วันอาทิตย์ที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ใจได้พระโสดาบัน โดยหลวงพ่อปราโมทย์ใจได้พระโสดาบัน โดยหลวงพ่อปราโมทย์ SantiDham SantiDham ติดตาม4.2K เพิ่มลงใน แชร์ เพิ่มเติม ดู 5,775 ครั้ง 69 0 เผยแพร่เมื่อ 10 ต.ค. 2015 ในคลิปนี้หลวงพ่อปราโมทย์เทศน์ถึงการที่ใจได้พระโสดาบันของนักภาวนา ( 5.50 นาที ) : ในคลิปนี้เป็นส่วนหนึ่งของการแสดงธรรม ณ หมู่บ้านสัจธรรม จ.เชียงใหม่ วันที่ 22 ส.ค. 2558 https://youtu.be/ExL43FBJIKg
อย่าตะลุมบอนกับกิเลส ดูอยู่ห่างๆ ไม่ว่าอะไรเกิดขึ้น ดูห่างๆไว้นะนั่นแหละ กิเลสมันหลอก เราสามารถทำหน้าที่โดยไม่คลุกวงในได้ เพราะฉะนั้นเวลามีปัญหา เราต้องแก้ปัญหาด้วยใจที่ตั้งมั่น เป็นกลาง เราจะมองปัญหาได้ชัด ที่นี้กิเลสมันจะหลอกให้ต้องทุ่มให้สุดเนื้อสุดตัว กระโดดเข้าไปคลุกวงใน แก้ปัญหาได้ไม่ดี เพราะมองอะไรก็ไม่ชัด มองอย่างคนนอก จะมองง่าย แก้ปัญหาง่าย เพราะฉะนั้นพวกที่ปรึกษาเลยหากินง่ายนะ ไม่ได้ฉลาดกว่าเรานะ ที่พวกเราต้องจ้างบริษัทฯที่ปรึกษามาทำโน่นทำนี่ พวกนี้ไม่ได้รู้งานของเรามากกว่าเรา พวกนี้ไม่ได้มีไอเดียหรือฉลาดอะไรมากกว่าเรา แต่พวกนี้ไม่มีผลประโยชน์กับเรา เราจะเจ๊งก็ไม่ว่าอะไร ขอให้จ่ายเงินก็แล้วกัน เพราะฉะนั้นเขามองอะไรได้ง่ายกว่าเรา ทำอย่างไรเราจะเป็นคนวงนอกสำหรับตัวเองโดยไม่ต้องจ้างใครมาช่วยมอง เป็นคนวงนอกก็ได้เห็นเลย กายไม่ใช่เรา รู้สึกมั้ย กายอยู่ห่างๆ จะรู้สึกทันทีเลย กายอยู่ห่างๆ เวทนา ความสุข ความทุกข์ อยู่ห่างๆ กุศล อกุศล อยู่ห่างๆ เหมือนคนเดินผ่านหน้าบ้าน เราไม่เข้าไปคลุกกับเขา ดูอย่างนี้นะ แล้วทุกอย่างจะผ่านมาแล้วก็ผ่านไปให้ดู โอ้..ภาวนาแล้วจะมีแต่ความสุข โยม: ตอนนี้มันเป็นลักษณะที่ รู้ทฤษฎี แต่พอเวลาถึงจังหวะจริงๆ.. หลวงพ่อปราโมทย์: นั่นแหละ นั่นแหละ มันยังเมาหมัดอยู่ เพราะว่ามันชกมานาน มันชกมานับภพนับชาติไม่ถ้วน มันไม่เคยทำตัวเป็นแค่ ผู้รู้ ผู้ดู ผู้สังเกตการณ์ เพราะเราเข้าวงในตลอด พระพุทธเจ้าสอนเรา ให้ฝึกจิตฝึกใจของเรานะ จนจิตใจของเราตั้งมั่นขึ้นมา เป็นผู้รู้ผู้ดูนะ เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่คลุกวงใน พอพระพุทธเจ้าสอนเรา จนใจของเราตั้งมั่นขึ้นมา บทเรียนที่ทำให้จิตตั้งมั่นขึ้นมาอย่างนี้เรียกว่า “จิตตสิกขา” จิตตสิกขา เราจะศึกษาไปจนจิตของเราตั้งมั่นขึ้นมา เป็นแค่คนดู เป็นแค่ผู้สังเกตการณ์ ไม่ใช่นักประพันธ์ ไม่ใช่นักวิจารณ์ ไม่ใช่นักแสดง เป็นแ่ค่คนดู พอดูแล้วคราวนี้ล่ะเห็นชัดเลย ว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่ทำงานนี้ไม่ใช่เราสักอันหนึ่ง ร่างกายที่ทำงานอยู่ไม่ใช่เรา เวทนา สุข ทุกข์ เฉยๆ ไม่ใช่เรา สังขารที่เป็นกุศล อกุศล ไม่ใช่เรา จิตที่เกิดดับทางทวารทั้งหก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ใช่เรา ดูอย่างนี้นะ มันถอนเอาความเป็นเราออกมาแล้วมาคอยรู้คอยดูไปเรื่อยๆ ทำตัวเป็นแค่คนดู ถ้าคลุกวงในจะไม่เห็น เหมือนเขาเตะฟุตบอลกันนะ เราอยากดูให้ชัดนะ กระโดดลงไปยืนกลางสนามนะ เราจะเจอเท้า ๔๔ ข้าง นะ ใช่มั้ย ๔๖ มีกรรมการอีกคน ดีไม่ดีโดนเหยียบ หลบคนนี้ เจออีกคนนี้ อะไรอย่างนี้ ถ้าเรานั่งบนอัฒจรรย์ดู เราเห็นหมดเลย เห็นภาพชัด หรือเหมือนกับคนชกมวยกับคนดูมวยนะ คนชกมวยนะ มันเก่งแสนเก่ง เวลาชกนะ สังเกตมั้ย พวกที่ยืนข้างเวทีเป็นคนสอน ชกตรงนั้นสิ ชกตรงนี้สิ เพราะมันไม่มีส่วนได้เสีย มันดูง่าย เนี่ย บอก “เอ็งเซ่อ เอาหน้าไปให้เขาชกอยู่เรื่อย หลบสักนิดหนึ่งก็พ้นแล้ว” แต่ตอนเมาหมัดน่ะมันไม่รู้ เพราะฉะนั้นอย่าเมาหมัดนะ เวลาภาวนาห้ามเมาหมัด จำไว้นะ อย่าคลุกวงใน อย่าตะลุมบอนกับกิเลส ดูอยู่ห่างๆ ไม่ว่าอะไรเกิดขึ้น ดูห่างๆไว้นะ คำว่าดูห่างๆนี้เป็นสภาวะนะ ถ้าภาวนาเป็นถึงจะรู้ัจัก ถ้าภาวนาไม่เป็น ดูห่างๆไม่เป็น ไม่เข้าใจหรอกว่าห่างอย่างไร ได้ยินหลวงพ่อพูดแล้วก็งงๆ แต่ถ้าภาวนาเป็นจะรู้เลย กายกับจิตนี้มีระยะทางนะ มีช่องว่าง มีระยะห่าง จิตกับเวทนาก็มีระยะห่าง จิตกับสังขารก็มีระยะห่าง แถมจิตที่ว่ามีระยะห่างนั้นยังเกิดดับเสียอีก ไปๆมาๆหาตัวเราไม่ได้สักตัวเดียว
ดูร่างกายของเราเอง ดูความรู้สึกนึกคิดของเราเอง ไม่ต้องไปดูที่อื่นหรอกสิ่งใดเกิดขึ้นสิ่งนั้นดับไป ความสุขเกิดขึ้นจิตไม่หลงระเริง ความทุกข์เกิดขึ้นจิตไม่กลุ้มใจ จิตมันจะเป็นกลาง ต่อทุกสิ่งทุกอย่างที่มันไปรู้เข้า จิตที่มันเป็นกลางต่อทุกสิ่งทุกอย่าง นี่นะ ตัวนี้เป็นตัวสำคัญ นี่เป็นคือประตูแห่งการบรรลุมรรคผล พอมันเป็นกลางกับทุกสิ่งทุกอย่าง มันจะไม่ปรุงแต่งต่อ อย่างถ้ามันไม่เป็นกลาง มันจะปรุงแต่งต่อ เช่น ความโกรธเกิดขึ้น อยากให้หาย ก็ต้องหาทางทำให้หาย เห็นมั้ยปรุงแต่งต่อล่ะ ความสุขเกิดขึ้นอยากให้อยู่นานๆ ต้องหาทางรักษา นี่ปรุงแต่งต่อ มีการทำงาน แต่ถ้ามันเห็นทุกสิ่งทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับๆ ไม่ปรุงแต่งต่อ จิตจะพ้นจากความปรุงแต่ง ตามรู้ตามดูจนมันพอ สติ สมาธิ ปัญญาแก่รอบ จิตใจยอมรับความจริง ยอมรับไตรลักษณ์ ว่าทุกอย่างเกิดแล้วก็ดับ ถึงจุดนี้เนี่ย มันจะเป็นรอยแยก พวกที่หวังพุทธภูมินะ ก็มีโอกาสจะเป็นพระโพธิสัตว์ ที่ได้รับคำพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า ไม่ใช่พยากรณ์จากหมอดูนะ ต้องพยากรณ์จากพระพุทธเจ้า พวกที่ไม่ได้หวังจะเป็นพระโพธิสัตว์ แต่หวังความพ้นทุกข์นะ จิตมีโอกาสที่จะเกิดมรรคผลได้ เวลาที่จิตจะเกิดมรรคผลนั้น จิตจะรวมเข้าอัปนาสมาธิ เพราะฉะนั้นเวลาท่านพูดถึงองค์มรรคเนี่ย สัมมาสมาธิ ท่านจะพูดด้วยอัปนาสมาธิ ด้วยฌาน ๔ พวกเราตอนที่เจริญสติอยู่นี่เรียกว่า เจริญบุพพภาคมรรค เบื้องต้นแห่งมรรคยังไม่เป็นฌานนะ เราหัดเจริญสติอยู่ในชีวิตประจำวันอย่างนี้ ถึงวันที่อริยมรรคจะเกิด จิตจะรวมเข้าฌานโดยอัตโนมัตินะ จิตเวลาที่เกิดมรรคเกิดผล จะไม่เกิดในจิตของคนธรรมดา นี่เรียกว่ากามาวจรจิต กามาวจรภูมิ ไม่เป็นอย่างนั้น จะต้องเข้าฌานนะ เมื่อมันรวมเข้าไปแล้วมันจะเห็น สภาวะธรรมนี่เกิดดับสองขณะหรือสามขณะ แต่ละคนไม่เท่ากันนะ ถัดจากนั้นจิตจะวางการรู้อารมณ์ ทวนกระแสเข้ามาหาธาตุรู้ สิ่งที่ห่อหุ้มปกคลุมธาตุรู้อยู่นี่ ถูกอริยมรรคแหวกออกไป แล้วก็มันจะไปเห็นนิพพานนะ นิพพานไม่ใช่ว่างเปล่า นิพพานไม่ใช่โลกๆหนึ่ง พวกเรายังไม่เคยเห็น เราก็วาดภาพสุดโต่งไปสองข้าง ข้างหนึ่งก็นิพพานเป็นโลกๆหนึ่ง พวกนี้พวกสัสตะทิฐิ มีของที่เที่ยงคงที่ อีกพวกหนึ่งคิดว่านิพพานสูญไปเลย ขณะนั้นไม่มีอะไรเหลือเลย กระทั่งสติ พวกนี้หลงไปล่ะ คิดว่านิพพานไม่มีอะไรเลย นี่พวกอุจเฉททิฐินะ นิพพานมีนะ นิพพานมีสภาวะรองรับ สภาวะของนิพพานคือสันติ คือความสงบนั่นเอง สงบจากอะไร สงบจากกิเลส สงบจากอะไร สงบจากความปรุงแต่ง สงบจากอะไร สงบจากการแบกหามขันธ์นะ ดังนั้นเราภาวนานะ
ของจริงเป็นหนึ่งของไม่จริงเป็นคู่สัทธาพละ เป็นอย่างไร คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้เป็นผู้มีศรัทธา คือเชื่อปัญญาเครื่องตรัสรู้ของ ตถาคตว่า ‘แม้เพราะเหตุนี้ พระผู้มีพระภาคพระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ ด้วยพระองค์เองโดยชอบ เพียบพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดี รู้แจ้งโลก เป็น สารถีฝึกผู้ที่ควรฝึกได้อย่างยอดเยี่ยม เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นพระพุทธเจ้า เป็นพระผู้มีพระภาค’ นี้เรียกว่า สัทธาพละ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๒ หน้า :๑๗ } พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต [๑. ปฐมปัณณาสก์] ๒. พลวรรค ๔. วิตถตสูตร วิริยพละ เป็นอย่างไร คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้เป็นผู้ปรารภความเพียร เพื่อละอกุศลธรรม เพื่อ ให้กุศลธรรมเกิด มีความเข้มแข็ง มีความบากบั่นมั่นคง ไม่ทอดธุระในกุศลธรรมทั้ง หลายอยู่ นี้เรียกว่า วิริยพละ สติพละ เป็นอย่างไร คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้เป็นผู้มีสติ คือประกอบด้วยสติปัญญาเป็นเครื่อง รักษาตนอย่างยิ่ง ระลึกถึงสิ่งที่ทำคำที่พูดแม้นานได้ นี้เรียกว่า สติพละ สมาธิพละ เป็นอย่างไร คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้สงัดจากกาม และอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌานที่มีวิตกวิจาร มีปีติและสุขอันเกิดจากวิเวกอยู่ เพราะวิตกวิจารสงบ ระงับไป บรรลุทุติยฌานมีความผ่องใสในภายใน มีภาวะที่จิตเป็นหนึ่งผุดขึ้น๑ไม่มีวิตก ไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุขเกิดจากสมาธิอยู่ เพราะปีติจางคลายไป เป็นผู้มีอุเบกขา มีสติ สัมปชัญญะ เสวยสุขด้วยนามกาย บรรลุตติยฌานที่พระอริยะทั้งหลายสรรเสริญ ว่า ‘ผู้มีอุเบกขา มีสติ อยู่เป็นสุข’ เพราะละสุขและทุกข์ได้ เพราะโสมนัสโทมนัสดับ ไปก่อนแล้ว บรรลุจตุตถฌานที่ไม่มีทุกข์ไม่มีสุข มีสติบริสุทธิ์เพราะอุเบกขาอยู่ นี้เรียก ว่า สมาธิพละ ปัญญาพละ เป็นอย่างไร คือ อริยสาวกในธรรมวินัยนี้เป็นผู้มีปัญญา คือประกอบด้วยปัญญาเป็นเครื่อง พิจารณาเห็นทั้งความเกิดและความดับอันเป็นอริยะ ชำแรกกิเลสให้ถึงความสิ้นทุกข์ โดยชอบ นี้เรียกว่า ปัญญาพละ ภิกษุทั้งหลาย พละ ๕ ประการนี้แล วิตถตสูตรที่ ๔ จบ
วันเสาร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ทุกข์และความดับทุกข์อริยสัจ 4 - วิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/อริยสัจ_4 สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า. นี่คือทุกข์; นี่คือเหตุแห่งทุกข์; นี่คือความดับทุกข์; นี่คือทางแห่งความดับทุกข์. กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า. ทุกข์ควรรู้; เหตุแห่งทุกข์ควรละ ... ความดับทุกข์ ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ สมเด็จพระญาณสังวร ... www.dharma-gateway.com/monk/preach/somdej/sd-185.htm ได้ตรัสแสดงมรรคมีองค์ ๘ เป็นทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ก็ได้แก่ สัมมาทิฏฐิความเห็นชอบ ก็คือญาณหยั่งรู้ในอริยสัจจ์ทั้ง ๔ นี้ สัมมาสังกัปปะดำริชอบ ก็คือดำริออกจากกาม ... นิโรธ - วิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/นิโรธ นิโรธ (อ่านว่า นิโรด) แปลว่า ความดับ (ทุกข์) คือความสำรอกออก, สลัดทิ้ง, ปลดปล่อย, ไม่มีเยื่อใยสมุทัยอันเป็นบ่อเกิดทุกข์ได้สิ้นเชิง หมายถึง ... ดับทุกข์ แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่าพจนานุกรม ... https://dict.longdo.com/search/ดับทุกข์ มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ ... รอบรู้เรื่องทุกข์จะดับทุกข์สนิท – Pure Dhamma : ธรรมะล้วนๆ puredhamma.com/1602b0822mo/ 22 ส.ค. 2559 - จะพูดถึงเรื่องหนึ่งในอริยสัจสี่ เรื่องที่สำคัญมาก เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าพูดบ่อยที่สุด สอนมากที่สุดใน ๔๕ ปี สอนเรื่องนี้ นั่นคือเรื่องของความทุกข์… … หลักธรรมแห่งการดับทุกข์ - นายศักดิ์ณรงค์ - GotoKnow https://www.gotoknow.org › ... › สมุด › การปฏิบัติธรรมเพื่อการพ้นทุกข์ อริยสัจ 4 มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยู่ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริงเหล่านี้เรียกว่า อริยสัจ 4. 1. ทุกข์ คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด ... ธรรมะพีเดีย | Thammapedia : นิโรธอริยสัจ : ดับทุกข์ : ดับทุกข์กาย, ดับทุกข์ใจ www.thammapedia.com › ตรัสรู้อริยสัจสี่ › นิโรธอริยสัจ นิโรธอริยสัจ : ดับทุกข์ : ดับทุกข์กาย, ดับทุกข์ใจ, ลูกโซ่ความดับทุกข์, อาการดับแห่งความทุกข์, ลักษณะของการดับแห่งทุกข์. สรุปเรื่องอริยสัจ 4 - อริยสัจ 4 - Google Sites https://sites.google.com/site/social054/bth-thi-4/hawkhx-yxy-4-2 สรุป นิโรธ (ความดับทุกข์) เป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง หรือทำให้เกิดมีขึ้น. 4. มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หรือหมดปัญหาต่างๆ โดยสิ้นเชิง มีองค์ประกอบ 8 ประการ ได้แก่ ว่าด้วยเรื่องของทุกข์และความดับทุกข์ โดย... - Paisal Puechmongkol ... https://zh-cn.facebook.com/Paisal.Fanpage/posts/1340687659363236 ว่าด้วยเรื่องของทุกข์และความดับทุกข์ โดย สิริอัญญา วันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม 2560 วันนี้เป็นวันอาสาฬหบูชา เป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8... การค้นหาที่เกี่ยวข้องกับ ทุกข์ ความดับทุกข์ ทุกข์ คือ มรรค ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นิโรธ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ตัวอย่าง ทุกข์ 10 ประการ อริยสัจ 4 ใน-ชีวิต-ประ-จํา-วัน อริยสัจ 4 ตัวอย่าง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ถัดไป
ทุกข์และความดับทุกข์อริยสัจ 4 - วิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/อริยสัจ_4 สัจญาณ หยั่งรู้ความจริงสี่ประการว่า. นี่คือทุกข์; นี่คือเหตุแห่งทุกข์; นี่คือความดับทุกข์; นี่คือทางแห่งความดับทุกข์. กิจญาณ หยั่งรู้หน้าที่ต่ออริยสัจว่า. ทุกข์ควรรู้; เหตุแห่งทุกข์ควรละ ... ความดับทุกข์ ทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ สมเด็จพระญาณสังวร ... www.dharma-gateway.com/monk/preach/somdej/sd-185.htm ได้ตรัสแสดงมรรคมีองค์ ๘ เป็นทางปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ก็ได้แก่ สัมมาทิฏฐิความเห็นชอบ ก็คือญาณหยั่งรู้ในอริยสัจจ์ทั้ง ๔ นี้ สัมมาสังกัปปะดำริชอบ ก็คือดำริออกจากกาม ... นิโรธ - วิกิพีเดีย https://th.wikipedia.org/wiki/นิโรธ นิโรธ (อ่านว่า นิโรด) แปลว่า ความดับ (ทุกข์) คือความสำรอกออก, สลัดทิ้ง, ปลดปล่อย, ไม่มีเยื่อใยสมุทัยอันเป็นบ่อเกิดทุกข์ได้สิ้นเชิง หมายถึง ... ดับทุกข์ แปลว่าอะไร ดูความหมาย ตัวอย่างประโยค หมายความว่าพจนานุกรม ... https://dict.longdo.com/search/ดับทุกข์ มรรคมีองค์ ๘ อันเป็นทางสายเดียวที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์ ประกอบด้วย ๑. สัมมาทิฐิ ความเห็นชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดำริชอบ ๓. สัมมาวาจา การเจรจาชอบ ๔. สัมมากัมมันตะ ... รอบรู้เรื่องทุกข์จะดับทุกข์สนิท – Pure Dhamma : ธรรมะล้วนๆ puredhamma.com/1602b0822mo/ 22 ส.ค. 2559 - จะพูดถึงเรื่องหนึ่งในอริยสัจสี่ เรื่องที่สำคัญมาก เป็นเรื่องที่พระพุทธเจ้าพูดบ่อยที่สุด สอนมากที่สุดใน ๔๕ ปี สอนเรื่องนี้ นั่นคือเรื่องของความทุกข์… … หลักธรรมแห่งการดับทุกข์ - นายศักดิ์ณรงค์ - GotoKnow https://www.gotoknow.org › ... › สมุด › การปฏิบัติธรรมเพื่อการพ้นทุกข์ อริยสัจ 4 มีความจริงอยู่ 4 ประการคือ การมีอยู่ของทุกข์ เหตุแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ และ หนทางไปสู่ความดับทุกข์ ความจริงเหล่านี้เรียกว่า อริยสัจ 4. 1. ทุกข์ คือ การมีอยู่ของทุกข์ เกิด ... ธรรมะพีเดีย | Thammapedia : นิโรธอริยสัจ : ดับทุกข์ : ดับทุกข์กาย, ดับทุกข์ใจ www.thammapedia.com › ตรัสรู้อริยสัจสี่ › นิโรธอริยสัจ นิโรธอริยสัจ : ดับทุกข์ : ดับทุกข์กาย, ดับทุกข์ใจ, ลูกโซ่ความดับทุกข์, อาการดับแห่งความทุกข์, ลักษณะของการดับแห่งทุกข์. สรุปเรื่องอริยสัจ 4 - อริยสัจ 4 - Google Sites https://sites.google.com/site/social054/bth-thi-4/hawkhx-yxy-4-2 สรุป นิโรธ (ความดับทุกข์) เป็นสิ่งที่ควรทำให้แจ้ง หรือทำให้เกิดมีขึ้น. 4. มรรค คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ หรือหมดปัญหาต่างๆ โดยสิ้นเชิง มีองค์ประกอบ 8 ประการ ได้แก่ ว่าด้วยเรื่องของทุกข์และความดับทุกข์ โดย... - Paisal Puechmongkol ... https://zh-cn.facebook.com/Paisal.Fanpage/posts/1340687659363236 ว่าด้วยเรื่องของทุกข์และความดับทุกข์ โดย สิริอัญญา วันเสาร์ที่ 8 กรกฎาคม 2560 วันนี้เป็นวันอาสาฬหบูชา เป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 8... การค้นหาที่เกี่ยวข้องกับ ทุกข์ ความดับทุกข์ ทุกข์ คือ มรรค ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค นิโรธ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค ตัวอย่าง ทุกข์ 10 ประการ อริยสัจ 4 ใน-ชีวิต-ประ-จํา-วัน อริยสัจ 4 ตัวอย่าง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ถัดไป
เครื่องปรับรอบมอเตอร์สามเฟสควบคุม มอเตอร์ สามเฟส แบบ ธรรมดา และ แบบ Direct Drive ด้วย ARDUINO MEGA 2560 สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ สมพงศ์ อินดัสเตรียล อิเล็กทรอนิคส์ ติดตามแล้ว1K เพิ่มลงใน แชร์ เพิ่มเติม ดู 117 ครั้ง 5 0 เผยแพร่เมื่อ 22 มี.ค. 2017 Code วงจร ดูจากคลิป ก่อนหน้านี้ ประกอบ ด้วยก็ดีครับ บอร์ด Arduino uno smd Arduino mega 2560 ที่โปรแกรม และ ทดสอบแล้ว มีจำหน่าย แล้วนะครับ ราคาเดิม ครับ ขอบพระคุณทุกท่าน ที่ติดตามผลงาน ครับ หมวดหมู่ การศึกษา
ควบคุม มอเตอร์ สามเฟส แบบ ธรรมดา และ แบบ Direct Drive ด้วย ARDUINO MEGA ...
ควบคุม มอเตอร์ สามเฟส แบบ ธรรมดา และ แบบ Direct Drive ด้วย ARDUINO MEGA 2560
ดู 117 ครั้ง
เผยแพร่เมื่อ 22 มี.ค. 2017
Code วงจร ดูจากคลิป ก่อนหน้านี้ ประกอบ ด้วยก็ดีครับ บอร์ด Arduino uno smd Arduino mega 2560 ที่โปรแกรม และ ทดสอบแล้ว มีจำหน่าย แล้วนะครับ ราคาเดิม ครับ ขอบพระคุณทุกท่าน ที่ติดตามผลงาน ครับ
หมวดหมู่
ควบคุม มอเตอร์ สามเฟส แบบ ธรรมดา และ แบบ Direct Drive ด้วย ARDUINO MEGA ...
ควบคุม มอเตอร์ สามเฟส แบบ ธรรมดา และ แบบ Direct Drive ด้วย ARDUINO MEGA 2560
ดู 117 ครั้ง
เผยแพร่เมื่อ 22 มี.ค. 2017
Code วงจร ดูจากคลิป ก่อนหน้านี้ ประกอบ ด้วยก็ดีครับ บอร์ด Arduino uno smd Arduino mega 2560 ที่โปรแกรม และ ทดสอบแล้ว มีจำหน่าย แล้วนะครับ ราคาเดิม ครับ ขอบพระคุณทุกท่าน ที่ติดตามผลงาน ครับ
หมวดหมู่
เมื่อไหร่ที่จิตมัน เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวจิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความ...หลวงพ่อจะบอกแลนด์มาร์คที่สำคัญไว้นะ แลนด์มาร์คที่สำคัญก่อนจะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเกิดปัญญาชนิดหนึ่ง เรียกว่า สังขารุเบกขาญานสังขารุเบกขาญาน ญานแปลว่าปัญญา มีปัญญาที่จะเป็นอุเบกขาเป็นกลางต่อสังขาร อะไรที่เรียกว่า สังขาร ความปรุงแต่งทั้งปวงเรียกว่า สังขาร ร่างกายก็ เป็นสังขารนะ ความสุข ความทุกข์ก็เป็นสังขาร ความโลภ ความโกรธ ก็เป็น สังขาร อะไร อะไร ก็เป็นสังขาร ในขันธ์ 5 นี่แหล่ะ คือ ตัวสังขารทั้งหมด ถ้าเราค่อยๆ ฝึกตามดูไปเรื่อย มีสติตามดูไป ก็จะเห็นว่าร่างกายที่หายใจออก ก็อยู่ชั่วคราว ร่างกายที่หายใจเข้าก็อยู่ชั่ว คราว ความสุข ก็อยู่ชั่วคราว ความทุกข์ก็อยู่ชั่วคราว จิตที่อยู่เฉยๆ ก็ชั่วคราวมีใครไม่สุขชั่วคราวมั๊ย มีมั๊ย มีใครสุขถาวรมีมั๊ย ไม่มีหรอก ใครทุกข์ถาวรมีไหม ไม่มี เนี่ยะเรามีสติตามดูความเปลี่ยนแปลงของจิตไปนะ จะเห็นเลยว่า สุขก็ชั่ว คราว ทุกข์ก็ชั่วคราว โลภ โกรธ หลง ก็ชั่วคราว ดูไปเรื่อยนะ ในที่สุดปัญญามัน เกิด ก็จะรู้ว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว พอเมื่อไหร่ที่จิตมัน เห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราวจิตก็จะเริ่มเข้าสู่ความเป็นกลางด้วยปัญญาเป็นกลางเนี่ยะเกิดได้หลายแบบเป็นกลางอันแรกเกิดด้วยการกดข่มไว้ เช่น ถูกเค้าด่า (ไม่โกรธนะ ไม่โกรธนะ) เป็นกลางเพราะ กดข่มเอาไว้เป็นกลางอีกอันหนึ่งเรียก ด้วยมีสติเป็นกลางอีกอย่างนึงเป็นกลางด้วย ปัญญาเป็นกลางแบบมีสติ ก็คือ เช่น เราขับรถอยู่ คนมันปาดหน้า ใจเราโมโหขึ้นมาเราเห็น เราเห็นใจเลยว่าใจเราโมโห พอเราเป็นนักปฏิบัติเนี่ยะ พอเราเห็นใจเรา โมโหขึ้นมาไม่ดี คุณแม่บอกให้เมตตา โมโหไม่ดีใช่มั๊ยเราต้องรีบไปรู้ทันใจที่ไม่ชอบ ความโกรธเกิดขึ้นแล้วใจยินร้าย ไม่ชอบตอนที่โกรธ หรือกุศลเกิดขึ้นใจเราหลงยินดีเราไม่รู้ว่ายินดี ในแง่จิตไม่เป็นกลาง ถ้าจิตยินดีเรารู้ทัน จิตยินร้ายเรารู้ทัน มันจะเป็นกลางด้วยสติแต่ถ้าเป็นกลางด้วยปัญญา ตรงนี้สำคัญมากเลย ก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ ใจจะเป็นกลางด้วยปัญญาแล้วก็จะเห็นเลยเนี่ยะว่า ความสุขก็ชั่วคราวความทุกข์ก็ชั่วคราว กุศลก็ชั่วคราวนะ โลภ โกรธหลง อะไรต่อมิอะไรก็ชั่วคราว ความฟุ้งซ่านก็ชั่วคราว หดหู่ก็ชั่วคราว ทุกอย่างชั่วคราวหมดเลยถ้าเมื่อไหร่เห็นว่าจิตเห็นว่าทุกอย่างเป็นของชั่วคราว จิตมันจะเป็นกลางด้วยปัญญา ความสุขเกิดขึ้นมันไม่หลงระเริงแระ เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ความทุกข์เกิดขึ้นมันไม่ทุรนทุราย เพราะมันรู้ว่าชั่วคราว ดีใจ เสียใจ สมหวัง ผิดหวัง มัน ไม่หลงระเริง ไม่เสียอกเสียใจเพราะมันรู้ว่าชั่วคราว เห็นมั๊ยพอมันเห็นว่าทุกอย่าง ชั่วคราวเนี่ยใจจะหมดความดิ้นรน เนี่ยะเรียกว่า เป็นกลางด้วยปัญญาก่อนที่จะเกิดอริยมรรคเนี่ยะ จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญา ก่อนที่จิตจะเป็นกลางด้วยปัญญาเนี่ยะ เราจะต้องหัดเจริญสติ ตามดูความเปลี่ยนแปลงของกาย ของใจ เรื่อยไปจนปัญญามันเกิดว่าทุกอย่างชั่วคราว สุข ทุกข์ ดี ชั่ว ชั่วคราว หายใจออก หายใจเข้า ชั่วคราว ยืนก็ชั่วคราว เดินก็ชั่วคราว นั่งนอนชั่วคราว ดูไปเรื่อยๆ นะมีแต่ของชั่วคราวไปหมดเลย ….ทุกอย่างชั่วคราวนะ ดูไป ในชีวิตเรานะ ถ้าเห็นว่าทุกอย่างชั่วคราวนะ ต่อไปไม่ว่าอะไรเกิดขึ้นจิตจะเป็นกลาง จิตที่เป็นกลางแล้วนะจะเกิดอะไร จิตจะหมด ความดิ้นรน จิตที่ไม่เป็นกลางนะมันจะดิ้นรนไม่เลิกพวกเรารู้สึกไหม จิตใจไม่มีความสุข เราอยากให้มีความสุข เราเกลียดความทุกข์ จิตที่เกลียดความทุกข์ก็ดิ้นรนนะ คิดอยู่ว่าเอ่..ทำอย่างไรจะมีความสุข หรือจิต ดิ้นรนหาความสุข จิตดิ้นรนหนีความทุกข์ การที่จิตต้องดิ้นรนหนีตลอดเวลานะคือตัวทุกข์เลย จิตจะมีแต่ความทุกข์ล้วนๆ เลย สร้างภพ สร้างชาติ สร้าง ความปรุงแต่งตลอดเวลา พวกเราเห็นมั๊ยในใจของเรามีความอยากเกิดตลอดเวลา ไปหัดดูนะ แล้วเราจะเห็นเลยใจเรามีความอยากตลอดเวลา เดี๋ยวอยากดู เดี๋ยวอยากฟัง เดี๋ยวอยากคิด เดี๋ยวอยากหนีไปที่อื่นอย่างตอนนี้แดดร้อนแล้วอยากหนีแล้ว ถอยได้นะถอยเลย ถอยไปอยู่ข้างหลัง… แบ่งๆ กัน หรือจะเอาเสื่อ ขึ้นคลุมก็ไม่ว่านะ (โยมหัวเราะ)… จะเห็นมั๊ยตอน หัวเราะเมื่อกี้ใจฟุ้งซ่าน ดูออกมั๊ย ดูตัวเอง เนี่ยะนะฝึกรู้ อย่างนี้ไปเรื่อยๆ แหล่ะ ดูไปเรื่อยนะถึงจุดหนึ่งที่ปัญญามันพอเนี่ยะ จิตมันจะรวม รวมเข้าอัปปนาสมาธินะ มันรวมของมันเองนะ แล้วจะเห็นสภาวะธรรมเกิดดับอยู่สองสามขณะ แล้วถัดจากนั้นอริยมรรคก็จะเกิดขึ้น จะล้างกิเลส อริยมรรคเวลาล้างกิเลส มันจะไม่เหมือนการล้างกิเลสด้วยสติ ด้วยสมาธิ ด้วยศีล ด้วยการกดไว้อริยมรรค เวลาล้างกิเลส ล้างตัวไหนแล้วล้างเลยนะ ไม่ต้องล้างอีกนะ ล้างทีเดียวสะอาดหมดจด ไม่เกิดขึ้นอีกแล้ว แล้วเราค่อยๆ ฝึกนะวันหนึ่งเราได้เป็นพระอริยะ อย่าวาดภาพว่าพระอริยะยากเกินไป อย่าวาดภาพว่าพระอริยะอยู่ไกล บารมีเราน้อย มัวแต่คิดว่าบารมีน้อยไม่ภาวนามันก็น้อยไปทุกชาตินั่นแหล่ะ ถึงบารมีน้อยก็ขยันภาวนานะ หายใจไปก็รู้สึกตัวไป หายใจไปรู้สึก ตัวไป มีสติรู้สึกตัวไปเรื่อย อย่าให้ลืมตัวเอง ต่อไปก็หายใจไป เห็นร่างกายที่หายใจอยู่ไม่ใช่เรา เห็นจิตใจมันทำงานได้เองนะ นี่ขั้นเดินปัญญา ง่ายๆ แค่นี้เองนะ ลองไปทำดู ไม่ยากหรอก
วันศุกร์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
อนุปาทิเสสนิพพานภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ ๒ ประการเป็นไฉน คือ สอุปาทิเสสนิพพาน ธาตุ ๑ อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ๑ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ เป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ ทำ กิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของตนอันบรรลุแล้ว มี สังโยชน์ในภพนี้สิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ ภิกษุนั้นย่อมเสวย อารมณ์ทั้งที่พึงใจและไม่พึงใจ ยังเสวยสุขและทุกข์อยู่ เพราะความที่อินทรีย์ ๕ เหล่าใดเป็นธรรมชาติไม่บุบสลาย อินทรีย์ ๕ เหล่านั้นของเธอยังตั้งอยู่นั่นเทียว ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความสิ้นไปแห่งราคะ ความสิ้นไปแห่งโทสะ ความสิ้นไปแห่ง โมหะ ของภิกษุนั้น นี้เราเรียกว่า สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็อนุปาทิเสสนิพพานธาตุเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นพระอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์ ทำกิจที่ควรทำเสร็จแล้ว ปลงภาระลงได้แล้ว มีประโยชน์ของ ตนอันบรรลุแล้ว มีสังโยชน์ในภพสิ้นรอบแล้ว หลุดพ้นแล้วเพราะรู้โดยชอบ เวทนาทั้งปวงในอัตภาพนี้แหละของภิกษุนั้น เป็นธรรมชาติอันกิเลสทั้งหลายมี ตัณหาเป็นต้นให้เพลิดเพลินมิได้แล้ว จัก (ดับ) เย็น ดูกรภิกษุทั้งหลาย นี้เรา เรียกว่า อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ ดูกรภิกษุทั้งหลาย นิพพานธาตุ ๒ ประการ นี้แล ฯ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสเนื้อความนี้แล้ว ในพระสูตรนั้น พระผู้มี พระภาคตรัสคาถาประพันธ์ดังนี้ว่า นิพพานธาตุ ๒ ประการนี้ พระตถาคต ผู้มีจักษุผู้อันตัณหา และทิฐิไม่อาศัยแล้ว ผู้คงที่ประกาศไว้แล้ว อันนิพพานธาตุ อย่างหนึ่งมีในปัจจุบันนี้ ชื่อว่าสอุปาทิเสส เพราะสิ้นตัณหา เครื่องนำไปสู่ภพ ส่วนนิพพานธาตุ (อีกอย่างหนึ่ง) เป็นที่ ดับสนิทแห่งภพทั้งหลายโดยประการทั้งปวง อันมีในเบื้องหน้า ชื่อว่าอนุปาทิเสส ชนเหล่าใดรู้บทอันปัจจัยไม่ปรุงแต่งแล้วนี้ มีจิตหลุดพ้นแล้วเพราะสิ้นตัณหาเครื่องนำไปสู่ภพ ชน เหล่านั้นยินดีแล้วในนิพพานเป็นที่สิ้นกิเลสเพราะบรรลุธรรม อันเป็นสาระ เป็นผู้คงที่ ละภพได้ทั้งหมด ฯ เนื้อความแม้นี้พระผู้มีพระภาคตรัสแล้ว เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้า ได้สดับมาแล้วฉะนี้แล ฯ จบสูตรที่ ๗
สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง
อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก
คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น
ธาตุ มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส
ความหน่วงนึกของใจ ๑๘ คือ
บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ย่อมหน่วงนึกเสียงเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ย่อมหน่วงนึกกลิ่นเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว ย่อมหน่วงนึกรสเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ย่อมหน่วงนึกโผฏฐัพพะเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ คือ
มีปัญญา มีสัจจะ มีจาคะ (ความเสียสละ) มีอุปสมะ (ความสงบ) เป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา
ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็ธาตุทั้งภายในและภายนอกเป็นธาตุทั้งนั้น พึงเห็นธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดในธาตุ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง
เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ทุกขเวทนา อุทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทุกขมสุข) ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทกขมสุข) อยู่
เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งเวทนานั้นดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวยและผ่องแผ้ว
เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอรูปฌาณ ๔ นั้น ยึดอรูปฌาณ ๔นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน
บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ
บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
ถ้าเขาเสวยเวทนาใดๆ อยู่ ย่อมรู้สึกว่า เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน
ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย
เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุดย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้ จักเป็นของสงบ
เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ
สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ นิพพาน
เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
จาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ ความสละคืนอุปธิทั้งปวง
เพราะบุคคลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง
อุปสมะ (ความสงบ) อันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ
ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นอุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง
กิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม
ความสำคัญตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่
ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว
มุนีผู้สงบแล้ว ย่อมไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตายจักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร
คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว
สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง
อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก
คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น
ธาตุ มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส
ความหน่วงนึกของใจ ๑๘ คือ
บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ย่อมหน่วงนึกเสียงเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ย่อมหน่วงนึกกลิ่นเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว ย่อมหน่วงนึกรสเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ย่อมหน่วงนึกโผฏฐัพพะเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ คือ
มีปัญญา มีสัจจะ มีจาคะ (ความเสียสละ) มีอุปสมะ (ความสงบ) เป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา
ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็ธาตุทั้งภายในและภายนอกเป็นธาตุทั้งนั้น พึงเห็นธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดในธาตุ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง
เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ทุกขเวทนา อุทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทุกขมสุข) ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทกขมสุข) อยู่
เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งเวทนานั้นดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวยและผ่องแผ้ว
เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอรูปฌาณ ๔ นั้น ยึดอรูปฌาณ ๔นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน
บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ
บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
ถ้าเขาเสวยเวทนาใดๆ อยู่ ย่อมรู้สึกว่า เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน
ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย
เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุดย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้ จักเป็นของสงบ
เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ
สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ นิพพาน
เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
จาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ ความสละคืนอุปธิทั้งปวง
เพราะบุคคลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง
อุปสมะ (ความสงบ) อันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ
ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นอุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง
กิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม
ความสำคัญตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่
ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว
มุนีผู้สงบแล้ว ย่อมไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตายจักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร
คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว
สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง
อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก
คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น
ธาตุ มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส
ความหน่วงนึกของใจ ๑๘ คือ
บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ย่อมหน่วงนึกเสียงเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ย่อมหน่วงนึกกลิ่นเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว ย่อมหน่วงนึกรสเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ย่อมหน่วงนึกโผฏฐัพพะเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ คือ
มีปัญญา มีสัจจะ มีจาคะ (ความเสียสละ) มีอุปสมะ (ความสงบ) เป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา
ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็ธาตุทั้งภายในและภายนอกเป็นธาตุทั้งนั้น พึงเห็นธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดในธาตุ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง
เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ทุกขเวทนา อุทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทุกขมสุข) ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทกขมสุข) อยู่
เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งเวทนานั้นดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวยและผ่องแผ้ว
เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอรูปฌาณ ๔ นั้น ยึดอรูปฌาณ ๔นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน
บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ
บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
ถ้าเขาเสวยเวทนาใดๆ อยู่ ย่อมรู้สึกว่า เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน
ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย
เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุดย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้ จักเป็นของสงบ
เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ
สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ นิพพาน
เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
จาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ ความสละคืนอุปธิทั้งปวง
เพราะบุคคลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง
อุปสมะ (ความสงบ) อันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ
ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นอุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง
กิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม
ความสำคัญตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่
ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว
มุนีผู้สงบแล้ว ย่อมไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตายจักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร
คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว
สัจจะนี้ คือนิพพาน มีความไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง
อุเทศแห่งธาตุวิภังค์หก
คนเรานี้มีธาตุ ๖ มีแดนสัมผัส ๖ มีความหน่วงนึกของใจ ๑๘ มีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมมเป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว ไม่พึงประมาทปัญญา พึงตามรักษาสัจจะ พึงเพิ่มพูนจาคะ พึงศึกษาสันติเท่านั้น
ธาตุ มี ๖ อย่าง คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
คนเรานี้มีแดนสัมผัส ๖ คือ จักษุ โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย มโน เป็นแดนสัมผัส
ความหน่วงนึกของใจ ๑๘ คือ
บุคคลเห็นรูปด้วยจักษุแล้ว ย่อมหน่วงนึกรูปเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลฟังเสียงด้วยโสตแล้ว ย่อมหน่วงนึกเสียงเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
บุคคลดมกลิ่นด้วยฆานะแล้ว ย่อมหน่วงนึกกลิ่นเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ลิ้มรสด้วยชิวหาแล้ว ย่อมหน่วงนึกรสเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
ถูกต้องโผฏฐัพพะด้วยกายแล้ว ย่อมหน่วงนึกโผฏฐัพพะเป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
รู้ธรรมารมณ์ด้วยมโนแล้ว ย่อมหน่วงนึกธรรมารมณ์เป็นที่ตั้งแห่งโสมนัส โทมนัส อุเบกขา
นี้เป็นการหน่วงนึกโสมนัส ๖ หน่วงนึกโทมนัส ๖ หน่วงนึกอุเบกขา ๖
ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ คือ
มีปัญญา มีสัจจะ มีจาคะ (ความเสียสละ) มีอุปสมะ (ความสงบ) เป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
อย่างไรเล่า ชื่อว่าไม่ประมาทปัญญา
ธาตุนี้มี ๖ คือ ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ วิญญาณธาตุ
ปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุภายในก็มี ภายนอกก็มี ก็ธาตุทั้งภายในและภายนอกเป็นธาตุทั้งนั้น พึงเห็นธาตุนั้นด้วยปัญญาชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา ไม่ใช่เรา ไม่ใช่อัตตาของเรา ครั้นเห็นแล้วจะเบื่อหน่ายปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ วาโยธาตุ อากาสธาตุ และจะให้จิตคลายกำหนัดในธาตุ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือวิญญาณอันบริสุทธิ์ผุดผ่อง บุคคลย่อมรู้อะไรๆ ได้ด้วยวิญญาณนั้น คือ รู้ชัดว่า สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ไม่ทุกข์ไม่สุขบ้าง
เพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งสุขเวทนา ทุกขเวทนา อุทุกขมสุขเวทนา ย่อมเกิดสุขเวทนา ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา
บุคคลนั้นเมื่อเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทุกขมสุข) ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนา (สุข ทุกข์ อุทกขมสุข) อยู่
เพราะผัสสะเป็นที่ตั้งแห่งเวทนานั้นดับไป ย่อมรู้สึกว่า ความเสวยอารมณ์ที่เกิดแต่ผัสสะนั้น คือตัวเวทนาอันเกิดเพราะอาศัยผัสสะเป็นที่ตั้ง ย่อมดับ ย่อมเข้าไปสงบ
ต่อนั้นสิ่งที่จะเหลืออยู่อีกก็คือ อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวยและผ่องแผ้ว
เมื่อเหลืออยู่แต่อุเบกขา อันบริสุทธิ์ ผุดผ่อง อ่อนโยน สละสลวย และผ่องแผ้ว บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ อุเบกขาของเรานี้ ก็จะเป็นอุเบกขา อาศัยอรูปฌาณ ๔ นั้น ยึดอรูปฌาณ ๔นั้น ดำรงอยู่ตลอดกาลยืนนาน
บุคคลนั้นย่อมรู้สึกอย่างนี้ว่า ถ้าเราน้อมอุเบกขานี้ อันบริสุทธิ์ ผุดผ่องอย่างนี้ เข้าไปสู่อรูปฌาณ ๔ และเจริญจิตมีธรรมควรแก่ฌานนั้น จิตนี้ก็เป็นสังขตะ
บุคคลนั้นจะไม่คำนึง จะไม่คิดถึงความเจริญหรือความเสื่อมเลย เมื่อไม่คำนึง ไม่คิดถึง ย่อมไม่ยึดมั่นอะไรๆ ในโลก เมื่อไม่ยึดมั่น ย่อมไม่หวาดเสียว เมื่อไม่หวาดเสียว ย่อมปรินิพพานเฉพาะตนทีเดียว ย่อมทราบชัดว่าชาติสิ้นแล้ว พรหมจรรย์อยู่จบแล้ว กิจที่ควรทำได้ทำเสร็จแล้ว กิจอื่นเพื่อความเป็นอย่างนี้มิได้มี
ถ้าเขาเสวยเวทนาใดๆ อยู่ ย่อมรู้สึกว่า เวทนานั้น ไม่เที่ยง อันบัณฑิตไม่ติดใจ ไม่เพลิดเพลิน
ถ้าเสวยสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยทุกขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย ถ้าเสวยอทุกขมสุขเวทนาก็เป็นผู้พรากใจเสวย
เขาเมื่อเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด ย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีกายเป็นที่สุด เมื่อเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุดย่อมรู้สึกว่า กำลังเสวยเวทนามีชีวิตเป็นที่สุด และรู้สึกว่า เบื้องหน้าแต่สิ้นชีวิต เพราะตายไปแล้ว ความเสวยอารมณ์ทั้งหมดที่ยินดีกันแล้วในโลกนี้ จักเป็นของสงบ
เพราะเหตุนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยความรู้สึกอย่างนี้ ชื่อว่าเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปัญญาอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่งประการนี้ ก็ปัญญานี้ คือความรู้ในความสิ้นทุกข์ทั้งปวง เป็นปัญญาอันประเสริฐยิ่ง ความหลุดพ้นของเขานั้น จัดว่าตั้งอยู่ในสัจจะ เป็นคุณไม่กำเริบ
สัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ นิพพาน
เพราะสิ่งที่เปล่าประโยชน์เป็นธรรมดา นั้นเท็จ สิ่งที่ไม่เลอะเลือนเป็นธรรมดา ได้แก่ นิพพาน นั้นจริง เป็นสัจจะอันประเสริฐยิ่ง ฉะนั้น ผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยสัจจะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ
จาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจอย่างยิ่ง คือ ความสละคืนอุปธิทั้งปวง
เพราะบุคคลยังไม่ทราบในกาลก่อน จึงมีอภิชฌา ฉันทะ ราคะกล้า อาฆาต พยาบาท ความคิดประทุษร้าย อวิชชา ความหลงพร้อม และความหลงงมงาย อกุศลธรรมนั้นๆ เป็นอันเขาละได้แล้ว ถอนรากขึ้นแล้ว ถึงความเป็นอีกไม่ได้ มีความไม่เกิดต่อไปเป็นธรรมดา ผู้ถึงพร้อมด้วยการสละอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยจาคะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นจาคะอันประเสริฐยิ่ง
อุปสมะ (ความสงบ) อันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ คือความเข้าไปสงบราคะ โทสะ โมหะ
ผู้ถึงพร้อมด้วยความสงบอย่างนี้ ชื่อว่า เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยอุปสมะอันเป็นธรรมควรตั้งไว้ในใจ เป็นอุปสมะอันประเสริฐอย่างยิ่ง
กิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม
ความสำคัญตนมีอยู่ดังนี้ว่า เราเป็น เราไม่เป็น เราจักเป็น เราจักไม่เป็น เราจักต้องเป็นสัตว์มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีรูป เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์ไม่มีสัญญา เราจักต้องเป็นสัตว์มีสัญญาก็มิใช่ไม่มีสัญญาก็มิใช่
ความสำคัญตนจัดเป็นโรค เป็นหัวฝี เป็นลูกศร ก็ท่านเรียกบุคคลว่า เป็นมุนีผู้สงบแล้ว เพราะล่วงความสำคัญตนได้ทั้งหมดเทียว
มุนีผู้สงบแล้ว ย่อมไม่เกิด ไม่แก่ ไม่ตาย ไม่กำเริบ ไม่ทะเยอทะยาน แม้มุนีนั้นก็ไม่มีเหตุที่จะต้องเกิด เมื่อไม่เกิด จักแก่ได้อย่างไร เมื่อไม่แก่ จักตายได้อย่างไร เมื่อไม่ตายจักกำเริบได้อย่างไร เมื่อไม่กำเริบ จักทะเยอทะยานได้อย่างไร
คนเรามีธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจ ๔ อันเป็นธรรมที่ผู้ตั้งอยู่แล้ว ไม่มีกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม เป็นไป ก็เมื่อกิเลสเครื่องสำคัญตนและกิเลสเครื่องหมักหมม ไม่เป็นไปอยู่ บัณฑิตจะเรียกเขาว่า มุนีผู้สงบแล้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)