเรามาหัดให้มามีสติรู้สึกกายมีสติรู้สึกใจนะ ถ้ามีชีวิตอยู่ได้วันเดียว พระพุทธเจ้าก็ชมแล้ว ให้พระพุทธเจ้าชมดีกว่าให้คนอื่นชมนะ คนอื่นชมบางทีมันแกล้งชม พระพุทธเจ้าชมเนี่ย ของดีของวิเศษแน่นอนเลย พวกเราก็มีโอกาสได้รับคำชมของพระพุทธเจ้าทุกๆคนนะ เพราะเรามีสติรู้อยู่กับปัจจุบันเรื่อยไป แค่วันเดียวท่านก็ชมแล้ว เพราะฉะนั้นเรามีโอกาสนะที่จะได้รับคำชมของพระพุทธเจ้า มีโอกาสที่จะได้ชื่อว่าเป็นลูกแท้ๆของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ลูกแบบหลอกๆมาเกาะกินพระพุทธเจ้าอยู่นะ ลูกเกาะกินพระพุทธเจ้าเยอะนะ หาผลประโยชน์จากพระศาสนาอะไรพวกนี้ มีเยอะแยะ เพราะฉะนั้นเราต้องปฏิบัติธรรมให้สมควรแก่ธรรม ปรารภความเพียรนะ ชีวิตอย่าปล่อยให้ล่วงเปล่าๆ ต้องปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ ปฎิบัติอะไร ก่อนจะลงมือปฏิบัติ ฝึกสติเสียก่อน ถ้ามีสติก็จะมีศีล มีสติก็จะมีสมาธิ มีสติก็มีโอกาสที่จะเกิดปัญญา มีสติ ต้องฝึกสติ ถ้าขาดสติซะตัวเดียวเนี่ย ศีลสมาธิปัญญาหายหมดเลย งั้นต้องมาให้มีสติ นี้ท่านสอนมาเป็นลำดับเลยนะ ที่จะไม่เนิ่นช้า มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ วิธีเจริญสติ สติเป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในกาย เป็นเครื่องระลึกรู้ ว่ามีอะไรเกิดขึ้นในจิตใจ สติเกิดจากถิรสัญญา “ถิร” คนไทยใช้คำว่า เสถียร คือมันมั่นคง มันหนักแน่น แน่วแน่นะ คือรู้อย่างถิรสัญญาหมายถึงว่า มันรู้อยู่ถี่ๆ รู้อยู่บ่อยๆนะ รู้จนรู้อัตโนมัติ รู้จนจิตจำสภาวะได้แม่น เรียกว่ามีถิรสัญญา สัญญาเป็นตัวความจำ ถิรสัญญาคือจำได้แม่นยำ จำได้แม่นยำในสภาวะของกาย จำได้แม่นยำในสภาวะของใจ พอสภาวะทางกายเกิดขึ้น สติจะเกิดขึ้น พอจำสภาวะทางจิตได้แม่น เช่นจำได้ว่าโลภเป็นยังไง โกรธเป็นไง หลงเป็นไง พอความโลภเกิดขึ้น สติจะเกิดเอง จะระลึกขึ้นได้แล้วว่า ความโลภเกิดแล้ว ถ้าจิตจำความโกรธได้แม่น พอความโกรธเกิด สติก็จะเกิดเอง อ้อ ความโกรธเกิดขึ้นแล้ว พวกเราหัดรู้สภาวะให้มาก ร่างกายเคลื่อนไหว คอยรู้สึก จิตใจเคลื่อนไหวคอยรู้สึก คอยรู้สึกไป ร่างกายหายใจออก รู้สึก ร่างกายหายใจเข้า รู้สึก ร่างกายคู้ ร่างกายเหยียด รู้สึก ร่างกายยืนเดินนั่งนอน คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์เกิดขึ้นในกาย คอยรู้สึก ความสุขความทุกข์ในกายหายไป ก็คอยรู้สึก มีความสุขความทุกข์ความเฉยๆเกิดขึ้นในใจ ก็รู้สึก ความสุขความทุกข์ความเฉยๆดับไปจากจิตใจของเรา ก็รู้สึก มีกุศลเกิดในใจ ก็คอยรู้สึกนะ มีอกุศลเกิด โลภโกรธหลงเกิดขึ้นในจิตใจของเรา ก็คอยรู้สึก แล้วจิตวิ่งไปที่ตา คอยรู้สึก จิตวิ่งไปที่หู คอยรู้สึก จิตวิ่งไปคิด คอยรู้สึก จิตวิ่งไปเพ่ง คอยรู้สึก เนี่ยเราคอยรู้สึกอยู่ในกาย คอยรู้สึกอยู่ในใจอย่างนี้บ่อยๆ ต่อไปพอร่างกายขยับ อย่างเรากำลังเผลออยู่ ขยับตัวปั๊บ ไม่ได้เจตนาขยับ เพราะร่างกายเราขยับอยู่ทั้งวันอยู่แล้ว กำลังเผลอๆอยู่ เกิดขยับตัวกริ๊กเดียวเท่านั้นเอง สติมาแล้ว รู้สึกตัวขึ้นมาแล้ว รู้เลยเห็นร่างกายมันเคลื่อนไหวอยู่ จิตมันเป็นคนดูขึ้นมา ตรงที่เห็นร่างกายมันเคลื่อนไหว จิตเป็นคนดู ได้สมาธิมาแล้ว การมีสติฝึกให้มาก จำสภาวะให้แม่น แล้วสติจะเกิดเอง สตินั้นเป็นอนัตตา เช่นเดียวกับสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง จิตก็เป็นอนัตตา สั่งให้มีสติไม่ได้ สติมีเหตุ สติถึงจะเกิด สติไม่มีเหตุ สติไม่เกิด เพราะงั้นเราต้องทำเหตุของสติ คือการหัดรู้สภาวะเนืองๆ จะจำสภาวะได้แม่น เช่นความสุขเกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความทุกข์เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความโลภความโกรธความหลง เกิดขึ้นในใจ คอยรู้ ความสุขความทุกข์ เกิดขึ้นในกาย คอยรู้ ร่างกายเคลื่อนไหว ร่างกายหายใจ คอยรู้ คอยรู้สึกอยู่เรื่อยๆ แล้วสติจะเกิดเอง ทันทีที่สติเกิดจิตจะเป็นกุศล เมื่อจิตเป็นกุศลอย่างเรารู้ว่าความโกรธมา พอสติระลึกได้ปุ๊บนะ ความโกรธจะดับทันทีเลย ความโกรธหรือกิเลสทั้งหลายเนี่ย จะเกิดร่วมกับสติไม่ได้ กุศลกับอกุศลไม่เกิดขึ้นพร้อมกัน เหมือนแสงสว่างกับความมืดนั้น ไม่เกิดด้วยกัน แสงสว่างดับไป ความมืดก็ปรากฎขึ้น แสงสว่างปรากฎขึ้น ความมืดก็ดับไป อันนี้ก็เหมือนกุศลอกุศลทั้งหลาย กิเลสเหมือนความมืดนะ สติเหมือนแสงสว่าง ทันทีที่แสงสว่างเกิด ความมืดก็ดับไป มันจะไม่เกิดร่วมกัน งั้นพอเราฝึกสติบ่อยๆเนี่ย กิเลสเกิดอะไรขึ้นที่จิต สติจะรู้ทันอัตโนมัติเลย โกรธแล้วนะ รู้ทันเลย โกรธ ความโกรธจะดับ เมื่อความโกรธดับ ศีลจะเกิดขึ้น เราจะไม่ทำผิดศีลเพราะความโกรธ ผิดศีลเพราะความโกรธทำอะไรได้บ้าง ไปฆ่าเค้าไปตีเค้าใช่มั้ย ไปทำลายทรัพย์สินเค้า ไปแกล้งขโมยของเค้า ไปลักขโมยเค้าเนี่ยไม่ใช่เกิดจากโลภอย่างเดียวนะ เกิดจากโกรธก็ได้ ทำลายทรัพย์สินเค้า ขโมยเค้า ไปเป็นชู้กับเค้าเพราะความโกรธก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็นเพราะราคะ เกลียดไอ้คนนี้มาก ไปหลอกจีบลูกสาวมันจีบเมียมันอะไรงี้ เนี่ยทำผิดศีลได้ โกรธขึ้นมาก็ไปด่าเค้า หรืิอไม่ก็ไปพูดเพราะๆ หลอกให้เค้าเหลิง เสียผู้เสียคนไปเลยอย่างนั้นก็ได้ พูจเท็จด้วยความโกรธก็ได้ โกรธขึ้นมาไปกินเหล้าได้มั้ย กินเหล้าเนี่ยเป็นตัวรองแล้วนะ ตัวนี้เป็นตัวกระตุ้นให้ขาดสติมากขึ้น เพราะงั้นถ้าโกรธจริงๆ มันจะไปผิดศีล ๔ ข้อแรกนะ โลภขึ้นมาก็ผิดศีล ๔ ข้อได้ หรือโลภขึ้นมาไปกินเหล้าได้ ก็ผิดศีล ๕ ได้ หลงขึ้นมาก็ผิดศีลได้ทุกข้ออีกแหล่ะ เพราะงั้นถ้าเมื่อไหร่ กิเลสเกิดที่จิต เรารู้ไม่ทัน กิเลสครอบงำจิตได้ โอกาสทำผิดศีลเนี่ยจะมี ถ้ากิเลสเกิดขึ้นที่จิต เรามีสติรู้ทัน กิเลสดับไป โอกาสทำผิดศีลนั้นไม่มี เพราะงั้นถ้ามีสติ จะมีศีล มีสติแล้วก็มีสมาธิได้ ถ้าคอยรู้ทันความฟุ้งซ่าน สมาธิกับความฟุ้งซ่านเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ความฟุ้งซ่านเป็นกิเลส สมาธิเป็นธรรมที่เป็นกลางๆ จิตที่มีกิเลสมีสมาธิก็มี จิตที่เป็นกุศลมีสมาธิก็มีสมาธิไม่ใช่กุศลเสมอไป แต่สติเป็นกุศลเสมอไปนะ ความฟุ้งซ่านเป็นอกุศลแน่นอน ถ้าเวลาใจฟุ้งซ่าน ใจฟุ้งซ่านคือใจวิ่งไปทางตา วิ่งไปทางหู เปลี่ยนอารมณ์ไปเรื่อยๆอย่างรวดเร็วนะ แส่ส่ายหาอารมณ์ไปเรื่อย เรียกว่าจิตฟุ้งซ่าน ถ้าเรามีสติรู้ทันว่าจิตกำลังฟุ้งซ่านอยู่ จิตจะสงบอัตโนมัติ การที่จิตแส่ส่ายออกไปทางตาหูจมูกลิ้นกายใจนั้นตลอดเวลาเนี่ย แทบจะเป็นอยู่ตลอดเวลา มันแส่ส่ายทางไหนมากที่สุดรู้มั้ย แส่ส่ายทางใจมากที่สุด คือหนีไปคิดมากที่สุด วันหนึ่งๆเนี่ย จิตหลงไปคิดเนี่ยเกิดบ่อยที่สุด จิตหลงไปดู หลงไปฟัง หลงไปดมกลิ่น หลงไปลิ้มรส หลงไปรู้สัมผัสทางกายเนี่ย มีเป็นคราวๆ จิตหลงไปคิดเนี่ยแทบจะยืนพื้นเลย พอหลงไปดูก็ต่อด้วยหลงคิด หลงไปฟังก็ต่อด้วยหลงคิด ไม่มีอะไรเลยก็หลงคิดด้วยตัวของตัวเองได้ จิตที่หลงคิดก็คือจิตฟุ้งซ่านนั่นแหล่ะ เป็นจิตฟุ้งซ่านที่เกิดบ่อยที่สุด เพราะงั้นให้้เรามีสติ รู้ทันจิตที่หลงคิดเนี่ย ดีที่สุดเลย ถ้าจิตหลงไปคิดปุ๊บ เรารู้ทันนะ ความหลงคิดดับ จิตจะตั้งมั่นขึ้นอัตโนมัติ สมาธิเกิดอัตโนมัติเลย ไม่จำเป็นต้องไปนั่งทำฌาน ทำกสิณอะไรนะ เสียเวลา ถ้าทำได้ก็ทำ ทำไม่ได้ไม่จำเป็นเลย แค่รู้ทันว่าจิตหลงไปคิด สมาธิก็เกิดแล้ว งั้นมีสติก็จะได้สมาธินะ พอจิตตั้งมั่นขึ้นมาแล้ว ก็เจริญปัญญาต่อ เห็นกายมันทำงาน ร่างกายยืนเดินนั่งนอน ไม่ใช่เรายืนเดินนั่งนอนนะ เห็นเป็นรูปธรรมอันนึง เห็นเหมือนหุ่นยนต์ตัวนึงมันทำงาน จิตใจเดี๋ยวสุขเดี๋ยวทุกข์ เดี๋ยวดีเดี๋ยวร้าย เห็นแต่สภาวะธรรม ความสุขก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่ไปรู้ความสุขเข้าก็เป็นสภาวะธรรม ความทุกข์ก็เป็นสภาวะธรรม จิตใจที่รู้ความทุกข์เข้าก็เป็นสภาวะธรรม เห็นแต่สภาวะธรรม ไม่มีคนไม่มีสัตว์ ไม่มีเราไม่มีเขานะ เห็นไปเรื่ิอยๆ แล้วสภาวะธรรมทั้งหลาย เราก็จะเห็นไปอีก ในที่สุดก็เข้าใจเลย สภาวะธรรมทั้งหลาย จะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรมก็ตาม มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ บังคับไม่ได้นะ เกิดดับไปนี่ก็เป็นอนิจจัง สิ่งซึ่งยังมีอยู่ยังไม่ดับไปนะ ยังมีอยู่นะ ก็ถูกบีบคั้นเพื่อจะให้ดับไป นี่เรียกว่าทุกขัง แล้วสิ่งทั้งหลายจะเกิดหรือจะดับ เป็นไปตามเหตุ ไม่ใช่ตามสั่ง นี่เรียกว่าอนัตตา ก็ฝึกอย่างนี้ การที่เราคอยเห็นกายเห็นใจเนี่ย ไม่เที่ยง เป็นทุกข์้ เป็นอนัตตา นั่นเรียกว่าการเจริญปัญญา หรือการทำวิปัสสนากรรมฐาน ถ้าเราทำได้ ๗ ประการนี้ มักน้อย สันโดษ วิเวกไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร มีสติ มีสมาธิ มีปัญญา เจริญปัญญาอยู่ ธรรมะตัวที่ ๘ จะมา ความไม่เนิ่นช้า เราจะไม่เนิ่นช้า แต่ถ้าขาด(๗ ข้อ)ข้างหน้านี้ เนิ่นช้าแน่นอน เพราะงั้นบางคนทำไมภาวนาเร็ว บางคนภาวนาช้า ยุ่งกับคนอื่นทั้งวัน ยังไงก็ช้า ขี้เกียจไม่เคยภาวนาเลย ยังไงก็ช้า วันๆเอาแต่โลภนะ อยากโน่นอยากนี่ไปเลย ไม่เคยควบคุมความอยากของตัวเองเลย ยังไงก็ช้า ไม่ยอมเจริญสติเลย ยังไงก็ช้า จิตฟุ้งซ่านตลอดเลย ยังไงก็ช้า ไม่แยกรูปแยกนาม ไม่เห็นกายเห็นใจแสดงไตรลักษณ์ ยังไงก็ช้า เพราะงั้นถ้าเราทำธรรมะ ๗ ประการนี้ได้ มักน้อย สันโดษ ไม่คลุกคลี ปรารภความเพียร เจริญสติ เจริญสมาธิ เจริญปัญญา เราจะได้ธรรมะในเวลาอันไม่เนิ่นช้า ๗ วัน ๗ เดือน ๗ ปี มีจริงๆ ไม่ใช่ไม่มี งั้นพวกเราไปทำเอานะ ไปทำ ปรับพฤติกรรมที่ถ่วงตัวเองให้ไม่เจริญน่ะ เลิกๆไป แล้วก็ตั้งหน้าตั้งตาภาวนาไป เจริญสติไป หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม บ้านโค้งดารา ศรีราชา ชลบุรี แสดงธรรมที่วัดสวนสันติธรรม เมื่อ วันอาทิตย์ที่ ๒๒ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ก่อนฉันเช้า CD: สวนสันติธรรม แผ่นที่ ๔๕ Track: ๔ File: 550422.mp3 ระหว่างนาทีที่ ๑๓ วินาทีที่ ๓ ถึง นาทีที่ ๓๓ วินาทีที่ ๕๙ เว็บไซต์ Dhammada.net เป็นเว็บไซต์ที่ได้รับการอนุญาตจาก หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช วัดสวนสันติธรรม ให้สามารถดำเนินการถอดข้อความพระธรรมเทศนาในลักษณะข้อความสั้นได้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๕๓
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเฝ้ารู้อยู่อย่างนี้เรื่อยๆ พอมันไม่มีเราขึ้นมาจริงๆ ความทุกข์มันอยู่ที่ไหน ความทุกข์มีอยู่ เพราะขันธ์ยังมีอยู่ ตัวขันธ์นั่นแหละคือตัวทุกข์ ขันธ์เป็นตัวทุกข์นะ ไม่ใช่ขันธ์เป็นตัวสุข ไม่ใช่ว่าภาวนาแล้ววันหนึ่งขันธ์กลายเป็นตัวสุขขึ้นมาได้ ยังไงก็เป็นตัวทุกข์ เพราะขันธ์มันไม่เที่ยง มันถูกบีบคั้นอยู่ตลอดเวลา มันบังคับไม่ได้ ไม่อยู่ในอำนาจ ยังไงก็เป็นทุกข์ แต่ว่าเมื่อใจยอมรับความจริง ว่าขันธ์มันเป็นทุกข์นะ ทุกอย่างที่ปรากฏขึ้นที่ขันธ์ก็อยู่ชั่วคราว ตัวขันธ์เองก็อยู่ชั่วคราว การที่เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวเนี่ย เรียกว่าเรารู้ทันความจริงละ เมื่อจิตรู้ทันความจริง เวลาความจริงมาปรากฏให้จิตยอมรับความจริงได้ จิตก็ไม่ทุกข์ ที่จิตทุกข์เพราะจิตยอมรับความจริงไม่ได้ เช่น ร่างกายมันจะแก่ จิตยอมรับความจริงได้ ของธรรมดา มันของชั่วคราว พอใจยอมรับความจริงได้ ใจมันก็ไม่ทุกข์ มันจะเจ็บมันจะตาย จิตใจเราจะพลัดพรากจากสิ่งที่รัก เจอสิ่งที่ไม่รัก เรายอมรับความจริงได้ ว่าทุกอย่างชั่วคราว สุขทุกข์ดีชั่ว ของชั่วคราวทั้งหมด เมื่อใจยอมรับความจริงได้ อะไรเกิดขึ้นนะ ใจไม่ดิ้น ใจหมดความปรุงแต่ง ไม่ดิ้นต่อ รู้แล้วจบลงที่รู้อย่างแท้จริง พอใจรู้ทุกอย่าง อย่างที่เค้าเป็นนะ แล้วใจไม่ปรุงแต่งต่อเนี่ย ถึงจุดหนึ่งสติปัญญาแก่กล้าพอ มันจะเกิดอริยมรรคขึ้นมา ตอนเกิดอริยมรรคขึ้นมา จิตมันจะไปเห็น สภาวธรรมชนิดหนึ่งซึ่งพ้นจากความปรุงแต่ง ตอนนี้พวกเรายังเห็นสภาวะที่พ้นความปรุงแต่งไม่ได้ เพราะจิตเรายังปรุงแต่งอยู่ ที่จิตปรุงแต่งอยู่เพราะยังไม่รู้ความจริงของขันธ์ ยังไม่เห็นหรอกว่า ขันธ์ห้าไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ยังยอมรับไม่ได้ เวลาเห็นก็เห็นนิดๆ หน่อยๆ แต่ยังยอมรับความจริงไม่ได้ ใจลึกๆ มันก็ยังอยากให้ร่างกายนี้แข็งแรงตลอดกาล เป็นหนุ่มเป็นสาวตลอดกาล ยอมรับไม่ได้ที่จะไม่สมหวัง อยากให้มันสมหวัง อยากให้มันมีความสุข อยากให้มันบรรลุมรรคผล นิพพาน มันอดอยากไม่ได้ งั้นใจที่เรายังมีความอยากอยู่เนี่ย มันดิ้นรนไม่เลิก ความอยากก็คือตัณหา มาผลักดันให้ใจนี้ดิ้นรน การดิ้นรนของจิตเรียกว่าภพ มีตัณหาเป็นผู้สร้างภพ จิตทำงานอยู่ตลอดเวลา ก็ไม่สามารถเห็นนิพพานที่มันอยู่เหนือภพได้ ต่อเมื่อเราเจริญสติเจริญปัญญาเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจของตัวเองมากเข้า มากเข้า วันหนึ่ง มันไม่ยึดถือในกายในใจนะ มันก็พ้นความปรุงแต่งไป ใจก็ไปสัมผัสพระนิพพาน นิพพานมีจริงๆ นิพพานเป็นความสุข นิพพานไม่มีกิเลสนะ นิพพานไม่มีขันธ์ แต่นิพพานมีอยู่ ไม่ใช่ไม่มีอะไรเลย หลังจากนั้นพอเราภาวนามาถึงตรงนี้เนี่ย เรายังเห็นนะขันธ์ก็ยังเป็นทุกข์อยู่ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีเจ้าของ ความทุกข์มีอยู่แต่ไม่มีผู้เป็นทุกข์ ค่อยๆ ฝึก เราจะเห็นสภาวธรรมทั้งหลายค่อยๆเคลื่อนไหว เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา แต่ไม่มีเจ้าของหรอกนะ พอไม่มีตัวเราซะอย่างเดียว โลกทั้งโลกไม่มีเจ้าของ แล้วเราค่อยฝึกเอา ไม่ได้ยากเท่าที่คิดหรอก
วันเสาร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2557
地上の星 / 中島みゆき [公式]ความพยายามของมนุษย์เทวดาก็ยอมแพ้ 地上の星 / 中島みゆき [公式] กินข้าวเปล่า..ก็.อร่อยดี
วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2557
พระอริยะบุคคล พระอนาคามี เธออย่าได้กล่าวคำหยาบต่อใคร ๆ คนที่ถูกเธอว่ากล่าวจะกล่าวโต้ตอบเธอ เพราะว่าถ้อยคำที่โต้เถียงกัน ก่อให้เกิดทุกข์ และการทำร้ายโต้ตอบกันจะมาถึงเธอ ถ้าเธอทำตนให้นิ่งเงียบได้ เหมือนกังสดาลที่ตัดขอบปากออกแล้ว เธอก็จะบรรลุนิพพานได้ การโต้เถียงกันก็จะไม่มีแก่เธอ
วิธีส่งจิตใจไปในกายในใจของเราจะพบทางพระนิพพาน เรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด
วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2557
TM35 MC3PHAC CONECTION รวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสทำเองได้ง่ายครับ sompong industrial 1 โซล่าเซลล์สูบน้ํา MC3PHAC POWER MODULES TL105C.flv วิธีวัด Power module ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส เริ่มต้นให้ดีวันนี้วันหน้าค่อยว่ากันใหม่ ใช้โดยตรงจากแผงโซล่าเซลล์ อย่าง น้อย ให้ใช้ suntech 285 watts ห้าแผ่น ถึงแปดแผ่น 180 320 Volts 7 Amp ทำเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสโดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI POWER MODULE เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็กแบบใหม่ การวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส การกลับทางหมุนมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็ก การทดสอบมอเตอร์สองร้อยวัตต์สามเฟส วิธีสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอ์สามเฟสแบบใหม่ โซล่าเซลล์ทดลองใช้ช่วงบ่าย 16.40 น. ฝนหยุดตก ถึงฝนตกฟ้าร้องโซล่าเซลล์ก็พอได้ใช้ 50 วัตต์จาก suntech 5 แผ่น เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส 400 วัตต์ MC3PHAC PS219A2 RW 0 4KW 3 PHASE INDUCTION MOTOR CONTROL induction motor 3 phase อินดัตชั่นมอเตอร์ สามเฟส PS21963 CIRCUIT DIAGRAM PS21244 แก้ไขและปรับปรุงวงจรแล้วครับ PS21244 ทดสอบโอเวอร์โหลดโดยลัดวงจร OUT PUT PS21244 POWER MODULE สำหรับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า แอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ แผงควบคุม มอเตอร์ อินดัตชั่่นสามเฟส ไม่เกิน หนึ่งแรงม้า แนะนำการใช้MC3PHACและ PS21963ในงานควบคุมมอเตอร์สามเฟสครับ power module active high input PS21963 ทดสอบ MITSUBISHI SEMICONDUCTOR Intelligent Power Module. PS21244 มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า PS21244 เพาเวอร์โมดูลสำหรับสร้างซ่อมอินเวอร์เตอร์ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส การต่อสายใช้งาน INTELLIGENT POWER MODULE TM51 TM52A วิธีการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า วิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับTM52A การต่อใช้งาน tm51 tm52a mc3phacเพื่อควบคุมมอเตอร์สูบน้ำสามเฟส 1 ถึง 3 แรงม้า การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสด้วยแสง การตั้งความถี่ MC3PHAC ที่ 50 Hz และ 60Hz TRANSISTOR POWER MODULES MP6501A 6DI15S 050D MC3PHAC TM51 แก้ไขแผงวงจร mc3phac ตอนที่ 1 วิธีควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟสแบบใหม่TM31T SHINDENGEN POWER MODULES DC CONVERTER TM51 DC48VOLTS TO 400 VOLTS MC3PHAC TRANSISTOR POWER MODULES 6DI15S 050D SOLAR CELL IGBT AND MOSFET 3 PHASE MOTOR CONTROL ความรู้เบื้องต้นเรื่องการปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟส การวัดมอสเฟตโมดูล SEMIKRON SEMix241MD008s 250 AMPS 75VOLTS การวัดเพาเวอร์มอสเฟต อินเวอร์เตอร์สามแรงม้าสามเฟสใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว การวัดเพาเวอร์โมดูลอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้งานจริง TM51และ TM52Aเพื่อสูบน้ำเข้านา วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ 2 เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง POWER MODULE ที่ใช้แทนTM52A ครับ.. 3 Phase induction motor 220 Volts runing on 24 vdc การสร้างเครื่องสูบน้ำเข้านาด้วยมอเตอร์สามเฟสใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ วิธีสร้างชุดขับมอเตอร์สามเฟสราคาประหยัดใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 24ถึง300โวลต์ วิธีสร้างอินเวอร์เตอร์คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่12 สูบน้ำเข้านาด้วยไฟฟ้า 24และ 48 โวลต์ วิธีสร้างแอร์อินเวอร์เตอร์สามเฟสใช้เอง 5 TM39 TM52A 1 TM-51 เพิ่มแรงดันไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เครื่องเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง MC3PHAC TM35 3 PHASE MOTOR SPEED CONTROL วิธีสร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่ 10
MC3PHAC TM51 TRANSISTOR MP6501A 6DI15S 050D รวม เรื่อง การสร้าง เครื่อง อินเวอร์เตอร์ สำหรับใช้ควบคุมควบเร็วมอเตอร์ สามเฟสครับ..และมอเตอร์ แบบแปรงถ่าน AC DC ก็มีครับ รวมทั้งเครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้า ที่ใช้ TM51 เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสทำเองได้ง่ายครับ sompong industrial 1 โซล่าเซลล์สูบน้ํา MC3PHAC POWER MODULES TL105C.flv วิธีวัด Power module ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส เริ่มต้นให้ดีวันนี้วันหน้าค่อยว่ากันใหม่ ใช้โดยตรงจากแผงโซล่าเซลล์ อย่าง น้อย ให้ใช้ suntech 285 watts ห้าแผ่น ถึงแปดแผ่น 180 320 Volts 7 Amp ทำเครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟสโดยใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ PS21244 PS21963 PS219A2 MITSUBISHI POWER MODULE เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็กแบบใหม่ การวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้โซล่าเซลล์กับมอเตอร์สามเฟส การกลับทางหมุนมอเตอร์สามเฟสขนาดเล็ก การทดสอบมอเตอร์สองร้อยวัตต์สามเฟส วิธีสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอ์สามเฟสแบบใหม่ โซล่าเซลล์ทดลองใช้ช่วงบ่าย 16.40 น. ฝนหยุดตก ถึงฝนตกฟ้าร้องโซล่าเซลล์ก็พอได้ใช้ 50 วัตต์จาก suntech 5 แผ่น เครื่องควบคุมมอเตอร์สามเฟส 400 วัตต์ MC3PHAC PS219A2 RW 0 4KW 3 PHASE INDUCTION MOTOR CONTROL induction motor 3 phase อินดัตชั่นมอเตอร์ สามเฟส PS21963 CIRCUIT DIAGRAM PS21244 แก้ไขและปรับปรุงวงจรแล้วครับ PS21244 ทดสอบโอเวอร์โหลดโดยลัดวงจร OUT PUT PS21244 POWER MODULE สำหรับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า แอร์ ตู้เย็น อินเวอร์เตอร์ แผงควบคุม มอเตอร์ อินดัตชั่่นสามเฟส ไม่เกิน หนึ่งแรงม้า แนะนำการใช้MC3PHACและ PS21963ในงานควบคุมมอเตอร์สามเฟสครับ power module active high input PS21963 ทดสอบ MITSUBISHI SEMICONDUCTOR Intelligent Power Module. PS21244 มอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า PS21244 เพาเวอร์โมดูลสำหรับสร้างซ่อมอินเวอร์เตอร์ที่ใช้กับมอเตอร์สามเฟส การต่อสายใช้งาน INTELLIGENT POWER MODULE TM51 TM52A วิธีการสร้างเครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้า วิธีทำให้ TM51จ่ายแรงดันไฟฟ้า 280โวลต์ไม่เกิน320โวลต์เพื่อใช้กับTM52A การต่อใช้งาน tm51 tm52a mc3phacเพื่อควบคุมมอเตอร์สูบน้ำสามเฟส 1 ถึง 3 แรงม้า การปรับความเร็วมอเตอร์สามเฟสด้วยแสง การตั้งความถี่ MC3PHAC ที่ 50 Hz และ 60Hz TRANSISTOR POWER MODULES MP6501A 6DI15S 050D MC3PHAC TM51 แก้ไขแผงวงจร mc3phac ตอนที่ 1 วิธีควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟสแบบใหม่TM31T SHINDENGEN POWER MODULES DC CONVERTER TM51 DC48VOLTS TO 400 VOLTS MC3PHAC TRANSISTOR POWER MODULES 6DI15S 050D SOLAR CELL IGBT AND MOSFET 3 PHASE MOTOR CONTROL ความรู้เบื้องต้นเรื่องการปรับรอบมอเตอร์ไฟฟ้าสามเฟส การวัดมอสเฟตโมดูล SEMIKRON SEMix241MD008s 250 AMPS 75VOLTS การวัดเพาเวอร์มอสเฟต อินเวอร์เตอร์สามแรงม้าสามเฟสใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว การวัดเพาเวอร์โมดูลอินเวอร์เตอร์สามเฟส การใช้งานจริง TM51และ TM52Aเพื่อสูบน้ำเข้านา วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ 2 เครื่องเพิ่มแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง POWER MODULE ที่ใช้แทนTM52A ครับ.. 3 Phase induction motor 220 Volts runing on 24 vdc การสร้างเครื่องสูบน้ำเข้านาด้วยมอเตอร์สามเฟสใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ วิธีขนานTM51เพื่อเพิ่มกำลังวัตต์ วิธีสร้างชุดขับมอเตอร์สามเฟสราคาประหยัดใช้ไฟฟ้าจากโซล่าเซลล์ 24ถึง300โวลต์ วิธีสร้างอินเวอร์เตอร์คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่12 สูบน้ำเข้านาด้วยไฟฟ้า 24และ 48 โวลต์ วิธีสร้างแอร์อินเวอร์เตอร์สามเฟสใช้เอง 5 TM39 TM52A 1 TM-51 เพิ่มแรงดันไฟฟ้า จากแบตเตอรี่ เครื่องเพิ่มแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสตรง MC3PHAC TM35 3 PHASE MOTOR SPEED CONTROL วิธีสร้าง อินเวอร์เตอร์ คอนเวอร์เตอร์ ตอนที่ 10
ภาวนาถ้าไม่รู้ทันจิตกิเลสหนังไม่ถลอกเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
ตั้งมั่นอยู่ที่ลมหายใจสุดท้ายจะมารู้ที่จิตครับเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องเบื้องต้นให้รู้สึกตัวให้เป็นก่อน มีสติรู้กายรู้ใจ…ถึงจุดหนึ่งใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมา มีสติรู้กายรู้ใจต่อไป…ถึงจุดหนึ่งมันจะรู้โดยไม่เจตนาจะรู้สึก (เกิดสติตัวจริง) สติเกิดปั๊บใจมันจะตั้งมั่นขึ้นมาได้เอง พอสติตัวจริงเกิด จิตจะมีความสุข พอจิตมีความสุข จิตจะมีสัมมาสมาธิ (สมาธิชั้นดี ตั้งมั่นในการรู้กายรู้ใจ) พอสติระลึกรู้กาย…จะเห็นทันทีว่ากายไม่ใช่ตัวเรา มีสติ มีสมาธิ ต่อไปเรื่อยๆ เกิดปัญญาตัวทีหนึ่งเรียก “นามรูปปริจเฉทญาณ” เห็นนามอยู่ส่วนหนึ่ง รูปอยู่ส่วนหนึ่ง… จะรู้สึกกายอยู่ส่วนหนึ่ง จิตอยู่ส่วนหนึ่ง เห็นว่ากายไม่ใช่เรา เวทนาไม่ใช่เรา จิตไม่ใช่เรา ขันธ์ 5 เริ่มกระจายตัวออกไป (ทำลายสัญญาวิปลาส ต้องจับสิ่งที่เรียกว่าเรากระจายตัวออกไป เรียก วิภัชวิธี) สิ่ง ที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ…พอเรามีสติจริงๆ มีสัมมาสมาธิ มีใจตั้งมั่น สติระลึกลงไปรู้กายรู้ใจ…จะเห็นมันแยกส่วนกันกายอยู่ส่วนนึง จิตอยู่ส่วนนึง (กายกับจิตแยกจากกันเหมือนมีช่องว่างมาขั้น ไม่ใช่อันเดียวกันอีกต่อไป) เวทนากับจิตแยกส่วนกัน เหมือนมีช่องว่างมาขั้น… กุศล/อกุศล แยกออกจากจิต ตัวจิตเองก็เกิดดับ (เดี๋ยวเกิดที่ตา เดี๋ยวเกิดที่หู จมูก ลิ้น กาย ใจ…) สรุปว่าเบื้องต้น จะเห็นก่อนว่ามันกระจาย กระจายแล้วจะเห็นว่าแต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา… รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ แต่ละตัวไม่ใช่ตัวเรา แต่ละตัวมีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ… เป็นปัญญาอีกขั้นเรียก “ปัจจยปริคคหญาณ” (รู้ว่าอะไรเป็นปัจจัยให้สิ่งนี้เกิดขึ้น สภาวะธรรมทั้งหลายไม่ได้เกิดลอยๆ มีเหตุก็เกิด หมดเหตุก็ดับ) เห็นต่อไปสักพัก ปัญญาจะประณีตลึกซึ้งขึ้นไปอีก เริ่มรู้ว่าทั้งกายทั้งใจเป็นไตรลักษณ์ เกิด “สัมมสนญาณ” คือเห็นไตรลักษณ์ด้วยการคิด ตรึกตรอง เปรียบเทียบ…ตรงนี้ยังไม่ขึ้นวิปัสสนา ตามรู้ตามดูต่อไป ถึงจุดที่สติและสัมมาสมาธิมีแรงพอ เริ่มเห็นความเกิดดับ (เช่น เห็นจิตเกิดขึ้นมา ตั้งอยู่ ดับไป มีช่องว่างมาขั้น) พบว่าจิตดวงนึงกับจิตอีกดวงนึงเป็นคนละดวงกันเรียกว่า “สันตะติขาด” ภาวนาจนเห็นสันตะติขาด จึงเรียกว่าขึ้นวิปัสสนาจริงๆ ดูต่อไป เห็นสภาวะ เกิด-ดับ เกิด-ดับ สืบเนื่องกันไปแต่เป็นคนละอันกัน เห็นมากเข้าๆ ตัวเราหายไปไหน ??…ร่างกายไม่ใช่เรา….จิตใจไม่ใช่เรา…. จะตกใจ กลัว โหวงๆ เบื่อทุกอย่าง ใจจืดแต่สว่าง เห็นโลกจืดชืด ใจมีนิพพิทา (นิพพิทาญาณ) มองโลกแบนๆ ราบเป็นหน้ากลอง ตรงนี้ยังไม่ได้ตัดด้วยอริยมรรค แต่เกิดจากความรักตัวเอง ถึงตรงนี้คือได้ครึ่งทาง step-by-step (part 2) มีสติต่อไป เห็นสภาวะทั้งหลายเป็นสิ่งแปลกปลอม…เป็นความรู้สึกที่ปรุงขึ้นมา…พอรู้ทันก็ดับไป ใจจะตั้งมั่นเห็นว่ามันทำงานของมันเอง สั่งมันไม่ได้จริง…เห็นร่างกายไม่ใช่เรา เห็นว่าร่างกายถูกความทุกข์บีบคั้น เห็นด้วยใจที่เป็นกลาง…ส่วนจิตใจก็เคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปเรื่อยๆ ไม่ใช่ตัวเรา ดูเรื่อยๆ … พอเผลอ…ก็มีตัวเรา พอมีสติ…ตัวเราก็หายไป แต่คราวนี้ไม่กลัวแล้ว…. ดูไปๆ ปัญญาเริ่มแจ้ง เห็นทุกสิ่งเกิดแล้วดับทั้งสิ้น พอใจรู้และยอมรับตรงนี้ ความสุขเกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะรักษา ความสุขไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะแสวงหา ความทุกข์เกิด….จิตจะไม่เกลียด ไม่ดิ้นรนที่จะผลักออก ความทุกข์ไม่เกิด…..จิตไม่ดิ้นรนที่จะป้องกัน จิตหมดความดิ้นรน จิตหมดความปรุงแต่ง จิตหมดการทำงาน เหลือแต่รู้…แล้วก็สักว่ารู้… จิตไม่ปรุงต่อ… จะเห็นสภาวธรรมเคลื่อนผ่านไปเรื่อยๆ ใจรู้อย่างแจ่มแจ้งว่าปรากฏการณ์ทั้งหลายเป็นภาพลวงตา…ไม่อินเข้าไป ไม่ดิ้นรน ไม่ปรุงแต่ง เมื่อสติปัญญาแก่รอบพอ จิตจะรวมลงอัปปนาสมาธิด้วยตัวเอง… เป็นจุดเริ่มต้นที่จะเกิดกระบวนการของอริยมรรค (อัปปนาสมาธิเรียกเอกัคคตาเจตสิก มีหน้าที่เป็นที่ประชุมรวบรวมองค์มรรคทั้งหลาย คือที่เหลืออีก 7 ตัว) มีสัมมาสมาธิเกิดขึ้นที่จิต…พอรวมลงช่วงแรกจะยังส่งกระแสออกไป (เนื่องจากมันเคยชิน) ออกไปรู้สภาวะภายนอก แต่รู้แบบสักว่ารู้อย่างแท้จริง รู้อยู่ในอัปปนาสมาธิ แต่ไม่รู้ว่าคืออะไร…เพราะไม่มีสมมติบัญญัติ ถึงขั้นไม่มีสมมติบัญญัติ….จิตจะมีขันติอย่างยิ่ง อดทนต่อสิ่งเร้า มันจะตั้งมั่นแต่ยังส่งกระแสออกไป…มีกระแสแห่งความรับรู้ไหลออกไป เห็นสภาวะเกิดดับ …บางคนเห็น 2 ขณะ…บางคนเห็น 3 ขณะ แจ้งอริยสัจขึ้นมา…มันจะทวนกระแส….ตัดกระแสที่ส่งออกไป….มันจะทวนเข้าหาธาตุรู้ กลับเข้ามาหาจิต (จิตเห็นจิตอย่างแจ่มแจ้ง) สัมมาสมาธิจะประชุมองค์ธรรมฝ่ายกุศลทั้งหมด รวมลงที่จิต…องค์มรรครวมตัวกัน รวมพลังของมรรคทั้งหมด รวมทั้งโพธิปักขิยธรรม 37 ( ตั้งแต่30กว่าๆขึ้นไป ) ประชุมลงที่จิต เกิดพลังทำลายล้างวัฏจักร เบื้องต้นทำลายไม่ได้จริง…แค่กรีดมันขาดออกจากกัน แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 2 ถ่างออกมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 3 แรงมากขึ้น แล้วก็กลับมาปิดอีก กรีดครั้งที่ 4 โลกถล่มทลาย วัฏจักรจะคว่ำลงไป แล้วจะไม่มีอะไรเข้ามาปิดอีก จิตซึ่งไม่ถูกอะไรปิดจะดีดตัวขึ้นมาเต็มโลกธาตุเรียก “วิมริยาทิกตจิต”(มีจิตไร้ขอบคั่น หรือมีใจไร้เขตแดน)จิตใหญ่เต็มโลกธาตุ…. ไม่มีอะไรครอบงำอีก….ไม่มีการไป…ไม่มีการมา…. จิตปราศจากสิ่งห่อหุ้ม กระจายเป็นเนื้อเดียวกับจักรวาล ไม่มีขอบ…ไม่มีเขต…ไม่มีจุด…ไม่มีดวง… ไม่มีอะไรปรุงแต่งมันได้อีก อาสวกิเลสเป็นทางผ่านให้กิเลสไหลมาสู่จิตได้ พอเข้าใจธรรมะแจ่มแจ้ง จะทำลายอาสวกิเลส ทำลายสังโยชน์…ไม่มีช่องเชื่อมต่อให้กิเลสกลับเข้ามาอีก มันขุดคุ้ยถึงภวังคจิต…อนุสัยทั้งหลายสลายตัวหมด
วิธีเจริญสติเพื่อให้รู้ทันจิตhttp://solardogwp.wordpress.com/2009/08/18/step-by-step/
ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
ฟังเพลง บรรลุธรรม แนวทางของการบรรลุธรรมไว้ ๓ แนวทางตามแนวที่ปรากฏในคัมภีร์ คือ ๑.บรรลุธรรมเพราะได้ฟัง ๒.บรรลุธรรมเพราะได้คิด ๓.บรรลุธรรมเพราะได้ปฏิบัติ ตัดข้อ ๒ และข้อ ๓ ออกก่อน คงกล่าวเฉพาะประเด็นแรกก่อน เพื่อไม่ให้เนื้อความยาวเกินไป คราวก่อนได้ยกตัวอย่างพระอัครสาวกทั้ง ๒ ว่า ได้บรรลุธรรมขั้นโสดาบันเพราะการฟัง เป็นที่น่าสังเกตว่า เฉพาะการฟังอย่างเดียวสามารถส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมถึงขั้นอรหัตผลนั้น มีตัวอย่างให้เห็นมากมาย เอาที่เราคุ้นเคยมากที่สุดก็เห็นจะเป็นปัญจวัคคีย์ทั้ง ๕ ซึ่งทั้งหมดนี้ได้บรรลุอรหัตต์เพราะฟังธรรมเทศนาชื่ออนัตตลักขณสูตรจากพระพุทธเจ้า การบรรลุธรรมที่เกิดขึ้นจากการฟังนี้ หากจะพิจารณากรณีตัวอย่างโดยละเอียดจะเห็นว่า จะบรรลุธรรมขั้นใดขึ้นอยู่กับพื้นเพอุปนิสัยเดิมของผู้นั้นเป็นสำคัญ บางท่านฟังแล้วบรรลุขั้นโสดาบัน บางท่านได้สกทาคามี อนาคามี หรือบางท่านก็ก้าวกระโดดบรรลุขั้นพระอรหันต์เลยก็มี การได้ฟังธรรม แล้วได้บรรลุธรรมในระดับต่าง ๆ จึงไม่ใช่เรื่องแปลก ในอรรถกถามังคลัตถทีปนีจึงกล่าวไว้ว่า “การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
พระศากยมุนีพุทธเจ้า 釋迦牟尼佛“ ข้าแต่พระศากยมุนี ! เป็นโชคดีของข้าพระพุทธเจ้ายิ่งแล้วที่ได้มาเฝ้าพระองค์สมปรารถนา พระองค์ผู้เจริญ ! เมื่อคืนนี้ ราตรีช่างยาวเสียเหลือเกิน ปรากฏแก่ข้าพระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเดือน เป็นเวลานานเหลือเกิน ที่สัตว์โลกจะได้สดับคำว่า พุทโธ พุทโธ “ “ดูก่อนสุทัตตะ ผู้ตื่นอยู่มิได้หลับย่อมรู้สึกว่าราตรีหนึ่งยาวนาน ผู้ที่เดินทางจนเมื่อยล้าแล้ว รู้สึกว่าโยชน์หนึ่งเป็นหนทางที่ยืดยาว แต่สังสารวัฏคือการเวียนเกิดเวียนตายของสัตว์ผู้ไม่รู้ พระสัทธรรมยังยาวกว่านั้น ดูก่อน สุทัตตะ สังสารวัฏนี้หาเบื้องต้นเบื้องปลายได้โดยยาก สัตว์ผู้พอใจในการเกิดย่อมเกิดบ่อย ๆ การเกิดบ่อย ๆ นั้นตถาคตกล่าวว่าเป็นความทุกข์ เพราะสิ่งที่ติดตามความเกิดมาด้วย ก็คือความชรา ความเจ็บปวดทรมานและความตาย ความต้องพลัดพรากจากสิ่งอันเป็นที่รัก ความต้องประสบกับสิ่งอันไม่เป็นที่รัก ความแห้งใจ ความคร่ำครวญ ความทุกข์กายทุกข์ใจ และความคับแค้นใจ อุปมาเหมือนเห็ดซึ่งโผล่จากดินและนำดินติดขึ้นมาด้วย หรืออุปมาเหมือนโคซึ่งเทียมเกวียน จะเดินไปไหนก็มีเกวียนติดตามไปทุกหนทุกแห่ง สัตว์โลกเกิดมาก็นำทุกข์ประจำสังขารติดมาด้วย ตราบใดที่เขายังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข์ก็ย่อมติดตามไปเสมอ เหมือนโคที่ยังมีแอกเกวียนครอบคออยู่ ล้อเกวียนย่อมติดตามไปทุกฝีก้าว” ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมก็เกิดย่อมขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในวัฏสงสารนี้มีจำนวนมากเหลือคณนา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่นิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดจิตยิ่งนัก ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”ดูก่อนสุทัตตะ ! ไม่ว่าภพไหนๆ ล้วนแต่มีลักษณะเหมือนกองเพลิงทั้งนั้น
มหาสติปัฏฐานสูตรดูกรภิกษุทั้งหลาย หนทางนี้ เป็นที่ไปอันเอก เพื่อความบริสุทธิ์ของเหล่าสัตว์ เพื่อล่วงความโศกและปริเทวะ เพื่อความดับสูญแห่งทุกข์และโทมนัส เพื่อบรรลุธรรมที่ถูกต้อง เพื่อทำพระนิพพานให้แจ้ง หนทางนี้ คือ สติปัฏฐาน ๔ ประการ ฉะนี้แล คำที่เรากล่าวดัง- *พรรณนามาฉะนี้ เราอาศัยเอกายนมรรคนี้กล่าวแล้ว. พระผู้มีพระภาคตรัสพระพุทธพจน์นี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นยินดี ชื่นชม ภาษิต ของพระผู้มี- *พระภาค แล้วแล.
วันพุธที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2557
พระภิกษุบังคลาเทศสวดคาถาชินบัญชรคาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด เริ่มสวด นโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. คำแปล พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
พระภิกษุบังคลาเทศสวดคาถาชินบัญชรคาถาชินบัญชร โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) พระคาถานี้เป็นคาถาศักดิ์สิทธิ์ตกทอดมาจากลังกา ท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯค้นพบในคัมภีร์โบราณและได้ดัดแปลงแต่งเติมให้ดีขึ้นเป็นเอกลักษณ์พิเศษ ผู้ใดสวดภาวนาพระคาถานี้เป็นประจำสม่ำเสมอจะทำให้เกิดความสิริมงคลแก่ตนเอง ศัตรูไม่กล้ากล้ำกราย มีเมตตามหานิยม ขจัดภัยตลอดจนคุณไสยต่างๆ ก่อนเจริญภาวนาให้ตั้งนะโม ๓ จบ แล้วระลึกถึงหลวงปู่โตและตั้งคำอธิษฐานแล้วเริ่มสวด เริ่มสวด นโม 3 จบ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นึกถึงหลวงปู่โตแล้วตั้งอธิษฐาน ปุตตะกาโมละเภปุตตัง ธะนะกาโมละเภธะนัง อัตถิกาเยกายะญายะ เทวานังปิยะตังสุตตะวา อิติปิโสภะคะวา ยะมะราชาโน ท้าวเวสสุวัณโณ มรณังสุขัง อะระหังสุคะโต นะโมพุทธายะ เริ่มบทพระคาถาชินบัญชร ชะยาสะนากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา. ตัณหังกะราทะโย พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา สัพเพ ปะติฏฐิตา มัยหัง มัตถะเกเต มุนิสสะรา. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร. หะทะเย เม อะนุรุทโธ สารีปุตโต จะทักขิเณ โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะ ราหุโล กัสสะโป จะ มะหานาโม อุภาสุง วามะโสตะเก. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโย วะ ปะภังกะโร นิสินโน สิริสัมปันโน โสภิโต มุนิปุงคะโว กุมาระกัสสโป เถโร มะเหสี จิตตะ วาทะโก โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิคุณากะโร. ปุณโณ อังคุลิมาโร จะ อุปาลี นันทะ สีวะลี เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ. เสสาสีติ มะหาเถรา วิชิตา ชินะสาวะกา เอเตสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา ชะลันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา. ระตะนัง ปุระโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะ สุตตะกัง ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะ สุตตะกัง อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะสัณฐิตา ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตัปปาการะ ลังกะตา วาตะปิตตาทะสัญชาตา พาหิรัช ฌัตตุปัททะวา. อะเสสา วินะยัง ยันตุ อะนันตะชินะ เตชะสา วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร. ชินะปัญชะระมัชฌัมหิ วิหะรันตัง มะฮี ตะเล สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะราโย สัทธัมมานุภาวะปาลิโต จะรามิ ชินะ ปัญชะเรติ. คำแปล พระพุทธเจ้าและพระนราสภาทั้งหลาย ผู้ประทับนั่งแล้วบนชัยบัลลังก์ ทรงพิชิตพระยามาราธิราชผู้พรั่งพร้อมด้วยเสนาราชพาหนะแล้ว เสวยอมตรสคือ อริยะสัจธรรมทั้งสี่ประการ เป็นผู้นำสรรพสัตว์ให้ข้ามพ้นจากกิเลสและกองทุกข์ มี ๒๘ พระองค์คือ พระผู้ทรงพระนามว่า ตัณหังกรเป็นต้น พระพุทธเจ้าผู้จอมมุนีทั้งหมดนั้น ข้าพระพุทธเจ้าขออัญเชิญมาประดิษฐานเหนือเศียรเกล้า องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดิษฐานอยู่บนศีรษะ พระธรรมอยู่ที่ดวงตาทั้งสอง พระสงฆ์ผู้เป็นอากรบ่อเกิดแห่งสรรพคุณอยู่ที่อก พระอนุรุทธะอยู่ที่ใจพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลาน์อยู่เบื้องซ้าย พระอัญญาโกณทัญญะอยู่เบื้องหลัง พระอานนท์กับพระราหุลอยู่หูขวา พระกัสสะปะกับพระมหานามะอยู่ที่หูซ้าย มุนีผู้ประเสริฐคือพระโสภิตะผู้สมบูรณ์ด้วยสิริดังพระอาทิตย์ส่องแสง อยู่ที่ทุกเส้นขน ตลอดร่างทั้งข้างหน้าและข้างหลัง พระเถระกุมาระกัสสะปะผู้แสวงบุญทรงคุณอันวิเศษ มีวาทะอันวิจิตรไพเราะอยู่ปากเป็นประจำ พระปุณณะ พระอังคุลิมาล พระอุบาลี พระนันทะ และพระสีวะลี พระเถระทั้ง ๕ นี้ จงปรากฏเกิดเป็นกระแจะจุณเจิมที่หน้าผาก ส่วนพระอสีติมหาเถระที่เหลือผู้มีชัยและเป็นพระโอรส เป็นพระสาวกของพระพุทธเจ้าผู้ทรงชัย แต่ละองค์ล้วน รุ่งเรืองไพโรจน์ด้วยเดชแห่งศีลให้ดำรงอยู่ทั่วอวัยวะน้อยใหญ่ พระรัตนสูตรอยู่เบื้องหน้าพระเมตตาสูตรอยู่เบื้องขวา พระอังคุลิมาลปริตรอยู่เบื้องซ้าย พระธชัคคะสูตรอยู่เบื้องหลัง พระขันธปริตร พระโมรปริตร และพระอาฏานาฏิยสูตร เป็นเครื่องกางกั้นดุจหลังคาอยู่บนนภากาศ อนึ่งพระชินเจ้าทั้งหลาย นอกจากที่ได้กล่าวมาแล้วนี้ ผู้ประกอบพร้อมด้วยกำลังนานาชนิด มีศีลาทิคุณอันมั่นคง สัตตะปราการเป็นอาภรณ์มาตั้งล้อมเป็นกำแพงคุ้มครองเจ็ดชั้น ด้วยเดชานุภาพแห่งพระอนันตชินเจ้าไม่ว่าจะทำกิจการใดๆ เมื่อข้าพระพุทธเจ้าเข้าอาศัยอยู่ในพระบัญชรแวดวงกรงล้อม แห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ขอโรคอุปัทวะทุกข์ทั้งภายนอกและภายใน อันเกิดแต่โรคร้าย คือ โรคลมและโรคดีเป็นต้น เป็นสมุฏฐานจงกำจัดให้พินาศไปอย่าได้เหลือ ขอพระมหาบุรุษผู้ทรงพระคุณอันล้ำเลิศทั้งปวงนั้น จงอภิบาลข้าพระพุทธเจ้า ผู้อยู่ในภาคพื้น ท่ามกลางพระชินบัญชร ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการคุ้มครองปกปักรักษาภายในเป็นอันดีฉะนี้แล ข้าพระพุทธเจ้าได้รับการอภิบาลด้วยคุณานุภาพแห่งสัทธรรม จึงชนะเสียได้ซึ่งอุปัทวอันตรายใดๆ ด้วยอานุภาพแห่งพระชินะพุทธเจ้า ชนะข้าศึกศัตรูด้วยอานุภาพแห่งพระธรรม ชนะอันตรายทั้งปวงด้วยอานุภาพ แห่งพระสงฆ์ ขอข้าพระพุทธเจ้าจงได้ปฏิบัติ และรักษาดำเนินไปโดยสวัสดีเป็นนิจนิรันดรเทอญฯ
พระธรรมเทศนาของพระพุทธเจ้า“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
เรื่องนี้คล้ายนิยายอิงธรรมะแต่เป็นเรื่องจริง“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
เพชรน้ำเอกในคำสอนของพระตถาคตเจ้า“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
โลกนี้เต็มไปด้วยความทุกข์ ทำอย่างไรใจเราจะไม่ทุกข์“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
ธรรมที่พอเหมาะกับคนธรรมดา“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
พระเจ้าปุกกุสาติ“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”
“การฟังธรรมจากพระพุทธเจ้าแล้วได้บรรลุอรหันต์ ไม่ใช่เรื่องอัศจรรย์” ที่น่าอัศจรรย์คือ แม้แต่เสียงเพลง เสียงขับร้อง ถ้าผู้ฟังรู้จักพิจารณา ไตร่ตรองโดยอุบายอันแยบคายแล้ว ย่อมส่งผลให้ผู้ฟังได้บรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน ตัวอย่างในพระคัมภีร์มีให้เห็นมากมาย เช่น อุตตรมาณพ เดินทางไปประกวดร้องเพลงชิงรางวัล ระหว่างทางก็พบพระพุทธเจ้า ๆ จึงเรียกไปสอบถาม ทราบความแล้วก็ทรงถามว่า เพลงที่จะร้องเนื้อหาเป็นอย่างไร อุตตรมาณพจึงร้องเพลงให้พระพุทธเจ้าฟัง แต่พอฟังจบ พระพุทธเจ้าก็บอกว่า เพลงขับแบบนี้ ไม่ถูก ร้องไปไม่มีทางชนะแน่นอน คัมภีร์ธรรมบทได้พรรณนาไว้ว่า พระพุทธเจ้าได้แต่งเพลงขับให้อุตตรมาณพใหม่ พร้อมกับให้ท่องจำให้แม่น เนื้อหาเพลงที่เป็นโจกย์ให้ผู้ท้าชิงร้องแก้ท่านผูกเป็นปัฏฐยาวัตรฉันท์ แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายอย่างนี้ “เป็นใหญ่อย่างไร จึงได้ชื่อว่าเป็นพระราชา เป็นพระราชาแบบไหน จึงได้ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าปราศจากธุล แบบไหน ? จึงได้ชื่อว่าเป็นคนพาล” เพลงตอบโจทย์ที่พระพุทธเจ้าแต่งให้อุตตรมาณพว่าดังนี้ “ผู้เป็นใหญ่ในทวารทั้ง ๖ ชื่อว่าเป็นพระราชา พระราชาผู้กำหนัด ชื่อว่ามีธุลีบนพระเศียร ผู้ไม่กำหนด ชื่อว่าปราศจากธุลี ผู้กำหนัดอยู่เรียกว่าเป็นคนพาล” บทเพลง ๔ บรรทัดแค่นี้ ส่งผลให้อุตตรมาณพบรรลุโสดาบันทันที ว่ากันว่า หลังจากเรียนเพลงขับจากพระพุทธเจ้าจนคล่องปากแล้ว อุตตรมาณพก็ออกเดินทางไปท้าประลอง และในที่สุดก็ประสบชัยชนะ คัมภีร์มังคลัตถทีปนี ได้เล่าเรื่องพระติสสะเถระ ผู้ปรารภวิปัสสนา ท่านเดินทางผ่านสระปทุม เวลานั้นมีหญิงสาวคนหนึ่งเก็บดอกบัวอยู่ นางคงจะมีอารมณ์สุนทรีย์ ขณะที่เก็บดอกบัวก็ร้องเพลงไปด้วย เนื้อเพลงผูกเป็นฉันทลักษณ์เช่นกัน แปลเป็นภาษาไทยได้ความหมายว่า “ดอกปทุมชื่อโกกนท บานแล้วแต่เช้าตรู่ ถูกแสงพระอาทิตย์แผดเผาให้เหี่ยวแห้งไปฉันใด สัตว์ทั้งหลายผู้ถึงความเป็นมนุษย์ ย่อมเหี่ยวแห้งไปด้วยกำลังแห่งชราฉันนั้น” บทเพลงความยาวเพียงแค่ ๔ บรรทัดเท่านี้ ทำให้พระติสสะเถระถึงกับรรลุพระอรหันต์ทันที ถัดจากเรื่องนี้ไปนิดหน่อย ในคัมภีร์เดียวกันนี้ ได้เล่าถึงชายผู้หนึ่ง พร้อมด้วยบุตรชาย ๗ คนกลับจากป่า ระหว่างที่เดินทางกลับบ้าน ได้ยินเสียงสตรีนางหนึ่งกำลังร้องเพลงขณะตำข้าว เสียงเพลงไพเราะจับใจ โดยเฉพาะเนื้อเพลงฟังแล้วชวนให้พิจารณา “สรีระนี้อาศัยหนังมีผิวเหี่ยวแห้ง ถูกชราย่ำยีแล้ว สรีระนี้ถึงความเป็นอามิส คือเหยื่อแห่งมฤตยู ย่อมตกไปเพราะมรณะ สรีระนี้เป็นที่อยู่ของหมู่หนอน เต็มไปด้วยซากศพต่าง ๆ สรีระนี้เป็นภาชนะของไม่สะอาด สรีระนี้เสมอด้วยท่อนไม้” สิ้นสุดเสียงเพลง ชายชราพร้อมลูกชายทั้ง ๗ คน บรรลุปัจเจกโพธิญาณทันที ที่สุดของเรื่องนี้ ท่านสรุปเป็นประเด็นทิ้งไว้อย่างนี้ว่า “แม้เทวาดาและมนุษย์เหล่าอื่น บรรลุอริยภูมิด้วยอุบายเช่นนี้” ทำให้เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นอย่างหนึ่งว่า เสียงเพลง หรือเสียงเพลงขับ หากประกอบด้วยเนื้อหาที่สะท้อนสัจธรรมความจริงอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ว ย่อมทำให้ผู้ฟังได้เกิดปัญญาญาณถึงขั้นบรรลุธรรมได้เช่นเดียวกัน หากจะมีคำถามว่า แล้วเนื้อเพลงแบบไหนเข้าข่ายดังกล่าวข้างต้น ในคัมภีร์ท่านไม่ได้พรรณนารายละเอียด ท่านเพียงแต่ให้แนวกว้าง ๆ ไว้สำหรับพิจารณาดังนี้ “เพลงขับที่ประกอบด้วยธรรมควร” “เมื่อบุคคลฟังเสียงแม้มีอักขระอันวิจิตร มีพยัญชนะอันวิจิตรใด ราคะเป็นต้นย่อมเกิดขึ้น เสียงเห็นปานนั้นบุคคลไม่ควรฟัง แต่เมื่อบุคคลฟังเสียงที่อาศัยธรรม แม้เพลงขับของนางกุมภทาสี ความเลื่อมใสย่อมเกิดขึ้นได้ หรือความเบื่อหน่ายย่อมปรากฏ เสียงเห็นปานนั้นควร” จากตัวอย่างเบื้องต้นนี้ ทำให้มองเห็นว่า สิ่งที่เรียกว่าสัจธรรมนั้น แฝงตัวอยู่ในธรรมชาติรอบกายเรา ขอเพียงรู้จักไตร่ตรอง พินิจ และพิจารณาเราก็จะสามารถมองเห็นได้ แม้จะไม่มีใครแสดงให้เราฟังก็ตาม ตรงกันข้าม หากเราไม่รู้จักไตร่ตรองพิจารณา ต่อให้พระพุทธเจ้ามายืนต่อหน้าเรา ก็ทรงช่วยอะไรเราไม่ได้ เพราะทรงตรัสไว้ชัดเจนว่า “เราตถาคตเป็นแต่เพียงผู้ชี้บอกแนวทางเท่านั้น”วุตโตทัยฉันทศาสตร์ เป็นตำราว่าด้วยแบบบัญญัติการแต่งฉันท์ มีประเภทต่างๆ ตามที่มาในคัมภีร์วุตโตทัย ซึ่งเป็นภาษาบาลีมีอยู่ ๑๐๘ ฉันท์ และได้แปลงเป็นฉันท์ไทยแล้ว ๑๐๘ ฉันท์ เท่ากัน ฉันท์ทั้ง ๑๐๘ ฉันท์นี้ ท่านจัดเป็นสองพวกเรียกว่า ฉันท์วรรณพฤติ และฉันท์มาตราพฤติ ฉันท์ใดกำหนดด้วยตัวอักษรฉันท์นั้น เรียกว่า วรรณพฤติ มี ๘๑ ฉันท์ ฉันท์ใดกำหนด้วยมาตรา ฉันท์นั้นเรียกว่า มาตราพฤติ มี ๒๗ ฉันท์ อาจารย์ ไพฑูรย์ พรหมวิจิตร แปล คัมภีร์วุตโตทัย ไว้ในหนังสือชื่อ ฉันทศาสตร์ไทย ผู้เขียนได้ลองเลือกฉันท์บทที่ชอบ ประพันธ์ไว้เป็นโคลง ได้ ๑๗ บท ดังนี้ ๑. วานวาสิกาฉันท์ อลสสฺส น ชายติ มติ ธนญฺจ มติธเน ยสฺส อสติ อิธ กถํ โส สุขี ปรมฺหิ จ อปิ จ ทุขี ตสฺมา อลโส วตน จ ภเวยฺย เงินทองกองท่วมบ้าน บ่ขยัน ครั้นเกียจกอบโกยปัญ- เญศด้อย สุขังยั่งยืนฉัน- ใดเล่า..สหายเอย สมบัติยศหมื่นร้อย ย่อมรู้โรยรา ปัญญาทรัพย์สมบัติเกิดมีแก่คนเกียจคร้านผู้ใด เมื่อปัญญาและทรัพย์สมบัติไม่มีแก่คนผู้นั้นแล้ว (เสื่อมลง) ความสุขในชาตินี้แลชาติหน้าจักมีด้วยประการฉันใด ยศสมบัติเหล่านั้นนักปราชญ์จักปรารภเอาย่อมไม่มี ๒. จปลาฉันท์ ทานํ ธนพีชํ เส สีลํ สุขพีชํ มิธ มนุชานํ ตสฺมา สุทานทาตา สิยา สุสิโล สหิทกาโก ทานังดั่งพืชให้ โภคทรัพย์ ศีลดั่งพืชให้สรรพ สุขแผ้ว ชนใดใคร่ลิ้มลัพธ์ รมเยศ พึงปลูกหน่อธรรมแล้ว จึ่งรู้รสธรรม ทานเป็นพืชอันบังเกิดข้าวของสมบัติ ศีลเป็นพืชบังเกิดสุขในใจแก่คนทั้งหลายในโลกย์ เหตุนั้นผู้ใดปรารถนาข้าวของสมบัติอันดีแก่ตน พึงให้ทานด้วยความศรัทธาแลมีศีลอันดีเถิด ๓. คีติฉันท์ โมหวนทฺโธ พาโล ตณฺหา วสมา คโต จ โกธวสํ ปาเป สาหส กาลี อปายภูมี นิวาส คติ มสฺส พาโลโมหะคลุ้ง ครอบงำ ตัณหราคะกรรม โกรธแค้น คิดบาปหยาบช้าทำ กระลีโทษ มี นรก รอแม้น มอดม้วยมรณา ชนพาลอันโมหวิชชาครอบงำ ลุอำนาจแห่งตัณหา โกรธแค้นร้ายหนักหนาในบาปกรรม มีอบายภูมินรกเป็นที่อยู่ที่ไปแห่งชนชั้นแล ๔. อุปคีติฉันท์ ปาเณสุ น การุญฺโญ ทลิทฺทเกสุ จ วิเหทูยติ อาธมฺเม นโร ภวติโลเก โย นโร นหิ สาธุ โส ปาณาติบาตสิ้น กรุณา เบียนเบียฑปวงประชา ยากไร้ ลืมธัมมะนำพา ภพสุข หาสิ่งดีไม่ได้ หนักพื้นโลกา คนผู้ใดไม่มีความกรุณาในสัตว์และคนทั้งหลายผู้เข็ญใจ ย่อมเบียดเบียนผู้อื่นให้เป็นทุกข์ คนผู้นั้นจักเป็นผู้หาดีไม่ได้ ชื่อว่าเป็นคนอธรรมในโลกย์ ๕. อาริยาคีติฉันท์ อติมาโน อธิโกโธ อวมาน กโรนํ เวสุ อภวุฑฺเฒ สุ โย พหุสุโตมิ โสปิน บณฺฑิโต พาลํ สมฺมโต อธิโลเก มานะมีมากครั้ง เคืองเคียด ใจจะหยามหมิ่นเกียรติ ทุกผู้ แม้นเรียนร่ำละเอียด เอกอุ ปากที่ฝากกระทู้ ถ่อยสิ้นสัทธรรม คนผู้ใดมีทิฐิมานะใหญ่ยิ่งนัก มีความโกรธเคืองเคียด ย่อมดูหมิ่นบุคคลอันหนุ่มและแก่กว่าตน แม้นผู้นั้นจะเป็นพหูสูตร (ผู้ร่ำเรียนมากเท่าใดก็ดี) จักถือเป็นบัณฑิตก็หามิได้ (เพราะความพาล) ขึ้นชื่อว่าเป็นคนใบ้คนหนึ่งในโลกย์ ๖. เวตาลียฉันท์ อธิปจฺจํโคธ โย นโร ตณฺหามาณว วตฺติโต ปเร ปตาเปติ มตฺตวุฑฺฒิยา ตถานาคเต ทุกฺขตา ปิโต ครองแคว้นแค้นข่มข้า ขุกเข็ญ เพื่อประโยชน์โฉดเป็น ที่ตั้ง ภายหน้าพ่าห์เพียบเพ็ญ พบเพท..ภัยเอย กรรมเก่าเข้าฉุดรั้ง เร่งให้ฉิบหาย บุคคลใดถึงความเป็นใหญ่ในโลกย์ ใช้อำนาจเบียดเบียนผู้อื่นให้เดือดร้อน เพื่อประโยชน์แก่ตน บุคคลนั้นจักเดือดร้อนในกาลหน้า ด้วยกรรมอันตนได้กระทำไว้ ๗. โอปจฺฉนฺทสกฉันท์ การุณิโล สนฺนโรธิปจฺจํ ยธา คโตโส สพฺพปาณเกสุ กโรติ สุขยํ น ปาปิทุกฺขํ สพฺพสุขีโน มานภาว ตสฺส กรุงไกรกษัตริย์เกื้อ กุศล เสริมสง่าการุณพล ไพร่ฟ้า ใจจำกำราบ รณ แรงบาป สุข สรนุกถ้วนหน้า แน่แท้ทุกสมัย คนผู้มี กรุณามาก ได้เป็นใหญ่ ในโลกย์ ในกาลเมื่อใด คนผู้นั้นกระทำความสุขให้แก่สัตว์โลกย์ทั้งหลาย ย่อมไม่กระทำความทุกข์ สัตว์โลกย์ทั้งหลายย่อมมีความสุขด้วยอำนาจของสัตตบุรุษนั้น ๘. อาปาฏลิกาฉันท์ โลภนิสฺสาย วินาโส ภวติ โทสํ จโมหนากํ จ โย นโร สวาฆนกาโม สจิตฺตรกฺขํ ทนฺตหิ กเรยฺย โลภมากกระชากช้ำ ฉิบหาย เหวแห่งจัตุราบาย บ่งรู้ โทโสโม่ห์ละลาย รมยสุข ละเกลศแล้วผู้ จิตพ้นสังสาร ความฉิบหายอาศัยความโลภ ซึ่งเกิดมีแก่สัตว์ทั้งหลาย ใช่แต่เท่านั้น ! ความฉิบหายย่อมอาศัยโทสะโมหะด้วย บุคคลทั้งหลายผู้หวังความเจริญ พึงกระทำการรักษาจิตใจของตนให้พ้นจากความโลภโกรธหลงนั้นเถิด ๙. ทกฺขิณนฺติกาฉันท์ ปหาย โกธํภิขนฺติ มา ทยาลุโก วา เมตฺตาจิตฺตกํ ทยํ จ ปเณสุ สมฺปเร สปญฺญวา น จเรติ ทารุนํ ขันตีนีราศแกล้ว โกรธา ถึงซึ่งเหตุเมตตา ตริถ้วน หลีกเร้นเข่นฆ่าสา- ธุสัตว์ สัปปุรุษเลิศล้วน ละเว้นทารุณ สัตตบุรุษผู้มีปัญญาละเว้นเสียยังความโกรธเป็นผู้ที่มีความอดทน ความกรุณามากนักย่อมเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่แก่สัตว์ทั้งหลาย สัตตบุรุษผู้นั้นย่อมไม่กระทำทารุณแก่สัตว์ ๑๐. อุทิจฺจวุติฉันท์ ปรสฺสลาเภ อุปาคเต เนว นินฺเทยฺย มิสฺสุภา ยตํ สภาวโต ยํ อธมฺมิกํ กายเลนฺตํ วนินฺทเย มุนี เศรษฐีมีมากแก้ว- กองทอง ปราชญ์ไป่ริษยาหมอง หม่นไหม้ ทรัพย์ใดใช่สิ่งของ สุจริต ปราชญ์อาจแนะแคะไค้ ข่มได้โดยควร ในเมื่อลาภมาถึงแก่ท่านผู้อื่น ผู้มีปัญญามิพึงติเตียนด้วยความริษยา วัตถุอันใดได้ด้วยมิชอบธรรม ผู้มีปัญญาติเตียนในกาลอันควรแล ๑๑. ปจฺจวุติฉันท์ สกาลา ภูตุปาทนํ ยถา อปฺปกมฺมิ สกลาภเก ตถา สนฺตุฏฺเฐยฺยว ปญฺญวา มา ปรสฺสลาเภ ปิหํ จเร ทุรโภคทุรโชคสร้าง ศฤงคาร- ธนทรัพย์ธนสาร ซึ่งน้อย พึงสันโดษสันดาน บัณฑิต อย่ามักใหญ่ในร้อย ลาภผู้อื่นสงวน การบังเกิดลาภแห่งตนด้วยประการใด แม้น้อยหนึ่งก็ดี ผู้มีปัญญาพึงสันโดษในลาภแห่งตนนั้น บ่มิพึงใคร่ได้ยังลาภแห่งท่านผู้อื่น ๑๒. ปวสฺตกฉันท์ ยโส จลาโภ จ กิตฺติ จ นิจฺจ ธัมฺมิกา เนว โหนฺติกา วินาส ธมฺมา ว ปณฺฑิโต ตาสุ มชฺชโต สพฺพทา ภเว ชื่อเสียงลาภยศเบี้ย บริวาร ฤาอยู่ยั่งยืนนาน เที่ยงแท้ ย่อมอันตรธาน ทุกเมื่อ ปราชญ์ไป่มัวเมาแล้ รีบสร้างทางเขษม ลาภยศบริวารชื่อเสียงก็ดี ไม่มีสภาวะอันมั่นเที่ยง ย่อมมีสภาวะอันรู้ฉิบหายไป เหตุนั้นบัณฑิตไม่พึงมัวเมาในกาลทุกเมื่อ ๑๓. อปรนฺติกาฉันท์ สพฺพโภคมิตฺตา สกานุคา เนว สพฺพฐาเน สยํ กตํ ปุญฺญปาปกมฺมํ สกานุคํ ตํ ปรมิปโลกานิวัตฺตกํ สินทรัพย์กับเพื่อนทั้ง หญิงชาย เคยติดตามยามตาย หมดสิ้น บุญบาป ขนาบกาย เกาะแน่น..นานนา นรชีพลับดับดิ้น บ่รู้ลาหาย ข้าวของทรัพย์สมบัติมิตรสหาย จักตามไปกับตนในสถานทุกแห่งหามิได้ กรรมอันเป็นบาปและบุญที่ตนได้กระทำไว้นั้น ย่อมตามไปกับตนในสถานที่ทุกแห่งแม้ในปรโลกหน้า ๑๔. จารุหาสินีฉันท์ ยทิ อตฺตโน อถฺเมสิโต ปหาย ปาปํว โส นโร ยเทวปุญฺมา ปรายิเก สุขาวหํตํ จเร สทา ชนใดไขว่คว้าสุข ใส่ตน ย่อมละเสียซึ่งผล บาปย้อม บุญบารมีดล แดนเทพ สู่สุขาวดีพร้อม- พรั่งด้วยสมบัติสวรรค์ บุคคลผู้ได้แสวงหาประโยชน์สุขแก่ตน ย่อมละเว้นจากบาปกรรมทั้งมวล กุศลกรรมอันใดซึ่งจักเป็นประโยชน์สุขในเทวโลก บุคคลผู้นั้นพึงกระทำในกาลทุกเมื่อแล ๑๕. อจลธิติ ฉันท์ ติสรณ มคต นรมรุ กลิคหนิ ทุจริต จริธ กลิผล อนุภวติ ตุมปคต นรมรุ นหิ กลิคหนิ สุจริต จริธ สุขผล อนุภวติ แก้วสามดวงเด่นไว้ หว่างทาง ทวยเทพนรชนปาง ปัดทิ้ง ถือทุจริตพลาง พบพิบาก..กรรมเอย ทุกข์ประทุกมากหยิ้ง ย่อมร้อนกลีผล เทวามานุษย์ผู้ พบตรัย..รัตน์เอย ถือสุจริตใจ อร่ามอล้า ดวงแก้วสาดส่องใส สว่างจิต สู่สุขรมย์ในหล้า แหล่งโน้นนีรันดร์ คนและเทวดาซึ่งไม่เข้าสู่ไตรสรณะ แลถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำทุจริต แลได้เสวยวิบากเป็นทุกข์ในโลก คนและเทวดาซึ่งเข้าไปสู่ไตรสรณะ แลไม่ถือเอาลัทธิอันผิด ย่อมกระทำสุจริต แลได้เสวยสุขในโลก ๑๖. วิสิโลกฉันท์ โลกีย สมฺปท ธรติ สทา น สาสนมุตฺตมนฺติ กทาจิ ตสฺมา น เปกขิย โลกโภคํ ธเรยฺย สาสน อาธรนฺติ กุศลสร้างจึ่งพร้อม สมบัติ โลกิยนิทัศน์ ทุกข์ด้วย ศาสนวิวัฒน์ บางคาบ ผู้ใฝ่ธรรมธรรมฉ้วย ชีพรู้รสธรรม โลกียสมบัติตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ก็ด้วยกุศลแห่งสัตว์ทั้งหลาย ศาสนาอันประเสริฐ แห่งพระพุทธเจ้า มิตั้งอยู่ในโลกในกาลทุกเมื่อ ศาสนาตั้งอยู่ในกาลบางคาบ เหตุนั้นผู้มีปัญญามิพึงฝักใฝ่ในสมบัติ พึงฝักใฝ่ ในศาสนานั้นเถิด ๑๗. มตฺตาสมกฉันท์ สรณตฺตยํ สรณคตฺต นรํ วฏ์ฎทุกฺขโต ปโม จ ยนฺเต นาญสรณํ ยทิโย วทิตวา อวํ ติสรณ คเมยฺย นโร สังสารวัฏเวิ้ง ทุกขะ พ้นเพราะไตรสรณะ นั่นแท้ พึ่งไอศวรรยะ ยังยาก พึ่งไตรรัตนนั่นแล้ หลีกล้างราญเข็ญ บุคคลผู้ใดซึ่งถึงไตรสรณะ ย่อมหลุดพ้นทุกข์ในวัฏฏสงสาร ที่พึ่งอันชื่นเช่นท้าวพระยามหาเสนาบดีจักให้หลุดพ้นจากทุกข์ในวัฏฏสงสารหามิได้ เหตุนั้นผู้รู้แล้วด้วยประการดังนี้ พึงถึงซึ่งไตรสรณะเป็นที่พึ่งแก่ตนเพราะวิเศษยิ่งกว่าที่พึ่งอันอื่น
โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะเรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ. เขาเป็นวิชาธร ท่องเที่ยวไป โดยอากาศ. ก็โดยสมัยนั้น พระศาสดา เมื่อจะทรงอนุเคราะห์เขา จึงเปล่งพระ- พุทธรังสีมีวรรณะ ๖ ประทับนั่งที่โคนไม้แห่งหนึ่ง เขาเหาะไปโดยอากาศ เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มีจิตเลื่อมใส ลงจากอากาศ บูชาพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยดอกกรรณิการ์ อันสะอาดบริสุทธิ์ด้วยดี ไพบูลย์ ด้วยพุทธานุภาพ (บันดาลให้) ดอกไม้ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในเบื้องบนของพระศาสดา โดยอาการ ของฉัตร ด้วยพุทธานุภาพนั้น ทำให้เขามีจิตเลื่อมใสยิ่งกว่าประมาณ ต่อมา กระทำกาละแล้ว เกิดในภพดาวดึงส์ เสวยทิพยสมบัติอันโอฬาร ดำรงอยู่ใน ภพดาวดึงส์นั้นจนตลอดอายุ ต่อแต่นั้น ก็ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครราชคฤห์ในพุทธุป- บาทกาลนี้ ได้มีนามว่า อุตตระ. เขาบรรลุนิติภาวะแล้ว ถึงความสำเร็จใน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 3 วิชชาของพราหมณ์ เป็นผู้เกิดมาทำโลกให้เจริญโดยรูป โดยวิชา โดยวัย และโดยศีลาจารวัตร. มหาอำมาตย์แห่งแคว้นมคธ ชื่อว่า วัสสการะ เห็นสมบัติ นั้นของเขาแล้ว เป็นผู้มีความประสงค์จะยกธิดาของตนให้ แจ้งความประสงค์ ของตนแล้ว. เขาปฏิเสธความหวังดีนั้น เพราะความเป็นผู้มีอัธยาศัย น้อมไป ในพระนิพพาน เข้าไปนั่งใกล้พระธรรมเสนาบดี ฟังธรรมในสำนักตามเวลา ที่เหมาะสม ได้เป็นผู้มีศรัทธาบวชแล้ว เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวัตรปฏิบัติพระเถระ. ก็โดยสมัยนั้น อาพาธบางอย่างเกิดแก่พระเถระ. เพื่อจะจัดยาถวาย พระเถระ อุตตรสามเณร จึงถือเอาบาตรจีวรออกจากวิหารไปแต่เช้าทีเดียว วางบาตรไว้ที่ริมฝั่งทะเลสาบ ในระหว่างทางเดินไปใกล้น้ำแล้วล้างหน้า. ลำดับนั้น โจรทำลายอุโมงค์คนหนึ่งถูกเจ้าหน้าที่ติดตาม หนีออกจากพระนคร โดยทางประตูด้านหน้านั่นแหละ ใส่ห่อรัตนะที่ตนลักมาไว้ในบาตรของสามเณร แล้วหนีไป. สามเณรเดินเข้าไปใกล้บาตร พวกราชบุรุษที่ติดตามโจรมา เห็นห่อ ของในบาตรของสามเณร จึงกล่าวว่า สามเณรนี้เป็นโจร สามเณรนี้ประพฤติ เป็นโจร แล้วจับสามเณรมัดมือไพล่หลัง ส่งให้วัสสการพราหมณ์. ก็ใน ครั้งนั้น วัสสการพราหมณ์ ได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งผู้วินิจฉัยคดีของพระราชา สั่งการลงโทษประหารและทรมานได้. เขาไม่ยอมไต่สวน ทวนพยานเลย สั่งให้เอาหลาวเสียบประจานสามเณรทั้งเป็น ๆ เพราะผูกอาฆาตว่า เมื่อก่อน สามเณรไม่เอื้อเฟื้อคำของเรา ไปบวชในลัทธินอกรีตนอกรอย. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรวจดูความแก่รอบแห่งญาณ ของอุตตรสามเณรแล้ว เสด็จไปสู่ที่นั้น ทรงวางพระหัตถ์ ซึ่งมีพระองคุลียาว อ่อนนุ่ม คลุมด้วยเปลวรัศมี ประดุจสายธารทองคำสีแดงธรรมชาติ ที่กำลัง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 4 หลั่งอยู่ เพราะประกอบด้วยรัศมีสีขาว แพรวพราวไปด้วยแสงแห่งแก้วมณี ที่นิ้วมืออันสั่นพริ้วอยู่บนศีรษะของอุตตรสามเณร แล้วตรัสว่า ดูก่อนอุตตระ นี้เป็นผลของกรรมเก่า เกิดขึ้นแล้วแก่เธอ เธอต้องทำความอดกลั้น ด้วยกำลัง แห่งการพิจารณา ในผลของกรรมนั้น ดังนี้ แล้วทรงแสดงธรรมตามสมควร แก่อัธยาศัย. อุตตรสามเณรกลับได้ปีติ และปราโมทย์อันโอฬาร เพราะความ เป็นผู้มีความเลื่อมใส และโสมนัสอันเกิดแล้ว ด้วยสัมผัสแห่งพระหัตถ์ของ พระศาสดา คล้ายกับทรงราดรดด้วยน้ำอมฤต ก้าวขึ้นสู่วิปัสสนามรรค ตาม ที่สั่งสมไว้ ยังกิเลสทั้งปวงให้สิ้นไปแล้ว ตามลำดับแห่งมรรคในทันใดนั้นเอง เพราะถึงความแก่รอบแห่งญาณ และเพราะเทศนาอันงดงามไพเราะของพระ ศาสดา. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า "สุเมธะ" มีพระมหาปุริสลักษณะ อันประเสริฐ ๓๒ ประการ พระองค์ทรงประสงค์ความสงัด จึงเสด็จไปป่า หิมพานต์ พระมุนีผู้เลิศ ประกอบด้วยพระกรุณาเป็น อุดมบุรุษ เสด็จถึงป่าหิมพานต์แล้ว ประทับนั่งขัด- สมาธิ ครั้งนั้น เราเป็นวิทยาธร สัญจรไปในอากาศ เราถือตรีศูล ซึ่งกระทำไว้ดีแล้ว เหาะไปในอัมพร พระพุทธเจ้าส่องสว่างอยู่ในป่า เหมือนกับไฟบนยอด ภูเขา เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญ และเหมือนต้น พระยารังที่มีดอกบาน เราออกจากป่าเหาะไปตาม พระรัศมีของพระพุทธเจ้า เห็นคล้ายกับสีของไฟที่ ไหม้ไม้อ้อ ยังจิตให้เลื่อมใส เราเลือกเก็บดอกไม้อยู่ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 5 ได้เห็นดอกกรรณิการ์ที่มีกลิ่นหอม จึงเก็บเอามา ๓ ดอก บูชาพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้า ครั้งนั้น ดอกไม้ของเราทั้ง ๓ ดอก เอาขั้วขึ้น เอากลีบลง ทำเป็นร่มเงาบังพระศาสดา ด้วยกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์ จำนง เราละร่างมนุษย์แล้ว ได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญ กรรมทำให้อย่างสวยงาม ในดาวดึงส์นั้นปรากฏชื่อว่า กรรณิการ์ แล่งธนูตั้งพันลูกคลีหนังตั้งร้อย คนถือธง สำเร็จด้วยสีเขียวใบไม้ มีประตูหน้าต่างตั้งแสนปรากฏ ในปราสาทของเรา บัลลังก์สำเร็จด้วยทองก็มี สำเร็จ ด้วยแก้วมณีก็มี สำเร็จด้วยแก้วทับทิมก็มี สำเร็จด้วย แก้วผลึกก็มี ตามแต่จะต้องการปรารถนา ที่นอนมี ค่ามาก ยัดด้วยนุ่น มีผ้าลวดลายรูปสัตว์ต่าง ๆ มี ราชสีห์เป็นต้น ผ้าลาดมีชายเดียว มีหมอนพร้อม ปรากฏว่ามีอยู่ในปราสาทของเรา ในเวลาที่เรา ปรารถนาจะออกจากภพ เที่ยวจาริกไปในเทวโลก ย่อมเป็นผู้อันหมู่เทวดาแวดล้อมไป เราสถิตอยู่ภายใต้ ดอกไม้ เบื้องบนเรามีดอกไม้เป็นเครื่องกำบัง สถานที่ โดยรอบ ๑๐๐ โยชน์ ถูกคลุมด้วยดอกกรรณิการ์ ดนตรีหกหมื่น บำรุงเราทั้งเช้าและเย็น ไม่เกียจคร้าน แวดล้อมเราเป็นนิตย์ ตลอดคืนตลอดวัน เรารื่นรมย์ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 6 ด้วยการฟ้อน การขับและด้วยกังสดาล เครื่องประโคม เป็นผู้มักมากด้วยกาม บันเทิงอยู่ด้วยความยินดีในการ เล่น ครั้งนั้น เราบริโภคและดื่มในวิมานนั้น บันเทิง อยู่ในไตรทศ เราพร้อมด้วยหมู่นางเทพอัปสร บันเทิง อยู่ในวิมานอันสูงสุด เราได้เสวยราชสมบัติในเทวโลก ๕๐๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และ ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับ มิได้ เมื่อเรายังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ย่อม ได้โภคทรัพย์มากมาย ความบกพร่องในโภคทรัพย์ ไม่มีแก่เราเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเกิดใน สองสกุล คือ ในสกุลกษัตริย์ หรือสกุลพราหมณ์ ย่อมไม่เกิดในสกุลต่ำทราม นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ยานช้าง ยานม้า และวอคานหาบ นี้เราได้ทุกสิ่ง ทุกอย่างทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา หมู่ทาส หมู่ทาสี และนารีที่ประดับประดาแล้ว เราได้ทุกอย่าง ทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ผ้าแพร ผ้าขนสัตว์ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้ายเราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่ง พุทธบูชา ผ้าใหม่ ผลไม้ใหม่ โภชนะมีรสอันเลิศ ใหม่ ๆ เราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา คำว่า เชิญเคี้ยวสิ่งนี้ เชิญบริโภคสิ่งนี้ เชิญนอนบนที่นอนนี้ เราได้ทั้งนั้น นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเป็นผู้อันเขา บูชาในที่ทุกสถาน เรามียศใหญ่ยิ่ง มีศักดิ์ใหญ่ มี พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 7 บริษัทไม่แตกแยกทุกเมื่อ เราเป็นผู้อุดมกว่าหมู่ญาติ นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราไม่รู้จักหนาว ไม่รู้จักร้อน ไม่มีความกระวนกระวาย อนึ่ง ทุกข์ทางจิต ย่อมไม่มี ในหทัยของเราเลย เราเป็นผู้มีผิวพรรณดังทองคำ เที่ยวไปในภพน้อยภพใหญ่ ความเป็นผู้มีวรรณะผิด- แผกไป เราไม่รู้จักเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว จึงจุติจากเทวโลก มาเกิดใน สกุลพราหมณ์ มหาศาลอันมั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี ละกามคุณ ออกบวชเป็นบรรพชิต เรามีอายุได้ ๗ ขวบแต่กำเนิด ได้บรรลุพระอรหัต พระพุทธเจ้าผู้มี ปัญญาจักษุ ทรงทราบคุณของเรา จึงรับสั่งให้เรา อุปสมบท เรายังหนุ่มก็ควรบูชา นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ทิพยจักษุของเราบริสุทธิ์ เราฉลาดในสมาธิ ถึง ความบริบูรณ์แห่งอภิญญา นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราบรรลุปฏิสัมภิทา ฉลาดหลักแหลมในอิทธิบาท ถึงความบริบูรณ์ในพระสัทธรรม นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ในกัปที่ ๓๐,๐๐๐ เราได้บูชาพระพุทธเจ้าใด ด้วย การบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็อุตตรสามเณร เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ลุกขึ้นจากหลาว แล้วยืนอยู่ใน อากาศ แสดงปาฏิหาริย์ ด้วยความอนุเคราะห์ในผู้อื่น มหาชนได้เกิดมีจิต พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 8 อัศจรรย์ในปรากฏการณ์ที่ไม่เคยมี. แผล (เก่า) ของท่านได้ผุดขึ้นในทันใด นั่นเอง. ท่านอันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านเสวยทุกข์เช่นนั้นอยู่ สามารถขวนขวายวิปัสสนาได้อย่างไร ? เมื่อจะแสดงความว่า ดูก่อนอาวุโส จะป่วยกล่าวไปใย ถึงโทษในสงสารของเรา ก็สภาพของสังขารทั้งหลาย ท่าน ทั้งหลายก็เห็นดีแล้ว เราแม้เสวยทุกข์เช่นนั้น อยู่อย่างนี้ ก็ยังสามารถเจริญ วิปัสสนาแล้วบรรลุพระอรหัตได้ จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า ภพอะไรที่เที่ยงไม่มี แม้สังขารที่เที่ยงก็ไม่มี ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ เราสลัดตน ออกจากกามทั้งปวง บรรลุถึงความสิ้นอาสวะแล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นตฺถิ โกจิ ภโว นิจฺโจ ความว่า ภพทั้งหลาย แยกประเภทออกไปอย่างนี้ คือ กรรมภพ อุปปัตติภพ กามภพ รูปภพ อรูปภพ สัญญีภพ อสัญญีภพ เนวสัญญีนาสัญญีภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ (และ) ปัญจโวการภพ. แม้ในบรรดาภพเหล่านั้น ภพอย่างใด อย่างหนึ่ง ที่จำแนกออกไปอย่างนี้ว่า เลว ปานกลาง อุกฤษฏ์ มีอายุยืน มากด้วยความสุข มีสุขและทุกข์คลุกเคล้ากันไป ดังนี้ จะเที่ยง ยั่งยืน มั่นคง มีอันไม่ต้องเพ่งดูเป็นธรรมดา ไม่มีเลย เพราะต้องอาศัยเหตุนั้น ๆ จึงเกิดขึ้น ประกอบความว่า ก็เพราะการณ์เป็นอย่างนี้แหละ ฉะนั้น แม้สังขารทั้งหลาย จะชื่อว่าเที่ยงไม่มีเลย. สังขารทั้งหลายนั่นแหละ ชื่อว่าเป็นของเกิดแล้ว โดยการกำหนด หมายรู้ เพราะอาศัยเบญจขันธ์ อันได้นามว่าสังขาร เพราะเหตุที่ปัจจัยทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 9 ปรุงแต่งแล้ว ย่อมเปลี่ยนแปลงไปเพราะชราและมรณะ เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า ไม่เที่ยง มีการแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จริงอย่างนั้น วิปริณามธรรมเหล่านั้น ท่านจึงกล่าวว่า สังขาร ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป โดยมีอธิบายว่า เบญจขันธ์ที่ท่านกล่าวไว้โดย ปริยายแห่งภพ และโดยปริยายแห่งสังขารเหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดไปตามปัจจัย และเกิดแล้ว ถูกชราเบียดเบียนบีบคั้น ย่อมเคลื่อน คือ แตกสลายไป. ด้วยบทว่า อุปฺปชฺชนฺติ จ เต ขนฺธา จวนฺติ อปราปร นี้ พระเถระแสดงความหมายว่า เบญจขันธ์ที่ได้ชื่อว่า ภพก็ดี สังขารก็ดี มีการ เกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นสภาพ. เพราะเหตุที่เมื่อพระโยคาวจร ยกเบญจขันธ์ ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้วพิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏชัด ดุจถูกไฟเผาแล้ว จะป่วยกล่าวไปใยถึงสังขารทั้งหลาย ที่พระโยคาวจรรู้อาทีนพ คือ โทษในเบญจขันธ์ที่ปัจจัยปรุงแต่งแล้ว ว่าเป็นเหมือนเรือนที่ถูกไฟไหม้แล้ว ด้วยวิปัสสนาปัญญา เห็นแล้วโดยเป็นอนิจจลักษณะ ย่อมปรากฏชัดกว่า เพราะความที่สังขารเป็นทุกข์ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา. เพราะเหตุที่ เมื่อพระโยคาวจรยกเบญจขันธ์ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้ว พิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏว่ามีภัยเฉพาะหน้าดุจเรือน ที่ถูกไฟไหม้ ฉะนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ภเวนมฺหิ อนตฺถิโก (เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ). ประกอบความว่า ก็แม้เล่ห์เหลี่ยม ที่มุ่งหมายในกามทั้งหลาย ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่ผู้ที่ทำตนให้หมุนกลับจากภพ ทั้งหลายได้โดยประการทั้งปวงอย่างนี้ ด้วยเหตุนั้น พระเถระ จึงกล่าวว่า นิสฺสโฏ สพฺพกาเมหิ เราเป็นผู้สลัดตนออกแล้วจากกามทั้งปวงดังนี้อธิบายว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 10 เราเป็นผู้มีจิตหมุนกลับจากกามทั้งหลายแม้เป็นทิพย์ (เห็น) เป็นเหมือนของ มนุษย์. บทว่า ปตฺโต เม อาสวกฺขโย ความว่า เพราะเหตุที่เราเป็นผู้มี สังขารอันขจัดขัดเกลาดีแล้ว เห็นโทษในภพทั้งหลายโดยชัดเจน และมีใจ ไม่ข้องแวะในกามทั้งหลาย ฉะนั้น ถึงแม้เราจะนั่งอยู่แล้วบนปลายหลาว เราก็ ได้บรรลุ คือ ถึงทับความสิ้นไปแห่งอาสวะ อันได้แก่พระนิพพาน และพระ- อรหัตผล. พระเถระ ให้โอวาทแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ก็เพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย เหล่าอื่น ผู้มีใจยังไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ พึงกระทำความอุตสาหะเพื่อ บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะนั้น. จบอรรถกถาอุตตรเถรคาถา ๒. ปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระปิณโฑลภารทวาชเถระ [๒๕๙] ได้ยินว่า พระปิณโฑลภารทวาชเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้อย่าง นี้ว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไป โดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้ เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาอาหารโดย ทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าว การไหว้ และการบูชาในตระกูลทั้งหลายว่า เป็น เปลือกตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะอันบุรุษชั่วละได้ยาก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 11 อรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา คาถาของท่านพระปิณโฑลภารทวาชเถระ เริ่มต้นว่า นยิท อนเยน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้ เกิดในกำเนิดราชสีห์ ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ อยู่ในถ้ำแห่งภูเขา. พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จเข้าไปสู่ถ้ำเป็นที่นอน ในเวลาที่ราชสีห์หลีกออกไปหากิน เพื่อจะทรง อนุเคราะห์เขา ประทับนั่งเข้านิโรธสมาบัติแล้ว ราชสีห์คาบเอาเหยื่อกลับมา เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ประตูถ้ำ เป็นผู้ร่าเริงยินดี กระทำการบูชาด้วยดอกไม้ ที่เกิดในน้ำและดอกไม้ที่เกิดบนบก ทำใจให้เลื่อมใส บันลือสีหนาทในเวลา ทั้ง ๓ เพื่อให้สัตว์ร้ายในป่าหนีไป เพื่อถวายอารักขาพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ยืน เฝ้าอยู่โดยมีพุทธานุสติเป็นอารมณ์ มันบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าตลอด ๗ วัน เหมือนอย่างที่บูชาในวันแรก. โดยล่วงไปได้ ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติ ทรงพระดำริว่า เท่านี้ก็จะพอเป็นอุปนิสัย เป็นไปแก่ราชสีห์ เมื่อมันเห็นอยู่ นั่นแล เสด็จเหาะขึ้นสู่อากาศ เสด็จไปยังพระวิหารแล้ว. ราชสีห์ ไม่อาจอด กลั้นความทุกข์ อันเกิดจากความพลัดพรากจากพระพุทธเจ้า กระทำกาละแล้ว ดุจช้างปาลิเลยยกะ เกิดในตระกูลของคฤหบดีผู้มีโภคะมาก ในพระนครหงสาวดี เจริญวัยแล้ว ไปสู่พระวิหารพร้อมกับชาวเมือง ฟังพระธรรมเทศนา บำเพ็ญ มหาทานตลอด ๗ วัน แล้วกระทำบุญจนตลอดชีวิต ท่องเที่ยวไป ๆ มา ๆ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 12 อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรปุโรหิต ของพระเจ้าอุเทน ใน พระนครโกสัมพี ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย โดยนาม ชื่อว่า ภารทวาชะ. เขาเจริญวัยแล้ว เรียนจบไตรเพท สอนมนต์กะมาณพ ๕๐๐ ถูก มาณพเหล่านั้นทอดทิ้ง เพราะเป็นผู้มีอาจาระไม่เหมาะสม เพราะเป็นคนจะกละ (กินจุ) ไปสู่พระนครราชคฤห์ เห็นลาภสักการะของพระผู้มีพระภาคเจ้า และ ของภิกษุสงฆ์ จึงบวชในพระศาสนา เป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนะ เที่ยวไป อันพระศาสดาทรงทำให้ตั้งอยู่ ในความเป็นผู้รู้ประมาณได้ด้วยอุบายวิธี เริ่ม ตั้งวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ ในอปทานว่า เมื่อก่อนเราเป็นพรานเนื้อ ครั้งนั้นเราเที่ยวอยู่ใน ป่าใหญ่ ได้เห็นพระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี ทรงรู้จบธรรมทั้งปวง เราเลื่อมใส ได้เอาผลมะหาด มาถวายพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด เป็นเขตแห่งบุญ ผู้แกล้วกล้า ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการ ถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการ ถวายผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระเป็นผู้ได้อภิญญา ๖ แล้ว คิดว่า มรรคผลใด อันสาวก ทั้งหลายพึงบรรลุ เฉพาะพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า มรรคผลนั้นเราก็ บรรลุแล้ว และบันลือสีหนาทในหมู่ภิกษุว่า ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผล พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 13 ผู้นั้นจงถามเรา ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงตั้งท่านไว้ใน เอตทัคคะ ด้วยพระพุทธดำรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นยอดแห่งภิกษุผู้เป็นสาวกของเรา ผู้บันลือสีหนาท. วันหนึ่ง ท่านเมื่อจะอนุเคราะห์พราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ มีความ ตระหนี่ เคยเป็นสหายกันในสมัยเมื่อเป็นคฤหัสถ์ ผู้เข้าไปหาถึงสำนักจึงกล่าว กถาพรรณนาอานิสงส์ของทานแก่พราหมณ์นั้น แม้เมื่อพราหมณ์ จะทำการ ขมวดคิ้วสยิวหน้าว่า พระเถระนี้ ประสงค์จะยังทรัพย์ของเราให้พินาศ แล้ว- กล่าวว่า เราจะถวายภัตรมื้อหนึ่งแก่ท่าน ดังนี้ จึงกล่าวว่า ท่านจงถวายภัตร มื้อหนึ่งนั้นแก่พระสงฆ์ อย่าถวายเราเลย แล้วให้พราหมณ์น้อมนำภัตรนั้น ไป ถวายสงฆ์ เมื่อพราหมณ์แสดงความไม่พอใจอีกด้วยคิดว่า พระเถระนี้ประสงค์ จะให้เราถวายทานแก่ภิกษุจำนวนมาก ดังนี้ พระเถระจึงยังพราหมณ์ให้เลื่อมใส ด้วยการประกาศถึงความที่แห่งทักษิณาทาน ที่ถวายในสงฆ์ โดยพระธรรม เสนาบดีในวันที่สองว่ามีผลมาก คิดว่าพราหมณ์นี้ สำคัญว่า พระเถระนี้ชักชวน ให้เราถวายทาน ด้วยควานอยากในอาหาร เขาไม่รู้ความที่เราควบคุม (กำหนดรู้) อาหารได้แล้วโดยประการทั้งปวง เอาเถิด เราจะทำให้เขารู้ ดังนี้ จึงได้กล่าว คาถา ๒ คาถา ความว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาโดยทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าวการ ไหว้ การบูชา ในตระกูลทั้งหลายว่า เป็นเปลือก ตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะ อันบุรุษชั่วละได้ยาก ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 14 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นยิท อนเยน ชีวิต ความว่า ชีวิต ของเรานี้ ชื่อว่า ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควรคือ โดยการแสวงหาที่ไม่สมควร มีการให้ไม้ไผ่ และการให้ดอกไม้เป็นต้น เพราะไม่มีความใคร่ในชีวิต. บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า ก็อาหารที่เรานำมา ย่อมไม่กระทำหทัย คือ จิต ให้สงบระงับ ดุจมรรคญาณและผลญาณ อธิบายว่า แต่จะกระทำเพียงระงับความหิวได้โดยทันทีอย่างเดียว. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า อาหาร คือ วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความอยากในรส ไม่ได้ทำจิตของเราให้สงบ คือไม่ทำจิตของเราให้ข้อง เพราะไม่มีความอยากในรสนั่นเอง อาจารย์บางพวก กล่าวว่า สนฺติเก ก็มี. อธิบายว่า ผู้ที่มีความจะกละในอาหารนั้น ย่อมต้องขวนขวายหาลาภ สักการะเที่ยวไป อาหารจึง ชื่อว่า มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะต้องใส่ใจถึงอยู่ เนือง ๆ ส่วนผู้ใดรู้เท่าทัน (ควบคุม) อาหารได้ ผู้นั้น ชื่อว่าละฉันทราคะ ในอาหารนั้นได้แล้ว อาหารชื่อว่าไม่มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะไม่มีการกระทำ ไว้ในใจ มีอาทิว่า ทำอย่างไรหนอ ถึงจะได้อาหารดังนี้โดยแท้ เพราะใส่ใจ ถึงปัญหายอกย้อน อันจะมีขึ้นว่า ก็ถ้าท่านไม่มีความใคร่ในชีวิต และความอยาก ในรสอาหารไซร้ เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุไร ท่านจึงเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต ดังนี้ พระเถระจึงกล่าวว่า ร่างกายจะดำรงอยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยว แสวงหาอาหารโดยทางที่ชอบ. อาหาร คือ โภชนะเป็นที่ตั้ง คือ เป็นฐานได้แก่เป็นปัจจัยของร่างกาย นั้น เพราะเหตุนั้น ร่างกายจึงชื่อว่า อาหารัฏฐิติกะมีอาหารเป็นที่ตั้ง อธิบายว่า การสั่งสม คือร่างกาย มีความเป็นไปเนื่องด้วยอาการ เพราะเราเห็นอย่างนี้ รู้อย่างนี้ จึงยกเอาความข้อนี้ไว้ในสมอง ต้องเที่ยวแสวงหา คือ ทำการแสวงหา อาหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 15 พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ท่านไม่ควรคิดในคนเช่นเราอย่างนี้ว่าเข้าไป สู่สกุลเพราะปัจจัยเป็นเหตุ และถูกลาภสักการะ คือการกราบไหว้บูชาในสกุล นั้น ผูกมัดไว้ จึงได้กล่าวคาถาว่า ปงฺโก (การไหว้การบูชาในตระกูลเป็น เปลือกตม). คาถานั้นมีอธิบายว่า เพราะเหตุที่บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้รู้ คือ รู้แจ้ง หรือได้แก่ประกาศการสรรเสริญคุณและการบูชา ของเหล่า บรรพชิตผู้เข้าไปสู่สกุล เพราะมีปัจจัยเป็นเหตุที่จักเป็นไปในตระกูลทั้งหลาย คือ ในหมู่ชาวบ้าน นี้นั้นว่าเป็นเปลือกตม คือเป็นหล่ม เพราะอรรถว่า เป็นเหตุให้บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้วจมลง และเพราะกระทำความ เศร้าหมองให้แก่บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้ว ฉะนั้นการสรรเสริญคุณ และการบูชานั้น จึงไม่เป็นไปเพื่อผูกมัดสัตบุรุษทั้งหลาย จักป่วยกล่าวไปใย ถึงการหวังสักการะเล่า เพราะท่านละได้แล้ว แต่สำหรับอสัตบุรุษ ความหวัง ในสักการะ ย่อมชื่อว่าเป็นลูกศรอันละเอียด รู้ได้ยาก เพราะก่อให้เกิดความ บีบคั้นโดยเป็นสภาพที่รู้ได้โดยยาก และเพราะไม่สามารถจะถอนออกได้เพราะ เจาะลึกเข้าไปในภายใน เพราะเหตุนั้นแล สักการะจึงเป็นของอันบุรุษชั่วนั้น ละได้ยาก คือดึงออกไปได้โดยยาก เพราะไม่ดำเนินปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติ ให้ถึงการละสักการะนั้น ชื่อว่า เป็นคนเลว เพราะไม่ละความหวังในลาภ สักการะ. พราหมณ์ฟังคำเป็นคาถานั้นแล้ว ได้เป็นผู้มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ในพระเถระ. จบอรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 16 ๓. วัลลิยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวัลลิยเถระ [๒๖๐] ได้ยินว่า พระวัลลิยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า วานรเข้าไปอยู่ในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออกทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุดนิ่ง นะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจัก ไปไกลไม่ได้ละ. อรรถกถาวัลลิยเถรคาถา คาถาของท่านพระวัลลิยเถระ เริ่มต้นว่า มกฺกโฏ ปญฺจทฺวาราย. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญมากหลายไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกัป ที่ ๓๑ นับแต่ภัทรกัปนี้ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเข้าไปสู่ป่าด้วยกรณียกิจ บางอย่าง เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่า นารทะ อยู่ที่โคนต้นไม้ในป่านั้น เป็นผู้มีใจเลื่อมใส ทำศาลาด้วยไม้อ้อ มุงบังด้วยหญ้าถวาย และแผ้วถางที่ สำหรับเดินจงกรมของพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น เกลี่ยทรายลง (จนเรียบ) ถวาย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 17 ได้มีนามว่า วัลลิยะ. เขาเจริญวัยแล้ว ถึงความเป็นหนุ่มโดยลำดับ เป็น ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจของอินทรีย์ ท่องเที่ยวไป เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า โดยการแนะนำของกัลยาณมิตร ฟังธรรมแล้ว ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ หารินะ ครั้งนั้นพระสยัมภูพุทธเจ้า นามว่า " นารทะ " อยู่ใกล้ต้นไม้ เราทำเรือนไม้อ้อ มุงด้วยหญ้า เราได้ แผ้วถางทางจงกรม ถวายพระสยัมภู ด้วยกรรมที่เรา ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์จำนงไว้ เราละ ร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ บนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์นั้น วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญกรรมเนรมิตขึ้นอย่างสวยงาม เพราะผล แห่งการสร้างกุฎีไม้อ้อ เรารื่นรมย์อยู่ในเทวโลก ๑๔ กัป ได้เสวยสมบัติในเทวโลก ๗๑ ครั้ง ได้เป็นพระ- เจ้าจักรพรรดิ ๓๔ ครั้ง และได้เป็นเจ้าประเทศราช อันไพบูลย์ โดยคณานับไม่ถ้วน เราขึ้นสู่ปราสาทคือ ธรรมแล้ว เข้าถึงซึ่งอมตธรรมอันประเสริฐ ด้วยอาการ ทั้งปวง อยู่ในศาสนาของพระศากยบุตร ตามปรารถนา ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ทำกรรมใดไว้ใน กาลนั้น ด้วยธรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผล แห่งกุฏิไม้อ้อ. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 18 ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เพราะเหตุที่จิตของตนในเวลา ที่เป็นปุถุชน เป็นไปตามความใคร่ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปารมณ์เป็นต้น บัดนี้ เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล โดยประกาศถึงความที่แห่งอารมณ์มีรูป เป็นต้น อันตนข่มไว้ได้แล้ว ด้วยพระอริยมรรค จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า วานรเข้าไปในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออก ทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุด นิ่งนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจักไปไกลไม่ได้ละ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ฆฏฺฏยนฺโต ความว่า พระโยคาวจร ละอารมณ์อย่างหนึ่ง แล้วไปยึดอารมณ์อีกอย่างหนึ่ง ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปเป็นต้น ด้วยจักษุทวารเป็นต้นนั้น ๆ ไม่พอใจเพื่อจะอยู่นิ่ง ๆ ด้วย สามารถแห่งการยึดมั่นของจิตสันดาน จึงพยายาม คือ ทำอารมณ์ให้ไหวอยู่ เนือง ๆ ย่อมไหวไปตาม คือเที่ยวไปตามความใคร่ ในอารมณ์มีรูปารมณ์ เป็นต้นนั้นแล ดุจลิงเข้าไปหาผลไม้กิน ยังต้นไม้ให้ไหวในที่นั้นหลายครั้ง เพราะละกิ่งไม้กิ่งหนึ่งแล้ว ไปเกาะกิ่งไม้อีกกิ่งหนึ่ง เพราะความหลุกหลิก ของตน ฉะนั้น. ก็ในคาถานี้ ท่านกล่าวความเป็นปัจจุบัน เพราะเป็นเรื่อง ที่ใกล้กับสิ่งที่ดำเนินไปอยู่ ก็เมื่อลิง (คือจิต) วิ่งวนไปมาอยู่อย่างนี้ พระเถระ จึงปรามว่า จงหยุดนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไป หมายความว่า ดูก่อนลิงคือจิต บัดนี้ เจ้าจงหยุด อย่าวิ่งไป คือจำเดิมแต่นี้ไป เจ้าไม่สามรถจะวิ่งต่อไปได้ เพราะ เหตุที่เรือนคืออัตภาพนั้น เจ้าจะเข้าไปคบหาไม่ได้ดังกาลก่อน เพราะปิดประตู เรือนแล้ว ฉะนั้น เจ้าอย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เพราะเหตุไร ? เพราะเรา จับเจ้าได้แล้วด้วยปัญญา คือ เจ้าถูกข่มไว้เรียบร้อยแล้ว ด้วยการตัดอุปาทาน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 19 ๕ กล่าวคือกิเลสมาร และอภิสังขารมาร ด้วยมรรคปัญญา ในบัดนี้ เพราะ เหตุนั้น พระเถระจึงแสดงว่า เจ้าจักไปไกลไม่ได้ คือเจ้าจะไปสู่อัตภาพที่ สองเป็นต้น ซึ่งไกลกว่าอัตภาพนี้ไม่ได้ ได้แก่การไปของเจ้าจะมีได้เพียงแต่ จริมกจิตเท่านั้น. ปาฐะว่า เนโต ทูร ดังนี้ก็มี. ความหมายก็อันนั้น. จบอรรถกถาวัลลิยเถรคาถา ๔. คังคาตีริยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระคังคาตีริยเถระ [๒๖๑] ได้ยินว่า พระคังคาตีริยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อ สำหรับตักน้ำรด ศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง ๒ พรรษา เราพูดเพียงคำเดียวเท่านั้น ในภายใน พรรษาที่ ๓ เราทำลายกองความมืดคืออวิชชาได้แล้ว. อรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา คาถาของท่านพระคังคาตีริยเถระ เริ่มต้นว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้วเป็นผู้มี ความเลื่อมใสอย่างยิ่งในพระศาสนา ได้ถวายน้ำดื่มแด่ภิกษุสงฆ์. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 20 ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของคฤหบดีคนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า ทัตตะ. เขาเจริญวัย แล้วอยู่ครอบครองเรือน ไม่รู้จักความเป็นอคมนียยัฏฐาน จึงทำการล่วงละเมิด ต่อมารู้จักความเป็นอคมนียัฏฐานแล้ว จึงเกิดความสลดใจ บวชแล้ว รังเกียจ กรรมนั้น ดำรงตนตามลูขปฏิปทา (ปฏิบัติอย่างเศร้าหมอง) ถือบังสุกุลจีวร และบาตรดิน มีลักษณะคล้ายหม้อรดน้ำศพ กระทำกุฎีด้วยใบตาล ๓ ใบ อยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงได้สมญานามว่า คังคาตีริยะ. ท่านอธิษฐานจิตว่า เรายังไม่ได้บรรลุพระอรหัต จะไม่สนทนากับใคร ๆ แล้วเป็นผู้นิ่งอยู่ตลอดปีแรก ไม่ยอมทำวจีเภท (ไม่ยอมพูดจา) เลย อยู่แล้ว. ในปีที่สอง ถูกหญิงคนหนึ่งในโคจรคาม ประสงค์จะทดลองว่า เป็นใบ้ หรือเปล่า จึงเมื่อจะเทน้ำนมลงในบาตร แกล้งทำเป็นมือพิการเทราดลงไป เผลอเปล่งวาจาออกไปว่า พอละน้องหญิง แต่ในปีที่ ๓ เพียรพยายามอยู่ บรรลุพระอรหัตแล้วในระหว่างพรรษาทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าว ไว้ในอปทานว่า เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ในภิกษุสงฆ์ ผู้ยอดเยี่ยมของพระพุทธเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ จึงได้ตักน้ำใส่หม้อน้ำฉันจนเต็ม ในเวลาที่เราจะต้อง การน้ำ จะเป็นยอดภูเขา ยอดไม้ ในอากาศ หรือพื้นดิน น้ำย่อมเกิดแก่เราทันที ในกัปที่แสน แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จัก ทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการให้น้ำเป็นทาน. เราเผากิเลส ทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรา กระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 21 ก็พระเถระครั้นเป็นพระอรหันต์แล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล ด้วยมุขคือการชี้แจงข้อปฏิบัติอันเป็นส่วนเบื้องต้นของตน ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อสำหรับรดน้ำศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง๒พรรษา เราพูดเพียงคำเดียว ในภายในพรรษาที่ ๓ เราทำลาย กองความมืด คืออวิชชาได้แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน คงฺคาตีเร กุฏี กตา ความว่า เราสร้างกุฎีไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา เพื่อป้องกันฝนด้วย ใบตาล ๓ ใบ ซึ่งหล่นลงมาจากต้นตาล. พระเถระแสดงความสันโดษด้วย เสนาสนะของตน ด้วยบทนั้น. สมจริงดังคำเป็นคาถาที่พระธรรมเสนาบดี กล่าวไว้ว่า สำหรับภิกษุผู้มีความเพียร นั่งขัดสมาธิ ไม่คุก- เข่า เป็นการเพียงพอที่จะอยู่ได้สบาย. ปาฐะว่า ตาลปตฺตีนปิ ดังนี้ก็มี ความก็อย่างนั้น. บทว่า ฉวสิตฺโตว เม ปตฺโต ความว่า บาตรของเราเหมือนดัง หม้อสำหรับตักน้ำรดศพ อธิบายว่า คล้ายหม้อน้ำสำหรับรดน้ำนมให้คนตาย. บทว่า ปสุกูลญฺจ จีวร ความว่า และจีวรของเรา ก็เป็นดังผ้า คลุกฝุ่น ที่ทำด้วยเศษผ้า (ผ้าขี้ริ้ว) ที่เขาทิ้งแล้วในที่ทั้งหลาย มีระหว่างทาง และป่าช้าเป็นต้น. พระเถระแสดงความสันโดษด้วยบริขาร ด้วยบททั้งสอง. บทว่า ทวินฺน อนฺตรวสฺสาน ความว่า ในระหว่างพรรษาทั้งสอง คือ ในปีที่บรรลุพระอรหัต นับแต่บวชแล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 22 บทว่า เอกา วาจา เม ภาสิตา ความว่า เราพูดเพียงคำเดียว คือ กล่าวห้ามการถวายน้ำนมว่า พอละน้องหญิงเท่านั้น การเปล่งคำพูด อย่างอื่น มิได้มีเลยในพรรษานั้น พระเถระแสดงการสำรวมกายวาจา อย่าง อุกฤษฏ์ด้วยบทนั้น. บทว่า ตติเย อนฺตรวสฺสมฺหิ ความว่า ในระหว่างปีที่ ๓ ได้แก่ ยังไม่ทันครบปีที่ ๓ นั่นเอง. บทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต ความว่า กองแห่งความมืด อันเรา ทำลายแล้ว ด้วยมรรคอันเลิศ อธิบายว่า กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ใน สันดาน คือ อวิชชา อันเราตัดขาดแล้ว. ด้วยบทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต นั้น พระเถระกล่าวถึงการละกิเลสทั้งปวงได้ โดยไม่เหลือ เพราะตั้งอยู่เป็น อันเดียวกันกับอวิชชานั้น. จบอรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา ๕. อชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระอชินเถระ [๒๖๒] ได้ยินว่า พระอชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อมดู หมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใดใน โลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่า บุคคลนั้นจะ เป็นผู้ชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือ ของคน พาลทั้งหลาย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 23 อรรถกภาอชินเถรคาถา คาถาของท่านพระอชินเถระ เริ่มต้นว่า อปิ เจ โหติ เตวิชฺโช. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์- ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว ไปป่าด้วยกรณียกิจบางอย่าง เห็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า นามว่า สุจินติตะ ในป่านั้น ถูกอาพาธเบียดเบียน บีบคั้นนั่งอยู่แล้ว จึงเข้าไปหาไหว้แล้ว เป็นผู้มีจิตเลื่อมใส ได้นำเอาขี้ตะกอน เปรียงเข้าไปถวาย เพื่อประกอบยา. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้ว ท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในสุคติภพเท่านั้น ถือปฏิสนธิในเรือนของพราหมณ์ผู้ยากจน คนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้. ในเวลาคลอด คนทั้งหลาย รับเขาไว้ด้วยหนังเสือ ด้วยเหตุนั้น จึงขนานนานเขาว่า อชินะ นั่นแล. เขาเกิดในตระกูลที่ยากจน เพราะไม่ได้กระทำกรรมอันเป็นเหตุยังโภคะ ให้เป็นไป แม้เจริญวัยแล้ว ก็ยังเป็นผู้มีน้ำและข้าวไม่บริบูรณ์ เที่ยวไป เห็นพุทธานุภาพ ในคราวที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับพระเชตวันมหาวิหาร เป็นผู้มีศรัทธาจิต บวชแล้ว กระทำกรรมในวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีภาคะ ผู้มีเหตุอันดำริดีแล้ว เป็นเชษฐ- บุรุษของโลก ประเสริฐกว่านรชน เข้าไปสู่ป่าใหญ่ ถูกอาพาธอันเกิดแต่ลมเบียดเบียน เราเห็นแล้ว จึง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 24 ทำจิตให้เลื่อมใส นำเอาขี้ตะกอนเปรียงเข้าไปถวาย เพราะเราได้กระทำกุศลและได้บูชาพระพุทธเจ้าเนืองๆ แม่น้ำคงคาชื่อภาคีรถีนี้ มหาสมุทรทั้ง ๔ และพื้นปฐพี ที่น่ากลัว ผ ซึ่งจะประมาณมิได้ นับไม่ถ้วนนี้ ย่อม สำเร็จเป็นเปรียงขึ้นได้ สำหรับ เรา น้ำผึ้ง น้ำตาลกรวด ดังจะรู้ความดำริของเรา เกิดขึ้น ตอไม้ที่งอกขึ้น แต่ แผ่นดินในทิศทั้ง ๔ ดังจะรู้ความดำริของเรา ย่อมเกิด เป็นต้นกัลปพฤกษ์ขึ้น เราได้เป็นจอมเทวดาเสวยราช- สมบัติในเทวโลก ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดย คณานับไม่ถ้วน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งขี้ตะกอนเปรียง. เราเผากิเลสทั้งหลาย แล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จ แล้ว ดังนี้. ก็พระเถระ แม้บรรลุพระอรหัตแล้ว ก็เป็นผู้มีลาภน้อย ไม่ปรากฏ ชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมที่มีในก่อน แม้อุทเทสภัตรและสลากภัตรที่ถึงท่าน ก็ต่ำช้าทั้งนั้น ก็ภิกษุและสามเณรทั้งหลายที่เป็นปุถุชน ย่อมดูหมิ่นท่านว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมนั่นแล พระเถระเมื่อจะยังภิกษุเหล่านั้น ให้สลดใจ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อม ดูหมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใด พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 25 ในโลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะ เป็นคนชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือของคน- พาลทั้งหลาย ดังนี้. ศัพท์ว่า อปิ ในคาถานั้น เป็นนิบาต ลงในอรรถว่า ยกย่องสรรเสริญ ศัพท์ว่า เจ ใช้ในการคาดคะเน. บทว่า โหติ แปลว่า ย่อมเป็น. บุคคลชื่อว่า เตวิชฺโช เพราะ เป็นผู้มีวิชชา ๓. ชื่อว่า มจฺจุหายี เพราะละมัจจุได้. ชื่อว่า ไม่มีอาสวะ เพราะไม่มี อาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ถึงแม้ว่า บุคคล จะเป็นผู้ชื่อว่า มีวิชชา ๓ เพราะบรรลุวิชชา ๓ เหล่านี้ คือ ทิพยจักขุญาณ บุพเพนิวาสญาณ (และ) อาสวักขยญาณ ต่อแต่นั้น ก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น สิ้นไปรอบแล้วโดยประการทั้งปวง ชื่อว่า ละมัจจุแล้ว เพราะไม่มีความตาย โดยที่ไม่ต้องถือเอาภพใหม่อีกต่อไป แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทั้งหลาย คือบุคคลผู้มีปัญญาทราม ย่อมดูหมิ่น บุรุษผู้สูงสุดนั้น แม้ถึงได้บรรลุประโยชน์ของตน ที่กุลบุตรทั้งหลาย ผู้ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มุ่งหมายโดยชอบที่เดียว ว่าเป็นผู้ไม่มี ชื่อเสียง ไม่มีนามปรากฏ เพราะไม่มีลาภที่เกิดขึ้นว่า เป็นผู้กล่าวสอนเรื่อง ธุดงค์ เป็นพหูสูต เป็นพระธรรมกถึก. เพราะเหตุไร ? เพราะไม่รู้ คือ เพราะเหตุแห่งการไม่รู้ ท่านแสดงการไม่รู้คุณทั้งหลายนั่นแลว่าเป็นเหตุใน ข้อนั้น. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ก็คนพาลทั้งหลายย่อมดูหมิ่นแม้ผู้ที่ควร สรรเสริญ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ (เห็นแก่ได้) เพราะไม่รู้คุณทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 26 ฉันใด ก็ย่อมสรรเสริญแม้ผู้ที่ควรดูหมิ่นอย่างนี้ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ เพราะไม่รู้คุณทั้งหลายฉันนั้น ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ไว้. พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๒ ดังต่อไปนี้ บทว่า โย เป็นการกล่าว แสดงถึงความไม่แน่นอน. จ ศัพท์เป็นนิบาตใช้ในพยดิเรก. ด้วย จ ศัพท์นั้น ส่องให้รู้ ถึงความต่างกันที่กำลังกล่าวถึงบุคคลนี้อยู่นั่นแหละ ว่าแผกจากบุคคล ตามที่กล่าวแล้ว ศัพท์ว่า โข เป็นนิบาตลงในอวธารณะ (จำกัดความให้แน่ชัด). บทว่า อนฺนปานสฺส เป็นเพียงตัวอย่าง. บทว่า ลาภี แปลว่า มีลาภ. บทว่า อิธ ความว่า ในโลกนี้. ชื่อว่า บุคคล เพราะเต็มและ กลืนกินสัตตาวาส (ภพเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์) นั้น ๆ ด้วยชราและมรณะ. บทว่า ปาปธมฺโม ได้แก่ ธรรมอันลามก. ก็ในคาถาที่ ๒ นี้ มีอรรถาธิบายว่า ส่วนบุคคลใด ย่อมเป็นผู้มีปกติได้เพียงปัจจัย มีจีวรเป็นต้น เท่านั้น ไม่ได้มรรคผลมีฌานเป็นต้น บุคคลนั้นแม้ถึงจะเป็นผู้มีธรรมอันเลว โดยความเป็นผู้ทุศีล เพราะมีความปรารถนาลามก แต่ก็ยังเป็นผู้อันคนพาล ทั้งหลายในโลกนี้ สักการะ เคารพ เพราะความเป็นผู้หนักในลาภ. จบอรรถกถาอชินเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 27 ๖. เมฬชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระเมฬชินเถระ [๒๖๓] ได้ยินว่า พระเมฬชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เมื่อใดเราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรงแสดง อยู่ เมื่อนั้น เราไม้รู่สึกมีความสงสัย ในพระศาสดาผู้รู้ ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้ว- กล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือ ว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. อรรถกถาเมฬชินเถรคาถา คาถาของท่านพระเมฬชินเถระ เริ่มต้นว่า ยทาห ธมฺมมสฺโสสึ. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญทั้งหลายไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ บรรลุนิติภาวะแล้ว วันหนึ่ง เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผล อาโมทะ มีรสอร่อย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปเกิดในตระกูลกษัตริย์ กรุงพาราณสี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า เมฬชินะ ถึงความสำเร็จในศิลปวิทยา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 28 เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง มีนามกระฉ่อนปรากฏไปทั่วทิศ. เมื่อพระผู้มีพระ- ภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนะ กรุงพาราณสี เขาไปสู่พระวิหาร เข้าเฝ้า พระศาสดา ฟังธรรมแล้วได้ศรัทธาจิต บวชแล้วเริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระ อรหัตในวันนั้นเอง. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้สยัมภู ผู้มีพระรัศมีนับ ด้วยพัน ไม่ทรงพ่ายแพ้อะไร ๆ ทรงออกจากวิเวกแล้ว เสด็จออกโคจรบิณฑบาต เราถือผลไม้อยู่ได้เห็นแล้ว จึงได้เข้าไปเฝ้าพระนราสภ เรามีจิตเลื่อมใส มีใจ โสมนัส ได้ถวายผลไม้ ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว ในเวลาต่อมา อันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านได้บรรลุอุตริมนุสธรรมแล้วหรือ เมื่อจะบันลือสีหนาท ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เมื่อใด เราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรง แสดงอยู่ เมื่อนั้น เราไม่รู้สึกความสงสัยในพระศาสดา ผู้รู้ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้วกล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยทา ได้แก่ ในกาลใด. พระเถระเรียก ตัวเองว่า " เรา ". พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 29 บทว่า ธมฺม ได้แก่ธรรม คือ อริยสัจ ๔. บทว่า อสฺโสสึ แปลว่า ฟังแล้ว. บทว่า สตฺถุโน ความว่า ชื่อว่าศาสดา เพราะอรรถว่า ทรงสั่งสอน เวไนยสัตว์ทั้งหลาย ด้วยประโยชน์ทั้งหลาย มีทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เป็นต้น. บทว่า กงฺข แปลว่า ความสงสัย พระผู้มีพระภาคเจ้าชื่อว่าเป็น สัพพัญญู เพราะอรรถว่า ทรงรู้สังขตธรรมและอสังขคธรรม โดยไม่มีส่วนเหลือ ชื่อว่า อปราชิเต เพราะไม่มีผู้ที่จะทำให้พ่ายแพ้ได้ ไม่ว่าที่ไหน ๆ ชื่อว่า สตฺถวาเห เพราะอรรถว่า ขนสัตว์จากกันดาร คือสงสารไปสู่พระนิพพาน. ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ดังนี้. นับจำเดิมแต่เวลาที่พระศาสดาทรงแสดงธรรม เราได้ฟังคือเข้าไป ทรงจำ ด้วยการแล่นไปตามแห่งโสตทวาร ได้แก่ ได้รับจตุสัจจธรรม เราไม่ มีความสงสัย ในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ชื่อว่า ทรงหยั่งรู้พระสัพพัญญุตญาณ โดยไม่มีอะไรขัดขวาง เพราะทรงรู้สมมติธรรมทั้งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยไม่มีส่วนเหลือ ด้วยสยัมภูญาณ ชื่อว่า ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ เพราะ ความเป็นผู้อันมารเหล่านั้นชนะไม่ได้ โดยที่ทรงครอบงำมารแม้ทั้ง ๕ ไว้ได้ และเพราะความเป็นผู้มีจักรคือธรรม อันใคร ๆ กำจัดไม่ได้ในโลกพร้อมทั้ง เทวโลก ชื่อว่าเป็นผู้นำหมู่ เพราะทรงนำเวไนยสัตว์ให้ผ่านพ้นกันดาร มีโลภ- กันดารเป็นต้น ชื่อว่าแกล้วกล้าเป็นอันมาก เพราะทรงตัดกำกงแห่งสงสาร อันใหญ่หลวงได้เด็ดขาด ชื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐ คือสูงสุดกว่าสารถีทั้งหลาย เพราะทรงเป็นที่พึ่ง คือทรงฝึกบุรุษที่ควรฝึกอันคนอื่นฝึกได้ยาก ได้ด้วยการ ฝึกที่ดีที่สุด ว่าเป็นพระพุทธเจ้า (จริง) หรือหนอ หรือไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะไม่มีความเคลือบแฝงอย่างอื่นเป็นปัจจัย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 30 ก็ข้อกังขา คือความสงสัยในอริยมรรคอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง แสดงแล้วเห็นปานนั้น และในปฏิปทามีศีลเป็นต้น อันเป็นปฏิปทาที่สมควร แก่พระอริยมรรคนั้น ว่า จะเป็นธรรมนำสัตว์ให้พ้นทุกข์ได้จริงหรือไม่หนอ ดังนี้ ย่อมไม่มี คือไม่มีข้อสงสัย. ก็ในบาทคาถานี้ พึงทราบว่า ด้วยการกล่าว ถึงความสงสัยในอริยธรรม ก็เป็นอันท่านกล่าวถึงความสงสัยแม้ในพระอริยสงฆ์ ไว้ด้วยแล้วทีเดียว เพราะความเป็นผู้ตั้งอยู่ในมรรคนั้น โดยไม่มีความเป็น อย่างอื่น ฉะนี้แล. จบอรรถกถาเมฬชินเถรคาถา ๗. ราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระราธเถระ [๒๖๔] ได้ยินว่า พระราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันใด จิตที่ อบรมดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 31 อรรถกถาราธเถรคาถา คาถาของท่านพระราธเถระ เริ่มต้นว่า ยถา อคาร ทุจฺฉนฺน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในพระนครหงสาวดี ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้ แล้วไปสู่วิหาร เข้าไปเฝ้าพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว นั่งอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง เห็นพระศาสดาทรงแต่งตั้งภิกษุรูปหนึ่ง ไว้ในตำแหน่งของภิกษุผู้เลิศกว่าภิกษุ ทั้งหลายผู้มีปฏิภาณ ปรารถนาตำแหน่งนั้นด้วยตนเอง แล้วบำเพ็ญมหาทาน และได้ทำการบูชาแด่พระศาสดาอย่างโอฬาร เขาตั้งปณิธานไว้อย่างนี้ จุติจาก อัตภาพนั้นแล้ว สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดาเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลมะม่วง มี รสหวาน. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดในตระกูลพราหมณ์ ใน พระนครราชคฤห์ ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าแห่งเราทั้งหลาย ได้นามว่า ราธะ เจริญวัยแล้ว อยู่ครองเรือน ในเวลาแก่ตัวลง ถูกลูกเมียลบหลู่ ไปสู่วิหารด้วยคิดว่า ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองเรือนของเรา เราจักบวช เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นเถระ ขอบรรพชา อันภิกษุผู้เถระเหล่านั้น ห้ามว่า พราหมณ์นี้แก่แล้ว ไม่สามารถจะบำเพ็ญวัตรปฏิบัติได้ จึงไปยังสำนักของ พระศาสดา กราบทูลอัธยาศัยของตนให้ทรงทราบ อันพระศาสดาทรงตรวจดู พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 32 ความสมบูรณ์แห่งอุปนิสัยแล้ว ตรัสสั่งให้พระธรรมเสนาบดี จัดแจงบวชให้ เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้ถวายผลมะม่วงกะล่อนทอง แด่พระสัม- พุทธเจ้า ผู้มีพระฉวีวรรณเหมือนทองคำ ผู้สมควรรับ เครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวาย ผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวาย ผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้ . ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เที่ยววนเวียนไปมาอยู่ในสำนัก ของพระบรมศาสดา เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้รู้ปฏิภาณ อันเป็นเหตุให้ มีความเข้าใจพระธรรมเทศนาของพระศาสดาอย่างแจ่มแจ้ง แท้จริง พระธรรม เทศนาใหม่ ๆ ของพระทศพล อาศัยความปรากฏขึ้นแห่งทิฏฐิ ย่อมแจ่มแจ้ง แก่พระเถระ. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระ ราธะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีปฏิภาณ. วันหนึ่ง พระเถระเมื่อจะ ชมเชยภาวนา ว่าสัตว์เหล่านี้อันราคะครอบงำได้ เพราะไม่เจริญภาวนา เมื่อ มีการเจริญภาวนา ราคะก็ครอบงำไม่ได้ ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ฉันใด จิตที่อบรม ดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 33 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อคาร ได้แก่ เรือนชนิดใดชนิดหนึ่ง. บทว่า ทุจฺฉนฺน ได้แก่ มุงไว้ห่าง ๆ คือเป็นช่องน้อยช่องใหญ่. บทว่า สมติวิชฺฌติ ความว่า ฝนที่ตกย่อมรั่วรดได้. บทว่า อภาวิต ความว่า จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว เพราะเว้นจากภาวนา เปรียบเหมือนฝนที่รั่วรดเรือนได้. บทว่า ราโค สมติวิชฺฌติ ความว่า มิใช่ราคะจะรั่วรดได้อย่าง เดียวเท่านั้น แม้สรรพกิเลสมี โทสะ โมหะ และมานะเป็นต้น ก็ย่อมรั่วรด จิตเห็นปานนั้นได้เหมือนกัน. บทว่า สุภาวิต ได้แก่ จิตที่อบรมดีแล้ว ด้วยสมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น ย่อมไม่สามารถจะรั่วรดจิต เห็นปานนั้นได้ เหมือนเรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉะนั้น. จบอรรถกถาราธเถรคาถา ๘. สุราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระสุราธเถระ [๒๖๕] ได้ยินว่า พระสุราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่าย คือ ทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นเราได้ บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 34 อรรถกถาสุราธเถรคาถา คาถาของท่านพระสุราธเถระ เริ่มต้นว่า ขีณา หิ มยฺห ชาติ. เรื่องราวของท่าน เป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า สิขี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดา มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลหมากงั่ว. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว วนไปเวียนมาอยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดเป็นน้องชายของพระราธเถระ ที่ ข้าพเจ้ากล่าวไว้ติดต่อกันเป็นลำดับมา ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า สุราธะ. เมื่อพระราธเถระผู้เป็นพี่ชายบวชแล้ว แม้ท่านเองก็ออกบวช เจริญ วิปัสสนา บรรลุพระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่าน กล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้เห็นสมเด็จพระโลกนาถ ผู้โชติช่วงเหมือน ต้นกรรณิการ์ รุ่งเรืองดังพระจันทร์ในวันเพ็ญ และ เหมือนต้นไม้ประจำทวีปที่โพลงอยู่ เราเลื่อมใส ได้ เอาผลหมากงั่วถวาย แด่พระศาสดาผู้เป็นทักขิไณย- บุคคล เป็นวีรบุรุษ ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วย การถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่ง การถวายผลไม้ เราเผากิเลสแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 35 ก็พระเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล เพื่อแสดงความที่คำสั่งสอนเป็นนิยยานิกธรรม (นำสัตว์ออกจากทุกข์) จึงได้ กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่ายคือทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์อันใด ประโยชน์นั้นเรา ได้บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ขีณา ความว่า ถึงแล้ว ซึ่งความสิ้นไป คือความสิ้นสุด. บทว่า ชาติ ได้แก่ ภพ หรือการบังเกิดในภพ. บทว่า วุสิต ชินสาสน ความว่า คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระ นามว่า ชินะ ได้แก่ มรรคพรหมจรรย์ อันเราอยู่แล้ว คืออยู่จบแล้ว. บทว่า ปหีโน ชาลสงฺขาโต ความว่า ทิฏฐิและอวิชชา ที่มีนามอันได้ แล้วว่า ชาลสังขาตะ เพราะครอบงำสันดานของสัตว์ และไม่ให้ (โอกาส) เพื่อจะถอนขึ้น อันเราละแล้ว คือถอนขึ้นแล้วด้วยมรรค. บทว่า ภวเนตฺติ สมูหตา ความว่า ตัณหาที่หมายรู้กันว่า นำสัตว์ไปสู่ภพ เพราะนำสัตว์ไป สู่ภพมีกามภพเป็นต้น คือ ยังสัตว์ให้หมุนเป็นไป อันเราเพิกถอนแล้ว. บทว่า ยทตฺถาย ปพฺพชิโต ความว่า เราออกบวช คือออกจากเรือน บรรพชา คือบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด คือเพื่อผลอันใด. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 36 อธิบายว่า ประโยชน์ คือประโยชน์อย่างยิ่ง กล่าวคือพระนิพพาน และประโยชน์ของตน กล่าวคือพระอรหัต อันเป็นธรรมเครื่องสิ้นไปแห่ง สังโยชน์ทั้งหลาย ต่างโดยโอรัมภาคิยสังโยชน์และอุทธัมภาคิยสังโยชน์ทั้งปวง อันเป็นเครื่องพันธนาการ อันเราบรรลุแล้วโดยลำดับ คือถึงทับแล้ว. จบอรรถกถาสุราธเถรคาถา ๙. โคตมเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระโคตมเถระ [๒๖๖] ได้ยินว่า พระโคตมเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนี เหล่านั้นย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยากแสน ยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้นอันบุคคลต้องรักษา ทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อ ฆ่าท่าน บัดนี้เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไปถึง พระนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 37 อรรถกถาฌคตมเถรคาถา คาถาของท่านพระโคตมเถระ เริ่มต้นว่า สุข สุปนฺติ. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ เกิดใน เรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า มีใจเลื่อมใส ได้ถวาย ผลอาโมทะ. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดในตระกูลพราหมณ์ กรุงราชคฤห์ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า โคตมะ ในเวลาที่มีอายุได้ ๗ ขวบ ทำ เป็นคนตาพิการเที่ยวขอเงิน ได้ทรัพย์มาพันหนึ่ง เก็บทรัพย์นั้นไว้ในที่ ๆ ปลอดภัย บำเพ็ญพรต ในเวลาที่มีอายุได้ ๑๖- ๑๗ ปี ถูกมิตรชั่วแนะนำไป ในกามารมย์ ให้ของมีราคาหนึ่งพันนั้น แก่หญิงขายตัว (อาศัยรูปเลี้ยงชีพ) คนหนึ่ง สูญเสียพรหมจรรย์ และเมื่อหญิงนั้นแสดงอาการคลายกำหนัด เพราะ เห็นรูปแห่งพรหมจารีของเขา เป็นผู้มีรูปอิดโรยเหนื่อยหน่าย ด้วยการร่วม หลับนอนเพียงคืนเดียวเท่านั้น นึกถึงความสูญเสียพรหมจรรย์ของตน และ การเสียทรัพย์ ได้มีวิปฏิสารว่า เรากระทำกรรมอันไม่สมควรแล้ว. พระศาสดา ทรงทราบเหตุสมบัติ และความฟุ้งซ่านแห่งจิตของเขา จึงแสดงพระองค์ในที่ ใกล้ ๆ เขา. เขาเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใสเข้าไปเฝ้าแล้ว พระผู้มี พระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมแก่เขาแล้ว เขาฟังธรรมแล้วได้เป็นผู้มีจิตศรัทธา บวช บรรลุพระอรหัต ในขณะที่ปลงผมเสร็จทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 38 เราได้ถวายผลอาโมทะ แด่พระสัมพุทธเจ้าผู้มี พระฉวีวรรณปานดังทองคำ ผู้สมควรรับเครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม่ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็สหายผู้เป็นคฤหัสถ์คนหนึ่ง เข้าไปหาพระเถระผู้บรรลุพระอรหัต แล้วยังเวลาให้ล่วงไปด้วยความสุขในฌาน ถามว่า อาวุโส ท่านเมื่อบวชได้ทำ อย่างไรกะทรัพย์ ที่ได้มาเพราะขอเงิน. พระเถระฟังดังนั้นแล้ว ไม่ยอมบอก ว่า เรากระทำกรรมชื่อนี้ ประกาศโทษในมาตุคาม เมื่อจะพยากรณ์พระ- อรหัตผล ด้วยการชี้ถึงความที่ตนเป็นผู้มีราคะไปปราศแล้ว กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนีเหล่านั้น ย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยาก แสนยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้น อันบุคคลต้อง รักษาทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อฆ่าท่าน บัดนี้ เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไป ถึงนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุข สุปนฺติ มุนโย เย อิตฺถีสุ น พชฺฌเร ความว่า มุนีเหล่าใด ไม่ผูกพันในหญิงทั้งหลาย ที่เกิดเป็นอารมณ์ หรือเกิดเป็นนิมิต ด้วยเครื่องผูกพันคือราคะ มุนีเหล่านั้นเป็นผู้มีตบะ มี อินทรีย์อันสำรวมแล้ว ย่อมหลับเป็นสุข คืออยู่เป็นสุข. อธิบายว่า ทุกข์ย่อม ไม่มีแก่มุนีเหล่านั้น. ก็บทว่า สุปนฺติ นี้ เป็นเพียงตัวอย่าง. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 39 บทว่า สทา เว รกฺขิตพฺพาสุ ความว่า อันบุคคลพึงรักษา ตลอดกาลทั้งปวง โดยส่วนเดียว. อธิบายว่า หญิงทั้งหลายแม้จะให้อยู่ใน ปราสาทชั้นบนที่ปราศจากบุรุษถึง ๗ ชั้น แม้จะเก็บรักษาไว้ภายใน (ห้อง) ก็ไม่สามารถจะรักษาไว้ได้ เพราะเหตุนั้น หญิงเหล่านั้นจึงเป็นผู้ที่จะต้องเฝ้า รักษาอยู่ตลอดเวลา ดุจแม่โคตัวกินข้าวกล้าเป็นอาหารฉะนั้น. อีกอย่างหนึ่ง หญิงเหล่านั้น ต้องเฝ้ารักษาตลอดเวลา เพราะความเป็นหญิงนอกใจสามี ด้วย การเพิ่มให้ผ้าและเครื่องประดับเป็นต้น เพราะความเป็นหญิงหลายใจ. หรือ ชื่อว่า ต้องเฝ้ารักษา เพราะความเป็นหญิงที่ต้องคอยถนอมน้ำใจ โดยการ ปกปิดสภาพแห่งร่างกาย ด้วยระเบียบและของหอมเป็นต้น. บทว่า ยาสุ สจฺจ สุทุลฺลภ ความว่า คำสัตย์ไม่สามารถเพื่อจะ หาได้ในหญิงเหล่าใด อธิบายว่า ธรรมดาหญิงทั้งหลาย จะเข้าไปสู่กองไฟก็ได้ จะดื่มยาพิษก็ได้ จะนำศาสตรามาก็ได้ จะผูกคอตายก็ได้ แต่ไม่สามารถจะตั้ง อยู่ในสัจจะได้ เพราะฉะนั้น พระเถระจึงแสดงความว่า มุนีทั้งหลาย เว้นหญิง เห็นปานนี้ แล้วดำรงอยู่ ย่อมเป็นผู้ถึงแล้วซึ่งความสุขหนอ ดังนี้. มุนีทั้งหลาย ยังผูกพันอยู่แม้ในหญิงทั้งหลายเห็นปานนี้ เพราะยัง ละกามใดไม่ได้ บัดนี้ พระเถระเมื่อจะแสดงถึงความที่แห่งกามนั้น อันตน ละได้แล้วด้วยดี และความเป็นผู้ไม่มีความปรารถนาโดยส่วนเดียว จงกล่าว คาถาที่ ๒ ไว้. บทว่า วธ จริมฺห เต กามา ความว่า ดูก่อนกามผู้เจริญ เรา ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อฆ่าท่าน คือ ประพฤติถอนรากโดยส่วนเดียว ด้วย อริยมรรค. ปาฐะว่า เอว จริมฺหเส ดังนี้ก็มี. ความก็ว่า เราได้ประพฤติ มรรคพรหมจรรย์เพื่อฆ่า คือเพื่อประหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 40 บทว่า อณนา ทานิ เต มย ความว่า ดูก่อนกาม บัดนี้ คือ จำเดิมแต่เวลาที่เราได้บรรลุพระอรหัต เราไม่เป็นหนี้ท่าน คือเราไม่แบกหนี้ ของท่าน (ต่อไป). อธิบายว่า ผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะ ย่อมเป็นดุจแบกหนี้ ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าว ล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะ เหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล เราจึงชื่อว่า ไปถึงพระนิพพาน อันเป็นที่ ๆ บุคคล ไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้า โดยประการทั้งปวง อันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. อธิบายว่า บัดนี้ เราถึง คือ ถึงโดยลำดับ ซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานั้นนั่นแล. จบอรรถกถาโคตมเถรคาถา ๑๐. วสภเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวสภเถระ [๒๖๗] ได้ยินว่า พระวสภเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึงฆ่า ผู้อื่น. บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ได้ รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาปกรรมทั้งหลายมีในบุคคลใด บุคคลนั้นเป็นคนดา ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอพระองค์จงทราบอย่างนี้. จบวรรคที่ ๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 41 อรรถกถาวสภเถรคาถา คาถาของท่านพระวสภเถระ เริ่มต้นว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) เจริญวัยแล้ว ถึงความสำเร็จในวิชาและศิลปะของ พราหมณ์ทั้งหลาย ละการอยู่ครองเรือนบวชเป็นดาบส เพราะเป็นผู้มีอัธยาศัย โน้มไปในเนกขัมมะ สร้างอาศรมอยู่ที่ภูเขา ชื่อว่า สมัคคะ ไม่ไกลป่าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว ให้โอวาทและอนุสาสน์แก่ดาบสทั้งหลายอยู่ วันหนึ่ง คิดอย่างนี้ว่า บัดนี้ เราเองเป็นผู้อันดาบสเหล่านี้ สักการะ เคารพ บูชาแล้วอยู่ แต่ยังหาผู้ที่เราควรบูชาไม่ได้ การอยู่โดยไม่มีครูผู้ควรเคารพนี้ เป็นทุกข์ในโลก. ก็ครั้นคิดอย่างนี้แล้ว ระลึกถึงบูชาและสักการะ อันตนกระทำแล้ว ในเจดีย์ ของพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ทั้งหลาย เพราะความเป็นผู้มีอธิการ อันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ว่า ไฉนหนอแล เราพึงก่อ- พระเจดีย์ทราย อุทิศพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ แล้วทำการบูชา ดังนี้ เป็นผู้ ร่าเริงยินดีแล้ว เนรมิตพระสถูปทราย สำเร็จด้วยทอง ด้วยฤทธิ์ กระทำการ บูชาทุก ๆ วัน ด้วยดอกไม้ประมาณ ๓,๐๐๐ อันสำเร็จด้วยทองเป็นต้น กระ ทำบุญจนตลอดอายุ แล้วบังเกิดในพรหมโลก. เขาดำรงอยู่แม้ในพรหมโลกนั้น จนตลอดอายุแล้ว จุติจากพรหมโลก นั้น บังเกิดในดาวดึงส์ ท่องเที่ยววนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 42 เกิดในตระกูลเจ้าลิจฉวี ในกรุงเวสาลี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า วสภะ เจริญวัยแล้ว เห็นพุทธานุภาพ ในคราวเสด็จไปพระนครไพศาลี ของพระผู้มี พระภาคเจ้า ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุ พระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ สมัคคะ เราได้ทำอาศรม สร้างบรรณศาลาไว้ที่ภูเขา นั้น เราเป็นชฎิลผู้มีตบะใหญ่ มีนามว่า นารทะ ศิษย์ สี่หมื่นคนบำรุงเรา ครั้งนั้น เราเป็นผู้หลีกออกเร้นอยู่ คิดอย่างนี้ว่า มหาชนบูชาเรา เราไม่บูชาอะไร ๆ เลย ผู้ที่จะกล่าวสั่งสอนเราก็ไม่มี ใคร ๆ ที่จะตักเตือนเรา ก็ไม่มี เราไม่มีอาจารย์และอุปัชฌาย์ อยู่ในป่า ศิษย์ ผู้ภักดีพุงบำรุงใจครูทั้งคู่ได้ อาจารย์เช่นนั้นของเรา ไม่มี การอยู่ในป่าจึงไม่มีประโยชน์ สิ่งที่ควรบูชา เราควรแสวงหา สิ่งที่ควรเคารพ ก็ควรแสวงหาเหมือน กัน เราจักชื่อว่า เป็นผู้ที่มีที่พึ่งพำนักอยู่ ใครๆ จักไม่ เราได้ ในที่ไม่ไกลอาศรมของเรา มีแม่น้ำซึ่งมี ชายหาด มีท่าน้ำราบเรียบ น่ารื่นรมย์ใจ เกลื่อนกล่น ไปด้วยทรายที่ขาวสะอาด ครั้งนั้น เราได้ไปยังแม่น้ำ ชื่อ อเมริกา กอบโกยเอาทรายมาก่อเป็นพระเจดีย์ทราย พระสถูปของพระสัมพุทธเจ้า ผู้ทำที่สุดภพ เป็นมุนี ที่ได้มีแล้วเป็นเช่นนี้ เราได้ทำพระสถูปนั้นให้เป็น นิมิต เราก่อพระสถูปที่หาดทรายแล้วปิดทอง แล้วเอา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 43 ดอกกระดึงทอง ๓,๐๐๐ ดอกมาบูชา เราเป็นผู้มีความ อิ่มใจ ประนมกรอัญชลี นมัสการทั้งเวลาเย็นเวลาเช้า ไหว้พระเจดีย์ทราย เหมือนถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้า ในที่เฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้น ในเวลาที่กิเลสและความ ตรึก เกี่ยวด้วยกามเกิดขึ้น เราย่อมนึกถึง เพ่งดูสถูป ที่ได้ทำไว้ เราอาศัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นำสัตว์ ออกจากที่กันดาร ผู้นำชั้นพิเศษตักเตือนตนว่า ท่าน ควรระวังกิเลสไว้ ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ การยังกิเลส ให้เกิดขึ้นไม่สมควรแก่ท่าน ครั้งนั้น เมื่อเราคำนึงถึง พระสถูป ย่อมเกิดความเคารพขึ้นพร้อมกัน เราบรร- เทาวิตกที่น่าเกลียดเสียได้ เปรียบเหมือนช้างตัว ประเสริฐ ถูกเครื่องแทงหูเบียดเบียน ฉะนั้น เรา ประพฤติอยู่เช่นนี้ ได้ถูกพระยามัจจุราชย่ำยี เราทำ กาลกิริยา ณ ที่นั้นแล้ว ได้ไปยังพรหมโลก เราอยู่ใน พรหมโลกนั้นตราบเท่าหมดอายุ แล้วมาบังเกิดใน ไตรทิพย์ ได้เป็นจอมเทวดาเสวยราชสมบัติในเทวโลก ๘๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และได้ เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ เราได้เสวยผลของดอกกระดึงทองเหล่านั้น ดอก กระดึงทอง ๒๒,๐๐๐ ดอก แวดล้อมเราทุกภพ เพราะ เราเป็นผู้บำเรอพระสถูป ฝุ่นละอองย่อมไม่ติด ที่ตัวเรา เหงื่อไม่ไหล เรามีรัศมีซ่านออกจากตัว โอ พระสถูปเราได้สร้างไว้ดีแล้ว แม่น้ำอเมริกา เราได้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 44 เห็นดีแล้ว เราได้บรรลุบทอันไม่หวั่นไหว ก็เพราะ ได้ก่อพระสถูปทราย อันสัตว์ผู้ปรารถนาจะกระทำ กุศล ควรยึดเอาสิ่งที่เป็นสาระ ไม่ใช่เป็นด้วยเขต หรือไม่ใช่เขต ความปฏิบัตินั่นเองให้สำเร็จ บุรุษผู้มี กำลัง มีความอุตสาหะที่จะข้ามทะเลหลวง พึงถือเอา ท่อนไม้เล็ก วิ่งไปสู่ทะเลหลวงด้วยคิดว่า เราอาศัย ท่อนไม้นี้ จักข้ามทะเลหลวงไปได้ นรชนพึงข้ามทะเล หลวงไปด้วยความเพียรอุตสาหะ แม้ฉันใด เราก็ฉันนั้น เหมือนกัน อาศัยธรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ได้ทำไว้แล้ว จึงได้ข้ามพ้นสงสารไปได้ เมื่อถึงภพสุดท้าย เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว เกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ที่มั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี มารดาบิดาของเราเป็น คนมีศรัทธา นับถือพระพุทธเจ้า ท่านทั้งสองนี้เป็นผู้ เห็นธรรม ฟังธรรม ประพฤติตามคำสอน ท่านทั้งสอง ถือเอาผ้าลาดสีขาว มีเนื้ออ่อนมากที่ต้นโพธิ มาทำ พระสถูปทอง นมัสการในที่เฉพาะพระพักตร์ แห่ง พระศากยบุตร ทุกค่ำเช้าในวันอุโบสถ ท่านทั้งสอง นำเอาพระสถูปทองออก กล่าวสรรเสริญคุณพระ- พุทธเจ้า ยับยั้งอยู่ตลอด ๓ ยาม เราได้เห็นพระสถูป เสมอ จึงระลึกถึงเจดีย์ทรายขึ้นได้ นั่งบนอาสนะเดียว ได้บรรลุพระอรหัตแล้ว เราแสวงหาพระพุทธเจ้าผู้ เป็นปราชญ์นั้นอยู่ ได้เห็นพระธรรมเสนาบดี จึงออก จากเรือนบรรพชาในสำนักของท่าน เราได้บรรลุพระ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 45 อรหัตแต่อายุ ๗ ขวบ พระพุทธเจ้าผู้มีพระปัญญาจักษุ ทรงทราบถึงคุณวิเศษของเรา จึงให้เราอุปสมบท เรา มีการกระทำอันบริบูรณ์ดีแล้ว แต่ยังเป็นทารกอยู่ ทีเดียว ทุกวันนี้กิจที่ควรทำในศาสนาของพระศากย- บุตร เราทำเสร็จแล้ว ข้าแต่พระฤๅษีผู้มีความเพียร ใหญ่ สาวกของพระองค์เป็นผู้ล่วงพ้นเวรภัยทุกอย่าง ล่วงพ้นความเกี่ยวข้องทั้งปวง นี้เป็นผลแห่งพระ- สถูปทอง. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะทำการอนุเคราะห์ทายก จึงไม่ห้ามปัจจัยทั้งหลายที่ทายกเหล่านั้นนำมาถวาย บริโภคปัจจัยตามที่ได้มา แล้วเท่านั้น. ผู้ที่ยังเป็นปุถุชนสำคัญท่านว่า พระเถระนี้ เป็นผู้มักมากไปด้วย การบำรุงบำเรอร่างกาย ไม่รักษาสภาพจิต จึงพากันดูหมิ่น. พระเถระอยู่อย่างไม่คำนึงถึงการดูหมิ่นนั้นเลย ก็ในที่ไม่ไกล ที่ พระเถระอยู่ มีภิกษุผู้โกหกรูปหนึ่ง เป็นผู้มีความปรารถนาลามก แสดงตน เหมือนเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย เหมือนเป็นผู้สันโดษ เที่ยวลวงโลกอยู่. มหาชนพากันยกย่องภิกษุรูปนั้น เหมือนอย่างพระอรหันต์. ลำดับนั้น ท้าว สักกะผู้เป็นจอมเทพ ทรงทราบพฤติการณ์นั้นของเธอแล้ว จึงเข้าไปหา พระเถระ แล้วถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ภิกษุผู้โกหก กระทำกรรมชื่อไร ? พระเถระเมื่อจะตำหนิความปรารถนาลามก จึงกล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึง ฆ่าผู้อื่น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนก ที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 46 ได้รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลก นั้นไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาป กรรมทั้งหลาย มีในบุคคลใด บุคคลนั้น เป็นคนดำ ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอจงทรงทราบอย่างนี้ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน ความว่า บุคคลผู้โกหก เพื่อลวงโลก ด้วยประพฤติเป็นคนโกหกของตน ชื่อว่า ย่อม ฆ่าตน ด้วยธรรมอันลามก มีความเป็นผู้ปรารถนาลามกเป็นต้น ก่อนทีเดียว คือยังส่วนแห่งความดีของตนให้พินาศไป. บทว่า ปจฺฉา หนติ โส ปเร ความว่า บุคคลผู้โกหกนั้น ฆ่า ตนเอง โดยนัยดังกล่าวแล้ว ก่อนเป็นปฐม ต่อมาภายหลังจึงฆ่าคนทั้งหลาย ผู้สรรเสริญตนว่า ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก เป็นพระอริยะ ดังนี้ แล้วกระทำ สักการะ คือทำสักการะที่เขาถวายตน ให้ไม่มีผลมาก ให้พินาศไป โดยการ พินาศแห่งปัจจัย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า แม้ในการฆ่าทั้งสองอย่าง ของคน โกหกจะมีอยู่ แต่ ข้อแปลกในการฆ่าตนมีดังนี้ จึงกล่าวว่า สหต หนติ อตฺตาน (บุคคลผู้ลวงโลกนั้นย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย). คนโกหกนั้น เมื่อฆ่าตน ย่อมฆ่าคือทำให้พินาศได้ง่ายดาย. ถามว่า เหมือนอะไร ? ตอบว่า เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านกฉะนั้น. นกต่อ ชื่อว่า วีตโส. ด้วยนกต่อนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 47 บทว่า ปกฺขิมา ได้แก่ นายพรานนก. เปรียบเหมือนนายพรานนก ลวงนกเหล่าอื่นไปฆ่าด้วยนกต่อนั้น ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนแม้ในโลกนี้ เพราะเป็น กรรมที่ท่านผู้รู้ตำหนิ และเป็นกรรมที่มีโทษเป็นสภาพเป็นต้น ส่วนในสัมปราย ภพ ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนด้วยความมืดมน มัวหมองของทุคติทีเดียว แต่ในภาย หลัง ก็ไม่สามารถจะฆ่านกเหล่านั้นได้อีก ฉันใด คนโกหกก็ฉันนั้น ลวงโลก ด้วยความเป็นคนโกหก ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนเองแม้ในโลกนี้ เพราะวิปฏิสาร และถูกตำหนิจากวิญญูเป็นต้น. แม้ในปรโลก ก็ชื่อว่าฆ่าตน เพราะความมืด มน มัวหมองของทุคติ ใช่แต่เท่านั้น ยังชื่อว่า ทำทายกผู้ถวายปัจจัยเหล่านั้น ให้ถึงทุกข์ในอบาย อีกด้วย. อีกประการหนึ่ง คนโกหก ท่านกล่าวว่า ย่อมฆ่าทายก เพราะกระทำ ทักษิณาไม่ให้มีผลมากเท่านั้น ไม่ใช่เพราะกระทำทักษิณาทานไม่ให้มีผล. สมจริงดังพระดำรัส ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ทักษิณาทานที่ให้แก่ มนุษย์ทุศีล พึงหวังผลได้พันเท่า ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า บุคคลผู้ตั้งอยู่ในอัตภาพ เพียงทำให้สะอาด ในภายนอกอย่างนี้ หาชื่อว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ แต่จะชื่อว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ เพราะ ความสะอาดในภายในเท่านั้น ดังนี้ จึงกล่าวคาถาที่สองว่า น พฺราหฺมโณ เป็นต้น. คาถาที่ ๒ นั้นมีอธิบายว่า บุคคลหาชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะ เหตุ เพียงสมบัติภายนอก มีการวางท่า (วางมาด) เป็นต้นไม่. ก็วัณณะ ศัพท์ในคาถานี้ มีสมบัติเป็นอรรถ (หมายความถึงสมบัติ). ก็บุคคลย่อมชื่อว่า เป็นพราหมณ์ เพราะสมบัติมีศีลเป็นต้นในภายใน โดยกระทำอธิบายว่า บุคคล ผู้มีบาปอันลอยแล้ว ชื่อว่า พราหมณ์ ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 48 ดูก่อนท่านสุชัมบดี ผู้เป็นจอมเทวัญ เพราะฉะนั้น ท่านจงรู้เถิดว่า บาปคือกรรมอันลามกทั้งหลาย มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นชื่อว่าคนดำ คือเป็นคน เลวทรามโดยส่วนเดียว ดังนี้. ท้าวสักกะฟังดังนั้นแล้ว ทรงคุกคามภิกษุผู้ โกหกแล้วโอวาทว่า ท่านจงประพฤติธรรม ดังนี้แล้ว เสด็จกลับพิภพของ พระองค์. จบอรรถกถาวสภเถรคาถา จบวรรควรรณนาที่ ๑ ในอรรถกถา เถรคาถา ชื่อว่า ปรมัตถทีปนี ในวรรคนี้ รวมพระเถระได้ ๑๐ รูป คือ ๑. พระอุตตรเถระ ๒. พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ๓. พระวัล- ลิยเถระ ๔. พระคังคาตีริยเถระ ๕. พระอชินเถระ ๖. พระเมฬชินเถระ ๗. พระราธเถระ ๘. พระสุราธเถระ ๙. พระโคตมเถระ ๑๐. พระวสภ- เถระ ล้วนมีมหิทธิฤทธิ์ และอรรถกถา. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 49 เถรคาถา เอกนิบาต วรรคที่ ๒ ๑. มหาจุนทเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระมหาจุนเถระ [๒๖๘] ได้ยินว่า พระมหาจุนทเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า การฟังดี เป็นเหตุให้การฟังเจริญ การฟังเป็น เหตุให้เจริญปัญญา บุคคลจะรู้ประโยชนก็เพราะปัญญา ประโยชน์ที่บุคคลรู้แล้ว ย่อมนำสุขมาให้ ภิกษุควรซ่อง เสพเสนาสนะ อันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็นเหตุ ให้จิตหลุดพ้นจากสังโยชน์ ถ้ายังไม่ได้ประสบความ ยินดี ในเสนาสนะอันสงัดและธรรมนั้น ก็ควรเป็นผู้ มีสติรักษาตน อยู่ในหมู่สงฆ์. วรรควรรณนาที่ ๒ อรรถกถามหาจุนทเถรคาถา คาถาของท่านพระมหาจุนทเถระ เริ่มต้นว่า สุสฺสูสา. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลช่างหม้อ ในกาลของ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 50 พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุนิติภาวะแล้ว เลี้ยงชีพด้วยงาน ของนายช่างหม้อ วันหนึ่งเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใส ทำบาตรดินลูก หนึ่ง ตกแต่งเป็นอย่างดี ถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของนางรูปสารีพราหมณี เป็นน้องชายคนเล็ก ของพระเถระชื่อว่า สารีบุตร ในนาลกคาม แคว้นมคธ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า จุนทะ. เขาเจริญวัยแล้ว บวชตามพระธรรมเสนาบดี อาศัยพระธรรมเสนาบดี เริ่มตั้งวิปัสสนา เพียรพยายามอยู่ ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ข้าพระองค์ เป็นช่างหม้ออยู่ในหงสาวดี ได้เห็น พระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี มีโอฆะอันข้ามได้ แล้ว ไม่มีอาสวะ ข้าพระองค์ได้ถวายบาตรดินที่ทำ ดีแล้ว แด่พระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด ครั้นถวายบาตร แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ตรง คงที่แล้ว เมื่อข้าพระองค์ เกิดในภพ ย่อมได้ภาชนะทอง และจานที่ทำด้วยเงิน ทำด้วยทอง และทำด้วยแก้วมณี ข้าพระองค์บริโภค ในถาด นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม ข้าพระองค์เป็นผู้เลิศ กว่าชนทั้งหลายโดยยศ พืชแม้มีน้อย แต่หว่านลงใน นาดี เมื่อฝนยังท่อธารให้ตกลงทั่ว โดยชอบ ผลย่อม ยังชาวนาให้ยินดีได้ฉันใด การถวายบาตรนี้ก็ฉันนั้น ข้าพระองค์ได้หว่านลงในพุทธเขต เมื่อท่อธารคือปีติ ตกลงอยู่ ผลจักทำข้าพระองค์ให้ยินดี เขตคือหมู่และ คณะมีประมาณเท่าใด ที่จะให้ความสุขแก่สรรพสัตว์
โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะเรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ. เขาเป็นวิชาธร ท่องเที่ยวไป โดยอากาศ. ก็โดยสมัยนั้น พระศาสดา เมื่อจะทรงอนุเคราะห์เขา จึงเปล่งพระ- พุทธรังสีมีวรรณะ ๖ ประทับนั่งที่โคนไม้แห่งหนึ่ง เขาเหาะไปโดยอากาศ เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มีจิตเลื่อมใส ลงจากอากาศ บูชาพระผู้มีพระภาคเจ้า ด้วยดอกกรรณิการ์ อันสะอาดบริสุทธิ์ด้วยดี ไพบูลย์ ด้วยพุทธานุภาพ (บันดาลให้) ดอกไม้ทั้งหลาย ตั้งอยู่ในเบื้องบนของพระศาสดา โดยอาการ ของฉัตร ด้วยพุทธานุภาพนั้น ทำให้เขามีจิตเลื่อมใสยิ่งกว่าประมาณ ต่อมา กระทำกาละแล้ว เกิดในภพดาวดึงส์ เสวยทิพยสมบัติอันโอฬาร ดำรงอยู่ใน ภพดาวดึงส์นั้นจนตลอดอายุ ต่อแต่นั้น ก็ท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครราชคฤห์ในพุทธุป- บาทกาลนี้ ได้มีนามว่า อุตตระ. เขาบรรลุนิติภาวะแล้ว ถึงความสำเร็จใน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 3 วิชชาของพราหมณ์ เป็นผู้เกิดมาทำโลกให้เจริญโดยรูป โดยวิชา โดยวัย และโดยศีลาจารวัตร. มหาอำมาตย์แห่งแคว้นมคธ ชื่อว่า วัสสการะ เห็นสมบัติ นั้นของเขาแล้ว เป็นผู้มีความประสงค์จะยกธิดาของตนให้ แจ้งความประสงค์ ของตนแล้ว. เขาปฏิเสธความหวังดีนั้น เพราะความเป็นผู้มีอัธยาศัย น้อมไป ในพระนิพพาน เข้าไปนั่งใกล้พระธรรมเสนาบดี ฟังธรรมในสำนักตามเวลา ที่เหมาะสม ได้เป็นผู้มีศรัทธาบวชแล้ว เป็นผู้สมบูรณ์ด้วยวัตรปฏิบัติพระเถระ. ก็โดยสมัยนั้น อาพาธบางอย่างเกิดแก่พระเถระ. เพื่อจะจัดยาถวาย พระเถระ อุตตรสามเณร จึงถือเอาบาตรจีวรออกจากวิหารไปแต่เช้าทีเดียว วางบาตรไว้ที่ริมฝั่งทะเลสาบ ในระหว่างทางเดินไปใกล้น้ำแล้วล้างหน้า. ลำดับนั้น โจรทำลายอุโมงค์คนหนึ่งถูกเจ้าหน้าที่ติดตาม หนีออกจากพระนคร โดยทางประตูด้านหน้านั่นแหละ ใส่ห่อรัตนะที่ตนลักมาไว้ในบาตรของสามเณร แล้วหนีไป. สามเณรเดินเข้าไปใกล้บาตร พวกราชบุรุษที่ติดตามโจรมา เห็นห่อ ของในบาตรของสามเณร จึงกล่าวว่า สามเณรนี้เป็นโจร สามเณรนี้ประพฤติ เป็นโจร แล้วจับสามเณรมัดมือไพล่หลัง ส่งให้วัสสการพราหมณ์. ก็ใน ครั้งนั้น วัสสการพราหมณ์ ได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งผู้วินิจฉัยคดีของพระราชา สั่งการลงโทษประหารและทรมานได้. เขาไม่ยอมไต่สวน ทวนพยานเลย สั่งให้เอาหลาวเสียบประจานสามเณรทั้งเป็น ๆ เพราะผูกอาฆาตว่า เมื่อก่อน สามเณรไม่เอื้อเฟื้อคำของเรา ไปบวชในลัทธินอกรีตนอกรอย. ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตรวจดูความแก่รอบแห่งญาณ ของอุตตรสามเณรแล้ว เสด็จไปสู่ที่นั้น ทรงวางพระหัตถ์ ซึ่งมีพระองคุลียาว อ่อนนุ่ม คลุมด้วยเปลวรัศมี ประดุจสายธารทองคำสีแดงธรรมชาติ ที่กำลัง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 4 หลั่งอยู่ เพราะประกอบด้วยรัศมีสีขาว แพรวพราวไปด้วยแสงแห่งแก้วมณี ที่นิ้วมืออันสั่นพริ้วอยู่บนศีรษะของอุตตรสามเณร แล้วตรัสว่า ดูก่อนอุตตระ นี้เป็นผลของกรรมเก่า เกิดขึ้นแล้วแก่เธอ เธอต้องทำความอดกลั้น ด้วยกำลัง แห่งการพิจารณา ในผลของกรรมนั้น ดังนี้ แล้วทรงแสดงธรรมตามสมควร แก่อัธยาศัย. อุตตรสามเณรกลับได้ปีติ และปราโมทย์อันโอฬาร เพราะความ เป็นผู้มีความเลื่อมใส และโสมนัสอันเกิดแล้ว ด้วยสัมผัสแห่งพระหัตถ์ของ พระศาสดา คล้ายกับทรงราดรดด้วยน้ำอมฤต ก้าวขึ้นสู่วิปัสสนามรรค ตาม ที่สั่งสมไว้ ยังกิเลสทั้งปวงให้สิ้นไปแล้ว ตามลำดับแห่งมรรคในทันใดนั้นเอง เพราะถึงความแก่รอบแห่งญาณ และเพราะเทศนาอันงดงามไพเราะของพระ ศาสดา. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ทรงพระนามว่า "สุเมธะ" มีพระมหาปุริสลักษณะ อันประเสริฐ ๓๒ ประการ พระองค์ทรงประสงค์ความสงัด จึงเสด็จไปป่า หิมพานต์ พระมุนีผู้เลิศ ประกอบด้วยพระกรุณาเป็น อุดมบุรุษ เสด็จถึงป่าหิมพานต์แล้ว ประทับนั่งขัด- สมาธิ ครั้งนั้น เราเป็นวิทยาธร สัญจรไปในอากาศ เราถือตรีศูล ซึ่งกระทำไว้ดีแล้ว เหาะไปในอัมพร พระพุทธเจ้าส่องสว่างอยู่ในป่า เหมือนกับไฟบนยอด ภูเขา เหมือนพระจันทร์ในวันเพ็ญ และเหมือนต้น พระยารังที่มีดอกบาน เราออกจากป่าเหาะไปตาม พระรัศมีของพระพุทธเจ้า เห็นคล้ายกับสีของไฟที่ ไหม้ไม้อ้อ ยังจิตให้เลื่อมใส เราเลือกเก็บดอกไม้อยู่ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 5 ได้เห็นดอกกรรณิการ์ที่มีกลิ่นหอม จึงเก็บเอามา ๓ ดอก บูชาพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด ด้วยอานุภาพ แห่งพระพุทธเจ้า ครั้งนั้น ดอกไม้ของเราทั้ง ๓ ดอก เอาขั้วขึ้น เอากลีบลง ทำเป็นร่มเงาบังพระศาสดา ด้วยกรรมที่ได้ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์ จำนง เราละร่างมนุษย์แล้ว ได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญ กรรมทำให้อย่างสวยงาม ในดาวดึงส์นั้นปรากฏชื่อว่า กรรณิการ์ แล่งธนูตั้งพันลูกคลีหนังตั้งร้อย คนถือธง สำเร็จด้วยสีเขียวใบไม้ มีประตูหน้าต่างตั้งแสนปรากฏ ในปราสาทของเรา บัลลังก์สำเร็จด้วยทองก็มี สำเร็จ ด้วยแก้วมณีก็มี สำเร็จด้วยแก้วทับทิมก็มี สำเร็จด้วย แก้วผลึกก็มี ตามแต่จะต้องการปรารถนา ที่นอนมี ค่ามาก ยัดด้วยนุ่น มีผ้าลวดลายรูปสัตว์ต่าง ๆ มี ราชสีห์เป็นต้น ผ้าลาดมีชายเดียว มีหมอนพร้อม ปรากฏว่ามีอยู่ในปราสาทของเรา ในเวลาที่เรา ปรารถนาจะออกจากภพ เที่ยวจาริกไปในเทวโลก ย่อมเป็นผู้อันหมู่เทวดาแวดล้อมไป เราสถิตอยู่ภายใต้ ดอกไม้ เบื้องบนเรามีดอกไม้เป็นเครื่องกำบัง สถานที่ โดยรอบ ๑๐๐ โยชน์ ถูกคลุมด้วยดอกกรรณิการ์ ดนตรีหกหมื่น บำรุงเราทั้งเช้าและเย็น ไม่เกียจคร้าน แวดล้อมเราเป็นนิตย์ ตลอดคืนตลอดวัน เรารื่นรมย์ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 6 ด้วยการฟ้อน การขับและด้วยกังสดาล เครื่องประโคม เป็นผู้มักมากด้วยกาม บันเทิงอยู่ด้วยความยินดีในการ เล่น ครั้งนั้น เราบริโภคและดื่มในวิมานนั้น บันเทิง อยู่ในไตรทศ เราพร้อมด้วยหมู่นางเทพอัปสร บันเทิง อยู่ในวิมานอันสูงสุด เราได้เสวยราชสมบัติในเทวโลก ๕๐๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และ ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับ มิได้ เมื่อเรายังท่องเที่ยวอยู่ในภพน้อยภพใหญ่ ย่อม ได้โภคทรัพย์มากมาย ความบกพร่องในโภคทรัพย์ ไม่มีแก่เราเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเกิดใน สองสกุล คือ ในสกุลกษัตริย์ หรือสกุลพราหมณ์ ย่อมไม่เกิดในสกุลต่ำทราม นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ยานช้าง ยานม้า และวอคานหาบ นี้เราได้ทุกสิ่ง ทุกอย่างทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา หมู่ทาส หมู่ทาสี และนารีที่ประดับประดาแล้ว เราได้ทุกอย่าง ทีเดียว นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ผ้าแพร ผ้าขนสัตว์ ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้ายเราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่ง พุทธบูชา ผ้าใหม่ ผลไม้ใหม่ โภชนะมีรสอันเลิศ ใหม่ ๆ เราได้ทุกชนิด นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา คำว่า เชิญเคี้ยวสิ่งนี้ เชิญบริโภคสิ่งนี้ เชิญนอนบนที่นอนนี้ เราได้ทั้งนั้น นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราเป็นผู้อันเขา บูชาในที่ทุกสถาน เรามียศใหญ่ยิ่ง มีศักดิ์ใหญ่ มี พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 7 บริษัทไม่แตกแยกทุกเมื่อ เราเป็นผู้อุดมกว่าหมู่ญาติ นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราไม่รู้จักหนาว ไม่รู้จักร้อน ไม่มีความกระวนกระวาย อนึ่ง ทุกข์ทางจิต ย่อมไม่มี ในหทัยของเราเลย เราเป็นผู้มีผิวพรรณดังทองคำ เที่ยวไปในภพน้อยภพใหญ่ ความเป็นผู้มีวรรณะผิด- แผกไป เราไม่รู้จักเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว จึงจุติจากเทวโลก มาเกิดใน สกุลพราหมณ์ มหาศาลอันมั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี ละกามคุณ ออกบวชเป็นบรรพชิต เรามีอายุได้ ๗ ขวบแต่กำเนิด ได้บรรลุพระอรหัต พระพุทธเจ้าผู้มี ปัญญาจักษุ ทรงทราบคุณของเรา จึงรับสั่งให้เรา อุปสมบท เรายังหนุ่มก็ควรบูชา นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ทิพยจักษุของเราบริสุทธิ์ เราฉลาดในสมาธิ ถึง ความบริบูรณ์แห่งอภิญญา นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา เราบรรลุปฏิสัมภิทา ฉลาดหลักแหลมในอิทธิบาท ถึงความบริบูรณ์ในพระสัทธรรม นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา ในกัปที่ ๓๐,๐๐๐ เราได้บูชาพระพุทธเจ้าใด ด้วย การบูชานั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธ- บูชา. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็อุตตรสามเณร เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ลุกขึ้นจากหลาว แล้วยืนอยู่ใน อากาศ แสดงปาฏิหาริย์ ด้วยความอนุเคราะห์ในผู้อื่น มหาชนได้เกิดมีจิต พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 8 อัศจรรย์ในปรากฏการณ์ที่ไม่เคยมี. แผล (เก่า) ของท่านได้ผุดขึ้นในทันใด นั่นเอง. ท่านอันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านเสวยทุกข์เช่นนั้นอยู่ สามารถขวนขวายวิปัสสนาได้อย่างไร ? เมื่อจะแสดงความว่า ดูก่อนอาวุโส จะป่วยกล่าวไปใย ถึงโทษในสงสารของเรา ก็สภาพของสังขารทั้งหลาย ท่าน ทั้งหลายก็เห็นดีแล้ว เราแม้เสวยทุกข์เช่นนั้น อยู่อย่างนี้ ก็ยังสามารถเจริญ วิปัสสนาแล้วบรรลุพระอรหัตได้ จึงกล่าวคาถา ๒ คาถาว่า ภพอะไรที่เที่ยงไม่มี แม้สังขารที่เที่ยงก็ไม่มี ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ เราสลัดตน ออกจากกามทั้งปวง บรรลุถึงความสิ้นอาสวะแล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นตฺถิ โกจิ ภโว นิจฺโจ ความว่า ภพทั้งหลาย แยกประเภทออกไปอย่างนี้ คือ กรรมภพ อุปปัตติภพ กามภพ รูปภพ อรูปภพ สัญญีภพ อสัญญีภพ เนวสัญญีนาสัญญีภพ เอกโวการภพ จตุโวการภพ (และ) ปัญจโวการภพ. แม้ในบรรดาภพเหล่านั้น ภพอย่างใด อย่างหนึ่ง ที่จำแนกออกไปอย่างนี้ว่า เลว ปานกลาง อุกฤษฏ์ มีอายุยืน มากด้วยความสุข มีสุขและทุกข์คลุกเคล้ากันไป ดังนี้ จะเที่ยง ยั่งยืน มั่นคง มีอันไม่ต้องเพ่งดูเป็นธรรมดา ไม่มีเลย เพราะต้องอาศัยเหตุนั้น ๆ จึงเกิดขึ้น ประกอบความว่า ก็เพราะการณ์เป็นอย่างนี้แหละ ฉะนั้น แม้สังขารทั้งหลาย จะชื่อว่าเที่ยงไม่มีเลย. สังขารทั้งหลายนั่นแหละ ชื่อว่าเป็นของเกิดแล้ว โดยการกำหนด หมายรู้ เพราะอาศัยเบญจขันธ์ อันได้นามว่าสังขาร เพราะเหตุที่ปัจจัยทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 9 ปรุงแต่งแล้ว ย่อมเปลี่ยนแปลงไปเพราะชราและมรณะ เพราะเหตุนั้นจึงชื่อว่า ไม่เที่ยง มีการแปรปรวนไปเป็นธรรมดา จริงอย่างนั้น วิปริณามธรรมเหล่านั้น ท่านจึงกล่าวว่า สังขาร ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ขันธ์เหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดและเวียนดับไป โดยมีอธิบายว่า เบญจขันธ์ที่ท่านกล่าวไว้โดย ปริยายแห่งภพ และโดยปริยายแห่งสังขารเหล่านั้น ย่อมเวียนเกิดไปตามปัจจัย และเกิดแล้ว ถูกชราเบียดเบียนบีบคั้น ย่อมเคลื่อน คือ แตกสลายไป. ด้วยบทว่า อุปฺปชฺชนฺติ จ เต ขนฺธา จวนฺติ อปราปร นี้ พระเถระแสดงความหมายว่า เบญจขันธ์ที่ได้ชื่อว่า ภพก็ดี สังขารก็ดี มีการ เกิดขึ้น และเสื่อมไปเป็นสภาพ. เพราะเหตุที่เมื่อพระโยคาวจร ยกเบญจขันธ์ ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้วพิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏชัด ดุจถูกไฟเผาแล้ว จะป่วยกล่าวไปใยถึงสังขารทั้งหลาย ที่พระโยคาวจรรู้อาทีนพ คือ โทษในเบญจขันธ์ที่ปัจจัยปรุงแต่งแล้ว ว่าเป็นเหมือนเรือนที่ถูกไฟไหม้แล้ว ด้วยวิปัสสนาปัญญา เห็นแล้วโดยเป็นอนิจจลักษณะ ย่อมปรากฏชัดกว่า เพราะความที่สังขารเป็นทุกข์ ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า สิ่งใด ไม่เที่ยง สิ่งนั้นเป็นทุกข์ สิ่งใดเป็นทุกข์ สิ่งนั้นเป็นอนัตตา. เพราะเหตุที่ เมื่อพระโยคาวจรยกเบญจขันธ์ขึ้นสู่ไตรลักษณ์ แล้ว พิจารณาสังขารทั้งหลายอยู่ ภพแม้ทั้ง ๓ ย่อมปรากฏว่ามีภัยเฉพาะหน้าดุจเรือน ที่ถูกไฟไหม้ ฉะนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า ภเวนมฺหิ อนตฺถิโก (เรารู้โทษ อย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ). ประกอบความว่า ก็แม้เล่ห์เหลี่ยม ที่มุ่งหมายในกามทั้งหลาย ย่อมไม่เกิดขึ้นแก่ผู้ที่ทำตนให้หมุนกลับจากภพ ทั้งหลายได้โดยประการทั้งปวงอย่างนี้ ด้วยเหตุนั้น พระเถระ จึงกล่าวว่า นิสฺสโฏ สพฺพกาเมหิ เราเป็นผู้สลัดตนออกแล้วจากกามทั้งปวงดังนี้อธิบายว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 10 เราเป็นผู้มีจิตหมุนกลับจากกามทั้งหลายแม้เป็นทิพย์ (เห็น) เป็นเหมือนของ มนุษย์. บทว่า ปตฺโต เม อาสวกฺขโย ความว่า เพราะเหตุที่เราเป็นผู้มี สังขารอันขจัดขัดเกลาดีแล้ว เห็นโทษในภพทั้งหลายโดยชัดเจน และมีใจ ไม่ข้องแวะในกามทั้งหลาย ฉะนั้น ถึงแม้เราจะนั่งอยู่แล้วบนปลายหลาว เราก็ ได้บรรลุ คือ ถึงทับความสิ้นไปแห่งอาสวะ อันได้แก่พระนิพพาน และพระ- อรหัตผล. พระเถระ ให้โอวาทแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ก็เพื่อนสพรหมจารีทั้งหลาย เหล่าอื่น ผู้มีใจยังไม่ถึงความสิ้นไปแห่งอาสวะ พึงกระทำความอุตสาหะเพื่อ บรรลุความสิ้นไปแห่งอาสวะนั้น. จบอรรถกถาอุตตรเถรคาถา ๒. ปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระปิณโฑลภารทวาชเถระ [๒๕๙] ได้ยินว่า พระปิณโฑลภารทวาชเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้อย่าง นี้ว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไป โดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้ เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาอาหารโดย ทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าว การไหว้ และการบูชาในตระกูลทั้งหลายว่า เป็น เปลือกตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะอันบุรุษชั่วละได้ยาก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 11 อรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา คาถาของท่านพระปิณโฑลภารทวาชเถระ เริ่มต้นว่า นยิท อนเยน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้ เกิดในกำเนิดราชสีห์ ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ อยู่ในถ้ำแห่งภูเขา. พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จเข้าไปสู่ถ้ำเป็นที่นอน ในเวลาที่ราชสีห์หลีกออกไปหากิน เพื่อจะทรง อนุเคราะห์เขา ประทับนั่งเข้านิโรธสมาบัติแล้ว ราชสีห์คาบเอาเหยื่อกลับมา เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าที่ประตูถ้ำ เป็นผู้ร่าเริงยินดี กระทำการบูชาด้วยดอกไม้ ที่เกิดในน้ำและดอกไม้ที่เกิดบนบก ทำใจให้เลื่อมใส บันลือสีหนาทในเวลา ทั้ง ๓ เพื่อให้สัตว์ร้ายในป่าหนีไป เพื่อถวายอารักขาพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ยืน เฝ้าอยู่โดยมีพุทธานุสติเป็นอารมณ์ มันบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้าตลอด ๗ วัน เหมือนอย่างที่บูชาในวันแรก. โดยล่วงไปได้ ๗ วัน พระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จออกจากนิโรธสมาบัติ ทรงพระดำริว่า เท่านี้ก็จะพอเป็นอุปนิสัย เป็นไปแก่ราชสีห์ เมื่อมันเห็นอยู่ นั่นแล เสด็จเหาะขึ้นสู่อากาศ เสด็จไปยังพระวิหารแล้ว. ราชสีห์ ไม่อาจอด กลั้นความทุกข์ อันเกิดจากความพลัดพรากจากพระพุทธเจ้า กระทำกาละแล้ว ดุจช้างปาลิเลยยกะ เกิดในตระกูลของคฤหบดีผู้มีโภคะมาก ในพระนครหงสาวดี เจริญวัยแล้ว ไปสู่พระวิหารพร้อมกับชาวเมือง ฟังพระธรรมเทศนา บำเพ็ญ มหาทานตลอด ๗ วัน แล้วกระทำบุญจนตลอดชีวิต ท่องเที่ยวไป ๆ มา ๆ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 12 อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรปุโรหิต ของพระเจ้าอุเทน ใน พระนครโกสัมพี ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย โดยนาม ชื่อว่า ภารทวาชะ. เขาเจริญวัยแล้ว เรียนจบไตรเพท สอนมนต์กะมาณพ ๕๐๐ ถูก มาณพเหล่านั้นทอดทิ้ง เพราะเป็นผู้มีอาจาระไม่เหมาะสม เพราะเป็นคนจะกละ (กินจุ) ไปสู่พระนครราชคฤห์ เห็นลาภสักการะของพระผู้มีพระภาคเจ้า และ ของภิกษุสงฆ์ จึงบวชในพระศาสนา เป็นผู้ไม่รู้ประมาณในโภชนะ เที่ยวไป อันพระศาสดาทรงทำให้ตั้งอยู่ ในความเป็นผู้รู้ประมาณได้ด้วยอุบายวิธี เริ่ม ตั้งวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ ในอปทานว่า เมื่อก่อนเราเป็นพรานเนื้อ ครั้งนั้นเราเที่ยวอยู่ใน ป่าใหญ่ ได้เห็นพระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี ทรงรู้จบธรรมทั้งปวง เราเลื่อมใส ได้เอาผลมะหาด มาถวายพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด เป็นเขตแห่งบุญ ผู้แกล้วกล้า ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการ ถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการ ถวายผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระเป็นผู้ได้อภิญญา ๖ แล้ว คิดว่า มรรคผลใด อันสาวก ทั้งหลายพึงบรรลุ เฉพาะพระพักตร์ของพระผู้มีพระภาคเจ้า มรรคผลนั้นเราก็ บรรลุแล้ว และบันลือสีหนาทในหมู่ภิกษุว่า ผู้ใดมีความสงสัยในมรรคหรือผล พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 13 ผู้นั้นจงถามเรา ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงตั้งท่านไว้ใน เอตทัคคะ ด้วยพระพุทธดำรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระปิณโฑลภารทวาชะ เป็นยอดแห่งภิกษุผู้เป็นสาวกของเรา ผู้บันลือสีหนาท. วันหนึ่ง ท่านเมื่อจะอนุเคราะห์พราหมณ์ผู้เป็นมิจฉาทิฏฐิ มีความ ตระหนี่ เคยเป็นสหายกันในสมัยเมื่อเป็นคฤหัสถ์ ผู้เข้าไปหาถึงสำนักจึงกล่าว กถาพรรณนาอานิสงส์ของทานแก่พราหมณ์นั้น แม้เมื่อพราหมณ์ จะทำการ ขมวดคิ้วสยิวหน้าว่า พระเถระนี้ ประสงค์จะยังทรัพย์ของเราให้พินาศ แล้ว- กล่าวว่า เราจะถวายภัตรมื้อหนึ่งแก่ท่าน ดังนี้ จึงกล่าวว่า ท่านจงถวายภัตร มื้อหนึ่งนั้นแก่พระสงฆ์ อย่าถวายเราเลย แล้วให้พราหมณ์น้อมนำภัตรนั้น ไป ถวายสงฆ์ เมื่อพราหมณ์แสดงความไม่พอใจอีกด้วยคิดว่า พระเถระนี้ประสงค์ จะให้เราถวายทานแก่ภิกษุจำนวนมาก ดังนี้ พระเถระจึงยังพราหมณ์ให้เลื่อมใส ด้วยการประกาศถึงความที่แห่งทักษิณาทาน ที่ถวายในสงฆ์ โดยพระธรรม เสนาบดีในวันที่สองว่ามีผลมาก คิดว่าพราหมณ์นี้ สำคัญว่า พระเถระนี้ชักชวน ให้เราถวายทาน ด้วยควานอยากในอาหาร เขาไม่รู้ความที่เราควบคุม (กำหนดรู้) อาหารได้แล้วโดยประการทั้งปวง เอาเถิด เราจะทำให้เขารู้ ดังนี้ จึงได้กล่าว คาถา ๒ คาถา ความว่า ชีวิตของเรานี้ ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควร อาหารไม่ได้ทำจิตให้สงบ เราเห็นว่า ร่างกายจะดำรง อยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยวแสวงหาโดยทางที่ชอบ. นักปราชญ์มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้กล่าวการ ไหว้ การบูชา ในตระกูลทั้งหลายว่า เป็นเปลือก ตม เป็นลูกศรอันละเอียด ถอนขึ้นได้ยาก สักการะ อันบุรุษชั่วละได้ยาก ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 14 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า นยิท อนเยน ชีวิต ความว่า ชีวิต ของเรานี้ ชื่อว่า ย่อมไม่เป็นไปโดยไม่สมควรคือ โดยการแสวงหาที่ไม่สมควร มีการให้ไม้ไผ่ และการให้ดอกไม้เป็นต้น เพราะไม่มีความใคร่ในชีวิต. บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า ก็อาหารที่เรานำมา ย่อมไม่กระทำหทัย คือ จิต ให้สงบระงับ ดุจมรรคญาณและผลญาณ อธิบายว่า แต่จะกระทำเพียงระงับความหิวได้โดยทันทีอย่างเดียว. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า นาหาโร หทยสฺส สนฺติโก ความว่า อาหาร คือ วัตถุอันเป็นที่ตั้งแห่งความอยากในรส ไม่ได้ทำจิตของเราให้สงบ คือไม่ทำจิตของเราให้ข้อง เพราะไม่มีความอยากในรสนั่นเอง อาจารย์บางพวก กล่าวว่า สนฺติเก ก็มี. อธิบายว่า ผู้ที่มีความจะกละในอาหารนั้น ย่อมต้องขวนขวายหาลาภ สักการะเที่ยวไป อาหารจึง ชื่อว่า มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะต้องใส่ใจถึงอยู่ เนือง ๆ ส่วนผู้ใดรู้เท่าทัน (ควบคุม) อาหารได้ ผู้นั้น ชื่อว่าละฉันทราคะ ในอาหารนั้นได้แล้ว อาหารชื่อว่าไม่มีอยู่ในใจของผู้นั้น เพราะไม่มีการกระทำ ไว้ในใจ มีอาทิว่า ทำอย่างไรหนอ ถึงจะได้อาหารดังนี้โดยแท้ เพราะใส่ใจ ถึงปัญหายอกย้อน อันจะมีขึ้นว่า ก็ถ้าท่านไม่มีความใคร่ในชีวิต และความอยาก ในรสอาหารไซร้ เมื่อเป็นเช่นนั้น เหตุไร ท่านจึงเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต ดังนี้ พระเถระจึงกล่าวว่า ร่างกายจะดำรงอยู่ได้เพราะอาหาร จึงได้เที่ยว แสวงหาอาหารโดยทางที่ชอบ. อาหาร คือ โภชนะเป็นที่ตั้ง คือ เป็นฐานได้แก่เป็นปัจจัยของร่างกาย นั้น เพราะเหตุนั้น ร่างกายจึงชื่อว่า อาหารัฏฐิติกะมีอาหารเป็นที่ตั้ง อธิบายว่า การสั่งสม คือร่างกาย มีความเป็นไปเนื่องด้วยอาการ เพราะเราเห็นอย่างนี้ รู้อย่างนี้ จึงยกเอาความข้อนี้ไว้ในสมอง ต้องเที่ยวแสวงหา คือ ทำการแสวงหา อาหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 15 พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ท่านไม่ควรคิดในคนเช่นเราอย่างนี้ว่าเข้าไป สู่สกุลเพราะปัจจัยเป็นเหตุ และถูกลาภสักการะ คือการกราบไหว้บูชาในสกุล นั้น ผูกมัดไว้ จึงได้กล่าวคาถาว่า ปงฺโก (การไหว้การบูชาในตระกูลเป็น เปลือกตม). คาถานั้นมีอธิบายว่า เพราะเหตุที่บัณฑิตทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ได้รู้ คือ รู้แจ้ง หรือได้แก่ประกาศการสรรเสริญคุณและการบูชา ของเหล่า บรรพชิตผู้เข้าไปสู่สกุล เพราะมีปัจจัยเป็นเหตุที่จักเป็นไปในตระกูลทั้งหลาย คือ ในหมู่ชาวบ้าน นี้นั้นว่าเป็นเปลือกตม คือเป็นหล่ม เพราะอรรถว่า เป็นเหตุให้บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้วจมลง และเพราะกระทำความ เศร้าหมองให้แก่บรรพชิตผู้มีตนอันไม่ได้อบรมแล้ว ฉะนั้นการสรรเสริญคุณ และการบูชานั้น จึงไม่เป็นไปเพื่อผูกมัดสัตบุรุษทั้งหลาย จักป่วยกล่าวไปใย ถึงการหวังสักการะเล่า เพราะท่านละได้แล้ว แต่สำหรับอสัตบุรุษ ความหวัง ในสักการะ ย่อมชื่อว่าเป็นลูกศรอันละเอียด รู้ได้ยาก เพราะก่อให้เกิดความ บีบคั้นโดยเป็นสภาพที่รู้ได้โดยยาก และเพราะไม่สามารถจะถอนออกได้เพราะ เจาะลึกเข้าไปในภายใน เพราะเหตุนั้นแล สักการะจึงเป็นของอันบุรุษชั่วนั้น ละได้ยาก คือดึงออกไปได้โดยยาก เพราะไม่ดำเนินปฏิปทา อันเป็นข้อปฏิบัติ ให้ถึงการละสักการะนั้น ชื่อว่า เป็นคนเลว เพราะไม่ละความหวังในลาภ สักการะ. พราหมณ์ฟังคำเป็นคาถานั้นแล้ว ได้เป็นผู้มีความเลื่อมใสอย่างยิ่ง ในพระเถระ. จบอรรถกถาปิณโฑลภารทวาชเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 16 ๓. วัลลิยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวัลลิยเถระ [๒๖๐] ได้ยินว่า พระวัลลิยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า วานรเข้าไปอยู่ในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออกทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุดนิ่ง นะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจัก ไปไกลไม่ได้ละ. อรรถกถาวัลลิยเถรคาถา คาถาของท่านพระวัลลิยเถระ เริ่มต้นว่า มกฺกโฏ ปญฺจทฺวาราย. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญมากหลายไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกัป ที่ ๓๑ นับแต่ภัทรกัปนี้ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเข้าไปสู่ป่าด้วยกรณียกิจ บางอย่าง เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า นามว่า นารทะ อยู่ที่โคนต้นไม้ในป่านั้น เป็นผู้มีใจเลื่อมใส ทำศาลาด้วยไม้อ้อ มุงบังด้วยหญ้าถวาย และแผ้วถางที่ สำหรับเดินจงกรมของพระปัจเจกพุทธเจ้านั้น เกลี่ยทรายลง (จนเรียบ) ถวาย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของพราหมณ์มหาศาล ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 17 ได้มีนามว่า วัลลิยะ. เขาเจริญวัยแล้ว ถึงความเป็นหนุ่มโดยลำดับ เป็น ผู้ตกอยู่ใต้อำนาจของอินทรีย์ ท่องเที่ยวไป เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า โดยการแนะนำของกัลยาณมิตร ฟังธรรมแล้ว ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ หารินะ ครั้งนั้นพระสยัมภูพุทธเจ้า นามว่า " นารทะ " อยู่ใกล้ต้นไม้ เราทำเรือนไม้อ้อ มุงด้วยหญ้า เราได้ แผ้วถางทางจงกรม ถวายพระสยัมภู ด้วยกรรมที่เรา ทำไว้ดีแล้วนั้น และด้วยการตั้งเจตน์จำนงไว้ เราละ ร่างมนุษย์แล้วได้ไปสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ บนสวรรค์ชั้น ดาวดึงส์นั้น วิมานของเราสูง ๖๐ โยชน์ กว้าง ๓๐ โยชน์ อันบุญกรรมเนรมิตขึ้นอย่างสวยงาม เพราะผล แห่งการสร้างกุฎีไม้อ้อ เรารื่นรมย์อยู่ในเทวโลก ๑๔ กัป ได้เสวยสมบัติในเทวโลก ๗๑ ครั้ง ได้เป็นพระ- เจ้าจักรพรรดิ ๓๔ ครั้ง และได้เป็นเจ้าประเทศราช อันไพบูลย์ โดยคณานับไม่ถ้วน เราขึ้นสู่ปราสาทคือ ธรรมแล้ว เข้าถึงซึ่งอมตธรรมอันประเสริฐ ด้วยอาการ ทั้งปวง อยู่ในศาสนาของพระศากยบุตร ตามปรารถนา ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ทำกรรมใดไว้ใน กาลนั้น ด้วยธรรมนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผล แห่งกุฏิไม้อ้อ. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอน ของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 18 ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เพราะเหตุที่จิตของตนในเวลา ที่เป็นปุถุชน เป็นไปตามความใคร่ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปารมณ์เป็นต้น บัดนี้ เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล โดยประกาศถึงความที่แห่งอารมณ์มีรูป เป็นต้น อันตนข่มไว้ได้แล้ว ด้วยพระอริยมรรค จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า วานรเข้าไปในกระท่อม มีประตู ๕ ประตู พยายามเวียนเข้าออก ทางประตูนั้นเนือง ๆ จงหยุด นิ่งนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เราจับเจ้าไว้ได้ ด้วยปัญญาแล้ว เจ้าจักไปไกลไม่ได้ละ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ฆฏฺฏยนฺโต ความว่า พระโยคาวจร ละอารมณ์อย่างหนึ่ง แล้วไปยึดอารมณ์อีกอย่างหนึ่ง ในอารมณ์ทั้งหลาย มีรูปเป็นต้น ด้วยจักษุทวารเป็นต้นนั้น ๆ ไม่พอใจเพื่อจะอยู่นิ่ง ๆ ด้วย สามารถแห่งการยึดมั่นของจิตสันดาน จึงพยายาม คือ ทำอารมณ์ให้ไหวอยู่ เนือง ๆ ย่อมไหวไปตาม คือเที่ยวไปตามความใคร่ ในอารมณ์มีรูปารมณ์ เป็นต้นนั้นแล ดุจลิงเข้าไปหาผลไม้กิน ยังต้นไม้ให้ไหวในที่นั้นหลายครั้ง เพราะละกิ่งไม้กิ่งหนึ่งแล้ว ไปเกาะกิ่งไม้อีกกิ่งหนึ่ง เพราะความหลุกหลิก ของตน ฉะนั้น. ก็ในคาถานี้ ท่านกล่าวความเป็นปัจจุบัน เพราะเป็นเรื่อง ที่ใกล้กับสิ่งที่ดำเนินไปอยู่ ก็เมื่อลิง (คือจิต) วิ่งวนไปมาอยู่อย่างนี้ พระเถระ จึงปรามว่า จงหยุดนะเจ้าลิง อย่าวิ่งไป หมายความว่า ดูก่อนลิงคือจิต บัดนี้ เจ้าจงหยุด อย่าวิ่งไป คือจำเดิมแต่นี้ไป เจ้าไม่สามรถจะวิ่งต่อไปได้ เพราะ เหตุที่เรือนคืออัตภาพนั้น เจ้าจะเข้าไปคบหาไม่ได้ดังกาลก่อน เพราะปิดประตู เรือนแล้ว ฉะนั้น เจ้าอย่าวิ่งไปดังกาลก่อนเลย เพราะเหตุไร ? เพราะเรา จับเจ้าได้แล้วด้วยปัญญา คือ เจ้าถูกข่มไว้เรียบร้อยแล้ว ด้วยการตัดอุปาทาน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 19 ๕ กล่าวคือกิเลสมาร และอภิสังขารมาร ด้วยมรรคปัญญา ในบัดนี้ เพราะ เหตุนั้น พระเถระจึงแสดงว่า เจ้าจักไปไกลไม่ได้ คือเจ้าจะไปสู่อัตภาพที่ สองเป็นต้น ซึ่งไกลกว่าอัตภาพนี้ไม่ได้ ได้แก่การไปของเจ้าจะมีได้เพียงแต่ จริมกจิตเท่านั้น. ปาฐะว่า เนโต ทูร ดังนี้ก็มี. ความหมายก็อันนั้น. จบอรรถกถาวัลลิยเถรคาถา ๔. คังคาตีริยเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระคังคาตีริยเถระ [๒๖๑] ได้ยินว่า พระคังคาตีริยเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อ สำหรับตักน้ำรด ศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง ๒ พรรษา เราพูดเพียงคำเดียวเท่านั้น ในภายใน พรรษาที่ ๓ เราทำลายกองความมืดคืออวิชชาได้แล้ว. อรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา คาถาของท่านพระคังคาตีริยเถระ เริ่มต้นว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มี พระภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้แล้วเป็นผู้มี ความเลื่อมใสอย่างยิ่งในพระศาสนา ได้ถวายน้ำดื่มแด่ภิกษุสงฆ์. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 20 ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดเป็นบุตรของคฤหบดีคนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า ทัตตะ. เขาเจริญวัย แล้วอยู่ครอบครองเรือน ไม่รู้จักความเป็นอคมนียยัฏฐาน จึงทำการล่วงละเมิด ต่อมารู้จักความเป็นอคมนียัฏฐานแล้ว จึงเกิดความสลดใจ บวชแล้ว รังเกียจ กรรมนั้น ดำรงตนตามลูขปฏิปทา (ปฏิบัติอย่างเศร้าหมอง) ถือบังสุกุลจีวร และบาตรดิน มีลักษณะคล้ายหม้อรดน้ำศพ กระทำกุฎีด้วยใบตาล ๓ ใบ อยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงได้สมญานามว่า คังคาตีริยะ. ท่านอธิษฐานจิตว่า เรายังไม่ได้บรรลุพระอรหัต จะไม่สนทนากับใคร ๆ แล้วเป็นผู้นิ่งอยู่ตลอดปีแรก ไม่ยอมทำวจีเภท (ไม่ยอมพูดจา) เลย อยู่แล้ว. ในปีที่สอง ถูกหญิงคนหนึ่งในโคจรคาม ประสงค์จะทดลองว่า เป็นใบ้ หรือเปล่า จึงเมื่อจะเทน้ำนมลงในบาตร แกล้งทำเป็นมือพิการเทราดลงไป เผลอเปล่งวาจาออกไปว่า พอละน้องหญิง แต่ในปีที่ ๓ เพียรพยายามอยู่ บรรลุพระอรหัตแล้วในระหว่างพรรษาทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าว ไว้ในอปทานว่า เรามีจิตเลื่อมใส มีใจโสมนัส ในภิกษุสงฆ์ ผู้ยอดเยี่ยมของพระพุทธเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ จึงได้ตักน้ำใส่หม้อน้ำฉันจนเต็ม ในเวลาที่เราจะต้อง การน้ำ จะเป็นยอดภูเขา ยอดไม้ ในอากาศ หรือพื้นดิน น้ำย่อมเกิดแก่เราทันที ในกัปที่แสน แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จัก ทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการให้น้ำเป็นทาน. เราเผากิเลส ทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรา กระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 21 ก็พระเถระครั้นเป็นพระอรหันต์แล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล ด้วยมุขคือการชี้แจงข้อปฏิบัติอันเป็นส่วนเบื้องต้นของตน ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เราทำกระท่อมด้วยใบตาล ๓ ใบ ที่ริมฝั่งแม่น้ำ คงคา บาตรของเราเหมือนดังหม้อสำหรับรดน้ำศพ และจีวรของเราเป็นดังผ้าคลุกฝุ่น ในระหว่าง๒พรรษา เราพูดเพียงคำเดียว ในภายในพรรษาที่ ๓ เราทำลาย กองความมืด คืออวิชชาได้แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ติณฺณ เม ตาลปตฺตาน คงฺคาตีเร กุฏี กตา ความว่า เราสร้างกุฎีไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำคงคา เพื่อป้องกันฝนด้วย ใบตาล ๓ ใบ ซึ่งหล่นลงมาจากต้นตาล. พระเถระแสดงความสันโดษด้วย เสนาสนะของตน ด้วยบทนั้น. สมจริงดังคำเป็นคาถาที่พระธรรมเสนาบดี กล่าวไว้ว่า สำหรับภิกษุผู้มีความเพียร นั่งขัดสมาธิ ไม่คุก- เข่า เป็นการเพียงพอที่จะอยู่ได้สบาย. ปาฐะว่า ตาลปตฺตีนปิ ดังนี้ก็มี ความก็อย่างนั้น. บทว่า ฉวสิตฺโตว เม ปตฺโต ความว่า บาตรของเราเหมือนดัง หม้อสำหรับตักน้ำรดศพ อธิบายว่า คล้ายหม้อน้ำสำหรับรดน้ำนมให้คนตาย. บทว่า ปสุกูลญฺจ จีวร ความว่า และจีวรของเรา ก็เป็นดังผ้า คลุกฝุ่น ที่ทำด้วยเศษผ้า (ผ้าขี้ริ้ว) ที่เขาทิ้งแล้วในที่ทั้งหลาย มีระหว่างทาง และป่าช้าเป็นต้น. พระเถระแสดงความสันโดษด้วยบริขาร ด้วยบททั้งสอง. บทว่า ทวินฺน อนฺตรวสฺสาน ความว่า ในระหว่างพรรษาทั้งสอง คือ ในปีที่บรรลุพระอรหัต นับแต่บวชแล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 22 บทว่า เอกา วาจา เม ภาสิตา ความว่า เราพูดเพียงคำเดียว คือ กล่าวห้ามการถวายน้ำนมว่า พอละน้องหญิงเท่านั้น การเปล่งคำพูด อย่างอื่น มิได้มีเลยในพรรษานั้น พระเถระแสดงการสำรวมกายวาจา อย่าง อุกฤษฏ์ด้วยบทนั้น. บทว่า ตติเย อนฺตรวสฺสมฺหิ ความว่า ในระหว่างปีที่ ๓ ได้แก่ ยังไม่ทันครบปีที่ ๓ นั่นเอง. บทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต ความว่า กองแห่งความมืด อันเรา ทำลายแล้ว ด้วยมรรคอันเลิศ อธิบายว่า กิเลสอย่างละเอียดที่นอนเนื่องอยู่ใน สันดาน คือ อวิชชา อันเราตัดขาดแล้ว. ด้วยบทว่า ตโมขนฺโธ ปทาลิโต นั้น พระเถระกล่าวถึงการละกิเลสทั้งปวงได้ โดยไม่เหลือ เพราะตั้งอยู่เป็น อันเดียวกันกับอวิชชานั้น. จบอรรถกถาคังคาตีริยเถรคาถา ๕. อชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระอชินเถระ [๒๖๒] ได้ยินว่า พระอชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อมดู หมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใดใน โลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่า บุคคลนั้นจะ เป็นผู้ชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือ ของคน พาลทั้งหลาย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 23 อรรถกภาอชินเถรคาถา คาถาของท่านพระอชินเถระ เริ่มต้นว่า อปิ เจ โหติ เตวิชฺโช. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์- ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว ไปป่าด้วยกรณียกิจบางอย่าง เห็นพระปัจเจกสัมพุทธเจ้า นามว่า สุจินติตะ ในป่านั้น ถูกอาพาธเบียดเบียน บีบคั้นนั่งอยู่แล้ว จึงเข้าไปหาไหว้แล้ว เป็นผู้มีจิตเลื่อมใส ได้นำเอาขี้ตะกอน เปรียงเข้าไปถวาย เพื่อประกอบยา. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้ว ท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในสุคติภพเท่านั้น ถือปฏิสนธิในเรือนของพราหมณ์ผู้ยากจน คนหนึ่ง ในพระนครสาวัตถี ในพุทธุปบาทกาลนี้. ในเวลาคลอด คนทั้งหลาย รับเขาไว้ด้วยหนังเสือ ด้วยเหตุนั้น จึงขนานนานเขาว่า อชินะ นั่นแล. เขาเกิดในตระกูลที่ยากจน เพราะไม่ได้กระทำกรรมอันเป็นเหตุยังโภคะ ให้เป็นไป แม้เจริญวัยแล้ว ก็ยังเป็นผู้มีน้ำและข้าวไม่บริบูรณ์ เที่ยวไป เห็นพุทธานุภาพ ในคราวที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับพระเชตวันมหาวิหาร เป็นผู้มีศรัทธาจิต บวชแล้ว กระทำกรรมในวิปัสสนา ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีภาคะ ผู้มีเหตุอันดำริดีแล้ว เป็นเชษฐ- บุรุษของโลก ประเสริฐกว่านรชน เข้าไปสู่ป่าใหญ่ ถูกอาพาธอันเกิดแต่ลมเบียดเบียน เราเห็นแล้ว จึง พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 24 ทำจิตให้เลื่อมใส นำเอาขี้ตะกอนเปรียงเข้าไปถวาย เพราะเราได้กระทำกุศลและได้บูชาพระพุทธเจ้าเนืองๆ แม่น้ำคงคาชื่อภาคีรถีนี้ มหาสมุทรทั้ง ๔ และพื้นปฐพี ที่น่ากลัว ผ ซึ่งจะประมาณมิได้ นับไม่ถ้วนนี้ ย่อม สำเร็จเป็นเปรียงขึ้นได้ สำหรับ เรา น้ำผึ้ง น้ำตาลกรวด ดังจะรู้ความดำริของเรา เกิดขึ้น ตอไม้ที่งอกขึ้น แต่ แผ่นดินในทิศทั้ง ๔ ดังจะรู้ความดำริของเรา ย่อมเกิด เป็นต้นกัลปพฤกษ์ขึ้น เราได้เป็นจอมเทวดาเสวยราช- สมบัติในเทวโลก ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดย คณานับไม่ถ้วน ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ให้ ทานใดในกาลนั้น ด้วยทานนั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งขี้ตะกอนเปรียง. เราเผากิเลสทั้งหลาย แล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จ แล้ว ดังนี้. ก็พระเถระ แม้บรรลุพระอรหัตแล้ว ก็เป็นผู้มีลาภน้อย ไม่ปรากฏ ชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมที่มีในก่อน แม้อุทเทสภัตรและสลากภัตรที่ถึงท่าน ก็ต่ำช้าทั้งนั้น ก็ภิกษุและสามเณรทั้งหลายที่เป็นปุถุชน ย่อมดูหมิ่นท่านว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง เพราะผลแห่งกรรมนั่นแล พระเถระเมื่อจะยังภิกษุเหล่านั้น ให้สลดใจ ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ถึงแม้บุคคลจะมีวิชชา ๓ ละมัจจุราชแล้ว เป็นผู้ หาอาสวะมิได้ คนพาลทั้งหลายผู้ไม่มีความรู้ ก็ย่อม ดูหมิ่นบุคคลนั้นว่า เป็นผู้ไม่มีชื่อเสียง ส่วนบุคคลใด พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 25 ในโลกนี้ เป็นผู้ได้ข้าวและน้ำ ถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะ เป็นคนชั่วช้าเลวทราม ก็เป็นที่สักการะนับถือของคน- พาลทั้งหลาย ดังนี้. ศัพท์ว่า อปิ ในคาถานั้น เป็นนิบาต ลงในอรรถว่า ยกย่องสรรเสริญ ศัพท์ว่า เจ ใช้ในการคาดคะเน. บทว่า โหติ แปลว่า ย่อมเป็น. บุคคลชื่อว่า เตวิชฺโช เพราะ เป็นผู้มีวิชชา ๓. ชื่อว่า มจฺจุหายี เพราะละมัจจุได้. ชื่อว่า ไม่มีอาสวะ เพราะไม่มี อาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ถึงแม้ว่า บุคคล จะเป็นผู้ชื่อว่า มีวิชชา ๓ เพราะบรรลุวิชชา ๓ เหล่านี้ คือ ทิพยจักขุญาณ บุพเพนิวาสญาณ (และ) อาสวักขยญาณ ต่อแต่นั้น ก็ชื่อว่าเป็นผู้ไม่มีอาสวะ เพราะอาสวะทั้งหลาย มีกามาสวะเป็นต้น สิ้นไปรอบแล้วโดยประการทั้งปวง ชื่อว่า ละมัจจุแล้ว เพราะไม่มีความตาย โดยที่ไม่ต้องถือเอาภพใหม่อีกต่อไป แม้เมื่อเป็นเช่นนั้น คนพาลทั้งหลาย คือบุคคลผู้มีปัญญาทราม ย่อมดูหมิ่น บุรุษผู้สูงสุดนั้น แม้ถึงได้บรรลุประโยชน์ของตน ที่กุลบุตรทั้งหลาย ผู้ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต มุ่งหมายโดยชอบที่เดียว ว่าเป็นผู้ไม่มี ชื่อเสียง ไม่มีนามปรากฏ เพราะไม่มีลาภที่เกิดขึ้นว่า เป็นผู้กล่าวสอนเรื่อง ธุดงค์ เป็นพหูสูต เป็นพระธรรมกถึก. เพราะเหตุไร ? เพราะไม่รู้ คือ เพราะเหตุแห่งการไม่รู้ ท่านแสดงการไม่รู้คุณทั้งหลายนั่นแลว่าเป็นเหตุใน ข้อนั้น. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า ก็คนพาลทั้งหลายย่อมดูหมิ่นแม้ผู้ที่ควร สรรเสริญ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ (เห็นแก่ได้) เพราะไม่รู้คุณทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 26 ฉันใด ก็ย่อมสรรเสริญแม้ผู้ที่ควรดูหมิ่นอย่างนี้ โดยที่เป็นคนหนักในลาภ เพราะไม่รู้คุณทั้งหลายฉันนั้น ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถาที่ ๒ ไว้. พึงทราบวินิจฉัยในคาถาที่ ๒ ดังต่อไปนี้ บทว่า โย เป็นการกล่าว แสดงถึงความไม่แน่นอน. จ ศัพท์เป็นนิบาตใช้ในพยดิเรก. ด้วย จ ศัพท์นั้น ส่องให้รู้ ถึงความต่างกันที่กำลังกล่าวถึงบุคคลนี้อยู่นั่นแหละ ว่าแผกจากบุคคล ตามที่กล่าวแล้ว ศัพท์ว่า โข เป็นนิบาตลงในอวธารณะ (จำกัดความให้แน่ชัด). บทว่า อนฺนปานสฺส เป็นเพียงตัวอย่าง. บทว่า ลาภี แปลว่า มีลาภ. บทว่า อิธ ความว่า ในโลกนี้. ชื่อว่า บุคคล เพราะเต็มและ กลืนกินสัตตาวาส (ภพเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์) นั้น ๆ ด้วยชราและมรณะ. บทว่า ปาปธมฺโม ได้แก่ ธรรมอันลามก. ก็ในคาถาที่ ๒ นี้ มีอรรถาธิบายว่า ส่วนบุคคลใด ย่อมเป็นผู้มีปกติได้เพียงปัจจัย มีจีวรเป็นต้น เท่านั้น ไม่ได้มรรคผลมีฌานเป็นต้น บุคคลนั้นแม้ถึงจะเป็นผู้มีธรรมอันเลว โดยความเป็นผู้ทุศีล เพราะมีความปรารถนาลามก แต่ก็ยังเป็นผู้อันคนพาล ทั้งหลายในโลกนี้ สักการะ เคารพ เพราะความเป็นผู้หนักในลาภ. จบอรรถกถาอชินเถรคาถา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 27 ๖. เมฬชินเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระเมฬชินเถระ [๒๖๓] ได้ยินว่า พระเมฬชินเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เมื่อใดเราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรงแสดง อยู่ เมื่อนั้น เราไม้รู่สึกมีความสงสัย ในพระศาสดาผู้รู้ ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้ว- กล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือ ว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. อรรถกถาเมฬชินเถรคาถา คาถาของท่านพระเมฬชินเถระ เริ่มต้นว่า ยทาห ธมฺมมสฺโสสึ. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำแล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญทั้งหลายไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า สุเมธะ บรรลุนิติภาวะแล้ว วันหนึ่ง เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผล อาโมทะ มีรสอร่อย. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปเกิดในตระกูลกษัตริย์ กรุงพาราณสี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า เมฬชินะ ถึงความสำเร็จในศิลปวิทยา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 28 เป็นผู้ฉลาดปราดเปรื่อง มีนามกระฉ่อนปรากฏไปทั่วทิศ. เมื่อพระผู้มีพระ- ภาคเจ้า ประทับอยู่ ณ ป่าอิสิปตนะ กรุงพาราณสี เขาไปสู่พระวิหาร เข้าเฝ้า พระศาสดา ฟังธรรมแล้วได้ศรัทธาจิต บวชแล้วเริ่มตั้งวิปัสสนา บรรลุพระ อรหัตในวันนั้นเอง. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้สยัมภู ผู้มีพระรัศมีนับ ด้วยพัน ไม่ทรงพ่ายแพ้อะไร ๆ ทรงออกจากวิเวกแล้ว เสด็จออกโคจรบิณฑบาต เราถือผลไม้อยู่ได้เห็นแล้ว จึงได้เข้าไปเฝ้าพระนราสภ เรามีจิตเลื่อมใส มีใจ โสมนัส ได้ถวายผลไม้ ในกัปที่ ๙๔ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว ในเวลาต่อมา อันภิกษุทั้งหลาย ถามว่า อาวุโส ท่านได้บรรลุอุตริมนุสธรรมแล้วหรือ เมื่อจะบันลือสีหนาท ได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เมื่อใด เราได้ฟังธรรมของพระศาสดาผู้ทรง แสดงอยู่ เมื่อนั้น เราไม่รู้สึกความสงสัยในพระศาสดา ผู้รู้ธรรมทั้งปวง ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ ผู้นำหมู่ แกล้วกล้าเป็นอันมาก ประเสริฐสุดกว่าสารถีทั้งหลาย หรือว่าความสงสัยในมรรคปฏิปทา ย่อมไม่มีแก่เรา. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยทา ได้แก่ ในกาลใด. พระเถระเรียก ตัวเองว่า " เรา ". พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 29 บทว่า ธมฺม ได้แก่ธรรม คือ อริยสัจ ๔. บทว่า อสฺโสสึ แปลว่า ฟังแล้ว. บทว่า สตฺถุโน ความว่า ชื่อว่าศาสดา เพราะอรรถว่า ทรงสั่งสอน เวไนยสัตว์ทั้งหลาย ด้วยประโยชน์ทั้งหลาย มีทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์เป็นต้น. บทว่า กงฺข แปลว่า ความสงสัย พระผู้มีพระภาคเจ้าชื่อว่าเป็น สัพพัญญู เพราะอรรถว่า ทรงรู้สังขตธรรมและอสังขคธรรม โดยไม่มีส่วนเหลือ ชื่อว่า อปราชิเต เพราะไม่มีผู้ที่จะทำให้พ่ายแพ้ได้ ไม่ว่าที่ไหน ๆ ชื่อว่า สตฺถวาเห เพราะอรรถว่า ขนสัตว์จากกันดาร คือสงสารไปสู่พระนิพพาน. ท่านกล่าวคำอธิบายไว้ดังนี้. นับจำเดิมแต่เวลาที่พระศาสดาทรงแสดงธรรม เราได้ฟังคือเข้าไป ทรงจำ ด้วยการแล่นไปตามแห่งโสตทวาร ได้แก่ ได้รับจตุสัจจธรรม เราไม่ มีความสงสัย ในพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ชื่อว่า ทรงหยั่งรู้พระสัพพัญญุตญาณ โดยไม่มีอะไรขัดขวาง เพราะทรงรู้สมมติธรรมทั้งที่เป็นสังขตะและอสังขตะ โดยไม่มีส่วนเหลือ ด้วยสยัมภูญาณ ชื่อว่า ผู้อันใคร ๆ ชนะไม่ได้ เพราะ ความเป็นผู้อันมารเหล่านั้นชนะไม่ได้ โดยที่ทรงครอบงำมารแม้ทั้ง ๕ ไว้ได้ และเพราะความเป็นผู้มีจักรคือธรรม อันใคร ๆ กำจัดไม่ได้ในโลกพร้อมทั้ง เทวโลก ชื่อว่าเป็นผู้นำหมู่ เพราะทรงนำเวไนยสัตว์ให้ผ่านพ้นกันดาร มีโลภ- กันดารเป็นต้น ชื่อว่าแกล้วกล้าเป็นอันมาก เพราะทรงตัดกำกงแห่งสงสาร อันใหญ่หลวงได้เด็ดขาด ชื่อว่าเป็นผู้ประเสริฐ คือสูงสุดกว่าสารถีทั้งหลาย เพราะทรงเป็นที่พึ่ง คือทรงฝึกบุรุษที่ควรฝึกอันคนอื่นฝึกได้ยาก ได้ด้วยการ ฝึกที่ดีที่สุด ว่าเป็นพระพุทธเจ้า (จริง) หรือหนอ หรือไม่ได้เป็นพระพุทธเจ้า เพราะไม่มีความเคลือบแฝงอย่างอื่นเป็นปัจจัย. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 30 ก็ข้อกังขา คือความสงสัยในอริยมรรคอันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง แสดงแล้วเห็นปานนั้น และในปฏิปทามีศีลเป็นต้น อันเป็นปฏิปทาที่สมควร แก่พระอริยมรรคนั้น ว่า จะเป็นธรรมนำสัตว์ให้พ้นทุกข์ได้จริงหรือไม่หนอ ดังนี้ ย่อมไม่มี คือไม่มีข้อสงสัย. ก็ในบาทคาถานี้ พึงทราบว่า ด้วยการกล่าว ถึงความสงสัยในอริยธรรม ก็เป็นอันท่านกล่าวถึงความสงสัยแม้ในพระอริยสงฆ์ ไว้ด้วยแล้วทีเดียว เพราะความเป็นผู้ตั้งอยู่ในมรรคนั้น โดยไม่มีความเป็น อย่างอื่น ฉะนี้แล. จบอรรถกถาเมฬชินเถรคาถา ๗. ราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระราธเถระ [๒๖๔] ได้ยินว่า พระราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันใด จิตที่ อบรมดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 31 อรรถกถาราธเถรคาถา คาถาของท่านพระราธเถระ เริ่มต้นว่า ยถา อคาร ทุจฺฉนฺน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? ได้ยินมาว่า พระเถระนี้เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในพระนครหงสาวดี ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า ปทุมุตตระ บรรลุความเป็นผู้รู้ แล้วไปสู่วิหาร เข้าไปเฝ้าพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว นั่งอยู่ ณ ส่วนข้างหนึ่ง เห็นพระศาสดาทรงแต่งตั้งภิกษุรูปหนึ่ง ไว้ในตำแหน่งของภิกษุผู้เลิศกว่าภิกษุ ทั้งหลายผู้มีปฏิภาณ ปรารถนาตำแหน่งนั้นด้วยตนเอง แล้วบำเพ็ญมหาทาน และได้ทำการบูชาแด่พระศาสดาอย่างโอฬาร เขาตั้งปณิธานไว้อย่างนี้ จุติจาก อัตภาพนั้นแล้ว สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาล ของพระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดาเสด็จเที่ยวไปบิณฑบาต มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลมะม่วง มี รสหวาน. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว เวียนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิดในตระกูลพราหมณ์ ใน พระนครราชคฤห์ ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้าแห่งเราทั้งหลาย ได้นามว่า ราธะ เจริญวัยแล้ว อยู่ครองเรือน ในเวลาแก่ตัวลง ถูกลูกเมียลบหลู่ ไปสู่วิหารด้วยคิดว่า ประโยชน์อะไร ด้วยการอยู่ครองเรือนของเรา เราจักบวช เข้าไปหาภิกษุทั้งหลาย ผู้เป็นเถระ ขอบรรพชา อันภิกษุผู้เถระเหล่านั้น ห้ามว่า พราหมณ์นี้แก่แล้ว ไม่สามารถจะบำเพ็ญวัตรปฏิบัติได้ จึงไปยังสำนักของ พระศาสดา กราบทูลอัธยาศัยของตนให้ทรงทราบ อันพระศาสดาทรงตรวจดู พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 32 ความสมบูรณ์แห่งอุปนิสัยแล้ว ตรัสสั่งให้พระธรรมเสนาบดี จัดแจงบวชให้ เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้ถวายผลมะม่วงกะล่อนทอง แด่พระสัม- พุทธเจ้า ผู้มีพระฉวีวรรณเหมือนทองคำ ผู้สมควรรับ เครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วยการถวาย ผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวาย ผลไม้. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้ . ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เที่ยววนเวียนไปมาอยู่ในสำนัก ของพระบรมศาสดา เป็นผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้รู้ปฏิภาณ อันเป็นเหตุให้ มีความเข้าใจพระธรรมเทศนาของพระศาสดาอย่างแจ่มแจ้ง แท้จริง พระธรรม เทศนาใหม่ ๆ ของพระทศพล อาศัยความปรากฏขึ้นแห่งทิฏฐิ ย่อมแจ่มแจ้ง แก่พระเถระ. ด้วยเหตุนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระ ราธะ เลิศกว่าพวกภิกษุสาวกของเราผู้มีปฏิภาณ. วันหนึ่ง พระเถระเมื่อจะ ชมเชยภาวนา ว่าสัตว์เหล่านี้อันราคะครอบงำได้ เพราะไม่เจริญภาวนา เมื่อ มีการเจริญภาวนา ราคะก็ครอบงำไม่ได้ ดังนี้ จึงได้กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า เรือนที่บุคคลมุงไม่ดี ฝนย่อมรั่วรดได้ ฉันใด จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว ราคะย่อมรั่วรดได้ ฉันนั้น. เรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ฉันใด จิตที่อบรม ดีแล้ว ราคะย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉันนั้น ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 33 บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อคาร ได้แก่ เรือนชนิดใดชนิดหนึ่ง. บทว่า ทุจฺฉนฺน ได้แก่ มุงไว้ห่าง ๆ คือเป็นช่องน้อยช่องใหญ่. บทว่า สมติวิชฺฌติ ความว่า ฝนที่ตกย่อมรั่วรดได้. บทว่า อภาวิต ความว่า จิตที่ไม่ได้อบรมแล้ว เพราะเว้นจากภาวนา เปรียบเหมือนฝนที่รั่วรดเรือนได้. บทว่า ราโค สมติวิชฺฌติ ความว่า มิใช่ราคะจะรั่วรดได้อย่าง เดียวเท่านั้น แม้สรรพกิเลสมี โทสะ โมหะ และมานะเป็นต้น ก็ย่อมรั่วรด จิตเห็นปานนั้นได้เหมือนกัน. บทว่า สุภาวิต ได้แก่ จิตที่อบรมดีแล้ว ด้วยสมถภาวนา และ วิปัสสนาภาวนา กิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น ย่อมไม่สามารถจะรั่วรดจิต เห็นปานนั้นได้ เหมือนเรือนที่มุงดีแล้ว ฝนย่อมรั่วรดไม่ได้ ฉะนั้น. จบอรรถกถาราธเถรคาถา ๘. สุราธเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระสุราธเถระ [๒๖๕] ได้ยินว่า พระสุราธเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่าย คือ ทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด ประโยชน์นั้นเราได้ บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 34 อรรถกถาสุราธเถรคาถา คาถาของท่านพระสุราธเถระ เริ่มต้นว่า ขีณา หิ มยฺห ชาติ. เรื่องราวของท่าน เป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ เกิดในเรือนแห่งตระกูล ในกาลของ พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงพระนามว่า สิขี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่ง เห็นพระศาสดา มีใจเลื่อมใส ได้ถวายผลหมากงั่ว. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาไปบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว วนไปเวียนมาอยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดเป็นน้องชายของพระราธเถระ ที่ ข้าพเจ้ากล่าวไว้ติดต่อกันเป็นลำดับมา ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า สุราธะ. เมื่อพระราธเถระผู้เป็นพี่ชายบวชแล้ว แม้ท่านเองก็ออกบวช เจริญ วิปัสสนา บรรลุพระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่าน กล่าวไว้ในอปทานว่า เราได้เห็นสมเด็จพระโลกนาถ ผู้โชติช่วงเหมือน ต้นกรรณิการ์ รุ่งเรืองดังพระจันทร์ในวันเพ็ญ และ เหมือนต้นไม้ประจำทวีปที่โพลงอยู่ เราเลื่อมใส ได้ เอาผลหมากงั่วถวาย แด่พระศาสดาผู้เป็นทักขิไณย- บุคคล เป็นวีรบุรุษ ด้วยมือทั้งสองของตน ในกัปที่ ๓๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม้ใดในกาลนั้น ด้วย การถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่ง การถวายผลไม้ เราเผากิเลสแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 35 ก็พระเถระ ครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะพยากรณ์พระอรหัตผล เพื่อแสดงความที่คำสั่งสอนเป็นนิยยานิกธรรม (นำสัตว์ออกจากทุกข์) จึงได้ กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า ชาติของเราสิ้นแล้ว คำสอนของพระชินเจ้า เรา อยู่จบแล้ว ข่ายคือทิฏฐิและอวิชชา เราละได้แล้ว ตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ เราถอนได้แล้ว เราออกบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์อันใด ประโยชน์นั้นเรา ได้บรรลุแล้ว ความสิ้นสังโยชน์ทั้งปวง เราก็ได้บรรลุ แล้ว ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ขีณา ความว่า ถึงแล้ว ซึ่งความสิ้นไป คือความสิ้นสุด. บทว่า ชาติ ได้แก่ ภพ หรือการบังเกิดในภพ. บทว่า วุสิต ชินสาสน ความว่า คำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระ นามว่า ชินะ ได้แก่ มรรคพรหมจรรย์ อันเราอยู่แล้ว คืออยู่จบแล้ว. บทว่า ปหีโน ชาลสงฺขาโต ความว่า ทิฏฐิและอวิชชา ที่มีนามอันได้ แล้วว่า ชาลสังขาตะ เพราะครอบงำสันดานของสัตว์ และไม่ให้ (โอกาส) เพื่อจะถอนขึ้น อันเราละแล้ว คือถอนขึ้นแล้วด้วยมรรค. บทว่า ภวเนตฺติ สมูหตา ความว่า ตัณหาที่หมายรู้กันว่า นำสัตว์ไปสู่ภพ เพราะนำสัตว์ไป สู่ภพมีกามภพเป็นต้น คือ ยังสัตว์ให้หมุนเป็นไป อันเราเพิกถอนแล้ว. บทว่า ยทตฺถาย ปพฺพชิโต ความว่า เราออกบวช คือออกจากเรือน บรรพชา คือบวช เป็นบรรพชิต เพื่อประโยชน์ใด คือเพื่อผลอันใด. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 36 อธิบายว่า ประโยชน์ คือประโยชน์อย่างยิ่ง กล่าวคือพระนิพพาน และประโยชน์ของตน กล่าวคือพระอรหัต อันเป็นธรรมเครื่องสิ้นไปแห่ง สังโยชน์ทั้งหลาย ต่างโดยโอรัมภาคิยสังโยชน์และอุทธัมภาคิยสังโยชน์ทั้งปวง อันเป็นเครื่องพันธนาการ อันเราบรรลุแล้วโดยลำดับ คือถึงทับแล้ว. จบอรรถกถาสุราธเถรคาถา ๙. โคตมเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระโคตมเถระ [๒๖๖] ได้ยินว่า พระโคตมเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนี เหล่านั้นย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยากแสน ยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้นอันบุคคลต้องรักษา ทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อ ฆ่าท่าน บัดนี้เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไปถึง พระนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 37 อรรถกถาฌคตมเถรคาถา คาถาของท่านพระโคตมเถระ เริ่มต้นว่า สุข สุปนฺติ. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้ในภพนั้น ๆ เกิดใน เรือนแห่งตระกูล ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุความเป็นผู้รู้แล้ว วันหนึ่งเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า มีใจเลื่อมใส ได้ถวาย ผลอาโมทะ. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาบังเกิดในเทวโลก กระทำบุญแล้วท่องเที่ยว ไป ๆ มา ๆ อยู่แต่ในสุคติภพเท่านั้น เกิดในตระกูลพราหมณ์ กรุงราชคฤห์ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า โคตมะ ในเวลาที่มีอายุได้ ๗ ขวบ ทำ เป็นคนตาพิการเที่ยวขอเงิน ได้ทรัพย์มาพันหนึ่ง เก็บทรัพย์นั้นไว้ในที่ ๆ ปลอดภัย บำเพ็ญพรต ในเวลาที่มีอายุได้ ๑๖- ๑๗ ปี ถูกมิตรชั่วแนะนำไป ในกามารมย์ ให้ของมีราคาหนึ่งพันนั้น แก่หญิงขายตัว (อาศัยรูปเลี้ยงชีพ) คนหนึ่ง สูญเสียพรหมจรรย์ และเมื่อหญิงนั้นแสดงอาการคลายกำหนัด เพราะ เห็นรูปแห่งพรหมจารีของเขา เป็นผู้มีรูปอิดโรยเหนื่อยหน่าย ด้วยการร่วม หลับนอนเพียงคืนเดียวเท่านั้น นึกถึงความสูญเสียพรหมจรรย์ของตน และ การเสียทรัพย์ ได้มีวิปฏิสารว่า เรากระทำกรรมอันไม่สมควรแล้ว. พระศาสดา ทรงทราบเหตุสมบัติ และความฟุ้งซ่านแห่งจิตของเขา จึงแสดงพระองค์ในที่ ใกล้ ๆ เขา. เขาเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใสเข้าไปเฝ้าแล้ว พระผู้มี พระภาคเจ้าทรงแสดงธรรมแก่เขาแล้ว เขาฟังธรรมแล้วได้เป็นผู้มีจิตศรัทธา บวช บรรลุพระอรหัต ในขณะที่ปลงผมเสร็จทีเดียว. สมดังคาถาประพันธ์ ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 38 เราได้ถวายผลอาโมทะ แด่พระสัมพุทธเจ้าผู้มี พระฉวีวรรณปานดังทองคำ ผู้สมควรรับเครื่องบูชา กำลังเสด็จดำเนินอยู่ในถนน ในกัปที่ ๙๑ แต่ภัทรกัปนี้ เราได้ถวายผลไม่ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายผลไม้นั้น เราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายผลไม้. เรา เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็สหายผู้เป็นคฤหัสถ์คนหนึ่ง เข้าไปหาพระเถระผู้บรรลุพระอรหัต แล้วยังเวลาให้ล่วงไปด้วยความสุขในฌาน ถามว่า อาวุโส ท่านเมื่อบวชได้ทำ อย่างไรกะทรัพย์ ที่ได้มาเพราะขอเงิน. พระเถระฟังดังนั้นแล้ว ไม่ยอมบอก ว่า เรากระทำกรรมชื่อนี้ ประกาศโทษในมาตุคาม เมื่อจะพยากรณ์พระ- อรหัตผล ด้วยการชี้ถึงความที่ตนเป็นผู้มีราคะไปปราศแล้ว กล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า มุนีเหล่าใด ย่อมไม่พัวพันในหญิงทั้งหลาย มุนีเหล่านั้น ย่อมนอนหลับเป็นสุข สัจจะที่ได้ยาก แสนยากในหญิงเหล่าใด หญิงเหล่านั้น อันบุคคลต้อง รักษาทุกเมื่อแท้ ดูก่อนกาม เราประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อฆ่าท่าน บัดนี้ เราไม่เป็นหนี้ท่านอีก บัดนี้ เราไป ถึงนิพพาน อันเป็นที่บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สุข สุปนฺติ มุนโย เย อิตฺถีสุ น พชฺฌเร ความว่า มุนีเหล่าใด ไม่ผูกพันในหญิงทั้งหลาย ที่เกิดเป็นอารมณ์ หรือเกิดเป็นนิมิต ด้วยเครื่องผูกพันคือราคะ มุนีเหล่านั้นเป็นผู้มีตบะ มี อินทรีย์อันสำรวมแล้ว ย่อมหลับเป็นสุข คืออยู่เป็นสุข. อธิบายว่า ทุกข์ย่อม ไม่มีแก่มุนีเหล่านั้น. ก็บทว่า สุปนฺติ นี้ เป็นเพียงตัวอย่าง. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 39 บทว่า สทา เว รกฺขิตพฺพาสุ ความว่า อันบุคคลพึงรักษา ตลอดกาลทั้งปวง โดยส่วนเดียว. อธิบายว่า หญิงทั้งหลายแม้จะให้อยู่ใน ปราสาทชั้นบนที่ปราศจากบุรุษถึง ๗ ชั้น แม้จะเก็บรักษาไว้ภายใน (ห้อง) ก็ไม่สามารถจะรักษาไว้ได้ เพราะเหตุนั้น หญิงเหล่านั้นจึงเป็นผู้ที่จะต้องเฝ้า รักษาอยู่ตลอดเวลา ดุจแม่โคตัวกินข้าวกล้าเป็นอาหารฉะนั้น. อีกอย่างหนึ่ง หญิงเหล่านั้น ต้องเฝ้ารักษาตลอดเวลา เพราะความเป็นหญิงนอกใจสามี ด้วย การเพิ่มให้ผ้าและเครื่องประดับเป็นต้น เพราะความเป็นหญิงหลายใจ. หรือ ชื่อว่า ต้องเฝ้ารักษา เพราะความเป็นหญิงที่ต้องคอยถนอมน้ำใจ โดยการ ปกปิดสภาพแห่งร่างกาย ด้วยระเบียบและของหอมเป็นต้น. บทว่า ยาสุ สจฺจ สุทุลฺลภ ความว่า คำสัตย์ไม่สามารถเพื่อจะ หาได้ในหญิงเหล่าใด อธิบายว่า ธรรมดาหญิงทั้งหลาย จะเข้าไปสู่กองไฟก็ได้ จะดื่มยาพิษก็ได้ จะนำศาสตรามาก็ได้ จะผูกคอตายก็ได้ แต่ไม่สามารถจะตั้ง อยู่ในสัจจะได้ เพราะฉะนั้น พระเถระจึงแสดงความว่า มุนีทั้งหลาย เว้นหญิง เห็นปานนี้ แล้วดำรงอยู่ ย่อมเป็นผู้ถึงแล้วซึ่งความสุขหนอ ดังนี้. มุนีทั้งหลาย ยังผูกพันอยู่แม้ในหญิงทั้งหลายเห็นปานนี้ เพราะยัง ละกามใดไม่ได้ บัดนี้ พระเถระเมื่อจะแสดงถึงความที่แห่งกามนั้น อันตน ละได้แล้วด้วยดี และความเป็นผู้ไม่มีความปรารถนาโดยส่วนเดียว จงกล่าว คาถาที่ ๒ ไว้. บทว่า วธ จริมฺห เต กามา ความว่า ดูก่อนกามผู้เจริญ เรา ประพฤติพรหมจรรย์เพื่อฆ่าท่าน คือ ประพฤติถอนรากโดยส่วนเดียว ด้วย อริยมรรค. ปาฐะว่า เอว จริมฺหเส ดังนี้ก็มี. ความก็ว่า เราได้ประพฤติ มรรคพรหมจรรย์เพื่อฆ่า คือเพื่อประหาร. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 40 บทว่า อณนา ทานิ เต มย ความว่า ดูก่อนกาม บัดนี้ คือ จำเดิมแต่เวลาที่เราได้บรรลุพระอรหัต เราไม่เป็นหนี้ท่าน คือเราไม่แบกหนี้ ของท่าน (ต่อไป). อธิบายว่า ผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะ ย่อมเป็นดุจแบกหนี้ ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าว ล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะ เหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล เราจึงชื่อว่า ไปถึงพระนิพพาน อันเป็นที่ ๆ บุคคล ไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้า โดยประการทั้งปวง อันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. อธิบายว่า บัดนี้ เราถึง คือ ถึงโดยลำดับ ซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานั้นนั่นแล. จบอรรถกถาโคตมเถรคาถา ๑๐. วสภเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระวสภเถระ [๒๖๗] ได้ยินว่า พระวสภเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึงฆ่า ผู้อื่น. บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ได้ รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาปกรรมทั้งหลายมีในบุคคลใด บุคคลนั้นเป็นคนดา ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอพระองค์จงทราบอย่างนี้. จบวรรคที่ ๑ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 41 อรรถกถาวสภเถรคาถา คาถาของท่านพระวสภเถระ เริ่มต้นว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน. เรื่องราวของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้วในพระพุทธเจ้าองค์ ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลพราหมณ์ ในโลกที่ว่างจาก พระพุทธเจ้า (สุญญกัป) เจริญวัยแล้ว ถึงความสำเร็จในวิชาและศิลปะของ พราหมณ์ทั้งหลาย ละการอยู่ครองเรือนบวชเป็นดาบส เพราะเป็นผู้มีอัธยาศัย โน้มไปในเนกขัมมะ สร้างอาศรมอยู่ที่ภูเขา ชื่อว่า สมัคคะ ไม่ไกลป่าหิมพานต์ ยังฌานและอภิญญาให้เกิดแล้ว ให้โอวาทและอนุสาสน์แก่ดาบสทั้งหลายอยู่ วันหนึ่ง คิดอย่างนี้ว่า บัดนี้ เราเองเป็นผู้อันดาบสเหล่านี้ สักการะ เคารพ บูชาแล้วอยู่ แต่ยังหาผู้ที่เราควรบูชาไม่ได้ การอยู่โดยไม่มีครูผู้ควรเคารพนี้ เป็นทุกข์ในโลก. ก็ครั้นคิดอย่างนี้แล้ว ระลึกถึงบูชาและสักการะ อันตนกระทำแล้ว ในเจดีย์ ของพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ทั้งหลาย เพราะความเป็นผู้มีอธิการ อันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ ว่า ไฉนหนอแล เราพึงก่อ- พระเจดีย์ทราย อุทิศพระพุทธเจ้าองค์ก่อน ๆ แล้วทำการบูชา ดังนี้ เป็นผู้ ร่าเริงยินดีแล้ว เนรมิตพระสถูปทราย สำเร็จด้วยทอง ด้วยฤทธิ์ กระทำการ บูชาทุก ๆ วัน ด้วยดอกไม้ประมาณ ๓,๐๐๐ อันสำเร็จด้วยทองเป็นต้น กระ ทำบุญจนตลอดอายุ แล้วบังเกิดในพรหมโลก. เขาดำรงอยู่แม้ในพรหมโลกนั้น จนตลอดอายุแล้ว จุติจากพรหมโลก นั้น บังเกิดในดาวดึงส์ ท่องเที่ยววนไปมาอยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 42 เกิดในตระกูลเจ้าลิจฉวี ในกรุงเวสาลี ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้นามว่า วสภะ เจริญวัยแล้ว เห็นพุทธานุภาพ ในคราวเสด็จไปพระนครไพศาลี ของพระผู้มี พระภาคเจ้า ได้เป็นผู้มีจิตศรัทธาบวชแล้ว เริ่มตั้งวิปัสสนาแล้ว บรรลุ พระอรหัต ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ในที่ไม่ไกลภูเขาหิมวันต์ มีภูเขาลูกหนึ่ง ชื่อ สมัคคะ เราได้ทำอาศรม สร้างบรรณศาลาไว้ที่ภูเขา นั้น เราเป็นชฎิลผู้มีตบะใหญ่ มีนามว่า นารทะ ศิษย์ สี่หมื่นคนบำรุงเรา ครั้งนั้น เราเป็นผู้หลีกออกเร้นอยู่ คิดอย่างนี้ว่า มหาชนบูชาเรา เราไม่บูชาอะไร ๆ เลย ผู้ที่จะกล่าวสั่งสอนเราก็ไม่มี ใคร ๆ ที่จะตักเตือนเรา ก็ไม่มี เราไม่มีอาจารย์และอุปัชฌาย์ อยู่ในป่า ศิษย์ ผู้ภักดีพุงบำรุงใจครูทั้งคู่ได้ อาจารย์เช่นนั้นของเรา ไม่มี การอยู่ในป่าจึงไม่มีประโยชน์ สิ่งที่ควรบูชา เราควรแสวงหา สิ่งที่ควรเคารพ ก็ควรแสวงหาเหมือน กัน เราจักชื่อว่า เป็นผู้ที่มีที่พึ่งพำนักอยู่ ใครๆ จักไม่ เราได้ ในที่ไม่ไกลอาศรมของเรา มีแม่น้ำซึ่งมี ชายหาด มีท่าน้ำราบเรียบ น่ารื่นรมย์ใจ เกลื่อนกล่น ไปด้วยทรายที่ขาวสะอาด ครั้งนั้น เราได้ไปยังแม่น้ำ ชื่อ อเมริกา กอบโกยเอาทรายมาก่อเป็นพระเจดีย์ทราย พระสถูปของพระสัมพุทธเจ้า ผู้ทำที่สุดภพ เป็นมุนี ที่ได้มีแล้วเป็นเช่นนี้ เราได้ทำพระสถูปนั้นให้เป็น นิมิต เราก่อพระสถูปที่หาดทรายแล้วปิดทอง แล้วเอา พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 43 ดอกกระดึงทอง ๓,๐๐๐ ดอกมาบูชา เราเป็นผู้มีความ อิ่มใจ ประนมกรอัญชลี นมัสการทั้งเวลาเย็นเวลาเช้า ไหว้พระเจดีย์ทราย เหมือนถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้า ในที่เฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้น ในเวลาที่กิเลสและความ ตรึก เกี่ยวด้วยกามเกิดขึ้น เราย่อมนึกถึง เพ่งดูสถูป ที่ได้ทำไว้ เราอาศัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นำสัตว์ ออกจากที่กันดาร ผู้นำชั้นพิเศษตักเตือนตนว่า ท่าน ควรระวังกิเลสไว้ ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ การยังกิเลส ให้เกิดขึ้นไม่สมควรแก่ท่าน ครั้งนั้น เมื่อเราคำนึงถึง พระสถูป ย่อมเกิดความเคารพขึ้นพร้อมกัน เราบรร- เทาวิตกที่น่าเกลียดเสียได้ เปรียบเหมือนช้างตัว ประเสริฐ ถูกเครื่องแทงหูเบียดเบียน ฉะนั้น เรา ประพฤติอยู่เช่นนี้ ได้ถูกพระยามัจจุราชย่ำยี เราทำ กาลกิริยา ณ ที่นั้นแล้ว ได้ไปยังพรหมโลก เราอยู่ใน พรหมโลกนั้นตราบเท่าหมดอายุ แล้วมาบังเกิดใน ไตรทิพย์ ได้เป็นจอมเทวดาเสวยราชสมบัติในเทวโลก ๘๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และได้ เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้ เราได้เสวยผลของดอกกระดึงทองเหล่านั้น ดอก กระดึงทอง ๒๒,๐๐๐ ดอก แวดล้อมเราทุกภพ เพราะ เราเป็นผู้บำเรอพระสถูป ฝุ่นละอองย่อมไม่ติด ที่ตัวเรา เหงื่อไม่ไหล เรามีรัศมีซ่านออกจากตัว โอ พระสถูปเราได้สร้างไว้ดีแล้ว แม่น้ำอเมริกา เราได้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 44 เห็นดีแล้ว เราได้บรรลุบทอันไม่หวั่นไหว ก็เพราะ ได้ก่อพระสถูปทราย อันสัตว์ผู้ปรารถนาจะกระทำ กุศล ควรยึดเอาสิ่งที่เป็นสาระ ไม่ใช่เป็นด้วยเขต หรือไม่ใช่เขต ความปฏิบัตินั่นเองให้สำเร็จ บุรุษผู้มี กำลัง มีความอุตสาหะที่จะข้ามทะเลหลวง พึงถือเอา ท่อนไม้เล็ก วิ่งไปสู่ทะเลหลวงด้วยคิดว่า เราอาศัย ท่อนไม้นี้ จักข้ามทะเลหลวงไปได้ นรชนพึงข้ามทะเล หลวงไปด้วยความเพียรอุตสาหะ แม้ฉันใด เราก็ฉันนั้น เหมือนกัน อาศัยธรรมเล็ก ๆ น้อย ๆ ที่ได้ทำไว้แล้ว จึงได้ข้ามพ้นสงสารไปได้ เมื่อถึงภพสุดท้าย เราอัน กุศลมูลตักเตือนแล้ว เกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาล ที่มั่งคั่ง ในพระนครสาวัตถี มารดาบิดาของเราเป็น คนมีศรัทธา นับถือพระพุทธเจ้า ท่านทั้งสองนี้เป็นผู้ เห็นธรรม ฟังธรรม ประพฤติตามคำสอน ท่านทั้งสอง ถือเอาผ้าลาดสีขาว มีเนื้ออ่อนมากที่ต้นโพธิ มาทำ พระสถูปทอง นมัสการในที่เฉพาะพระพักตร์ แห่ง พระศากยบุตร ทุกค่ำเช้าในวันอุโบสถ ท่านทั้งสอง นำเอาพระสถูปทองออก กล่าวสรรเสริญคุณพระ- พุทธเจ้า ยับยั้งอยู่ตลอด ๓ ยาม เราได้เห็นพระสถูป เสมอ จึงระลึกถึงเจดีย์ทรายขึ้นได้ นั่งบนอาสนะเดียว ได้บรรลุพระอรหัตแล้ว เราแสวงหาพระพุทธเจ้าผู้ เป็นปราชญ์นั้นอยู่ ได้เห็นพระธรรมเสนาบดี จึงออก จากเรือนบรรพชาในสำนักของท่าน เราได้บรรลุพระ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 45 อรหัตแต่อายุ ๗ ขวบ พระพุทธเจ้าผู้มีพระปัญญาจักษุ ทรงทราบถึงคุณวิเศษของเรา จึงให้เราอุปสมบท เรา มีการกระทำอันบริบูรณ์ดีแล้ว แต่ยังเป็นทารกอยู่ ทีเดียว ทุกวันนี้กิจที่ควรทำในศาสนาของพระศากย- บุตร เราทำเสร็จแล้ว ข้าแต่พระฤๅษีผู้มีความเพียร ใหญ่ สาวกของพระองค์เป็นผู้ล่วงพ้นเวรภัยทุกอย่าง ล่วงพ้นความเกี่ยวข้องทั้งปวง นี้เป็นผลแห่งพระ- สถูปทอง. เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว ฯลฯ คำสอนของ พระพุทธเจ้า เรากระทำสำเร็จแล้ว ดังนี้. ก็พระเถระครั้นบรรลุพระอรหัตแล้ว เมื่อจะทำการอนุเคราะห์ทายก จึงไม่ห้ามปัจจัยทั้งหลายที่ทายกเหล่านั้นนำมาถวาย บริโภคปัจจัยตามที่ได้มา แล้วเท่านั้น. ผู้ที่ยังเป็นปุถุชนสำคัญท่านว่า พระเถระนี้ เป็นผู้มักมากไปด้วย การบำรุงบำเรอร่างกาย ไม่รักษาสภาพจิต จึงพากันดูหมิ่น. พระเถระอยู่อย่างไม่คำนึงถึงการดูหมิ่นนั้นเลย ก็ในที่ไม่ไกล ที่ พระเถระอยู่ มีภิกษุผู้โกหกรูปหนึ่ง เป็นผู้มีความปรารถนาลามก แสดงตน เหมือนเป็นผู้มีความปรารถนาน้อย เหมือนเป็นผู้สันโดษ เที่ยวลวงโลกอยู่. มหาชนพากันยกย่องภิกษุรูปนั้น เหมือนอย่างพระอรหันต์. ลำดับนั้น ท้าว สักกะผู้เป็นจอมเทพ ทรงทราบพฤติการณ์นั้นของเธอแล้ว จึงเข้าไปหา พระเถระ แล้วถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ภิกษุผู้โกหก กระทำกรรมชื่อไร ? พระเถระเมื่อจะตำหนิความปรารถนาลามก จึงกล่าวคาถา ๒ คาถา ความว่า บุคคลผู้ลวงโลก ย่อมฆ่าตนก่อน ภายหลังจึง ฆ่าผู้อื่น บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย เหมือนนายพรานนก ที่หาอุบายฆ่านก และทำตนให้ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 46 ได้รับความทุกข์ในอบายภูมิ ฉะนั้น บุคคลผู้ลวงโลก นั้นไม่ใช่พราหมณ์ เพียงแต่มีเพศเหมือนพราหมณ์ใน ภายนอกเท่านั้น เพราะพราหมณ์มีเพศอยู่ภายใน บาป กรรมทั้งหลาย มีในบุคคลใด บุคคลนั้น เป็นคนดำ ดูก่อนท้าวสุชัมบดี ขอจงทรงทราบอย่างนี้ ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปุพฺเพ หนติ อตฺตาน ความว่า บุคคลผู้โกหก เพื่อลวงโลก ด้วยประพฤติเป็นคนโกหกของตน ชื่อว่า ย่อม ฆ่าตน ด้วยธรรมอันลามก มีความเป็นผู้ปรารถนาลามกเป็นต้น ก่อนทีเดียว คือยังส่วนแห่งความดีของตนให้พินาศไป. บทว่า ปจฺฉา หนติ โส ปเร ความว่า บุคคลผู้โกหกนั้น ฆ่า ตนเอง โดยนัยดังกล่าวแล้ว ก่อนเป็นปฐม ต่อมาภายหลังจึงฆ่าคนทั้งหลาย ผู้สรรเสริญตนว่า ภิกษุนี้เป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก เป็นพระอริยะ ดังนี้ แล้วกระทำ สักการะ คือทำสักการะที่เขาถวายตน ให้ไม่มีผลมาก ให้พินาศไป โดยการ พินาศแห่งปัจจัย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า แม้ในการฆ่าทั้งสองอย่าง ของคน โกหกจะมีอยู่ แต่ ข้อแปลกในการฆ่าตนมีดังนี้ จึงกล่าวว่า สหต หนติ อตฺตาน (บุคคลผู้ลวงโลกนั้นย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย). คนโกหกนั้น เมื่อฆ่าตน ย่อมฆ่าคือทำให้พินาศได้ง่ายดาย. ถามว่า เหมือนอะไร ? ตอบว่า เหมือนนายพรานนกที่หาอุบายฆ่านกฉะนั้น. นกต่อ ชื่อว่า วีตโส. ด้วยนกต่อนั้น. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 47 บทว่า ปกฺขิมา ได้แก่ นายพรานนก. เปรียบเหมือนนายพรานนก ลวงนกเหล่าอื่นไปฆ่าด้วยนกต่อนั้น ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนแม้ในโลกนี้ เพราะเป็น กรรมที่ท่านผู้รู้ตำหนิ และเป็นกรรมที่มีโทษเป็นสภาพเป็นต้น ส่วนในสัมปราย ภพ ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนด้วยความมืดมน มัวหมองของทุคติทีเดียว แต่ในภาย หลัง ก็ไม่สามารถจะฆ่านกเหล่านั้นได้อีก ฉันใด คนโกหกก็ฉันนั้น ลวงโลก ด้วยความเป็นคนโกหก ชื่อว่า ย่อมฆ่าตนเองแม้ในโลกนี้ เพราะวิปฏิสาร และถูกตำหนิจากวิญญูเป็นต้น. แม้ในปรโลก ก็ชื่อว่าฆ่าตน เพราะความมืด มน มัวหมองของทุคติ ใช่แต่เท่านั้น ยังชื่อว่า ทำทายกผู้ถวายปัจจัยเหล่านั้น ให้ถึงทุกข์ในอบาย อีกด้วย. อีกประการหนึ่ง คนโกหก ท่านกล่าวว่า ย่อมฆ่าทายก เพราะกระทำ ทักษิณาไม่ให้มีผลมากเท่านั้น ไม่ใช่เพราะกระทำทักษิณาทานไม่ให้มีผล. สมจริงดังพระดำรัส ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ทักษิณาทานที่ให้แก่ มนุษย์ทุศีล พึงหวังผลได้พันเท่า ดังนี้. ด้วยเหตุนั้น พระเถระจึงกล่าวว่า บุคคลผู้ลวงโลกนั้น ย่อมฆ่าตนได้ง่ายดาย. พระเถระเมื่อจะแสดงว่า บุคคลผู้ตั้งอยู่ในอัตภาพ เพียงทำให้สะอาด ในภายนอกอย่างนี้ หาชื่อว่า เป็นผู้บริสุทธิ์ไม่ แต่จะชื่อว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ เพราะ ความสะอาดในภายในเท่านั้น ดังนี้ จึงกล่าวคาถาที่สองว่า น พฺราหฺมโณ เป็นต้น. คาถาที่ ๒ นั้นมีอธิบายว่า บุคคลหาชื่อว่าเป็นพราหมณ์ เพราะ เหตุ เพียงสมบัติภายนอก มีการวางท่า (วางมาด) เป็นต้นไม่. ก็วัณณะ ศัพท์ในคาถานี้ มีสมบัติเป็นอรรถ (หมายความถึงสมบัติ). ก็บุคคลย่อมชื่อว่า เป็นพราหมณ์ เพราะสมบัติมีศีลเป็นต้นในภายใน โดยกระทำอธิบายว่า บุคคล ผู้มีบาปอันลอยแล้ว ชื่อว่า พราหมณ์ ดังนี้. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 48 ดูก่อนท่านสุชัมบดี ผู้เป็นจอมเทวัญ เพราะฉะนั้น ท่านจงรู้เถิดว่า บาปคือกรรมอันลามกทั้งหลาย มีอยู่ในผู้ใด ผู้นั้นชื่อว่าคนดำ คือเป็นคน เลวทรามโดยส่วนเดียว ดังนี้. ท้าวสักกะฟังดังนั้นแล้ว ทรงคุกคามภิกษุผู้ โกหกแล้วโอวาทว่า ท่านจงประพฤติธรรม ดังนี้แล้ว เสด็จกลับพิภพของ พระองค์. จบอรรถกถาวสภเถรคาถา จบวรรควรรณนาที่ ๑ ในอรรถกถา เถรคาถา ชื่อว่า ปรมัตถทีปนี ในวรรคนี้ รวมพระเถระได้ ๑๐ รูป คือ ๑. พระอุตตรเถระ ๒. พระปิณโฑลภารทวาชเถระ ๓. พระวัล- ลิยเถระ ๔. พระคังคาตีริยเถระ ๕. พระอชินเถระ ๖. พระเมฬชินเถระ ๗. พระราธเถระ ๘. พระสุราธเถระ ๙. พระโคตมเถระ ๑๐. พระวสภ- เถระ ล้วนมีมหิทธิฤทธิ์ และอรรถกถา. พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 49 เถรคาถา เอกนิบาต วรรคที่ ๒ ๑. มหาจุนทเถรคาถา ว่าด้วยคาถาของพระมหาจุนเถระ [๒๖๘] ได้ยินว่า พระมหาจุนทเถระได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ว่า การฟังดี เป็นเหตุให้การฟังเจริญ การฟังเป็น เหตุให้เจริญปัญญา บุคคลจะรู้ประโยชนก็เพราะปัญญา ประโยชน์ที่บุคคลรู้แล้ว ย่อมนำสุขมาให้ ภิกษุควรซ่อง เสพเสนาสนะ อันสงัด ควรประพฤติธรรมอันเป็นเหตุ ให้จิตหลุดพ้นจากสังโยชน์ ถ้ายังไม่ได้ประสบความ ยินดี ในเสนาสนะอันสงัดและธรรมนั้น ก็ควรเป็นผู้ มีสติรักษาตน อยู่ในหมู่สงฆ์. วรรควรรณนาที่ ๒ อรรถกถามหาจุนทเถรคาถา คาถาของท่านพระมหาจุนทเถระ เริ่มต้นว่า สุสฺสูสา. เรื่องราว ของท่านเป็นอย่างไร ? แม้พระเถระนี้ ก็เป็นผู้มีอธิการอันกระทำไว้แล้ว ในพระพุทธเจ้า องค์ก่อน ๆ สั่งสมบุญไว้ในภพนั้น ๆ บังเกิดในตระกูลช่างหม้อ ในกาลของ พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย เถรคาถา เล่ม ๒ ภาค ๓ ตอน ๒ - หน้าที่ 50 พระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า วิปัสสี บรรลุนิติภาวะแล้ว เลี้ยงชีพด้วยงาน ของนายช่างหม้อ วันหนึ่งเห็นพระศาสดาแล้ว มีใจเลื่อมใส ทำบาตรดินลูก หนึ่ง ตกแต่งเป็นอย่างดี ถวายพระผู้มีพระภาคเจ้า. ด้วยบุญกรรมนั้น เขาท่องเที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เกิด เป็นบุตรของนางรูปสารีพราหมณี เป็นน้องชายคนเล็ก ของพระเถระชื่อว่า สารีบุตร ในนาลกคาม แคว้นมคธ ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้มีนามว่า จุนทะ. เขาเจริญวัยแล้ว บวชตามพระธรรมเสนาบดี อาศัยพระธรรมเสนาบดี เริ่มตั้งวิปัสสนา เพียรพยายามอยู่ ได้เป็นผู้มีอภิญญา ๖ ต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ในอปทานว่า ข้าพระองค์ เป็นช่างหม้ออยู่ในหงสาวดี ได้เห็น พระพุทธเจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี มีโอฆะอันข้ามได้ แล้ว ไม่มีอาสวะ ข้าพระองค์ได้ถวายบาตรดินที่ทำ ดีแล้ว แด่พระพุทธเจ้า ผู้ประเสริฐสุด ครั้นถวายบาตร แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้ตรง คงที่แล้ว เมื่อข้าพระองค์ เกิดในภพ ย่อมได้ภาชนะทอง และจานที่ทำด้วยเงิน ทำด้วยทอง และทำด้วยแก้วมณี ข้าพระองค์บริโภค ในถาด นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม ข้าพระองค์เป็นผู้เลิศ กว่าชนทั้งหลายโดยยศ พืชแม้มีน้อย แต่หว่านลงใน นาดี เมื่อฝนยังท่อธารให้ตกลงทั่ว โดยชอบ ผลย่อม ยังชาวนาให้ยินดีได้ฉันใด การถวายบาตรนี้ก็ฉันนั้น ข้าพระองค์ได้หว่านลงในพุทธเขต เมื่อท่อธารคือปีติ ตกลงอยู่ ผลจักทำข้าพระองค์ให้ยินดี เขตคือหมู่และ คณะมีประมาณเท่าใด ที่จะให้ความสุขแก่สรรพสัตว์
โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะได้ยินว่า ท่านพระอุตตรเถระได้ภาษิตคาถาไว้ ๒ คาถาอย่างนี้ว่า ภพอะไร ที่เที่ยงไม่มี แม้สังขารที่เที่ยงก็ไม่มี ขันธ์เหล่านั้นย่อมเวียนเกิดและ เวียนดับไป เรารู้โทษอย่างนี้แล้ว จึงไม่มีความต้องการด้วยภพ เราสลัด ตนออกจากกามทั้งปวง บรรลุถึงความสิ้นอาสวะแล้ว.
วันอังคารที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2557
กามชาดก เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วย ปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็น โทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วย ปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่ เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหา ย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มี ความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญา เปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกาม ทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประ- กอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ ดี ๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้ว ย่อมมีความสุข ฉันใดเราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรา- รถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. คาถาทั้งหมด ๘ คาถา ที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ ๘ พันนี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้ เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ.
Dhammapada -' Apamadvagga- अप्रमाद वर्ग ' Pali -Hindi Chanting
Dhammapada - ' Yamakvaggo- यमकवग्गो ' Pali-Hindi Chantingมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา, มโนเสฏฐา มโนมยา. มนสา เจ ปทุฏฺเฐน, ภาสติ วา กโรติ วา. ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ, จกฺกํ ว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ
Dhammapada - ' Yamakvaggo- यमकवग्गो ' Pali-Hindi Chantingมโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา, มโนเสฏฐา มโนมยา. มนสา เจ ปทุฏฺเฐน, ภาสติ วา กโรติ วา. ตโต นํ ทุกฺขมนฺเวติ, จกฺกํ ว วหโต ปทํ. ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นหัวหน้า มีใจเป็นใหญ่ สำเร็จด้วยใจ
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าบาปกรรมที่ทำไว้ ผู้ใดละเสียได้ด้วยกุศล ผู้นั้นย่อมทำโลกนี้ให้สว่างไสว ดุจดวงจันทร์พ้นจากเมฆ ฉะนั้น
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้า ดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”
คัมภีร์เล่มสุดท้ายคือกายกับใจของเรานี่เอง เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
สร้างอินเวอร์เตอร์ที่ใช้ในแอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้าเครื่องล้างจานระบบอินเวอร์เตอร์ INVERTER ดียังไง ระบบอินเวอร์เตอร์(Inverter) คือ ระบบที่นำเอาความรู้ทางด้านอิเลคทรอนิกส์ที่ควบคุมการทำงานด้วยคำสั่งจาก ไมโครคอมพิวเตอร์ที่สั่งงานโดยตรงจากรีโมทคอนโทรนและนำคำสั่งดังกล่าวมาใช้ ควบคุมการทำงานของระบบเครื่องปรับอากาศ ให้ทำงาน ปรับอุณหภูมิ ควบคุมความชื้น ควบคุมความเย็น ให้ทำงานได้โดยอัตโนมัติ โดยใช้คำสั่งจากโมโครคอมพิวเตอร์ ระบบอินเวอร์เตอร์ทำงานอย่างไร ใน การทำงานของระบบ หลังจากที่เดินระบบให้แอร์คอนดิชั่นเนอร์ทำงานแล้ว ไมโครคอมพิวเตอร์ก็จะทำการตรวจสอบอุณหภูมิโดนทันที แล้วเลือกการทำงานเองว่าจะทำงานอย่างไรโดยการประมวลผลคำสั่งจากที่เราสั่ง การทำงานให้แอร์คอนจากรีโมทคอนโทรน ทำการตรวจสอบ และเลือกการทำงานเองว่าจะทำอย่างไร จะทำความเย็น จะไล่ระบบความชื้นในห้อง หรือ ฯลฯ ได้โดยอัตโนมัติ โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละยี่ห้อนั้นๆว่ามีเซนเซอร์ใช้ตรวจสอบการทำงานอะไร ประหยัดไฟได้อย่างไร เพราะว่าผลจากการทำงานของระบบอิน เวอร์เตอร์ มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิโดยตรงภายในห้องต่อมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ทำให้ไมโครคอมสั่งการเปลี่ยนความถี่ของไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์อยู่ตลอดเวลา มีผลทำให้ความเร็วรอบของมอเตอร์ลดลง ส่งผลให้ปริมาตรการดูดน้ำยาลดลง การกินไฟของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ก็จะลดลงตามไปด้วย ทำให้เราสามารถประหยัดไฟฟ้าได้ แม่ว่ามอเตอร์จะทำงานอยู่ก็ตามแต่ก็เป็นการทำงานตามคำสั่งของไมโคร คอมพิวเตอร์ที่ควบคุมความถี่ของไฟฟ้าเท่านั้น ต่างกับระบบเดิมตรงไหน นอก จากการทำงานจะสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้แล้วดังที่กล่าวข้างต้นแม้ว่า การทำงานของคอมเพรสเซอร์จะทำงานอยู่ตลอดเวลาด้วยความเร็วรอบที่ช้าลงอันเป็น ผลจากการควบคุมความถี่ไฟฟ้าจากการทำงานโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ชึ่งเป็นผลจากการประมวลผลของไมโครคอมพิวเตอร์ และก็ธรรมดาที่อุปกรณ์ภายในตัวคอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ย่อมแตกต่างจากคอมแบบเดิม ไปบ้างด้วยหลักการดังกล่าว โดยที่ระบบเดิมใช้การควบคุมการทำงานโดยการควบคุมแบบเทอร์โมสตั๊ด ควบคุมการทำงานของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และทำงานด้วยความถี่ไฟฟ้าเดียวตลอด ทำให้การกินกระแสไฟฟ้ามากตามไปด้วย ซึ่งแตกต่างจากระบบอินเวอร์เตอร์ที่มีการกินของกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตาม ความถี่ของไฟฟ้า โดยการควบคุมการทำงานของไมโครคอมพิวส์เตอร์ที่ใช้ในการควบคุมความถี่ไฟฟ้า และสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้ ด้วยหลักการทำงานดังกล่าว คุณสมบัติเด่น แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter 1.ประหยัดไฟกว่า 20 -30 % เนื่องจากระบบคอมเพรสเซอร์ทำงานลดรอบ (ความถี่) หลักการทำงาน เช่น แอร์บ้าน 12000 BTU พอห้องเย็นตามอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ระบบจะลดรอบการทำงานลงจะทำความเย็น อยู่ที่ 3000 BTU เท่านั้น เป็นการประหยัดไฟ 2.เย็นเร็วทันใจ ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter ตอนเปิดเครื่องแรกๆ คอมเพรสเซอร์จะทำงานในรอบสูงสุด คือเท่าคอมย็นที่ 110% เช่น แอร์บ้าน ขนาด 12000 BTU จะทำความเย็นสูงสุดประมาณ 13500 BTU จะทำให้ห้องเย็นเร็วทันใจกว่า 3.รักษาอุณหภูมิห้องได้คงที่ การที่ระบบ อินเวอร์เตอร์ Inverter ทำงานต่อเนื่องโดยการเพิ่มหรือลดรอบการทำงานคอมเพรสเซอร์ไม่มีหยุดเป็นช่วงๆ ทำให้อุณหภูมิจะนิ่งมาก รักษาอุณหภูมิได้คงที่กว่าไม่รู้สึกร้อนๆ หนาวๆ เหมือนระบบ แอร์บ้านธรรมดา 4.เสียงของเครื่องทำงานเงียบกว่า เนื่องจากคอมเพลสเซอร์มีการลดรอบการทำงาน ดั้งนั้นตอนที่ห้องเย็นดีแล้วคอล์ยเย็นและระบบฉีดน้ำยาจะลดเสียงการทำงานทำให้เสียงที่เกิดขึ้นเงียบกว่า แอร์บ้าน รุ่นธรรมดา 5.อากาศสดชื่นกว่า เนื่องจากคอมเพรสเซอร์ระบบรุ่นธรรมดา เวลาคอมเพรสเซอร์ตัด อากาศในห้องจะมีกลิ่นอับชื้น แต่ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter คอมเพรสเซอร์ไม่ตัดจะเป็นการลดรอบความเย็น จะไม่มีกลิ่นอับชื้น ทำให้อากาศสดชื่นตลอดการใช้งาน 6.เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กับน้ำยาตัวใหม่ R410A ไม่ทำลายชั้นโอโซชั้นบรรยากาศเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบบนี้ ปี 2555 จะมีข้อบังคับในการใช้น้ำยาตัวใหม่ R410A สำหรับแอร์บ้านทุกเครื่อง ดั้งนั้นจะพูดได้ว่า แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter เป็นแอร์อนาคต ที่ผู้บริโภคเลือกแล้วได้ประโยชน์คุ้มสุด หมายเหตุ การตัดและเริ่มสตาร์ทของคอมเพรสเซอร์สำหรับแอร์บ้าน ระบบธรรมดา ช่วงออกตัวจะกินไฟสูงกว่าถึง 200 - 300 % การเปรียบเทียบค่าไฟระหว่าง ระบบ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) กับ ระบบธรรมดา ประหยัดกว่า 20-30%
แอร์ตู้เย็นเครื่องซักผ้ารุ่นใหม่ใช้อินเวอร์เตอร์ควบคุมมอเตอร์อินดัตชั่่น...ระบบอินเวอร์เตอร์ INVERTER ดียังไง ระบบอินเวอร์เตอร์(Inverter) คือ ระบบที่นำเอาความรู้ทางด้านอิเลคทรอนิกส์ที่ควบคุมการทำงานด้วยคำสั่งจาก ไมโครคอมพิวเตอร์ที่สั่งงานโดยตรงจากรีโมทคอนโทรนและนำคำสั่งดังกล่าวมาใช้ ควบคุมการทำงานของระบบเครื่องปรับอากาศ ให้ทำงาน ปรับอุณหภูมิ ควบคุมความชื้น ควบคุมความเย็น ให้ทำงานได้โดยอัตโนมัติ โดยใช้คำสั่งจากโมโครคอมพิวเตอร์ ระบบอินเวอร์เตอร์ทำงานอย่างไร ใน การทำงานของระบบ หลังจากที่เดินระบบให้แอร์คอนดิชั่นเนอร์ทำงานแล้ว ไมโครคอมพิวเตอร์ก็จะทำการตรวจสอบอุณหภูมิโดนทันที แล้วเลือกการทำงานเองว่าจะทำงานอย่างไรโดยการประมวลผลคำสั่งจากที่เราสั่ง การทำงานให้แอร์คอนจากรีโมทคอนโทรน ทำการตรวจสอบ และเลือกการทำงานเองว่าจะทำอย่างไร จะทำความเย็น จะไล่ระบบความชื้นในห้อง หรือ ฯลฯ ได้โดยอัตโนมัติ โดยขึ้นอยู่กับการออกแบบของแต่ละยี่ห้อนั้นๆว่ามีเซนเซอร์ใช้ตรวจสอบการทำงานอะไร ประหยัดไฟได้อย่างไร เพราะว่าผลจากการทำงานของระบบอิน เวอร์เตอร์ มีผลต่อการควบคุมอุณหภูมิโดยตรงภายในห้องต่อมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ ทำให้ไมโครคอมสั่งการเปลี่ยนความถี่ของไฟฟ้าที่ป้อนให้กับมอเตอร์ คอมเพรสเซอร์อยู่ตลอดเวลา มีผลทำให้ความเร็วรอบของมอเตอร์ลดลง ส่งผลให้ปริมาตรการดูดน้ำยาลดลง การกินไฟของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ก็จะลดลงตามไปด้วย ทำให้เราสามารถประหยัดไฟฟ้าได้ แม่ว่ามอเตอร์จะทำงานอยู่ก็ตามแต่ก็เป็นการทำงานตามคำสั่งของไมโคร คอมพิวเตอร์ที่ควบคุมความถี่ของไฟฟ้าเท่านั้น ต่างกับระบบเดิมตรงไหน นอก จากการทำงานจะสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้แล้วดังที่กล่าวข้างต้นแม้ว่า การทำงานของคอมเพรสเซอร์จะทำงานอยู่ตลอดเวลาด้วยความเร็วรอบที่ช้าลงอันเป็น ผลจากการควบคุมความถี่ไฟฟ้าจากการทำงานโดยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ชึ่งเป็นผลจากการประมวลผลของไมโครคอมพิวเตอร์ และก็ธรรมดาที่อุปกรณ์ภายในตัวคอมเพรสเซอร์ชนิดนี้ย่อมแตกต่างจากคอมแบบเดิม ไปบ้างด้วยหลักการดังกล่าว โดยที่ระบบเดิมใช้การควบคุมการทำงานโดยการควบคุมแบบเทอร์โมสตั๊ด ควบคุมการทำงานของมอเตอร์คอมเพรสเซอร์ และทำงานด้วยความถี่ไฟฟ้าเดียวตลอด ทำให้การกินกระแสไฟฟ้ามากตามไปด้วย ซึ่งแตกต่างจากระบบอินเวอร์เตอร์ที่มีการกินของกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงตาม ความถี่ของไฟฟ้า โดยการควบคุมการทำงานของไมโครคอมพิวส์เตอร์ที่ใช้ในการควบคุมความถี่ไฟฟ้า และสามารถทำให้เราประหยัดไฟฟ้าได้ ด้วยหลักการทำงานดังกล่าว คุณสมบัติเด่น แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter 1.ประหยัดไฟกว่า 20 -30 % เนื่องจากระบบคอมเพรสเซอร์ทำงานลดรอบ (ความถี่) หลักการทำงาน เช่น แอร์บ้าน 12000 BTU พอห้องเย็นตามอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ระบบจะลดรอบการทำงานลงจะทำความเย็น อยู่ที่ 3000 BTU เท่านั้น เป็นการประหยัดไฟ 2.เย็นเร็วทันใจ ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter ตอนเปิดเครื่องแรกๆ คอมเพรสเซอร์จะทำงานในรอบสูงสุด คือเท่าคอมย็นที่ 110% เช่น แอร์บ้าน ขนาด 12000 BTU จะทำความเย็นสูงสุดประมาณ 13500 BTU จะทำให้ห้องเย็นเร็วทันใจกว่า 3.รักษาอุณหภูมิห้องได้คงที่ การที่ระบบ อินเวอร์เตอร์ Inverter ทำงานต่อเนื่องโดยการเพิ่มหรือลดรอบการทำงานคอมเพรสเซอร์ไม่มีหยุดเป็นช่วงๆ ทำให้อุณหภูมิจะนิ่งมาก รักษาอุณหภูมิได้คงที่กว่าไม่รู้สึกร้อนๆ หนาวๆ เหมือนระบบ แอร์บ้านธรรมดา 4.เสียงของเครื่องทำงานเงียบกว่า เนื่องจากคอมเพลสเซอร์มีการลดรอบการทำงาน ดั้งนั้นตอนที่ห้องเย็นดีแล้วคอล์ยเย็นและระบบฉีดน้ำยาจะลดเสียงการทำงานทำให้เสียงที่เกิดขึ้นเงียบกว่า แอร์บ้าน รุ่นธรรมดา 5.อากาศสดชื่นกว่า เนื่องจากคอมเพรสเซอร์ระบบรุ่นธรรมดา เวลาคอมเพรสเซอร์ตัด อากาศในห้องจะมีกลิ่นอับชื้น แต่ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter คอมเพรสเซอร์ไม่ตัดจะเป็นการลดรอบความเย็น จะไม่มีกลิ่นอับชื้น ทำให้อากาศสดชื่นตลอดการใช้งาน 6.เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กับน้ำยาตัวใหม่ R410A ไม่ทำลายชั้นโอโซชั้นบรรยากาศเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งระบบนี้ ปี 2555 จะมีข้อบังคับในการใช้น้ำยาตัวใหม่ R410A สำหรับแอร์บ้านทุกเครื่อง ดั้งนั้นจะพูดได้ว่า แอร์บ้าน ระบบอินเวอร์เตอร์ Inverter เป็นแอร์อนาคต ที่ผู้บริโภคเลือกแล้วได้ประโยชน์คุ้มสุด หมายเหตุ การตัดและเริ่มสตาร์ทของคอมเพรสเซอร์สำหรับแอร์บ้าน ระบบธรรมดา ช่วงออกตัวจะกินไฟสูงกว่าถึง 200 - 300 % การเปรียบเทียบค่าไฟระหว่าง ระบบ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) กับ ระบบธรรมดา ประหยัดกว่า 20-30%
สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปพระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้น ไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจาก จิตหนึ่ง แล้วมิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้น และไม่อาจจะถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียวหรือสีเหลือง และไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งทั้งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือของเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก ทั้งนี้เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัดเหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบทั้งหมดทั้งสิ้น จิตหนึ่ง นี้เป็นสิ่งซึ่งเราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้เป็นเหมือนกับความว่างอันปราศจากขอบทุกๆ ด้านซึ่งไม่อาจจะหยั่งหรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง พุทธ กับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้นเขาจึงแสวงหา พุทธภาวะ จากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นเองทำให้เขาพลาดจาก พุทธภาวะ การทำเช่นนั้นเท่ากับการใช้สิ่งซึ่งเป็น พุทธ ให้เที่ยวแสวงหา พุทธ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขาอยู่ตั้งกัปป์หนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถบรรลุถึงพุทธภาวะได้เลย เขาไม่รู้ว่าถ้าเขาเองเพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวาย เพราะการแสวงหาเสียเท่านั้น พุทธ ก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่าจิตนี้คือ พุทธ นั่นเอง และ พุทธ ก็คือสิ่งมีชีวิตทั้งหลายทั้งปวงนั่นเอง สิ่งๆ นี้เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่ สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้งหกก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วนเหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้น จงคิดดูเถิดเมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกๆ กรณีอยู่แล้ว คือเป็นจิตหนึ่ง หรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธ ทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งซึ่งสมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำ ก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้วอยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน ถ้าเรายังไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธ ก็ดี และถ้าเรายังยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องรอยกันกับทางๆ โน้นเสียเลย จิตหนึ่ง นั่นแหละ คือ พุทธ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิ เช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่าง หรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันไปต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรมซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธ ซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่ พุทธ ของความยึดมั่นถือมั่น การปฏิบัติปารมิตาทั้งหก และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็น พุทธ สักองค์หนึ่งนั้นเป็นการปฏิบัติชนิดคืบหน้าทีละขั้นๆ แต่ พุทธ ซึ่งมีตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้นหาใช่ พุทธ ที่บรรลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อ จิตหนึ่ง นั้นเท่านั้น และไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละ คือ พุทธที่แท้จริง พุทธ และสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสนและความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อพระอาทิตย์ขึ้นย่อมให้ความสว่างทั่วทั้งพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้นมันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อพระอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่างและความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิต ของ พุทธ และของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น ถ้าเรามองดู พุทธ ว่าเป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลเกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุดถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปป์นับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้นและไม่มีสิ่งอื่นใดแม้แต่อนุภาคเดียว ที่จะอิงอาศัยได้ เพราะจิตนั้นเองคือ พุทธะ เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่องทางโน้น ถ้าไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบังจิตนั้นเสียด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหาพุทธนอกตัวเราเอง พวกเรายังยึดมั่นถือมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลายต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใดเลย เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกันไม้หรือก้อนหิน คือ ภายในนั้นปราศจากความเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขต หรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรมหรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปไหนได้เลย จิตนี้ ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้นพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้ว ก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย จิตนี่แหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้นโดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่กล่าวว่าจิตนั้น มิใช่จิตดังนี้ นั่นแหละ ย่อมหมายถึงสิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริงสิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้นเราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ผูกตัดขาดไปแล้ว และพฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิดกระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติ อันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่มีแตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวง ทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็น พุทธ ดั้งเดิมของเรานั้นโดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตน แม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบและไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งๆ นี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละคือ สิ่งๆ นั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีกแล้ว จิต คือ พุทธ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลาย เป็นที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานอยู่ด้วยอีก และแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่งมันย่อมมีส่วนแห่งความเป็น พุทธ เท่ากันหมดและทุกสิ่งมีเนื้อหาเป็นอันเดียวกันกับ พุทธ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ
สุดท้ายคืนกายคืนใจให้โลกและธรรมชาติไปพระพุทธเจ้าทั้งปวง และสัตว์โลกทั้งสิ้น ไม่ได้เป็นอะไรเลย นอกจากเป็นเพียง จิตหนึ่ง นอกจาก จิตหนึ่ง แล้วมิได้มีอะไรตั้งอยู่เลย จิตหนึ่ง ซึ่งปราศจากการตั้งต้นนี้ เป็นสิ่งที่ไม่ได้เกิดขึ้น และไม่อาจจะถูกทำลายได้เลย มันไม่ใช่เป็นของมีสีเขียวหรือสีเหลือง และไม่มีทั้งรูป ไม่มีทั้งการปรากฏ ไม่ถูกนับรวมอยู่ในบรรดาสิ่งทั้งที่มีการตั้งอยู่ และไม่มีการตั้งอยู่ ไม่อาจจะลงความเห็นว่า เป็นของใหม่หรือของเก่า ไม่ใช่ของยาวหรือของสั้น ของใหญ่หรือของเล็ก ทั้งนี้เพราะมันอยู่เหนือขอบเขต เหนือการวัดเหนือการตั้งชื่อ เหนือการทิ้งร่องรอยไว้ และเหนือการเปรียบเทียบทั้งหมดทั้งสิ้น จิตหนึ่ง นี้เป็นสิ่งซึ่งเราเห็นตำตาเราอยู่แท้ๆ แต่จงลองไปใช้เหตุผล (ว่ามันเป็นอะไร เป็นต้น) กับมันเข้าดูซิ เราจะหล่นลงไปสู่ความผิดพลาดทันที สิ่งนี้เป็นเหมือนกับความว่างอันปราศจากขอบทุกๆ ด้านซึ่งไม่อาจจะหยั่งหรือวัดได้ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้นเป็น พุทธ ไม่มีความแตกต่างระหว่าง พุทธ กับสัตว์โลกทั้งหลาย เพียงแต่ว่าสัตว์โลกทั้งหลายไปยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ เสีย และเพราะเหตุนั้นเขาจึงแสวงหา พุทธภาวะ จากภายนอก การแสวงหาของสัตว์เหล่านั้นเองทำให้เขาพลาดจาก พุทธภาวะ การทำเช่นนั้นเท่ากับการใช้สิ่งซึ่งเป็น พุทธ ให้เที่ยวแสวงหา พุทธ และการใช้จิตให้เที่ยวจับฉวยจิต แม้ว่าเขาเหล่านั้นจะได้พยายามจนสุดความสามารถของเขาอยู่ตั้งกัปป์หนึ่งเต็มๆ เขาก็จะไม่สามารถบรรลุถึงพุทธภาวะได้เลย เขาไม่รู้ว่าถ้าเขาเองเพียงแต่หยุดความคิดปรุงแต่ง และหมดความกระวนกระวาย เพราะการแสวงหาเสียเท่านั้น พุทธ ก็จะปรากฏตรงหน้าเขา เพราะว่าจิตนี้คือ พุทธ นั่นเอง และ พุทธ ก็คือสิ่งมีชีวิตทั้งหลายทั้งปวงนั่นเอง สิ่งๆ นี้เมื่อปรากฏอยู่ที่สามัญสัตว์จะเป็นสิ่งเล็กน้อยก็หาไม่ และเมื่อปรากฏอยู่ที่พระพุทธเจ้าทั้งหลาย จะเป็นสิ่งใหญ่หลวงก็หาไม่ สำหรับการบำเพ็ญปารมิตาทั้งหกก็ดี การบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติที่คล้ายๆ กันอีกเป็นจำนวนมากก็ดี หรือการได้บุญมากมายนับไม่ถ้วนเหมือนจำนวนเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาก็ดี เหล่านี้นั้น จงคิดดูเถิดเมื่อเราเป็นผู้สมบูรณ์โดยสัจจะพื้นฐานในทุกๆ กรณีอยู่แล้ว คือเป็นจิตหนึ่ง หรือเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับ พุทธ ทั้งหลายอยู่แล้ว เราก็ไม่ควรพยายามจะเพิ่มเติมอะไรให้แก่สิ่งซึ่งสมบูรณ์อยู่แล้วนั้น ด้วยการบำเพ็ญวัตรปฏิบัติต่างๆ ซึ่งไร้ความหมายเหล่านั้นไม่ใช่หรือ เมื่อไหร่โอกาสอำนวยให้ทำ ก็ทำมันไป และเมื่อโอกาสผ่านไปแล้วอยู่เฉยๆ ก็แล้วกัน ถ้าเรายังไม่เห็นตระหนักอย่างเด็ดขาดลงไปว่า จิต นั้นคือ พุทธ ก็ดี และถ้าเรายังยึดมั่นต่อรูปธรรมต่างๆ อยู่ก็ดี ต่อวัตรปฏิบัติต่างๆ อยู่ก็ดี และต่อวิธีการบำเพ็ญบุญกุศลต่างๆ ก็ดี แนวความคิดของเราก็ยังคงผิดพลาดอยู่ และไม่เข้าร่องรอยกันกับทางๆ โน้นเสียเลย จิตหนึ่ง นั่นแหละ คือ พุทธ ไม่มีพุทธะอื่นใดที่ไหนอีก ไม่มีจิตอื่นใดที่ไหนอีก มันแจ่มจ้าและไร้ตำหนิ เช่นเดียวกับความว่าง คือ มันไม่มีรูปร่าง หรือปรากฏการณ์ใดๆ เลย ถ้าเราใช้จิตของเราให้ปรุงแต่งความคิดฝันไปต่างๆ นั้น เท่ากับเราทิ้งเนื้อหาอันเป็นสาระเสีย แล้วไปผูกพันตัวเองอยู่กับรูปธรรมซึ่งเป็นเหมือนกับเปลือก พุทธ ซึ่งมีอยู่ตลอดกาลนั้น ไม่ใช่ พุทธ ของความยึดมั่นถือมั่น การปฏิบัติปารมิตาทั้งหก และการบำเพ็ญข้อวัตรปฏิบัติต่างๆ ที่คล้ายคลึงกันอีกเป็นจำนวนนับไม่ถ้วน ด้วยเจตนาที่จะเป็น พุทธ สักองค์หนึ่งนั้นเป็นการปฏิบัติชนิดคืบหน้าทีละขั้นๆ แต่ พุทธ ซึ่งมีตลอดกาลดังที่กล่าวแล้วนั้นหาใช่ พุทธ ที่บรรลุถึงได้ด้วยการปฏิบัติเป็นขั้นๆ เช่นนั้นไม่ เรื่องมันเป็นเพียงแต่ ตื่น และ ลืมตา ต่อ จิตหนึ่ง นั้นเท่านั้น และไม่มีอะไรที่จะต้องบรรลุถึงอะไร นี่แหละ คือ พุทธที่แท้จริง พุทธ และสัตว์โลกทั้งหลาย คือ จิตหนึ่ง นี้เท่านั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกไปจากนี้อีกเลย จิตเป็นเหมือนกับความว่าง ซึ่งภายในนั้นย่อมไม่มีความสับสนและความไม่ดีต่างๆ ดังจะเห็นได้ในเมื่อดวงอาทิตย์ผ่านไปในที่ว่างนั้น ย่อมส่องแสงไปได้ทั้งสี่มุมโลก เพราะว่าเมื่อพระอาทิตย์ขึ้นย่อมให้ความสว่างทั่วทั้งพื้นโลก ความว่างที่แท้จริงนั้นมันก็ไม่ได้สว่างขึ้น และเมื่อพระอาทิตย์ตก ความว่างก็ไม่ได้มืดลง ปรากฏการณ์ของความสว่างและความมืดย่อมสับเปลี่ยนซึ่งกันและกัน แต่ธรรมชาติของความว่างนั้น ยังคงไม่เปลี่ยนแปลงอยู่นั่นเอง จิต ของ พุทธ และของสัตว์โลกทั้งหลายก็เป็นเช่นนั้น ถ้าเรามองดู พุทธ ว่าเป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่บริสุทธิ์ ผ่องใส และรู้แจ้งก็ดี หรือมองสัตว์โลกทั้งหลายว่า เป็นผู้แสดงออกซึ่งความปรากฏของสิ่งที่โง่เง่า มืดมน และมีอาการสลบไสลก็ดี ความรู้สึกนึกคิดเหล่านี้ อันเป็นผลเกิดมาจากความคิดยึดมั่นต่อรูปธรรมนั้น จะกันเราไว้เสียจากความรู้อันสูงสุดถึงแม้ว่าเราจะได้ปฏิบัติมาตลอดกี่กัปป์นับไม่ถ้วน ประดุจเม็ดทรายในแม่น้ำคงคาแล้วก็ตาม มีแต่จิตหนึ่งเท่านั้นและไม่มีสิ่งอื่นใดแม้แต่อนุภาคเดียว ที่จะอิงอาศัยได้ เพราะจิตนั้นเองคือ พุทธะ เมื่อพวกเราที่เป็นนักศึกษาเรื่องทางโน้น ถ้าไม่ลืมตาต่อสิ่งซึ่งเป็นสาระ กล่าวคือ จิตนี้ พวกเราจะปิดบังจิตนั้นเสียด้วยความคิดปรุงแต่งของเราเอง พวกเราจะเที่ยวแสวงหาพุทธนอกตัวเราเอง พวกเรายังยึดมั่นถือมั่นต่อรูปธรรมทั้งหลายต่อการปฏิบัติเมาบุญต่างๆ และสิ่งอื่นๆ ทำนองนั้น ทั้งหมดนี้เป็นอันตราย และไม่ใช่หนทางอันนำไปสู่ความรู้อันสูงสุดที่กล่าวนั้นแต่อย่างใดเลย เนื้อแท้แห่งสิ่งสูงสุดสิ่งนั้น โดยภายในแล้วย่อมเหมือนกันไม้หรือก้อนหิน คือ ภายในนั้นปราศจากความเคลื่อนไหว และโดยภายนอกแล้วย่อมเหมือนกับความว่าง กล่าวคือ ปราศจากขอบเขต หรือสิ่งกีดขวางใดๆ สิ่งนี้ไม่ใช่เป็นฝ่ายนามธรรมหรือฝ่ายรูปธรรม มันไม่มีที่ตั้งเฉพาะ ไม่มีรูปร่าง และไม่อาจจะหายไปไหนได้เลย จิตนี้ ไม่ใช่จิตซึ่งเป็นความคิดปรุงแต่ง มันเป็นสิ่งซึ่งอยู่ต่างหาก ปราศจากการเกี่ยวข้องกับรูปธรรมโดยสิ้นเชิง ฉะนั้นพระพุทธเจ้าทั้งหลาย และสัตว์โลกทั้งปวงก็เป็นเช่นนั้น พวกเราเพียงแต่สามารถปลดเปลื้องตนเองออกจากความคิดปรุงแต่งเท่านั้น พวกเราจะประสบความสำเร็จทุกอย่าง หลักธรรมที่แท้จริงก็คือ จิต นั่นเอง ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้ว ก็ไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย จิตนี่แหละคือหลักธรรม ซึ่งถ้านอกไปจากนั้นแล้วมันก็ไม่ใช่จิต จิตนั้นโดยตัวมันเองก็ไม่ใช่จิต แต่ถึงกระนั้นมันก็ยังไม่ใช่ มิใช่จิต การที่กล่าวว่าจิตนั้น มิใช่จิตดังนี้ นั่นแหละ ย่อมหมายถึงสิ่งบางสิ่งซึ่งมีอยู่จริงสิ่งนี้มันอยู่เหนือคำพูด ขอจงเลิกละการคิดและการอธิบายเสียให้หมดสิ้น เมื่อนั้นเราอาจกล่าวได้ว่า คลองแห่งคำพูดก็ได้ผูกตัดขาดไปแล้ว และพฤติของจิต ก็ถูกเพิกถอนขึ้นสิ้นเชิงแล้ว จิตนี้คือ พุทธโยนิ อันบริสุทธิ์ ซึ่งมีประจำอยู่แล้วในคนทุกคน สัตว์ซึ่งมีความรู้สึกนึกคิดกระดุกกระดิกได้ทั้งหมดก็ดี พระพุทธเจ้าพร้อมทั้งพระโพธิสัตว์ทั้งหลายทั้งปวงก็ดี ล้วนแต่เป็นของแห่งธรรมชาติ อันหนึ่งนี้เท่านั้น และไม่มีแตกต่างกันเลย ความแตกต่างทั้งหลายเกิดขึ้นจากเราคิดผิดๆ เท่านั้น ย่อมนำเราไปสู่การก่อสร้างกรรมทั้งหลายทั้งปวง ทุกชนิดไม่มีหยุด ธรรมชาติแห่งความเป็น พุทธ ดั้งเดิมของเรานั้นโดยความจริงอันสูงสุดแล้ว เป็นสิ่งที่ไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวตน แม้แต่สักปรมาณูเดียว สิ่งนั้นคือความว่าง เป็นสิ่งที่มีอยู่ในทุกแห่ง สงบเงียบและไม่มีอะไรเจือปน มันเป็นสันติสุขที่รุ่งเรืองและเร้นลับ และก็หมดกันเพียงเท่านั้นเอง จงเข้าไปสู่สิ่งๆ นี้ได้ลึกซึ้ง โดยการลืมตาต่อสิ่งนี้ด้วยตัวเราเอง สิ่งซึ่งอยู่ตรงหน้าเรานี้แหละคือ สิ่งๆ นั้น ในอัตราที่เต็มที่ทั้งหมดทั้งสิ้น และสมบูรณ์ถึงที่สุดแล้ว ไม่มีอะไรนอกไปจากนี้อีกแล้ว จิต คือ พุทธ (สิ่งสูงสุด) มันย่อมรวมสิ่งทุกสิ่งเข้าไว้ในตัวมันทั้งหมด นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าที่ตรัสรู้แล้วทั้งหลาย เป็นที่สุดในเบื้องสูง ลงไปจนกระทั่งถึงสัตว์ประเภทที่ต่ำต้อยที่สุด ซึ่งเป็นสัตว์เลื้อยคลานอยู่ด้วยอีก และแมลงต่างๆ เป็นที่สุดในเบื้องต่ำ สิ่งเหล่านี้ทุกสิ่งมันย่อมมีส่วนแห่งความเป็น พุทธ เท่ากันหมดและทุกสิ่งมีเนื้อหาเป็นอันเดียวกันกับ พุทธ อยู่ตลอดเวลา ถ้าพวกเราเพียงแต่สามารถทำความเข้าใจในจิตของเราเองได้สำเร็จ แล้วค้นพบธรรมชาติอันแท้จริงของเราเองได้ ด้วยความเข้าใจอันนี้เท่านั้น ก็จะเป็นที่แน่นอนว่า ไม่มีอะไรที่พวกเราจำเป็นที่จะต้องแสวงหาแม้แต่อย่างใดเลย จิตของเรานั้น ถ้าเราทำความสงบเงียบอยู่จริงๆ เว้นขาดจากการคิดนึก ซึ่งเป็นการเคลื่อนไหวของจิต แม้แต่น้อยที่สุดเสียให้ได้จริงๆ ตัวแท้ของมันก็จะปรากฏออกมาเป็นความว่าง แล้วเราก็จะพบว่ามันเป็นสิ่งที่ปราศจากรูป มันไม่ได้กินเนื้อที่อะไรๆ ที่ไหน แม้แต่จุดเดียว มันไม่ได้ตกลงสู่การบัญญัติว่าเป็นพวกที่มีความเป็นอยู่ หรือไม่มีความเป็นอยู่ แม้แต่ประการใดเลย เพราะเหตุที่ สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่เรารู้สึกไม่ได้โดยทางอายตนะ
ปฐมชนสูตร สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยูณ พระวิหาร เชตวัน อารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐีใกลพระนครสาวัตถีครั้ง นั้นแล พราหมณ๒ คน เปนคนชรา แกเฒา ลวงกาลผานวัยมาโดย ลําดับ มีอายุได๑๒๐ ปแตกําเนิด ไดชวนกันไปเฝาพระผูมีพระภาค เจาถึงที่ประทับ ไดปราศรัยกับพระผูมีพระภาคเจา ครั้นผานการ ปราศรัยพอใหระลึกถึงกันไปแลว จึงนั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้น แลวไดกราบทูลวา ขาแตพระโคดมผูเจริญ พวกขาพระองคเปน พราหมณชรา แกเฒา ลวงกาลผานวัยมาโดยลําดับ มีอายุได๑๒๐ ปแตกําเนิด แตมิไดสรางความดีมิไดทํากุศล มิไดทํากรรมอันเปน ที่ตานทานความขลาดไวขอพระโคดมผูเจริญ ทรงโอวาทสั่งสอน พวกขาพระองคถึงขอที่จะพึงเปนไป เพื่อประโยชนและความสุขแก พวกขาพระองคสิ้นกาลนานเถิด. พระผูมีพระภาคเจาตรัสวา ดูกอนพราหมณที่แทพวกทาน เปนคนชรา แกเฒา ลวงกาลผานวัยมาโดยลําดับ มีอายุได๑๒๐ ป แตกําเนิด แตมิไดสรางความดีมิไดทํากุศล มิไดทํากรรมอันเปนที่ ตานทานความขลาดไวดูกอนพราหมณโลกนี้ถูกชรา พยาธิมรณะ นําเขาไปอยูแล เมื่อโลกถูกชรา พยาธิมรณะ นําเขาไปอยูเชนนี้ ความสํารวมทางกาย ความสํารวมทางวาจา ความสํารวมทางใจใน โลกนี้ยอมเปนที่ตานทาน เปนที่เรน เปนเกาะ เปนที่พึ่ง เปนที่ยึด หนวงของเขาผูละไปแลว. ชีวิตถูกชรานําเขาไปใกลความมีอายุสั้น ผูที่ถูกชรานําเขาไปใกลแลว ยอมไมมีที่ ตานทาน เมื่อบุคคลเล็งเห็นภัยในความ ตายนี้ ควรทําบุญทั้งหลายอันนําความ สุขมาใหความสํารวมทางกาย ทางวาจา และทางใจในโลกนี้ยอมเปนไปเพื่อความ สุขไวผูที่ละโลกนี้ไปแลว ผูซึ่งสรางสม บุญไวแตเมื่อยังมีชีวิตอยู.
พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐจากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้.
พระอานนท์ พระพุทธอนุชา บทนำเรื่อง ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป
วันจันทร์ที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ปกิณกธรรม อิทธิบาท 4 , บารมี 10 01 อิทธิบาท 4, บารมี 10 หลวงพ่อฤาษีล...
วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.
ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.
โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.
โทษของกามราคะ วิธีการละกามราคะผู้ที่ยังไม่ปราศจากราคะย่อมเป็นดุจแบกหนี้ของกามไว้ เพราะยังเป็นไปในอำนาจของราคะ. ส่วนผู้ที่ปราศจากราคะ ก้าวล่วงกามนั้นได้แล้ว ประกอบไปด้วยความเป็นอิสระแห่งจิตใจอย่างสูง เพราะเหตุที่ไม่ได้เป็นหนี้นั่นแล. เราจึงชื่อว่าไปถึงพระนิพพานอันเป็นที่ๆ บุคคลไปแล้วไม่เศร้าโศก ได้แก่ไม่ต้องเศร้าโศก เพราะไม่มีเหตุแห่งความโศกเศร้าโดยประการทั้งปวงอันมีการไปในพระนิพพานเป็นเหตุ. บัดนี้ เราถึงคือถึงโดยลำดับซึ่งอนุปาทิเสสนิพพานนั้นนั่นแล.
วันเสาร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2557
จิตของเราถึงธรรมปราศจากเครื่องปรุงแต่งแล้วให้ดูตอนเช้าประมาณ ตีสาม พอเค้ามาเราจะรู้ ให้กลับมาทีลมหายใจของเราให้ได้ เชื่อเถอะครับมรรคผล นิพพาน มีอยู่ตลอดเวลา ความเพียรพยายามเราต้องทำเองครับ ถ้าจะให้เร็ว สั่งให้ร่างกายเราลุกขึ้น ทันที่ ที่เริ่มเปลี่ยน เรื่องฝัน(ตัวนึกคิดปรุงแต่ง)ถึงจะเหนื่อยก็คุ้มค่ากับการที่ได้ปรารภความเพียรครับ
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าดูก่อนสุทัตตะ ! เมื่อรากยังมั่นคงแม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้ว มันยังสามารถขึ้นได้อีก ฉันเดียวกัน เมื่อบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยขึ้นเสียจากดวงจิต ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นได้บ่อยๆ “ สุทัตตะเอย ! น้ำตาของสัตว์ผู้ต้องร้องไห้เพราะความทุกข์โทมนัสทับถม ในขณะที่ท่องเที่ยวอยู่ในสังสารวัฏนี้มีจำนวนมากเหลือคณา สุดที่จะกล่าวได้ว่ามีประมาณเท่านี้เท่านั้น กระดูกที่เขาทอดทิ้งลงทับถมปฐพีดลเล่า ถ้านำมากองรวมกันมิให้กระจัดกระจาย คงจะสูงเท่าภูเขา บนพื้นแผ่นดินนี้ไม่มีช่องว่างเลยแม้แต่สักนิดเดียวที่สัตว์ไม่เคยตาย ปฐพีนี้เกลื่อนกล่นไปด้วยกระดูกแห่งสัตว์ผู้ตายแล้วตายเล่า เป็นที่น่าสังเวชสลดใจอย่างยิ่ง ทุกย่างก้าวของมนุษย์และสัตว์เหยียบย่ำไปบนกองกระดูก เขานอนบนกองกระดูก นั่งบนกองกระดูก สนุกสนานเพลิดเพลินอยู่บนกองกระดูกทั้งสิ้น ”
วันศุกร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2557
พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ จากโกสัมพี ราชธานีแห่งแคว้นวังสะ พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐ ได้เดินทางเลียบลำน้ำยมุนาขึ้นไปตอนบนสู่แคว้นกุรุ ซึ่งมีนครอินทปัตถ์เป็นเมืองหลวง และจาริกไปในแคว้นต่างๆ อีกหลายแคว้น จนกระทั่งหวนกลับมาสู่ลุ่มแม่น้ำคงคา วนเวียนอยู่ ณ ลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบนแห่งแคว้นปัญจาละ ซึ่งมีนครหัสตินาปุระหรือหัสดินบุรีเป็นราชธานี อันว่าแคว้นปัญจาละนี้ มีแคว้นโกศลอยู่ทางทิศตะวันออก มีแคว้นกุรุอยู่ทางทิศตะวันตก มีหิมาลัยบรรพตอยู่ทางทิศเหนือ และแม่น้ำคงคาอยู่ทางทิศใต้ เป็นแคว้นที่มั่งคั่งพรั่งพร้อมด้วยทรัพยากรธรรมชาติมากหลาย มีทุ่งสาลีเกษตรเหลืองอร่าม มองดูสุดสายตาประดุจปูด้วยหนังโคสีแดง มีดงมะพร้าวเรียงรายยาวเหยียด บางแห่งพื้นที่ประดับด้วยต้นชงโคดอกสีแสดเข้มบานสะพรั่งเรืองอุไรเย็นตา ทัศนาการไปทางทิศเหนือจะเห็นทิวเขาหิมาลัยสูงตระหง่านเสียดฟ้า บางยอดถูกปกคลุมด้วยหิมะตลอดเวลา หิมาลัยบรรพตแดนเกิดแห่งนิยายและเป็นที่รื่นรมย์อย่างยิ่งของผู้สละโลกีย์ มุ่งแสวงหาสันติวรบท มองไปทางด้านใต้ จะเห็นแม่น้ำคงคาไหลเอื่อยเป็นเส้นเลือดใหญ่ของชมพูทวีป เป็นจุดรวมใจของชาวภารตะ แทบจะทุกคนมอบความไว้วางใจไว้ให้พระแม่คงคาเป็นผู้กำชีวิตของตน ทั้งด้านชำระมลทินภายใน และด้านเกษตรกรรม ณ ริมฝั่งแม่น้ำคงคาตอนเหนือ มีชงโคขึ้นระดะ แม้ไม่สู้จะเป็นระเบียบนัก แต่ดอกอันงามเย็นตาของมันก่อให้เกิดความเย็นใจเมื่อได้เห็น เป็นสถานที่ร่มรื่นสงบไม่ใช่ทางสัญจร จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับสมณะผู้แสวงหาวิเวก วันนั้นพระพุทธอนุชา จาริกเพียงผู้เดียวด้วยจุดประสงค์ คือ แสวงหาที่วิเวกเพื่อพักผ่อน เมื่อผ่านมาเห็นชงโคมีดอกงามบานสะพรั่ง และดูบริเวณเป็นที่รื่นรมย์จึงแวะเข้าพักผ่อนใต้ต้นชงโค ซึ่งมีใบหนาเงาครึ้มต้นหนึ่ง ตรงเบื้องหน้าของท่านมีสระซึ่งเกิดเองตามธรรมชาติ (ชาตสระ) มีปทุมชูดอกสลอน น้ำใสเย็นและจืดสนิทดี ท่านได้ดื่มและล้างหน้าเพื่อระงับความกระหายแล้วนั่งพักอยู่ ณ ที่นั้น จนตะวันรอนแดดอ่อนลง ส่องลอดใบไม้ลงมาเป็นรูปต่างๆ งามน่าดู เสียงนกเล็กๆ บนกิ่งชงโคร้องทักทายกันอย่างเพลิดเพลิน แสดงถึงจิตใจที่ชื่นบาน มันมีความสุขตามประสาสัตว์ ความสุขเป็นสิ่งหาได้ในที่ทุกแห่งและทุกฐานะ เว้นแต่บุคคลจะไม่รู้จักมองหาเท่านั้น พระพุทธองค์เคยตรัสไว้ว่าบุคคลผู้มีปัญญา สามารถจะหาความสุขได้แม้ในสถานะที่น่าทุกข์ ตรงกันข้ามกับคนเขลา แม้จะอยู่ในฐานะที่น่าจะสุขก็มีแต่ความทุกข์ร้อนเศร้าหมองเสียร่ำไป ถ้าเราฝึกใจให้อดได้ ทนได้อยู่เสมอๆ เราจะมีความสุขสบายขึ้นอีกมาก โลกนี้มีคนร้ายและเรื่องร้ายมาก ไม่ว่าจะไปอยู่ที่ไหนและในฐานะใด ย่อมจะต้องพบคนร้ายและเรื่องร้ายทุกหนทุกแห่ง ถ้าสามารถกลับเรื่องร้ายให้กลายเป็นดีได้นั้นเป็นเรื่องประเสริฐ แต่ถ้าไม่สามารถกลับเรื่องร้ายให้เป็นดีได้ในทันที ก็ลองอดทนดูเป็นการศึกษาสถานการณ์และศึกษาบุคคลพร้อมๆ กันไป นานๆ เข้าเรื่องที่เขาเข้าใจว่าร้ายในเบื้องต้นอาจจะเป็นผลดีแก่เรามากในบั้นปลาย จงดูเถิดขยะมูลฝอยที่ใครๆ ทิ้งลงๆ แต่พื้นดินก็สามารถรับขยะมูลฝอยนั้นกลายเป็นปุ๋ย ที่ดินตรงนั้นกลายเป็นดินดีมีคนต้องการมีราคามาก ปลูกพืชผักอะไรลงก็ขึ้นเร็วและสวยงาม คนที่ฝึกตนให้อดได้ ทนได้ มักจะเป็นคนดีมีค่าแก่สังคมอย่างมาก สถานที่จำกัด ทรัพยากรธรรมชาติมีน้อย แต่คนเพิ่มมากขึ้นนานวันไปมนุษย์ยิ่งจะต้องแย่งกันอยู่แย่งกันกินมากขึ้น ความบากบั่นอดทนก็จะต้องใช้มากขึ้น นอกจากนี้ในสังคมมนุษย์มีทั้งคนดีและคนเลว มีอัธยาศัยประณีตและอัธยาศัยทราม ยิ่งผู้น้อยที่ต้องอยู่ร่วมกับผู้ใหญ่ที่มีอัธยาศัยทราม เห็นแก่ตัว และโหดร้ายด้วยแล้ว เขาจะต้องกระทบกระเทือนใจและอดทนสักเพียงใด ลองให้ผู้ใหญ่เลวๆ อย่างนั้นไปอยู่ใต้บังคับบัญชาของคนอื่นดูบ้างซิ เขาจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาที่เลวหรือไม่ แต่ก็มีอยู่บ้างเหมือนกัน หรือบางทีก็มีอยู่เสมอๆ ที่ทำให้เราต้องประหลาดใจว่า เหตุไฉนคนเลวๆ อย่างนี้จึงเป็นใหญ่เป็นโตขึ้นมาได้ มันเป็นเรื่องของกรรมที่สลับซับซ้อนสุดที่จะแยกแยะให้ถี่ถ้วนด้วยปัญญาสามัญ บัดนี้ พระอาทิตย์ลับขอบฟ้าไปแล้ว ทิ้งไว้แต่ร่องรอยแห่งแสงสว่างเพียงรางๆ เสมือนดรุณีวัยกำดัดยิ้มด้วยความเบิกบานใจ เมื่อหยุดยิ้มแล้วรอยแห่งความร่าเริงก็ยังเหลืออยู่เพียงเล็กน้อย ฉะนั้น พระพุทธอนุชาตั้งใจจะถือเอาโคนชงโคเป็นที่พักกายในราตรีนี้ แต่พอท่านเอนกายลงพิงโคนชงโคนั่นเองได้เหลือบเห็นชายหญิงคู่หนึ่งเดินมา ถือหม้อมาคนละใบมุ่งตรงมาสู่สระ เมื่อได้มองเห็นสมณะนั่งพิงโคนชงโคอยู่เขาจึงเดินอ้อมสระมา พอเห็นชัดว่าเป็นสมณะศากยบุตรเข้าจึงนั่งละไหว้ แล้วชายผู้นั้นก็กล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ข้าพเจ้าอยู่ที่นี่มาเป็นเวลานานไม่เคยได้พบเห็นสมณะผู้ใดมาเยือนสถานที่นี้เลย ข้าพเจ้าทั้งสองแม้จะมิใช่เจ้าของถิ่นโดยแท้จริงก็เหมือนเป็นเจ้าของถิ่น ข้าพเจ้าขอต้อนรับท่านสมณะผู้เป็นอาคันตุกะด้วยความรู้สึกเป็นมิตร และถือเป็นโชคดีที่ได้พบท่านผู้สงบ" "ดูก่อนผู้มีใจอารี" พระพุทธอนุชากล่าวตอบ "ข้าพเจ้าขอขอบใจในไมตรีจิตของท่านทั้งสอง และถือเป็นโชคดีเช่นกันที่ได้พบท่าน ซึ่งข้าพเจ้ามิได้คาดหวังว่าจะได้พบในป่าเปลี่ยวเช่นนี้" ชายหญิงทั้งสองแสดงอาการพอใจต่อคำกล่าวที่ไพเราะ และแสดงความเป็นมิตรของพระพุทธอนุชา แล้วกล่าวว่า "ท่านผู้ประเสริฐ! เวลานี้ก็จวนค่ำแล้ว ท่านมีที่พำนัก ณ แห่งใดเป็นที่ประจำ หรือท่านเป็นนักพรตผู้จาริก ไม่อยู่เป็นหลักแหล่ง?" "ข้าพเจ้าเป็นนักพรตผู้จาริกไปตามอัธยาศัย ไม่ติดที่ หรือยึดถือที่ใดที่หนึ่งเป็นแหล่งของตน ข้าพเจ้าพอใจการกระทำเช่นนี้" พระอานนท์ตอบ "ข้าแต่สมณะ! ถ้าอย่างนั้นข้าพเจ้าใคร่ขอเชิญท่านพำนัก ณ กระท่อมของข้าพเจ้า ข้าพเจ้ามีกระท่อมอยู่สองหลัง หลังหนึ่งเพื่อข้าพเจ้าและภรรยาอยู่อาศัย อีกหลังหนึ่งเพื่อเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ถ้าท่านไม่รังเกียจ และยินดีรับคำเชื้อเชิญของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะเก็บของเล็กๆ น้อยๆ ไว้อีกมุมหนึ่ง ส่วนอีกมุมหนึ่งพอเป็นที่พักของท่านได้อย่างสบาย มีประตูหน้าต่างเปิดปิดได้สะดวก มีลมพัดเย็น ถ้าท่านรับคำเชื้อเชิญข้าพเจ้าจะยินดีมาก ข้าพเจ้าจะได้สนทนากับท่านผู้ประเสริฐให้เป็นที่เอิบอิ่มใจ ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าเคยสดับมาว่าการได้เห็น การได้เข้าใกล้ และการได้สนทนากับสมณะนั้นเป็นมงคล ข้าพเจ้าต้องการมงคลเช่นนั้นด้วยเหมือนกัน" เขากล่าวจบหันมามองดูภรรยาเหมือนเป็นเชิงปรึกษาสตรีผู้นั้นจึงกล่าวขึ้นว่า "ข้าแต่สมณะ! ถ้าท่านยังไม่มีกิจกังวลเรื่องอื่นหรือไม่เป็นการรบกวนความวิเวกสงัดของท่าน ก็โปรดรับคำอาราธนาของข้าพเจ้าทั้งสองด้วยเถิด" พระพุทธอนุชาดำริว่าสามีภรรยาทั้งสองนี้ดูท่าทีเป็นผู้มีตระกูลและได้รับการศึกษาสูง แต่เหตุไฉนจึงมาซ่อนตัวเองอยู่ในป่าเปลี่ยว ดูวัยก็ยังหนุ่มสาว คงจะมีอะไรอยู่เบื้องหลังที่น่าสนใจบ้างกระมัง การสนทนากับผู้เช่นนี้คงไม่ไร้ประโยชน์เป็นแน่แท้ คิดดังนี้แล้วท่านจึงกล่าวว่า "ดูก่อนผู้ใจอารี! ข้าพเจ้ายินดีรับคำเชื้อเชิญของท่าน" สามีภรรยาทั้งสองแสดงอาการพอใจอย่างยิ่ง แล้วชวนกันลงตักน้ำในสระคนละหม้อ แล้วเดินนำพระพุทธอนุชาไปสู่กระท่อมน้อย จัดของเล็กๆ น้อยๆ ไว้มุมหนึ่ง ปัดกวาดเช็ดถูเสนาสนะจนสะอาดเรียบร้อย แล้วเชื้อเชิญพระพุทธอนุชาให้นั่ง นำน้ำมันมานวดเท้า ส่วนภรรยาของเขากลับไปกระท่อมอีกหลังหนึ่ง ซึ่งอยู่ห่างกันเพียงเล็กน้อย "ดูก่อนผู้มีใจอารี!" พระอานนท์ "กระท่อมของท่านนี้แม้จะอยู่ป่า แต่ก็ปลูกสร้างอย่างดีน่าอยู่อาศัย สะอาดเรียบร้อย เป็นการแสดงถึงอัธยาศัยประณีตแห่งเจ้าของ" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ข้าพเจ้าขอขอบคุณในคำกล่าวของท่าน อนึ่งป่าชงโคนี้เป็นสวรรค์ของข้าพเจ้า เป็นที่ๆ ข้าพเจ้าพอใจเป็นที่สุด ข้าพเจ้าอาศัยอยู่อย่างสงบสุข ข้าพเจ้ากล่าวว่า "สงบสุข" เป็นความถูกต้องโดยแท้ คือทั้งสงบและสุขรวมอยู่ในกระท่อมน้อย และในป่าชงโคนี้" เขากล่าวแล้วยิ้มอย่างภาคภูมิใจ "ดูก่อนผู้มีใจอารี! เหตุไฉนท่านจึงพอใจป่าชงโคนี้เป็นหนักหนา ดูท่านยังอยู่ในวัยหนุ่ม และภรรยาของท่านก็ยังอยู่ในวัยสาว คนหนุ่มสาวน่าจะพอใจในแสงสีแห่งนครหลวงมากกว่าจะยินดีในที่สงัดเปล่าเปลี่ยวเช่นนี้ ท่านถือกำเนิดหรือภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่นี้หรือ?" "หามิได้ ท่านสมณะ ข้าพเจ้าเกิดแล้วในท่ามกลางพระนครหลวงทีเดียว" เขาตอบ "คำกล่าวของท่านยิ่งทำให้ข้าพเจ้าประหลาดใจมากขึ้น" พระอานนท์กล่าว "เป็นของน่าประหลาดเกินไปหรือท่าน" ชายหนุ่มกล่าว "ที่คนหนุ่มอย่างข้าพเจ้ามาพอใจในวิเวกดำเนินชีวิตอย่างสงบ" "ประหลาดมากทีเดียว" พระอานนท์รับ "เพราะเหตุใดหรือ?" ชายหนุ่มถาม "เพราะคนส่วนใหญ่หรือโดยมาก ในวัยท่านนี้ย่อมพอใจในความสนุกเพลิดเพลินอีกแบบหนึ่ง คือแบบที่คนส่วนมากเขานิยมกัน คลุกคลีอยู่ด้วยหมู่คณะและอารมณ์เย้ายวนต่างๆ แต่ท่านไม่เป็นอย่างนั้น เพราะฉะนั้นข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ท่านเป็นชายหนุ่มที่ประหลาด มีเหตุการณ์อะไรกระทบกระเทือนใจท่านอย่างรุนแรงหรือ หรือท่านมีอัธยาศัยน้อมไปในวิเวกตั้งแต่ยังเยาว์?" "ข้าแต่อาคันตุกะ! ชายหนุ่มกล่าว "ข้าพเจ้าเข้าใจว่า ทุกคนน่าจะมีหัวเลี้ยวแห่งชีวิตที่สำคัญที่สุดสักครั้งหนึ่งในชีวิตของแต่ละคน และหัวเลี้ยวนั้นเองจะเป็นสาเหตุให้เขาดำเนินชีวิตที่ยืดยาวไปจนกว่าชีวิตจะจบลง ข้าพเจ้ามีหัวเลี้ยวชีวิตอยู่ตอนหนึ่งซึ่งทำให้ข้าพเจ้าเลี้ยวมาทางนี้ และเข้าใจว่า ข้าพเจ้าจะดำเนินชีวิตแบบนี้ต่อไป จนสิ้นลมปราณ" "ดูก่อนผู้พอใจในวิเวก" พระอานนท์กล่าว "ถ้าไม่เป็นการรบกวนเวลาของท่าน ข้าพเจ้าปรารถนาจะรับฟังความเป็นมาแห่งท่านพอเป็นเครื่องประดับความรู้ เวลานี้ปฐมยามแห่งราตรีก็ยังไม่สิ้น ถ้าท่านไม่ขัดข้องหรือไม่ถือเป็นความลับก็ขอได้โปรดเล่าเถิด" ลมปราณปฐมยามพัดแผ่วเข้ามาทางหน้าต่างรำเพยเอากลิ่นดอกไม้ป่าบางชนิดติดตามด้วย หอมเย็นระรื่น ความอบอ้าวของอากาศเมื่อทิวากาลได้ปลาสนการไปแล้ว บรรยากาศในยามนี้เย็นสบาย แสงโสมสาดส่องเข้ามาทางหน้าต่าง ต้องผิวหน้าของชายหนุ่มดูสดใสแต่แฝงไว้ซึ่งแววเศร้าอย่างลึกซึ้ง เขาขยับกายเล็กน้อยก่อนจะกล่าวว่า "ข้าแต่ท่านผู้ทรงพรต! ถ้าท่านยินดีรับฟังเรื่องราวความเป็นมาแห่งข้าพเจ้า ข้าพเจ้าก็ยินดีเล่าสู่ท่านฟัง เรื่องของข้าพเจ้ามีทั้งความสุขและความเศร้า มีทั้งความหวานชื่นและขื่นขม มีสาระบ้างไม่มีสาระบ้าง" เมื่อพระอานนท์แสดงอาการว่าพร้อมแล้ว ชายหนุ่มจึงเริ่มเล่าดังนี้.
พระอานนท์พระพุทธอนุชาผู้ประเสริฐท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป
วิธีสร้างเครื่องอินเวอร์เตอร์สำหรับมอเตอร์สามเฟสใช้เองเพื่อสูบน้ำบาดาลด้...วิธีสร้างเครื่องอินเวอร์เตอร์สำหรับมอเตอร์สามเฟสใช้เองเพื่อสูบน้ำบาดาลด้วยไฟฟ้า
มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิตโคม่า (อังกฤษ: Coma) คือภาวะที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกมากกว่า 6 ชั่วโมง โดยความไม่รู้สึกตัวนี้คือ ปลุกไม่ตื่น กระตุ้นด้วยความรู้สึกเจ็บ แสง เสียง แล้วไม่ตอบสนอง ไม่มีวงจรหลับ-ตื่น ตามปกติ
มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิต มีสติตั้งมั่นที่ลมหายใจของเราเองแล้วให้สังเกตุว่า สิ่งที่เกิดขึ้นในใจเป็นสิ่งแปลกปลอมทั้งสิ้น.ช้า..ช้า..ไม่ต้องรีบแป็นพระอรหันต์
มหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิตมหาปรินิพพานสูตรและพระสาวกภาษิต เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผุดผ่อง ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน ปราศจาก ความเศร้าหมอง อ่อน เหมาะแก่การใช้งาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหวอย่างนี้ ภิกษุนั้น น้อมจิตไปเพื่ออาสวักขยญาณ รู้ชัดตามความเป็นจริงว่า 'นี้ทุกข์ นี้ทุกขสมุทัย นี้ทุกขนิโรธ นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา นี้อาสวะ๒ นี้อาสวสมุทัย นี้อาสวนิโรธ นี้อาสวนิโรธคามินีปฏิปทา' เมื่อเธอรู้เห็นอยู่อย่างนี้ จิตย่อมหลุดพ้นจากกามาสวะ ภวาสวะ และอวิชชาสวะ เมื่อจิตหลุดพ้นแล้วก็รู้ว่า 'หลุดพ้นแล้ว' รู้ชัดว่า 'ชาติ สิ้นแล้ว อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว๓ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว๔ ไม่มีกิจอื่นเพื่อความเป็น อย่างนี้อีกต่อไป๕' http://nkgen.com/41.htm
ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖
ผู้สละโลก ปลดแอก การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา
วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วิธีตัดกามราคะ ๒ เมื่อยังระลึกถึงกามอยู่ตราบใด ก็ไม่ได้ ความอิ่มด้วยใจตราบนั้น ชนเหล่าใดบริบูรณ์ด้วย ปัญญา มีกายและใจหลีกเว้นจากกามทั้งหลาย เห็น โทษด้วยญาณ ชนเหล่านั้นแลชื่อว่าเป็นผู้อิ่ม. บรรดาความอิ่มทั้งหลาย ความอิ่มด้วย ปัญญาประเสริฐ เพราะผู้อิ่มด้วยปัญญานั้น ย่อมไม่ เดือดร้อนด้วยกามทั้งหลาย คนผู้อิ่มด้วยปัญญา ตัณหา ย่อมกระทำให้อยู่ในอำนาจไม่ได้. ไม่พึงสั่งสมกามทั้งหลาย พึงเป็นผู้มี ความปรารถนาน้อย ไม่มีความละโมบ บุรุษผู้มีปัญญา เปรียบด้วยมหาสมุทร ย่อมไม่เดือดร้อนด้วยกาม ทั้งหลาย. ช่างทำรองเท้าหนังเลี้ยงชีพ เมื่อประ- กอบรองเท้า ส่วนใดควรเว้นก็เว้น เลือกเอาแต่ส่วนที่ ดี ๆ มาทำรองเท้าขายได้ราคาแล้ว ย่อมมีความสุข ฉันใดเราก็ฉันนั้นเหมือนกัน พิจารณาด้วยปัญญาแล้ว ละทิ้งส่วนแห่งกามเสีย ย่อมถึงความสุข ถ้าพึงปรา- รถนาความสุขทั้งปวงก็พึงละกามทั้งปวงเสีย. คาถาทั้งหมด ๘ คาถา ที่ท่านกล่าวแล้ว ขอท่านจงรับเอาทรัพย์ ๘ พันนี้เถิด คำที่ท่านกล่าวนี้ เป็นคำยังประโยชน์ให้สำเร็จ.
โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกเราติเตียนกระท่อม คือสรีระร่างอันสำเร็จด้วยโครงกระดูก อันฉาบทา ด้วยเนื้อ ร้อยรัดด้วยเส้นเอ็น เต็มไปด้วยของไม่สะอาด มีกลิ่นเหม็น น่าเกลียด ที่คนทั่วๆ ไปเข้าใจว่าเป็นของผู้อื่นและเป็นของตน ในร่างกาย ของเธอเช่นกับถุงอันเต็มไปด้วยคูถ มีหนังหุ้มห่อปกปิดไว้เหมือนนาง- ปีศาจ มีฝีที่อก มีช่องเก้าช่องเป็นที่ไหลออกเนืองนิตย์ ภิกษุควรละเว้น สรีระของเธออันมีช่องเก้าช่อง เต็มไปด้วยกลิ่นเหม็น ดังชายหนุ่มผู้ชอบ สะอาด หลีกเลี่ยงมูตรคูถไปจนห่างไกล ฉะนั้น หากว่าคนพึงรู้จักสรีระ ของเธอเช่นเดียวกับฉันรู้จัก ก็จะพากันหลบหลีกเธอไปเสียห่างไกล เหมือนบุคคลผู้ชอบสะอาดเห็นหลุมคูถในฤดูฝนแล้ว หลีกเลี่ยงไปเสีย ห่างไกล ฉะนั้น.
วันพุธที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2557
อานิสงส์ของการเจริญมรณานุสติกรรมฐานภิกษุ ท. ! มรณสติ (ความระลึกถึงความตาย) อันบุคคลเจริญทำให้ มากแล้ว ย่อมมีผลใหญ่ มีอานิสงส์ใหญ่ หยั่งลงสู่นิพพาน มีนิพพานเป็นที่สุด. พวกเธอเจริญมรณสติอยู่บ้างหรือ ? เมื่อรับสั่งดังนั้นแล้ว ภิกษุรูปหนึ่งทูลขึ้นว่า “แม้ข้าพระองค์ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วเวลากลางวัน. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญ มรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อหนึ่ง. เราพึง ใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติอย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียง ๔ - ๕ คำ. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้ ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ !” ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว. เรา พึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์ เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. อีกรูปหนึ่งทูลว่า “ถึงข้าพระองค์ ก็เจริญมรณสติอยู่ พระเจ้าข้า”. พ. “เธอเจริญมรณสติอย่างไรเล่า ? ภิกษุ ! ภิ. “ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ! ในการเจริญมรณสตินี้ ข้าพระองค์มีความคำนึงอย่างนี้ว่า ‘โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือชั่ว ขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตาม คำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ’ ดังนี้. ข้าพระองค์เจริญมรณสติแม้อย่างนี้แล พระเจ้าข้า”. เมื่อสิ้นคำทูลทั้งหมดแล้ว, พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า :- ภิกษุ ท. ! ภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะมี ชีวิตอยู่ได้ เพียงวันหนึ่งคืนหนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วเวลา กลางวัน _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันบิณฑบาตเสร็จมื้อ หนึ่ง _ _ ดังนี้ก็ดี, เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่ฉันอาหารเสร็จ เพียง ๔ - ๕ คำ. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติ ตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่ายังเป็น ผู้ประมาทอยู่ ยังเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะช้าไป. ภิกษุ ท. ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า “โอหนอ เราอาจจะ มีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว _ _ ” ดังนี้ก็ดี, ว่า “โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้ เพียงชั่วขณะที่หายใจเข้า แล้วหายใจออก หรือชั่วขณะหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้า เถิด. การปฏิบัติตามคำสอน ควรทำให้มากแล้วหนอ” ดังนี้ก็ดี ; ภิกษุเหล่านี้ เราเรียกว่า เป็น ผู้ไม่ประมาทแล้ว, เป็นผู้เจริญมรณสติเพื่อความสิ้น อาสวะ
เจริญสติเพื่อความสิ้นแห่งทุกข์ถ้าเราสามารถรู้กายตามความเป็นจริง รู้ใจตามความเป็นจริง รู้ซ๊ำแล้วซ๊ำอีก ถึงจุดหนึ่งมันจะเกิดปัญญา มันจะเห็นความจริง ปัญญาเป็นความเข้าใจ จิตใจมันจะเข้าใจสภาวธรรมทั้งหลายนะ ทั้งกายทั้งใจ ทั้งรูปทั้งนาม ว่าเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ถ้าเข้าใจอย่างนี้ได้ ก็ปล่อยวางได้ เมื่อปล่อยวางได้ ก็พ้นทุกข์ได้ จิตใจจะมีแต่ความสุขถาวรแล้วคราวนี้ การปฏิบัติจริงๆ กรอบของมันมีเท่านี้เอง
กุญแจแห่งความรู้สึกตัวพิชิตโลกภายในเปิดประตูใจสู่มรรคผลนิพพาน สำหรับบุคคลที่ตื่นอยู่ตลอดเวลา หมั่นศึกษาไตรสิกขาทั้งกลางวันและกลางคืน น้อมจิตเข้าหานิพพาน อาสวะทั้งหลายย่อมตั้งอยู่ไม่ได้
วันอังคารที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2557
พุทโธจิตหนีไปคิดรู้ทันจิตรู้ทันกิเลสรู้ให้เร็วทีละขณะทุกวินาที..ธรรมสนทนาของหลวงปู่ดูลย์ (ท่านมีอายุได้ ๙๐ ปี และได้เข้าพักที่ พระตำหนักทรงพรต วัดบวรฯ) ถาม : พุทโธ เป็นอย่างไร หลวงปู่ : เวลาภาวนาอย่าส่งจิตออกนอก ความรู้อะไรทั้งหลาย อย่าไปยึด ความรู้ที่เราเรียน กับตำรา หรือครูอาจารย์ อย่าเอามายุ่งเลย ให้ตัดอารมณ์ ออกให้หมด แล้วเวลาภาวนาไปให้มันรู้ รู้จากจิตของเรานี่แหละ จิตของเราสงบ เราจะรู้เอง ต้องภาวนาให้มากๆ เข้า เวลามันจะเป็น จะเป็นของมันเอง แล้วก็ความรู้อะไรๆ ให้มันออกมาจากจิตของเรา ความรู้ที่ออกจากจิตที่สงบนั่นแหละ เป็นความรู้ที่ลึกซึ้งถึงที่สุด ให้มันรู้จากจิตเองนั่นแหละมันดี คือจิตมันสงบ ทำจิตให้เกิดอารมณ์อันเดียว แต่ก่อนภาวนา ก็อย่าส่งจิตออกนอก ให้จิตอยู่ในจิต และก็ให้จิตภาวนาเอาเอง ไม่ต้องบริกรรมทางปาก ให้จิตเป็นผู้บริกรรม พุทโธ พุทโธ อยู่นั่นแหละ เกิดครั้งเดียวเท่านั้น และ พุทโธ นั่นแหละจะผุดขึ้นในจิตของเรา เราจะได้รู้จักว่า พุทโธ นั้น เป็นอย่างไร แล้วรู้เอง เท่านั้นแหละ ไม่มีอะไรมากมาย ภาวนาให้มากๆ เข้า ใน อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง นอน อะไรๆ ทำให้หมดเลย บริกรรม พุทโธ ให้จิตว่าเอาเอง ว่านานๆ ไป จิตของเราติดอยู่กับ พุทโธ นั้นแล้วไม่ลำบาก มันจะว่าเอาเอง ถ้ามันติดกับ พุทโธ แล้วนะ นั่นแหละ มันใกล้จะเป็นสมาธิแล้ว ถ้าเป็นสมาธิแล้ว เราก็กำหนดสมาธิของเราอยู่นั่นแหละ เออ..จิตมันเป็นสมาธิ มันเป็นอย่างนั้นๆ แล้วเราก็รู้เอง เข้าไปรู้อยู่ในสมาธินั่น สมาธิสูงสุดอยู่ตรงนั้น คือ จิตมีอารมณ์เดียว จิตไม่ฟุ้งซ่าน ตัวจริงมันอยู่ตรงนั้น เรารู้อะไร เรารู้จากจิตของเราเอง เรารู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย นอกจากนั้นไม่มีอะไร แต่เราต้องพยายามให้มากๆ เข้า ก่อนจะนอนหรือลุกจากที่นอน เราต้องทำเสียก่อน ทำแล้วก็นั่งให้นานๆ เวลามันจะเป็น มันจะรู้เองดอก แต่ถ้ายังไม่เป็น บอกเท่าไร มันก็ไม่รู้ รู้จากจิตของเรานะ รู้ถึงความบริสุทธิ์ของเราเลย รู้ถึงความเป็นจริง เท่านั้นเอง.. ไม่มีอะไรมากมาย มีเท่านั้น รู้จากจิตที่เป็นสมาธิ รู้ถึงความเป็นจริงแล้ว เราก็หมดความสงสัยในพระพุทธศาสนา รู้ไม่ถึงความเป็นจริงก็ไม่หมดความสงสัยดอก ศาสนาเป็นอย่างไร เรารู้ของเราเอง อย่าปล่อยให้มันปรุงแต่งมากนัก ข้อสำคัญ ให้รู้จักจิตของเราเท่านั้นเอง เพราะว่าจิตคือ ตัวหลักธรรม นอกจากจิตแล้วไม่มีหลักธรรมใดๆ เลย ถาม : การภาวนาเข้าไปเห็นจิตผู้รู้นั้น ทำอย่างไรครับ หลวงปู่ : ทำให้มากๆ ทำให้บ่อยๆ ถาม : เห็นจิตครั้งเดียวนี้ ใช้ได้ไหมครับ หลวงปู่ : เห็นครั้งเดียวถ้าชัดเจนแล้วไม่ลืม ทำให้ชำนาญ เมื่อเกิดความสงบแล้วก็พิจารณาความสงบ หัดเข้าหัดออกให้ชำนาญ เมื่อเวลาภาวนา จิตสงบแล้ว พิจารณา รู้ว่าเป็นอย่างนี้ๆ เมื่อถึงเวลาคับขัน สิ่งที่พร้อมอยู่แล้วมันก็ย่อมเป็นไปเอง ก็มีเท่านั้นเอง ไม่มีอะไรมากมาย ถาม : ในเวลาคับขันเกิดจะตายขึ้นมากะทันหัน และเราเข้าสมาธิไม่ทัน จะทำอย่างไรครับ หลวงปู่ : นั่นแหละ ต้องหัดเข้าให้ชำนาญ ถ้าชำนาญแล้วอะไรมาปิดบังไม่ได้หรอก ถาม : หลวงปู่ครับ ความสงบนั้นเราจะทำอย่างไรให้มีตลอดไป หลวงปู่ : ความสงบ รึ ภาวนานั่นเอง ภาวนาให้จิตเกิด ถาม : การงดเว้นจากการทำภาวนา จิตเราจะเสื่อมไหมครับ หลวงปู่ : ถ้าหากเรารู้ถึงความเป็นจริงแล้ว ไม่เสื่อม ถ้ารู้ไม่ถึงความเป็นจริงมักจะเสื่อม ถาม : คิดๆ ไป ทั้งที่คิดไปเห็นแต่กลับไม่เห็นอีก หลวงปู่ : มันจะเห็นมาจากไหน ไปหาให้มันเห็น มันไม่เคยให้ใครเห็นหรอก เลิกหา เลิกคิดของเก่าที่เคยเห็น ทำเอาใหม่ ให้เลิกอยากรู้อยากเห็นของเก่า ทำใหม่อีกมันก็เกิดใหม่อีก อย่าไปยึดสิ่งที่เคยเป็นแล้วเกิดใหม่อีก ทำใหม่อีก ดูแต่จิตอย่างเดียว อะไรๆ ออกจากจิตอย่างเดียวเท่านั้น ถาม : ดูจิตแล้วเห็นปรุงแต่งเรื่องราวมากมาย ไม่ชนะ จะตามดับ หลวงปู่ : ต้องลำบากไปตามดับมันทำไม ดูแต่จิตอย่างเดียวมันก็ดับไปเอง มันออกไปปรุงแต่งข้างนอก มันเกิดจากต้นตอที่จิตทั้งนั้นหาแต่ต้นตอให้พบ ก็จะรู้แจ้งหมด อะไรก็ไปจากนี้ อะไรๆ ก็มารวมอยู่ที่นี้ทั้งหมด (ท่านพูดพลางเอาหัวแม่มือชี้ที่หน้าอก) สิ่งที่ได้รู้ได้เห็น แล้วอยากรู้อยากเห็นอีก นั่นแหละคือตัวกิเลส ถาม : เมื่อถึงโลกุตตระแล้ว มีเมตตา กรุณาอะไรไหมครับ หลวงปู่ : ไม่มีหรอก ความเมตตา กรุณา อยู่เหนือสิ่งเหล่านี้ทั้งหมด เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา อยู่ในโลกทั้งหมด จิตสูงสุดหลุดพ้น อยู่เหนือโลกทั้งหมด ถาม : ไม่มีเมตตาหรือครับ หลวงปู่ : มีก็ไม่ว่า ไม่มีก็ไม่ว่า เลิกพูดเลิกว่า เลิกอะไรๆ ทั้งหมด มันเป็นเพียงคำพูดแท้ๆ ให้ดูจิตอย่างเดียวเท่านั้น ความเป็นจริงแล้ว เป็นแต่เพียงคำพูด สลัดทุกสิ่งทุกอย่างซึ่งเป็นมายาออกเสีย ตัวผู้ที่รู้และเข้าใจอันนี้แหละคือตัว พุทธะ หมดภารกิจ หมดทุกอย่างที่จะทำอะไรต่อไปอีก พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมลงอยู่ที่นี่ จบอยู่ที่นี่ ไม่มียาวต่อไปอีกไม่มีเล็ก...ใหญ่...หญิง...ชาย...อยู่ว่างเปล่า ไม่มีคำพูด เปล่า เปล่า บริสุทธิ์ (เสียงระฆังวัดบวรฯ ทำวัตรเย็นดังขึ้น รับประโยคสุดท้ายของหลวงปู่)
วิธีพาจิตกลับบ้านรู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป
มีสติรู้กายรู้ใจในขณะปัจจุบันด้วยจิตตั้งมั่นและเป็นกลาง...รู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป .
มีสติรู้กายรู้ใจในขณะปัจจุบันด้วยจิตตั้งมั่นและเป็นกลาง...รู้อยู่ที่กาย รู้อยู่ที่ใจ ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ตัวนี้ตัวสำคัญ ต้องค่อยๆ เรียน ค่อยๆ ศึกษา เพราะเราจะรู้สึกว่าเรารู้กายรู้ใจตัวเองอยู่แล้ว ทั้งที่ในความเป็นจริงในโลกนี้ไม่มีคนรู้กายรู้ใจตัวเองหรอก มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ คนที่สามารถรู้กายรู้ใจตัวเองได้ มีนับตัวได้ ส่วนมากก็คือเราจะตื่นขึ้นมาแต่กาย แต่ใจเรานี่จะคิดๆ ฝันๆ ไปทั้งวัน ใจเราไม่ตื่นนะ ใจเราจะคิด ใจเราจะฝันไปเรื่อยๆ ต้องค่อยๆ ฝึกจนใจของเราตื่นขึ้นมา ตื่นทั้งกายตื่นทั้งใจนะ จิตใจที่ตื่นขึ้นมานั้นแหละ คือตัว "พุทโธ" ที่เรียกว่า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน จิตใจของเราส่วนใหญ่ในโลก เป็นผู้คิด ผู้นึก ผู้ปรุง ผู้แต่ง ไม่ใช่ ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สังเกตให้ดี ใจเรานี้ตั้งแต่ตื่นนอนจนหลับ เราคิดทั้งวัน เรารู้เรื่องราวที่เราคิด สังเกตให้ดีนะ พวกเราเวลาเราคิดอะไรไป เรามักจะรู้เรื่องที่เราคิด เรื่องราวที่เราคิดนี้เรียกว่า สมมติบัญญัติ แต่ในขณะที่เรารู้เรื่องราวที่เราคิด เราจะลืมกายลืมใจตัวเอง มีกายก็เหมือนไม่มี เช่น นั่งอยู่ ไม่รู้ว่านั่งอยู่ นั่งฟังหลวงพ่อพูด รู้เรื่องพยักหน้าหงึกๆ หงึกๆ แต่ใจไปที่อื่น เราไม่รู้กาย ร่างกายเคลื่อนไหว ไม่รู้สึก เราไม่รู้ใจตัวเอง จิตใจเราเป็นสุขก็ไม่รู้ เป็นทุกข์ก็ไม่รู้ เฉยๆ ก็ไม่รู้ เป็นกุศลก็ไม่รู้ เป็นอกุศลก็ไม่รู้ เราไม่รู้อะไรเลยที่เกี่ยวกับตัวเราเอง ไม่รู้อะไรเกี่ยวกับกายกับใจ เรารู้แต่เรื่องราวที่เราคิดเอาเอง การที่รู้เรื่องราวที่เราคิดเอาเองนั่นแหละ เรียกว่า รู้สมมติบัญญัติ ในขณะที่การรู้กายรู้ใจ เรียกว่า รู้อารมณ์ปรมัตถ์ คือรูปนาม เรียกว่ากายกับใจก็แล้วกันนะ ให้คอยรู้กายรู้ใจ คนในโลกไม่รู้กายรู้ใจ มีแต่คนลืมตัว มีแต่คนหลง มีแต่คนเผลอ เผลอคิดทั้งวัน เวลาเราดู เราก็เผลอดู เวลาฟัง เราก็เผลอฟัง เวลาคิด เราก็เผลอไปคิด ลืมกายลืมใจตัวเองตลอดเวลา เมื่อเราลืมกายลืมใจตลอดอย่างนี้ เราก็ไม่สามารถเรียนรู้กาย เรียนรู้ใจ ปัญญามันไม่เกิด ไม่สามารถเข้าใจความเป็นจริงของกายของใจได้ว่ามันไม่ใช่ตัวเราหรอก เราไปหลงยึดติดอยู่ ความเป็นตัวเราก็เกิดขึ้นมา ทีนี้ทำยังไงเราจะรู้กายรู้ใจได้ ศัตรู ของการรู้กายรู้ใจของเรามีสองอย่าง ศัตรูหมายเลขหนึ่ง ก็คือ การที่เราหลงไปอยู่กับความคิดของเรา ถ้าเมื่อไหร่เราสามารถรู้ทันว่าใจเราไหลไปคิดแล้ว เมื่อนั้นเราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน เพราะฉะนั้น การปฏิบัตินี้ ถ้าเข้าใจสิ่งที่พระพุทธเจ้าบอก เราจะตื่นขึ้นในฉับพลัน ธรรมะนี่ถ้าใครเข้าถึงแล้วจะอุทานเลยว่า "อัศจรรย์จริงๆ อัศจรรย์" ดูในพระไตรปิฎก เวลาพระพุทธเจ้าเทศน์จบ คนจะอุทาน "อัศจรรย์จริงๆ แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า แจ่มแจ้งนัก" ไม่ใช่ว่า "สับสนนักพระเจ้าข้า" แต่จะพูดว่า "แจ่มแจ้งนักพระเจ้าข้า เหมือนเปิดของคว่ำให้หงาย" ของง่ายๆ นะ ศัตรูหมายเลขสอง คือการเพ่งกายเพ่งใจ ทำให้ไม่สามารถรู้กายรู้ใจตามความเป็นจริงได้ เพราะมันนิ่งไปหมด พระพุทธเจ้าเป็นคนจุดไฟขึ้นมา แล้วคนตาดีก็มองเห็นแสงสว่าง มองเห็นสิ่งต่างๆ เพราะฉะนั้น ธรรมะจริงๆ ไม่ใช่เรื่องยาก เพียงแต่พวกเราไม่ค่อยได้ยิน ไม่ค่อยได้ฟัง เราชอบไปคิดเอาเอง ชอบหลงอยู่ในโลกของความคิด การตื่นขึ้นมาอยู่ในโลกของความเป็นจริง เป็นสิ่งที่ยากที่สุด ทางลัดที่สุดที่จะตื่นขึ้นมา ก็คือรู้ทันว่าใจเราหนีไปคิดแล้ว มีครูบาอาจารย์องค์หนึ่ง ไม่ใช่สายวัดป่า หลวงพ่อเทียน วัดสนามใน หลวงพ่อเทียนท่านสอนเหมือนกัน ธรรมะมันลงกัน สายไหนก็เหมือนกัน ถ้าทำถูกต้องก็อันเดียวกัน หลวงพ่อเทียนท่านสอนว่า "ถ้าเมื่อไหร่รู้ว่าจิตคิด จะได้ต้นทางของการปฏิบัติ" รู้ว่าจิตคิดนะ ไม่ใช่รู้เรื่องที่จิตคิด สองอันนี้ไม่เหมือนกัน ในโลกนี้มีแต่คนรู้เรื่องที่จิตคิด แต่ไม่รู้ว่าจิตกำลังแอบไปคิดอยู่ เพราะฉะนั้น หน้าที่ของเราค่อยๆ ศึกษา ค่อยๆ สังเกตตัวเองไป .
Buddan Saranam - Himasha Manupriya (New)BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI
BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI
BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI GHABADAE JAB MAN-ANAMOL HRIDYA HO UTHE ḌAṆVAḌOL. GHABADAE JAB MAN-ANAMOL AUR HRIDYA UTHE HO ḌAṆVAḌOL. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI JAB AṢANTIKÃ RAG UTHE LÃLLAHUKÃ̃ PHAG UTHE. HINSÃ KI TO ÃG UTHE MÃNAV MEṆ PAṢU JAG̣ UTHE. UPARASE MUSAKÃ TE NAN BHITÃR DAHAKA RAHE TO HO. HO TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. (BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI) JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE. JAB DUNIYÃN SE PYAR UTHE . NAPHARAT KĨ DĨVÃR UTHE. MÃN KI MAMATÃ PAR USKĨ BEṬEKI TALAVÃR UTHE. DHARATĨ KĨ KÃYÃKÃPE AMBAR DAGMAG UTHE DOL . HO TAB MÃNAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HĨ TAB MANAV TO MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMI. DŨR KIYÃ JISANE JANAJANAKE VYÃKULMANAKÃ ANDHIYÃRÃ JISAKI EKA KIRNAKO CHŨKAR CAMAK UTHÃ YE JAGA SÃRÃ.. DĨPA SATYAKÃ SADÃ JALE. DAYÃ AHIṂSA SADÃ PALE. SUKHAṢANTI KĨ CHAYAM MEṆ JAN GAṆA MANAKÃ PREM PALE. PHÃRAT KE BHAGAVAN BUDDHAKÃ GŨÑJE GHARGHAR MANTRA AMOL. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. HE MÃNAV NITA MUKHASE BOL. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. BUDDHAM SARANAM GACCHÃMI. DHAMMAM SARANAM GACCHÃMI. SANGG̣HAM SARANAM GACCHÃMIBUDDHAM SARANAM GACCHÃMI พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ - เพลงไตรสรณคมน์ (Angulimal...
วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2557
พระอานนท์เถระเจ้า ลำดับที่ 1ท่ามกลางความสับสนอลหม่านใจจิตใจของผู้ คนอันเกิดจากเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม และศีลธรรมที่เสื่อมสลาย ทุกคนแสวงหาทางออกซึ่งยากที่จะประสบ แต่ทางออกเพื่อหนีจากความสับสน วุ่น..วาย...เหล่านี้ได้ปรากฏแล้วใน "พระอานนท์พุทธอนุชา" ซึ่งเป็นผลงานของวศิน อินทสระ ผู้ได้รับการยอมรับว่าเป็นนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาท่านหนึ่ง ในผลงานดังกล่าวท่านได้หยิบยกเอาแง่มุมต่างๆ ของพระพุทธศาสนาที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตปัจจุบันมากล่าวอธิบายไว้ด้ว ยภาษาที่สละสลวย และง่ายแก่การเข้าใจของคนทั่วๆ ไป
ผู้สละโลก ปลดแอกเพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว และมุนีผู้สงบแล้วแล ย่อม ไม่เกิดไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้อง เกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตาย จักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องการกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า
วิธีละกิเลส วิธีเข้าถึงคำสอนของพระพุทธเจ้าการกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า
คำสอนของพระพุทธเจ้าและพระอรหันต์ทั้งหลายการกราบไหว้บูชาใดๆของชาวพุทธ หรือแม้การตักบาตรพระ ก็ควรเป็นอาหาร ที่ไม่ต้อง เกิดบาปกรรม จากการฆ่าสัตว์ให้ถึงแก่ความตายเลย คือเป็น"อาหารมังสวิรัติ" จะประเสริฐกว่า
อาจารย์สอนอภิธรรม แชร์ประสบการณ์ ๑๕ ปีที่เดินทางผิด หันมาเดินตามคำสอนพระ...
วันอาทิตย์ที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2557
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องปัญหาที่เผชิญอยู่เบื้องหน้าของทุกๆคน คือ ปัญหาเรื่องทุกข์และความดับทุกข์ มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ถูกความทุกข์เสียบอยู่ทั้งทางกายและใจ อุปมาเหมือนผู้ถูกยิงด้วยศร ซึ่งกำซาบด้วยยาพิษแล้ว ญาติมิตรเห็นเข้าเกิดความกรุณา จึงพยายามช่วยถอนลูกศรนั้นแต่บุรุษผู้โง่เขลาบอกว่าต้องไปสืบให้ได้เสียก่อนว่าใครเป็นคนยิง และยิงมาจากทิศไหน ลูกศรทำด้วยอะไร แล้วจึงค่อยมาถอนลูกศรออก ภิกษุทั้งหลาย บุรุษนั้นต้องตายเสียก่อนเป็นแน่แท้ ความจริงเมื่อถูกยิงแล้วหน้าที่ของเขาคือควรพยายามถอนลูกศรออกเสียทันที ชำระแผลให้สะอาดแล้วใส่ยารักษาแผลให้หายสนิท หรืออีกอุปมาหนึ่งบุคคลที่ไฟไหม้อยู่บนศีษะ ควรรีบดับเสียโดยพลันไม่ควรเที่ยววิ่งหาคนผู้เอาไฟมาเผาศรีษะตน ทั้งๆที่ไฟลุกไหม้อยู่” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังสารวัฏฏ์นี้เต็มไปด้วยเพลิงทุกข์นานาประการโหมให้ร้อนอยู่โดยทั่ว สัตว์ทั้งหลายยังวิ่งอยู่ในกองทุกข์แห่งสังสารวัฏฏ์ ใครเล่าจะเป็นผู้ดับ ถ้าทุกคนไม่ช่วยกันดับทุกข์แห่งตน อุปมาเหมือนบุรุษสตรีผู้รวมกันอยู่ในบริเวณกว้างแห่งหนึ่งและต่างคนต่างถือดุ้นไฟลุกโพลงอยู่ทั่วแล้ว ต่างคนต่างก็วิ่งวนกันอยู่ในบริเวณนั้น และร้องกันว่าร้อน ร้อน ภิกษุทั้งหลาย คราวนั้นมีบุรุษผู้หนึ่งเป็นผู้ฉลาดร้องบอกให้ทุกๆ คนทิ้งดุ้นไฟในมือของตนเสีย ผู้ที่ยอมเชื่อทิ้งดุ้นไฟก็ได้ประสบความเย็น ส่วนผู้ไม่เชื่อ ก็ยังคงวิ่งถือดุ้นไฟพร้อมร้องตะโกนว่า ร้อน ร้อน อยู่นั่นเอง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตได้ทิ้งดุ้นไฟแล้ว และร้องบอกให้เธอทั้งหลายทิ้งเสียด้วย ดุ้นไฟที่กล่าวถึงนี้ คือกิเลสทั้งมวลอันเป็นสิ่งที่เผาลนสัตว์ให้เร่าร้อนกระวนกระวาย” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย อายนะภายในหกคือ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ อายตนะภายนอกหกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพพะ และธัมมารมณ์ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ คือราคะบ้าง โทษะบ้าง โมหะบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่พิจรนาเห็น รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ใดๆ ที่จะครอบงำรัดตรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะแห่งสรี ภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจรณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะใดๆ ที่สามารถครอบงำรัดตรึงใจของสตรีได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และ โผฏฐัพพะแห่งบุรุษ” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณนี้เรากล่าวว่าเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นพวงดอกไม้แห่งมาร เป็นกำลังพลแห่งมารภิกษุผู้ปรารถนา พึงสลัดเหยื่อมาร ขยี้พวงดอกไม้แห่งมารและทำลายพลกำลังแห่งมารเสีย ภิกษุทั้งหลาย เราเคยเยาะเย้ยกามคุณ ณ โพธิมมณฑลในวันที่เราตรัสรู้นั้นเองว่า ดูก่อนกาม เราได้เห็นต้นเค้าของเจ้าแล้วเจ้าเกิดความดำริคำนึงถึงนั่นเอง เราจักไม่ดำริถึงเจ้าอีก ด้วยประการฉนี้ กามเอย เจ้าจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้”
โทษของกามราคะจากเรื่องกุณาลชาดกปัญหาที่เผชิญอยู่เบื้องหน้าของทุกๆคน คือ ปัญหาเรื่องทุกข์และความดับทุกข์ มนุษย์และสัตว์ทั้งหลาย ถูกความทุกข์เสียบอยู่ทั้งทางกายและใจ อุปมาเหมือนผู้ถูกยิงด้วยศร ซึ่งกำซาบด้วยยาพิษแล้ว ญาติมิตรเห็นเข้าเกิดความกรุณา จึงพยายามช่วยถอนลูกศรนั้นแต่บุรุษผู้โง่เขลาบอกว่าต้องไปสืบให้ได้เสียก่อนว่าใครเป็นคนยิง และยิงมาจากทิศไหน ลูกศรทำด้วยอะไร แล้วจึงค่อยมาถอนลูกศรออก ภิกษุทั้งหลาย บุรุษนั้นต้องตายเสียก่อนเป็นแน่แท้ ความจริงเมื่อถูกยิงแล้วหน้าที่ของเขาคือควรพยายามถอนลูกศรออกเสียทันที ชำระแผลให้สะอาดแล้วใส่ยารักษาแผลให้หายสนิท หรืออีกอุปมาหนึ่งบุคคลที่ไฟไหม้อยู่บนศีษะ ควรรีบดับเสียโดยพลันไม่ควรเที่ยววิ่งหาคนผู้เอาไฟมาเผาศรีษะตน ทั้งๆที่ไฟลุกไหม้อยู่” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย สังสารวัฏฏ์นี้เต็มไปด้วยเพลิงทุกข์นานาประการโหมให้ร้อนอยู่โดยทั่ว สัตว์ทั้งหลายยังวิ่งอยู่ในกองทุกข์แห่งสังสารวัฏฏ์ ใครเล่าจะเป็นผู้ดับ ถ้าทุกคนไม่ช่วยกันดับทุกข์แห่งตน อุปมาเหมือนบุรุษสตรีผู้รวมกันอยู่ในบริเวณกว้างแห่งหนึ่งและต่างคนต่างถือดุ้นไฟลุกโพลงอยู่ทั่วแล้ว ต่างคนต่างก็วิ่งวนกันอยู่ในบริเวณนั้น และร้องกันว่าร้อน ร้อน ภิกษุทั้งหลาย คราวนั้นมีบุรุษผู้หนึ่งเป็นผู้ฉลาดร้องบอกให้ทุกๆ คนทิ้งดุ้นไฟในมือของตนเสีย ผู้ที่ยอมเชื่อทิ้งดุ้นไฟก็ได้ประสบความเย็น ส่วนผู้ไม่เชื่อ ก็ยังคงวิ่งถือดุ้นไฟพร้อมร้องตะโกนว่า ร้อน ร้อน อยู่นั่นเอง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตได้ทิ้งดุ้นไฟแล้ว และร้องบอกให้เธอทั้งหลายทิ้งเสียด้วย ดุ้นไฟที่กล่าวถึงนี้ คือกิเลสทั้งมวลอันเป็นสิ่งที่เผาลนสัตว์ให้เร่าร้อนกระวนกระวาย” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย อายนะภายในหกคือ ตา หู จมูก ลิ้น กายและใจ อายตนะภายนอกหกคือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐพพะ และธัมมารมณ์ เป็นของร้อน ร้อนเพราะไฟ คือราคะบ้าง โทษะบ้าง โมหะบ้าง ภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตไม่พิจรนาเห็น รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ ใดๆ ที่จะครอบงำรัดตรึงใจของบุรุษได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และโผฏฐัพพะแห่งสรี ภิกษุทั้งหลาย เราไม่พิจรณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะใดๆ ที่สามารถครอบงำรัดตรึงใจของสตรีได้มากเท่ารูป เสียง กลิ่น รส และ โผฏฐัพพะแห่งบุรุษ” “ดูกรภิกษุทั้งหลาย กามคุณนี้เรากล่าวว่าเป็นเหยื่อแห่งมาร เป็นพวงดอกไม้แห่งมาร เป็นกำลังพลแห่งมารภิกษุผู้ปรารถนา พึงสลัดเหยื่อมาร ขยี้พวงดอกไม้แห่งมารและทำลายพลกำลังแห่งมารเสีย ภิกษุทั้งหลาย เราเคยเยาะเย้ยกามคุณ ณ โพธิมมณฑลในวันที่เราตรัสรู้นั้นเองว่า ดูก่อนกาม เราได้เห็นต้นเค้าของเจ้าแล้วเจ้าเกิดความดำริคำนึงถึงนั่นเอง เราจักไม่ดำริถึงเจ้าอีก ด้วยประการฉนี้ กามเอย เจ้าจะเกิดขึ้นอีกไม่ได้”
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องอารมณ์ยั่วยวนให้เกิดความเมามี ๑๐ อย่างคือ ๑.สมบัติแห่งชาติสกุล ๒.อิสริยะ ๓.บริวาร ๔.ลาภ ๕.ยศ ๖.สรรเสริญ ๗.สุข ๘.เยาว์วัย ๙.ความหาโรคมิได้ ๑๐.ชีวิต
ธรรมทั้งหลายมีใจเป็นใหญ่มีใจเป็นหัวหน้าสำเร็จด้วยใจอารมณ์ยั่วยวนให้เกิดความเมามี ๑๐ อย่างคือ ๑.สมบัติแห่งชาติสกุล ๒.อิสริยะ ๓.บริวาร ๔.ลาภ ๕.ยศ ๖.สรรเสริญ ๗.สุข ๘.เยาว์วัย ๙.ความหาโรคมิได้ ๑๐.ชีวิต
ลูกพระพุทธเจ้า ศิษย์ตถาคต เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด
spirit of india เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหว เมื่อใดแล เหล่ามนุษย์ผู้ถือตนว่าเป็นสัตว์ประเสริฐ ได้เกิดความหวาดกลัว หรือว่า เกิดหัวใจสะดุ้งหวั่นไหวเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิดเมื่อนั้น ขอให้ท่าน จงเปล่งคำว่า “พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ” ไว้เถิด
ทางมนุษย์-เพลง เมื่อเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด เพราะคลายกำหนัด จึงหลุดพ้น เมื่อหลุดพ้นแล้ว ย่อมมีญาณหยั่งรู้ว่า หลุดพ้นแล้ว รู้ชัดว่า ชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำ ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้แลเรียกว่าอาทิตตปริยาย และธรรมปริยาย ฉะนี้แล ฯ
ทดสอบภาค base drive 6di15s 050เราจะใช้ Power Supply 12-20 VDC 1 Amps เพียงชุดเดียว จ่ายให้ ภาด Control ซึ่งก็คือ ยังคงใช้ MC3PHAC เหมือนเดิมไม่เปลี่ยน..IC เป็นเบอร์อื่น..และ..ภาค Drive ใช้ Logic Level N-Channel Mosfet STU418S หรือเบอร์อื่นก็ได้ครับ...STU418S มีจำหน่ายที่ ผมครับ ราคา ตัวละ 20 บาท...ครับ..หม้อแปลง..ใช้..แบบ..แกนเหล็ก..EI เพราะเป็น PWM ความถี่ต่ำ 2 Khz ไม่เกิน 5 Khz ครับ..
ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖
ผู้สละโลกเหมือนมารดาผู้ให้เกิด วิมุตติสูตร ว่าด้วยเหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้ ซึ่งเป็น เหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมบรรลุธรรม อันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการ เป็นไฉน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารีผู้อยู่ในฐานะ ครูบางรูปแสดงธรรมแก่ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เธอย่อมเข้าใจอรรถเข้าใจธรรม ในธรรมนั้นตามที่พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหมจารี ผู้อยู่ในฐานะครูแสดงแก่ เธอ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์ แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อใจเกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีการสงบแล้ว ย่อมได้ เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติ ข้อที่ ๑ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยว ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้นไป ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารี ผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ก็แต่ว่าภิกษุย่อม แสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เธอ ย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ที่ภิกษุแสดงธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๒. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ แม้ภิกษุก็ไม่ได้แสดง- ธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุสาธยายธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์. . . เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็น เหตุแห่งวิมุตติข้อ ๓. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ทำการสาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร ก็แต่ว่า ภิกษุย่อมตรึกตรองใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมในธรรมนั้น ตามที่ภิกษุตรึกตรองใคร่ครวญ ธรรมตามที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจ ธรรมย่อมเกิดปราโมทย์. . .เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๔. . . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง พระศาสดาหรือเพื่อนสพรหม- จารีผู้อยู่ในฐานะครูบางรูป ก็ไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุ ภิกษุก็ไม่ได้แสดงธรรม เท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาแก่ชนเหล่าอื่นโดยพิสดาร ภิกษุก็ไม่ได้ สาธยายธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยพิสดาร แม้ภิกษุก็ไม่ได้ ตรึกตรอง ใคร่ครวญธรรมเท่าที่ได้สดับ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาด้วยใจ ก็แต่ว่า สมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่ง เธอเล่าเรียนมาด้วยดี ทำไว้ในใจด้วยดี ทรงไว้ ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เธอย่อมเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรมใน ธรรมนั้น ตามที่เธอเล่าเรียนสมาธินิมิตอย่างใดอย่างหนึ่งมาด้วยดี ทำไว้ในใจ ด้วยดี ทรงไว้ด้วยดี แทงตลอดด้วยดี ด้วยปัญญา เมื่อเธอเข้าใจอรรถ เข้าใจธรรม ย่อมเกิดปราโมทย์ เมื่อเกิดปราโมทย์แล้วย่อมเกิดปีติ เมื่อมีใจ เกิดปีติ กายย่อมสงบ ผู้มีกายสงบแล้วย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้เป็นเหตุแห่งวิมุตติข้อที่ ๕ ซึ่งเป็นเหตุให้จิตของภิกษุ ผู้ไม่ประมาทมีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้นย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุธรรมอันเกษมจาก โยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุแห่งวิมุตติ ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ จิตของภิกษุผู้ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจเด็ดเดี่ยวอยู่ ที่ยังไม่หลุดพ้น ย่อมหลุดพ้น อาสวะที่ยังไม่สิ้น ย่อมถึงความสิ้นไป หรือเธอย่อมได้บรรลุ ธรรมอันเกษมจากโยคะชั้นเยี่ยม ที่ยังไม่ได้บรรลุ. จบวิมุตติสูตรที่ ๖
วันเสาร์ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขภิกษุ ผู้มีฉันทะเกิดแล้ว ในพระนิพพานอันใครๆ บอกไม่ได้ พึงเป็นผู้อันใจถูกต้องแล้วก็ดี ผู้มีจิต ไม่เกี่ยวเกาะในกามทั้งหลายก็ดี ท่านเรียกว่า ผู้มีกระแสในเบื้องบน
ผู้สละโลก เรวัตกุมารกับโลกียสุขภิกษุ ผู้มีฉันทะเกิดแล้ว ในพระนิพพานอันใครๆ บอกไม่ได้ พึงเป็นผู้อันใจถูกต้องแล้วก็ดี ผู้มีจิต ไม่เกี่ยวเกาะในกามทั้งหลายก็ดี ท่านเรียกว่า ผู้มีกระแสในเบื้องบน
เรื่องโลกเรื่องจิตและจักรวาล..เทวดาผู้มีหน้าที่ป่าวประกาศเหล่านี้ มีกำหนดเวลาร้อยปี ลงมาบอกยังโลกมนุษย์หนึ่งครั้ง เมื่อเหล่ามนุษย์และเทพยดาได้ยินข้าวก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน รีบบำเพ็ญบุญกุศลประการต่าง ๆ โดยเฉพาะบำเพ็ญภาวนาเจริญพรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ให้ได้ฌานสมาบัติ แล้วพากันไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่สูงกว่าที่จะถูกทำลาย แม้แต่สัตว์ในอบายภูมิทั้งปวง เมื่อมีอกุศลเบาบางลง ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบบำเพ็ญบุญกุศลดังกล่าวแล้ว พากันไปเกิดในพรหมโลกทำนองเดียวกัน ( ยกเว้นพวกที่มีความเห็นผิดแน่นแฟ้นแก้ไขตนเองไม่ได้ จะต้องอยู่ในอบายภูมิ พวกนี้จะตายแล้วไปเกิดในอบายภูมิของจักรวาลอื่นที่ยังไม่พินาศ) แต่ตามความเป็นจริงแล้ว คนที่เป็นมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นผิด มักจะเป็นเฉพาะเวลามีชีวิตเป็นมนุษย์อยู่ เมื่อตายไปอยู่ในนรก ถูกลงโทษทุกข์ทรมาน ย่อมทราบแจ่มแจ้งถึงความเห็นผิดของตน รู้สำนึก ละทิฏฐิเลวทรามเหล่านั้นได้ เมื่อพ้นโทษได้เกิดเป็นมนุษย์ ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบเร่งบำเพ็ญฌาน เพื่อไปเกิดในพรหมโลก เมื่อโลกเริ่มพินาศ จะไม่มีฝนตกเลยเป็นเวลาช้านาน ต้นไม้น้อยใหญ่พากันเหี่ยวแห้งล้มตาย ล่วงเวลาต่อมา เมื่อดวงอาทิตย์โคจรลับฟ้าไปแล้ว ควรจะเป็นเวลากลางคืน แต่กลับไม่มี เพราะจะบังเกิดดวงอาทิตย์ใหม่ขึ้นมาอีกดวงหนึ่ง ในจักรวาลเวลานั้นจึงไม่มีกลางคืนอีกต่อไป และดวงอาทิตย์ดวงใหม่นี้ ไม่มีสุริยเทพบุตรอยู่ประจำเหมือนดวงอาทิตย์ดวงเดิม จึงมีความร้อนรุนแรงกว่า ( ในหลักวิทยาศาสตร์ ดวงอาทิตย์ดวงใหม่อาจเป็นดาวดวงอื่นที่ยังมีความร้อนลุกเป็นไฟอยู่ โคจรเข้ามาในจักรวาลที่กำลังเริ่มพินาศ) ส่วนเหล่าสุริยเทพบุตรในดวงอาทิตย์ดวงเดิม ก็เร่งรีบทำความเพียร เจริญภาวนาให้ได้ฌาน หนีไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นสูงกันทั้งหมด เมื่อมีดวงอาทิตย์เป็นสองดวงดังนี้แล้ว ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ท้องฟ้าจึงไม่มีเมฆหมอกใด ๆ เหลืออยู่เลย ในชมพูทวีปยังเหลือแม่น้ำใหญ่ที่พอมีน้ำอยู่ ๕ สาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหิ และสรภู นอกนั้นเหือดแห้งหมด คนทั้งหลายไม่มีชีวิตเหลืออยู่อีก ต่างไปบังเกิดในพรหมโลกกันหมด ล่วงเวลาต่อมาอีกช้านาน ดวงอาทิตย์ดวงที่ ๓ จึงบังเกิดขึ้น แม่น้ำทั้ง ๕ แห้งหมด เมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๔ บังเกิด สระใหญ่บริเวณป่าหิมพานต์ ( แถบภูเขาหิมาลัยซึ่งมีน้ำละลายจากหิมะขังอยู่แห้งทั้งหมด น้ำในมหาสมุทรของจักรวาลเริ่มแห้งงวดลงเป็นลำดับ พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๕ บังเกิด น้ำในมหาสมุทรแห้งหมด ไม่เหลือแม้องคุลี พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๖ บังเกิด แผ่นดินภูเขาทั้งหลายก็สิ้นธาตุน้ำ อันเป็นยางเหนียวเกาะกุมก็หลุดกระจาย กลายเป็นฝุ่นเป็นควันคลุ้งตลบ ดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเปรียบไว้ว่า เหมือนช่างปั้นหม้อเรียงภาชนะดินดิบใส่เข้าเตาเผา พอจุดไฟเผาก็เกิดควันฟุ้งตลบไปทั่วเตา ถ้าจักรวาลจะพินาศพร้อมกันทั้งแสนโกฏิจักรวาล ฝุ่นควันก็จะฟุ้งไปทั่วทั้งแสนโกฏิจักรวาล เป็นอยู่ดังนี้ยาวนานนับเวลาไม่ได้ ครั้นแล้วเมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๗ บังเกิด โลกธาตุทั้งแสนโกฏิจักรวาลก็รุ่งโจรน์โชตินาการลุกเป็นไฟขึ้นพร้อมกัน มีเสียงดังสนั่นด้วยการระเบิดกึกก้องกัมปนาทน่าสะพรึงกลัว ยอดเขาพระสุเมรุก็ถอดถอนหลุดลุ่ยกระจักกระจายสูญหายไปในอากาศ เปลวไฟประลัยกัลป์เกิดที่มนุษยโลกก่อน แล้วลุกลามไปยังเทวโลกชั้น จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตตี หมดทั้ง ๖ ชั้น แล้วต่อขึ้นไปยังพรหมโลกชั้นต้น ปฐมฌานภูมิ ๓ คือ พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา แล้วหยุดอยู่เพียงนั้น ถ้าครั้งใดจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ จะพินาศไปถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิ ถ้าถูกทำลายด้วยลม ก็พินาศเพิ่มไปจนถึงพรหมโลกตติยฌานภูมิ พรหมภูมิที่เหนือจากตติยฌานภูมิ ไม่มีสิ่งใดทำลายได้ ไม่ว่าอยู่ในจักรวาลใด เว้นแต่ต้องจุติตามอายุขัย คือ ๕๐๐, ๑, ๐๐๐, ๒, ๐๐๐ ไปจนถึง ๘๔, ๐๐๐ มหากัป ( เป็นอายุของพรหมตั้งแต่ชั้นเวหัปผลา จนถึงอรูปพรหมชั้นสุดท้าย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ไฟประลัยกัลป์ที่กล่าวถึงนี้ไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน ไม่มีสิ่งใดเหลืออยู่เลยแม้เพียงอณูเดียว เมื่อหมดสิ้นเชื้อเพลิงแล้ว ไฟก็ดับเอง เหลือแต่อากาศว่างเปล่าโล่งตลอดถึงกันหมด มีสภาพดังนี้ไปนานแสนนาน ถ้าจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ ไม่มีดวงอาทิตย์ดวงอื่น ๆ เกิดขึ้น แต่มีฝนตกแทนฝนมาจากเมฆน้ำกรด ( เมฆคงรวมสารเคมีอันตรายไว้) ตกทีละน้อยแล้วมากขึ้น ๆ จนเต็มไปทั้งจักรวาล และแสนโกฏิจักรวาล น้ำกรดจะละลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือ โดยมีลมพัดห่อหุ้มไม่ให้ไหลไปทางอื่น ให้ไหลสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนท่วมถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิขึ้นไปจรดชั้นสุภกิณหาจึงหยุด เมื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือแม้แต่อณูเดียวแล้ว น้ำกรดนั้นจึงยุบแห้งอันตรธานไป อากาศเบื้องบนกับเบื้องล่างก็ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันโล่งตลอด.
สรรญเสริญพระพุทธเจ้า วัดไทยไวศาลี..เทวดาผู้มีหน้าที่ป่าวประกาศเหล่านี้ มีกำหนดเวลาร้อยปี ลงมาบอกยังโลกมนุษย์หนึ่งครั้ง เมื่อเหล่ามนุษย์และเทพยดาได้ยินข้าวก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน รีบบำเพ็ญบุญกุศลประการต่าง ๆ โดยเฉพาะบำเพ็ญภาวนาเจริญพรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ให้ได้ฌานสมาบัติ แล้วพากันไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่สูงกว่าที่จะถูกทำลาย แม้แต่สัตว์ในอบายภูมิทั้งปวง เมื่อมีอกุศลเบาบางลง ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบบำเพ็ญบุญกุศลดังกล่าวแล้ว พากันไปเกิดในพรหมโลกทำนองเดียวกัน ( ยกเว้นพวกที่มีความเห็นผิดแน่นแฟ้นแก้ไขตนเองไม่ได้ จะต้องอยู่ในอบายภูมิ พวกนี้จะตายแล้วไปเกิดในอบายภูมิของจักรวาลอื่นที่ยังไม่พินาศ) แต่ตามความเป็นจริงแล้ว คนที่เป็นมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นผิด มักจะเป็นเฉพาะเวลามีชีวิตเป็นมนุษย์อยู่ เมื่อตายไปอยู่ในนรก ถูกลงโทษทุกข์ทรมาน ย่อมทราบแจ่มแจ้งถึงความเห็นผิดของตน รู้สำนึก ละทิฏฐิเลวทรามเหล่านั้นได้ เมื่อพ้นโทษได้เกิดเป็นมนุษย์ ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบเร่งบำเพ็ญฌาน เพื่อไปเกิดในพรหมโลก เมื่อโลกเริ่มพินาศ จะไม่มีฝนตกเลยเป็นเวลาช้านาน ต้นไม้น้อยใหญ่พากันเหี่ยวแห้งล้มตาย ล่วงเวลาต่อมา เมื่อดวงอาทิตย์โคจรลับฟ้าไปแล้ว ควรจะเป็นเวลากลางคืน แต่กลับไม่มี เพราะจะบังเกิดดวงอาทิตย์ใหม่ขึ้นมาอีกดวงหนึ่ง ในจักรวาลเวลานั้นจึงไม่มีกลางคืนอีกต่อไป และดวงอาทิตย์ดวงใหม่นี้ ไม่มีสุริยเทพบุตรอยู่ประจำเหมือนดวงอาทิตย์ดวงเดิม จึงมีความร้อนรุนแรงกว่า ( ในหลักวิทยาศาสตร์ ดวงอาทิตย์ดวงใหม่อาจเป็นดาวดวงอื่นที่ยังมีความร้อนลุกเป็นไฟอยู่ โคจรเข้ามาในจักรวาลที่กำลังเริ่มพินาศ) ส่วนเหล่าสุริยเทพบุตรในดวงอาทิตย์ดวงเดิม ก็เร่งรีบทำความเพียร เจริญภาวนาให้ได้ฌาน หนีไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นสูงกันทั้งหมด เมื่อมีดวงอาทิตย์เป็นสองดวงดังนี้แล้ว ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ท้องฟ้าจึงไม่มีเมฆหมอกใด ๆ เหลืออยู่เลย ในชมพูทวีปยังเหลือแม่น้ำใหญ่ที่พอมีน้ำอยู่ ๕ สาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหิ และสรภู นอกนั้นเหือดแห้งหมด คนทั้งหลายไม่มีชีวิตเหลืออยู่อีก ต่างไปบังเกิดในพรหมโลกกันหมด ล่วงเวลาต่อมาอีกช้านาน ดวงอาทิตย์ดวงที่ ๓ จึงบังเกิดขึ้น แม่น้ำทั้ง ๕ แห้งหมด เมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๔ บังเกิด สระใหญ่บริเวณป่าหิมพานต์ ( แถบภูเขาหิมาลัยซึ่งมีน้ำละลายจากหิมะขังอยู่แห้งทั้งหมด น้ำในมหาสมุทรของจักรวาลเริ่มแห้งงวดลงเป็นลำดับ พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๕ บังเกิด น้ำในมหาสมุทรแห้งหมด ไม่เหลือแม้องคุลี พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๖ บังเกิด แผ่นดินภูเขาทั้งหลายก็สิ้นธาตุน้ำ อันเป็นยางเหนียวเกาะกุมก็หลุดกระจาย กลายเป็นฝุ่นเป็นควันคลุ้งตลบ ดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเปรียบไว้ว่า เหมือนช่างปั้นหม้อเรียงภาชนะดินดิบใส่เข้าเตาเผา พอจุดไฟเผาก็เกิดควันฟุ้งตลบไปทั่วเตา ถ้าจักรวาลจะพินาศพร้อมกันทั้งแสนโกฏิจักรวาล ฝุ่นควันก็จะฟุ้งไปทั่วทั้งแสนโกฏิจักรวาล เป็นอยู่ดังนี้ยาวนานนับเวลาไม่ได้ ครั้นแล้วเมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๗ บังเกิด โลกธาตุทั้งแสนโกฏิจักรวาลก็รุ่งโจรน์โชตินาการลุกเป็นไฟขึ้นพร้อมกัน มีเสียงดังสนั่นด้วยการระเบิดกึกก้องกัมปนาทน่าสะพรึงกลัว ยอดเขาพระสุเมรุก็ถอดถอนหลุดลุ่ยกระจักกระจายสูญหายไปในอากาศ เปลวไฟประลัยกัลป์เกิดที่มนุษยโลกก่อน แล้วลุกลามไปยังเทวโลกชั้น จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตตี หมดทั้ง ๖ ชั้น แล้วต่อขึ้นไปยังพรหมโลกชั้นต้น ปฐมฌานภูมิ ๓ คือ พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา แล้วหยุดอยู่เพียงนั้น ถ้าครั้งใดจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ จะพินาศไปถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิ ถ้าถูกทำลายด้วยลม ก็พินาศเพิ่มไปจนถึงพรหมโลกตติยฌานภูมิ พรหมภูมิที่เหนือจากตติยฌานภูมิ ไม่มีสิ่งใดทำลายได้ ไม่ว่าอยู่ในจักรวาลใด เว้นแต่ต้องจุติตามอายุขัย คือ ๕๐๐, ๑, ๐๐๐, ๒, ๐๐๐ ไปจนถึง ๘๔, ๐๐๐ มหากัป ( เป็นอายุของพรหมตั้งแต่ชั้นเวหัปผลา จนถึงอรูปพรหมชั้นสุดท้าย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ไฟประลัยกัลป์ที่กล่าวถึงนี้ไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน ไม่มีสิ่งใดเหลืออยู่เลยแม้เพียงอณูเดียว เมื่อหมดสิ้นเชื้อเพลิงแล้ว ไฟก็ดับเอง เหลือแต่อากาศว่างเปล่าโล่งตลอดถึงกันหมด มีสภาพดังนี้ไปนานแสนนาน ถ้าจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ ไม่มีดวงอาทิตย์ดวงอื่น ๆ เกิดขึ้น แต่มีฝนตกแทนฝนมาจากเมฆน้ำกรด ( เมฆคงรวมสารเคมีอันตรายไว้) ตกทีละน้อยแล้วมากขึ้น ๆ จนเต็มไปทั้งจักรวาล และแสนโกฏิจักรวาล น้ำกรดจะละลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือ โดยมีลมพัดห่อหุ้มไม่ให้ไหลไปทางอื่น ให้ไหลสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนท่วมถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิขึ้นไปจรดชั้นสุภกิณหาจึงหยุด เมื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือแม้แต่อณูเดียวแล้ว น้ำกรดนั้นจึงยุบแห้งอันตรธานไป อากาศเบื้องบนกับเบื้องล่างก็ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันโล่งตลอด.
สรรญเสริญพระพุทธเจ้า วัดไทยไวศาลี..เทวดาผู้มีหน้าที่ป่าวประกาศเหล่านี้ มีกำหนดเวลาร้อยปี ลงมาบอกยังโลกมนุษย์หนึ่งครั้ง เมื่อเหล่ามนุษย์และเทพยดาได้ยินข้าวก็บังเกิดความสังเวชสลดใจ เห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน รีบบำเพ็ญบุญกุศลประการต่าง ๆ โดยเฉพาะบำเพ็ญภาวนาเจริญพรหมวิหาร เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ให้ได้ฌานสมาบัติ แล้วพากันไปเกิดในพรหมโลกชั้นที่สูงกว่าที่จะถูกทำลาย แม้แต่สัตว์ในอบายภูมิทั้งปวง เมื่อมีอกุศลเบาบางลง ก็ได้มาเกิดเป็นมนุษย์ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบบำเพ็ญบุญกุศลดังกล่าวแล้ว พากันไปเกิดในพรหมโลกทำนองเดียวกัน ( ยกเว้นพวกที่มีความเห็นผิดแน่นแฟ้นแก้ไขตนเองไม่ได้ จะต้องอยู่ในอบายภูมิ พวกนี้จะตายแล้วไปเกิดในอบายภูมิของจักรวาลอื่นที่ยังไม่พินาศ) แต่ตามความเป็นจริงแล้ว คนที่เป็นมิจฉาทิฏฐิมีความเห็นผิด มักจะเป็นเฉพาะเวลามีชีวิตเป็นมนุษย์อยู่ เมื่อตายไปอยู่ในนรก ถูกลงโทษทุกข์ทรมาน ย่อมทราบแจ่มแจ้งถึงความเห็นผิดของตน รู้สำนึก ละทิฏฐิเลวทรามเหล่านั้นได้ เมื่อพ้นโทษได้เกิดเป็นมนุษย์ ทราบข่าวเรื่องโลกพินาศ ก็รีบเร่งบำเพ็ญฌาน เพื่อไปเกิดในพรหมโลก เมื่อโลกเริ่มพินาศ จะไม่มีฝนตกเลยเป็นเวลาช้านาน ต้นไม้น้อยใหญ่พากันเหี่ยวแห้งล้มตาย ล่วงเวลาต่อมา เมื่อดวงอาทิตย์โคจรลับฟ้าไปแล้ว ควรจะเป็นเวลากลางคืน แต่กลับไม่มี เพราะจะบังเกิดดวงอาทิตย์ใหม่ขึ้นมาอีกดวงหนึ่ง ในจักรวาลเวลานั้นจึงไม่มีกลางคืนอีกต่อไป และดวงอาทิตย์ดวงใหม่นี้ ไม่มีสุริยเทพบุตรอยู่ประจำเหมือนดวงอาทิตย์ดวงเดิม จึงมีความร้อนรุนแรงกว่า ( ในหลักวิทยาศาสตร์ ดวงอาทิตย์ดวงใหม่อาจเป็นดาวดวงอื่นที่ยังมีความร้อนลุกเป็นไฟอยู่ โคจรเข้ามาในจักรวาลที่กำลังเริ่มพินาศ) ส่วนเหล่าสุริยเทพบุตรในดวงอาทิตย์ดวงเดิม ก็เร่งรีบทำความเพียร เจริญภาวนาให้ได้ฌาน หนีไปบังเกิดในพรหมโลกชั้นสูงกันทั้งหมด เมื่อมีดวงอาทิตย์เป็นสองดวงดังนี้แล้ว ความร้อนเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัว ท้องฟ้าจึงไม่มีเมฆหมอกใด ๆ เหลืออยู่เลย ในชมพูทวีปยังเหลือแม่น้ำใหญ่ที่พอมีน้ำอยู่ ๕ สาย คือ แม่น้ำคงคา ยมุนา อจิรวดี มหิ และสรภู นอกนั้นเหือดแห้งหมด คนทั้งหลายไม่มีชีวิตเหลืออยู่อีก ต่างไปบังเกิดในพรหมโลกกันหมด ล่วงเวลาต่อมาอีกช้านาน ดวงอาทิตย์ดวงที่ ๓ จึงบังเกิดขึ้น แม่น้ำทั้ง ๕ แห้งหมด เมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๔ บังเกิด สระใหญ่บริเวณป่าหิมพานต์ ( แถบภูเขาหิมาลัยซึ่งมีน้ำละลายจากหิมะขังอยู่แห้งทั้งหมด น้ำในมหาสมุทรของจักรวาลเริ่มแห้งงวดลงเป็นลำดับ พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๕ บังเกิด น้ำในมหาสมุทรแห้งหมด ไม่เหลือแม้องคุลี พอดวงอาทิตย์ดวงที่ ๖ บังเกิด แผ่นดินภูเขาทั้งหลายก็สิ้นธาตุน้ำ อันเป็นยางเหนียวเกาะกุมก็หลุดกระจาย กลายเป็นฝุ่นเป็นควันคลุ้งตลบ ดังที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเปรียบไว้ว่า เหมือนช่างปั้นหม้อเรียงภาชนะดินดิบใส่เข้าเตาเผา พอจุดไฟเผาก็เกิดควันฟุ้งตลบไปทั่วเตา ถ้าจักรวาลจะพินาศพร้อมกันทั้งแสนโกฏิจักรวาล ฝุ่นควันก็จะฟุ้งไปทั่วทั้งแสนโกฏิจักรวาล เป็นอยู่ดังนี้ยาวนานนับเวลาไม่ได้ ครั้นแล้วเมื่อดวงอาทิตย์ดวงที่ ๗ บังเกิด โลกธาตุทั้งแสนโกฏิจักรวาลก็รุ่งโจรน์โชตินาการลุกเป็นไฟขึ้นพร้อมกัน มีเสียงดังสนั่นด้วยการระเบิดกึกก้องกัมปนาทน่าสะพรึงกลัว ยอดเขาพระสุเมรุก็ถอดถอนหลุดลุ่ยกระจักกระจายสูญหายไปในอากาศ เปลวไฟประลัยกัลป์เกิดที่มนุษยโลกก่อน แล้วลุกลามไปยังเทวโลกชั้น จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส์ ยามา ดุสิต นิมมานรดี ปรนิมมิตวสวัตตี หมดทั้ง ๖ ชั้น แล้วต่อขึ้นไปยังพรหมโลกชั้นต้น ปฐมฌานภูมิ ๓ คือ พรหมปาริสัชชา พรหมปุโรหิตา มหาพรหมา แล้วหยุดอยู่เพียงนั้น ถ้าครั้งใดจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ จะพินาศไปถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิ ถ้าถูกทำลายด้วยลม ก็พินาศเพิ่มไปจนถึงพรหมโลกตติยฌานภูมิ พรหมภูมิที่เหนือจากตติยฌานภูมิ ไม่มีสิ่งใดทำลายได้ ไม่ว่าอยู่ในจักรวาลใด เว้นแต่ต้องจุติตามอายุขัย คือ ๕๐๐, ๑, ๐๐๐, ๒, ๐๐๐ ไปจนถึง ๘๔, ๐๐๐ มหากัป ( เป็นอายุของพรหมตั้งแต่ชั้นเวหัปผลา จนถึงอรูปพรหมชั้นสุดท้าย คือ เนวสัญญานาสัญญายตนะ) ไฟประลัยกัลป์ที่กล่าวถึงนี้ไหม้อยู่เป็นเวลาช้านาน ไม่มีสิ่งใดเหลืออยู่เลยแม้เพียงอณูเดียว เมื่อหมดสิ้นเชื้อเพลิงแล้ว ไฟก็ดับเอง เหลือแต่อากาศว่างเปล่าโล่งตลอดถึงกันหมด มีสภาพดังนี้ไปนานแสนนาน ถ้าจักรวาลถูกทำลายด้วยน้ำ ไม่มีดวงอาทิตย์ดวงอื่น ๆ เกิดขึ้น แต่มีฝนตกแทนฝนมาจากเมฆน้ำกรด ( เมฆคงรวมสารเคมีอันตรายไว้) ตกทีละน้อยแล้วมากขึ้น ๆ จนเต็มไปทั้งจักรวาล และแสนโกฏิจักรวาล น้ำกรดจะละลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือ โดยมีลมพัดห่อหุ้มไม่ให้ไหลไปทางอื่น ให้ไหลสูงขึ้นไปเรื่อย ๆ จนท่วมถึงพรหมโลกทุติยฌานภูมิขึ้นไปจรดชั้นสุภกิณหาจึงหยุด เมื่อทำลายทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีเหลือแม้แต่อณูเดียวแล้ว น้ำกรดนั้นจึงยุบแห้งอันตรธานไป อากาศเบื้องบนกับเบื้องล่างก็ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันโล่งตลอด.
ขอนอบน้อมพระพุทธเจ้าทุกพระองค์ด้วยเครียรเกล้าพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใดแล ผู้ทรงขจัดเสียซึ่งความมืดมิดภายในจิตใจที่เร่าร้อนของปวงประชา มวลหมู่สรรพสัตว์ทั้งหลาย ได้พบหนทางแสงสว่าง เพียงแค่ได้สัมผัสเส้นใยแห่งรัศมีที่แผ่ออกมาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ด้วยอานุภาพของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ขอพระสัทธรรมอันเป็นที่พึ่งพิง ขออริยสัจจ์คือความจริง จงเจริญรุ่งเรืองตลอดกาลนาน ขอมวลหมู่มนุษย์จงเห็นอกเห็นใจเกื้อกูลเอ็นดูกันเถิด ขอหมู่มนุษย์จงทนุถนอมความรัก ความเยื่อใยของมนุษย์ด้วยกัน อยู่อย่างร่มเย็นสันติสุขเถิด ขอบทแห่งมนต์อันประเสริฐ ของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าของชาวภารตะ (อินเดีย) จงกระหึ่มกังวานไปในทุกครัวเรือน เพื่อนมนุษย์เอ๋ย ขอให้ท่าน จงหมั่นเปล่งคำว่า "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ" ไว้บ่อย ๆ เถิด "พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ” แสดงน้อยลง
วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557
PS21244 ใช้ได้กับมอเตอร์สามเฟสหนึ่งแรงม้าครับTM52A หมดแล้ว ครับ..PS21244 มีสินค้าประมาณ 1000 ตัวครับ ราคา ตัวละ 400 บาท ครับ ขอบคุุณ...มากครับ...
"Budunge Ama Darme" Song By. Mohideen Beg เหตุที่ธนิยะท้าทายฝนให้ตกด้วยคำเป็นต้นว่า “ปกฺโกทโน ข้าวสุกเราหุงสุกแล้ว ทุทฺธขีโร นมเราก็รีดไว้แล้ว เราอยู่ริมแม่น้ำเสมอ กระท่อมเรามุงดีแล้ว ไฟเราก่อไว้แล้ว ฝนจะตกก็ตกเถิด.” พระองค์ตรัสว่า “ อกฺโกธโน เราไม่โกรธ วิคตขีโล ตะปูที่ตรึงใจของเราก็ไปปราศจากแล้ว เราอยู่ริมแม่น้ำเพียงคืนเดียว กระท่อมเราก็เปิดหลังคาเสียแล้ว ไฟก็ดับ ฝนจะตกก็ตกเถิด.” นายธนิยะกล่าวต่อไปว่า “ เหลือบยุงก็ไม่มี โคของเราก็ไปในที่ชุ่มชื่น มีหญ้างาม พึงทนต่อฝนได้ ฝนจะตกก็ตกเถิด.” พระองค์จึงตรัสต่อไปว่า “ แพของเราก็ผูกเตรียมไว้ดีแล้ว แต่เราข้ามห้วงน้ำถึงฝั่งเสียแล้ว ความต้องการด้วยแพนั้นย่อมไม่มี ฝนจะตกก็ตกเถิด.”
ก่อนจะสวดปาฎิโมกข์คาถาโอวาทปาติโมกข์และคำแปล คาถาต้นฉบับ คำแปล ๏ ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺติ พุทฺธา น หิ ปพฺพชิโต ปรูปฆาตี สมโณ โหติ ปรํ วิเหฐยนฺโตฯ ๏ ขันติ คือความอดกลั้น เป็นตบะอย่างยิ่ง พระพุทธเจ้าทั้งหลายกล่าวว่า นิพพานเป็นบรมธรรม ผู้ทำร้ายคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นบรรพชิต ผู้เบียดเบียนคนอื่น ไม่ชื่อว่าเป็นสมณะ ๏ สพฺพปาปสฺส อกรณํ กุสลสฺสูปสมฺปทา สจิตฺตปริโยทปนํ เอตํ พุทฺธานสาสนํฯ ๏ การไม่ทำความชั่วทั้งปวง 1 การบำเพ็ญแต่ความดี 1 การทำจิตของตนให้ผ่องใส 1 นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ๏ อนูปวาโท อนูปฆาโต ปาติโมกฺเข จ สํวโร มตฺตญฺญุตา จ ภตฺตสฺมึ ปนฺตญฺจ สยนาสนํ อธิจิตฺเต จ อาโยโค เอตํ พุทฺธาน สาสนํฯ ๏ การไม่กล่าวร้าย 1 การไม่ทำร้าย 1 ความสำรวมในปาติโมกข์ 1 ความเป็นผู้รู้จักประมาณในอาหาร 1 ที่นั่งนอนอันสงัด 1 ความเพียรในอธิจิต 1 นี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2557
ถ้าไม่ทำกรรมฐานอย่างหนึ่งขึ้นมาก่อน จิตจะไหลตลอดเวลาจนดูไม่ทันการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
วิธีฝึกจิตให้ตั้งมั่นเป็นผู้รู้ผู้ดูการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
รู้เฉยๆจะช่วยเผากิเลสได้อย่างไรการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ...การหัดรู้สภาวะทุกวันๆ มีประโยชน์มาก มันจะทำให้เรามีกำลัง ... หน้าที่เราไม่ใช่ไปหน่วงอารมณ์ให้ช้าลง หน้าที่เราต้องฝึกสติให้เร็วขึ้น เร็ว เร็วมากขึ้นๆ จนใจไหว...แว้บ.รู้ทัน.. สติ คือ. ... ถิรสัญญาคือการที่จิตจำสภาวะธรรมได้แม่น หน้าที่เราต้องหัดรู้สภาวะไปเรื่อยๆ นะ ความโกรธเกิดขึ้นก็รู้ ความโลภเกิดก็รู้ ... ไม่ว่าเราจะเห็นสภาวะอะไรเกิดขึ้นเราจะไม่เข้าไปแทรกแซง เช่นเราเห็นความโกรธเกิดขึ้น เราไม่ต้องพยายามทำให้หายโกรธ หน้าที่ของเราคือก็แค่รู้ไปว่าจิตมันโกรธนะ ... วิธีปฏิบัติที่จะทำให้เราพ้นจากทุกข์ทางใจนั้น คือหัดรู้ใจของเรา เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
การปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ... เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
วิธีพาจิตกลับบ้านการปฏิบัติธรรมเจริญสติ เพื่อให้รู้ทันจิต โดยหลวงพ่อปราโมทย์ เทปนี้สําคัญมากสําหรับการปฏิบัติเพื่อดูจิตครับ และบอกถึงการแก้ไขในการติดเพ่งด้วยครับ... เราดูกายดูใจเขาทำงานของเขาไป เราดูกายดูใจเขาปรุงแต่งของเขาไป แล้วเราไม่ต้องทำอะไร รู้ลูกเดียว* รู้แล้ววันหนึ่งแล้วจะเข้าใจเลย กายกับใจเป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง เรียก สังขตธรรม เป็นธรรมชาติที่ปรุงแต่ง ไม่ใช่ไปฝึกให้มันไม่ปรุงแต่ง แต่เมื่อมันปรุงแต่งแล้วเราไม่หลงยินดียินร้าย เราไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง ตัวนี้ต่างหากล่ะ สบายเลยคราวนี้ จิตใจนะไม่ต้องทำงาน จิตใจว่างงาน ที่ว่าสิ้นชาติสิ้นภพจบพรหมจรรย์ สิ้นชาติคือจิตไม่ไปหยิบฉวยรูปธรรมนามธรรมใดๆขึ้นมายึดถือไว้ให้เป็นภาระหนักหน่วงถ่วงจิตใจอีกต่อไป สิ้นภพคือสิ้นการทำงานทางใจ สิ้นชาติ สิ้นภพ จบพรหมจรรย์ คือไม่ต้องมีการศึกษาเรียนรู้การปฏิบัติธรรมใดๆอีกแล้วนะ งานทำเสร็จแล้ว เพราะใจปล่อยวางไปหมดแล้ว ใจพ้นจากการปรุงแต่ง พ้นจากการทำงานแล้ว เนี่ย พ้นไปได้อย่างนี้นะ เข้าถึงสันติสุขที่แท้จริง มีแต่ความสุขล้วนๆ ทีนี้จะพ้นได้ก็เพราะมีสติขึ้นมา รู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจไป โดยที่ไม่ไปช่วยมันปรุงแต่ง พอเรารู้ทันการปรุงแต่งของกายของใจนะ ใจมันก็จะปรุงสุข ปรุงทุกข์ ปรุงดี ปรุงชั่วอะไรขึ้นมา ก็แล้วแต่มัน ไม่ห้ามมันหรอก ไม่ใช่ว่าจะต้องดีด้วยซ้ำไป ไม่ใช่ฝึกเอาดีนะ ไม่ใช่ฝึกเอาดี ไม่ใช่ฝึกเอาสุข ไม่ได้ฝึกเอาสงบ แต่ฝึกเพื่อเห็นเลยว่า จิตใจมันก็ทำงานของมันไป ในใจเรารู้ทันแล้วก็เป็นกลาง ไม่ไปแตะต้องแล้วก็ไม่ไปทำอะไรมัน
หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙ นิพพิทาญาณ นิพพิทา หมายถึง ความหน่ายที่เกิดขึ้นจากปัญญาพิจารณาเห็นความจริง จึงมีความเบื่อหน่ายในกองทุกข์, ความหน่ายจากการไปรู้เห็นความจริงในการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ หรือความเบื่อหน่ายในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์ ที่ไม่รู้วันจบ,ไม่รู้วันสิ้น จึงเป็นความหน่ายที่ประกอบด้วยปัญญา จึงย่อมแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับความเบื่อหน่ายโดยทั่วๆไปหรือในทางโลกหรืออย่างโลกิยะ ที่ย่อมประกอบด้วยตัณหา ดังในพจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่านพระเดชพระคุณเจ้า พระพรหมคุณาภรณ์ (พระธรรมปิฎก) ได้แสดงถึงความเบื่อหน่ายในทางโลกหรือโลกิยะไว้ดังนี้ว่า "ถ้าหญิงชายอยู่กินกันเกิดหน่ายกัน เพราะความประพฤติไม่ดีต่อกัน หรือหน่ายในมรรยาทของกันและกัน อย่างนี้ไม่จัดเป็นนิพพิทา" ดังนั้น ความเบื่อหน่ายในทางโลก จึงมีความหมายถึง ความเบื่อหน่ายหรือหน่ายกัน เหตุพราะมีกิเลสตัณหามาพัวพัน อย่างเช่น หญิงชายเกิดหน่ายกันดังข้างต้น ก็เกิดมาแต่มีกิเลสตัณหาอื่นๆเข้ามาแทรกนั่นเอง ไม่ได้เกิดแต่ปัญญาไปเห็นความจริง ดังเช่น เกิดการหน่ายขึ้นเพราะไปมีคนรักใหม่ หรือมีตัณหาหรือกิเลสใดๆขึ้น เช่น ไม่ชอบไม่อยากให้คู่หรือคนรักของตนเป็นอย่างนั้น,เป็นอย่างนี้ หรืออยากให้เป็นดังนั้น,เป็นดังนี้ เมื่อไม่เป็นไปตามปรารถนา(ตัณหา)ก็เกิดความเบื่อความหน่ายกันขึ้น, หรือดังได้รถใหม่ แล้วเกิดความเบื่อหน่ายขึ้นในภายหลัง เนื่องจากมันเก่ามันเสียมันรวนอยู่เสมอๆจึงเกิดกิเลสความขุ่นมัว จึงเกิดตัณหาอยากได้คันใหม่ จึงเบื่อหน่ายในรถคันเดิม, หรืออาจเกิดจากตัณหาอยากได้รุ่นใหม่ที่ดีกว่า สวยกว่า จึงเบื่อหน่ายในรถคันเก่า, หรือความเบื่อหน่ายเพราะไม่อยากรอคอย ฯลฯ. อย่างนี้เป็นต้น ล้วนเป็นความเบื่อหน่ายในทางโลกๆ ที่มีพื้นฐานหรือเชื้อไฟอันมาแต่กิเลสตัณหา จึงย่อมไม่ใช่นิพพิทา ความหน่ายอันเกิดจากปัญญาไปเห็นความจริงอย่างปรมัตถ์ นิพพิทาญาณ ญาณ แปลว่า ความรู้ ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง, นิพพิทาญาณ จึงหมายถึง ความรู้ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งที่ทำให้เบื่อหน่ายในสังสารวัฏหรือกองทุกข์, ความปรีชาหยั่งเห็นสังขารตามความจริง จึงเกิดความหน่ายในสังขารทั้งปวงว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่ทุกข์และโทษมากมาย แต่ไม่ใช่การทำลายตนเองเพราะเบื่อสังขารด้วยตัณหา, นิพพิทาญาณจัดเป็นหนึ่งในญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณ ส่วน นิพพิทานุปัสสนาญาณ เป็นการจำแนกแบบวิปัสสนาญาณ ๙ หมายถึง ความปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่โทษมากมาย หรือก็คือนิพพิทาญาณดังกล่าวข้างต้นนั่นเองเพียงแต่จำแนกแตกธรรมในแบบญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณเท่านั้นเอง อนึ่งพึงระลึกรู้ด้วยว่า การปฏิบัติทุกรูปแบบ ในที่สุดเมื่อเกิดความรู้ความเข้าใจใดๆ หรือธรรมสามัคคีใดๆอันย่อมเบิกบานเป็นผู้รู้ผู้ตื่น แต่ในที่สุดแล้วต้องประกอบด้วยนิพพิทาในธรรมหรือสิ่งต่างๆ นิพพิทา จึงมีความหมายว่า ความหน่ายที่เกิดขึ้นมาจากการมีปัญญาไปรู้ไปเข้าใจตามความเป็นจริงในสิ่งต่างๆ(ธรรม)ตามความจริงอย่างปรมัตถ์ เช่น เกิดนิพพิทาจาก ปัญญาหรือปรีชาไปเห็นเข้าใจในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์หรือสังสารวัฏ ในปฏิจจสมุปบาทธรรม จึงเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่ง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนิจจัง ความไม่เที่ยง ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่งทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขัง ความคงทนอยู่ไม่ได้ จึงต้องดับไปของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนัตตา ว่าล้วนไม่มีตัวตนเป็นแก่นสาร ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาการไปเห็นเข้าใจในสังขารสิ่งปรุงแต่ง ล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัย จึงล้วนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขอริยสัจ ว่าล้วนหนีไม่พ้น ช่างล้วนเป็นทุกข์ จนเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร ฯลฯ. เมื่อเห็นเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งในธรรมต่างๆเหล่าใดเหล่านั้น อันเป็นธรรมใดก็ได้ ตามจริต สติ สมาธิ ปัญญา ตลอดจนแนวทางของการศึกษาปฏิบัติ อันเมื่อถูกต้อง ย่อมล้วนทำให้เกิดความหน่าย เมื่อหน่าย จึงย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดในสิ่งต่างๆหรือสังขารทั้งปวงลงไป เป็นของคู่กัน เป็นปฏิจจสมุปบันธรรม หรือเพื่อให้เกิดนิพพิทาในเรื่องนั้นๆตามจริตของนักปฏิบัติเองเป็นสำคัญก็ได้ ดังเช่น อสุภกรรมฐาน ก็เป็นการเอาอสุภมาเป็นกสิณ(อสุภนิมิต) ในการพิจารณาร่างกายว่าล้วนแต่เป็นอสุภ เน่าเสีย หรือปฏิกูลเหมือนกันล้วนสิ้น ก็เพื่อจุดประสงค์ให้เห็นในความจริงของร่างกายตัวตนว่า ล้วนเป็นเช่นนี้เอง ที่สวยงาม ที่ถูกใจนั้น ล้วนไม่เที่ยง ทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตา จึงย่อมเกิดอุปาทานทุกข์ขึ้น ถ้าไปอยากด้วยตัณหาหรือไปยึดด้วยอุปาทานว่าเป็นของตัวของตน ก็เพื่อให้เกิดปัญญาเข้าใจยิ่งในสังขารร่างกายตามความเป็นจริงอย่างลึกซึ้ง อย่างจดจำ จนเกิดนิพพิทาความหน่ายในสังขารร่างกายอันเน่าเฟะที่เพียรเพ่งหรือนิมิตขึ้น จึงย่อมคลายความอยาก คลายตัณหาความกำหนัดในสังขารร่างกายอันสวยงามต่างๆลงไปทั้งในของตนเองและบุคคลอื่นลงไป หรือคลายราคะจริตในเรื่องเพศลงไปโดยตรงๆนั่นเอง เมื่อหน่าย ย่อมเป็นไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมกล่าวคือย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดอันคือดับตัณหาเสียนั่นเอง...จึงย่อมคลายความยึดมั่นในกิเลสหรือในความพึงพอใจของตัวตนอันเป็นอุปาทานตามมาโดยธรรม กล่าวคือ นิพพิทาเป็นปฏิปักษ์หรือธรรมคู่ปรับกันโดยธรรมหรือธรรมชาติกับตัณหาโดยตรงนั่นเอง, จึงย่อมดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาท ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายนิโรธวาร กล่าวคือ เมื่อตัณหาดับ อุปาทานดับ ภพดับ ชาติดับ ชรา-มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ล้วนย่อมดับไปตามธรรมคือสภาวธรรม จึงเป็นการดับไปของกองทุกข์ ความหน่ายหรือความเบื่อหน่ายที่เกิดแต่นิพพิทาญาณนี้ จึงมีความแตกต่างกันอย่างยิ่งกับความหน่าย ความเบื่อ หรือความเบื่อหน่ายอันเกิดแต่กิเลสหรือตัณหาหรือวิภวตัณหาก็ตามที ความหน่ายจากการรู้ความจริงหรือนิพพิทาจึงคลายกำหนัดหรือตัณหานั้นเป็นความหน่าย ที่เบาโล่งสบาย เพราะขาดด้วยกิเลสตัณหาอันเร่าร้อนนั่นเอง ส่วนความเบื่อหน่ายโดยทั่วไปหรือทางโลกนั้นเป็นความเบื่อหน่ายที่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงไร้สุขหรือยังความหดหู่มาให้ก็เนื่องจากกิเลสหรือตัณหาต่างๆที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆนั่นเอง กล่าวคือเกิดภวตัณหาหรือวิภวตัณหาเข้าแทรกแซงปรุงแต่งนั่นเอง เมื่อไม่ได้ตามตัณหาก็เกิดเป็นอุปาทานทุกข์ เป็นการดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร หรือฝ่ายเป็นทุกข์นั่นเอง นิพพิทาญาณ จัดเป็นเครื่องวัดในการปฏิบัติได้เป็นอย่างดีว่า ดำเนินมาอย่างถูกต้องหรือไม่? กล่าวคือ ถ้าปฏิบัติแล้วเกิดนิพพิทาหรือนิพพิทาญาณก็เป็นเครื่องชี้นำได้อย่างดีว่าได้ปฏิบัติมาอย่างถูกต้องแนวทางดีแล้ว แต่ถ้าปฎิบัติแล้วมีความรู้สึกอวดดี อวดเก่ง อวดรู้ อวดกล้า มีฤทธิ์มีเดช มีอำนาจ ถือดี วางตัวเป็นผู้รู้ เยี่ยงนี้แล้วให้โยนิโสมนสิการในข้อปฏิบัติของตนให้ดีว่า ได้ปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดพลาดไปเสียแล้วอย่างแน่นอนเพราะสิ่งเหล่านี้เป็นวิปัสสนูปกิเลสอันเกิดขึ้นมาจากการปฏิบัติเป็นธรรมดา จึงเนื่องด้วยวิปัสสนูปกิเลสแบบใดเป็นสำคัญเท่านั้นเอง แล้วแก้ไขเสีย กล่าวคือ วางฌานสมาธิลงเสีย แล้วเจริญแต่วิปัสสนาเป็นสำคัญ ด้วยเหตุดังกล่าวเหล่านี้ นิพพิทาญาณ จึงจัดเป็น หนึ่งในญาณหรือความรู้ยิ่งในการปฏิบัติวิปัสสนา คือ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ในวิปัสสนาญาณ ๙ เป็นญาณอันสำคัญยิ่งที่ต้องเจริญหรือภาวนาให้เกิดขึ้น(ภาวนาปธาน)ให้ได้ในที่สุด มิฉนั้นก็กล่าวได้ว่าการปฏิบัติที่ผ่านมานั้นยังเป็นไปอย่างไม่ถูกต้องแนวทาง เพราะเป็นญาณหรือความปรีชาที่เป็นปฏิปักษ์โดยตรงต่อตัณหา อันเป็นสมุทัยหรือเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งถ้ากล่าวอย่างปรมัตถ์แล้ว สมุทัยก็คือเหตุแห่งอุปาทานทุกข์นั่นเอง อนึ่งพึงพิจารณาโดยแยบคายด้วยว่า นิพพิทาญาณเป็นวิปัสสนาญาณที่เป็นไปทางปัญญา เพื่อการหลุดพ้นจากกิเลสอย่างถาวร ส่วนฌานสมาธิที่เมื่อปฏิบัติแต่ฝ่ายเดียวไม่เน้นการวิปัสสนาอย่างจริงจังนั้น แม้จะยังให้เกิดความสุข,สงบ,สบาย ที่แลดูหรือรู้สึกราวกับว่าเป็นสุขกว่านิพพิทานั้น แต่ตามความเป็นจริงกลับตรงกันข้าม ฌานสมาธิแม้จะเกิดความสุขความสงบความสบายอันเกิดแต่การระงับไปของกิเลสในนิวรณ์ทั้ง ๕ แต่ก็จะเกิดมานะทิฏฐิสูง มีความอวดเก่ง ความอวดกล้าจนบางครั้งก้าวร้าวอยู่ในจิตเป็นเครื่องแทรกอยู่เสมอๆ และยังเป็นเหตุปัจจัยสำคัญที่สุดในการเกิดวิปัสนูปกิเลส จากการติดเพลินหรือเพลิดเพลินในองค์ฌานหรือสมาธิโดยไม่รู้ตัวที่เรียกทั่วไปว่าติดสุข ซึ่งมีอาการของจิตส่งในเป็นเครื่องเคียงหรือเครื่องร่วมเสมอๆ อันจักยังให้โทษทั้งต่อธาตุขันธ์และจิตขันธ์ในที่สุด และยังไม่เป็นการดับทุกข์ไปอย่างถาวร พระองค์ท่านจัดเป็นความสุขอันเกิดแต่ฌานหรือสมาธิว่าเป็นแบบโลกิยวิมุตติหรือวิกขัมภนวิมุตติที่ยังไม่เที่ยง สามารถกลับกลายหายสูญได้ ดังนั้นเมื่อปฏิบัติฌานสมาธิแล้วต้องดำเนินการเจริญวิปัสสนากำกับด้วยทุกครั้งทุกทีไป กล่าวคือนำความสุขสงบสบายอันเป็นเครื่องอยู่เป็นกำลังสำคัญของจิตไปเป็นเครื่องหนุนการเจริญวิปัสสนาเสียนั่นเอง เพื่อให้เกิดปัญญาวิมุตติจึงทำให้ไม่กลับกลายหายสูญ ส่วนนิพพิทา ความหน่ายที่ฟังจากชื่อแล้ว ชวนทำให้เข้าใจผิดไปว่า เมื่อเป็นความหน่ายจึงเป็นความทุกข์นั้น แต่ตามความจริงกลับยังให้เกิดความสุขอันยิ่งตามมา เพราะเป็นเพียงการหน่ายในอารมณ์ที่ผัสสะเนื่องจากปัญญาหรือปรีชารู้ความจริง ดังนั้นเมื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัดหรือความอยากหรือตัณหานั่นเอง และเมื่อคลายกำหนัดจึงไม่เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทานขึ้นนั่นเอง อันเป็นการดำเนินไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวารหรือฝ่ายดับทุกข์นั่นเอง เมื่อไม่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงเป็นสุขอันยิ่ง และเป็นสุข ชนิด สะอาด สงบ และบริสุทธ์ อย่างแท้จริง นิพพิทาจึงเป็นของดี ไม่ใช่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ นิพพิทา จึงเป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อการตัดทำลายวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร นิพพิทา จึงไม่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อโลกุตตรสุข อันเป็นสุขยิ่ง นิพพิทาสูตร
หลวงพ่อฤๅษี วัดท่าซุง-วิปัสสนาญาณ ๙นิพพิทาญาณ กระดานธรรม ๓ คลิกขวาเมนู นิพพิทา หมายถึง ความหน่ายที่เกิดขึ้นจากปัญญาพิจารณาเห็นความจริง จึงมีความเบื่อหน่ายในกองทุกข์, ความหน่ายจากการไปรู้เห็นความจริงในการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ หรือความเบื่อหน่ายในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์ ที่ไม่รู้วันจบ,ไม่รู้วันสิ้น จึงเป็นความหน่ายที่ประกอบด้วยปัญญา จึงย่อมแตกต่างโดยสิ้นเชิงกับความเบื่อหน่ายโดยทั่วๆไปหรือในทางโลกหรืออย่างโลกิยะ ที่ย่อมประกอบด้วยตัณหา ดังในพจนานุกรม พุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่านพระเดชพระคุณเจ้า พระพรหมคุณาภรณ์ (พระธรรมปิฎก) ได้แสดงถึงความเบื่อหน่ายในทางโลกหรือโลกิยะไว้ดังนี้ว่า "ถ้าหญิงชายอยู่กินกันเกิดหน่ายกัน เพราะความประพฤติไม่ดีต่อกัน หรือหน่ายในมรรยาทของกันและกัน อย่างนี้ไม่จัดเป็นนิพพิทา" ดังนั้น ความเบื่อหน่ายในทางโลก จึงมีความหมายถึง ความเบื่อหน่ายหรือหน่ายกัน เหตุพราะมีกิเลสตัณหามาพัวพัน อย่างเช่น หญิงชายเกิดหน่ายกันดังข้างต้น ก็เกิดมาแต่มีกิเลสตัณหาอื่นๆเข้ามาแทรกนั่นเอง ไม่ได้เกิดแต่ปัญญาไปเห็นความจริง ดังเช่น เกิดการหน่ายขึ้นเพราะไปมีคนรักใหม่ หรือมีตัณหาหรือกิเลสใดๆขึ้น เช่น ไม่ชอบไม่อยากให้คู่หรือคนรักของตนเป็นอย่างนั้น,เป็นอย่างนี้ หรืออยากให้เป็นดังนั้น,เป็นดังนี้ เมื่อไม่เป็นไปตามปรารถนา(ตัณหา)ก็เกิดความเบื่อความหน่ายกันขึ้น, หรือดังได้รถใหม่ แล้วเกิดความเบื่อหน่ายขึ้นในภายหลัง เนื่องจากมันเก่ามันเสียมันรวนอยู่เสมอๆจึงเกิดกิเลสความขุ่นมัว จึงเกิดตัณหาอยากได้คันใหม่ จึงเบื่อหน่ายในรถคันเดิม, หรืออาจเกิดจากตัณหาอยากได้รุ่นใหม่ที่ดีกว่า สวยกว่า จึงเบื่อหน่ายในรถคันเก่า, หรือความเบื่อหน่ายเพราะไม่อยากรอคอย ฯลฯ. อย่างนี้เป็นต้น ล้วนเป็นความเบื่อหน่ายในทางโลกๆ ที่มีพื้นฐานหรือเชื้อไฟอันมาแต่กิเลสตัณหา จึงย่อมไม่ใช่นิพพิทา ความหน่ายอันเกิดจากปัญญาไปเห็นความจริงอย่างปรมัตถ์ นิพพิทาญาณ ญาณ แปลว่า ความรู้ ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง, นิพพิทาญาณ จึงหมายถึง ความรู้ความเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งที่ทำให้เบื่อหน่ายในสังสารวัฏหรือกองทุกข์, ความปรีชาหยั่งเห็นสังขารตามความจริง จึงเกิดความหน่ายในสังขารทั้งปวงว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา, ปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่ทุกข์และโทษมากมาย แต่ไม่ใช่การทำลายตนเองเพราะเบื่อสังขารด้วยตัณหา, นิพพิทาญาณจัดเป็นหนึ่งในญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณ ส่วน นิพพิทานุปัสสนาญาณ เป็นการจำแนกแบบวิปัสสนาญาณ ๙ หมายถึง ความปรีชาคำนึงถึงสังขารด้วยความหน่าย เพราะมีแต่โทษมากมาย หรือก็คือนิพพิทาญาณดังกล่าวข้างต้นนั่นเองเพียงแต่จำแนกแตกธรรมในแบบญาณ ๑๖ หรือโสฬสญาณเท่านั้นเอง อนึ่งพึงระลึกรู้ด้วยว่า การปฏิบัติทุกรูปแบบ ในที่สุดเมื่อเกิดความรู้ความเข้าใจใดๆ หรือธรรมสามัคคีใดๆอันย่อมเบิกบานเป็นผู้รู้ผู้ตื่น แต่ในที่สุดแล้วต้องประกอบด้วยนิพพิทาในธรรมหรือสิ่งต่างๆ นิพพิทา จึงมีความหมายว่า ความหน่ายที่เกิดขึ้นมาจากการมีปัญญาไปรู้ไปเข้าใจตามความเป็นจริงในสิ่งต่างๆ(ธรรม)ตามความจริงอย่างปรมัตถ์ เช่น เกิดนิพพิทาจาก ปัญญาหรือปรีชาไปเห็นเข้าใจในการเวียนว่ายตายเกิดในกองทุกข์หรือสังสารวัฏ ในปฏิจจสมุปบาทธรรม จึงเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่ง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนิจจัง ความไม่เที่ยง ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารปรุงแต่งทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขัง ความคงทนอยู่ไม่ได้ จึงต้องดับไปของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขารทั้งปวง หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในอนัตตา ว่าล้วนไม่มีตัวตนเป็นแก่นสาร ของสังขารทั้งหลายทั้งปวง จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาการไปเห็นเข้าใจในสังขารสิ่งปรุงแต่ง ล้วนเกิดแต่เหตุปัจจัย จึงล้วนอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จึงเกิดความหน่าย จนเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร หรือ ปัญญาไปเห็นเข้าใจในทุกขอริยสัจ ว่าล้วนหนีไม่พ้น ช่างล้วนเป็นทุกข์ จนเกิดความหน่าย จึงเกิดการวางใจเป็นกลาง(อุเบกขา)ต่อสังขาร ฯลฯ. เมื่อเห็นเข้าใจอย่างแจ่มแจ้งในธรรมต่างๆเหล่าใดเหล่านั้น อันเป็นธรรมใดก็ได้ ตามจริต สติ สมาธิ ปัญญา ตลอดจนแนวทางของการศึกษาปฏิบัติ อันเมื่อถูกต้อง ย่อมล้วนทำให้เกิดความหน่าย เมื่อหน่าย จึงย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดในสิ่งต่างๆหรือสังขารทั้งปวงลงไป เป็นของคู่กัน เป็นปฏิจจสมุปบันธรรม หรือเพื่อให้เกิดนิพพิทาในเรื่องนั้นๆตามจริตของนักปฏิบัติเองเป็นสำคัญก็ได้ ดังเช่น อสุภกรรมฐาน ก็เป็นการเอาอสุภมาเป็นกสิณ(อสุภนิมิต) ในการพิจารณาร่างกายว่าล้วนแต่เป็นอสุภ เน่าเสีย หรือปฏิกูลเหมือนกันล้วนสิ้น ก็เพื่อจุดประสงค์ให้เห็นในความจริงของร่างกายตัวตนว่า ล้วนเป็นเช่นนี้เอง ที่สวยงาม ที่ถูกใจนั้น ล้วนไม่เที่ยง ทนอยู่ไม่ได้ และเป็นอนัตตา จึงย่อมเกิดอุปาทานทุกข์ขึ้น ถ้าไปอยากด้วยตัณหาหรือไปยึดด้วยอุปาทานว่าเป็นของตัวของตน ก็เพื่อให้เกิดปัญญาเข้าใจยิ่งในสังขารร่างกายตามความเป็นจริงอย่างลึกซึ้ง อย่างจดจำ จนเกิดนิพพิทาความหน่ายในสังขารร่างกายอันเน่าเฟะที่เพียรเพ่งหรือนิมิตขึ้น จึงย่อมคลายความอยาก คลายตัณหาความกำหนัดในสังขารร่างกายอันสวยงามต่างๆลงไปทั้งในของตนเองและบุคคลอื่นลงไป หรือคลายราคะจริตในเรื่องเพศลงไปโดยตรงๆนั่นเอง เมื่อหน่าย ย่อมเป็นไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมกล่าวคือย่อมคลายความอยากหรือความกำหนัดอันคือดับตัณหาเสียนั่นเอง...จึงย่อมคลายความยึดมั่นในกิเลสหรือในความพึงพอใจของตัวตนอันเป็นอุปาทานตามมาโดยธรรม กล่าวคือ นิพพิทาเป็นปฏิปักษ์หรือธรรมคู่ปรับกันโดยธรรมหรือธรรมชาติกับตัณหาโดยตรงนั่นเอง, จึงย่อมดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาท ฝ่ายดับทุกข์หรือฝ่ายนิโรธวาร กล่าวคือ เมื่อตัณหาดับ อุปาทานดับ ภพดับ ชาติดับ ชรา-มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส อุปายาส ล้วนย่อมดับไปตามธรรมคือสภาวธรรม จึงเป็นการดับไปของกองทุกข์ ความหน่ายหรือความเบื่อหน่ายที่เกิดแต่นิพพิทาญาณนี้ จึงมีความแตกต่างกันอย่างยิ่งกับความหน่าย ความเบื่อ หรือความเบื่อหน่ายอันเกิดแต่กิเลสหรือตัณหาหรือวิภวตัณหาก็ตามที ความหน่ายจากการรู้ความจริงหรือนิพพิทาจึงคลายกำหนัดหรือตัณหานั้นเป็นความหน่าย ที่เบาโล่งสบาย เพราะขาดด้วยกิเลสตัณหาอันเร่าร้อนนั่นเอง ส่วนความเบื่อหน่ายโดยทั่วไปหรือทางโลกนั้นเป็นความเบื่อหน่ายที่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงไร้สุขหรือยังความหดหู่มาให้ก็เนื่องจากกิเลสหรือตัณหาต่างๆที่เกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆนั่นเอง กล่าวคือเกิดภวตัณหาหรือวิภวตัณหาเข้าแทรกแซงปรุงแต่งนั่นเอง เมื่อไม่ได้ตามตัณหาก็เกิดเป็นอุปาทานทุกข์ เป็นการดำเนินและเป็นไปตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร หรือฝ่ายเป็นทุกข์นั่นเอง นิพพิทาญาณ จัดเป็นเครื่องวัดในการปฏิบัติได้เป็นอย่างดีว่า ดำเนินมาอย่างถูกต้องหรือไม่? กล่าวคือ ถ้าปฏิบัติแล้วเกิดนิพพิทาหรือนิพพิทาญาณก็เป็นเครื่องชี้นำได้อย่างดีว่าได้ปฏิบัติมาอย่างถูกต้องแนวทางดีแล้ว แต่ถ้าปฎิบัติแล้วมีความรู้สึกอวดดี อวดเก่ง อวดรู้ อวดกล้า มีฤทธิ์มีเดช มีอำนาจ ถือดี วางตัวเป็นผู้รู้ เยี่ยงนี้แล้วให้โยนิโสมนสิการในข้อปฏิบัติของตนให้ดีว่า ได้ปฏิบัติสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดพลาดไปเสียแล้วอย่างแน่นอนเพราะสิ่งเหล่านี้เป็นวิปัสสนูปกิเลสอันเกิดขึ้นมาจากการปฏิบัติเป็นธรรมดา จึงเนื่องด้วยวิปัสสนูปกิเลสแบบใดเป็นสำคัญเท่านั้นเอง แล้วแก้ไขเสีย กล่าวคือ วางฌานสมาธิลงเสีย แล้วเจริญแต่วิปัสสนาเป็นสำคัญ ด้วยเหตุดังกล่าวเหล่านี้ นิพพิทาญาณ จึงจัดเป็น หนึ่งในญาณหรือความรู้ยิ่งในการปฏิบัติวิปัสสนา คือ นิพพิทานุปัสสนาญาณ ในวิปัสสนาญาณ ๙ เป็นญาณอันสำคัญยิ่งที่ต้องเจริญหรือภาวนาให้เกิดขึ้น(ภาวนาปธาน)ให้ได้ในที่สุด มิฉนั้นก็กล่าวได้ว่าการปฏิบัติที่ผ่านมานั้นยังเป็นไปอย่างไม่ถูกต้องแนวทาง เพราะเป็นญาณหรือความปรีชาที่เป็นปฏิปักษ์โดยตรงต่อตัณหา อันเป็นสมุทัยหรือเหตุแห่งทุกข์ ซึ่งถ้ากล่าวอย่างปรมัตถ์แล้ว สมุทัยก็คือเหตุแห่งอุปาทานทุกข์นั่นเอง อนึ่งพึงพิจารณาโดยแยบคายด้วยว่า นิพพิทาญาณเป็นวิปัสสนาญาณที่เป็นไปทางปัญญา เพื่อการหลุดพ้นจากกิเลสอย่างถาวร ส่วนฌานสมาธิที่เมื่อปฏิบัติแต่ฝ่ายเดียวไม่เน้นการวิปัสสนาอย่างจริงจังนั้น แม้จะยังให้เกิดความสุข,สงบ,สบาย ที่แลดูหรือรู้สึกราวกับว่าเป็นสุขกว่านิพพิทานั้น แต่ตามความเป็นจริงกลับตรงกันข้าม ฌานสมาธิแม้จะเกิดความสุขความสงบความสบายอันเกิดแต่การระงับไปของกิเลสในนิวรณ์ทั้ง ๕ แต่ก็จะเกิดมานะทิฏฐิสูง มีความอวดเก่ง ความอวดกล้าจนบางครั้งก้าวร้าวอยู่ในจิตเป็นเครื่องแทรกอยู่เสมอๆ และยังเป็นเหตุปัจจัยสำคัญที่สุดในการเกิดวิปัสนูปกิเลส จากการติดเพลินหรือเพลิดเพลินในองค์ฌานหรือสมาธิโดยไม่รู้ตัวที่เรียกทั่วไปว่าติดสุข ซึ่งมีอาการของจิตส่งในเป็นเครื่องเคียงหรือเครื่องร่วมเสมอๆ อันจักยังให้โทษทั้งต่อธาตุขันธ์และจิตขันธ์ในที่สุด และยังไม่เป็นการดับทุกข์ไปอย่างถาวร พระองค์ท่านจัดเป็นความสุขอันเกิดแต่ฌานหรือสมาธิว่าเป็นแบบโลกิยวิมุตติหรือวิกขัมภนวิมุตติที่ยังไม่เที่ยง สามารถกลับกลายหายสูญได้ ดังนั้นเมื่อปฏิบัติฌานสมาธิแล้วต้องดำเนินการเจริญวิปัสสนากำกับด้วยทุกครั้งทุกทีไป กล่าวคือนำความสุขสงบสบายอันเป็นเครื่องอยู่เป็นกำลังสำคัญของจิตไปเป็นเครื่องหนุนการเจริญวิปัสสนาเสียนั่นเอง เพื่อให้เกิดปัญญาวิมุตติจึงทำให้ไม่กลับกลายหายสูญ ส่วนนิพพิทา ความหน่ายที่ฟังจากชื่อแล้ว ชวนทำให้เข้าใจผิดไปว่า เมื่อเป็นความหน่ายจึงเป็นความทุกข์นั้น แต่ตามความจริงกลับยังให้เกิดความสุขอันยิ่งตามมา เพราะเป็นเพียงการหน่ายในอารมณ์ที่ผัสสะเนื่องจากปัญญาหรือปรีชารู้ความจริง ดังนั้นเมื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัดหรือความอยากหรือตัณหานั่นเอง และเมื่อคลายกำหนัดจึงไม่เป็นปัจจัยให้เกิดอุปาทานขึ้นนั่นเอง อันเป็นการดำเนินไปตามปฏิจจสมุปบันธรรมตามวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายนิโรธวารหรือฝ่ายดับทุกข์นั่นเอง เมื่อไม่เร่าร้อนเผาลนกระวนกระวาย จึงเป็นสุขอันยิ่ง และเป็นสุข ชนิด สะอาด สงบ และบริสุทธ์ อย่างแท้จริง นิพพิทาจึงเป็นของดี ไม่ใช่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อการดับทุกข์ นิพพิทา จึงเป็นไปเพื่อดับตัณหา เป็นไปเพื่อการตัดทำลายวงจรปฏิจจสมุปบาทฝ่ายสมุทยวาร นิพพิทา จึงไม่เป็นไปเพื่อทุกข์ แต่เป็นไปเพื่อโลกุตตรสุข อันเป็นสุขยิ่ง นิพพิทาสูตร
คำสอนจากปากพระพุทธเจ้าโดยตรงคาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า
คำสอนจากปากพระพุทธเจ้าโดยตรงคาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า
ไอน์สไตล์พบพระพุทธเจ้าเห็น (Full 5ชั่วโมง)คาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า
คาถาธรรมบทว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าคาถาธรรมบทพุทธวรรคที่14ว่าด้วยเรื่องพระพุทธเจ้า กิเลสที่พระพุทธเจ้าพระองค์ใดทรงชนะแล้ว พระองค์จะไม่ทรงกลับแพ้อีก กิเลสสักน้อยหนึ่งในโลกไม่ติดตามพระองค์ผู้ชนะได้แล้ว พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอยไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า ตัณหาดุจตาข่าย ชื่อว่า วิสัตติกา ไม่มีแก่พระพุทธเจ้าพระองค์ใด เพื่อนำไปในภพไหน ๆ พวกท่านจักนำพระพุทธเจ้าพระองค์นั้น ผู้มีพระญาณหาที่สุดมิได้ ผู้ไม่มีร่องรอย ไปด้วยร่องรอยอะไรเล่า
วันพุธที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2557
20วัดไทยสาวัตถีเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด
เจดีย์ทอง แดนมหามงคล เมืองสาวัตถีเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด
เจดีย์ทอง แดนมหามงคล เมืองสาวัตถีเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด
ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลสเรื่องเกิดขึ้นที่กรุงสาวัตถี เทวดานั้นยืนอยู่ ณ ที่สมควรแล้ว ได้กล่าวคาถานี้ในสำนักของพระผู้มีพระภาคว่า กาล๑ล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัย๒ละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรทำบุญที่นำความสุขมาให้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า กาลล่วงเลยไป คืนผ่านพ้นไป ช่วงแห่งวัยละไปตามลำดับ บุคคลพิจารณาเห็นภัยนี้ในมรณะ ควรละโลกามิส มุ่งสู่สันติเถิด
ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลสวันประชุมชาดก สุภาษิตชี้โทษแห่งบ่วงมัจจุราช เราเดินเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร ได้เห็นหญิงฟ้อนรำคนหนึ่ง ตก แต่งร่างกายด้วยเครื่องอาภรณ์ นุ่งห่มผ้าสวยงาม ทัดทรงดอกไม้ ลูบ ไล้ด้วยกระแจะจันทน์ ฟ้อนรำอยู่ในวงดนตรีที่ถนนหลวง ท่ามกลาง พระนคร เป็นดุจบ่วงแห่งมัจจุราชอันธรรมชาติมาดักไว้ เพราะฉะนั้น การกระทำไว้ในใจโดยอุบายอันแยบคาย จึงบังเกิดขึ้นแก่เรา อาทีนว- โทษปรากฏแก่เรา ความเบื่อหน่ายก็ตั้งลงมั่น ลำดับนั้นจิตของเราก็ หลุดพ้นจากสรรพกิเลส ขอท่านจงดูความที่แห่งธรรมเป็นธรรมอันดีเลิศ เราได้บรรลุวิชชา ๓ แล้ว ได้ทำกิจพระพุทธศาสนาเสร็จแล้ว.
จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่ง ทางรอดทางเดียวของเราคืออย่างนี้ครับhttp://www.larnbuddhism.com/tripitaka/interest/part2.html จิตปรุงแต่งก็ให้รู้ว่าจิตปรุงแต่งความปรุงแต่งจิตความอยากความกระหายทางจิตเกิดขึ้นให้รู้ทัน ตอนสุดท้ายนี้เริ่มฉลาด ชั้นไม่สู้แกหรอก แต่แกเล่นอะไรชั้นจะดูลูกเดียวเลย ชั้นไม่สู้กับแกแล้วนะ สู้ทีไรชั้นแพ้ทุกทีเลย เพราะต่อไปนี้ไม่สู้กิเลสแล้ว จะรู้มันไปเรื่อยๆ นี่ รู้ไปเรื่อยๆ แล้วมันจะมาทำอะไรเรา เราไม่ได้ชกกับมัน อยู่กันคนละเวที แกก็เต้นไปสิ เต้นฟุ้ตเวิร์คไป ชั้นไม่ขึ้นไปชกด้วย เดี๋ยวแกก็หมดแรงเอง นี่ ต้องอย่างนี้นะ มันสลายตัวไปเองเลย เราต้องไม่ไปยุ่งกับมัน
The Ventures - PIPELINE สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ
The Ventures - Walk Don't Run สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ
The Ventures - Wipe Out สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ
สตังค์มี..สติ..ลด..สตังค์.หมด..สติ...มา...รักษาศีลไว้ครับ...แล้วจะ..รักษาจิตได้ เขย่า...ธาตุรู้..ด้วยเพลงนี้..ครับ.. สวดมนต์...ช้าไป...เขย่าธาตูรู้ กูก็จะเพ่ง..อยู่..กับโลก..ไป..ดู..กาย..ดู..ใจ..ของเรา..ไป..เรื่อย..เรื่อย...โลก..มันทุกข์...แต่ใจเราไม่ทุกข์..กายเรา...ทุกข์..แก้ได้...ใจเรา..ทุกข์...แก้ได้..ศาสนาพุทธสอนให้เราเรียนรู้ตัวเอง สิ่งที่เรียกว่าตัวเราคือกายกับใจ ท่านสอนว่า ถ้าเรารักสิ่งใด ..เราจะทุกข์..เพราะสิ่งนั้น..ถ้าเรามีสติคอยรู้ทันจิตใจของเราอยู่เรื่อยๆ กิเลสครอบงำจิตไม่ได้ ไม่ผิดศีลหรอก เช่น .... วันใดที่จิตมันเดินปัญญาแก่รอบถึงขนาดนี้แล้ว จิตมันจะรวมเข้าอัปปนาสมาธิ รวมเองนะ
วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2557
จงพากันทำตัวให้เหมือนกับนักรบเมืองโบราณสมัยก่อนต้องทำกำแพงล้อมเมืองให้แน...
ธรรมชาติบําบัด ล้างพิษตับและนํ้ามันมะพร้าว ตอนที่2 อ.ปานเทพ พัวพงษ์พันธ์
พลังงานแสงอาทิตย์หนองกี่โซล่าเซลล์ ติดที่อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ ใช้ตูเย...หนองกี่โซล่าเซลล์ รับติดตั้งโซล่าเซลล์หรือพลังงานแสงอาทิตย์ ทั่วประเทศไทย สนใจติดต่อได้ที่ โทร.044-641066,DTAC:083-7215111,12Call:088-3520989 www.nongkisolarcell@hotmail.com
วิธีรักษาอาการนิ้วล็อคระยะแรก ด้วยน้ำส้มสายชูใช้น้ำส้มสายชู..ชุบกระดาษทิชชู,,,พันไว้..15 วัน...ตอนนี้หายล๊อค..แล้วครับ...ขอบคุณ...มากคับ
วันจันทร์ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2557
หลวงพ่อ ฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง อ เมือง จ อุทัยธานี"เมื่อคืนปลุกเสกพระหมาไม่หอน งวดนี้ไม่ให้หมาเห็น เพราะ 2งวดก่อนมาให้หมาเห็นเห่ากันเจี๊ยวจ๊าว รุ่นนี้แอบไม่ให้หมาเห็น เมื่อคืนปลุกเสกรุ่นยันกลับ (ใครทำไม่ดี ยันกลับหมด)"
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องเรื่อง ความสุขของหลวงพ่อ "ความสุขรื่นเริงใจจริง ๆ ของพ่อก็คือ ๑. ถ้าเห็นลูกรักทั้งหมดของพ่อ มีจิต เมตตาปรานี ปรารถนาสงเคราะห์คน และสัตว์ให้มี ความสุข ๒. เห็นลูกบริบูรณ์ไปด้วย สีลาจารวัตร ๓. ลูกของพ่อรู้จักตัด นิวรณ์ ๕ ประการ ๔. ลูกมีกำลังจิตเข้าประหัตประหารกิเลส สร้าง สังขารุเปกขาญาณ ให้เกิด" คำสอน หลวงพ่อฤาษีลิงดำ วัดท่าซุง
วิธีเจริญวิปัสสนากรรมฐานที่ถูกต้องรอชาวบ้านสรรเสริญเป็นอารมณ์ของความชั่ว "พระพุทธเจ้าทรงให้รักษา กำลังใจ เป็นสำคัญว่าควบคุมกำลังใจให้ดีไว้แล้วมันดีเอง ไม่ต้องไปฟังคำชาวบ้านเขา การที่ เราดี เพราะรอให้ชาวบ้านสรรเสริญนั่นมันเป็นอารมณ์ของความชั่ว"
สิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้วแต่จิตมันก็ไม่พอซักทีจิตนี้พวกเราเคยปล่อยให้มันเสาะแสวงหาสิ่งที่มันชอบใจมานานแล้ว และสิ่งนั้นมันก็เคยได้มาแล้ว แต่จิตมันก็ไม่พอสักทีหาอยู่ร่ำไป เมื่อไรมันจะรู้จักจบจักพอกันสักที คนที่อยู่รอบๆ ตัวของเรานี้ เราก็เห็นตำตาอยู่แล้ว เมื่อตายไปก็ไม่เห็นเอาอะไรไปด้วย แม้แต่ร่างกายอันนี้ ก็ทอดทิ้งถมพื้นแผ่นดินด้วยกันทั้งนั้น แต่จิตที่อยู่นิ่งไม่แส่ส่ายแสวงหาอะไรทั้งหมด ตั้งมั่นอยู่กับพุทโธอันเดียว เรายังไม่เคยได้เลย จงพากันมาภาวนาพุทโธๆ ให้จิตมันหยุดนิ่งอยู่อันเดียว ลองดูซิ บางที จิตที่อยู่กับพุทโธอันเดียว กลับจะได้มากกว่า และเป็นของแปลกประหลาดกว่าที่เป็นมาแล้ว
การเห็นกายในกายเห็นจิตในจิต พุทธะเเปลว่าผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม ธรรมะอยู่ที่ไหน ธรรมะคือลักษณะจิตใจของคนทุกคนนี่แหละ นี่ ! มันมีลักษณะสะอาด สว่าง สงบ มีแล้ว สะอาด คือจิตใจของเราไม่เคยสกปรกเลย สว่าง คือเราเห็นต้นตอของชีวิตจิตใจของเรา สงบก็หมายถึงหยุดแล้ว อันนี้อาตมาพูดตามภาษาอาตมา หยุดแล้ว ไม่ต้องไปศึกษาที่ไหนแล้ว ไม่ต้องไปหาอะไรแล้ว จะไปเรียนมาทำไม มีประโยชน์อะไร เข้าใจอย่างนี้ แปลว่า หยุด หยุด แปลว่าเซาเนี่ยะ บ้านอาตมาเรียกว่า..เซา หยุดแล้ว ก็เรียกว่าสงบนี่ เนี่ยะ..สะอาด สว่าง สงบ
เสียงที่ทำให้จิตหลุดพ้นจากอาสวะโลกจะไม่ว่างจากพระอรหันต์ สุภัททะ ! ในธรรมวินัยใด ไม่มีอริยมรรคมีองค์แปด สมณะที่หนึ่ง (พระโสดาบัน) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น; แม้สมณะที่สอง (พระสกทาคามี) ก็หาไม่ได้; แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาไม่ได้; แม้สมณะที่สี่ (พระอรหันต์) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น. สุภัททะ ! ในธรรมวินัยนี้แล มีอริยมรรคมีองค์แปด สมณะที่หนึ่ง (พระโสดาบัน) ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้; แม้สมณะที่สอง (พระสกทาคามี) ก็หาได้; แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาได้; แม้สมณะที่สี่ (พระอรหันต์) ก็หาได้ในธรรมวินัยนี้. สุภัททะ ! ถ้าภิกษุทั้งหลายเหล่านี้จะพึงอยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย แล.
พุทโธจิตหนีไปคิดรู้ทันจิตรู้ทันกิเลสรู้ให้เร็วทีละขณะทุกวินาที..ทำให้จิตรวมเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันจึงจะเห็นจิตของตน เมื่อเราค้นหาจิตเห็นจิตแล้ว และเห็นว่านี่คือต้นตอของจิต ของสิ่งทั้งปวงที่มีอยู่ในโลกนี้ จิตที่มากหลายอย่างนั้น มันออกไปจากจิตอันเดียวนี้ เมื่อจิตอยู่นิ่งกับพุทโธอันเดียว สรรพกิเลสทั้งหลายก็ไม่มี แล้วจงใช้สติประคองจิตอันนั้นให้นิ่งอยู่กับพุทโธอันเดียวเสียก่อน อย่าให้ส่งส่ายไปมาทุกอริยาบถทั้งสี่ ทำให้ชำนิชำนาญคล่องแคล่ว จนเราจะให้อยู่ก็ได้ หรือเราจะให้คิดค้นพิจารณาในธรรมต่างๆ ก็ได้ หรือคิดค้นธรรมต่างๆ แล้วจะให้มานิ่งอยู่กับใจก็ได้ เมื่อเข้าใจถึงแล้วพุทโธไม่ต้องบริกรรมก็ได้
ท่านที่สนใจเฉพาะ POWER MODULE SHINDENGENT TM51 ราคา 500 บาท MITSUBISHI PS21244 PS21963 PS219A2 ราคา 400 บาท FUJI ELECTRIC JAPAN 6DI15S-050 D ราคา 400 บาท 6DI15S-050 C ราคา 400 บาท TOSHIBA JAPAN MP6501A ราคา 400 บาท ติดต่อ ซื้อ และ สอบถามรายละเอียด ที่ mrsompongt@hotmail.com sompongindustrial@gmail.comและหรือติดต่อที่พรพิมลทุ่งมีผล 081-803-6553 สมพงษ์ ทุ่งมีผล...02-951-1356 ขอบคุณ..มาก..ครับ..TM52A สินค้า หมดแล้วครับ...อินเวอร์เตอร์ กับการประหยัดพลังงานและค่าใช้จ่าย ในปัจจุบันเราทุกคนต่างประสบกับปัญหาพลังงาน ราคาแพง ซึ่งสาเหตุหลักมาจากราคา น้ำมันซึ่งปรับตัวสูงขึ้นมากๆ ทำให้ไม่ว่าจะเป็นไฟฟ้าก็ปรับค่าไฟขึ้นและค่าไฟก็เป็นต้นทุน หลักตัวหนึ่งในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม อาคารสำนักงาน และห้างสรรพสินค้าต่างๆ ดังนั้น การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพอย่างคุ้มค่าอย่างประหยัดก็จะเป็นการลดต้น ทุน การดำเนินงานได้ ในโรงแรมขนาดใหญ่ อาคารสำนักงาน ห้างสรรพสินค้า และในหลายอุตสาหกรรม เช่น โรงทอผ้า อาหาร อิเลคทรอนิกส์ ที่มีการใช้ระบบเกี่ยวกับความร้อน การระบายอากาศ เครื่องทำความเย็น ระบบปรับอากาศ การใช้น้ำ การรักษาความดันอากาศหรือน้ำ ในระบบเหล่านี้มักจะมีอุปกรณ์ที่ใช้ที่สำคัญ คือ พัดลม และ ปั้มน้ำ โดยใช้มอเตอร์เป็นตัวขับ ดังนั้น ถ้าเรามองถึงการประหยัดพลังงานก็ต้องมุ่งไปที่ว่า ทำอย่างไรถึงจะใช้มอเตอร์ไฟฟ้า ขับ เครื่องจักรกล ปั้มน้ำ พัดลม และ เครื่องมือ เครื่องใช้ไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและประหยัดสุด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)